เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 1 จาก 11
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
การตรวจวัดสัญญาณชีพ ภาพปก “Heart” โดย Gerd Altmann (2018) จาก pixabay.com/en/nurse-heart-pulse-stethoscope-3624463
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 2 จาก 11
การตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital Signs) การตรวจวั ด หรื อ ประเมิ น สั ญ ญาณชี พ หรื อ การตรวจอาการแสดงชี พ (Vital Signs) เป็ น การ ตรวจประเมินขั้น ตอนแรกของการตรวจร่า งกาย ประกอบด้วย การวัดอุณหภูมิร่า งกาย การตรวจชี พ จร การตรวจการหายใจ และการวัดความดั นโลหิ ต ซึ่ง เป็นสิ่ง ที่บ อกถึง ความมี ชี วิตอยู่ และยัง สามารถ บ่ง ชี้ถึง การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย อารมณ์ และสิ่ง แวดล้อ มได้ ถ้ามีก ารเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับ สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง ใน 4 อย่างนี้จ ะมีผ ลกระทบกระเทือ นถึง อีก 3 อย่างด้วย ดัง นั้น ในการวัดอุณหภูมิ ชี พ จร การ หายใจ และความดั นโลหิต ควรกระทำในเวลาที่ต่อ เนื่อ งกัน ขณะที่ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ส บาย
การวัดอุณหภูมิ (Temperature : T) การเตรียมและสาธิต อุ ป กรณ์ ในการวั ดอุ ณ หภู มิ - เครื่อ งมือ ที่ใช้วัดอุณหภูมิร่างกาย เรียกว่า เทอร์โ มมิเ ตอร์ มี 3 ชนิด คื อ เทอร์โ มมิเ ตอร์ แก้ว เทอร์โ มมิเ ตอร์แบบอิเ ลคทรอนิก ส์ และเทอร์โ มมิเ ตอร์แบบใช้ครั้ง เดียวทิ้ง - สำหรับ เทอร์โ มมิเ ตอร์แก้ว (Glass thermometer) นิยมใช้ในโรงพยาบาลทั่วไป ทำมา จากแก้ ว มี ส ารบรรจุ อ ยู่ ภ ายใน ปลายข้ า งหนึ่ ง ปิ ด อี ก ปลายหนึ่ ง จะมีลั ก ษณะเป็น กระเปาะใส่ ป รอทไว้ เมื่ อ ปรอทได้ ร ั บ ความร้ อ นจะขยายตั ว และดั น ตั ว ขึ ้ น สู ง ไปทางด้ า นปลายปิ ด ตลอดความยาวของ เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ แ ล้ ว สเกลที่ นิ ย มใช้ ใ นการวั ด อุ ณ หภู ม ิ แ สดงอุ ณ หภู ม ิ ม ี อ ยู่ 2 แบบ คื อ °C (Degree Celsius) และ °F (Degree Fahrenheit) ในเทอร์โ มมิเ ตอร์ แก้วจะมีส เกลทั้ง 2 แบบ ซึ่ง สามารถอ่า น ค่ า สเกลหน่ ว ยใดก็ ไ ด้ ต ามที่ต้ อ งการ เทอร์ โ มมิเ ตอร์ แก้ว มี ทั้ ง ชนิ ด เทอร์โ มมิ เ ตอร์ที่ ใ ช้วั ด อุ ณ หภูมิท าง ปากหรื อ รั ก แร้ (ดั ง ภาพที่ 1 ก) และใช้ วั ด ทางทวารหนั ก (ดั ง ภาพที่ 1 ข) ค่ า ของอุ ณ หภู มิ ที่ วั ด ได้จ ะ แม่นยำหรือ ไม่ ขึ้นอยู่กับ ตำแหน่ง ที่ใช้วัด ระยะเวลาที่เ หมาะสม รวมทั้ง ความร่วมมือ ของผู้ป่วย
