【 52311x52404 】เรื่อง การทำแผล

Page 1

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การทำแผล

หน้ า 1 จาก 5

เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ชุ ด วิ ช า 52311 การปฐมพยาบาลและการบำบั ด โรคเบื้ อ งต้ น สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

การทำแผล ภาพปก “Cotton” โดย Erbs55 (2016) จาก pixabay.com/en/ cotton-branch-cotton-plant-branch-1271038

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การทำแผล

หน้ า 2 จาก 5

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบาดแผล บาดแผล (wounds) เป็นภาวะที่ผิ วหนัง หรื อ เนื้อ เยื่อ ของร่ างกายมีก ารฉีก ขาดหรือ ถูก ทำลาย ให้แยกออกจากกัน เป็นเหตุให้เ กิดการสูญ เสียโลหิตและอาจเกิดการติดเชื้อ โรคต่าง ๆ ทางบาดแผลได้ ซึ่ง อาจเป็นอันตรายถึง ชีวิตได้ การเรียนรู้และฝึก ฝนทัก ษะการทำแผล หรือ การทำความสะอาดบาดแผล ตลอดจนการดู แ ล ประคับ ประคองบาดแผลโดยการพันผ้าอย่างถูก วิธีให้กับ ผู้ป่วย/ผู้บ าดเจ็บ เป็นภารกิจ ที่ส ำคัญ ประการ หนึ่ง ของเจ้าหน้าที่ส าธารณสุขที่ป ฏิบัติง านในสถานบริก ารสุขภาพระดับ ตำบล หรือ รพ.สต. เนื่อ งจาก การดู แ ลทำความสะอาดบาดแผลผู้ ป่ ว ย/ผู้ บ าดเจ็ บ อย่ า งถู ก ต้ อ ง จะช่ ว ยให้บ าดแผลหายเร็ว ขึ้ น และ ป้อ งกันเชื้อ โรคเข้าสู่บ าดแผล ตลอดจนการป้อ งกันอันตรายที่อ าจจะเกิดขึ้นกับ บาดแผลนั้น ในที่ นี้ จ ะกล่ า วถึ ง วิ ธี ก ารทำความสะอาดบาดแผล 2 แบบ คื อ การทำแผลแบบแห้ ง และการ ทำแผลแบบเปียก เท่านั้น การทำแผลแบบแห้ ง (Dry dressing) จะใช้ ท ำความสะอาดแผลปิ ด หรื อ ในกรณี ที่ ผู้ ป่ ว ย ได้ รั บ การทำผ่ า ตั ด เย็ บ แผลปิ ดไว้ ไม่ ว่ า แผลจะเล็ ก หรื อ ยาวก็ต าม บางแผลต้ อ งเปิ ด ผ้า ปิด แผลเช็ดทำ ความสะอาดแผลทุ ก วั น หรื อ วั น เว้ น วั น หรื อ ตามดุ ล ยพิ นิ จ ของแพทย์ พยาบาล หรื อ บุ ค ลากร สาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วย การทำแผลแบบเปี ย ก (Wet dressing) ใช้ ใ นกรณี แ ผลเปิ ด ซึ่ ง อาจเกิ ด จากอุ บั ติ เ หตุ ห รื อ จากการผ่าตัดที่เ นื้อ อเยื่อ มีก ารฉีก ขาด แผลไม่ได้เ ย็บ บาดแผลไว้ ดัง นั้นฝุ่นผงละอองและเชื้อ โรคอาจ เข้าสู่แผลได้ง่าย จึง จำเป็นต้อ งได้รับ การทำความสะอาดอย่างถูก ต้อ ง

การเตรียมการก่อนการทำแผล 1) ประเมินสภาพผู้ป่วย และทำการเลือ กของใช้และอุป กรณ์ในการทำแผลได้เ หมาะสมกับ ผู้ ป่ ว ย แต่ล ะบุ คคล 2) อธิ บ ายขั้ น ตอน วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ให้ ผู้ ป่ ว ยเข้ า ใจเพื่ อ ขอความร่ ว มมือ ให้ ผู้ ป่ ว ยคลายกัง วล และ เป็นการเคารพในสิท ธิของผู้ป่วย 3) ล้างมือ ก่อ นจัดเตรียมของใช้ เพื่อ ป้อ งกันการแพร่เ ชื้อ โรคไปยัง ผู้ป่วย 4) เตรี ย มของใช้ ได้ แ ก่ ชุ ด ทำแผลไร้ เ ชื ้ อ 1 ชุ ด (โดยทั่ ว ไป ประกอบด้ ว ย ปากคี บ ทำแผล (forceps) 2 อั น แบบมี เ ขี้ย วและไม่ มี เ ขี้ ย ว ถ้ ว ยใส่ ส ำลี จ ำนวน 6 ก้ อ น ถ้ ว ยเปล่ า เพื่ อ ใส่น้ำยา

