(pdf)【 96304 】module 04 การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ

Page 1

Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

Module 04 การรวมส่ง และเข้าถึงช่องสัญญาณ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

1


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน

ตอนที่ 1 การรวมส่งสัญญาณ • ความหมาย ประโยชน์ และ ประเภทของการรวมส่งสัญญาณ • • • •

ประเภทแบ่งตามความถี่ ประเภทแบ่งความยาวคลื่น ประเภทแบ่งตามเวลา ประเภทแบ่งตามรหัส

ตอนที่ 2 การเข้าถึงช่องสัญญาณ • แบบเอฟดีเอ็มเอ • แบบทีดีเอ็มเอ • แบบซีดีเอ็มเอ

96304 Data Communications and Networking

2


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

ความหมายของการรวมส่งสัญญาณ การรวมส่งสัญญาณ •

เป็นวิธีการที่ทําให้ข้อมูลจากหลายแหล่ง สามารถส่งผ่านช่องสื่อสารกลางเพี ยงช่องเดียวได้

เป็นการใช้งานช่องสัญญาณที่มีจํากัด อย่างมีประสิทธิภาพและได้ประโยชน์สูงสุด

96304 Data Communications and Networking

3


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

ประโยชน์ของการรวมส่งสัญญาณ 1) เพิ่ มประสิทธิภาพการใช้ช่องสัญญาณ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า

เนื่องจากโดยปกติแล้วอุปกรณ์หนึ่ง ๆ ไม่ได้ส่งข้อมูลเข้าไปในช่องสัญญาณตลอดเวลา แต่จะส่งข้อมูลเป็นช่วง ๆ เท่านัน ้ เพราะฉะนั้นเวลาส่วนใหญ่จึงไม่มีข้อมูลส่งผ่านช่องสัญญาณ การรวมส่งสัญญาณจากหลายแหล่ง หรือจากช่องสัญญาณหลายช่องเข้าด้วยกัน ทําให้มีข้อมูลส่งผ่านช่องสัญญาณนี้มากขึ้นกว่าเดิม

2) ประหยัดค่าใช้จ่าย

เพราะสามารถใช้ช่องสัญญาณเพี ยงช่องเดียว สําหรับอุปกรณ์หลาย ๆ อุปกรณ์ แทนที่จะต้องใช้ช่องสัญญาณหนึ่งช่องต่อหนึ่งอุปกรณ์

96304 Data Communications and Networking

4


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การแบ่งประเภท ของการรวมส่งสัญญาณ สามารถแบ่งประเภทตามเทคนิคการรวม ส่งสัญญาณได้เป็น 4 ประเภท 1) 2) 3) 4)

ประเภทแบ่งตามความถี่ ประเภทแบ่งความยาวคลื่น ประเภทแบ่งตามเวลา ประเภทแบ่งตามรหัส

96304 Data Communications and Networking

5


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามความถี่ •

การส่งสัญญาณแอนะล็อกจากสถานีส่งจํานวนหลาย ๆ สถานีไปในช่องสัญญาณกลางช่องเดียวกัน

สัญญาณที่ส่งเข้าไปในช่องสัญญาณกลาง จะถูกสร้างขึ้นด้วยการรวมส่งสัญญาณที่มาจากสถานี ส่งแต่ละสถานีกับคลื่นพาห์ (carrier) ที่มีความถี่ต่างกัน

ระหว่างช่วงความถี่จะมีช่วงความถี่กันชน หรือ การ์ดแบนด์ (guard band) เพื่ อป้องกันไม่ให้แต่ละช่องความถี่เกิดการแทรกแซง สัญญาณระหว่างกัน

96304 Data Communications and Networking

6


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามความถี่


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามความถี่


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามความยาวคลื่น •

เป็นการรวมส่งสัญญาณผ่านสายใยแก้วนําแสง

พาหะทีใ่ ช้ส่งสัญญาณเป็นคลื่นแสง โดยที่ช่องสัญญาณแต่ละช่องจะถูกแบ่ง ตามความยาวคลื่นแสงที่มีความถี่ที่ไม่เท่ากัน

อาศัยหลักการของปริซึม

โดยแสงที่มีความถี่ค่าหนึ่ง จะมีความยาวคลื่นค่าหนึ่ง และเมื่อรวมแสงจากหลาย ๆ ที่เข้าด้วยกัน โดยผ่านปริซึมแสง เพื่ อที่จะรวมสัญญาณแสง จากช่องสัญญาณแต่ละช่องเข้าด้วยกัน ทําให้สัญญาณสามารถเดินทางบนสายใยแก้วนําแสง เส้นเดียว และที่ปลายทางจะมีปริซึมแสง ซึ่งทําหน้าที่กระจายสัญญาณแสง ออกไปตามช่องสัญญาณช่อง

96304 Data Communications and Networking

9


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามความยาวคลื่น


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามเวลา •

การแบ่งช่วงเวลาการใช้ช่องสัญญาณกลาง ให้แต่ละสถานี

เหมาะกับสัญญาณข้อมูลดิจิทัล เพราะมีช่วงเวลาของบิตแต่ละบิตที่แน่นอน ทําให้สามารถผสมสัญญาณประเภทนี้ ให้มีความสอดคล้องกับเวลาของบิตได้ โดยสัญญาณที่มีอัตราเร็วตํ่าหลาย ๆ สัญญาณ สามารถนํามารวมกันเป็นสัญญาณที่มีอัตราบิต สูงขึ้นได้

96304 Data Communications and Networking

11


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามเวลา


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามเวลา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามเวลาแบบประสานเวลา (Synchronous Time Division Multiplexing: Sync TDM) 2) การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามเวลาแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Time Division Multiplexing: Async TDM) หรือ การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามค่าสถิติของเวลา 96304 Data Communications and Networking

13


การรวมส่งสัญญาณประเภทแบ่งตามความยาวเวลา แบบประสานเวลา


การรวมส่งสัญญาณประเภทแบ่งตามความยาวเวลา แบบไม่ประสานเวลา


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามรหัส • ใช้กับสัญญาณดิจิทัลในระบบการสื่อสาร เครือข่ายไร้สาย • อาศัยเทคนิคการใช้ช่องสัญญาณกลาง โดยการกําหนดรหัสที่แตกต่างกันให้แต่ละสถานี • ผสมรหัสกับสัญญาณข้อมูลที่ต้องการส่งใน กระบวนการรวมส่งสัญญาณจากสถานีต้นทาง เข้าสู่ช่องสัญญาณกลาง และรหัสนี้จะใช้แยก สัญญาณที่ได้รับจากช่องสัญญาณกลางที่สถานี ปลายทางให้ถูกต้องตามแต่ละสถานีรับ

96304 Data Communications and Networking

16


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามรหัส


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามรหัส


การรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามรหัส


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การแพร่กระจายสเปกตรัม • เทคนิคที่มีหลักการเหมือนกับมัลติเพล็กซิง • เป็นการประยุกต์ใช้กับการสื่อสารไร้สาย • แบนด์วิดท์ของสัญญาณข้อมูลจากสถานีส่ง ใช้ย่านความถี่แบนด์แคบ (narrow band) เรียกว่า เบสแบนด์ (base band) • ถูกแผ่กระจายสเปกตรัมให้กว้างขึ้น ทําให้ย่านความถี่ที่ใช้งานมีการกระจายแบนด์วิดท์ ความถี่มากกว่าแบนด์วิดท์ที่ต้องใช้ในการส่งข้อมูล

96304 Data Communications and Networking

20


การแพร่กระจายสเปกตรัม


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

2 เทคนิคในการแพร่กระจาย สเปกตรัม 1) สเปรดสเปกตรัม แบบการกระโดดของความถี่ 2) สเปรดสเปกตรัม แบบการกระจายลําดับตรง

96304 Data Communications and Networking

22


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

สเปรดสเปกตรัม แบบการกระโดดของความถี่ •

เทคนิคการสร้างสัญญาณ โดยแบ่งความถี่ออกเป็นช่วงความถี่ แคบ ๆ หลาย ๆ ช่วง

นําความถี่แต่ละช่วงมามอดดูเลต หรือ ผสมกับสัญญาณข้อมูลต้นทาง โดยที่ ณ เวลาหนึ่งสัญญาณข้อมูลต้นทาง จะผสมกับช่วงความถี่ช่วงหนึ่ง เวลาถัดมาก็จะผสมกับอีกช่วงความถี่หนึ่ง

สุ่มลําดับของช่วงความถี่ที่มาผสม กับสัญญาณข้อมูลต้นทาง ทําให้ช่วงความถี่ที่นํามาผสมมีการเปลี่ยนแปลง โดยการกระโดดไปมาอย่างต่อเนื่อง แต่อยู่ในรูปแบบที่เป็นที่เข้าใจตรงกัน ระหว่างฝ่ายส่งและฝ่ายรับ

96304 Data Communications and Networking

23


สเปรดสเปกตรัม แบบการกระโดดของความถี่


สเปรดสเปกตรัม แบบการกระโดดของความถี่


สเปรดสเปกตรัม แบบการกระโดดของความถี่


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

สเปรดสเปกตรัม แบบการกระจายลําดับตรง •

เทคนิคการขยายแบนวิดท์สัญญาณดั้งเดิม ที่มาจากสถานีต้นทางโดยการทํา XOR กับแต่ละบิตของข้อมูลด้วยรหัส ๆ หนึ่ง เรียกว่า ชุดตัวเลขชิป (Chipping sequence) หรือ สเปรดดิงโค้ด (Spreading code) เป็นการสุ่มชุดของเลขฐานสอง ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นสัญญาณที่ได้ ถูกขยายแบนด์วิดท์

96304 Data Communications and Networking

27


สเปรดสเปกตรัม แบบการกระจายลําดับตรง


สเปรดสเปกตรัม แบบการกระจายลําดับตรง


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน

ตอนที่ 1 การรวมส่งสัญญาณ • ความหมาย ประโยชน์ และ ประเภทของการรวมส่งสัญญาณ a) b) c) d)

ประเภทแบ่งตามความถี่ ประเภทแบ่งความยาวคลื่น ประเภทแบ่งตามเวลา ประเภทแบ่งตามรหัส

ตอนที่ 2 การเข้าถึงช่องสัญญาณ a) แบบเอฟดีเอ็มเอ b) แบบทีดีเอ็มเอ c) แบบซีดีเอ็มเอ

96304 Data Communications and Networking

30


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบเอฟดีเอ็มเอ • เป็นวิธีการเข้าถึงช่องสัญญาณ เพื่ อใช้งานช่องสัญญาณกลางจากหลายสถานี พร้อมกัน ๆ ในช่วงเวลาเดียวกัน • ใช้หลักการรวมส่งสัญญาณแบบแบ่งตามความถี่ (FDM) แม้ว่า FDMA จะมีหลักการคล้ายกับ FDM แต่ในระดับของการทํางานจะทํางานคนละระดับชั้นกัน

• FDM ทํางานในระดับชั้นกายภาพ FDMA จะทํางานในระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูล ในแบบจําลอง OSI

96304 Data Communications and Networking

31


การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบเอฟดีเอ็มเอ


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณ แบบเอฟดีเอ็มเอ สามารถนําไปพั ฒนาเป็นเทคโนโลยี ที่สําคัญต่อการสื่อสารสมัยใหม่ 1) เทคโนโลยี โอเอฟดีเอ็มเอ 2) เทคโนโลยี เอสซีโอเอฟดีเอ็มเอ

96304 Data Communications and Networking

33


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ (OFDMA) • มีพ้ื นฐานมาจาก FDMA มีการใช้ Guard Band เพื่ อให้แต่ละช่องสัญญาณไม่มีการรบกวนกัน ซึ่งจะเห็นว่า Guard Band ไม่มีถูกใช้งาน ในการรับส่งข้อมูลจริง ๆ ทําให้มีการใช้งานแบนด์วิดท์ ของช่องสัญญาณกลางไม่คุ้มค่า

• OFDMA จะไม่มีการใช้ Guard Band

แต่ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ที่ทําให้คลื่นพาห์ แต่ละช่องเป็นอิสระต่อกันทําให้ไม่มีการรบกวน ซึ่งกันและกัน การทําให้สัญญาณเป็นอิสระต่อกันนี้ เรียกว่า การตั้งฉากกันของสัญญาณ (Orthogonal)

96304 Data Communications and Networking

34


เทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ (OFDMA)


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ (OFDMA) การตั้งฉากของสัญญาณ •

เป็นการลดการรบกวนระหว่างสัญญาณ ในแต่ละช่องสัญญาณด้วยการทําให้คลื่นพาห์ ในแต่ละช่องสัญญาณตั้งฉากกัน

ใช้ทฤษฏีทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า การแปลงฟู เรียร์ (Fourier Transform: FT) เป็นการแปลงค่าสัญญาณที่อยู่ในโดเมนเวลา ไปเป็นโดเมนความถี่ ในทางกลับกัน สามารถแปลงค่าสัญญาณในโดเมน ความถี่กลับไปอยู่ในโดเมนเวลา เรียกกระบวนการนี้ว่า การแปลงกลับฟู เรียร์ (Inverse Fourier Transform: IFT)

96304 Data Communications and Networking

36


เทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ (OFDMA)


เทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ (OFDMA)


หลักการทํางานของเทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มเอ


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เทคโนโลยีเอสซีโอเอฟดีเอ็มเอ (SCOFDMA) •

พั ฒนามาจากเทคโนโลยี OFDMA ซึ่งมีจุดด้อยในเรื่องของการใช้พลังงานไฟฟ้ามาก

มีการแยกกระแสบิตข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ เพื่ อป้อนเข้าไปยัง IFFT เพื่ อที่จะกระจายบิตเหล่านี้ ไปยังความถี่ต่าง ๆ ที่มีการจัดให้ตั้งฉากกัน

ฝ่ายส่งได้เพิ่ มกระบวนการ FFT ก่อนกระบวนการ IFFT

ส่วนฝ่ายรับต้องทําการเพิ่ มกระบวนการ IFFT โดยนําผลที่ได้จากการแปลง FFT ของฝ่ายรับ ที่เป็นข้อมูลแบบขนานมาแปลงกลับด้วย IFFT

ทําให้กระแสบิตข้อมูลได้ถูกทําการแปลง FFT ให้อยู่ในรูปแบบขนาน เพื่ อนําไปมอดดูเลตกับคลื่นพาห์ที่ความถี่ต่าง ๆ ก่อนที่จะส่งต่อให้กระบวนการ IFFT

เพื่ อทําการแปลงกลับให้ได้กระแสบิตข้อมูลเหมือนกับฝ่ายส่ง 96304 Data Communications and Networking

40


เทคโนโลยีเอสซีโอเอฟดีเอ็มเอ (SCOFDMA)


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณ แบบทีดีเอ็มเอ (TDMA) •

เป็นวิธีการเข้าถึงช่องสัญญาณกลาง เพื่ อใช้งานสัญญาณจากหลายสถานีพร้อมกัน ๆ ในช่วงเวลาเดียวกันบนแถบความถี่เดียวกัน

แต่ละสถานีส่งจะมีการกําหนดช่วงเวลา (time slot) ในการเข้าถึงช่องสัญญาณกลาง

ข้อมูลจะส่งเข้าไปในช่องสัญญาณกลาง ภายในช่วงเวลาที่กําหนดให้เท่านัน ้ โดยใช้หลักการพื้ นฐานมาจากการรวมส่งสัญญาณ แบบแบ่งตามเวลา (TDM)

96304 Data Communications and Networking

42


การเข้าถึงช่องสัญญาณ แบบทีดีเอ็มเอ (TDMA)


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณ แบบทีดีเอ็มเอ สามารถนําไปพั ฒนาเป็นเทคโนโลยี ที่สําคัญต่อการสื่อสารสมัยใหม่ 1) เทคโนโลยี เอ็มเอฟทีดีเอ็มเอ 2) เทคโนโลยี เอสทีดีเอ็มเอ

96304 Data Communications and Networking

44


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เทคโนโลยีเอ็มเอฟทีดีเอ็มเอ (MFTDMA) •

เป็นเทคโนโลยีที่บริหารจัดการแบนด์วิดท์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

จัดสรรทรัพยากรของแบนด์วิดท์แบบเปลี่ยนแปลง ตามการใช้งาน ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เช่น การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นต้น

ช่วยแก้ปัญหาการใช้งานเครือข่ายที่มีปริมาณสูงได้ และรองรับแอปพลิเคชันที่ต้องการแบนด์วิดท์ที่สูงมากได้

เป็นเทคโนโลยีที่นํามาใช้ในระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม ช่วยจัดการในเรื่องแบนด์วิดท์และเพิ่ มประสิทธิภาพ ในส่วนของคุณภาพการบริการ (Quality of Service: QoS) และระบบโดยรวมให้ดีขึ้น

ช่วยแก้ปัญหาการสื่อสารด้วยระบบดาวเทียม ผ่านสภาพอากาศที่มีฝนตกด้วยความถี่พาห์ที่หลากหลาย

96304 Data Communications and Networking

45


เทคโนโลยีเอ็มเอฟทีดีเอ็มเอ (MFTDMA)


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

เทคโนโลยีเอสทีดีเอ็มเอ (STDMA) •

เป็นการกําหนดช่วงเวลาที่ไม่เกี่ยวข้องกับสถานี ที่ทําหน้าที่เป็นศูนย์กลาง

อาศัยเวลา UTC (Universal Time Coordinate) ในการทําให้เกิดการประสานเวลาการทํางานกันแทน

96304 Data Communications and Networking

47


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบซีดีเอ็มเอ •

เป็นเทคนิคการเข้าถึงเพื่ อใช้งานช่องสัญญาณกลาง ของผู้ใช้งานหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน

อาศัยหลักการรวมส่งสัญญาณ ประเภทแบ่งตามรหัส (CDM)

เป็นการกําหนดรหัสที่แตกต่างกันให้แต่ละผู้ใช้งาน หรือสถานี ทําให้สามารถทําการสื่อสารกันได้ โดยใช้ความถี่เดียวกันพร้อม ๆ กัน หลายช่องสัญญาณ

สมมติมีสถานี 4 สถานี ได้แก่ สถานี#1, สถานี#2, สถานี#3 และ สถานี#4 โดยมีการกําหนดรหัส ที่แตกต่างกันให้แต่ละสถานี

96304 Data Communications and Networking

48


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบซีดีเอ็มเอ คุณสมบัติที่สําคัญของการสร้าง และดําเนินการกับรหัสเฉพาะ 1) รหัสเป็นชุดตัวเลขที่มีความยาว เท่ากับจํานวนของสถานี 2) ถ้ารหัสที่ต่างกันนํามาคูณกัน ผลลัพธ์มีค่าเท่ากับ 0 3) ถ้ารหัสแต่ละรหัสคูณตัวมันเอง ผลลัพธ์มีค่าเท่ากับจํานวนของสถานี

96304 Data Communications and Networking

49


การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบซีดีเอ็มเอ รูปแบบของข้อมูลในการสื่อสารด้วยระบบนี้ อาจจะมีการเข้ารหัส หรือ แทนค่าด้วยค่าที่เหมาะสม


การเข้าถึงช่องสัญญาณแบบซีดีเอ็มเอ


Module 04 ▶ การรวมส่งและเข้าถึงช่องสัญญาณ ผู้สอน ▶ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ

Module 04 การรวมส่ง และเข้าถึงช่องสัญญาณ อาจารย์ภิรมย์ คงเลิศ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.