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 3 จาก 11
ภาพที่ 1 ชนิดของเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ มีห น่วยวั ดเป็นองศาเซลเซียสและฟาเรนไฮท์ ก. ใช้วัดทางปากหรือ รัก แร้ ข. ใช้วัดทางทวารหนัก
วิธีประเมินอุณหภูมิ การใช้ เ ทอร์โ มมิ เ ตอร์ ห รื อ ปรอทวั ดอุณ หภู มิ ข องร่ า งกาย โดยใส่ เ ข้ าไปในส่ ว นใดส่ว นหนึ่ง ของ ร่ างกาย เพื่อ ดูร ะดับ ความร้อ นของร่างกาย 1) วิ ธีวัดอุ ณหภู มิ ร่ างกายทางปาก ทำได้ดัง นี้ 1.1)
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
1.2)
ให้ผู้ป่วยนั่ง หรือ นอนในท่าที่ส บาย
1.3)
ล้ างมื อ และเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
1.4)
หน้ า 4 จาก 11
หยิ บ เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ที่ ใ ช้ วัด อุณ หภู มิ ท างปาก ซึ่ ง ล้ า งสะอาดแล้ว ที่ ป ลายด้าน
ตรงข้ า มกั บ กระเปาะ ยกขึ ้ น ให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ สายตาในแนวนอน พลิ ก เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ไ ปมาจั บ เทอร์โ มมิเ ตอร์ให้แน่น ด้ ว ยนิ้ วหั ว แม่มือ นิ้ วชี้และนิ้ วกลาง คว่ ำมื อ ลงแล้วสลัด ข้ อ มือ จนกระทั่ง ปรอทลง ไปอยู่ในกระเปาะหรือ ต่ ำกว่า 35 องศาเซลเซียส 1.5)
บอกให้ผู้ป่วยอ้าปาก กระดกลิ้นขึ้น วางเทอร์โ มมิเ ตอร์อ ย่างนุ่ม นวล ให้ป ลาย
กระเปาะอยู่ใต้โ คนลิ้ น บอกให้ผู้ป่วย หุบ ปากให้ส นิท ลิ้นทับ บนเทอร์โ มมิเ ตอร์ ใช้เ วลาวัด นาน 2 - 4 นาที 1.6)
นำเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ อ อกจากปากผู ้ ป ่ ว ยเช็ ด ปลายกระเปาะด้ ว ยสำลี ห รื อ
กระดาษชำระทิ้ง กระดาษหรือ สำลีล งในภาชนะ 1.7)
อ่ า นผลโดยยกเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ขึ้ น ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ สายตาในแนวนอนพลิ ก
เทอร์โ มมิเ ตอร์ให้เ ห็นปรอท อ่ านค่ าให้ถูก ต้อ ง และบันทึก ผลที่วัดได้ในแผ่นบันทึก สัญ ญาณชีพ ค่ าปกติ คื อ 36.0 - 37.5 องศาเซลเซียส และแจ้ง ผลให้ผู้ป่วยทราบ 1.8)
แช่ป รอทลงในถาดน้ ำสบู่ หรือ น้ำยาฆ่าเชื้ อ sodium hypochlorite 0.5 %
ครบ 30 นาที แล้ ว ไปล้ า งทำความสะอาดด้ ว ยน้ ำ และสบู่ เช็ ด ให้ แ ห้ ง ด้ ว ยผ้ า สะอาด สลั ด ปรอทลง กระเปาะหรือ ต่ ำกว่า 35 องศาเซลเซียส วางไว้ในภาชนะที่แห้ง และสะอาด พร้อ มที่จ ะใช้ในครั้ง ต่อ ไป
การอ่านผล แปลผล การดูแ ลและข้อ พึงระมัดระวัง อ่ านผลโดยยกเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ขึ้ น ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ สายตาในแนวนอนพลิ ก เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ให้ เ ห็ น ปรอท อ่านค่าให้ถูก ต้อ งและบันทึก ผลที่วัดได้ในแผ่นบันทึก สัญ ญาณชีพ ค่ าปกติ คือ 36.0 - 37.5 องศา เซลเซียส และแจ้ง ผลให้ผู้ป่วยทราบ