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การทำแผล

หน้ า 3 จาก 5

และผ้าก๊อ ส 2 ชิ้น) แอลกอฮอล์ 70% ถุง มือ สะอาด 1 คู่ พลาสเตอร์ใส หรือ เทปใสปิดผ้าก๊อส และภาชนะเพื่อ ใส่ขยะทำแผล เช่น ถุง หรือ ชามรูป ไต ในกรณีของการทำแผลแบบเปียก การเตรียมของใช้เ ช่นเดียวกับ การทำแผลชนิดแห้ง ยกเว้น 1) จำนวนสำลีส ะอาดที่ใช้จ ะมีจ ำนวนมากขึ้น ขึ้นกับ ลัก ษณะของแผลและการติดเชื้อ ที่แผล 2) น้ำยาที่ใช้ล้างแผล ได้แก่ น้ำเกลือ ล้างแผล (Normal Saline Solution: NSS) และน้ำยาล้ า ง แผลอื่น ๆ ตามแผนการรัก ษา

วิธีการทำแผลแบบแห้ง และการทำแผลแบบเปียก การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing) 1) แจ้ง ให้ผู้ป่วยทราบ 2) จัดท่าผู้ป่วยให้นอนในท่าสุขสบาย เปิดเผยบริเ วณแผลบริเ วณที่ต้อ งทำความสะอาด 3) แกะผ้ า ปิด แผลเดิ ม ออก ใช้ มื อ หยิ บ ผ้า ปิ ดแผลโดยพั บ ส่ว นที่สั ม ผั ส แผลให้ อ ยู่ ด้ านในก่อ นทิ้ง ใน ภาชนะใส่ ข ยะที่ เ ตรี ย มมา ใช้ น้ ำ มั น มะกอกหรื อ ... สั ง เกตลัก ษณะแผล ทิ้ ง ของใช้ จั ด วางถุง ขยะหรื อ ชามรู ป ไตใส่ข ยะในตำแหน่ ง ที่ เ หมาะสมเพื่ อ ไม่ ใ ห้ ข ยะจากการทำแผลข้ า มผ่ า นหรือ เข้าใกล้ชุดทำแผลไร้เ ชื้อ ในขณะกำลัง ทำแผล 4) ล้างมือ ให้ส ะอาดก่อ นเริ่ม ทำความสะอาดบาดแผล 5) เปิดชุดทำแผลโดยใช้ห ลัก สะอาดปราศจากเชื้อ 6) เทแอลลกอฮอล์ 70%/น้ำยาทำความสะอาดแผลลงในภาชนะของชุดทำแผล แล้วใช้ มือ จับ ผ้ า ห่อ ชุดทำแผลที่ด้านนอก หยิบ ปากคีบ ที่มีเ ขี้ยวในชุดทำแผลแล้วส่ง ให้มือ ข้างที่ถนัด ต่อ จากนั้น ใช้ป ากคีบ ที่ถือ อยู่ห ยิบ ปากคีบ อันที่ส องแล้วส่ง ให้มือ อีก ข้างหนึ่ง ในกรณีที่ใส่ถุง มือ ปลอดเชื้อ ที่ เตรี ย มมาเพิ่ ม เติม จากที่ ร ะบุ ไ ว้ ให้ ใ ช้ มือ หยิบ ปากคีบ ทั้ ง สองอัน ได้เ ลย โดยให้ มื อ ข้ างที่ถ นัดจับ ปากคีบ มีเ ขี้ยว 7) ใช้ ป ากคี บ ที่ ไ ม่ มี เ ขี้ ย วคีบ สำลี ชุ บ แอลกอฮอล์ ในถ้ ว ยที่ เ ตรี ยมไว้พ อหมาดๆ หรื อ ประมาณ 2/3 ของก้อ น แล้วส่ง ต่อ ให้ป ากคีบ ที่มีเ ขี้ย วที่อ ยู่ต่ ำกว่ านำไปเช็ด ชิ ดขอบแผลและวนออกนอกแผล ประมาณ 2-3 นิ้ว (ดัง ภาพที่ 12 ก และ ข) สำลีที่ใช้แล้วให้ทิ้ง ลงในภาชนะรองรับ เพื่ อ ใส่ ข ยะ ทำแผลที่เ ตรียมมา

