หน่วยที่ 02 หลักปฏิบัติ
ในการตรวจงานก่อสร้าง
รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1
หน่วยที่ 02 หลักปฏิบัติ
ในการตรวจงานก่อสร้าง
2.1 ข้อพิ จารณาในการตรวจงานก่อสร้าง 2.2 ขั้นตอนการตรวจงานก่อสร้าง 2.3 ปัญหาและแนวปฏิบัติสําคัญ ในการตรวจงานก่อสร้างของส่วนราชการ
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2
ข้อพิ จารณา
ในการตรวจงานก่อสร้าง • ข้อมูลสําคัญประกอบการตรวจงานก่อสร้าง • ประเด็นสําคัญในการตรวจงานก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3
ข้อมูลสําคัญ
ประกอบการตรวจงานก่อสร้าง 1) ข้อมูลด้านเอกสาร
• สัญญาว่าจ้างก่อสร้าง • เอกสารประกอบสัญญา • แบบรูปและรายการละเอียด
1) วิธป ี ฏิบัติในการทํางานก่อสร้าง 2) ชนิด ขนาด และคุณภาพ ของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง 3) เงื่อนไขและข้อกําหนด ที่ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตาม
• บัญชีแสดงปริมาณและราคางาน
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4
ข้อมูลสําคัญ
ประกอบการตรวจงานก่อสร้าง 2) ข้อมูลด้านสถานที่ก่อสร้าง
• ภูมิประเทศ ระดับความสูง ตํา่ ของพื้นที่ ซึ่งจะมีผลต่อการตัดดิน หรือถมดิน หรือการขุดถมปรับระดับ • ชนิดของดิน จะมี ผ ลต่ อ การคํ า นวณเพื่ อ เลื อ กใช้ โ ครงสร้ า ง ชั่วคราว รวมทั้งเลือกใช้ชนิด และลักษณะของเครื่องจักรกล • ระดับนํา้ ใต้ดิน จะมีผลต่อการทํางานฐานรากและห้องใต้ดิน และ การสูบนํา้ ออก • สิ่งก่อสร้างที่มีอยู่ข้างเคียง เพื่อประโยชน์ในการตรวจงาน ในการป้องกัน สิ่งก่อสร้างนั้นไม่ให้เสียหาย หรือพังทลาย ขณะก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 5
ข้อมูลสําคัญ
ประกอบการตรวจงานก่อสร้าง 2) ข้อมูลด้านสถานที่ก่อสร้าง
• ขนาดของพื้นที่ ต้องตรวจสอบให้แน่นอน เพราะถ้าหากพื้นที่ไม่ตรงกับที่กําหนดไว้ในแบบรูป ก็อาจจะมีผลกระทบต่อขนาดของอาคาร • สภาพดินฟ้าอากาศ ปริ ม าณนํ้ า ฝน และระยะเวลาที่ ฝ นตก รวมทั้ ง อุณหภูมิสูงตํา่ ในรอบปี • ทางเข้า-ออก ซึ่งจะใช้เป็นทางขนส่งทรัพยากรเข้าไปดําเนินการ ก่อสร้างว่าสะดวกหรือไม่ • ระบบสาธารณูปโภคในท้องถิน ่ เกี่ยวกับไฟฟ้า นํา้ ประปา ระบบที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและการสื่อสารที่ใช้ติดต่อกับภายนอก • กฎระเบียบข้อบังคับในท้องถิน ่ รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิน ่
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 6
ประเด็นสําคัญ
ใน การตรวจงานก่อสร้าง
• การตรวจงานด้านเทคนิค และหลักการก่อสร้าง • การตรวจงานด้านฝีมือแรงงาน • การตรวจงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการปฏิบัติงาน
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 7
การตรวจงานด้านเทคนิค และ หลักการก่อสร้าง
1) การตรวจสอบตําแหน่งผังอาคาร และหมุดอ้างอิงต่าง ๆ
• ตรวจสอบหมุดหลักเขตที่ดินกับโฉนดที่ดิน ่ ินจริงทั้งหมด • ตรวจสอบขอบเขตของพื้นทีด เปรียบเทียบกับพื้นที่ในผังบริเวณ • ตรวจสอบระดับพื้นดินเดิม และระดับถนน • ตรวจสอบตําแหน่งระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ
2) การตรวจสอบขนาด ระยะ ระดับ และแนวต่าง ๆ ตรวจสอบอย่างละเอียดให้ตรงตามแบบรูป และ รายการละเอียด รวมทั้งถูกต้องตามมาตรฐาน และ หลักวิชาการที่ดี
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 8
การตรวจงานด้านเทคนิค และ หลักการก่อสร้าง
3) การตรวจสอบวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ
ยึดมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) หรือ ข้อมูลทางด้านเทคนิคของผู้ผลิต ทั้งเรื่องขนาด และ คุณภาพของวัสดุอป ุ กรณ์
4) การตรวจสอบผลการก้าวหน้าของงาน
บันทึกผลงานที่ทําได้ไว้เป็นรายวัน รายสัปดาห์ หรือ รายเดือน ซึ่งจะนํามาเทียบกับแผนงานหลัก เพื่อหาแนวโน้มความก้าวหน้าของงาน ว่าช้าหรือเร็วกว่าแผน
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 9
การตรวจงาน
ด้านฝีมือแรงงาน
• มาตรฐานฝีมือแรงงาน
ส่งผลถึงคุณค่าของงานก่อสร้าง เป็นสิ่งที่มองเห็น และ ตรวจสอบได้ง่าย
• การตรวจระดับดิ่ง ฉาก และแนว
เช่น การก่ออิฐโชว์แนว การฉาบปูน การปูกระเบื้อง เป็นการตรวจความประณีตของฝีมือแรงงาน
• งานตกแต่งที่ใช้ฝีมือชํานาญเฉพาะพิ เศษ
เช่น บัวพื้น และฝ้าเพดานต่าง ๆ บัวปั้นปูน ควรมีการตรวจทั้งด้านฝีมือ ความประณีต และ ความงามตามลักษณะแห่งศิลปะ ของงานประเภทนัน ้ ๆ
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 0
การตรวจงาน
ด้านฝีมือแรงงาน
• การตรวจงานที่ต้องใช้ความรู้ในเทคนิคเฉพาะอย่าง เช่น งานเชื่อม ผู้ตรวจงานจะต้องมีความรู้ ในเรื่องที่ตรวจเป็นอย่างดี เพราะ เป็นการตรวจเพื่อมุ่งหา คุณภาพ ความปลอดภัย และความคงทนถาวร
• การตรวจสอบการใช้งานเครื่องจักรกลอย่างสมํ่าเสมอ ทัง ้ ประจําวัน ประจําสัปดาห์ และประจําปี อย่างเคร่งครัด จะมีส่วนช่วยลดการเกิดการอุบัติเหตุลงได้
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 1
การตรวจงานด้านความปลอดภัย
และ อาชีวอนามัย ในการปฏิบัติงาน
• ผู้ทําการก่อสร้างจะต้องจัดระบบความปลอดภัย
ให้แก่ช่างและคนงาน รวมทั้งบุคคลภายนอกตามที่กฎหมายระบุไว้อย่างครบถ้วน
• ควรจัดเตรียมอุปกรณ์ความปลอดภัย
ของการปฏิบต ั ง ิ านภายนอกอาคาร ่ ีราวกันตก ได้แก่ นั่งร้าน ตาข่ายกันตก สะพานห้อยทีม
• ผู้ปฏิบัติงานในที่สูงจะต้องมีเข็มขัดนิรภัย และตาข่ายหรือสิ่งรองรับที่แข็งแรง
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 2
การตรวจงานด้านความปลอดภัย
และ อาชีวอนามัย ในการปฏิบัติงาน
• ผู้ปฏิบัติงานบนเครื่องทุ่นแรงบางอย่าง
เช่น ปั้นจั่นยกของแบบติดตั้งบนพื้น ่ ูง นอกจากจะต้องมีเครื่องป้องกันสําหรับการทํางานในทีส ยังต้องมีสายล่อฟ้าบนเครื่องทุ่นแรงนั้นเพื่อป้องกันฟ้าผ่า และ ทําการยึดปั้นจั่นตามคําแนะนําของผู้ผลิต
• เขตพั กอาศัยในหน่วยงานก่อสร้าง
มักจะเป็นแหล่งเสื่อมโทรม ผู้ตรวจงานจึงควรเอาใจใส่หมั่นตรวจตรา ่ ักอาศัย แนะนําให้จัดสถานที่ให้ถูกสุขลักษณะทัง ้ สถานทีพ และ การอยู่อาศัย
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 3
ขั้นตอน
การตรวจงาน
เป็นหน้าที่ของผู้ควบคุมงานโดยตรง ที่จะควบคุมการทํางานของผู้ทําการก่อสร้างให้ถูกต้อง ตามแบบรูป และรายการละเอียด รวมทั้งตามหลักวิชาการที่ดี
