รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
คู่มือการพัฒนาวิชาชีพครู
School-Based Teacher Professional Development
1
KM การจัดการความรู้ Knowledge Management ผู้เรียบเรียง
ธีรศักดิ์ จิระตราชู
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เชื่อในพลังของความรู้ เชื่อในแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เชื่อมั่นในงาน คน และองค์กร
2
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
3
คานา ความรู้คือพลัง (Knowledge is Power) คากล่าวนี้เป็นสัจจนิรันดร์เสมอ คาว่า “พลัง” นั้น มิใช่ฤทธานุภาพอื่นใดนอกเหนือศักภาพของมนุษย์ นั่นคือ “พลังแห่งปัญญา” ที่จะนาทุกคนสู่ความสาเร็จอันมั่นคง และยั่งยืน “ความสาเร็จของการถ่ายทอดความรู้มิ ใช่อยู่ที่คอมพิวเตอร์หรือเอกสาร แต่อยู่ ที่การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคนด้วยกัน ” คากล่าวนี้ก็เป็นการเน้นย้าว่า ต่อให้โลกาวิวัตน์ ไปเพี ยงใดก็ ตาม พลั งแห่ งปั ญญาที่ แ ท้จ ริงนั้น ย่อ มเกิ ดขึ้ นจากปฏิสั มพั นธ์ ที่ จริ งใจ ใฝ่ อนาคตโดยจุดหมายปลายทางสาคัญของความรู้มิใช่ที่ตัวความรู้แต่อยู่ที่การนาไปปฏิบัติ เพื่อสร้างดอกผลแห่งพุทธิปัญญาอย่างแท้จริง เอกสารชุดนี้จัดทาขึ้นในรายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เนื่องจากนิสิต และผู้สอนมีความเห็นตรงกันเกี่ยวกับคุณค่าของข้อสนับสนุนนานัปการอัน กล่าวมาแล้ว ข้างต้น โดยผู้เรียบเรียงมีความเชื่อว่า หากโรงเรียน หรือองค์กรสามารถ เรีย นรู้ ถึง ความสามารถของกั นและกั น จนน าไปสู่ การสร้ างคลังปัญ ญาเพื่อ ใช้ บริ หาร จัดการ องค์กร จากรากฐานความเป็นองค์กร จะทาให้องค์กรเกิดความสาเร็จได้ไม่ยาก
“ขอพลังจงสถิตอยู่แด่ท่าน” May the Force be with you. ธีรศักดิ์ จิระตราชู ตุลาคม 2560
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
4
School-Based Teacher Professional Development
สารบัญ เนื้อหา
หน้า
ความรู้(Knowledge)
6
แนวคิดการจัดการความรู้
7
การจัดการความรู้(Knowledge Management)
13
องค์ประกอบการจัดการความรู้(Knowledge Management Factor)
16
กระบวนการการจัดการความรู้(Knowledge Management Process)
18
เครื่องมือในการจัดการความรู้
20
ผลของการจัดการความรู้
22
ประโยชน์ของการจัดการความรู้
22
ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
23
KM จัดเป็น PLC หรือไม่?
25
บรรณานุกรม
27
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
5
ประเด็นปัญหาชวนคิดในโรงเรียน/องค์กร เมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออก มักมีผลกระทบกับงาน เวลามีปัญหาในการทางาน ไม่ทราบว่าจะไปถามผู้ที่เก่งในเรื่องนั้นได้ที่ไหน มีผู้ทรงความรู้มาก แต่คนในองค์กรไม่สนใจในการเพิ่มและแบ่งปันความรู้ องค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ไม่ได้ถูกนามาใช้แลกเปลี่ยน ต่อยอดความรู้ใหม่ แต่เป็นการทางานซ้าซ้อนกับคนอื่นที่ได้ทามาแล้ว องค์กรมีการสร้าง/แลกเปลี่ยน/ประยุกต์ใช้ความรู้แบบไม่เป็นระบบ การตัดสินใจมักกระทาโดยไม่ได้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ภายในโรงเรียน ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการซึ่งส่วนใหญ่หาไม่ค่อยพบ หรือถ้า พบข้อมูลก็ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์ หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ มีข้อมูล และสารสนเทศท่วมท้น แต่ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่าง แท้จริง
KM แก้ปัญหาเหล่านี้ได้
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
6
พลังของความยิ่งใหญ่เสมอ ความรู้สร้างการเปลี่ยนแปลงมากมายใน กับโลก สร้างนวัตกรรมที่มนุษย์มีแนวทางแสวงหาความรู้ที่แตกต่างกันออกไป ก่ อ เกิ ด เป็ น ศาสตร์ แ ขนงต่ า ง ๆ มากมาย มนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนจึ ง มี ค วามรู้ ที่ หลากหลาย ตามประสบการณ์ที่ได้รับมาในทุกช่วงของชีวิต ทั้งที่เห็นแจ้ง และ ซ่ อ นเร้ น อยู่ ภ ายในสมอง การดึ ง เอาศั ก ยภาพทางความรู้ ข องแต่ ล ะคนมา จัดระบบเพื่อน าไปใช้ในการพัฒนาต่อยอด เป็นสิ่งที่ น่าสนใจ โดยเฉพาะใน สังคมโรงเรียน โรงเรียนนั้นนับเป็นองค์กรทางการศึกษาที่มีบทบาทในการถ่ายทอด องค์ ค วามรู้ แนวคิ ด ทฤษฎี ท างศาสตร์ ต่ า ง ๆ สู่ นั ก เรี ย นโดยมี ครู เ ป็ น ผู้อานวยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แต่ทั้งนี้นอกจากครูมีบทบาท หน้าที่ที่ ต้องดูแลนักเรียนแล้ว ครูนั้นก็ต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในองค์กร เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาวิ ช าชี พ (Professional Development) ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย สาคัญที่จะขับเคลื่อนองค์กรให้ไปสู่ความสาเร็จ จากแนวทางที่เสนอมาข้างต้นนั้น จะเห็นว่าการใช้ฐานความรู้ในการ พัฒนาวิชาชีพ สถาบัน หรือองค์กร เป็นสิ่งที่ครูพึงกระทาอย่างเป็นวงจร แต่ อาจพบอุป สรรคบางประการ อาทิ ความรู้ ที่ครูแต่ล ะคนมีนั้นไม่ได้รับการ จัดสรรให้ เกิ ดประโยชน์ อย่ า งสู ง สุ ด หรื อ เมื่อ มี บุ คลากรออกไปจากองค์ก ร ความรู้ภายในองค์กรก็จะตามบุคคลเหล่านั้นออกไปด้วย ด้วยเหตุนี้ โรงเรียน สถาบั น หรื อ องค์ ก รในปั จ จุ บั น จึ ง ต้ อ งมี ก ารจั ด การความรู้ ( Knowledge Management) เพื่อให้ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคลากรนั้นมีการเก็บและถ่ายทอด ไว้ในสถาบัน เมื่อมีเหตุปัจจัยในการโยกย้าย หรือเปลี่ยนหน้าที่การทางานจะ ทาให้ความรู้ของบุคลากรนั้น ๆ ยังคงอยู่ โดยอาจมององค์ความรู้ที่ถูกจัดระบบ นั้นเป็นเหมือนขุมความรู้ และพลังทางปัญญาให้กับองค์กรต่อไป
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
7