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การทำแผล

หน้ า 4 จาก 5

8) การทิ้ ง สำลี ที่ใ ช้ เ ช็ ดแผลแล้ ว ลงในภาชนะเพื่ อ รอการนำไปทิ้ ง มี ข้ อ พึ ง ระวั ง 2 ประการ คื อ 1) ปากคีบ ต้อ งไม่สัม ผัส ภาชนะที่ร องรับ ขยะทำแผล เนื่อ งจากภาชนะดัง กล่าวไม่ได้ผ่านการทำให้ ปลอดเชื้อ และ 2) ขยะจากการทำแผลต้อ งไม่ข้ามผ่านหรือ เข้าใกล้ชุดทำแผลไร้เ ชื้อ 9) เช็ดแผลซ้ำในกรณีที่เ ห็นว่าแผลยัง ไม่ส ะอาด โดยปฏิบัติตามข้อ 7 และ 8 10) ปิ ด แผลด้ ว ยผ้ า ก๊ อ สและติ ด พลาสเตอร์ ต ามแนวขวางของลำตั ว จำนวนชั้ น ความหนาของผ้ า ก๊อ สจะขึ้นอยู่กับ สารคัดหลั่ง ที่ซึม จากแผล ผ้าก๊อ สต้อ งปิดคลุม เกินขอบแผลประมาณ 1/2 - 1 นิ้ว (ดัง ภาพที่ 12 ค) 11) จัดเสื้อ ผ้าและท่านอนให้ผู้ป่วย 12) ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวขณะมีบ าดแผล 13) นำอุป กรณ์ท ำแผลไปล้างทำความสะอาดอย่างถูก วิธี 14) ล้ างมื อ ให้ ส ะอาด 15) เขียนบันทึก รายงานสภาพบาดแผล การทำแผล และการช่วยเหลือ อื่นๆ ที่ให้แก่ผู้ป่วย

จับ

ภาพที่ 12 การทำความสะอาดบาดแผลชนิดแห้ง

การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing) วิธีก ารทำแผลแบบเปียกมีความแตกต่างจากการทำแผลแบบแห้ง ดัง นี้ 1) ถ้ ว ยใส่ น้ำ ยา 2 ถ้ ว ย ในชุ ด ทำแผล ถ้ ว ยหนึ่ ง ใช้ส ำหรั บ ใส่ส ำลีแ ละแอลกอฮอล์ ถ้ ว ยที่ เ หลื อ อี ก หนึ่ง ถ้วยจะเตรียมไว้เ พื่อ ใส่ส ำลีป ลอดเชื้อ และน้ำเกลือ ล้างแผล 2) ในขั้นตอนการแกะผ้าปิด แผลออกจากบาดแผล หากพบว่า ผ้าก๊อ สที่ปิดแผลแห้ง ติดแผลให้ ใ ช้ สำลีชุบ น้ำเกลือ หยดลงบนผ้ าปิ ดแผลที่แห้ง ติด แผลก่ อ นแกะผ้าปิด แผลออก เพื่อ ให้ผ้าปิด แผล หลุดง่ายและไม่ท ำลายเนื้อ เยื่อ

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เรื่ อ ง การทำแผล

หน้ า 5 จาก 5

3) ทำความสะอาดริม ขอบแผลเช่นเดียวกับ การทำแผลแบบแห้ง ตามข้อ 7-9 4) หลั ง จากการทำความสะอาดริ ม ขอบแผล ให้ ใ ช้ ส ำลี ชุ บ น้ ำ เกลื อ หรื อ น้ ำ ยาตามแผนการรัก ษา เช็ดภายในแผลจนสะอาด 5) ใช้ผ้าก๊อ สชุบ น้ำยาตามแผนการรัก ษาใส่ในแผลเพื่อ ให้ความชุ่ม ชื้นแก่เ นื้อ เยื่อ ก่อ นปิดแผลด้วย ผ้ าก๊ อ สหรือ ผ้าก๊อ สหุ้ม สำลี ตามแนวปฏิบัติท ำแผลแบบแห้ง ตามข้อ 10

ชุ ด วิ ชา 523 11 การปฐมพยาบาล และการบำบั ด โรคเบื้ องต้ น

สาขาวิ ช าวิ ท ย าศาสต ร์ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ยสุ โ ขทั ย ธรรม าธิ ร าช


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.