การประเมินชีพจร (Pulse : P) การเตรียมและสาธิต เครื่องใช้ 1) นาฬิก าที่มีเ ข็ม วินาทีห รือ ตัวเลขบอกเวลา 2) แผ่นบันทึก สัญ ญาณชีพ รวมหรือ แผ่นบันทึก อื่น ๆ ตำแหน่งของหลอดเลือดแดงที่ใช้คลำชีพจร มี 9 ตำแหน่ง ดัง นี้ 1) Temporal Artery เป็นตำแหน่ง ที่ใช้ป ระเมินชีพ จรได้ง่ายในเด็ก 2) Carotid Artery นิยมใช้คลำในระยะช็อ คหรือ หัวใจหยุดเต้น คลำตำแหน่ง อื่นไม่ได้ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 5 จาก 11
3) Brachial Artery ใช้ป ระเมินการไหลเวี ยนเลือ ดมาที่แ ขนท่ อ นล่ างและใช้ฟัง ความดั น โลหิต 4) Radial Artery เป็ น ตำแหน่ ง ที่ นิ ย มใช้ ป ระเมิ น ชี พ จร และการไหลเวี ย นเลื อ ดมาที่ ข้อ มือ ด้านนิ้วหัวแม่มือ 5) Ulnar Artery ใช้ป ระเมินการไหลเวียนเลือ ดมาที่มือ ด้านนิ้วก้อ ย 6) Femoral Artery นิยมคลำในระยะช็อ คหรือ หัวใจหยุดเต้น คลำตำแหน่ง อื่นไม่ได้และ ประเมินการไหลของเลือ ดไปที่ขา 7) Popliteal Artery ใช้ป ระเมินการไหลเวียนเลือ ดไปที่ขาท่อ นล่าง 8) Doralis Pedis Artery ใช้ป ระเมินการไหลเวียนเลือ ดไปที่เ ท้า 9) Posterior Tibial Artery ใช้ป ระเมินการไหลเวี ยนเลือ ดไปที่เ ท้า
Temporal
Carotid
Brachial
Popliteal Posterior Tibial
Femoral Radial
Doralis Pedis
ภาพที่ 2 ตำแหน่ง ของหลอดเลือ ดแดงที่ใช้คลำชี พ จร 9 ตำแหน่ง และวิ ธีคลำชี พ จร
วิธีการประเมินชีพจร ทำได้ดัง นี้ 1) บอกให้ผู้ป่วยทราบ 2) ให้ผู้ป่วยนอนหรือ นั่ง ในท่าที่ส บายผ่อ นคลาย หากเพิ่ง ออกกำลัง กายควรรอ 10 - 15 นาที 3) ล้ างมื อ และเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง 4) เลือ กตำแหน่ง ที่จ ะคลำชีพ จร ส่วนใหญ่นิยมใช้ห ลอดเลือ ดแดงที่ข้อ มือ (Radial Artery) ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 6 จาก 11
5) กรณี ที่ ผู้ ป่ ว ยนอน วางแขนแนบลำตั ว ข้ อ มื อ เหยี ย ด และคว่ ำ ฝ่ า มื อ ลง ถ้ า ผู้ ป่ ว ยนั่ ง วางมื อ ลงบนที่ เ ท้ า แขนที่ โ ต๊ ะ คร่อ มเตี ย งให้ข้ อ มื อ เหยีย ดและฝ่ า มื อ คว่ำ ลง ใช้ ป ลายนิ้ ว ชี้ นิ้ ว กลางและ นิ้วนางวางลงบนตำแหน่ง ที่ ต้อ งการจับ ชีพ จร เมื่อ คลำชีพ จรพบแล้ว กดนิ้วมือ ลงเบาๆ เล็ก น้ อ ย ไม่ ใ ช้ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ เพราะชีพ จรที่ ค ลำได้ อาจเป็ น ชี พ จรของนิ้ ว หั ว แม่ มือ ตนเอง ทำให้ นั บ ชี พ จรผิ ด พลาดได้ นับ การเต้นของชีพ จรผู้ป่ว ยให้ครบ 1 นาที ถ้าผู้ป่วยที่ชีพ จรเต้นสม่ำเสมอนับ 30 วิ นาที คูณ 2 ได้ แต่ ถ้าเห็ นระยะไม่ ส ม่ำเสมอให้นับ ครบ 1 นาที 6) ประเมิ น จั ง หวะหรื อ ระยะการเต้ น ของชี พ จรแต่ ล ะตุ บ ว่ า เต้ น ระยะสม่ ำ เสมอหรื อ ไม่ สม่ำเสมอ 7) ประเมินความแรงของชีพ จรแต่ล ะตุบ ที่ม ากระทบปลายนิ้ ว มี ความแรงเท่ากันหรื อ ไม่ เต้น แรงมาก แรงปานกลาง หรือ เต้นเบา 8) ประเมิน ผนัง ของหลอดเลือ ดแดงว่า มี ค วามยื ดหยุ่ นดี ห รื อ ไม่ โดยเลื่อ นปลายนิ้ ว ตาม หลอดเลือ ดแดงลงไปทางข้อ มือ 9) บันทึก ผลที่วัดได้ ล งบนแผ่ นวั ดสั ญ ญาณชี พ รวม 10) บอกผลการประเมินชีพ จรให้ผู้ป่วยทราบ 11) ล้ างมื อ และเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง 12) รายงานผลการประเมินชีพ จรที่ผิดปกติให้แพทย์ท ราบ เช่น ในผู้ใหญ่ชีพ จรเต้นเร็วกว่า 100 ครั้ง /นาที หรือ เต้นช้า กว่า 60 ครั้ง /นาที เต้นระยะไม่ส ม่ ำเสมอ เต้นเบา เป็นต้น
การนับการหายใจ (Respiration : R) การเตรียมและสาธิต 1) เพื่อ เป็นข้อ มูล พื้นฐานสำหรับ การประเมินผลครั้ง ต่อ ไป 2) เพื่ อ ประเมิ น อั ต ราการหายใจ (rate) จั ง หวะ (rhythm) และความลึ ก (depth) ของ การหายใจ ว่ าปกติ ห รื อ ผิ ดปกติ ซึ่ง เป็นวิธีห นึ่ง ที่ใช้ป ระเมินว่าเซลล์ได้รับ ออกซิเ จนเพียงพอหรือ ไม่ 3) เพื่อ ประเมินการหายใจทั้ง ก่อ นและหลัง ให้ก ารรัก ษา 4) เพื่อ ค้นหาอาการแสดงที่เ ปลี่ยนแปลงของการหายใจได้ตั้ง แต่เ ริ่ม แรก เครื่องใช้ 1) นาฬิก าที่มีเ ข็ม วินาทีห รือ ตัวเลขบอกเวลา 2) แผ่ นบันทึก สัญ ญาณชีพ รวม หรือ แผ่นบันทึก อื่นๆ
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 7 จาก 11
วิธีประเมินการหายใจ 1) ล้ างมื อ ให้ ส ะอาดและเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง 2) จั ด ให้ ผู้ ป่ว ยให้ อ ยู่ ใ นท่ า ที่ส บาย ส่ ว นใหญ่ มั ก จะให้ นั่ง ตั ว ตรง หรื อ นอนศี ร ษะสู ง 45 60 องศา เพื่อ ส่ง เสริม ให้ก ารระบายอากาศเป็นไปได้อ ย่างเต็ม ที่ 3) วางมือ ผู้ป่วยพาดหน้ าอกส่ วนล่างหรือ หน้ าท้อ ง การนับ การหายใจควรนับ ต่อ จากการ นับ ชี พ จร โดยมือ ยัง คงจับ ชีพ จรอยู่ เพื่อ ไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึก ตัวว่ากำลัง นับ การหายใจ 4) ผู้ ป่ ว ยที่ อ อกกำลั ง กายมาให้ นั่ ง พั ก ก่ อ น ประมาณ 5 - 10 นาที สำหรั บ เด็ ก เล็ ก ควร ประเมิ น การหายใจก่ อ นประเมิ นชี พ จร และวั ด อุ ณ หภูมิ ถ้ า เด็ ก กำลั ง ร้ อ งไห้ ค วรรอให้ เ ด็ ก หยุ ด ร้ อ งไห้ ก่ อ น 5) การนับ การหายใจให้นับ ตามจัง หวะการเคลื่อ นไหวขึ้นลงของทรวงอกหรือ ท้อ ง หายใจ เข้า1 ครั้ง หายใจออก 1 ครั้ง นับ เป็นการหายใจ 1 ครั้ง (ดัง ภาพที่ 