(pdf)【 96304 】module 06 แบบจำลอง อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

Module 06 แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และ รูปแบบการเชื่อมต่อ เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

1


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

1) แบบจําลอง เครือข่ายคอมพิ วเตอร์

OSI

model

TCP/IP model

96304 Data Communications and Networking

2


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

1.1 แบบจําลองโอเอสไอ (OSI model) ü ISO กําหนดแบบจําลองอ้างอิง OSI (Open Systems Interconnection) เพื่ อใช้เป็นแบบอ้างอิงบนเครือข่ายตามมาตรฐานสากล ü สื่อสารกันได้ด้วยมาตรฐานที่เป็นสากล แม้สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิ วเตอร์มีความแตกต่างกัน ü ไม่มีข้อจํากัดใด ๆ ไม่จําเป็นต้องเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ ü ประยุกต์ใช้ได้กับระบบการสื่อสารที่เป็นสากล ภายใต้มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก

96304 Data Communications and Networking

3


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นของแบบจําลอง OSI ◄

ระดับชั้นประยุกต์

ระดับชั้นการนําเสนอ

ระดับชั้นช่วงเวลา

ระดับชั้นขนส่ง

ระดับชั้นเครือข่าย

ระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูล

ระดับชั้นกายภาพ

96304 Data Communications and Networking

4


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นกายภาพ (Physical Layer)

• เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะทางกายภาพ ด้านการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ • กําหนดรูปแบบของข้อมูล ที่ส่งผ่านภายในเครือข่าย ให้อยู่ในรูปแบบของ “บิต” (bit) ในลักษณะบิต “1” และ บิต “0” • เกี่ยวข้องกับ ข้อกําหนดทางกลไกและทางไฟฟ้า ของการอินเทอร์เฟซ 96304 Data Communications and Networking

5


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer)

• รวบรวมข้อมูลจากชั้นฟิสิคัล ด้วยการกําหนดข้อมูล ในรูปแบบของ “เฟรม” (frame) • จัดส่งเฟรมไปยังเครือข่าย • ส่งมอบข้อมูลจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่ง (node-to-node หรือ hop-to-hop)

• ตรวจจับข้อผิดพลาด (error detection method) กู้คืนข้อผิดพลาด (error recovery method) และ แก้ไขข้อผิดพลาด (error correction method)

96304 Data Communications and Networking

6


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นเครือข่าย (Network Layer)

• รับผิดชอบในการส่งข้อมูล ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง • จัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของ “แพ็ กเก็ต” (packet) • จัดส่งแต่ละแพ็ กเก็ตไปยังจุดหมายปลายทาง สามารถส่งข้ามเครือข่ายต่างชนิดกันได้ • จัดหาเส้นทางเดิน (path) ของข้อมูล ที่เหมาะสม • ควบคุมความคับคั่ง (congestion control) ของการส่งข้อมูล 96304 Data Communications and Networking

7


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นขนส่ง (Transport Layer)

• รักษาสภาพช่องสัญญาณสื่อสาร จาก โพรเซส (process) ของผู้ส่ง ไปยัง โพรเซสของผู้รับ ให้มีความเชื่อถือและ มีประสิทธิภาพ ตลอดช่วงการส่ง

• แบ่งไฟล์ข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย ๆ เรียกว่า “เซกเมนต์” (segment) ที่จุดส่งข้อมูล และ รวมเซกเมนต์ย่อยนี้กลับ เข้าเป็นไฟล์ข้อมูลเดิม ที่ปลายทาง

• รับผิดชอบในการส่งข้อมูลระหว่างโพรเซส (process-to-process) จากต้นทางไปยังปลายทาง ได้อย่างถูกต้อง และรับประกันว่าข้อมูลจะถูกส่ง ไปถึงผู้รับอย่างแน่นอน

96304 Data Communications and Networking

8


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นช่วงเวลา (Session Layer)

• จัดการ (organize) และซิงโครไนซ์ (synchronize) คาบเวลา ให้กับการโต้ตอบสื่อสาร ระหว่างโพรเซสผู้ใช้ของต้นทางกับปลายทาง

่ ง • ดูแลการสร้างเซสชันกัน ระหว่างเครือ และจัดการการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ปลายทาง เพื่ อที่จะเชื่อมโยงกับเครื่องอื่น ๆ ได้ • สร้างการเชื่อมต่อ (connection) เพื่ อการติดต่อสื่อสาร ไปจนกระทั่งยุติการสื่อสาร ด้วยการยกเลิกการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ที่เชื่อมโยงระหว่างกัน 96304 Data Communications and Networking

9


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นการนําเสนอ (Presentation Layer)

• จัดรูปแบบ (format) หรือ โครงสร้างไวยากรณ์ (syntax) ของข้อมูล ที่ส่ง • กําหนดวิธีการแปลงข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการส่ง

• กําหนดวิธีบีบอัดข้อมูล (data compression) ให้มีขนาดเล็กลง ทําให้ส่งข้อมูลเร็วขึ้น หรือวิธีเข้ารหัสข้อมูล (data encryption) เพื่ อความปลอดภัยในการส่งข้อมูล

วิธีการแปลข้อมูล (data translation)

ให้สามารถนําเสนอและรับทราบข้อมูล ได้อย่างเข้าใจตรงกัน แม้ว่าต่างแพลตฟอร์มกัน 96304 Data Communications and Networking

10


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นประยุกต์ (Application Layer)

• มุ่งเน้นการติดต่อกับผู้ใช้และบริการต่าง ๆ ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเครือข่ายได้ • เกี่ยวข้องกับโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้สําหรับ การติดต่อสื่อสาร เช่น email, data sharing, remote access, file transfer • มีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ในการเข้าถึงเครือข่าย เพื่ อสนับสนุน งานบริการต่าง ๆ 96304 Data Communications and Networking

11


หน้าที่การทํางานและรูปแบบข้อมูล ในแต่ละระดับชั้นของ OSI model ระดับชั้น

หน้าที่การทํางาน

รูปแบบข้อมูล

แอปพลิเคชัน

โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ที่อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ และ กําหนดโดยโพรเซสของผู้ใช้

ข้อมูล

พรีเซนเทชัน

การนําเสนอข้อมูลให้เข้าใจความหมายตรงกันทั้งสองฝั่ง การกําหนดรูปแบบของการส่งข้อมูล การแปลงข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม

ข้อมูล

เซสชัน

การควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยจัดการและซิงโครไนซ์คาบเวลาให้กับการสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล

ข้อมูล

ทรานสปอร์ต

การรับประกันการส่งข้อมูลให้ถึงมือผู้รับอย่างแน่นอน โดยจัดหาช่องสัญญาณเพื่ อส่งข่าวสารไปยังผู้รับ ให้ตรงตามลําดับ ไม่มีความผิดพลาด

เซกเมนต์

การกําหนดเส้นทางหรือจัดเส้นทางเพื่ อการส่งข้อมูล จากเครื่องต้นทางไปยังเครื่องปลายทาง ผ่านคอมพิ วเตอร์ระหว่างทาง

แพ็ กเก็ต

การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของเฟรมข้อมูล โดยส่งข้อมูลอย่างไม่มีข้อผิดพลาด ผ่านวงจรที่ต่อระหว่างคอมพิ วเตอร์ที่อยู่ติดกัน

เฟรม

ส่งสัญญาณไฟฟ้าหรือสัญญาณแสงผ่านสายสัญญาณ ในลักษณะของข้อมูลแบบไบนารี (บิต 1 หรือ 0) ด้วยวิธีทางกายภาพผ่านวงจร

บิต

เน็ตเวิร์ก ดาต้าลิงก์ ฟิสิคัล

96304 Data Communications and Networking

12


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

1.2 แบบจําลองทีซีพี/ไอพี (TCP/IP model) ü TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เป็นชุดของโพรโทคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ü เรียกอีกอย่างว่า แบบจําลองอ้างอิงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (internet reference model)

ü มีวัตถุประสงค์เพื่ อให้สามารถ . . . 1) ใช้สอ ื่ สารจากต้นทางผ่านเครือข่ายไปยังปลายทางได้ ่ ะส่งข้อมูลได้เองโดยอัตโนมัติ 2) หาเส้นทางทีจ ü พั ฒนาขึ้นมาก่อนแบบจําลอง OSI ระดับชัน ้ ของแบบจําลอง TCP/IP ไม่ตรงกับ OSI 96304 Data Communications and Networking

13


เปรียบเทียบระดับชั้นของ OSI model กับ TCP/IP model แบบจําลอง OSI

แบบจําลอง TCP/IP

ระดับชั้นแอปพลิเคชัน

ตัวอย่างโพรโทคอล

ระดับชั้นแอปพลิเคชัน

TELNET, FTP, SMTP, DNS, SNMP

ระดับชั้นทรานสปอร์ต

ระดับชั้นทรานสปอร์ต

TCP, UDP, SCTP

ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก

ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก

IP, ICMP, IGMP, ARP, RARP

ระดับชั้นดาต้าลิงก์

ระดับชั้นดาต้าลิงก์

ระดับชั้นฟิสิคัล

ระดับชั้นฟิสิคัล

Ethernet, Token Ring, Frame Relay, ATM

ระดับชั้นพรีเซนเทชัน ระดับชั้นเซสชัน

96304 Data Communications and Networking

14


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นของแบบจําลอง TCP/IP

ระดับชั้นประยุกต์

ระดับชั้นขนส่ง

ระดับชั้นเครือข่าย

ระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูล

ระดับชั้นกายภาพ

96304 Data Communications and Networking

15


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นกายภาพ (Physical Layer)

• มีหน้าที่ควบคุมฮาร์ดแวร์ และการรับส่งข้อมูล ผ่านเครือข่าย • เปรียบเสมือนกับระดับชั้นกายภาพ ของ OSI Model • ไม่มีการกําหนดโพรโทคอลพิ เศษใด ๆ แต่จะสนับสนุนโพรโทคอลมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมต่อกับฮาร์ดแวร์

96304 Data Communications and Networking

16


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer)

• เปรียบเสมือนกับระดับชั้นเชื่อมโยงข้อมูลของ OSI Model • สนับสนุนโพรโทคอลมาตรฐานที่เกี่ยวข้องใน การเชื่อมต่อกับฮาร์ดแวร์ เช่น Ethernet, Token ring, ATM เป็นต้น • รับข้อมูลจากระดับชั้นเครือข่าย แล้วส่งไปยังโหนดปลายทางตามเส้นทาง ที่กําหนดไว้

96304 Data Communications and Networking

17


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นเครือข่าย (Network Layer)

• กําหนดกฎเกณฑ์การติดต่อสื่อสาร ด้วยโพรโทคอล IP ซึ่งทําหน้าที่คล้ายกับ ระดับชั้นเครือข่ายของแบบจําลอง OSI • เลือกเส้นทางการติดต่อสื่อสารรับส่งข้อมูล ผ่านอุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ จนไปถึงผู้รับข้อมูล ในระดับชั้นนี้จะใช้วิธีการส่งข้อมูล แบบแพ็ กเก็ตสวิชชิง (packet switching) • โพรโทคอลที่ทํางานในระดับชั้นเครือข่ายนี้ ได้แก่ IP, ICMP, IGMP, ARP, RARP 96304 Data Communications and Networking

18


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นขนส่ง (Transport Layer)

• ควบคุมการขนส่งข้อมูลจากต้นทาง ไปยังปลายทาง และตัดข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย ๆ ให้เหมาะสมกับเครือข่าย และประกอบข้อมูล ส่วนย่อยนี้กลับ เมื่อส่งถึงปลายทาง • การทํางานเหมือนกับระดับขนส่ง ของ OSI Model ่ ามารถใช้งานได้ • โพรโทคอลต่าง ๆ ทีส มี 3 ชนิด ได้แก่ TCP, UDP และ SCTP

96304 Data Communications and Networking

19


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

ระดับชั้นประยุกต์ (Application Layer)

• ทําหน้าที่ติดต่อระหว่างผู้ใช้กับแอปพลิเคชัน และควบคุมข้อมูลที่จะส่งผ่านไปยังระดับชั้นอื่น ๆ • รวบรวมการทํางานที่จําเป็นของระดับชั้น ที่ไม่ได้ถูกใช้งาน ได้แก่ ระดับชั้นการนําเสนอ และระดับชั้นช่วงเวลาของ OSI model ไว้ด้วย • โพรโทคอลที่สําคัญในระดับชั้นนี้ เช่น TELNET, FTP, SMTP, DNS, SNMP เป็นต้น

96304 Data Communications and Networking

20


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

2) อุปกรณ์ และรูปแบบ การเชื่อมต่อ เครือข่ายคอมพิ วเตอร์

อุปกรณ์

รูปแบบ

96304 Data Communications and Networking

21


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

2.1 อุปกรณ์ การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ü เชื่อมต่อเครื่องคอมพิ วเตอร์หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์

เพื่ อขยายประสิทธิภาพของการเชื่อมต่อ ได้ในปริมาณมากตามความต้องการ

ü รับส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลาง ทั้ง แบบมีสาย และแบบไร้สาย ü มีหลายประเภทและมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ตามลักษณะการทํางาน

ü จําแนกได้ 7 ประเภท ดังนี้

1) การ์ดเครือข่าย 2) รีพีตเตอร์ 3) ฮับ 4) สวิตช์ 5) บริดจ์ 6) เราเตอร์ และ 7) เกตเวย์

96304 Data Communications and Networking

22


การทํางานของอุปกรณ์

่ มต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ การเชือ แยกตามระดับชั้น OSI model ระดับชั้น แอปพลิเคชัน พรีเซนเทชัน เซสชัน ทรานสปอร์ต เน็ตเวิร์ก

ดาต้าลิงก์ ฟิสิคัล

อุปกรณ์

เกตเวย์ เราเตอร์ สวิตช์, บริดจ์ การ์ดเครือข่าย, รีพีตเตอร์, ฮับ

96304 Data Communications and Networking

23


่ มต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ การเชือ ระดับชั้น Physical layer

2) 1) Matrox. (2018). Matrox Veos Repeater Unit. [Online] Retrieved from www.matrox.com/graphics/en/products/ legacy/veos/vsrptr0f/

3) Helix84. (2005). Network Card. [Online] Retrieved from commons.wikimedia.org/wiki/File:Network_card.jpg

1) 2) 3)

การ์ดเครือข่าย หรือการ์ดแลน (NIC) รีพีตเตอร์ (Repeater) ฮับ (Hub)

Khov EaHang. (2015). Hub. [Online] Retrieved from www.antkh.com/project/Computer%20Science/ pages/hub.html

96304 Data Communications and Networking

24


่ มต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ การเชือ ระดับชั้น Data Link layer

1)

2)

D-Link. (2017). Switch 24 puertos 10/100/1000Mbps No GestionableDGS-1024D. [Online] Retrieved from www.dlink.com/es/es/products/dgs-1024d-24-port-copper-gigabit-switch

Amazon.com. (2001). Netgear PE102 10MBPS(10BASE-T) Home Phoneline RJ11 Ethernet RJ45 Bridge. [Online] Retrieved from www.amazon.com/Netgear-10MBPS-10BASE-TPhoneline-Ethernet/dp/B00005AYMC

1) สวิตช์ (Switch) 2) บริดจ์ (Bridge)

96304 Data Communications and Networking

25


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

่ มต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ การเชือ ระดับชั้น Network layer

เราเตอร์ (Router)

ü สร้างความสามารถในการสื่อสารให้เกิดขึ้นได้ ระหว่างเครือข่ายที่แตกต่างกัน โดยทําการปรับโพรโทคอลที่ต่างกัน ให้สามารถสื่อสารกันได้

ü เชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างองค์กร

แตกต่างจากสวิตช์ สวิตซ์จะใช้ในการสื่อสาร ภายในองค์กรเท่านั้น

ü การสื่อสารระยะทางไกลจะทํางานโดยใช้ TCP/IP WikimediaImages. (2011). Linksys. [Online] Retrieved from pixabay.com/en/linksys-wireless-g-router-2202250

และใช้ IP address เป็นหมายเลข เพื่ อสร้างการสื่อสาร

ü ตรวจสอบ IP address ของผู้รับ

เพื่ อเลือกเส้นทางในการจัดส่งข้อมูล ให้ไปถึงเครือข่ายปลายทางได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว

96304 Data Communications and Networking

26


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

่ มต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ การเชือ ระดับชั้น Transport layer หรือสูงกว่า

เกตเวย์ (Gateway)

ü เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ต่างประเภท เข้าด้วยกัน และรับส่งข้อมูลที่แตกต่างกัน

ü แปลงโพรโทคอลที่แตกต่างกัน เพื่ อให้สามารถติดต่อกันได้ ทําหน้าที่แปลงรหัสข้อมูล ให้แก่เครือข่ายปลายทางอีกด้วย

Dell. (2018). Dell Edge Gateway 5100. [Online] Retrieved from www.dell.com/ae/business/p/dell-edge-gateway-5100/pd

ü อนุญาตให้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข้ามเครือข่าย ผ่านโพรโทคอลได้ ü เราเตอร์ก็ถือว่าเป็นเกตเวย์ประเภทหนึ่ง เพราะสามารถแปลข้อมูลจากโพรโทคอล เครือข่ายหนึ่งไปสู่อีกเครือข่ายหนึ่งได้ อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

96304 Data Communications and Networking

27


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

2.2 รูปแบบ การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ หรือ โทโพโลยีเครือข่าย (network topology) เป็นรูปแบบหรือลําดับชั้นของโหนดที่เชื่อมต่อกัน ของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ใช้อธิบายความสัมพั นธ์เฉพาะระหว่างส่วนต่าง ๆ ของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ในแง่ของ การเชื่อมต่อระหว่างกัน (interconnection) หน้าที่การทํางาน (functionality) และ ตําแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (geographic position)

96304 Data Communications and Networking

28


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบบัส (bus topology)

96304 Data Communications and Networking

29


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบบัส (bus topology) ü แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อบนระบบเครือข่ายเดียวกัน ü ใช้ช่องทางการสื่อสารเดียว และสื่อทางกายภาพเดียวกัน ü สายสื่อสารหลักที่เชื่อมทุกโหนดเข้าด้วยกัน เรียกว่า บัส (bus) ü ปลายทัง ้ สองข้างของบัสจะมีเทอร์มิเนเตอร์ (terminator) ป้องกันการสะท้อนกลับของสัญญาณข้อมูล ü เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย จะต้องมีการตรวจสอบว่าบัสว่างหรือไม่ ü หากบัสยังไม่ว่างก็ไม่สามารถส่งข้อมูลออกไปได้ เนื่องจากสายสื่อสารหลักมีเพี ยงเส้นเดียว และหากส่งออกไปในขณะที่สายไม่ว่างจะทําให้เกิดการชนกัน ของข้อมูล 96304 Data Communications and Networking

30


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบดาว (star topology)

96304 Data Communications and Networking

31


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบดาว (star topology) ü แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลาง ที่ทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อสายสัญญาณ ที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ทั้งหมดในเครือข่าย และทําหน้าที่ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด ü เมื่อโหนดใดต้องการส่งข้อมูลไปยังโหนดอื่น ๆ ในเครือข่าย โหนดนั้นจะต้อง . . .

§ ส่งข้อมูลมายังเครื่องศูนย์กลาง § กรณี เครื่องศูนย์กลาง เป็น ฮับ จะทําหน้าที่กระจายแพ็ กเก็ตข้อมูลไปยังโหนดทุกโหนด ที่เชื่อมต่อในเครือข่าย กรณี เครื่องศูนย์กลาง เป็น สวิตช์ จะส่งแพ็ กเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องรับปลายทาง ที่ระบุไว้เท่านั้น

96304 Data Communications and Networking

32


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology)

96304 Data Communications and Networking

33


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology) ü ทุกโหนดเป็นทั้งผู้ให้บริการ (server) และผู้ขอใช้บริการ (client) ü แต่ละโหนดจะมีการเชื่อมต่อในลักษณะจุดต่อจุด (point-to-point) ไปยังสองโหนดข้างเคียง ทางด้านซ้ายและด้านขวา มีการเชื่อมต่อกัน ในลักษณะเป็นวงแหวน ü ไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์ ü แต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น ทางโหนดด้านซ้ายหรือโหนดด้านขวาก็ได้ ü ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปในทิศทางเดียวกัน ü แต่ละโหนดบนระบบเครือข่าย ทําหน้าที่เป็นรีพีทเตอร์ให้กับโหนดถัดไป 96304 Data Communications and Networking

34


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบเมช (mesh topology)

96304 Data Communications and Networking

35


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบเมช (mesh topology) ü ทุกโหนดบนระบบเครือข่ายจะมีการเชื่อมต่อกัน เชื่อมต่อระหว่างโหนดโดยตรง หรือเชื่อมต่อผ่านโหนดอื่น ü การเชื่อมต่อกับโหนดอื่น ๆ ทุกโหนดโดยตรง เรียกว่า โทโพโลยีเครือข่ายแบบเชื่อมต่อแบบเต็ม (fully connected topology หรือ full mesh topology) ü ระบบเครือข่ายไม่ได้เชื่อมต่อกับโหนดอื่น ทุกโหนดโดยตรง เรียกว่า โทโพโลยีเครือข่ายแบบเมชบางส่วน (partial mesh topology) นิยมใช้มากกว่าแบบ full mesh เนื่องจากประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่า 96304 Data Communications and Networking

36


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบต้นไม้ (tree topology)

96304 Data Communications and Networking

37


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

โทโพโลยีเครือข่ายแบบต้นไม้ (tree topology) ü เกิดจากการผสมผสานลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่าย หลายรูปแบบ มาเชื่อมต่อกันเป็นโครงสร้างเดียว เพื่ อให้เกิดการทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ ü มีลักษณะการเชื่อมต่อ แบบดาว และ แบบบัส เข้าด้วยกัน • ทุกโหนดเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์กลาง (ดาว) • ทุกโหนดเชื่อมต่อกับสายสื่อสารหลัก (บัส)

96304 Data Communications and Networking

38


Module 06 ▶ แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์

Module 06 แบบจําลองเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์ และ รูปแบบการเชื่อมต่อ เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ อาจารย์ ดร.พิ มผกา ประเสริฐศิลป์ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

39


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.