(pdf)【 96304 】module 08 เครือข่ายใช้สาย

Page 1

Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

Module 08

เครือข่ายใช้สาย อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

1


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน ระบบเครือข่ายใช้สาย ่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ • แบบเซอร์กิตสวิตชิง • แบบแพ็ กเก็ตสวิตชิง

96304 Data Communications and Networking

2


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน ระบบเครือข่ายใช้สาย

• แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย ่ มต่อแบบสวิตชิง • การเชือ

96304 Data Communications and Networking

3


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เรื่องที่เรา . . . จะมาพู ดคุยกัน ่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ • แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย PSTN, ISDN,

DSL, FTTX

• แบบแพ็ กเก็ตสวิตชิง

เครือข่าย Frame relay,

ATM

96304 Data Communications and Networking

4


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย • เป็นระบบเครือข่ายในการสื่อสารหลัก ที่ทําการเชื่อมต่อกับเครือข่ายย่อย ๆ ่ ูงกว่าระบบไร้สาย • มีความไว้วางใจทีส

• มีอัตราความเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่สูง

96304 Data Communications and Networking

5


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย เครือข่ายแบบแลน

(LAN : Local Area Network) คือ ระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงกัน ระหว่างอุปกรณ์เครือข่าย กับอุปกรณ์คอมพิ วเตอร์ มากกว่า 1 เครื่องขึ้นไป ในระยะทางไม่ไกล 96304 Data Communications and Networking

6


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

วิธีการเข้าถึงสื่อกลาง

มี 2 รูปแบบโพรโทคอล (Protocal) คือ CSMA/CD • สําหรับโทโพโลยีแบบสตาร์ • ตรวจสอบสถานะว่างก่อนส่ง และการชนกันภายในสายหลังส่งข้อมูล

Token-Passing

• สําหรับโทโพโลยีแบบวงแหวน หรือแบบบัส • ส่งเฟรมข้อมูลได้ ต้องถือเฟรม Token ไว้ และต้องคืน Token หลังส่งเฟรมข้อมูลเสร็จ 96304 Data Communications and Networking

7


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

ประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายอีเทอร์เน็ต ประเมินจาก อัตราส่วนของเวลาที่ใช้ส่งข้อมูลไปยังปลายทาง ต่อ เวลาที่สื่อกลางถูกจองใช้งาน

ประสิทธิภาพ =

1 (1+6.4a)

ค่าของ a คือ อัตราส่วนของเวลาหน่วงการแพร่กระจาย สัญญาณ (Propagation Delay) ต่อเวลาหน่วงการส่ง ข้อมูล (Transmission Delay)

ประสิทธิภาพของเครือข่ายเท่ากับ 39%

หมายถึ ง สื่ อ กลางแบบใช้ ส ายนํ า สั ญ ญาณถู ก ใช้ ง าน สํ า หรั บ การส่ ง ข้ อ มู ล ขนาด 512 bits เพี ยง 39% และที่ เหลืออีก 61% ไม่มีการใช้งานสื่อกลางเพื่ อส่งข้อมูล 96304 Data Communications and Networking

8


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

มาตรฐาน IEEE สําหรับ ระบบเครือข่ายอีเทอร์เน็ต

1) Standard Ethernet

อัตราความเร็ว 10 Mbps 10Base2, 10Base5, 10Base-T, 10Base-F

2) Fast Ethernet

อัตราความเร็ว 100 Mbps 100Base-Tx, 100Base-Fx, 100Base-T4

3) Gigabit Ethernet

อัตราความเร็ว 1000 Mbps หรือ 1 Gbps 1000Base-SX, 1000Base-LX, 1000Base-CX, 1000Base-T4

4) 10 – Gigabit Ethernet

อัตราความเร็ว 10 Gbps 10GBase-SR, 10GBase-LR, 10GBase-EW, 10GBase-X4

96304 Data Communications and Networking

9


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย เครือข่ายแบบแวน

(WAN : Wide Area Network) • เป็นระบบเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ บริเวณกว้างที่มีระยะทางในการเชื่อมโยง ไกลมากกว่าเครือข่ายแลน

• เป็นการเชื่องโยงหลักระหว่างเครือข่าย กับเครือข่ายที่อยู่ห่างไกลกัน

96304 Data Communications and Networking

10


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย เครือข่ายแบบแวน

(WAN : Wide Area Network)

• เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นระบบเครือข่ายแวนที่เชื่อมโยง เครือข่ายต่าง ๆ เข้ารวมถึงกันทัว ่ โลก • ใช้หลักการของการสลับช่องสัญญาณ ของอุปกรณ์ • สวิตช์ทําหน้าที่สลับการเชื่อมโยง หรือส่งผ่านไปยังเครือข่ายปลายทาง

96304 Data Communications and Networking

11


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

แนวคิดของระบบเครือข่ายใช้สาย สวิตช์สําหรับระบบเครือข่าย

แบ่งตามประเภทของเครือข่ายที่ใช้ได้ 2 แบบ

1) เครือข่ายแบบเซอร์กิตสวิตช์ (circuit-switched network)

2) เครือข่ายแบบแพ็ กเก็ตสวิตช์ (packet-switched network)

96304 Data Communications and Networking

12


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อแบบสวิตชิง การเชือ

การสวิตชิงข้อมูล มี 3 เทคนิควิธีการ

ในแบบจําลองเครือข่ายแบบ TCP/IP แต่ละเทคนิควิธีการ มีระดับชั้นการทํางานดังนี้

1) เซอร์กิตสวิตชิง (Circuit Switching) ทํางานอยู่ในชั้น Physical

2) แพ็ กเก็ตสวิตชิง (Packet Switching)

ยังแบ่งวิธีการสวิตช์ได้เป็น 2 วิธีการ ได้แก่ 2.1) แบบเวอร์ชวลเซอร์กิต (Virtual Circuit) 2.2) แบบดาต้าแกรม (Datagram) ทํางานอยู่ในชั้น Datalink และชั้น Network

3) แมสเสสสวิตชิง (Message Switching)

ทํางานอยู่ในชัน ้ โปรแกรมประยุกต์ (Application Layer)

96304 Data Communications and Networking

13


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เครือข่ายแบบเซอร์กิตสวิตชิง มีสถานะการทํางานแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่

่ สาร 1) ระยะสร้างเส้นทางสือ

(Setup Phase) เป็นระยะเริ่มต้นสร้างช่องการสื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ต้นทางกับปลายทาง

2) ระยะถ่ายโอนข้อมูล

(Data-transfer Phase)

่ สาร 3) ระยะสิ้นสุดการสือ (Teardown Phase)

96304 Data Communications and Networking

14


เครือข่ายแบบเซอร์กิตสวิตชิง

96304 Data Communications and Networking

15


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

โครงสร้างของอุปกรณ์สวิตช์ ในเครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์

แบ่งได้เป็น 3 แบบตามลักษณะของการสวิตช์ ได้แก่ 1) สวิตช์แบบสเปซดิวิช่น ั (Space-division Switch) 2) สวิตช์แบบไทม์ดิวิช่น ั (Time-division Switch) 3) สวิตช์แบบการรวมไทม์ดิวิช่น ั กับสเปซดิวิช่น ั

เทคโนโลยีอุปกรณ์สวิตช์

มี 2 ชนิด ได้แก่

1) แบบครอสบาร์สวิตช์ (Crossbar Switch) 2) แบบมัลติสเตทสวิตช์ (Multistage Switch)

96304 Data Communications and Networking

16


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เครือข่ายแบบแพ็ กเก็ตสวิตช์

แบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ 1) แบบเวอร์ชวลเซอร์กิต (Virtual-circuit Network) • เป็นเครือข่ายที่รับส่งข้อมูลแพ็ กเก็ตไปยังปลายทาง ผ่านเส้นทางที่ได้กําหนดไว้ • ก่อนการรับส่งข้อมูลแพ็ กเก็ต เครือข่ายจะสร้างเส้นทางการสื่อสาร ระหว่างต้นทางและปลายทาง เรียกว่า เส้นทางวงจรเสมือน (Virtual-circuit Path) • เมื่อสร้างเส้นทางเสร็จ จะดําเนินการถ่ายโอนรับส่งข้อมูลแพ็ กเก็ต ระหว่างต้นทางและปลายทาง • เส้นทางวงจรเสมือนจะถูกยกเลิก เมื่อสิ้นสุดการติดต่อสื่อสาร

96304 Data Communications and Networking

17


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

เครือข่ายแบบแพ็ กเก็ตสวิตช์

แบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ 2) แบบดาต้าแกรม (Datagram Network)

• เป็นเครือข่ายการสื่อสารของข้อมูลแพ็ กเก็ต ที่ไม่ต้องสร้างเส้นทางก่อนการส่งข้อมูล • เรียกลักษณะการสื่อสารแบบนี้ว่า คอนเนกชันเลส (Connectionless) • แต่ละแพ็ กเก็ตมีอิสระต่อกัน ในการเดินทางบนเครือข่าย เพื่ อให้ไปถึงปลายทางที่กําหนดเดียวกัน

96304 Data Communications and Networking

18


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย PSTN

• เป็นระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ • แบบใช้สายนําสัญญาณชนิดสายทองแดง ในการติดต่อสื่อสารยังรองรับอัตราความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลที่ไม่ค่อยสูง เนื่องจากข้อจํากัดของสายทองแดง • ลดทอนสัญญาณตามระยะทางการเชื่อมต่อ • การตอบสนองต่อความถี่ ในการใช้งานของสัญญาณข้อมูล • ใช้การสวิตช์ช่องสัญญาณผ่านระบบชุมสายโทรศัพท์

96304 Data Communications and Networking

19


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย ISDN

• สนับสนุนการสื่อสารแบบดิจิทัล • ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก คือ ่ สาร 1) การกําหนดช่องสัญญาณการสือ ่ สารในระบบ 2) อุปกรณ์สําหรับการสือ • ช่องสัญญาณการสื่อสารหลัก ประกอบด้วย ่ สาร B D H ü ช่องสัญญาณสือ • ช่องสัญญาณการสื่อสารรอง ประกอบด้วย ่ สาร A C E ü ช่องสัญญาณสือ 96304 Data Communications and Networking

20


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย ISDN

การเข้าถึงเครือข่าย ISDN

แบ่งตามอัตราความเร็ว ได้แก่ 1) แบบ BRI มีอัตราความเร็วประมาณ 144 kbps ประกอบด้วยช่องสัญญาณ 2B+1D 2) แบบ PRI มี 2 แบบ คือ • แบบอัตราความเร็ว 1.544 Mbps ประกอบด้วย ช่องสัญญาณ 23B+1D • แบบความอัตราความเร็ว 2.048 Mbps ประกอบด้วย ช่องสัญญาณ 30B+1D

96304 Data Communications and Networking

21


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

เป็นเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลดิจิทัล ผ่านระบบเครือข่าย PSTN ได้แก่

1) เทคโนโลยี ADSL

• อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล upstream < downstream • เหมาะสําหรับ ผู้ใช้บริการแบบจุดต่อจุดไม่เกิน 5 Km. จากให้จุดบริการสัญญาณ หรือ จุด DSLAM (Digital Subscriber Line Access Multiplexer) 96304 Data Communications and Networking

22


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

1) เทคโนโลยี ADSL

• รับส่งสัญญาณข้อมูลบนสายโทรศัพท์ ซึ่งเป็นสายทองแดงแบบคู่บิดเกลียว รองรับการถ่ายโอนข้อมูลช่วงความถี่ 0 Hz ถึง 1.104 MHz • ต้องมีอุปกรณ์แยกสัญญาณ (splitter) ระหว่างสัญญาณข้อมูลกับสัญญาณเสียง ที่มีช่วงความถี่ 0 ถึง 4 kHz ออกจากสัญญาณที่มาจากจุด DSLAM 96304 Data Communications and Networking

23


ความสูง เสียง

0

4

อัปสตรีม

26

ดาวน์สตรีม

108

138

1104

ความถี่ 96304 Data Communications and Networking

24

kHz


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

1) เทคโนโลยี ADSL

• การรับส่งข้อมูลที่มีปริมาณมากใช้ เทคนิคแบบ DMT (Discrete Multitone Technique) เป็น การรวมกันของเทคนิคกลํา้ สัญญาณ ที่อัตราข้อมูล 15 bits/baud และ เทคนิคการผสมสัญญาณด้วยการแบ่งความถี่ หรือ

96304 Data Communications and Networking

25


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

1) เทคโนโลยี ADSL

• ADSL2 เป็นการปรับปรุงเทคนิคการกลํ้าสัญญาณ เพื่ อเพิ่ มอัตรา downstream ให้สูงขึ้น จาก 8.0 Mbps เป็น 12.0 Mbps • ADSL2+ ให้สูงขึ้น เป็นการพั ฒนาอัตราความเร็วของ ด้วยการเพิ่ มจํานวนช่องสัญญาณสื่อสาร สําหรับ แบนด์วิดท์ความถี่ของการรับส่งข้อมูล ขยายเพิ่ มขึ้นจาก 1.1 MHz เป็น

96304 Data Communications and Networking

26


96304 Data Communications and Networking

27


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

2) เทคโนโลยี SDSL

• เป็นเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลดิจิทัล ด้วยอัตราความเร็ว upstream = downstream • รองรับระยะทางการเชื่อมต่อการให้บริการ ไม่เกิน 3 km. • T1 มีอัตราความเร็วรับส่งข้อมูล 1.544 Mbps • E1 มีอัตราความเร็วรับส่งข้อมูล 2.048 Mbps

• เหมาะกับกลุ่มองค์กรบางกลุ่มที่ต้องการ อัตราความเร็วการรับส่งข้อมูลสูงและเท่ากัน 96304 Data Communications and Networking

28


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

3) เทคโนโลยี HDSL

• • • • • • • • •

เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลแบบ Full-Duplex ประยุกต์บนเครือข่ายโทรศัพท์ทใช้ ี่ สายทองแดง อัตราความเร็ว1.544 Mbps และ 2.048 Mbps ผ่านระบบสื่อสารแบบ DS1 (Digital Signal 1) พั ฒนาจากเทคโนโลยี SDSL รับส่งข้อมูลที่มากกว่า 3.7 km. อัตราความเร็วการรับส่งข้อมูลคงที่ ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ทวนสัญญาณ (repeater) เหมาะกับผู้ใช้บริการที่ต้องการการรับส่งข้อมูล ที่สูงและเท่ากัน

96304 Data Communications and Networking

29


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง เครือข่าย DSL

4) เทคโนโลยี VDSL

• เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย PSTN • อัตราความเร็ว üการรับส่งข้อมูลสูงกว่า ADSL üdownstream ประมาณ 52 Mbps üupstream ประมาณ 16 Mbps • ใช้ช่วงความถี่ 26 kHz - 12 MHz

96304 Data Communications and Networking

30


96304 Data Communications and Networking

31


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง

เครือข่าย FTTX (Fiber to the X)

• เป็นเทคโนโลยีระบบเครือข่ายแบบใช้สายใยแก้ว • เชื่อมโยงถึงปลายทางของผู้ใช้บริการโดยตรง • โครงสร้างสถาปัตยกรรมของเครือข่าย แบ่งได้ 3 แบบ

1) แบบ point-to-point

เป็นการเชื่อมโยงของสายใยแก้วโดยตรง จากชุมสายแลกเปลี่ยนเฉพาะบริเวณ (local exchange) ไปยังปลายทางที่ใช้บริการ ในแต่ละรูปแบบ เช่น FTTH

96304 Data Communications and Networking

32


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง

เครือข่าย FTTX (Fiber to the X)

• โครงสร้างสถาปัตยกรรมของเครือข่าย แบ่งได้ 3 แบบ

2) แบบ active star

เป็นการเชื่อมโยงสายใยแก้วจาก local exchange ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า แอ็คทีฟโหนด (active node) แล้วกระจายผ่านแต่ละสายใยแก้วอีกครั้ง ไปยังแต่ละปลายทาง

96304 Data Communications and Networking

33


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบเซอร์กิตสวิตชิง

เครือข่าย FTTX (Fiber to the X)

• โครงสร้างสถาปัตยกรรมของเครือข่าย แบ่งได้ 3 แบบ

3) แบบ passive star

• เป็นการเชื่อมโยงเหมือนกับโครงสร้าง ของ active star • ตําแหน่งอุปกรณ์ active node จะถูกแทนที่ใหม่ด้วย อุปกรณ์แบบ passive ที่ทําหน้าที่แยกหรือรวม กําลังของแสง • โครงสร้างแบบนี้ถูกเรียกว่า เครือข่ายแบบ Passive Optical Network (PON)

96304 Data Communications and Networking

34


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบแพ็ กเกตสวิตชิง เครือข่าย Frame relay

• เป็นระบบเครือข่ายแพ็ กเก็ตสวิตชิง แบบวงจรเสมือน (Virtual Circuit) • ทํางานในระดับชั้น Network • ได้รับการพั ฒนามาจากเครือข่าย X.25 • ค่าอัตราความเร็วการรับส่งข้อมูลไม่สูง • ขนาดของเฟรมข้อมูลตายตัว • อัตราความเร็วการรับส่งข้อมูลคงที่ตลอดเวลา ด้วยการเพิ่ มอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลให้สูงขึ้น • ทํางานในระดับชั้น Physical และ Data Link • เพิ่ มความสามารถในการส่งข้อมูลเป็นช่วง ๆ ด้วยอัตราการส่งที่แตกต่างกันได้ 96304 Data Communications and Networking

35


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบแพ็ กเกตสวิตชิง เครือข่าย ATM

• ใช้เทคนิคการรับส่งข้อมูลแบบแบ่งข้อมูลแพ็ กเก็ต ออกเป็นเซลล์ (Cell) มี ขนาดคงที่ • แต่ละเซลล์มีขนาดความยาวเท่ากับ 53 bytes

ฟิลด์ส่วนหัว 5 ไบต์

VPI

ฟิลด์ข้อมูล 48 ไบต์

VCI 53 ไบต์

• ข้อมูลส่วนหัว (header) เพื่ อเก็บข้อมูลเส้นทางส่ง cell ไว้ จํานวน 5 bytes 1) หมายเลขเส้นทางระหว่างสวิตช์ (Virtual Path Identifier: VPI) และ 2) หมายเลขเส้นทางระหว่างต้นทางและปลายทาง (Virtual Circuit Identifier: VCI) • ส่วนที่เหลือเป็นข้อมูล จํานวน 48 bytes 96304 Data Communications and Networking

36


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบแพ็ กเกตสวิตชิง เครือข่าย ATM

• ให้บริการการเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัว ผ่านเส้นทางการส่งผ่าน (Transmission Path: TP) • เส้นทาง TP เป็นการเชื่อมต่อทางกายภาพ ระหว่าง เอนด์พอยนต์กับสวิตช์ หรือ สวิตช์กับสวิตช์ โดยใช้สายสัญญาณ • เส้นทาง TP แบ่งการทํางานเป็น 2 เส้นทาง ได้แก่ 1) เส้นทางเสมือน (Virtual Path: VP) เป็นเส้นทางที่ติดต่อกันระหว่างสวิตช์ 2 ตัว 2) เส้นทางวงจรเสมือน (Virtual Circuit: VC) เป็นเส้นทางที่ใช้สําหรับส่งเซลล์จากต้นทาง ไปยังปลายทางแบบเรียงลําดับกัน

96304 Data Communications and Networking

37


96304 Data Communications and Networking

38


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบแพ็ กเกตสวิตชิง เครือข่าย ATM

ระดับชั้นการทํางานของเครือข่าย ATM ประกอบด้วย

• ระดับชั้น AAL

§ รับส่งข้อมูลแบบเฟรมข้อมูลที่ส่งมาจากโพรโทคอล ของระดับชั้นที่สูงกว่าระดับชั้น AAL และแบบ data stream ที่ได้จากข้อมูล ประเภทมัลติมีเดียต่าง ๆ § แบ่งออกเป็นระดับชั้นย่อย ดังนี้ 1)

2)

SAR (Segmentation and Reassembly) ช่วยในการแบ่งย่อยข้อมูลที่ต้นทาง CS (Convergence Sublayer) ควบคุมการแบ่งย่อยข้อมูลให้ถูกต้อง แล้วทําการรวบรวมข้อมูลให้กลับเหมือนเดิม ที่ฝ่ายรับข้อมูลปลายทาง

96304 Data Communications and Networking

39


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

่ มต่อระบบเครือข่าย การเชือ แบบแพ็ กเกตสวิตชิง เครือข่าย ATM

ระดับชั้นการทํางานของเครือข่าย ATM ประกอบด้วย • ระดับชั้น ATM

§ ทําหน้าที่เกี่ยวกับการค้นหาเส้นทาง จัดการความคับคั่งของข้อมูลในเครือข่ายสวิตชิง § ให้บริการข้อมูลแบบมัลติเพล็กซิ่ง

• ระดับชั้นกายภาพ

§ มีโครงสร้างคล้ายกับระดับชั้น physical ในเครือข่าย Ethernet เนื่องจาก cell ข้อมูลของ ATM สามารถส่งผ่านในระดับชั้น physical ใดๆ ก็ได้

96304 Data Communications and Networking

40


Module 08 ▶ เครือข่ายใช้สาย ผู้สอน ▶ อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย

Module 08

เครือข่ายใช้สาย อาจารย์ ดร.เตชค์ฐสิณป์ เพี ยซ้าย สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช

96304 Data Communications and Networking

41


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.