3) 6) การนั บ หายใจผู้ ป ่ ว ยครั้ ง แรก ควรนั บ ให้ ค รบ 1 นาที ผู้ ป ่ ว ยที่ ม ี อ ั ต ราการหายใจ สม่ำเสมอให้นับ 30 วิ นาที แล้ วคู ณด้ ว ย 2 ได้ แต่ถ้าหายใจไม่ ส ม่ ำเสมอให้นับ ให้ครบ 1 นาที สำหรับ เด็ก เล็ก ขวบปีแรกหรือ เด็ก เล็ก นับ ให้เ ต็ม 1 นาที เพราะปกติเ ด็ก หายใจระยะไม่ส ม่ ำเสมอ 7) สั ง เกตความลึ ก จั ง หวะและลั ก ษณะการหายใจขณะนั บ การหายใจ ความลึ ก ของการ หายใจสัง เกตจากการเคลื่อ นไหวขึ้นลงของทรวงอกดู ว่าหายใจปกติ ลึ ก ตื้น สั ง เกตจั ง หวะการหายใจ ว่ า สม่ ำ เสมอหรื อ ไม่ ส ม่ ำ เสมอ สั ง เกตลั ก ษณะการหายใจ สั ง เกตได้ จ าก เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น และความ พยายามในการหายใจในภาวะปกติ การขยายตัวของผนัง ทรวงอกและการเคลื่อ นที่ของทรวงอกทั้ง 2 ข้ า งจะเท่ า กั น จั ง หวะการหายใจสม่ ำ เสมอและลั ก ษณะการหายใจเข้ า - ออก เงี ย บไม่มีเ สีย งใดๆ ไม่ ต้ อ งใช้ ความพยายามในการหายใจเป็ นไปโดยอั ตโนมั ติ หากมีเ สียงวี้ด ครืดคราด ต้ อ งใช้ ความพยายาม ในการหายใจแสดงว่าลัก ษณะการหายใจผิดปกติ 8) บันทึก ผลที่วัดได้ล งบนแผ่นวัดสัญ ญาณชีพ รวม 9) บอกผลการประเมินการหายใจให้ผู้ป่วยทราบ 10) ล้ างมื อ และเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง 11) รายงานผลการประเมินหายใจที่ผิดปกติให้แพทย์ท ราบ เช่น อั ตราการหายใจเร็ วหรื อ ช้ากว่ าค่ าปกติ (ค่ าปกติ อั ตราการหายใจในผู้ ใหญ่ 15 - 20 ครั้ง /นาที ) จั ง หวะการหายใจไม่ ส ม่ ำ เสมอ หายใจตื้น ได้ยินเสียงวี้ดขณะหายใจเข้า
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 8 จาก 11
ภาพที่ 3 แสดงการหายใจเข้า (Inspiration) และการหายใจออก (Expiration)
วัดความดันโลหิต (Blood Pressure : BP) การเตรียมและสาธิต 1) เพื่อ ทราบค่าความดันโลหิตสูง ของผู้ป่วย เมื่อ แรกรับ ไว้เ ป็นข้อ มูล พื้นฐานสำหรับ การวัดครั้ง ต่อ ไป 2) เพื่อ ประเมินสภาวะการไหลเวียนเลือ ดของผู้ป่วย และทราบการเปลี่ยนแปลงตั้ง แต่แรก 3) เพื่อ ทราบการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิตในการตอบสนองการรัก ษา 4) เพื่อ ช่วยในการวินิจ ฉัยโรค เครื่องใช้ 1) เครื่ อ งวั ด ความดั น โลหิ ต แบบปรอท (Sphygmomanometer) (ภาพที่ 4 ก) หรื อ เครื่อ งวัดความดันแบบมีเ ข็ม บนหน้าปัด (ภาพที่ 4 ข) 2) หูฟัง (stethoscope) (ภาพที่ 4 ง) 3) สำลี ชุบ แอลกอฮอล์ 70 % สำหรับ เช็ดหูฟัง
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 9 จาก 11
ภาพที่ 4 เครื่อ งวัดความดันโลหิต และหูฟัง
วิธีปฏิบัติก่อ นวัดความดั นโลหิต 1) ผู้ป่วยไม่ควรสูบ บุห รี่ ดื่ม กาแฟ หรือ ออกกำลัง กาย ภายใน 30 นาที ก่ อ นการวั ด 2) แนะนำให้ผู้ป่วยนอนหรือ นั่ง ในท่าที่ส บายก่อ นการวัดอย่างน้อ ย 5 นาที 3) ขนาดของผ้า พั น (cuff) เหมาะสม กล่ า วคื อ ถุ ง ยางภายในผ้ า พั น (bladder) ควรยาว พันได้ร อบแขนโดยไม่ทับ กัน หรือ อย่างน้อ ยพันรอบ 2/3 ของแขนหรื อ ขา และความกว้างควรมากกว่ า 20% ของเส้นผ่าศูนย์ก ลางตรงจุดกึ่ง กลางของแขนและขา 4) หลี ก เลี่ ย งการวั ด ความดั น โลหิ ต ที่ แ ขนหรื อ ขาที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ หรื อ เป็ น โรคอยู่ ด้ า น เดียวกั บ เต้านมและรัก แร้ห รือ ตะโพกที่ได้รับ การผ่าตัด หรือ ให้ส ารน้ำทางหลอดเลือ ดดำ พันผ้าพันแผล หรือ เข้าเฝื อ กมีarteriovenous shunt
วิธีวัดความดันโลหิต 1) บอกให้ผู้ป่วยทราบ 2) ล้ างมื อ ให้ ส ะอาดและเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง 3) ให้ผู้ป่วยนอนหรือ นั่ง ในท่าที่ส บายก่อ นวัดอย่างน้อ ย 5 นาที 4) เลือ กตำแหน่ง ที่วัดความดันโลหิตให้เ หมาะสม ส่วนใหญ่วัดที่แขนถ้าไม่ มี ข้อ ห้ าม 5) วางแขนผู้ป่วยให้อ ยู่ในระดับ เดียวกับ หัวใจ แขนเหยี ยด ฝ่ามือ หงายขึ้น 6) ดึง แขนเสื้อ เปิดให้เ ห็นต้นแขน 7) ใช้ป ลายนิ้วคลำหา brachial pulse ปกติอ ยู่ตรงร่อ งด้านในเหนือ ข้อ พับ แขนเล็ก น้อ ย 8) พั น ผ้ า ที่ ไ ม่ มี ล มด้า นใน รอบด้ า นแขน เหนื อ ข้ อ พับ แขน 1 นิ้ ว โดยให้ จุ ด กึ่ ง กลางของ ถุง ยางในผ้าพันอยู่เ หนือ หลอดเลือ ดแดง brachial และสายยางที่ต่อ กับ ลูก ยางชี้ล งทางปลายแขน 9) พันผ้าพันให้เ รียบ ไม่แน่นหรือ หลวมเกินไป 10) วางเครื่อ งวัดความดันให้อ ยู่ในระดับ สายตา ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 10 จาก 11
11) หมุนปุ่ม (valve) ตามเข็ม นาฬิก าเพื่อ ปิดไม่ให้ล มออกจากถุง ยาง ขณะที่บีบ ลูก ยาง 12) ถ้าเป็นการวัด ความดั นโลหิ ต ครั้ ง แรกและไม่ท ราบค่า ความดั นโลหิตสูง สุ ด (Systolic) มาก่อ นให้ใช้ป ลายนิ้วชี้และนิ้วกลาง คลำชีพ จรที่ห ลอดเลือ ดแดง brachial หรือ radial ขณะที่บีบ ลูก ยางให้ล มเข้าถุ ง ยางในผ้ าพัน บีบ ลูก ยางจนความดันขึ้นสูง กว่าจุดที่คลำชีพ จรไม่ได้ 30 มิ ล ลิ เ มตรปรอท คลายปมเป่าลมออกช้ าๆ อ่านค่าความดันเมื่อ ปลายนิ้ วรับ รู้กับ การเต้น ของชีพ จรตุบ แรกเป็น ค่ า ความ ดั น โลหิ ต สู ง สู ด ที่ ไ ด้ จ ากการคลำแล้ ว หมุ น ปมปล่ อ ยลมออกจนหมดอย่ า งรวดเร็ ว รออย่ า งน้ อ ย 30 วิ นาที ก่อ นวัดครั้ง ต่อ ไป 13) ใส่หูฟัง ใส่หูฟัง โดยใส่ป ลายหูฟั ง ด้านที่จ ะใส่เ ข้ากับ หูให้เ ฉียงออกด้านนอกเล็ก น้อ ย 14) วางหู ฟ ั ง ด้ า น bell บน brachial pulse จะทำให้ ไ ด้ ย ิ น เสี ย งชั ด ดี ก ว่ า