Unit 06

Page 1


เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชฉบั บ นี้ ได รั บ การสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละคุ ม ครองภายใต ก ฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ รวมทั้ ง สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา


หน่วย​ที่

6

ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ชื่อ วุฒิ​ ตำ�แหน่ง ​ หน่วย​ที่​เขียน​

6-1

ธ ส

รอง​ศาสตราจารย์สำ�รวย กม​ลา​ยุต​ต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

รอง​ศาสตราจารย์​สำ�รวย กม​ลา​ยุต​ต์ วท.บ. (สถิติ), M.S. (Statistics) M.Sc. (Computer Technology), Asian Institute of Technology รอง​ศาสตราจารย์​ประจำ�​สาขา​วิชา​ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยส​ ุโขทัย​ธร​รมาธิ​ราช หน่วย​ที่ 6


6-2

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

หน่วย​ที่ 6

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

เค้าโครง​เนื้อหา

แนวคิด

ตอน​ที่ 6.1 แนวคิดท​ ั่วไป​เกี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.1.1 ความ​หมาย ความ​เป็นม​ า และ​ประโยชน์​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.1.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิม​กับร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.1.3 การ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จาก​สถาบัน​การ​เงิน 6.1.4 เกณฑ์ก​ าร​ประเมิน​และ​ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ตอน​ที่ 6.2 ประเภท​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.2.1 การ​แบ่งป​ ระเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.2.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต 6.2.3 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ 6.2.4 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ 6.2.5 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด 6.2.6 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่ ตอน​ที่ 6.3 ภัย​คุกคาม การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ 6.3.1 ภัยค​ ุกคาม​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.3.2 การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 6.3.3 ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

1. ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เป็น​ระบบ​ทีเ่​กี่ยวข้อง​โดยตรง​กับก​ าร​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เป็น​ระบบ​ที่​ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​ อินเทอร์เน็ต โดย​มี​การนำ�​เทคโนโลยี​ดิจิทัล​มา​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ประกอบ​ด้วย​องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ 5 องค์​ประกอบ คือ 1) องค์กร​หรือบ​ ริษัทผ​ ู้​ผลิต​หรือ​จัด​จำ�หน่าย 2) ผู้​ขาย​หรือ​พ่อค้าท​ ี่​ขาย​สินค้า/บริการ​ใน​นาม​ ของ​องค์กร หรือ​บริษัท​ผู้​ผลิต หรือ​บริษัท​จัด​จำ�หน่าย​ผ่าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ 3) ผู้​ซื้อ​ หรือ​ลูกค้า​ที่​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ผ่าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ 4) สถาบัน​การ​เงิน​ที่​องค์กร​ใช้​เป็น​ ช่อง​ทางใน​การ​โอน​เงินร​ ะหว่าง​กัน​และ​กัน และ 5) ผู้​ให้​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน

ธ ส


ธ ส

วัตถุประสงค์

6-3

ธ ส

2. ประเภท​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​มี​ด้วย​กัน​หลาย​ประเภท​ขึ้น​กับ​วิธี​การ​ แบ่ง สำ�หรับ​ประเภท​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​นำ�​มา​กล่าว​ใน​ที่​นี้ ได้แก่ ระบบ​ ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​ เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด และ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​ เคลื่อนที่ 3. ภัย​คุกคาม เป็น​สิ่ง​ที่​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ค่อน​ข้าง​มาก​ต่อ​ความ​เชื่อ​มั่น​ของ​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย​ใน​ การ​ทำ�​ธุรกรรม​อิเล็กทรอนิกส์ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง เมื่อ​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เกิด​ ขึ้น ดัง​นั้น การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​เป็น​สิ่ง​ที่​องค์กร​ ธุรกิจ​ต่าง​ก็​ให้​ความ​สนใจ เนื่องจาก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ ​ต่อ​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​และ​ผล​ประโยชน์​ของ​รัฐ​จาก​สิทธิ​ใน​การ​ออก​เงิน​ตรา รวม​ทั้ง​ ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​การ​ฟอก​เงิน ดัง​นั้น ธนาคาร​แห่งป​ ระเทศไทย​จึง​ได้​กำ�หนด​ทิศทาง​ความ​ ร่วม​มือ​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ร่วม​กับ​สถาบัน​การ​เงิน​ทั้ง​ภาค​รัฐ​ และ​เอกชน เพื่อ​ให้​รองรับ​แนว​โน้ม​ของ​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​เกิด​ขึ้น และ​ผลัก​ดัน​ให้​บรรลุ​ เป้า​หมาย​ตาม​ที่ร​ ัฐบาล​ได้​วาง​ไว้

ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เมื่อศ​ ึกษา​หน่วย​ที่ 6 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. อธิบาย​แนวคิด​ทั่วไป​เกี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 2. อธิบาย​ประเภท​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 3. อธิบาย​ภัย​คุกคาม​และ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 4. อธิบาย​ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้

ธ ส

ธ ส


6-4

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ตอน​ที่ 6.1

ธ ส

แนวคิดท​ ั่วไป​เกี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 6.1 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.1.1 ความ​หมาย ความ​เป็น​มา และ​ประโยชน์​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.1.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.1.3 การ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จาก​สถาบัน​การ​เงิน เรื่อง​ที่ 6.1.4 เกณฑ์​การ​ประเมิน​และ​ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

1. ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เป็น​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ใช้​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ โดยที่​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​ อินเทอร์เน็ต และ​มกี​ ารนำ�​เทคโนโลยีด​ ิจิทัลม​ า​ใช้เ​ป็นเ​ครื่อง​มือส​ ำ�คัญใ​ น​การ​ชำ�ระ​เงิน ระบบ​ ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ อกจาก​จะ​ช่วย​ให้ท​ ั้งผ​ ูข้​ าย​และ​ผูซ้​ ื้อไ​ ด้ร​ ับค​ วาม​สะดวก รวดเร็วใ​ น​ การ​ทำ�​ธุรกรรม​แล้ว ยัง​ช่วย​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​ธุรกรรม​ร่วม​กัน​อีก​ด้วย 2. ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิม เป็นร​ ะบบ​ทีผ่​ ูซ้​ ื้อต​ ้อง​จ่าย​เงินสด หรือจ​ ่าย​เป็นเ​ช็คก​ ระดาษ หรือ​ ใช้​บัตร​เครดิต​เพื่อ​ส่ง​ข้อมูล​หมายเลข​บัตร​และ​จำ�นวน​เงิน​ไป​ยัง​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​เพื่อ​ ให้​โอน​เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย ส่วน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​เริ่ม​ต้น​มา​จาก​ระบบ​โอน​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเ​ป็นร​ ะบบงาน​ประยุกต์ย​ ่อย​ของ​ระบบ​อดี​ ไี​ อหรือร​ ะบบ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ท​ ำ�​หน้าที่​รับส​ ่งข​ ้อมูล​หมายเลข​บัตร​เครดิต หรือข​ ้อมูล​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ ระหว่าง​ธนาคาร​และ​บริษัท​ที่​เกี่ยวข้อง​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​ของ​หน่วย​งาน​ที่​มี​การ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ใช้​ระบบ​โอน​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ นั้น ซึ่งป​ ัจจุบัน​ได้​กลาย​เป็น​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​แพร่​หลาย​ใน​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์ 3. การ​ใช้บ​ ริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จาก​สถาบัน​การ​เงิน คือก​ าร​ที่​องค์กร​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์ส​ มัคร​ขอ​ใช้บ​ ริการ​ระบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์จ​ าก​สถาบันก​ าร​เงินท​ เี​่ ปิดใ​ ห้​ บริการ ซึ่งจ​ ะ​ช่วย​ให้การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ครบ​วงจร เป็นการ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ด้าน​ การ​ขาย​ให้​แก่​องค์กร และ​ยัง​สร้าง​ความ​น่าเ​ชื่อ​ถือ​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ รวม​ทั้ง​สร้าง​ภาพ​ลักษณ์​ของ​ ความ​ทัน​สมัย​อีกด​ ้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

6-5

ธ ส

4. เกณฑ์​ที่ใ​ ช้​ใน​การ​ประเมิน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น สามารถ​ประเมิน​ได้​ใน​มุม​มอง 4 ด้าน คือ ด้าน​เทคโนโลยี ด้าน​เศรษฐกิจ ด้าน​สังคม ด้าน​สถาบัน​การ​เงิน​และ​กฎหมาย ส่วน​ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบ​ด้วย การ​รักษา​ความ​ ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล ความ​ง่าย​และ​สะดวก​ใน​การ​ป้อน​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน ความ​น่า​เชื่อ​ถือ การ​คิด​ค่า​ธรรมเนียม และ​ความ​หลาก​หลาย​ของ​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 6.1 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. อธิบาย​ความ​หมาย ความ​เป็น​มา และ​ประโยชน์​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 2. อธิบาย​ขอ้ ดี​และ​ขอ้ ​ดอ้ ย​ของ​ระบบ​ช�ำ ระ​เงิน​แบบ​ดง้ั เดิม​และ​ระบบ​ช�ำ ระ​เงิน​อเิ ล็กทรอนิกส์​ได้ 3. อธิบาย​การ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จาก​สถาบัน​การ​เงินได้ 4. ระบุเ​กณฑ์​การ​ประเมิน​และ​ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส


6-6

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

เรื่อง​ที่ 6.1.1 ความ​หมาย ความ​เป็น​มา และ​ประโยชน์​ ของระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ดัง​ที่​ทราบ​กัน​ดีแล้ว​ว่า พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นการ​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต โดย​ใช้​เทคโนโลยี​เว็บ​มา​ประยุกต์ ซึ่ง​ในการ​ทำ�​ธุรกรรม​จำ�เป็น​ต้อง​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​กับ​ผู้ข​ าย โดย​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ัง​กล่าว​ต้อง​เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต​ด้วย​ เช่น​กัน จึง​ได้​มี​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ขึ้น​มา​เพื่อ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​และ​รวดเร็ว​ใน​การ​ทำ�​ ธุรกรรม​แก่​ทั้ง​สอง​ฝ่าย และ​เนื่องจาก​การ​ทำ�​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ม​ ีด​ ้วย​กัน​หลาก​หลาย​ประเภท เช่น แบบ​บี​ ทูบี แบบ​บที​ ซู​ ี แบบ​ซที​ ูบี แบบ​จที​ ูบี เป็นต้น จึงท​ ำ�ให้ร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ม​ ดี​ ้วย​กันห​ ลาก​หลาย​ประเภท​ เช่น​กัน สำ�หรับ​เนื้อหา​ใน​หน่วย​นี้​จะ​กล่าว​ถึง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ประเภท​ซี​ทูบี คือ การ​ที่​ผู้​บริโภค​ ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​บริษัทผ​ ู้​ขาย

ธ ส

ธ ส

1. ความ​หมาย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

สำ�หรับค​ วาม​หมาย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้น ได้ม​ กี​ าร​กำ�หนด​ความ​หมาย​ไว้ด​ ้วย​กันห​ ลาก​ หลาย ดังนี้ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ คือ​การ​แลก​เปลี่ยน​ทางการ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์​ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​และ​ ผูข​้ าย โดย​มก​ี าร​ใช้เ​ครือ่ ง​มอื ด​ จิ ทิ ลั ท​ างการ​เงิน เช่น เงินสด​ดจิ ทิ ลั (cash digital) เช็คอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ (electronic check) การ​เข้า​รหัส​บัตร​เครดิต (credit card number encryption) เป็นต้น (http://www.ignou.ac.in/ virtualcompusladit/course/cst 304/ecom 2.htm) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ หมาย​ถึง การ​ใช้​เทคโนโลยี​ดิจิทัล​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​ บริการ ซึ่ง​เทคโนโลยีด​ ิจิทัล​มี​ด้วย​กันม​ ากมาย​หลาย​ชนิด เช่น เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic cash) บัตร​ เครดิต สมา​ร์​ตการ์ด (smart card) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อินเทอร์เน็ต (internet based payment system) เป็นต้น (Laudon and Laudon 2008) ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ หมาย​ถึง ระบบ​ที่ผ​ ู้ซ​ ื้อช​ ำ�ระ​เงินค​ ่าส​ ินค้า/บริการ​ผ่าน​เว็บไซต์ข​ อง​ผู้ข​ าย​ โดย​ใช้บ​ ัตร​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​อาจ​เป็น​บัตร​เครดิต​หรือ​บัตร​เดบิต (http://www.bitpipe.com/tlist/OnlinePayments.html) ระบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ หมาย​ถงึ การ​ช�ำ ระ​เงินจ​ าก​ผซู​้ ือ้ ห​ รือผ​ บู​้ ริโภค​ให้แ​ ก่ผ​ ขู​้ าย​หรือบ​ ริษทั ผ​ า่ น​ ระบบ​เครือ​ข่าย​โทรคมนาคม​หรือ​ระบบ​เครือ​ข่าย​อิเล็กทรอนิกส์​โดย​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ที่​ทัน​สมัย (Sumanjeet 2009)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-7

ธ ส

จาก​ความ​หมาย​ทีก่​ ล่าว​มา สามารถ​สรุปค​ วาม​หมาย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้ว​ ่า เป็นร​ ะบบ​ ที่​ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต โดย​เงิน​ที่​นำ�​มา​ชำ�ระ​ ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ของ​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​อยู่​ด้วย​กัน​หลาก​หลาย​ประเภท เช่น เงินสด​ อิเล็กทรอนิกส์ เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ บัตร​เครดิต บัตร​เดบิต สมา​ร์​ตการ์ด เป็นต้น เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ดัง​กล่าว​ เกิด​จาก​การนำ�​เทคโนโลยี​ดิจิทัล​มา​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ​ใน​การ​สร้าง และ​ใน​ส่วน​ของ​ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงิน ใช้​ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ​ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ

ธ ส

ธ ส

2. ความ​เป็น​มา​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ก่อน​คริสต์ศ​ ักราช​ที่ 10 การ​ซื้อข​ าย​สินค้าแ​ ละ/หรือบ​ ริการ​ยังไ​ ม่มกี​ าร​ใช้เ​งินท​ ีเ่​ป็นธ​ นบัตร​หรือเ​หรียญ​ เหมือน​ปัจจุบัน แต่ใ​ ช้เ​ปลือก​หอย​เป็นส​ ื่อกลาง​ใน​การ​แลก​เปลี่ยน​สินค้าแ​ ทน​เงิน ต่อม​ า​ใน​ช่วง​ศตวรรษ​ที่ 6 ถึง​ ศตวรรษ​ที่ 10 ได้​มีก​ าร​ใช้เ​หรียญ​ที่​ทำ�​ด้วย​โลหะ​ใน​ประเทศ​กรีซ​และ​อินเดีย เหรียญ​โลหะ​ดัง​กล่าว​ได้​รับ​ความ​ นิยม​และ​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​การ​ค้า​ประมาณ 2,000 ปี​ที่​ผ่าน​มา ต่อ​มา​ใน​ช่วง​ยุค​กลาง (middle age) ซึ่งเ​ป็น​ช่วง​ประวัติศาสตร์ข​ อง​ทวีป​ยุโรป​คือ ระหว่าง​ศตวรรษ​ที่ 5 ถึง​ศตวรรษ​ที่ 15 พ่อค้า​ใน​ประเทศ​อิตาลี​ได้น​ ำ�​เช็ค​มา​ใช้​เป็น​ครั้ง​แรก ใน​ส่วน​บริเวณ​แถบ​ทวีป​อเมริกาเหนือ ใน​ปี ค.ศ. 1690 สหรัฐอเมริกา​ได้เ​ริ่มพ​ ิมพ์ธ​ นบัตร​ขึ้น​มา​ใช้​เป็น​ครั้ง​แรก​ที่ร​ ัฐ​แมส​ซา​ชูเ​สท​ท์ ใน​ยุค​นั้น​การ​ชำ�ระ​ เงิน​ใน​ร้าน​ค้า​จะ​เป็นการ​ชำ�ระ​ด้วย​เงินสด​และ​การ​ใช้​เช็ค ต่อม​ า​ใน​ปี ค.ศ. 1950 บริษัท ได​เนอ​ร์ส​คลับ (Diners Club) ใน​สหรัฐอเมริกา​ได้​พัฒนา​บัตร​เครดิต​ขึ้น​มา​ใช้​เป็น​ครั้ง​แรก สำ�หรับป​ ัจุบ​ ันจ​ ัดเ​ป็นช​ ่วง​กึ่งกลาง​ของ​วิวัฒนาการ​การ​ชำ�ระ​เงิน โดย​เป็นช​ ่วง​ที่ม​ ีก​ าร​เปลี่ยนแปลง​การ​ ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​และ​เช็คไ​ ป​เป็นการ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​บัตร​เครดิตแ​ ละ​การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจ​ ะ​เห็นไ​ ด้​ ว่า​อัตรา​การ​ใช้​บัตร​เครดิต​และ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​รับ​ความ​นิยม​เพิ่ม​ขึ้น​อย่าง​แพร่​หลาย​และ​กำ�ลัง​ จะ​มา​แทนที่ก​ าร​ใช้​เงินสด​และ​เช็ค​ใน​ไม่​ช้า​นี้ โดย​ใน​ปี ค.ศ. 2003 ได้​เริ่ม​มี​การนำ�​บัตร​เครดิตแ​ ละ​บัตร​เดบิต​ มา​ผสม​ผสาน​กัน​สำ�หรับ​ชำ�ระ​เงิน​ใน​ร้าน​ค้า และ​พบ​ว่า​ปริมาณ​การ​ใช้​บัตร​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​สูง​ขึ้น​และ​มากกว่า​ การ​ใช้​เงินสด​และ​เช็ค (Gerdes et al. 2005 อ้าง​ใน Turban 2008 : 549) นอกจาก​นี้​แล้ว จาก​การ​สำ�รวจ​โดย​ บริษัท การ์ต​ เ​นอ​ร์ก​ รุ๊ป (Gartner Group Inc.) พบ​ว่า ปี ค.ศ. 1999 จน​กระทั่งถ​ ึงป​ ี ค.ศ. 2005 บัตร​เครดิตแ​ ละ​ บัตร​เดบิตถ​ ูก​นำ�​ไป​ใช้​ชำ�ระ​เงิน​ใน​ร้าน​ค้า​ต่างๆ เพิ่ม​มาก​ขึ้น​จาก​ร้อย​ละ 21 เป็น​ร้อย​ละ 33 ใน​ขณะ​ที่​การ​ชำ�ระ​ เงิน​ด้วย​เงินสด​ลด​ลง​จาก​ร้อย​ละ 39 เป็น​ร้อย​ละ 33 ใน​ปี ค.ศ. 2001 การ​ใช้​ธนบัตร​และ​เช็ค​ที่​ทำ�​จาก​กระดาษ​ เพื่อ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ​บริการ​ลด​ลง​เหลือ​เพียง​ร้อย​ละ 78 ใน​ขณะ​เดียวกัน อีก​ร้อย​ละ 22 เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ แบบ​อิเล็กทรอนิกส์ และ​ใน​ปี ค.ศ. 2005 บัตร​เครดิต​และ​บัตร​เดบิต​ได้​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​ และ​บริการ​ตาม​ร้าน​ค้า​ต่างๆ ประมาณ​ร้อย​ละ 55 ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ทั้งหมด ส่วน​ที่​เหลือ​เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​ เงินสด​และ​เช็ค (Dove Consulting 2006 อ้าง​ใน Turban 2008) จาก​ข้อมูล​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น จะ​เห็น​ได้​ว่า​แนว​โน้ม​การ​ชำ�ระ​เงิน​ลักษณะ​ดัง​กล่าว​ได้​เกิด​ขึ้น​อย่าง​ ต่อ​เนื่อง ซึ่ง​การ​เปลี่ยนแปลง​วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​เดิม​มา​เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ยัง​คง​เพิ่ม​ขึ้น ​เรื่อยๆ โดย​เฉพาะ​ใน​โลก​ของ​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ หาก​สังเกต​ดู​จะ​พบ​ว่าก​ ว่า​ทศวรรษ​แล้ว​ที่​ได้​มี​การ​กล่าว​ถึง​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-8

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

สังคม​การ​ทำ�​ธุรกิจ​ที่ไ​ ม่ใ​ ช้เ​งินสด และ​แม้ว่า​การ​ใช้เ​งินสด​และ​เช็ค​ยัง​คง​มีป​ รากฏ​อยู่​ก็ตาม แต่​ก็ม​ ีธ​ ุรกิจ​จำ�นวน​ ไม่​น้อย​ที่​สามารถ​ดำ�เนิน​การ​ซื้อ​ขาย​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ได้​โดย​ไม่มี​การ​ใช้​เงินสด​และ​เช็ค​เลย โดย​เฉพาะ​ อย่าง​ยิ่ง​ประเทศ​ใน​แถบ​ทวีป​อเมริกาเหนือ ปริมาณ​การ​ซื้อ​ขาย​สินค้า​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์ ร้อย​ละ 90 เป็นการ​ ใช้บ​ ัตร​เครดิต ซึ่ง​บาง​ประเทศ​ใน​ยุโรป อย่าง​เช่น ประเทศ​อังกฤษ ฝรั่งเศส และ​สเปน ​ก็​นิยม​ใช้​บัตร​เครดิต ​เช่น​เดียวกัน (Dove Consulting 2006 อ้าง​ใน Turban 2008) นอกจาก​นี้แ​ ล้ว ใน​บาง​ประเทศ​ที่ไ​ ม่มีก​ าร​ใช้บ​ ัตร​เครดิตจ​ ำ�พวก​บัตร​วีซ่าห​ รือบ​ ัตร​มาสเตอร์ ประชาชน​ ก็​ยัง​ชอบ​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ออนไลน์​มากกว่า​วิธี​อื่น เช่น ใน​สหพันธ์​สาธารณรัฐ​เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ และ​ ญี่ปุ่น นิยม​ใช้ว​ ิธี​การ​ชำ�ระ​เงินโ​ ดย​ใช้​บัตร​เดบิต ใน​ส่วน​ของ​ผู้​ค้า​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบบี​ทู​ซี (B2C) นั้น แนว​โน้ม​การ​ใช้​บัตร​เครดิต​จะ​เพิ่ม​ มาก​ขึ้น​อย่าง​เห็น​ได้​ชัด โดย​เฉพาะ​ใน​สหรัฐอเมริกา​และ​ยุโรป​ตะวัน​ตก การ​ทำ�​ธุรกิจ​แบบ​ออนไลน์​จำ�เป็น​ ต้อง​ใช้​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​แม้ว่า​จะ​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​เกิด​ขึ้น​ก็ตาม และ​ยิ่ง​กว่า​นั้น การ​ชำ�ระ​เงิน​โดย​ใช้​ บัตร​เดบิตก​ ็​มี​แนว​โน้มเ​พิ่ม​ขึ้น​ไป​พร้อมๆ กัน​ด้วย นอกจาก​นี้​แล้ว ผู้​ค้า​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​ระดับ​นานาชาติจ​ ำ�เป็น​ต้อง​ ใช้​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​หลาก​หลาย ทั้งนี้ ก็​เพื่อ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ​หรือ​ผู้​บริโภค​ใน​ ประเทศ​ต่างๆ ทั่ว​โลก​สามารถ​เลือก​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ได้​ตาม​ความ​สะดวก เช่น การ​โอน​เงิน​ผ่าน​ธนาคาร เช็ค​ อิเล็กทรอนิกส์ บัตร​เครดิต บัตร​กำ�นัล​หรือ​บัตร​ของ​ขวัญ เป็นต้น เพราะ​จะ​ช่วย​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​และ​ราย​ได้​ ให้​แก่​การ​ทำ�​ธุรกิจ​มาก​ขึ้น สำ�หรับ​ใน​ประเทศไทย จาก​ผล​การ​สำ�รวจ (ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย 2551) พบ​ว่า​ผู้​ซื้อ​สินค้า​ผ่าน​ ระบบ​อินเทอร์เน็ตร​ ้อย​ละ 60 ใช้บ​ ัตร​เครดิต ทีเ่​หลืออ​ ีกร​ ้อย​ละ 40 ใช้ว​ ิธโี​ อน​เงินใ​ น​บัญชีธ​ นาคาร ซึ่งห​ มายความ​ รวม​ถึง​บริการ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​การ​หัก​บัญชีอ​ ัตโนมัติ​แบบ​ออนไลน์ (direct debit) บัตร​เดบิต และ​การ​โอน​เงิน นอกจาก​นี้​แล้ว เพื่อ​เป็นการ​สร้าง​ความ​เชื่อม​ ั่นใ​ ห้แ​ ก่​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อินเทอร์เน็ต ปัจจุบัน​ธนาคาร​และ​ สถาบัน​การ​เงิน​จึง​มี​แนวทาง​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​เพื่อ​ให้​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน ดังนี้ 1. บริการ​อนิ เทอร์เน็ตแ​ บ​งกิง้ (internet banking) และ/หรือธ​ ุรกิจป​ ระเภท​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​เกตเวย์ (payment gateway) ซึ่ง​เป็นการ​เชื่อม​โยง​ระหว่าง​เว็บไซต์​ของ​ร้าน​ค้า​กับ​ระบบ​เครือ​ข่าย​ของ​ธนาคาร โดย​ ธนาคาร​สามารถ​ดำ�เนิน​การ​ตาม​ข้อมูล​ธุรกรรม​เชิง​รายการ หรือทราน​แซ​กชั่น (transaction) ​ที่​ได้​รับ​เพื่อ​ตัด​ โอน​เงิน​ใน​บัญชี​ของ​ลูกค้า หรือ​ส่งเ​ป็น​คำ�​สั่งโ​ อน​เงินผ​ ่าน​เข้า​สู่​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ระหว่าง​ธนาคาร​ด้วย​กัน โดย​ จะ​ต้อง​มี​มาตรการ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​ได้ม​ าตรฐาน 2. สำ�หรับก​ าร​ชำ�ระ​เงินท​ ี่​มี​มูลค่าไ​ ม่​มาก​นัก (micro payment) นิยม​ชำ�ระ​เงิน​โดย​การ​ใช้​เงิน​ดิจิทัล ซึ่ง​บันทึก​จำ�นวน​เงิน​ลง​บน​บัตร​สมา​ร์​ตการ์ด (ซึ่ง​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​สมา​ร์​ตการ์ด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.5) เพราะ​สามารถ​สร้าง​เสริมร​ ะบบ​รกั ษา​ความ​ปลอดภัยใ​ ห้ม​ ัน่ ใจ​ได้ม​ ากกว่าร​ ะบบ​บตั ร​เดบิตแ​ ละ​บตั ร​เครดิต​ ทั่วไป

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-9

ธ ส

3. องค์​ประกอบ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ป​ ระกอบ​ด้วย​องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ 5 องค์​ประกอบ คือ 3.1 องค์กร​หรือ​บริษัท​ผู้​ผลิต​หรือ​จัด​จำ�หน่าย​ทั้ง​ภาค​รัฐ​หรือ​ภาค​เอกชน​ที่​จำ�หน่าย​สินค้า/บริการ​ใน​ ธุรกิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ เป็นห​ น่วย​งาน​ทที​่ �​ำ หน้าทีผ​่ ลิตห​ รือจ​ ดั จ​ ำ�หน่าย​สนิ ค้า/บริการ​ตา่ งๆ ผ่าน​ระบบ​อนิ เทอร์เน็ต โดย​อาจ​เป็นอ​ งค์กร​ของ​ภาค​รัฐห​ รือ​ภาค​เอกชน​ก็ได้ 3.2 ผูข​้ าย​หรือพ​ อ่ ค้าท​ ขี​่ าย​สนิ ค้า/บริการ​ใน​นาม​ของ​องค์กร​หรือบ​ ริษทั ผ​ ผู​้ ลิตห​ รือจ​ ดั จ​ �ำ หน่าย​ใน​ธรุ กิจ​ อิเล็กทรอนิกส์ หมาย​ถึง ผู้ข​ าย​ราย​ย่อย​ที่​ขาย​สินค้า/บริการ​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ 3.3 ผู้​ซื้อ​หรือ​ลูกค้า​ที่​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ หมาย​ถึง ผู้​ซื้อ​หรือ​ผู้​บริโภค​ทั่วไป​ที่​ สั่ง​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ใน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ 3.4 สถาบัน​การ​เงิน​ที่​องค์กร​หรือ​บริษัท​ผู้​ผลิต​หรือ​จัด​จำ�หน่าย รวม​ทั้ง​ผู้​ขาย​และ​ผู้​ซื้อเปิด​บัญชี​ ไว้​เพื่อ​การ​โอน​เงิน เป็น​สถาบันก​ าร​เงิน​หรือ​ธนาคาร​ที่​ผู้​ผลิต ผู้​ขาย และ​ผู้​ซื้อ ทำ�การ​เปิด​บัญชี​ไว้​เพื่อ​ใช้​เป็น​ ช่อง​ทางใน​การ​โอน​เงิน​ระหว่าง​กันแ​ ละ​กัน เมื่อ​ต้อง​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ 3.5 ผู้​ให้​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ทำ�​หน้าที่​เป็น​ตัวกลาง​ใน​การ​รับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ลูกค้า​และ​จัดการ​การ​ โอน​เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ผ่าน​สถาบัน​การ​เงิน และ​แจ้ง​ให้​ผู้​ขาย​หรือ​ผู้​ประกอบ​การ​ทราบ​ถึง​ผล​ของ​การ​โอน​เงิน​ว่า​ สำ�เร็จ​หรือ​ล้ม​เหลว

ธ ส

ธ ส

ธ ส

4. ประโยชน์​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

นอกจาก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​เป็น​ช่อง​ทาง​สำ�คัญ​ของ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​แล้ว ยัง​ มี​ประโยชน์ต​ ่อ​ผู้​ที่​เกี่ยวข้อง​อีก​มากมาย ดังนี้ 4.1 อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้แ​ ก่ผ​ ซ​ู้ อื้ การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ช​ ่วย​ทำ�ให้ผ​ ูซ้​ ื้อไ​ ม่​ จำ�เป็น​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ชำ�ระ​เงิน​หรือ​ไป​ส่ง​เช็ค​ด้วย​ตนเอง​ให้​แก่​ผู้​ขาย​เหมือน​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ทั่วไป ผู้​ซื้อ​เพียง​ แต่ล​ ง​ทะเบียน​และ​ป้อน​หมายเลข​บัตร​เครดิตผ​ ่าน​เว็บไซต์ข​ อง​ผูข้​ าย ข้อมูลข​ อง​ผูซ้​ ื้อก็จ​ ะ​ถูกบ​ ันทึกล​ ง​ใน​เครื่อง​ แม่​ข่าย​ของ​ผู้​ขาย ซึ่ง​ใน​ครั้ง​ต่อ​ไป​หาก​ผู้ซ​ ื้อ​ต้องการ​ซื้อ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​จาก​เว็บไซต์​ดัง​กล่าว​ก็​เพียง​แต่​ ล็อกอิน​เข้าไป​เท่านั้น กอปร​กับ​ปัจจุบันธ​ ุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​กลาย​เป็นการ​ทำ�​ธุรกรรม​ที่ไ​ ด้​รับ​ความ​นิยม​ทั่ว​ โลก ดัง​นั้น บริษัท​ต่างๆ ทั่วโ​ ลก​จึง​มีร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​ให้​บริการ​แก่​ผู้​ซื้อ​ปรากฏ​อยู่​บน​เว็บไซต์​ ของ​ตน​อยู่​แล้ว 4.2 ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ เนื่องจาก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ไม่​จำ�เป็น​ต้องเต​รี​ยม​ เอกสาร​หรือ​ใช้​พนักงาน​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ ระบบ​จะ​ใช้​ข้อมูล​ที่​ผู้​ซื้อ​ป้อน​ผ่าน​แบบ​ฟอร์ม​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ อิเล็กทรอนิกส์บ​ น​เว็บไซต์ จาก​นั้นข​ ้อมูลท​ ี่ป​ ้อน​จะ​ถูกส​ ่งผ​ ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ตไ​ ป​ประมวลผล​ด้วย​ซอฟต์แวร์​ ที่พ​ ัฒนา​ขึ้นม​ า​เพื่อท​ ำ�​หน้าที่ร​ ับช​ ำ�ระ​เงิน ซึ่งค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ดำ�เนินก​ าร​ดังก​ ล่าว​จะ​น้อย​กว่าก​ าร​ดำ�เนินก​ าร​โดย​ พนักงาน เพราะ​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​และ​การ​สื่อสาร​ทีน่​ ำ�​มา​ใช้น​ ับว​ ันจ​ ะ​มรี​ าคา​ถูกล​ ง​เมื่อเ​ทียบ​กับค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​ การ​จ้าง​พนักงาน

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-10

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

4.3 ประหยัด​เวลา​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ช่วย​ให้การ​ชำ�ระ​เงิน​เป็น​ไป​ด้วย​ ความ​รวดเร็ว แม้ว่าผ​ ู้ซ​ ื้อแ​ ละ​ผู้ข​ าย​จะ​อยู่ห​ ่าง​ไกล​กันม​ าก​ก็ตาม เพราะ​เป็นการ​รับส​ ่งข​ ้อมูลก​ าร​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​ ระบบ​อินเทอร์เน็ต​ช่วย​ประหยัด​เวลา​เมื่อเ​ทียบ​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​อื่น 4.4 ครอบคลุม​ทั่ว​ทุก​พื้นที่ การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​ครอบคลุม​ได้​ ทัว่ ท​ กุ พ​ ืน้ ทีท​่ มี​่ ก​ี าร​เชือ่ ม​ตอ่ ร​ ะบบ​อนิ เทอร์เน็ต ซึง่ เ​มือ่ เ​ทียบ​กบั ร​ ะบบ​ช�ำ ระ​เงินท​ ัว่ ไป​ทจี​่ �ำ เป็นต​ อ้ ง​ช�ำ ระ​ผา่ น​ธนาคาร ​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน หาก​เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​การ​ก่อ​ตั้ง​สาขา​ของ​ธนาคาร​กับ​การ​เชื่อม​ต่อ​ระบบ​อินเทอร์เน็ต จะ​เห็น​ได้​ว่าการ​เชื่อม​ต่อ​ระบบ​อินเทอร์เน็ต​สามารถ​ครอบคลุม​พื้นที่​ได้​กว้าง​ไกล​กว่า ซึ่ง​หาก​บริเวณ​นั้น​ ไม่มี​สาขา​ของ​ธนาคาร​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน​ตั้ง​อยู่​แต่​มี​การ​เชื่อม​ต่อ​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ก็​ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ ชำ�ระ​เงิน​ให้แ​ ก่​ผู้​ขาย​ได้ 4.5 สร้าง​ความ​นา่ เ​ชือ่ ถ​ อื ด​ า้ น​ความ​มนั่ คง​ปลอดภัยใ​ น​การ​ท�​ำ ธรุ กรรม ประโยชน์ใ​ น​ขอ้ น​ มี​้ ค​ี วาม​ส�ำ คัญ​ มาก​ต่อก​ าร​ตัดสินใ​ จ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ลูกค้าท​ ี่ซ​ ื้อข​ าย​สินค้าผ​ ่าน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจาก​ลูกค้าท​ ี่ช​ ำ�ระ ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิตจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​แจ้ง​ข้อมูล​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​บัตร​เครดิตข​ อง​ตนเอง ซึ่ง​หาก​ข้อมูล​ดัง​กล่าว​ ถูกล​ ักลอบ​หรือด​ ักจ​ ับไ​ ป​โดย​กลุ่มบ​ ุคคล​มิจฉาชีพ ก็จ​ ะ​ทำ�ให้ก​ ลุ่มบุคคล​มิจฉาชีพส​ ามารถ​นำ�​ไป​ใช้ใ​ น​การ​ชำ�ระ​ ค่าส​ นิ ค้าบ​ ริการ​ผา่ น​ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ไ​ ด้ ปัจจุบนั ร​ ะบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ม​ ร​ี ะบบ​รกั ษา​ความ​ปลอดภัย​ ข้อมูล​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ที่​ได้​มาตรฐาน​ตาม​ที่​องค์กร​ระดับ​นานาชาติ​เป็น​ผู้​กำ�หนด ดัง​นั้น ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​สร้าง​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​ใน​เรื่อง​ความ​มั่นคง​ปลอดภัย​ให้​แก่​ทั้ง​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย 4.6 ช่วย​รักษา​ลูกค้า​ให้​กับ​ธุรกิจ จาก​การ​ที่​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ช่วย​อำ�นวย​ความ​สะดวก ลด​ค่า​ใช้​จ่าย ประหยัด​เวลา และ​มี​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ จึงท​ ำ�ให้​ลูกค้า​ให้​ความ​ไว้​วางใจ​และ​ นิยม​ซื้อส​ ินค้าแ​ ละ/หรือบ​ ริการ​จาก​ผูข้​ าย​ผ่าน​เว็บไซต์ ซึ่งเ​ท่ากับเ​ป็นการ​สร้าง​ความ​ภักดีใ​ น​ตราสินค​ ้าแ​ ละ/หรือ​ บริการ และ​เป็นการ​ช่วย​รักษา​ลูกค้าใ​ ห้​กับ​ธุรกิจไ​ ด้​เป็นอ​ ย่าง​ดี​ด้วย 4.7 สร้าง​ความ​ได้​เปรียบ​ใน​การ​แข่งขัน เนื่องจาก​ใน​ปัจจุบัน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​เป็นการ​ทำ�​ธุรกิจ​ ที่​ได้​รับ​ความ​นิยม​อย่าง​แพร่​หลาย ดัง​นั้น ผู้​ขาย​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ที่​สามารถ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​แก่​ ผู้​ซื้อ​ได้​แบบ​ครบ​วงจร เริ่ม​ตั้งแต่ก​ าร​เลือก​ซื้อส​ ินค้า​และ/หรือ​บริการ การ​ส่ง​มอบ​สินค้า/บริการ จน​กระทั่ง​ถึง​ การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ ย่อม​เป็นการ​สร้าง​ความ​ได้​เปรียบ​ใน​การ​แข่งขัน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ราย​นั้นๆ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.1.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.1.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.1 เรื่อง​ที่ 6.1.1


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-11

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.1.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิม​กับร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ดังท​ ีท่​ ราบ​กันด​ ีแล้วว​ ่า การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นน​ ิยม​ใช้ร​ ะบบ​การ​ชำ�ระ​เงินท​ ีเ่​รียก​ว่า ระบบ​ชำ�ระ​ เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​มี​ความ​แตก​ต่าง​จาก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​ใน​หลาย​ ประเด็น และ​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินท​ ั้ง​สอง​ระบบ​ก็​มีข​ ้อดี​และ​ข้อ​จำ�กัด​ที่​แตก​ต่าง​กัน มี​ราย​ละเอียด​ดังนี้

1. ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิม

ธ ส

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม (conventional or traditional payment system) เป็น​ระบบ​ที่​ผู้​ซื้อ​ ต้อง​จ่าย​ค่า​สินค้า/บริการ​ด้วย​เงินสด หรือ​จ่าย​ด้วย​เช็ค​กระดาษ หรือ​ใช้​บัตร​เครดิต​เพื่อ​ส่ง​ข้อมูล​หมายเลข​ บัตร​และ​จำ�นวน​เงิน​ไป​ยังธ​ นาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร​เพื่อ​ให้​โอน​เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย สำ�หรับ​กรณี​ที่​เป็นการ​ชำ�ระ​เงินสด ผู้​ซื้อ​จะ​ถอน​เงินสด​จาก​บัญชี​เงิน​ฝาก​ของ​ธนาคาร​ที่​เปิด​บัญชี​ไว้ เพื่อ​นำ�​มา​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ด้วย​เงินสด​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ตาม​ราคา​ของ​สินค้า/บริการ และ​เป็นการ​ซื้อ​ขาย​แบบ​ เผชิญ​หน้า​ระหว่าง​ทั้ง​สอง​ฝ่าย​คือ ผู้ซ​ ื้อแ​ ละ​ผู้ข​ าย ดัง​ภาพ​ที่ 6.1

ธ ส

ธนาคาร ​ฝั่ง​ผู้​ขาย

ธ ส

6. ปรับปรุงข​ ้อมูล การ​เปลี่ยนแปลง จำ�นวน​เงิน​ใน​บัญชี

ม ธนาคาร ​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ

ธ ส

5. ฝาก​เงินสด

3. ชำ�ระ​เงินสด

ผู้​ขาย

1. สั่งซ​ ื้อ​สินค้า​ และ/หรือ​ บริการ​ ที่ต​ ้องการ

ธ ส

2. เบิกเ​งินสด

ภาพ​ที่ 6.1 ขั้นต​ อน​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิมด​ ้วย​เงินสด

ธ ส

4. ส่งม​ อบ ​สินค้า​ และ/หรือ​ บริการ

ม ผู้​ซื้อ


6-12

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

จาก​ภาพ​ที่ 6.1 เป็น​ภาพ​แสดง​ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​ด้วย​เงินสด มี​ขั้น​ตอน​ดังนี้ 1. เริ่มจ​ าก​ผู้ซ​ ื้อส​ ินค้า​และ/หรือ​บริการ​ที่ต​ ้องการ​จาก​ผู้​ขาย 2. ผู้ซ​ ื้อ​เบิก​เงินสด​จาก​ธนาคาร​ที่​ฝาก​ไว้เ​พื่อ​นำ�​มา​จ่าย​เป็นค​ ่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย 3. ผู้ซ​ ื้อ​ชำ�ระ​เงินสด​ให้​แก่​ผู้ข​ าย 4. ผู้ข​ ายส่ง​มอบ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ 5. ผู้ข​ าย​นำ�​เงินสด​ที่​ได้​ไป​ฝาก​ไว้​ที่​ธนาคาร​ที่​เปิด​บัญชี​ไว้ 6. ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​และ​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย​ปรับปรุง​ข้อมูล​จำ�นวน​เงิน​ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย​ตาม​ ลำ�ดับ ซึ่ง​ก็​คือเ​งินสด​จะ​ย้าย​จาก​ธนาคาร​ฝั่งผู้ซ​ ื้อไ​ ป​ยัง​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย ส่วน​กรณี​ที่​ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​โดย​ไม่​ใช้​เงินสด ซึ่ง​อาจ​เป็น​บัตร​เครดิต​หรือ​เช็ค​กระดาษ ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย​จะ​นำ�​ข้อมูล​ของ​บัตร​เครดิต ชื่อ​ธนาคาร​ที่​ออก​บัตร​เครดิต หรือ​กรณี​ที่​เป็น​เช็ค​กระดาษ ก็​จะ​ นำ�​ข้อมูล​หมายเลข​เช็ค และ​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​เช็ค​ไป​ดำ�เนิน​การ​เรียก​เก็บเ​งิน​ต่อ​ไป ดัง​ภาพ​ที่ 6.2

ธ ส

ธ ส

ธนาคาร​ ฝั่ง​ผู้​ขาย

6. บันทึกข​ ้อมูล​ การ​เปลี่ยนแปลง ​เงิน​ใน​บัญชี

ธนาคาร​ ฝั่ง​ผู้​ซื้อ

ธ ส

ธ ส

4. ข้อมูลบ​ ัตร​เครดิต/ เช็คก​ ระดาษ​ของ​ผู้​ซื้อ

ธ ส

3. ชำ�ระ​เงิน​ด้วย ​บัตร​เครดิต/ เช็คก​ ระดาษ

ผู้​ขาย

ธ ส

ผู้​ซื้อ

ภาพ​ที่ 6.2 ขั้นต​ อน​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิมท​ ี่​ไม่ใช่​เงินสด

ธ ส

5. ส่งม​ อบ​สินค้า ​และ/หรือ​ บริการ

2. สั่งซ​ ื้อ​สินค้า​ และ/หรือ​ บริการ​ ที่ต​ ้องการ​ซื้อ

1. รับข​ ้อมูล​บัตร​เครดิต/ เช็คก​ ระดาษ​ที่ธ​ นาคาร​ออก​ให้

ธ ส

จาก​ภาพ​ที่ 6.2 เป็น​ภาพ​แสดง​ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​ที่​ใช้​บัตร​เครดิต​หรือ​เช็ค​กระดาษ ซึ่ง​ มี​ขั้น​ตอน​ดังนี้ 1. ผู้ซ​ ื้อต​ ิดต่อธ​ นาคาร​ขอ​ทำ�​บัตร​เครดิต/เช็คก​ ระดาษ เมื่อธ​ นาคาร​อนุมัติผ​ ู้ซ​ ื้อจ​ ะ​ได้ร​ ับข​ ้อมูล​ บัตร​เครดิต/เช็คก​ ระดาษ 2. ผู้ซ​ ื้อส​ ั่งซ​ ื้อส​ ินค้า​และ/หรือ​บริการ​ที่​ต้องการ​จาก​ผู้​ขาย


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-13

ธ ส

3. ผู้ซ​ ื้อน​ ำ�​บัตร​เครดิต/เช็ค​กระดาษ​ชำ�ระ​เป็น​ค่าส​ ินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย 4. ผู้ข​ ายส่งข​ ้อมูล​บัตร​เครดิต/เช็ค​กระดาษ​ให้​แก่​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย 5. ผู้ข​ ายส่ง​มอบ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ 6. ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​และ​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย​ปรับปรุง​ข้อมูล​จำ�นวน​เงิน​ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​และ​ ผู้​ขาย​ตาม​ลำ�ดับ ซึ่งก​ ็​เป็นการ​ใช้​บัตร​เครดิต​หรือเ​ช็ค​กระดาษ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน ใน​กรณี​นี้​แทนที่​จะ​เป็นการ​ไหล​ ของ​กระแส​เงินสด​จาก​ผู้ซ​ ื้อไ​ ป​ยังผ​ ู้ข​ าย แต่จ​ ะ​เปลี่ยน​เป็นการ​ส่งข​ ้อมูลท​ ี่เ​กี่ยวข้อง​กับบ​ ัตร​เครดิตห​ รือเ​ช็ค เช่น หมายเลข​บัตร​เครดิต วัน​หมด​อายุ​บัตร​เครดิต ชื่อ​และ​สาขา​ของ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​เครดิต หมายเลข ​เช็ค ชื่อ​และ​สาขา​ของ​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​เช็ค เป็นต้น จาก​ผู้​ซื้อ​ส่ง​ไป​ยัง​ผู้​ขาย​แทน และ​ใน​ที่สุด​ก็​จะ​มี​การ​โอน​เงิน​ จาก​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​ไป​ยัง​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย ข้อมูล​จำ�นวน​เงิน​ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​และ​ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ขาย​จะ​ถูก​ ปรับปรุง​ใหม่​ให้ถ​ ูก​ต้อง ข้อดี​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม มี​หลาย​ประการ ดังนี้ 1. อำ�นวย​ความ​สะดวก​และ​งา่ ย​ตอ่ ก​ าร​ใช้ การ​ช�ำ ระ​เงินแ​ บบ​ดัง้ เดิมด​ ว้ ย​เงินสด ทำ�ให้ผ​ ซู​้ ือ้ ไ​ ด้ร​ บั ค​ วาม​ สะดวก​และ​ง่าย​ใน​การนำ�​เงินสด​ไป​แลก​เปลี่ยน​เป็นส​ ินค้า/บริการ ใน​ขณะ​เดียวกัน ผู้ข​ าย​กส็​ ามารถ​นำ�​เงินสด​ที​่ ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​ไป​ใช้ได้​ทันที ไม่​ต้อง​มีข​ ั้นต​ อ​นอื่นๆ อีก​หลาย​ขั้น​ตอน เช่น การ​โอน​เงิน​ระหว่าง​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​และ​ ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย การ​ปรับปรุง​ข้อมูล​บัญชีใ​ น​ธนาคาร เป็นต้น 2. เป็น​ที่​ยอมรับจ​ าก​ทั้งผ​ ู้​ซื้อแ​ ละ​ผู้​ขาย​ทั่ว​โลก วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​นั้น เป็น​วิธี​การ​ที่​ยอมรับ​ ใน​แวดวง​ธุรกิจ​ทั่ว​โลก​มา​นาน​แล้ว ซึ่งท​ ั้งผู้ซ​ ื้อ​และ​ผู้​ขาย​ต่าง​ก็​พึง​พอใจ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม 3. ผูซ​้ อื้ ไ​ ม่จ​ �ำ เป็นต​ อ้ ง​เปิดเ​ผย​ชอื่ การ​ช�ำ ระ​เงินแ​ บบ​ดัง้ เดิมท​ เี​่ ป็นเ​งินสด​นัน้ ผูซ​้ ือ้ ไ​ ม่จ​ �ำ เป็นต​ อ้ ง​เปิดเ​ผย ​ชื่อ​หรือ​ข้อ​มูล​ใดๆ เกี่ยว​กับ​ตนเอง​ให้​แก่​ผู้​ขาย เพียง​ชำ�ระ​เงินสด​ให้​ครบ​ตาม​จำ�นวน​ก็​เป็น​อัน​สิ้น​สุด​การ​ ทำ�​ธุรกรรม​นั้น 4. ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​ลงทุน​ใน​เทคโนโลยี​ใดๆ วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม ไม่​ว่า​จะ​ด้วย​เงินสด หรือ​บัตร​ เครดิต หรือเ​ช็คก​ ระดาษ ผู้ซ​ ื้อไ​ ม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ใช้เ​ทคโนโลยีใ​ ดๆ ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน แม้ว่าจ​ ะ​เป็นการ​ชำ�ระ​ด้วย​บัตร​ เครดิตก​ ็ตาม ผูซ้​ ื้อก​ เ็​พียง​ยื่นบ​ ัตร​เครดิตใ​ ห้แ​ ก่ผ​ ูข้​ าย จาก​นั้นผ​ ูข้​ าย​จะ​นำ�​บัตร​เครดิตไ​ ป​อ่าน​โดย​เครื่อง​อ่าน​บัตร (card reader) ซึ่ง​ติด​ตั้งอ​ ยู่ท​ ี่ร​ ้าน​ของ​ผู้ข​ าย เพื่อป​ ้อน​จำ�นวน​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ที่​ต้องการ​ตัด​ยอดจาก​บัญชี​ ผู้​ซื้อ 5. ผู้​ซื้อ​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​ต่ำ� วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​นั้น ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​ จะ​ต่ำ�​กว่าว​ ิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​อิเล็กทรอนิกส์ เพราะ​ไม่ต​ ้องเ​สียค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ใช้ร​ ะบบ​เครือข​ ่าย​อินเทอร์เน็ต​ รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​กับ​ผู้​ขาย รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​กับ​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย และ​หาก​เป็น​วิธี​ การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิมด​ ้วย​เงินสด จะ​ไม่มี​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​เลย ข้อ​จำ�กัด​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม มี​หลาย​ประการ ดังนี้ 1. ขาด​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​โดย​เฉพาะ​การ​ชำ�ระ​ด้วย​เงินสด​นั้น​มี​ข้อ​ จำ�กัดท​ ีเ่​ห็นไ​ ด้ช​ ัดค​ ือ การ​ขาด​ความ​ปลอดภัยใ​ น​การนำ�​เงินสด​ติดตัวไ​ ป​ใน​ทีต่​ ่างๆ เพราะ​กรณีท​ ีเ่​งินสด​สูญหาย​ หรือ​ถูก​ขโมย ผู้​ที่​เป็น​เจ้าของ​ไม่​สามารถ​ยับยั้ง​และ​ติดตาม​การ​ใช้​เงินสด​นั้น​ได้​เลย แต่​หาก​เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-14

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

แบบ​อิเล็กทรอนิกส์ กรณี​นี้ผ​ ู้​ที่เ​ป็นเ​จ้าของ​บัตร​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​ยับยั้ง​การ​ใช้​บัตร​ได้ โดย​การ​แจ้ง​อายัด​ บัตร​ไป​ยัง​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร และ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​ยัง​สามารถ​ติดตาม​ข้อมูล​การ​ใช้​จ่าย​เงิน​ผ่าน​บัตร​ที่​ถูก​ ขโมย​ได้​ด้วย ซึ่ง​นอกจาก​จะ​ช่วย​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ทรัพย์สิน​ที่​เป็น​เงิน​ได้​มากกว่า​วิธี​การ​แบบ​ดั้งเดิม​ ที่​ใช้​เงินสด​แล้ว ยัง​สามารถ​ติดตาม​ผู้ท​ ี่ข​ โมย​บัตร​ไป​ใช้ได้​ด้วย 2. ไม่​สามารถ​ใช้​จ่าย​ได้​ทั่ว​โลก วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ดั้งเดิม​จะ​ไม่​สามารถ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​จาก​ ผู้​ขาย​ที่​อยู่​ใน​ต่าง​ประเทศ​หรือท​ ั่ว​โลก​ได้ เพราะ​การ​ชำ�ระ​ด้วย​เงินสด​หรือ​บัตร​เครดิต​ที่​ใช้​แบบ​ดั้งเดิม​นั้น จะ​ เป็นการ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ที่ผ​ ู้ซ​ ื้อต​ ้อง​ไป​ปรากฏ​ตัว​อยู่ ณ สถาน​ที่​ที่​จำ�หน่าย​สินค้า/บริการ​แห่ง​นั้น​ด้วย 3. ลด​โอกาส​ทจ​ี่ ะ​ซอื้ ส​ นิ ค้า/บริการ​ทห​ี่ ลาก​หลาย​ลง การ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิมก​ รณีท​ ีช่​ ำ�ระ​ด้วย​เงินสด ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​ไม่​สามารถ​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ เพราะ​เว็บไซต์​ที่​ขาย​สินค้า/บริการ​มากกว่า ร้อยละ 90 จะ​ให้​ผู้​ซื้อช​ ำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ตาราง​ที่ 6.1 เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัด​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิม

ธ ส ข้อดี

1. อำ�นวยความสะดวกและง่ายต่อการใช้

ข้อจำ�กัด

1. ขาดการรักษาความปลอดภัย

2. เป็นที่ยอมรับจากทั้งผู้ซื้อและผู้ขายทั่วโลก

2. ไม่สามารถใช้จ่ายได้ทั่วโลก

3. ผู้ซื้อไม่จำ�เป็นต้องเปิดเผยชื่อ

3. ลดโอกาสที่จะซื้อสินค้า/บริการที่หลากหลายลง

ธ ส

4. ผู้ซื้อไม่ต้องลงทุนในเทคโนโลยีใดๆ 5. ผู้ซื้อมีค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการต่ำ�

2. ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​เริ่ม​ใช้​มา​ตั้งแต่​ช่วง​ทศวรรษ 1960 และ​ได้​รับ​ความ​นิยม​ที่​แพร่​ หลาย​อย่าง​รวดเร็ว​พร้อม​กับ​มี​ขั้น​ตอน​ที่​ซับ​ซ้อน​มาก​ขึ้น ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ระบบ​แรก​ที่​มี​การนำ�​ มา​ใช้​คือ ระบบ​โอน​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer system - EFT system) ซึ่ง​ระบบ​ดัง​ กล่าว​จะ​ไม่​ขึ้น​อยู่​กับ​กระบวนการ​ประมวล​ผล​ผ่าน​หน่วย​งาน​ที่​เป็น​คนกลาง (intermediary) ระบบ​โอน​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นร​ ะบบ​งาน​ประยุกต์ย​ ่อย​ของ​ระบบ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูลอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ หรืออ​ ดี​ ไี​ อ (Electronic Data Interchange - EDI) ทีท่​ ำ�​หน้าทีร่​ ับส​ ่งข​ ้อมูลห​ มายเลข​บัตร​เครดิต หรือข​ ้อมูลเ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์ร​ ะหว่าง​ ธนาคาร​และ​บริษัทท​ เี่​กี่ยวข้อง​ผ่าน​ระบบ​เครือข​ ่าย​เฉพาะ​ของ​หน่วย​งาน​ทมี่​ กี​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัย (secured private network) การ​ใช้ร​ ะบบ​โอน​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์เ​พื่อช​ ำ�ระ​ค่าส​ ินค้า/บริการ​นั้นจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​เพิ่มค​ วาม​สามารถ​ใน​ด้าน​ บริการ​ชำ�ระ​เงินอ​ อนไลน์เ​พื่อป​ ระมวล​ผล​ข้อมูลใ​ บสั่งซ​ ื้อ ข้อมูลบ​ ัญชีเ​งินฝ​ าก และ​ข้อมูลใ​ บ​เสร็จร​ ับเ​งิน จึงไ​ ด้ม​ ​ี การ​พัฒนา​กระแส​เงิน​ดิจิทัล (digital currency) ขึ้น​มา​ใช้ การ​ใช้​กระแส​เงิน​ดิจิทัล หรือ​บาง​ครั้ง​เรียก​ว่า เงิน​

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-15

ธ ส

อิเล็กทรอนิกส์ (electronic money) ก็เ​หมือน​กับเ​งินสด​ทีใ่​ ช้ก​ ันท​ ั่วไป​คือ ใช้ส​ ำ�หรับช​ ำ�ระ​ค่าส​ ินค้า/บริการ​และ​ เป็น​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินท​ ี่​สะดวก​สำ�หรับ​การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ขั้น​ตอน​ของ​กระบวนการ​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.3

ธ ส

ธนาคาร​ ผู้ข​ าย

4. โอน​เงิน ​ค่า​สินค้า/บริการ

ธ ส

ธนาคาร ผู้ซ​ ื้อ 3. หัก​เงิน ​ค่า​สินค้า/บริการ

คนกลาง​ทำ�​หน้าที่​แปลง​เงิน ​ภายนอก​และ​ภายใน​ระบบ ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ระบบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์

2. ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​ ค่า​สินค้า/ บริการ

หน่วย​งาน​ที่​เป็น​คนกลาง

ธ ส

5. จัด​ส่ง​สินค้า​ และ/หรือ บริการ

1. ข้อมูล​การ​สั่ง​ซื้อ ​สินค้า/บริการ

เงิน​ไหล​ภายนอก​ระบบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ เงิน​ไหล​ภายใน​ระบบ​ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์

ภาพ​ที่ 6.3 ขั้นต​ อน​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ผู้​ขาย

ผู้​ซื้อ

ธ ส

จาก​ภาพ​ที่ 6.3 เมื่อ​เกิด​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ใน​ระบบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ มี​ขั้น​ตอน​การ​ดำ�เนิน​การ ดังนี้ 1. เริ่มจ​ าก​ผู้ซ​ ื้อส​ ั่ง​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​จาก​ผู้​ขาย 2. ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ให้​แก่​ผู้​ขาย ซึ่ง​ผู้​ซื้อ​สามารถ​เลือก​ประเภท​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ตาม​ที่​เว็บไซต์​ของ​ผู้​ขาย​มี​ให้​บริการ เช่น บัตร​เครดิต เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ สมา​ร์ต​ การ์ด เป็นต้น ซึ่ง​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ผู้​ซื้อ​นั้น​เป็นการ​ป้อน​ข้อมูลต​ ่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลเ​ลข​ที่​ บัตร​เครดิต ข้อมูลเ​ลข​ที่เ​ช็ค ข้อมูล​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร/เช็ค เป็นต้น 3. ข้อมูลใ​ น​ข้อ 2 จะ​ถูก​ส่งไ​ ป​ยัง​หน่วย​งาน​ที่​เป็น​คนกลาง ซึ่ง​ทำ�​หน้าที่​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ ข้อมูล​จาก​ธนาคาร​ฝั่งผ​ ู้ซ​ ื้อ และ​ทำ�การ​หัก​เงิน​จาก​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ 4. หน่วย​งาน​กลาง​จะ​นำ�​เงินท​ ี่​หัก​จาก​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​โอน​ไป​ยัง​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ขาย จะ​เห็นไ​ ด้​ว่า เงิน​ที่​ไหล​อยู่ภ​ ายใน​ระบบ​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​นั้น​เป็นข​ ้อมูล​เกี่ยว​กับ​การ​เงิน​ที่​เกิดจ​ าก​ การ​ทำ�​ธุรกรรม ไม่ใช่ต​ ัวเ​งินท​ ี่แท้จ​ ริง ส่วน​เงินท​ ี่ไ​ หล​อยูภ่​ ายนอก​ระบบ​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​นั้นเ​ป็นต​ ัวเ​งินท​ ี่แท้​ จริง

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-16

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ข้อดีข​ อง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ มีห​ ลาย​ประการ ดังนี้ 1. อำ�นวย​ความ​สะดวก​ใน​การ​ท�​ำ ธรุ กรรม​ทวั่ โ​ ลก ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินท​ ี​่ พัฒนา​ขึน้ ม​ า​เพือ่ ใ​ ช้ใ​ น​ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์โ​ ดย​เฉพาะ ดังน​ ัน้ จึงท​ �ำ ให้ผ​ ซู​้ ือ้ ส​ ามารถ​ซือ้ ส​ นิ ค้า/บริการ​ทกุ ป​ ระเภท​ จาก​เว็บไซต์​ต่างๆ ทั่ว​โลก​ได้​อย่าง​สะดวก​สบาย โดย​ไม่​จำ�เป็นต​ ้อง​นำ�​เงินสด​ติดตัว​ที่​เป็น​เงินส​ กุล​เดียวกัน​กับ​ ประเทศ​ที่​ขาย​สินค้า/บริการ​นั้นๆ เพื่อ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ​บริการ ผู้​ซื้อ​เพียง​แต่​ป้อน​ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​เลข​ที่​บัตร​ เครดิต​ของ​ตน​ก็​สามารถ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​ทันที 2. มีค​ วาม​ปลอดภัยม​ ากกว่าก​ าร​ใช้เ​งินสด ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ิยม​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​ต่างๆ ดังน​ ัน้ กรณีท​ บี​่ ตั ร​เครดิตห​ รือบ​ ตั ร​สมา​รต​์ การ์ดส​ ญ ู หาย​หรือถ​ กู ข​ โมย​ไป เจ้าของ​บตั ร​สามารถ​แจ้งธ​ นาคาร​ผอู​้ อก​ บัตร​เพื่ออ​ ายัดก​ าร​ใช้จ​ ่าย​ผ่าน​บัตร​ได้ท​ ันที แต่ห​ าก​เป็นเ​งินสด ผู้เ​ป็นเ​จ้าของ​ไม่ส​ ามารถ​ยับยั้งก​ าร​ใช้เ​งินสด​นั้น​ ได้ 3. สามารถ​ตรวจ​สอบ​และ​ติดตาม​การ​ชำ�ระ​เงิน การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ด้วย​บัตร​เครดิต​นั้น ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​มี​ระบบ​บันทึก​การ​ใช้​จ่าย​เงิน​ผ่าน​บัตร​ทุก​ครั้ง​ที่​มี​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​บัตร​เครดิต จึงท​ ำ�ให้​ ธนาคารฝั่ง​ผู้​ซื้อ​และ​ตัวผู้​ซื้อ​เอง​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ประวัติการ​ใช้​จ่าย​เงินได้ ซึ่ง​มี​ประโยชน์​มาก​กรณี​ที่​บัตร ​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​โดย​ผู้​อื่นท​ ี่ไ​ ม่ใช่​เจ้าของ​บัตร 4. เป็นท​ ย​ี่ อมรับท​ วั่ โ​ ลก วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นว​ ิธีก​ าร​ที่ท​ ุกค​ น​และ​ทุกอ​ งค์กร​ที่ท​ ำ�​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์​ให้​ความ​นิยม​และ​ยอมรับ​มา​นาน​แล้ว​ว่า เป็นว​ ิธี​ที่​เหมาะ​สม​สำ�หรับ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​จาก​สถิติ (Laudon and Laudon 2007: 416) จะ​พบ​ว่าการ​ทำ�​พาณิชย์​อิ​เล็กทรอ​นิกส์​ใน​สหรัฐอเมริกา​ ที่ใช้​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ผ​ ่าน​บัตร​เครดิต​มากกว่าร​ ้อย​ละ 80 และ​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​อีก​ ประมาณ​ร้อย​ละ 50 นอกจากนี้​สหรัฐอเมริกา​ก็ใ​ ช้​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ผ่าน​บัตร​เครดิต​เช่น​กัน 5. มีค​ วาม​สามารถ​ใน​การ​เคลือ่ นที​่ ได้ การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ส​ ามารถ​นำ�​ไป​ใช้ซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ​ จาก​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ณ ที่​ใด​และ​ใน​เวลา​ใด​ก็ได้ โดย​ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​สนใจ​เกี่ยว​กับ​ข้อ​จำ�กัด ด้าน​เวลา และ​ ด้าน​สถาน​ที่​หรือ​ระยะ​ทาง ซึ่ง​เปรียบ​เสมือน​กับ​การ​เคลื่อนที่​หรือ​ย้าย​การ​ชำ�ระ​เงิน​ไป​ได้​ใน​ทุก​ที่​ที่​ต้องการ​ทำ�​ ธุรกรรม 6. เพิม่ โ​ อกาส​ทจ​ี่ ะ​ซอื้ ส​ นิ ค้า/บริการ​ทห​ี่ ลาก​หลาย การ​ช�ำ ระ​เงินแ​ บบ​อเิ ล็กทรอนิกส์ ทำ�ให้ผ​ ซู​้ ือ้ ส​ ามารถ​ เลือก​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ที่​หลาก​หลาย​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​ทั่ว​โลก เพราะ​เว็บไซต์​ที่​ขาย​สินค้า/บริการ​ มากกว่า​ร้อย​ละ 90 จะ​ให้ผ​ ู้ซ​ ื้อช​ ำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​แทบ​ทั้ง​สิ้น ข้อ​จำ�กัดของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ มี​ดังนี้ 1. มี​ความ​จำ�เป็น​ใน​การ​ใช้​เทคโนโลยี วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น ผู้​ซื้อ​ต้อง​ชำ�ระ​ผ่าน​ ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ตเ​ท่านั้น ดัง​นั้น ผู้​ซื้อ​ต้อง​ใช้​เทคโนโลยี​เพื่อ​การ​เข้า​ถึง​ระบบ​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต​ และ​เว็บไซต์​ของ​ผู้​ขาย จึงจ​ ะ​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ได้ 2. มีค​ า่ ใ​ ช้จ​ า่ ย​ใน​การ​ด�ำ เนินก​ าร​สงู ก​ ว่าก​ าร​ช�ำ ระเงินแ​ บบ​ดงั้ เดิม การ​ใช้บ​ ัตร​เครดิตห​ รือบ​ ัตร​ต่างๆ ที​่ ออก​โดย​สถาบันก​ าร​เงินเ​พื่อช​ ำ�ระ​เงินแ​ บบ​อิเล็กทรอนิกส์น​ ั้น โดย​ปกติผ​ ูท้​ ีต่​ ้องการ​เป็นเ​จ้าของ​บัตร​ต้อง​ชำ�ระ​ค่า​ สมาชิกแ​ ละ​ค่า​ธรรมเนียม​การ​ใช้​บัตร​ให้แ​ ก่​ธนาคาร​หรือส​ ถาบันก​ าร​เงินท​ ี่​ออก​บัตร​ให้​ก่อน จึงจ​ ะ​ได้​รับ​บัตร​มา​ ใช้ใ​ น​การ​จับ​จ่าย​ใช้สอย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-17

ธ ส

ตาราง​ที่ 6.2 เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัด​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ธ ส ข้อดี

1. อำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทั่วโลก

4. เป็นที่ยอมรับทั่วโลก

6. เพิ่มโอกาสที่จะซื้อสินค้า/บริการที่หลากหลาย

ธ ส

2. มีค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการสูงกว่าการชำ�ระ แบบดั้งเดิม เพราะต้องชำ�ระค่าสมาชิกบัตร

ธ ส

3. สามารถตรวจสอบและติดตามการชำ�ระเงิน 5. มีความสามารถในการเคลื่อนที่ได้

1. มีความจำ�เป็นในการใช้เทคโนโลยี

2. มีความปลอดภัยมากกว่าการใช้เงินสด

ข้อจำ�กัด

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.1.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.1.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.1 เรื่อง​ที่ 6.1.2

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.1.3 การ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ จาก​สถาบันก​ าร​เงิน

ธ ส

ธ ส

การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ บบ​ครบ​วงจร ผูป้​ ระกอบ​การ​จำ�เป็นต​ ้อง​จัดเ​ตรียม​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ ค่าส​ ินค้า/บริการ​ที่​สามารถ​อำ�นวย​ความ​สะดวก รวดเร็ว และ​สร้าง​ความ​มั่นใจ​ให้แ​ ก่ผ​ ู้​ซื้อ เพราะ​จะ​ช่วย​ให้การ​ บริหาร​ยอด​ขาย​มี​ประสิทธิภาพ​มาก​ขึ้น ปัจจุบัน​องค์การ​ที่​ประกอบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ส​ ามารถ​ติดต่อ​ขอ​ใช้​ บริการ​ดัง​กล่าว​จาก​สถาบัน​การ​เงิน​ที่​น่าเ​ชื่อ​ถือ​ได้ห​ ลาย​แห่ง เช่น ธนาคาร​กรุง​ไทย ธนาคาร​กสิกร​ไทย ธนาคาร​ กรุง​ศรีอยุธยา เป็นต้น

ธ ส


6-18

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.4 เว็บไซต์​ธนาคาร​กรุง​ไทย​ที่​ให้​บริการ​ออนไลน์

ธ ส

ธ ส

ที่มา: h ttps://www.ktbonline.ktb.co.th/consumer/pageFlows/Registration/CustomerLogin/CustomerLogin Controller.jpf ค้น​คืนว​ ันท​ ี่ 4 กุมภาพันธ์ 2554

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.5 เว็บไซต์ธ​ นาคาร​กสิกร​ไทย​ที่​ให้​บริการ​ออนไลน์

ธ ส

ที่มา: http://www.kasikornbank.com/TH/Personal/OtherProducts/Pages/KPaymentGateway1.aspx?gclid=CPy5g4_ih KcCFQMb6wodh13bdw ค้น​คืนว​ ัน​ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554


ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.6 เว็บไซต์ธ​ นาคาร​กรุง​ศรีอยุธยา​ที่​ให้​บริการ​ออนไลน์

ธ ส

6-19

ที่มา: http://www.krungsri.com/th/ourservice-consumer-list.aspx?cid=82 ค้นค​ ืน​วันท​ ี่ 4 กุมภาพันธ์ 2554

สำ�หรับ​ราย​ละเอียด​ที่​นำ�​มา​กล่าว​ใน​ที่​นี้​เป็น​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ของ​ธนาคาร​ กรุง​ศรีอยุธยา ที่​มีชื่อว​ ่า “กรุงศ​ รีอี​เพย์​เมนต์” (Krungsri e-Payment) (http://www/Krungsri.com/en/ ourservice-consumer-list aspx.cid=168) มี​ราย​ละเอียด​ที่เ​กี่ยวข้อง ดังนี้

ธ ส

1. คุณลักษณะ​ของ​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

บริ ก าร​รั บ ​ชำ � ระ​เ งิ น ​อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ​ที่ ​ส ถาบั น ​ก าร​เ งิ น ​พั ฒ นา​ขึ้ น ​ม า​เ พื่ อ ​ร องรั บ ​ผู้ ​ที่ ​ดำ � เนิ น ​ธุ ร กิ จ​ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) ผ่าน​ทาง​อินเทอร์เน็ต บริการ​นี้ช​ ่วย​ให้ผ​ ูซ้​ ื้อส​ ินค้าส​ ามารถ​เลือก​ซื้อส​ ินค้า/บริการ และ​ช�ำ ระ​เงินไ​ ด้อ​ ย่าง​สะดวก​งา่ ยดาย​ทกุ ท​ ที​่ กุ เ​วลา​ตาม​ความ​ตอ้ งการ และ​มค​ี วาม​มัน่ ใจ​ใน​ระบบ​ความ​ปลอดภัย​ ที่​เป็นไ​ ป​ตาม​มาตรฐาน​ระดับ​สากล มี​คุณลักษณะ​ของ​บริการ ดังนี้ 1.1 สามารถ​ให้​บริการ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​บน​เว็บไซต์​ของ​ร้าน​ค้า​ออนไลน์​ได้​ตลอด 24 ชั่วโมง 1.2 ผู้​ซื้อ​สามารถ​เลือก​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินได้ 2 วิธี ได้แก่ 1) ชำ�ระ​ด้วย​การ​หัก​บัญชี​เงิน​ฝาก​ธนาคาร​กรุง​ศรีอยุธยา (direct debit) โดย​ผู้​ซื้อ​ต้อง​เป็น​ สมาชิก​กรุง​ศรี​ออนไลน์ (KRUNGSRI Online - KOL) 2) ชำ�ระ​ด้วย​บัตร​เครดิต (credit card) ได้แก่ วีซ่า​การ์ด (Visa Card) มาสเตอร์​การ์ด (Master Card) และเจ​ซีบี (JCB) จาก​ทุก​สถาบัน​การ​เงินทั่ว​โลก 1.3 สามารถ​อนุมัติร​ ายการ​สั่งซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ​ของ​ผู้ซ​ ื้อแ​ บบ​ทันที (real-time authorization) และ​ แจ้ง​ผล​การ​ทำ�​รายการ​สั่งซ​ ื้อแ​ ก่ผ​ ู้ซ​ ื้อแ​ ละ​ร้าน​ค้า​ทันที (instant online confirmation)

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-20

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

1.4 สามารถ​รองรับก​ าร​เชื่อม​ต่อก​ ับเ​ว็บไซต์ข​ อง​ร้าน​ค้าไ​ ด้ห​ ลาย​รูปแ​ บบ และ​ไม่ต​ ้อง​ติดต​ ั้งโ​ ปร​แก​รม​ ใดๆ ที่​ระบบ​ของ​ร้าน​ค้า (easy to use) 1.5 ร้าน​ค้า​จะ​ได้​รับ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​หลัง​จาก​ทำ�การ​สรุป​ยอด​ขายส่ง​ให้​แก่​ธนาคาร​ใน​วัน​ทำ�การ​ ถัด​ไป​ทันที (get paid fast) ซึ่งช​ ่วย​ให้การ​หมุนเวียน​เงินสด​ของ​ธุรกิจ​รวดเร็ว​ขึ้น 1.6 สามารถ​รองรับ​การ​ทำ�​รายการ​ด้วย​บัตร​ที่​ลง​ทะเบียน เว​อริ​ฟาย​ด์​บาย​วีซ่า (Verified by Visa VbV) มาส​เต​อร์​การ์ด ซี​เคียว​โค้ด และ ​เจ/ซีเ​คียว (J/Secure) 1.7 สามารถ​รองรับ 13 สกุล​เงิน​หลัก ได้แก่ เงิน​บาท​ไทย (THB) เงิน​ดอลลาร์​สหรัฐ (USD) เงิน​ยูโร​ ของ​กลุ่มป​ ระเทศ​ใน​ยุโรป (EUR) เงินเ​ยน​ญี่ปุ่น (JPY) เงินป​ อนด์ข​ อง​อังกฤษ (GBP) เงินฟ​ ร​ ังก​ ์สว​ ิตเ​ซอร์แ​ ลนด์ (CHF) เงินด​ อลลาร์​ออสเตรเลีย (AUD) เงิน​ดอลลาร์​ฮ่องกง (HKD) เงิน​ดอลลาร์​สิงคโปร์ (SGD) เงิน​โค​รนา​ สวีเดน (SEK) เงินห​ ยวน​จีน (CNY) เงินโ​ ค​รน​เดนมาร์ก (DKK) และ​เงิน​โค​รน​นอร์เวย์ (NOK) 1.8 สามารถ​แก้ไข​ชุด​รูป​แบบ​หรือ​สาระ​สำ�คัญ (theme) ของ​หน้า​เว็บเพจ​จ่าย​เงิน เพื่อ​ให้​เหมาะ​สม​ กับ​ธุรกิจ​และ​เข้า​กัน​ได้​กับ​เว็บไซต์​ของ​ร้าน​ค้า 1.9 มี​ระบบ​จัดการ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ธนาคาร​กรุง​ศรีอยุธยา​ที่เ​รียก​ว่า “เบย์​เพย์​เมน​ต์เม​เนเจอร์” (BAY Payment Manager) ซึ่ง​ทำ�​หน้าที่​เป็น​ระบบสนับสนุน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ใน​ด้าน​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ (merchant back office administration) โดย​มี​ฟีเจอร์ (feature) หลักๆ ดังนี้ 1) การ​ค้นหา​รายการ​สั่ง​ซื้อข​ อง​ผู้​ซื้อ​ได้​ตาม​ที่​ผู้​ซื้อ​ต้องการ 2) การ​เรียก​เก็บ​เงิน/การ​คืนว​ งเงิน รายการ​สั่ง​ซื้อ (settlement/void) โดย​สามารถ​เรียก​เก็บ​ เงิน​ได้​แบบบาง​ส่วน หรือ​เต็ม​จำ�นวน (partial/full settlement) 3) สามารถ​ออก​รายงาน​ต่างๆ ได้ 4) สามารถ​เปลี่ยน​รหัส​ผ่าน (password) 5) สามารถ​ติดต่อเ​จ้า​หน้าที่​ธนาคาร​ผ่าน​อีเมล 6) จะ​ได้​รับ​ทราบ​ข่าวสาร​และ​ความ​เคลื่อนไหว​อย่าง​ต่อ​เนื่อง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​เปิด​ให้​บริการ​แก่อ​ งค์กร​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์

สถาบัน​การ​เงิน​ที่​เปิด​ให้​บริการ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ตระหนัก​ดี​ว่า ระบบ​การ​รักษา​ความ​ ปลอดภัยเ​ป็นป​ ัจจัยส​ ำ�คัญต​ ่อค​ วาม​สำ�เร็จข​ อง​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เพราะ​จะ​ทำ�ให้ผ​ ู้ใ​ ช้บ​ ริการ​เกิดค​ วาม​เชื่อใ​ จ ​ได้​ว่า ข้อมูล​สำ�คัญ​ของ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ของ​ผู้​ซื้อ/ร้าน​ค้า​จะ​ได้​รับ​การ​ป้องกัน​อย่าง​ดี​ที่สุด ดัง​นั้น จึง​ให้​ความ​ สำ�คัญก​ ับก​ าร​เลือกสรร​เทคโนโลยี โดย​มกี​ าร​เลือก​ใช้ร​ ะบบ​ความ​ปลอดภัยท​ ีไ่​ ด้ม​ าตรฐาน​สากล ดังต​ ัวอย่าง​ของ​ ธนาคาร​กรุงศ​ รีอยุธยา ซึ่งเ​ปิดใ​ ห้บ​ ริการกรุงศ​ รีอ​ ีเ​พย์เ​มน​ต์ ได้ม​ ีก​ าร​พัฒนา​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัยส​ ำ�หรับ​ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ไ​ ว้ ดังนี้

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-21

ธ ส

2.1 มี​การ​ติด​ตั้งไ​ ฟร์ว​ อลล์ (firewall) 2 ชั้น 2.2 มีก​ าร​เข้าร​ หัสข​ ้อมูลโ​ ดย​ใช้โ​ พร​โท​คอล​เอส​เอส​แอล (SSL - Secured Socket Layer) ที่ 128 บิต ของ​เว​อริ​ไซน์ (verisign) ซึ่ง​เป็น​มาตรฐานความ​ปลอดภัย​สูงสุด 2.3 มี​การ​ติด​ตั้งร​ ะบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​โดย​มี​การ​เข้าร​ หัส​ทุก​ขั้น​ตอน​ของ​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล (end to end encryption) 2.4 มี​การ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง (fraud protection) ซึ่ง​เป็น​ฟีเจอร์​หลัก​ที่​ถูก​พัฒนา​ขึ้น​มา​เพื่อ​ตรวจ​ สอบ​และ​แจ้ง​ถึง​ความ​เสี่ยง​ที่​อาจ​จะ​เกิด​ขึ้น​ได้​ภาย​ใต้​การ​ใช้​บัตร​เครดิต​ใบ​นั้นๆ ซึ่ง​สามารถ​ช่วย​ร้าน​ค้า​ใน​การ​ ตัดสิน​ใจ​การ​เรียก​เก็บ​เงินได้ 2.5 มีก​ าร​ปิดก​ ั้นก​ าร​ฉ้อโกง (fraud blocking) โดย​ร้าน​ค้าส​ ามารถ​เลือก​ทำ�การ​รับห​ รือไ​ ม่ร​ ับร​ ายการ​ ทีม่ า​จาก​ประเทศ​ทมี​่ ค​ี วาม​เสีย่ ง​ตอ่ ก​ าร​ทจุ ริตของ​บตั ร​สงู ไ​ ด้ นอกจาก​นัน้ ยังส​ ามารถ​เลือก​รบั บ​ ตั ร​แต่ละ​ประเภท​ ได้​อย่าง​อิสระ 2.6 ใช้​ซอฟต์แวร์​สำ�หรับ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​บัตร​เครดิต​ที่​ลูกค้า​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​สินค้า/ บริการ เช่น ซอฟต์แวร์​เว​อริ​ฟาย​ด์​บาย​วีซ่า มาสเตอร์​การ์ด ​ซี​เคียว​โค้ด เจ​ซีบี และ เจ/ซี​เคียว​ เพื่อ​เพิ่ม​ ความ​ปลอดภัย​ขั้น​สูงสุด​ใน​การ​คุ้มครอง​ผู้​ถือ​บัตร​และ​ร้าน​ค้า​จาก​การ​โจรกรรม​บัตร​หรือ​การ​ปลอม​แปลง ​หมายเลข​บัตร

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ขั้น​ตอน​การ​ทำ�งาน​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่​สถาบัน​การ​เงิน​เปิด​ให้​บริการ

ธ ส

สำ�หรับ​ขั้น​ตอน​การ​ทำ�งาน​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​สถาบัน​การ​เงิน​เปิด​ให้​บริการ​นั้น มี​ ราย​ละเอียด​โดย​สังเขป ดังนี้ 3.1 ผู้​ซื้อ​เข้า​มา​ที่​เว็บไซต์​ร้าน​ค้า​และ​เลือก​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ตาม​ที่​ต้องการ 3.2 ผู้ซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ​สามารถ​ชำ�ระ​เงินบ​ น​เว็บไซต์ข​ อง​ร้าน​ค้าผ​ ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้​ ตลอด 24 ชั่วโมง โดย​สามารถ​เลือก​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินได้ 2 วิธี คือ 1) หักบ​ ัญชีเ​งินฝ​ าก เป็นการ​ชำ�ระ​เงินโ​ ดย​การ​หักจ​ าก​บัญชีเ​งินฝ​ าก​ธนาคาร​กรุงศ​ รีอยุธยาของ​ ผู้ซ​ ื้อท​ ี่เ​ป็นส​ มาชิกก​ รุงศ​ รีอ​ อนไลน์ ซึ่งผู้​ซื้อต​ ้อง​กรอก​เลข​ประจำ�​ตัวผู้ใ​ ช้ (user ID) และ​รหัสผ​ ่าน (password) ของ​กรุง​ศรี​ออนไลน์ 2) ใช้บ​ ตั ร​เครดิต เป็นการ​ช�ำ ระ​เงินโ​ ดย​การ​หกั บ​ ญ ั ชีบ​ ตั ร​เครดิตว​ ซี า่ ก​ าร์ด มาสเตอร์ก​ าร์ด และ​ เจ​ซีบี จาก​ทุก​สถาบัน​การ​เงิน​ทั่ว​โลก ซึ่งผ​ ู้ซ​ ื้อต​ ้อง​กรอก​ข้อมูล​บัตร​เครดิต​ผ่าน​เว็บเพจ 3.3 ร้าน​คา้ ส​ ง่ ร​ ายการ​สัง่ ซ​ ือ้ แ​ ละ​ยอด​ช�ำ ระ​เงินม​ ายังร​ ะบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ เพือ่ ท​ �ำ การ​สง่ ข​ อ้ มูล​ คำ�​สั่ง​ซื้อ​ไป​ยัง​สถาบัน​การ​เงิน 3.4 สถาบัน​การ​เงิน​จะ​พิจารณา​อนุมัติ​รายการ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า/บริการ​และ​วงเงิน​ของ​ผู้​ซื้อ​แบบ​ทันที (real-time authorization) และ​แจ้งผ​ ล​การ​ทำ�​รายการ​แก่​ผู้​ซื้อ​และ​ร้าน​ค้าท​ ันที (instant online confirmation) ผ่าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-22

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3.5 ผู้​ซื้อ​สินค้า/บริการ​จะ​เห็น​หน้า​จอแส​ดง​ผล​การ​ทำ�​รายการ​จาก​เว็บไซต์​ร้าน​ค้า 3.6 เมื่อ​ร้าน​ค้า​ยืนยัน​การ​จัด​ส่ง​สินค้า​กับ​ผู้​ซื้อ​สินค้า​แล้ว สามารถ​ดำ�เนิน​การ​ตรวจ​สอบ​รายการ​ ธุรกรรม (trasnaction log) ดูข​ ้อมูลส​ รุปย​ อด​ขาย (settlement) และ​เรียก​ดู/จัดพ​ ิมพ์ร​ ายงาน​ต่างๆ จาก​ระบบ​ จัดการ​การ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ธนาคาร​กรุงศ​ รีอยุธยา ได้​ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่าน​ทาง​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต เรียก​ว่า การ​ติดตาม​ยอด​ขาย​แบบ​เรี​ยล​ไทม์​ด้วย​การ​ทำ�​รายงาน​แบบ​ออนไลน์ (real-time track sales with online reporting) 3.7 ร้าน​ค้า​จะ​ได้​รับ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​หลัง​จาก​ทำ�การ​สรุป​ยอด​ขายส่ง​ให้​แก่​ธนาคาร​ใน​วัน​ทำ�การ​ ถัดไ​ ป​ทันที (get paid fast)

ธ ส

ธ ส

4. ขั้น​ตอน​การ​สมัคร​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์

ใน​การ​ใช้บ​ ริการ​รบั ช​ �ำ ระ​เงินผ​ า่ น​อนิ เทอร์เน็ต ร้าน​คา้ จ​ ะ​ตอ้ ง​สมัคร​เป็นส​ มาชิกเ​พือ่ ใ​ ช้บ​ ริการ​อเ​ี พย์เ​มน​ต์ ​ของ​ธนาคาร​ตาม​ขั้น​ตอน ดังนี้ 4.1 เปิด​บัญชี​เงิน​ฝาก​ออม​ทรัพย์ หรือ​บัญชี​กระแส​ราย​วัน​กับ​สถาบัน​การ​เงิน​ที่​ให้​บริการ​ได้​ทุก​ สาขา เพื่อ​ใช้​เป็นบ​ ัญชี​รับ​เงิน​ของ​ร้าน​ค้า 4.2 กรอก​แบบ​ฟอร์ม​ใบ​สมัคร​ของ​ธนาคาร โดย​สามารถ​ดาวน์โหลด​แบบ​ฟอร์ม​ใบ​สมัคร​ได้​จาก​ เว็บไซต์​สถาบัน​การ​เงิน 4.3 นำ�​ส่ง​แบบ​ฟอร์ม​ใบ​สมัคร พร้อม​แนบ​เอกสาร​ประกอบ​แก่​สาขา​เจ้าของ​บัญชี 4.4 สถาบัน​การ​เงินอ​ นุมัติ​การ​สมัค​รบ​ริ​การ ให้​บริษัท/ร้าน​ค้า 4.5 บริษัท/ร้าน​ค้า​ลง​นาม​ทำ�​สัญญา​เพื่อ​ขอ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ของ​สถาบัน​ การ​เงิน 4.6 สถาบันก​ าร​เงิน​ติดต่อบ​ ริษัท/ร้าน​ค้า​เพื่อ​ร่วม​ทดสอบ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ โดย​ร้าน​ค้า​ สามารถ​ทดลอง​ใช้​งาน​ระบบจัดการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ธนาคาร​กรุง​ศ​รีอยุธยา เพื่อ​เรียก​ดู​รายการ​และ​รายงาน​ ประเภท​ต่างๆ 4.7 บริษัท/ร้าน​ค้า​แจ้ง​สถาบัน​การ​เงิน​ถึงก​ ำ�หนด​พร้อม​เปิด​ใช้​บริการ 4.8 เมื่อท​ ดสอบ​เสร็จแ​ ล้ว สถาบันก​ าร​เงินจ​ ะแจ้งเ​ลข​ประจำ�​ตัวบ​ ริษัท/ร้าน​ค้า/ผู้ข​ าย (merchant ID) เลข​ประจำ�​ตัวผูใ้​ ช้ และ​รหัสผ​ ่าน ใน​การ​เข้าส​ ูร่​ ะบบจัดการการชำ�ระเงินของธนาคารกรุงศรี​ีอยุธยา ให้แ​ ก่บ​ ริษัท/ ร้าน​ค้า​ทราบ 4.9 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์พร้อม​ให้​บริการ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


5. เอกสาร​ประกอบ​การ​สมัคร

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-23

ธ ส

ใน​การ​สมัคร​เพื่อ​ใช้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ผู้​สมัคร​ต้อง​มี​เอกสาร​ประกอบ​การ​สมัคร

ธ ส

ดังนี้

5.1 สำ�เนา​บัตร​ประชาชน​ของ​ผู้​มี​อำ�นาจ​ลง​นาม (อายุ 20 ปี​ขึ้น​ไป) กรณี​ชาว​ต่าง​ชาติ แสดง​สำ�เนา​ หนังสือเดินทาง และ​เอกสาร​การ​อนุญาต​ให้ทำ�งาน (work permit) 5.2 สำ�เนา​ทะเบียน​บ้าน​ของ​ผู้ม​ ีอ​ ำ�นาจ​ลง​นาม 5.3 สำ�เนา​หนังสือร​ ับรอง​การ​จด​ทะเบียน​บริษัท​หรือ​ห้าง​หุ้น​ส่วน​จำ�กัด พร้อม​วัตถุประสงค์ ต้อง​จด​ ทะเบียน​ไม่น​ ้อย​กว่า 1 ปี​ขึ้น​ไป (อายุ​ไม่เ​กิน 30 วัน) 5.4 สำ�เนา​หนังสือร​ ับรอง​ตรา​ประทับ​บริษัท (บอจ.3) 5.5 สำ�เนา​สัดส่วน​ผู้​ถือ​หุ้น (บอจ.5) กรณี​ที่​กรรมการ​ถือ​หุ้น​เกิน​ร้อย​ละ 20 ให้​แนบ​สำ�เนา​บัตร​ ประชาชน 5.6 สำ�เนา​หนังสือ​บริคณห์สนธิ 5.7 สำ�เนา​ทะเบียน​ภาษีม​ ูลค่า​เพิ่ม (ภพ.20) 5.8 ผล​ประกอบ​การ​เดิน​บัญชี​ย้อน​หลัง 6 เดือน 5.9 สำ�เนา​หนังสือท​ ะเบียน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ (ถ้า​มี) 5.10 แผนที่​และ​รูป​ถ่าย​ที่ต​ ั้งส​ ถาน​ประกอบ​การ 5.11 เอกสาร​แสดง​การครอบ​ครอง​สถาน​ที่​ประกอบ​การ หรือ​สัญญา​เช่า 5.12 พิมพ์​ตัวอย่าง​หน้า​แรก​ของ​เว็บไซต์​หรือ​โฮมเพจ (homepage) ของ​ร้าน​ค้า 5.13 อากร​แสตมป์ 30 บาท 5.14 กรณีท​ ีเ่​ป็นธ​ ุรกิจต​ ัวแทน​การ​ท่อง​เที่ยว​ทีจ่​ ัดน​ ำ�​เที่ยว จะ​ต้อง​มใี​ บ​อนุญาต​ประกอบ​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว ​ซึ่ง​ออก​โดย​การ​ท่อง​เที่ยว​แห่งป​ ระเทศไทย (ททท.) 5.15 กรณี​เป็น​ธุรกิจท​ ี่​มี​ลิขสิทธิ์ ต้อง​มี​เอกสาร​แสดง​ความ​เป็น​เจ้าของ​ลิขสิทธิ์

ธ ส

ธ ส

6. เงื่อนไข​ใน​การ​ใช้​บริการ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

6.1 ร้าน​ค้า​ผู้​สมัคร​จะ​ต้อง​มี​บัญชี​เงิน​ฝาก​ออม​ทรัพย์ หรือ​บัญชี​กระแส​ราย​วัน​ของ​ธนาคาร​กรุง​ศรี

อยุธยา

6.2 ต้อง​เป็น​ร้าน​ค้า​ประเภท​นิติบุคคล​ที่ไ​ ด้​ทำ�การ​จด​ทะเบียน​ไม่​น้อย​กว่า 1 ปี และ​จด​ทะเบียน​ภาษี​ มูลค่า​เพิ่ม หาก​ไม่ค​ รบ 1 ปี ต้อง​มี​ทุน​จดทะเบียน​และ​เรียก​ชำ�ระ​ไม่​ต่ำ�​กว่า 2 ล้าน​บาท 6.3 ธุรกิจ​ที่​ร้าน​ค้า​ประกอบ​ต้อง​เป็นการ​ขาย​สินค้า/บริการ​ที่​ไม่​ผิด​กฎหมาย​และ​ศีล​ธรรม สำ�หรับ​ ตัวอย่าง​ประเภท​ของ​ธุรกิจท​ ี่​ผิด​กฎหมายและ​ศีล​ธรรม เช่น ธุรกิจข​ าย​ยา​ทุก​ประเภท ธุรกิจข​ าย​บุหรี่ ยาเส้น สาร​เสพ​ติด​ทุก​ชนิด ธุรกิจข​ าย​สินค้า​อบายมุข สื่อล​ ามกและอนาจาร ธุรกิจ​การ​จัดหา​คู่ ธุรกิจ​ไทม์​แช​ริ่ง (time sharing) ธุรกิจ​ไซเบอร์​มอลล์ (cyber mall) ธุรกิจ​ขาย​อาวุธ ธุรกิจ​การ​พนัน เป็นต้น

ธ ส


6-24

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

6.4 มี​สถาน​ที่ป​ ระกอบ​การ​ตั้งอ​ ยู่ใ​ น​ประเทศไทย และ​มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ 6.5 ผู้​ถือ​หุ้น​ต้อง​มี​ประวัติการ​เงิน​ที่​ดี 6.6 ใน​กรณี​ที่ล​ ูกค้า​ปฏิเสธ​การ​ชำ�ระ​เงิน ร้าน​ค้า​ยินยอม​ให้​ธนาคาร​ดำ�เนิน​การ​ตัด​เงิน​ใน​บัญชี​ร้าน​ค้า​ ได้​โดย​ธนาคาร​จะแจ้งใ​ ห้​ร้าน​ค้า​ทราบล่วง​หน้า 6.7 ร้าน​ค้าจ​ ะ​ต้อง​มีเ​งินค​ ้ำ�​ประกันก​ ับธ​ นาคาร โดย​เงินป​ ระกันด​ ังก​ ล่าว​จะ​ถอน​ได้ห​ ลังจ​ าก​ปิดก​ ิจการ​ ไป​แล้ว​ไม่​ต่ำ�​กว่า 6 เดือน จาก​ราย​ละเอียด​ข้าง​ต้นเ​ป็นเ​พียง​ตัวอย่าง​ของ​การ​ใช้บ​ ริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​ธนาคาร​ กรุง​ศรีอยุธยา ซึ่ง​ธนาคาร​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน​อื่นๆ อาจ​มี​ราย​ละเอียด​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ไป​ตาม​นโยบาย​ของ​ องค์ก​ ร​นั้นๆ

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.1.3 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.1.3 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.1 เรื่อง​ที่ 6.1.3

ธ ส

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.1.4 เกณฑ์​การ​ประเมินแ​ ละ​ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์เ​ป็น​ระบบ​งาน​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​อย่าง​ยิ่ง​ต่อ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ดังน​ ั้น องค์การ​ทีท่​ ำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์จ​ ึงค​ วร​ทำ�ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับเ​กณฑ์ท​ ีใ่​ ช้ใ​ น​การ​ประเมิน รวม​ทั้งป​ ัจจัย​ ที่​จะ​นำ�​ไป​สู่​ความ​สำ�เร็จ​ด้วย มีร​ าย​ละเอียด​ดังนี้

ธ ส

1. เกณฑ์​การ​ประเมินร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

เกณฑ์ท​ ี่ใ​ ช้ใ​ น​การ​ประเมินร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นส​ ามารถ​ประเมินไ​ ด้ใ​ น​มุมม​ อง​ดังต​ ่อไ​ ป​นี้ 1.1 ด้าน​เทคโนโลยี (technological aspect) เมื่อ​มี​การ​ออกแบบ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ สิ่ง​ที่​ ต้อง​คำ�นึงถ​ ึง ได้แก่ ความ​สามารถ​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ระบบ​ได้​ตาม​ความ​ต้องการ​ของ​ผู้​ใช้ ความ​มี​ประสิทธิผล​ และ​การ​รักษา​ความ​มั่นคง​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล​รายการ​เชิง​ธุรกรรม​แต่ละ​รายการ ระดับ​ของ​ความ​สอดคล้อง​ หรือ​การ​เข้า​กัน​ได้ (compatibility) กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​แบ​บอื่นๆ และ​ความ​ซับ​ซ้อน​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ระบบ ซึ่ง​สิ่งเ​หล่า​นี้​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​เทคโนโลยี​มา​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-25

ธ ส

ใน​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัยข​ อง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น ได้​มีก​ าร​นำ�​โพร​โท​คอล​หรือว​ ิธี​การ​ ใน​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​เอ​สอี​ที (SET - Secure Electronic Transaction) มา​ใช้​สำ�หรับ​การ​ชำ�ระ​ผ่าน​ บัตร ซึ่ง​โพร​โท​คอ​ลดัง​กล่าว​พัฒนา​ขึ้น​โดย​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​มาสเตอร์​การ์ด​กับ​วีซ่า​การ์ด นอกจาก​นี้ ยัง​มี​ โพร​โท​คอล​เอส​เอส​แอล (SSL - Secure Socket Layer) ทีใ่​ ช้ใ​ น​ระดับช​ ั้นเ​ซสชั่น (session) ของ​ระบบ​เครือข​ ่าย​ ซึ่ง​พัฒนา​โดย​บริษัท​เน็ต​สเคป (Netscape) เพื่อร​ ักษา​ความ​ปลอดภัย​ข้อมูล​ที่​รับ​ส่ง​ระหว่าง​เครื่อง​ลูก​ข่าย​กับ​ เครื่อง​แม่​ข่าย นอกจาก​นี้ ก็​ยัง​มี​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ประเภท​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​มี​จำ�​นวน​น้อยๆ (micro payment) ซึ่ง​ไม่​คุ้ม​กับ​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​ต้อง​เสีย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​หาก​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​บัตร เช่น เน็ต​บิล (Netbill) มิลลิ​เซ็นต์ (Millicent) เป็นต้น ซึ่งร​ ะบบ​เหล่า​นี้ก​ ็​จะ​มี​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​โดย​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ต่างๆ เช่นก​ ัน สำ�หรับ​ระดับข​ อง​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​จะ​เกี่ยวข้อง​โดยตรง​ กับ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​หลายๆ เรื่อง ได้แก่ การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล​ที่​ผู้​ใช้​ทำ�​ธุรกรรม​การ​ ฝาก​หรือ​ถอน​เงิน การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​งาน​ประยุกต์ และ​ฐาน​ข้อมูล​ที่​ใช้​ใน​การ​จัดการ​และ​ บันทึก​จัด​เก็บข​ ้อมูลท​ ี่​ทำ�​ธุรกรรม การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ระหว่าง​ที่​มี​การ​ป้อน​ข้อมูล​เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน การ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​อินเทอร์เน็ต รวม​ทั้ง​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ดูแล​บริหาร​จัดการ​ระบบ​ชำ�ระ​ เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ใน​บรรดา​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​กล่าว​มา​ทั้งหมด​นี้ การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ ข้อมูล​รายการ​เชิง​ธุรกรรม​ที่​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​เป็น​สิ่ง​ที่​ทั้ง​ผู้​ขาย​และ​ผู้​ซื้อ​จำ�เป็น​ต้อง​ให้​ความ​สำ�คัญ​มาก​ที่สุด และ​เนื่องจาก​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัยใ​ น​แต่ละ​เรื่อง​จำ�เป็นต​ ้อง​มีก​ ารนำ�​เทคโนโลยีม​ า​ประยุกต์ท​ ี่แ​ ตก​ต่าง​กัน ทั้งนี้ ขึ้น​อยู่​กับ​ระดับ​ความ​ปลอดภัย​ที่​องค์กร​ผู้​ขาย​ต้องการ ดัง​นั้น การ​พิจารณา​เลือก​ใช้​เทคโนโลยี​ให้​ เหมาะ​สม​และ​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​มี​ความ​สำ�คัญ​มาก นอกจาก​นี้​แล้ว ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ​ควร​มี​คุณลักษณะ ดัง​ต่อ​ไป​นี้ 1) การ​ระบุ​ผู้​มี​อำ�นาจ (authority) ซึ่ง​ใน​ที่​นี้​จะ​รวม​ถึง​ผู้​มี​อำ�นาจ​ที่​มี​ความ​ถูก​ต้อง (validity) ตาม​ข้อต​ กลง​ด้วย คุณลักษณะ​ข้อน​ ีเ้​ป็นส​ ิ่งส​ ำ�คัญท​ ี่สุดท​ ีต่​ ้อง​นำ�​มา​พิจารณา วัตถุประสงค์​ทีต่​ ้อง​นำ�​มา​พิจารณา​ ก็​เพื่อ​ตรวจ​สอบ การ​อ้าง​ตัว​ตน​ของ​ผู้​มี​อำ�นาจ​ที่​เกี่ยวข้อง​ทั้งหมด​ว่า​มี​ความ​ถูก​ต้อง​และ​มี​ความ​ชอบ​ธรรม​ใน​ การ​ดำ�เนิน​การ และ​เพื่อป​ ้องกัน​การ​แอบ​อ้าง​ของ​บุคคล​ที่​สาม​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง​ด้วย 2) ความ​เป็น​ส่วน​ตัว (privacy) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ปลอดภัย​ต้อง​สามารถ​รักษา​ ข้อมูลท​ ี่เ​ป็นค​ วาม​ลับข​ อง​ผู้ซ​ ื้อไ​ ด้ ดังน​ ั้น ใน​การ​รักษา​ความ​เป็นส​ ่วน​ตัวข​ อง​ผู้ซ​ ื้อจ​ ึงม​ ีว​ ัตถุประสงค์เ​พื่อป​ กป้อง​ ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ของ​ผู้​ซื้อ​ที่​ส่ง​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต และ​เพื่อ​ป้องกัน​มิ​ให้​บุคคล​ที่​ไม่มี​ อำ�นาจ​หรือ​พนักงาน​ของ​บริษัท​ที่ไ​ ม่​เกี่ยวข้อง​เข้า​ถึง​ข้อมูล​ที่​เป็นค​ วาม​ลับ​ของ​ลูกค้า​หรือ​ผู้​ซื้อ​อีก​ด้วย 3) ความ​สมบูรณ์ (integrity) หรือ​บูรณภาพ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ปลอดภัย​ต้อง​ มี​ระบบ​ป้องกัน​การ​ดัดแปลง​ข้อมูล​รายการ​เชิง​ธุรกรรม และ​ป้องกัน​ความ​ผิด​พลาด​ใน​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล รวมทั้ง​ หลีก​เลี่ยง​การ​ส่ง​ข้อมูล​รายการ​เชิง​ธุรกรรม​ซ้ำ�​สอง​ครั้ง​โดย​มิได้​ตั้งใจ การ​ส่ง​ข้อมูล​ที่​มี​ข้อ​ผิด​พลาด และ​ มี​ระบบ​ป้องกัน​การ​ปฏิเสธ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ หรือ​ปฏิเสธ​ความ​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ข้อมูล​รายการ ​เชิง​ธุรกรรม​ทั้ง​ฝ่าย​ผู้ข​ าย​และ​ฝ่าย​ผู้ซ​ ื้อ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-26

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

4) ความ​ไม่ส​ ามารถ​บอกปัดค​ วาม​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ (non-repudiation) ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ ที่​น่า​เชื่อ​ถือ​ต้อง​ถูก​ออกแบบ​ให้​ทั้ง​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย​ไม่​สามารถ​ปฏิเสธ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ ข้อมูลร​ ายการ​เชิง​ธุรกรรม​ได้ หาก​ทั้ง​สอง​มี​ความ​เกี่ยวข้อง​จริง ดัง​นั้น เร​คอร์ด​ราย​ละเอียด​ต่างๆ ใน​การ​ทำ�​ ธุรกรรม รวม​ทั้ง​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​จึงต​ ้อง​มี​การ​บันทึก​และ​จัด​เก็บ​ไว้​ใน​ฐาน​ข้อมูล​ที่​มี​ระบบ​ รักษา​ความ​ปลอดภัย​ด้วย​เช่น​กัน 1.2 ด้าน​เศรษฐกิจ (economic aspect) เกณฑ์​การ​ประเมิน​ด้าน​เศรษฐกิจ​สามารถ​แบ่ง​ออก​ได้​เป็น 2 ปัจจัยห​ ลักๆ คือ 1) ความ​เกี่ยวข้อง​กับ​มูลค่า​กระแส​เงิน​ที่​เป็น​ตัวเ​งิน​จริง และ 2) ความ​แพร่​หลาย​ของ​การ​ใช้​ ระบบ​อินเทอร์เน็ต ซึ่ง​ปัจจัย​ทั้ง​สอง​นี้​สามารถ​ใช้​ใน​การ​วิเคราะห์​ความ​ต้องการ​ของ​ผู้​ใช้​ที่​มี​ต่อ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ด้าน​เศรษฐกิจ​ได้ โดย​จะ​รวม​ถึง​ประเด็น​ย่อย​ดัง​ต่อ​ไป​นี้​ด้วย คือ 1) ค่า​ใช้​จ่าย​ของ​การ​ทำ�​รายการ​เชิง​ธุรกรรม (the cost of transaction) เป็นค​ ่า​ใช้​จ่าย​ที่​ทั้ง​ผู้​ซื้อ​ และ​ผู้​ขาย​ต้อง​จ่าย​ใน​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​เชิง​ธุรกรรม​เมื่อ​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ค่า​ใช้​จ่าย​นี้​สามารถ​ แบ่ง​เป็น​ค่า​ใช้​จ่าย​ทาง​ตรง​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ทาง​อ้อม​ได้ ใน​กรณี​ที่​เลือก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ส​ ำ�หรับ​การ​ ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ที่​มี​จำ�นวน​เงิน​ไม่​มาก​นัก ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ส่วน​นี้​จะ​เป็น​ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ต่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ค่อน​ ข้าง​มาก 2) การ​แลก​เปลีย่ น​ขนาด​เล็ก (atomic exchange) ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์จ​ ะ​ต้อง​สามารถ​ รองรับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​ผู้ซ​ ื้อ​ที่​มี​การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​โดย​มี​ยอด​ชำ�ระ​ที่​ไม่​มาก​นัก​ได้​ด้วย 3) ช่วง​ของ​ผใู้​ ช้ (user range) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ออกแบบ​มา​นั้น​ควร​สามารถ​เข้า​ ถึง​ได้​จาก​ผู้​ใช้​หรือ​ผู้ซ​ ื้อท​ ั่วโ​ ลก ไม่ว​ ่า​จะ​เป็น​ผู้ซ​ ื้อท​ ี่​อยู่​ใน​ประเทศ​ใด ผู้​ซื้อ​ที่​มีอายุ​เท่าใด หรือ​เป็น​เพศ​ใด 4) มูลค่าท​ ี่​เคลื่อนที่ไ​ ด้ (value mobility) ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่​ออกแบบ​มา​นั้น จะ​ต้อง​สามารถ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​ทั่ว​โลก โดย​การ​กำ�หนด​มูลค่า​ของ​อัตรา​แลก​เปลี่ยน​สกุล​เงิน​ จะ​ต้อง​ใช้​ระบบ​ที่เ​ป็น​มาตรฐาน​เท่า​กันแ​ ละ​เป็น​ที่​ยอมรับ​ทั่ว​โลก ไม่ใช่​กำ�หนด​ขึ้น​เอง​จาก​บริษัท​ผู้​ขาย 5) ความ​เสี่ยง​ด้าน​การ​เงิน (financial risk) ใน​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น ผู้​ซื้อ​จะ​ ให้ค​ วาม​สำ�คัญต​ ่อก​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัยข​ อง​ข้อมูลก​ าร​ทำ�​ธุรกรรม​เชิงร​ ายการ​มาก​ที่สุด เพราะ​เป็นข​ ้อมูลท​ ี​่ เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เงิน​ของ​ผู้ซ​ ื้อ กอปร​กับ​ข้อมูล​มีก​ าร​รับ​ส่ง​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ซึ่ง​มี​ความ​เสี่ยง​ที่​จะ​ถูก​การ​ จาร​กรรม​ได้ง​ ่าย ดังน​ ั้น ใน​การ​ออกแบบ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์จ​ ึงค​ วร​พิจารณา​ความ​เสี่ยง​ด้าน​การ​เงิน​ ให้​มาก โดย​อาจ​มี​การ​ออกแบบ​ฟังก์ชั่น​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ​สำ�หรับ​ป้องกัน​การ​จาร​กรรม​ข้อมูล และ​ควร​พิจารณา​ใน​ ประเด็น​ที่ห​ าก​ข้อมูล​ถูก​จาร​กรรม​ไป องค์กร​จะ​มี​วิธี​การ​เยียวยา​หรือ​แก้ไข​ได้​อย่างไร 1.3 ด้าน​สงั คม (social aspect) นอก​เหนือจ​ าก​เกณฑ์ท​ ใี​่ ช้ใ​ น​การ​ประเมินร​ ะบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ จะ​เกี่ยวข้อง​กับ​ด้าน​เทคโนโลยี​และ​ด้าน​เศรษฐกิจ​แล้ว ยัง​เกี่ยวข้อง​กับ​ด้าน​สังคม​ด้วย เพราะ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ได้​รับ​ความ​นิยม​และ​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​อย่าง​แพร่​หลาย​ต้อง​เป็น​ที่​ยอมรับ​และ​มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​ต่อ​ สังคม​ด้วย ซึ่ง​ความ​ต้องการ​ด้าน​สังคม​ที่​ใช้ใ​ น​การ​ประเมิน คือ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-27

ธ ส

1) การ​ปกป้อง​ความ​เป็น​ส่วน​ตัว​ของ​ลูกค้า​หรือ​ผู้​บริโภค (privacy protection) ข้อมูล​ที่​ใช้​ใน​ การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เป็น​ข้อมูล​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​ผู้​ซื้อ​ที่​รับ​ส่ง​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ดัง​นั้น หาก​ ข้อมูล​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​โดย​บุคคล​หรือ​องค์กร​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง อาจ​นำ�​มา​ซึ่ง​ความ​เสีย​หาย​แก่​ผู้​ซื้อ​หรือ​เจ้าของ​ข้อมูล​ ได้ ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่​น่า​เชื่อ​ถือ​ต้อง​มี​ระบบ​ป้องกัน​ข้อมูล​ที่​เป็นส​ ่วน​ตัวข​ อง​ผู้​ซื้อ และ​ระบบ​ รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่ป​ ้องกัน​การ​แกะรอย​ข้อมูล​ของ​ผู้​ซื้อ​จาก​ผู้​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง 2) ระดับ​ของ​การ​ยอมรับ (degree of acceptability) ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ต้อง​มี​ ขั้น​ตอน​ใน​การ​ใช้​ที่​ไม่​ซับ​ซ้อน สามารถ​ใช้​งาน​ง่าย เพราะ​ระดับ​ของ​การ​ใช้​งาน​ที่​ง่าย​หรือ​ยุ่ง​ยาก เป็น​ปัจจัย​ที่​ สำ�คัญ​ต่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​ผู้​บริโภค​ใน​การ​เลือก​ใช้ โดย​เฉพาะ​กรณี​ที่​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​มี​จำ�นวน​น้อย 3) การ​เคลือ่ นที่ (mobility) ผูซ้​ ื้อท​ นี่​ ิยม​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ผ่าน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ต​ ้อง​สามารถ​ ใช้​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​จาก​ที่​ใด​ก็ได้​ใน​การ​เข้า​ถึง​ระบบ​อินเทอร์เน็ต​เพื่อ​ทำ�​ธุรกรรม​และ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ ดัง​นั้น การ​ออกแบบ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ดี​จึง​ไม่​ควร​เน้น​การ​ติด​ตั้ง​ซอฟต์แวร์​ที่​ต้อง​ใช้​ฮาร์ดแวร์​ ชนิด​ใด​ชนิด​หนึ่ง​โดย​เฉพาะ แต่​ควร​ออกแบบ​เป็น​ซอฟต์แวร์​ที่​สามารถ​ติด​ตั้ง​และ​สะดวก​ต่อ​การ​เคลื่อนที่​ หรือเ​คลื่อน​ย้าย ซึ่ง​ส่วน​มาก​จะ​ติด​ตั้ง​ใน​เครื่อง​แม่​ข่าย​ของ​บริษัทผ​ ู้​ขาย ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​สามารถ​เข้า​ถึงไ​ ด้​โดย​ไม่มี​ ข้อ​จำ�กัด​เรื่อง​สถาน​ที่​และ​เวลา ปัจจัย​นี้จ​ ึง​เป็น​อีก​ปัจจัย​หนึ่ง​ที่​มี​ผล​ต่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ซื้อ​ของ​ผู้​ซื้อ 1.4 ด้าน​สถาบัน​การ​เงิน​และ​กฎหมาย (institution and law aspect) เพื่ อ ​ใ ห้ ​ร ะบบ​ชำ � ระ​เ งิ น​ อิเล็กทรอนิกส์​เป็น​ที่​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ด้าน​เทคโนโลยี ด้าน​เศรษฐกิจ และ​ด้าน​สังคม จึง​จำ�เป็น​ ต้อง​มี​การ​กำ�หนด​กฎ​ระเบียบ​หรือ​กฎหมาย​จาก​รัฐบาล ปัจจุบัน​มี​การ​ออก​กฎหมาย​เกี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์​ใน​หลาย​ประเทศ เช่น การ​ใช้​ลาย​เซ็น​ดิจิทัล การ​โอน​เงิน​ดิจิทัล และ​การ​ทำ�​สัญญา​พาณิชย์​ อิเล็กทรอนิกส์ มาตรฐาน​ด้าน​เทคนิค วิธกี​ าร​เก็บภ​ าษี รูปแ​ บบ​ข้อมูลธ​ ุรกรรม​เชิงร​ ายการ​ทีใ่​ ช้ก​ ันท​ ั่วโ​ ลก เป็นต้น และ​เนื่องจาก​ความ​จริง​ที่​ว่า​สถาบัน​การ​เงิน​และ​กฎ​หมาย​ล้วน​แล้ว​แต่​เกี่ยวข้อง​กับ​รัฐบาล​ทั้ง​สิ้น ดัง​นั้น ใน​แต่ละ​ประเทศ​จะ​มี​การ​กำ�หนด​กฎหมาย​และ​นโยบาย​ขึ้น​มา​เอง ด้วย​เหตุ​นี้ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ ที่​แต่ละ​องค์การ​ออกแบบ​จึง​ต้อง​มี​ความ​สอดคล้อง​กับน​ โยบาย​และ​กฎหมาย​ที่​ใช้​ใน​ประ​เทศ​นั้นๆ ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ปัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ร​ ะ​เงิน​อิ​เล็ก​ทรอ​นิกส์

ความ​สำ�เร็จ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ถือว่า​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ที่​จะ​นำ�​ไป​สู่​ความ​สำ�เร็จ​ใน​การ​ทำ�​ ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ดัง​นั้น การ​ทำ�ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับป​ ัจจัย​ความ​สำ�เร็จ​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​ เป็นส​ ิ่งส​ ำ�คัญส​ ำ�หรับอ​ งค์การ​ที่​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ โดย​องค์การ​ควร​นำ�​ปัจจัยด​ ัง​กล่าว​มา​พิจารณา​ก่อน​ที่​ จะ​มกี​ าร​พัฒนา​หรือเ​ลือก​ใช้ร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งป​ ัจจัยค​ วาม​สำ�เร็จข​ อง​การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 2.1 การ​รักษา​ความ​ปลอดภัยข​ อง​ข้อมูล จัด​ได้​ว่า​เป็นป​ ัจจัย​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​มาก​ต่อ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ดัง​ที่ท​ ราบ​แล้ว​ว่า​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​ต้อง​มี​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​สำ�คัญ​ เกี่​ย​วกับก​ าร​ชำ�ระ​เงินร​ ะหว่าง​ผู้ซ​ ื้อ ผู้ข​ าย และ​สถาบัน​การ​เงินท​ ี่​เกี่ยวข้อง เพราะ​ฉะนั้น จึง​จำ�เป็นต​ ้อง​มี​ระบบ​ รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่เ​ข้ม​แข็ง​และ​มีป​ ระสิทธิภาพ​น่า​เชื่อ​ถือ

ธ ส


6-28

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

2.2 ความ​ง่าย​และ​สะดวก​ใน​การ​ป้อน​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์น​ ั้น ผู้​ซื้อ​ จำ�เป็นต​ ้อง​มีก​ าร​ป้อน​ข้อมูลเ​กี่ยว​กับก​ าร​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​เว็บเพจ​ของ​ผู้ข​ าย ซึ่งห​ น้าจ​ อ​สำ�หรับป​ ้อน​ข้อมูลด​ ังก​ ล่าว​ ควร​ออกแบบ​ให้​ง่าย สะดวก​ต่อ​การ​ป้อน​ข้อมูล และ​ข้อมูล​ที่​ป้อน​ก็​ควร​ให้​ป้อน​เฉพาะ​ข้อมูล​ที่​จำ�เป็น​เท่านั้น เพื่อ​ประหยัด​เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม 2.3 ความ​นา่ เ​ชือ่ ถ​ อื ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่อ​ งค์การ​นำ�​มา​ใช้น​ ั้นต​ ้อง​ได้ร​ ับก​ าร​พัฒนา​มา​เป็น​ อย่าง​ดี มี​ลักษณะ​หรือ​รูป​แบบ​เป็น​ไป​ตาม​มาตรฐาน​ที่​ใช้​กัน​ทั่วไป ทั้งนี้ เพื่อ​สร้าง​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ เพราะ​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​เป็น​ปัจจัย​ที่​จะ​สนับสนุน​ให้​ผู้​ซื้อ​ตัดสิน​ใจ​เลือก​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ 2.4 การ​คิด​ค่า​ธรรมเนียม เว็บไซต์​บาง​เว็บไซต์​มี​การ​คิด​ค่า​ธรรมเนียม​เพิ่ม​เติม​สำ�หรับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​หาก​มี​การ​คิด​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​สูง​เกิน​ไป​ก็​อาจ​จะ​มี​ผล​ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​ตัดสิน​ใจ​ไม่​ใช้​วิธี​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจาก​เมื่อร​ วม​ค่าส​ ินค้า/บริการ​เข้าก​ ับค​ ่าธ​ รรมเนียม​แล้วจ​ ะ​มผี​ ล​ทำ�ให้ค​ ่าส​ ินค้า/บริการ​แพง​ เกิน​ไป 2.5 ความ​หลาก​หลาย​ของ​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ องค์การ​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ควร​มี​ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​หลาก​หลาย เพื่อ​ให้​ผู้​ซื้อ​สามารถ​เลือก​ได้​ตาม​ความ​ต้องการ เพราะ​เนื่องจาก​ ผู้​ซื้อ​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​บาง​ราย​อาจ​ไม่​พร้อม​ที่​จะ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​โดย​การ​กำ�หนด​วิธี​ใด​วิธี​หนึ่ง เช่น การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​บัตร​เครดิต ผู้​ซื้อ​บาง​ราย​อาจ​ไม่มี​บัตร​เครดิต หรือ​การ​ใช้​บัตร​เครดิต​มี​ค่า​ธรรมเนียม​ ที่ส​ ูง ใน​กรณี​ที่ย​ อด​ชำ�ระ​เงิน​น้อย​ก็จ​ ะ​ไม่​คุ้มก​ ับ​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​ต้อง​จ่าย​เพิ่ม เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. เงื่อนไข​ใน​การ​เลือก​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่​ดี

ธ ส

เงื่อนไข​ใน​การ​เลือก​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​นำ�​หลัก​การ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ดี​ของ​ ธนาคาร​เพื่อ​การ​ชำ�ระ​ราคา​ระหว่าง​ประ​เทศ​ หรือ​บี​ไอ​เอส (Bank for International Settlement - BIS) มา​ ประยุกต์​ได้ ซึ่ง​หลักก​ าร​ดัง​กล่าว​ถูก​กำ�หนด​ขึ้น​มา​เพื่อ​ใช้​ประเมิน​กับร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน และ​การ​หักบ​ ัญชี​ระหว่าง​ สถาบัน​การ​เงิน เรียก​ว่า หลัก​การ​สำ�คัญข​ อ​งบี​ไอ​เอส (BIS Core Principle) ซึ่ง​มี​องค์​ประกอบ 10 ข้อ ดังนี้ 3.1 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ต้อง​ได้​รับ​การ​รับรอง​ตาม​กฎหมาย จึง​จะ​ถือว่า​มี​ความ​ถูก​ต้อง 3.2 กฎ ระเบียบ​ต้อง​เป็น​ที่เ​ข้าใจ​แก่​ผู้ท​ ี่เ​กี่ยวข้อง รวม​ทั้ง​เข้าใจ​ถึง​ความ​เสี่ยง​ทั้งหมด​ที่​เกิด​จาก​การ​ เข้า​ร่วม​ใช้​ระบบ​ชำ�​ระ​เงิน 3.3 มีก​ ระบวนการ​บริหาร​ความ​เสีย่ ง และ​ระบุค​ วาม​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ของ​ผใู​้ ช้บ​ ริการ​ระบบ​และ​ผทู​้ เี​่ กีย่ วข้อง รวม​ทั้ง​การ​สร้าง​ระบบ​แรง​จูงใจ​ที่เหมาะ​สม​เพื่อล​ ด​ความ​เสี่ยง 3.4 การ​ชำ�ระ​ราคา (settlement) จะ​ต้อง​เกิด​ขึ้น​ภายใน​วันเ​ดียว​กับ​ที่​เกิด​ธุรกรรม 3.5 การ​ช�ำ ระ​ราคา​สทุ ธิร​ ะหว่าง​กนั (multilateral netting) จะ​ตอ้ ง​มก​ี ลไก​เพือ่ ใ​ ห้ม​ ัน่ ใจ​ได้ว​ า่ ส​ ามารถ​ ทำ�ให้​การ​ชำ�ระ​ราคา​ระหว่าง​ธนาคาร​ในยอด​เงิน​สุทธิ​ภายใน​วันน​ ั้น​สามารถ​เกิด​ขึ้น​ได้ 3.6 การ​ชำ�ระ​ราคา​ต้อง​ใช้​สินทรัพย์​ที่อ​ อก​โดย​ธนาคาร​กลาง 3.7 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​จะ​ต้องการ​รักษา​ความ​ปลอดภัย และ​มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-29

ธ ส

3.8 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​ต้อง​มี​ประสิทธิภาพ​ต่อ​ระบบ​เศรษฐกิจ​และ​สะดวก​ต่อ​การ​ ปฏิบัติ

ธ ส

3.9 มีเ​ป้าห​ มาย​และ​วาง​เงื่อนไข​ของ​สมาชิกใ​ น​การ​เข้าร​ ่วม​ใช้บ​ ริการ​ที่เ​ปิดเ​ผย​และ​ชัดเจน เพื่อใ​ ห้เ​กิด​ ความ​เป็นธ​ รรม 3.10 ผู้​บริหาร​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ต้อง​มี​การ​จัดการ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ โปร่งใส และ​ต้อง​ รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​การ​ดำ�เนิน​งาน

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.1.4 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.1.4 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.1 เรื่อง​ที่ 6.1.4

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


6-30

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ตอน​ที่ 6.2

ธ ส

ประเภท​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 6.2 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.1 การ​แบ่ง​ประเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.2.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต เรื่อง​ที่ 6.2.3 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.2.4 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.2.5 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด เรื่อง​ที่ 6.2.6 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่

ธ ส

ธ ส

1. การ​แบ่ง​ประเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​แบ่ง​ออก​ได้​หลาย​วิธี ทั้งนี้ ขึ้น​ กับ​คุณลักษณะ​ที่​จะ​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​แบ่ง สำ�หรับ​ใน​ที่​นี้​ได้​แบ่ง​ประเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์​ไว้ 5 วิธี คือ แบ่ง​ตาม​ประเภท​ของ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ แบ่งต​ าม​มูลค่า​ ของ​การ​สั่ง​ซื้อ แบ่ง​ตาม​สารสนเทศ​ที่​รับส​ ่ง​ออนไลน์ แบ่งต​ าม​แนวคิด​ของ​คา​ลา​โค​ต้า​และ​ วิน​ส์​ตัน และ​แบ่ง​ตาม​แนวคิด​ของ​แอนเด​อร์​สัน 2. ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต เป็น​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​เป็น​ที่​ยอมรับ​ทั่ว​โลก และ​ได้​รับ​ ความ​นิยม​มาก​ที่สุดใ​ น​แวดวง​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจาก​เป็น​ระบบ​ที่​ง่าย สะดวก และ​ รวดเร็วใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกรรม ปัจจุบันป​ ระเภท​บัตร​ออนไลน์ม​ ดี​ ้วย​กันห​ ลาย​ประเภท ทีน่​ ิยม​ใช้​ มีด​ ้วย​กัน 6 ประเภท​คือ บัตร​เครดิต บัตร​เดบิต บัตร​ชาร์จ บัตร​เครดิตเ​ส​มือน​ ส​ มา​ร์ต​ การ์ด​ หรือ​บัตร​อัจฉริยะ และ​บัตร​จัดเ​ก็บ​มูลค่า 3. ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ เป็น​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​นำ�​มา​ใช้​ ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ซึ่ง​ได้​รับ​ความ​นิยม​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​อย่าง​ต่อ​เนื่อง เพราะ​การ​ใช้​เช็ค​ อิเล็กทรอนิกส์​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​เปิด​เผย​ข้อมูล​บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​ให้​แก่​ผู้​ขาย โดย​เฉพาะ​ใน​การ​ ประมูล​อิเล็กทรอนิกส์ นอกจาก​นี้แ​ ล้ว ใน​การ​ใช้​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​ส่ง​ข้อมูล​ เกี่ยว​กับ​การ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย เนื่องจาก​ธนาคาร​จะ​ไป​ดำ�เนิน​การ​เอง​ใน​ส่วน​นี้ ค่า​ใช้​ จ่าย​ใน​การ​เรียก​เก็บ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​น้อย​กว่า​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เรียก​เก็บ​เงิน​ ผ่าน​บัตร​เครดิต

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

6-31

ธ ส

4. เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ คือ แบบ​ฟอร์ม​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ถูก​ต้อง​ตาม​กฎหมาย ซึ่ง​ใช้​ระบบ​ คอมพิวเตอร์​ใน​การ​กำ�หนด​มูลค่า​เงิน ซึ่ง​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​นี้ ผู้​บริโภค​สามารถ​ซื้อ​ได้​ โดย​ใช้​บัตร​เครดิต บัตร​เดบิต เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ เช็ค​กระดาษ เงินสด หรือ​ซื้อ​โดย​วิธี​การ​ โอน​เงิน เมื่อ​ผู้บ​ ริโภค​ซื้อเ​งินสด​อิเล็กทรอนิกส์ บัญชี​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์จ​ ะ​ถูก​สร้าง​ ขึ้น​อัตโนมัติ เป็น​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อีก​ระบบ​หนึ่ง​ที่​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ​ผ่าน​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์ เพราะ​มกี​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัย ความ​เป็นส​ ่วน​ตัวด​ ้วย​การ​เข้าร​ หัส และ​ใช้​ กุญแจ​สาธารณะ ทำ�ให้ข​ ้อมูลท​ ีร่​ ับส​ ่งผ​ ่าน​ระบบ​เครือข​ ่าย​อินเทอร์เน็ต​ได้ร​ ับค​ วาม​ปลอดภัย​ และ​มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือม​ าก​พอๆ กับ​ข้อมูล​ที่​รับส​ ่ง​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​ส่วน​บุคคล 5. สมา​ร์​ตการ์ด​หรือบ​ ัตร​อัจฉริยะ เป็น​บัตร​พลาสติก​ที่​มี​ขนาด​เท่ากับบ​ ัตร​เครดิต แต่​ภายใน​ บัตร​จะ​มก​ี าร​ฝงั ช​ ปิ ไ​ ว้ ซึง่ ช​ ปิ ท​ ฝี​่ งั อ​ าจ​เป็นไ​ มโคร​โพรเซสเซอร์ก​ บั ห​ น่วย​ความ​จ� ำ หรืออ​ าจ​เป็น​ หน่วย​ความ​จำ�​เพียง​อย่าง​เดียว สมา​ร์​ตการ์ด​ที่​มี​ไมโคร​โพรเซสเซอร์​ฝัง​อยู่​กับ​หน่วย​ความ​ จำ� จะ​ทำ�ให้สามารถ​เพิ่ม ลบ หรือจ​ ัดการ​ข้อมูลท​ ีอ่​ ยูบ่​ น​ไมโคร​โพรเซสเซอร์ไ​ ด้ สมา​รต์​ การ์ด​ มี​ด้วย​กัน 2 ประเภท คือ สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​มี​การ​สัมผัส และ​สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​ไม่มี​ การ​สัมผัส 6. ปจั จุบนั อ​ ปุ กรณ์เ​คลือ่ นทีโ​่ ดย​เฉพาะ​โทรศัพท์เ​คลือ่ นทีไ​่ ด้ก​ ลาย​เป็นอ​ ปุ กรณ์ท​ มี​่ ค​ี วาม​จ�ำ เป็น​ ต่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิตข​ อง​ผู้คน​ทั่ว​โลก ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​ใช้​ติดต่อ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจำ�​วัน หรือ​ ชีวิต​การ​ทำ�งาน​แล้ว​ยัง​สามารถ​ใช้​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ด้าน​อื่นๆ ได้ ไม่​ว่า​จะป็​นการ​จับ​จ่าย​ ใช้สอย รวม​ทั้ง​การ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ต่างๆ เนื่องจาก​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​วิธี​นี้​ ช่วย​อำ�นวย​ความ​สะดวก​และ​รวดเร็ว อีก​ทั้ง​ยัง​ช่วย​ให้​ประหยัด​เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ ทำ�​ธุรกรรม​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-32

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

วัตถุประสงค์

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 6.2 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. อธิบาย​การ​แบ่ง​ประเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 2. อธิบาย​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​ได้ 3. อธิบาย​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 4. อธิบาย​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 5. อธิบาย​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด​ได้ 6. อธิบาย​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่​ได้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-33

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.1 การ​แบ่ง​ประเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

การ​แบ่งป​ ระเภท​ของ​การ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ส​ ามารถ​แบ่งอ​ อก​ได้ห​ ลาย​วธิ ี ทัง้ นี้ ขึน้ ก​ บั ค​ ณ ุ ลักษณะ​ ที่​จะ​นำ�​มา​ใช้ใ​ น​การ​แบ่ง โดย​มี​ราย​ละเอียด​ดัง​ต่อ​ไป​นี้

ธ ส

1. แบ่ง​ตาม​ประเภท​ของ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce type)

ดัง​ที่​ทราบ​กัน​ดีแล้ว​ว่าพ​ าณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​สามารถ​แบ่ง​ออก​เป็น พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ ธุรกิจ​กับ​ธุรกิจหรือ​บี​ทูบี (B2B) พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ธุรกิจ​กับ​ผู้​บริโภคหรือ​บี​ทู​ซี (B2C) พาณิชย์​ อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ผู้บ​ ริโภค​กับ​ธุรกิจหรือซีทูบี (C2B) พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ผู้​บริโภค​กับ​ผู้​บริโภคหรือ​ ซีท​ ซู​ ี (C2C) ซึ่งพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ ต่ละ​ประเภท​จะ​มคี​ ุณลักษณะ​เฉพาะ​ของ​ตัวเ​อง ดังน​ ั้น จึงม​ บี​ าง​องค์กร​ แบ่งป​ ระเภท​ของ​การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ตาม​ประเภท​ของ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น

ธ ส

2. แบ่ง​ตาม​มูลค่าข​ อง​การ​สั่ง​ซื้อ (value of order)

ธ ส

เด​เนีย​ล (Danial 2002) ได้แ​ บ่งก​ าร​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ตาม​มูลค่า​ของ​เงิน​ที่​สั่ง​ซื้อ​สินค้า/บริการ โดย​แบ่งอ​ อก​เป็น 3 ประเภท คือ 1) การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​จำ�นวน​น้อย 2) การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ผู้​บริโภค และ 3) การ​ชำ�ระ​เงินใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกิจ ซึ่งม​ ีร​ า​ยละ​เอียด​ดังนี้ 2.1 การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​จำ�นวน​น้อย (electronic micro payment) เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ใ​ น​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ร​ ะหว่าง​ผู้​บริโภค​กับ​ผู้​บริโภค (C2C) และ​ธุรกิจ​กับ​ผู้​บริโภค (B2C) ซึ่งจ​ ะ​มีม​ ูลค่าเ​งินน​ ้อย​กว่า 10 ดอลลาร์ส​ หรัฐ ทั้งนี้ เนื่องจาก​การ​ชำ�ระ​เงินใ​ น​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ด​ ้วย​ วิธี​อื่น​ผู้​ขาย​จะ​ต้อง​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​เพื่อ​เรียก​เก็บ​เงิน​จาก​ผู้​ซื้อ​สูง และ​หาก​ยอด​เงิน​ที่​เรียก​เก็บ​ มี​จำ�นวน​น้อย​ก็จ​ ะ​ไม่​คุ้มก​ ับ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ ดัง​นั้น ใน​ปี ค.ศ. 2000 จึง​มี​บริษัทห​ ลาย​แห่ง​พัฒนา​ ซอฟต์แวร์เ​พื่อ​ให้บ​ ริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่ม​ ี​จำ�นวน​น้อย บริษัทท​ ี่​เป็นท​ ี่​รู้จัก​กัน​ดี เช่น มิลลิ​เซ็นต์ (Millicent) บิตแ​ พส (Bitpass) ไซ​เบอร์​คอย​น์ (Cybercoin) เป็นต้น ปัจจุบัน​แบบ​จำ�ลอง​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​จำ�นวน​น้อย มี​ด้วย​กัน 5 แบบ​จำ�ลอง คือ 1) แบบ​จำ�ลอง​ที่​ใช้​ยอด​รวม (aggregation) กำ�หนดการ​ชำ�ระ​เงิน เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​ลูกค้า​ ราย​เดียว โดย​จะ​เก็บร​ วบรวม​ข้อมูลร​ ายการ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​จน​กระทั่งไ​ ด้ย​ อด​รวม​การ​ซื้อเ​ท่ากับห​ รือม​ ากกว่า​ ยอด​รวม​ที่​กำ�หนด​ไว้ จาก​นั้น​จึง​ทำ�การ​ประมวล​ผล​ข้อมูล​เพื่อ​เรียก​เก็บ​เงิน​จาก​ลูกค้า​ราย​นั้น เช่น ลูกค้า​มี​การ​ ชำ�ระ​เงิน​โดย​มี​ยอด​รวม​การ​ชำ�ระ​มากกว่า หรือเ​ท่ากับ 10 ดอลลาร์ส​ หรัฐ วัตถุประสงค์ท​ ี่​บริษัทใ​ ช้​แบบ​จำ�ลอง​ นีก้​ เ็​พื่อป​ ระหยัดค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ดำ�เนินก​ าร​รับช​ ำ�ระ​ค่าส​ ินค้า/บริการ​ใน​แต่ละ​ครั้งล​ ง แบบ​จำ�ลอง​นีถ้​ ูกน​ ำ�​ไป​ใช้​ กับบ​ ริษัท แอปเปิ้ล​ไอ​ทูน​ส์ (Apple’s i Tunes) ซึ่ง​เป็น​บริษัท​ที่​จำ�หน่าย​เพลง​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์ โดย​ผู้​ซื้อ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-34

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

สามารถ​เลือก​ซื้อ​เพลง​ที่​ต้องการ​ได้ และ​เมื่อย​อด​รวม​ซื้อ​เท่ากับ​ยอด​ที่​กำ�หนด ผู้​ซื้อ​ก็​จะ​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน​ให้​แก่​ บริษัท​จาก​นั้น​จึง​ได้​รับ​สิทธิใน​การ​ดาวน์โหลด​เพลง​ที่​ต้องการ​ได้​จาก​เว็บไซต์​ของ​บริษัท 2) แบบ​จ�ำ ลอง​จา่ ย​ตรง (direct payment) ทีใ​่ ช้ร​ ะยะ​เวลา​เป็นต​ วั ก​ �ำ หนด เป็นการ​นำ�​ยอด​เงินท​ ีม่​ ​ี จำ�นวน​น้อย​มา​รวม​เข้าด​ ้วย​กันเ​พื่ออ​ อก​ใบ​แจ้งห​ นี้ร​ าย​เดือน​สำ�หรับค​ ่าบ​ ริการ​ที่ล​ ูกค้าใ​ ช้อ​ ยู่เ​ป็นป​ ระจำ� และ​ตัด​ บัญชี​โดยตรง เช่น ค่า​โทรศัพท์ แบบ​จำ�ลอง​นี้​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​โดย​บริษัท โทร​ศัพท์​เซล​ลู​ล่า​ร์ สำ�หรับ​ผู้​ใช้​บริการ​ที่​ ชอบ​ดาวน์โหลด​เสียง​โทรศัพท์​สาย​เข้า หรือ​ริงโทน (ring tone) บริษทั เพย์เ​มน​ตว​์ นั (PaymentOne) เป็นบ​ ริษทั ท​ ใี​่ ห้บ​ ริการ​การ​ช�ำ ระ​เงินท​ ใี​่ ช้แ​ บบ​จ�ำ ลอง​นี้ โดย​บริษทั ​ จะ​จัดหา​เครือ​ข่าย​และ​แพลตฟอร์ม​ให้​แก่​ผู้​ทำ�​ธุรกิจ ซึ่ง​เครือ​ข่าย​และ​แพลตฟอร์ม​ดัง​กล่าว​จะ​ช่วย​ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​ สามารถ​รวม​ยอด​เงิน​ค่า​ใช้​บริการ​ทั้งหมด​เกี่ยว​กับ​โทรศัพท์​ไว้​ใน​ใบ​เสร็จ​ใบ​เดียวกัน​ได้ ซึ่ง​ช่วย​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ ใน​การ​ดำ�เนินก​ าร​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ลง 3) แบบ​จ�ำ ลอง​จดั เ​ก็บม​ ลู ค่า (stored value) เป็นการ​ช�ำ ระ​เงินท​ ดี​่ �ำ เนินก​ าร​โดย​วธิ ห​ี กั เ​งินใ​ น​บญ ั ชี​ ของ​ผู้ซ​ ื้อต​ าม​ยอด​เงินท​ ี่ผ​ ู้ซ​ ื้อใ​ ช้จ​ ่าย ดังน​ ั้น ผู้ซ​ ื้อจ​ ะ​ต้อง​มีบ​ ัญชีเ​งินฝ​ าก​อยู่ใ​ น​ธนาคาร​จึงจ​ ะ​สามารถ​ชำ�ระ​เงินได้ แบบ​จำ�ลอง​นี้​สามารถ​ใช้ได้​กับ​ธุรกิจ​ทั้ง​แบบ​ออฟ​ไลน์​และ​แบบ​ออนไลน์ ปัจจุบัน​ถูก​ประยุกต์​ใน​รูป​แบบ​ของ​ บัตร​เติม​เงิน โดย​ลูกค้า​สามารถ​ซื้อ​บัตร​ใน​ราคา​ที่​ต้องการ​จาก​ร้าน​ค้า​หรือ​สาขา​ของ​บริษัท จาก​นั้น​มูลค่า​เงิน​ จะ​ถูก​บันทึกล​ ง​ใน​บัตร ลูกค้า​สามารถ​นำ�​บัตร​ไป​ใช้​ซื้อ​สินค้า​ของ​บริษัท​ได้​ตาม​วงเงิน​ที่​กำ�หนด​ไว้ และ​ยอด​ซื้อ​ ยัง​สามารถ​สะสม​เปลี่ยน​เป็น​คะแนน​เพื่อแ​ ลก​ของ​สมนาคุณ​ได้​อีก​ด้วย บริษัท​ที่​ใช้​แบบ​จำ�ลอง​นี้ เช่น บริษัท​ที​่ ให้​บริการ​เครือข​ ่าย​โทรศัพท์​เคลื่อนที่ บริษัท ส​ตาร์บัคส์ (Starbucks) ที่​เปิด​ร้าน​ กาแฟส​ตาร์บัคส์​ทั่ว​โลก​โดย​ ปัจจุบัน​ลูกค้า​สามารถ​ซื้อ​บัตร​ส​ตาร์บัคส์ (starbucks card) ใช้​แทน​เงินสด​เพื่อ​ซื้อ​เครื่อง​ดื่ม​ของ​ร้าน​ได้​ทุก​ สาขา สำ�หรับ​บริษัท​ที่ใ​ ห้​บริการ​ดาวน์โหลด​เพลง​แบบ​ออนไลน์​ก็​นิยม​ใช้​แบบ​จำ�ลอง​ลักษณะ​นี้​เช่น​กัน 4) แบบ​จ�ำ ลอง​การ​สมัคร​สมาชิก (subscription) เป็นการ​ชำ�ระ​เงินท​ ผี่​ ซู้​ ื้อจ​ ะ​ชำ�ระ​ครั้งเ​ดียว และ​ ครอบคลุม​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เข้า​ใช้​บริการ หรือ​เข้า​ถึง​สินค้า​ภายใน​ช่วง​เวลา​ที่​กำ�หนด โดย​ผู้​ซื้อ​จะ​ชำ�ระ​เป็น​ค่า​ สมัคร​สมาชิกใ​ ห้​แก่​บริษัท​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​เปิดใ​ ห้​เล่นเ​กม​ออนไลน์ หรือห​ นังสือพิมพ์​ออนไลน์ หรือผ​ ลิตน​ ิตยสาร/ วารสาร​ออนไลน์ เช่น วาร​สาร​วอลล์ส​ทรีต (Wall Street Journal) 5) แบบ​จำ�​ลอง​อะ​ลา​คาร์ต (A’la Carte) อะ​ลา​คาร์ต เป็น​ภาษา​ฝรั่งเศส แปล​ว่า “ตาม​เมนู” (according to menu) เป็น​ศัพท์​ที่​นิยม​ใช้​ใน​ร้าน​อาหาร​หรือ​ภัตตาคาร​มี​ความ​หมาย​ว่า​ให้​สั่ง​ตาม​เมนู ซึ่ง​ มี​ราคา​บอก​ไว้​แล้ว แบบ​จำ�ลอง​นี้​มัก​จะ​ใช้​กับ​ธุรกิจ​ประเภท​ร้าน​ค้า​อาหาร​จาน​ด่วน​ที่​มี​จำ�นวน​ลูกค้า​เข้า​มา​ใช้​ บริการ​มาก แต่​ยอด​ซื้อ​ของ​ลูกค้า​แต่ละ​ราย​จะ​ไม่​มาก​นัก ดัง​นั้น ผู้​ขาย​จะ​ประมวล​ผล​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ ลูกค้า​ราย​ที่​ชำ�ระ​ผ่าน​บัตร​เครดิต​หรือ​บัตร​เดบิต โดย​อาศัย​ปริมาณ​ข้อมูล​การ​สั่ง​ซื้อ​ที่​มี​จำ�นวน​มาก​เพื่อ​ต่อ​ รอง​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ประมวล​ผล​ข้อมูล ทำ�ให้​เสีย​ค่า​ธรรมเนียม​น้อย​ลง ร้าน​ค้า​ที่​ใช้​แบบจำ�ลอง​แบบ​นี้ เช่น แมค​โดนั​ลด์ (McDonalds) เว็น​ดี้ (Wendy) เป็นต้น 2.2 การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ผู้​บริโภค (consumer payment) การ​ชำ�ระ​เงิน​ประเภท​นี้​เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​มี​ มูลค่า​อยู่​ระหว่าง 10 ถึง 500 ดอลลาร์​สหรัฐ ซึ่ง​ส่วน​มาก​จะ​เกิด​จาก​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ธุรกิจ​ กับ​ผู้​บริโภค (B2C)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-35

ธ ส

2.3 การ​ชำ�ระ​เงิน​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ (business payment) เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​มี​มูลค่า​มากกว่า 500 ดอลลาร์​สหรัฐ ซึ่ง​ส่วน​มาก​จะ​เกิด​จาก​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ธุรกิจ​กับ​ธุรกิจ (B2B)

ธ ส

3. แบ่ง​ตาม​สารสนเทศ​ที่​รับ​ส่ง​ออนไลน์

เม​อร์​ฟี่ (Murphy 2002) แบ่ง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ออก​เป็น 6 ประเภท​ตาม​สารสนเทศ​ที่​รับ​ ส่ง​ออนไลน์ ได้แก่ 3.1 พีซี​แบ​งกิ้ง (PC-banking) เป็นการ​ทำ�​ธุรกรรม​ออนไลน์​ที่​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ประมวล​ผล​ข้อมูล​ ธุรกรรม​เชิง​รายการ​ผ่าน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ส่วน​บุคคล​หรือพ​ ีซีจ​ าก​ที่บ​ ้าน​ได้ โดย​ธนาคาร​จะ​อนุญาต​ให้ล​ ูกค้า​ ดาวน์โหลด​ซอฟต์แวร์​ทางการ​เงิน​ไป​ติด​ตั้ง​ใน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ลูกค้า ทำ�ให้​ลูกค้า​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​ สินค้า/บริการ​จาก​บัญชี​ที่​เปิด​ไว้​กับ​ธนาคาร​ได้ และ​ยัง​ทำ�ให้​สามารถ​ทราบ​ข้อมูล​ยอด​บัญชี​และ​งบ​ยอด​เงิน ​คง​เหลือ​ใน​บัตร​เครดิต​ที่​ชำ�ระ รวม​ทั้ง​การ​โอน​เงิน​ระหว่าง​บัญชี​ด้วย สารสนเทศ​ที่​รับ​ส่ง​ออนไลน์​จะ​เป็น​ สารสนเทศ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ระหว่าง​ลูกค้าก​ ับ​ธนาคาร 3.2 บัตร​เครดิต (credit cards) เป็น​บัตร​พลาสติก​ที่​สามารถ​ใช้​แทน​เงินสด​ได้ โดย​ธนาคาร​จะ​เป็น​ ผู้​ออก​บัตร​ให้​แก่​ผู้​ถือ​บัตร สารสนเทศ​ที่​รับ​ส่ง​ออนไลน์​จะ​เป็น​สารสนเทศ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ระหว่างร้าน​ค้า​กับ​ ธนาคาร สำ�หรับ​ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.2 3.3 เช็คอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ (electronic cheques) มีล​ กั ษณะ​คล้าย​กบั เ​ช็คก​ ระดาษ แต่ข​ อ้ มูลท​ เี​่ กีย่ วข้อง​จะ​ อยูใ​่ น​รปู แ​ บบ​ของ​ไฟล์อ​ เิ ล็กทรอนิกส์ หรือเ​ป็นข​ อ้ มูลด​ จิ ทิ ลั น​ ัน่ เอง อิเล็กทรอนิกส์เ​ช็คส​ ามารถ​ใช้ช​ �ำ ระ​คา่ ส​ นิ ค้า/ บริการ​ใน​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้เ​ช่นเ​ดียว​กับบ​ ัตร​เครดิต สารสนเทศ​ทีร่​ ับส​ ่งอ​ อนไลน์จ​ ะ​เป็นส​ ารสนเทศ​การ​ ทำ�​ธุรกรรม​ระหว่าง​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​เช็คก​ ับธ​ นาคาร​ผู้เ​รียก​เก็บเ​งินจ​ าก​เช็ค สำ�หรับร​ าย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อไ​ ป​ใน​ เรื่อง​ที่ 6.2.3 3.4 การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​จำ�นวน​น้อย (electronic micro payment) สารสนเทศ​ที่​รับ​ส่ง​ ออนไลน์จ​ ะ​เป็น​สารสนเทศ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ระหว่าง​ผู้​ขาย​กับ​ธนาคาร ดังร​ าย​ละเอียด​ที่​กล่าว​มา​แล้ว​ใน​ข้อ 2.1 3.5 เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic cash) สารสนเทศ​ที่​รับ​ส่ง​ออนไลน์​จะ​เป็น​สารสนเทศ​การ​ทำ�​ ธุรกรรม​ระหว่าง​ผู้ซ​ ื้อห​ รือ​ลูกค้า​กับ​ธนาคาร สำ�หรับ​ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.4 3.6 บัตร​อัจฉริยะ (smart cards) เป็น​บัตร​แถบ​แม่​เหล็ก​ที่​ใช้​แทน​เงินสด​ได้ โดย​จะ​มี​การ​บันทึก​ ข้อม​ ูลส​ ำ�คัญๆ ของ​ผู้ถ​ ือบ​ ัตร​ลง​ใน​ชิปห​ น่วยความ​จำ�​ที่ฝ​ ังอ​ ยู่ด​ ้าน​หลังบ​ ัตร สารสนเทศ​ที่ร​ ับส​ ่งอ​ อนไลน์จ​ ะ​เป็น​ สารสนเทศ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​หรือ​ลูกค้า​กับ​ธนาคาร สำ�หรับ​ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.5

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

4. แบ่ง​ตาม​แนวคิดข​ อง​คา​ลา​โค​ต้าแ​ ละ​วิน​ส์​ตัน

ธ ส

ธ ส

ใน​ปี ค.ศ. 1996 คา​ลา​โค​ต้า ศาสตราจารย์​แห่ง​มหา​วิทยา​ลัย​จอร์เจีย​ส​เทต (Georgia State Univer sity) ซึ่ง​เป็น​ผู้​มีชื่อ​เสียง​และ​เชี่ยวชาญ​เกี่ยว​กับ​การ​วาง​กลยุทธ์​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ และ​เป็น​ที่​ปรึกษา​ให้​กับ​ บริษัท ฟอร์จูน 1000 อีก​ทั้ง​เป็น​ผู้​เขียนหนังสือ​เกี่ยว​กับ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​อีก​หลาย​เล่มที่​เป็น​ที่​รู้จัก​กัน


6-36

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

​อย่าง​ดีใน​แวดวง​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ร่วม​กับ​แอน​ดรูว์ บี วิน​ส์​ตัน (Andrew B. Whinston) ศาสตราจารย์​แห่ง​มหา​วิทยา​ลัย​เท็กซัส​ที่​ออสติน (University of Texas at Austin) ซึ่ง​เป็น​ทั้ง​นัก​ เศรษฐศาสตร์แ​ ละ​นกั ว​ ทิ ยาการ​คอมพิวเตอร์ท​ รี​่ ูจ้ กั ก​ นั ด​ ใี​ น​แวดวง​ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ ทัง้ ส​ อง​คน​ได้แ​ บ่งร​ ะบบ​ ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ออก​เป็น 3 ประเภท คือ 4.1 ดิจิทัล​โท​เค็น (digital token) เป็น​ข้อมูล​แทน​หน่วย​ของ​กระแส​เงิน​ดิจิทัล​ที่​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ มาตรฐาน ซึ่ง​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ใช้​ดิจิทัล​โท​เค็น​แทน​เงินสด​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า/บริการ​จาก​ผู้​ขาย​ได้ โดย​การ​ป้อน​เลข​ รหัสข​ อง​ดิจิทัลโ​ ท​เค็นส​ ่งใ​ ห้แ​ ก่ผ​ ูข้​ าย ผูข้​ าย​จะ​นำ�​รหัสไ​ ป​เก็บเ​งินจ​ าก​โท​เค็น​ ทีผ่​ ูซ้​ ื้อซ​ ื้อไ​ ว้ ดิจิทัลโ​ ท​เค็น​ มีด​ ้วย​กัน 2 แบบ คือ 1) โทเค็นแบบ​เรี​ยล​ไทม์ (real time token) หรือ​โท​เค็​นที่​ผู้​ซื้อ​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน​ใน​การ​ซื้อ​โท​เคน​มา​ ก่อน (pre-paid tokens) โท​เค็น​ ทีซ่​ ื้อม​ า​สามารถ​ใช้แ​ ทน​เงินสด​ได้ ตัวอ​ ย่าง​ของโท​เค็นแ​ บบ​นี้ เช่น เงินสด​ดิจิทัล เดบิตก​ าร์ด กระเป๋าเ​งินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ และ 2) โท​เค็นแ​ บบ​ชำ�ระ​เงินภ​ าย​หลัง (post-paid tokens) เป็นโ​ ท​เค็น​ ที​่ ผูใ้​ ช้ไ​ ม่ต​ ้อง​ชำ�ระ​เงินใ​ น​การ​ซื้อโ​ ท​เค็น​ มา​ก่อน แต่จ​ ะ​ชำ�ระ​หลังจ​ าก​ทีม่​ กี​ าร​ซื้อข​ าย​สินค้า/บริการ​แล้ว โดย​การ​โอน​ เงิน​ผ่าน​ระบบ​ธนาคาร​อิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่าง​ของ​โท​เค็น​แบบ​นี้ เช่น เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 4.2 บัตร​เครดิต (credit card) ​เป็น​บัตร​ที่​ออก​โดย​สถาบัน​การ​เงิน​ของ​ผู้​ซื้อ สามารถ​นำ�​มา​ใช้​ชำ�ระ​ค่า​ สินค้า/บริการ​แบบ​ออนไลน์​ได้ ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.2 4.3 บัตร​สมา​ร์​ตการ์ด (smart card) หรือบ​ ัตร​อัจฉริยะ เป็นบ​ ัตร​ที่​มี​ลักษณะ​คล้าย​กับ​บัตร​เครดิต สามารถ​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงินใ​ น​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ได้ ซึ่ง​ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.5

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

5. แบ่ง​ตาม​แนวคิดข​ อง​แอนเด​อร์​สัน

ธ ส

ใน​ปี ค.ศ. 1998 รอส เจ แอนเด​อร์ส​ ัน (Ross J. Anderson: 1998) ศาสตราจารย์แ​ ละ​นัก​วิจัย​ที่​มี ชื่ อ ​เ สี ย ง​ด้ า น​วิ ศ วกรรม​ก าร​รั ก ษา​ค วาม​ป ลอดภั ย ​แ ห่ ง ​ม หา​วิ ​ท ยา​ลั ย ​เ คม​บ ริ ด จ์ ได้ ​แ บ่ ง ​ร ะบบ​ชำ � ระ​เ งิ น​ อิเล็กทรอนิกส์​ออก​เป็น 4 ระบบ ดังนี้ 5.1 ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต (credit card payment system) เป็นการ​นำ�​บัตร​เครดิต​มา​ ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ซึ่งร​ าย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.2 5.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic cheque payment system) ราย​ละเอียด​จะ​ กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.3 5.3 ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic cash payment system) ราย​ละเอียด​จะ​ กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.4 5.4 ระบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ผ​ า่ น​สมา​รต​์ การ์ด (smart card based electronic payment system) ราย​ละเอียด​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.5 5.5 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​อุปกรณ์เ​คลื่อนทีห่​ รือ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์ (mobile payment) ราย​ละเอียด​จะ​ กล่าว​ต่อ​ไป​ใน​เรื่อง​ที่ 6.2.6

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.1


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต

ธ ส

6-37

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต (credit card payment system) เป็น​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​เป็น​ที่​ ยอมรับท​ ั่ว​โลก และ​ได้​รับ​ความ​นิยม​มาก​ที่สุด​ใน​แวดวง​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

1. ประเภท​ของ​บัตร​ออนไลน์

ปัจจุบัน​บัตร​ออนไลน์​มีชื่อ​เรียก​ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน​มากมาย มี​การ​จัด​แบ่งไ​ ด้​หลาย​ลักษณะ สำ�หรับใ​ น​ที่​นี้ จะ​แบ่ง​ตาม​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน ซึ่งส​ ามารถ​แบ่ง​ออก​ได้​เป็น 2 ประเภท​หลัก​ด้วย​กัน คือ 1.1 บัตร​ออนไลน์ท​ ช​ี่ �ำ ระ​เงินห​ ลังจ​ าก​การ​ใช้บ​ ตั ร เป็นบ​ ัตร​ทีผ่​ ูใ้​ ช้ส​ ามารถ​ร้องขอ​ให้ธ​ นาคาร​ออก​ให้ไ​ ด้ โดย​ไม่​ต้อง​เปิดบ​ ัญชี​เงิน​ฝาก​กับ​ธนาคาร เพียง​แต่​นำ�​หลัก​ฐาน​สำ�คัญ​มา​ยื่น​ประกอบ​ใน​การ​ขอ​บัตร เช่น บัตร​ ประชาชน เอกสาร​แสดง​เงิน​เดือน เป็นต้น บัตร​ออนไลน์​ประเภท​นี้​ที่​น่า​สนใจ มี​ดังนี้ 1) บัตร​เครดิต (credit card) บัตร​เครดิต​เริ่ม​มี​ขึ้น​ใน​ปี ค.ศ. 1914 ที่​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา โดย​บริษัท เย​เนอ​รัล​ปิโตรเลียม ที่​แคลิฟอร์เนีย (General Petroleum Coporation at California) ซึ่ง​ ปัจจุบัน​คือ บริษัท โม​บิ​ลออ​ยส์ จำ�กัด โดย​ทำ�​บัตร​ดัง​กล่าว​ให้​กับ​ลูกค้า​และ​พนักงาน​ของ​บริษัท​ที่​ได้​รับ​การ​ เลือกสรร​แล้ว​เพื่อ​นำ�​บัตร​ไป​ชำ�ระ​ค่าน้ำ�​มัน ขณะ​นั้น​บัตร​เครดิต​มี​ลักษณะ​เหมือน​กับ​เหรียญ​โลหะ ต่อ​มา​ปี ค.ศ. 1950 นาย​แฟรงค์ แม​คนา​มา​รา (Frank McNamara) ซึ่ง​เป็นน​ ักธ​ ุรกิจไ​ ด้ป​ รึกษา​กับน​ าย​ราล์ฟ ช​ไน​เด​อร์ (Ralph Schneider) ซึ่ง​เป็น​ทนายความ โดย​มี​แนว​ความ​คิด​ที่​จะ​ผลิต​บัตร​เครดิต​เพื่อ​ใช้​แทน​เงิน โดย​ได้​ ผลิตบ​ ัตร​ได​เนอ​ร์สค​ ลับข​ ึ้นม​ า​เพื่อใ​ ช้ใ​ น​การ​ซื้อส​ ินค้าแ​ ละ​บริการ​แทน​การ​ชำ�ระ​เงินโ​ ดยตรง ภาย​หลังไ​ ด้ม​ บี​ ริษัท​ อเมริกัน​เอ็กซ์เพรส (American Express) ได้​ออก​บัตร​เครดิต โดย​มี​วัตถุประสงค์​ใน​ครั้ง​แรก​เพื่อ​อำ�นวย​ ความ​สะดวก​ให้​กับ​นัก​ท่อง​เที่ยว​ที่​จะ​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ต่าง​ประเทศ ไม่​ต้อง​พก​เงินสด​เป็น​จำ�นวน​มาก โดย​ได้​ นำ�​เสนอ​บัตร​ที่​สามารถ​นำ�​ไป​ขึ้น​เงิน​ได้ที่​ธนาคาร​ต่างๆ บัตร​เครดิต​เป็น​บัตร​ที่​ทำ�​จาก​พลาสติก โดย​ผู้​ถือ​หรือ​เจ้าของ​บัตร​จะ​ต้อง​ได้​รับ​การ​พิจารณา​ อนุมัติ​วงเงิน​หมุนเวียน​จาก​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร ซึ่ง​บัตร​นี้​จะ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​แก่​ผู้​ถือ​ที่​จะ​ซื้อ​สินค้า​ และ/หรือ​เบิกเ​งินสด​ล่วง​หน้า​ได้ แต่​ต้อง​ไม่​เกิน​ขีด​จำ�กัด​ของ​วงเงิน​ที่​กำ�หนด​ไว้ บัตร​เครดิต​แต่ละ​ใบ​จะ​มี​การ​ กำ�หนด​เวลา​สิ้นส​ ุดใ​ น​การ​ใช้ บัตร​เครดิตม​ ักจ​ ะ​ไม่ค​ ่อย​มีก​ าร​คิดค​ ่าบ​ ริการ​เป็นร​ าย​ปี แต่ธ​ นาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร​จะ​ คิด​ดอกเบี้ย​ตาม​จำ�นวน​เงิน​ที่​ผู้​ถือ​บัตร​ทำ�​รายการ​หรือ​ใช้​จ่าย​เงิน ผู้​ถือ​บัตร​จะ​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน​ตาม​ยอด​เงิน​ที่​ใช้​ บัตร​เครดิตใ​ น​การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ โดย​อาจ​จ่าย​เพียง​บาง​ส่วน ซึ่งโ​ ดย​มาก​มีก​ าร​กำ�หนด​อัตรา​ต่ำ�​สุดข​ อง​ยอด​ ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​รวม​ไว้ ส่วน​ที่​เหลือ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​คิด​ดอกเบี้ยจ​ าก​ผู้​ถือบ​ ัตร​ตาม​อัตรา​ที่​ได้​มี​การ​ตกลง​กันไ​ ว้ โดย​สามารถ​ผ่อน​ชำ�ระ​เป็น​งวด​ได้​พร้อม​ดอกเบี้ย​ภายใน​ระยะ​เวลา​ที่​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​กำ�หนด โดย​ทั่วไป​ใน​ บัตร​เครดิต​จะ​มีก​ าร​บันทึกข​ ้อมูลผ​ ู้ถ​ ือบ​ ัตร เลข​ที่บ​ ัญชี​และ​ข้อม​ ูลอ​ ื่นๆ อีก​มากมาย​ที่เ​ข้า​รหัส​บน​แถบ​แม่เ​หล็ก บัตร​เครดิตบ​ าง​บัตร​สามารถ​ใช้เ​ป็น​บัตร​เอทีเอ็ม (ATM) เพื่อ​ถอน​เงินสด​ได้​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-38

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

บัตร​เครดิต​ใน​สหรัฐอเมริกา​มี​สอง​ชนิด​หลักๆ ชนิด​แรก คือ บัตร​เครดิต​ที่​ปลอดภัย (Secured Credit Card ) คือบ​ ัตร​ที่​ต้อง​เอา​เงิน​ไป​ฝาก​เข้า​บัญชี​บัตร​ไว้​ก่อน และ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​พิจารณา​การ​ให้​ วงเงิน ส่วน​มาก​กจ็​ ะ​ได้ร​ ับอ​ นุมัตเิ​กินจ​ าก​เงินท​ ีฝ่​ าก​ไว้ไ​ ม่ม​ าก และ​ชนิดท​ ีส่​ อง​เรียก​ว่า บัตร​เครดิตท​ ีไ่​ ม่ป​ ลอดภัย (Non-Secured Credit Card) คือบ​ ัตร​ทีเ่​ป็นบ​ ัตร​เครดิตจ​ ริงๆ คือผ​ ูถ้​ ือบ​ ัตร​ไม่ต​ ้อง​มเี​งินฝ​ าก​ใน​บัญชี ธนาคาร​ ผู้​ออก​บัตร​จะ​พิจารณา​จาก​ราย​ได้​ประจำ� และ​ประวัติการ​ใช้​จ่าย​ด้วย​บัตร​เครดิต​ที่​เคย​มี​มา​ก่อน ตัวอย่าง​บัตร​ เครดิต ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.7

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.7 ตัวอย่าง​บัตร​เครดิต

ที่มา: http://www.cashthechecks.com/wp-content/uploads/credit-cards.jpg

ธ ส

ธ ส

2) บัตร​ชาร์จ (charge card) เป็น​บัตร​ที่​ผู้​ถือ​บัตร​สามารถ​นำ�​ไป​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​โดย​ ไม่มี​การ​จำ�กัด​วงเงิน​การ​ใช้​จ่าย และ​ผู้​ถือ​บัตร​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​มี​บัญชี​เงิน​ฝาก​กับ​ผู้​ออก​บัตร ทำ�ให้​ผู้​ถือ​บัตร ​ได้​รับ​ความ​สะดวก​สบาย​และ​ไม่​ต้อง​กังวล​เกี่ยว​กับ​วงเงิน แต่​เมื่อ​ได้​รับ​ใบ​แจ้ง​ยอด​ราย​เดือน ผู้​ถือ​บัตร​ต้อง​ ชำ�ระ​เงิน​เต็มจ​ ำ�นวน ใน​ทาง​เทคนิค​เปรียบ​เสมือน​กับ​ผู้​ถือ​บัตร​ได้​รับ​เงิน​กู้​โดย​มี​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ชำ�ระ​ภายใน 30-45 วัน ซึ่ง​ยอด​เงิน​กู้​ก็​คือ​ยอด​คง​เหลือ​ใน​ใบ​แจ้ง​ยอด​ราย​เดือน​นั่นเอง บัตร​ประเภท​นี้​ผู้​ถือ​บัตร​ต้อง​จ่าย​ ค่า​สมาชิก​ราย​ปี บริษัท ​อเมริกัน​เอ็กซ์เพรส (American Express) เป็น​บริษัท​แรกที่​ได้​เริ่ม​ต้น​ให้​บริการ​ บัตร​ชาร์จม​ า​ตั้งแต่ป​ ี ค.ศ. 1946 ทีส่​ หรัฐอเมริกา โดย​เริ่มจ​ าก “บัตร​ชำ�ระ​ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​เดินท​ าง” เพื่อร​ องรับ​ ธุรกิจ​ขนส่ง​และ​การ​เดิน​ทาง​ที่​บริษัทดำ�เนิน​การ​อยู่​ก่อน​แล้ว ปัจจุบัน​ได้​รับ​การ​พัฒนา​และ​รู้จัก​กัน​ใน​ชื่อ​ของ​ บัตร​เครดิตน​ ั่นเอง ตัวอย่าง​บัตร​ชาร์จ​การ์ด ดังแ​ สดง​ใน​ภาพที่ 6.8

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.8 ตัวอย่าง​บัตร​ชาร์จ​การ์ด

ธ ส

ธ ส

ที่มา: http://www.chemistryland.com/CHM107/Introduction/BehindScene/GoldCard.jpg

ธ ส

6-39

3) บัตร​เครดิตเ​สมือน (virtual credit card) แม้วา่ ป​ ริมาณ​การ​ซือ้ ข​ าย​ผา่ น​พาณิชย์อ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ จะ​มอี​ ัตรา​การ​ขยาย​ตัวอย่าง​ต่อเ​นื่อง​ก็ตาม แต่ก​ ย็​ ังม​ ผี​ ูบ้​ ริโภค​อีกจ​ ำ�นวน​ไม่น​ ้อย​ทีไ่​ ม่ก​ ล้าเ​สี่ยง​ใช้บ​ ัตร​ออนไลน์​ ใน​การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ เนื่องจาก​ยังไ​ ม่เ​ชื่อถ​ ือใ​ น​เรื่อง​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย และ​กลัวว​ ่าจ​ ะ​ถูกฉ​ ้อโกง บัตร​ เครดิต​เสมือน​จึงถ​ ูกส​ ร้าง​ขึ้นเ​พื่อแ​ ก้ป​ ัญหา​ดังก​ ล่าว โดย​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​สุ่มต​ ัวเลข​ขึ้นม​ า​จำ�นวน​หนึ่ง​ให้​ แก่​ผู้​ถือ​บัตร​เครดิต​ใช้​แทน​รหัส​บัตร​เครดิต​บัตร​จริง ซึ่ง​ตัวเลข​เหล่า​นี้​จะ​อ้างอิง​ถึง​บัตร​เครดิต​ของ​ผู้​ถือ​บัตร รหัส​บัตร​ที่อ​ อก​มา​ใหม่​นี้จ​ ะ​ใช้​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ได้​เพียง​ครั้ง​เดียว​เท่านั้น ด้วย​เหตุน​ ี้ จึงม​ ีชื่อ​เรียก​บัตร​เครดิต​ เสมือน​อีกช​ ื่อ​หนึ่ง​คือ เลข​บัตร​ที่​ใช้​ครั้งเ​ดียว (single-use card numbers) ตัวอย่าง​บัตร​เครดิต​เสมือน ดัง​ แสดงใน​ภาพ​ที่ 6.9

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.9 ตัวอย่าง​บัตร​เครดิต​เสมือน

ที่มา: http://verifycards.com/wp-content/uploads/2010/03/16.jpg

ธ ส

เลข​ที่​บัตร​ใช้ได้เ​พียง​ครั้งเ​ดียว


6-40

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

แม้ว่า​บัตร​เครดิต​เสมือน​จะ​ช่วย​ลด​โอกาส​ใน​การ​ฉ้อโกง​ลง แต่​ก็​มี​ข้อ​จำ�กัด​คือ การ​ซื้อ​สินค้า/ บริการ​โดย​ใช้​บัตร​เครดิต​เสมือน​จะ​ไม่​สามารถ​ยืนยัน​ข้อมูล​วงเงิน​ของ​ผู้​ซื้อ​ได้​หลัง​จาก​วัน​ที่​มี​การ​ใช้​บัตร​นั้น เพราะ​เลข​รหัสด​ ังก​ ล่าว​จะ​หมด​อายุท​ ันทีห​ ลังจ​ าก​วันท​ ีม่​ กี​ าร​ใช้บ​ ัตร ซึ่งป​ ัญหา​ทีต่​ าม​มา​คือ ผูถ้​ ือบ​ ัตร​ไม่ส​ ามารถ​ ใช้​บัตร​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ที่​เรียก​เก็บ​เงิน​ใน​ภาย​หลัง​ได้ เช่น การ​ชำ�ระ​ค่า​สมาชิก​วารสาร ซึ่ง​มัก​จะ​เรียก​ เก็บ​เงิน​จาก​บัตร ณ วัน​ที่​หมด​อายุ​สมาชิก​เดิม การ​เช็ค​อิน (check in) เพื่อ​เข้า​พัก​ใน​โรงแรม ซึ่ง​โรงแรม​ บาง​แห่ง​จะ​ขอ​เลข​​บัตร​เครดิต​เพื่อ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล​ก่อน แต่​จะ​เรียก​เก็บ​เงิน ณ วัน​ที่​เช็ค​เอา​ต์ (check out) ออก​จาก​โรงแรม เป็นต้น 4) บัตร​อจั ฉริยะ​หรือส​ มา​รต​์ การ์ด (smart card) เป็นบ​ ัตร​พลาสติกท​ ีม่​ ขี​ นาด​เท่ากับบ​ ัตร​เครดิต โดย​ใน​บัตร​มีก​ าร​บันทึกข​ ้อมูลล​ ง​ใน​ไมโคร​ชิปท​ ี่ฝ​ ังอ​ ยู่ใ​ น​บัตร ชิปท​ ี่ฝ​ ังอ​ ยู่ค​ ือ ไมโคร​โพรเซสเซอร์ (microprocessor chip) กับ​ชิป​หน่วย​ความ​จำ� (memory chip) ที่​เรียก​ว่า อี​อี​พร​อม (EEPROM - Electronically Erasable, Programmable, Read-Only Memory) ข้อมูลท​ ี่จ​ ัดเ​ก็บใ​ น​ไมโคร​โพรเซสเซอร์ส​ ามารถ​ปรับปรุง หรือ​ลบ หรือ​บันทึก​เพิ่ม​เติม​ได้ ข้อมูล​ใน​บัตร​มี​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​โดย​วิธี​การ​เข้า​รหัส​ตาม​มาตรฐาน​ เพื่อใ​ ห้ม​ คี​ วาม​ปลอดภัยส​ ูงข​ ึ้น สมา​รต์​ การ์ด​ มีค​ วาม​แตก​ต่าง​จาก​บัตร​ทั่วไป​คือ ขณะ​ประมวล​ผล​ข้อมูลร​ ายการ​ เชิง​ธุรกรรม (transaction) สมา​ร์ต​ การ์ด​สามารถ​ทำ�งาน​ได้​เอง​โดย​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​ติดต่อ​สื่อสาร​กับ​ศูนย์กลาง​ ข้อมูลเ​หมือน​กับบ​ ัตร​ที่ใ​ ช้แ​ ถบ​แม่เ​หล็กท​ ั่วไป ทำ�ให้​สะดวก​รวดเร็วแ​ ละ​ประหยัดใ​ น​ด้าน​การ​เชื่อม​ต่อก​ ับร​ ะบบ​ เครือ​ข่าย​สื่อสาร ใน​การ​ประมวล​ผล​และ​จัดเ​ก็บข​ ้อมูล สมา​รต์​ การ์ดส​ ามารถ​ทำ�ได้ร​ วดเร็วก​ ว่าส​ ื่อเ​ก็บข​ ้อมูลช​ นิด​ อื่นๆ และ​ยังม​ ขี​ นาด​ทเี่​ท่ากับบ​ ัตร​แถบ​แม่เ​หล็ก ทำ�ให้ส​ ะดวก​ใน​การ​จัดเ​ก็บแ​ ละ​พก​พา นอกจาก​นี้ สมา​รต์​ การ์ด​ ยัง​มี​คุณสมบัติ​ด้าน​ความ​ทนทาน​อีก​ด้วย เพราะ​ทน​ต่อ​รังสี​ชนิด​ต่างๆ สนาม​แม่​เหล็ก ไฟฟ้าสถิต ความชื้น ความ​ร้อน และ​การ​บิด​งอ ซึ่ง​สิ่ง​ดัง​กล่าว​ไม่​สามารถ​ทำ�​ให้​สมา​ร์​ตการ์ด​เสีย​หาย​ได้​โดย​ง่าย สำ�หรับ​ตัวอย่าง​ บัตร​อัจฉริยะ ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.10 ไมโคร​ชิป​ที่ฝ​ ัง​อยู่​บน​บัตร

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.10 ตัวอย่าง​บัตร​สมา​ร์​ตการ์ด

ที่มา: http://image.ohozaa.com/ir/3112553175933.png

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-41

ธ ส

1.2 บัตร​ออนไลน์ท​ ี่​ต้อง​ชำ�ระ​เงินก​ ่อน​การ​ใช้บ​ ัตร เป็น​บัตร​ที่​ผู้​ใช้​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน หรือ​มี​การ​เปิด​บัญชี​ เงิน​ฝาก​ไว้​กับ​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร​ก่อน​จึง​จะ​ได้​บัตร​ไป​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ/หรือบ​ ริการ บัตร​ประเภท​นี้​ เรียก​ว่า “พรีเพด​การ์ด” (prepaid card) ซึ่งบ​ ัตร​อออน​ไลน์​ที่​จัดอ​ ยู่ใ​ น​บัตร​ประเภท​นี้​มี​ด้วย​กันห​ ลาย​ประเภท ดังนี้ 1) บัตร​เดบิต (debit card) เป็น​บัตร​ที่​ผู้​ถือ​บัตร​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน หรือ​เปิด​บัญชี​เงิน​ฝาก​กับ​ ธนาคาร​ผูอ้​ อก​บัตร​ก่อน​ธนาคาร​จึงจ​ ะ​ออก​บัตร​ให้ ผูถ้​ ือบ​ ัตร​สามารถ​นำ�​ไป​ใช้ท​ ำ�​ธุรกรรม​ทางการ​เงินด​ ้วย​ระบบ​ อิเล็กทรอนิกส์ผ​ ่าน​ตู้​เอทีเอ็ม ไม่​ว่า​จะ​ถอน​เงิน โอน​เงิน และ​ชำ�ระ​ค่า​บริการ​ต่างๆ บัตร​เดบิตช​ ่วย​สร้าง​ความ​ สะดวก​สบาย​สำ�หรับผ​ ู้ท​ ี่​ไม่​ต้องการ​ถือ​เงินสด การ​ใช้บ​ ัตร​เดบิตไ​ ป​ซื้อ​สินค้า/บริการ​นั้น เงินจ​ ะ​ถูก​หัก​ออก​จาก​ บัญชีข​ อง​ผถู้​ ือบ​ ัตร​ทันที ต่าง​จาก​บัตร​เครดิตท​ เี่​หมือน​เป็นการ​นำ�​เงินจ​ าก​ธนาคาร​หรือส​ ถาบันก​ าร​เงินม​ า​ใช้ก​ ่อน แล้ว​ค่อย​ผ่อน​จ่าย​คืน​ใน​ภาย​หลัง ปัจจุบันก​ าร​ใช้บ​ ัตร​เดบิตม​ แี​ นว​โน้มส​ ูงข​ ึ้นเ​รื่อยๆ สาเหตุจ​ าก​หลาย​ปัจจัยด​ ้วย​กัน รวม​ทั้งก​ าร​มุ่ง​ ทำ�การ​ตลาด​ของ​ธนาคาร​ที่ผ​ ลักด​ ันใ​ ห้บ​ ัตร​เดบิตเ​ข้าม​ า​แทนทีบ่​ ัตร​เอทีเอ็ม และ​ด้วย​เงื่อนไข​ใน​เรื่อง​ของ​ราย​ได้​ และ​ฐาน​เงินเ​ดือน ทำ�ให้​คน​จำ�นวน​มาก​ซึ่งส​ ่วน​ใหญ่​ก็​คือ คน​ที่​มี​ราย​ได้​ไม่​สูง​พอที่​จะ​สมัคร​บัตร​เครดิต​ได้ จึง​ หันม​ า​เลือก​ใช้​บัตร​เดบิต​แทน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.11 ตัวอย่าง​บัตร​เดบิต

ธ ส

ที่มา: http://cdn.learners.in.th/assets/media/files/000/229/301/original_E8417409-1.jpg?1285477050

ธ ส

2) บัตร​จดั เ​ก็บม​ ลู ค่า (stored-value card) เป็น​บัตร​ที่​มี​การ​ระบุ​จำ�นวน​เงิน​ที่​แน่นอน​ลง​ใน​บัตร​ เรียบร้อย​แล้ว สามารถ​นำ�​ไป​ใช้แ​ ทน​เงินไ​ ด้ท​ ันที บัตร​สะสม​มูลค่าแ​ ตก​ต่าง​จาก​บัตร​เครดิตค​ ือ เมื่อผ​ ูถ้​ ือบ​ ัตร​นำ�​ บัตร​เครดิตไ​ ป​ใช้​จ่าย ยอด​เงิน​ค่า​ใช้​จ่าย​จะ​ถูกจ​ าก​บัญชี​ใน​ธนาคาร หรือต​ ้อง​นำ�​เงินไ​ ป​ชำ�ระ​ใน​ภาย​หลัง​เมื่อ​ได้​ รับใ​ บ​แจ้งห​ นี้ แต่บ​ ัตร​จัดเ​ก็บม​ ูลค่าส​ ามารถ​ใช้แ​ ทน​เงินสด​ได้เ​ลย และ​บัตร​จัดเ​ก็บม​ ูลค่าก​ ็ม​ ีค​ วาม​แตก​ต่าง​จาก​ บัตร​เดบิตต​ รง​ที่ บัตร​เดบิต​จะ​มี​การ​ระบุ​ชื่อผ​ ู้ถ​ ือ​บัตร​ลง​ใน​บัตร แต่​บัตร​จัด​เก็บ​มูลค่า​จะ​ไม่มี​การ​ระบุ​ชื่อ​ผู้​ถือ​ บัตร​ลง​ใน​บัตร ผู้​ถือ​บัตร​สามารถ​นำ�​บัตร​จัด​เก็บ​มูลค่า​ไป​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ใน​ลักษณะ​ออนไลน์​หรือ​ออฟ​ไลน์​ ก็ได้

ธ ส


6-42

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

บัตร​จัด​เก็บ​มูลค่า​ถูก​นำ�​ไป​พัฒนา​เป็น​บัตร​ของ​ขวัญ (gift card) ที่​นิยม​ให้​ใน​โอกาส​หรือ​ เทศ​กาล​สำ�คัญๆ แทน​การ​ให้​เงินสด ตัวอย่าง​บัตร​จัด​เก็บ​มูลค่า​ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.12

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.12 ตัวอย่าง​บัตร​จัด​เก็บม​ ูลค่า

ธ ส

ที่มา: http://giftah.com/blog/wp-content/uploads/2009/08/Starbucks-Gift-Card-Certificate.jpg http://parsonenterprises.com/images/giftcards-main_Full.jpg

3) บัตร​รอยัลต​ ี (royalty card) เป็น​บัตร​ออนไลน์​ที่​ใช้​ควบคู่​กับ​การ​ซื้อ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ แต่​ไม่ใช่​บัตร​ที่​ใช้​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ บัตร​รอยัล​ตี​มี​วัตถุประสงค์​คือ อาจ​ใช้​เพื่อ​ขอ​ส่วนลด​เมื่อ​มี​ การ​ซื้อ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ หรือ​ใช้​สะสม​ยอด​ซื้อ​เพื่อ​นำ�​ไป​แปลง​เป็น​คะแนน​สำ�หรับ​ใช้​เป็น​ส่วนลด​ใน​การ​ ซื้อส​ ินค้า​และ/หรือ​บริการ​ใน​ครั้งต​ ่อ​ไป หรือ​ใช้แ​ ลก​เปลี่ยน​เป็นข​ อง​สมนาคุณ ปัจจุบันซ​ ู​เปอร์​มาร์เก็ต​และ​ห้าง​ สรรพ​สินค้า​หลาย​แห่งน​ ิยม​ออก​บัตร​ดังก​ ล่าว ตัวอย่าง​บัตร​รอยัล​ตี​ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.13 ส่วนลด​ที่​ระบุ​ใน​บัตร

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.13 ตัวอย่าง​บัตร​รอยัลต​ ี

ที่มา: http://www.thebangkokshoppingguide.com/images/centralworld/centralcard.jpg http://www.monarchautomotive.co.uk/images/royalty_card.jpg

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-43

ธ ส

2. การ​ประมวล​ผล​บัตร​เครดิต​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์

ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิตเ​ป็นร​ ะบบ​ทนี่​ ิยม​ใช้ม​ าก​ที่สุดใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ โดย​เฉพาะ​ ใน​ตลาด​ค้าป​ ลีก (Laudon and Traver 2002) เนื่องจาก​มขี​ ้อดีห​ ลาย​ประการ​ทีร่​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ดั้งเดิมไ​ ม่มี ตาม​ที่​ได้​กล่าว​มา​แล้วใ​ น​เรื่อง​ที่ 6.1.2 ผู้​ขาย​ที่​ต้องการ​ประมวล​ผล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​จำ�เป็น​ต้อง​มี​ ซอฟต์แวร์​และ​อุปกรณ์​พื้น​ฐาน คือ 2.1 ซอฟต์แวร์​สำ�หรับ​การ​ชำ�ระ​เงิน (payment software) ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​ออนไลน์​นั้น ผู้ข​ าย​จำ�เป็นต​ ้อง​มีซ​ อฟต์แวร์โ​ ดย​เฉพาะ​ที่ใ​ ช้ใ​ น​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​ออนไลน์ ซึ่งซ​ อฟต์แวร์ด​ ังก​ ล่าว​สามารถ​ หา​ซื้อ​ได้จ​ าก​เว็บ​ไซต์อ​ ื่นๆ หรือ​จาก​ธนาคาร​ที่​ผู้ข​ าย​เป็น​ลูกค้า เมื่อ​ได้​ซอฟต์แวร์​มา​แล้ว​ต้อง​นำ�​มา​เชื่อม​โยง​เข้า​ กับ​ซอฟต์แวร์​อื่น​ที่​ผู้​ขาย​ใช้​ใน​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​ออนไลน์​จะ​ทำ�​ หน้าที่​ติดต่อ​กับ​ช่อง​ทาง​ชำ�ระ​เงิน หรือ​เกตเวย์ (gateway) ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ธนาคาร​หรือ​สถาบันก​ าร​เงิน 2.2 ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ณ จุดข​ าย หรือพ​ ี​โอเอส (Point of Sale system - POS) เป็น​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ใช้​ เครื่อง​ชำ�ระ​เงิน ณ จุดข​ ายรับ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​ผู้​ซื้อ โดย​แบ่งอ​ อก​เป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ณ จุดข​ าย​ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ธนาคาร (point of sale system operated by an acquirer bank) กรณี​ที่ผ​ ู้ข​ าย​ไม่​ต้องการ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​เอง ผู้​ขาย​สามารถ​ใช้​บริการ​จาก​บุคคล​ที่​สาม ซึ่ง​ส่วน​มาก​ ก็​คือ ธนาคาร​ที่​รับ​ดำ�เนิน​การ​ใน​เรื่อง​นี้​โดย​เฉพาะ​ได้ โดย​เมื่อ​ผู้​ซื้อ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​จาก​เว็บไซต์​ผู้​ขาย​เรียบร้อย​ แล้ว และ​เมื่อถ​ ึง​ขั้น​ตอน​ชำ�ระ​เงิน ผู้ข​ าย​สามารถ​ทำ�​ลิงก์​บน​เว็บเพจ​เพื่อ​เชื่อม​โยง​ให้​ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​ผ่าน​บัตร​โดย​ใช้​ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ณ จุด​ขาย​ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ธนาคาร​แทน​ได้ ใน​กรณี​นี้​จะ​ช่วย​แบ่ง​เบา​ภาระ​ใน​ด้าน​การ​รับ​ชำ�ระ​ เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​ได้ แต่​สิ่ง​สำ�คัญ​คือ ผู้​ที่​จะ​มา​ดำ�เนิน​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ต้อง​เป็น​ธนาคาร​ที่​สามารถ​รับ​ชำ�ระ​จาก​ บัตร​ที่​หลาก​หลาย​ประเภท​ได้ เพราะ​มิ​ฉะนั้น​แล้ว​ผู้​ขาย​ก็​ต้อง​ติดต่อ​กับ​ธนาคาร​ดัง​กล่าว​มากกว่า​หนึ่ง​แห่ง 2) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ณ จุด​ขาย​ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ผู้​ให้​บริการ​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงิน (point of sale system operated by a payment service provider) ใน​กรณี​ที่​ผู้​ขาย​ให้​ความ​ไว้​วางใจ​ต่อ​ผู้​ที่​ให้​บริการ​เครื่อง​ แม่ข​ ่าย​ที่ใ​ ช้​ใน​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ข​ าย​อาจ​ใช้​บริการ​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ผู้​ให้​บริการ​ เครื่อง​แม่ข​ ่าย​ด้วย​ก็ได้ ซึ่งผ​ ู้ใ​ ห้​บริการ​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงิน​จะ​เชื่อม​ต่อ​กับ​บริษัทท​ ี่​สาม​ที่​มี​ซอฟต์แวร์​การ​รับ​ชำ�ระ​ เงินใ​ ห้บ​ ริการ​อยู่ ตัวอย่าง​บริษัทท​ ีใ่​ ห้บ​ ริการ​รับช​ ำ�ระ​เงิน เช่น บริษัท เพย์พัล (Paypal) ซึ่ง​เป็นท​ ีร่​ ู้จักก​ ันท​ ั่วโ​ ลก ปัจจุบัน​บริษัท เพย์พัลใ​ ห้​บริการ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​การ​ประมูล​ซื้อ​ขาย​สินค้า​ผ่าน​เว็บไ​ ซต์​อีเบย์ เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต​โดย​ชำ�ระ ณ จุดข​ าย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

สำ�หรับ​ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​โดย​ชำ�ระ ณ จุด​ขาย​ที่​ดำ�เนิน​การ​โดย​ธนาคาร​ประกอบ​ ด้วย 2 ขั้นต​ อน​หลัก ดังนี้ 3.1 การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​บัตร​เครดิต เป็น​ขั้น​ตอน​แรก​ที่​ร้าน​ค้า​จะ​ต้อง​ทำ� ประกอบ​ด้วย​ ขั้น​ตอน​ย่อย 2 ขั้นต​ อน คือ


6-44

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

1) ผูข้​ าย​จะ​นำ�​ข้อมูลบ​ ัตร​ของ​ผูซ้​ ื้อผ​ ่าน​เครื่อง​จับข​ ้อมูลอ​ ิเล็กทรอนิกส์ หรือ​อดี​ ซี​ ี (Electronic Data Capture - EDC) ที่​ต่อ​อยู่​กับ​เครื่อง​พี​โอเอส โดย​เครื่อง​อี​ดี​ซี​จะ​ติดต่อ​ไป​ยัง​ธนาคาร​ที่​ให้​บริการ​แก่​ ผู้​ขาย (acquirer bank) เพื่อต​ รวจ​สอบ​วงเงิน​จาก​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร (issue bank) ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​ ตรวจ​สอบ​ข้อมูลแ​ ละ​เลข​บัญชี​ของ​ผู้ถ​ ือ​บัตร​จาก​ฐาน​ข้อมูล​ของ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร 2) เมื่อ​ตรวจ​สอบ​เรียบร้อย​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​ส่ง​ข้อมูล​การ​อนุมัติ​กลับ​ไป​ยัง​ธนาคาร​ที่​ให้​ บริการ​แก่​ผู้​ขาย

ธ ส

ธ ส

1)

2)

เครื่อง​พี​โอเอส

เครื่อง​อีด​ ี​ซี

ข้อมูลก​ าร​อนุญาต​บัตร

ธ ส

ร้องขอ​ให้​ตรวจ​สอบ​การ​อนุญาต​บัตร

ร้องขอ​ให้​ตรวจ​สอบ​การ​อนุญาต​บัตร

ธนาคาร​ที่​ให้​บริการ​แก่ผ​ ู้​ขาย

ข้อมูล​การ​อนุญาต​บัตร

ภาพ​ที่ 6.14 ขั้นต​ อน​การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​บัตร​เครดิต

ธนาคาร​ผู้​ออกบัตร

ธ ส

3.2 การ​เรียก​เก็บ​เงินแ​ ละ​ปรับปรุง​ข้อมูลผ​ ู้​ถือบ​ ัตร​เครดิต ประกอบ​ด้วย​ขั้น​ตอน​ย่อย 2 ขั้น​ตอน คือ 1) เมื่อ​ถึง​เวลา​กลาง​คืน ธนาคาร​ที่​ให้​บริการ​แก่​ผู้​ขาย​จะ​โหลด​ข้อมูล​ธุรกรรม​เชิง​รายการ​จาก​ เครื่อง​พี​โอเอส หรือ​ระบบ​ของ​ผู้​ขาย​ที่​ธนาคาร​ให้​บริการ​ทุก​ราย ซึ่ง​ข้อมูล​ธุรกรรม​เชิง​รายการ ประกอบ​ด้วย ข้อมูลก​ าร​ซื้อส​ ินค้า/บริการ และ​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​บัตร​เครดิต ข้อมูลจ​ ะ​ถูกเ​ก็บร​ วบรวม​และ​นำ�​ไป​จัดเ​รียง​เพื่อ​ แบ่ง​ตาม​ประเภท​ของ​บัตร​และ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร จาก​นั้นจ​ ึงส​ ่งข​ ้อมูลไ​ ป​ยังธ​ นาคาร​ผู้​ออก​บัตร​แต่ละ​ธนาคาร​ เพื่อ​เรียก​เก็บเ​งิน​ต่อไ​ ป 2) เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูล​ธุรกรรม​ เชิง​รายการ​ทุก​รายการ​ของ​ผู้​ถือ​บัตร และ​ปรับปรุง​ข้อมูล​ยอด​เงิน​คง​เหลือ​ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ถือ​บัตร จาก​นั้น​จะ​ โอน​เงิน​ให้​กับ​ธนาคาร​ที่ใ​ ห้​บริการ​แก่ผ​ ู้ข​ าย​เป็น​ยอด​ขาย​ที่​หัก​ค่า​ดำ�เนิน​การ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ข้อมูลย​ อด​ขาย​และ​รหัสบ​ ัตร

ธ ส

เครื่อง​อีด​ ี​ซี

เครื่อง​พี​โอเอส

ข้อมูล​ยอด​ขาย​หัก​ค่า​ดำ�เนิน​การ

ธนาคาร​ผู้​ขาย

2)

ธ ส

ธ ส

ปรับปรุง​ข้อมูล​บัญชี​ผู้​ขาย

ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​

4. ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัดข​ อง​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิต​แบบ​ออนไลน์

ธ ส

ธ ส

ปรับปรุงข​ ้อมูล​บัญชี​ผู้​ถือ​บัตร​เครดิต

ภาพ​ที่ 6.15 ขั้นต​ อน​การ​เรียก​เก็บเ​งิน​และ​ปรับปรุงข​ ้อมูล​ผู้​ถือ​บัตร

ธ ส

ข้อมูลท​ ี่​จัด​แบ่ง​ตาม​ประเภท​บัตร​และ​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร

ข้อมูล​ยอด​ขาย​ หัก​ส่วนลด

ธ ส

6-45

ข้อมูล​ยอดซื้อ​ ที่ต้องชำ�ระ

1)

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​แบบ​ออนไลน์​มี​ข้อดี​และ​ข้อ​จำ�กัด ดังนี้ ข้อดี 1. ง่าย​และ​สะดวก​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์ โดย​ร้าน​ค้าใ​ ช้​เครื่อง​อ่าน​ข้อมูล​จาก​บัตร หรือ​ หาก​ซื้อผ​ ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ผูซ้​ ื้อก​ เ็​พียงป้อน​เลข​ทีบ่​ ัตร​เครดิต เลข​รหัส 3 ตัวด​ ้าน​หลังบ​ ัตร วันเ​ดือน​ปที​ ีอ่​ อก​ บัตร ​และ​วัน​เดือน​ปี​ที่​บัตร​หมด​อายุ ก็ส​ ามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​ทันที 2. ผู้ซ​ ื้อไ​ ม่​ต้อง​ชำ�ระ​เงินสด​ทันทีท​ ี่​มี​การ​ใช้​จ่าย​ผ่าน​บัตร​เครดิต สามารถ​ชำ�ระ​เงินสด​ได้​ใน​ภาย​หลัง​ เมื่อ​ได้​รับ​เอกสาร​แจ้งห​ นี้​จาก​ธนาคาร 3. เป็นท​ ี่ย​ อมรับ​และ​สามารถ​ใช้​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​ทั่ว​โลก 4. กรณี​ที่​มี​การ​ฉ้อโกง​ความ​เสี่ยง​หรือ​ความ​เสีย​หาย​ทั้งหมด​ที่​เกิด​ขึ้น ธนาคาร​จะ​เป็น​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​ หลัก ผู้​ใช้​บัตร​รับ​ผิด​ชอบ​ความ​เสี่ยง หรือค​ วาม​เสีย​หาย​เพียง​บาง​ส่วน หรือ​อาจ​ไม่​ต้อง​รับ​ผิด​ชอบ​เลย ข้อ​จำ�กัด 1. ง่าย​ต่อ​การ​ปลอม​แปลง เนื่องจาก​ไม่​ได้​ใช้​เทคโนโลยี​ที่​ซับ​ซ้อน​ใดๆ ใน​การ​ผลิต และ​ข้อมูล​เลข​ที่​ บัตร ชื่อ​เจ้าของ​บัตร วัน​เดือน​ปี​ที่​หมด​อายุ​ของ​บัตร ก็​ปรากฏ​อย่าง​ชัดเจน​อยู่​บน​บัตร 2. มีค​ วาม​เสี่ยง​ใน​เรื่อง​การ​ส่งข​ ้อมูลส​ ำ�คัญท​ ี่เ​กี่ยวข้อง​กับบ​ ัตร​เครดิตผ​ ่าน​ระบบ​เครือข​ ่าย​เพื่อแ​ สดง​ ตัว​ตน​ของ​ผู้​ถือ​บัตร 3. ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ดำ�เนินก​ าร​ค่อน​ข้าง​สูงเ​มื่อเ​ทียบ​กับก​ าร​ชำ�ระ​ด้วย​วิธีอ​ ื่น จึงไ​ ม่เ​หมาะ​กับก​ าร​ชำ�ระ​ เงิน​ที่​มี​ยอด​เงิน​จำ�นวน​น้อย

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-46

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

4. ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​บัตร​เครดิต​ทุก​ครั้ง​ร้าน​ค้า​จะ​ต้อง​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูล โดย​ ติดต่อ​ไป​ยัง​ฐาน​ข้อมูล​ของ​ธนาคาร​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน​ผู้​ออก​บัตร​ก่อน​ทุกค​ รั้ง ซึ่ง​ต้อง​ใช้​เวลา และ​ใน​บาง​ครั้ง หาก​ระบบ​ฐาน​ข้อมูล​ของ​ธนาคาร​มี​ปัญหา​ก็​ไม่​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ได้ ทำ�ให้​ไม่​สามารถ​ใช้​บัตร​เครดิต​ชำ�ระ​ค่า​ สินค้า/บริการ ณ ขณะ​นั้น​ได้ 5. ผู้ซ​ ื้อท​ ี่จ​ ะ​มีบ​ ัตร​เครดิตไ​ ด้น​ ั้น จำ�เป็น​ต้อง​สมัคร​และ​ได้ร​ ับก​ าร​อนุมัติ​จาก​ธนาคาร​หรือ​สถาบันก​ าร​ เงินอ​ ย่าง​ถูกต​ ้อง​ตาม​กฎหมาย​ก่อน ใน​ขณะ​ทีว่​ ิธกี​ าร​ชำ�ระ​แบบ​อื่นน​ ั้น ผูซ้​ ื้อไ​ ม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​รอ​การ​อนุมัตใิ​ ดๆ จาก​ ธนาคาร​หรือ​สถาบัน​การ​เงิน 6. การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​บัตร​เครดิต​มี​ต้นทุน​ค่อน​ข้าง​สูง​ใน​การ​อนุมัติ​การ​ใช้​บัตร ทำ�ให้​มี​ความ​จำ�เป็น​ ต้องกำ�หน​ดมูล​ค่า​ขั้น​ตํ่า​ของ​การ​ทำ�​ธุรกรรม เช่น ต้อง​สูง​เกิน​กว่า 1 ดอลลาร์​สหรัฐ​ขึ้น​ไป​จึง​จะ​คุ้ม​ค่า​ต่อ​ค่า​ ธรรมเนียม​ที่​ต้อง​จ่าย ซึ่งท​ ำ�ให้​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ดังก​ ล่าว​ไม่​เหมาะ​สม​กับ​การ​ซื้อ​สินค้า​ที่​มี​มูล​ค่า​ตํ่า​มาก 7. ค่าธ​ รรมเนียม​ใน​การ​ชำ�ระ​ด้วย​บัตร​เครดิตม​ ักค​ ิดจ​ าก​ร้อย​ละ​ของ​มูลค่าส​ ินค้า จึงไ​ ม่เ​หมาะ​สม​กับ​ การ​ซื้อ​ขาย​สินค้า​ที่ม​ ี​มูลค่าส​ ูง​มาก 8. การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิตด​ ้วย​โพร​โท​คอล​แบบ​เอส​เอส​แอล (SSL) ยังไ​ ม่ไ​ ด้แ​ ก้ไข​ปัญหา​ความ​ ปลอดภัยอ​ ย่าง​สมบูรณ์ เนือ่ งจาก​ใน​กระบวนการ​ดงั ก​ ล่าว​รา้ น​คา้ ไ​ ม่ส​ ามารถ​แน่ใจ​ได้ว​ า่ ผ​ สู​้ ัง่ ซ​ ือ้ ส​ นิ ค้าเ​ป็นบ​ คุ คล​ ตาม​ที่​กล่าว​อ้าง และ​เป็น​เจ้าของ​บัตร​เครดิต​นั้นจ​ ริง​หรือ​ไม่

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.2

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.3 ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

6-47

การ​ใช้เ​ช็ค​กระดาษ​ได้ม​ ี​มา​นาน​แล้วต​ ั้งแต่ป​ ี ค.ศ. 1717 ซึ่ง​ธนาคาร​ของ​อังกฤษ เป็น​สถาบัน​การ​เงิน​ แห่ง​แรก​ที่​จัด​พิมพ์​แบบ​ฟอร์ม​ของ​เช็ค​กระดาษ​ขึ้น​มา​เพื่อ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง เนื่องจาก​ก่อน​หน้า​นั้น​จะ​ใช้​วิธี​ การ​เขียน​ขึ้น​มา​เอง​โดย​ผู้ซ​ ื้อ ทำ�ให้​การ​ลอก​เลียน​และ​ฉ้อโกง​เกิด​ขึ้น​ได้​ง่าย เพราะ​เช็ค​ที่​ออก​โดย​ธนาคาร​จะ​มี​ หมายเลข​เช็ค​กำ�กับ​พิมพ์​อยู่​ด้วย เมื่อม​ ี​การนำ�​เช็ค​มา​ขอ​ขึ้น​เงิน ธนาคาร​ผู้​ออ​อก​เช็ค​จะ​ตรวจ​สอบ​เลข​ดัง​กล่าว​ ก่อน​ที่จ​ ะ​จ่าย​เงินใ​ ห้ต​ าม​จำ�นวน​ที่ร​ ะบุไ​ ว้ใ​ น​เช็ค ปัจจุบันเ​ช็คไ​ ด้ร​ ับก​ าร​พัฒนา​ให้เ​ป็นเ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่อ​ ยู่ใ​ น​ รูป​แบบ​ของ​ข้อมูล​ดิจิทัล ทั้งนี้ เพื่ออ​ ำ�นวย​ความ​สะดวก​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

1. แนวคิดเ​กี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic cheque payment system) เป็น​ระบบ​ที่​ชำ�ระ​ เงิน​โดย​ใช้เ​ช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ หรือ​ที่​เรียก​ว่า “อี​เช็ค” (e-cheque) เป็น​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ถูก​ใช้​ ใน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่ไ​ ด้ร​ ับค​ วาม​นิยม​เพิ่มม​ าก​ขึ้นอ​ ย่าง​ต่อเ​นื่อง ดังจ​ ะ​เห็นไ​ ด้จ​ าก​ผล​การ​สำ�รวจ​ของ​บริษัท​ ไซเบอร์ซ​ อร์ส (CyberSource 2005) พบ​ว่าป​ ี ค.ศ. 2004 อัตรา​การ​ใช้​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ขยาย​ตัวเ​พิ่ม​ขึ้น​จาก​ ปีก​ อ่ น​ถงึ ร​​ อ้ ย​ละ 40 โดย​มจ​ี �ำ นวน​ขอ้ ม​ ลู ธ​ ร​ุ กรร​รม​เชิงร​ ายการ​มากกว่า 968 ล้าน​รายการ และ​มแ​ี นว​โน้มท​ จี​่ ะ​เพิม่ ​ มาก​ขึน้ ต​ อ่ ไ​ ป​ดว้ ย เช็คอ​ เิ ล็กทรอนิกส์เ​ป็นท​ นี​่ า่ เ​ชือ่ ถ​ อื แ​ ละ​นยิ ม​ใช้ใ​ น​ธรุ กิจข​ นาด​เล็กแ​ ละ​ขนาด​กลาง​ทไี​่ ม่ส​ ามารถ​ รองรับก​ าร​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิตท​ ี่ต​ ้อง​ใช้เ​งินล​ งทุนส​ ูง และ​ผู้ข​ าย​ยังค​ าด​การณ์ว​ ่าการ​ใช้เ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ จะ​เป็นอ​ ีก​ทาง​เลือก​หนึ่ง​ของ​ผู้ซ​ ื้อท​ ี่​ไม่มี​บัตร​เครดิต หรือ​ผู้​ที่​ไม่​ต้องการ​ให้​ผู้​อื่น​ทราบ​เลข​ที่​บัตร​เครดิต การ​ใช้​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ไม่​แตก​ต่าง​จาก​การ​ใช้​เช็ค​กระดาษ​ทั่วไป ใน​การ​ซื้อ​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ นั้น เริ่ม​จาก​ผู้​ซื้อ​แจ้ง​ความ​ต้องการ​ไป​ยัง​ธนาคาร​ที่​เปิด​บัญชี​ไว้ ธนาคาร​จะ​ออก​เช็ค​ใน​รูป​แบบ​ของ​เอกสาร​ อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ประกอบ​ด้วย​ข้อมูล​ต่างๆ คือ ชื่อ​ของ​สถาบัน​การ​เงิน เลข​บัญชี​ของ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​เช็ค ชื่อ​ เจ้าของ​บัญชี ประเภท​ของ​บัญชี จำ�นวน​เงิน และ​เลขจำ�นวน 9 หลัก หรือท​ ีเ่​รียก​ว่า “เอ​บเี​อ” (ABA- American Banking Association) ซึ่งเ​ลข​เอ​บี​เอ​นี้จ​ ะ​ใช้​ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา และ​มี​ไว้​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​จัดการ​เช็ค​เมื่อ​ เช็ค​ถูก​ส่ง​มา​เรียก​เก็บ​เงิน​ที่​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​เช็ค โดย​ใช้​เป็น​รหัส​ใน​การ​เรียง​ลำ�ดับ​เพื่อ​จัด​กลุ่ม และ​เพื่อ​อำ�นวย​ ความ​สะดวก​ใน​การ​ส่ง​เช็ค​กลับ​ไป​ยัง​ผู้​ที่​เขียน​หรือ​จ่าย​เช็ค ข้อมูล​ทั้งหมด​ที่​กล่าว​มา​จะ​ถูก​เข้า​รหัส และ​เช่น​ เดียว​กับ​เช็ค​กระดาษ ต้อง​มีล​ าย​เซ็นผ​ ู้ส​ ั่งจ​ ่าย​เช็ค ซึ่ง​ใน​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ใช้​ลาย​เซ็น​ดิจิทัล​ที่เ​ป็น​ข้อมูล​เข้า​ รหัสไ​ ว้เ​ช่นก​ ัน เมื่อผ​ ู้ซ​ ื้อม​ ีก​ าร​จ่าย​ค่าส​ ินค้า/บริการ​ให้แ​ ก่ผ​ ู้ข​ าย​โดย​ใช้เ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ธนาคาร​ฝั่งผ​ ู้ข​ าย​ก็จ​ ะ​ นำ�​รหัส​เช็ค​ไป​เรียก​เก็บ​เงิน​จาก​ธนาคาร​ฝั่งผ​ ู้ซ​ ื้อ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-48

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

2. ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์

สำ�หรับ​ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.16

ธ ส

ขั้นต​ อน​ที่ 1 ข้อมูล​รายการ​สั่งซ​ ื้อ​ที่​เข้า​รหัส​พร้อม​แนบ​อี​เช็ค

ม ผู้​ซื้อ

เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์ (e-cheque)

เช็ค

ขั้นต​ อน​ที่ 5 ธนาคาร​ผู้​ซื้อ​ ส่งใบ​แจ้ง​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย ​อีเ​ช็ค​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ

ธ ส

ธ ส

ใบสั่งซ​ ื้อ

ขั้น​ตอน​ที่ 4 ธนาคาร​ ผู้​ขาย​จะ​ปรับปรุง​ ยอด​เงิน​จาก​อี​เช็ค​ ใน​บัญชี​ของ​ผู้​ขาย

ม ลาย​เซ็น

หนังสือ​รับรอง

e-cheque

สำ�นักงาน​หัก​บัญชี

ธ ส

ธ ส

e-cheque ธนาคาร​ฝั่งผู้​ขาย

ขั้น​ตอน​ที่ 2 ถอดรหัส​ข้อมูล เพื่อ​ตรวจ​สอบ​ ความ​ถูก​ต้อง​ แนบ​ใบ​นำ�​ฝาก หนังสือ​รับรอง เช็ค​และ​เข้า​ รหัส​ใหม่

ธ ส

ข้อมูล​ที่​เข้า​รหัส​ ส่ง​ให้​ธนาคาร​ ฝั่ง​ผู้​ขาย

ข้อมูลถ​ ูก​เข้า​รหัส

ขั้นต​ อน​ที่ 3 ธนาคาร​ผู้​ขาย​ถอดรหัส ตรวจ​สอบ​ข้อมูลและ​ส่ง​อีเ​ช็ค​ไป​สำ�นักงาน​ หักบ​ ัญชีแ​ ละ​ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้ซ​ ื้อ

ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ

ม ผู้​ขาย

ใบ​นำ�​ฝาก​เงิน เช็ค

ลาย​เซ็น

หนังสือ​รับรอง

ลาย​เซ็น​สลัก​หลัง​เช็ค

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.16 ขั้นต​ อน​การ​ประมวล​ผล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์

จาก​ภาพ​ที่ 6.16 ประกอบ​ด้วย​ขั้น​ตอน​ต่างๆ ซึ่ง​มี​ราย​ละเอียด ดังนี้ ขัน้ ต​ อน​ที่ 1 ผูซ​้ ือ้ ป​ อ้ น​รายการ​สนิ ค้า/บริการ​ทสี​่ ัง่ ซ​ ือ้ ผ​ า่ น​เว็บไซต์ข​ อง​ผขู​้ าย และ​แนบ​เช็คอ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ ที่ม​ ีก​ าร​ลง​ลาย​เซ็นอ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ ล้ว ซึ่งเ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์ก​ ็ค​ ือไ​ ฟล์เ​อกสาร​อิเล็กทรอนิกส์น​ ั่นเอง โดย​มีก​ าร​ เข้า​รหัส และ​ส่ง​ไป​ยังผ​ ู้ข​ าย ขั้น​ตอน​ที่ 2 ผู้ข​ าย​จะ​ถอดรหัส​ข้อมูล ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​หนังสือ​รับรอง​ของ​ผู้​ซื้อ ลาย​เซ็น​ และ​ข้อมูลใ​ น​เช็ค พร้อม​แนบ​ใบ​นำ�​ฝาก​และ​หนังสือ​รับรอง โดย​ข้อมูล​ทั้งหมด​จะ​ถูก​เข้า​รหัส​ใหม่​และ​ส่ง​ไป​ยัง​ ธนาคาร​ที่​ผู้​ขาย​เปิด​บัญชี​ไว้

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-49

ธ ส

ขั้น​ตอน​ที่ 3 ธนาคาร​ฝั่งผู้ข​ าย​ทำ�การ​ตรวจ​สอบ​ลาย​เซ็น หนังสือ​รับรอง และ​ส่ง​เช็ค​ไป​เรียก​เก็บเ​งิน​ที่​ สำ�นักงาน​หักบ​ ัญชี สำ�นักงาน​หักบ​ ัญชีจ​ ะ​ส่งข​ ้อมูลเ​ช็คไ​ ป​ยังธ​ นาคาร​ฝั่งผูซ้​ ื้อเ​พื่อเ​รียก​เก็บเ​งิน ข้อมูลท​ ั้งหมด​จะ​ ถูก​รับ​ส่ง​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​ที่ม​ ี​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​สูง ขัน้ ต​ อน​ที่ 4 เมื่อเ​ช็คถ​ ูกเ​รียก​เก็บเ​งินไ​ ด้แ​ ล้ว ข้อมูลจ​ ำ�นวน​เงินจ​ ะ​ถูกน​ ำ�​มา​ปรับปรุงใ​ น​บัญชีข​ อง​ผู้ข​ าย และ​ธนาคารฝั่ง​ผู้​ขาย​จะ​ส่ง​ใบ​แจ้งก​ าร​เรียก​เก็บ​เงินใ​ ห้​ผู้​ขาย​ทราบ ขั้น​ตอน​ที่ 5 ธนาคาร​ฝั่ง​ผู้​ซื้อ​จะ​จัด​ส่ง​ใบ​แจ้ง​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​ที่​ผู้​ซื้อ​สั่ง​จ่าย​ทั้งหมด​ไป​ให้​แก่​ ผู้​ซื้อ​ทุก​สิ้น​เดือน ธุรกิจ​ส่วน​มาก​จะ​ให้​ความ​เชื่อ​ถือใ​ น​การ​ใช้​ซอฟต์แวร์​ของ​บริษัท​ที่พ​ ัฒนา​ซอฟต์แวร์​สำ�หรับ​การ​ชำ�ระ​ เงินด​ ้วย​เช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์ บริษัทท​ ี่ใ​ ห้บ​ ริการ​ซอฟต์แวร์ร​ าย​ใหญ่ๆ ได้แก่ บริษัท เช็คฟ​ รีค​ อร์ปอเรชั่น (http:// www.checkfreecorp.fiserv.com/cda/corp/index.jsp?layoutId=1) บริษัท เท​เล​เช็ค​คอร์ปอเรชั่น (http://www.telecheck.com/home/index.htm) บริษัท​ อเ​ม​ริเ​น็ต (http://www.amerinet-gpo.com/ Pages/default.aspx) บริษัท เชส​เพย์​เมน​ต์​เทค (http://www.chasepaymentech.com/) และ​บริษัท ออธอ​ไรซ์ (http://www.authorize.net/) ซึ่ง​ซอฟต์แวร์​ดัง​กล่าว​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​ถูก​กว่า​การ​ใช้​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ ผ่าน​บัตร​เครดิต เช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ ตก​ต่าง​จาก​การ​โอน​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer - EFT) ตรง​ที่​เช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์​แต่ละ​ใบ​จะ​ถูก​กำ�หนด​รหัส​ที่​แน่นอน​ใน​การ​ออก​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ​เช็ค​ทุกค​ รั้ง ดังน​ ั้น ผู้​ขาย​ จะ​ต้อง​นำ�​เช็ค​แต่ละ​ใบ​ไป​เรียก​เก็บ​เงินค​ ืนจ​ าก​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​เช็ค และ​มีก​ าร​คิด​ค่า​ดำ�เนิน​การ​เพิ่ม​เติมด​ ้วย แต่​ สำ�หรับ​การ​โอน​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น การ​ถอน​เงิน​จะ​ถูก​ทำ�​โดย​อัตโนมัติ​ตาม​ใบ​เสร็จ​ใน​แต่ละ​เดือน​หรือ​ตาม​ ค่า​ใช้​จ่าย​คงที่ โดย​ไม่มี​การ​คิด​ค่า​ใช้​จ่า​ยอื่นๆ เพิ่ม​เติม

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัดข​ อง​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​มี​ข้อดี​และ​ข้อ​จำ�กัดห​ ลาย​ประการ ดังนี้ ข้อดี​สำ�หรับ​ผซู้​ ื้อ 1. การ​ใช้​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​เปิด​เผย​ข้อมูล​บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​ให้​แก่​ผู้​ขาย โดย​เฉพาะ​ใน​ การ​ประมูล​อิเล็กทรอนิกส์ 2. นอกจาก​นี้​แล้ว ใน​การ​ใช้​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​ส่ง​ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​การ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ เครือ​ข่าย เนื่องจาก​ธนาคาร​จะ​ไป​ดำ�เนิน​การเอง​ใน​ส่วน​นี้ สำ�หรับ​ผู้​ขาย 1. ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เรียก​เก็บ​เงิน​ด้วย​เช็ค​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​น้อย​กว่า​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เรียก​เก็บ​เงิน​ ผ่าน​บัตร​เครดิตเ​พราะ​การ​คิดค​ ่า​บริการ​จะ​ต่ำ�​กว่า 2. การ​ประมวล​ผล​ข้อมูล​มี​ประสิทธิภาพ​มากกว่า​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ด้วย​วิธี​อื่นๆ และ​ยัง​ ทำ�ให้ก​ ระบวนการ​นำ�​ฝาก​เงินใ​ น​บัญชีผ​ ูข้​ ายรวดเร็วก​ ว่าก​ าร​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ด​ ้วย​วิธอี​ ื่นๆ อีกด​ ้วย​เพราะ​ ไม่​ต้อง​รอ​ให้​มีก​ าร​รวบรวม​ธุรกรรม​เชิงรายการ​เหมือน​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​บัตร

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-50

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3. ลด​ปัญหา​จำ�นวน​เช็ค​ที่​ตี​กลับ​เนื่องจาก​เงิน​ใน​บัญชี​มี​ไม่​เพียง​พอ ซึ่ง​เป็นการ​ลด​จำ�นวน​เงิน​หรือ​ หนี้​สูญ​ที่​ไม่​สามารถ​เรียก​เก็บ​จาก​ผู้ซ​ ื้อล​ ง​ด้วย ข้อ​จำ�กัด 1. สามารถ​ใช้ได้เ​ฉพาะ​ใน​การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​แบบ​ออนไลน์เ​ท่านั้น ไม่ส​ ามารถ​ใช้ซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ​ ได้ใ​ น​แบบ​ออฟ​ไลน์ไ​ ด้ 2. การ​ที่เ​ช็คอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ไม่เ​ปิดเ​ผย​ข้อมูลบ​ ัญชี​บาง​อย่าง​ของ​ผู้​จ่าย​เช็ค จึง​ทำ�ให้ไ​ ม่​เหมาะ​กับ​การ​ ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​ธุรกิจก​ ับ​ธุรกิจ เพราะ​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​ดัง​กล่าว​ต้องการ​การ​เปิด​เผย​ข้อมูล​เกี่ยว​ กับ​บัญชี​ทั้ง​ฝ่าย​ผู้ซ​ ื้อ​และ​ฝ่าย​ผู้ข​ าย

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.3 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.3 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.3

ธ ส

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.4 ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด (cash) เป็นการ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​มี​มา​ตั้งแต่​ก่อ​นคริ​สต​์ศักราช และ​ปัจจุบัน​เป็น​ วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ยัง​นิยม​ใช้​กัน​อยู่​ใน​สหรัฐอเมริกา​และ​ยุโรป เนื่องจาก​เป็น​ความ​เคยชิน​และ​สะดวก​ใน​การ​ ซื้อ​ขาย​สินค้า/บริการ แต่​ก็​มี​ความ​เสี่ยง​ต่อ​การ​สูญหาย​หรือ​ถูก​ขโมย​ได้​ง่าย และ​เมื่อ​มี​การ​สูญหาย​ก็​ยาก​ต่อ​ การ​ติดตาม​และ​ยับยั้ง หรือ​อายัด​การ​ใช้​จ่าย​เงินสด​นั้น ใน​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​ได้​มี​การ​ประยุกต์​ การ​ใช้เ​งินสด​มา​เป็น​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​แทน ซึ่งม​ ี​ราย​ละเอียด​ดังนี้

ธ ส

1. แนวคิดเ​กี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​รับ​การ​แนะนำ�​โดย​แก​รี่ ไท​ลิป (Gary Tilip) และ ​แล​รี่ ลี (Larry Lee) แห่ง​บิ​นทูลู (Bintulu) โดย​การนำ�​ลาย​เซ็น​ที่​ใช้​รหัส​แทน​ลาย​เซ็น​ทั่วไป​มา​เป็น​ข้อมูล​เชื่อม​ โยง​ระหว่าง​ข้อมูล​ธุรกรรม​เชิง​รายการ​ที่​มี​การ​ใช้​จ่าย​กับ​ข้อมูล​การ​เบิก​ถอน​จำ�นวน​เงิน​จาก​บัญชี​ของ​ผู้​ใช้ ใน​ สหรัฐอเมริกา​มี​เพียง​ธนาคาร​เดียว​ที่​มีก​ าร​พัฒนา​ระบบ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​คือ ธนาคาร​มาร์ค​ ท​เวน (Mark Twain Bank) โดย​พัฒนา​ขึ้น​ใน​ปี ค.ศ. 1995 ซึ่ง​ผู้​ใช้​หรือ​ผู้​ซื้อ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​เสีย​ค่า​ ธรรมเนียม​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ แต่​ผู้ข​ าย​หรือเ​จ้าของ​ธุรกิจ​จะ​ต้อง​เสีย​ค่าธ​ รรมเนียม ต่อ​มา​ธนาคาร​มาร์ค ท​เวน​ ถูก​ซื้อ​กิจการ​โดย​ธนาคาร​เม​อร์​แคน​ไทล์ (Mercantile Bank) ระบบดัง​กล่าว​จึง​​ถูก​ยกเลิก​เมื่อ​ปี ค.ศ. 1997 ใน​ออสเตรเลีย​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ถูก​พัฒนา​ขึ้น​โดย​ธนาคาร​เซนต์​จอร์จ (St.Georges

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-51

ธ ส

Bank) และ​ได้แ​ พร่ห​ ลาย​ไป​ยังย​ ุโรป เช่น ส​วิตเ​ซอร์​แลนด์ สห​พันธ์​สาธารณรัฐ​เยอรมนี ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน และ​นอร์เวย์ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic Cash payment system - eCash) เป็น​ ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ีกร​ ะบบ​หนึ่งท​ ีอ่​ ำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้แ​ ก่ผ​ ูซ้​ ื้อผ​ ่าน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เพราะ​มกี​ าร​รักษา​ความ​ ปลอดภัยแ​ ละ​ความ​เป็นส​ ว่ น​ตวั ด​ ว้ ย​การ​เข้าร​ หัส และ​ใช้ก​ ญ ุ แจ​สาธารณะ (private key) ทำ�ให้ข​ อ้ มูลท​ รี​่ บั ส​ ง่ ผ​ า่ น​ ระบบ​เครือข​ ่าย​อินเทอร์เน็ต​ได้ร​ ับ​ความ​ปลอดภัย​และ​มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​มาก​พอๆ กับข​ ้อมูล​ที่​รับ​ส่ง​ผ่าน​ระบบ​ เครือ​ข่าย​ส่วน​บุคคล​ ด้วยข้อดี​ดัง​กล่าว จึงท​ ำ�ให้​เกิด​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ใหม่​ขึ้น​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ (eCash) คือ​แบบ​ฟอร์ม​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ถูก​ต้อง​ตาม​กฎหมาย​ซึ่ง​ใช้​ระบบ​ คอมพิวเตอร์ใ​ น​การ​ก�ำ หนด​มลู ค่าเ​งิน ซึง่ เ​งินสด​อเิ ล็กทรอนิกส์น​ ี้ ผูบ​้ ริโภค​สามารถ​ซือ้ ไ​ ด้โ​ ดย​ใช้บ​ ตั ร​เครดิต บัตร​ เดบิต เช็คอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ เช็คก​ ระดาษ เงินสด หรือซ​ ือ้ โ​ ดย​วธิ ก​ี าร​โอน​เงิน เมือ่ ผ​ บู​้ ริโภค​ซือ้ เ​งินสด​อเิ ล็กทรอนิกส์ บัญชี​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ถูก​สร้าง​ขึ้น​อัตโนมัติ โดย​บัญชี​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​แต่ละ​บัญชี​จะ​มีชื่อ​ เจ้าของ​บัญชี​และ​รหัส​ผ่าน​ที่​ผู้ซ​ ื้อก​ ำ�หนด​ขึ้น​มา​เอง การ​ใช้​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​สามารถ​ใช้ได้​เฉพาะ​กับ​ระบบ​ คอมพิวเตอร์ท​ ีม่​ โี​ ปรแกรม​อีแคช​เท่านั้น อาจ​กล่าว​ได้ว​ ่า เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นการ​บันทึกม​ ูลค่าข​ อง​จำ�นวน​ เงินแ​ ละ​อตั รา​แลก​เปลีย่ น​ของ​เงินล​ ง​ใน​แบบ​ฟอร์มอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ท​ มี​่ ข​ี อ้ จ​ �ำ กัดใ​ น​การ​เปลีย่ นแปลง​คา่ ข​ อ้ มูล และ​ จำ�เป็นต​ ้อง​มีห​ น่วย​งาน​ที่​ทำ�​หน้าที่​เป็น​ตัวกลาง​ใน​การ​เปลี่ยนแปลง​ค่า​ข้อมูล​ด้วย สำ�หรับ​คุณลักษณะ​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​มี​ลักษณะ​บาง​อย่าง​เหมือน​กับ​เงินสด​ทั่วไป เช่น มี​ มูลค่า​เงินท​ ี่​ได้​รับ​การ​รับรอง​จาก​ธนาคาร​เหมือน​กับ​แคชเชียร์​เช็ค และ​ยัง​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​คือ สามารถ​จัดเ​ก็บ​ ข้อมูลม​ ูลค่าเ​งินแ​ ละ​ค้นค​ ืนข​ ้อมูลม​ ูลค่าเ​งิน สามารถ​ใช้แ​ ลก​เปลี่ยน​แทน​เงินสด​ได้ท​ ุกอ​ ย่าง ไม่ว​ ่าจ​ ะ​เป็นการ​ซื้อ​ สินค้า/บริการ การ​ฝาก​เงินเ​ข้าบ​ ัญชี การ​ชำ�ระ​หนีต้​ าม​กฎหมาย อีกท​ ั้งย​ ังไ​ ม่ส​ ามารถ​ทำ�การ​ปลอม​แปลง​ขึ้นม​ า​ได้​ โดย​ง่าย นอกจาก​นี้ ใน​การ​ใช้​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น ระบบ​การ​รับช​ ำ�ระ​เงิน​ที่​ใช้​ต้อง​มี​การ​ป้องกัน​และ​ตรวจ​ สอบ​การ​ปลอม​แปลง​ด้วย ลักษณะ​ที่ก​ ล่าว​มา​จึงท​ ำ�ให้ก​ าร​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้ร​ ับค​ วาม​สนใจ​ จาก​ผู้​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ผ่าน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​มาก​ขึ้น ใน​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​มี​การ​เข้า​รหัส​ข้อมูล​พร้อม​กับ​ใช้​เลข​รหัส​ ที่​ธนาคาร​กำ�หนด​ให้ ทั้งนี้ เพื่อ​ให้​ธนาคาร​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล​ได้​อย่าง​รวดเร็ว อย่างไร​ก็ตาม​ วิธี​การ​นี้​ ก็ย​ ังม​ ีแ​ ฮกเกอร์ส​ ามารถ​ปลอม​แปลง​ข้อมูลไ​ ด้เ​ช่นเ​ดียว​กับก​ าร​ปลอม​แปลง​ธนบัตร​กระดาษ อย่างไร​ก็ตาม ผู้ท​ ี​่ ส่ง​เสริม​การ​ใช้​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​กล่าว​ว่า วิธี​การ​เข้า​รหัส​ที่​นำ�​มา​ใช้​นั้น​เป็น​วิธี​การ​เดียว​กับ​การ​เข้า​รหัส​ใน​ การ​ป้องกัน​ระบบ​ขีปนาวุธ​นิวเคลียร์ และ​การ​เข้า​รหัส​วิธี​นี้​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​ฝัง​ใน​ชิป​ของ​บัตร​อัจฉริยะ​ด้วย และ​ จาก​การ​ที่​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​และ​การ​สื่อสาร​มี​ความก้าวหน้า​และ​ถูก​นำ�​ไป​ประยุกต์​ใน​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ อย่าง​กว้าง​ขวาง​มาก​ขึ้น​นั้น ทำ�ให้​ประเด็น​เรื่อง​ความ​เป็น​ส่วน​ตัว​กลาย​เป็น​สิ่ง​ที่​ต้อง​ระมัดระวัง​มาก​ยิ่ง​ขึ้น ทุกค​ น​เริ่มต​ ระหนักถ​ ึงฐ​ าน​ข้อมูลข​ อง​บัตร​เครดิตท​ ีน่​ ับว​ ันจ​ ะ​มขี​ นาด​ใหญ่ข​ ึ้นอ​ ย่าง​ต่อเ​นื่อง ดังน​ ั้น การ​ใช้เ​งินสด​ อิเล็กทรอนิกส์ใ​ ห้เ​กิดป​ ระสิทธิผล​จึงจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ให้ค​ วาม​สำ�คัญเ​กี่ยว​กับฟ​ ังก์ชันก​ าร​ดูแล​รักษา​เรื่อง​ข้อมูลค​ วาม​ เป็นส​ ่วน​ตัวใ​ ห้​มาก​ขึ้น ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ได้​ให้​ความ​สำ�คัญ​ใน​เรื่อง​ดัง​กล่าว แต่​จะ​ สามารถ​ดูแล​ได้​เฉพาะ​ฝั่ง​ของ​ผู้​ซื้อ​เท่านั้น ใน​ฝั่ง​ผู้​ขาย​ไม่​สามารถ​ทำ�ได้ เพราะ​จะ​มี​ผล​ทำ�ให้​ผู้​ขาย​ไม่​สามารถ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-52

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ตรวจ​สอบ​ความ​ถูกต​ ้อง​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้ หรือก​ ล่าว​ได้ว​ ่า โดย​ทั่วไป​ผู้ซ​ ื้อจ​ ะ​จัดเ​ก็บข​ ้อมูลก​ าร​ชำ�ระ ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ไว้​ใน​ระบบ​ได้ ใน​ขณะ​ที่​ผู้​ขาย​จะ​ทำ�ได้​เพียง​นำ�​ข้อมูล​ที่​ได้​รับ​ส่ง​ไป​ตรวจ​สอบ​ความ​ ถูก​ต้อง​กับ​ธนาคาร​เท่านั้น

ธ ส

2. โครงสร้าง​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ดัง​ที่​กล่าว​มา​แล้ว​ว่า เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ คือ​แบบ​ฟอร์ม​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ใช้​ใน​ระบบ​คอมพิวเตอร์ ซึ่ง​แบบ​ฟอร์ม​ดัง​กล่าว​ประกอบ​ด้วย​ข้อมูล​ต่างๆ โดย​มี​โครงสร้าง​ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.17

สกุลเงิน

มูลค่า

ธ ส

เลขรหัส

ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ ลายน้ำ�อิเล็กทรอนิกส์

ส่วน​ที่​ใช้​อ้างอิง​ ส่วน​ที่​ใช้​อ้างอิง​ถึงผู้​ซื้อ ส่วน​ที่​ใช้​อ้างอิง​ ถึงธ​ นาคาร ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ เจ้าของ ใน​ครั้ง​แรก

ธ ส

ส่วน​ตรวจ​สอบ

ภาพ​ที่ 6.17 โครงสร้าง​ของ​ข้อมูลใ​ น​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

จาก​ภาพ​ที่ 6.17 ข้อมูล​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบ​ด้วย 2.1 ข้อมูล​สกุลเ​งิน (currency) เป็นการ​ระบุ​ว่า​เงินน​ ั้น​เป็นเ​งิน​สกุล​ใด เช่น ดอลลาร์​สหรัฐ เยน บาท หยวน ริง​ กิต รูปี เป็นต้น 2.2 ข้อมูล​มูลค่า (value) เป็น​ข้อมูลท​ ี่​แสดง​จำ�นวน​เงิน เช่น 500 2.3 ข้อมูล​ตัวเลข​อ้างอิง (reference number) เป็น​รหัส​ที่​ธนาคาร​ออก​ให้​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​ติดตาม​และ​ ตรวจ​สอบ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​ข้อมูล​ย่อย​อีก 4 ส่วน คือ 1) ส่วน​ที่ใ​ ช้​อ้างอิงถ​ ึงธ​ นาคาร (issuer part) 2) ส่วน​ที่​ใช้​อ้างอิงถ​ ึง​ลูกค้า หรือ​ผู้​ซื้อ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ครั้ง​แรก (client part) 3) ส่วน​ที่​ใช้​อ้างอิง​เจ้าของ (owner part) ใช้​ใน​การ​อ้างอิง​เจ้าของ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​ เปลี่ยน​ไป​ใน​แต่ละ​ครั้งท​ ี่​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ถูก​ใช้​หรือ​ถูก​เปลี่ยน​มือ​ไป 4) ส่วน​สุดท้าย (final part) เป็น​ส่วน​ที่​ใช้​ตรวจ​สอบ​เลข​รหัส​ใน​แต่ละ​ครั้ง 2.4 ลาย​เซ็น​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic signature) เป็น​ข้อมูล​ที่​ธนาคาร​ใช้​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ เป็นต​ ัว​ตน​ของ​ผู้​ซื้อ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ 2.5 ลายน้ำ�​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic watermark) เป็น​ข้อมูล​ที่​ใช้​ใน​การ​ป้องกัน​ลิขสิทธิ์ และ​โดย​ จะ​มี​การ​สอด​แทรก​ข้อมูล​ที่​ไม่​สามารถ​มอง​เห็น​ได้​ด้วย​ตา หาก​ต้องการ​เห็น​ข้อมูล​จะ​ต้อง​ใช้​เทคโนโลยี​บาง​ อย่าง​เข้า​มา​ช่วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

3. ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.18

ธ ส

ธ ส

2. ดาวน์โหลด เลข​รหัส​ดิจิทัล

1. ส่ง​แบบ​ฟอร์มข​ อ​เปิด​บัญชี

ธ ส

ธนาคาร

ข้อมูลเ​งินสด​อิเล็กทรอนิกส์

3. ส่ง​แบบ​ฟอร์ม​ขอ​เปิดบ​ ัญชี

ข้อมูล​เงินสด ​อิเล็กทรอนิกส์ ​

ธ ส

ซอฟต์แวร์​ระบบ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ซอฟต์แวร์ระบบ​เงินสด​ อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

4. ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ภาพ​ที่ 6.18 ขั้นต​ อน​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ที่มา: ดัดแปลง​จาก: http://www.unige.ch/index.html

ธ ส

5. โอน​เงิน​จาก​บัญชีผ​ ู้​ซื้อ​ให้แ​ ก่​บัญชีผ​ ู้​ขาย

ผู้ซ​ ื้อ

6-53

ผู้​ขาย

ธ ส

3.1 การ​ซือ้ เ​งินสด​อเิ ล็กทรอนิกส์ม​ า​ใช้น​ ัน้ เริม่ ต​ น้ จ​ าก​ผใู​้ ช้ต​ ดิ ต่อก​ บั ธ​ นาคาร​เพือ่ ข​ อ​เปิดบ​ ญ ั ชี ธนาคาร​ จะ​ให้​เลข​รหัส​ดิจิทัล (digital number) ซึ่งจ​ ะ​ใช้​เป็น​ลาย​เซ็น​อิเล็กทรอนิกส์​แทน​ลาย​เซ็น​ปกติ โดย​เลข​รหัส​นี้​ ผู้​ใช้​จะ​ต้อง​รักษา​เป็น​ความ​ลับ 3.2 ผู้ซ​ ื้อส​ ามารถ​ดาวน์โหลด​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์จ​ าก​บัญชีท​ ี่เ​ปิดไ​ ว้จ​ าก​เครื่อง​แม่ข​ ่าย​ของ​ธนาคาร​ มา​เก็บ​ไว้​ที่​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ซื้อ​ได้ โดย​ใช้​โปรแกรม​เฉพาะ​ที่​ธนาคาร​พัฒนา​ขึ้น​มา และ​ผู้​ซื้อ​ต้อง​ ดาวน์โหลด​โปรแกรม​ดัง​กล่าว​มา​เก็บ​ไว้​ที่เ​ครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ตนเอง​ด้วย 3.3 ใน​ขณะ​เดียวกัน ผูข้​ าย​ทีร่​ ับก​ าร​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ก​ ต็​ ้อง​มบี​ ัญชีก​ ับธ​ นาคาร​ทีใ่​ ช้​ ระบบ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ และ​มี​โปรแกรม​เฉพาะ​ที่​ธนาคาร​พัฒนา​ขึ้น​มา​ด้วย​เช่น​กัน 3.4 ทุก​ครั้ง​ที่​ผู้​ซื้อ​ใช้​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​แก่​ผู้​ขาย​จะ​ต้อง​ใช้​ผ่าน​โปรแกรม ด​ ัง​กล่าว โปรแกรม​จะ​ส่ง​ข้อมูลไ​ ป​ยังธ​ นาคาร​เพื่อต​ รวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ก่อน​ทำ�การ​โอน​เงิน​ไป​ยัง​บัญชี​ผู้ข​ าย

ธ ส


6-54

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3.5 เมื่อ​ผู้​ขาย​ได้​รับ​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ จะ​จัด​ส่ง​ให้​ธนาคาร​เพื่อ​ตรวจ​สอบ​ ความ​ถูก​ต้อง​อีก​ครั้ง และ​หาก​ข้อมูล​ถูก​ต้อง​ธนาคาร​ก็​จะ​โอน​เงิน​จาก​บัญชี​ผู้​ซื้อ​ไป​ยัง​บัญชี​ของ​ผู้​ขาย

ธ ส

4. ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัดข​ อง​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์

ข้อดี ของ​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ มี​ดังนี้ 1. ข้อมูลม​ ี​ความ​เป็น​ส่วน​ตัว และ​มี​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ​ เนื่องจาก​ใช้​วิธี​ การ​เข้า​รหัส​ที่​ยาก​ต่อ​การ​ถอดรหัส 2. เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​เช่น​เดียว​กับ​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ อื่นๆ 3. ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​ต่ำ� โดย​ฝ่าย​ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​เสีย​ค่า​ธรรม​เนียม​ใดๆ ใน​ขณะ​ที่​ฝ่าย​ผู้​ขาย​ เสีย​ค่า​ธรรมเนียม​ใน​อัตรา​ที่​ค่อน​ข้าง​ต่ำ�​เมื่อ​เทียบ​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​วิธี​อื่น 4. สะดวก​ใน​การ​ใช้ เพราะ​สามารถ​ใช้​ผ่าน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ซื้อ​ได้​เอง 5. ผูซ้​ ื้อไ​ ม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​เปิดเ​ผย​ข้อมูลข​ อง​ตนเอง และ​บริษัทผ​ ูข้​ าย​กไ็​ ม่ส​ ามารถ​ค้นหา​หรือท​ ราบ​ข้อมูล​ บัญชี​ของ​ผู้​ซื้อ​ได้ ใน​ขณะ​เดียวกัน ผู้​จำ�หน่าย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​เอง​ก็​ไม่​สามารถ​ทราบ​ได้​ว่า​ผู้​ซื้อ​ได้​นำ� ​เงิน​สด​อิเล็ก​ทรอ​นิกส์​ไป​ใช้​จ่าย​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ที่ใ​ ด ข้อ​จำ�กัด ของ​วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์ มี​ดังนี้ 1. ผูใ​้ ช้เ​งินสด​อเิ ล็กทรอนิกส์จ​ ะ​สามารถ​ใช้เ​งินสด​อเิ ล็กทรอนิกส์ไ​ ด้เ​ฉพาะ​กบั เ​ครือ่ ง​คอมพิวเตอร์ท​ มี​่ ​ี ระบบ​กระเป๋า​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​เท่านั้น (eCash purse system) และ​ใน​ขณะ​เดียวกัน ผู้​ขาย​ก็​จะ​สามารถ​ ใช้​ระบบ​นี้​ได้ก​ ็​ต้อง​มี​ระบบ​โปรแกรม​ด้วย​เช่น​กัน 2. การ​ชำ�ระ​เงินสด​อิเล็กทรอนิกส์​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​เวลา​ใน​การ​ประมวล​ผล​ค่อน​ข้าง​นาน เพราะ​ต้อง​ เปรียบ​เทียบ​ความ​ถูก​ต้อง​ตรง​กัน​ของ​ข้อมูล​ใน​ฐาน​ข้อมูล จึง​ทำ�ให้​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ใช้​ค่อน​ข้าง​ต่ำ�​กว่า​วิธี​ อื่น 3. มีค​ วาม​เสี่ยง​สูง เพราะ​ผู้ซ​ ื้อต​ ้อง​รับ​ผิด​ชอบ​เอง​กรณี​ที่ข​ ้อมูล​สูญหาย​หรือ​ถูก​ขโมย 4. ง่าย​ต่อ​การ​ปลอม​แปลง แม้ว่า​จะ​มี​ระบบ​ป้องกัน​แล้ว​ก็ตาม

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.4 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.4 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.4


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.5 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

6-55

ปัจจุบัน​นอก​เหนือ​จาก​การ​ใช้​บัตร​เครดิต​และ​บัตร​เดบิต​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​แล้ว ยัง​มี​ การ​ใช้​บัตร​อัจฉริยะ ​หรือ​สมา​ร์​ตการ์ด (smart card) ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​อีก​ด้วย ซึ่ง​ราย​ละเอียด​ ที่​น่า​สนใจ​เกี่ยว​กับ​บัตร​อัฉ​ริย​ ะ​มี​ดังนี้

1. แนวคิดเ​กี่ยว​กับ​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

สมา​ร์​ตการ์ด หรือ​บัตร​อัจฉริยะ​เป็น​บัตร​พลาสติก​ที่​มี​ขนาด​เท่ากับ​บัตร​เครดิต แต่​ภายใน​บัตร​จะ​มี​ การ​ฝังช​ ิปไ​ ว้ด​ ้วย ชิปท​ ี่ฝ​ ังอ​ าจ​เป็นไ​ มโคร​โพรเซสเซอร์ (microprocessor) กับห​ น่วย​ความ​จำ� (memory chip) หรืออ​ าจ​เป็นห​ น่วย​ความ​จำ�​เพียง​อย่าง​เดียว​ก็ได้ สมา​ร์ต​ การ์ดท​ ี่ม​ ีไ​ มโคร​โพรเซสเซอร์ฝ​ ังอ​ ยู่ก​ ับห​ น่วย​ความ​จำ� ข้อมูล​ที่​อยู่​บน​ไมโคร​โพรเซสเซอร์​สามารถ​เพิ่ม ลบ หรือ​จัดการ​ได้ แต่​ถ้า​มี​เพียง​หน่วย​ความ​จำ�​ฝัง​อยู่​ใน​บัตร​ ข้อมูล​จะ​สามารถ​อ่าน​ได้​เพียง​อย่าง​เดียว​เท่านั้น ซึ่ง​ก็​จะ​เหมือน​กับ​บัตร​เครดิต​ทั่วไป สมา​ร์​ตการ์ด​สามารถ​แบ่ง​ออก​ได้เ​ป็น 2 ชนิด คือ สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​มี​การ​สัมผัส ​และ​สมา​ร์​ตการ์ด​ ชนิด​ที่​ไม่มีก​ าร​สัมผัส 1.1 สมา​รต​์ การ์ด​ชนิด​ท​มี่ ​กี าร​สมั ผัส (contact smart card) เป็น​บัตร​ที่​มี​การ​ผนึก​ชิป​สี​ทอง​ขนาด​เล็ก​ เส้นผ​ ่า​ศูนย์กลาง​ประมาณ​ครึ่งน​ ิ้ว ติด​ไว้​ที่ด​ ้าน​หน้า​บัตร​แทน​การ​ใช้​แถบ​แม่​เหล็ก (magnetic stripe) ที่​ใช้​ใน​ บัตร​เครดิต นอก​จาก​สมา​ร์​ตการ์ด​จะ​สามารถ​จัด​เก็บ​ข้อมูล​สำ�คัญ​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ผู้​ใช้ได้​เป็น​ปริมาณ​มากกว่า​ บัตร​เครดิต​แล้ว สมา​ร์​ตการ์ด​ยัง​สามารถ​จัด​เก็บ​ข้อมูล​สำ�คัญ​ที่​เข้า​รหัส​ไว้​สำ�หรับ​ใช้​เป็น​ข้อมูล​ตรวจ​สอบ​กับ​ ข้อมูลร​ หัสข​ อง​ผใู้​ ช้อ​ ีกด​ ้วย และ​สมา​รต์​ การ์ดข​ อง​ธนาคาร​บาง​แห่งอ​ นุญาต​ผใู้​ ช้ป​ ้อน​หมายเลข​สำ�หรับร​ ะบุต​ ัวต​ น ​หรือ​พิน (Personal Identification Number - PIN) ของ​ผู้​ใช้​เอง​ได้ การ​ใช้​งาน​สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​นี้​จำ�เป็น​ ต้อง​มี​การ​สอด​บัตร​เข้าไป​ใน​เครื่อง​อ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด (smart card reader) เมื่อ​ผู้​ใช้​สอด​บัตร​เข้าไป​ใน​เครื่อง​ อ่าน​สมา​ร์ต​ การ์ดจ​ ะ​สามารถ​ทำ�การ​ส่งถ​ ่าย​ข้อมูลเ​ข้า​และ​ออก​จาก​ชิป​ได้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-56

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์ ชิป​ที่ฝ​ ัง​ใน​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ข้อมูล​ต่างๆ ที่​จัด​เก็บ​ใน​ชิป​ของ​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

เครื่อง​อ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.19 สมา​ร์​ตการ์ด​และ​เครื่อง​อ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

ที่มา: http://4.bp.blogspot.com/_UJRp65txHto/SSwPCbHw_LI/AAAAAAAAABw/srzT7U6MTvY/s400/smartcard.jpg http://www.excelsystems-eg.com/images/SmartCard.jpg และ http://earlyonsolutions.com/images/screen/ACR38-smart-card-reader.jpg

ธ ส

สมา​ร์​ตการ์ด​ประเภท​นี้ม​ ี​ข้อจ​ ำ�กัด​หลาย​ประการ เช่น อายุ​การ​ใช้​งาน​จะ​สั้น​กว่าช​ นิด​ที่​ไม่มี​การ​สัมผัส และ​โอกาส​ที่​จะ​ชำ�รุด​เสีย​หาย​มีม​ าก 1.2 สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​ไม่มี​การ​สัมผัส (contactless smart card) เป็น​บัตร​ที่​มี​การ​ผนึก​ชิป​ คอมพิวเตอร์แ​ ละ​ขด​ลวด​สาย​อากาศ​ไว้ภ​ ายใน ซึ่งใ​ ช้​ใน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร​กับ​เครื่อง​รับ-เครื่อง​ส่ง​ที่​อยู่​ใน​ระยะ​ ไกล (remote receiver/transmitter) โดย​ทั่วๆ ไป สมา​ร์​ตการ์ดช​ นิด​นี้​จะ​ใช้​กับ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ที่​ต้องการ​ ความ​รวดเร็ว เช่น สมา​ร์​ตการ์ด​ที่ใ​ ช้​กับ​การ​จัด​เก็บ​เงิน​ค่าผ​ ่าน​ทางด่วน สมา​ร์​ตการ์ดท​ ี่​ใช้​กับ​การ​จัด​เก็บ​เงิน​ค่า​ บริการ​รถไฟฟ้า

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ขด​ลวด​สาย​อากาศ

ธ ส

ชิป​คอมพิวเตอร์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เครื่อง​อ่าน​บัตร​แบบ​ไม่​สัมผัส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.20 สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​ไม่มกี​ าร​สัมผัส

ที่มา: http://imghost1.indiamart.com/data2/SR/CS/MY-1803958/2-250x250.jpg http://cfnewsads.thomasnet.com/images/large/469/469511.jpg

6-57

นอก​จาก​สมา​ร์​ตการ์ด​ทั้งส​ อง​ชนิด​ดัง​กล่าว​แล้ว ปัจจุบันย​ ัง​มี​การ​ผลิต​สมา​ร์​ตการ์ด​แบบ​ผสม หรือ​ที่​ เรียก​ว่า “คอม​บิ​การ์ด” (combi card) ออก​มา​ใช้ง​ าน​อีก​ด้วย โดย​บัตร​ชนิด​นี้​เป็น​บัตร​ใบ​เดียว​แต่ท​ ำ�​หน้าที่​ เป็น​ทั้ง​สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​มี​การ​สัมผัส และ​สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​ไม่มี​การ​สัมผัส เพื่อ​เพิ่ม​ความ​สะดวก​และ​ ประโยชน์ใ​ น​การ​ใช้ง​ าน​มาก​ขึ้น สมา​รต์​ การ์ดป​ ระเภท​นีถ้​ ูกน​ ำ�​ไป​ใช้ป​ ระโยชน์ม​ ากมาย โดย​ใช้เ​ป็นบ​ ัตร​ต่างๆ เช่น บัตร​เครดิต บัตร​เดบิต บัตร​แทน​เงินสด บัตร​ประชาชน บัตร​นักศึกษา บัตร​สุขภาพ บัตร​บันทึก​การ​ตรวจ​โรค บัตร​อนุญาต​เข้า​ออก​สถาน​ที่ บัตร​จอด​รถ บัตร​สะสม​คะแนน​เพื่อ​รับ​รางวัล เป็นต้น โดย​ทั่วไป​จะ​เห็นไ​ ด้ว​ ่า สมา​ร์ต​ การ์ดจ​ ะ​มีร​ ะบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัยม​ ากกว่าบ​ ัตร​เครดิต ซึ่งห​ าก​บัตร​ ถูกข​ โมย​ไป กรณีท​ ีเ่​ป็นบ​ ัตร​เครดิตผ​ ูท้​ ีข่​ โมย​บัตร​ไป​ใช้จ​ ะ​เห็นห​ มายเลข​บัตร​รวม​ทั้งล​ าย​เซ็นเ​จ้าของ​บัตร​ปรากฏ​ บน​ตัว​บัตร​อย่าง​ชัดเจน แต่​ถ้า​เป็น​สมา​ร์​ตการ์ดเ​มื่อถ​ ูก​นำ�​ไป​ใช้ ผู้​ใช้​จะ​ต้อง​ป้อน​เลข​รหัสส​ ำ�หรับร​ ะบุต​ ัวต​ น​ที่​ ตรง​กับ​เลข​ที่​บันทึกใ​ น​บัตร​ก่อน​ทุก​ครั้ง ปัจจุบัน​สมา​ร์​ตการ์ด​ถูก​นำ�​มา​ใช้​นาน​กว่า 20 ปี​แล้ว และ​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​ขยาย​การ​ใช้​ใน​ยุโรป​และ​ เอเชีย เนื่อง​จาก​สมา​ร์​ตการ์​ดมี​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ใช้​มากกว่า​บัตร​เครดิต ดัง​นั้น จึง​ได้​เริ่ม​เป็น​ที่​นิยม​ใช้​ ใน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ด้วย​เช่น​กัน สมา​ร์​ตการ์ด​ได้​รับ​ความ​นิยม​มาก​ขึ้น เนื่องจาก​ถูก​นำ�​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​ ด้าน​ต่างๆ ทำ�ให้​มี​การ​พัฒนา​โปรแกรม​ใน​งาน​ด้าน​ต่างๆ เพื่อ​นำ�​สมา​ร์​ตการ์ด​ไป​ใช้​ประโยชน์​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​อย่าง​ ต่อ​เนื่อง การ​นำ�​สมา​ร์​ตการ์ด​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​งาน​ด้าน​ต่างๆ ที่​น่า​สนใจ ได้แก่ 1) ใช้​เป็น​บัตร​สำ�หรับ​เติม​เงิน​ใน​โทรศัพท์​เคลื่อนที่ โดย​ภายใน​บัตร​จะ​เก็บ​ข้อมูล​จำ�นวน​เงิน​ คง​เหลือ​ที่​สามารถ​ใช้​ใน​การ​โทรศัพท์ และ​ยังส​ ามารถ​ปรับปรุง​แก้ไข​ข้อมูล​ภายใน​ได้​ด้วย 2) ใช้แ​ ทน​เงินสด​ใน​การ​ชำ�ระ​ค่าส​ ินค้า/บริการ​ต่างๆ สมา​รต์​ การ์ดถ​ ูกน​ ำ�​ไป​ใช้เ​ป็นบ​ ัตร​แทน​เงิน​ ค่าโ​ ดยสาร​รถไฟ​ใต้ดนิ รถไฟฟ้า รถ​ประจำ�​ทาง ค่าผ​ า่ น​ทางด่วน ซึง่ จ​ ะ​ชว่ ย​ให้การ​ท�​ำ รายการ​ขอ้ มูลร​ วดเร็วย​ ิง่ ข​ ึน้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-58

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3) ใช้เ​บิกเ​งินสด​แทน​บัตร​เอทีเอ็ม​ได้ สมา​ร์​ตการ์ด​ของ​สถาบัน​การ​เงิน​บาง​แห่งน​ อกจาก​จะ​ใช้​ เก็บ​ข้อมูล​ของ​ลูกค้า ใช้​แทน​บัตร​เครดิต​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ได้​แล้ว ยัง​นำ�​ไป​ใช้​เบิก​เงินสด​แทน​ บัตร​เอทีเอ็มไ​ ด้ด​ ้วย 4) ใช้แ​ ทน​บัตร​ประจำ�​ตัวผู้ป​ ่วย โรง​พยาบาล​หลาย​แห่ง​ได้​เริ่ม​นำ�​สมา​ร์ต​ การ์​ดมา​ใช้​เก็บ​ข้อมูล​ ประวัติ​ผู้​ป่วย ประวัติการ​รักษา​พยาบาล และ​ข้อมูล​การ​ประกัน​สุขภาพ​แทน​การ​จัด​เก็บ​เป็น​แฟ้ม​เอกสาร​ กระดาษ ทั้งนี้ เนื่องจาก​ช่วย​ทำ�ให้​ผู้​ป่วย​ได้​รับ​ความ​สะดวก​และ​รวดเร็ว​ใน​การ​รับ​บริการ​จาก​โรง​พยาบาล เจ้าห​ น้าทีโ​่ รง​พยาบาล​ไม่ต​ อ้ ง​คน้ หา​แฟ้มป​ ระวัตผ​ิ ปู​้ ว่ ย แพทย์ส​ ามารถ​เรียก​ดผ​ู ปู​้ ว่ ย​จาก​สมา​รต​์ การ์ดไ​ ด้ผ​ า่ น​ทาง​ จอ​คอมพิวเตอร์ 5) ใช้​แทน​บัตร​ประจำ�​ตัว​สำ�หรับ​ระบุ​หรือ​บ่ง​ชี้ตัว​ตน บริษัท​หลาย​แห่ง​ได้​นำ�​สมา​ร์​ตการ์ด​ไป​ ใช้​เป็น​บัตร​ประจำ�​ตัว​พนักงาน ซึ่ง​ภายใน​บัตร​สามารถ​บันทึก​ข้อมูล​ระบุ​ถึง​สิทธิ​การ​เข้า​ออก​สถาน​ที่​ทำ�งาน​ใน​ แผนก​ต่างๆ ไว้​ด้วย จึง​เป็นการ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​สถาน​ที่ท​ ำ�งาน​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​สมา​ร์​ตการ์ด ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.21

1. บัตร​สมา​ร์​ตการ์ดถ​ ูก​อ่าน​ จาก​เครื่อง​อ่าน​บัตร

โปรแกรม​ประมวล​ผล ​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

ธ ส

2. อ่าน​และ​สอบถาม​ข้อมูลรหัส​ผู้​ซื้อ

โปร​แก​รม​เบ​รา​เซอร์

ผู้ซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ

อินเทอร์เน็ต

ข้อมูลเ​กี่ยว​กับ​เจ้าของ​บัตร วิธีก​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัย

เครื่อง​คอมพิวเตอร์ของ​ผู้​ขาย

รหัส​ระบุ​ตัว​ตน

3. ส่ง​ข้อมูล​กลับ​ มา​ให้​ผู้​ขาย

5. รับ​ส่ง​ข้อมูล​และ ​ผล​การ​ตรวจ​สอบ

ข้อมูล​รหัสร​ ะบุ​ตัว​ตน ข้อมูล​ผล​การ​ตรวจ​สอบ

ธ ส

4. ผู้​ซื้อ​ป้อน​ข้อมูลร​ หัส​ระบุ​ตัว​ตน

เครื่อง​แม่​ข่าย​ของ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร

ธ ส

โปรแกรม​การ​เข้า​ และ​ถอดรหัส

ภาพ​ที่ 6.21 ขั้นต​ อน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​สมา​ร์​ตการ์ด


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-59

ธ ส

สำ�หรับ​ราย​ละเอียด​ของ​ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​สมา​ร์​ตการ์ด มี​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ 2.1 เริ่มจ​ าก​บัตร​สมา​รต์​ การ์ดถ​ ูกใ​ ส่เ​ข้าไป​ใน​เครื่อง​อ่าน​บัตร​ทีเ่​ชื่อม​ต่ออ​ ยูก่​ ับเ​ครื่อง​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ ผู้​ขาย​สินค้า/บริการ โปรแกรม​ที่ใ​ ช้​ใน​การ​ประมวล​ผล​สมา​ร์​ตการ์ด​จะ​เริ่ม​ทำ�งาน 2.2 ใน​ขณะ​เดียวกัน เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ขาย​สินค้า/บริการ​จะ​อ่าน​ข้อมูล​รหัส​ผู้​ซื้อ​จาก​เครื่อง​ อ่าน​บัตร เพื่อน​ ำ�​ไป​สอบถาม​ข้อม​ ูลอ​ ื่นๆ ของ​เจ้าของ​บัตร​จาก​เครื่อง​แม่ข​ ่าย​ทจี่​ ัดเ​ก็บข​ ้อมูลข​ อง​ผใู้​ ช้ส​ มา​รต์​ การ์ด​ โดย​เฉพาะข้อมูล​ที่ส​ อบถาม เช่น ราย​ละเอียด​ต่างๆ เกี่ยว​กับ​เจ้าของ​บัตร ข้อมูล​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย วิธี​ การ​เข้า​รหัส​ข้อมูล เป็นต้น 2.3 เครื่อง​แม่​ข่าย​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​จะ​ตอบ​สนอง​การ​ร้องขอ​ข้อมูล​จาก​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ ผูข้​ าย​สินค้า/บริการ โดย​จะ​ส่งข​ ้อมูลก​ ลับม​ า​ให้ และ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ผูข้​ าย​จะ​เรียก​โปรแกรม​ทีท่​ ำ�​หน้าที​่ รับรอง​ตัว​ตน​ของ​ผู้​ใช้​บัตร ให้ค​ ้น​ผ่าน (browse) หน้า​จอ​ขึ้นม​ า​เพื่อใ​ ห้​เจ้าของ​บัตร​ป้อน​รหัส​ระบุ​ตัว​ตนหรือ​พิน 2.4 เมื่อ​ผู้​ซื้อ​ป้อน​รหัส​ระบุ​ตัว​ตนหรือพ​ ินผ่าน​เบ​รา​เซอร์ รหัส​จะ​ถูก​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ตรง​กัน​ กับ​ข้อมูล​ที่​จัด​เก็บ​อยู่​ใน​สมา​ร์​ตการ์ด และ​ถูก​ส่ง​ผ่าน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ขาย​สินค้า/บริการ​ที่​เชื่อม​โยง​ กับ​ระบบ​เครือ​ข่าย เพื่อ​นำ�​ข้อมูล​รหัสไ​ ป​ตรวจ​สอบ​กับ​ข้อมูลใ​ น​ฐาน​ข้อมูล​เครื่อง​แม่ข​ ่าย​ของ​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร 2.5 ใน​ขณะ​นี้ โปรแกรม​การ​เข้า​และ​ถอดรหัส​จะ​ถูก​ประมวล​ผล​เพื่อ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ตรง​กัน​ ของ​ข้อมูล โดย​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ผูข้​ าย​สินค้า/บริการ​จะ​ทำ�การ​รับส​ ่งข​ ้อมูลก​ ับเ​ครื่อง​แม่ข​ ่าย​ของ​ธนาคาร เมื่อ​เครื่อง​แม่​ข่าย​ตรวจ​สอบ​เรียบร้อย​แล้ว​จะ​ส่ง​ผล​การ​ตรวจ​สอบ​กลับ​มายัง​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ขาย​ สินค้า/บริการ กรณี​ที่​ผล​ตรวจ​สอบ​ถูก​ต้อง​ก็​สามารถ​เริ่ม​ดำ�เนิน​การ​ใช้​สมา​ร์​ตการ์ด​ตาม​ความ​ต้องการ​ของ​ เจ้าของ​บัตร​ได้ แต่​กรณีท​ ี่​ผล​การ​ตรวจ​สอบ​ไม่​ถูก​ต้องการ​ใช้​สมา​ร์​ตการ์ด​จะ​ถูก​ระงับ​ทันที

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

​ 3. ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัดข​ อง​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​สมา​ร์​ตการ์ด

ธ ส

ข้อดี ของ​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​สมา​ร์ต​ การ์ด มี​ดังนี้ 1. สะดวก​และ​ง่าย​ต่อ​การ​พก​พา 2. สามารถ​จัด​เก็บ​ข้อมูล​ได้​มากกว่า​บัตร​ที่​ใช้​แถบ​แม่​เหล็ก​เป็น​ร้อย​เท่า 3. มีค​ วาม​ปลอดภัยค​ ่อน​ข้าง​สูงแ​ ละ​ปลอดภัยม​ ากกว่าบ​ ัตร​เครดิต เพราะ​มรี​ ะบบ​ป้องกันก​ าร​ปลอมแปลง ​ที่​ซับ​ซ้อน โดย​ใช้​เทคโนโลยี​ที่​ทัน​สมัย​น่า​เชื่อ​ถือ 4. มีค​ วาม​สามารถ​เรื่อง​การ​เคลื่อนที่ (mobility) จึง​เหมาะ​กับก​ าร​เข้าถ​ ึง​ข้อมูล​ระยะ​ไกล ทำ�ให้​ผู้​ใช้​ สามารถ​ใช้​งาน​โดย​ไม่​ขึ้น​กับ​สถาน​ที่​หรือค​ อมพิวเตอร์​เครื่อง​ใด​เครื่อง​หนึ่ง 5. สามารถ​นำ�​ไป​ใช้​ใน​งาน​ด้าน​ต่างๆ ได้อ​ ย่าง​กว้าง​ขวาง เช่น ใช้​เป็น​บัตร​ค่า​ผ่าน​ทาง ใช้​เป็น​บัตร​ใน​ การ​รับ​บริการ​ด้าน​สุขภาพ ใช้ช​ ำ�ระ​ค่า​สินค้า/บริการ​แทน​บัตร​เครดิต หรือบ​ ัตร​เอทีเอ็ม​ของ​ธนาคาร เป็นต้น 6. สามารถ​นำ�​กลับม​ า​ใช้ได้ใ​ หม่ก​ รณีท​ ี่ผ​ ู้ใ​ ช้เ​ดิมย​ กเลิก​การ​ใช้ ตัวบ​ ัตร​สามารถ​นำ�​มา​ลบ​ข้อมูลแ​ ละ​นำ�​ ไป​บันทึก​ข้อมูล​ของ​ผู้ใ​ ช้​ราย​ใหม่​ได้​แทน ช่วย​ลด​การ​สิ้น​เปลือง​วัสดุ​ใน​การ​ผลิต​บัตร​ลง 7. สามารถ​จัดเ​ก็บข​ ้อมูลเ​ป็นแ​ บบ​แบทช์ (batch) ได้ จึงไ​ ม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ประมวล​ผล​ข้อมูลท​ ันที ทำ�ให้​ สามารถ​นำ�​ข้อมูลม​ า​ประมวล​ผล​ใน​ภาย​หลังไ​ ด้

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-60

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

8. สามารถ​ประยุกต์​ใช้​กับ​อุปกรณ์อ​ ิเล็กทรอนิกส์​แบบ​พก​พา​ต่างๆ ได้ เช่น โน้ต​บุ๊ก พี​ดี​เอ 9. ใช้เ​ทคโนโลยี​เซ​มิ​คอนดักเตอร์ ซึ่งเ​ป็น​เทคโนโลยี​ที่​น่าเ​ชื่อ​ถือ​และ​มี​การ​พัฒนา​อย่าง​รวดเร็ว 10. เมื่อน​ ำ�​ไป​ใช้ง​ าน​สามารถ​ประมวล​ผล​ข้อมูลไ​ ด้อ​ ย่าง​รวดเร็ว เพราะ​ไม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​เข้าถ​ ึงฐ​ าน​ข้อมูล​ ขนาด​ใหญ่​เหมือน​กับ​วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​บาง​วิธี ข้อ​จำ�กัด ของ​วิธีก​ าร​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​สมา​ร์​ตการ์ด มี​ดังนี้ 1. การ​ผลิตส​ มา​ร์​ตการ์ดจ​ ะ​มี​ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​สูงก​ ว่าบ​ ัตร​อื่น เนื่องจาก​ต้อง​มี​การ​ฝังช​ ิปค​ อมพิวเตอร์ล​ ง​ใน​ บัตร 2. ข้อมูลใ​ น​สมา​ร์​ตการ์ด​สามารถ​ถูก​ทำ�ลาย​โดย​ไวรัส​คอมพิวเตอร์​หรือ​กระแส​แม่​เหล็ก​ไฟฟ้า​ได้ 3. กรณีท​ ี่​ใช้​สมา​ร์​ตการ์ด​ชนิด​ที่​มีก​ าร​สัมผัส ต้อง​ลงทุน​ซื้อ​เครื่อง​อ่าน​สมา​ร์​ตการ์ด​เพิ่ม​ด้วย 4. ค่าใ​ ช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​จะ​สูง​กว่าก​ าร​ใช้​บัตร​อื่นๆ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.5 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.5 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.5

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.2.6 ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่

ธ ส

ใน​อดีต​ธนาคาร​เคย​ใช้​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​หรือ​โอน​เงิน​ผ่าน​ระบบ​โทรศัพท์​แบบ​ใช้​สาย ต่อ​มา​ได้​มี​ การ​พัฒนา​ตาม​เทคโนโลยี​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป เนื่องจาก​ปัจจุบัน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่ หรือ​โมบาย​ดี​ไวซ์ (mobile device) ซึ่ง​ได้แก่ พีด​ ี​เอ (Personal Digital Assistant - PDA) โทรศัพท์​เคลื่อนที่ (mobile phone) เครื่อง​ นำ�ทาง​ส่วน​บุคคล ​หรือพ​ เี​อ็นด​ ี (Personal Navigation Device - PND) เป็นต้น กำ�ลังเ​ป็นท​ ีน่​ ิยม​ใช้ก​ ันท​ ั่วโ​ ลก โดย​เฉพาะ​โทรศัพท์​เคลื่อนที่ ซึ่ง​อาจ​มีชื่อ​เรียก​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ไป​ตาม​เทคโนโลยี​ที่​เปลี่ยนแปลง​ตาม​ยุค​ตาม​ สมัย เช่น โทร​ศัพท์​เซล​ลู​ลาร์ (cellular phone) โทรศัพท์​มือ​ถือ (handheld phone) โทรศัพท์​อัจฉริยะ หรือ ส​ มา​ร์ตโ​ ฟน (smart phone) เป็นต้น เนื่องจาก​เป็นอ​ ุปกรณ์ท​ ีไ่​ ม่ไ​ ด้ม​ ไี​ ว้เ​พียง​ติดต่อส​ ื่อสาร​พุดค​ ุยก​ ันเ​ท่านั้น แต่​ ยังส​ ามารถ​ใช้ใ​ น​การ​รับส​ ่งข​ ้อมูล ข้อความ อีเมล เข้าถ​ ึงเ​ว็บไซต์ ถ่าย​ภาพ ถ่าย​วีดทิ​ ัศน์ จัดการ​ข้อมูลส​ ่วน​บุคคล (personal organizer) และ​ที่​สำ�คัญค​ ือ ใช้​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ทางการ​เงิน​ได้​อีก​ด้วย ช่วย​ให้การ​ซื้อ​ขาย​สินค้า​ และ/หรือ​บริการ​สามารถ​เกิด​ขึ้น​ได้​ทุกหน​ทุก​แห่ง และ​ทุก​เวลา​ที่​ต้องการ ทั้งนี้ เพราะ​อุปกรณ์​ดัง​กล่าว​ได้​รับ​ การ​พัฒนา​โดย​มี​การนำ�​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​มา​ประยุกต์​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ทำ�ให้​มี​ขีด​ความ​สามารถ​ใน​การ​ทำ�งาน และ​มี​ฟังก์ชัน​ที่​รองรับ​ความ​ต้องการ​ที่​หลาก​หลาย​ของ​ผู้​ใช้ ใน​ขณะ​เดียวกัน รูป​ลักษณ์​ภายนอก​ก็ได้​รับ​การ​ ออกแบบ​ให้​เหมาะ​แก่​การ​พก​ติดตัว​ไป​ใช้​ตาม​ที่ต​ ่างๆ ด้วย​ขนาด​เล็ก น้ำ�​หนัก​เบา กัน​น้ำ� ทำ�ให้​ง่าย​และ​สะดวก​ ต่อ​การ​พก​พาห​รือ​นำ�​ติดตัว​ไป​ใช้ได้​ใน​ทุก​สถาน​ที่

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-61

ธ ส

สำ�หรับ​ประเทศไทย ธนาคาร​ที่​ให้​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่ หรือโม​บาย​เพย์​เมน​ต์ (mobile payment) ได้แก่ ธนาคาร​กรุง​ไทย ภาย​ใต้​ชื่อ​บริการ “​เค​ที​บี เอ็ม-เพย์​เมน​ต์ (KTB M-Payment) ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.22 ธนาคาร​ไทย​พาณิชย์ ภาย​ใต้​ชื่อ​บริการ “เอส​ซีบี อีซี เอ็ม-เพย์”(SCB Easy M-Pay) และ​ธนาคาร​กสิกร​ไทย ภาย​ใต้ช​ ื่อ​บริการ “โมบาย เพย์​เมน​ต์ คลับ บาย เค​แบงค์” (Mobile Payment Club by KBANK) ดังแ​ สดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.23

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.22 บริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์​ของ​ธนาคาร​กรุง​ไทย

ที่มา: https://www.ktb.co.th/MPC/mpc/th_mpc_about.htm ค้นค​ ืน​วัน​ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.23 บริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์​ของ​ธนาคาร​กสิกร​ไทย​

ธ ส

ม ม

ธ ส

ที่มา: http://www.kasikornbank.com/en/personal/otherproducts/kmoneytransfer/domesticfundstransfers/transfertokbankaccount/pages/kmobile.aspx ค้นค​ ืน​วันท​ ี่ 10 กุมภาพันธ์ 2554


6-62

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

1. แนวคิดเ​กี่ยว​กับ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่ บาง​ครั้ง​เรียก​สั้นๆ ว่า “ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​เคลื่อนที่ หรือ​โม​บาย ​เพย์​เมน​ต์” (mobile payment) เป็นร​ ะบบ​ที่​ได้ร​ ับ​การ​พัฒนา​ขึ้น​โดย​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​ธนาคาร​กับร​ ้าน​ค้า​ ผูป​้ ระกอบ​การ เพือ่ เ​ป็นท​ าง​เลือก​ใหม่แ​ ละ​อ�ำ นวย​ความ​สะดวก​รวดเร็วใ​ ห้แ​ ก่ผ​ บู​้ ริโภค​ใน​การ​ช�ำ ระ​คา่ ส​ นิ ค้าแ​ ละ/ หรือ​บริการ โดย​ไม่​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ชำ�ระ​เงิน โอน​เงิน หรือ​เข้า​แถว​คอย​เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​ตนเอง ทำ�ให้​ประหยัด​ เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เดิน​ทาง ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์เ​คลื่อนที่เ​กิด​ขึ้น​ครั้ง​แรก​ใน​ปี ค.ศ. 1997 โดย​เริ่ม​จาก​บริษัท โค​คา​โค​ล่า​ ติดต​ ั้งเ​ครื่อง​จำ�หน่าย​น้ำ�​อัดลม​ทีส่​ ามารถ​รับช​ ำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบข้อความสั้น หรือเ​อส​เอ็มเ​อส (Short Message System - SMS) ใน​ประเทศ​ฟินแลนด์ ต่อ​มา​ธนาคาร​เม​ริ​ทา​แห่งฟ​ ินแลนด์ (Merita Bank of Finland) จึงไ​ ด้​ เปิด​ให้​บริการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​เอส​เอ็มเ​อ​สแ​ ก่​ลูกค้า​ธนาคาร​เป็น​ครั้ง​แรก และ​ใน​ปี ค.ศ. 1998 บริษัท เรดิ​โอ​ ลิน​จา (Radiolinja) ได้​เปิด​ให้​บริการ​ดาวน์โหลด​เสียง​เรียก​เข้า​ของ​โทรศัพท์ให้​แก่​ลูกค้า ซึ่ง​ทำ�ให้​การ​จำ�หน่าย​ เนื้อหา​ใน​รูป​แบบ​ดิจิทัล​ผ่าน​โทรศัพท์​เคลื่อนที่เ​กิด​ขึ้น​ตาม​มา​ด้วย ปัจจุบัน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ถูก​ใช้​อย่าง​แพร่​หลาย​ทั้ง​ใน​ยุโรป อเมริกา และ​เอเชีย เพราะ​ปกติ​แทบ​ทุกค​ น​มี​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ใช้​ใน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร​ระหว่าง​กัน​และ​กัน​อยู่​แล้ว การ​ใช้​โทรศัพท์​ เคลื่อนที่ใ​ น​การ​ชำ�ระ​เงินจ​ ึง​เป็นการ​ใช้​ประโยชน์จ​ าก​อุปกรณ์ท​ ี่​มี​อยู่​แล้วใ​ ห้​คุ้ม​ค่า​มาก​ยิ่ง​ขึ้น จาก​งาน​วิจัยข​ อง​ บริษัท​ จู​นิ​เปอร์​รีเสิร์ช (Juniper Research) ที่​เมือง​แฮม​พ์​เชียร์ (Hampshire) ประเทศ​อังกฤษ ซึ่ง​เป็น​บริษัท ​ผู้​เชี่ยวชาญ​ใน​ด้าน​การ​วิเคราะห์​เกี่ยว​กับ​การ​ใช้​และ​แนว​โน้ม​การ​ขยาย​ตัว​ของ​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ทั่ว​โลก ได้​คาด​การณ์​ว่า​ใน​ปี ค.ศ. 2013 การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่​ทุก​ประเภท​จะ​ขยาย​ตัว​มากกว่า 600 พัน​ล้าน​ดอลลาร์​สหรัฐ โดย​ผู้​บริโภค​จะ​หัน​มา​ใช้​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่​เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​ ทั้ง​ที่​เป็นส​ ินค้า​ดิจิทัล เช่น เพลง วิ​ดีท​ ัศน์ เกม และ​สินค้า​ทั่วไป เช่น หนังสือ วารสาร เครื่อง​ใช้​ไฟฟ้า เสื้อผ้า รวม​ทั้ง​การ​ชำ�ระ​ค่า​บัตร​โดยสาร​พาหนะ​ขนส่ง​มวลชน เช่น รถ​โดยสาร​ประจำ�​ทาง รถไฟ​ลอยฟ้า และ​รถไฟฟ้า​ ใต้ดิน เป็นต้น สำ�หรับ​แบบ​จำ�ลอง​ที่น​ ิยม​ใช้​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่​มี​ด้วย​กัน 4 แบบ คือ 1.1 พรีเมีย่ ม​เอส​เอ็มเ​อส (premium SMS) เป็นแ​ บบ​จำ�ลอง​การ​ชำ�ระ​เงินท​ ถี่​ ูกน​ ำ�​มา​ใช้เ​ป็นช​ ่อง​ทางการ​ ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ทาง​โทรศัพท์ม​ ือถ​ ือโ​ ดย​การ​ใช้บ​ ริการ​ส่งข​ ้อความ​สั้น หรือเ​อส​เอ็มเ​อส (Short Message ServiceSMS) ที่​ช่วย​ให้​ธุรกิจ​ดำ�เนิน​การ​ได้​อย่าง​คล่อง​ตัว สะดวก และ​รวดเร็ว แบบ​จำ�ลอง​นี้​นิยม​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​ซื้อ​ บริการ​ประเภท​การ​เข้า​ถึงเ​นื้อหา หรือ​ดาวน์โหลด​เพลง ภาพ เกม จาก​เว็บไซต์ ใน​การ​ซื้อ​และ​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​เริ่ม​จาก​ลูกค้า​หรือ​ผู้​ใช้​บริการ​ส่ง​เอส​เอ็ม​เอส​เลือก​ สินค้า​และ/หรือ​บริการ​โดย​พิมพ์​รหัส​ร้าน​ค้า และ​รหัส​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ตาม​ที่​ร้าน​ค้า​แจ้ง​ไว้ จาก​นั้น​ส่ง​ ไป​ยัง​หมายเลข​ที่​กำ�หนด ซึ่ง​หมายเลข​ดัง​กล่าว​เป็น​หมายเลข​ของ​ผู้​ให้​บริการ​เครือ​ข่าย เช่น ดี​แทค (DTAC) ใช้​หมายเลข 1989899 เอ​ไอ​เอส (AIS) ใช้​หมายเลข 82669 เป็นต้น จาก​นั้น​ผู้​ใช้​บริการ​จะ​ได้​รับ​โทรศัพท์​ อัตโนมัตจ​ิ าก​ธนาคาร​เพือ่ ใ​ ห้ป​ อ้ น​หมายเลข​ประจำ�​ตวั เคลือ่ นที่ หรือเ​อ็มพิน (Mobile Personal Identification Number - MPIN) ที่​ได้​มา​จาก​การ​สมัคร​ใช้​บริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์ เมื่อ​การ​ชำ�ระ​เงิน​เสร็จ​สมบูรณ์ ผู้​ใช้​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-63

ธ ส

บริการ​จะ​ได้​รับ​เอส​เอ็ม​เอส​แจ้ง​ผล​การ​ชำ�ระ​เงิน​พร้อม​ค่า​ธรรมเนียม​และ​รหัส​อนุมัติ (approval code) เพื่อ​ ใช้เ​ป็นห​ มายเลข​อ้างอิงก​ าร​ทำ�​รายการ​ชำ�ระ​เงินด​ ังก​ ล่าว จำ�นวน​เงินท​ ีช่​ ำ�ระ​จะ​ปรากฏ​ใน​ใบ​แจ้งห​ นีข้​ อง​เครือข​ ่าย​ โทรศัพท์ ใน​กรณี​ที่​เป็น​ระบบ​โทรศัพท์แ​ บบ​เติม​เงิน​ระบบ​จะ​หักค​ ่า​บริการ​ทันที สำ�หรับ​พรีเมี่ยม​เอส​เอ็ม​เอส​จะ​แตก​ต่าง​จาก​เอส​เอ็ม​เอส​ทั่วไป ตรง​ที่​มี​การ​แจ้ง​สถานะ​กลับ​มายัง​ผู้​ส่ง​ กรณี​ที่ข​ ้อความ​นั้นไ​ ม่ถ​ ึงผ​ ู้รับ เพื่อ​ให้ท​ ราบ​ว่าข​ ้อความ​ที่ส​ ่งไ​ ป​และ​ไม่ไ​ ด้ร​ ับน​ ั้นเ​กิด​จาก​ผู้รับป​ ิดเ​ครื่อง​โทรศัพท์​ ปลาย​ทาง หรือ​อยู่น​ อก​เขต​สัญญา​ณให้บ​ ริการ หรือ​ไม่มี​พื้นที่​เหลือ​เพราะ​ข้อความ​ใน​โทรศัพท์​ของ​ผู้รับ​เต็ม ใน​ส่วน​ของ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย แม้ว่า​ผู้​ซื้อ​จะ​ทำ�​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​หาย​และ​มี​ผู้​อื่น​เก็บ​ได้​ก็​ไม่​ สามารถ​นำ�​ไป​ใช้​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ได้ เพราะ​จะ​ต้อง​มี​การ​ยืนยัน​รหัส​ผ่าน​เพื่อ​ยืนยัน​การ​สั่ง​ซื้อ​ สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ทุก​ครั้ง 1.2 ได​เร็ก​โมบาย​บิล​ลิ่ง (direct mobile billing) เป็นแ​ บบ​จำ�ลอง​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ทำ�​ผ่าน​เว็บเพจ​ของ​ ผู้​ขาย ซึ่ง​ผู้​ขาย​จะ​ใช้​เป็น​ทาง​เลือก​ใหม่​สำ�หรับ​ให้​ลูกค้า​ที่​นิยม​ซื้อ​สินค้า​ดิจิทัลเพื่อ​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน โดย​ ผู้​ซื้อ​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ไป​พร้อมๆ กับ​ขณะ​ที่​กำ�ลังร​ ับ​หรือ​ดาวน์โหลด​สินค้า เช่น เพลง เกม ซอฟต์แวร์ เป็นต้น ​ที่ซ​ ื้อ​ได้ใน​ส่วน​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน เริ่มจ​ าก​ผู้ซ​ ื้อ​เลือก​วิธี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ดัง​กล่าว​จาก​หน้า​เว็บ และ​ป้อน​ข้อมูล​รหัส​ ประจำ�​ตัว (Personal Identification Number - PIN) และ​รหัส​ผ่าน (password) ที่​ได้​รับ​จาก​การ​สมัคร​ กับ​บริษัทผ​ ู้​ให้​บริการ​ระบบ​การ​เรียก​เก็บ​เงิน ข้อมูล​ดัง​กล่าว​ใช้​เพื่อ​ยืนยัน​หรือ​รับรอง​ตนเอง สำ�หรับ​ระบบ​ได​ เร็ก​โมบาย​บิล​ลิ่งน​ ี้​จะ​มี​การ​เชื่อม​ต่อ​โดยตรง​กับ​ผู้ใ​ ห้​บริการ​ระบบ​การ​เรียก​เก็บ​เงิน​อยู่​แล้ว ดัง​นั้น เงิน​ใน​บัญชี​ ของ​ผู้​ซื้อ​จะ​ถูก​โอน​เพื่อ​เป็น​ค่า​สินค้า​และ/หรือบ​ ริการ​ให้​แก่​บัญชี​ของ​ผู้​ขาย​โดยตรง โดย​ไม่​ต้อง​ผ่าน​ธนาคาร​ และ​บริษัท​บัตร​เครดิต 1.3 โมบาย​เว็บเ​พย์เ​มน​ต์ (mobile web payment) เป็น​แบบ​จำ�ลอง​ที่​พัฒนา​ขึ้น​มา​เนื่องจาก​โทรศัพท์​ เคลื่อนที่​นั้น​มี​ข้อ​จำ�กัด​ใน​ด้าน​การ​ป้อน​ข้อมูล​เข้า​และ​การ​แสดง​ผล ดัง​นั้น เพื่อ​ให้​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​มี​ความ​ สามารถ​ใน​การ​ใช้​งาน​กับ​อินเทอร์เน็ต​ได้​มาก​ขึ้น จึง​ได้​มี​การ​พัฒนา​โพร​โท​คอล​ระบบ​งาน​ประยุกต์​ไร้​สาย หรือ​ แว็บ (Wireless Application Protocol - WAP) ซึ่ง​เป็น​มาตรฐาน​สากล ที่​เกิด​จาก​ความ​ร่วม​มือ​ของ​บริษัท​ ผู้​ผลิต​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ใน​การนำ�​ความ​สามารถ​ต่างๆ ของ​ระบบ​งาน​ประยุกต์​ไร้​สาย (wireless application) และ​ความ​สามารถ​ของ​อินเทอร์เน็ต​มา​ประยุกต์​เข้า​ด้วย​กัน เพื่อ​ให้​ผู้​ใช้​สามารถ​ใช้​ระบบ​อินเทอร์เน็ต​ ผ่าน​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ได้​เช่น​เดียว​กับ​การ​ใช้​งาน​ผ่าน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ ซึ่ง​แว็​บนั้น​ไม่​ต้องการซีพียู​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ​สูง ไม่ต​ ้องการ​หน่วย​ความ​จำ�​มาก และ​ไม่​ต้องการ​แหล่ง​พลังงาน​มาก​ด้วย​เช่น​กัน ปัจจุบันแ​ ว็บ​ ได้น​ ำ�​มา​ใช้​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้าแ​ ละ/หรือ​บริการ โดย​ผู้​ซื้อ​ต้อง​ติด​ตั้ง​ซอฟต์แวร์​เฉพาะ​สำ�หรับ​ การ​ชำ�ระ​เงิน​ลง​ใน​โทรศัพท์​ของ​ตนเอง และ​เปิด​บัญชี​ที่​มี​ระบบ​ไอ​พี​เอส (Intrusion Prevention SystemIPS) ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​เว็บไซต์​ที่​ให้​บริการ​แว็บ โดย​ไอ​พี​เอ​ส​เป็น​ระบบ​ที่​คอย​ตรวจ​จับ​การ​บุกรุก​ของ​ผู้​ที่​ ไม่​ประสงค์​ดี รวม​ไป​ถึงข​ ้อมูล​จำ�พวก​ไวรัส สามารถ​วิเคราะห์ข​ ้อมูล​ทั้งหมด​ที่​ผ่าน​เข้า​ออก​ภายใน​เครือ​ข่าย​ว่า​ มี​ลักษณะ​การ​ทำ�งาน​ที่​เป็น​ความ​เสี่ยง​ที่​อาจ​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เสีย​หาย​ต่อ​ระบบ​เครือ​ข่าย​หรือ​ไม่ เมื่อ​ตรวจ​พบ​ ข้อมูล​ที่​มี​ลักษณะ​การ​ทำ�งาน​ที่​เป็น​ความ​เสี่ยง​ต่อ​ระบบ​เครือ​ข่าย​ก็​จะ​ทำ�การ​ป้องกัน​ข้อมูล​ดัง​กล่าว​นั้น​ไม่​ให้​ เข้า​มา​ภายใน​เครือ​ข่าย​ได้ เมื่อ​ลูกค้า​ซื้อ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ก็​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​งาน​ประยุกต์​ใน​ โทรศัพท์​เคลื่อนที่โ​ ดย​ระบบ​จะ​หัก​เงินจ​ าก​บัญชีท​ ี่​เปิด​ไว้​กับ​ธนาคาร​โอน​ไป​ยัง​บัญชี​ของ​ผู้​ขาย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-64

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

1.4 คอน​แท็กเลส​เนียร์ฟ​ ลิ ด์ค​ อม​มนู เ​ิ ค​ชนั (contactless near field communication) เป็นแ​ บบ​จำ�ลอง​ ที่​นำ�​เทคโนโลยี​แบบ​ไร้​สัมผัส (contactless) หรือ​เทคโนโลยี​คลื่น​ความถี่วิทยุ​เพื่อ​ระบุ​ลักษณะ​เฉพาะ หรือ อ​ าร์เ​อฟ​ไอ​ดี (Radio Frequency Identification - RFID) มา​ประยุกต์ก​ ับก​ าร​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​โทรศัพท์เ​คลื่อนที่ ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​นี้​ไม่​ต้อง​เรียก​ระบบ​งาน​ใดๆ ขึ้น​มา​แสดง​ผล​บน​หน้า​จอ​โทรศัพท์​ของ​ผู้​ซื้อ โดย​ผู้​ซื้อ​เพียง​ ติดต​ ั้งส​ มา​รต์​ การ์ด​ ลง​ใน​โทรศัพท์เ​คลื่อนทีก่​ ่อน​กส็​ ามารถ​ใช้ง​ าน​ได้ท​ ันที และ​ทุกค​ รั้งเ​มื่อต​ ้องการ​ชำ�ระ​ค่าส​ ินค้า​ และ/หรือบ​ ริการ ก็เ​พียง​นำ�​โทรศัพท์​เข้า​ไป​ใกล้ๆ กับ​เครื่อง​อ่าน​บัตร ซึ่ง​ผู้​ซื้อ​ไม่​ต้อง​ป้อน​ข้อมูล​รหัส​ประจำ�​ตัว​ และ​รหัสผ​ ่าน​เพื่อร​ ะบุต​ ัวต​ น ทำ�ให้ก​ าร​ชำ�ระ​เงินส​ ามารถ​ทำ�ได้ร​ วดเร็วแ​ ละ​สะดวก​มาก​ขึ้น แบบ​จำ�ลอง​นี้น​ ิยม​ใช้​ ใน​การ​ซื้อ​และ​ชำ�ระ​ค่า​สินค้า​ทั่วไป​ที่ไ​ ม่ใช่​สินค้า​ดิจิทัล และ​ใช้​ชำ�ระ​ค่า​บริการ​รถ​โดยสาร​ขนส่ง​มวลชน เช่น รถ​ โดยสาร​ประจำ�​ทาง รถไฟฟ้า​ใต้ดิน รถไฟ​ลอยฟ้า เป็นต้น ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.24

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.24 การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์​สำ�หรับค​ ่า​บัตร​โดยสาร​รถไฟฟ้าใ​ ต้ดิน

ธ ส

ที่มา: http://www.mobilewhack.com/o2-announces-o2-wallet-mobile-payment-solution-with-nokia-6131-nfc-handset/ ค้น​คืน​วัน​ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554

ธ ส

สำ�หรับ​ประเทศไทย บริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์​ที่​ส่วน​มาก​นิยม​ใช้​ใน​ขณะ​นี้​คือ การ​ซื้อ​สินค้า/บริการ​ และ​การ​ชำ�ระ​ค่า​สาธารณูปโภค​โดย​ใช้​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ผ่าน​เอส​เอ็ม​เอส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-65

ธ ส

2. ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่

สำ�หรับ​ขั้น​ตอน​การ​ประมวล​ผล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่ ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.25

ธ ส

ผู้ซื้อ

6. จัดส่งสินค้า

ธ ส

2. สั่งซื้อสินค้าผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่

1. ลงทะเบียนและรับรหัส ประจำ�ตัวและรหัสผ่าน

8. ชำ�ระเงิน ตาม ใบแจ้งยอด

7. ส่งใบแจ้งยอด รายการ ใบกำ�กับภาษี

ธ ส

3. ส่งข้อมูล การสั่งซื้อ และรหัส ที่ป้อน

ม ผู้ขาย

4. ส่งข้อมูลผู้ซื้อและการสั่งซื้อ สินค้าและรับข้อมูลการอนุมัติวงเงิน

ธ ส

9. แบ่งปันรายได้จากค่าธรรมเนียม

ธนาคารผู้ซื้อ

ผู้ให้บริการโมบายเพย์เมนต์

ภาพ​ที่ 6.25 ขั้นต​ อน​การ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์

ธ ส

9. แบ่งปัน รายได้ จาก ค่าธรรมเนียม

5. ส่งข้อมูล การยืนยันตัวตน ผู้ซื้อและวงเงิน อนุมัติ

ธ ส

ธ ส

จาก​ภาพ​ที่ 6.25 แสดง​ขั้น​ตอน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์ ซึ่ง​มี​ราย​ละเอียด​ดังนี้ 2.1 ผู้​ซื้อ​ลง​ทะเบียน​ขอ​ใช้​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​โทรศัพท์เ​คลื่อนที่จ​ าก​ผู้​ให้​บริการ​รับ​ชำ�ระ​เงิน ซึ่ง​ อาจ​เป็นธ​ นาคาร บริษัทผ​ ูใ้​ ห้บ​ ริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์ หลังจ​ าก​ลง​ทะเบียน​เสร็จเ​รียบร้อย​แล้ว ผูซ้​ ื้อจ​ ะ​ได้ร​ ับร​ หัส​ ประจำ�​ตัว​และ​รหัส​ผ่าน​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์ 2.2 เมื่อ​ผู้​ซื้อ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​จาก​ผู้​ขาย​โดย​เลือก​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์ ผู้​ขาย​จะ​ให้​ผู้​ซื้อ​ป้อน​รหัส​ประจำ�​ตัว​และ​รหัส​ผ่าน 2.3 ผู้​ขาย​จะ​ส่ง​ข้อมูลก​ าร​สั่งซ​ ื้อ​และ​ข้อมูลร​ หัส​ที่​ป้อน​ไป​ยัง​ผู้​ให้บ​ ริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์ เพื่อ​ขอ​การ​ ยืนยัน​ว่า​เป็น​ผู้​ซื้อ​ที่​ได้​ลง​ทะเบียน​ใช้​บริการโม​บาย​เพย์​เมน​ต์​จริง ผู้​ให้​บริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์​จะ​ตรวจ​สอบ​ ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูล​รหัส​ที่​ส่ง​มา กรณีท​ ี่​ไม่​ถูก​ต้อง​จะ​รีบ​แจ้ง​กลับ​ไป​ยัง​ผู้​ขาย​ทันที

ธ ส


6-66

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

2.4 ใน​กรณีท​ ีถ่​ ูกต​ ้อง​ผูใ​้ ห้บ​ ริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ตจ์​ ะ​ส่งข​ ้อมูลข​ อง​ผูซ้​ ื้อไ​ ป​ยังธ​ นาคาร​ทีผ่​ ูซ้​ ื้อเ​ปิดบ​ ัญชี​ ไว้ เพื่อ​แจ้ง​การ​ซื้อ​สินค้า​ของ​ผู้​ซื้อ​ให้​ธนาคาร​ทราบ ซึ่ง​ธนาคาร​จะ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล​เพื่อ​อนุมัติ​วงเงิน​และ​แจ้ง​ กลับ​ผู้​ให้บ​ ริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์​ทราบ 2.5 จาก​นั้นผ​ ู้ใ​ ห้บ​ ริการ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์จ​ ะ​ส่งข​ ้อมูลก​ าร​ยืนยันต​ ัวต​ น​ของ​ผู้ซ​ ื้อแ​ ละ​วงเงินอ​ นุมัติจ​ าก​ ธนาคาร​กลับ​ไป​ยัง​ผู้ข​ าย 2.6 ผู้​ขาย​จัด​ส่ง​สินค้า​ให้​แก่​ผู้ซ​ ื้อ 2.7 ทุก​สิ้น​เดือน​หรือ​ครบ​รอบ​บัญชี​ธนาคาร​จะ​ส่ง​ใบ​แจ้ง​ยอด​รายการ/ใบ​กำ�กับ​ภาษี​ให้​แก่​ผู้​ซื้อ​เพื่อ​ แจ้ง​ยอด​เงิน​ที่​ธนาคาร​หัก​จาก​บัญชีข​ อง​ผู้ซ​ ื้อ 2.8 ผู้​ซื้อ​ชำ�ระ​เงิน​ตาม​ใบ​แจ้ง​ยอด​รายการ​ที่​ได้​รับจ​ าก​ธนาคาร 2.9 ธนาคาร ผู้​บริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์​ และ​ผู้​ขาย​แบ่งป​ ัน​ราย​ได้​จาก​ค่า​ธรรมเนียม​ตาม​ข้อ​ตกลง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ข้อดี​และ​ข้อจ​ ำ�กัดข​ อง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์​เคลื่อนที่

ข้อดี ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์เ​คลื่อนที่ มี​ดังนี้ 1. ผู้​ซื้อ​ได้​รับ​ความ​สะดวก​สบาย​และ​รวดเร็ว​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ได้​ทุก​ที่​ทุก​เวลา เพราะ​ปกติ​ก็​พก​พา​ โทรศัพท์​เคลื่อนที่อ​ ยู่เ​ป็น​ประจำ� 2. ช่วย​ให้​ผู้​ซื้อ​ประหยัด​เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​เมื่อ​เปรียบ​เทียบ​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ ดั้งเดิม 3. เป็นการ​ใช้​ประโยชน์​จาก​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ที่​ผู้​ซื้อ​มี​อยู่​แล้ว​อย่าง​คุ้ม​ค่า 4. ง่าย​ต่อ​ผู้ซ​ ื้อใ​ น​การ​ดำ�เนิน​การ​ชำ�ระ​เงิน​เพราะ​มี​ขั้น​ตอน​ที่​ไม่​ยุ่ง​ยาก 5. ผู้ซ​ ื้อ​ไม่จ​ ำ�เป็น​ต้อง​ลงทุน​ซื้อเ​ครื่อง​คอมพิวเตอร์​ก็​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ออนไลน์​ได้ 6. ผู้ข​ าย​ใช้​เป็น​ช่อง​ทางใน​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​ผู้​ซื้อ​สามารถ​เลือก​ได้​เพิ่ม​มาก​ขึ้น ข้อ​จำ�กัด ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​อุปกรณ์เ​คลื่อนที่ มี​ดังนี้ 1. ผู้​ซื้อ​อาจ​ต้อง​จ่าย​เงิน​เพิ่ม​ขึ้น​เพื่อ​อัพเกรด (upgrade) โทรศัพท์​เคลื่อนที่ หรือ​ซื้อ​โทรศัพท์​ที่​มี​ ความ​สามารถ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​โม​บาย​เพย์เ​มน​ต์​ได้ 2. ค่าบ​ ริการ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์​ยัง​มี​ราคา​สูง​กว่า​การ​ชำ�ระ​เงิน​โดย​วิธี​อื่น 3. การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ข้อมูล​ยัง​ไม่​น่า​เชื่อ​ถือ เพราะ​ผู้​ใช้​บริการ​ไม่​สามารถ​แน่ใจ​ได้​ว่า​ข้อมูล​ที่​​ ส่ง​ไป​ระหว่าง​ที่​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​ผู้ใ​ ห้บ​ ริการ​จะ​ไม่​ถูกน​ ำ�​ไป​ใช้​ใน​ทาง​ที่ไ​ ม่​เหมาะ​สม 4. ใน​บาง​ประเทศ​ยังไ​ ม่มี​กฎหมาย​รองรับก​ าร​ชำ�ระ​แบบ​โม​บาย​เพย์​เมน​ต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.2.6 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.2.6 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.2 เรื่อง​ที่ 6.2.6

ธ ส


ตอน​ที่ 6.3

ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-67

ธ ส

ภัย​คุกคาม การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 6.3 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

เรื่อง​ที่ 6.3.1 ภัย​คุกคาม​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.3.2 การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง​ที่ 6.3.3 ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย

ธ ส

ธ ส

1. ภัย​คุกคาม​ใน​ระบบ​ภัย​คุกคาม​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​มี​ด้วย​กัน​ มากมาย​หลาก​หลาย​รูป​แบบ ได้แก่ การ​ลักลอบ​ดัก​จับ​ข้อมูล​ระหว่าง​ที่​มี​การ​ทำ�​ธุรกรรม การ​จู่โจม​ร้าน​ค้าอ​ อนไลน์เ​พื่อเ​ข้าถ​ ึงฐ​ าน​ข้อมูลล​ ูกค้า การ​เปิดร​ ้าน​ค้าอ​ อนไลน์ห​ รือเ​ว็บไซต์​ ปลอม การ​หลอก​ลวง​โดย​การ​ส่งอ​ ีเมล การ​บุกรุกใ​ ช้เ​ครื่อง​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ผูอ้​ ื่นเ​พื่อข​ โมย​ ข้อมูล​ราย​ละเอียด​บัตร​เครดิต การ​พัฒนา​วิธี​การ​ที่​จะ​ทำ�ให้​ได้​สินค้า/บริการ​โดย​ไม่​ต้อง​ ชำ�ระ​เงิน การ​ปลอม​แปลง​คำ�​แนะนำ�​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน นอกจาก​นี้​แล้ว ยัง​มี​ภัย​คุกคาม​ที่​เกิด​ จาก​การ​ฉ้อโกง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ผ​ ่าน​บัตร​เครดิต ซึ่งก​ ็ม​ ีด​ ้วย​กันห​ ลาก​หลาย​ รูป​แบบ คือ การ​ขโมย​บัตร การ​ยึด​ครอง​บัญชี​บัตร การ​ไม่​ปรากฏ​ตัว​ของ​ผู้​ถือ​บัตร การ​ทำ�​ บัตร​ปลอม การ​คัดล​ อก​ข้อมูลจ​ าก​บัตร​เครดิต การ​ใช้​บัตร​พลาสติก 2. การ​รักษา​ความ​ปลอดภัยใ​ น​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ับว​ ่าเ​ป็นส​ ิ่งส​ ำ�คัญท​ ี่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ มี ทั้งนี้ เพื่อส​ ร้าง​ความ​มั่นใจ​ให้แ​ ก่ท​ ั้งผ​ ูข้​ าย​และ​ผูซ้​ ื้อใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ร่วม​กัน ซึ่งป​ ระกอบ​ ด้วย​องค์ป​ ระกอบ​ที่​สำ�คัญค​ ือ ความ​ถูกต​ ้อง​ครบ​ถ้วน​และ​การ​อนุมัติ ความ​สามารถ​ใน​การ​ รักษา​ความ​ลับ ความ​พร้อม​ใช้​และ​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ ฮาร์ดแวร์​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ การ​เข้า​รหัส การ​ ใช้​โพร​โท​คอล​จัดการ​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล และ​นอกจาก​นี้ ยัง​ต้อง​มี​การ​ใช้​ เครื่อง​มือ​เพื่อ​ช่วย​ใน​การ​ป้องกัน​และ​ติดตาม​การ​ฉ้อโกง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ บาง​ระบบ​ด้วย รวม​ทั้งก​ ำ�หนด​มาตรการ​ป้องกันเ​พื่อล​ ด​ความ​เสี่ยง​ของ​ภัยค​ ุกคาม​ใน​ระบบ​ ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ขึ้น​มา​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-68

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

3. ผลก​ระ​ทบ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย​สามารถ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ ปริมาณ​เงินใ​ น​ระบบ​และ​ผล​ประโยชน์ข​ อง​รฐั จ​ าก​สทิ ธิใ​ น​การ​ออก​เงินต​ รา รวม​ทัง้ ผ​ ลก​ระ​ทบ ​ต่อ​การ​ฟอก​เงิน ส่วน​ทิศทาง​ความ​ร่วม​มือ​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ ใน​ประเทศไทย​นั้น ปัจจุบันธ​ นาคาร​แห่งป​ ระเทศไทย​ได้เ​ล็งเ​ห็นค​ วาม​จำ�เป็นใ​ น​การ​พัฒนา​ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​รองรับ​แนว​โน้ม​ของ​การ​เปลี่ยนแปลง​ด้าน​เทคโนโลยี จึง​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​สื่อ​อิเล็กทรอนิกส์ โดย​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย​ ได้​พัฒนา​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ดัง​กล่าว​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม และ​สร้าง​ความ​ ร่วม​มือ​กับส​ ถาบัน​การ​เงิน​ต่างๆ และ​กำ�หนด​ให้​มี​การ​จัด​ตั้ง​คณะ​กรรมการ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน เพื่อว​ าง​นโยบาย​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ประเทศ กำ�หนด​แผน​กลยุทธ์ และ​ผลักด​ ันใ​ ห้บ​ รรลุ​ เป้า​หมาย​ตาม​ที่​วาง​ไว้

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 6.3 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. อธิบาย​ภัย​คุกคาม​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 2. อธิบาย​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ได้ 3. บอก​ผลก​ระ​ทบ​และ​ทิศทาง​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย​ได้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.3.1 ภัย​คุกคาม​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

6-69

ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เป็น​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต ซึ่ง​มี​ข้อ​ที่​ควร​ต้อง​ ระมัดระวังแ​ ละ​ให้ค​ วาม​สนใจ​คือ ภัยค​ ุกคาม​ทีเ่​กิดข​ ึ้นใ​ น​โลก​ออนไลน์ เนื่องจาก​ภัยค​ ุกคาม​ต่างๆ มีผ​ ล​เสียห​ าย​ และ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​อย่าง​มาก​ต่อ​ความ​เชื่อ​มั่น และ​ความ​มั่นคง​ของ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

1. รูป​แบบ​ของ​ภัย​คุกคาม​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

ภัย​คุกคาม​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​มี​ด้วย​กัน​มากมาย​หลาก​หลาย​รูป​แบบ โดย​ มี​ราย​ละเอียด​ดังนี้ 1.1 การ​ลักลอบ​ดักจ​ ับ​ข้อมูล​ระหว่าง​ที่​มี​การ​ทำ�​ธุรกรรม (trapping transaction data) การ​ซื้อ​ขาย​ สินค้า​ออนไลน์​โดย​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​เป็น​วิธี​การ​ที่​นิยม​และ​ค่อน​ข้าง​แพร่​หลาย​มาก​ที่สุด ซึ่ง​วิธี​ การ​ดัง​กล่าว​จะ​ต้อง​มี​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ซื้อ​กับ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ของ​ผู้​ขาย​ ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต จึง​ทำ�ให้​ต้อง​มี​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​และ​ป้องกัน​การ​ลักลอบ​ดัก​จับ​ข้อมูล​ที่​รับ​ส่ง​ ระหว่าง​กันแ​ ละ​กัน โดย​ส่วน​ใหญ่แ​ ล้วร​ ้าน​ค้าอ​ อนไลน์ห​ รือเ​ว็บไซต์จ​ ะ​มรี​ ะบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัยเ​พื่อป​ ้องกัน​ ผู้​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง​เข้า​ถึง​ข้อมูล​ที่​ทำ�​ธุรกรรม ผู้​ซื้อ​สามารถ​สังเกต​ได้​จาก​สัญลักษณ์​หรือ​ไอคอน​ที่​ปรากฏ​อยู่​บน​ เว็บเพจ​เพื่อ​แสดง​ให้ท​ ราบ​ว่า​เว็บ​ไซต์น​ ั้นๆ มี​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย โดย​สัญลักษณ์ท​ ี่​ใช้​เป็น​รูป​แม่กุญแจ​ ที่​ล็อค​อยู่ ดังแ​ สดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.23 สำ�หรับ​เว็บไซต์​ที่​ไม่มี​สัญลักษณ์​นี้​ปรากฏ จะ​มี​ความ​เสี่ยง​ของ​การ​ลักลอบ​ ดักจ​ ับข​ ้อมูลก​ าร​ทำ�​ธุรกรรม​ที่​รับส​ ่งร​ ะหว่าง​ผู้ซ​ ื้อแ​ ละ​ผู้​ขาย รวม​ทั้งข​ ้อมูลเ​จ้าของ​บัตร​เครดิตท​ ี่​อาจ​ถูกล​ ักลอบ​ ดักจ​ ับ​ไป​โดย​แฮกเกอร์ (hacker) หรือ​มิจฉาชีพ​ได้ ดัง​นั้น ผู้​ซื้อ​จึง​ควร​สังเกต​และ​พิจารณา​เลือก​เว็บไซต์​ที่​จะ​ ทำ�​ธุรกรรม​ด้วย ก่อน​ที่​จะ​ป้อน​ข้อมูล​สำ�คัญ​ต่างๆ ผ่าน​หน้าจ​ อ​บน​เว็บเพจ​ของ​บริษัท​ผู้​ขาย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-70

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 6.26 เว็บไซต์ท​ มี่​ ี​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย

ธ ส

ที่มา: N-CAP Users’ Guide; Everything You Need to Know About Using the Internet!, How Electronic Payment Works

1.2 การ​จโู่ จม​รา้ น​คา้ อ​ อนไลน์เ​พือ่ เ​ข้าถ​ งึ ฐ​ าน​ขอ้ มูลล​ กู ค้า (attacking a shop to access the customers database) แม้ว่า​จะ​เป็นการ​ยาก​ที่​แฮกเกอร์​จะ​ได้​ข้อมูล​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​บัตร​เครดิต​ของ​ลูกค้า แต่​ก็​มัก​ มี​ข่าว​ว่า​ข้อมูล​ของ​บัตร​เครดิต​หลาย​พัน​ใบ​ถูก​ลักลอบ​นำ�​ไป​ใช้​ใน​ทาง​ฉ้อโกง​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​อยู่​บ่อยๆ ทั้งนี้ เนือ่ งจาก​แฮกเกอร์บ​ าง​คน​มค​ี วาม​ช�ำ นาญ​ใน​การ​ลกั ลอบ​เข้าถ​ งึ ข​ อ้ มูลใ​ น​ฐาน​ขอ้ มูล และ​ใน​ขณะ​เดียวกัน เว็บไซต์​ บาง​แห่ง​ก็​ขาด​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ บริษัท​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ควร​มี​ระบบ​รักษา​ความ​ ปลอดภัยท​ ีส่​ ามารถ​สืบหา หรือต​ รวจ​พบ​การ​จู่โจม​จากแฮกเกอร์เ​พื่อแ​ จ้งเ​ตือน​และ​ป้องกันก​ าร​เข้าถ​ ึงข​ ้อมูลก​ าร​ ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​ต่างๆ ได้​ทัน​เวลา 1.3 การ​เปิดร​ ้าน​ค้า​ออนไลน์ หรือเ​ว็บไซต์ป​ ลอม (creation fakes on-line stores) เป็นภ​ ัย​คุกคาม​อีก​ รูปแ​ บบ​หนึง่ ท​ นี​่ ยิ ม​น�​ำ มา​ใช้ฉ​ อ้ โกง​ใน​ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ โดย​มกั จ​ ะ​ใช้ช​ ือ่ ย​ อ​ู าร์แ​ อล​ทคี​่ ล้ายคลึงก​ บั เ​ว็บไซต์ข​ อง​ ร้าน​คา้ ห​ รือเ​ว็บไซต์ข​ อง​บริษทั ท​ เี​่ ป็นท​ รี​่ ูจ้ กั ก​ นั ด​ ใ​ี น​กลุม่ ผ​ บู​้ ริโภค โดย​จะ​ท�​ำ เป็นล​ กั ษณะ​ของ​เว็บไซต์ท​ ขี​่ าย​สนิ ค้า/ บริการ​ทั่วไป มีหน้าจ​ อ​สำ�หรับส​ ั่งซ​ ื้อส​ ินค้าแ​ ละ​รับช​ ำ�ระ​เงินค​ ่าส​ ินค้า/บริการ โดย​ผูซ้​ ื้อต​ ้อง​ป้อน​ราย​ละเอียด​การ​ ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​หน้า​เว็บ ซึ่งข​ ้อมูล​ที่ต​ ้อง​ป้อน เช่น เลข​ที่​บัตร​เครดิต ชื่อ​เจ้าของ​บัตร​เครดิต หมายเลข​รหัส 3 ตัว​ ด้าน​หลังบ​ ัตร​เครดิต เป็นต้น และ​หลังจ​ าก​ที่ผ​ ู้ซ​ ื้อ​ป้อน​ราย​ละเอียด​แล้ว ข้อมูล​ก็​จะ​ถูก​บันทึก​และ​ถูก​นำ�​ไป​ใช้​ ใน​การ​ฉ้อโกง​ต่อ​ไป 1.4 การ​หลอก​ลวง​โดย​การ​ส่งอ​ ีเมล (deception by sending the email) เป็น​ภัย​คุกคาม​ประเภท​หนึ่ง​ ของ​การ​ตก​เหยื่อ หรือ​ที่​เรียก​ว่า “ฟิช​ชิง” (phishing) ด้วย​การ​ปลอม​แปลง​อีเมล (email spoofing) เพื่อ​ หลอก​ลวง​ให้​บุคคล​ต่างๆ ป้อน​ข้อมูล​ส่วน​ตัวแ​ ละ​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับบ​ ัตร​เครดิต โดย​อ้าง​ว่าเป็น​สถาบัน​การ​ เงินท​ ี่อ​ อก​บัตร​หรือบ​ ริษัทท​ ี่ล​ ูกค้าเ​คย​ทำ�​ธุรกรรม​ด้วย และ​ให้เ​หตุผล​ว่าเ​พื่อเ​ป็นการ​ปรับปรุงข​ ้อมูลใ​ ห้ท​ ันส​ มัย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-71

ธ ส

ซึ่งจ​ ะ​เป็นป​ ระโยชน์ต​ ่อต​ ัวผูป้​ ้อน​เอง วิธนี​ ที้​ ำ�ให้ม​ ผี​ ใู้​ ช้จ​ ำ�นวน​มาก​ทีห่​ ลง​เชื่อแ​ ละ​ตก​เป็นเ​หยื่อ ดังน​ ั้น ผูซ้​ ื้อจ​ ึงค​ วร​ พิจารณา​ให้​รอบคอบ​และ​ระมัดระวัง​อย่า​หลง​เชื่อ​การ​แอบ​อ้าง โดย​อาจ​โทรศัพท์​หรือ​อีเมล​ไป​สอบถาม​ข้อมูล​ จาก​สถาบัน​การ​เงิน​ที่อ​ อก​บัตร​หรือ​บริษัท เพื่อใ​ ห้​แน่ใจ​ว่า​เป็น​อีเมล​ที่​ส่งม​ า​จาก​หน่วย​งาน​นั้น​จริง 1.5 การ​บกุ รุกใ​ ช้เ​ครือ่ ง​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ผอ​ู้ นื่ เ​พือ่ ข​ โมย​ขอ้ มูลร​ าย​ละเอียด​บตั ร​เครดิต (PC attack to steal credit card information) ดัง​ที่​ทราบ​มา​แล้ว​ว่า แฮกเกอร์ คือ​ผู้​ที่​พยายาม​จะ​เข้า​ถึงข​ ้อมูล​ของ​ผู้​อื่น​ผ่าน​ ระบบ​อินเทอร์เน็ต โดย​มีจ​ ุดป​ ระสงค์เ​พื่อน​ ำ�​ข้อมูลด​ ังก​ ล่าว​ไป​ใช้ใ​ น​ทาง​ทุจริต ปัจจุบันเ​มื่อผ​ ู้ใ​ ช้ล​ ง​ทะเบียน​ตาม​ เว็บไซต์ต​ ่างๆ ซอฟต์แวร์ท​ ี่ใ​ ช้จ​ ะ​มฟี​ ังก์ชันอ​ ำ�นวย​ความ​สะดวก​ใน​การ​ลง​ทะเบียน โดย​ฟังก์ชันด​ ังก​ ล่าว​สามารถ​ จำ�​ข้อมูล​และ​ป้อน​ข้อมูลต​ ่างๆ ให้อ​ ัตโนมัติ (auto complete feature) หลังจ​ าก​ที่ไ​ ด้ม​ ีก​ าร​ป้อน​ข้อมูล​ดังก​ ล่าว​ ไป​แล้ว​หนึ่ง​ครั้ง ดัง​นั้น หาก​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ดัง​กล่าว​ได้​เคย​ป้อน​ข้อมูล​ของ​ผู้​ใช้​บัตร​เครดิต​ไป​แล้ว​หนึ่ง​ ครั้ง ใน​ครั้ง​ต่อ​ไป​เมื่อ​จะ​ป้อน​ข้อมูลด​ ัง​กล่าว​เพื่อล​ ง​ทะเบียน​ใน​เว็บไ​ ซต์​อื่นๆ ซอฟต์แวร์​จะ​จัดการ​ป้อน​ให้​เอง เพียง​แต่​ป้อน​ตัว​อักษร​ตัว​แรก​ลง​ไป​เท่านั้น ซึ่ง​หาก​มี​ผู้​อื่น​ที่​ไม่​หวัง​ดี​มา​ใช้​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​เครื่อง​นั้น​ป้อน​ ข้อมูล​ลง​ทะเบียน​ใน​เว็บ​ไซต์​อื่นๆ ก็​จะ​สามารถ​ทราบ​ข้อมูล​เดิม​ของ​เจ้าของ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​ได้ ด้วย​จุด​ อ่อนข​อง​ฟังก์ชัน​ดัง​กล่าว ปัจจุบัน​จึง​มี​เว็บไซต์​หลาย​แห่ง​ไม่​นิยม​นำ�​ฟังก์ชัน​ดัง​กล่าว​มา​ใช้​ใน​การ​ป้อน​ข้อมูล​ ที่​มี​ความ​สำ�คัญ เช่น ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​บัตร​เครดิต ข้อมูล​หมายเลข​บัตร​ประชาชน ฯลฯ หรือ​การ​ใช้​ซอฟต์แวร์​ ที่​เรียก​ว่า “มัลแวร์” (malware) ซึ่ง​มัลแวร์​เป็น​ซอฟต์แวร์​ที่​พัฒนา​ขึ้น​มา​โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​แอบ​เข้า​ ระบบ​คอมพิวเตอร์ข​ อง​ผู้อ​ ื่น​โดย​ไม่​ต้อง​ขอ​ความ​ยินยอม​ของ​เจ้าของ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ และ​จะ​รวม​ถึงไ​ วรัส​ คอมพิวเตอร์ (computer virus) หนอน​คอมพิวเตอร์ (computer worm) ด้วย โดย​อาจ​เข้า​มา​เพื่อ​ทำ�ลาย​ ข้อมูลท​ ี่​จัด​เก็บ​ใน​เครื่อง หรือด​ ัก​จับ​ข้อมูล​ที่​เจ้าของ​เครื่อง​ป้อน​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​คอมพิวเตอร์ 1.6 การ​พัฒนา​วิธี​การ​ที่​จะ​ทำ�ให้​ได้​สินค้า/บริการ​โดย​ไม่​ต้อง​ชำ�ระ​เงิน เป็น​ภัย​คุกคาม​ที่​ผู้​ฉ้อโกง​ ต้องการ​ทีจ่​ ะ​ให้ไ​ ด้ม​ า​ซึ่งส​ ินค้า/บริการ​โดย​ไม่ต​ ้อง​ชำ�ระ​เงินใ​ ห้แ​ ก่ผ​ ู้ข​ าย ส่วน​มาก​จะ​เกิดก​ ับผ​ ู้ข​ าย​สินค้าป​ ระเภท​ สินค้า​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic goods) ที่​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ดาวน์โหลด​สินค้า​ได้​เอง​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต หลัง​จาก​ที่ไ​ ด้​รับ​หมายเลข​ประจำ�​ตัว​และ​รหัส​ผ่าน​เพื่อ​ล็อกอิน​เข้า​สู่​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์​ของ​ผู้​ขาย ตัวอย่าง​สินค้า​ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์ เป็นต้น รูป​แบบ​ของ​ภัย​คุกคาม​ประเภท​นี้ เช่น การ​บุกรุก​โดย​ พนักงาน​ใน​ร้าน​ค้า​จำ�หน่าย​สินค้า​อิเล็กทรอนิกส์​หรือ​แฮกเกอร์ เป็นการ​ฉ้อโกง​ที่​เกิด​จาก​พนักงาน​ของ​ร้าน​ค้า​ เอง หรือ​จาก​แฮกเกอร์​ภายนอก​ที่​ลักลอบ​ใช้​หมายเลข​ประจำ�​ตัว​และ​รหัส​ผ่าน​ของ​ลูกค้า​ล็อกอิน​เข้า​สู่​เครื่อง​ เซิร์ฟเวอร์ข​ อง​ผู้​ขาย​เพื่อด​ าวน์โหลด​สินค้า​อิเล็กทรอนิกส์ 1.7 การ​ปลอม​แปลง​ค�​ำ แนะนำ�​ใน​การ​ช�ำ ระ​เงิน กรณีน​ ีโ้​ ดย​ทั่วไป​จะ​มนี​ ัยส​ ำ�คัญเ​ฉพาะ​ผูใ้​ ห้บ​ ริการ​การ​ ชำ�ระ​เงิน เป็นอ​ งค์กร​ทแี่​ ตก​ต่าง​จาก​สถาบันก​ าร​เงินท​ ีผ่​ ขู้​ าย​เคย​ใช้บ​ ริการ ซึ่งห​ าก​การ​คุกคาม​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ จะ​ทำ�ให้ส​ ามารถ​ได้ร​ ับส​ ินค้าแ​ ละ​บริการ​โดย​ไม่ต​ ้อง​ชำ�ระ​เงินเ​ช่นก​ ัน กรณีน​ ีห้​ าก​ผูบ้​ ุกรุกส​ ามารถ​เจาะ​และ​เข้าถ​ ึง​ เครือ่ ง​เซิรฟ์ เวอร์ท​ เี​่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​ช�ำ ระ​เงิน ก็ส​ ามารถ​ให้ค​ �​ำ แนะนำ�​ทไี​่ ม่ถ​ กู ต​ อ้ ง​แก่ผ​ ปู​้ ระกอบ​การ​คา้ ว​ า่ การ​ช�ำ ระ​ เงินไ​ ด้เ​สร็จส​ ิ้นแ​ ล้ว ทั้งๆ ทีย่​ ังด​ ำ�เนินก​ าร​ขั้นต​ อน​ไม่ค​ รบ หรือไ​ ม่ถ​ ูกต​ ้อง หรือผ​ ูบ้​ ุกรุกส​ ามารถ​เรียน​รูท้​ ีจ่​ ะ​ปลอม​ ข้อมูล​คำ�​แนะนำ�​การ​ชำ�ระ​เงิน​ซึ่ง​จะ​ผ่าน​จาก​ผู้ใ​ ห้บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ไป​ยัง​ร้าน​ค้า ซึ่ง​การ​ดำ�เนิน​การ จะ​รวม​ถึง​ การ​สร้าง​ข้อมูล​เพื่อใ​ ห้​คำ�​แนะนำ�​โดยตรง เนื่องจาก​ข้อมูล​มี​ทั้ง​การ​เข้า​รหัส หรือ​อาจ​เกิด​จาก​ระบบ​การ​เข้า​รหัส​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-72

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ที่​ใช้​ไม่​สามารถ​ป้องกัน​ข้อมูล​ได้ด​ ี​พอ และ​การ​ดักจ​ ับข​ ้อมูล​กุญแจ​ที่​ใช้​ใน​การ​เข้า​รหัส​จาก​ทั้ง​ผู้​ประกอบ​การ​ค้า และ​ผู้​ให้บ​ ริการ​ชำ�ระ​เงิน

ธ ส

2. การ​ฉ้อโกง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต

วิธช​ี ำ�ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ม​ ด​ี ว้ ย​กนั ห​ ลาย​วธิ ด​ี งั ท​ ีก่​ ล่าว​มา​แล้วใ​ น​ตอน​ที่ 6.2 แต่ว​ ธิ ท​ี นี่​ ยิ ม​มาก​ทีส่ ดุ ค​ อื การ​ช�ำ ระ​ผา่ น​บตั ร​เครดิต และ​แม้วา่ ก​ ระบวนการ​ใน​การ​อนุมตั แ​ิ ละ​ตรวจ​สอบ​การ​ช�ำ ระ​เงินผ​ า่ น​บตั ร​เครดิตท​ เี​่ ป็น​ แบบ​ออฟ​ไลน์แ​ ละ​ออนไลน์จ​ ะ​มีค​ วาม​คล้ายคลึงก​ ันก​ ็ตาม แต่ก​ ็ม​ ีค​ วาม​แตก​ต่าง​กันอ​ ย่าง​หนึ่งค​ ือ การ​ชำ�ระ​เงิน​ ผ่าน​บัตร​เครดิต​แบบ​ออฟ​ไลน์​ความ​เสี่ยง​ที่จ​ ะ​เกิด​ปัญหา​การ​ฉ้อโกง​นั้น​น้อย​กว่า​แบบ​ออนไลน์ ทำ�ให้​โอกาส​ที​่ ผูข้​ าย​ต้อง​รับผ​ ิดช​ อบ​น้อย​มาก เพราะ​เมื่อน​ ำ�​บัตร​เครดิตม​ า​ผ่าน​เครื่อง​อ่าน​บัตร​จะ​สามารถ​ทราบ​ได้ท​ ันทีว​ ่าบ​ ัตร​ นั้น​ใช้​งาน​ได้​หรือ​ไม่ แต่​ใน​โลก​ออนไลน์​ผู้ข​ าย​ที่​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต​นั้น หาก​เกิด​ปัญหา​การ​ฉ้อโกง​ขึ้น​ ผูข้​ าย​จะ​ต้อง​รับผ​ ิดช​ อบ​และ​อาจ​ได้ร​ ับก​ าร​ลงโทษ​จาก​สมาคม​ผูอ้​ อก​บัตร​เครดิตด​ ้วย นอกจาก​นีแ้​ ล้ว ยังต​ ้อง​รับ​ ผิดช​ อบ​เกี่ยว​กับค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ป้องกันก​ าร​ฉ้อโกง ซึ่งจ​ ะ​ประกอบ​ด้วย ซอฟต์แวร์ และ​ระบบ​คอมพิวเตอร์ใ​ น​ การ​ทวน​สอบ​ใบสั่งซ​ ื้อ ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​ใบสั่งซ​ ื้อโ​ ดย​วิธีแ​ มน​นวล ที่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ดำ�เนินก​ าร​ตรวจ​สอบ​ ควบคู่​กับ​การ​ตรวจ​สอบ​ด้วย​ระบบ​คอมพิวเตอร์ รวม​ทั้ง​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​เกิด​จาก​การ​ที่​ใบสั่ง​ซื้อ​บาง​ใบ​ไม่​สามารถ​ เรียก​เก็บเ​งินจ​ าก​บัตร​เครดิตไ​ ด้ และ​จาก​การ​สำ�รวจ​โดย​บริษัท ไซเบอร์ซ​ อร์ส (Cybersource) เมื่อป​ ี ค.ศ. 2007 พบ​ว่า​ปัญหา​การ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​ที่​เกิดจ​ าก​การ​ทำ�​ธุรกรรม​เชิงร​ ายการ​ผ่าน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ม​ ี​อัตรา​การ​ ขยาย​ตัว​มาก​ขึ้น​กว่า​อดีต​ที่​ผ่าน​มา ใน​ขณะ​ที่ก​ าร​หา​วิธี​การ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง​ขยาย​ตัวไ​ ม่ทัน บริษัท​ไซเบอร์​ซอร์ส เป็น​บริษัทท​ ี่ทำ�การ​สำ�รวจ​เกี่ยว​กับก​ าร​สืบสวน การ​ป้องกัน และ​การ​จัดการ​การ​ ฉ้อโกง​ที่เ​กิดจ​ าก​ผู้ข​ าย​และ​การ​ทำ�​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจ​ าก​ผล​การ​สำ�รวจ​ใน​ปี ค.ศ. 2006 จาก​ผู้ข​ าย​จำ�นวน 404 ราย พบ​ว่า 2.1 ถึง​แม้ว่า​ร้อย​ละ​ของ​ราย​ได้​เฉลี่ย​ที่​สูญ​เสีย​จาก​การ​ฉ้อโกง​ต่อ​ผู้​ขาย​หนึ่ง​ราย​จะ​มี​ลักษณะ​ไม่​เพิ่ม​ ขึ้น เนื่องจาก​มี​จำ�นวน​ผู้ข​ าย​ราย​ใหม่​เพิ่ม​ขึ้น​ใน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​อย่าง​ต่อ​เนื่อง แต่​จำ�นวน​เงิน​รวม​ทั้งหมด​ ที่​สูญ​เสีย​จาก​การ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​กลับ​สูงข​ ึ้น​จาก​ปี ค.ศ. 2003 ราย​ได้ที่​สูญ​เสีย​จาก​การ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​ ทั้งหมด 1.9 ล้าน​ล้าน​บาท เพิ่ม​ขึ้น​เป็น 3.0 ล้าน​ล้าน​บาท ใน​ปี ค.ศ. 2006 ซึ่ง​การ​เพิ่ม​ขึ้น​นี้​เปลี่ยนแปลง​ตาม​ การ​เติบโต​ของ​ธุรกิจ​ใน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่​ขยาย​ตัว​ขึ้น​ถึง​ร้อย​ละ 20 2.2 ใน​ปี ค.ศ. 2006 ผู้ข​ าย​ประมาณ​การ​ว่า​ถูก​ฉ้อโกง​จาก​การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า/บริการ​โดย​เฉลี่ย​ร้อย​ละ 1.1 จาก​ยอด​การ​สั่ง​ซื้อ​ทั้งหมด ซึ่ง​ค่า​นี้​ลด​ลง​จาก​ปี​ก่อนๆ ไม่​มาก​นัก ซึ่ง​ใบสั่ง​ซื้อ​ที่​เกิด​การ​ฉ้อโกง​นี้​มี​ผล​ต่อ​ ความ​น่าเ​ชื่อถ​ ือข​ อง​ผูซ้​ ื้อท​ ีม่​ ตี​ ่อผ​ ูข้​ าย มูลค่าข​ อง​การ​สั่งซ​ ื้อท​ ีถ่​ ูกฉ​ ้อโกง​โดย​ใช้ค​ ่าม​ ัธยฐาน (median) ซึ่งค​ ำ�นวณ​ จาก​การนำ�​มูลค่าใ​ บสั่งซ​ ื้อท​ ีถ่​ ูกฉ​ ้อโกง​ทั้งหมด​มา​เรียง​ลำ�ดับจ​ าก​มาก​ไป​น้อย และ​ใช้ค​ ่าทีอ่​ ยูต่​ รง​กลาง​ของ​มูลค่า​ ใบสั่ง​ซื้อ​ที่​ถูก​ฉ้อโกง​ทั้งหมด ค่า​ดังก​ ล่าว​คือ 150 ดอลลาร์​สหรัฐ สูง​กว่า​มูลค่า​เฉลี่ย​ของ​ยอด​สั่ง​ซื้อ​ทั้งหมด​คิด​ เป็น​ร้อย​ละ 50 2.3 มูลค่าก​ าร​สัง่ ซ​ ือ้ ผ​ า่ น​ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ร​ อ้ ย​ละ 61 มา​จาก​ประเทศ​ตา่ งๆ ทีอ​่ ยูน​่ อก​สหรัฐอเมริกา​ และ​แคนาดา และ​ใบสั่ง​ซื้อก​ ลุ่มน​ ี้ค​ ิด​เป็น​มูลค่า​ร้อย​ละ 17 ของ​มูลค่า​การ​ขาย​ทั้งหมด อัตรา​การ​ฉ้อโกง​ที่​เกิด​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-73

ธ ส

ขึ้น​คิดเ​ป็น​ร้อย​ละ 2.7 หรือม​ ากกว่า​อัตรา​การ​ฉ้อโกง​ที่เ​กิด​ขึ้น​จาก​การ​ขาย​สินค้า/บริการ​ภายใน​สหรัฐอเมริกา​ และ​แคนาดา​ถึง 2 เท่า 2.4 ผู้​ขาย​ราย​ใหญ่​จะ​มี​จุด​อ่อน​ต่อ​การ​ฉ้อโกง​น้อย​กว่า​ผู้​ขาย​ราย​เล็ก เพราะ​มี​ประสบการณ์​ใน​การ​ ทำ�​ธุรกิจผ​ ่าน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ม​ ากกว่า มีร​ ะบบ ขั้น​ตอน​ใน​การ​ป้องกัน และ​จัดการ​กับ​การ​ฉ้อโกง​ที่ม​ ีค​ วาม​ พร้อม​มากกว่า และ​ผลิตภัณฑ์ท​ ี่จ​ ำ�หน่าย​สามารถ​จำ�หน่าย​ใน​ตลาด​เปิดแ​ บบ​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ไ​ ด้ง​ ่าย​กว่า​ ด้วย 2.5 ผู้​ขาย​มากกว่า​ร้อย​ละ 50 เชื่อ​ว่า​แนว​โน้ม​ของ​การ​ฉ้อโกง​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ จะ​เพิ่มข​ ึ้น​ใน​ปี​ต่อๆ ไป ตาม​แนว​โน้ม​ของ​ยอด​ขาย​ที่​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​ด้วย นอกจาก​การ​คาด​การณ์แ​ นว​โน้มข​ อง​การ​ฉอ้ โกง​ผา่ น​พาณิชย์อ​ เิ ล็กทรอนิกส์แ​ ล้ว ทาง​บริษทั ไซเบอร์ซ​ อร์ส​ ยัง​สำ�รวจ​การ​ติดตาม​ขั้น​ตอน​ใน​การ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง​ของ​ผู้​ขาย​ด้วย ใน​ปี ค.ศ. 2006 ผู้​ขาย​ใช้​ซอฟต์แวร์​ หรือ​ระบบ​ใน​การ​ติดตาม​และ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง​หลาย​ชนิด ซึ่ง​มาก​ขึ้น​กว่า​ปี​ที่​ผ่าน​มา โดย​ใน​ปี ค.ศ. 2006 จำ�นวน​เครื่อง​มือท​ ี่น​ ำ�​มา​ใช้ม​ ีค​ ่าม​ ัธยฐาน​เท่ากับ 5 ชนิด ซึ่งม​ ากกว่าใ​ น​ปี ค.ศ. 2003 ที่ม​ ีก​ าร​ใช้ซ​ อฟต์แวร์ใ​ น​การ​ ติดตาม​ปอ้ งกันโ​ ดย​มค​ี า่ ม​ ธั ยฐาน​เท่ากับ 3 ชนิดเ​ท่านัน้ ผูข​้ าย​มก​ี าร​ลงทุนใ​ น​ระบบ​การ​ปอ้ ง​ กันก​ าร​ฉอ้ โกง​มาก​ขึน้ โดย​มี​ยอด​เงิน​ที่​ลงทุนค​ ิด​เป็น​ร้อย​ละ 0.5 ของ​ยอด​ขาย​ออนไลน์​ทั้งหมด โดย​จำ�แนก​เป็น​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​จ้าง​ พนักงาน​มา​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล​ร้อย​ละ 46 ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การ​ลงทุน​ซื้อเ​ครื่อง​มือห​ รือร​ ะบบ​เพื่อต​ ิดตาม​และ​ป้องกัน​ การ​ฉ้อโกง​จาก​บริษัทซ​ อฟต์แวร์ร​ ้อย​ละ 28 และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​พัฒนา​เครื่อง​มือ​เพื่อ​ใช้​เอง​ร้อย​ละ 26

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ประเภท​ของ​การ​ฉ้อโกง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต

ธ ส

ปัจจุบัน​การ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​เป็น​ปัญหา​ที่​ค่อน​ข้าง​รุนแรง​มาก​ที่สุด​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ดังน​ ัน้ เพือ่ ใ​ ห้ส​ ามารถ​ปอ้ งกันก​ าร​ฉอ้ โกง​ได้อ​ ย่าง​มป​ี ระสิทธิผล จึงจ​ �ำ เป็นต​ อ้ ง​มค​ี วาม​เข้าใจ​เกีย่ ว​กบั ก​ ลไก​ทนี​่ �​ำ มา​ ใช้​ใน​การ​ฉ้อโกง ซึ่งก​ าร​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​ก็​คือ การ​ที่บ​ ุคคล​ที่ไ​ ม่ใช่​เจ้าของ​บัตร​นำ�​บัตร​ไป​ใช้​ประ​โย​ชน์​ทั้งๆ ที​่ ไม่ไ​ ด้ร​ ับอ​ นุญาต​จาก​เจ้าของ​บัตร​และ​ธนาคาร​ผูอ้​ อก​บัตร โดย​นำ�​บัตร​เครดิตไ​ ป​จับจ​ ่าย​ใช้สอย​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ ผ่าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ แต่จ​ ะ​ไม่​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​เมื่อ​มี​การ​เรียก​เก็บเ​งิน​จาก​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร การ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิต​สามารถ​ทำ�ได้ห​ ลาก​หลาย​รูป​แบบ ดังนี้ 3.1 การ​ขโมย​ข้อมูล​บัตร เป็นการ​ฉ้อโกง​ที่​มี​ความ​วิกฤต​มาก​ที่สุด โดย​มิจฉาชีพ​จะ​ขโมย​ข้อมูล​ใน​ บัตร​เครดิตจ​ าก​เจ้าของ​บัตร​เพื่อน​ ำ�​ไป​ทำ�​บัตร​เครดิตป​ ลอม หรือน​ ำ�​ไป​ใช้ซ​ ื้อส​ ินค้าแ​ ละ/หรือบ​ ริการ​ผ่าน​เว็บไซต์​ ต่างๆ ใน​การ​ขโมย​ข้อมูล​บัตร​เครดิต​มี​ด้วย​กัน 3 รูป​แบบ คือ 1) เมื่อ​เจ้าของ​บัตร​เครดิต​ทำ�​บัตร​หาย​หรือ​บัตร​ถูก​ขโมย เป็น​วิธี​การ​ที่​ง่าย​ที่สุด​ของ​มิจฉาชีพ​ ใน​การ​ได้​มา​ซึ่ง​ข้อมูล​ของ​บัตร​เครดิต กรณี​นี้​เจ้าของ​บัตร​ควร​แจ้ง​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร​เพื่อ​ขอ​อายัดบ​ ัตร​ทันที 2) การ​ใช้​อุปกรณ์​อ่าน​ข้อมูล​จาก​แถบ​แม่​เหล็ก​ที่​เรียก​ว่า เครื่อง​สกิม​เม​อร์ (skimmer) โดย​ เครื่อง​ดังก​ ล่าว​จะ​คัดล​ อก​ข้อมูลท​ ี่บ​ ันทึกใ​ น​แถบ​แม่เ​หล็ก ข้อมูล​ที่ข​ โมย​ไป​จะ​ถูกน​ ำ�​ไป​ทำ�​บัตร​ปลอม​เพื่อน​ ำ�​ไป​ ใช้ซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ แต่ป​ ัจจุบันบ​ ัตร​เครดิตส​ ่วน​มาก​จะ​เปลี่ยน​จาก​แถบ​แม่เ​หล็กเ​ป็นการ​ใช้ช​ ิปเ​ก็บข​ ้อมูลแ​ ทน ซึ่ง​ทำ�ให้​ลด​ปัญหา​ลง

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-74

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3) การ​ปลอม​แปลง​เอกสาร​สำ�คัญ​เพื่อ​นำ�​ไป​สมัคร​ขอ​ใช้​บริการ​บัตร​เครดิต โดย​ใช้​เอกสาร​ สำ�เนา​บัตร​ประชาชน ทะเบียน​บ้าน สลิป​เงินเ​ดือน​ของ​บุคคล​อื่น​มา​ใช้​หลอก​ลวง​ให้​ธนาคาร​ออก​บัตร​ให้ 3.2 การ​ยึด​ครอง​บัญชี​บัตร การ​ฉ้อโกง​รูป​แบบ​นี้​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​ข้อมูล​ได้​ถูก​ลักลอบ​ไป​โดย​มิจฉาชีพ ซึ่ง​ เจ้าของ​บตั ร​เอง​กไ​็ ม่ท​ ราบ​วา่ ข​ อ้ มูลไ​ ด้ถ​ กู ล​ กั ลอบ​ไป​แล้ว จาก​นัน้ ผ​ ฉู​้ อ้ โกง​จะ​สวมรอย​เป็นเ​จ้าของ​บตั ร และ​ตดิ ต่อ​ กับ​ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร แจ้งว​ ่าบ​ ัตร​เดิม​หาย​ขอ​ทำ�​บัตร​ใหม่​มา​ทดแทน​พร้อม​กับ​ให้​ส่ง​มายัง​ที่​อยู่​ใหม่​ด้วย 3.3 การ​ไม่ป​ รากฏ​ตัว​ของ​ผู้​ถือ​บัตร เป็น​รูป​แบบ​การ​ฉ้อโกง​ที่​สามารถ​ทำ�ได้​ใน​การ​ซื้อ​ขาย​ผ่าน​ระบบ​ อินเทอร์เน็ต​เท่านั้น เพราะ​ไม่จ​ ำ�เป็นต​ ้อง​ให้เ​จ้าของ​บัตร​แสดง​ตน ณ จุดช​ ำ�ระ​เงิน อีกท​ ั้งผ​ ู้ข​ าย​ไม่ส​ ามารถ​ตรวจ​ สอบ​ราย​ละเอียด​ที่​ปรากฏ​อยู่​บน​บัตร​หรือ​ข้อมูล​ที่​ระบุ​เจ้าของ​บัตร​ได้ ทำ�ให้​ง่าย​ใน​การ​ปลอม​ตัว​เป็น​เจ้าของ​ บัตร​ตัวจ​ ริง โดย​ป้อน​ข้อมูลเ​ลข​ที่​บัตร​เครดิต​ที่​จาร​กรรม​มา​ได้​ผ่าน​เว็บเพจ​ของ​ผู้​ขาย 3.4 การ​ทำ�​บัตร​ปลอม ปัจจุบัน​มี​กลุ่ม​มิจฉาชีพ​ใช้​เทคนิค​การ​ทำ�​บัตร​เครดิต​ปลอม และ​นำ�​ไป​ใช้​ใน​ การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ดังท​ ี่ป​ รากฏ​ใน​ข่าว​อาชญากรรม​อยู่บ​ ่อยๆ ซึ่งเ​ทคนิคท​ ี่น​ ิยม​นำ�​มา​ใช้ใ​ น​การ​ทำ�​บัตร​เครดิต​ ปลอม ได้แก่ 1) การ​ลบ​ขอ้ มูลเ​ดิมใ​ น​แถบ​แม่เ​หล็กบ​ น​บตั ร เป็นการ​นำ�​บัตร​เครดิตท​ ีห่​ มด​อายุแ​ ละ​ถูกท​ ิ้งแ​ ล้ว นำ�​มา​ลบ​ข้อมูลเ​ดิมท​ ีบ่​ ันทึกอ​ ยูใ่​ น​แถบ​แม่เ​หล็กโ​ ดย​การ​ใช้ส​ นาม​แม่เ​หล็กไ​ ฟฟ้า จาก​นั้นน​ ำ�​ข้อมูลใ​ หม่ท​ ีล่​ ักลอบ​ มา​จาก​บัตร​เครดิต​ที่ย​ ังไ​ ม่​หมด​อายุ​มา​บันทึก​ลง​ไป​ใหม่ และ​นำ�​บัตร​ดัง​กล่าว​นี้​ไป​ใช้​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า/บริการ 2) การ​จัด​ทำ�​บัตร​เครดิต​ปลอม เป็นการ​ทำ�​บัตร​เครดิต​ปลอม​โดย​ใช้​เครื่องจักร​ที่​ผลิต​ขึ้น​มา​ โดย​เฉพาะ ซึ่ง​ผู้​ทำ�​จะ​เป็น​ผู้ท​ ี่ม​ ี​ทักษะ​และ​ความ​ชำ�นาญ​ค่อน​ข้าง​สูง 3.5 การ​คดั ​ลอก​ขอ้ มูล​จาก​บตั ร​เครดิต เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​คัด​ลอก​ข้อมูล​ที่​บันทึก​อยู่​ใน​แถบ​แม่​เหล็ก​ บน​บตั ร​เครดิตใ​ บ​หนึง่ ไ​ ป​บนั ทึกใ​ น​แถบ​แม่เ​หล็กบ​ น​บตั ร​อกี ใ​ บ​หนึง่ ซึง่ ก​ ระบวนการ​นเี​้ รียก​วา่ “สกิมม​ ิง่ ” (skimming) โดย​ผู้ฉ​ ้อโกง​จะ​นำ�​เครื่อง​มือ​สกิม​มิ่ง​ที่​มี​ขนาด​เล็กส​ ามารถ​พก​พา​โดย​ใส่​ลง​ใน​กระเป๋าเ​สื้อ เมื่อ​ผู้​ซื้อ​ใช้​ บัตร​เครดิตซ​ ื้อส​ ินค้า/บริการ บัตร​เครดิตจ​ ะ​ถูกน​ ำ�​เข้าไป​ที่เ​ครื่อง​อ่าน​บัตร​เพื่อท​ ำ�​รายการ​ธุรกรรม ซึ่งใ​ น​ขณะ​ที​่ ลูกค้าก​ ำ�ลังร​ อ​ให้เ​ครื่อง​อ่าน​บัตร​ทำ�​รายการ​ธุรกรรม​อยู่ เครื่อง​มือ​ดัง​กล่าว​ก็​จะ​อ่าน​ข้อมูล​ที่​บันทึกอ​ ยู่​ใน​แถบ​ แม่​เหล็กข​ อง​บัตร โดยที่ผ​ ู้ซ​ ื้อไ​ ม่ทัน​สังเกต​เห็น 3.6 การ​ใช้บ​ ตั ร​พลาสติก เนื่องจาก​บัตร​เครดิตม​ ขี​ นาด​เท่ากับบ​ ัตร​พลาสติกท​ ั่วไป ดังน​ ั้น มิจฉาชีพจ​ ึง​ นำ�​บัตร​พลาสติก​ไป​ใช้​ใน​การ​ซื้อส​ ินค้า/บริการ​ตาม​สถาน​ที่​ต่างๆ ที่​ไม่มี​การ​ตรวจ​สอบ​อายุ​ของ​บัตร หรือ​ตรวจ​ สอบ​ข้อ​มูล​ใดๆ ด้วย​การ​ป้อน​ข้อมูล​บาง​อย่าง​ที่​ลักลอบ​มา​ได้ ก็​ทำ�ให้​สามารถ​ใช้​บัตร​พลาสติก​นั้น​ได้ เหมือน​ กับ​บัตร​เครดิตท​ ั่วไป โดย​สถาน​ที่​ดังก​ ล่าว​จะ​ไม่มีแ​ คชเชียร์​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ประจำ�​อยู่ เช่น สถานี​ให้​บริการ​น้ำ�มัน ตู้​เอทีเอ็ม เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

4. ข้อ​ควร​ระวังข​ อง​การ​ใช้​บัตร​เครดิต

6-75

ธ ส

จาก​ทีก่​ ล่าว​มา​ข้าง​ต้น จะ​เห็นไ​ ด้ว​ ่าการ​ฉ้อโกง​บัตร​เครดิตม​ ดี​ ้วย​กันห​ ลาก​หลาย​รูปแ​ บบ ดังน​ ั้น เจ้าของ​ บัตร​จึง​ควร​หา​วิธี​ป้องกันม​ ิ​ให้เ​กิด​ขึ้น​ด้วย โดย​มี​ข้อ​ควร​ระวัง​ดัง​ไป​นี้ 4.1 เก็บ​รักษา​บัตร​เครดิต​ไว้ใ​ น​ที่​ปลอดภัย และ​ไม่​มอบ​บัตร​ให้​แก่​ผู้​ที่​ไม่​น่า​ไว้​วางใจ 4.2 จดหมาย​เลข​และ​เลข​ที่​บัญชี​บัตร​เครดิต หมายเลข​โทรศัพท์​ของ​แผนก​บริการ​บัตร​เครดิต​ไว้​ใน​ ที่​ปลอดภัย ไม่ค​ วร​เก็บ​ไว้​ใน​กระเป๋า​สตางค์ เพราะ​หาก​กระเป๋าส​ ตางค์​หาย​บัตร​ก็​จะ​สูญหาย​ไป​ด้วย 4.3 กรณี​ที่ต​ ้อง​จ่าย​ค่า​สินค้า​และ/หรือ​บริการ​ด้วย​บัตร​เครดิต เจ้าของ​บัตร​ควร​อยู่ ณ จุด​ที่​พนักงาน​ ทำ�​รายการ​เพื่อ​ป้องกัน​การ​ขโมย​ข้อมูล​ใน​บัตร 4.4 หลีกเ​ลีย่ ง​การ​ใช้บ​ ตั ร​เครดิตใ​ น​รา้ น​คา้ ห​ รือป​ ระเทศ​ทมี​่ ค​ี วาม​เสีย่ ง หรือม​ ข​ี า่ ว​เรือ่ ง​การ​ทจุ ริตฉ​ อ้ โกง​ บัตร​เครดิต 4.5 ตรวจ​สอบ​ความ​ถูกต​ ้อง​ของ​รายการ​ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​สลิปบ​ ัตร​เครดิตท​ ุกค​ รั้งท​ ีม่​ กี​ าร​ใช้จ​ ่าย​ด้วย​บัตร​ เครดิต และ​เก็บส​ ำ�เนา​สลิปไ​ ว้เ​พื่อต​ รวจ​สอบ​กับใ​ บ​แจ้งย​ อด​บัญชีว​ ่าถ​ ูกต​ ้อง​ตรง​กัน หาก​พบ​รายการ​ทีไ่​ ม่ถ​ ูกต​ ้อง​ ควร​แจ้ง​ธนาคาร​ผู้อ​ อก​บัตร​ทันที 4.6 ระมัดระวังก​ าร​ใช้บ​ ัตร​เครดิตเ​บิกเ​งินผ​ ่าน​ตู้เ​อทีเอ็มท​ ี่ม​ ีล​ ักษณะ​น่าส​ งสัยว​ ่าอ​ าจ​มีก​ าร​ลักลอบ​ติด​ อุ​ปก​รณ์​สกิม​เม​อร์เ​พื่อ​ขโมย​ข้อมูล​จาก​บัตร​เครดิต และ​ขณะ​ที่ก​ ด​รหัส​บัตร​ต้อง​ระวัง​ไม่​ให้​ผู้​อื่น​เห็น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ที่​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.3.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.3.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.3 เรื่อง​ที่ 6.3.1

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส


6-76

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

เรื่อง​ที่ 6.3.2 การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน ​อิเล็กทรอนิกส์

ธ ส

ธ ส

การ​รกั ษา​ความ​ปลอดภัยใ​ น​ระบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์น​ บั ว​ า่ เ​ป็นส​ ิง่ ส​ �ำ คัญท​ จี​่ �ำ เป็นต​ อ้ ง​มี ทัง้ นี้ เพือ่ ​ สร้าง​ความ​มั่นใจ​ให้​แก่ท​ ั้ง​ผู้ข​ าย​และ​ผู้ซ​ ื้อใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ร่วม​กัน

ธ ส

1. องค์​ประกอบ​สำ�คัญ​ของ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

การ​รกั ษา​ความ​ปลอดภัยท​ เี​่ ป็นท​ ตี​่ อ้ งการ​ของ​องค์การ และ​ผทู​้ เี​่ กีย่ วข้อง​ใน​การ​ท�​ำ ธรุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ ควร​ประกอบ​ด้วย​องค์ป​ ระกอบ​ที่​สำ�คัญด​ ัง​ต่อไ​ ป​นี้ 1.1 ความ​ถูก​ต้อง​ครบ​ถ้วน​และ​การ​อนุมัติ (integrity and authorization) ระบบ​ชำ � ระ​เ งิ น​ อิเล็กทรอนิกส์​ที่​สามารถ​ทำ�งาน​ได้​อย่าง​ถูก​ต้อง ครบ​ถ้วน และ​ได้​รับ​การ​อนุมัติ​อย่าง​ชัดเจน​เมื่อ​มี​การ​ชำ�ระ​ เงิน​เกิด​ขึ้น จะ​ช่วย​ป้องกัน​หรือ​ลด​อัตรา​การ​ฉ้อโกง​เงิน​ลง​ได้ เพราะ​การ​อนุมัติ​เป็น​สิ่ง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​ระบบ​ ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งก​ าร​อนุมัติ​สามารถ​ทำ�ได้​สาม​วิธี คือ การ​อนุมัติ​โดย​การตรวจสอบจาก​ใบ​แจ้ง​ยอด (statement authorization) การ​อนุมัติโ​ ดย​ใช้จากรหัส​ผ่าน (password authorization) และการอนุมัติ โดยใช้ลาย​เซ็นอ​ ิเล็กทรอนิกส์ (electronic signature authorization) 1) การ​อนุมัติ​โดย​การ​ตรวจ​สอบ​จาก​ใบ​แจ้ง​ยอด เริ่ม​จาก​มี​การ​ตรวจ​สอบ​โดย​ธนาคาร​ผู้​ออก​ บัตรจะแจ้งใ​ ห้บ​ ุคคล​ที่ไ​ ด้ร​ ับอ​ นุญาต​หรือผ​ ู้ท​ ี่ม​ ีบ​ ัตร​เครดิต (ผู้ซ​ ื้อ) ตรวจ​สอบ​รายการ​การ​ทำ�​ธุรกรรม หลังจ​ าก​ ทีบ่​ ุคคล​ดังก​ ล่าว​ตรวจ​สอบ​รายการ​แล้ว หาก​ถูกต​ ้อง​กจ็​ ะ​ต้อง​ชำ�ระ​เงินภ​ ายใน​เวลา​ทีก่​ ำ�หนด แต่ห​ าก​ไม่ถ​ ูกต​ ้อง​ ก็ต​ ้อง​รีบแ​ จ้งไ​ ป​ยังธ​ นาคาร​ภายใน​ระยะ​เวลา​ที่ก​ ำ�หนด​เช่นก​ ัน ซึ่งจ​ ุดอ​ ่อน​ทีเ่​กิดข​ ึ้นค​ ือ ทุกค​ น​ทีร่​ ูข้​ ้อมูลข​ อง​ผูใ้​ ช้​ บัตร​เครดิตส​ ามารถ​ทำ�​ธุรกรรม​ได้ ดังน​ ั้น ผู้ท​ ี่​เป็น​เจ้าของ​บัตร​ที่แท้​จริง​จึง​ต้อง​ตรวจ​สอบ​ใบ​แจ้งย​ อด​ทุกค​ รั้ง 2) การ​อนุมตั โ​ิ ดย​ใช้ร​ หัสผ​ า่ น ข้อมูลร​ ายการ​เชิงธ​ ุรกรรม​จะ​ถูกป​ ้องกันก​ าร​เข้าถ​ ึงโ​ ดย​การ​ป้อน​ รหัสผ​ ่าน และ​ทุกค​ รั้งท​ ี่ม​ ีก​ าร​รับส​ ่งข​ ้อมูลธ​​ ุรกรรมเชิงร​ ายการ​จะ​ต้อง​มีก​ าร​เข้าร​ หัสล​ ับ ซึ่งค​ ่าร​ หัสล​ ับน​ ี้จ​ ะ​ทราบ​ โดย​ผมู​้ อ​ี �ำ นาจ​อนุมตั ิ หรือธ​ นาคาร​ผอู​้ อก​บตั ร​เครดิต และ​พอ่ ค้าท​ ที​่ �​ำ ธรุ กรรม​เท่านัน้ ข้อมูลธ​ รุ กรรมเชิงร​ ายการ​ ที่ไ​ ด้​รับ​การ​อนุมัติ​เท่านั้น​จึงจ​ ะ​เป็น​ข้อมูล​ที่​ถูกต​ ้อง​ครบ​ถ้วน 3) การ​อนุมัติ​โดย​ใช้​ลาย​เซ็น​อิเล็กทรอนิกส์ การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูลรายการ เชิงธุรกรรมประเภท​นี้​จะ​ต้อง​ได้​รับ​การ​อนุมัติ​จาก​กลุ่ม​ผู้​มี​อำ�นาจด้วย​การ​ใช้​ลาย​เซ็น​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​การ​ อนุมัติ​ก่อน​ทุก​ครั้ง 1.2 ความ​สามารถ​ใน​การ​รักษา​ความ​ลับ (confidentiality) เป็นการ​เข้ม​งวด​ใน​การ​เก็บ​รักษา​ข้อมูล​ที่​ เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ทำ�​ธุรกรรม เช่น ข้อมูล​รายการ​สินค้า/บริการ​ที่​ซื้อ​ขาย ปริมาณ จำ�นวน​เงิน ราย​ละเอียด​ของ​ ผู้​ขาย​และ​ผู้​ซื้อ เป็นต้น โดย​จะ​เก็บ​รักษา​ไว้​เป็น​ความ​ลับ ผู้​ที่​จะ​ทราบ​เกี่ยว​กับ​ข้อมูล​ดัง​กล่าว​จะ​ต้อง​ได้​รับ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-77

ธ ส

อนุมัติ​อย่าง​เป็น​ทางการ​ด้วย​วิธีก​ าร​ใด​วิธีก​ าร​หนึ่ง​ตาม​ที่​กล่าว​มา​แล้ว​ใน​ข้อ​ที่ 1.1 ข้อมูล​ดัง​กล่าว​จะ​ต้อง​ไม่​ถูก​ แพร่งพราย​ให้​ผู้​อื่นท​ ี่​ไม่เ​กี่ยวข้อง​ล่วง​รู้ไ​ ด้ 1.3 ความ​พร้อม​ใช้​และ​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ (availability and reliability) ทุก​ฝ่าย​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ระบบ​ ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ล​ ้วน​แต่​มี​ความ​ต้องการ​ให้​ระบบ​สามารถ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ได้​ตลอด​เวลา​และ​เสร็จ​สมบูรณ์​ ทุกค​ รั้ง โดย​ไม่มีก​ าร​หยุด​ชะงักร​ ะหว่าง​ที่ทำ�การ​ชำ�ระ​เงิน ดัง​นั้น สถานะ​ของ​ระบบ​ใน​ขณะ​ที่​มี​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ ระหว่าง​ที่​ชำ�ระ​เงิน​ค่า​สินค้า/บริการ​ควร​มี​สถานะ​ที่​เป็น​ไป​ได้​เพียง 2 สถานะ คือ สถานะ​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ได้​ ทั้งหมด และ​สถานะ​การ​ไม่​สามารถ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ได้​เลย แต่​ไม่​ควร​มี​สถานะ​ครึ่งๆ กลางๆ คือ​รับ​ส่ง​ได้​บาง​ส่วน เพราะ​จะ​ทำ�ให้​ผู้​ซื้อ​เกิด​ความ​ไม่​สบาย​ใจและ​ไม่​แน่ใจ​ว่าการ​ชำ�ระ​เงิน​ถูก​ต้อง​สมบูรณ์​หรือ​ไม่ อาจ​ต้อง​สูญ​ เงิน​ไป​เพราะ​ระบบ​ทำ�งาน​ยัง​ไม่​สมบูรณ์ เนื่องจาก​ระบบ​เครือ​ข่าย​เกิด​มี​ปัญหา​ก่อน​ที่​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​จะ​เสร็จ​ สมบูรณ์ ดังน​ ั้น ทุกห​ น่วย​งาน​ที่เ​กี่ยวข้อง​จึงค​ วร​คำ�นึงถ​ ึงอ​ งค์ป​ ระกอบ​ใน​ด้าน​ความ​พร้อม​และ​ความ​น่าเ​ชื่อถ​ ือ รวม​ทั้งก​ าร​ทน​ต่อค​ วาม​ผิดพ​ ร่อง (fault tolerance) ของ​ระบบ​ด้วย เมื่อ​มีก​ าร​พัฒนา​หรือ​นำ�​ระบบ​รับช​ ำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ม​ า​ใช้ 1.4 ฮาร์ดแวร์​ที่​น่า​เชื่อ​ถือ (trusted hardware) ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เป็น​ระบบ​ที่​ต้อง​ใช้​ ฮาร์ดแวร์​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ ดัง​นั้น ปัจจุบัน​จึง​มี​การ​พัฒนา​ฮาร์ดแวร์​ที่​มี​ระบบ​รักษา​ความ​ ปลอดภัยแ​ ละ​มคี​ วาม​น่าเ​ชื่อถ​ ือส​ ำ�หรับใ​ ช้ก​ ับร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​โดย​เฉพาะ เพื่อล​ ด​ปัญหา​การ​ฉ้อโกง​ หรือ​การ​ทุจริต​ลง 1.5 การ​เข้า​รหัส (cryptography) เป็นการ​นำ�​ข้อมูล​ที่​ทำ�​ธุรกรรม​ไป​เข้า​รหัส​ก่อน​ที่​จะ​รับ​ส่ง​ระหว่าง​ กัน​และ​กัน ซึ่ง​เทคนิค​ที่ใ​ ช้​ใน​การ​เข้า​รหัส​นั้น​มี​ด้วย​กัน​หลาย​เทคนิค เช่น การ​เข้า​รหัส​กุญแจ​ที่​ใช้​ร่วม​กัน การ​ เข้า​รหัส​กุญแจ​สาธารณะ การ​เข้า​รหัส​ลาย​เซ็น​ดิจิทัล 1.6 การ​ใช้โ​ พร​โท​คอล​จดั การ​ความ​ปลอดภัยใ​ น​การ​รบั ส​ ง่ ข​ อ้ มูล ก่อน​ทีจ่​ ะ​กล่าว​ถึงโ​ พร​โท​คอล​จัดการ​ ความ​ปลอดภัย ควร​ทำ�ความ​เข้าใจ​คำ�​ว่า “โพร​โท​คอล” (protocol) ก่อน ซึ่ง​โพร​โท​คอล ก็​คือ ข้อ​กำ�หนด​หรือ​ ข้อ​ตกลง​ใน​การ​สื่อสาร​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​คอมพิวเตอร์​ซึ่ง​มี​อยู่​ด้วย​กัน​มากมาย​หลาย​ชนิด วัตถุประสงค์​ ของ​การ​กำ�​หนด​โพร​โท​คอล​ก็​เพื่อ​ให้การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​กัน​และ​กัน​ผ่าน​ระบบ​เครือ​ข่าย​คอมพิวเตอร์​ เป็น​ไป​ด้วย​ความ​ถูก​ต้อง รวดเร็ว และ​ไม่มี​ปัญหา​ สำ�หรับโ​ พร​โท​คอล​ที่​นิยม​ใช้​ใน​การ​จัดการ​ความ​ปลอดภัย​ ของ​ข้อมูล​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​คือ โพร​โท​คอล​เอส​เอส​แอล (Secure Socket Layer - SSL) ซึ่ง​ เริ่ม​พัฒนา​ขึ้น​โดย​บริษัท เน็ต​สเคป คอม​มูนิ​เค​ชัน​ส์ (Netscape Communications) เพื่อ​ใช้​กับ​โพร​โท​คอล​ ระดับ​แอพพลิเคชัน​เอชทีทีพี (Hypertext Transfer Protocol - HTTP) โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​ให้การ​ สื่อสาร​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ผ่าน​เว็บ​มี​ความ​ปลอดภัย โดย​พัฒนา​ขึ้น​ใน​ช่วง​ต้น​ของ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​กำ�ลัง​ได้​ รับ​ความ​นิยม การ​เข้า​รหัส​ด้วย​โพร​โท​คอล​เอส​เอส​แอลนั้น​มี 2 แบบ คือ แบบ​ที่ 1 การ​เข้าร​ หัส​แบบ 40 บิต และ​แบบ​ที่ 2 การ​เข้า​รหัส​แบบ 128 บิต ซึ่ง​การ​เข้า​รหัส​แบบ​ที่​สอง​นี้​มี​ใช้เ​ฉพาะ​ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​เท่านั้น หลักก​ าร​ของ​การ​ทำ�งาน​ของ​โพร​โท​คอล​เอส​เอส​แอล โดย​สังเขป​คือ จะ​มีก​ าร​เข้าร​ หัสข​ ้อมูลใ​ น​ฝั่งเ​ครื่อง​ลูกข​ ่าย หรือไ​ คล​เอน​ต์ โดย​ซอฟต์แวร์เ​ว็บเ​บ​รา​เซอร์จ​ ะ​เป็นต​ ัวเ​ข้าร​ หัสข​ ้อมูล ด้วย​การ​ใช้ก​ ุญแจ​สาธารณะ (public key) จาก​ฝั่ง​เซิร์ฟเวอร์​มา​เข้า​รหัส​ร่วม​กับ​กุญแจ​หลัก (master key) ที่​เบ​รา​เซอร์​สร้าง​ขึ้นม​ า​เอง จาก​นั้น​ก็​ใช้​กุญแจ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-78

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ดัง​กล่าว​เข้า​รหัส​ข้อมูล​ก่อน​ส่ง​ไป​ให้​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์ เมื่อ​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์​ได้​รับ​ข้อมูล​ที่​ถูก​เข้า​รหัส​จาก​ฝั่ง​ เครื่อง​ไคล​เอน​ต์​ก็​จะ​ทำ�การ​ถอดรหัส​ข้อมูล​นั้นก​ ลับม​ า​เป็นข​ ้อมูล​ปกติ เอส​เอส​แอล เป็น​โพร​โท​คอล​สำ�หรับ​ใช้​ รักษา​ความ​ปลอดภัย ใน​การ​สื่อสาร​ข้อมูลร​ ะหว่าง​เครื่อง​ไคล​เอน​ตก์​ ับเ​ครื่อง​เซิร์ฟเวอร์ผ​ ่าน​ทาง​ระบบ​เครือข​ ่าย​ อินเทอร์เน็ต ซึ่ง​โดย​ปกติ​แล้ว​ข้อมูล​ที่ร​ ับ​ส่ง​กัน​นั้น​จะ​ไม่มี​การ​เข้า​รหัส​ข้อมูล​แต่​อย่าง​ใด นั่น​คือ หาก​ข้อมูล​ถูก​ ดัก​จับ​ไป​ก็​จะ​สามารถ​ทราบ​หรือ​อ่าน​เนื้อหา​ของ​ข้อมูล​เหล่า​นั้น​ใน​ทันที แต่​ถ้า​ทำ�การ​เข้า​รหัส​ด้วย​เอส​เอส​แอล ข้อมูลจ​ าก​เครื่อง​ไคล​เอน​ต์​ที่​จะ​ส่ง​ไป​ยังเ​ครื่อง​เซิร์ฟเวอร์​จะ​ถูก​เข้าร​ หัส​ก่อน ถึง​แม้ว่า​ข้อมูล​เหล่า​นั้น​จะ​ถูก​ดัก​ จับ​ได้ แต่​จะ​ไม่​สามารถ​อ่าน​เนื้อหา​ของ​ข้อมูล​เหล่า​นั้น​ใน​ทันที ทำ�ให้​ข้อมูล​ที่​รับ​ส่ง​กัน​มี​ความ​ปลอดภัย​มาก​ ยิ่ง​ขึ้น

ธ ส

ธ ส

2. เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​ป้องกัน​และ​ติดตาม​การ​ฉ้อโกง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ผ่าน​บัตร​ เครดิต

ธ ส

สำ�หรับ​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​ป้องกันแ​ ละ​ติดตาม​การ​ฉ้อโกง ที่​น่า​สนใจ​มี​ดังนี้ 2.1 ระบบ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูล​ที่​อยูข่​ อง​ผู้​ถือบ​ ัตร​หรือ​เอ​วี​เอส (Address Verification System - AVS) เป็นว​ ิธีก​ าร​ตรวจ​สอบ​ที่อ​ ยู่ข​ อง​ผู้ถ​ ือบ​ ัตร ซึ่งข​ ้อมูลด​ ังก​ ล่าว​ผูถ้​ ือบ​ ัตร​ต้อง​ป้อน​ผ่าน​เว็บเพจ​ของ​ ผู้​ขาย​ใน​กรณี​ที่​มี​การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​บัตร​เครดิต ผู้​ขาย​จะ​ทำ�การ​ตรวจ​สอบ​กับ​ข้อมูล​ที่​อยู่​ใน​ไฟล์​ที่​ได้​มา​จาก​ ธนาคาร​ผู้​ออก​บัตร ผู้ข​ าย​ผ่าน​ระบบ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ร้อย​ละ 97 จะ​ใช้​วิธี​นี้ ซึ่ง​ทำ�ให้​เกิดก​ าร​ปฏิเสธ​การ​ สั่งซ​ ื้อข​ อง​ลูกค้าท​ ีป่​ ้อน​ข้อมูลไ​ ม่ต​ รง​กับข​ ้อมูลใ​ น​ไฟล์ด​ ังก​ ล่าว โดย​ใน​บาง​ครั้งก​ ท็​ ำ�ให้เ​กิดก​ าร​ปฏิเสธ​การ​สั่งซ​ ื้อท​ ​ี่ ไม่ไ​ ด้เ​กิดจ​ าก​การ​ฉ้อโกง แต่เ​กิดจ​ าก​การ​เลินเล่อ​ของ​ลูกค้าผ​ ู้ถ​ ือบ​ ัตร​ที่ป​ ้อน​ตัวเลข​ที่อ​ ยู่ไ​ ม่ถ​ ูกต​ ้อง ทำ�ให้​ผู้ข​ าย​ ต้อง​เสีย​ราย​ได้ไ​ ป 2.2 การ​ทวน​สอบ​โดย​วิธี​แมน​นวล (manual review) เป็นการ​ทวน​สอบ​ข้อมูลก​ าร​สั่ง​ซื้อ​ที่​น่า​สงสัย​ โดย​ให้​พนักงาน​เป็น​ผู้ท​ ำ�การ​ตรวจ​สอบ สำ�หรับ​ผู้ข​ าย​ราย​ย่อย​ซึ่ง​มี​ยอด​ขาย​ไม่​มาก​นัก​ก็​เหมาะ​สม​ที่​จะ​ใช้​วิธี​นี้​ เป็น​วิธี​การ​ทวน​สอบ แต่​สำ�หรับ​ผู้​ขาย​ราย​ใหญ่​วิธี​นี้​อาจ​ไม่​เหมาะ​สม เนื่องจาก​จะ​ต้อง​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​และ​เวลา​ ค่อน​ข้าง​มาก​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ และ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ความ​พึง​พอใจ​ของ​ลูกค้า แต่​แม้ว่า​วิธี​นี้​จะ​มี​ข้อ​จำ�กัด​ ดังก​ ล่าว​ร้อย​ละ​ของ​ผู้ข​ าย​ที่น​ ิยม​ใช้ว​ ิธีน​ ี้ก​ ลับเ​พิ่มข​ ึ้น จาก​สถิติพ​ บ​ว่าใ​ น​ปี ค.ศ. 2006 มีผ​ ู้ข​ าย​ร้อย​ละ 73 ที่ใ​ ช้ว​ ิธ​ี นี้ และ​ใน​ปี ค.ศ. 2005 จำ�นวน​การ​สั่งซ​ ื้อ 1 ใน 3 ใช้​วิธี​นี้​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ข้อมูล ซึ่ง​มากกว่า​ ใน​ปี ค.ศ. 2003 ที่ใ​ ช้​วิธีน​ ี้​ตรวจ​สอบ​การ​สั่ง​ซื้อเ​พียง 1 ใน 4 ของ​จำ�นวน​การ​สั่ง​ซื้อ​ทั้งหมด 2.3 กำ�หนด​หน้า​จอ​และ​กฎ​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​การ​ฉ้อโกง (fraud screens and automated decision models) เป็นว​ ธิ ท​ี มี​่ ก​ี าร​ก�ำ หนด​แบบ​จ�ำ ลอง​ทปี​่ ระกอบ​ดว้ ย​กฎ​หรือเ​งือ่ นไข​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​การ​ฉอ้ โกง ซึ่งก​ ฎ​ดังก​ ล่าว​จะ​เขียน​ไว้ใ​ น​โปรแกรม​สำ�หรับต​ รวจ​สอบ​ข้อมูลก​ าร​สั่งซ​ ื้อ วิธกี​ าร​คือ เมื่อม​ กี​ าร​รับก​ าร​สั่งซ​ ื้อจ​ าก​ ผู้ซ​ ื้อผ​ ่าน​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ หน้าจ​ อ​ที่ร​ ับข​ ้อมูลก​ าร​สั่งซ​ ื้อจ​ ะ​ทำ�การ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูกต​ ้อง​ของ​ข้อมูลต​ าม​ กฎ​ทกี​่ �ำ หนด​ไว้ว​ า่ เ​ป็นไ​ ป​ตาม​กฎ​หรือไ​ ม่ โดย​โปรแกรม​จะ​แสดง​ผล​การ​ตรวจ​สอบ​ออก​มา​ให้ว​ า่ การ​สัง่ ซ​ ือ้ ร​ าย​กา​ร นั้นๆ ควร​จะ​ยอมรับ​หรือ​ปฏิเสธ หรือ​รอ​ไว้​ก่อน วิธี​นี้​ทำ�ให้​ผู้​ขาย​สามารถ​ตัดสิน​ใจ​ได้​ถูก​ต้อง​และ​รวดเร็ว​ขึ้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-79

ธ ส

โดย​ร้อย​ละ 70 ของ​ผู้ข​ าย​นิยม​ใช้​วิธีน​ ี้ หลักก​ าร​สำ�คัญข​ อง​วิธี​นี้​คือ ความ​สามารถ​ของ​ผู้​ขาย ความ​ยืดหยุ่นข​ อง​ ระบบ​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​กฎ​ตาม​สภาพ​แวดล้อม และ​แนว​โน้ม​ของ​การ​ฉ้อโกง​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป 2.4 หมายเลข​สำ�หรับ​ตรวจ​สอบ​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​บัตร​เครดิต​ หรือ​ซี​วี​เอ็น (Card verification number - CVN) เป็นการ​นำ�​หมายเลข 3 หลักท​ ีอ่​ ยูต่​ รง​บริเวณ​ใกล้ก​ ับล​ าย​เซ็นบ​ น​ด้าน​หลังบ​ ัตร​เครดิตม​ า​ตรวจ​ สอบ​ว่าต​ รง​กันก​ ับห​ มายเลข​บัตร​ที่บ​ ันทึกอ​ ยู่ใ​ น​ไฟล์ข​ ้อมูลท​ ีไ่​ ด้ม​ า​จาก​บริษัทผ​ ูอ้​ อก​บัตร​เครดิตห​ รือไ​ ม่ แต่ก​ รณี​ นี้​อาจ​ใช้​ไม่​ได้​ผล​ถ้า​บัตร​นั้น​ถูก​ขโมย​มา​จาก​เจ้าของ​บัตร เพราะ​ผู้​ที่​นำ�​มา​ใช้​สามารถ​บอก​หมายเลข​บัตร​ได้​ ถูก​ต้อง​อยู่​แล้ว สำ�หรับ​วิธีน​ ี้เ​ป็น​วิธีท​ ี่​มีผ​ ู้ข​ าย​ร้อย​ละ 69 ของ​ผู้​ขาย​ทั้งหมด​นิยม​ใช้ 2.5 การ​บริการ​ระบุต​ ัว​ตน​ของ​ผู้​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​บัตร​เครดิตโ​ ดย​สมาคม​บัตร​เครดิต (card association payer authentication services) ใน​ช่วง 2-3 ปี​ที่​ผ่าน​มา​นี้ สมาคม​บัตร​เครดิต​ได้​พัฒนา​ชุด​บริการ​สำ�หรับ​การ​ ระบุ​ตัว​ตน​ของ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​บัตร​ขึ้น​มา​ใหม่ เช่น บริการ​การ​ตรวจ​สอบ​รหัส​รักษา​ความ​ปลอดภัย​โดย​บริษัท​ วีซ่า​และ​มาสเตอร์ก​ าร์ด ซึ่งก​ าร​ใช้​บริการ​เหล่า​นี้​ผู้ถ​ ือ​บัตร​ต้อง​ลง​ทะเบียน​ใน​ระบบ​และ​ใน​ขณะ​เดียวกัน ผู้​ขาย​ ก็​ต้อง​ยอมรับ​การ​ใช้​บริการ​นี้ด​ ้วย และ​จาก​การ​สำ�รวจ​พบ​ว่า ใน​ปี ค.ศ. 2006 มี​ผู้​ขาย​เพียง​ร้อย​ละ 29 เท่านั้น​ ที่​เลือก​ใช้​วิธี​นี้ เนื่องจาก​จะ​ต้อง​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ใช้​บริการ​ดัง​กล่าว 2.6 ไฟล์ต​ รวจ​สอบ (negative file) เป็นว​ ิธีก​ าร​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูลล​ ูกค้าจ​ าก​ไฟล์ล​ ูกค้า ซึ่งข​ ้อมูล​ ที่ต​ รวจ​สอบ ประกอบ​ด้วย ไอ​พี​แอดเดรส (IP address) ชื่อ ที่​อยู่​ที่​ให้​ส่ง​สินค้า/บริการ หมายเลข​โทรศัพท์​ ที่​ติดต่อ สถานภาพ​ของ​ลูกค้า ข้อมูล​ที่​ลูกค้า​ทำ�​ธุรกรรม​กับ​ผู้​ขาย​จะ​ถูก​นำ�​มา​ตรวจ​สอบ​กับ​ไฟล์​ลูกค้า​และ​มี​ การ​บันทึก​สถานภาพ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ลูกค้า​ไว้​ด้วย​ว่า​มี​ปัญหา​หรือ​ไม่ สำ�หรับ​วิธี​นี้​มี​ผู้​ขาย​ร้อย​ละ 34 ใช้​วิธี​ นี้​ใน​การ​ป้องกัน​การ​ฉ้อโกง ผล​ทีเ่​กิดจ​ าก​การ​ใช้เ​ครื่อง​มือท​ ีก่​ ล่าว​มา​ข้าง​ต้นน​ ี้ ทำ�ให้ผ​ ูข้​ าย​ปฏิเสธ​การ​สั่งซ​ ื้อท​ ีน่​ ่าส​ งสัยว​ ่าจ​ ะ​เป็นการ​ ฉ้อโกง​ได้​จำ�นวน​หนึ่ง ใน​ปี ค.ศ. 2006 พบ​ว่า​อัตรา​การ​สั่ง​ซื้อ​ที่​ถูก​ปฏิ​เสธ​ทั้งๆ ที่​เป็นการ​สั่ง​ซื้อ​ที่​ถูก​ต้อง​ คิด​เป็น​ร้อย​ละ 4 ของ​ยอด​สั่ง​ซื้อ​ทั้งหมด ซึ่ง​มี​ผล​ทำ�ให้​ผู้​ขาย​ต้อง​สูญ​เสีย​ราย​ได้​ไป​ด้วย จาก​การ​สำ�รวจ​ของ​ บริษัท ไซเบอร์ซ​ อร์ส และ​ผล​การ​สำ�รวจ​ราย​ปี​ของ​บริษัท เม​อร์​ชาน​ต์​ริ​สก์​เคา​น์​ซิล (Merchant Risk Council - MRC) พบ​ว่า​แนว​โน้ม​ของ​การ​ฉ้อโกง​จะ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น และ​ใน​ขณะ​เดียวกัน การ​พัฒนา​เครื่อง​มือ​ก็​จะ​มี​การ​ พัฒนา​เพิ่มต​ าม​ไป​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. มาตรการ​ป้องกันเ​พื่อ​ลด​ความ​เสี่ยง​ของ​ภัย​คุกคาม​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์

มาตรการ​ป้องกัน​เพื่อ​ลด​ความ​เสี่ยง​ของ​ภัย​คุกคาม​ที่​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​อย่าง​มาก​ต่อ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ มีด​ ังนี้ 3.1 การ​ควบคุมด​ า้ น​กายภาพ​และ​ดา้ น​ตรรกะ​ใน​การ​เข้าถ​ งึ เ​ครือ่ ง​เซิรฟ์ เวอร์อ​ ย่าง​เข้มง​ วด การ​ควบคุม​ ด้าน​กายภาพ หมาย​ถึงก​ าร​ป้องกันพ​ นักงาน​หรือผ​ ูท้​ ีไ่​ ม่เ​กี่ยวข้อง​เข้าไป​ใน​ห้อง​คอมพิวเตอร์ห​ รืออ​ าคาร​ทีจ่​ ัดเ​ก็บ​ อุปกรณ์ หรือ​ระบบ​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ส่วน​การ​ควบคุม​ทาง​ตรรกะ คือ​การ​ควบคุม​พนักงาน​ หรือ​ผู้​ที่​ไม่​เกี่ยวข้อง​ไม่​ให้​เข้า​ถึง​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​องค์การ โดย​อาจ​ใช้​วิธี​การ​กำ�หนด​สิทธิ์​ใน​ การ​เข้า​ถึง​ระบบ​ดังก​ ล่าว

ธ ส


6-80

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3.2 การ​สร้าง​ไฟร์วอลล์เ​พือ่ ป​ อ้ งกันแ​ ละ​หยุดก​ าร​ลกั ลอบ​เข้าม​ า​จาก​ภายนอก ไฟร์วอลล์ คือฮ​ าร์ดแวร์​ และ​ซอฟต์แวร์​ที่​องค์การ​ต่างๆ มี​ไว้​เพื่อป้องกัน​เครือ​ข่าย​คอมพิวเตอร์​ภายใน​ของ​ตน​จาก​อันตราย​ที่มา​จาก​ เครือข​ ่าย​คอมพิวเตอร์ภ​ ายนอก เช่น ผู้บ​ ุกรุก หรือแ​ ฮกเกอร์ เป็นต้น ไฟร์วอลล์​จะ​อนุญาต​ให้​เฉพาะ​ข้อมูล​ที่​ มี​คุณลักษณะ​ตรง​กับ​เงื่อนไข​ที่​กำ�หนด​ไว้​ผ่าน​เข้า​ออก​ระบบ​เครือ​ข่าย​ภายใน​เท่านั้น อย่างไร​ก็​ดี ไฟร์วอลล์​นั้น​ ไม่​สามารถ​ป้องกัน​อันตราย​ที่มา​จาก​ระบบ​อินเทอร์เน็ต​ได้​ทุก​รูป​แบบ เช่น ไวรัส​คอมพิวเตอร์ ดัง​นั้น ถึง​แม้ว่า​ จะ​มี​การ​ใช้​ไฟร์วอลล์​แล้ว​ก็ตาม ก็​ไม่​สามารถ​รับรอง​ได้​ว่า​ความ​ปลอดภัย​หรือ​ความ​ลับ​ของ​ข้อมูล​จะ​มี​ความ​ สมบูรณ์ร​ ้อย​เปอร์เซนต์ 3.3 การ​ใช้​ซอฟต์แวร์​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​ทัน​สมัย เป็นการ​ป้องกัน​โดย​การ​ติด​ตั้ง​ซอฟต์แวร์​ที่​ ทันส​ มัย ซึ่งไ​ ด้ร​ ับก​ าร​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ขึ้นม​ า​โดย​เฉพาะ​สำ�หรับก​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัย การ​ใช้ซ​ อฟต์แวร์​ รักษา​ความ​ปลอดภัย​ให้​ได้​ผล​จำ�เป็น​ต้อง​มี​การ​ปรับปรุง​หรือ​อัพเกรด​ซอฟต์แวร์​ให้​ทัน​สมัย​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ซอฟต์แวร์​ดัง​กล่าว เช่น ไซเบอร์​ซอร์ส (CyberSource) วัน​ช็อป​ปิ้ง​คาร์ต (1ShoppingCart) ช็อป​โม​ชัน (ShopMotion) เป็นต้น 3.4 การ​บันทึก​ราย​ละเอียด​การ​เข้า​ถึง​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์ และ​กำ�หนด​วิธี​การ​ตรวจ​สอบ ติดตาม​ เหตุการณ์​การ​เข้า​ถึง​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์ เป็นการ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​โดย​การ​บันทึก​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​ ผู้​ใช้​ทุก​คน​ที่​เข้า​มา​ทำ�​ธุรกรรม​ผ่าน​ระบบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ไฟล์​ที่​จัด​เก็บ​ราย​ละเอียด​ดัง​กล่าว​เรียก​ว่า “ล็อก​ไฟล์” (log file) ข้อมูลท​ ี่​บันทึก​ใน​ล็อก​ไฟล์จ​ ะ​เป็น​ประโยชน์​มาก​ต่อ​การ​วิเคราะห์​ติดตาม​ผู้​บุกรุก และ​ สามารถ​นำ�​ไป​ประกอบ​ใน​การ​ป้องกัน​ภัย​คุกคาม​ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น​อีก​ใน​อนาคต​ได้ นอกจาก​นี้ การ​กำ�หนด​วิธี​การ​ ตรวจ​สอบ ติดตาม​การ​เข้า​ถึง​เครื่อง​เซิร์ฟเวอร์​ก็​เป็น​วิธี​การ​ป้องกัน​ที่​ช่วย​ลด​ความ​เสี่ยง​ภัย​คุกคาม​ที่​เกิด​จาก​ การ​บุกรุก​ลง​ได้ 3.5 การ​ใช้อ​ งค์ป​ ระกอบ​ฮาร์ดแวร์ท​ อ​ี่ อกแบบ​มา​โดย​เฉพาะ​และ​ได้ม​ าตรฐาน​สากล  ปัจจุบนั ไ​ ด้ม​ ห​ี น่วย​ งาน​หรือ​องค์การ​หลาย​แห่งไ​ ด้​กำ�หนด​มาตรฐาน​ของ​ฮาร์ดแวร์​สำ�หรับ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล เช่น คณะ​กรรมการ Defence Signals Directorate (DSD) ได้​จัด​ตั้ง​โครงการ​ชื่อ Australasian Information Security Evaluation Programme (AISEP) ทำ�​หน้าที่​ประเมิน​ผล​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล เพื่อ​ ทดลอง​ใช้ผ​ ลิตภัณฑ์​รักษา​ความ​ปลอดภัย​เปรียบ​เทียบ​กับ​มาตรฐาน​สากล

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ที่​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.3.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.3.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.3 เรื่อง​ที่ 6.3.2


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-81

ธ ส

เรื่อง​ที่ 6.3.3 ผลก​ระ​ทบ​และ​ทศิ ทาง​ของ​ระบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ ใน​ประเทศไทย

ธ ส

ดัง​ที่​กล่าว​มา​แล้ว​ว่า ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ (electronic payment system) เป็น​ องค์ป​ ระกอบ​สำ�คัญใ​ น​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ที่เ​กี่ยวข้อง​กับธ​ ุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่ไ​ ด้ร​ ับค​ วาม​นิยม​และ​แพร่ห​ ลาย​ไป​ ทัว่ โ​ ลก และ​จาก​การ​ทรี​่ ะบบ​ช�ำ ระ​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์เ​ป็นช​ อ่ ง​ทาง​ใหม่ใ​ น​การ​ท�​ำ ธรุ กรรม​ใน​โลก​ออนไลน์ท​ มี​่ ม​ี ลู ค่า​ มหาศาล ดังน​ ั้น รัฐจ​ ึงค​ วร​ให้ค​ วาม​สำ�คัญเ​นื่องจาก​มูลค่าม​ หาศาล​ดังก​ ล่าว​ย่อม​ส่งผ​ ลก​ระ​ทบ​ต่อเ​ศรษฐกิจข​ อง​ ประเทศ​ไม่​มาก​ก็​น้อย

ธ ส

ธ ส

1. ผลก​ระ​ทบ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย

ธ ส

จาก​รายงาน​วจิ ยั เ​รือ่ ง เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ก​ บั น​ โยบาย​การ​เงินแ​ ละ​การ​ฟอก​เงินข​ อง (อนุชติ อนุช​ ต​ิ านุก​ ลู และ​สม​เกียรติ ตั้งก​ ิจว​ า​นิช​ ย์ 2543) กล่าว​ไว้ว​ ่า การ​เกิดข​ ึ้นข​ อง​การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเ​ป็นว​ ิธีก​ าร​ชำ�ระ​ เงิน​แบบ​ใหม่​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​เศรษฐกิจ​และ​การ​เงิน​ที่​รัฐ​จะ​ต้อง​ให้​ความ​สำ�คัญ ซึ่ง​ผลก​ระ​ทบ​ที่​นำ�​มา​ กล่าว​ใน​ที่​นี้​มี​ด้วย​กัน 2 ประเด็น​หลักๆ คือ 1) ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบและ​ผล​ประโยชน์​ของ​รัฐ​ จาก​สิทธิ​ใน​การ​ออก​เงิน​ตรา และ 2) ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​การ​ฟอก​เงิน 1.1 ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​และ​ผล​ประโยชน์​ของ​รัฐ​จาก​สิทธิ​ใน​การ​ออก​เงิน​ตรา ผลก​ระ​ทบ​ของ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ต่อ​ปริมาณ​เงิน (money supply) ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ และ​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ ผล​ประโยชน์​ที่​รัฐ​ได้​รับ​จาก​สิทธิ​ใน​การ​ออก​เงิน​ตรา โดย​สามารถ​วิเคราะห์​ผลก​ระ​ทบ​ดัง​กล่าว​ทั้ง​ใน​กรณี​ที่​ ธนาคาร​กลาง​ไม่​ได้​ดำ�เนิน​นโยบาย​ใดๆ และ​ใน​กรณี​ที่​มี​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​บาง​ประการ เมื่อ​มี​การ​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ ประชาชน​จะ​สามารถ​ใช้​เงิน​ดัง​กล่าว​ได้​โดย​นำ�​เงินสด​ของ​ตน​ไป​ แลก​เปลี่ยน​กับ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จาก​บริษัท​ที่​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ และ​สามารถ​นำ�​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​นั้น​ ไป​แลก​คืน​เป็น​เงินสด​ได้​เมื่อ​ต้องการ บริษัท​ที่​ออก​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์จ​ ะ​สามารถ​นำ�เงินท​ ี่​ได้​รับ​จาก​ประชาชน​ ไป​ฝาก​ต่อใ​ น​ระบบ​สถาบันก​ าร​เงินห​ รือน​ ำ�​ไป​ลงทุนไ​ ด้ ซึ่งท​ ำ�ให้เ​กิดก​ าร​ขยาย​ปริมาณ​เงินใ​ น​ระบบ​เศรษฐกิจ จึง​ อาจม​อง​ได้​ว่าการ​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​มี​ลักษณะ​คล้าย​กับ​การ​รับเ​งิน​ฝาก​ของ​ธนาคาร​พาณิชย์ การ​อนุญาต​ ให้​มี​การ​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​โดย​ไม่มี​ข้อ​กำ�​หนด​ใดๆ จึง​มี​ผล​ทำ�ให้​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​เพิ่ม​ขึ้น ซึ่ง​นำ�​ไป​สู่​ สภาวะ​เงินเฟ้อ​ได้ จาก​แนวคิดด​ ังก​ ล่าว​ข้าง​ต้นผ​ ลก​ระ​ทบ​ของ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ต​ ่อป​ ริมาณ​เงินใ​ น​ระบบ​เศรษฐกิจท​ ั้งใ​ น​ กรณี​ที่ร​ ัฐ​ไม่​ดำ�เนินน​ โยบาย​ใดๆ และ​ใน​กรณีท​ ี่ม​ ี​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​บาง​อย่าง สามารถ​สรุป​ได้​ดังนี้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-82

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

1) กรณีท​ ี่​รัฐ​ไม่มี​การ​ดำ�เนินน​ โยบาย​ใดๆ ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจท​ ี่​จะ​ใช้​วิเคราะห์ใ​ น​ที่​ นี้​จะ​รวม​ถึง​เงินสด​ที่ห​ มุนเวียน​อยู่ใ​ น​มือ​ประชาชน (cash in circulation) และ​เงินฝ​ าก​เผื่อ​เรียก (demand deposit) ที่ป​ ระชาชน​ฝาก​ไว้​กับ​ธนาคาร​พาณิชย์เท่านั้น อย่างไร​ก็ตาม ผล​การ​ศึกษา​จะ​ไม่​เปลี่ยนแปลง หาก​ เปลี่ยน​ไป​ใช้​ปริมาณ​เงิน​ใน​ความ​หมายก​ว้าง​ขึ้น โดย​ทั่วไป​แล้ว​การนำ�​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​มา​ใช้​จะ​ทำ�ให้​เงิน​ ดังก​ ล่าว​ถูก​ใช้ท​ ดแทน​เงินสด โดย​อาจ​ทดแทน​ทั้งหมด ทดแทน​บาง​ส่วน หรือ​แทบ​ไม่​ทดแทน​เลย​ก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับป​ ัจจัยห​ ลาย​ประการ เช่น ความ​ปลอดภัยข​ อง​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ความ​สะดวก​ต่างๆ ที่ไ​ ด้ร​ ับ วิธีก​ าร​ ชำ�ระ​เงิน​อื่นๆ ที่​สามารถ​ทดแทน​กัน​ได้ ตลอด​จน​กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด​ของ​บริษัท​ผู้​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ใน​กรณี​ที่​มี​การ​ใช้​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ทดแทน​เงินสด ประชาชน​จะ​ถือ​เงินสด​ลด​ลง และ​หัน​ไป​ถือ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ การ​เปลี่ยนแปลง​ดังก​ ล่าว​จะ​มผี​ ล​ใน​การ​ขยาย​เงินฝ​ าก​และ​ทำ�ให้ป​ ริมาณ​เงินใ​ น​ระบบ​เศรษฐกิจ​ เพิ่มข​ ึ้นม​ ากกว่าเ​งินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ีอ่​ อก​มา ใน​กรณีท​ ีไ่​ ม่มกี​ าร​ใช้เ​งินอ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ ทน​เงินสด ปริมาณ​เงินใ​ น​ ระบบ​ทั้งหมด​จะ​เพิ่มข​ ึ้นต​ าม​จำ�นวน​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ีอ่​ อก​มา​เท่านั้น อย่างไร​ก็ตาม​แม้แต่ใ​ น​กรณีห​ ลังน​ ีห้​ าก​ รัฐไ​ ม่มมี​ าตร​การ​ใดๆ ใน​การ​ควบคุมก​ าร​ออก​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์เ​ลย เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ีอ่​ อก​มา​อาจ​มปี​ ริมาณ​ มาก ซึ่ง​จะ​ทำ�ให้​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​เพิ่ม​ขึ้น​อย่าง​มาก​ก็ได้ 2) กรณี​ที่​มี​การ​กำ�หนด​นโยบาย​เงินสด​สำ�รอง​ใน​การ​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ รัฐ​อาจ​ควบคุม​ ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​ได้​โดย​กำ�หนด​ให้​ผู้​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ต้อง​ดำ�รง​เงิน​สำ�รอง​ใน​รูป​เงินสด​หรือ​เงิน​ฝาก​ กับธ​ นาคาร​กลาง ข้อก​ ำ�หนด​ดังก​ ล่าว​จะ​ทำ�ให้ก​ าร​ขยาย​ตัวข​ อง​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ถ​ ูกจ​ ำ�กัดโ​ ดย​อัตรา​เงินส​ ำ�รอง​ ดัง​กล่าว​และ​ไม่​สามารถ​ขยาย​ได้​อย่าง​ไม่​จำ�กัด ข้อ​กำ�หนด​ดัง​กล่าว​คล้าย​กับ​ข้อ​กำ�หนด​ที่​ให้​ธนาคาร​พาณิชย์​ ต้อง​มเ​ี งินสด​ส�ำ รอง​ตาม​กฎหมาย​เพือ่ ค​ วบคุมป​ ริมาณ​เงินใ​ น​ระบบ ซึง่ ก​ ฎหมาย​ของ​ประเทศ​ตา่ งๆ มักก​ �ำ หนด​ให้​ ธนาคาร​พาณิชย์​ต้อง​สำ�รอง​เงิน​ขั้น​ตํ่าต​ าม​สัดส่วน​ของ​เงิน​ฝาก​เผื่อ​เรียก เช่น ให้​สำ�รอง​ไว้​ร้อย​ละ 7 เป็นต้น 1.2 ผลก​ระ​ทบ​ตอ่ ก​ าร​ฟอก​เงิน  การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์เ​ป็นช​ ่อง​ทาง​ใหม่ท​ ีก่​ ลุ่มม​ ิจฉาชีพส​ ามารถ​ นำ�​ไป​ใช้เ​ป็นช​ ่อง​ทางใน​การ​ฟอก​เงินอ​ ีกช​ ่อง​ทาง​หนึ่ง เนื่องจาก​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ส​ ามารถ​เปลี่ยน​มือไ​ ด้ง​ ่าย และ​ ยาก​ต่อ​การ​ตรวจ​สอบ ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ใ​ น​ทาง​ที่​ผิด​กฎหมาย หรือ​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สังคม​ได้​ใน 2 แนว​ทาง​ใหญ่ๆ คือ แนวทาง​ที่ 1 การ​ใช้ใ​ น​การก​ระ​ท�​ำ ผดิ ก​ ฎหมาย​โดยตรง เช่น ใช้ใ​ น​การ​ยกั ยอก​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ โดย​การ​ออก​เงินป​ ลอม​หรืออ​ อก​เงินม​ าก​เกินก​ ว่าค​ วาม​เป็นจ​ ริง โดย​เจ้าห​ น้าทีข​่ อง​บริษทั ท​ อี​่ อก​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ หรือ​บุคคล​ภายนอก แนวทาง​ที่ 2 การ​ใช้เ​งินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ใ​ น​การ​ฟอก​เงิน ซึง่ ค​ รอบคลุมถ​ งึ ก​ าร​ใช้เ​งินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ เป็น​สื่อ​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​กิจกรรม​ที่​ผิด​กฎหมาย เช่น ใช้​ใน​การ​ค้า​ยา​เสพ​ติด เป็นต้น และ​การ​ใช้​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ใ​ น​การ​ฟอก​เงินท​ ไี​่ ด้ม​ า​จาก​การก​ระ​ท�​ำ ทผี​่ ดิ ก​ ฎหมาย​เพือ่ ป​ กปิดท​ ีม่ า​ของ​เงิน และ​เพือ่ ใ​ ห้ด​ เ​ู หมือน​ ว่า​เงินด​ ัง​กล่าว​ได้​มา​โดย​ชอบ​ด้วย​กฎหมาย การ​ป้องกัน​การ​ใช้เ​งินห​ รือ​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ทาง​ที่ผ​ ิด​กฎหมาย สามารถ​ทำ�ได้​โดย​ การ​กำ�กับ​ดูแล​โดย​หน่วย​งาน​ต่างๆ ของ​รัฐ​ตาม​ปกติ ใน​ส่วน​ของ​ธนาคาร​กลาง​ซึ่ง​มีหน้า​ที่​ดูแล​เสถียรภาพ​ของ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-83

ธ ส

สถาบันก​ าร​เงินแ​ ละ​ระบบ​การ​เงินก​ จ​็ �ำ เป็นต​ อ้ ง​ก�ำ หนด​ให้ผ​ อู​้ อก​เงินอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ม​ ม​ี าตรการ​ใน​การ​ปอ้ งกันก​ าร​ ฉ้อโกง​ใน​การ​ออก​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เช่น การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​ใน​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัยต​ ่างๆ เป็นต้น ส่วน​ การ​ป้องกัน​การ​ใช้​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ใ​ น​การ​ฟอก​เงิน​นั้น พระ​ราช​บัญญัติ​ป้องกัน​และ​ปราบ​ปราม​การ​ฟอก​เงิน พ.ศ. 2542 ได้ก​ ำ�หนด​ให้การ​ฟอก​เงินเ​ป็นค​ วาม​ผิดท​ าง​อาญา โดย​สามารถ​เอา​ความ​ผิดโ​ ดยตรง​กับผ​ ูฟ้​ อก​เงินท​ ี​่ ได้ม​ า​จาก​อาชญากรรม 7 ประเภท เช่น การ​ค้า​ยา​เสพ​ติด การ​ค้า​ประเวณี การ​ฉ้อโกง​ประชาชน​ใน​การ​กู้​ยืม​เงิน การ​ยักยอก​ทรัพย์​จาก​สถาบัน​การ​เงิน การ​ฉ้อ​ราษฎร์​บัง​หลวง การ​กรรโชก​ทรัพย์ และ​การ​หนี​ภาษี​ศุลกากร 1.3 ลักษณะ​ของ​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​ผล​ต่อ​การ​ฟอก​เงิน ผู้​ต้องการ​ฟอก​เงิน​อาจ​ตั้ง ร​ ้าน​ค้า​ออนไลน์ ซึ่งร​ ับ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ฟอก​เงิน​ซึ่ง​มา​จาก​ธุรกิจ​ผิด​ กฎหมาย​ของ​ตน​ได้ เนื่องจาก​การ​ซื้อ​สินค้า​หรือ​บริการ​ด้วย​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ทำ�ให้​การ​ตรวจ​จับ​การ​ฟอก​ เงิน​ทำ�ได้ย​ าก เพราะ​สามารถ​รวบรวม​เงิน​ที่โ​ อน​มา​จาก​ที่​ต่างๆ เข้าด​ ้วย​กัน​โดย​แทบ​ไม่มี​ร่อง​รอย และ​สามารถ​ โอน​ถ่าย​เงินผ​ ่าน​ตัวกลาง​หลาย​ทอด เพื่อป​ กปิดท​ ี่มา​ของ​เงินไ​ ด้อ​ ย่าง​สะดวก​อีกด​ ้วย นอกจาก​นี้ การ​ฟอก​เงินจ​ ะ​ ทำ�ได้​สะดวก​ที่สุด หาก​ผู้ฟ​ อก​เงินเ​ป็นบ​ ริษัทผ​ ู้อ​ อก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เสีย​เอง การ​ฟอก​เงิน​ดัง​กล่าว​จะ​สามารถ​ ทำ�ได้​ง่าย​หรือย​ าก​ย่อม​ขึ้น​อยู่ก​ ับ​ลักษณะ​ต่างๆ ของ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ดังนี้ 1) เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​นั้นเ​ป็นเ​งินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ใน​รูป​บัตร (store-valued card) เพียง​อย่าง​ เดียว หรือสามารถ​โอน​เปลี่ยน​มือ​ผ่าน​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ตไ​ ด้ 2) เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นเ​ป็นเ​งินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่ส​ ามารถ​เปลี่ยน​มือไ​ ด้โ​ ดย​อิสระ​ไม่ต​ ้อง​ผ่าน​ หน่วย​งาน​กลาง (open loop) หรือ​เปลี่ยน​มือ​ไม่ไ​ ด้​โดย​ไม่​ผ่าน​หน่วย​งาน​กลาง (closed loop) 3) ระบบ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นถ​ ูกอ​ อกแบบ​ให้ส​ ามารถ​ตรวจ​สอบ​เส้นท​ างใน​การ​ไหล​เวียน​ของ​ เงิน (audit trail) ได้​หรือไ​ ม่ 4) เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นส​ ามารถ​ใช้ได้ใ​ น​เฉพาะ​ใน​ประเทศ หรือส​ ามารถ​แลก​เปลี่ยน​เป็นเ​งิน​ สกุลอ​ ื่น​เพื่อ​ใช้​ระหว่าง​ประเทศ​ได้ 5) เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นม​ ขี​ ้อจ​ ำ�กัดใ​ น​ด้าน​ปริมาณ​การ​ใช้ห​ รือไ​ ม่ เช่น มีก​ าร​กำ�หนด​วงเงินข​ อง​ เงิน​ใน​บัตร​หรือ​วงเงิน​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​แต่ละ​ครั้งห​ รือ​ไม่ 6) เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​นั้น​มี​เวลา​หมด​อายุ​หรือ​ไม่ 7) ผู้​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ต้อง​ได้​รับ​อนุญาต​จาก​รัฐ​หรือ​ไม่ และ​มี​กฎหมาย​เปิด​ให้​มี​การ​ กำ�กับ​ดูแล​ที่เ​หมาะ​สม​หรือไ​ ม่ 8) ผู้​ที่​สามารถ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​จำ�กัด​อยู่​เฉพาะ​ร้าน​ค้า​ที่​เป็น​สมาชิก​ใน ​เครือ​ข่าย​ของ​ผู้​ออก​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ หรือ​เปิด​กว้าง​ให้​ร้าน​ค้าท​ ั่วไป​สามารถ​รับ​ชำ�ระ​ได้​ด้วย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ทิศทาง​ความ​ร่วม​มือ​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย

จาก​การ​แสดง​ปาฐกถา​พิเศษ เรื่อง “e-payment กับ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ” โดย ธาริ​ษา วัฒน​เกส ผู้​ว่าการ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย (ธาริ​ษา วัฒน​เกส 2552) ได้​กล่าว​เกี่ยว​กับ​ทิศทาง​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​ องค์การ​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ใน​ประเทศไทย โดย​สรุป​ได้​ดังนี้


6-84

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย​ได้​เล็ง​เห็น​ความ​จำ�เป็น​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​ รองรับแ​ นว​โน้มข​ อง​การ​เปลี่ยนแปลง​ด้าน​เทคโนโลยี จึงใ​ ห้ค​ วาม​สำ�คัญก​ ับก​ าร​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​สื่ออ​ ิเล็กทรอนิกส์ โดย​ธนาคาร​แห่งป​ ระเทศไทย​ได้พ​ ัฒนาโครงสร้าง​พื้นฐ​ าน​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงินด​ ังก​ ล่าว​อย่าง​เป็นร​ ูปธ​ รรม​มา​ตั้งแต่​ ปี พ.ศ. 2538 โดย​ศึกษา​ใน​เรื่อง การ​ดำ�เนินก​ าร (operation) ความ​เสี่ยง​ของ​ระบบ ใน​ขณะ​เดียวกัน ผูใ้​ ห้บ​ ริการ โดย​เฉพาะ​ธนาคาร​พาณิชย์ ก็ได้ม​ กี​ ารนำ�​เทคโนโลยีเ​ข้าม​ า​พัฒนา​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เช่น การ​ทำ�​ ธุรกรรม​ทางการ​เงิน​ผ่าน​เครื่อง​มือ​สื่อสาร​ต่างๆ และ​ผ่าน​ระบบ​อินเทอร์เน็ต แต่​ใน​ช่วง​เวลา​ที่​ผ่าน​มา ธนาคาร​ พาณิชย์ต​ ่าง​มุ่งเ​น้นก​ าร​ให้บ​ ริการ​เฉพาะ​ภายใน​ธนาคาร​ของ​ตน ส่งผ​ ล​ให้การ​ให้บ​ ริการ​กระจัดกระจาย​และ​ขาด​ ความ​เชื่อม​โยง​ระหว่าง​กัน (interoperability) ดัง​นั้น จึง​ควร​มี​การ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​กัน เพื่อ​พัฒนา​ ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ และ​บทบาท​ของ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย การ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​สื่ออ​ ิเล็กทรอนิกส์น​ ั้นม​ สี​ ่วน​สำ�คัญอ​ ย่าง​ยิ่งต​ ่อก​ าร​พัฒนา​เศรษฐกิจข​ อง​ ประเทศ​ใน​ด้าน​ต่างๆ กล่าว​คือ ผู้​ประกอบ​การ​สามารถ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ค่า​ธรรมเนียม​ใน​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ทางการ​ เงิน และ​ประชาชน​ได้​รับ​ความ​สะดวก​ใน​การ​โอน​เงิน ซึ่ง​จะ​นำ�​ไป​สู่​การ​ลด​ต้นทุน​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน และ​เพิ่ม​ ขีดค​ วาม​สามารถ​ใน​การ​แข่งขันบ​ น​เวทีโ​ ลก จาก​ผล​การ​ศึกษา​ของ​นักว​ ิชาการ​พบ​ว่า ค่าใ​ ช้จ​ ่าย​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ คิด​เป็นร​ ้อย​ละ 3 ของ​ราย​ได้ผ​ ลิตภัณฑ์​มวล​รวม​ใน​ประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) แต่​สำ�หรับ​ ประเทศไทย​นั้นม​ ี​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​แพง​กว่า​ประเทศ​ที่​พัฒนา​แล้ว ดัง​นั้น หาก​มี​การ​ใช้​สื่อ​อิเล็กทรอนิกส์ม​ าก​ขึ้น​จะ​ ทำ�ให้​ต้นทุน​ลด​ต่ำ�​ลง แม้ว่า​ผู้​ให้​บริการ​ดู​เหมือน​จะ​มี​ราย​ได้​ลด​ลง​จาก​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​ต่ำ�​ลง แต่​ต้นทุน​การ​ ให้​บริการ​ก็​จะ​ลด​ลง​มากกว่า และ​ปริมาณ​ของ​ลูกค้า​ใช้​บริการ​ก็​จะ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น ถ้า​ทุก​ฝ่าย​ร่วม​มือ​กัน​พัฒนา​ กลไก​ความ​เชื่อม​โยง มี​มาตรฐาน​บริการ​ที่​เป็น​สากล​จะ​ส่ง​ผล​ให้​ประเทศไทย​มี​สื่อ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ ใน​ส่วน​ของ​สถาบัน​การ​เงิน​ควร​ให้​ความ​สำ�คัญ​ใน​การ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​เพื่อ​พัฒนา​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ​เตรียม​รับ​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​ธุรกิจ​และ​เทคโนโลยี​ที่​เปลี่ยน​ไป​ใน​อนาคต ธนาคาร​แห่ง​ ประเทศไทย​กำ�ลัง​จะ​ประกาศ​ใช้​แผน​แม่บท​สถาบัน​การ​เงิน ฉบับ​ที่ 2 (Financial Sector Master Plan: 2552-2556) โดย​มี​วัตถุประสงค์​อย่าง​หนึ่งก​ ็เ​พื่อส​ ่ง​เสริม​ให้​ระบบ​สถาบันก​ าร​เงิน​ของ​ไทย​มี​ความ​เข้ม​แข็ง​และ​ มีป​ ระสิทธิภาพ​มาก​ขึ้น โดย​เน้นก​ าร​ลด​ต้นทุนข​ อง​สถาบันก​ าร​เงิน เพิ่มก​ าร​แข่งขันใ​ น​ระบบ​สถาบันก​ าร​เงิน โดย​ การ​เพิ่มส​ ถาบันก​ าร​เงินร​ าย​ใหม่ และ​ขยาย​ขอบเขต​การ​ทำ�​ธุรกิจเ​พื่อใ​ ห้ป​ ระชาชน​เข้าถ​ ึงบ​ ริการ​ทางการ​เงินม​ าก​ ขึ้น ทั้งนี้ การ​เปลี่ยนแปลง​เหล่า​นี้จ​ ะ​เป็น​ทั้งโ​ อกาส​และ​ความ​ท้าทาย​สำ�หรับ​สถาบัน​การ​เงิน สถาบัน​การ​เงิน​จึง​จำ�เป็น​ต้อง​ร่วม​มือ​กัน​อย่าง​จริงจัง เพื่อ​พัฒนา​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​ ที่​เป็น​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน รวม​ทั้ง​การ​พัฒนา​บริการ​ใหม่ๆ ที่​มี​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​จูงใจ ประกอบ​กับ​สร้าง​ความ​รู้ ความ​เข้าใจ และ​ความ​เชื่อ​มั่น​แก่​ผู้​ใช้​บริการ เพื่อ​ให้​ผู้​ใช้​บริการ​หัน​มา​ใช้​สื่อ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ทาง​อิเล็กทรอนิกส์​ มาก​ขึ้น และ​เพื่อ​ให้การ​พัฒนา​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​เป็น​ไป​ใน​ทิศทาง​เดียวกัน และ​ให้​เกิด​ความ​ ร่วม​มือ​ที่​เป็น​รูป​ธรรม พระ​ราช​บัญญัติ​ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย​กำ�หนด​ให้​มี​การ​จัด​ตั้ง​คณะ​กรรมการ​ระบบ​ ชำ�ระ​เงิน (กรช.) เพื่อว​ าง​นโยบาย​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ประเทศ กำ�หนด​แผน​กลยุทธ์ และ​ผลัก​ดัน​ให้​บรรลุ​ เป้า​หมาย​ตาม​ที่​วาง​ไว้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-85

ธ ส

ภาย​ใต้​การ​ขับ​เคลื่อน​นโยบาย​ดัง​กล่าว กรช.ได้​กำ�หนด​แผน​กลยุทธ์​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ไทย​ ประเทศ ระหว่าง​ปี พ.ศ. 2550-2553 หรือ​ที่​เรียก​ว่า “Payment Systems Roadmap 2010” มี​เป้าห​ มาย​ที​่ ต้องการ​เห็นค​ วาม​ร่วม​มือร​ ะหว่าง​ผูม้​ ีส​ ่วน​ได้ส​ ่วน​เสียใ​ น​การ​ส่งเ​สริมใ​ ห้ม​ กี​ าร​ใช้ส​ ื่อก​ าร​ชำ�ระ​เงินอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ มาก​ขึ้น และ​บริการ​มี​ความ​มั่นคง​ปลอดภัย รวม​ทั้ง​มี​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​เป็น​ธรรม กรช. ได้​แต่ง​ตั้ง​คณะ​ทำ�งาน ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย ผู้​ที่​เกี่ยวข้อง​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ทั้ง​ภาค​รัฐ เอกชน และ​นัก​วิชาการ เพื่อ​ศึกษา​และ​กำ�หนด​ แนวทาง​ตาม​แผนที่​วาง​ไว้แ​ ละ​สามารถ​นำ�​ไป​ใช้ได้จ​ ริง หาก​มอง​ขีด​ความ​สามารถ​ของ​บริการ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​ สื่ออ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่ม​ อี​ ยู่ใ​ น​ปัจจุบัน ยังม​ ีช​ ่อง​ว่าง​ที่ส​ ามารถ​เพิ่มศ​ ักยภาพ​การ​ให้บ​ ริการ​ใน​ด้าน​ต่างๆ ได้ สำ�หรับ​ ประเด็นส​ ำ�คัญท​ จี่​ ะ​นำ�​มา​กล่าว​ใน​ทนี่​ คี้​ ือ การ​ให้บ​ ริการ​ผ่าน​ตูเ้​อทีเอ็ม การ​ใช้บ​ ัตร​พลาสติก การ​พัฒนา​มาตรฐาน​ ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน (payment message standard) และ​โครงสร้าง​ค่าธ​ รรมเนียม ประเด็นแ​ รก การ​ให้บ​ ริการ​ผา่ น​ตเ​ู้ อทีเอ็ม แม้ว่าป​ ัจจุบันจ​ ะ​มรี​ ะบบ​เอทีเอ็ม พูล (ATM Pool) ที​่ อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้ป​ ระชาชน​สามารถ​เลือก​ใช้บ​ ริการ​จาก​ตูเ้​อทีเอ็มข​ อง​ธนาคาร​ใด​ก็ได้ แต่ใ​ น​ทาง​ปฏิบัติ ยัง​ พบเห็น​ตู้​เอทีเอ็ม​กระจุก​ตัวอ​ ยู่​ตาม​ห้าง​สรรพ​สินค้า​และ​ย่าน​ชุมชน​ใน​เมือง จน​ดู​เกิน​ความ​จำ�เป็น​และ​เป็นการ​ ลงทุน​ที่​ซ้ำ�​ซ้อน ใน​ขณะ​ที่​หลาย​พื้นที่​ใน​ต่าง​จังหวัด​ยัง​มี​ตู้​เอทีเอ็ม​น้อย​กว่า​มาก ประชาชน​ยัง​ต้อง​เดิน​ทางใน​ ระยะ​ไกล​จึงจ​ ะ​ใช้บ​ ริการ​ตู้เ​อทีเอ็มไ​ ด้ ทำ�ให้เ​กิดค​ วาม​ไม่เ​ท่าเ​ทียม​กันใ​ น​การ​เข้าถ​ ึงบ​ ริการ และ​พบ​ว่าป​ ระชาชน​ ร้อย​ละ 9 ไม่มบี​ ัญชีเ​งินฝ​ าก จาก​เหตุผล​ทีว่​ ่าการ​เดินท​ าง​ไป​ธนาคาร​และ​การ​ทำ�​ธุรกรรม​ต้อง​ใช้เ​วลา​กว่าค​ รึ่งว​ ัน​ ไม่​คุ้มก​ ับ​เวลา​ที่เ​สีย​ไป ประเด็นท​ ส​ี่ อง การ​ใช้บ​ ตั ร​พลาสติก จำ�นวน​บัตร​เดบิตม​ กี​ าร​ขยาย​ตัวส​ ูงข​ ึ้นอ​ ย่าง​ต่อเ​นื่อง​เฉลี่ย 3 ปี​สูง​ถึง​ร้อย​ละ 40 นับ​ว่า​เป็น​ปัจจัย​สนับสนุน​ที่​ดี​ต่อ​การ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์ แต่​ใน​ขณะ​เดียวกัน การ​ ใช้​บัตร​เดบิตเ​ป็น​เพียง​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ใช้เ​งินสด​อีก​วิธี​หนึ่ง จาก​ข้อมูล​การ​ใช้​บัตร​เดบิตพ​ บ​ว่า โดย​เฉลี่ย​แล้ว ใน​หนึ่ง​ปี​บัตร​เดบิต​ใบ​หนึ่งจ​ ะ​ใช้​ซื้อส​ ินค้า​ไม่​ถึง​หนึ่ง​ครั้ง แสดง​ให้​เห็น​ว่า​ประชาชน​ยัง​ใช้​ประโยชน์​จาก​บัตร​ไม่​ เต็มท​ ี่ ผู้อ​ อก​บัตร​ควร​ส่งเ​สริมใ​ ห้ม​ กี​ าร​ใช้บ​ ัตร​เดบิตใ​ น​การ​ใช้จ​ ่าย​ให้ม​ าก​ขึ้น ซึ่งจ​ ะ​ลด​ต้นทุนส​ ร้าง​ความ​สะดวก​ สบาย​ได้​มาก​ขึ้น คณะ​ทำ�งาน​ภาย​ใต้​แผน Payment Systems Roadmap 2010 จึง​กำ�ลัง​ศึกษา​ความ​เป็น​ไป​ ได้แ​ ละ​แนวทาง​ใน​การ​พัฒนา​เพื่อย​ ก​ระดับบ​ ัตร​เอทีเอ็ม ให้ส​ ามารถ​ใช้จ​ ่าย​ซื้อส​ ินค้าแ​ ทน​เงินสด​ได้ ซึ่งจ​ ะ​สร้าง​ ความ​สะดวก​สบาย​ให้​แก่​ผู้​ใช้​บัตร​เอทีเอ็ม โดย​ไม่​ต้อง​เปลี่ยน​เป็น​บัตร​เดบิต ธนาคาร​พาณิชย์​เอง​ก็​ไม่​ต้อง ​พึ่ง​พิง​ระบบ​การ​ให้​บริการ​บัตร​เดบิต​ของ​ต่าง​ประเทศ และ​สามารถ​ลด​ต้นทุน​จาก​ค่า​ธรรมเนียม​ที่​ต้อง​จ่าย​ให้​ แก่​ผู้​ให้​บริการ​ดัง​กล่าว​ได้​เป็น​จำ�นวน​มาก ประเด็นท​ สี่​ าม การ​พัฒนา​มาตรฐาน​ข้อมูลก​ าร​ชำ�ระ​เงิน ให้เ​ป็นม​ าตรฐาน​เดียวกันท​ ั้งป​ ระเทศ หรือท​ เี​่ รียก​วา่ “national payment message standard” เพือ่ ล​ ด​ตน้ ทุนแ​ ละ​เพิม่ ค​ ว​ า​มสะดวก​ของ​ผใู​้ ห้บ​ ริการ ​และ​ผู้​ใช้​บริการ​ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​การ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูลร​ ะหว่าง​กัน รวม​ถึง​การ​ส่ง​เสริมใ​ ห้​มี​หน่วย​งาน​กลาง​ ทำ�​หน้าทีเ่​ชื่อม​โยง​ข้อมูลใ​ บ​แจ้งห​ นีแ้​ ละ​การ​ชำ�ระ​เงินต​ าม​ใบ​แจ้งห​ นี้​ หรือท​ เี่​รียก​ว่า “Electronic Bill Presentment and Payment” ซึ่งจ​ ะ​จูงใจ​ให้ผ​ ู้ป​ ระกอบ​การ บริษัท และ​องค์การ​ต่างๆ ทั้ง​ภาค​รัฐ​และ​เอกชน​หัน​มา​ ใช้ร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​มาก​ขึ้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-86

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ประเด็น​สุดท้าย โครงสร้าง​ค่า​ธรรมเนียม ซึ่ง​เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ​ใน​การ​ผลัก​ดัน​ให้​ประชาชน​ และ​ภาค​ธุรกิจ​หันม​ า​ใช้ร​ ะบบ​ชำ�ระ​เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​มาก​ขึ้น การ​คิดค​ ่าธ​ รรมเนียม​ควร​มีห​ ลัก​เกณฑ์​ที่ช​ ัดเจน อธิบาย​ได้ และ​เป็น​ธรรม​ต่อ​ทั้ง​ผู้​ให้​บริการ​และ​ผู้​ใช้​บริการ ทาง​ด้าน​ผู้​ให้​บริการ​นั้น​เป็น​ผู้​ที่​ลงทุน​โครงสร้าง​ พื้นฐ​ าน​กค็​ วร​จะ​ได้ร​ ับป​ ระโยชน์อ​ ย่าง​เหมาะ​สม ขณะ​เดียวกัน ผูใ้​ ช้บ​ ริการ​ทีใ่​ ช้ป​ ระโยชน์จ​ าก​โครงสร้าง​พื้นฐ​ าน​ ก็​ควร​จ่าย​ค่า​บริการ​ให้​กับ​ผู้ล​ งทุนอ​ ย่าง​เหมาะ​สม​เช่น​กัน

ธ ส

หลัง​จาก​ที่​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.3.3 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.3.3 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.3 เรื่อง​ที่ 6.3.3

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


บรรณานุกรม

ธ ส

ธ ส

ระบบชำ�ระเงินอิเล็กทรอนิกส์

6-87

ธ ส

ชัยวัฒน์ ฉัตร​ทอง​กุล “เทคโนโลยี Smart Card” ค้น​คืน​วันท​ ี่ 23 ตุลาคม 2533 จาก​เวิลด์​ไวด์​เว็บ: http://maikzchuvii.blogspot.com/2008/11/smart-card.html ธนาคาร​แห่ง​ประเทศไทย “วิวัฒนาการ​ธนบัตร​ไทย” ค้น​คืน​วัน​ที่ 22 ตุลาคม 2553 จาก​เวิลด์​ไวด์​เว็บ: http:// www.bot.or.th/THAI/BANKNOTES/HISTORYANDSERIESOFBANKNOTES/Pages/ Evolution_of_Thai-Banknotes.aspx ธาริ​ษา วัฒน​เกส (2552) ปาฐกถา​พิเศษ​เรื่อง “e-payment กับ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ” ใน​งาน​สัมมนา​เชิง​วิชาการ​ ด้าน​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​เรื่อง e-payment กับ​อนาคตเศรษฐกิจไ​ ทย ณ โรงแรม​พลาซ่า แอ​ทธิ​นี กรุงเทพฯ วัน​ที่ 25 กันยายน อนุชิต อนุ​ชิ​ตา​นุ​กูล สม​เกียรติ ตั้ง​กิจ​วา​นิ​ชย์ (2543) รายงาน​การ​วิจัย​เรื่อง “เงิน​อิเล็กทรอนิกส์​กับ​นโยบาย​การ​เงิน​ และ​การ​ฟอก​เงิน” สถาบันวิจัย​เพื่อก​ าร​พัฒนาประเทศไทย “E-CASH-Anonymous Electronic Payment.” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://cui.unige.ch/~deriazm/apps/ecash/ Goshtigian, G. Patrick (2010). “E-Cash: Techonology Note prepared for Mangement 274A.” Anderson Graduate School of Management, UCLA. (Spring 1996) Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://www.anderson.ucla.edu/faculty/jason.frand/technologies/ goshtigian/index.htm “How Electronic Payment Works.” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http:// gommunication.howstuffworks.com/electronic- payment2.htm “KRUNGSRI e-Payment.” ค้น​คืน​วัน​ที่ 23 ตุลาคม 2553 จาก​เวิลด์​ไวด์เ​ว็บ: http://www.krungsri.com/en/ ourservice-consumer-list.aspx?cid=168 Laudon, C. Kenneth and Laudon, P. Jane. (2007). Management Information System: Managing the Digital Firm, 10th ed. Schneider, P. Gary. (2007). Electronic Commerce. 7th annual ed. Boston, Mass.: Course Technology. Sumanjeet, Singh. (2009). “Emergence of Payment Systems in the Age of Electronic Commerce: The State of Art.” Global Journal of International Research. 2, 2. “Smart card (contact Card; contactless Card;rfid Tags).” (2010). Retrieved October 22. From the World Wide Web: http://www/ecvv/.com/product/899104.html “Smart card.” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://ewh.ieee.org/r10/ bombay/news5/Smart Cards.htm “Smart Cards: Accessibility and Social Inclusion” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://www.tiresias.org/research/reports/national_smart_card_project.htm

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


6-88

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

“Smart Card Authentication Process: Integration Architecture.” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://download.oracle.com/docs/cd/B28196_01/idmanage.1014/ b25347/smartcrd.htm # BJEDBABG “Smart Solutions.” (2010). Retrieved October 22, from the World Wide Web: http://www.excelsystems-eg.com/sc.asp Turban, Efraim and others. (2008). Electronic Commerce. 5th ed. Prentice-Hall.

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.