เฮย์-ออน-ไวย /เมือง/รัก/หนังสือ

Page 1



­¥ ­¥¥´ ªl

4JYQFODF )PVTF -PTU JO B 5PXO PG #PPLT 1BVM $PMMJOT

À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­ ­¥ ­¥¥´ ªl À µ¢ ¨££§£´¨² Á ¥

XXX HBNNFNBHJF DPN

Sixpence house front .indd 1

9/26/11 11:50:20 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

4JYQFODF )PVTF -PTU JO B 5PXO PG #PPLT À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­ เขียน - Paul Collins แปล - ศรรวริศา บรรณาธิการ - อธิชา มัญชุนากร กาบูล็อง พิสูจนอักษร - นิน นารา ออกแบบปก - รัตนา รูปเลม - อังโกะ อัณญาดา ภาพปกและภาพประกอบ ©- ฟลิปป กาบูล็อง Copyright © 2003 by Paul Collins. This editions arranged with Tessler Literary Agency through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. Thailand พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2554 จำนวนพิมพ 3,000 เลม ISBN: 978-616-7591-05-6

สำนักพิมพกำมะหยี่ 74/1 รังสิต-นครนายก 31 ต.ประชาธิปตย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท: 084-146-1432 โทรสาร: 0-2996-1514 Email: gammemagie@gammemagie.com Homepage: http://www.gammemagie.com Facebook: http://www.facebook.com/GammeMagieEditions พิมพที่ หางหุนสวนจำกัดภาพพิมพ 296 ซ.อรุณอมรินทร 30 ถ.อรุณอมรินทร บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท : 0-2433-0026-7 โทรสาร : 0-2433-8587 Homepage: http://www.parbpim.com จัดจำหนายทั่วประเทศโดย บริษัทอมรินทรบุคเซ็นเตอร จำกัด 108 หมู 2 ถนนบางกรวย-จงถนอม ต.มหาสวัสดิ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทรศัพท 0-2423-9999 โทรสาร 0-2499-9561-3 ราคาจำหนาย 250 บาท

Sixpence house front .indd 2-3

9/26/11 11:50:20 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

³ ³ª³ ± ´¡ l

ในหมูพลพรรคสำนักพิมพกำมะหยี่ เราเชื่อวาในอาชีพการทำหนังสือ คุณสมบัติ ที่ขาดไมไดคือความรักหนังสือ เพราะขั้นตอนตางๆ ในการทำหนังสือเรียกรอง การทะนุถนอมกลอมเกลี้ยงดุจดังบุตร เรียกรองความใสใจตั้งแตแรกเริ่ม ตั้งแต การเฟนหานักเขียนจนจบกระบวนการจัดพิมพ สงสูมือของผูจัดจำหนาย ไมตาง ไปจากการใหกำเนิดสิ่งมีชีวิตสิ่งหนึ่ง ดวยเหตุนี้หนังสือชุด “คน/รัก/หนังสือ” ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับหนังสือหรือเกิดขึ้นใน สภาพแวดล อ มที ่ เ ต็ ม ไปด ว ยหนั ง สื อ จึ ง ถื อ กำเนิ ด เริ ่ ม จากเล ม แรกของชุ ด คื อ ปารีส/พำนัก/คน/รัก/หนังสือ มาสู เฮย-ออน-ไวย / เมือง/รัก/หนังสือ เลมนี้ อยางเปนธรรมชาติยิ่ง เมื่อบรรณบุตรออกจากออมอกของเราไปแลว ชะตากรรมของเขาจะเปนอยางไร เราไมอาจหยั่งรูได หนังสือบางเลมไปอยูบนชั้นหนังสือของหนอนหนังสือที่ทะนุถนอม ดูแลเปนอยางดี บางเลมอยูกนกลองกระดาษรอการกัดกินจากปลวกมอด บางเลม ยับเยินช้ำมือถูกสงตอใหยืมอานแลวลืมคืน (ซึ่งหนังสือคงจะดีใจที่มีคนไดอาน หลายคน แตเจาของหนังสืออาจจะไมพอใจสักเทาไรนัก) บางเลมยังนอนรอเปน แมสายบัวอยูในถุงที่กองอยูทามกลางถุงจากรานหนังสือที่เจาของซื้อมาในคราวอื่นๆ

หนังสือในมือทานเลมนี้ไมเพียงบอกเลาเรื่องราวของหนึ่งในเมืองรักหนังสือที่มี ชื่อเสียงแหงหนึ่งของโลกผานประสบการณชีวิตจริงของผูเขียนที่รักหนังสืออยาง ยิ่งยวด ยังบอกเลาถึงชะตากรรมของหนังสือในเสนทางหนึ่ง ณ จุดหมายปลายทาง ของหนั ง สื อ นั บ ล า นเล ม ที ่ ม ี ช ี ว ิ ต โลดแล น ผ า นระยะทางและระยะเวลายาวไกลไป เปลี่ยนแปลงสถานะจาก ”หนังสือ„ เปน ”หนังสือเกา„ เมื่อเหยียบยางผานธรณีประตู ของสถานที่ที่เรียกวา ”รานขายหนังสือเกา„ ซึ่งอาจมองไดวาเปนสถานที่ชุบตัวให โอกาสหนังสือแสดงคุณคาของตนเองสูสายตาผูอานที่รักหนังสืออีกครั้ง

ขอใหมีความสุขในการอาน สำนักพิมพกำมะหยี่ กันยายน 2554

Sixpence house front .indd 4-5

9/26/11 11:50:20 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

² ¹iÁ ¥

นี่คือวาระแหงการรวมพล ”คนรักหนังสือ„ ที่ผานมาอีกครั้ง... จากเรื่องราวของนักเขียนแคนาดาในรานหนังสือเล็ก ๆ ใจกลางปารีส คราวนี้ พอล คอลลินส นักเขียนอเมริกัน ไดนำเราเดินทางขามชองแคบอังกฤษไปสู เมืองเล็ก ๆ ในแควนเวลส เมืองที่ผูเขียนบรรยายไวในบทที่สามวา มีประชากร หนึ่งพันหารอยคน โบสถหาหลัง รานขายของชำสี่ราน แผงหนังสือพิมพสอง แผง ที่ทำการไปรษณียหนึ่งแหง...และรานหนังสือสี่สิบราน นั่นเทากับมีราน หนังสือ (เกา) หนึ่งรานตอประชากร 37 คน ซึ่งอาจทำใหหนอนหนังสือหลายคน รำพันฝนหวานวา อะไรจะนาอยูปานนี้ แตในชีวิตจริง การพาตัวเขาไปยังเมืองในฝน การยายเขาไปอยูในเมืองหนังสือ เมืองนั้น ไมใชเรื่องงายสำหรับคนตางชาติตางวัฒนธรรม – แมจะเปนวัฒนธรรม ตะวันตกดวยกันที่ดูแสนจะละมายเหมือนในสายตาคนตะวันออกก็ตามที – โดย เฉพาะคนตางวัฒนธรรมที่มีครอบครัวและลูกเล็ก ๆ

การพาครอบครัวยายขามประเทศของพอล คอลลินส นอกจากจะทำใหเราได เห็นการตอสูดิ้นรนของคนตัวเล็ก ๆ ที่พยายามจะหาที่อยูในดินแดนแหงความฝน อันแตกตาง เรายังไดเห็นการใชชีวิตทามกลางวงลอมของหนังสือ การเดินทาง และวัฏจักรของหนังสือแตละเลมตั้งแตตนจนจบ และแสงสวางทางวรรณกรรม ที่ถูกหลงเลือนไปโดยไมสมควร ไมนับวิถีชีวิตและตัวละครอีกหลากหลายที่เดิน สะเปะสะปะเขามาในฉาก – ปราสาทที่ถูกไฟไหม โรงเตี๊ยม และผับโทรม – ของ เมืองหนังสือแหงนั้น เขาเลาถึงทุกสิ่งทุกอยาง ทุกผูทุกคน ดวยความรัก สอดแทรกเรื่องราวและเกร็ดเล็กเกร็ดนอยจากขุมทรัพยหนังสือเกาที่เขาไดพบที่นั่น คงไมแปลกถาเราอาน เฮย-ออน-ไวย / เมือง / รัก / หนังสือ จบลงและรูสึกอยาก อานหนังสืออีกหลายเลมที่ปรากฏชื่อในนี้หรือฝนอยากไปเยือนเมืองหนังสือกับ ชาวเมืองที่นารักเหลานั้นสักครั้ง จนกวาวาระแหงการรวมพล ”คนรักหนังสือ„ จะผานมาอีกครั้ง ศรรวริศา เมษายน 2554

Sixpence house front .indd 6-7

9/26/11 11:50:21 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

Á hÀ ´À ­£l

Sixpence house front .indd 8-9

9/26/11 11:50:22 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ­¥ ­¥¥´ ªlªl

บ ท ที่ ห นึ่ ง

À£´È¡ i ±É « ± ª·­Á¥° ²£À ´ ² ผมไมเคยสังเกตทัศนียภาพจากอาคารแฟลติรอน1มากอน ถาคุณเอียงศีรษะ ทำมุมเหมาะ ๆ แมนฮัตตันจะเปนประติมากรรมที่ดูนาตื่นตาอยางประหลาด ”ดีนะที่หนังสือของคุณไมไดพิมพตอนนี้„ บรรณาธิการของผมบอก ”ยังไงครับ„ ”เพราะวา„ เขาชะโงกหนาเขามา ”แฮรรี่ พอตเตอร ใชกระดาษซะเกลี้ยง เลยนะสิ„ ”คุณลอเลนหรือเปลา„ ”ผมพูดจริง ๆ„ ”ไมนา„ เขามองหนาผม สีหนาหมองไปเล็กนอย ”ผมพูดจริง ๆ ผูผลิตกระดาษ รายหลักใหสำนักพิมพในนิวยอรกมีอยูสองราย และเมื่อมีการพิมพหนังสือหนา แปดรอยหนาจำนวนหาลานเลม...คนอื่น ๆ ก็เขาแถวรอกันไป„ ผมพลิกดูภาพถายสำหรับใชประกอบหนังสือของผม ซึ่งเพิ่งเขียนเสร็จใหม หมาดเมื่อสามสิบหกชั่วโมงกอนที่อีกฟากมหาสมุทร ในบานซึ่งผมไมไดเปน เจาของอีกตอไป ผมยังปนตนฉบับยิก ๆ ตอนบริษัทยายบานเขามาขนเฟอรนิเจอร 1 Flatiron อาคารทรงสามเหลี่ยมบนถนนฟฟธอะเวนิวตัดถนนยี่สิบสามและถนนบรอดเวยในยานเมดิสันสแควรของนิวยอรกซิตี

ออกแบบโดยสถาปนิก แดเนียล เบอรแนม สรางเสร็จเมื่อป ค.ศ. 1902 โดยถือเปนตึกระฟาที่สูงที่สุดในสมัยนั้น (87 เมตร)

Sixpence house front .indd 10-11

9/26/11 11:50:23 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

ออกจากอพารตเมนต ยังเขียนไมหยุดตอนเจนนิเฟอรเก็บกระเปาและใหนม มอรแกนจนแกหลับ และตอนเธอตรวจสอบวาพาสปอรตอังกฤษของผมและ วีซาของเธอกับของมอรแกนยังอยูครบ ผมเขียนหนังสือตอนเที่ยงคืน ตีหนึ่ง ตีสอง คอมพิวเตอรเปนสิ่งสุดทายที่เราขนลงลัง ราวหานาทีหลังผมอีเมลสง ตนฉบับใหตัวแทน เคสพลาสติกยังอุนอยูเลย ”แสดงวา„ ผมวางภาพถายลง ”สำนักพิมพกำลังเปดศึกชิงกระดาษกันอยู อยางนั้นหรือครับ„ ”ก็ทำนองนั้น„ เขาก็เหมือนบรรณาธิการคนอื่นที่ผนังหองทำงานอยางนอยสองดานกรุดวย หนังสือ บนโตะมีแคตตาล็อกอาบมันโฆษณาหนังสือที่ตีพิมพชวงฤดูรอนกอง เกลื่อน และในกองบรรณาธิการดานนอกก็มีลังหนังสือและตนฉบับปรูฟมากมาย แถมดวยฝาผนังที่อัดแนนไปดวยหนังสืออีกหลายดาน ไปจนถึงสารานุกรมเกา ๆ ที่ไมเขาสมัยหนึ่งชุด กระดาษขาดแคลนหรือ คุณคิดละสิวาเขานาจะชอบใจ แตภาพจากอาคารแฟลติรอนทำใหเราเขาใจผิด เพราะผมอาศัยอยูในโลกที่เล็ก มาก ๆ แลวคุณก็เชนกันครับ คุณผูอาน ในเวลานี้มีแตคุณกับผม และตอให คุณอานหนังสือเลมนี้หลังผมลาโลกไปแลวสองรอยปหรืออานฉบับที่แปลเปนภาษา ที่ผมไมรูจักก็ไมเปนไร เพราะเรามีความเขาใจรวมกัน แตคนอยางเรามีไมมาก เลย และไมเคยมีมากดวย ถาคุณเติบโตในชนบท คุณจะเห็นการเกิดและดับของบานไร แตหลุมโพรง ที่เกิดจากการขุดหองใตดินนั้นถาวรตลอดกาล มีบางสิ่งซึ่งไมอาจทำลายไดอยูใน หลุมโพรงของฐานรากที่ขุดดวยมือนั้น หนังสือคือหองใตดินแหงอารยธรรม เมื่อวัฒนธรรมตาง ๆ สิ้นสลาย หนังสือในวัฒนธรรมเหลานั้นคงอยูไดเนื่องจาก ความคงทนอันโงเขลาแตเพียงถายเดียว เราเห็นหนากระดาษที่เย็บรวมกันของ หนังสือเหลานั้น และนึกอัศจรรยใจวา ผูคนในวัฒนธรรมนั้นเปนนักอาน!

Sixpence house.indd 12-13

แตใชหรือ ย อ นกลั บ ไปในทศวรรษ 1920 ผู  ค  า หนั ง สื อ ประเมิ น ว า ประชากรหนอน หนังสือในสหรัฐอเมริกา คนที่ซื้อหนังสือเนื้อหาหนัก ๆ อยางแนนอนมีอยูราว 200,000 คน คิดเปนอัตราสวน 1 ตอ 500 ในประเทศที่มีประชากร 100 ลาน และเจาสัดสวนขี้ประติ๋วนี้เองที่แผกระจายอยูในพื้นที่กวางสามพันไมล กลุมคน ที่สามารถบรรจุไดหมดในสนามฟุตบอลไมกี่สนามคือเปาหมายของหนังสือหลาย พันเลมที่ตีพิมพออกมาในแตละป ถึงตอนนี้ อัตราสวนนั้นอาจสูงขึ้นบางแลว แตคุณเห็นแลววาวัฒนธรรมการอานรอแรเจียนตายหรือไมก็ลมตายมาแตไหนแตไร และเมื่อนักเขียนผูทรงเกียรติบางคนลวงรูขอเท็จจริงนี้และประกาศกองถึงการสิ้นสุด ของเรื่องนี้ นั่นก็คือเครื่องหมายแสดงจุดจบของพวกเขาเอง หมายความวา พวกเขาไดสิ้นอายุขัยในเชิงศิลปะไปในชวงสิบปที่ผานมา และรางของพวกเขาจะ สิ้นสลายในอีกยี่สิบปตอจากนั้น เราดูจะขาดแคลนนักอานเสมอ กอนออกจากซานฟรานซิสโก ผมกับภรรยา เขารวมกิจกรรมเยือนเพื่อนบานซึ่งชุมชนของเราจัดขึ้น ถนนวอลเลอรเต็มไปดวย แฟลตยุควิกตอเรีย2 และเราก็อุทานฮือฮาเมื่อเห็นบัวพื้น เพดานที่ตีเปนชอง และเตาผิงแกะสลักของกันและกัน กระนั้นตอนเดินออกจากบานที่เต็มไปดวย สถาปตยกรรมและสลัดมันฝรั่ง ผมก็รูสึกคางคาใจ ”คุณสังเกตไหม„ ผมถามภรรยา ”วาบานเราเปนบานหลังดียวที่มีหนังสือ„ เราเลี้ยวมุมถนนโคลซึ่งมีโทรทัศนพัง ๆ เครื่องหนึ่งวางอยูบนทางเทา ”ฉันสังเกตเห็นวาคุณตรงดิ่งไปที่ชั้นหนังสือของพวกเขาคะ„ นั่นเปนนิสัยเกาแกที่แกไดยากอยางที่สุดของคนรักหนังสือ ”นั่นมันก็จริง แตประเด็นก็คือชั้นหนังสือบิลต-อินสวย ๆ พวกนั้นไมมี หนังสือวางอยูสักเลมตางหาก„ 2 Victorian รัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียของอังกฤษ (ค.ศ. 1837-1901) เปนยุคแหงความสุขสงบ เจริญรุงเรือง

และทันสมัย เนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการลาอาณานิคมนำมาซึ่งความเจริญตาง ๆ สถาปตยกรรมมีลักษณะฟนฟู กอธิก เลียนแบบอาคารยุคกลาง เนนรายละเอียดวิจิตรบรรจง มีแบบแผน โดยเฉพาะสวนโคงใหความรูสึกหรูหรา ออนชอย นิยมประดับผาปก พรม กำมะหยี่ และงานตกแตงลวดลายประณีต

9/26/11 11:46:31 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

ทายที่สุดเราก็เอาไปซอน เราอยากยายออกจากที่นี่มาก เพราะเราไมมีเงินพอจะ อยูในซานฟรานซิสโกไดอีกตอไป ผมพยายามวาดภาพการใชชีวิตในชนบทของ อังกฤษแทน ”มันตองเยี่ยมแน„ นั่นคือสิ่งที่ผมบอกเจนนิเฟอรตอนรถเมลสงเสียงคำรน ลั่นผานหองเด็กในแฟลตของเรา ”เราจะขายที่นี่ ยายไปตางประเทศ และใช ชีวิตในบานเกาแกกับหนังสือเกา ๆ ผมจะเขียนหนังสือและเลนเปยโนในหอง รับแขก คุณก็เขียนหนังสือและวาดรูปที่หองใตหลังคา พอตอนกลางคืน...เราจะ

ดื่มฮอรลิก4และฟงบีบีซี„ แลวผมก็กางแขนทั้งสองขางออกเพื่อแสดงใหเธอเห็นวานี่คือความคิดที่ ยิ่งใหญเพียงใด เจนนิเฟอรครุนคิดเรื่องนี้ เคาะปากกาบนกระดาษรายงานการเงินจากธนาคาร ขณะที่มอรแกน ลูกชายของเรา ดิ้นรนสุดกำลังที่จะพาตัวออกจากผาออม ”เฮย-ออน-ไวยหรือคะ„ เธอถาม ”ใชแลว„ ”เฮยเปนเมืองเล็ก ๆ„ ”ครับ„ ”เล็กมาก„ ”ถูก„ ”คุณจะไมคิดถึงสหรัฐฯ หรือคะ„ ”ผมจะไมคิดถึงปนหรอก„ ”นั่นก็จริง” ”หรือรถเอสยูวี„ ”ก็ใช„ ”แลวอังกฤษก็มีแผนประกันสุขภาพแหงชาติ„ ”ดีคะ„ ”และชนบทก็เหมาะกับเด็ก„ ”ก็ถูก„ เธอบอก ”และเฮยก็มีปราสาทตั้งอยูกลางเมืองดวย„ ”อืมม„ เสียงสเกตบอรดแลนผานทางเทาดานนอก ”แต„ เธอแยง ”ถาเราขายบานนี้แลว เราจะไมมีวันกลับมาอยูในซานฟราน-

3 Temple Bar นิตยสารวรรณกรรมรายเดือนของอังกฤษ ตีพิมพงานของนักเขียน อาทิ เจน ออสเตน, โรเบิรต หลุยส

4 Horlicks ยี่หอเครื่องดื่มนมผสมมอลตสำหรับชงดื่มรอน ๆ ซึ่งแกล็กโซสมิธไคลน บริษัทผูผลิตอางวาการดื่มกอนนอนชวยให

และบางทีมันอาจไมเคยมีก็ได ถาคุณเปดหนากระดาษเหลืองกรอบของ นิตยสาร เทมเพิล บาร 3 เมื่อป 1881 ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการสรางบานเหลานี้ คุณจะเจอขอความวา ชางเปนเรื่อง นาตระหนก โดยแทเมื่อคิดถึงคนที่ไมมีหนังสือ...เพราะมีเพียง หนังสือเทานั้นที่จะทำใหชายหญิงสวนใหญพาตัวใหพนจากความเสื่อมถอยของ ชีวิตได ไมมีหนังสือ! แตสำหรับมนุษยชาติสวนใหญ นั่นคือมาตรฐานคนทั่วไป อันที่จริงเราอาจแบงมนุษยออกเปนสองกลุม กลุมผูอานหนังสือและกลุมผูไมอาน หนังสือ เวลาไมไดเปลี่ยนอะไรไปสักเทาไรเลย ผลการสำรวจเมื่อไมนานนี้พบวา ครัวเรือน อเมริกันครึ่งหนึ่งไมซื้อหนังสือสักเลมในปที่ผานมา ผมรูสถิตินี้ตั้งแตตอนเดินชม บานของเพื่อนบานแลว และผมก็รูกระจางเมื่อตัวแทนขายอสังหาริมทรัพยมองไป รอบ ๆ แฟลตของเราในอีกไมกี่เดือนตอมา ”บานหลังนี้มีหนังสือมากเกินไปครับ คนซื้อบานไมชอบหนังสือ„ เขาเห็นสีหนาของผมและยักไหลอยางชวยไมได ”จริง ๆ นะครับ คุณควรจะ เอาไปซอนไว„

สตีเวนสัน, แอนโธนี ทรอลล็อป, เซอรอารเธอร โคแนน ดอยล ออกวางจำหนายในชวงป ค.ศ. 1860-1906

Sixpence house.indd 14-15

หลับสบาย

9/26/11 11:46:31 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

ซิสโกไดอีกเลยนะคะ เรากลับมาอีกไมได„ ”ใช„ ”และเราก็ตองขนหนังสือทั้งหมดไปดวย„ ”ชะ...โอย ตาย„ ผมจึงไปไฮตเมล รานเล็ก ๆ ที่อัดแนนดวยตูไปรษณียและเครื่องถายเอกสารที่ มุมถนนเมโซนิก เพราะผมตองสงโทรสารถึงบรรณาธิการนิตยสารที่ผมทำงานให ขณะที่เครื่องโทรสารของที่รานสงสัญญาณ ผมก็เคาะเทากับพื้นมากกวาและ จองผนังราน กอนจะหันไปหาเจาของราน ”คุณขายกลองพัสดุใชไหมครับ„ ”ครับ คุณจะสงอะไรหรือครับ„ ”หนังสือครับ„ ”เยอะแคไหนครับ„ ผมหยุดเพื่อคำนวณ ”ก็ประมาณ...สองพัน หรืออาจจะสาม„ เขาเลิกคิ้ว ”สงทีละเลมหรือครับ„ ”ไมครับ ไมใช ผมจะยายบานนะ„ ”ยายไปไหนครับ„ ”เวลสครับ„ เขาเงียบไปหลายอึดใจ กอนจะถามออกมาในที่สุดวา ”คุณทำอีทาไหนถึงไดมี หนังสือเยอะขนาดนั้นเนี่ย„ ผมมาจากเมืองเพอรคิวเมนวิลล รัฐเพนซิลเวเนีย เมืองที่เล็กจนไมมีไฟจราจร ไมมีไฟถนน ไมมีรานรวง แถมไมมีเด็กคนอื่นอยูในระยะเดินถึงดวย ผมจึงมี เวลาอานหนังสือมากมาย แตสิ่งที่ผมเลือกอานนั้นแปลกอยูสักหนอย พอแม ของผมเปนผูอพยพที่ทะเยอทะยาน แมโตมาในเรือนคนรับใชแออัดที่เบิรกเชียร สวนพอเปนชาวลิเวอรพูลในยุคเศรษฐกิจตกต่ำ พวกทานซื้อบานจวนจะพังแหล

Sixpence house.indd 16-17

มิพังแหลขนาดใหญเกินตัวอยางมากหลังหนึ่ง และซื้อของเกามาเพื่อใสใหเต็มบาน เราจะนำประกาศประมูลทรัพยสินของผูที่เพิ่งเสียชีวิตไปเทียบกับหนังสือ ใคร เปนใคร ที่พิมพในทศวรรษ 1940 เลมเกา และสอบทานกับรายชื่อบานที่มีการ เปดประมูลในหนังสือพิมพ พอตตสทาวน เมอรคิวรี ”ทนายความจากบอสตั น „ แม จ ะตั ้ ง ข อ สั ง เกตและวงกลมรายการนั ้ น ไว ”เขาตองมีเฟอรนิเจอรดี ๆ แหงเลย„ พวกทานลากผมไปรวมการประมูลในชวง สุดสัปดาหดวย ผมจึงเปนเด็กแปดขวบอยูในหมูชาวดัตชในเพนซิลเวเนียที่สูบซิการและ เหงื่อไหลโชก ผูประมูลจะพนศัพทแสงที่ใชในการประมูล ๆ ใสลำโพงเสียงแตก ๆ ตอนนั้นผมตัวสูงระดับบั้นทายของผูคนพอดี และเมื่อผมเบื่อที่จะอานกระดุมที่ กนชุดเอี๊ยมของพวกเขาแลว ผมก็จะยองไปที่รถใสอาหารกลางวัน เขมือบ เทสตี้เคก5 และออกไปนั่งบนสนามหญาเยิน ๆ ที่ตนหญาแบนลูเพราะถูกลอรถ ขนของ พรม และลังกระดาษทับ ”เราไดโคมระยามาละ„ พอกับแมจะอวดขณะลากลังใบหนึ่งมาใสรถวอลโว สีน้ำเงินของเรา แตทานมักไดอะไรมากกวานั้นเสมอ ลังที่เราไดมาไมเคยใสของ แคอยางเดียว ญาติผูตายมักโยนของกนลิ้นชักครัวและลังในหองใตหลังคาลงมา ดวย เพราะการใหผูประมูลจายคาขยะใหยอมดีกวาการจางรถขนไปทิ้ง บอยครั้ง ที่ของพวกนี้จะรวมถึงหนังสือเกา ๆ ซึ่งอาจกลายเปนขยะไดเหมือนกัน เพราะไมมี ใครเคยสนใจหนังสืออยูแลว ”นี่แนะ„ พอจะโยนคูมือเคมีในศตวรรษที่สิบเกาใหผม ”เอาไวประดับ หองลูกไง„ ผมจะพลิ ก อ า นตำราธรณี ว ิ ท ยาพ น สมั ย และนิ ย ายรั ก ย อ นยุ ค ที ่ ถ ู ก ลื ม พินิจพิจารณาปกเกาเยินและหนากระดาษที่มีรอยสนิมเปนดางดวง หนังสือ กระแสน้ ำ บนผิ ว ทะเลสาบทั ้ ง ห า ฉบั บ ตี พ ิ ม พ เ มื ่ อ ป 1897 (พร อ มแผนภาพ 5 Tastykake ยี่หอขนมหวานหลายชนิดที่มีจำหนายในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ และมีสำนักงานใหญในฟลาเดลเฟย

9/26/11 11:46:32 AM


À®¢l ­­ ħ¢ À¡·­ £± « ± ª·­

­¥ ­¥¥´ ªl

แนนอนอยูแลว) หนังสือ เรื่องราวยิ่งใหญจากทะเล หนังสือเลมใหญ เกาแก ไมระบุปที่พิมพ และสะดุดตาอยางนาประหลาดซึ่งยังมีพลาสติกใสหอหนาปก ที่เปนภาพวาดอยูเลย หนังสือ แนวปฏิบัติทางเคมีอินทรีย ของกัตเทอรมันน6ที่มี กลิ่นตุ ๆ และเลอะคราบดางดวง เต็มไปดวยกะเปาะรา ซึ่งสมชื่อไมนอย ผม หลงใหลหนังสือเหลานี้พอ ๆ กับเหรียญสะสม เชน เหรียญหาเซนตรูปควาย หรือเหรียญสิบเซนตรูปเทพเมอรคิวรี มันมาอยูที่นี่ไดอยางไร หนังสือเลมนี้ หนังสือซึ่งเคยเปนความภาคภูมิใจในหองสมุดของแพทยประจำชนบท มาอยู ในมือเด็กแปดขวบ ณ ซอกมุมที่ถูกลืมของเพนซิลเวเนียในป 1977 ไดอยางไรกัน หนังสือเหลานี้แตกตางจากเรื่องลึกลับ สามนักสืบ7 ที่ผมสั่งจากสำนักพิมพ สกอลาสติก ไมเหมือน สตารเทร็ก ฉบับนิยายของเจมส บลิช8 ที่ผมซื้อจาก พอคาแถวบานผูเก็บหนังสือปกออนเกา ๆ ไวเต็มเลาไกเหม็นกลิ่นปุย หนังสือพวกนี้ เกาคร่ำครา มันดูเกาและมีกลิ่นเกาดวย ใชภาษาโบราณ ลีลาการเขียนดูผิดพลาด ขอเท็จจริงลาสมัย หนังสือที่ผมโปรดที่สุดนั้นคอนขางใหม ชื่อ จรวด ขีปนาวุธ และการทองอวกาศ ฉบับพิมพเมื่อป 1951 ของวิลลี เลย9 ผมตัดภาพการ สำรวจอวกาศออกมาติดผนังหอง ขางโปสเตอรยักษของดอกเตอร เจ.10 เปน ภาพการบินสูระดับสูงสุดของอากาศยานที่มีมนุษยบังคับ คือ 72,395 ฟุต ทวา กระดาษแข็งสีครีม ภาพจรวดไซ-ไฟหัวแหลมในทศวรรษ 1950 ที่เปนสีเหลือง นูนบนปก และความรูสึกในการอานเรื่องโม ๆ ของเลยวาดวยภาพถายดวงจันทร โดยรูขอเท็จจริงมากกวานักเขียน ซึ่งถือเปนเรื่องตลกยุคคลาสสิกขนานแท เมื่อ ผูอานรูตอนจบที่ผูเขียนในอดีตไมรู สิ่งเหลานี้ดึงดูดใจผมอยางที่ผมไมอาจอธิบาย ใหพอแมหรือแมแตเพื่อนสนิทเขาใจได 6 Ludwig Gattermann (ค.ศ. 1860-1920) นักเคมีชาวเยอรมันผูมีบทบาทสำคัญในดานเคมีอินทรียและเคมีอนินทรีย 7 Three Investigators วรรณกรรมชุดแนวสืบสวนสอบสวนของสหรัฐฯ (43 เลม) ของโรเบิรต อารเธอร จูเนียร (ค.ศ. 1909-1969) 8 James Benjamin Blish (ค.ศ. 1921-1975) นักเขียนนวนิยายแฟนตาซีและวิทยาศาสตรชาวอเมริกันผูเขียนเรื่อง สตารเทร็ก

โดยอิงจากละครโทรทัศนที่แพรภาพในทศวรรษ 1960 ชวงป ค.ศ. 1967-1975 กอนจะเสียชีวิตดวยโรงมะเร็งปอด 9 Willie Ley (ค.ศ. 1906-1969) นักเขียนเรื่องแนววิทยาศาสตรและอวกาศชาวเยอรมัน-อเมริกัน เขียนเรื่องเกี่ยวกับจรวดและ การสำรวจอวกาศ 10 Doctor J (ค.ศ. 1950-ปจจุบัน) สมญานามของจูเลียส เออรวิง นักบาสเกตบอลชื่อดังของสหรัฐฯ

Sixpence house.indd 18-19

เมื่อยอนกลับไปอานหนังสือของเลยในอีกยี่สิบปตอมา ผมจึงพบวามีความ ละมายอยางประหลาดปรากฏในหนังสือที่ผมเขียน เชน ขาวลือเรื่องการสำรวจ ดวงจันทรจอมปลอมของจอหน ล็อก หนังสือเหลือเชื่อเรื่อง มนตราคณิตศาสตร ที่บิชอปวิลกินส11เขียนขึ้นเมื่อป 1648 ทฤษฎีรังสีความรอนระหวางดาวของชารลส โกรส เลย ได เ ขี ย นถึ งเรื ่ อ งทั ้ งหมดเหล า นี ้ ไว ในหนั งสื อ ของเขา ผมซึ ม ซั บ ความคิดนาทึ่งเหลานี้ไวตอนเด็กเพียงเพื่อจะมา ”คนพบ„ อีกครั้งในการเขียน หนังสืออีกหลายทศวรรษตอมา ผมคิดวาตัวเองตกใจตอนรูเชนนั้น เพราะนั่นคือ การจดจำรำลึ ก ที ่ ผ มไม ไ ด ต ระหนั ก รู  ต ั ว มาก อ น ยากจะรู  ไ ด ว  า เราต อ งประสบ พบพานถอยคำ ใบหนา หรือแนวคิดหนึ่ง ๆ กี่ครั้งกี่หนกวาเราจะ มี สิ่งเหลานั้น เปนของตัวเอง ความคิดวาดวยจุดกำเนิดของสิ่งตาง ๆ นั้นยากจะระบุเจาะจงได เลยบอกไวชัดในตอนตนของหนังสือของเขาวา

À£·È­ £²§ ­ §²¡ ´ « ¶È Á i £´ Á¥i§ ·­À£·È­ £²§ ­ «¥² §²¡ ´ §²¡ ´ À £µ ¢ ¸ ¡«² µ ±É «¥²¢ µÈ ¡´ À ¢¡µ i ³À ´ À µ ¢ § Á¡h É ³ £´À§ ² Á¡h ɳ £° ­ i§¢ ɳ ² ¥³ ɳª² ² i­¢Ã« h §²¡ ´ ÇÀ s À ±É §²¡ ´ à ±É ª¸ i²¢ªh§ ë h¥i§ £° ­ i§¢ ²£Á h Àª£´¡ À ´¡Á i¡À i²¡² ²¢«¥± Á¥°À £²°À s À h ±É ¶ ¢² µÈÀ£² °Àª²° i i ²£ ­ ª²¢ ɳ«£·­ ¸ À£´È¡ i Á«h §²¡ ´ Ä i

หนังสือเลมนี้ก็อาจพูดไดวามีลักษณะเชนนั้น ผมเปนคนเขียนหนังสือเลมนี้ มีชื่อ อยูบนปกก็จริง แตเรื่องไมไดมาจากผมทั้งหมด มันมาจากนักเขียนหลายคนและ หนังสือหลายเลม โดยไมปรากฏตนกำเนิดชัดเจนแนนอน ผมบอกไมไดดวยซ้ำ วาหนังสือเลมนี้มีจุดเริ่มตนแทจริงอยูที่ใด

11 Bishop John Wilkins (ค.ศ. 1614-1672) นักบวช นักปรัชญา และนักเขียนชาวอังกฤษผูเขียนหนังสือวิชาการและศาสนา

ไวหลายเลม

9/26/11 11:46:33 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.