【 52311x52404 】เรื่อง การตรวจเต้านม

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 1 จาก 8

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การตรวจเต้านม ภาพปก “Pink Ribbon” โดย Henry Romero (2014) จาก pixabay.com/en/bowl-ribbon-pink-glass-celebration-240214

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 2 จาก 8

โรคมะเร็งเต้านมและการป้องกัน มะเร็งเต้า นม (Breast Cancer) เป็นสาเหตุก ารป่วยและการตายที่สำคัญ ของสตรี แต่ส ามารถ รัก ษาหายขาดได้ถ้าพบในระยะเริ่ม ต้น อาการของมะเร็งเต้า นม 1. มีก้อ นที่เ ต้านม ร้ อ ยละ 15-20 ของก้อ นที่คลำได้บ ริเ วณเต้านมเป็นมะเร็งเต้ านม 2. มีก ารเปลี่ยนแปลงขนาด และรู ปร่างของเต้ านม 3. ผิวหนัง เปลี่ยนแปลง เช่น รอยบุ๋ม ย่ น หดตัว หนา ผิ ดปกติ บางส่วนเป็นสะเก็ด 4. หัวนมมีก ารหดตัว คั น หรือ แดงผิดปกติ 5. มีเ ลือ ดหรื อ น้ำออกจากหัวนม ร้ อ ยละ 20 ของการมีเ ลือดออกจะเป็นมะเร็ง 6. เจ็บเต้ านม มะเร็ง เต้านมส่วนใหญ่จ ะไม่เจ็บ นอกจากก้อ นโตมากแล้ว 7. การบวมของรัก แร้ เพราะต่อ มน้ำเหลือ งโต การรักษามะเร็งเต้า นม ทำได้ดัง นี้ 1. ผ่ าตั ด 2. ฉายรั ง สี 3. ใช้ยาเคมีบ ำบัด อาจใช้วิธีเ ดียวหรือ หลายวิธีก็ได้ การป้องกัน ทำได้โ ดยการตรวจคัดกรอง จะทำให้ค้นพบมะเร็ง เต้านมในระยะแรกเริ่ม เพื่อ เข้ารับ การรัก ษาโดยเร็ว มี 3 วิ ธี คื อ 1. ตรวจเต้านมด้ วยตนเองเป็ นประจำ 2. ตรวจโดยแพทย์ห รื อเจ้าหน้าที่ส าธารณสุขที่ผ่านการอบรม 3. เอ็ก ซเรย์เ ต้านม (Mammography) เมื่อ มี อ ายุ 40 ปีขึ้นไป หรือ ผู้ที่เ ป็นกลุ่ม เสี่ยง กลุ่ม เสี่ยง ที่ควรตรวจตรวจเอกซเรย์เ ต้านม คือ ผู้ที่มีม ารดา พี่ส าว น้อ งสาวเป็นมะเร็ง เต้า นมหรือ มะเร็ง รัง ไข่ กินฮอร์โ มนเสริม ทดแทนวัยหมดประจำเดือ นนานเกิน 5 ปี หรือ พบเป็นมะเร็งเต้า นม อาการแสดงที่ผิดปกติ ข องเต้า นมที่ไ ม่ใช่ม ะเร็งและมะเร็งเต้า นม ได้แก่ 1. การอั ก เสบเป็ น หนองในท่ อ น้ ำ นม พบในผู้ ป ่ ว ยที่ ใ ห้ ป ระวั ติ ว่ า เคยมี สิ่ ง คั ด หลั่ ง ไหล ออกมา ให้ล องใช้ป ลายนิ้วกดไปรอบๆ ฐานของหั วนม จะมีเ ลือ ดหรื อ สีน้ำตาลไหลออกมา และคลำได้ ก้อ นเล็ก ๆ ใกล้หัวนม ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 3 จาก 8

2. ฝี เ ต้ านม (Breast abscess) คลำเต้านมพบก้อ นแข็ ง บวม ตึ ง แดง ร้ อ น มี อ าการปวด ตุ บ ๆกดเจ็บ มีไข้ ร่วมด้วย 3. เนื้ อ งอกพั ง ผื ด ของเต้ า นม (Fibroadeoma breast) คลำเต้ า นมพบก้ อ นกลม เรี ย บ แข็ง ขอบชัดเจน เคลื่อ นไปมาได้เ ล็ก น้อ ย กดไม่เ จ็บ พบได้บ่อ ยในสตรี ที่มีอ ายุร ะหว่าง 18-35 ปี ไม่ใช่ เนื้อ งอกชนิดร้าย แต่ก็ควรส่ง ผู้ป่วยไปพบแพทย์เ พื่อ ผ่าตัดเอาก้อ นออก 4. เนื้อ งอกเต้านมชนิดถุง น้ำ (Fibrocystic disease) คลำเต้านมพบก้ อ นอาจเป็นก้อ น เดียวหรือ หลาย ๆ ก้ อ นในเต้ านมข้ างเดี ยว หรือ ทั้ง 2 ข้ าง คลำดู มีจ ะมีความยืดหยุ่นเหมือ นยาง ก้ อ น จะโตขึ้นและเจ็บ มากก่อ นมีป ระจำเดือ นประมาณ 1 สั ปดาห์ พอหมดประจำเดือ นขนาดก้อ นจะเล็กลง และอาการเจ็บจะลดน้อ ยลง 5. มะเร็ง เต้านม (Carcinoma of breast) เป็นเนื้อ งอกชนิดร้ ายแรง คลำเต้านมพบก้ อ น มั ก เป็นก้อ นเดี ยว มีลัก ษณะแข็ง เป็นตะปุ่ม ตะป่ ำ ขอบไม่ ชัดเจน กดไม่เ จ็บ เกิดขึ้นที่ต่อ มน้ำนมหรือ ท่ อ น้ำนม ส่ วนใหญ่ พ บบริ เ วณขอบนอกด้ านบน (upper outer) ของเต้านมทั้ง 2 ข้ าง ก้อ นเนื้อ งอกชนิ ด นี้จ ะโตขึ้นเรื่อ ยๆ และจะแพร่ ก ระจายออกนอกเต้ า นมไปตามต่ อ มน้ ำเหลื อ งและอวั ยวะที่ อ ยู่ใกล้ เ คี ย ง คลำได้ ต่ อ มน้ ำ เหลื อ งบริ เ วณรั ก แร้ แ ละไหปลาร้ า โตร่ ว มด้ ว ย และสั ง เกตเห็น รอยบุ๋ ม ของผิว หนั ง การ บวมของผิวหนัง เส้ นเลือ ดดำบนเต้านม

การตรวจเต้านมด้ว ยตนเอง (Breast Self-Examination) การตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นสิ่ง แรกที่ผู้หญิง ทุก คนสามารถช่วยป้อ งกันตนเองจากมะเร็ง เต้า นมการตรวจเต้ า นมด้ ว ยตนเอง เพื่ อ ให้ ท ราบลั ก ษณะทั่ ว ไปของเต้ า นมตนเอง และเมื่ อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ เกิดขึ้นจะได้จ ากการสัง เกตหรือ คลำพบแต่เ นิ่น ผู้ห ญิง อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรเริ่ม ตรวจเต้านมด้วยตนเองทุก เดือ น ช่วงเวลาที่เ หมาะสม สำหรับ การตรวจ คื อ 3 ถึ ง 10 วั น นั บ จากประจำเดื อ นหมด ส่ ว นสตรี วั ย หมดประจำเดื อ น ให้ ก ำหนดวั นที่ จดจำง่ายและตรวจในวั นเดี ย วกั นของทุก เดื อ น สำหรับ ผู้ที่มีป ระวัติในครอบครั วเป็ น โรคมะเร็ ง เต้ า นม ควรปรึ ก ษาแพทย์ เ พื่ อ ขอคำแนะนำ หากพบสิ่ ง ผิ ด ปกติ บ ริ เ วณเต้ า นม หรื อ รั ก แร้ ควรปรึ ก ษาแพทย์ ทันที วิ ธี การตรวจเต้ า นมด้ วยตนเอง มี 3 ท่า 3 แบบ 3 นิ้ว 3 ระดั บ ดัง นี้ 1. ท่า ยืนหน้า กระจก เริ่ม ด้วยปล่อ ยแขนแนบข้างลำตัวตามสบาย ยกมือ ทั้ง 2 ข้ างเหนื อ ศี ร ษะ เท้าสะเอว เกร็ง อก เพื่อ ให้ผ นัง ทรวงอก กระชับ ขึ้น โค้ง ตัวมาข้างหน้า ใช้มือ ทั้ง 2 ข้ างเท้ าสะเอว (ดั ง ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 4 จาก 8

ภาพที่ 5 ก) โดยทุก ท่าจะต้อ งบิดลำตัว ไปทางซ้ ายและขวา สั ง เกต รู ป ร่ าง ลั ก ษณะ ความผิดปกติ ข อง ผิ วหนั ง รอยบุ๋ม รอยนู นของเต้ านม การบิดเบี้ยวของหัวนม หรือ สิ่ง ผิดปกติอื่นๆ ของเต้านมทั้ง 2 ข้ าง 2. ท่า นอนราบ ให้นอนในท่าสบาย (ดัง ภาพที่ 5 ข) ตรวจเต้านมด้ านขวา ให้ส อดหมอนหรื อ ม้ วนผ้าใต้ ไหล่ ข วา ยกแขนขวา เหนือ ศีร ษะ เพื่อ ให้เ ต้านมด้ า นนั้ น แผ่ ร าบ ซึ่ง จะทำให้คลำก้อ นเนื้ อ ได้ ง่ายขึ้น โดยเฉพาะส่วนบนด้ านนอกมีเ นื้ อ นมมากที่สุด และมีก ารเกิดมะเร็ง บ่ อ ยที่สุด แล้วใช้นิ้ ว กลาง ตอนบนของนิ้ ว มือ ซ้ า ย นิ้ ว ชี้ นิ้ ว กลาง และนิ้ ว นาง คลำทั่ ว ทั้ ง เต้ า นมและรั ก แร้ ที่ ส ำคั ญ คื อ ห้ า มบีบ เนื้อ เต้านม เพราะจะทำให้รู้สึก เหมือ นเจอก้อ นเนื้อ ซึ่ง ความจริ ง แล้ว ไม่ใ ช่ และทำวิ ธีเ ดี ย วกั น นี้ก ั บ เต้ า นมด้านซ้ าย

ภาพที่ 5 วิ ธีก ารตรวจเต้ านมด้ วยตนเองขณะอาบน้ำ 3. ท่ า ขณะอาบน้ำ (ดั ง ภาพที่ 5 ค) สำหรับ ผู้ ห ญิ ง ที่มีเ ต้ านมขนาดเล็ ก ให้ ว างมื อ ข้ างเดี ยวกั บ เต้ า นมที่ ต้ อ งการตรวจบนศีร ษะ แล้ ว ใช้ มื อ อี ก ข้ า งหนึ่ ง คลำในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ที่ ใ ช้ใ นท่ า นอน สำหรับ ผู้ห ญิง ที่มีเ ต้านมขนาดใหญ่ให้ใ ช้นิ้ วมื อ ข้างนั้ นประคองและตรวจ คลำเต้านมจากด้า นล่ าง ส่ วนมื อ อี ก ข้ า งหนึ่ ง ให้ ต รวจคลำจากด้ า นบนวิ ธี ก ารคลำ 3 แบบ วิ ธี ก ารคลำอาจใช้ ร ู ป แบบใดรู ป แบบหนึ ่ ง ดัง ต่อ ไปนี้ (ดัง ภาพที่ 6) 1. การคลำในแนวก้ น หอย โดยเริ่ ม คลำส่ ว นบนของเต้ า นม ตามก้ น หอยจนกระทั่ง ถึง ฐาน เต้านมบริเ วณรัก แร้ (ดัง ภาพที่ 6 ก) 2. การคลำในแนวรูป ลิ่ม โดยเริ่ม คลำส่วนบนของเต้านมจนถึง ฐาน แล้วกลับ สู่ยอด อย่างนี้ ไปเรื่อ ยๆ ทั้ง เต้านม (ดัง ภาพที่ 6 ข) 3. การคลำในแนวขึ้นลง โดยเริ่ม คลำจากใต้เ ต้านมถึง กระดูก ไหปลาร้า โดยขยับ นิ้วทั้ง 3 คลำในแนวขึ้นและลงสลั บกันไปเรื่อ ยๆ จนทั่วทั้งเต้านม (ดัง ภาพที่ 6 ค) ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 5 จาก 8

ภาพที่ 6 วิ ธีก ารคลำเต้ านมด้ วยตนเอง 3 แบบ วิ ธี การกด 3 ระดั บ ดัง นี้ (ดัง ภาพที่ 7) 1. กดเบา เพื่อ ให้รู้สึก ถึง บริเ วณใต้ผิวหนัง 2. กดปานกลาง เพื่อ ให้รู้สึก ถึง กึ่ง กลางของเต้านม 3. กดหนัก ขึ้น เพื่อ ให้รู้สึก ได้ถึง ส่ วนลึก ใกล้ผ นัง ปอด