. . . ผู้ตรวจงานจะมีบทบาท ในการเข้าตรวจงาน ในหน่วยงานก่อสร้าง 2 ขั้นตอน ดังนี้ . . . • การตรวจงานระหว่างการก่อสร้าง • การตรวจงานตามงวดงาน ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 4
การตรวจงาน
ระหว่าง การก่อสร้าง มีประโยชน์ในการตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน และ ผลงานเป็นระยะ ๆ เพื่อลดปัญหา อุปสรรคในงานก่อสร้างลง ่ ีคุณภาพ และ ทําให้ได้ผลงานทีม
• การตรวจงาน ตามระยะเวลาที่กําหนด • การตรวจงาน เมื่อมีเหตุหรือข้อขัดข้อง • การตรวจงาน เมื่อครบกําหนดเวลาตามงวดงาน ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 5
การตรวจงาน
ตามระยะเวลาที่กําหนด
• การตรวจงานก่อสร้างควรดําเนินการเป็นระยะ ๆ ตลอดช่วงการทํางานก่อสร้าง เพื่อจะได้ตรวจสอบงานที่ทาํ ไปแล้วให้ถูกต้อง ตรงตามแบบรูปและรายการละเอียด • ผู้ตรวจงานมีความจําเป็นในการตรวจด้านความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานด้วย • ผู้ตรวจงานควรเข้าร่วมการประชุมประจํา ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการทํางาน เปรียบเทียบกับแผนงานก่อสร้าง
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 6
การตรวจงาน
ตามระยะเวลาที่กําหนด
• การดําเนินการขออนุมัติก่อนที่จะทํางานจริง เช่น การเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ การตัดสินใจเลือกใช้ส่วนผสมของคอนกรีต การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ • การตรวจแบบขยายจริง (Shop Drawings) ซึ่งจําเป็นต้องได้รับการอนุมัติ ก่อนที่ผู้ทําการก่อสร้างจะนําไปใช้งานได้
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 7
การตรวจงาน
เมื่อมีเหตุหรือข้อขัดข้อง
่ เป็นอุปสรรคในการก่อสร้าง • เมื่อมีเหตุหรือข้อขัดข้องซึง ผู้ทําการก่อสร้างจะแจ้งให้ผู้ตรวจงานเข้าไปตรวจสอบ เพื่อขอความเห็น หรือ เพื่อพิจารณาตัดสินใจ • ผู้ตรวจงานเข้าไปตรวจสอบปัญหาร่วมกับผู้ออกแบบ และผู้ทําการก่อสร้าง เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการเกิดปัญหา และ ตัดสินใจแก้ปัญหา โดยไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการทํางานต่อไป • ในการแก้ปัญหา ถ้าหากมีผลกระทบถึงการเปลี่ยนแปลง แบบรูป และรายการละเอียด จะต้องทําการตรวจสอบถึงราคาค่าก่อสร้าง ที่เปลี่ยนแปลงไป เพราะจะได้นํามาปรับแก้ไข เป็นงานเพิ่ม-ลดในงวดงานนั้น ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 8
การตรวจงาน
เมื่อครบกําหนดเวลาตามงวดงาน
• เมื่อถึงเวลาที่ครบกําหนดตามที่ระบุไว้ในแผน และงานก่อสร้างก็ยังดําเนินการไม่แล้วเสร็จทันตามงวดงาน ผู้ตรวจงานก็ยังคงต้องเข้าไปตรวจงาน เพื่อตรวจปริมาณงานที่ทําได้จริงในขณะนั้น • นอกจากจะเป็นการเปรียบเทียบกับแผนงานแล้ว ยังเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาหาสาเหตุ ่ ะบานปลาย เพื่อแก้ปัญหาล่วงหน้าก่อนทีจ จนกระทั่งแก้ไขได้ไม่ทัน • ผู้ตรวจงานยังมีความจําเป็นในการตรวจ ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานด้วย เช่น ความปลอดภัยในการทํางานของช่างและคนงาน ความปลอดภัยในการทํางานกับเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ รวมทั้งจะต้องมีการวางแผนป้องกันภัย ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 1 9
การตรวจงาน
ตามงวดงาน
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ 1) การตรวจรับงานงวดปกติ 2) การตรวจรับงานงวดสุดท้าย
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 0
การตรวจรับงาน
งวดปกติ
1) ใบรายงานผลการตรวจรับงานงวด 2) ใบรับรองผลการปฏิบัติงาน 3) ใบตรวจการจ้าง
❝ . . . เป็นขั้นตอนหนึ่งเพื่อให้ผู้รับจ้างมีสิทธิ์เบิกเงิน
ประจํางวดตามสัญญาเท่านั้น ไม่ใช่เป็นการรับงานจ้างงวดนั้นไว้ใช้ในราชการ
ถ้ามีความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นภายหลังการตรวจรับ งานงวด ผู้ทําการก่อสร้างยังต้องเป็นผูร้ บ ั ผิดชอบ ความเสียหายนั้น . . .❞
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 1
การตรวจรับงาน
งวดสุดท้าย
1) ตรวจสอบความครบถ้วนตามสัญญา 2) ตรวจความประณีตเรียบร้อยและความสะอาด 3) ตรวจสอบและทดสอบการทํางานของระบบ
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 2
การดําเนินการ
ก่อน ส่งมอบงานงวดสุดท้าย
1) จัดทําบัญชีรายการงานที่ต้องแก้ไข
ให้แก่ผู้ทําการก่อสร้างทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้อง รวมทั้งผู้รับเหมาช่วงทุกราย เพื่อทําการแก้ไขงานให้แล้วเสร็จก่อนวันตรวจรับงาน
2) เมื่อผู้ทําการก่อสร้างแจ้ง ว่างานในรายการแก้ไขที่สั่งงานไปนั้น
ทําการแก้ไขแล้วเสร็จหรือใกล้แล้วเสร็จ ก็ให้เข้าไปตรวจสอบอีกครั้ง
3) เมื่อตรวจสอบว่าสามารถทําการส่งมอบงานได้แล้วนั้น ทําหนังสือแจ้งเจ้าของและผูอ ้ อกแบบ ให้ทําการตรวจรับงานในขั้นต้น
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 3
งานที่ต้องตรวจสอบ
ก่อน การตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย
1) ความเรียบร้อยของงานตกแต่ง
เช่น งานสี ไม่มีรอยหยดหรือทาสีลาํ้ แนวที่กําหนด งานวัสดุผิวประเภทกระเบื้อง หรือหินอ่อน ปูได้แนว และ ระดับ
2) อุปกรณ์ประกอบอาคารต่าง ๆ
เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า ปลั๊ก สวิตช์ ดวงโคม ว่าติดตั้งถูกต้อง ครบถ้วน และตรงตามตําแหน่ง รวมทั้งทดสอบการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟ้าทัง ้ หมด ทัง ้ นี้จะต้องมีใบรับรองการเดินสายไฟฟ้าของการไฟฟ้า ว่าถูกต้องปลอดภัยตามมาตรฐานด้วย
3) อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างติดตั้งถูกต้องครบถ้วน
รวมทัง ้ การใช้งานของประตูหน้าต่างนั้นเปิด-ปิดได้สะดวก และเรียบร้อย
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 4
งานที่ต้องตรวจสอบ
ก่อน การตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย
4) ครุภัณฑ์ประกอบอาคาร (ถ้ามี)
เช่น เคาน์เตอร์ มีขนาดและระดับถูกต้อง
5) ทดสอบการเดินท่อนํ้าใช้ – นํ้าทิง ้
ข้อต่อต่างๆ ไม่มีรอยรัว่ หรือนํา้ ซึมได้
6) ทดสอบระบบปรับอากาศ
ว่าใช้งานได้ดี มีอุณหภูมพ ิ อเหมาะแก่การใช้งาน
7) ส่งมอบของที่กําหนดไว้ในรายการ
เช่น แบบสร้างจริง (as-built drawing) คู่มือดูแลบํารุงรักษาอาคาร ใบรับประกันวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ลูกกุญแจ ฯลฯ ให้ครบถ้วน
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 5
การตรวจสอบความเสียหาย ก่อน สิ้นสุดการคํา้ ประกัน
่ นแปลงทางโครงสร้าง 1) การเปลีย 2) การเสียหายของงานตกแต่ง 3) การเสื่อมสภาพหรือการขัดข้อง ของอุปกรณ์และสิ่งประกอบอาคาร
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 6
ปัญหาและแนวปฏิบัติสําคัญ
ในการตรวจงานก่อสร้าง ของส่วนราชการ
่ นแปลงแก้ไขแบบรูป รายการละเอียด 1) การเปลีย หรือเอกสารสัญญา 2) การพิ จารณาขยายเวลาทําการก่อสร้าง 3) การสั่งหยุดงาน การบอกเลิกสัญญา และการปรับ
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 7
การเปลี่ยนแปลงแก้ไข
แบบรูป รายการหรือเอกสารสัญญา
❝ . . . สัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือที่ได้ลงนามแล้ว จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงมิได้ เว้นแต่ การแก้ไขนั้น จะเป็นความจําเป็นโดยไม่ทําให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์ หรือ เป็นการแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ให้อยู่ในอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณา อนุมัติให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
การแก้ไขเปลีย ่ นแปลงสัญญาหรือข้อตกลงตามวรรคหนึง ่ หากมีความจําเป็นต้องเพิ่มหรือลดวงเงิน หรือเพิ่มหรือลดระยะเวลาส่งมอบของ หรือระยะเวลาในการทํางาน ให้ตกลงพร้อมกันไป
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 8
การเปลี่ยนแปลงแก้ไข
แบบรูป รายการหรือเอกสารสัญญา ❝ . . . สําหรับการจัดหาที่เกี่ยวกับ
ความมั่นคงแข็งแรงหรืองานเทคนิคเฉพาะอย่าง จะต้องได้รับการรับรองจากวิศวกร สถาปนิก และวิศวกรผู้ชํานาญการ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
่ รับผิดชอบ หรือ สามารถรับรองคุณลักษณะเฉพาะแบบ ซึง และ รายการของงานก่อสร้างหรืองานเทคนิคเฉพาะอย่างนัน ้
แล้วแต่กรณีด้วย . . . ❞
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 2 9
การเปลี่ยนแปลงแก้ไข
แบบรูป รายการหรือเอกสารสัญญา กรณีฝ่ายผู้ทําการก่อสร้าง เป็นผู้เสนอขอแก้ไข • ผู้ทําการก่อสร้างทํางานผิดแบบ • ผู้ทําการก่อสร้างขอเปลี่ยนแปลงวัสดุอป ุ กรณ์ ที่มีคุณภาพเทียบเท่า กรณีฝ่ายเจ้าของโครงการ เป็นผู้เสนอขอเปลี่ยนแปลงแก้ไข • ผู้ทําการก่อสร้างยินดีทาํ ให้โดยไม่เพิ่มเวลาและวงเงิน • ผู้ทําการก่อสร้างขอเพิ่มเวลาแต่ไม่เพิ่มวงเงิน • ผู้ทําการก่อสร้างขอเพิ่มวงเงิน ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 0
แนวทางการพิ จารณา เพิ่ม-ลด ปริมาณงาน
1) กรณีแบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน หากปรากฏว่าแบบรูปและรายการละเอียดผิดพลาด ่ นไปจากหลักการทางวิศวกรรม คลาดเคลือ หรือ ทางเทคนิค ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัย ของกรรมการตรวจการจ้างหรือผู้ควบคุมงาน หรือ บริษัทที่ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง เพื่อให้งานแล้วเสร็จบริบูรณ์ โดยจะคิดค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผู้ว่าจ้างไม่ได้