ความรู้(Knowledge) ความรู้ หมายถึ ง สิ่ ง ที่ สั่ ง สมมาจากการศึ ก ษาเล่ า เรี ย น การค้ น คว้ า หรื อ ประสบการณ์ ซึ่งเป็นความจาที่เริ่มจากสิ่งที่ง่าย ที่เป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาในสิ่ง ที่ซับซ้อนและมีความสั มพันธ์ กัน จนเกิดเป็ น “ปัญญา” ที่รวมเป็น ความสามารถเชิ ง ปฏิบัติและทักษะ โดยมีลาดับขั้นของความรู้ ดังนี้ 1) ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริง ข้อมูลดิบ หรือตัวเลขต่างๆ ที่ยังไม่ได้ผ่านการ แปลความ 2) สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและตัดสินใจ มีบริบทซึ่ง เกิดจากความเชื่อ สามัญสานึก หรือประสบการณ์ของผู้ใช้สารสนเทศนั้น โดยมักจะอยู่ใน รูปของข้อมูลที่วัดได้หรือ จับต้องได้ 3) ความรู้ (Knowledge) คือ สารสนเทศที่ผ่า น กระบวนการคิดเปรียบเทียบเชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจ และนาไปใช้ ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้โดยไม่จากัดช่วงเวลา และ 4) ปัญญา (Wisdom) คือ ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน ก่อให้เกิดประโยชน์ในการนาไปใช้ แสดงเป็นแผนผังได้ดังต่อไปนี้
แผนภาพที่ 1 ลาดับขั้นของความรู้ (Uriarte, 2008)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
8
แนวคิดการจัดการความรู้ ความรู้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาที่มีคุณค่า สามารถที่จะขับเคลื่อนองค์กรให้เกิด ความเข้มแข็งในทุก ๆ ด้าน ศาสตร์ด้านการจัดการความรู้จึงพัฒนาขึ้นโดยใช้วิธีคิดอย่าง เป็นเหตุเป็นผล และเป็นวิทยาศาสตร์ การจัดการความรู้นั้นมีผลเกี่ยวเนื่องกับเป้าหมาย และกิจกรรมขององค์กร โดยในยุคปัจจุบันเริ่มมีการจัดการความรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์( Social Network) เพื่อให้เกิดการพูดคุย แลกเปลี่ยนของคนที่มีความรู้ และ พยายามสกัดความรู้ของบุคลากรให้เป็นความรู้ขององค์กร โดยมีกระบวนการ/วิธีการที่ หลากหลาย ซึ่งขึ้นอยู่กับองค์กรจะนารูปแบบใดไปประยุกต์ใช้ แต่ประเด็นที่คล้ายกันคือ มุ่งจัดการความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรอย่างสูงสุด นากะ และทากูชิ นักจัดการความรู้ได้มีการนาเสนอให้จาแนกความรู้ที่มีอยู่โดย แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ความรู้ ที่ ฝัง อยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สั ญ ชาติ ญ าณของแต่ ล ะบุ ค คลในการท าความ เข้ า ใจในสิ่ ง ต่ า ง ๆ เป็ น ความรู้ ที่ ไ ม่ ส ามารถ ถ่ายทอดออกมาเป็นคาพูดหรือลายลักษณ์อักษร ได้ โ ดยง่ า ย เช่ น ทั ก ษะในการท างาน งานฝี มื อ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็น
ความรู้แบบนามธรรม 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ทสี่ ามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่าน วิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็น
ความรู้แบบรูปธรรม
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
9
เมื่อเปรี ยบเทีย บ ใช้บ่อย เป็นที่ประจักษ์ชัดกับตัวเอง และองค์กร ความรู้ทั้ง 2 ประเภทของ คนในคน หรือองค์กรต่าง ๆ พบว่ า ความรู้ ฝั ง ลึ ก ความรู้ชัดแจ้ง ส่วนน้อย ( Tacit Knowledge) มี (Explicit Knowledge) มากกว่ า ความรู้ ชั ด แจ้ ง ( Explicit Knowledge) ความรู้ฝังลึก จึ ง ส า ม า ร ถ น า ไ ป (Tacit Knowledge) ส่วนมาก เปรียบเทียบได้กับ โมเดล ภูเ ขาน้าแข็งที่ส่วนที่โผล่ เหนือน้าคือความรู้ชัดแจ้ง ฝังอยู่ในตัวบุคคล อาจไม่รู้ตัวว่ามีความรู้แบบนี้ และส่ ว นที่ อ ยู่ ใ ต้ น้ าคื อ ความรู้ ฝั ง ลึ ก เมื่ อ เข้ า ใจ แผนภาพที่ 2 โมเดลภูเขาน้าแข็ง สภาพของความรู้ดังกล่าว ปรับจาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, (2547) แ ล้ ว จึ ง ค ว ร ท า ใ ห้ เ กิ ด การเปลี่ยนแปลงจาก Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge ให้มาก ที่สุด เพื่อให้เกิดความร้และประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ความรู้ ทั้งสองประเภทนี้ มีวิธีการจั ดการที่แ ตกต่างกัน การจัดการ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้เมื่อนาไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นามาสรุปไว้ เพื่อใช้ อ้างอิงหรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป ส่วนการจัดการ ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) นั้นจะเน้นไปที่ การจัดเวที เพื่อให้มีการแบ่งปัน ความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติ ทาให้เกิดการเรียนรู้
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
10
ร่ ว มกั น น าไปสู่ ก ารสร้ า งความรู้ ใ หม่ ที่ แ ต่ ล ะคนสามารถน าไปใช้ ใ นการ ปฏิบัติงานได้ต่อไปในชีวิตจริง ความรู้ 2 ประเภทนี้ จ ะเปลี่ ย นสถานภาพสลั บ ปรั บ เปลี่ ย นไป ตลอดเวลา บางครั้ง ความรู้ที่ฝังลึก ก็เปลี่ยนเป็น ความรู้เด่น ชัด และบางครั้ง ความรู้ ชั ดแจ้ ง ก็ เปลี่ ย นไปเป็ น ความรู้ ที่ ฝั ง ลึ ก เรีย กว่า วงจรการจั ด การ ความรู้ไม่รู้จบ แสดงความสัมพันธ์ตามแผนภาพต่อไปนี้
แผนภาพที่ 3 วงจรจัดการเรียนรู้ไม่รู้จบ ปรับจาก ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2549)
จากแผนภาพที่ 3 พบว่าสาเหตุที่โรงเรียน หรือองค์กรต้องพยายามดึง ขุ ม ความรู้ ข องสมาชิ ก ในโรงเรี ย น/องค์ ก ร เพื่ อ น าความรู้ นั้ น น ามาปรั บ ใช้ (Apply) ให้สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ โรงเรียน โดยมีรูปแบบในการสร้างและแลกเปลี่ยนความรู้ที่ ได้รับความนิยม โมเดลหนึ่งเรียกว่า SECI Model หรือ เกลียวความรู้ (Knowledge Spiral)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
11
ของ Ikujiro Nonaka และ Hirotaka Takeuchi ซึ่งโมเดลนี้เริ่มนาเอาระบบ คอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการความรู้ในองค์กร โดยมีรูปแบบโมเดล ดังนี้
แผนภาพที่ 4 เซกิโมเดล (SECI Model) ปรับจาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, (2547) จากแผนภาพที่ 4 เซกิโมเดล (SECI Model) สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของ กระบวนการแต่ละช่วงได้ ดังนี้ 1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) S : Tacit to Tacit อธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คมในการส่ ง ต่ อ ระหว่ า งความรู้ ฝั ง ลึ ก ( Tacit knowledge) ด้วยกัน เป็นการแบ่งปันประสบการณ์แบบเผชิญหน้าระหว่างผู้รู้ โดยจัด กิจกรรมฝึกอบรมความรู้ ถอดความรู้ผู้เชี่ยวชาญ การตอบปัญหาการเรียนการสอนโดย ผู้เชี่ยวชาญ รับการนิเทศจากกัลยาณมิตรโดยจัดให้เหมาะสมกับประสบการณ์ของแต่ละ บุคคล เฉพาะเรื่อง เฉพาะพื้นที่ แล้วนามาแบ่งปัน เพื่อถ่ายทอดความรู้ในตัวคนจากคน หนึ่งไปสู่คนอื่นโดยการแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้และประสบการณ์ ที่มิใช่เป็นเพียงการ อ่านหนังสือ คู่มือ หรือตารา