ภาพที่ 7 วิ ธีก ารกด 3 ระดั บ

การตรวจเต้ านมโดยแพทย์หรือ เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุขที่ผ่ านการอบรม ใช้ ทั ก ษะการดู แ ละการคลำ ให้ ผู้ ป่ ว ยถอดเสื้ อ ชั้ น นอกและชั้น ในออกให้ ห มด จึ ง ควรตรวจใน สถานที่ มิ ด ชิด ท่า ตรวจเต้ านมอาจมีค วามแตกต่ างกั น บ้ า ง เพราะทำได้ ห ลายแบบ ท่ า ตรวจที่ ต รวจได้ ง่ายและนิยมใช้ตรวจกันมากมี 2 ท่าคือ ท่านั่ง และท่านอน ดัง นี้ ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 6 จาก 8

1. ท่ า นั่ ง (ดั ง ภาพที่ 8) ใช้ ก ารดู แ ละการสั ง เกต ให้ ผู้ ป่ ว ยนั่ ง ตั ว ตรงบนเตี ย งหรื อ บนเก้ า อี้ ตรวจดู ลั ก ษณะทั่ ว ไป (contour) ของเต้ า นม เส้ น รอบเต้ า นม รู ป ร่ า ง ขนาด (size) ของเต้ า นมทั้ง 2 ข้ า งเท่ า กั น หรื อ ไม่ สั ง เกตความผิ ด ปกติ ข องผิ ว หนั ง บริ เ วณเต้ า นมหรือ ลานนมว่ า มี ร อยแผล (lesion) การอั ก เสบ (inflame) บวมแดง และฝี (abscess) มี เ ส้ น เลื อ ดโป่ ง พองหรื อ ไม่ สั ง เกตจากหั ว นมที่ ผิ ดปกติ เช่น หัวนมบอด รอยบุ๋ม หรือ ลัก ยิ้ม (dimpling) การดึง รั้ง (reteaction) ของหัวนมและฐาน หัวนมทำให้มีรูป ร่างบิ ดเบี้ ย ว หรือ ผิดไปจากเดิม หรือ ของเหลวไหลออกมาจากหั ว นมหรือ ไม่ มี ก้อ นที่ ส่ วนใต้ ของเต้ านมหรื อ ไม่ โดยมีท่าตรวจเต้านม 4 ท่า คื อ ท่า 1 มื อ วางแนบข้างลำตั ว ท่า 2 ยกมือ ขึ้น เหนือ ศีร ษะ ท่า 3 เอามือ ท้าวเอวและเกร็ง และท่า 4 ยื่นมือ 2 ข้ าง โน้ม ตัวมาข้างหน้า เพื่อ ดูก ารห้อ ย ตั วของเต้านมเท่ ากัน

อาการแสดงที่ป กติ ไม่มีแผล ไม่มีก ารอัก เสบ บวม แดง ไม่มีเ ส้ นเลือ ดโป่ง พอง ไม่มีก ารดึง รั้ ง ของหั ว นมและฐานหั ว นมบิ ดเบี้ ยวหรือ ผิด ไปจากเดิ ม ไม่ มี ข องเหลวไหลออกมาจากหั ว นม และไม่พ บ ก้ อ น อาการแสดงที่ ผิ ด ปกติ ได้ แ ก่ เส้ น เลื อ ดดำบนเต้ า นมขยายตั ว (ดั ง ภาพที่ 10 ก) มี ก ารดึง รั้ง (reteaction) ของผิวหนัง (ดัง ภาพที่ 10 ข) ทำให้รูป ร่างเต้านมและหัวนมเปลี่ยนแปลงไป มี ก ารบวม ที่ ผิ ว หนั ง ทางเดิ น น้ ำ เหลือ งอุ ด ตั น ทำให้ ผิ ว หนั ง หนาขึ้ น เห็ น รู ขุ ม ขนชั ด เจน มี ลั ก ษณะคล้ า ยหนั ง หมู หรือ เปลือ กส้ ม (orange peel) 2. ท่ า นอน (ดั ง ภาพที่ 9) ให้ ผู้ ป่ ว ยนอนหงายไม่ ห นุ น หมอน ยกแขนข้ า งที่ ต้ อ งการตรวจขึ้ น ข้ างบนใช้ห มอนเล็ ก ๆ หรือ ผ้าหนุนบริเ วณใต้อ กและหั ว ไหล่ ข้ างที่ต้อ งการตรวจ หรือ ให้ผู้ป่วยสอดมื อ ข้างนั่นไว้ตรงบริเ วณใต้ ศีร ษะด้ ว ย ทั้ง นี้เ พื่อ ให้เ ต้านมแบนราบ ติ ดกั บ ผนั ง ทรวงอกและง่ ายต่ อ การคลำ พบก้อ นที่ผิดปกติใช้ทัก ษะการดูและการคลำ การดู เช่ น เดี ย วกั บ การดู ใ นท่ า นั่ ง โดยดู ลั ก ษณะทั่ ว ไปของเต้ า นม เส้ น รอบเต้ า นม รู ป ร่ า ง ขนาดของเต้านมทั้ง 2 ข้ างเท่ ากั นหรื อ ไม่ สั ง เกตความผิ ดปกติ ของผิ วหนั ง บริ เ วณเต้ านมหรื อ ลานนมว่ า ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 7 จาก 8