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 1
แนวทางการพิ จารณา เพิ่ม-ลด ปริมาณงาน
2) กรณีงานพิ เศษและการแก้ไขงาน หากงานพิเศษนั้น ๆ อยู่ในขอบข่ายทั่วไป แห่งวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ จําเป็นอย่างยิง ่ ที่จะต้องจัดทํา เพราะเป็นงานเกี่ยวข้องโดยตรง มิฉะนัน ้ อาคารจะใช้งานไม่ได้ จึงต้องจัดทําไปในคราวเดียวกัน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ว่าจ้าง และ เป็นไปตามวัตถุประสงค์แห่งสัญญา
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 2
แนวปฏิบัติสําหรับงานพิ เศษ
หรืองานเพิ่มเติมขึ้นหรือตัดทอนลง 1) การเพิ่ มหรือลดงาน ต้องเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับปริมาณงานในสัญญา จะนําค่างานที่ลดลงไปทํางานอื่น ที่ไม่เกี่ยวข้องกับปริมาณงานในสัญญาไม่ได้ 2) การเพิ่ ม – ลดงาน เสนอโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง หรือ ผูค ้ วบคุมงานหรือผู้รบ ั จ้างก็ได้
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 3
แนวปฏิบัติสําหรับงานพิ เศษ
หรืองานเพิ่มเติมขึ้นหรือตัดทอนลง
2.1 รายการเพิ่ ม วงเงินที่เพิ่มในแต่ละรายการ (ถ้ามี) ระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นจากการทํางานเพิ่ม (ถ้ามี) ปริมาณงานและจํานวนเงินเพิ่ม (ถ้ามี) ในงวดใด รวมถึงเหตุผลความจําเป็นในการเพิ่ม 2.2 รายการลด วงเงินที่ลดลงในแต่ละรายการ (ถ้ามี) ระยะเวลาที่ลดลงจากการลดปริมาณงาน (ถ้ามี) ปริมาณงานและจํานวนเงินลด (ถ้ามี) ในงวดใด รวมถึงเหตุผลตามความจําเป็นในการลด ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 4
แนวปฏิบัติสําหรับงานพิ เศษ
หรืองานเพิ่มเติมขึ้นหรือตัดทอนลง
❝ . . . หากมีทง ้ั งานเพิ่ม – ลด ต้องนํารายละเอียดข้อ 2.1 และข้อ 2.2 มาพิจารณาเปรียบเทียบ
โดยหลักการต้องเจรจาต่อรองเพื่อไม่เพิ่มวงเงินและเพิ่มเวลา
หากจําเป็นต้องเพิ่มวงเงินต้องขออนุมต ั ิจัดสรรงบประมาณเพิ่ม และ ขอขยายเวลาสัญญาไปพร้อมกัน (ถ้ามี)
กรณีเป็นการเพิ่ม-ลดปริมาณงานในสัญญา ต้องใช้ราคาตามสัญญาในการเพิ่ ม-ลดค่างาน . . . ❞
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 5
แนวปฏิบัติสําหรับงานพิ เศษ
หรืองานเพิ่มเติมขึ้นหรือตัดทอนลง 3) การเพิ่ ม - ลด ปริมาณงาน หากเกี่ยวข้องกับความมั่นคงแข็งแรง หรืองานที่เกี่ยวกับเทคนิคเฉพาะอย่าง ต้องมีหนังสือรับรองจากวิศวกร สถาปนิก และวิศวกรผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรับผิดชอบ หรือ สามารถรับรองคุณลักษณะเฉพาะ แบบรูปและรายการของงานก่อสร้าง หรือ งานเทคนิคเฉพาะอย่างแล้วแต่กรณีด้วย
❝ . . . เมือ ่ หัวหน้าส่วนราชการอนุมต ั ิแล้ว จึงทําข้อตกลงแก้ไข
เปลีย ่ นแปลงสัญญา/ข้อตกลง และขยายเวลาสัญญา (ถ้ามี) โดยปรับงวดงาน และ/หรือ งวดเงินและหรือระยะเวลา ในสัญญาใหม่ จะอนุมัติให้ผู้รับจ้างทํางานก่อนทีจ ่ ะทําข้อตกลง แก้ไขเปลีย ่ นแปลงสัญญาไม่ได้ . . . ❞
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 6
กรณีที่ไม่ต้องขออนุมต ั ิแก้ไข
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดในสัญญา
ตามสัญญาซือ ้ ขายข้อ 2 วรรคสอง และสัญญาจ้าง ข้อ 2 วรรคสองของสัญญาท้ายระเบียบ ฯ กําหนดไว้ดังนี้ 1) กรณีความใดในเอกสารแนบท้ายสัญญา ขัดแย้งกับข้อความในสัญญา ให้ใช้ข้อความในสัญญาบังคับ เช่น ในสัญญาระบุให้ทํางานแล้วเสร็จภายใน 60 วัน แต่ในเอกสารแนบท้ายสัญญาระบุให้ทํางานแล้วเสร็จ ภายใน 90 วัน กรณีน้ผ ี ู้รับจ้างต้องปฏิบัติตาม กําหนดเวลาแล้วเสร็จในสัญญา เป็นต้น
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 7
กรณีที่ไม่ต้องขออนุมต ั ิแก้ไข
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดในสัญญา
ตามสัญญาซือ ้ ขายข้อ 2 วรรคสอง และสัญญาจ้าง ข้อ 2 วรรคสองของสัญญาท้ายระเบียบ ฯ กําหนดไว้ดังนี้ 2) กรณีท่เี อกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ได้แก่ แบบวิศวกรรมขัดแย้งกับแบบสถาปัตยกรรม หรือ รายละเอียดไม่ถูกต้องตรงกัน ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติตามคําวินจ ิ ฉัยของผู้ว่าจ้าง โดยผู้ควบคุมงานให้ความเห็นพร้อมเหตุผล (ถ้ามี) และคณะกรรมการตรวจการจ้างเสนอความเห็นพร้อม เหตุผลในการเลือกต่อหัวหน้าส่วนราชการ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการวินิจฉัยแล้ว ให้แจ้งผู้รับจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อดําเนินการตามคําวินจ ิ ฉัยของหัวหน้าส่วนราชการ ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 8
การพิ จารณา
ขยายเวลาทําการก่อสร้าง
การงดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญา หรือการขยายเวลาทําการ ตามสัญญา หรือข้อตกลง ให้อยู่ในอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการ ที่จะพิจารณา ได้ตามจํานวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง เฉพาะกรณีดังต่อไปนี้ 1) เหตุเกิดจากความผิด หรือ ความบกพร่องของผู้ว่าจ้าง 2) เหตุสุดวิสัย 3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใด ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 3 9
การกําหนดระยะการขยายเวลาในสัญญา ในการกําหนดระยะการขยายเวลาในสัญญา ควรพิจารณาตามกรณี 1) กรณีต้องหยุดงานทั้งหมด 2) กรณีหยุดงานบางส่วน ต้องพิ จารณาว่าเป็นงานในกรณีใด 2.1 กรณีท่ก ี ารทํางานจําเป็นต้องทําตามขั้นตอน โดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ 2.2 กรณีสามารถทํางานอื่นแทน ในระหว่างการหยุดงานได้ 2.3 กรณีการสั่งหยุดงาน เพราะผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญา ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 0
การสั่งหยุดงาน 1) แบบรูปและรายการละเอียด หรือข้อกําหนดในสัญญาขัดแย้งกัน 2) งานก่อสร้างไม่เป็นไปตามแบบรูป รายละเอียดและข้อกําหนดในสัญญา 3) งานก่อสร้างที่คาดการณ์ได้ว่า ถึงแม้จะเป็นการดําเนินงานตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญา แต่เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จ งานนั้นจะไม่ม่น ั คงแข็งแรง 4) งานก่อสร้างไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี 5) งานก่อสร้างที่ไม่ปลอดภัย ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 1
การบอกเลิกสัญญา 1) การใช้สิทธิใ์ นการบอกเลิกสัญญา • กรณีมีเหตุอันเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จ ่ ําหนด ภายในระยะเวลาทีก • กรณีท่เี ป็นประโยชน์แก่ทางราชการโดยตรง หรือ เพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของทางราชการ ในการที่จะปฏิบัติตามข้อตกลง • กรณีคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญา และ/หรือ มีการปรับตามสัญญา และจํานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละสิบ ของวงเงินค่าจ้าง ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 2
การบอกเลิกสัญญา 2) วันบอกเลิกสัญญา • วันที่หัวหน้าส่วนราชการอนุมต ั ิให้บอกเลิกสัญญา 3) การดําเนินการบอกเลิกสัญญา • ก่อนการบอกเลิกสัญญา • หลังจากตักเตือนไปแล้ว ผู้รับจ้างยังไม่มีการดําเนินการ • ส่งเรื่องให้งานการเจ้าหน้าที่ดําเนินการต่อไป
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 3
การคิดค่าปรับ • กรณีท่ผ ี ู้รับจ้างส่งงานจ้างภายในกําหนดเวลา ถูกต้อง และครบถ้วนตามสัญญา และคณะกรรมการตรวจการจ้าง ตรวจและรับมอบงาน แล้วเสร็จภายหลังกําหนดส่งมอบ • กรณีท่ผ ี ู้รับจ้างส่งมอบงานจ้างภายในกําหนดเวลา แต่ไม่ถูกต้องตามสัญญา และคณะกรรมการตรวจการจ้าง แจ้งผลการตรวจสอบล่าช้า • กรณีท่ส ี ัญญา/ข้อตกลงกําหนดวันส่งมอบงานจ้าง ตรงกับวันหยุดทําการของผูว้ า่ จ้าง และผู้รับจ้างส่งมอบงานจ้างครบถ้วนถูกต้อง ในวันเปิดทําการแรก • กรณีผู้รับจ้างส่งมอบงานจ้าง ล่าช้า ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 4
ขั้นตอนการปรับ • เมื่อครบกําหนดเวลาตามสัญญา และผู้รับจ้างไม่ส่งมอบงานจ้าง
่ องคณะกรรมการตรวจการจ้าง เป็นหน้าทีข ที่จะต้องรายงานหัวหน้าส่วนราชการ ผ่านหัวหน้าหน่วยงานพัสดุในวันทําการถัดไป เพื่อจัดทําหนังสือแจ้งสงวนสิทธิก ์ ารปรับ ตามเงื่อนไขสัญญา
• เมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานจ้างจนครบถ้วนบริบูรณ์แล้ว
คณะกรรมการตรวจการจ้างต้องรายงานผลการตรวจการจ้าง เสนอหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าหน่วยงานพัสดุ เพื่อจัดทําหนังสือแจ้งการปรับและค่าปรับและเงื่อนไขอื่น ๆ ให้ผู้มีอํานาจสั่งซื้อสั่งจ้างลงนามถึงผู้รับจ้างทราบ ซึ่งถือว่าการปรับจริงเกิดขึ้นแล้ว
้ ตอน • หากไม่ดําเนินการทั้ง 2 ขัน จะไม่สามารถเรียกร้องค่าปรับจากผู้รับจ้างได้
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 5
หน่วยที่ 02 หลักปฏิบัติ
ในการตรวจงานก่อสร้าง
รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ ม สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ห น่ ว ย ที่ 0 2 ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ชุ ด วิ ช า 3 1 4 0 1 ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ต ร ว จ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห น้ า ที่ 4 6