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
12
2. การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) E : Tacit to Explicit อธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ กั บ ภายนอกในการส่ งต่ อ ระหว่ า งความรู้ ฝั งลึ ก (Tacit knowledge) กับความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เชี่ยวชาญ อธิบาย หรือเล่าประสบการณ์แล้วถ่ายทอดออกมาในรูปแบบเอกสารหรือสื่อต่างๆ ที่ สามารถเก็บไว้ใช้ได้และส่งมอบไปให้ผู้อื่น เช่น การบันทึกวีดิทัศน์ การจัดเวทีแลกเปลี่ยน ความรู้ และบันทึกสรุปความรู้บนสมุดบันทึก นาประสบการณ์และความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ จัดทาเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และจัดเก็บบนเว็บไซต์ เป็นต้น อาจเป็นการนาเสนอใน เวทีวิชาการ หรือบทความตีพิมพ์ เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ที่ถูกฝังอยู่ในความรู้ฝังลึก ให้สื่อสารออกไปภายนอก อาจเป็นแนวคิด แผนภาพ แผนภูมิ เอกสารที่สนับสนุนให้เกิด การสื่อสารระหว่างผู้เรียนรู้ด้วยกันที่เข้าใจได้ง่าย ซึ่งความรู้ฝังลึกจะถูกพัฒนาให้ตกผลึก และถูกกลั่นกรอง แล้วนาไปสู่การแบ่งปัน เปลี่ยนเป็นฐานความรู้ใหม่ที่ถูกนาไปใช้สร้าง นวัตกรรมในกระบวนการใหม่ 3. การผนวกความรู้ (Combination) C : Explicit to Explicit อธิบายความสัมพันธ์การรวมกันของความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) โดย ให้ครูร่วมกันรวบรวมความรู้ที่ชัดแจ้งต่างๆ ที่ผ่านการจัดระบบ และบูรณาการความรู้ที่ ต่างรูปแบบเข้าด้วยกันแล้ว นาความรู้มาวิเคราะห์สังเคราะห์ สร้างความรู้ใหม่ เพื่อสร้าง นวัตกรรมทางการศึกษา หลังจากนั้นนาความรู้และนวัตกรรมรวบรวมไว้ในคลังความรู้ อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยัง อาจให้ครูบันทึกสรุปความรู้ที่ได้รับในแต่ละขั้นตอนบนสมุด บันทึก เมื่อได้องค์ความรู้ใหม่ โดยความรู้ชั ดแจ้งได้จากการรวบรวมความรู้ภายในหรือ ภายนอกโรงเรียน/องค์กร แล้วนามารวมกันแล้วความรู้ใหม่จะถูกเผยแพร่แก่สมาชิกใน โรงเรียน/องค์กร 4. การผนึกฝังความรู้ (Internalization) I : Explicit to Tacit อธิบายความสัมพันธ์ภายในที่มีการส่งต่อความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) สู่ความรู้ฝังลึ ก (Tacit knowledge) แล้ วมีการนาไปใช้ในระดับบุ คคล ครอบคลุมการ เรียนรู้และลงมือทา โดยจัดกิจกรรมให้ครูเรียนรู้ ดูดซับความรู้จากสื่อต่างๆ ในคลังความรู้ อิเล็กทรอนิกส์ แล้วนาความรู้ที่เรียนมาไปปฏิบัติจริงจนเกิดเป็นประสบการณ์ทักษะ และ พัฒนาเป็นความรู้ใหม่ที่อยู่ในตนเอง เพื่อสร้างเป็นนวัตกรรมทางการศึกษา ซึ่งความรู้ชัด แจ้งถูกเปลี่ยนเป็นความรู้ฝังลึกของครู จะกลายเป็นคลังปัญญาของโรงเรียน/องค์กร
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
13
จากข้ อ มู ล ดั งกล่ า วสามารถสรุ ป โมเดลเซกิ ( SECI Model) อย่ า งง่ า ยได้ ต าม แผนภาพต่อไปนี้
แผนภาพที่ 5 สรุปโมเดลเซกิ (SECI Model) ปรับจาก Nonaka, I., Toyama, R., & Konno, N. (2000)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
14
การจัดการความรู้(Knowledge Management) การจั ด การความรู้ (Knowledge Management) หรื อ KM หมายถึ ง กระบวนการอย่ า งเป็ น ระบบเกี่ ย วกั บ การประมวล และรวบรวมข้ อ มู ล สารสนเทศ ความคิด การกระทา ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคลซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็น “ระบบ” เพื่อสร้างความรู้หรือนวัตกรรม และจัดเก็บใน ลัก ษณะของแหล่ งข้ อ มู ล ที่ บุ ค คลสามารถเข้า ถึ งได้ โ ดยอาศั ย ช่ อ งทางต่า งๆ ที่ อ งค์ ก ร จัดเตรียมไว้ เพื่อนาความรู้ที่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมาย 4 ประการ ได้แก่ 1) บรรลุเป้าหมายของงาน 2) บรรลุเป้าหมายการ พัฒนาคน 3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ 4) บรรลุความเป็น ชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอื้ออาทรระหว่างกันในที่ทางาน พร้อมทั้งก่อให้เกิดการแบ่งปัน และถ่ายโอนความรู้ และในที่สุด ความรู้ที่มีอยู่จะแพร่กระจายและไหลเวียนทั่วทั้งองค์กร อย่างสมดุล เป็นไปเพื่อเพิ่มความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมขององค์กร ภาพกว้างของการจัดความรู้ต้องเกิดจากความเชื่อของทุกคนว่าการจัดความรู้ (Knowledge Management) จะน าไปสู่ ค วามส าเร็ จ ขององค์ ก ร กล่ า วคื อ ทุ ก คนใน องค์กรมีเป้าหมายร่วมกัน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนสามารถสร้างคลังความรู้ของ องค์กรได้ โดยภาพกว้างนี้สามารถอธิบายได้ด้วย โมเดลปลาทู(Tuna Model) ซึ่งมีแบ่ง การจัดความรู้เป็น 3 ส่วนเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ดังแผนภาพต่อไปนี้
แผนภาพที่ 6 โมเดลปลาทู(Tuna Model) ปรับจาก ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2548)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
15
การจะทาให้ปลาทูว่ายน้าสู่เป้าหมาย หรือจะขับเคลื่อนโมเดลปลาทู (Tuna Model) ได้นั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือขององค์กร โดยมีตัวละคร เพื่อแสดงบทบาทดังนี้ ใคร ? ตัวละคร บทบาท/ลักษณะ ในระบบโรงเรียน
คุณเอื้อ (Chief Knowledge OfficerCKO)
คุณอานวย
เป็นหัวหน้าทีม คอยจัดบทบาท จัดการความรู้ ทา หน้าที่กาหนดทิศทาง สนับสนุนทรัพยากร สร้างการ ยอมรับ และสร้า งแรงใจให้ แ รงเสริม มีความเป็ น ผู้นา กล้าคิด กล้าตัดสินใจ มีปัญญาที่ฉลาด มีความ เฉลี ย ว มี ไ หวพริ บ ปฏิ ภ าณที่ ดี มี ทั ก ษะในการ ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การพู ด มี ม นุ ษ ย์ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี แ ละมี ความรู้เกี่ยวกับงานที่ทา เป็ น สมาชิ ก ผู้ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริ ม คอยอ านวยความ สะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงผู้คนหรือ ทีม งานหรื อ ผู้ ที่เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า หากัน โดยเฉพาะ
- ผู้อานวยการ - รองผู้อานวยการ
- รองผู้อานวยการ - หัวหน้ากลุ่มสาระ - ครูแกนนา
ต้องคอยประสานงานให้กับ “คุณเอื้อ” และ “คุณกิจ”
(Knowledge Facilitator-KF)
เป็นผู้ดาเนินกิจกรรมจัดการความรู้ทั้งหมดเป็นผู้ที่มี - ครู ค ว า ม รู้ ( Explicit Knowledge) แ ล ะ เ ป็ น ผู้ ที่ - ผู้เชี่ยวชาญ ดาเนินการให้มีก ารมาแลกเปลี่ยนความรู้ มาใช้ใน การแสวงหาและสร้ า งความรู้ เ พื่ อ ใช้ ใ นการ ปฏิบัติงานให้บรรลุถึง“เป้าหมาย” ที่ตั้งไว้
คุณกิจ (Knowledge Practitioner-KP)
เป็นผู้ทาหน้าที่ติดต่อ ประสานงานเครือข่ายจัดการ - ครู ความรู้ภายในทีมหรือระหว่างทีมเพื่อให้สมาชิกได้มี - หัวหน้าฝ่าย โอกาสมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน - ศึกษานิเทศก์
คุณประสาน (Network Manaer)
หมายเหตุ : อาจมี “คุณลิขิต” มาเพิ่มเพื่อช่วยในการจดบันทึก รวบรวม คลังปัญญาที่ได้ จากกระบวนการ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
16
School-Based Teacher Professional Development
การจั ด บทบาทตามตั ว ละครข้ า งต้ น นั้ น จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม การจั ด การความรู้ (Knowledge Management) ได้ถูกต้อง โดยทุกตัวละครจะมีบทบาทเกี่ยวข้องสัมพันธ์ กับโมเดลปลาทู( Tuna Model) ซึ่งมีองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ ดังแสดงให้เห็นความเกี่ยวโยงกัน ดังนี้
MODEL ปลาทู หัวปลา หน้าที่
ใช้ตามองเป้าหมาย เพื่อว่ายไปให้ถึง ส่วนแรก ส่วนกาหนด ทิศทาง (Knowledge Vision)
1. วิสัยทัศน์/นโยบาย องค์ประกอบ (Vision) 2. ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ สาคัญ (Indicator) 3. แผนปฏิบัตกิ าร (Plan) 4. จัดสรรทรัพยากร (Resource)
บทบาท ของ ผู้เกี่ยวข้อง ปัจจัย สนับสนุน
คุณเอื้อ-นา คุณอานวย-จัดการ คุณคิด-ร่วมคิด คุณประสานประสาน+รู้รบั รู้
ตัวปลา
หางปลา
หัวใจปลาสูบฉีดเลือดไปทุก ส่วน เสมือนการแบ่งปัน และเปลี่ยนความรู้อย่าง ทั่วถึง ส่วนที่สอง ส่วน แลกเปลีย่ น และแบ่งปัน (Knowledge Sharing)
โบกไปมาทาให้ปลา เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ด้วย”ขุมพลังแห่ง ปัญญา” ส่วนที่สาม ส่วนสะสม (Knowledge Asset)
1. กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Group Discussion) 2. วิเคราะห์ความรู้ทเี่ กี่ยวข้อง (Analysis) 3. ฝึกใช้ความรูท้ ี่เกี่ยวข้อง (Practice) 4. สังเคราะห์ แล้วแบ่งปัน (Synthesis)
คุณอานวย –จุดประกาย และอานวยความสะดวก คุณกิจ- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ คุณประสาน-ประสาน+รู้ รับรู้
1. รวบรวมความรู้เข้าคลัง (Collection) 2. จัดการความรู้ (Management) 3. ประเมินความรู้ (Evaluation) 4. เผยแพร่ความรู้ (Sharing)
คุณอานวย –อานวย ความสะดวก คุณกิจ – สังเคราะห์ ความรู้ (คุณลิขิต-จดรวบรวม เผยแพร่) เทคโนโลยี / ฐานข้อมูล(Data Base) / Social media /
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
17
หากเปรียบการจัดการความรู้เหมือนปลาทูตัวหนึ่ง ซึ่งมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนหัว กลางลาตัว และหาง รูปร่างของปลาแต่ละตัวหรือการจัดการความรู้ของแต่ละ องค์ ก รจะแตกต่ า งกั น ขึ้ น อยู่กั บ จุ ด เน้ น ขององค์ ก รนั้ น ๆ เช่ น บางองค์ ก รเน้ น ที่ ก าร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งหมายถึง ส่วนกลางลาตัวปลาก็จะใหญ่กว่าส่วนอื่น ๆ ในขณะที่บาง องค์กรอาจจะเน้นที่คลังความรู้และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง องค์กรนั้นจะมี ส่วนหางปลาใหญ่กว่าส่วนอื่น ๆ โดยทุกส่วนนั้นมีความสาคัญ และ เชื่อมโยงถึงกันเพื่อให้ การจัดการความรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หากส่วนใดที่ทาแล้วบกพร่อง หรือไม่ชัดเจน ก็จะส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นๆ ตามมาด้วย
องค์ประกอบการจัดการความรู้(Knowledge Management Factor) การจัดการความรู้(Knowledge Management ) จะสาเร็จได้นั้นเกิดจากการ ผสมผสานการทางานระหว่าง คน กระบวนการ และเทคโนโลยี เป็นตัวเชื่อมโยงให้เกิด การแลกเปลี่ยนความรู้นั้นจาเป็นต้องมีองค์ประกอบ ตามแผนภาพ ดังนี้
แผนภาพที่ 7 องค์ประกอบการจัดความรู้ แหล่งที่มา : น้าทิพย์ วิภาวิน. (2547)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
18
1. ด้ า นคน กลยุ ท ธ์ ห ลั ก ที่ ธุ ร กิ จ ใช้ ส ร้ า งความได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น ใน ทศวรรษนี้ มุ่งที่ความสามารถของคนในองค์กรที่จะสร้างนวัตกรรม และมีความคล่องตัวที่ จะปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ตามสภาวการณ์ การพัฒนาคนในองค์กรจึงมีความสาคัญอันดับแรก การจัดการความรู้เป็นกลยุทธ์ กระบวนการ และเทคโนโลยีที่ใช้ในองค์กร เพื่อแสวงหา สร้าง จัดการแลกเปลี่ยน และทาให้ความรู้ที่ต้องการได้รับผลสาเร็จตามวิสัยทัศน์ที่องค์กร ต้ อ งการ เป็ น การผสมผสานความรู้ จ ากหลายศาสตร์ เช่ น การบริ ห ารจั ด การ (Management science) การค้นคืนสารสนเทศ(Information retrieval ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) และพฤติกรรมองค์กร(Organization behavior) 2. ด้านกระบวนการ กระบวนการของการจัดการความรู้ ประกอบด้วยแนวทาง และขั้นตอนของการจัดการความรู้โดยต้องระบุประเภทของสารสนเทศที่ต้องการทั้งจาก แหล่งข้ อมูลภายในและภายนอกเป็น การแยกแยะว่า ความรู้ ชนิดใดที่ควรนามาใช้ใ น องค์กร แล้วนาความรู้นั้นมากาหนดโครงสร้าง รูปแบบและตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนที่ จะนามาผลิตและเผยแพร่ โดยการบริหารกระบวนการนั้น จะต้องเข้าใจวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ขององค์กรว่าต้องการให้บรรลุเป้าหมายอะไร 3. ด้ า นเทคโนโลยี การจั ด การความรู้ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น เครื่องมือเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของความรู้ในองค์กรให้เป็นความรู้ที่เกิดประโยชน์ ต่อบุคคล ในเวลาและรูปแบบที่บุคคลต้องการเรียกว่าระบบบริหารความรู้ แนวคิดของ เทคโนโลยี ที่ ใ ช้ ใ นการจั ด การความรู้ (Knowledge Management technology) มี ความหมายที่กว้างกว่าเทคโนโลยี เวิลด์ไวด์เว็บ(www) เนื่องจากเป็นความพยายามในการ ยกระดับแนวคิด ในการรวมความสามารถของเทคโนโลยี และความรู้ของบุคคล โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ โครงการนาร่องของการจัดการความรู้ พัฒนาขึ้นใช้ในอินทราเน็ต ฐานข้อมูล หรือกรุ๊ปแวร์ ที่ให้บุคคลในองค์กรสามารถสื่อสารและการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการความรู้รวมถึงระบบการจัดการเอกสาร (Document management systems) การค้ น คื น สารสนเทศ (information retrieval engines) ฐานข้ อมูล เชิง สัม พันธ์ และเชิงวัตถุ (Relational and object databases) ระบบการ พิมพ์อิเล็กทรอนิคส์ (Electronic publishing systems) กรุ้ปแวร์และการไหลของข้อมูล ( Groupware and workflow systems) เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร รั บ - ส่ ง ข้ อ มู ล ( Push technologies and objects) โปรแกรมการให้ข้อมูลลูกค้า (Helpdesk applications) โปรแกรมการระดมความคิ ด (Brainstorming applications) และเครื่ อ งมื อ การรวม ข้อมูล (Data warehousing and data mining tools)
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
19
กระบวนการการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ จัดกิจกรรมระดมความคิด ผ่านเครือข่ายของครู และกาหนดเป้าหมายในการจัดการความรู้ของแต่ละทีม และ การบรรลุเป้าหมายของทีม ครูจาเป็นต้องใช้ความรู้อะไร ขณะนี้ครูมีความรู้อะไรบ้างความ รู้อยูท่ ี่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะนาความรู้มาใช้ได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) การนาเอาข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ที่มีอยู่ภายในและภายนอกองค์กร เช่น การสอนงาน การฝึกอบรม การสัมมนา การประชุม การแสดงผลงาน ระบบพี่เลี้ยง การ เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและการลงมือปฏิบัติ แล้วนาความรู้มากลั่นกรองและสร้าง คุณค่า สร้างสรรค์ความรู้ให้เกิดในแต่ละบุคคล โดยผ่านการผลักดัน การหยั่งรู้และความ เข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลึกซึ้ง ทาให้สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ พัฒนาให้เกิดสิ่งที่มี คุณ ค่า สร้า งแนวคิด ทฤษฎีใ หม่ เพิ่ มคุ ณค่ า ให้ กับ ความรู้เ ดิ ม เกิ ดเป็น ความรู้ใ หม่ เช่ น นวัตกรรมใหม่ๆ หรือ การคิดค้นนวัตกรรมชนิดใหม่ 3. การจัดเก็บและเข้าถึงความรู้ (Knowledge Storage and Accessibility) เป็นการจัดเก็บความรู้ไว้เพื่อให้ครูเข้ามาสืบค้นได้ตามความต้องการ โดยต้อง คานึงถึงวิธีการเก็บรักษา บันทึกเป็นฐานข้อมูล (Database) หรือบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษร โดยครูทุกคนร่วมกันจัดเก็บความรู้ให้เป็นหมวดหมู่ทั้งความรู้ที่ฝังลึกในตัวคนและ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Tacit Knowledge และ Explicit Knowledge) มีการจัดหมวดหมู่ตาม องค์ประกอบ เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงความรู้ที่ต้องการเพื่อการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การปฏิบัติงาน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในเวลาที่ต้องการอย่างเหมาะสม และเป็น ศูนย์กลางให้ครูเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือสืบค้นความรู้ที่ต้องการ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
20
4. แลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) เป็นการใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกั บการแลกเปลี่ ยน แบ่งปัน เผยแพร่ กระจาย ถ่ า ยโอนความรู้ ท าได้ ห ลายวิ ธี เช่ น กรณี เ ป็ น Explicit knowledge อาจจั ด ท าเป็ น เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศหรือกรณีเป็น Tacit knowledge อาจทาโดย การถอดความรู้ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ หรือการแลกเปลี่ยนความรู้ในรูปของ การประชุม อบรม สัมมนา การสร้างเครือข่าย การประชุมทางไกล 5. การประยุกต์ใช้ความรู้ (Knowledge Application) เป็ น ขั้ น ตอนที่ ค รู ไ ด้ เ รี ย นรู้ จ ากการทบทวนความรู้ แ ละประสบการณ์ และ ประยุ ก ต์ ใ ช้ ด้ ว ยการลงมื อ ปฏิ บั ติ งานท าให้ ค วามรู้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ งของงาน เน้ น การใช้ ประสบการณ์ เ ดิ ม ของตนเองเป็ น พื้ น ฐานในการเรี ย นรู้ แล้ ว แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ประสบการณ์ใหม่จากการสร้างความรู้ การแลกเปลี่ยนแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างเพื่อน ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ และระหว่างกัลยาณมิตรนามาสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ นาไปใช้ ใน การตัดสินใจแก้ไขปัญหา พัฒนาผลงานนวัตกรรมทางการศึกษา พัฒนากระบวนการ ทางาน พัฒนาครูในทีมงาน การเรียนรู้ดังกล่าวหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง 6. ประเมินผลความรู้(Knowledge Evaluation) การวัดและประเมินความสาเร็จของการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการของ การจัด การความรู้ ตามขั้ นตอนต่า ง ๆ มีก ารตรวจสอบกระบวนการ เพื่ อหาข้ อดี และ ข้อบกพร่องของการดาเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ที่กาหนดไว้ และนาผลที่ได้มาปรับปรุง กระบวนการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้สามารถประเมินผลระหว่างดาเนินการ ( Formative Evaluation) แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ( Summative Evaluation) เพื่อให้ทราบว่าการจัดการความรู้ การได้มาซึ่งความรู้ที่ต้องการของสมาชิก และสังคมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างไร มากน้อยเพียงใด และมีความคิดเห็น เป็นอย่างไร
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
21
เครื่องมือในการจัดการความรู้ เครื่องมือในการจัดการความรู้ เป็นการช่วยให้การค้นหา เข้าถึง ถ่ายทอด และ แลกเปลี่ยนความรู้สะดวกรวดเร็วขึ้น การเลือกใช้กระบวนการและเครื่องมือขึ้นกับชนิด ของความรู้ ลักษณะขององค์กร (ขนาด สถานที่ตั้ง ฯลฯ) ลักษณะการทางานวัฒนธรรม องค์กร ทรัพยากร ฯลฯ สาหรับเครื่องมือการจัดการความรู้ มีรายละเอียดดังนี้ ฐานข้อมูล (Knowledge Bases) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลความรู้ต่างๆ ที่ จาเป็นต้องใช้ในการทางานขององค์กรให้เป็นระบบ เพื่อให้บุคลากรที่ต้องการใช้ข้อมูล ความรู้นั้นสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว การรวบรวมจัดเก็บฐานข้อมูล ความรู้สามารถทาได้ 2 วิธี คือ จัดเก็บในรูปแบบเอกสาร และจัดเก็บในระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ การจั ด เก็ บ ความรู้ แ ละวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ (Best Practice) ในรู ป ของ เอกสาร เป็นการจัดเก็บความรู้หรือข้อมูลขององค์กรในรูปแบบง่ายๆ เพื่อความสะดวกใน การค้นหาและนาไปใช้ เช่น คู่มือ การจัดฝึกอบรม คู่มือการจัดการความรู้ การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story Telling) การใช้เทคนิคการเล่าเรื่องนี้เป็น วิธีการเผยแพร่สิ่งที่เราได้เรียนรู้มาให้แก่ผู้สนใจหรือคนในกลุ่มงานเดียวกัน โดยต้องสร้าง ความสมดุลระหว่างความน่าสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ต้องการสื่อ เช่น การใช้เทคนิคการเล่าเรื่องในประเด็นเกี่ยวกับความสาเร็จหรือล้มเหลวมาผูกเป็นเรื่ องราวให้ น่าสนใจ ทาให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยน ข้อมูลความรู้ที่มีระหว่างกันจนได้องค์ความรู้ที่ดีไว้ใช้ประโยชน์ การทบทวนหลั ง การปฏิ บั ติง าน (AAR: After Action Reviews) คื อ การ อภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการทางานโดยให้สมาชิกแต่ละคนได้พูดสะท้อน ความคิดเห็น หรือความรู้สึกที่มีต่อการทางานที่ผ่านมาว่า มีจุดเด่น จุดด้อย และข้อควร ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น ถ้าจะมีการทางานนี้อีกในครั้งต่อไป ซึ่งจะทาให้สมาชิกในทีมได้ เรียนรู้ความสาเร็จ ความผิดพลาดและสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในการทางานครั้งต่อไป ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) ระบบพี่เลี้ยงเป็นวิธีการถ่ายทอดความรู้ แบบตัวต่อตัว จากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์มากกว่าไปยังบุคลากรรุ่นใหม่หรือผู้ที่มี ความรู้และประสบการณ์น้อยกว่า ซึ่งระบบพี่เลี้ยงเป็นวิธีการหนึ่งในการสอนงานและ ค าแนะน าอย่ า งใกล้ ชิด ผู้ ที่ เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย งมั ก จะมี ต าแหน่ ง และอาวุ โ สกว่ า ซึ่ งอาจอยู่ ใ น หน่วยงานเดียวกันหรือต่างหน่วยงานก็ได้โดยทั่วไประบบพี่เลี้ยงจะใช้เวลาค่อนข้างนาน เพราะทั้งสองฝ่ายจะต้องสร้างความคุ้ นเคยความสั มพันธ์แ ละความเข้า ใจกัน ผู้ที่เป็ น
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
22
School-Based Teacher Professional Development
พี่เลี้ยงนอกจากจะให้คาปรึกษาในด้านการงานแล้วยังเป็นที่ปรึกษาในเวลามีปัญหา หรือ สับสน ที่สาคัญพี่เลี้ยงจะต้องเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องพฤติกรรมจริยธรรม และการทางาน ให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรด้วย การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross–Functional Team) เป็นการจัดตั้งทีม เพื่อมาทางานร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่กาหนดขึ้น ภายใต้ความเชื่อที่ว่าการทางานใน แต่ละเรื่องต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญจากหลายๆ ด้านมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทางาน ร่วมกันจึงจะประสบความสาเร็จ การประชุมระดมสมอง (Workshop/Brainstorming) เป็นเครื่องมือช่วยให้ เกิดกระบวน การเรียนรู้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปรึกษาหารือ กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา หรือตัดสินใจดาเนินการ ปฏิบัติงาน ที่ผ่านประสบการณ์และมุมมองจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ (Communities of Practice : CoP) เป็ น กลุ่ ม คนที่ ม า รวมตัวกันเพื่อแลก เปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทางานทั้งในส่วนที่เป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ซึ่ ง เป็ น ประสบการณ์ ค วามส าเร็ จ และการสรุ ป บทเรี ย น (Lessons Learned) ซึ่ ง เป็ น ความผิ ด พลาดล้ ม เหลวและข้ อ ควรระวั ง ต่ า งๆ ในการท างานเพื่ อ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับเพือ่ นสมาชิกในกลุ่มนาไปใช้แก้ปัญหา และพัฒนา งานในหน้าที่ของตนให้ดี CoP สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งที่เป็นรูปแบบทางกายภาพ (มีสถานที่ การพบปะ) หรือแบบเสมือนจริง (Virtual) ทางออนไลน์ จากที่ กล่าวมานี้ พอสรุ ปข้อเสนอแนะการใช้ เครื่ องมือ การจั ดการความรู้ดั ง ตาราง ดังนี้
เครื่องมือ 1. ฐานข้อมูล (Knowledge Bases) 2. การจัดเก็บความรู้และวิธี ปฏิบัติที่เป็น เลิศ (Best Practice) ในรูปของเอกสาร 3. การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story telling) 4. การทบทวนหลังการ ปฏิบัติงาน (AAR: After Action Reviews)
ประเภทความรู้
ขั้นตอน
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (explicit)
การจัดเก็บและเข้าถึงความรู้
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (explicit)
การจัดเก็บและเข้าถึงความรู้
ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge) ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู/้ การ สร้างความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู/้ การ สร้างและแสวงหาความรู้
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
23
School-Based Teacher Professional Development
เครื่องมือ 5. ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) 6. การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross–Functional Team) 7. การประชุมระดมสมอง (Workshop/Brainstorming) 8. ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice: CoP)
ประเภทความรู้ ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge) ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge) ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge) ความรู้ในตัวคน (Tacit Knowledge)
ขั้นตอน แลกเปลี่ยนความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้ ประเมินผลความรู้
ผลของการจัดการความรู้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานในโรงเรียนดีขึ้น และได้นวัตกรรมใหม่ 2. บุคลากร เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ เกิดชุมชนการเรียนรู้ 3. ความรูข้ องบุคคลและองค์กร มีการจัดระบบและ สั่งสมไว้พร้อมทีจ่ ะนาไป ใช้ประโยชน์ 4. องค์กรมีคุณสมบัตเิ ป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีความ เข้มแข็ง
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ 1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงานของโรงเรียน 2. ป้องกันการสูญหายของภูมปิ ัญญาของโรงเรียน 3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการอยู่รอด 4. เกิดการพัฒนาคนและองค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 5. เพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผน ดาเนินการได้รวดเร็ว 6. เพิ่มความกลมเกลียวในโรงเรียน 7. เพิม่ คุณค่า และมูลค่าให้กับองค์กร 8. เปลี่ยนวัฒนธรรมอานาจในแนวดิ่งไปสู่วัฒนธรรมความรู้ในแนวราบ ทุกคนมีสิทธิในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
24
ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ ตัวอย่างงานที่ 1 การศึกษาการจัดการความรู้ของครูในสถานศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ธิดารัตน์ เสวิกุล (2556) ทางานวิจัย เรื่อง “การศึกษาการจัดการความรู้ของ ครูในสถานศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร” โดยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ จัด การความรู้ ข องครูใ นสถานศึก ษาเอกชนในเขตกรุ งเทพมหานครที่ ผ่ านเกณฑ์ ก าร ประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารอบที่สองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 – 2552 ในระดั บดีและมีผลการทดสอบระดับชาติปี พ.ศ.2554 ไม่ต่ากว่า ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ทั้งหมด 30 โรงเรียน โดยใช้กรอบแนวคิดการจัดการความรู้ของ Marquardt (2011) ซึ่งมีการจัดการความรู้ 6 ขั้นตอน คือ 1. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) 2. การสร้างความรู้ (Knowledge Creation) 3. การจัดเก็บความรู้ (Knowledge Storage) 4. การวิเคราะห์และสร้างเหมืองข้อมูล (Analysis and Data Mining) 5. การถ่ายโอนและเผยแพร่ความรู้ (Knowledge Transfer and Dissemination) 6. การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ละการปรั บ ข้ อ มู ล ให้ ถู ก ต้ อ งเที่ ย งตรง ( Knowledge Application and Validation) ผลการวิจัย พบว่า ปัจ จั ย ความส าเร็จ ของการจั ด การความรู้ ข องครูใ นสถานศึ ก ษาเอกชน เกิ ด จาก สถานศึกษาต้องสร้างบรรยากาศความร่วมมือกันของครู รวมถึง การกาหนดสิ่งที่ครูต้อง แสวงหาความรู้ และมีการสนับสนุ นให้ครูมีการแสวงหาความรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องกาหนด ประเภทความรู้เพื่อทาการจัดเก็บ และมีการประมวลและกลั่นกรอง มีผู้รับผิดชอบในการ นาข้อมูลความรู้ต่าง ๆ มาวิเคราะห์และตรวจสอบความถูกต้องก่อนการจัดเก็บความรู้ เพื่ อ สร้ า ง “เหมื อ งข้ อ มู ล ” ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศต่ า ง ๆ มาจั ด การข้ อ มู ล ของ สถานศึกษา เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยใช้ร่วมกับโปรแกรมการสืบค้น เป็นต้น เอื้อให้ เกิดการถ่ายโอนความรู้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และวิธีการปรับข้อมูลความรู้ของ สถานศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
ตัวอย่างงานที่ 2
25
รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต เบญญาภา คงมาลัย (2556) ศึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ และพัฒนารูปแบบการ พัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต โดยใช้แนวคิด จากรูปแบบการสร้างองค์ความรู้ตามโมเดล SECI ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่ ส่วนที่ 1 การรับความรู้ภายในสู่ภายใน (Socialization) ส่วนที่ 2 การนาความรู้ภายในบุคคลสู่ภายนอก (Externalization) ส่วนที่ 3 การผนวกความรู้ที่ชัดเจนภายนอกเข้าด้วยกัน (Combination) ส่วนที่ 4 การรับความรู้ภายนอกเข้าสู่ภายในบุคคล (Internalization) ผ่านกระบวนการจัดการความรู้ในองค์กรได้แก่ (1) การสร้างความรู้จากผู้เชี่ยวชาญในแต่ ละสาขา (2) กระบวนการจัด การรัก ษาความรู้ กิจกรรมหรื อระบบต่างๆ ให้ยั งคงอยู่ (3) การจัดเก็บความรู้ (4) การแบ่งปันความรู้ไปใช้ และ (5) การนาความรู้ไปใช้ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบของสมรรถนะการจัดการความรู้ของนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิตจะเกิดขึ้นได้นั้น ต้องประกอบด้วย 9 สมรรถนะ ได้แก่ (1) มีความรู้ ด้านหลักการจัดการความรู้ (2) มีความรู้ความเข้าใจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) มี ทัก ษะด้า นการบ่งชี้ค วามรู้ (4) มี ทัก ษะในการจั ดการความรู้ (5) มีทั กษะการสื่อ สาร ระหว่างบุคคล (6) มีทักษะในการแบ่งปัน ความรู้ (7) มีทักษะการคิดและแก้ปัญหา (8) มี จิตสานึกด้านคุณธรรม จริยธรรม และความซื่อสัตย์ในการจัดการความรู้ และ (9) มีความ รับผิดชอบในการแบ่งปันความรู้ นอกจากนี้ การจัดกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะการ จัดการความรู้เป็นการสร้างทักษะความรู้ทัศนคติและคุณค่าของการเรียน ด้วยสิ่งเร้าจาก การจัดสภาพแวดล้อม การวางแผน การจัดประสบการณ์ การจัดแนวทางการเรียนรู้ การ ออกแบบหลัก สู ต รและกิจ กรรม ซึ่งกิ จ กรรมการเรีย นรู้ ประกอบด้ วยกระบวนการ 6 ขั้นตอนได้แก่ (1) การนาเข้าสู่บทเรียน (2) การบอกจุดประสงค์ (3) การทบทวนความรู้ เดิม (4) การนาเสนอบทเรียน (5) การปฏิบัติการเรียน (6) การประเมินผล
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
26
KM จัดเป็น PLC หรือไม่? การจั ดการความรู้ ( KM : Knowledge management) ในภาพรวมนั้ น เป็ น กระบวนการที่ส่งเสริมการสร้างชุมชนการเรียรรู้ทางวิชาชีพครู( Professional Learning Community) ซึ่งหากพิจารณาเปรียบเทียบคุณลักษณะ/แก่น สาคัญที่ทาให้เกิด ชุมชน การเรียรรู้ทางวิชาชีพครู หรือ PLC ได้ 5 ประการ ได้แก่ 1) การมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน (Shared values and vision) 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน (Collective responsibility for students learning) 3) การสืบสอบเพื่อสะท้อนผลเชิงวิชาชีพ (Reflective professional inquiry) 4) การร่วมมือรวมพลัง (Collaboration) 5) การสนั บ สนุ น การจั ด ล าดั บ โครงสร้ า งและความสั ม พั น ธ์ ข องบุ ค ลากร ( Supportive conditions structural arrangements and collegial relationships) เมื่อพิจารณาจากคุณลักษณะของ PLC แล้วนั้น พบว่า การจัดการความรู้ หรือ KM มีลั กษณะใกล้ เ คีย งกั บ กับ คุณ ลั กษณะดั งกล่า วอยู่ มาก กล่ า วคือ การจั ดการ ความรู้มุ่งการมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน ในการสร้าง/รับรู้ พันธกิจ วิสัยทัศน์ หรือเป้าหมาย ของการจัดการความรู้ให้ชัดเจน นาไปสู่การร่วมกันแบ่งปันความรู้ วิพากษ์ วิจ ารณ์เ พื่อ สืบ เสาะความรู้จ ากบุคลากรขององค์ก ร หรื อสะท้ อนผลการ ปฏิบัติงานเพื่อสกัดองค์ความรู้ นาไปสู่การสร้าง ขุมพลังแห่งปัญญา หรือ คลังปัญญา ของโรงเรียน ดั ง นั้ น หากจะสรุ ป ว่ า การด าเนิ น งานของการจั ด ความรู้ ( KM) เป็ น การ กระบวนการที่เอื้ออานวยให้เกิดสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพรูปแบบหนึ่ง ก็ อาจสรุปได้ดังเหตุผลที่กล่าวมาแล้ว ทั้งนี้ การจัดการความรู้ยัเน้นการดาเนินงานที่ ต่อเนื่อง และยั่งยืน ซึ่งตรงกับเป้าหมายของ PLC อย่างชัดเจน
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
A little knowledge that acts is worth more than much knowledge that is idle. ความรู้เพียงเล็กน้อยเพื่อปฏิบัติมีค่ามากกว่าความรู้มหาศาลที่อยู่เฉย ๆ (Kahlil Gibran)
ความรู้ดูยิ่งล้า คิดค่าควรเมืองนับ เพราะเหตุจักอยู่กับ โจรจักเบียนบ่ได้
สินทรัพย์ ยิ่งไซร้ กายอาต-มานา เร่งรู้เรียนเอา
(โคลงโลกนิติ : กรมพระยาเดชาดิศร)
27
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
28
บรรณานุกรม ภาษาไทย ธิดารัตน์ เสวิกุล. (2556). การศึกษาการจัดการความรู้ของครูในสถานศึกษาเอกชนใน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร การศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. น้าทิพย์ วิภาวิน. (2547). การจัดการความรู้กบั คลังความรู.้ กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญส่ง หาญพานิช. (2546). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ใน สถาบันอุดมศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต,สาขาวิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์. 2014. การปรับใช้ตัวแบบทูน่า (Tuna model) ในการพัฒนาระบบ. (ออนไลน์). แหลงที่มา : http://www.thaiall.com/blog/burin/6185/ วันที่สืบค้น[3 ตุลาคม 2560]. เบญญาภา คงมาลัย. (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้ของนิสติ นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชา อุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2548). การจัดการความรู้ ฉบับมือใหม่หดั ขับ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ใยไหม. ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2549). การจัดการความรู้ (KM) ฉบับขับเคลื่อน LO. กรุงเทพฯ : ใยไหม. พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้ : พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ต. วิจารณ์ พานิช. (2546) . การจัดการความรู้ในยุคสังคมเศรษฐกิจบนฐานความรู.้ กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรูเ้ พื่อสังคม. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2547). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่ปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ :บริษัท จิรวัฒน์เอ็กซ์เพรส. สุประภาดา โชติมณี. (2554). จัดการความรู้อย่างไรให้ใช้ได้ผลกับทุกระบบ. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
ภาษาอังกฤษ Nonaka, I.,and Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-Creating Company: How Japanese Companies Create the Dynamics of Innovation. New York: Oxford University Press. Nonaka, I., Toyama, R., & Konno, N. (2000). SECI, Ba and leadership: a unified model of dynamic knowledge creation. Long range planning, 33(1), 5-34. Nonaka, I.,and Takeuchi, H. (2004). Hitosubashi on Knowledge Management.Singapore: Saik Wah Press. Omotayo, F. O. (2015). Knowledge Management as an important tool in Organisational Management: A Review of Literature. Library Philosophy and Practice, 1. Uriarte, Jr. (2008). Introduction to Knowledge Management. ASEAN Foundation, Jakarta, Indonesia.
29
รายวิชาการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-Based Teacher Professional Development
แนวคิด ทฤษฎี กระบวนการ วิธีการ และกลยุทธ์ ในการพัฒนาวิชาชีพครู
การจั ด การความรู้ (Knowledge Management) คื อ กระบวนการเกี่ยวกับการประมวลข้อมูลที่ได้จากการสกัดความรู้ ฝังลึก (Tacit Knowledge) ของบุคลากรในองค์กรให้ออกมาเป็น ความรู้ ชั ด แจ้ ง (Explicit Knowledge) เพื่ อ น าไปสร้ า งคลั ง ปัญญา/ขุมความรู้ ให้กับองค์กร โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบเพื่ อ น าความรู้ ที่ มี อ ยู่ ไ ป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คู่มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 2716607 การพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ปีการศึกษา 2560 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30