มี ร อยแผล การอัก เสบ บวมแดง และฝี มีเ ส้นเลือ ดโป่ง พองหรือ ไม่ สั ง เกตดูอ าการแสดงผิ ดปกติ เช่น หัวนมบอด รอยบุ๋ม หรือ การดึง รั้ง ทำให้มีรูป ร่างบิดเบี้ยว ผิ ดไปจากเดิ ม หรื อมีของเหลวไหลออกมาจาก หัวนม มีก้อ นที่ส่วนใต้ของเต้านม

Orange peel การขยายตัวของเส0นเลือดดำ

รอยบุ&มทีห่ ัวนมด0านขวา

รอยบุ&มทีห่ ัวนมด0านซ0าย

ภาพที่ 10 ความผิดปกติของเต้านม การคลำ ใช้ ฝ่ า มื อ ข้ า งที่ ถ นัด หรือ ส่ ว นปลายของนิ้ ว ชี้ นิ้ ว กลาง และนิ้ ว นางคลำ ให้ ทั่ ว เต้านม (ดั ง ภาพที่ 11 ก) รวมทั้ ง หั ว นมและฐานหั ว นม (ดั ง ภาพที่ 11 ข) เพื่ อ คลำหาก้ อ น (ดั ง ภาพที่ 11 ค) โดยจะคลำที ล ะส่ ว นของเต้ า นม หรื อ จะคลำจากจุ ด ศู น ย์ ก ลางหั ว นม โดยเริ่ ม จากลานนม (areola) แล้ ว วนออกไปรอบๆ ตามลู ก ศรชี้ จนถึ ง ส่ ว นนอกของเต้ า นม คลำจนทั่ ว เต้ า นม ถ้ า พบก้ อ นให้ ร ะบุ ตำแหน่ ง ของก้ อ น ว่ า อยู่ ใ นส่ ว นไหนของเต้ านม ขนาดของก้ อ นโตประมาณกี่ เ ซนติ เ มตร ลั ก ษณะของ ก้ อ น กลม เรียบ แบน หรือ ขรุขระ เป็นตะปุ่ม ตะป่ำมี ค วามแข็ ง หรื อ นุ่ม และเคลื่อ นไหวได้ห รือ ไม่ กด เจ็ บ หรื อ ไม่ ผิ ว หนั ง บริ เ วณที่ ต รวจมี ก้ อ น มี ร อยบุ๋ ม หรื อ หนาขึ้ น คล้ า ยหนั ง หมู ใ ห้ นึ ก ถึ ง เนื้ อ งอกชนิด ร้ ายแรง คลำหั ว นมทั้ ง 2 ข้ า ง ดู ค วามยื ด หยุ่ น ในรายที่ ค วามยื ด หยุ่ น เสี ย มั ก พบได้ ใ นผู้ ป่ ว ยโรคมะเร็ง เต้ า นมใช้ นิ้ ว หัว แม่ มื อ กั บ นิ้ ว ชี้ บีบ ตรงหั ว นม (ดั ง ภาพที่ 11) เพื่ อ ดู ว่ า มีสิ่ ง ใด (discharge) ไหลออกมา หรือ ไม่

คลําตามลูกศร

ภาพที่ 11 การตรวจเต้านมด้วยการคลำ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การตรวจเต้ า นม

หน้ า 8 จาก 8

ข้ อ ควรระวั ง ในการตรวจเต้ า นมโดยเจ้ า หน้ า ที่ ส าธารณสุ ข ควรดู แ ลไม่ เ ปิ ด เผยเต้ า นมผู้ ป่วย เกิ น ความจำเป็ น มี ก ารสื่ อ สารกั บ ผู้ ป่ ว ยขณะทำการตรวจ เพื่ อ ให้ ท ราบว่ า กำลั ง ทำอะไร หากเป็ น เจ้าหน้าที่ผู้ชาย ควรมีเ จ้าหน้าที่ผู้ห ญิง อยู่ด้วย หมายเหตุ การตรวจเต้ า นมให้ ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ชุ ด วิ ช า 50301 การรั ก ษาพยาบาล เบื้อ งต้น (ฉบับ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2556) หรือ 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบัดโรคเบื้อ งต้น หน่วย ที่ 3

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.