ใช้ ด ้ า น diaphragm เพราะเสี ย งที่ ไ ด้ ย ิ น จากการวั ด ความดั น โลหิ ต เป็ น เสี ย งที ่ ม ี ค วามถี่ ต่ ำ ห้ า มวางบน ผ้าพันแผลหรือ เสื้อ ผ้า ใช้มือ จับ ให้ bell แนบสนิท กับ เนื้อ 15) หมุนปุ่ม (valve) ตามเข็ม นาฬิก า เพื่อ ปิดไม่ให้ล มออกจากถุง ยาง บีบ ลูก ยางจนความ ดั นขึ้นสูง กว่า ค่า ความดัน โลหิ ตสูง สูด 30 มิ ล ลิ เ มตรปรอท หยุดบีบ ลูก ยางขณะนี้จ ะไม่ไ ด้ยินเสียงตุ บ ๆ เพราะไม่มีเ ลือ ดไหล่ผ่านหลอดเลือ ด 16) คลายปุ่ ม ทวนเข็ ม นาฬิ ก าช้ า ๆ เพื่ อ ปล่ อ ยลมออก ให้ ค วามดั น ลดลงในอั ต รา 2 - 3 มิ ล ลิเ มตรปรอท /วิ นาที 17) ขณะที่ ป รอทหรื อ เข็ม ของเครื่อ งวั ด ค่อ ยๆ ลดลง ให้ อ่ า นค่ า ความดั น ตรงเสี ย งที่ ไ ด้ยิน ครั้ ง แรกผ่ านหู ฟั ง (phase 1) และจะได้ ยิน เสี ยงตุ บ ๆ ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ จนกระทั่ ง เสี ย งหายไป ให้ อ่ า นค่า ตรงที่เ สียงหาย (phase 5) คือ - ค่ า Systolic pressure เป็ น ค่ า ความดั น โลหิ ต สู ง สู ด ตรงกั บ ระยะที ่ ห ั ว ใ จ (Ventrille) หดตัว - ค่ า Diastolic pressure เ ป็ น ค่ า ควา ม ดั น โ ลหิ ต ต่ ำ สุ ดต ร งกั บระ ย ะหั ว ใจ (Ventrille) คลายตั ว เสี ย งเปลี่ ย น และเสี ยงหายไปให้ อ่ า นค่ า ทั้ง 2 ค่ า เป็ น ค่ า diastolic pressure ที่ได้ยินครั้ง ที่ 1 และ 2 ตามลำดับ - ค่ า Pulse Pressure คื อ ผลต่ า งระหว่ า ง Systolic pressure และ Diastolic pressure ปกติมีค่าประมาณ 40 มิล ลิเ มตรปรอท 18) หลั ง จากอ่ า นค่ า diastolic pressure คลายปมปล่ อ ยลมออกจนหมดอย่ า งรวดเร็ ว ปรอทหรือ เข็ม อยู่ที่เ ลขศูนย์ทุก ครั้ง ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช
เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจวั ด สั ญ ญาณชี พ
หน้ า 11 จาก 11
19) หากต้อ งการวัดซ้ำ ควรรออย่างน้อ ย 30 วิ นาที 20) เมื่อ นำผ้าออกจากปลายแขนผู้ป่วย พับ ให้เ รียบร้อ ย และเก็บ เครื่อ งวัดความดันโลหิตเข้าที่ 21) ล้ างและเช็ ดมื อ ให้ แห้ ง
วิธีประเมินการหายใจ 1) รายงานความผิ ด ปกติ ค่ า ความดั น โลหิ ต ที ่ ว ั ด ได้ ใ ห้ ท ี ม แพทย์ พยาบาลทราบ เมื่ อ systolic pressure สู ง กว่ า 140 มิล ลิเ มตรปรอท diastolic pressure สู ง กว่ า 90 มิ ล ลิ เ มตรปรอท 2) บั น ทึ ก ผลการวั ด ลงบนแผ่ น บั น ทึ ก การพยาบาล เช่ น BP. 150/ 90 มิ ล ลิ เ มตรปรอท ในกรณีที่แขนซ้ายกับ แขนขวาความดันโลหิ ตไม่เ ท่ ากัน ให้เ ขียนบอกด้วยว่ าวัด ความดัน โลหิตจากแขน ใด
ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น
สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช