เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชฉบั บ นี้ ได รั บ การสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละคุ ม ครองภายใต ก ฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ รวมทั้ ง สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่
5
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ชื่อ วุฒ ิ ตำ�แหน่ง หน่วยที่เขียน
ธ ส
ม
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-1
รองศาสตราจารย์วรัญญา ปุณณวัฒน์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
รองศาสตราจารย์วรัญญา ปุณณวัฒน์ บธ.บ., วท.ม. (เทคโนโลยีก ารจัดการระบบสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยส ุโขทัยธ รรมาธิราช หน่วยที่ 5
ม
ธ ส
5-2
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
หน่วยที่ 5
ธ ส
ม
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
เค้าโครงเนื้อหา
แนวคิด
ม
ตอนที่ 5.1 แนวคิดใ นการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.1.2 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.1.3 ซอฟต์แวร์ท ี่ใ ช้ในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.1.4 การทำ�ให้เว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จ ตอนที่ 5.2 แนวทางการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.2.1 ขั้นต อนและทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.2.2 การจดทะเบียนโดเมนเนมและการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ 5.2.3 แนวทางการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.2.4 ฟีเจอร์ใ นเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 5.3 ระบบจัดการเนื้อหาเพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.3.1 ระบบจัดการเนื้อหา 5.3.2 ระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า 5.3.3 เวอร์ช ูมาร์ต
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
1. การพัฒนาเว็บไซต์มคี ำ�ศัพท์ท ี่เกี่ยวข้องมากมายทีต่ ้องทำ�ความเข้าใจ รวมถึงผ ูท้ ีเ่กี่ยวข้อง ในที ม พั ฒ นามี ห น้ า ที่ แ ละบ ทบาทที่ แ ตกต่ า งกั น ไ ป การพั ฒ นาเ ว็ บ ไซต์ เ พื่ อ พ าณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์มักจะใช้ภาษาโปรแกรมที่เป็นภาษาสคริปต์หรือภาษามาร์กอัป ซึ่งมีด้วย กันหลายภาษาให้เลือกใช้ และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ที่อำ�นวยความสะดวกในการเขียน ภาษาโปรแกรมเพื่อพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยซอฟต์แวร์จะมี การพัฒนาให้มีเครื่องมือและความสามารถให้พัฒนาเว็บไซต์ไ ด้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ เว็บไซต์ที่พัฒนาแล้วควรต้องดำ�เนินการต่างๆ เพื่อทำ�ให้เว็บไซต์ประสบความสำ�เร็จ ไม่ ว่าจะเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือให้เว็บไซต์ การทำ�ให้เว็บไซต์ติดอันดับการค้นหาด้วย เสิร์ชเอนจิน หรือการทำ�การตลาดเครือข่ายสังคมซึ่งกำ�ลังเป็นที่นิยมอย่างมาก
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
2. การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ก เ็ช่นเดียวกับง านอื่นท ีต่ ้องมกี ารเตรยี มการ ก่อนเริ่มพ ัฒนา งานในระหว่างการดำ�เนินง าน และรถู้ ึงฟ ีเจอร์ต ่างๆ ทีค่ วรมใี นเว็บไซต์เพื่อ พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ 3. ระบบจัดการเนื้อหา เป็นเครื่องมือที่นำ�มาพัฒนาเว็บไซต์สำ�หรับผู้ใช้ทั่วไปที่มีทักษะทาง เทคนิคไ ม่ม ากนักไ ปจนถึงร ะดับท ีส่ ามารถเขียนโปรแกรมคำ�สั่งเพิ่มเติมเข้าไปได้ มีฟ ีเจอร์ โมดูล พลั๊กอิน เทมเพลต ที่น ่าสนใจ หลากหลาย และอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับสร้าง และบริหารจัดการเว็บไซต์ด้วยตนเอง และเป็นที่นิยม จูมล่าเป็นระบบจัดการเนื้อหา ที่ได้รับความนิยมมาก และสามารถเพิ่มเติมเครื่องมือการทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มี ชื่อว่า เวอร์ชูมาร์ต ซึ่งไ ด้ร ับความนิยมเช่นกัน
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
5-3
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
เมื่อศ ึกษาหน่วยที่ 5 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายประเด็นสำ�คัญเกี่ยวกับแนวคิดในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และนำ�มาประยุกต์ได้ 2. อธิบายประเด็นสำ�คัญเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และนำ�มา ประยุกต์ได้ 3. อธิบายประเด็นส �ำ คัญเกีย่ วกบั ก ารใช้ร ะบบจดั การเนือ้ หาส�ำ หรับพ ฒ ั นาเว็บไซต์เพือ่ พ าณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์และนำ�มาประยุกต์ได้
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-4
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตอนที่ 5.1
ธ ส
ม
แนวคิดในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 5.1 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 5.1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 5.1.2 ภาษาที่ใ ช้ในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 5.1.3 ซอฟต์แวร์ที่ใ ช้ในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 5.1.4 การทำ�ให้เว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จ
ธ ส
ม
ธ ส
1. การพัฒนาเว็บไซต์นั้นมีคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องที่ควรรู้เป็นพื้นฐาน รวมถึงตำ�แหน่งงานหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์ หากเป็นงานที่มีผู้เกี่ยวข้องจำ�นวนมากมักจะแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน แต่จะทำ�งานร่วมกันเป็นทีม และทีมงานเหล่านี้จะมี บทบาทแตกต่างกันไปในการพัฒนาเพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. การพฒ ั นาเว็บไซต์ก เ็ ช่นเดียวกบั ก ารพฒ ั นาระบบงานคอมพิวเตอร์ท ตี่ อ้ งใช้ภ าษาโปรแกรม ซึ่งภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์มีหลายกลุ่มหลายภาษา ทั้งที่เป็นภาษา มาร์กอัป ภาษาสคริปต์ หรือภาษาสไตล์ชีต แต่ละภาษาจะมีลักษณะแตกต่างกันบ้าง ต้องศึกษาและทำ�ความเข้าใจ หรืออย่างน้อยควรมีความรู้ภาษาเอชทีเอ็มแอลซึ่งเป็น ภาษาพื้นฐานในการพัฒนาเว็บไซต์ 3. ซอฟต์แวร์ท ใี่ ช้ใ นการพฒ ั นาเว็บไซต์ม หี ลายตวั ใ ห้เลือกและมกี ารพฒ ั นาให้ม คี วามสามารถ มากขึ้น หรือพัฒนาฟีเจอร์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เว็บแมทริกซ์ เป็นซอฟต์แวร์ที่รองรับ แพลตฟอร์ม โอเพ่นซอร์ส ส่วนดรีมว ฟี เวอร์ เป็นซ อฟต์แวร์ท ตี่ อ้ งจา่ ยคา่ ล ขิ สิทธิ์ ซอฟต์แวร์ ทั้งสองต่างมีการพัฒนาเครื่องมือ ฟีเจอร์ และส่วนต่อประสานผู้ใช้ที่น่าสนใจและ น่าใช้งาน
ม
ม
ธ ส
วัตถุประสงค์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
เมื่อศึกษาตอนที่ 5.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเว็บไซต์ได้ 2. วิเคราะห์บ ทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับก ารพัฒนาเว็บไซต์ได้ 3. ประยุกต์ภ าษาโปรแกรมต่างๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ไ ด้ 4. นำ�ซอฟต์แวร์ม าใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 5. วิเคราะห์ป ัจจัยท ี่ทำ�ให้เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จได้
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
เรื่องที่ 5.1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
5-5
ธ ส
ม
คำ�ศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์มีมากมาย ในเบื้องต้นควรรู้คำ�ศัพท์หลักๆ เพื่อจะ ได้สื่อสารหรือทำ�ความเข้าใจกับเรื่องราวที่จะได้กล่าวต่อไป และทราบเกี่ยวกับผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา เว็บไซต์ เพื่อจะทำ�ให้เลือกทีมงานที่ดีม าพัฒนาเว็บไซต์
ธ ส
ม
1. คำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์นั้นมีคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องมากมาย ในที่นี้จะนำ�เสนอคำ�ศัพท์บางส่วนที่นักศึกษา ควรต้องรู้ ได้แก่ เว็บเพจ เอชทีเอ็มแอล เว็บไซต์ โฮมเพจ เว็บเบราเซอร์ เอชทีทีพี เอฟทีพี เว็บเซิร์ฟเวอร์ โดเมนเนม และยูอาร์แอล มีร ายละเอียดดังนี้ 1.1 เว็บเพจ (webpage) คือ เอกสารหรือแหล่งข้อมูลสำ�หรับเว็บ1 อยู่ในรูปแบบของไฟล์เอชทีเอ็ม แอล ซึ่งแต่ละเว็บเพจสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ด้วยไฮเปอร์เท็กซ์2 เว็บเพจจะรวมสคริปต์ สไตล์ชีต หรือ ภาพต่างๆ เข้าไ ว้ด้วยกัน สามารถแสดงผลได้ด ้วยเว็บเบราเซอร์ โดยหนึ่งเว็บเพจก็คือ 1 ไฟล์ 1.2 เอชทีเอ็มแอล (HTML - HyperText Markup Language) คือ ภาษามาตรฐานที่ใช้ในการ สร้างเว็บเพจ เพื่อน ำ�ไปแสดงบนเบราเซอร์ 1.3 เว็บไซต์ (website) คือ การรวมหลายเว็บเพจเข้าด้วยกัน และรวมถึงภาพ วีดิทัศน์ และสื่อ ดิจิทัลอื่นๆ ทุกอย่างที่ประกอบกันเป็นเว็บไซต์ อาจจะระบุที่อยู่เว็บไซต์ด ้วยยูอาร์แอล ทั้งนี้ เว็บไซต์จะต้อง จัดเก็บอยู่ที่แม่ข่ายเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ใ ดที่ห นึ่ง และเข้าถึงได้โดยใช้เว็บเบราเซอร์ 1.4 โฮมเพจ (homepage) คือ เว็บเพจหน้าแรกของเว็บไซต์ เปรียบเสมือนหน้าปกหนังสือ มักจะ ตั้งชื่อว่า index หรือ default 1.5 เว็บเบราเซอร์ (web browser) เป็นซอฟต์แวร์สำ�หรับแสดงเว็บเพจ โดยมีเครื่องมืออำ�นวย ความสะดวกต่างๆ เช่น การค้นหา การทำ�บุ๊กมาร์ก การเก็บประวัติการท่องเว็บไซต์ การเก็บลิงก์เว็บไซต์ ที่ช อบหรือไปเยี่ยมชมบ่อยๆ การป้องกันก ารแสดงหน้าต่างป๊อปอัพ การเปิดเว็บไ ด้หลายเว็บพ ร้อมๆ กันใน ลักษณะแท็บ (tabbed browsing) เป็นต้น
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
1 เว็บหรือเวิลด์ไ วด์เว็บ (World Wide Web-WWW) คือ บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีระบบของเอกสารที่สามารถ
ม
เชื่อมโยงถึงกันด้วยไฮเปอร์เท็กซ์ 2 ไฮเปอร์เท็กซ์ (hypertext) เป็นวิธีการจัดรูปแบบเว็บเพจให้สามารถฝังการเชื่อมโยงระหว่างเว็บเพจต่างๆ หรือเชื่อมโยง เว็บเพจกับวัตถุต ่างๆ เช่น เสียง วีดิทัศน์ หรือภาพเคลื่อนไหว
5-6
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ซอฟต์แวร์เว็บเบราเซอร์ที่มีการใช้งานมากที่สุด คือ อินเทอร์เน็ตเอ็กซ์โพลเรอร์ (Internet Explorer - IE) รองลงมาคือ ไฟร์ฟ๊อกซ์ (Firefox) กูเกิ้ลโครม (Chrome) และซาฟารี (Safari) ตามลำ�ดับ (ภาพที่ 5.1)
ธ ส
ธ ส
Percent Usage 20 30
40
ม
Usage share of web browsers: November 2010
ธ ส 0 10
ม
ม
ธ ส
Internet Explorer Firefox Chrome Safari
ม
ม
ธ ส
ม
Mobile Opera browsers
ธ ส
ภาพที่ 5.1 การเปรียบเทียบการใช้งานซอฟต์แวร์เว็บเบราเซอร์
ธ ส
ที่มา: เว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/File:Web_browser_usage_share.svg ค้นคืนเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2554
ม
1.6 โดเมนเนม (domain name) คือ ชื่อที่ใช้แทนไอพีแอดเดรส3 (IP Address) เพื่ออ้างถึงหรือ เข้าถ ึงเว็บไซต์ เนื่องจากการตั้งช ื่อเว็บไซต์ด ้วยภาษาที่เราคุ้นเคยย่อมทำ�ให้ส ามารถจดจำ�ได้ง ่ายกว่าห มายเลข ไอพีแอดเดรส เช่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดเมนเนม คือ stou.ac.th ไอพีแอดเดรส คือ 202.28.103.5 โดยที่ ac หมายถึง สถาบันการศึกษา th หมายถึง ประเทศไทย ซึ่งการจดจำ�ชื่อ stou.ac.th ย่อมง่ายกว่าหมายเลข 202.28.103.5
ม 3
ม
ธ ส
ไอพีแอดเดรส คือ หมายเลขที่อยู่ของอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล หรือไอพี (Internet Protocol-IP) ซึ่งไอพีเป็นมาตรฐานที่ ใช้ในการกำ�หนดรูปแ บบของที่อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และดูแลการจัดส่งข้อมูล
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-7
ธ ส
การก�ำ หนดโดเมนเนมนัน้ จ ะตอ้ งพจิ ารณาประเภทของโดเมนเนม รวมถงึ ก ารระบุร หัสป ระเทศตอ่ ท า้ ย ให้เหมาะสมกับความต้องการของของหน่วยงาน (ตารางที่ 5.1 และตารางที่ 5.2) ทั้งนี้ การระบุรหัสประเทศ ต่อท้ายโดเมนเนมนั้นจะต้องระบุประเภทของโดเมนเนมไว้ข้างหน้ารหัสประเทศ หรือไม่ระบุก็ได้ (ตารางที่ 5.2)
ธ ส
ม
ตารางที่ 5.1 ประเภทโดเมนเนมและตัวอย่างยูอาร์แอล
ประเภทโดเมนเนม
.com .edu .gov .net .org
ธ ส
สำ�หรับ
กลุ่มการค้าและเว็บไซต์ทั่วไป สถาบันการศึกษาของสหรัฐอเมริกา หน่วยงานราชการของสหรัฐอเมริกา หน่วยงานเกี่ยวกับผู้ให้บริการเครือข่าย หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำ�ไร
ธ ส
ม
ยูอาร์แอล
http://www.pantip.com http://www.ucla.edu http://www.nasa.gov http://www.nep.net http://www.unesco.org
ม
ตารางที่ 5.2 รหัสป ระเทศและตัวอย่างโดเมนเนม
โดเมนเนม
sydney.edu.au daad.de webhosting.com.my stou.ac.th bbc.co.uk
ธ ส
ม
ประเภทโดเมนเนม
ธ ส
edu คือสถาบันการศึกษา com คือกลุ่มการค้า ac คือสถาบันการศึกษา co คือกลุ่มการค้า
ม
ธ ส
ม
รหัสประเทศ
.au คือออสเตรเลีย .de คือเยอรมนี .my คือมาเลเซีย .th คือไทย .uk คืออังกฤษ
ธ ส
ทั้งนี้ โดเมนเนมของประเทศไทยที่ล งท้ายด้วย .th นั้น ศูนย์สารสนเทศเครือข่ายแห่งประเทศไทย หรือทีเอชนิค (THNIC)4 ได้รับอนุมัติจากไอคาน (ICANN)5 ให้เป็นผ ู้ดูแล และตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป เว็บไซต์ต่างๆ สามารถตั้งช ื่อโดยลงท้ายโดเมนเนมเป็น .ไทย ได้ เช่น .co.th ใช้เป็น .ธุรกิจ.ไทย .in.th ใช้เป็น .ไทย เป็นต้น สำ�หรับโดเมนเนม .th ที่มีอยู่แล้วสามารถขอจดทะเบียน .ไทย ได้ฟรี ส่วนที่ย ัง ไม่มีโ ดเมนเนม .th ต้องจดทะเบียนโดเมนเนม .ไทย คู่กับ .th โดยโดเมนเนม .ไทย ต้องอ่านออกเสียงได้ตรง กับโดเมนเนมภาษาอังกฤษ หรือมีค วามหมายตรงกัน เช่น โดเมนเนม www.tarad.co.th จดทะเบียนเป็น
ม
ธ ส
ม
4 ศูนย์สารสนเทศเครือข่ายแห่งป ระเทศไทย หรือทีเอชนิก (THNIC-Thailand Network Information Center) ก่อตั้งมา
ม
ตั้งแต่ป ี พ.ศ. 2531 ทำ�หน้าที่ดูแลระบบทะเบียนและให้บริการจดทะเบียนโดเมนเนม 5 ไอคาน (ICANN-The Internet Corporation for Assigned Names and Numbers) เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากำ�ไร ดูแลการกำ�หนดหมายเลขไอพีแอดเดรสและชื่อให้กับโดเมนเนม
5-8
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ตลาด.ธุรกิจ.ไทย เป็นต้น รายละเอียดศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ www.thnic.net ของศูนย์สารสนเทศ เครือข่ายแห่งประเทศไทย หรือทีเอชนิค หรือเว็บไซต์ www.thnic.or.th ของมูลนิธิศูนย์สารสนเทศ เครือข่ายไทย (ศสท.) 1.7 เอชทีทีพี (HyperText Transfer Protocol - HTTP) คือ โพรโทคอลหรือมาตรฐานที่ใช้ใน การรับ-ส่งเว็บเพจผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1.8 เอฟทีพี (File Transfer Protocol - FTP) คือ โพรโทคอลหรือมาตรฐานที่ใช้ในการรับ-ส่ง ไฟล์ผ่านเครือข ่ายอินเทอร์เน็ต 1.9 แม่ข่ายเว็บ หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ (web server) คือ คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมเนื้อหาของ เว็บไซต์เอาไว้ซึ่งเชื่อมต่ออยู่กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และมีซอฟต์แวร์ที่ทำ�ให้ผู้คนสามารถเข้าถึงเนื้อหา ของเว็บไซต์เหล่านั้นไ ด้ 1.10 ยูอาร์แอล (Universal Resource Location - URL) คือ ที่อยู่สำ�หรับร ะบุตำ�แหน่งของเนื้อหา บนเครือข ่ายอินเทอร์เน็ต หรือเรียกว่า ที่อยู่ข องเว็บไซต์ (internet address) โดยยูอาร์แอลจะมีโดเมนเนม เป็นส่วนหนึ่งของยูอาร์แอลด้วย ซึ่งการระบุตำ�แหน่งที่อยู่นี้หรือการเข้าถึงเนื้อหาจะต้องระบุผ่านเว็บ เบราเซอร์ ยูอาร์แอล ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) โพรโทคอล6 2) เครื่องแม่ข่ายเว็บ และ 3) ชื่อโฟลเดอร์ และหรือชื่อไฟล์ - โพรโทคอล - เครื่องแม่ข่าย หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ อาจระบุชื่อแม่ข่าย หรือใช้ไอพีแอดเดรส เช่น www. stou.ac.th ทั้งนี้ อาจระบุพอร์ตของแม่ข่ายเว็บต่อท้ายโดยใช้โคลอนคั่น เช่น :8080 - ชื่อโ ฟลเดอร์ เช่น images components database หรือ customer - ชื่อไฟล์ เช่น index.htm quotation.pdf หรือ netbook.jpg ทั้งนี้ หากไม่ระบุชื่อไฟล์ ไฟล์ที่ม ีชื่อ index หรือ default จะแสดงเป็นอันดับแรก ตัวอย่าง ยูอ าร์แอลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คือ http://www.stou.ac.th/applystou/index.htm - โพรโทคอล คือ http:// - ชื่อเครื่องแม่ข่าย คือ www.stou.ac.th - ชื่อโ ฟลเดอร์ คือ applystou - ชื่อไ ฟล์ คือ index.htm
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
2. ผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์นั้นจำ�เป็นต้องอาศัยผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายตามความเชี่ยวชาญ หรือความถนัด เพื่อจ ะได้แ บ่งหน้าที่รับผิดช อบ หากเป็นโครงการขนาดเล็ก คนหนึ่งอาจทำ�หน้าที่หลายอย่าง
ม
6 โพรโทคอล (protocol) คือ กฎเกณฑ์หรือมาตรฐานในการถ่ายโอนข้อมูล
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-9
ธ ส
แต่ในโครงการขนาดใหญ่ห รือบริษัทที่ร ับงานพัฒนาเว็บไซต์ มักจะมีการแบ่งง านที่ชัดเจน และอาจแตกต่าง กันไป ซึ่งตำ�แหน่งงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์จะมีการปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมมากขึ้นในอนาคต ในที่นี้จะกล่าวถึงเว็บมาสเตอร์ (webmaster) เว็บครีเอทีฟ (web creative) ผู้เชี่ยวชาญเว็บมาร์เก็ต ติ้ง (web marketing specialist) นักออกแบบเว็บ (web designer) ผู้เชี่ยวชาญเว็บคอนเทนต์ (Web Content Specialist - WCS) นักพ ัฒนาเว็บ (web developer) และผู้ดูแลระบบ (system administrator) มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 เว็บมาสเตอร์ เป็นผู้ที่รับผิดชอบการบำ�รุงรักษาเว็บไซต์ หน้าที่ของเว็บมาสเตอร์คือ การดูแล เว็บเซิร์ฟเวอร์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ท ี่เกี่ยวข้อง ให้สามารถทำ�งานได้อย่างถูกต้อง การออกแบบเว็บไซต์ การกำ�หนดระบบเนวิเกชัน การวางตำ�แหน่งของเนื้อหาในเว็บไซต์ การปรับปรุงเว็บเพจ การตอบคำ�ถามที่มี ผู้สอบถามหรือให้เสนอแนะ การกำ�หนดกฎเกณฑ์และจัดการสิทธิ์ในการเข้าใช้เว็บไซต์ และการรักษาความ ปลอดภัยของเว็บไซต์ เว็บมาสเตอร์จะต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ที่ใช้บริหารจัดการเกี่ยวกับธุรกรรมต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในเว็บไซต์ รวมทั้งซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการชำ�ระเงินด ้วย มักจะเชี่ยวชาญภาษาเอชทีเอ็มแอล มีความรู้ เกี่ยวกับภาษาสคริปต์ (script languages) และต้องมีความรู้ในการจัดการกำ�หนดค่าต่างๆ ของเว็บเซิร์ฟเวอร์ได้ นอกจากนี้ เว็บมาสเตอร์อาจทำ�หน้าที่เป็นนักธุรกิจไปด้วย เพราะต้องใช้สื่อออนไลน์ในการขาย สินค้าหรือบริการต่างๆ รวมถึงก ารโฆษณา การทำ�ตลาด และการรับคำ�สั่งซื้อสินค้า 2.2 เว็บครีเอทีฟ หรือเรียกว่า เว็บโพรดิวเซอร์ (web producer) เป็นผู้รับผิดชอบติดต่อและ ประสานงานกับลูกค้าหรือเจ้าของเว็บไซต์ เพื่อรวบรวมความต้องการต่างๆ แล้วนำ�สิ่งที่ลูกค้าต้องการ มาถ่ายทอด ประชุม วางแผน และระดมความคิดร่วมกับทีมงานออกแบบ เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ และปรับ แนวคิดต ่างๆ กับทีมงานให้ได้เว็บไซต์ท ี่ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด 2.3 ผู้เชี่ยวชาญเว็บมาร์เก็ตติ้ง เป็นผู้รับผิดชอบการสร้าง ประเมินผล/วัดผล วิเคราะห์ ปรับโปรแกรมการตลาดออนไลน์ใ ห้ด ีที่สุด และประสานงานให้ห น่วยงานภายในและตัวแทนภายนอกเพื่อด ำ�เนินการ พัฒนาเว็บไซต์ให้บรรลุเป้าหมายทางการตลาด โดยต้องทำ�งานสอดคล้องกับการทำ�ตลาดของผลิตภัณฑ์ การติดต่อสื่อสารด้านการตลาด การขาย และงานอื่นๆ เพื่อสร้างและประยุกต์แผนงานการตลาดออนไลน์ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงการรณรงค์กิจกรรมทางอีเมล การสร้างบล็อก (blogs) การหาโอกาส การทำ �ตลาดร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รท างการค้ า การโ ฆษณาอ อนไลน์ การทำ � ให้ เ ว็ บ ไซต์ ติ ด อั น ดั บ แรกๆ ของการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน นอกจากนี้ ต้องเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นน ักวิเคราะห์ และมีบทบาท สำ�คัญในการสร้างความตระหนัก การกำ�หนด พัฒนา และประยุกต์กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อส่งผลดีต่อธุรกิจ 2.4 นักออกแบบเว็บ เป็นผู้รับผิดชอบการสร้างและออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์ การออกแบบ กราฟิกที่สื่อสารแนวคิดของเว็บไซต์ ควรเข้าร่วมตั้งแต่ช่วงแรกของการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพบปะพูดคุย กับเจ้าของเว็บไซต์ ให้ทราบถึงการจัดหน้าเว็บไซต์ การจัดโครงสร้างของเว็บ สีสัน ภาพถ่าย ภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว และสิ่งอื่นที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบกราฟิกซึ่งต้องการให้ปรากฏในเว็บไซต์ แต่บางครั้ง
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-10
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
อาจมีเว็บโพรดิวเซอร์ หรือเว็บครีเอทีพ เป็นผู้กำ�หนดแนวคิดเว็บไซต์ไว้แล้ว นักออกแบบเว็บก็จะสร้าง เว็บไซต์ตามนั้น 2.5 ผู้เชี่ยวชาญเว็บคอนเทนต์ เป็นผู้รับผิดชอบหรือมีทักษะเกี่ยวกับการจัดการเนื้อหาบนเว็บ ดูแลการสร้าง จัดหา เขียน แก้ไข ตรวจสอบ และนำ�เสนอเนื้อหาต่างๆ บนเว็บ ออกแบบกราฟิก และจัดการ เว็บไซต์ในภาพรวม รวมถึงการคิดสร้างสรรค์การส่งเสริมการขายบนเว็บไซต์ การจัดทำ�และส่งจดหมาย ข่าวผ่านอีเมล และการรณรงค์ก ิจกรรมออกสู่ส ังคมหรือชุมชนออนไลน์ 2.6 นักพัฒนาเว็บ หรือเรียกว่า เว็บโปรแกรมเมอร์ (web programmer) เป็นผู้ที่รับผิดชอบ การออกแบบรูปแบบการจัดวางและสร้างเว็บไซต์ โดยต้องทำ�ให้เว็บไซต์น่าดึงดูดใจและมีระบบเนวิเกชั่น ที่ใช้งานง่าย ตอบสนองความต้องการของเจ้าของเว็บไซต์ และมีหน้าที่ปรับแต่งเว็บไซต์ให้ติดอันดับของ การค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน หรือเอสอีโอ (Search Engine Optimizing - SEO) นักพัฒนาเว็บไซต์จะต้อง มีความรู้เกี่ยวกับภาษาเอชทีเอ็มแอล และสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างเว็บไซต์ได้ ทั้งนี้ ส่วนใหญ่เว็บ มาสเตอร์จะทำ�หน้าที่เป็นนักพัฒนาเว็บไซต์ด้วย 2.7 ผูด้ ูแลระบบ เป็นผู้รับผ ิดช อบดูแลการทำ�งานของระบบคอมพิวเตอร์ และ/หรือระบบเครือข่าย รวมไปถึงการติดตั้ง ดูแล บำ�รุงรักษา วางแผนรับมือในกรณีเกิดปัญหา อาจเขียนโปรแกรมบ้างเล็กน้อย ฝึกอบรม และให้คำ�ปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่เทคนิค ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญเว็บมาร์เก็ตติ้งและผู้เชี่ยวชาญเว็บคอนเทนต์เนื้อหากำ�ลังเป็นที่ต้องการมากขึ้น เนื่องจากมีความสำ�คัญใ นการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้ประสบความสำ�เร็จ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.1.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.1.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.1 เรื่องที่ 5.1.1
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
เรื่องที่ 5.1.2 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
5-11
ธ ส
ม
การพัฒนาเว็บไซต์ก็เช่นเดียวกับการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ หรือแอพพลิเคชันอื่นๆ ที่ต้อง อาศัยภาษาโปรแกรม (programming language) เพื่อการพัฒนา ซึ่งภาษาโปรแกรมบางส่วนที่นำ�มาใช้ ในการพัฒนาเว็บไซต์นั้นสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม อาทิ ภาษามาร์กอัป (markup language) ภาษาสคริปต์ (script language) หรือภ าษาสไตล์ชีต (style sheet language) ทั้งนี้ ภาษาสคริปต์ที่จะนำ�มาใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์นั้นมีความแตกต่างกับภาษาโปรแกรมทั่วไป ตรงที่ภาษาโปรแกรมทั่วไปนั้นจ ะคอมไพล์7 (compile) หรือแปลคำ�สั่งก่อนการดำ�เนินงาน8 (run) ได้ ส่วน ภาษาสคริปต์น ั้นจะอินเทอร์พ รีต9 (interpret) หรือแปลคำ�สั่ง ณ เวลาดำ�เนินงาน ตัวอย่างของภาษาโปรแกรม เช่น ภาษาซี (C) ภาษาซีพลัสพลัส (C++) วิชวลเบสิก (Visual Basic - VB) ไพธอน (Python) รูบี (Ruby) ซีชาร์ป (C Sharp - C#) เป็นต้น และตัวอย่างของภาษาสคริปต์ เช่น พีเอชพี (PHP - Personal Home Page) เอเอสพี (ASP - Active Server Pages) เอเอสพีดอตเน็ต (ASP.Net) จาวาสคริปต์ (JavaScript) วีบีส คริปต์ (VBScript) เป็นต้น ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป ส่วนภาษามาร์กอัปนั้น เป็นเพียงชุดของแท็ก (tags) ที่ใช้เพื่อกำ�กับข้อความในเว็บเพจ ทำ�ให้เว็บ เบราเซอร์ทราบว่าต้องแสดงอะไร เช่น ข้อความ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ เป็นต้น และแสดงในรูปแบบใด เช่น จัดกลาง ตัวหนา ขึ้นบรรทัดใหม่ สีฟ้า เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อ ื่น เป็นต้น ตัวอย่างของภาษามาร์กอัป เช่น เอชทีเอ็มแอล (HTML - HyperText Markup Language) เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML - eXtensible HyperText Markup Language) หรือเอ็กซ์เอ็มแอล (XML - eXtensible Markup Language) เป็นต้น ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป สำ�หรับภาษาสไตล์ชีต เป็นภาษาที่ใช้อธิบายความหมายหรือสัญลักษณ์ของการนำ�เสนอเว็บเพจที่ เขียนด้วยภาษามาร์ก อัป ภาษาสไตล์ชีตที่รู้จักก ันอย่างแพร่หลายคือ ซีเอสเอส (CSS - Cascading Style Sheets)
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
7 คอมไพล์ (compile) คือ การแปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด ้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หรือท ี่ม นุษย์
อ่านเข้าใจ เช่น ภาษาซี (C) ภาษาซีพลัสพ ลัส (C++) วิชวลเบสิก (Visual Basic-VB) เป็นต้น ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษา เครื่อง (machine language) ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ โดยการคอมไพล์น ั้นค อมพิวเตอร์จ ะอ่านคำ�สั่งโ ปรแกรมทั้งหมดจนจบโปรแกรม แล้วจึงแปล เมื่อเข้าใจแล้วค อมพิวเตอร์จึงจ ะสามารถทำ�ตามคำ�สั่งในโปรแกรมได้ 8 การดำ�เนินง านหรือรัน (run) คือ การทำ�งานของคอมพิวเตอร์ที่เป็นไปตามชุดคำ�สั่งที่เขียนไว้ใน/ด้วยภาษาโปรแกรม 9 อินเทอร์พ รีต (interpret) คือ การแปลภาษาโปรแกรม ณ เวลาที่โ ปรแกรมดำ�เนินง าน/ทำ�งาน โดยอ่านคำ�สั่งโ ปรแกรมทีล ะ คำ�สั่ง แล้วแปลเป็นภาษาเครื่อง และทำ�ตามคำ�สั่งท ีละคำ�สั่งน ั้นทันที
ม
5-12
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ทั้งนี้ แต่ละภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์นั้น จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันหรือแตกต่าง ไปบ้าง การใช้งานไม่จำ�เป็นต้องเลือกใช้ภาษาโปรแกรมใดเพียงภาษาเดียวเท่านั้น อาจใช้หลายภาษาโปรแกรมหรือใช้ร ่วมกัน ขึ้นอยู่ว ัตถุประสงค์ในการใช้งานและความเหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ความเข้ากันได้ กับโพรโทคอล ความปลอดภัย ความเร็วในการประมวลผล ความเป็นอิสระจากแพลตฟอร์ม หรือความ สามารถในการใช้ง านร่วมกับเครื่องมือพ ัฒนาเว็บอื่นๆ เป็นต้น ในที่นี้จะกล่าวถึงภาษาในกลุ่มภาษามาร์กอัปและภาษาสคริปต์ซึ่งใช้กันโดยทั่วไปในการพัฒนา เว็บไซต์ ได้แก่ เอชทีเอ็มแอล เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล พีเอชพี เอเอสพี และเอเอสพีดอตเน็ต และเอแจ็กซ์ มีรายละเอียดดังนี้ 1. เอชทีเอ็มแอล (HTML - HyperText Markup Language) เป็นภาษาโปรแกรมในกลุ่มภาษา มาร์ ก อั ป สำ � หรั บ ก ารพั ฒ นาเ ว็ บ ไซต์ โ ดยเ ฉพาะ ซึ่ ง ใ ช้ ง านง่ า ยแ ละมี แ ท็ ก (tags) ให้ ผู้ อ อกแบบแ ละ พัฒนาเว็บไซต์ใช้ในการกำ�หนดรูปแบบต่างๆ ของเว็บเพจ เช่น โครงสร้างและสไตล์ของเอกสาร การแสดง หัวข้อใ หญ่ หัวข้อย ่อย ตำ�แหน่งท ี่แสดงภาพกราฟิก ตาราง และแบบตัวอักษร เป็นต้น ทำ�ให้เว็บเบราเซอร์ สามารถอ่านแท็กแล้วแปลงคำ�สั่งเหล่านั้นเพื่อแสดงผลเว็บเพจ พร้อมทั้งส่วนประกอบต่างๆ บนเว็บเพจ เช่ น รู ป ภาพ ตั ว อั ก ษร เสี ย ง หรื อ ภ าพเ คลื่ อ นไหว เป็ น ต้ น โดยไ ฟล์ เ ว็ บ เพจที่ ส ร้ า งขึ้ น จ ากภ าษา เอชทีเอ็มแอลนี้จะมีนามสกุลเป็น .html หรือ .htm ก็ได้ ดังนั้น เอกสารที่เขียนด้วยภาษาเอชทีเอ็มแอล จึงเรียกว่า เว็บเพจ โดยมีการใช้แท็กกำ�กับและอธิบายสิ่งต่างๆ ที่ต้องการให้ปรากฏในเว็บเพจ ทั้งนี้ ไฟล์เอชทีเอ็มแอลนั้นสามารถสร้างได้โดยการใช้ไมโครซอฟต์เวิร์ด และจัดแต่งรูปแบบด้วย คำ�สั่งเช่นเดียวกับการสร้างเอกสารทั่วไป ส่วนการบันทึกให้เลือก save as html… การสร้างเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หากต้องการใส่ฟังก์ชั่นใดๆ ลงไปต้องคำ�นึงถึงการ แสดงผลเว็บเพจด้วยว่าสามารถแสดงผลได้ด้วยเว็บเบราเซอร์ที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้งานกัน และถึงแม้จะ ใช้เวอร์ชั่นเก่าก็ควรแสดงผลได้เช่นกัน หรือระบุข้อความให้ทราบว่าควรเปิดดูเว็บไซต์ด้วยซอฟต์แวร์ เว็บเบราเซอร์ใดเวอร์ชั่นใ ดจึงจ ะแสดงผลได้ด ีที่สุด ทั้งนี้ เว็บเพจที่ส ร้างขึ้นนั้นสามารถตรวจสอบความสมเหตุส มผล (validation) ได้โดยใช้เครื่องมือ ที่เรียกว่า เว็บเพจวาลิเดชัน10 (web page validation) ที่เว็บไซต์ http://www.w3schools.com/site/ site_validate.asp โดยใส่ที่อยู่ของเว็บเพจที่ต้องการตรวจสอบ ซึ่งจะให้ทราบว่าเว็บไซต์มีข้อผิดพลาด มากน้อยและตรงไหนที่ต้องปรับปรุงให้ดีข ึ้นต่อไป 2. เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML - eXtensible HyperText Markup Language) หรือเทียบเท่า กับเอชทีเอ็มแอลเวอร์ชั่น 4.01 เป็นภาษาโปรแกรมในกลุ่มภาษามาร์กอัปเช่นกัน โดยมีข้อกำ�หนดหรือ ข้อจำ�กัดในการเขียนแท็ก และควบคุมการเขียนแท็กให้มีความถูกต้องมากขึ้นกว่าภาษาเอชทีเอ็มแอล พื้นฐาน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
10 เว็บเพจวาลิเดชัน (web page validation) ใช้ตรวจสอบความสมเหตุสมผล (validation) ของเว็บเพจที่เขียนด้วยภาษา
เอชทีเอ็มแอล ซีเอสเอส เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล เอ็กซ์เอ็มแ อล และดับเบิลยูเอ็มแอล (WML-Wireless Markup Language)
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
หลักการสำ�คัญข องเอ็กซ์เอชทีเอ็มแอลมี 4 ประการ ดังนี้ 1) หากมีหลายแท็ก แท็กเปิดจะต้องเขียนมีแท็กปิดที่สอดคล้องกันเป็นคู่ๆ - ในเอชทีเอ็มแอล การเขียนแท็กปิดไ ม่ต้องสอดคล้องกับแท็กเปิด <b><i>This text is bold and italic</b></i> - แต่ใ นเอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล การเขียนแท็กปิดต้องสอดคล้องกับแ ท็กเปิด <b><i>This text is bold and italic</i></b> 2) ทุกแท็กจะต้องมีแท็กปิด ทั้งแท็กคู่/แท็กไ ม่ว่าง และแท็กเดี่ยว/แท็กว่าง - ตัวอ ย่างแท็กคู่/แท็กไม่ว ่างที่ผิด เขียนแท็กเปิดแ ต่ไม่มีแท็กปิด <p>This is a paragraph <p>This is another paragraph - ตัวอ ย่างแท็กคู่/แท็กไม่ว่างที่ถูกต้อง เขียนแท็กเปิดและมีแท็กปิด <p>This is a paragraph</p> <p>This is another paragraph</p> - ตัวอ ย่างแท็กเดี่ยว/แท็กว่างที่ผิด (ไม่มีเครื่องหมายสแ ลช “ / ” อยู่ตอนท้ายในแท็ก) A break: <br> A horizontal rule: <hr> An image: <img src=”happy.gif” alt=”Happy face”> - ตัวอ ย่างแท็กเดี่ยว/แท็กว่างที่ถูกต้อง (ต้องมีเครื่องหมายสแลช “ / ” อยู่ตอนท้าย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ในแท็ก)
ม
5-13
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
A break: <br/> A horizontal rule: <hr/> An image: <img src=”happy.gif” alt=”Happy face” /> 3) แท็กจะต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก - ตัวอย่างที่ผิด เขียนแท็กด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ <BODY> <P>This is a paragraph</P> </BODY> - ตัวอย่างที่ถูกต้อง เขียนแท็กด้วยตัวพิมพ์เล็ก <body> <p>This is a paragraph</p> </body> 4) เว็บเพจเอ็กซ์เอชทีเอ็มแอลจะต้องมี <html> … </html> เพียงชุดเดียวเท่านั้น ส่วนแท็ก อื่นๆ ภายในก็จ ะต้องเขียนแท็กเปิดและแท็กปิดท ี่สอดคล้องกันเป็นคู่ ดังนี้
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-14
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
<html> <head> ... </head> <body> ... </body> </html> ทั้งนี้ การเขียนเว็บเพจเพื่อใ ห้เกิดความถูกต ้อง หรือเรียกว่า เอชทีเอ็มแอลที่ส ะอาด (clean html) แทนที่จะเขียนเอชทีเอ็มแอลที่ไม่ดี (bad html) หรือไม่ได้คุณภาพ จึงควรจะเขียนด้วยหลักการของภาษา เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล แทนเอชทีเอ็มแอลพื้นฐาน นอกจากนี้ เว็บเบราเซอร์ทุกค่ายรองรับโค้ดเอ็กซ์เอชทีเอ็ม- แอลและสมาคมเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web Consortium - W3C) ก็แนะนำ�ให้ใช้เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล ในการสร้างเว็บเพจด้วย รายละเอียดเกี่ยวกับภาษาเอชทีเอ็มแอล เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล และภาษามาร์กอัปอื่นๆ ที่ใช้ในการ พัฒนาเว็บไซต์ส ามารถศึกษาเพิ่มเติมไ ด้จ ากสมาคมเวิลด์ไวด์เว็บทีเ่ว็บไซต์ http://www.w3schools.com/ default.asp 3. พีเอชพี (PHP - Hypertext Preprocessor) เป็นภาษาโปรแกรมในกลุ่มภาษาสคริปต์สำ�หรับ พัฒนาเว็บไซต์ที่ทำ�งานฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (server-side scripting language) สนับสนุนระบบจัดการฐาน ข้อมูลที่หลากหลาย เช่น มายเอสคิวแอล11 (MySQL) ออราเคิล (ORACLE) เป็นต้น อยู่ในกลุ่มของ โอเพ่นซอร์ส ซึ่งสามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรี ที่เว็บไซต์ www.php.net ไฟล์เว็บเพจที่ใช้ภาษาพีเอชพี มีนามสกุลเป็น .php .php3 หรือ .phtml ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถประมวลผลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ได้ โดยใน ไฟล์เว็บเพจจะประกอบด้วย แท็กภาษาเอชทีเอ็มแอล สคริปต์พีเอชพี และข้อความต่างๆ โดยจะแสดงผล ในเว็บเบราเซอร์เช่นเดียวกับการแสดงผลของไฟล์เอชทีเอ็มแอล พีเอชพีทำ�งานบนหลายแพลตฟอร์ม เช่น วินโดวส์ ยูนิกซ์ หรือลินุกซ์ เป็นต้น เข้ากันได้กับเซิร์ฟเวอร์ส ่วนใหญ่ที่ใช้กันอ ยู่ เช่น อาปาเช่ (Apache) ไอไอเอส (IIS - Internet Information Service) เป็นต้น มักจะใช้ควบคู่กับระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล ดังนั้น หากจะพัฒนาเว็บไซต์ด้วยภาษาพีเอชพี กับมายเอสคิวแอล จะต้องติดตั้งอาปาเช่หรือไอไอเอสบนเซิร์ฟเวอร์ แล้วจึงติดตั้งพีเอชพีและมายเอสค ิวแ อล หรือเช่าเว็บโ ฮสติ้ง ท ี่ม ีบ ริการรองรับพีเอชพีแ ละมายเอสคิวแ อล เนื่องจากพีเอชพีแ ละมายเอสคิวแ อล ใช้ได้ฟรี จึงมีผ ู้นิยมใช้กันมาก ผู้ใ ห้บริการเว็บโฮสติ้งส่วนใหญ่จึงมีบริการรองรับแพลตฟอร์มนี้ หลักการเขียนเว็บเพจด้วยสคริปต์ของภาษาพีเอชพี มีดังนี้ - จะเขียนอยู่ภายในแท็ก <html>…</html> เหมือนไฟล์เอชทีเอ็มแอล และเพิ่มบล็อก สคริปต์พีเอชพี - บล็อกสคริปต์พีเอชพี12 (PHP scripting block) จะเริ่มต้นด้วย <?php และสิ้นสุด ด้วย ?>
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
11 มายเอสคิวแ อล (MySQL) เป็นซอฟต์แวร์ร ะบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ นิยมใช้ในการพัฒนาระบบ หรือเว็บไซต์ที่
ม
ใช้ซ อฟต์แวร์โดยไม่มีค่าลิขสิทธิ์ 12 บล็อกสคริปต์พีเอชพี (PHP scripting block) เป็นส่วนหรือบล็อกสำ�หรับบรรจุสคริปต์พีเอชพี ซึ่งสามารถเขียนแบบย่อ คือ เริ่มต ้นด้วย <? และสิ้นส ุดด้วย ?> สำ�หรับเซิร์ฟเวอร์ที่ร องรับการเขียนแบบย่อ (shorthand support) แต่แนะนำ�ว่าควรเขียนเต็ม แบบมาตรฐานคือ <?php และสิ้นส ุดด้วย ?>
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-15
ธ ส
- สามารถวางบล็อกสคริปต์พีเอชพีไว้ที่ใดของเว็บเพจก็ได้ - โค้ดแ ต่ละบรรทัดจ บดว้ ยเครือ่ งหมายเซมิโคลอน ; (semicolon) ซึง่ เป็นต วั แ บ่งค �ำ สัง่ แ ต่ละ ชุดแ ยกออกจากกัน 4. เอเอสพี (ASP - Active Server Pages) และเอเอสพีดอตเน็ต (ASP.Net) เอเอสพีเป็นภาษา โปรแกรมในกลุ่มภาษาสคริปต์สำ�หรับพัฒนาเว็บไซต์ที่ทำ�งานฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (server-side scripting language) พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เรียกอีกชื่อว่า เอเอสพีคลาสิก (ASP classic) หรือคลาสิก เอเอสพี (classic ASP) นิยมใช้เพื่อสร้างเว็บแอพพลิเคชั่นที่โต้ตอบกับผู้ใช้และข้อมูลที่มีความเคลื่อนไหว หรือไดนามิก (dynamic) โดยสคริปต์ฝั่งแม่ข่ายนั้นดำ�เนินงานเมื่อเว็บเบราเซอร์ร้องขอด้วยไฟล์นามสกุล .asp ไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ ในการสร้างเว็บเพจเอเอสพีน ั้นจะใช้ภาษาวีบีสคริปต์ (VBScript) หรือสามารถใช้ภาษาอื่นๆ ได้ที่มี เอนจินส ำ�หรับเขียนสคริปต์แ บบแอกทีฟ (active scripting engine) เช่น เจสคริปต์ (Jscript) เพิร์ลสคริปต์ (PerlScript) เป็นต้น เว็บเพจที่เขียนด้วยเอเอสพี ก็คือ เว็บเพจเอชทีเอ็มแอลแบบหนึ่งซึ่งบรรจุสคริปต์ฝั่งแม่ข่ายสำ�หรับ ประมวลผลในฝั่งแ ม่ข ่ายเว็บก ่อนทีจ่ ะส่งต ่อย ังเบราเซอร์ข องผูใ้ ช้ ทั้งนี้ ผูพ้ ัฒนาเว็บไซต์ส ามารถจะผสมผสาน เอเอสพีกับเอ็กซ์เอ็มแอล หรือก ับเอชทีเอ็มแ อลได้ เว็บเพจที่เขียนด้วยเอเอสพีจะมีนามสกุลเป็น .asp ส่วนเว็บเพจที่เขียนด้วยเอเอสพีดอตเน็ตจะมี นามสกุลเป็น .aspx เอเอสพีดอตเน็ตนั้นจะเข้ามาแทนที่เอเอสพี แต่ในเว็บเพจที่เขียนด้วยเอเอสพีดอตเน็ต ก็อาจจะมีการใช้คำ�สั่งของเอเอสพีคลาสิกได้ และสามารถนำ�เอเอสพีดอตเน็ตมาใช้สร้างเว็บไซต์แบบ ไดนามิก สร้างเว็บแอพพลิเคชัน และสร้างเว็บเซอร์วิสได้ เพราะทำ�งานภายใต้กรอบงานของดอตเน็ต (.Net framework) ซึ่งส ามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น และมีความทนทาน13 (robustness) มากขึ้น รายละเอียดเกี่ยวกับภ าษาเอเอสพสี ามารถศึกษาเพิ่มเติมไ ด้จ ากเว็บไซต์ http://www.w3schools. com/asp/default.asp และรายละเอียดเกี่ยวกับเอเอสพีดอตเน็ตสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ http://msdn.microsoft.com/en-us/ff380144 5. เอแจ็กซ์ (Ajax - Asynchronous JavaScript and XML) เป็นภาษาที่ผสมผสานระหว่างภาษา สคิปต์กับภาษามาร์กอัฟหลายๆ ภาษาเข้าด้วยกัน ได้แก่ เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML) เอชทีเอ็มแอล (HTML) ซีเอสเอส (CSS) จาวาสคริปต์ (JavaScript) และเอ็กซ์เอ็มแอล (XML) ช่วยให้การทำ�งาน ร่วมกันง่ายขึ้น ทำ�ให้เว็บแอพพลิเคชั่นทำ�งานได้รวดเร็วขึ้น เปลี่ยนวิธีการแสดงและโต้ตอบกับเว็บเพจ แบบไดนามิก ทำ�ให้การเชื่อมต่อเว็บเพจกับเซิร์ฟเวอร์เพื่อปรับปรุงข ้อมูลให้ทันสมัย หรือเรียกข้อมูลได้โดย ไม่ต้องทำ�การรีเฟรช (refresh) หน้าเว็บ ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ใช้ภาษานี้คือ กูเกิ้ลดอตคอม (www.google. com)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
13
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ความทนทาน (robustness) เป็นความสามารถของระบบคอมพิวเตอร์ที่จะจัดการกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในระหว่าง การประมวลผล หรือเป็นความสามารถของอัลกอริทึมที่จะทำ�งานอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะเจอสภาพผิดปกติจากการนำ�เข้าข้อมูล หรือ การคำ�นวณใดๆ
5-16
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บางแห่งใช้ภาษาเอแจ็กซ์ในการสร้างตะกร้าสินค้า (shopping carts) และในการชำ�ระเงินด้วยบัตรเครดิต (credit card submissions) ซึ่งตัวอย่างการใช้ภาษาเอแจ็กต์ ในการสร้างตะกร้าสินค้าสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ http://net.tutsplus.com/tutorials/php/ build-an-ajax-powered-shopping-cart/ แต่ภาษาเอแจ็กซ์มีข้อจำ�กัดบางประการ เช่น กลไกการค้นหา หรือสไปเดอร์เสิร์ชเอนจิน (search engine spiders) และบ็อตค้นหา (search bots) จะไม่เข้าไปดูในสคริปต์และไฟล์ของเอแจ็กซ์ รายละเอียดเกี่ยวกับภาษาเอแจ็กต์ส ามารถศึกษาเพิ่มเติมไ ด้จากเว็บไซต์ http://www.webhostdesignpost.com/website/webtechnology-ajax.html http://www.w3schools.com/Ajax/ajax_ intro.asp และ http://www.ajaximpact.com/tutorials.php สำ�หรับรายละเอียดการพัฒนาเว็บไซต์สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารการสอนชุดวิชา 96413 การออกแบบและพัฒนาเว็บ ของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.1.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.1 เรื่องที่ 5.1.2
ธ ส
ม
ธ ส
เรื่องที่ 5.1.3 ซอฟต์แวร์ท ี่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์นอกจากกำ�หนดว่าต้องการใช้ภาษาโปรแกรมใดในการพัฒนาแล้ว ยังสามารถ เลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยอำ�นวยความสะดวกในการเขียนภาษาโปรแกรมเหล่านั้น ซึ่งซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์มีห ลายซอฟต์แวร์ และรองรับภาษาที่ได้กล่าวถึงไว้ในเรื่องที่ได้กล่าวไปแล้ว ในเรื่องนี้จะกล่าวถึงเว็บแมทริกซ์ (WebMatrix) เป็นซอฟต์แวร์ที่รองรับการพัฒนาเว็บไซต์ด้วย ภาษาโปรแกรมต่างๆ และรองรับการใช้แนวคิดโอเพ่นซอร์ส รวมถึงมีสิ่งอำ�นวยความสะดวกในการพัฒนา ที่ดีต่อผู้ใช้ ซึ่งจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไป และดรีมวีฟเวอร์ (DreamWeaver) ซึ่งเป็นที่นิยมและรู้จัก กันอย่างแพร่หลาย และจูมล่า (Joomla) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์พัฒนาเว็บไซต์แบบระบบจัดการเนื้อหา สำ�หรับ จูมล่าจะกล่าวถึงในตอนที่ 5.3.2 1. เว็บแมทริกซ์ เป็นซอฟต์แวร์สำ�หรับพัฒนาเว็บไซต์จากบริษัทไมโครซอฟต์ (Microsoft) มี เครือ่ งมอื อ �ำ นวยความสะดวกในการพฒ ั นาเว็บไซต์ท ใี่ ช้แ พลตฟอร์มโ อเพ่นซอร์ส เพิง่ เผยแพร่อ อกสสู่ าธารณะ เมื่อเดือนมกราคม 2554 สามารถดาวน์โหลดฟรีได้ที่เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/web matrix/ มีฟ ีเจอร์ท ี่น่าสนใจ ดังนี้
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-17
ธ ส
- แพลตฟอร์ม เว็บแมทริกซ์มีแพลตฟอร์มให้เลือกจากเว็บแกลเลอรี (Web Gallery) ถึง 36 รายการ (ภาพที่ 5.2) เช่น เวิร์ดเพรส (WordPress) จูมล่า ดรูพัล (Drupal) และอัมบราโก (Umbraco) เป็นต้น ซึ่งซอฟต์แวร์จะดาวน์โหลดและติดตั้งเครื่องมือสำ�หรับแพลตฟอร์มนั้นๆ ให้พร้อม ใช้ง าน และมเีครื่องมือเอฟทพี ี14 (FTP - File Transfer Protocol) ในการถ่ายโอนหรืออ ัพโหลดไฟล์ท ีพ่ ัฒนา เสร็จแล้วข ึ้นไ ปบนเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อเผยแพร่ อีกทั้งย ังม ีค ำ�แนะนำ�และรายงานเกี่ยวกับก ารปรับแ ต่งเว็บไซต์ ให้ติดอันดับของการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน หรือเอสอีโอด้วย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.2 แพลตฟอร์มในเว็บแกลเลอรี
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/webmatrix/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ม
ธ ส
ม
- การดาวน์โหลดและติดตั้ง เว็บแมทริกซ์ช่วยทำ�ให้การติดตั้งเป็นเรื่องง่าย เพียงแต่ดาวน์โหลดและติดตั้งตามขั้นตอนที่ปรากฏเท่านั้น เช่น หากเลือกใช้แพลตฟอร์มเวิร์ดเพรส ต้องใช้ฐานข้อมูล มายเอสคิวแอล หากในเครื่องคอมพิวเตอร์ยังไม่ติดตั้งมายเอสคิวแอล เว็บแมทริกซ์จะดำ�เนินการติดตั้ง และตั้งค่าเบื้องต้นต่างๆ ให้อัตโนมัติ - ภาษาทใี่ ช้ส ร้างเว็บเพจ เว็บแ มทริกซ์จ ะสร้างเว็บไซต์ซ ึ่งย ังไ ม่มเีว็บเพจใดๆ จากนั้นส ามารถ สร้างเว็บเพจเพิ่มเติมและเขียนโค้ดได้ตามที่ต้องการ ซึ่งสร้างเว็บไฟล์ได้หลายแบบ (ภาพที่ 5.3) เช่น เอชที เอ็มแอล ซีเอสเอส จาวาสคริปต์ เอ็กซ์เอ็มแอล เอเอสพีดอตเน็ต และอื่นๆ ซึ่งเว็บแมทริกซ์จะมีฟีเจอร์ ที่เรียกว่า อินเทลลิเซนซ์ (intellisense) และการเติมคำ�อัตโนมัติ (autocomplete) เพื่อช่วยให้การเขียน ภาษาต่างๆ ทำ�ได้อ ย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ธ ส
ม 14
ม
ธ ส
ม
ธ ส
เอฟทีพี (FTP-File Transfer Protocol) เป็นโพรโทคอลมาตรฐานด้านเครือข่ายที่ใช้สำ�หรับค ัดลอกไฟล์จากโฮสต์หนึ่ง ไปยังโ ฮสต์อื่นๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5-18
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.3 ภาษาที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจในเว็บแมทริกซ์
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/webmatrix/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
- เว็บสแท็ก (web stack) เว็บแมทริกซ์อำ�นวยความสะดวกในการพัฒนาเว็บไซต์โดยมี เครื่องมือช ่วยในการติดต ั้งร ะบบเว็บเซิร์ฟเวอร์ การเตรยี มฐานข้อมูล และการเขียนโค้ดท ำ�ให้ส ามารถทดสอบ เว็บไซต์ไ ด้ง่ายและรวดเร็ว - ฐานขอ้ มูล เว็บแ มทริกซ์ม ีเอดิเตอร์ด้านฐานข้อมูล (database editor) เพื่อใช้ในการสร้าง ฐานข้อมูล ตาราง การสอบถาม และป้อนข้อมูลได้ทันทีผ่านทางเว็บแมทริกซ์ (ภาพที่ 5.4) ทำ�ให้เว็บเพจ สามารถดึงเนื้อหาแบบไดนามิกจากฐานข้อมูลมาแสดงบนเว็บเพจได้ เว็บเพจเป็นแบบไดนามิกมีนามสกุล เป็น .cshtml ซึ่งจะประมวลผลบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ และสามารถเขียน เรเซอร์โค้ด15 (razor code) ในไฟล์ เอชทเีอ็มแ อล เพื่อเชื่อมต่อก ับฐ านข้อมูล สอบถามจากฐานข้อมูล และแสดงผลลัพธ์เป็นร ายการแบบไดนามิก ได้ เนื่องจากการแสดงผลลัพธ์เป็นแบบขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (data-driven) ดังนั้น เมื่อข้อมูลในฐานข้อมูล เปลี่ยนแปลงไป ข้อมูลผลลัพธ์ท ี่แ สดงบนหน้าเว็บเพจก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ม
ธ ส
15
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
เรเซอร์โค้ด (razor code) เป็นการเขียนโปรแกรมในไฟล์เอชทีเอ็มแอล เช่น ไฟล์นามสกุล .cshtml เป็นการใช้ภาษา เอชทีเอ็มแอลผสมผสานกับการเขียนโปรแกรมหรือเรเซอร์โค้ด เพื่อค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงในเว็บเพจด้วยภาษาซีชาร์ป
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.4 การสร้างฐานข้อมูลในเว็บแ มทริกซ์
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/webmatrix/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ธ ส
5-19
ธ ส
ม
ธ ส
ม
- เฮลเพอร์ (helpers) เว็บแมทริกซ์มีตัวช่วยหรือเฮลเพอร์เป็นศูนย์รวมฟังก์ชันต่างๆ เช่น การบูรณาการกับทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นต้น ที่เขียนใส่ลงไปในโค้ด ซึ่งใช้งานง่าย แก้ไขง่าย ดูผลการ เปลี่ยนแปลงได้ทันที แล้วสามารถใช้เครื่องมือการดีพลอย16 (deployment tools) ที่ติดตั้งอยู่ในตัว ซอฟต์แวร์อ ัพโหลดเว็บไซต์ที่พ ัฒนาขึ้นไปบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่าง เทมเพลตการทำ�พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ข องร้านเบเกอรี่ (bakery template) เว็บแมทริกซ์ มีเทมเพลตสำ�หรับการทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้เลือก และมีฟีเจอร์สำ�หรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย สามารถแสดงข้อมูลสินค้าแบบไดนามิกซึ่งข ับเคลื่อนด้วยข้อมูล (data driven) ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถ เห็นรายการสินค้า รายละเอียด ราคา และชื่อภาพประกอบ โดยข้อมูลต่างๆ จะถูกค้นคืนมาจากฐานข้อมูล (ภาพที่ 5.5 และ 5.6) ทั้งนี้ สามารถศึกษาการใช้งานเพิ่มเติมไ ด้ที่เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/ web/webmatrix
ธ ส
ม
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
16 การดีพ ลอย (deployment) เป็นข ั้นต อนการเตรีย มความพร้อมและทำ�ให้ร ะบบพร้อมใช้ง าน เช่น การสร้างและบูรณาก าร
เว็บเพจต่างๆ ให้ท ำ�งานร่วมกันได้ต ามที่ออกแบบไว้ การย้ายไฟล์และฐานข้อมูลต่างๆ ไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น
5-20
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.5 เท็มเพลตเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใ นเว็บแมทริกซ์
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/webmatrix/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ภาพที่ 5.6 ตัวอย่างเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ร ้านเบเกอรี่จากเว็บแ มทริกซ์
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/web/webmatrix/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-21
ธ ส
2. ดรีมวีฟเวอร์ เป็นซอฟต์แวร์สำ�หรับพัฒนาเว็บไซต์จากบริษัทอะดูบี (Adobe) มีเครื่องมือ อำ�นวยความสะดวกในการพัฒนาเว็บไซต์ ได้รับความนิยมมาเป็นระยะเวลานานแต่มีค่าล ิขสิทธิ์ ดาวน์โหลด ชุดท ดลองได้ที่เว็บไซต์ https://www.adobe.com/cfusion/tdrc/index.cfm?product=dreamweaver ซึ่งจ ะมีฟ ังก์ชันแ ละฟีเจอร์ค รบถ้วนสำ�หรับท ดลองใช้งานจริง สำ�หรับฟ ีเจอร์ใ หม่ท ี่เพิ่มข ึ้นมาในดรีมว ีฟเวอร์ เวอร์ชั่นล่าสุด มีดังนี้ - การบูรณาการกับระบบจัดการเนื้อหา (integrated CMS support) ดรีมวีฟเวอร์มีเครื่องมือ ในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ส นับสนุนและบูรณาการเข้าก ับระบบจัดการเนื้อหา เช่น เวิร์ดเพรส จูมล่า และดรูพัล เป็นต้น มีเครื่องมือสำ�หรับทดสอบเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้น รวมไปถึงการพรีวิวดูเว็บไซต์ และตรวจสอบระบบ เนวิเกชันด้วย (ภาพที่ 5.7)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.7 การพรีวิวดูเว็บไซต์แ ละตรวจสอบระบบเนวิเกชัน
ม
ธ ส
ม ม
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/design/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ธ ส
ธ ส
- การตรวจสอบซเี อสเอส (CSS inspection) ดรีมว ีฟเวอร์ม ีหน้าต ่างคุณสมบัติ (properties) ของซีเอสเอส ซึ่งผนวกอยู่ในหน้าต่างของการสร้างเว็บเพจ จะแสดงละเอียดของซีเอสเอสได้โดยไม่ต้องไป อ่านจากโค้ด (ภาพที่ 5.8)
ม
5-22
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.8 การแสดงหน้าต่างคุณสมบัตขิ องซีเอสเอส
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/design/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
- การตรวจสอบกับเว็บเบราเซอร์ (adobe browser lab integration) ดรีมวีฟเวอร์มีเครื่องมือ ในการพรีวิวดูเว็บเพจกับเว็บเบราเซอร์จากค่ายต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตเอ็กซ์โพลเรอร์ หรือไออี ซาฟารี ไฟร์ฟอกซ์ กูเกิ้ลโครม เป็นต้น เพื่อตรวจสอบและเปรียบเทียบการแสดงผลของเว็บเพจ ระหว่างเว็บ เบราเซอร์แ ละระบบปฏิบัติการหรือแพลตฟอร์มที่แ ตกต่างกัน (ภาพที่ 5.9)
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.9 การพรีวิวและเปรียบเทียบเว็บเพจกับเว็บเบราเซอร์ท ี่แตกต่างกัน
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/design/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-23
ธ ส
- การช่วยเหลือในการแก้ไขโค้ดพีเอชพี (PHP custom class code hinting) ดรีมวีฟเวอร์ มีเครื่องมือสำ�หรับแสดงไวยากรณ์ของโค้ดพีเอชพีเพื่อช่วยเหลือในการเขียนและแก้ไขได้อย่างถูกต้อง ทำ�ให้สามารถสร้างและดูแลเว็บไซต์ไ ด้อย่างรวดเร็ว (ภาพที่ 5.10)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.10 เครื่องมือช่วยในการเขียนโค้ดพีเอชพี
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/web/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
- การชว่ ยเหลือใ นการแก้ไขโค้ดส �ำ หรับเว็บไซต์ท มี่ ลี กั ษณะเฉพาะ (site-specific code hinting) ดรีมวีฟเวอร์มีเครื่องมือสำ�หรับแสดงไวยากรณ์ของโค้ดอื่นๆ ที่ไม่ใช่โค้ดมาตรฐานของดรีมวีฟเวอร์ ได้แก่ โค้ดของกลุ่มภาษาพีเอชพี และกลุ่มระบบจัดการเนื้อหา (ภาพที่ 5.11) เช่น เวิร์ดเพรส ดรูพัล และจูมล่า เป็นต้น
ม
5-24
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.11 เครื่องมือช่วยในการเขียนโค้ดสำ�หรับเว็บไซต์จ ากกลุ่มระบบจัดการเนื้อหา
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/web/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554
สำ�หรับฟีเจอร์ที่ได้รับการพัฒนาให้ม ีความสามารถเพิ่มขึ้นในดรีมวีฟเวอร์เวอร์ชั่นล่าสุด มีดังนี้ - การสร้างเว็บไซต์ท งี่ า่ ยขนึ้ (simple site setup) ดรีมว ีฟเวอร์ป รับใ ห้การเริ่มต ้นส ร้างเว็บไซต์ และการกำ�หนดค่าต่างๆ ทำ�ได้รวดเร็วขึ้น โดยจัดเครื่องมือในส่วนของการนิยามเว็บไซต์เสียใหม่ เช่น การ เพิ่มให้เลือกเว็บเซิร์ฟเวอร์ได้มากกว่าหนึ่งเว็บเซิร์ฟเวอร์ และกำ�หนดค่าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกขึ้น เป็นต้น - การเพิ่มซีเอสเอสในเว็บเพจแรก (CSS starter pages) ดรีมวีฟเวอร์เพิ่มเครื่องมือในการ กำ�หนดซีเอสเอส โดยสามารถกำ�หนดได้ตั้งแต่การสร้างเว็บเพจแรก ซึ่งเท็มเพลตใหม่ที่ปรับปรุงแล้วนี้ จะทำ�ให้เข้าใจและสามารถเลือกใช้งานซีเอสเอสได้ง่ายขึ้น - การดูแลเรื่องไฟล์หลายเวอร์ชั่น (subversion support) ดรีมวีฟเวอร์มีเครื่องมือดูแลและ จัดการกับไฟล์ของเว็บไซต์ที่อยู่ระหว่างการพัฒนา ซึ่งมีหลายเวอร์ชั่นให้สามารถทำ�ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ทั้งในเรื่องการทำ�งานร่วมกันข องทีมงาน และการควบคุมเวอร์ชั่น รวมถึงการย้าย คัดลอก และลบ ไฟล์ท ี่ค อมพิวเตอร์ลูกข่ายแล้วปรับให้ต รงกับไฟล์ที่อยู่บนเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือโฮสต์ - การสนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ๆ (support for leading technologies) ดรีมวีฟเวอร์จัดสภาพ แวดล้อมในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ให้สนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ เช่น เอชที เอ็มแอล เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล ซีเอสเอส เอ็กซ์เอ็มแอล จาวาสคริปต์ เอแจ็กซ์ พีเอชพี เอเอสพีดอตเน็ต และ โคลด์ฟิวชั่น (ColdFusion)
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-25
ธ ส
- การบูรณาการกับเนื้อหาที่เป็นแ ฟลชวิดีโอ (integrate FLV content) ดรีมวีฟเวอร์มีฟีเจอร์ ให้ส ามารถเพิ่มไ ฟล์ป ระเภทแฟลชวิดีโอ (flash video - FLV) ในหน้าเว็บเพจได้ง่ายขึ้น และสามารถพรีวิว ดูการแสดงผลได้ท ันที ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดความสามารถ เครื่องมือ และฟีเจอร์ต ่างๆ ของดรีมว ีฟเวอร์เพิ่มเติม ได้จากเว็บไซต์ http://www.adobe.com/products/dreamweaver/whatisdreamweaver/
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.1.3 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.1.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.1 เรื่องที่ 5.1.3
ธ ส
ม
ธ ส
เรื่องที่ 5.1.4 การทำ�ให้เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประสบความสำ�เร็จ
ธ ส
ม
ม
เว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้นเกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าออนไลน์ การจะทำ�ให้เว็บไซต์ ประสบความสำ�เร็จได้มีหลายปัจจัย แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงปัจจัยหลักๆ และกำ�ลังเป็นที่สนใจของผู้คน ซึ่ง เกี่ยวกับการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ การทำ�ให้เว็บไซต์ติดอันดับการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน และ การทำ�การตลาดเครือข่ายสังคม (social network marketing) ซึ่งเป็นส ิ่งที่ช่วยให้ลูกค้ามั่นใจ ลูกค้าค้นหา เว็บไซต์ได้ และการขยายวงของลูกค้าออกไป
ธ ส
ม
1. การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์
ธ ส
ธ ส
การพฒ ั นาเว็บไซต์เพือ่ พ าณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์น ัน้ ตอ้ งค�ำ นึงถ งึ ค วามนา่ เชือ่ ถ อื ข องเว็บไซต์ เนือ่ งจาก เกี่ยวข้องกับก ารตัดสินใ จเลือกซื้อ การชำ�ระเงินข องผู้ซื้อ และความยั่งยืนข องธุรกิจ การสร้างความน่าเชื่อถ ือ ให้กับเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น นอกจากการออกแบบเว็บไซต์อย่างเหมาะสมแล้ว ควรทำ�การ จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แ ละใช้ทรัสต์มาร์ก มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อกำ�หนดของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ ที่ต้องการให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต้องจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ ทำ�ให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจและสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ โดยกรมพัฒนา ธุรกิจก ารค้าจะให้เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนผู้ประกอบพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ (DBD registered) โดยจัดท ำ�เลขทะเบียนพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์เป็นส ัญลักษณ์ร จี สิ เตอร์ (registered) แล้วส ่งใ ห้ผ ูป้ ระกอบการ เป็นโค้ดคำ�สั่ง (source code) เพื่อนำ�ไปวางบนเว็บไซต์ หากผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์คลิกสัญลักษณ์รีจิสเตอร์
ม
ม
ธ ส
ม
5-26
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
จะปรากฏหน้าต่างแสดงข้อมูลของผู้ประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไว้ เช่น คลิก สัญลักษณ์รีจิสเตอร์ในเว็บไซต์ไทยฟลาย (www.thaifly.com) ซึ่งมีเลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 0108614821246 (ภาพที่ 5.12) จะเชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (http://www. dbd.go.th/edirectory/paper/?id=0108614821246&st=1) เพื่อแสดงรายละเอียดของผู้ประกอบการ เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.12 ตัวอย่างสัญลักษณ์ร ีจสิ เตอร์ของเว็บไซต์ไ ทยฟลาย
ธ ส
ม
ในขณะเดียวกัน กรมพัฒนาธุรกิจการค้าก็จะเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ทางเว็บไซต์ www.dbd.go.th ซึ่งเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับสาธารณชน และประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ให้กับผู้ประกอบการด้วย 1.2 เครือ่ งหมายรบั รองความนา่ เชือ่ ถ อื หรือท รัสต์ม าร์ก (trustmark) เมือ่ ผ ปู้ ระกอบการจดทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว จะสามารถยื่นขอใช้เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ หรือทรัสต์มาร์ก (ภาพที่ 5.13) ซึ่งจะมีความน่าเชื่อถือมากกว่า เพราะกรมพัฒนาธุรกิจการค้าจะออกให้สำ�หรับเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำ�หนด เพื่อยกระดับผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้เป็น ที่ยอมรับม ากขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการได้รับสิทธิพิเศษหลายประการ เช่น การเข้าร่วม กิจกรรม อบรม/สัมมนา การได้รับคำ�แนะนำ� การได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รายละเอียดของการสมัครขอใช้เครื่องหมายทรัสต์มาร์ก ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ทรัสต์มาร์กไทย ดอตคอม http://www.trustmarkthai.com/website/index.php
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.13 เครื่องหมายทรัสต์มาร์ก
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-27
ธ ส
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น มีการ ประกอบธุรกิจในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ 1) การซื้อขายสินค้าหรือบริการผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บไซต์ไทยฟลาย (www.thaifly.com) เว็บไซต์วีรสุ (www.verasu.com) เป็นต้น 2) การให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หรือเว็บโฮสติ้ง (web hosting) เช่น เว็บไซต์สยามเว็บโฮสต์ (www.siamwebhost.com) เว็บไซต์เรดีแพลนเน็ต (ww.readyplanet.com) เป็นต้น 3) การให้บ ริการเป็นต ลาดกลางในการซอื้ ข ายสนิ ค้าห รือบ ริการ โดยวธิ กี ารใช้ส อื่ อ เิ ล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า อีมาร์เก็ตเพลส (e-Marketplace) เช่น เว็บไซต์วีเลิฟ ช้อปปิ้ง (www.weloveshopping.com) เว็บไซต์ทูโ ฮม (http://tohome.com) เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
2. การปรับแต่งเว็บไซต์ให้ติดอันดับข องการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน
การปรับแต่งเว็บไซต์ให้ติดอันดับของการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน17 หรือเอสอีโอ (Search Engine Optimization - SEO) เป็นกระบวนการปรับปรุงเว็บไซต์ให้สามารถมองเห็นได้หรือติดอันดับต้นๆ ของ ผลลัพธ์จากการที่มีผู้ค้นหาเว็บไซต์ด้วยคำ�สำ�คัญ หรือคีย์เวิร์ด (keyword) ผ่านเว็บไซต์ที่ให้บริการเสิร์ช เอนจิน โดยไม่ต ้องเสียค่าใช้จ่ายในการโฆษณาเพื่อให้ติดอันดับ เว็บไซต์ทั้งหลายที่พัฒนาขึ้นมานั้นจะมีคุณค่าหรือมีมูลค่าในเชิงธุรกิจก็ต่อเมื่อมีผู้เข้ามาเยี่ยมชม โดยเฉพาะเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ย่อมต้องการให้มีผู้เข้ามาเยี่ยมชมมาก และอาจจะนำ�ไปสู่โอกาส การสั่งซื้อสินค้าที่มีมากขึ้น แต่การมีผู้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์จำ�นวนมากได้นั้น เว็บไซต์ต้องมีข้อมูลหรือ เนื้อหาที่ตรงกับความต้องการของผู้เยี่ยมชม ซึ่งลูกค้าหรือผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์จำ�นวนมากเมื่อเข้าสู่เครือข่าย อินเทอร์เน็ตมักจะเริ่มต้นค้นหาสินค้าหรือบริการที่ตนเองต้องการผ่านเว็บไซต์ที่ให้บริการเสิร์ชเอนจิน เช่น กูเกิ้ล (www.google.com) ยาฮู (www.yahoo.com) หรือบิง (www.bing.com) เป็นต้น ผลที่ได้จาก การค้นหาจะแสดงเป็นรายการสินค้าหรือบริการที่ตรงกับคำ�ค้นมากที่สุด โดยส่วนใหญ่ห้าถึงสิบรายการ แรกจะได้รับการสนใจจากผู้ค้นหามากที่สุด และมีโอกาสที่ผู้คนจะคลิกเข้าไปดูเนื้อหามากที่สุดเช่นกัน หากเว็บไซต์ใ ดปรากฏในหน้าแรกของผลการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน ก็จะมีโอกาสเพิ่มจำ�นวนผู้เข้าเยี่ยมชม เว็บไซต์ไ ด้ม ากขึ้น ดังน ั้น จึงม ีค วามพยายามที่จ ะทำ�ให้เว็บไซต์ต ิดอ ันด ับต ้นๆ ของการค้นหาผ่านเสิร์ชเอนจิน ที่เรียกว่า เอสอีโอ นั่นเอง เอสอีโอจัดว่าเป็นการทำ�การตลาดออนไลน์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งนักการตลาดในยุคนี้ที่ต้องการให้ เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จจำ�เป็นต้องนำ�มาใช้ โดยกลยุทธ์การทำ�ตลาดออนไลน์ ด้วยเอสอีโ อนั้น จะพิจารณาว่าเสิร์ชเอนจิน ทำ�งานอย่างไร เสิร์ชเอนจินใดที่ผู้คนส่วนใหญ่เลือกใช้ เช่น เสิร์ช เอนจินของกูเกิ้ล เป็นต้น ผู้คนส่วนใหญ่ค้นหาอะไรผ่านเสิร์ชเอนจิน เช่น ภาพ วิดีโอ สถานที่ ข่าว เหตุการณ์
ธ ส
ม
ธ ส
ม 17
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
เสิร์ชเอนจิน (search engine) เป็นอัลกอริธึมที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อเป็นกลไกในการค้นหาข้อมูลข่าวสารบน เวิลด์ไวด์เว็บหรือเว็บไซต์ต ่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5-28
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ที่กำ�ลังเป็นที่สนใจ ประเภทของสื่อ ชนิดของเนื้อหา เป็นต้น หรือข้อความส่วนใหญ่ข้อความใดที่พิมพ์เป็น คำ�สำ�คัญที่ใช้เพื่อค้นหา ดังนั้น การปรับแต่งเว็บไซต์ให้ติดอันดับของการค้นหาจึงมักจะเกี่ยวข้องกับการ แก้ไขเนื้อหาหรือคำ�สั่งเอชทีเอ็มแอลของเว็บเพจ เพื่อทำ�ให้สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับคำ�สำ�คัญ และลด อุปสรรคในการทำ�ดัชนีของเสิร์ชเอนจิน วิธีการทำ�เอสอีโอ (SEO methods) มีห ลายวิธี เช่น 1) การท�ำ ดชั นี เว็บไซต์ท ี่ใ ห้บ ริการเสิร์ชเอนจินจ ะใช้เว็บค ร อว์เลอร์18 (web crawler) ค้นหา เว็บเพจต่างๆ สำ�หรับใช้แสดงผลการค้นหา เว็บเพจเหล่านั้นจะถูกลิงก์มาจากหน้าเว็บที่ทำ�ดัชนีไว้ด้วย เสิร์ชเอนจิน แต่ไม่ใช่ทุกหน้าเว็บที่เว็บครอว์เลอร์จะส่งให้เสิร์ชเอนจินนำ�มาทำ�ดัชนี บางครั้งระยะห่างจาก เว็บเพจหน้าแรกก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะทำ�ให้เว็บเพจนั้นๆ ถูกรวบรวมข้อมูลโดยเว็บครอว์เลอร์หรือไม่ก็ได้ เช่น หากห่างจากเว็บเพจแรกมากก็จะไม่นำ�มาทำ�ดัชนี เป็นต้น 2) การแลกลิงก์ เป็นการแลกเปลี่ยนลิงก์ระหว่างเว็บเพจต่างๆ ในเว็บไซต์เดียวกัน การลิงก์ กลับมายังหน้าหลักยิ่งม ากครั้งก ็จะยิ่งเพิ่มอ ันดับของเว็บเพจ หรือเพจแร๊งก์19 (page rank) ให้สูงขึ้น 3) การใช้คยี เ์ วิรด์ การเพิ่มคีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์ไว้ในเมทาแท็ก20 (meta tag) เพื่อ ช่วยให้ข ้อความตัวอ ักษรหรือว ลีท ี่เป็นค ำ�ค้นห รือค ำ�สำ�คัญใ นเว็บเพจนั้นส ามารถค้นพ บได้เมื่อม ีก ารสอบถาม เพื่อการค้นหา (search queries) 4) การนอร์มัลไลเซชั่นยูอาร์แอล (URL normalization) เป็นกระบวนการซึ่งทำ�ให้หลาย ยูอาร์แอลมีมาตรฐานเดียวกัน โดยการแปลงยูอาร์แอลทั่วไปมาเป็นยูอาร์แอลพื้นฐาน (canonical URL) ที่มีล ักษณะสำ�คัญหรือลักษณะเด่นร่วมกัน โดยการใช้เมทาแท็กพื้นฐาน (canonical meta tag) เสิร์ชเอนจินจะใช้การนอร์มัลไลเซชั่นยูอาร์แอลเพื่อกำ�หนดความสำ�คัญให้กับเว็บเพจ และ เพื่อลดภาระการทำ�ดัชนีให้กับหน้าเว็บที่มีความซ้ำ�ซ้อนกัน ส่วนเว็บครอว์เลอร์จะใช้การนอร์มัลไลเซชั่น ยูอ าร์แอลเพื่อหลีกเลี่ยงการคัดลอกหน้าเว็บเดียวกันมากกว่าห นึ่งครั้ง 5) การทำ�แบ็กลิงก์ (backlink) เป็นการทำ�ลิงก์จากเว็บไดเรกทอรี่ (web directory) ให้เข้า มายังเว็บไซต์หรือเว็บเพจ ซึ่งมีความสำ�คัญต่อการทำ�เอสอีโอ เพราะจำ�นวนแบ็กลิงก์เป็นตัวชี้วัดความนิยม หรือความสำ�คัญต่อเว็บไซต์ด้วย ปัจจุบันมีหลายเว็บไซต์ที่ให้บริการทำ�เอสอีโอสำ�หรับเว็บไซต์โดยคิดค่าใช้จ่าย เว็บไซต์สำ�เร็จรูป ก็มีการเพิ่มความสามารถในการทำ�เอสอีโอเอาไว้ นอกจากนี้ มีหลายเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลข่าวสารและให้ ความรเู้ กีย่ วกบั เอสอีโ อ เช่น เว็บไ ซต์ภ าวุธ ดอตคอม (www.pawoot.com) ได้แ นะนำ�วธิ กี ารงา่ ยๆ 5 วิธี สำ�หรับ การเพิ่มโ อกาสให้เว็บไซต์ติดอันดับในผลลัพธ์จากการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน หรือการทำ�เอสอีโอ ดังนี้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
18 เว็บค ร อว์เลอร์ (web crawler) เป็นโ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ท ีท่ ่องเว็บไซต์แ ล้วท ำ�การคัดล อกเว็บเพจทั้งหมดทีไ่ ด้เข้าเยี่ยม
ชม ให้เสิร์ชเอนจินใช้ใ นการจัดทำ�ดัชนี หรืออินเด็กซ์ (index) ซึ่งจะทำ�ให้สามารถค้นหาเว็บไซต์หรือเว็บเพจเหล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว 19 เพจแร๊ง ก์ (page rank) เป็นอ ัลก อริท ึมใ นการวิเคราะห์ล ิงก์ โดยการให้ค ่าน้ำ�หนักแ ก่ล ิงก์ต ่างๆ เพื่อว ัดค วามสัมพันธ์ห รือ สอดคล้องระหว่างลิงก์เหล่านั้น และเพจแร๊งก์เป็นเครื่องหมายการค้าข องกูเกิ้ลที่นำ�มาใช้กับเสิร์ชเอนจิน 20 เมทาแท็ก (meta tag) เป็นภาษาเอชทีเอ็มแอล <meta … > ที่ใช้ระบุรายละเอียดของโครงสร้างข้อมูล หรือเมทาดาต้า (metadata) ของเว็บเพจ
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-29
ธ ส
1) การระบุข้อมูลส ินค้าในเว็บไซต์ เว็บไซต์ควรมีข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับส ินค้า เช่น ชื่อสินค้า ยี่ห้อ หรือรุ่น เป็นต้น โดยให้ปรากฏอยู่ในหน้าเว็บไซต์อย่างชัดเจน และอยู่ในตำ�แหน่งบนสุดของหน้า เว็บไซต์ หรือชื่อเว็บไซต์ (title page) 2) การปรากฏข้อมูลสินค้าซ้ำ�หลายครั้ง เว็บไซต์ควรมีข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าปรากฏซ้ำ�หลาย ครั้งในหนึ่งหน้าเว็บเพจ อาทิ ชื่อรุ่นสินค้าควรมีการระบุซ้ำ�หลายครั้งในหน้าเว็บเพจ เพราะจะทำ�ให้เสิร์ช เอนจิน ทราบว่าหน้าเว็บนี้เกี่ยวข้องกับสินค้ารุ่นนั้นๆ ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสที่จะติดในอันดับแรกๆ 3) การให้รายละเอียดข้อมูลสินค้าอย่างครบถ้วน เว็บไซต์ควรมีข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับสินค้า มากที่สุดและครบถ้วนที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ยิ่งใส่ข้อมูลมากก็จะยิ่งทำ�ให้เสิร์ชเอนจินค้นหาเว็บไซต์เจอ มากขึ้น เพราะจะได้ครอบคลุมคำ�ค้นที่ผ ู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ใช้ในการค้นหา 4) การระบุพื้นที่การขาย เว็บไซต์ควรมีข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่หรือสถานที่ที่ต ้องการขายสินค้า หรือบริการ เช่น ชื่อประเทศ ภาค จังหวัด อำ�เภอ หมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสในการค้นหาหาก ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ค ้นหาโดยระบุชื่อพื้นที่ล งไปด้วย 5) การแลกเปลี่ยนเว็บลิงก์ เว็บไซต์ควรมีการแลกเปลี่ยนลิงก์กับเว็บไซต์อื่นๆ หรือทำ�ลิงก์ จากเว็บไซต์อื่น หากมีการลิงก์มาเยอะ โดยเฉพาะลิงก์จากเว็บไซต์ซึ่งเป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง ก็จะทำ�ให้ มีโอกาสติดอันดับได้เร็วมากขึ้น หรือเพิ่มชื่อเว็บไซต์ในเว็บไซต์ที่ให้บริการเสิร์ชเอนจิน เช่น เว็บไซต์กูเกิ้ล โดยสามารถเพิ่มเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปที่เว็บไซต์ www.google.com/addurl เป็นต้น วิธีนี้ง่ายที่สุด และทำ�ให้เสิร์ชเอนจินรู้จักเว็บไซต์ได้เร็วมากขึ้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
3. การทำ�การตลาดเครือข ่ายสังคม
ม
ธ ส
ม
เครือข่ายสังคม (social network) เป็นโครงสร้างสังคมที่ประกอบขึ้นจากคนหลายคน แต่ละคน เรียกว่า โหนด (nodes) เชื่อมโยงกันด้วยความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น มิตรภาพ เครือญาติ ประโยชน์ร่วมกัน ความสนใจร่วมกัน ความเชื่อ ความรู้ เป็นต้น ผู้คนสามารถใช้เครือข่ายสังคมเพื่อสร้างเครือข่ายเพื่อนบนโลกออนไลน์ และหาสมาชิกของกลุ่ม เพื่อติดต่อสื่อสารถึงกันระหว่างเพื่อนฝูงปัจจุบันติดต่อเพื่อนเก่าที่ไม่ได้เจอกันมานาน หรือสร้างเพื่อนใหม่ ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันหรือคล้ายกัน นอกจากนี้ การมีเครือข่ายยังสามารถทำ�ให้สมาชิกหางานทำ� หรือเกิดก ารติดต่อทางธุรกิจข ึ้นได้ การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมนั้น จะเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ในสังคม ซึ่งมักจะพบว่าเครือข่าย สังคมเกิดข ึ้นในหลายระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับชาติ และมีบทบาทสำ�คัญในการหาแนวทาง แก้ปัญหาร่วมกัน ทำ�ให้องค์การ/หน่วยงานเดินหน้าต ่อไปได้ หรือทำ�ให้แต่ละบุคคลประสบความสำ�เร็จได้ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม เช่น ทวิตเตอร์ (Twitter) เฟซบุ๊ก (Facebook) หรือยูทิวบ ์ (YouTube) มัก จะมีเว็บบล็อกและฟอรั่ม (forum) ไว้ใ ห้สมาชิกกลุ่มติดต่อสื่อสารกัน โดยสมาชิกสามารถออกแบบหน้าเพจ ข องตนเองเพื่อเผยแพร่ข ้อมูลส ่วนตัว โดยจะมีผ ู้ต ิดตามมาตอบหรือแ สดงความคิดเห็น ใครก็ตามทีเ่ชื่อมโยง เป็นเพื่อนกันจะสามารถอ่านความคิดเห็นเหล่านี้ได้ ทำ�ให้ข้อมูลเหล่านั้นเข้าถึงคนเป็นจำ�นวนมาก ดังนั้น
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-30
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เว็บไซต์เครือข่ายสังคมจึงทำ�หน้าที่เหมือนเป็นการบอกต่อหรือเล่าสู่กันฟังแบบปากต่อปาก (word of mouth) การท�ำ การตลาดเครือข า่ ยสงั คม (social network marketing) เป็นการท�ำ การตลาดโดยอาศัยล กั ษณะ ของเครือข่ายสังคมในการเข้าถึงผู้คนบนโลกออนไลน์ หากเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นำ�เสนอข้อมูล เกี่ยวกับสินค้าออกไป สังคมออนไลน์จะบอกต่อกันเป็นทอดๆ ผู้คนมักจะเชื่อคนที่ตนเองรู้จัก ไม่ว่าจะ เป็นเพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง หรือผู้มีชื่อเสียง ผู้คนที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นร่วมกันหรือติดตามข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับส ินค้าจ ะค่อยๆ ซึมซับค วามจงรักภ ักดีต ่อต ราสินค ้า และกลายเป็นล ูกค้าไ ปในที่สุด ในทีน่ ีจ้ ะกล่าวถึง ลักษณะของการใช้ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊กเพื่อท ำ�การตลาดเครือข่ายสังคม ดังนี้ - ทวิตเตอร์ เป็นเว็บไซต์ที่มีบริการทางด้านเครือข่ายสังคมที่ช่วยทำ�ให้บริษัทต่างๆ สามารถ ส่งเสริมการขายสินค้าเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในระดับบุคคลได้ โดยการใช้ข้อความสั้น (short message) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าแก่ผู้ติดตาม (follower) ซึ่งผู้ติดตามมักจะชอบอ่านข้อความสั้นๆ โดยข้อความ เหล่านี้จะไปปรากฏในหน้าเว็บเพจของผู้ติดตาม และมีลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของสินค้า เช่น ข้อมูล ภาพถ่าย และวิดีโอ ในเว็บไซต์เฟซบุ๊ก เป็นต้น ลิงก์เหล่านี้จ ะทำ�ให้ผู้ติดตามสามารถดูรายละเอียดสินค้าทางออนไลน์ อาจจะนำ�ไปสู่ความจงรักภ ักดีต่อตราสินค้า และเพิ่มโอกาสการโฆษณาให้มากขึ้นด้วย - เฟซบุ๊ก เป็นเว็บไซต์ที่มีบริการทางด้านเครือข่ายสังคมที่มีรายละเอียดของบริการมาก กว่าทวิตเตอร์ โดยสามารถนำ�เสนอวิดีโอ ภาพถ่าย และคำ�อธิบายหรือรายละเอียดที่มากกว่าได้ ผู้ติดตาม สามารถแสดงความคิดเห็นในหน้าเพจของสินค้า และผู้อื่นก็สามารถมองเห็นได้ นอกจากนี้ เฟซบุ๊กจะลิงก์ กลับไปยังหน้าเพจในทวิต เตอร์ของสินค้าได้ ทั้งนี้ ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊กส่งเสริมการขายแบบเรียลไทม์ และดึงดูดลูกค้ามายังเว็บไซต์ที่น ำ�เสนอ ข้อมูลสินค้าหรือเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ ดังนั้น จึงมักจะเห็นหลายๆ เว็บไซต์นำ�ไอคอน (icon) ของเว็บไซต์เครือข่ายสังคมไปวางไว้เพื่อล ิงก์ไ ปยังเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม การทำ�ให้เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จนั้นต้องใช้หลายวิธี ร่วมกัน เมื่อพัฒนาและออกแบบเว็บไซต์ที่ดีแล้ว ก็ควรสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ ใช้เอสอีโอใน การทำ�การตลาดออนไลน์ รวมถึงก ารทำ�การตลาดผ่านเครือข่ายสังคม เพื่อทำ�ให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์มีโอกาส มากขึ้นในการเข้าถึงเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ เมื่อเวลาผ่านไปเทคโนโลยีได้รับการพัฒนา มากขึ้น อาจมีเครื่องมือใหม่ๆ ออกมา ซึ่งนักศึกษาจะต้องติดตามความก้าวหน้าเพื่อนำ�มาใช้ทำ�ให้เว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำ�เร็จอ ย่างต่อเนื่องต่อไป
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.1.4 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.1.4 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.1 เรื่องที่ 5.1.4
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอนที่ 5.2
ธ ส
ม
แนวทางการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
5-31
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 5.2 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 5.2.1 ขั้นตอนและทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 5.2.2 การจดทะเบียนโดเมนเนมและการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ เรื่องที่ 5.2.3 แนวทางการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 5.2.4 ฟีเจอร์ในเว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
1. ขั้ น ต อนก ารพั ฒ นาเ ว็ บ ไซต์ เ พื่ อ พ าณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ประกอบด้ ว ย การกำ � หนด วัตถุประสงค์ กำ�หนดทางเลือกในการพัฒนา การจดทะเบียนโดเมนเนม การเตรียม เว็บเซิร์ฟเวอร์ และการลงมือพัฒนา ส่วนทางเลือกในการพัฒนามีหลายวิธีให้เลือกตาม ความต้องการและความเหมาะสม ทั้งพัฒนาเอง จ้างบริษัทพัฒนา การจ้างฟรีแลนซ์ พัฒนา หรือการใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูป 2. การจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อจ ะได้ไม่มีผู้อื่นจดทะเบียนซ้ำ�ซ้อน และสามารถดำ�เนินการ ไปพร้อมๆ กับการใช้บริการเว็บโฮสติ้ง ซึ่งต้องคำ�นึงถึงชื่อโดเมน การตรวจสอบชื่อว่าง การเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การเลือกแพ็กเกจและระยะเวลา ข้อมูลของเซิร์ฟเวอร์ จากนั้นจึงดำ�เนินการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยการขอใช้บริการต้องพิจารณาความ น่าเชื่อถือ การให้ความช่วยเหลือ สถานที่ตั้ง คุณสมบัติของเซิร์ฟเวอร์ ระบบปฏิบัติการ ระบบสำ�รองข้อมูล โดเมนเนม ราคาค่าบริการ ระบบบริหารจัดการ และระบบอีเมล 3. การพัฒนาเว็บไซต์แบบแมชอัพเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมชมชอบเป็นอย่างมากในยุคนี้ สามารถดำ�เนินการได้อย่างรวดเร็ว และมีเครื่องมือมากมายอำ�นวยความสะดวกในการ สร้างเว็บแมชอัพ อย่างไรก็ตาม การสร้างเว็บแ มชอัพก็มีทั้งข้อดีและข้อจำ�กัด ซึ่งควรนำ� มาพิจารณาหากต้องการสร้างเว็บแมชอัพ 4. เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้นจะมีฟีเจอร์พื้นฐานเหมือนกับเว็บไซต์ทั่วไป แต่มี ฟีเจอร์เกี่ยวกับแคตาล็อกสินค้าออนไลน์ ตะกร้าสินค้าออนไลน์ และระบบรับชำ�ระเงิน ด้วยบัตรเครดิตออนไลน์เพิ่มเติมเข้ามาเพื่อสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-32
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
ม
ธ ส
ม
เมื่อศึกษาตอนที่ 5.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. ดำ�เนินก ารตามขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ได้ 2. วิเคราะห์ท างเลือกต่างๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ได้ 3. ตรวจสอบและจดทะเบียนโดเมนเนม และเปรียบเทียบคุณสมบัติของผู้ให้บริการเว็บ โฮสติ้ง ได้ 4. วิเคราะห์เว็บไซต์ที่ใช้แนวทางการพัฒนาแบบแมชอัพได้ 5. สร้างเว็บแมชอัพได้ 6. เปรียบเทียบฟีเจอร์ส ำ�หรับเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทนำ�
ธ ส
ม
5-33
ธ ส
ม
สำ�หรับตอนที่ 5.2 นี้จ ะกล่าวถึงการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจากขั้นตอน และทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจ ะกล่าวในเรื่องที่ 5.2.1 สำ�หรับร ายละเอียด การจดทะเบียนโดเมนเนมและการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ จะกล่าวไว้ในเรื่องที่ 5.2.2 แนวทางในการพัฒนา จะกล่าวในเรื่องที่ 5.2.3 ส่วนฟีเจอร์หลักที่ควรมีในเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะกล่าวในเรื่องที่ 5.2.4
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
เรื่องที่ 5.2.1 ขั้นต อนและทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
1. ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์
ม
ในที่นี้จะเน้นการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำ�หรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซี (B2C) ซึ่งเหมาะกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือธุรกิจที่ดำ�เนินการในลักษณะของบุคคลหรือกลุ่ม บุคคล ทั้งนี้ เพราะธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีการดำ�เนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์แบบอื่นๆ ก็จะมีส่วนที่รองรับธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีเช่นกัน ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ 1.1 กำ�หนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ การเริ่มต้นทำ�เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะต้องรู้ วัตถุประสงค์ว่าต้องการขายสินค้าหรือบริการลักษณะใด หรือกลุ่มเป้าหมายเป็นใคร ซึ่งจะส่งผลต่อการ เลือกวิธีการพัฒนา การตั้งช ื่อโ ดเมนเนม การเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ และแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ ทั้งนี้ หากเจ้าของเว็บไซต์พ ัฒนาเองก็จ ะเป็นผ ู้ก ำ�หนดวัตถุประสงค์เอง แต่ห ากว่าจ ้างบริษัทพ ัฒนา หรือม อบหมาย ให้ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศดำ�เนินการจะต้องบอกความต้องการหรือวัตถุประสงค์ให้กับกลุ่มที่เป็นเว็บ ครีเอทีฟของทีมพ ัฒนา 1.2 กำ�หนดทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์ มีได้หลายวิธี แต่ละวิธีก็มีข้อดีและข้อจำ�กัดที่มากน้อย แตกต่างกันไ ป ซึ่งจะได้กล่าวในประเด็นที่ 2 ต่อไป 1.3 จดทะเบียนโดเมนเนม เป็นขั้นตอนสำ�คัญของการเริ่มต้นที่จะมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง ซึ่งจะ ได้ก ล่าวต่อไปในเรื่องที่ 5.2.2
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-34
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.4 เตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นขั้นตอนสำ�คัญของการเริ่มต้นที่จะมีเว็บไซต์เป็นของตนเองเช่นกัน โดยมากมักจะดำ�เนินการควบคู่ไปกับการจดทะเบียนโดเมนเนม ซึ่งจะได้กล่าวต่อไปในเรื่องที่ 5.2.2 1.5 พัฒนาเว็บไซต์ โดยจะดำ�เนินการต่อเนื่องมาจากการกำ�หนดทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไ ปในเรื่องที่ 5.2.3
ธ ส
ม
2. ทางเลือกในการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
การที่จะมีเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์น ั้น มีทางเลือกในการพัฒนาหรือวิธีการได้มาของเว็บไซต์ หลายวิธี ได้แก่ พัฒนาเอง จ้างบริษัท จ้างบุคคลหรือฟรีแลนซ์21 (freelance) หรือใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูป ซึ่งแ ต่ละวิธีก็มีข้อดีแ ละข้อจำ�กัดท ี่มากน้อยแตกต่างกันไป 2.1 พัฒนาเอง เป็นการว่าจ้างผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาเว็บไซต์มาเป็นเจ้าหน้าที่ ประจำ�ขององค์กรเพื่อรับผิดชอบพัฒนาและดูแลเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ขององค์กร ข้อดีคือ ความสะดวกในการประสานงานในการพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซต์ ข้อจำ�กัดคือ คุณภาพของเว็บไซต์ จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของบุคลากรที่จ้างมา และหากจ้างผู้ที่มีความสามารถสูงก็จะมีค่าใช้จ่ายประจำ�มาก ซึ่งหากให้น้อยไปก็อ าจจะทำ�งานอยู่ก ับองค์กรได้ไ ม่นาน ดังนั้น วิธีนี้จะเหมาะสมกับองค์กรซึ่งมีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและรับบุคลากรเข้ามาเพื่อ สร้างทีมงาน แต่หากเป็นหน่วยงานขนาดเล็กเจ้าของธุรกิจมักจะต้องลงมือพัฒนาเอง ดังนั้น จึงจำ�เป็นต้อง ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ เช่น ภาษาโปรแกรมหรือคำ�สั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ รวมถึงการเชื่อมโยงเว็บไซต์กับฐานข้อมูล เป็นต้น 2.2 จ้างบริษัทพัฒนา เป็นการว่าจ้างบริษัทที่รับพัฒนาเว็บไซต์โดยเฉพาะ สามารถพิจารณาได้ จากชื่อเสียงและตัวอย่างผลงานของลูกค้า มักจะมีทีมงานประกอบด้วยบุคลากรที่เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น เว็บครีเอทีฟ ผู้เชี่ยวชาญเว็บมาร์เก็ตติ้ง นักออกแบบเว็บ นักพัฒนาเว็บ เป็นต้น ในการพัฒนาและดูแล เว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ขององค์กร ข้อดีคือ ได้เว็บไซต์ที่มีคุณภาพ เพราะมีทีมงาน มีการ ทำ�งานเป็นร ะบบ และมีประสบการณ์ ข้อจำ�กัดคือ การประสานงานอาจจะทำ�ได้ไม่สะดวกนัก และค่าใช้จ่าย ในการว่าจ้างค่อนข้างสูง ดังนั้น วิธีนี้จะเหมาะสมกับองค์กรซึ่งไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและไม่มีความเชี่ยวชาญ หรือหากมีหน่วยงานที่ร ับผิดช อบโดยตรงแต่มีบุคลากรไม่เพียงพอ เนื่องจากวิธีการนี้มีค่าใ ช้จ่ายค่อนข้างสูง ดังนั้น จึงควรพิจารณาเลือกอย่างรอบคอบ 2.3 จ้างฟรีแลนซ์พัฒนา เป็นการว่าจ้างผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาเว็บไซต์มา รับผิดชอบพัฒนาและดูแลเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ขององค์กร แต่ไม่ได้ทำ�งานประจำ�ที่องค์กร อาจจะทำ�งานประจำ�ที่บริษัทห รือห น่วยงานอื่น หรือท ำ�งานอิสระไม่สังกัดห น่วยงานใดก็ได้ ข้อดีค ือ ค่าใช้จ่าย ไม่ส ูงนัก ข้อจ ำ�กัดคือ การประสานงานอาจจะทำ�ได้ไม่สะดวกนัก และคุณภาพของเว็บไซต์ค วบคุมได้ยาก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
21 ฟรีแลนซ์ (freelance) เป็นผู้ที่รับจ้างทำ�งานอิสระไม่มีเงินเดือนประจำ�
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-35
ธ ส
ดังนั้น วิธีนี้จะเหมาะสมกับองค์กรซึ่งมีหรือไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงก็ได้ แต่ต้องการ ผู้เชี่ยวชาญมาทำ�งานเพียงชั่วคราว เพื่อทำ�งานร่วมกับทีมงาน หรือในบางช่วงเวลาที่มีบุคลากรไม่เพียงพอ วิธีนี้จะมีความเสี่ยงมากกว่าวิธีแรกและวิธีที่สอง เพราะการเลือกฟรีแลนซ์ที่มีคุณภาพและรับผิดชอบงาน นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย 2.4 การใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูป เป็นการใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูปที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว แต่จะออกแบบ หน้าตา หรือเท็มเพลต (template) และเครื่องมือ หรือฟีเจอร์ (feature) ต่างๆ ให้สามารถรองรับความ ต้องการที่หลากหลาย ซึ่งผู้ที่จะนำ�มาพัฒนาเป็นเว็บไซต์ของตนเองนั้นสามารถทำ�การดัดแปลงแก้ไขให้ เหมาะสมกับธุรกิจ ข้อดีคือ ค่าใช้จ่ายต่ำ� ไม่ต้องกังวลเรื่องการประสานงาน ข้อจำ�กัดคือ คุณภาพของ เว็บไซต์จ ะขึ้นอยู่กับฟีเจอร์ที่ม ี ดังนั้น วิธีนี้จะเหมาะสมกับองค์กรขนาดเล็กหรือบุคคลทั่วไปที่มีความรู้ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตในระดับพื้นฐาน เพียงพอที่จะดูแลและบริหารจัดการเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของตนเองได้ เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บไซต์สำ�เร็จรูป เช่น ตลาดดอตคอม (www.tarad.com) เรดีแพลน เน็ต (www.readyplanet.com) เป็นต้น ซึ่งหากมีเพียงเครื่องมือพื้นฐานมักจะไม่มีค่าใช้จ่าย แต่หากมี เครื่องมือเพิ่มเติมหรือรองรับธุรกิจข นาดใหญ่ข ึ้นก็จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นตามลำ�ดับ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.14 การเปรียบเทียบความต้องการด้านการตลาดกับเว็บไซต์สำ�เร็จรูปแ ต่ละแพ็กเกจของตลาดดอตคอม
ม
ที่มา: http://www.taradquickweb.com/new_qw/package/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554
5-36
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
จากภาพที่ 5.14 จะเห็นว่าเว็บไซต์สำ�เร็จรูปของเว็บไซต์ตลาดดอตคอมแบ่งเป็น 2 แพ็กเกจคือ แพ็กเกจพลาซ่าม อลล์ (plaza mall) และแพ็กเกจพรีเมี่ยมมอลล์ (premium mall) ซึ่งการตัดสินใ จเลือก แพ็กเกจใด ต้องให้เหมาะสมกับธุรกิจ ซึ่งแพ็กเกจพลาซ่ามอลล์จะมีแบบฟรี แต่สำ�หรับสินค้าเพียง 35 รายการเท่านั้น ส่วนแพ็กเกจพรีเมี่ย มมอลล์นั้น สำ�หรับธุรกิจที่คาดหวังร ายได้ตั้งแต่ 150,000 บาทขึ้นไป การใช้ว ิธีใ ดก็ตามในการพัฒนาเว็บไซต์จ ำ�เป็นต ้องวิเคราะห์ค วามต้องการของผู้ท ี่ว ่าจ ้างพัฒนาหรือ เจ้าของธุรกิจ ซึ่งโดยมากแล้วอาจจะพิจารณาร่วมกับแผนธุรกิจ หรือหารือร่วมกันระหว่างผู้ว่าจ้างพัฒนา กับผู้รับจ้าง เพื่อหาข้อสรุปร่วมกัน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.2.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.2.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.1
ธ ส
ม
เรื่องที่ 5.2.2 การจดทะเบียนโดเมนเนม และการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์
ม
ธ ส
1. การจดทะเบียนโดเมนเนม
ธ ส
ม
การจดทะเบียนโดเมนเนมสำ�หรับเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (domain name registration) เป็นขั้นตอนที่นำ�ชื่อเว็บไซต์หรือโดเมนเนมที่ต้องการไปจดทะเบียน เพื่อจะได้ไม่มีใครมาจดทะเบียน โดเมนเนมซ้ำ� โดยมากจะทำ�ไปพร้อมกับการสมัครใช้บริการเว็บโ ฮสติ้ง22 (web hosting) เพราะผู้ให้บริการ จะบริการจดทะเบียนโดเมนเนมให้ด ้วย ทั้งนี้ โดเมนเนมที่จดทะเบียนจะมีอายุการใช้งานสามารถจดทะเบียนโดเมนเนมได้ 1-10 ปี เมื่อ โดเมนเนมใกล้หมดอายุจะได้รับการแจ้งเตือนจากผู้ให้บริการ หากต้องการใช้งานโดเมนเนมเดิมจำ�เป็น ต้องต่ออายุ ไม่เช่นนั้นอาจมีผู้อื่นมาจดทะเบียนโดเมนเนมชื่อเดียวกันได้ ซึ่งการจดทะเบียนโดเมนเนม มีประเด็นท ี่ต ้องพิจารณา ดังนี้ 1.1 การตั้งชื่อ ในการสร้างเว็บไซต์จำ�เป็นต้องคิดและเลือกชื่อเว็บไซต์หรือโดเมนเนมอย่างรอบ คอบ เพราะเป็นชื่อที่จะใช้เรียกเว็บไซต์ หรือให้จดจำ�ง่ายทำ�ให้เกิดเป็นสัญลักษณ์ และทำ�การตลาดเพื่อ ส่งเสริมการขายต่อไป ซึ่งก ารตั้งชื่อโ ดเมนเนมมีกฎดังนี้
ธ ส
ม
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
22 เว็บโฮสติ้ง (web hosting) คือ คอมพิวเตอร์แ ม่ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์ (server) ที่ให้บริการจัดเก็บเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นมา
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-37
ธ ส
- ต้องเป็นชื่อภาษาไทยล้วนหรือภาษาอังกฤษล้วน ไม่ใช้ภาษาอังกฤษและภาษาไทยปนกัน มีความยาว 2-46 ตัวอักษร - ต้องไม่มีสัญลักษณ์พ ิเศษต่างๆ เช่น @ ! # $ % ^ & * ( ) _ + = - สามารถใช้เครื่องหมาย -(dash) ได้ แต่ห้ามอยู่หน้าสุดหรือหลังสุด เช่น หากกำ�หนด โดเมนเนมเป็น -webdeedee.com หรือ webdeedee-.com จะไม่สามารถจดทะเบียนโดเมนเนมได้ แต่หากกำ�หนดโดเมนเนมเป็น web-dee-dee.com จะสามารถจดทะเบียนโดเมนเนมได้ เป็นต้น ข้อคำ�นึงหลักๆ ในการเลือกชื่อโ ดเมน มีดังนี้ - ควรใช้ชื่อที่มีลักษณะสื่อความหมาย สั้น กระชับ จดจำ�ง่าย หรือสะกดง่าย อาจจะเป็น ชื่อบริษัท ชื่อตราสินค้า ชื่อที่จดจำ�ง่าย ชื่อที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของเจ้าของเว็บไซต์หรือบ่งบอกสินค้า หรือประเภทธุรกิจของเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์แม่กิมลั้ง http://www.maekimlung.com/ เป็นชื่อเจ้าของ เว็บไซต์แซดควิซีเนอร์ http://www.zcuisiner.com เป็นธุรกิจจัดเลี้ยงและอาหาร เป็นต้น รวมถึงควร ตั้งชื่อให้มีความน่าเชื่อถือเหมาะสมกับประเภทธุรกิจ - ควรหลีกเลี่ยงชื่อท ี่มีลักษณะเป็นคำ�ถาม คำ�พ้องเสียง ชื่อยาวเกินความจำ�เป็น คล้ายคลึง กับเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียง หรือก ารใช้เครื่องหมาย เช่น พักที่ไหนดอตคอม ใช้ชื่อเว็บไซต์เป็น www.pakteenai.com หรือ www.pukteenai.com หรือเว็บฟอร์ยู ใช้ชื่อเว็บไซต์เป็น www.web4u.com www.web foryou.com เป็นต้น ไม่ควรตั้งชื่อลักษณะนี้ เพราะจะทำ�ให้สะกดผิด จำ�ได้ยาก และสับสน สำ�หรับการ ตั้งชื่อเว็บไ ซต์ยาวๆ นั้นอาจจะยกเว้นให้เฉพาะชื่อซึ่งเป็นที่รู้จักอยู่แล้วอาจจะใช้ชื่อยาวได้ 1.2 การตรวจสอบ หลังจากคิดและเลือกโดเมนเนมที่ต้องการแล้ว จำ�เป็นต้องตรวจสอบว่า โดเมนเนมที่ต้องการนั้นยังไม่ได้จดทะเบียนหรือยังว่างอยู่ สามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ที่ให้บริการจด โดเมนเนม เช่น เว็บไซต์ไ ทยอินเทอร์นิก http://www.thaiinternic.com/th/index.htm เว็บไซต์ตลาด ควิกเว็บ http://www.taradquickweb.com/new_qw/domain/ หรือเว็บไ ซต์เช็กโดเมน http://www. checkdomain.com/ เป็นต้น โดยกรอกโดเมนเนมที่ต้องการ และเลือกชนิดของโดเมนเนม ทั้งนี้ หากโดเมนเนมที่ต้องการมีผู้จดทะเบียนไปแล้ว และต้องการได้ชื่อนั้น ก็สามารถค้นหาชื่อ เจ้าของโดเมนเนมหรือผู้ท ี่จดทะเบียนเพื่อต ิดต่อขอซื้อได้ เว็บไซต์ที่ให้บริการตรวจสอบ เช่น เว็บไซต์โพราร์ http://www.porar.com/register-domainname-th.html เว็บไซต์ฮูอีส http://domains.whois. com/domain.php (ภาพที่ 5.15) เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-38
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.15 เว็บไซต์ท ใี่ ห้บริการตรวจสอบข้อมูลเจ้าของโดเมนเนม
ธ ส
ที่มา: เว็บไซต์ http://domains.whois.com/domain.php?action=whois
ม
1.3 การเตรียมข้อมูล จากนั้นควรเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำ�หรับการจดทะเบียนโดเมนเนม เช่น - username และ password ที่จะใช้สำ�หรับการจดทะเบียนโดเมนเนม - primary DNS และ secondary DNS ที่จะใช้สำ�หรับชี้โดเมนเนมที่จดทะเบียนแล้วไป ยังเว็บโฮสติ้งที่ได้เปิดใช้บริการไว้ ข้อมูลนี้จะได้มาจากการสมัครใช้บริการเว็บโฮสติ้ง เช่น เว็บไซต์เรดี แพลนเน็ต www.readyplanet.com เว็บไซต์ทีเอชเว็บโ ฮสต์ http://www.thwebhost.com/ เป็นต้น - ข้อมูลข องผู้ท ี่จะจดทะเบียนโดเมนเนมที่จะใช้สำ�หรับก ารติดต่อ เช่น ชื่อ ที่อยู่ หมายเลข โทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร หรืออีเมล เป็นต้น - ข้อมูลบ ัตรเครดิตที่จะใช้ชำ�ระค่าจ ดทะเบียนโดเมนเนม โดเมนเนมของไทยที่ลงท้ายด้วย .th จำ�เป็นต้องมีเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการขอจดทะเบียน โดเมนเนม ดังนี้ - หากเป็นการจดทะเบียนโดเมนเนมโดยใช้ชื่อองค์กร โดเมนเนมต้องสอดคล้อง หรือเป็น ส่วนใดส่วนหนึ่งห รือย่อมาจากชื่อองค์กร และจดทะเบียนได้เพียงโดเมนเนมเดียว ก) กรณีที่เป็นองค์กรในประเทศไทย เอกสารที่ต้องใช้เพิ่มเติม ได้แก่ หนังสือรับรอง บริษัท ใบ ภ.พ.20 (ภาษีมูลค่าเพิ่ม) หรือใบ ท.ค.0401 (ทะเบียนการค้า) ข) กรณีที่เป็นองค์กรต่างประเทศ ต้องมีตัวแทนที่จดทะเบียนบริษัทในประเทศไทย เอกสารที่ต ้องใช้เพิ่มเติม ได้แก่ หนังสือร ับรองบริษัทต ่างประเทศ หนังสือร ับรองบริษัทต ัวแทนที่จ ดทะเบียน บริษัทในประเทศไทย หนังสือรับรองที่รับรองโดยบริษัทต่างประเทศ ซึ่งมีใจความสำ�คัญ 2 ใจความ คือ รับรองบริษทั ท จี่ ดทะเบียนในประเทศไทยเป็นบ ริษทั ต วั แทน และรบั รองการอนุญาตใช้ช ือ่ อ งค์กรตา่ งประเทศ ในการจดทะเบียนโดเมนเนม ให้ลงท้ายด้วย .co.th
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-39
ธ ส
- หากเป็นการจดทะเบียนโดเมนเนมโดยใช้เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการ โดเมนเนมต้องตรงกับเครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการทุกตัวอักษร และเครื่องหมายการค้าหรือ เครือ่ งหมายบริการตอ้ งจดทะเบียน และประกาศรบั รองโดยกรมทรัพย์สนิ ท างปญ ั ญาของประเทศไทย เอกสาร ที่ต้องใช้เพิ่มเติม ได้แก่ หนังสือสำ�คัญแ สดงการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการ 1.4 การเลือกระยะเวลา ในการจดทะเบียนโดเมนเนมสามารถกำ�หนดระยะเวลาที่ต้องการจด ทะเบียนได้ ซึ่งจะมีราคาแตกต่างกันไป เช่น เว็บไซต์ www.porar.com ซึ่งให้บริการรับจดทะเบียน โดเมนเนมได้กำ�หนดราคาไว้ว่า โดเมนเนมลงท้ายด้วย .com หรือ .biz ค่าจดทะเบียนโดเมนเนม 1 ปี 450 บาท 2 ปี 890 บาท 3 ปี 1,320 บาท 4 ปี 1,740 บาท และ 5 ปี 2,150 บาท หรือโดเมนเนมลงท้ายด้วย .co.th ค่าจดทะเบียนโดเมนเนม 1 ปี 800 บาท 2 ปี 1,500 บาท 3 ปี 2,250 บาท 4 ปี 3,000 บาท และ 5 ปี 3,750 บาท เป็นต้น 1.5 การระบุโดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์ (DNS server) หากเช่าบริการเว็บโฮสติ้งไว้แล้วก็จะได้รับ โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์หลัก (primary DNS) และโดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์รอง (secondary DNS) จากผู้ให้ บริการเว็บโฮสติ้ง เพื่อใช้ระบุและชี้โดเมนเนมไปยังเว็บโฮสติ้งที่เปิดใช้บริการไว้ แต่หากยังไม่ได้เช่าเว็บ โฮสติ้งอาจจดทะเบียนโดเมนเนมไว้ก่อนโดยยังไม่นำ�ไปใช้งาน นอกจากนี้ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการ เว็บโฮสติ้งก็จะต้องมาแก้ไขข้อมูลเหล่านี้ด ้วย ทั้งนี้ หากไม่ต้องการมีโดเมนเนมเป็นของตัวเองก็สามารถใช้โดเมนเนมย่อย (sub domain name) ได้ เช่น เว็บไซต์ www.tarad.com/nicelife ซึ่งเจ้าของโดเมนเมนคือ www.tarad.com โดย เปิดโดเมนเนมย่อยให้กับเจ้าของเว็บไซต์ในชื่อ nicelife ข้อดีคือ ไม่มีค่าบริการ หรือเป็นการให้พื้นที่ เว็บไซต์ฟรี แต่ข้อเสียคือ ไม่ได้เป็นเจ้าของโดเมนเนม หากต้องการเปลี่ยนผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้งก็จะทำ� ไม่ได้ มักจะอยู่รวมในเว็บเซิร์ฟเวอร์เดียวกันแต่มีหลายเว็บไซต์ การทำ�ให้ติดอันดับต้นๆ ของเสิร์ชเอนจิน มีโอกาสน้อยมาก รวมถึงพื้นที่หรือเครื่องมือต่างๆ มักจะมีให้ใช้งานน้อย ขึ้นอยู่กับเจ้าของโดเมนเนมเป็น หลัก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
2. การเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ (web server) สำ�หรับจัดเก็บและเผยแพร่เว็บไซต์ (ภาพที่ 5.16) นั้น สามารถดำ�เนินก ารได้หลายวิธี ดังนี้ - การจัดตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ขึ้นมาเอง - การขอใช้พื้นที่จ ากเว็บเซิร์ฟเวอร์จากหน่วยงานที่สังกัด - การขอใช้พ ื้นทีฟ่ รีจ ากผใู้ ห้บ ริการเว็บเซิร์ฟเวอร์ฟ รี เช่น www.tripod.com www.yahoo. com www.google.com เป็นต้น - การเช่าเว็บเซิร์ฟเวอร์จ ากผู้ใ ห้บริการ หรือเว็บโฮสติ้ง (web hosting)
ม
ม
ธ ส
ม
5-40
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.16 การจัดเก็บเว็บไซต์ใ นเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อเผยแพร่ส ู่อินเทอร์เน็ต
ธ ส
ที่มา: พิภัช ดวงคำ�สวัสดิ์ สไลด์การบรรยายเรื่อง หลักการออกแบบเว็บเพจ
ธ ส
การมีเว็บไซต์นั้นต้องการพื้นที่จัดเก็บ หากต้องจัดตั้งเซิร์ฟเวอร์ขึ้นมาเองจะมีค่าใช้จ่ายสูงและ ต้องมีผู้ดูแลระบบด้วย สำ�หรับองค์กรขนาดใหญ่ มีศูนย์คอมพิวเตอร์ และมีบุคลากรทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศอยู่แล้ว อาจจะจัดตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ขึ้นเอง แต่สำ�หรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กอาจ จะเลือกใช้บริการเช่าพื้นที่จากผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้ง มีให้เลือกหลายรายและหลากหลายแพ็กเกจ ใน ที่นี้จะกล่าวถึงการเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์โดยการเช่าจากผู้ให้บริการหรือเว็บโฮสติ้งเป็นหลัก เนื่องจาก ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจขนาดกลาง ธุรกิจขนาดเล็ก หรือเป็นบุคคล ทั่วไป ซึ่งการเลือกผู้ใ ห้บริการเว็บโฮสติ้ง มีข ้อควรพิจารณา ดังนี้ 1) ความน่าเชื่อถือ ควรเลือกบริษัทที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ซึ่งจะมีความมั่นคงมากกว่า รวมถึงประสบการณ์การให้บริการ ลูกค้าที่ใช้บ ริการ และรายละเอียดหรือข้อมูลที่ให้กับลูกค้า 2) การให้ความช่วยเหลือ ควรเลือกบริษัทที่มีบริการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่เซิร์ฟเวอร์ เกิดขัดข้อง ผู้ให้บริการบางรายมีการให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง บางรายหากติดต่อในช่วงวันหยุด หรือนอกเวลาทำ�การอาจจะต้องรอไม่สามารถดำ�เนินการได้ในทันที รวมถึงความเชี่ยวชาญของทีมดูแล ลูกค้า 3) สถานทตี่ งั้ ควรพิจารณาสถานทีต่ ั้งข องเว็บเซิร์ฟเวอร์ ผู้ให้บ ริการบางรายมที ีต่ ั้งเซิร์ฟเวอร์ ในหลายประเทศ ทำ�ให้ผู้เช่าสามารถเลือกได้ว่าต้องการวางเว็บไซต์ไว้ที่ใดเพื่อให้ใกล้กับกลุ่มลูกค้า และ มีผลต่อความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลด้วย เช่น ผู้ใ ห้บริการของไทยรับวางเว็บไซต์ทั้งในประเทศไทยและต่าง ประเทศ หากเว็บไซต์มีกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มลูกค้าอยู่ในประเทศ ก็ควรเลือกวางเว็บไซต์ไว้กับเซิร์ฟเวอร์ ในประเทศไทย แต่หากเว็บไซต์มีกลุ่มเป้าหมายอยู่ในต่างประเทศ ก็ควรเลือกวางเว็บไซต์ไว้กับเซิร์ฟเวอร์ ในต่างประเทศ
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-41
ธ ส
4) คุณสมบัติของเซิร์ฟเวอร์ ควรพิจารณารายละเอียดอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเซิร์ฟเวอร์ที่มี คุณภาพและประสิทธิภาพ ทั้งห น่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ� และฮาร์ดดิสก์ของเซิร์ฟเวอร์ เพื่อจะ ได้ม ั่นใจว่าเว็บโ ฮสติ้งจะพร้อมให้บริการอยู่เสมอ 5) ระบบปฏิบัติการ ควรตรวจสอบระบบปฏิบัติการที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้ รวมถึงรุ่น หรือเวอร์ชั่นข องซอฟต์แวร์ท ี่ติดตั้งบ นเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งจะต้องเหมือนกับในช่วงของการพัฒนา นอกจากนี้แล้ว ต้องพิจารณาว่าเซิร์ฟเวอร์ส ามารถรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ผู้พัฒนาต้องการได้ด้วย 6) ระบบสำ�รองข้อมูล ควรพิจารณาผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้งที่มีบริการสำ�รองข้อมูล สำ�หรับ รองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ฉ ุกเฉินที่อาจก่อความเสียหายต่อข้อมูล 7) โดเมนเนม ผู้ให้บริการบางรายให้เช่าเว็บโฮสติ้งพร้อมกับจดโดเมนเนม และ/หรือการ ต่ออายุโดเมนเนมฟรี ทั้งนี้ จำ�นวนโดเมนเนมบนเซิร์ฟเวอร์หนึ่งๆ ไม่ควรมีมากนัก เพราะจะเกิดก ารแย่งใช้ ทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์ 8) ราคาค่าบริการ ผู้ให้บริการแต่ละรายจะมีการกำ�หนดราคาค่าบริการคล้ายกันบ้างต่างกัน บ้าง อาจจะพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ เช่น ระยะเวลาการเช่า ระบบปฏิบัติการบนเซิร์ฟเวอร์ ปริมาณข้อมูล ที่รับ-ส่ง และดาวน์โหลด-อัพโหลด หรือจำ�นวนอีเมล เป็นต้น 9) ระบบบริหารจัดการ ควรมีระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ท ี่ใช้งานสะดวก ผู้ให้บริการหลาย รายพัฒนาระบบบริหารจัดการเว็บไซต์เป็นภาษาไทย โดยมีฟีเจอร์สำ�คัญ เช่น ระบบจัดการไฟล์ ระบบ จัดการอีเมล ระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบช่วยเหลือหรืออำ�นวยความสะดวกอื่นๆ รวมถึงสถิติต่างๆ เกี่ยวกับผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ เป็นต้น 10) ระบบอีเมล ส่วนใหญ่การเช่าเว็บโฮสติ้งจะมีฟีเจอร์ส่วนที่เป็นระบบจัดการอีเมลด้วย แต่จะมีจำ�นวนเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับราคาค่าบริการด้วย ทั้งนี้ ผู้ให้บริการบางรายจะมีระบบป้องกันอีเมลขยะ และไวรัสคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ การจดทะเบียนโดเมนเนม การเตรียมเว็บเซิร์ฟเวอร์ และการเลือกใช้บริการจากผู้ให้บริการ เว็บโฮสติ้งนั้น ควรดำ�เนินการไปควบคู่ก ันไปตั้งแต่ได้มีการวางแผนจะมีเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็น ของตนเอง เพราะจะเกี่ยวข้องกับการวางแผนธุรกิจ การสร้างชื่อหรือตราสินค้า การทำ�การตลาด รวมถึง งบประมาณที่ต้องจัดสรรสำ�หรับการพัฒนาเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.2.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.2.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.2
5-42
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
เรื่องที่ 5.2.3 แนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
แนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์มีด้วยกันหลายวิธี อาทิ โดยการเขียนด้วยภาษาโปรแกรม โดยการ แมชอัพ (mashup) และโดยการใช้ระบบจัดการเนื้อหา (CMS) ในเรื่องนี้จะกล่าวถึงแนวทางการพัฒนา โดยการแมชอัพ ส่วนแนวทางการพัฒนาโดยการใช้ระบบจัดการเนื้อหา จะได้กล่าวต่อไปในตอนที่ 5.3
1. ความหมายของแมชอัพ
ธ ส
ม
ธ ส
ในการพัฒนาเว็บไซต์นั้น คำ�ว่า แมชอัพ หมายถึง เว็บเพจหรือเว็บแอพพลิเคชั่นที่ใช้หรือผสม ผสานข้อมูลจากสองแหล่งขึ้นไปเพื่อให้เกิดบริการผ่านเว็บในรูปแบบใหม่ๆ การสร้างเว็บแมชอัพจึงสามารถ ดำ�เนินการได้ง ่ายและรวดเร็วกว่าก ารสร้างเว็บไซต์แบบเดิม โดยมักจ ะใช้ส ่วนต่อป ระสานโปรแกรมประยุกต์ แบบเปิด หรือโอเพ่นเอพีไอ23 (open APIs) และแหล่งข้อมูลหลายแหล่งเพื่อสร้างเป็นเว็บท ี่มีข้อมูลมากมาย ที่น่าสนใจโดยไม่ต้องสร้างข้อมูลขึ้นเอง ลักษณะเด่นของเว็บแมชอัพ ได้แก่ การผสมผสาน (combination) การเห็นเป็นภาพ หรือวิชวลไลเซชั่น (visualization) และการรวมกันเป็นกลุ่ม (aggregation) เพื่อนำ�ข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาทำ�ให้เกิด ประโยชน์ม ากยิ่งขึ้น
ธ ส
ม
2. ประเภทของแมชอัพ
ธ ส
ม
ม
แมชอัพมีด้วยกันหลายประเภท ในที่นี้จะกล่าวถึง 3 ประเภทที่นิยมพัฒนา ได้แก่ แมชอัพเชิง ธุรกิจ แมชอัพเชิงผู้บ ริโภค และแมชอัพเชิงข้อมูล มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 แมชอัพเชิงผู้บริโภค (consumer mashup) เป็นเว็บแอพพลิเคชั่นที่ผสมผสานข้อมูลชนิด ต่างๆ จากแหล่งข้อมูลสาธารณะหลายแหล่งที่เผยแพร่อยู่บนอินเทอร์เน็ต แล้วนำ�มาจัดอยู่ในเว็บไซต์ใหม่ และเป็นประเภทที่นิยมพัฒนากันโดยทั่วไป เช่น วิกิพีเดียวิชั่น (Wikipediavision) (ภาพที่ 5.17) ผสม ผสานกูเกิ้ลแม็บส์ (Google Maps) กับว ิกิพ ีเดียเอพีไอ (Wikipedia API)
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
23 โอเพ่นเอพีไ อ (open API-open Application Programming Interface) เป็นชุดของเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เว็บไซต์ต่างๆ
สามารถทำ�งานร่วมกันหรือโต้ตอบระหว่างกันได้ ซึ่งเป็นแนวโน้มของการทำ�เว็บแอพพลิเคชั่นในยุคนี้และในอนาคต
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.17 เว็บไ ซต์วิกพิ ีเดียวิชั่น
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.lkozma.net/wpv/index.html ค้นคืนเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2554
ม
5-43
ธ ส
ม
ธ ส
ม
2.2 แมชอัพเชิงข ้อมูล (data mashup) เป็นเว็บแอพพลิเคชั่นที่ผสมผสานสื่อและข้อมูลหลายชนิด ที่มีลักษณะคล้ายๆ กันจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง โดยการผสมผสานนี้จะสร้างเว็บเซอร์วิสใหม่ๆ ที่ไม่มี ในแหล่งข้อมูลใดมาก่อน เช่น เว็บไซต์ http://www.kayak.com/ เป็นต้น ซึ่งตรงข้ามกับแมชอัพเชิง ผู้บริโภค 2.3 แมชอัพเชิงธุรกิจ (business mashup) เป็นเว็บแอพพลิเคชั่นที่ผสมผสานทรัพยากร แอพพลิเคชั่น และข้อมูลของตนเองกับเว็บเซอร์วิสภายนอก โดยเน้นการนำ�เสนอข้อมูลและอนุญาตให้มี การดำ�เนินการใดๆ ร่วมกันระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ และ/หรือธุรกิจกับนักพัฒนา เหมาะสำ�หรับการพัฒนาที่ ต้องการความรวดเร็วในส่วนของการนิยามความต้องการของธุรกิจ แมชอัพประเภทนี้จะมีความปลอดภัย เป็นเว็บแอพพลิเคชั่นที่ม ีข้อมูลท ันสมัยทั้งจ ากแหล่งข้อมูลภายในและภายนอกองค์กร แมชอัพเชิงธุรกิจแตกต่างจากแมชอัพเชิงผู้บริโภคในเรื่องของการบูรณาการกับสภาพแวดล้อมใน การประมวลผล ความปลอดภัย การควบคุมการเข้าถึง เครื่องมือการเขียนโปรแกรม ตลอดจนทิศทางการ เติบโตของการใช้แมชอัพเชิงธุรกิจก ับเอสเอเอเอส (SaaS - Software as a Service) นอกจากนี้ ผู้จัดหา เทคโนโลยีสำ�หรับแมชอัพเชิงธุรกิจส่วนใหญ่จ ะเพิ่มฟีเจอร์เกี่ยวกับเอสโอเอเข้าไปด้วย
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-44
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
3. สถาปัตยกรรมของแมชอัพ
ม
ธ ส
สถาปัตยกรรมของแมชอัพแบ่งได้เป็น 3 ชั้นหรือเลเยอร์ (layers) ดังนี้ 3.1 การนำ�เสนอ เป็นส่วนต่อประสานของแมชอัพ เทคโนโลยีที่ใช้ในเลเยอร์นี้คือ เอชทีเอ็มแอล เอ็กซ์เอชทีเอ็มแอล ซีเอสเอส จาวาสคริปต์ และเอแจ็กซ์ 3.2 เว็บเซอร์วิส เป็นฟังก์ชันต่างๆ ที่สามารถเข้าถึงได้โดยใช้เซอร์วิสเอพีไอ เทคโนโลยีที่ใช้ใน เลเยอร์นี้คือ เอ็กซ์เอ็มแอลเอชทีทีพีรีเควส (XMLHTTPRequest) เอ็กซ์เอ็มแอลอาร์พีซี (XML-RPC) เจซันอาร์พีซี (JSON-RPC) โซ้พ (SOAP) และเรสต์ (REST) 3.3 ข้อมูล เป็นการจัดการข้อมูล เช่น การส่ง การจัดเก็บ และการรับ เทคโนโลยีที่ใช้ในเลเยอร์นี้ คือ เอ็กซ์เอ็มแ อล เจซัน และเคเอ็มแอล24 (KML) จากสถาปัตยกรรมทั้ง 3 ชั้นที่กล่าวมานี้ สามารถจำ�แนกแมชอัพได้เป็น 2 สไตล์ คือ อิงเว็บหรือ เว็บเบส (web-based) และอิงเซิร์ฟเวอร์หรือเซิร์ฟเวอร์เบส (server-based) ในขณะที่แมชอัพอิงเว็บ โดยทั่วไปจะใช้เว็บเบราเซอร์ในฝั่งผู้ใช้เพื่อผสมผสานและปรับเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูล แต่แมชอัพอิง เซิร์ฟเวอร์จะวิเคราะห์และปรับเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูลที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่งข้อมูลไปยังเบราเซอร์ของ ผู้ใช้ตามรูปแบบที่กำ�หนดไว้
ธ ส
ม
ธ ส
4. การสร้างเว็บแมชอัพ
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
การสร้างเว็บแมชอัพที่ขั้นตอน ดังนี้ 4.1 กำ�หนดหัวเรื่อง เป็นการตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามให้ชัดเจนว่าต้องการจะสร้างเว็บแมชอัพ เกี่ยวกับเรื่องอะไร เพราะจะนำ�ไปสู่การเลือกใช้เอพีไอและเครื่องมือต่างๆ เช่น ต้องการระบุตำ�แหน่งของ สถานที่ลงบนแผนที่ จำ�เป็นต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนที่ ภาพถ่าย บุ๊กมาร์ก และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น จากนั้น ควรค้นหาเอพีไอต่างๆ ที่ต้องการบนเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์ http://www.programmableweb. com/apis เป็นต้น และควรค้นหาตัวอย่างแอพพลิเคชั่นเว็บแมชอัพต่างๆ ที่นำ�เอพีไอเหล่านั้นไปใช้งาน เช่น เว็บไซต์ http://www.programmableweb.com/mashups เป็นต้น เพื่อจะได้ใช้เป็นแนวทางใน การกำ�หนดหัวเรื่องต่อไ ป 4.2 กำ�หนดแหล่งข้อมูล เป็นการตัดสินใจว่าจะใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใดบ้าง เพราะมีผลต่อ เอพีไอที่จะนำ�มาใช้ เช่น ต้องการดำ�เนินการเกี่ยวกับภาพถ่ายบนเว็บไซต์ฟลิกเกอร์ (Flickr) หรือรายการ ขายบนเว็บไซต์อีเบย์ (eBay) เป็นต้น ก็จะต้องพิจารณาเลือกใช้เอพีไอจากเว็บไซต์เหล่านี้ก่อน
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
24 เค เอ็มแอล (KML - Keyhole Markup Language) คือรูปแบบไฟล์ที่ใช้แสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในเบราเซอร์ที่ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับโลก (Earth browser) เช่น กูเกิ้ลเอิร์ธ (Google Earth) กูเกิ้ลแม็บ (Google Maps) เป็นต้น โดย เคเอ็มแอล ใช้โครงสร้างแท็ก (tag) กำ�กับการแสดงผลและอิงตามมาตรฐานเอ็กซ์เอ็มแอล
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-45
ธ ส
4.3 ประเมินท ักษะการเขียนโปรแกรม เป็นการพิจารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับทักษะในการเขียน โปรแกรมของผู้พัฒนา เอพีไอบางอย่างอาจจะใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน เช่น แผนที่ แต่ก็มีบางเอพีไอที่มีความ ซับซ้อนมาก เช่น เอพีไอเกี่ยวกับการเงิน การประมูล เป็นต้น หากซับซ้อนมากก็จะใช้เวลามาก ดังนั้น หากจะเลือกใช้เอพีไอจึงควรพิจารณาด้วยว่าเอพีไอเหล่านั้นใช้ภาษาโปรแกรมใด และควรพิจารณาว่าใน การสร้างเว็บแมชอัพจ ะเลือกใช้ภาษาโปรแกรมใด 4.4 ลงทะเบียนขอใช้เอพีไ อ ผู้ให้บริการเอพีไอส่วนใหญ่จ ะต้องการให้ผู้นำ�เอพีไอไปใช้ลงทะเบียน กับทางเว็บไซต์เอาไว้ มีทั้งแบบเลขทะเบียนเดียวสามารถใช้ได้หลายแอพพลิเคชั่น และแบบเลขทะเบียน เดียวใช้ได้แอพพลิเคชั่นเดียว มีทั้งแบบขั้นตอนการลงทะเบียนซับซ้อนและไม่ซับซ้อน เช่น หน้าเว็บไซต์ การลงทะเบียนของกูเกิ้ล http://code.google.com/apis/maps/signup.html เป็นต้น 4.5 ลงมือเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการสร้างเว็บแมชอัพโดยใช้เอพีไอตามที่ได้พิจารณาหรือ เลือกไว้แล้วในขั้นตอนต่างๆ ก่อนหน้านี้ โดยเอพีไอที่จะนำ�มาใช้จะมีเอกสารแนะนำ�การใช้งานตามเว็บไซต์ ต่างๆ ที่ให้บริการ
ธ ส
ม
ธ ส
5. ข้อดีและข้อจำ�กัดข องเว็บแมชอัพ
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
5.1 ข้อดีของเว็บแ มชอัพ มีหลายประการ ดังนี้ - การนำ�แอพพลิเคชั่นที่มีอยู่แ ล้วกลับมาใช้ซ้ำ� - การพัฒนาแอพพลิเคชั่นดำ�เนินไปได้อย่างรวดเร็ว - การพัฒนาเว็บแ มชอัพไม่จำ�เป็นต ้องอาศัยทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากมายนัก - ต้นทุนห รือค่าใช้จ ่ายในการพัมน าแอพพลิเคชั่นจะลดลงไปได้อย่างมาก - แอพพลิเคชัน่ ทีพ่ ัฒนาจะตรงตามความจำ�เป็นข องผูใ้ ช้ เพราะผูใ้ ช้ส ามารถสร้างเว็บแ มชอัพ ที่มีเนื้อหาตามต้องการ ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ไม่สามารถพัฒนาด้วยตนเอง เนื่องจากมีข้อจำ�กัดในเรื่องเวลาและ ทรัพยากร 5.2 ข้อจำ�กัดของเว็บแ มชอัพ มีหลายประการ ดังนี้ - ผูใ้ ช้ไ ม่ส ามารถควบคุมค ุณภาพและฟีเจอร์ต ่างๆ ของเนื้อหาได้ และการให้ค วามช่วยเหลือ จากเจ้าของเอพีไอไม่สามารถรับประกันได้ - ผู้ให้บริการเอพีไออาจจะไม่สามารถขยายระบบรองรับได้ หากมีผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เป็น จำ�นวนมากใช้งานเอพีไอผ่านทางเว็บแมชอัพท ี่พัฒนาขึ้น - ความครบถ้วนสมบูรณ์ของเนื้อหาไม่สามารถรับประกันได้ - แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ไม่ได้สร้างขึ้นบนแนวคิดเอสโอเอ (SOA - Service-Oriented Architecture) ดังนั้น การเข้าถึงข ้อมูลจึงท ำ�ได้ยาก - ซอฟต์แวร์ท ีส่ ามารถเข้าถ ึงไ ด้ด ้วยเว็บเบราเซอร์เท่านั้นจ ึงจ ะสามารถนำ�มาสร้างเว็บแ มชอัพ ดังนั้น หากเป็นแ อพพลิเคชั่นสำ�หรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะจะไม่ทำ�งานร่วมกับเว็บแ มชอัพได้ค่อนข้างยาก
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-46
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
- การรักษาความปลอดภัยของเนื้อหาโดยเฉพาะข้อมูลที่มีความสำ�คัญและละเอียดอ่อน เป็นเรื่องที่จำ�เป็นต้องให้ความสนใจ - การสร้างเว็บแมชอัพไม่มีมาตรฐานใดๆ ควบคุม ดังนั้น การออกแบบและสร้างกลไก เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยจะยากขึ้นเรื่อยๆ รายละเอียดของตัวอย่างเครื่องมือในการสร้างเว็บแมชอัพสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ จากเว็บไซต์ http://pipes.yahoo.com/pipes/ ไพพ์ (Pipes) เป็นเครื่องมือหรือบริการฟรีสำ�หรับการสร้าง เว็บแมชอัพจ ากยาฮู ซึ่งช่วยสร้างเว็บแมชอัพแ บบวิชวลและไม่ต้องมีการเขียนโค้ดภาษาโปรแกรม เพียงแค่ ลากและวางแหล่งข้อมูลและตัวดำ�เนินการต่างๆ แล้วเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน รายละเอียดของเทคโนโลยีและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการสร้างเว็บแมชอัพศึกษาเพิ่มเติมได้จาก เว็บไซต์ http://www.programmableweb.com/reference
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.2.3 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.2.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.3
ธ ส
ม
ม
เรื่องที่ 5.2.4 ฟีเจอร์ใ นเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
เว็บไซต์เพื่อพ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต ้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ม ีฟีเจอร์25 (features) ต่างๆ เพื่อรองรับ การทำ�ธุรกรรมหรือการค้าขายออนไลน์ ฟีเจอร์หลักๆ ที่ควรมี ได้แก่ แคตาล็อกสินค้าออนไลน์ (online catalog) ตะกร้าสินค้าออนไลน์ (online shopping cart) และระบบรับชำ�ระเงินด้วยบัตรเครดิตออนไลน์ (online credit card processing)
ธ ส
1. แคตาล็อกสินค้าอ อนไลน์
ม
ม
ธ ส
แคตาล็อกสินค้าออนไลน์ (online catalog) คือ รายการสินค้าทั้งหมดที่จำ�หน่ายในเว็บไซต์ (ภาพที่ 5.18) หากองค์กรต้องการขายสินค้าตัวใดก็จะต้องมีรายการสินค้าเหล่านั้น ซึ่งจัดเก็บไว้ในฐาน ข้อมูล ความซับซ้อนหรือความหรูหราในการแสดงสินค้าบนเว็บไซต์นั้นขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กรและ สินค้าที่จะนำ�มาจำ�หน่าย หากองค์กรขนาดเล็กหรือมีจำ�นวนสินค้าไม่มากนัก อาจจะมีรายการสินค้าและ คำ�อธิบายสินค้าแบบเรียบง่าย โดยมีภาพสินค้าประกอบ แต่หากเป็นองค์กรขนาดใหญ่อาจจะเพิ่มเสียง ภาพเ คลื่ อ นไหว วี ดิ ทั ศ น์ ซึ่ ง จ ะช่ ว ยใ นก ารส าธิ ต สิ น ค้ า ทำ � ให้ ลู ก ค้ า รู้ สึ ก เ หมื อ นไ ด้ สั ม ผั ส สิ น ค้ า เห็ น
ม
ธ ส
25 ฟีเจอร์ (feature) คือ ลักษณะเด่น หรือลักษณะสำ�คัญ หรือลักษณะเฉพาะ
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-47
ธ ส
รายละเอียด และได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้ามากขึ้น เช่น เว็บไซต์บริษัทจำ�หน่ายรถยนต์ เว็บไซต์โรงแรม เป็นต้น รวมไปถึงการมีพนักงานให้บริการตอบคำ�ถามลูกค้าผ่านทางอินสแทนซ์เมสเซจจิง26 (instant messaging - IM)
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.18 ตัวอย่างแคตาล็อกสินค้าอ อนไลน์ของห้างสรรพสินค้าไอเกีย (IKEA)
ที่มา: เว็บไซต์ http://onlinecatalog.ikea-usa.com/2011/ikea_catalog/US/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2554
2. ตะกร้าสินค้าออนไลน์
ม
ม
ตะกร้าสินค้าออนไลน์ (online shopping cart) คือ สรุปรายการสินค้าที่เลือกซื้อทำ�ให้เห็น รายละเอียดทั้งจำ�นวนและราคา ข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ แต่สามารถทบทวนและแก้ไขได้ในระหว่างเลือกซื้อ เมื่อได้สินค้าครบถ้วนแล้วจึงกดปุ่มเช็กเอาต์ (checkout) เพื่อส่งข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า ก่อนเข้าสู่ขั้นตอน การแจ้งที่อยู่ในการจัดส่งแ ละชำ�ระเงิน (ภาพที่ 5.19)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
26
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.19 ตัวอย่างตะกร้าสินค้าอ อนไลน์ของอะเมซอน (Amazon)
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.amazon.com ค้นค ืนเมื่อวันท ี่ 30 มกราคม 2554
ม
ธ ส
อินสแทนซ์เมสเซจจิง หรือไอเอ็ม (Instant Messaging-IM) คือ ระบบการส่งข ้อความทันทีระหว่างสองคน หรือกลุ่ม คนในระบบเครือข ่ายเดียวกัน เช่น การส่งข ้อความผ่านทางอินเทอร์เน็ต
5-48
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
3. ระบบรับช ำ�ระเงินด้วยบัตรเครดิตออนไลน์
ระบบรับชำ�ระเงินด้วยบัตรเครดิตออนไลน์ (online credit card processing) เป็นซอฟต์แวร์ที่ ทวนสอบข้อมูลบัตรเครดิตของผู้ซื้อ สะสมยอดซื้อหรือรายจ่ายไปยังบัตรเครดิต และสะสมยอดขายหรือ รายรับไปยังร้านค้าพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ โดยซอฟต์แวร์นี้จะทำ�งานต่อเนื่องจากตะกร้าสินค้าออนไลน์
ธ ส
ม
4. ฟีเจอร์อื่นๆ
ธ ส
ม
ฟีเจอร์อื่นๆ ที่มีเพิ่มเติมสำ�หรับเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบสมาชิก การตรวจสอบ สถานะการสั่งซื้อ หรือการสื่อสารออนไลน์ เป็นต้น 4.1 ระบบสมาชิก ส่วนใหญ่เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะเกี่ยวข้องกับการเลือกซื้อสินค้าและ การชำ�ระเงิน ดังนั้น ผู้ที่ต้องการซื้อสินค้ามักจะต้องสมัครเป็นสมาชิกของเว็บไซต์ เพื่อเป็นช่องทางให้กับ เจ้าของเว็บไซต์ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ซื้อ และสามารถนำ�ไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อทำ�การตลาดให้กับ ธุรกิจได้ต่อไ ป (ภาพที่ 5.20)
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 5.20 ตัวอย่างระบบสมาชิกของเว็บไซต์เมคเว็บอีซี
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.makewebeasy.com ค้นคืนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2554
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-49
ธ ส
4.2 การตรวจสอบสถานะการสั่งซื้อ การซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น สิ่งที่ ผู้ซื้อต้องการ ก็คือ สามารถตรวจสอบได้ว่าสินค้าที่สั่งไปแล้วนั้นกำ�ลังดำ�เนินการอยู่ในขั้นตอนใด หลังจาก สั่งซื้อสินค้าหรือชำ�ระเงินไปแล้ว สินค้าถูกส่งออกมาแล้วหรือยัง จะได้รับสินค้าประมาณวันที่เท่าไหร่ ใน ทางกลับกัน เว็บไซต์ก ็สามารถให้ผู้ซ ื้อยืนยันว่าได้รับสินค้าที่สั่งไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.21 ตัวอย่างการตรวจสอบสถานะและยืนยันก ารรับสินค้าของเว็บไ ซต์วีเลิฟช้อปปิ้ง
ธ ส
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.weloveshopping.com/portal/service/checkstatus.php?ln=th ค้นคืนเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2554
ทั้งนี้ บางเว็บไซต์ที่ขายสินค้าออนไลน์และจัดส่งผ่านบริการของไปรษณีย์ไทยก็อาจจะใช้ระบบ ตรวจสอบสถานะ EMS และไปรษณีย์ลงทะเบียนของไปรษณีย์ไทย โดยทำ�แบนเนอร์ “แทร็กและเทรซ” (Track & Trace) (ภาพที่ 5.22) วางไว้บ นเว็บไซต์ และเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ข องไปรษณียไ์ ทย http://track. thailandpost.co.th/trackinternet/Default.aspx ซึ่งสามารถตรวจสอบสถานะได้หลังจากการฝากส่ง 24 ชั่วโมง โดยสามารถตรวจสอบได้ทั้งการฝากส่งภายในประเทศและระหว่างประเทศ การตรวจสอบนี้ จะใช้หมายเลข 13 หลักที่ป รากฏในใบเสร็จ
ธ ส
ม
ม
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.22 แบนเนอร์ “แทร็กแ ละเทรซ” (Track & Trace) ของไปรษณียไ์ ทย
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.thailandpost.co.th/ ค้นค ืนเมื่อว ันที่ 30 มกราคม 2554
ธ ส
5-50
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
4.3 การสื่อสารออนไลน์ เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หลายแห่งมีบริการสื่อสารออนไลน์กับ ลูกค้าหลากหลายช่องทางมากขึ้น เช่น เว็บไซต์โพราร์ มีการสนทนาออนไลน์ (live chat) สำ�หรับให้ลูกค้า ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และติดต่อกรณีต้องการแจ้งปัญหาให้กับฝ่ายดูแลลูกค้า หรือมีอีเมลหากต้อง การส่งรายละเอียดไปยังสอบถามแบบออฟไลน์ หรือติดตามข่าวสารบนเฟซบุ๊ก หรือส่งข้อความแจ้งปัญหา ผ่านทวิตเตอร์ หรือส ่งข ้อความหรือข้อเสนอแนะผ่านแบบฟอร์มบนหน้าเว็บ เป็นต้น (ภาพที่ 5.23)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.23 การสื่อสารออนไลน์ของเว็บไซต์โพราร์
ที่มา: เว็บไซต์ http://www.porar.com/contact.html ค้นคืนเมื่อวันท ี่ 30 มกราคม 2554
ม
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ซึ่งฟีเจอร์ต่างๆ ที่เพิ่มเติมขึ้นมาก็เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ในการตัดสินใจ ซื้อสินค้า หรือใช้เป็นช่องทางบริหารจัดการและดูแลลูกค้าที่ซื้อสินค้าไปแล้ว
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.2.4 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.2.4 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.4
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอนที่ 5.3
ธ ส
ม
ระบบจัดการเนื้อหาเพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
5-51
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 5.3 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
เรื่องที่ 5.3.1 ระบบจัดการเนื้อหา เรื่องที่ 5.3.2 ระบบจัดการเนื้อหาจูม ล่า เรื่องที่ 5.3.3 เวอร์ชูมาร์ต
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
1. ซอฟต์แวร์ระบบจัดการเนื้อหามีเครื่องมือในการพัฒนาและบริหารเว็บไซต์ โดยผู้ที่ไม่มี ทักษะการเขียนโปรแกรมก็สามารถใช้งานได้ มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการพัฒนา การ แสดงผล และภาษาโปรแกรมที่พัฒนา โดยมีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ เครื่องมือจัดการ เนื้อหา เครื่องมือจ ัดการข้อมูลของเนื้อหา และเครื่องมือนำ�เสนอเนื้อหา ซึ่งระบบจัดการ เนื้อหามีประโยชน์ห ลายประการ และต้องพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับง าน 2. ระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า เป็นระบบจัดการเนื้อหาประเภทที่ออกแบบมาเพื่อใช้สำ�หรับ พอร์ทัลเว็บ แต่สามารถติดตั้งเครื่องมือเสริมสำ�หรับการทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ มี ลักษณะเด่นหลายประการที่น่าสนใจ มีเครื่องมือช่วยในการดาวน์โหลดและติดตั้งเพื่อ ใช้งาน นอกจากนี้ ยังมีผู้พัฒนาเครื่องมือเสริมมากมาย คู่มือและเว็บไซต์ที่ให้ความรู้ หลายแห่ง รองรับภ าษาไทย และมีผู้นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย 3. เวอร์ชูมาร์ต เป็นเอ็กซ์เทนชั่นหนึ่งของจูมล่า ที่มีฟีเจอร์ครบถ้วนสำ�หรับงานพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ มีประสิทธิภาพ ใช้งานได้อย่างดี และมีความปลอดภัย เทียบเท่ากับ ซอฟต์แวร์ท ี่มีลิขสิทธิ์
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-52
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
ม
ธ ส
ม
เมื่อศึกษาตอนที่ 5.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมาย ประเภท องค์ป ระกอบ การทำ�งาน ประโยชน์ และการเลือกใช้ระบบ จัดการเนื้อหาได้ 2. อธิบายความหมาย ลักษณะเด่น การติดตั้ง และเอ็กซ์เทนชั่นของระบบจัดการเนื้อหา จูมล่าได้ 3. อธิบายความหมายและฟเี จอร์มาตรฐานของเวอร์ชมู าร์ตใ นการท�ำ พาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ได้
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
เรื่องที่ 5.3.1 ระบบจัดการเนื้อหา
ธ ส
1. ความหมายของระบบจัดการเนื้อหา
ม
5-53
ม
ระบบจัดการเนื้อหา หรือซีเอ็มเอส (Content Management System - CMS) หรือการจัดการ เนื้อหาบนเว็บ (web content management) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีเครื่องมือในการพัฒนาและบริหาร เว็บไซต์ การผลิตและจัดการเนื้อหาในเว็บไซต์ การทำ�งานร่วมกันเพื่อผลิต แก้ไข เผยแพร่ และจัดการ เนื้อหาบนเว็บไซต์ โดยไม่จำ�เป็นต้องพึ่งพาทักษะเชิงเทคนิคในการเขียนโปรแกรมหรือภาษามาร์กอัปมาก เหมือนในอดีต ดังนั้น ผู้ที่ไม่มีทักษะเชิงเทคนิคก็สามารถพัฒนาเว็บไซต์ได้ด้วยตนเองโดยเน้นไปที่เนื้อหา ของเว็บไซต์แ ทน
ธ ส
2. ประเภทของระบบจัดการเนื้อหา
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ระบบจัดการเนื้อหามีการแบ่งประเภทได้หลายวิธี ได้แก่ แบ่งตามภาษาโปรแกรม แบ่งตามการ แสดงผล และแบ่งตามการพัฒนา 2.1 ประเภทของระบบจัดการเนื้อหาแบ่งตามภาษาโปรแกรม ระบบจัดการเนื้อหามีผู้พัฒนาขึ้น มามากมาย โดยใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาที่แตกต่างกันไป และมีระบบจัดการเนื้อหาที่ พัฒนาโดยคนไทยด้วย แบ่งไ ด้ 3 ประเภท ดังนี้ 1) ระบบจัดการเนื้อหาที่พัฒนาด้วยภาษาพีเอชพี (PHP) เป็นประเภทที่ได้รับความนิยมมาก ที่สุด เพราะภาษาพีเอชพีเป็นฟรีแวร์สามารถใช้จัดการส่วนของการพัฒนาเว็บไซต์ การดูแลเซิร์ฟเวอร์ และ การจัดการฐานข้อมูล มีคุณสมบัติทางด้านภาษาที่ดีสามารถรองรับการสร้างระบบจัดการเนื้อหาขนาดใหญ่ ซับซ ้อน และรองรับการทำ�งานหลายอย่างได้ครบถ้วน ระบบจัดการเนื้อหาประเภทนี้ เช่น จูมล่า (Joomla) ดรูพัล (Drupal) พีเอชพีนุก (PHP-Nuke) และซูปส์ (XOOPS - eXtensible Object Oriented Portal System) เป็นต้น 2) ระบบจัดการเนื้อหาที่พัฒนาด้วยภาษาจาวา (Java) หรือจาวาสคริปต์ (JavaScript) เป็น ประเภทที่ได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากความสามารถและคุณสมบัติของภาษาจาวาเอง เช่น มีความ ยืดหยุ่น การนำ�โค้ดกลับมาใช้ซ้ำ� การไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม เป็นต้น เป็นฟรีแวร์ และเทคโนโลยีที่น่าสนใจ เป็นอย่างมาก ก็คือ เอแจ็กซ์ ซึ่งนำ�มาใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้กับเว็บไซต์ ระบบจัดการเนื้อหา ประเภทนี้ เช่น โอเพ่นซีเอ็มเอส (OpenCMS) อาปาเช่โคคูน (Apache Cocoon) ดอตซีเอ็มเอส (dotCMS) และคอนวิโอซีเอ็มเอส (Convio CMS) เป็นต้น 3) ระบบจัดการเนื้อหาที่พัฒนาด้วยภาษาเอเอสพี (ASP) หรือเอเอสพีดอตเน็ต (ASP.Net) เป็นประเภทที่ได้รับความนิยมระดับหนึ่ง แต่เป็นระบบจัดการเนื้อหาที่ทำ�งานโดยอิงอยู่กับเทคโนโลยีของ บริษัทไมโครซอฟต์ ถึงแม้ว่าภาษาจะนำ�มาใช้ได้ฟรี แต่สำ�หรับเซิร์ฟเวอร์ที่จะรองรับระบบจัดการเนื้อหา
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-54
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ประเภทนี้ต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายมากกว่าสองประเภทก่อนหน้านี้ ระบบจัดการ เนื้อหาประเภทนี้ เช่น เอเอสพีนุก (ASPNuke) และโมโจพอร์ทัล (mojoPortal) เป็นต้น ทั้งนี้ ระบบจัดการเนื้อหาบางส่วนที่ทำ�งานตามแบบจำ�ลองแซส (SaaS-Software-as-a-Service model) หรือซอฟต์แวร์ต ามความต้องการ (software on demand) ซึ่งราคาของซอฟต์แวร์จะจ่ายเป็นราย เดือนตามการใช้งานระบบจัดการเนื้อหาผ่านเว็บเบราเซอร์ ด้วยแนวคิดนี้คาดว่าจะทำ�ให้ต้นทุนของการใช้ ซอฟต์แวร์ต่ำ�ลง เพราะคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานเท่าที่จำ�เป็นเท่านั้น ระบบจัดการเนื้อหาที่ทำ�งานตามแบบ จำ�ลองแซส เช่น คอนวิโ อซีเอ็มเอส (Convio CMS) คินเทร่า (Kintera) เป็นต้น 2.2 ประเภทของระบบจัดการเนื้อหาแบ่งตามการแสดงผล ระบบจัดการเนื้อหามีผู้พัฒนาขึ้นมา มากมาย โดยมีวัตถุประสงค์ของการนำ�ไปใช้ที่แตกต่างกัน แบ่งได้หลายประเภท เช่น 1) ระบบจดั การเนือ้ หาส�ำ หรับพ าณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นป ระเภททไี่ ด้ร ับก าร ออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการค้าขายออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงมีฟีเจอร์หลายอย่าง รองรับการทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การส่งเสริมการตลาด การทำ�ให้เว็บไซต์ติดอันดับต้นๆ ของการ ค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจิน หรือเอสอีโอ (SEO) การวิเคราะห์และจัดท ำ�รายงาน การจัดการแคตาล็อกสินค้า การ ค้นหาสินค้า การสั่งซ ื้อ การจัดส่ง การรับชำ�ระเงิน การบริการลูกค้า รองรับการทำ�ธุรกิจทั่วโลก การพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์บนโมบาย (m-Commerce) การจัดการคำ�สั่งซื้อ เป็นต้น ระบบจัดการเนื้อหาประเภทนี้ เช่น โอเอสคอมเมิร์ซ (osCommerce) เวอร์ช ูมาร์ต (VirtueMart) มาเจนโต (Magento) เซนคาร์ต (Zen Cart) เพรสตาช้อป (PrestaShop) เป็นต้น 2) ระบบจัดการเนื้อหาสำ�หรับบล็อก (blog) เป็นประเภทที่ได้รับการออกแบบและพัฒนา ขึ้นมาเพื่อรองรับการสร้างบล็อก สามารถใช้ในการสร้างเว็บไซต์บล็อกส่วนตัวหรือสร้างเว็บไซต์ให้บริการ บล็อกแก่สมาชิกก็ได้ ระบบจัดการเนื้อหาประเภทนี้ เช่น เวิร์ดเพรส มายพีเอชพีบล็อก (MyPHP Blog) ดรูพัล นิวเคลียส (Nucleus) เป็นต้น 3) ระบบจัดการเนื้อหาสำ�หรับพ อร์ทัล (portal) เป็นป ระเภทที่ไ ด้ร ับก ารออกแบบและพัฒนา ขึ้นมาเพื่อรองรับก ารเสนอข่าวสาร สามารถใช้ในการสร้างเว็บไซต์เพื่อบริการเนื้อหาข่าวหรือบทความ ซึ่งจะ มีฟีเจอร์ต่างๆ รองรับการสร้างเนื้อหาข่าว เช่น จัดหมวดหมู่เนื้อหา จัดกลุ่มเนื้อหา วันที่โพสต์เนื้อหาข่าว วันที่แก้ไขเนื้อหาข่าวล่าสุด สร้างเนื้อหาข่าว ระยะเวลาในการนำ�เสนอเนื้อหาข่าว เป็นต้น ระบบจัดการ เนื้อหาประเภทนี้ เช่น จูม ล่า ดรูพัล เป็นต้น นอกจากนี้ ระบบจัดการเนื้อหาประเภทอื่นๆ ยังมีอีกหลายประเภท เช่น วิกิ (Wiki) กระดาน สนทนาหรือเว็บบอร์ด (webboard) อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) การวางแผนทรัพยากรองค์กร หรืออีอาร์พี (ERP) การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ หรือซ ีอ าร์เอ็ม (CRM) เป็นต้น ทั้งนี้ การใช้งานระบบจัดการเนื้อหาบางประเภทสามารถนำ�มาใช้งานร่วมกันได้ เช่น ระบบจัดการ เนื้อหาจูมล่าซึ่งเป็นประเภทที่ใช้สำ�หรับพอร์ทัลที่ให้บริการเนื้อหาข่าวผ่านเว็บไซต์ แต่สามารถติดตั้งระบบ จัดการเนื้อหาสำ�หรับอีคอมเมิร์ซเวอร์ชูมาร์ตเพื่อเพิ่มความสามารถให้กับเว็บไซต์รองรับการทำ�พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วย เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
3. องค์ประกอบของระบบจัดการเนื้อหา
5-55
ธ ส
ระบบจัดการเนื้อหามีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ส่วน จึงจะทำ�หน้าที่เป็นระบบจัดการเนื้อหาได้ อย่างสมบูรณ์ องค์ประกอบ 3 ส่วน มีด ังนี้ 3.1 เครื่องมือจัดการเนื้อหา (Content Management Application - CMA) ใช้สำ�หรับจ ัดการเนื้อหา มีส่วนที่โต้ตอบกับผู้ใช้ หรือฟร้อนต์เอนด์ (front end) ทำ�ให้ผู้ใช้สามารถสร้างและจัดการเนื้อหาต่างๆ ใน เว็บไซต์ผ่านส่วนต่อประสานผู้ใช้โดยไม่ต้องใช้ภาษาเอชทีเอ็มแ อล เครื่องมือการจัดการเนื้อหาจะจัดเตรียม เท็มเพลตสำ�หรับการสร้างและแก้ไขเนื้อหา รวมถึงออกแบบกระบวนการจัดการเนื้อหาให้สามารถดำ�เนิน ไปได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด 3.2 เครื่องมือจัดการข้อมูลของเนื้อหา (Metacontent Management Application - MMA) ใช้ สำ�หรับจัดการข้อมูลที่ใช้อธิบายเนื้อหา เช่น เนื้อหา สร้างเมื่อใด โดยใคร จัดเก็บที่ไหน ใช้งานบนหน้าเว็บ ใด จัดวางบนหน้าเว็บตำ�แหน่งใด เป็นต้น เครื่องมือจัดการข้อมูลของเนื้อหาจะช่วยควบคุมเวอร์ชั่นของ เนื้อหา และช่วยในการจัดการวงจรชีวิตทั้งหมดของข้อมูลเนื้อหาด้วย 3.3 เครื่องมือนำ�เสนอเนื้อหา (Content Delivery Application - CDA) ใช้สำ�หรับแสดงผลงาน เนื้อหาต่างๆ ในเว็บไซต์ โดยจะดำ�เนินการตามข้อมูลของเนื้อหา ซึ่งผู้ดูแลสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลของ เนื้อหาได้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
4. การทำ�งานของระบบการจัดการเนื้อหา
ธ ส
ม
ธ ส
ม
การทำ�งานของระบบจัดการเนื้อหามีด ้วยกัน 2 ส่วน ดังนี้ 4.1 ส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการ (administration panel) เป็นส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการงาน ต่างๆ ในเว็บไซต์ ซึ่งรวมถึงระบบจัดการฟีเจอร์ต่างๆ เช่น ระบบจัดการเนื้อหาหรือบทความ ระบบจัดการ ภาพประกอบ ระบบจัดการแบนเนอร์ ระบบจัดการสิทธิ์ของผู้ใช้ ระบบจัดการทะเบียนสมาชิก ระบบจัดการ โพลล์สำ�รวจ เป็นต้น 4.2 ส่วนที่เป็นเนื้อหา เป็นส่วนที่ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์จะเห็นเนื้อหาเหล่านี้ปรากฏบนเว็บไซต์ ซึ่งรวมถึงข้อความ ภาพ สัญลักษณ์ วิดีโอ หรือเสียงเพลง
ธ ส
5. ประโยชน์ของระบบจัดการเนื้อหา
ม
ม
ม
ธ ส
ระบบจัดการเนื้อหามีประโยชน์หลายประการ ดังนี้ 5.1 สามารถเริ่มต้นใช้งานได้โดยทันที ระบบจัดการเนื้อหาที่ดาวน์โหลดมาติดตั้งแล้วนั้นสามารถ ใช้งานร่วมกับเว็บเบราเซอร์ได้ทันที โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่นเพิ่มเติม สำ�หรับผู้เริ่มต้นมือใหม่ก็ สามารถเรียนรู้ทำ�ตามลำ�ดับขั้นตอนของการสร้างเนื้อหา และใช้รูปแบบตามที่ระบบจัดการเนื้อหาจัดเตรียม ไว้ให้ก่อนแล้วค่อยๆ ปรับแต่งเว็บไซต์ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ ระบบจัดการเนื้อหามีส่วนของการจัดการ เซิร์ฟเวอร์อยู่แล้ว ดังน ั้น หากผู้ใ ช้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไปก็สามารถใช้งานได้ทันทีเช่นกัน
ม
ธ ส
5-56
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
5.2 สามารถควบคุมรูปแบบของเว็บไซต์ด้วยเท็มเพลต ระบบจั ด การเ นื้ อ หาจ ะอำ � นวยค วาม สะดวกให้ผู้ใช้ดูแลและออกแบบเว็บไซต์โดยการใช้เท็มเพลต ทำ�ให้รูปแบบของตัวอักษร สไตล์ การจัดวาง ส่วนประกอบต่างๆ บนหน้าเว็บเป็นมาตรฐานเดียวกันเว็บไซต์ เนื้อหาต่างๆ ที่ใส่เข้าไปในเว็บไซต์จะถูกจัด การให้อยู่ในรูปแบบเดียวกันโดยอัตโนมัติ ทั้งนี้ เท็มเพลตสำ�หรับระบบจัดการเนื้อหานั้นมีให้เลือกใช้ มากมาย มีทั้งที่มาพร้อมกับซอฟต์แวร์และสามารถดาวน์โหลดเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้จึงสามารถ มุ่งความสนใจไปเฉพาะที่ต ัวเนื้อหามากกว่าการออกแบบ 5.3 สามารถบริหารจัดการเว็บไซต์ผ่านเว็บเบราเซอร์ ระบบจัดการเนื้อหาจัดเตรียมส่วนที่เป็น การบริหารจัดการเว็บไซต์ต ั้งแต่ก ารสร้าง แก้ไข ปรับปรุง ดูแล และบำ�รุงรักษาเว็บไซต์ ให้สามารถดำ�เนินการ ได้อย่างสะดวกรวดเร็วผ่านเว็บเบราเซอร์ 5.4 ไม่ต้องมีความรู้ภาษาโปรแกรม ระบบจัดการเนื้อหาอำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการ สร้างเว็บไซต์โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่องการใช้คำ�สั่งภาษาโปรแกรมใดๆ เช่น เอชทีเอ็มแอล หรือพีเอชพี เป็นต้น เพราะระบบจัดการเนื้อหาจะแยกส่วนของการสร้างเนื้อหากับส่วนของการแสดงผลออกจากกัน ดังนั้น หากผู้ใช้มีค วามรู้เกี่ยวกับภาษาโปรแกรมก็ส ามารถปรับแก้โค้ดคำ�สั่งเพิ่มเติมไ ด้ 5.5 รองรับการทำ�งานร่วมกัน ระบบจัดการเนื้อหารองรับการทำ�งานพร้อมกันหลายคนได้ โดย สามารถกำ�หนดสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละคนในการบริหารจัดการเว็บไซต์ที่แตกต่างกันได้ พร้อมกับการเก็บ ข้อมูลประวัติการเข้าใช้เว็บไซต์ว่าผู้ใช้แต่ละคนเข้ามาดำ�เนินงานใดๆ ในเว็บไซต์บ้างเมื่อวันที่และเวลาใด นอกจากนี้ ยังมีเครื่องมือในการควบคุมเวอร์ชั่นของเนื้อหา ทำ�ให้สามารถดูแลการทำ�งานร่วมกันระหว่าง ทีมง านได้ 5.6 สามารถนำ�เนื้อหากลับมาใช้ซ้ำ� ระบบจัดการเนื้อหาแยกส่วนของการสร้างเนื้อหากับส่วน ของการแสดงผลออกจากกัน จึงทำ�ให้การนำ�เนื้อหาที่มีอยู่แล้วกลับมาใช้ซ้ำ�ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ เนื้อหาที่เคยนำ�เสนอไปแล้วก็ส ามารถจัดเก็บไว้เพื่อดูย้อนหลัง หรือเพื่ออ้างอิงได้ 5.7 สามารถเพิ่มเติมฟีเจอร์อื่นได้ตลอดเวลา ระบบจัดการเนื้อหามีส่วนที่เป็นโมดูล หรือพลั๊กอิน เ พิ่ ม เ ติ ม ที่ มี ผู้ พั ฒ นากั น ม ากมายแ ละห ลากห ลาย มี ทั้ ง ที่ มี ค่ า ใ ช้ จ่ า ยแ ละไ ม่ มี ค่ า ใ ช้ จ่ า ย โดยส ามารถ ดาวน์โหลดมาติดตั้งภายหลังได้หากต้องการ ซึ่งฟีเจอร์เหล่านี้สามารถเสริมการทำ�งานของเว็บไซต์ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ประหยัดเวลาและค่าใช้จ ่ายในการพัฒนาเป็นอย่างมาก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
6. การพิจารณาเลือกใช้ร ะบบจัดการเนื้อหา
5-57
ธ ส
การเลือกใช้ระบบจัดการเนื้อหามีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ 6.1 ความยากง่ายในการใช้งาน ควรพิจารณาว่าระบบจัดการเนื้อหาได้รับการออกแบบหน้าตา การจัดวาง และเครื่องมือต่างๆ สะดวกและง่ายต่อการใช้งานหรือไม่ สามารถทำ�ให้ผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับ ภาษาเอชทีเอ็มแอลก็สามารถใช้งานได้ เช่น การสร้างเนื้อหาคล้ายคลึงกับการสร้างเอกสารบนซอฟต์แวร์ ประมวลคำ� เป็นต้น 6.2 ความยืดหยุ่นในการพัฒนา ควรพิจารณาว่าระบบจัดการเนื้อหาสามารถรองรับการขยายตัว ของเว็บไซต์ในประเด็นต่างๆ ได้หรือไม่ เช่น จำ�นวนผู้ใช้ จำ�นวนหน้าเว็บ รายการสินค้า ภาพ เป็นต้น รวมถึงคอมโพเนนต์ โมดูล หรือพ ลั๊กอินต่างๆ เพื่อเสริมประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ 6.3 การทำ�ให้เว็บไซต์ติดอันดับต้นของการค้นหา (SEO) ควรพิจารณาว่าระบบจัดการเนื้อหา สามารถรองรับการทำ�ให้เว็บไซต์ด้วยเสิร์ชเอนจิน หรือเอสอีโอหรือไม่ เพราะปัจจุบันการทำ�ให้เว็บไซต์ มีชื่อไปปรากฏในหน้าแรกและภายในสิบอันดับแรกของการค้นหาด้วยเสิร์ชเอนจินเป็นประเด็นสำ�คัญ และ เป็นการแสดงให้เห็นการประสบความสำ�เร็จของเว็บไซต์ด้วย 6.4 ประเด็นอ ื่นๆ ควรพิจารณาว่าระบบจัดการเนื้อหาในประเด็นอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การจัดเตรียม เครื่องมืออำ�นวยความสะดวกในการทำ�งาน ความสามารถในการทำ�งานที่โดดเด่น คอมโพเนนต์ โมดูล หรือพลั๊กอิน ที่ส ามารถนำ�มาติดตั้งไ ด้เพิ่มเติม ราคา หรือระบบปฏิบัติการที่รองรับ เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.3.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.3.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.3 เรื่องที่ 5.3.1
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-58
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เรื่องที่ 5.3.2 ระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า
ธ ส
ม
ในที่นี้จะนำ�เสนอระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า (Joomla) เพื่อเป็นตัวอย่างสำ�หรับการนำ�ระบบจัดการ เนื้อหาไปใช้ส ำ�หรับเว็บไซต์พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากในประเทศไทยมีผู้ใช้งานกันมาก มีหลายหน่วย งานเปิดอบรม มีหนังสือวางขายในท้องตลาด มีหลายเว็บไซต์ให้บริการช่วยเหลือด้านเทคนิค ข้อมูล และ ความรู้ รวมถึงเทคนิคต่างๆ ในการพัฒนาเว็บไซต์ด้วยจูมล่า ทำ�ให้สามารถศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วย ตนเองได้
ม
1. ความหมาย
ธ ส
ม
ธ ส
จูมล่า เป็นซอฟต์แวร์ร ะบบจัดการเนื้อหาในแบบโอเพ่นซอร์ส สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรี เกิด ขึ้นภายใต้สนธิสัญญากนู27 (GNU - General Public License) ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการ ริเริ่มโดย ริชาร์ด สทอลแมน (Richard Stallman) เมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมีจุดมุ่งหมายจะพัฒนาระบบ ปฏิบัติการในลักษณะซอฟต์แวร์เสรีซึ่งทุกคนสามารถนำ�ไปใช้ แก้ไข ปรับปรุง พัฒนาต่อ หรือจำ�หน่าย ได้ ฟรี โดยไม่ต ้องเสียค่าลิขสิทธิ์ ปัจจุบันจ ูมล่าเวอร์ชันล่าสุดคือ Joomla! 1.6
ธ ส
ม
ธ ส
2. ลักษณะเด่นของระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า
ม
ระบบจัดการเนื้อหาจูม ล่า มีลักษณะเด่นหลายประการ เช่น 2.1 การสร้างเว็บไซต์ สามารถออกแบบ พัฒนา และดูแลเว็บไซต์ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดย อาศัยทักษะเชิงเทคนิคขั้นพื้นฐาน 2.2 เท็มเพลต สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือหน้าตาของเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วด้วยเท็มเพลต ซึ่งมีใ ห้เลือกใช้จำ�นวนมาก 2.3 การอัพโหลดไฟล์ สามารถเลือกคำ�สั่งบันทึก ข้อมูลจะถูกจัดเก็บบนเซิร์ฟเวอร์ทันที โดยไม่ ต้องอัพโหลดไฟล์ไปยังเซิร์ฟเวอร์ 2.4 การทำ�งานผ่านเบราเซอร์ สามารถจัดการเนื้อหา ทั้งการสร้าง แก้ไข และปรับปรุงข้อมูลได้ ตลอดเวลาผ่านเว็บเบราเซอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2.5 ความสามารถเพิ่มเติมหรือเอ็กซ์เทนชั่น (extension) สามารถขยายความสามารถได้โดยการ ติดตั้งเอ็กซ์เทนชันเพิ่มเติม เช่น การทำ�โพลล์ ฟอรั่ม จำ�นวนผู้เยี่ยมชม (Who’s online) ตะกร้าสินค้า (shopping cart) เป็นต้น
ธ ส
ม
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
27 คำ�ว่า กนู (อ่านวา กะ-นู) เป็นคำ�ย่อมาจากคำ�เต็มว่า GNU’s Not Unix คือ กนูไม่ใช่ยูนิกซ์ เพราะกนูพัฒนาขึ้นมาโดยมี
ลักษณะเหมือนกับร ะบบยูนิกซ์ แต่ไมได้ใช้ซอร์สโ คดของยูนิกซ์เลย
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-59
ธ ส
2.6 การจัดการเนื้อหา สามารถบริหารจัดการเนื้อหาและข้อมูลได้เป็นอย่างดี จัดเก็บอย่างเป็น ระบบ ทำ�ให้ง ่ายต่อก ารค้นหา และแก้ไข ตลอดจนสามารถซ่อนข้อมูลหรือเนื้อหาได้ 2.7 การบริหาร ผู้ใ ช้ส ามารถจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผ ู้ใช้ ทั้งเพิ่ม ลบ หรือแก้ไข สำ�หรับผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาเว็บไซต์ สามารถกำ�หนดสิทธิ์ให้กับผู้ใช้ได้ตามความหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสม หรือกำ�หนดสิทธิ์เพื่อให้เนื้อหาบางส่วนของเว็บไซต์สามารถเปิดด ูได้เฉพาะผู้ที่เป็นส มาชิกเท่านั้น
ธ ส
ม
3. การติดตั้งระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า
ธ ส
ม
ระบบจัดการเนื้อหาจูม ล่าสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://www.joomla.org/ และเลือก ติดตั้งได้ 2 แบบ คือ 3.1 ติดตั้งบ นเครื่องลูกข ่าย (local installation) เป็นการติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว และ ทำ�ให้เครื่องนี้ทำ�หน้าที่เป็นเสมือนเว็บเซิร์ฟเวอร์ด้วย มักจะติดตั้งเพื่อการพัฒนาและทดลองใช้งานเว็บไซต์ ก่อนไปติดตั้งจริงบนเครื่องแม่ข่ายเว็บ ซึ่งจำ�เป็นต ้องจัดเตรียมสภาพแวดล้อมสำ�หรับการติดตั้งและใช้งาน โปรแกรมด้วย ได้แก่ ซอฟต์แวร์เพื่อทำ�หน้าที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์อาปาเช่ ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล มายเอสคิวแ อล และซอฟต์แวร์ป ระมวลผลคำ�สั่งภาษาพีเอชพี 3.2 ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่ายเว็บ หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ (web server installation) เป็นการติดตั้งบน เครื่องแม่ข่าย เพื่อการเปิดใช้งานเว็บไซต์ กรณีนี้หากเช่าพื้นที่บริการเว็บโฮสติ้ง ผู้ให้บริการจะจัดเตรียม ความพร้อมของระบบคอมพิวเตอร์เอาไว้ให้ และผู้ใช้สามารถอัพโหลดข้อมูลต่างๆ จากคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ขึ้นไปยังเครื่องแม่ข่าย หรือดาวน์โหลดข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายลงมายังคอมพิวเตอร์ส่วนตัวได้โดยใช้ ซอฟต์แวร์สำ�หรับถ ่ายโอนข้อมูล เช่น คิวต์เอฟทีพี (CuteFTP) ไฟล์ซิลล่าเอฟทีพี (FileZillaFTP) เป็นต้น หรืออ าจจะติดตั้งซ อฟต์แวร์เพิ่มเติมส ำ�หรับก ารบริหารเว็บไซต์ เช่น พีเอชพีม ายแอดมิน (phpMyAdmin) เป็นต้น ทั้งนี้ การใช้ระบบจัดการเนื้อหาสร้างเว็บไซต์นั้นมีซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องหลายตัว ซึ่งจำ�เป็นต้อง อาศัยความรู้ในการเตรียมพอสมควร ดังนั้น จึงมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เป็นชุดรวมซอฟต์แวร์เหล่านี้ เข้าด้วยกัน เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการติดตั้งและเตรียมสภาพแวดล้อมให้พร้อมในการใช้งานระบบ จัดการเนื้อหาจูมล่า เช่น แซมป์ หรือเอ็กซ์แอมป์ (XAMPP) แอปเซิร์ฟ (AppServ) แวมป์ (WAMP) หรือ เว็บแ มทริกซ์ (WebMatrix) เป็นต้น ในที่นี้จะใช้เว็บแมทริกซ์เป็นเครื่องมือในการในการพัฒนาเว็บไซต์ เมื่อดาวน์โหลดและติดตั้งเว็บ แมทริกซ์เสร็จแล้ว การเริ่มต้นพัฒนาเว็บไซต์นั้นสามารถเลือกระบบจัดการเนื้อหาจูมล่าได้จากเว็บแกเลอรี หลังจากนั้น เว็บแมทริกซ์จะตรวจสอบระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอลที่ใช้ร่วมกับจูมล่าหากยัง ไม่มีก็จะทำ�การติดตั้งให้ทันที หลังจากติดตั้งเสร็จแล้วก็สามารถสร้างและจัดการเนื้อหาต่างๆ ในเว็บไซต์ที่ พัฒนาขึ้นม าผ่านหน้าต่างของผู้ดูแลระบบ (administrator) ซึ่งจูมล่าจัดเตรียมไว้ให้ ทั้งนี้ รายละเอียดการใช้งานจูมล่าจะนำ�เสนอไว้ในเว็บไซต์ระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (STOU online) สำ�หรับระดับบัณฑิตศึกษาของชุดว ิชานี้ที่ http://www.stou.ac.th/stouonline/eLearning/mcourses.htm
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-60
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
4. จูมล่าเอ็กซ์เทนชั่น
ม
ธ ส
หลังจากติดตั้งระบบจัดการเนื้อหาจูมล่าไปแล้ว จะยังไม่มีฟีเจอร์สำ�หรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องติดตั้งเพิ่มเติมในส่วนที่เรียกว่า จูมล่าเอ็กซ์เทนชั่น (Joomla Extensions) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ต้อง ติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า มีให้เลือกมากมาย จูมล่าเอ็กซ์- เทนชั่นส่วนใหญ่ดาวน์โหลดได้ฟรีจากเว็บไซต์ http://extensions.joomla.org/ โดยจูมล่าเอ็กซ์เทนชั่น สามารถแบ่งไ ด้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 4.1 คอมโพเนนต์ (component) เป็นเอ็กซ์เทนชั่นที่เป็นส่วนประกอบสำ�หรับใช้แสดงผลในหน้า เว็บ สามารถปรับแต่งได้ผ่านเมนูของผู้ดูแลเว็บไซต์ (administrator) สามารถสร้างลิงก์จากเมนูไปยัง คอมโพเนนต์ไ ด้ จะต้องกำ�หนดตำ�แหน่งบ นหน้าเว็บ แต่ส ามารถแสดงได้ทลี ะคอมโพเนนต์ใ นหนึ่งห น้าเว็บเพจ เช่น การค้นหา (search) รายชื่อผ ู้ต ิดต่อ (contacts) หรือนิวส์ฟีดส์ (news feeds) เป็นต้น นอกจากนี้ การ ติดต ั้งภาษาไทยให้กับจูมล่าก็จ ัดว่าเป็นคอมโพเนนต์ด้วย ซึ่งจะต้องติดตั้งเพิ่มเติมเช่นกัน 4.2 โมดูล (Module) เป็นเอ็กซ์เทนชั่นที่เป็นส่วนประกอบสำ�หรับใช้แสดงผลในหน้าเว็บ จะออก แบบให้มีล ักษณะเป็นกล่อง จะต้องกำ�หนดตำ�แหน่งบนหน้าเว็บด ้วย เช่น บน ล่าง ซ้าย ขวา เป็นต้น สามารถ แสดงได้หลายโมดูลในหนึ่งหน้าเว็บ แต่ไม่สามารถสร้างลิงก์จากเมนูไปยังโมดูลได้ เช่น โมดูลการล็อกอิน (login) โมดูลแสดงจำ�นวนผู้ช มและสมาชิกที่ออนไลน์ (Who’s online) โมดูลป้ายโฆษณา (banner) หรือ โมดูลแ สดงภาพแบบสุ่ม (random image) เป็นต้น 4.3 พลั๊กอิน (plugin) เป็ น เ อ็ ก ซ์ เ ทนชั่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ก ารติ ด ต่ อ ร ะหว่ า งผู้ ใ ช้ กั บ จู ม ล่ า เช่ น แกเลอรีภ าพถ่าย (image/photo gallery) ยูทิวบ์พลั๊กอิน (youtube plugin) คอนเทนต์ฟ ูลเท็กซ์ (content full text) หรือเอดิเตอร์ไทนีเอ็มซีอี (Editor-TinyMCE2.0) ซึ่งเอดิเตอร์ตัวนี้ทำ�ให้มองเห็นเว็บเพจ เป็นแ บบวซิ วิ ิก (WYSIWYG-What you see is what you get) เห็นผ ลลัพธ์ห รือเว็บเพจได้ท ันทีใ นขณะแก้ไข แต่หากไม่ใ ช้พลั๊กอินเอดิเตอร์ การแก้ไขเว็บเพจจะต้องแก้ไขในหน้าที่เขียนด้วยโค้ดเอชทีเอ็มแอล เป็นต้น จากเว็บไซต์ http://extensions.joomla.org/ เอ็กซ์เทนชั่นเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น ให้ คลิกเลือกหัวข้อ e-Commerce จะปรากฏรายชื่อจูมล่าเอ็กซ์เทนชั่นเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มากมาย (ภาพที่ 5.24) โดยแบ่งต ามความนิยม เพิ่งอ อกใหม่ ปรับปรุงล ่าสุด ได้ร ับก ารโหวตหรือจ ัดอ ันดับ การเยี่ยมชม หรือความนิยมชมชอบ ซึ่งจูมล่าเอ็กซ์เทนชั่นเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้น จะแบ่งเป็นหมวดหมู่ (category) เช่น ช้อปปิ้งคาร์ต (shopping cart) ระบบชำ�ระเงิน (payment system) การสมัครสมาชิก แบบเสียค่าธรรมเนียมหรือการบอกรับ (paid membership and subscriptions) หรือการดาวน์โหลด แบบชำ�ระเงิน (paid downloads) เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.24 จูม ล่าเอ็กซ์เทนชั่นเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ห มวดต่างๆ
ม
5-61
ที่มา: http://extensions.joomla.org/extensions/e-commerce ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554
ธ ส
จูมล่าเอ็กซ์เทนชั่นเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมวดหมู่ช้อปปิ้งคาร์ต ก็มีให้เลือกหลายตัว (ภาพที่ 5.25) เช่น ไฮกาชอป (HikaShop) ซิมเพิลแคดดี้ (SimpleCaddy) เมลออเดอร์ (MailOrder) ไอไพรซ์แคลคูเลเตอร์ (iPrice Calculator) อีซ ีสโตร์ (EZ Store) หรือเวอร์ชูมาร์ต (VirtueMart) เป็นต้น
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
5-62
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 5.25 จูม ล่าเอ็กซ์เทนชั่นหมวดหมู่ช้อปปิ้งคาร์ต
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ที่มา: http://extensions.joomla.org/extensions/e-commerce/shopping-cart ค้นคืนเมื่อวันท ี่ 20 กุมภาพันธ์ 2554
ธ ส
ธ ส
ในทนี่ จี้ ะกล่าวถงึ เวอร์ช มู าร์ต (VirtueMart) เนือ่ งจากได้ร บั ค วามนยิ มน�ำ มาใช้ก นั ม าก ซึง่ ร ายละเอียด จะกล่าวถึงในเรื่องที่ 5.3.3
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.3.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.3.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.3 เรื่องที่ 5.3.2
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เรื่องที่ 5.3.3 เวอร์ช ูมาร์ต
ธ ส
1. ความหมาย
ม
ม
5-63
ธ ส
ม
เวอร์ช มู าร์ต (VirtueMart) เป็นโ ซลูชัน่ ห รือซ อฟต์แวร์ส �ำ หรับพ าณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์แ บบโอเพ่นซอร์ส ดังนั้น จึงสามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรี ต้องใช้งานร่วมกับระบบจัดการเนื้อหาจูมล่า เขียนด้วยภาษา พีเอชพีเช่นเดียวกับจูมล่า รวมถึงสามารถใช้สภาพแวดล้อมของระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล และการบริหารเว็บไซต์ด้วยกันได้ เวอร์ชูมาร์ตมีฟีเจอร์ที่ครบถ้วนสำ�หรับงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีประสิทธิภาพ ใช้งานได้ อย่างดี และมีความปลอดภัย เทียบเท่ากับซอฟต์แวร์ท ี่มีลิขสิทธิ์ จึงได้รับค วามนิยมเป็นอย่างมาก
ธ ส
2. ฟีเจอร์มาตรฐาน
ม
ธ ส
ม
ฟีเจอร์มาตรฐานของเวอร์ชูมาร์ต แบ่งเป็นกลุ่มๆ ได้ดังนี้ 2.1 ฟีเจอร์ท ั่วไป (general features) เช่น - ความปลอดภัย เวอร์ชูมาร์ตใช้ Secure Sockets Layer (https) Encryption (128-
ม
bit)
ธ ส
ธ ส
- โมเดลภาษี (tax model) เวอร์ชูมาร์ตมีโมเดลภาษีที่ยืดหยุ่นให้เลือกใช้ เช่น อัตราภาษี ตามพื้นที่ อัตราภาษีตามการจดทะเบียนธุรกิจ อัตราภาษีตามระเบียบของประเทศในกลุ่มยูโรป หรืออียู (EU-European Union) - บัญชีผู้ใช้ (user accounts) ผู้ซื้อสามารถจัดการบัญชีของตนเองได้ แต่ต้องมีการลง ทะเบียน - ระบบจัดการที่อยู่ในการจัดส่ง (shipping address management) ซึ่งผู้ซื้อสามารถระบุที่อยู่ ในการจัดส่งได้ - ประวัติการสั่งซื้อ (order history) ผู้ซื้อสามารถดูรายละเอียดการสั่งซื้อย้อนหลังได้ - อีเมลยืนยันการสั่งซื้อ (order confirmation mail) เวอร์ชูมาร์ตมีกลไกส่งอีเมลยืนยันการ สั่งซ ื้อไปยังผู้ซื้อและเจ้าของร้าน ซึ่งสามารถปรับแต่งค่าต่างๆ ได้ - สกุลเงินที่หลากหลาย (multiple currencies) เวอร์ชูมาร์ตมีกลไกรองรับการขายสินค้าได้ หลายสกุลเงิน โดยผู้ซื้อส ามารถเลือกสกุลเงินในการซื้อสินค้าได้ - ภาษาที่หลากหลาย (multiple languages) การรองรับภาษาที่หลากหลายจะต้องติดตั้ง คอมโพเนนต์จ ูมล่าฟิช (Joom!Fish) เพิ่มเติม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
5-64
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
2.2 ฟีเจอร์แ คตาล็อกสินค้า (product catalog features) เช่น - ส่วนต่อประสานผู้ใช้ มีส่วนต่อประสานผู้ใช้สำ�หรับดูแลและบริหารเว็บที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากใช้ภาษาจาวาสคริปต์พัฒนา - จำ�นวนสินค้าและหมวดหมู่ สามารถรองรับจำ�นวนสินค้าและหมวดหมู่สินค้าได้ไม่จำ�กัด จำ�นวน - ร้านค้า หรือแคตาล็อกออนไลน์ สามารถพัฒนาเป็นร้านค้าทั้งร้าน หรือใช้เป็นเพียง แคตาล็อกสินค้าออนไลน์ก็ได้ รวมถึงก ารแสดงหรือไม่แสดงราคาสินค้า - การคน้ หาทรี่ วดเร็ว สามารถคน้ หาสนิ ค้า หมวดหมูส่ นิ ค้า ผูผ้ ลิต โดยกรองตามคณ ุ ลักษณะ หรือส ินค้าที่ลดราคา - การโหวตและการรับรองสินค้า เปิดช่องทางให้ผู้ซื้อเข้ามาโหวตสินค้าที่ชื่นชอบ หรือให้ ความคิดเห็น รวมถึงการรับรองสินค้า โดยสามารถแสดงผลทันทีที่มีผู้โหวต หรือตรวจสอบก่อนแสดงผล ก็ได้ - สินค้าพิเศษ สามารถเลือกและระบุได้ว่าสินค้าใดเป็นสินค้าพิเศษ โดยกำ�หนดค่า “on special” ที่สินค้าเหล่านั้น - สินค้าพร้อมส่ง (product availability) สามารถแสดงความพร้อมในการจัดส่งสินค้า ทำ�ให้ผู้ซื้อประมาณระยะเวลาที่จ ะได้รับสินค้าได้ - ข้อมูลส ินค้า สามารถดาวน์โหลดข้อมูลสินค้าได้ - ข้อความเตือน สามารถระบุว่าสินค้าถูกส่งคืน (product is back in stock) เพื่อเตือน ผู้ซื้อได้ 2.3 ฟีเจอร์ก ารดูแลระบบ (administration features) เช่น - จำ�นวนภาพและไฟล์ของสินค้า สามารถกำ�หนดให้สินค้ามีภาพประกอบและไฟล์ประกอบ ได้มากกว่าห นึ่งภาพ หรือหนึ่งไ ฟล์ต ่อสินค้าแต่ละรายการ - รายละเอียดสินค้า (product attributes) สามารถเพิ่มเติมรายละเอียดสินค้าได้ เช่น ขนาด สี เป็นต้น - ประเภทสนิ ค้า (product types) สามารถจดั แ บ่งห มวดหมูส่ นิ ค้าไ ด้ เช่น รถยนต์ มอเตอร์ไบค์ อัลบั้มเพลง เครื่องประดับ เป็นต้น - การจัดกลุ่มผู้ซื้อ (shopper groups) สามารถจัดกลุ่มผู้ซื้อได้ โดยอาจจำ�แนกตามระดับ ราคา และวิธีการชำ�ระเงิน - ราคาสนิ ค้า สามารถกำ�หนดหรือร ะบุร าคาให้ก ับส ินค้าไ ด้ห ลายราคา เช่น ขึ้นอ ยู่ก ับป ริมาณ ที่ซื้อ หรือร าคาตามกลุ่มผู้ซ ื้อ เป็นต้น - การแสดงราคาสินค้า (price display) สามารถแสดงราคาสินค้าที่ยืดหยุ่นได้ โดยแสดง จำ�นวน สกุลเงิน ทั้งร วมหรือไม่รวมภาษีม ูลค่าเพิ่ม - การแปลงสกุลเงิน สามารถแปลงสกุลเงินได้ทันทีตลอดเวลา (on-the-fly price conversion)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-65
ธ ส
- สถิติ สามารถดูสถิติของร้านค้าออนไลน์ และมีเครื่องมือสรุปรายการต่างๆ เช่น ลูกค้า รายใหม่ คำ�สั่งซื้อใหม่ เป็นต้น - การควบคุมระดับสินค้าคงคลัง (stock level control) สามารถควบคุมระดับหรือจำ�นวน สินค้าและอะไหล่ในคลังส ินค้าได้ - การจัดการคำ�สั่งซื้อ (order management) สามารถจัดการคำ�สั่งซื้อได้ด้วยประวัติการ สั่งซื้อ การแจ้งเตือนลูกค้า และการแก้ไขคำ�สั่งซ ื้อไ ด้ - การจดั ท �ำ รายงาน สามารถจัดท ำ�รายงานพื้นฐ านได้ เช่น รายการขายสินค้า รายรับต ่อเดือน หรือต่อปี เป็นต้น - การจัดการสถานะการสั่งซื้อ (order status management) - การจัดการสกุลเงิน สามารถจัดการสกุลเงินที่แตกต่างกัน นอกจากฟีเจอร์พื้นฐานเหล่านี้แล้ว สามารถขยายความสามารถให้จูมล่าและเวอร์ชูมาร์ตโดยใช้ เอ็กซ์เทนชั่น และเลือกใช้เท็มเพลตได้ตามความเหมาะสมกับสินค้า และ/หรือบริการที่ทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การสาธิต (demo) การใช้เวอร์ช ูมาร์ตนั้น สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ http://virtuemart. net/home/demo โดยมที ัง้ ก ารสาธิตส �ำ หรับก ารใช้งานหน้าร า้ น (demo shop frontend) (ภาพที่ 5.31) และการ สาธิตสำ�หรับการใช้งานหลังร ้านของผู้ด ูแลระบบ (demo shop administrator)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-66
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ภาพที่ 5.26 การสาธิตการใช้งานหน้าร ้านและหลังร้านสำ�หรับผ ู้ดูแลระบบของเวอร์ชูมาร์ต
ที่มา: เว็บไซต์ http://demo.virtuemart.net/ และ http://demo.virtuemart.net/administrator/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-67
นอกจากนี้ จูมล่าลายไทย28 ได้เปิดตัวจูม ล่าที่รวมร้านค้าออนไลน์เอาไว้ ซึ่งแสดงผลเป็นภาษาไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ชื่อ ลายไทยอีคอมเมิร์ซเอดิชั่นวีเอ็ม 1.1.6 (LaiThai eCommerce Edition VM 1.1.6) ซึ่งพัฒนามาจากเวอร์ชูมาร์ตอีคอมเมิร์ซเวอร์ชั่น 1.1.6 (VirtueMart e-Commerce v1.1.6) โดยมีก ารแก้ไขฟีเจอร์ไว้หลายอย่าง เช่น - เพิ่มช ื่อจ ังหวัดและตัวย่อเป็นภาษาไทยไว้ในฐานข้อมูล - เพิ่มอ ัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ไว้ในฐานข้อมูล - แก้ไขการแสดงชื่อสินค้าเป็นภาษาไทย และอ่านออกได้ในแบบ UTF-8 - เพิ่มจ ำ�นวนการแสดงชื่อส ินค้าได้มากขึ้น บนชื่อเรื่อง (title) ของเว็บเบราเซอร์ - แก้ไขการแสดงข้อคิดเห็น (comment) ให้แสดงผลและตัดค ำ�ได้ถูกต้อง - แก้ไขการแสดงรายการในเท็มเพลต จากตัวเอียงเป็นต ัวปกติ - แก้ไขการแสดงเท็มเพลตให้รองรับอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์โพลเรอร์เวอร์ชั่น 7 และ 8 - แก้ไขการแสดงเวลาที่ถูกต้อง เมื่อบวกเวลาเพิ่มสำ�หรับประเทศไทย - เพิม่ โ มดูลรหัสไปรษณียไ์ ทยส�ำ หรับการจดั สง่ สนิ ค้า (Thailand post shipping module) - เพิ่มว ิธีก ารชำ�ระเงินของไทยชื่อ เพย์สบาย (PaySbuy) - เพิ่มร ูปแบบการกำ�หนดที่อยู่ข องร้านค้า - เพิ่มก ารแสดงชื่อประเทศในการสั่งซื้อหน้าสุดท้าย - แก้ไขโซนเวลา +7 ให้เป็นค่าปกติของระบบ - เพิ่มเมนู “ข่าว” (news) ชี้ไปยังคอมโพเนนต์หน้าแรก (com_frontpage) เพื่อแสดงผล หน้าร วมข่าว รายละเอียดเกี่ยวกับลายไทยอีคอมเมิร์ซเอดิชั่นวีเอ็ม 1.1.6 (LaiThai eCommerce Edition VM 1.1.6) ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ http://www.joomlacorner.com/jcornernews/600-laithaie-commerce-edition-vm-116-joomla-1522.html สำ�หรับเว็บไซต์ของไทยที่ใ ห้ความรู้เกี่ยวกับจูม ล่ามีห ลายแห่งด้วยกัน เช่น จูม ล่าไทยคลับ (Joomla Thai Club) สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ http://www.joomlathaiclub.com จูมล่าล ายไทย หรือ จูมล่าค อร์เนอร์ (JoomlaCorner) สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ http://www.joomlacorner.com/ เป็นต้น ซึ่งมีข ้อมูลเกี่ยวกับจูมล่ามากมาย เช่น เอ็กซ์เทนชั่นที่ออกใหม่ ข้อบกพร่องของเอ็กซ์เทนชั่น ความ คืบห น้าเกี่ยวกับการพัฒนาภาษาไทยสำ�หรับจูม ล่าเวอร์ชันใหม่ๆ เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 5.3.3 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 5.3.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 5 ตอนที่ 5.3 เรื่องที่ 5.3.3
ม
ธ ส
28 จูมล่าลายไทย เป็นชื่อเว็บไซต์จูมล่าภาษาไทยอย่างเป็นทางการ (Thai Joomla Official Site)
5-68
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
บรรณานุกรม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
กองบรรณาธิการเว็บไซต์ ARiP.co.th ฟรี!!!MS WebMatrix เครื่องมือส ร้างเว็บ ค้นค ืนว ันที่ 18 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.arip.co.th/news.php?id=413009 ธีทัต พิทักษ์พงศ์พันธุ์ “หลักเกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์หมวด Best E-Commerce ของ PORAR AWARD 2010” วารสาร e-commerce ฉบับ March-October, 2010, (No.135-142) บุรินทร์ เกล็ดมณี ทางเลือกในการเปิดเว็บไซต์ ค้นคืนวันที่ 24 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www. thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=539059915&Ntype=13 เทคนิคการทำ�แบนเนอร์ด้วยตัวเอง ค้นคืนวันที่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www. thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=539060142&Ntype=13 เทคนิคก ารรกั ษาความปลอดภัย ค้นค นื ว นั ท ี่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไ วด์เว็บ: http://www.thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=539060149&Ntype=13 เทคนิคในการปรับแต่งภาพสินค้าให้น่าสนใจ ค้นคืนวันที่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ: http:// www.thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=539060105&Ntype=13 หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ค้นค ืนว ันท ี่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ: http:// www.thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=539065770&Ntype=13 พงศ์ศ ักดิ์ อภิล ักข ิตพ งศ์ (2552) สร้างเว็บไซต์ใ นพริบต าด้วย Joomla! ฉบับส มบูรณ์ กรุงเทพมหานคร บริษัท ซีเอ็ดยูเคชัน จำ�กัด (มหาชน) พิภัช ดวงคำ�สวัสดิ์ สไลด์หลักก ารออกแบบเว็บเพจ “เทคนิคใ นการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเว็บไซต์” ค้นค ืนว ันที่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ: http://www.thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac =article&Id=539065765&Ntype=13 “เว็บไซต์ตลาดดอตคอม” ค้นคืนวันที่ 24 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.tarad.com/ “เว็บไซต์ข องศนู ย์ส ารสนเทศเครือข า่ ยแห่งป ระเทศไทย หรือท เี อชนิค” ค้นค นื วันท ี่ 15 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.thnic.net/index.php “เว็บไซต์ของมูลนิธิศูนย์ส ารสนเทศเครือข่ายไทย” ค้นคืนวันท ี่ 15 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www. thnic.or.th/ สาธิต ชัยวิวัฒน์ตระกูล (2551) สร้างเว็บไซต์ให้ครบสูตรด้วย Joomla! กรุงเทพมหานคร สำ�นักพิมพ์ วิตตี้กรุ๊ป เมษายน “เอกสารประกอบการจดทะเบียนและความหมายของโดเมนเนม” ค้นค ืนว ันท ี่ 18 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.porar.com/required-document.html Attard, Janet. “Twelve Secrets to Web Site Success.” ค้นค ืนว ันท ี่ 12 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.hostway.com/web-resources/anatomy/web-site-plan/twelve-secrets-to-website-success/
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ม
5-69
ธ ส
Barnhill, Meredith. “Top Web Design Mistakes Small Businesses Make.” ค้นคืนวันที่ 12 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.hostway.com/web-resources/how-to-build-awebsite/webdesign/top-web-design-mistakes-small-businesses-make/ ”Bounce rate.” ค้นคืนวันที่ 16 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://en.wikipedia.org/wiki/Bounce_ rate Charlotte. “10 Principles Of Navigation Design And Why Quality Navigation Is So Critical.” ค้นคืน วันท ี่ 12 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.onextrapixel.com/2009/07/03/10-principlesof -navigation-design-and-quality-navigation-is-so-critical/ “How To Make Your Own Web Mashup.” ค้นคืนวันท ี่ 30 เมษายน 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www. programmableweb.com/howto Kyrnin, Jennifer. “Effective Web Nagigation.” ค้นคืนวันที่ 12 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http:// webdesign.about.com/cs/webnaviga-tion/a/aaeffectivenav.htm “LaiThai e-Commerce Edition VM 1.1.6 (Joomal! 1.5.22).” ค้นค ืนวันท ี่ 20 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.joomlacorner.com/jcornernews/600-laithai-e-commerce-edition-vm-116-joomla1522.html “Microsoft Web Matrix.” ค้นคืนวันที่ 18 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.microsoft.com/ web/webmatrix/ Pawoot. “10 เทคนิคการออกแบบเว็บให้ Google รู้จัก” ค้นคืนว ันท ี่ 20 มีนาคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http:// www.pawoot.com/node/276 ”Pros and Cons.” ค้นคืนวันที่ 30 เมษายน 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://en.citizendium.org/wiki/ Mashup#Pros_and_Cons “Search Engine Optimization.” ค้นคืนวันที่ 16 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://en.wikipedia.org/ wiki/Search_Engine_Optimization “Ten Web Design Trends to Avoid.” ค้นค ืนว ันท ี่ 12 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.hostway. com/newsletter/2008/08#top-story “What is Joomla? ค้นคืนวันที่ 21 ธันวาคม 2553 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.joomla.org/about-joomla. html “Web traffic.” ค้นคืนวันที่ 16 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://en.wikipedia.org/wiki/Web_traffic White, Alex W. “Web Page Design vs Magazine Design.” ค้นค ืนว ันท ี่ 15 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.logoorange.com/web-page-design.php “XHTML Tutorial.” ค้นวันที่ 20 มกราคม 2554 จากเวิลด์ไวด์เว็บ http://www.w3schools.com/xhtml/ default.asp
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
5-70
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส