เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชฉบั บ นี้ ได รั บ การสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละคุ ม ครองภายใต ก ฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ รวมทั้ ง สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่
12
ธ ส
ม
การเข้าสู่ตลาดการค้าร ะหว่างประเทศ ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ชื่อ วุฒ ิ ตำ�แหน่ง หน่วยที่เขียน
ธ ส
ม
ม
ม
อาจารย์บริบูรณ์ ปิ่นประยงค์ นศ.บ., บธ.ม., DBA, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ผู้จ ัดการปฏิบัติการเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) หน่วยที่ 12
ม
ธ ส
อาจารย์บริบูรณ์ ปิ่นป ระยงค์
ธ ส
ธ ส
12-1
ธ ส
ม ม
ธ ส
12-2
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
หน่วยที่ 12
ธ ส
ม
การเข้าสู่ตลาดการค้าร ะหว่างประเทศ ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
เค้าโครงเนื้อหา
แนวคิด
ม
ตอนที่ 12.1 ความรู้ท ั่วไปเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ 12.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์กับการค้าระหว่างประเทศ 12.1.2 เขตการค้าเสรีกับการค้าระหว่างประเทศ ตอนที่ 12.2 ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ป ระเทศไทยกับเขตการค้าเสรี 12.2.1 โอกาสธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ตามกรอบความตกลงเขตการค้าเสรี 12.2.2 สิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมสำ�หรับการเข้าสู่การค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 12.2.3 พฤติกรรมของผู้ซ ื้อส ินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 12.3 กรณีศึกษาการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 12.3.1 กรณีศ ึกษาการค้าอัญมณีและเครื่องประดับผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 12.3.2 กรณีศ ึกษาการค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ ้านผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 12.3.3 กรณีศึกษาการค้าของสินค้าเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑ์สปาผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
1. การค้าระหว่างประเทศมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันการค้าระหว่างประเทศ มีก ารพัฒนาเป็นเขตการค้าเสรี เพื่อช ่วยเหลือแ ละส่งเสริมก ารค้าใ นกลุ่มป ระเทศภาคี และ มีการนำ�ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในระบบทำ�ให้เกิดรายการธุรกรรมเชิงพาณิชย์จำ�นวน มากที่ห มุนเวียนอยู่ใ นตลาดการค้าระหว่างประเทศ 2. ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเครื่องมือ/กลไกการค้าส ำ�คัญในโลกยุคด ิจิทัล มีการนำ�ไปใช้ก ัน อย่างกว้างขวางทั้งใ นระดับป ระเทศและระดับโ ลก ทำ�ให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลงหลายๆ ด้าน รวมทั้งพ ฤติกรรมของผบู้ ริโภค ในการกำ�หนดข้อต กลงเขตการค้าเสรีไ ด้ก ำ�หนดให้ “ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์” เป็นหนึ่งในข้อบังคับที่ประเทศภาคีต้องยึดถือปฏิบัติและดำ�เนินการให้ เป็นไ ปตามกรอบความตกลงส่งผ ลให้ธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ใ นเขตการค้าเสรีม กี ารขยายตัว
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
เติบโตอย่างต่อเนื่อง จากผลดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์ต ่อองค์กรธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยซึ่งทำ�ให้สามารถดำ�เนินธุรกิจในเขตการค้าเสรีผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ได้ด้วย 3. กรณีศึกษาจะช่วยให้เห็นภาพรวมที่ชัดเจนในการนำ�หลักการทฤษฎีไปใช้ในทางปฏิบัติ ซึ่งจ ะทำ�ให้ทราบจุดแข็งจ ุดอ่อน และเป็นการเสริมเพิ่มประสบการณ์
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
12-3
ม
ธ ส
ม
เมื่อศ ึกษาหน่วยที่ 12 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. วิเคราะห์ภ าพรวมธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์กับการค้าระหว่างประเทศได้ 2. วิเคราะห์ธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยกับเขตการค้าเสรีได้ 3. วิเคราะห์ก รณีศึกษาการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-4
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตอนที่ 12.1
ธ ส
ม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 12.1 แล้วจึงศ ึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 12.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์กับการค้าระหว่างประเทศ เรื่องที่ 12.1.2 เขตการค้าเสรีกับการค้าร ะหว่างประเทศ
ม
ธ ส
1. การคา้ ร ะหว่างประเทศมกี ารเติบโตอย่างตอ่ เนือ่ ง ส่งผ ลให้เกิดร ายการธรุ กรรมเชิงพ าณิชย์ จำ�นวนมากทหี่ มุนเวียนอยูใ่ นตลาดการคา้ ร ะหว่างประเทศ พบวา่ จ �ำ นวน 1 ใน 3 ของจ�ำ นวน รายการทั้งหมด เป็นร ายการประเภทธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งค าดว่าร ายการประเภทนีจ้ ะมี การเติบโตและเพิม่ จ �ำ นวนรายการมากขึน้ เนือ่ งจากมกี ารพฒ ั นาระบบธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ ที่ม ีประสิทธิภาพสูงขึ้น อีกทั้งม ีการเติบโตของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์เกือบทุกภาคส่วนของ อุตสาหกรรมที่มีก ารค้าขายระหว่างประเทศ 2. องค์กรการค้าระหว่างประเทศ มีการพัฒนาออกมาเป็นเขตการค้าเสรี เพื่อช่วยเหลือกลุ่ม ประเทศภาคีในองค์กรให้ได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ เกี่ยวกับการค้าขายซึ่งกันและกัน อีกทั้ง ยังสามารถป้องกันประเทศที่อยู่น อกกลุ่ม ที่จะเข้าม าหาประโยชน์ภ ายในกลุ่มได้ และการ เติบโตของเขตการค้าเสรีมีแ นวโน้มที่จะขยายตัวมากขึ้น ทั้งในระดับประเทศกับป ระเทศ ระดับประเทศกับองค์กรเศรษฐกิจ และระดับองค์กรเศรษฐกิจกับองค์กรเศรษฐกิจ
ธ ส
ม
ธ ส
วัตถุประสงค์
ธ ส
ม
ม
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
เมื่อศึกษาตอนที่ 12.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์กับการค้าระหว่างประเทศได้ 2. อธิบายเขตการค้าเสรีกับการค้าระหว่างประเทศได้
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
เรื่องที่ 12.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กับการค้าระหว่างประเทศ
ธ ส
ม
12-5
ธ ส
ม
เศรษฐกิจย ุคป ัจจุบันซ ึ่งถ ือไ ด้ว ่าเป็นเศรษฐกิจย ุคด ิจิทัล มีก ารนำ�เทคโนโลยีด ้านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ มาช่วยสร้างโอกาสทางการค้าและสร้างตลาดการค้ารูปแบบใหม่ขึ้นมา ทำ�ให้เกิดแนวคิดในการนำ�หลักการ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการขยายอัตราการเจริญเติบโตทางการค้า การขยายโอกาสและทางเลือก ให้กับผู้บริโภคในการพิจารณาคัดเลือกจัดซื้อจัดหาสินค้าทั้งจากองค์กรธุรกิจภายในและภายนอกประเทศ ส่งผลให้เกิดว งจรการค้าทั้งภ ายในประเทศและระหว่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการรวบรวมข้อมูลมูลค่าของการทำ�ธุรกรรมเชิงพาณิชย์ระหว่างประเทศใน รูปแบบของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลก พบว่ามีมูลค่ามากกว่าหนึ่งล้านล้านเหรียญสหรัฐซึ่งมีปริมาณของ จำ�นวนรายการข้อมูลเท่ากับ 1 ใน 3 ของธุรกรรมเชิงพ าณิชย์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นทั้งหมด นอกจากนี้ได้มีการคาดการณ์ว่าในศตวรรษที่ 21 องค์กรธุรกิจการค้าระหว่างประเทศจะมีการ พัฒนาการดำ�เนินธุรกิจในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการดำ�เนินการค้าแบบดั้งเดิม การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเคลื่อนไหวทางการเงินแ ละการลงทุนท ี่สามารถมาจากหลากหลายแหล่งใ นเวลา เดียวกัน มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันจากแหล่งทรัพยากรที่อยู่ข้ามพรมแดนทั้งแหล่งวัตถุดิบ แหล่งการผลิต และแหล่งทรัพยากรมนุษย์ รวมถึงความสามารถในการกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคได้ทั่วถึงหลายระดับ ในลักษณะเชิงโต้ตอบ ส่งผลให้เกิดการสร้างความได้เปรียบในการดำ�เนินธุรกิจ และการแข่งขันในตลาด การค้า
ธ ส
ม
1. ทฤษฎีการค้าร ะหว่างประเทศ
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Theories) มีแนวคิดอยู่หลากหลายทฤษฎี ซึ่งในที่นี้จะอธิบายทฤษฎีท ี่สำ�คัญซ ึ่งมีก ารใช้อ ย่างแพร่หลาย ดังนี้ 1.1 ทฤษฎีพาณิชย์นิยม (Mercantilism Theory) การพยายามให้ประเทศได้มาซึ่งดุลการค้าเป็น บวกด้วยการเน้นก ารส่งอ อกและลดการนำ�เข้า เพื่อให้ได้เปรียบเงินตราต่างประเทศมากกว่าการจ่ายเงินตรา ออกไป และเพิ่มความร่ำ�รวยให้กับประชาชน ได้แก่ การจำ�กัดการนำ�เข้าด้วยการตั้งกำ�แพงภาษี และการ กำ�หนดโควต้า หรือการเพิ่มก ารส่งออกด้วยการให้ความช่วยเหลือธุรกิจส่งออก 1.2 ทฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Absolute Advantage Theory) ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่า ประเทศที่มีความสามารถผลิตสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าอีกประเทศหนึ่ง ประเทศนั้นจะผลิต เฉพาะสินค้าที่ต นมีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ออกมาแลกเปลี่ยนกับสินค้าของอีกประเทศหนึ่ง
ม
ม
ธ ส
ม
12-6
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.3 ทฤษฎีค วามได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage Theory) แนวคิดข องทฤษฎี นี้ชี้ให้เห็นว่า ประเทศนั้นๆ ควรจะซื้อส ินค้าจากประเทศอื่นถึงแม้ว่าจะมีความสามารถในการผลิตสินค้านั้นๆ ได้ด กี ว่าป ระเทศอื่นก ็ตาม โดยประเทศนั้นอ าจจะมคี วามสามารถในการผลิตส ินค้าป ระเภท ก. น้อยกว่าสินค้า ประเภท ข. จึงค วรใช้ทรัพยากรที่ม ีผลิตสินค้าประเภท ข. มากกว่า แล้วซื้อสินค้าประเภท ก. จากประเทศอื่น 1.4 ทฤษฎีการคา้ ระหว่างประเทศใหม่ (New Trade Theory) แนวคิดหลักของทฤษฎีนี้คือ ประเทศ ต่างๆ ไม่จ ำ�เป็นต ้องผลิตและขายสินค้าเฉพาะที่ตนมีความเชี่ยวชาญ หรือความแตกต่างเท่านั้น แต่สามารถ เลือกผลิตและขายสิ่งท ี่เห็นว่ามีความได้เปรียบจากผลตอบแทนต่อหน่วยที่เพิ่มขึ้น สามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศในแต่ละทฤษฎีมีจุดมุ่งหมายที่จะอธิบายว่า สาเหตุใดจึงมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้ากันระหว่างประเทศต่างๆ และลักษณะของการแลกเปลี่ยนของ การซื้อข ายสินค้าร ะหว่างประเทศเป็นอ ย่างไร ซึ่งเป็นการค้าใ นลักษณะสองมิติ คือร ะหว่างผูข้ ายสินค้าป ระเทศ หนึ่งก ับผู้ซื้อสินค้าอีกป ระเทศหนึ่ง
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
2. บทบาทของการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อการค้าระหว่างประเทศ
ธ ส
บทบาทของธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ท ีม่ ผี ลต่อก ารค้าร ะหว่างประเทศ ทำ�ให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลงมิตขิ อง รูปแ บบการค้าขายจากซึ่งเป็นล ักษณะการค้าขายแบบสองมิติ ซึ่งเป็นการค้าขายในลักษณะของการค้าใ นระดับ ผู้ผ ลิตส ินค้าประเทศหนึ่งก ับต ัวแทนขายสินค้าอ ีกป ระเทศหนึ่งเพื่อน ำ�สินค้ามาจำ�หน่ายในตลาดของประเทศ นั้นๆ เปลี่ยนแปลงรูปแ บบการค้าแ บบสามมิตหิ รือห ลายมิติ ซึ่งส ามารถอธิบายได้ด ังนี้ การค้าร ะหว่างประเทศ ที่เป็นลักษณะการค้าแบบสามมิติหรือหลายมิติในแนวลึก เป็นการขายโดยตรงจากผู้ผลิตหรือผู้จำ�หน่ายที่ อยู่ในแหล่งกำ�เนิดของสินค้าประเทศหนึ่งไปสู่ผู้ขายสินค้าในอีกประเทศหนึ่งหรือหลายประเทศ ทั้งเป็น ผู้ข ายสินค้าร ายใหญ่ รายกลาง และรายย่อย หรือเป็นล ักษณะการขายโดยตรงจากผู้ผ ลิตห รือผ ู้จ ำ�หน่ายที่อ ยู่ ในแหล่งกำ�เนิดของสินค้าประเทศหนึ่งไปสู่ผู้บ ริโภคที่อยู่ในประเทศต่างๆ หรือสถานที่ต่างๆ และอีกรูปแบบ หนึ่งของการค้าระหว่างประเทศที่เป็นลักษณะการค้าแบบสามมิติหรือหลายมิติในแนวกว้าง เป็นการค้าที่มี การขยายตลาดการค้าออกไปทุกภูมิศาสตร์ของโลกโดยสัมพันธ์กับการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการค้าดังที่กล่าวข้างต้น ส่งผลทำ�ให้การทำ�การค้าระหว่างประเทศ เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในหลายๆ ด้าน เช่น ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ การจัดการการค้าระหว่าง ประเทศ กลไกการดำ�เนินงานของการค้าระหว่างประเทศ การทำ�การค้าระหว่างประเทศ การตลาด การขนส่ง และอืน่ ๆ ซึง่ ก ารเปลีย่ นแปลงการท�ำ ธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ท เี่ กีย่ วข้องกบั ก ารคา้ ร ะหว่างประเทศ สามารถอธิบาย ได้ดังนี้ 2.1 บริษทั เสมือน (the virtual company) เป็นองค์กรธุรกิจร ูปแ บบใหม่ข องการค้าร ะหว่างประเทศ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจที่สำ�คัญ โดยบริษัทเสมือนสามารถปรับให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมของการแข่งขันที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ของเศรษฐกิจและความต้องการของผู้บริโภค แต่ละกลุ่มห รือแ ต่ละพื้นที่ อีกท ั้งส ามารถกำ�หนดทิศทางของการดำ�เนินธ ุรกิจโ ดยการกระจายความเสี่ยงหรือ การแบ่งงานให้กับองค์กรธุรกิจข้ามชาติรายอื่น เป็นการใช้ประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรร่วมกันบนพื้นฐาน การแบ่งปันผลประโยชน์
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-7
ธ ส
2.2 ตลาดเสมือน (the virtual market) เป็นตลาดที่มีการเสนอหรือจำ�หน่ายสินค้าให้แก่ผู้บริโภค ผ่านช่องทางของเครือข ่ายอินเทอร์เน็ตเสมือนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ลักษณะตลาดเป็นตลาดที่เปิดห ลายมิติ พื้นที่โ ดยไม่จ ำ�กัดด ้านภูมิศาสตร์แ ละเวลา ซึ่งต ่างจากระบบตลาดแบบดั้งเดิมท ี่ม ีข ้อจ ำ�กัดท างด้านภูมิศาสตร์ หรือพื้นที่และเวลา สำ�หรับการเชื่อมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทำ�การเชื่อมตลาดที่อยู่หลายๆ แห่ง หลายพื้นที่ เป็นตลาดใหญ่ตลาดเดียว ก่อให้เกิดการส่งเสริมการค้าของเศรษฐกิจของยุคโลกาภิวัตน์ พร้อมทั้งช่วยใน การหมุนเวียนของกระแสเงิน ข้อมูลส ินค้า เทคโนโลยี ปัจจัยก ารผลิต อื่นๆ และเพิ่มส ภาพคล่องของเศรษฐกิจ ทั่วโลก ที่เรียกว่า “เศรษฐกิจเครือข่าย” เป็นเครือข่ายที่ทำ�การเชื่อมโยงระบบการค้าและความร่วมมือของ องค์กรการค้าระหว่างประเทศเข้าด้วยกัน 2.3 แรงขบั เคลือ่ นใหม่ข องการคา้ ร ะหว่างประเทศ ในองค์กรธุรกิจม กี ารพัฒนาธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ สำ�หรับน ำ�มาใช้เป็นแ รงขับเคลื่อนธุรกิจข องตนให้ม ปี ระสิทธิภาพในการดำ�เนินก ารค้าร ะหว่างประเทศ สามารถ ช่วยในการแก้ไขข้อจำ�กัดของพื้นที่ การโอนเงินระหว่างประเทศ และช่วยสนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากร ร่วมกัน อีกทั้งสามารถตอบสนองการค้าขายระหว่างประเทศได้อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ของการค้าระหว่างประเทศควบคู่กับการส่งเสริมและพัฒนาการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่ม เครือข่ายในการทำ�ธุรกรรมทางการค้าระหว่างประเทศ ส่งผลให้เกิดการลดลงของต้นทุนการผลิตสินค้าและ ต้นทุนข องรายการธุรกรรมเชิงพ าณิชย์ การปรับปรุงค ุณภาพของสินค้าอ ย่างต่อเนื่อง และการสร้างโอกาสทาง ธุรกิจม ากขึ้น ในด้านการสื่อสารระหว่างผูผ้ ลิตแ ละผูบ้ ริโภค สามารถทำ�ได้ใ นลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง ช่วยทำ�ให้เกิดก ารแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ชัดเจน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
3. นวัตกรรมของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อการค้าระหว่างประเทศ
ม
ธ ส
ม
นวัตกรรมของธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ที่ส ่งผลต่อก ารค้าร ะหว่างประเทศ ดังต ่อไปนี้ 3.1 นวัตกรรมทฤษฎีของการค้าระหว่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการขับเคลื่อนด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ขององค์กรธุรกิจข้ามชาติ จากสองมิติควบคู่กับการเคลื่อนไหวทางกายภาพที่เป็นแบบ เปิดสามมิติ และหลายมิติ นอกจากนี้การค้าขายระหว่างกันจากเดิมจะต้องมีการส่งตัวสินค้าตัวอย่างไปให้ ผู้ต้องการซื้อสินค้าเพื่อพิจารณาคุณสมบัติสินค้าว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ จะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นผู้ที่ ต้องการซื้อสินค้าสามารถพิจารณาจากข้อมูลของสินค้าจากผู้ผลิตสินค้าหรือผู้ขายสินค้าที่นำ�เสนอในระบบ อินเทอร์เน็ต ซึ่งเรียกการเปลี่ยนแปลงนี้ว ่า “เครือข ่ายของวัตถุท ี่ไ ม่มีก ารไหลหมุนเวียน” ส่งผ ลให้เกิดท ฤษฎี การเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรธุรกิจข ้ามชาติ ทฤษฎีการประหยัดต่อขนาด สะท้อนให้เห็นความท้าทายใหม่ ขององค์กรธุรกิจข้ามชาติ และข้อดีของการส่งเสริมนวัตกรรมในทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ ช่วยให้เกิด แบ่งปัน แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน แรงงาน และทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศคู่ค้า 3.2 การจดั การเชิงม หภาคของนวัตกรรมการคา้ ร ะหว่างประเทศ การดำ�เนินธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์จ ะ เกีย่ วข้องกบั ก ฎระเบียบของการคา้ ร ะหว่างประเทศทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงให้อ ย่างตอ่ เนือ่ ง ทัง้ นีเ้ พือ่ ใ ห้ส อดคล้อง กับการดำ�เนินธุรกิจตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป สำ�หรับการค้าระหว่างประเทศ เป็นการจัดการเชิงนวัตกรรมมหภาค ดังนั้นองค์กรธุรกิจการค้าระหว่างประเทศต้องคำ�นึงถึงในส่วนนี้ด้วย
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-8
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
3.3 นวัตกรรมนโยบายการคา้ ร ะหว่างประเทศ ในองค์การการคา้ โ ลก (World Trade Organization - WTO) มีการพัฒนาระบบธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมของการค้าระหว่างประเทศ และนโยบายการค้า ระหว่างประเทศเป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่น การใช้ระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ข้อตกลง การตัดพิกัดอัตราภาษีศุลากรข้อตกลงดังกล่าวจะเป็นการกำ�หนดอัตราภาษีที่เกี่ยวกับการทำ�งานของการ ส่งเสริมธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์อย่างถาวร ซึ่งช่วยในการสนับสนุนการพัฒนาของระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ สำ�หรับนำ�มาใช้ในการค้าระหว่างประเทศ 3.4 นวัตกรรมกลไกใหม่ของการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้สร้างตลาดเสมือนจริงออนไลน์ ก่อให้เกิดนวัตกรรมด้านกลไกใหม่ในการค้าระหว่างประเทศ ทำ�ให้เกิดเครือข่ายข้อมูลที่ เชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับการค้าในตลาดโลกกับระบบเศรษฐกิจโลก ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีความสำ�คัญต่อการ วางรากฐานนวัตกรรมการค้าระหว่างประเทศ 3.5 นวัตกรรมในการทำ�รายการธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และการประยุกต์ใช้ในการค้าระหว่างประเทศ ช่วยส่งเสริมวิธีการลดการใช้เอกสารกระดาษในการค้า ระหว่างประเทศ เพิ่มรูปแบบใหม่ของการส่งมอบสินค้า และแนวทางการบริหารจัดการการจัดเก็บสินค้า การเปลี่ยนแปลงกระบวนการของการทำ�ธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ ช่วยให้การพัฒนาการแลกเปลี่ยน ข้อมูลอย่างรวดเร็ว สนองความต้องการเร่งด่วนในการค้าระหว่างประเทศการค้าโลก และยังช่วยในการ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการบริหารงานและค่าใช้จ่ายในการค้าอีกด้วย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
4. ประโยชน์ของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กับก ารค้าระหว่างประเทศ
ม
ธ ส
ม
การดำ�เนินธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ โดยการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ก่อให้เกิดประโยชน์ ได้
ดังนี้
ม
4.1 สามารถขยายตลาดการค้าได้อย่างรวดเร็ว มีกลุ่มลูกค้าที่มีความหลากหลาย และมีเครือข่าย ที่ครอบคลุมต ลาดการค้าได้ห ลายมิติ เนื่องจากการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์สามารถเข้าถ ึงผู้บริโภคและตลาด การค้าได้หลายๆ ระดับในเวลาเดียวกัน ทั้งในแนวกว้างและแนวลึก 4.2 สามารถลดคา่ ใ ช้จ า่ ยและตน้ ทุนใ นการด�ำ เนินธ รุ กิจ เนื่องจากองค์กรธุรกิจส ามารถลดค่าใ ช้จ ่าย ในการเดินทางติดต่อธุรกิจการค้าขาย สามารถลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเอกสารที่เป็นกระดาษ ลดค่าใช้จ่ายใน การบริหารจัดการคลังสินค้า และค่าใ ช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสามารถลดต้นทุนในการบริหารจัดการ การผลิตสินค้าโดยหาจากแหล่งก ารผลิตที่มีต ้นทุนต่ำ�กว่า 4.3 สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการแข่งขัน เนื่องจากธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์เป็นการดำ�เนินธุรกิจที่ รวดเร็ว และต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งท ำ�ให้องค์กรผู้ซ ื้อสามารถติดต่อกับองค์กรผู้ขายได้ โดยไม่มีข้อจำ�กัดใน เรื่องเวลาและสถานที่ สามารถส รุ ป ไ ด้ ว่ า การพั ฒ นาเ ศรษฐกิ จ ข องโ ลก และก ารเ ปลี่ ย นรู ป แ บบข องต ลาดก ารค้ า ร ะหว่างประเทศที่ม ีก ารนำ�ระบบธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์มาใช้อ ย่างกว้างขวาง อ งค์กรธุรกิจต ่างๆ ในประเทศไทย จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการพัฒนาและการวางแนวทางการดำ�เนินธุรกิจของตนเองในการนำ�ระบบธุรกิจ
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-9
ธ ส
อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ใ นองค์กร นอกจากนีก้ ารพัฒนาธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ใ นศตวรรษที่ 21 มีก ารเพิ่มศ ักยภาพ และประสิทธิภาพสูงข ึ้นเพื่อร องรับการเติบโตและเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกและการค้าระหว่างประเทศ ที่ม ีก ารเติบโตและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังน ั้นธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นเครื่องมือห นึ่งท ี่ถ ูกน ำ�มาใช้ใ น การด�ำ เนินธ รุ กิจข ององค์กรธรุ กิจต า่ งๆ อย่างแพร่ห ลาย อีกท ัง้ ม ผี ปู้ ระกอบการหรืออ งค์กรธรุ กิจร ายใหม่เข้าม า แข่งขันธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์เป็นไ ปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจ ะส่งผ ลกระทบมาสูก่ ารดำ�เนินธ ุรกิจข องประเทศไทยกับ การค้าระหว่างประเทศที่เป็นค ู่ค ้ากับป ระเทศไทย ดังนั้นองค์กรธุรกิจของประเทศไทยควรให้ความสำ�คัญต่อ การพัฒนาและส่งเสริมก ารใช้ร ะบบธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใ ห้ธ ุรกิจก ารค้าร ะหว่างประเทศของประเทศไทย มีความเข้มแ ข็งและมั่นคงสามารถแข่งขันได้ในตลาดต่างๆ ของโลกที่จะมีการเปิดกว้างมากขึ้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.1.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.1 เรื่องที่ 12.1.1
ธ ส
ม
ธ ส
ม
เรื่องที่ 12.1.2 เขตการค้าเสรีกับก ารค้าระหว่างประเทศ
ม
ธ ส
จากสถานการณ์การแข่งขันในตลาดโลกที่มีความรุนแรง อีกทั้งความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนา ประสิทธิภาพของเทคโนโลยี ทำ�ให้ป ระเทศต่างๆ พยายามสร้างความได้เปรียบทางการค้าแ ละกีดกันคู่แ ข่งขัน ทางการคา้ ด้วยวธิ กี ารลดตน้ ทุนท างการคา้ ใ ห้ต �่ำ กว่า การสร้างกลุม่ ห รือพ นั ธมิตรทางการคา้ และสร้างเขตการคา้ ที่ เรียกว่า เขตการค้าเสรีหรือเอฟทีเอ (Free Trade Area - FTA) สอดคล้องกับแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์ท ี่ ว่า “ประโยชน์จ ากการค้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่อป ระเทศต่างๆ ผลิตส ินค้าที่มีต้นทุนในการผลิต ต่ำ�ที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แล้วนำ�สินค้าเหล่าน ั้นมาค้าขายแลกเปลี่ยนกัน” นอกจากนี้การจัด ทำ�เขตการค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การการค้าโลก จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา ๒๔ และ Enabling Clause (The 1979 Decision on Differential and Move Favorable Treatment Reciprocity and Fuller Participation of Developing Countries) ของความตกลงทั่วไปว่าด ้วยภาษี ศุลกากรและการค้า (General Agreement on Tariffs and Trade - GATT) และมาตรา ๕ ของความตกลง ทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services - GATS) กล่าวคือ เขตการค้า เสรีจะต้องครอบคลุมการค้าสินค้ามากพอ (substantially all trade in products) หรือบริการสาขาต่างๆ มากพอ และจะต้องแจ้งเรื่องการทำ�เขตการค้าเสรีต่อองค์การการค้าโลก เขตการคา้ เสรี (FTA) หมายถึง การทีป่ ระเทศตั้งแต่ส องประเทศขึ้นไ ป มีก ารเจรจาทางด้านเศรษฐกิจ และตกลงการดำ�เนินธ ุรกิจต ามกรอบความตกลงร่วมกัน เป็นกลุ่มเศรษฐกิจเดียวกันโ ดยมเีป้าห มายให้เพื่อใ ห้ เกิดป ระโยชน์ก ับท ุกป ระเทศในกลุ่มเศรษฐกิจเดียวกัน การลดภาษีศ ุลกากรระหว่างกันห รือภ ายในกลุ่มล งให้
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-10
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เหลือน้อยที่สุด หรือเป็นร้อยละ 0 (zero tax rate) เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ต้นทุนของสินค้าในกลุ่มลดลง และ ใช้ว ิธกี ารทีเ่รียกว่า กำ�แพงภาษี เป็นการป้องกันป ระเทศทีอ่ ยูน่ อกกลุ่มเข้าม าหาประโยชน์ภ ายในกลุ่ม โดยการ กำ�หนดอัตราภาษีป กติที่ส ูงกว่า กับประเทศนอกกลุ่ม การทำ�เขตการค้าเสรีรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ และการลงทุนด้วย ข้อก ำ�หนดเบื้องต้นที่ค วรมีส ำ�หรับการสร้างเขตการค้าเสรี มีดังต่อไปนี้ 1. กำ�หนดกรอบความเข้าใจและข้อตกลงทางการค้าร่วมกันกว้างๆ เพื่อให้ได้รับประโยชน์ทั้งสอง ฝ่าย การเจรจาทำ�กรอบความตกลงควรครอบคลุมเศรษฐกิจทุกสาขา และเปิดเสรีทางการค้า ทั้งด้านสินค้า บริการ และเงินทุน 2. กำ�หนดเงื่อนไขทางการค้าให้สัมพันธ์กับกฎขององค์การการค้าโลก (WTO) ที่มีการเปิดเสรี ทางการค้าครอบคลุมในด้านสินค้าและบริการ และกฎดังก ล่าวมีความโปร่งใส 3. กำ�หนดแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ตอบแทนซึ่งกันและกัน เช่น กรอบความตกลงในการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ร่วมกัน 4. กำ�หนดกลไกและมาตรการป้องกันผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภายในกลุ่มเศรษฐกิจ โดยยึด หลักกฎเกณฑ์ขององค์การการค้าโลกเป็นพื้นฐาน นอกจากนี้อ งค์กรธุรกิจค วรมีก ารเตรยี มความพร้อมให้ส ามารถรองรับผ ลกระทบจากเขตการค้าเสรี เพื่อใ ห้อ งค์กรสามารถดำ�รงการดำ�เนินธ ุรกิจข ององค์กรได้อ ย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร การพัฒนา และวิจัยผลิตภัณฑ์ การผลิตสินค้าให้ได้ตามมาตรฐานสากล การสร้างเครื่องหมายการค้าให้เป็นที่ยอมรับ ในตลาด และปรับปรุงการบริหารองค์กรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจและนวัตกรรมทาง การค้า รูปแบบเขตการค้าเสรีแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ สหภาพศุลกากร และพันธมิตรทาง เศรษฐกิจ สามารถอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้ 1. สหภาพศุลกากร (Customer Union - CU) เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจในลักษณะตลาดร่วม ระหว่างประเทศภาคีไ ม่มีก ำ�แพงภาษีม าเกี่ยวข้อง และใช้อ ัตราภาษีศ ุลกากรอัตราเดียวกันก ับท ุกป ระเทศที่ไ ม่ ได้เป็นสมาชิก ในรูปแบบนี้ที่ม ีชื่อเสียงคือ สหภาพยุโรป (European Union - EU) 2. พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Comprehensive Economic Partnership - CEP) เป็นการร่วมมือ ทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมถึงการค้า สินค้า บริการ และการลงทุน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามารถอยู่ ในรูประหว่างประเทศกับประเทศ หรือ กลุ่มเศรษฐกิจกับประเทศนอกกลุ่ม หรือ ระหว่างกลุ่มเศรษฐกิจกับ กลุ่มเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังม ีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีในโลกที่ส ำ�คัญและมีชื่อเสียง มีอยู่ 3 เขต คือ เขตการค้าเสรี อาเซียนหรืออ าฟต้า (ASEAN Free Trade Area - AFTA) เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) และ เขตการค้าเสรีสหภาพยุโรป
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
1. เขตการค้าเสรีอาเซียน
ม
12-11
ธ ส
การก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) กลุ่มประเทศภาคีของเขตการเสรีอาเซียนประกอบ ด้วย ประเทศไทย บรูไนดารุสซ าลาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม กัมพูชา ลาว และ เมียนมาร์ เป็นผลจากประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 ณ ประเทศสิงคโปร์ ที่ประชุมมีมติเห็นช อบกับข้อเสนอของนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยในขณะนั้น ที่ ได้เสนอแนวทางการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน ด้วยการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ใน การประชุมด งั ก ล่าวได้ม กี ารจดั ท �ำ ความตกลงแม่บทวา่ ด ว้ ยการสง่ เสริมค วามรว่ มมอื ท างเศรษฐกิจข องอาเซียน (Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic Cooperation 1992) ตกลงในหลักการ เพื่อลดอัตราภาษีศุลกากรสำ�หรับสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าเกษตรแปรรูปที่ค้าขายระหว่างกันให้มีอัตรา ภาษีต่ำ�สุด โดยใช้ข้อตกลงว่าด้วยอัตราศุลกากรพิเศษที่เท่าก ัน (Common Effective Preferential Tariff - CEPT) เป็นก ลไกในการดำ�เนินการ 1.1 วัตถุประสงค์ใ นการก่อตั้งเขตการค้าเสรีอ าเซียน สามารถจำ�แนกได้ดังนี้ 1) เพือ่ ใ ห้การขายสนิ ค้าภ ายในอาเซียน มีก ารเปิดเสรีด า้ นการคา้ แ ละการลดภาษีแ ละอปุ สรรค ข้อก ีดขวางทางการค้าท มี่ ิใช่ภ าษีร ะหว่างกันภ ายในภูมิภาค รวมทั้งก ารปรับเปลี่ยนโครงสร้างด้านภาษีศ ุลกากร ที่จ ะเอื้ออ ำ�นวยต่อการค้าเสรี 2) เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติหรือแหล่งทุนต่างๆ ให้มาลงทุนในกลุ่มอาเซียน ทำ�ให้เกิด การสร้างฐานการผลิตสินค้า และสร้างงานในเขตนี้ 3) เพื่อจะได้มีอำ�นาจต่อรอง และเป็นเวทีแสดงความคิดเห็น หากได้รับความกดดัน หรือ ถูกเอารัดเอาเปรียบทางการค้าจากประเทศอื่น 4) เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็นฐานการผลิตที่สำ�คัญเพื่อ ป้อนสินค้าสู่ตลาดโลก 1.2 หลักการของเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อกำ�หนดให้ประเทศภาคีได้เตรียมการต่างๆ ภายใน แต่ละประเทศ ให้ส อดคล้องกับหลักการ ดังนี้ 1) ลดภาษีศ ุลกากรระหว่างกันลงเหลือร ้อยละ 0-5 ในเวลา 15 ปี เพื่อใ ห้ต ้นทุนข องสินค้า ใน ประเทศภาคีลดลง ทำ�ให้ราคาสินค้าขายให้แก่กันจะมีราคาลดลงด้วย 2) ยกเลิกมาตรการจํากัดปริมาณของสินค้าทันทีที่สินค้านั้นได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี ศุลกากรจากประเทศภาคีอื่น 3) ยกเลิกม าตรการกีดกันท างการค้าที่มิใช่ภาษีอื่นๆ ภายใน 5 ปี 4) กฎว่าด้วยแหล่งกำ�เนิดผลิตภัณฑ์ที่นำ�เข้าโดยประเทศภาคีให้ถือว่าได้แหล่งกำ�เนิดใน ประเทศภาคีนั้นและมีสิทธิ์ได้รับสิทธิพิเศษ ถ้ามีคุณสมบัติตรงตามข้อกำ�หนดในเรื่องแหล่งกำ�เนิดภายใต้ เงื่อนไขที่ม ีการกำ�หนดไว้ 5) หลักการต่างตอบแทน เป็นกฎเกณฑ์ในทางปฏิบัติตอบแทนซึ่งกันและกันระหว่างรัฐ ต่อรัฐ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-12
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.3 การค้าระหว่างอาเซียน-ประเทศไทย นับแต่มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) การค้าระหว่างประเทศไทยและอาเซียนขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก ข้อมูลจากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก 10,031.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี พ.ศ. 2535 อันเป็นปีก่อนเริ่มก่อตั้งเขต การค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เป็น 23,860 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี พ.ศ. 2543 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 127.9 ใน ปี พ.ศ. 2543 โดยในปี พ.ศ. 2543 อาเซียนเป็นตลาดส่งออกและแหล่งนำ�เข้าอันดับ 2 ของประเทศไทย ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2535 ก่อนการก่อต ั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ประเทศไทยเคยเสียเปรียบดุลการค้า กับอาเซียนเป็นม ูลค่า 1,051.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่นับแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ประเทศไทยกลับเป็น ฝ่ายได้เปรียบดุลการค้า 1.4 ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากเขตการค้าเสรีอ าเซียน สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) การลดภาษีของอาเซียนจะทำ�ให้สินค้าที่ประเทศไทยส่งออกไปอาเซียนมีราคาถูกและ สามารถแข่งขันกับประเทศนอกกลุ่มได้ 2) การลดภาษีข องประเทศไทยจะท�ำ ให้ม กี ารนำ�เข้าว ตั ถุดบิ และสนิ ค้าก ึง่ ส �ำ เร็จรูปจ ากอาเซียน ในราคาถูก ซึ่งจะมีผลต่อการลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออก 3) ผู้บ ริโภคสามารถบริโภคสินค้าอ ุปโภคบริโภคในราคาถูกลง 4) การขยายฐานตลาดจะทำ�ให้อาเซียนเกิดการประหยัดต่อขนาด (economics of scale) และได้ร ับประโยชน์จากหลักการได้เปรียบอันเป็นปัจจัยดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ 5) การแ ข่ ง ขั น กั น ภ ายในอ าเซี ย นจ ะทำ � ให้ เ กิ ด ก ารป รั บ ปรุ ง ป ระสิ ท ธิ ภ าพแ ละพั ฒ นา เทคโนโลยี 6) การขยายการนำ�เข้าและการส่งออกภายในอาเซียน จะทำ�ให้ประเทศไทยลดการพึ่งพา การค้าก ับกลุ่มอ ื่นลดลง นอกจากนี้เขตการค้าเสรีอ าเซียนได้บ รรลุใ นการทำ�ตามกรอบความตกลงร่วมกันก ารเปิดเขตการค้า เสรีกับสาธารณรัฐประชาชนจีน (ASEAN-China Free Trade Agreement - ACFTA)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
2. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
เขตการค้าเสรีอ เมริกาเหนือห รือน าฟต้า (North American Free Trade Agreement - NAFTA) ประกอบด้วย ประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และเม็กซิโก ในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีแห่งน ี้มีเป้าห มายที่ จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศภาคี 2.1 เจตจำ�นงสำ�หรับก ารสร้างเขตการค้าเสรีอ เมริกาเหนือ มีดังนี้ 1) วัตถุประสงค์จัดอุปสรรคด้านภาษี สำ�หรับสินค้าส่วนใหญ่ และทยอยลดลงเรื่อยจน เหลือศูนย์ ภายใน 5-10 ปี ยกเว้นสินค้าอ ่อนไหวตามรายการจะลดภาษีให้เหลือศูนย์ภายใน 1 ปี 2) มุ่งเน้นการประนีประนอมกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางการค้า และลดข้อจำ�กัดทางการค้าที่ เกี่ยวกับก ารบริการ รวมทั้งก ารลงทุนระหว่างประเทศ และขจัดอุปสรรคกีดกันทางการค้าท ี่ม ิใช่ภ าษีศ ุลกากร 3) กำ�หนดกฎเกณฑ์ของแหล่งกำ�เนิดสินค้า ในการที่จะได้รับสิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากร
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-13
ธ ส
4) มีข้อตกลงร่วมกันในการใช้มาตรการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า และการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามพรมแดนอย่างเสรี 5) ปกป้องสงิ่ แ วดล้อม โดยมกี ารตงั้ ค ณะกรรมการสงิ่ แ วดล้อม เพือ่ ร ะงับก รณีพ พิ าท ตลอดจน ออกกฎข้อบังคับใ ห้สมาชิกยึดถือปฏิบัติ 6) กรณีมีข้อขัดแย้ง สามารถใช้กลไกยุติข้อพิพาท ภายใต้กฎขององค์การการค้าโลก หรือ ข้อตกลงของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ โดยเริ่มจากการปรึกษาหารือเพื่อหาข้อยุติโดยคณะกรรมาธิการ การค้าก่อน หากตกลงกันไม่ได้ให้มีก ารตัดสินโดยคณะลูกขุนของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ 7) การลงทุน กำ�หนดให้มีก ารปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันสำ�หรับนักลงทุนในประเทศภาคี 8) ทรัพย์สินทางปัญญา กำ�หนดให้มีการปกป้องในทรัพย์สินทางปัญญาอย่างเพียงพอและ มีประสิทธิภาพ บนหลักการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติเพื่อป ้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบ ัตร และเครื่องหมาย การค้าระหว่างประเทศ 9) กลไกการยุติข้อพิพาท กรณีมีข้อขัดเเย้ง สามารถพิจารณาได้ภายใต้องค์การการค้าโลก หรือข้อตกลงเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ เวทีใดเวทีหนึ่ง สำ�หรับเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ กำ�หนดกลไก ในการยุติข้อพิพาท โดยเริ่มจากการปรึกษาหารือโดยคณะกรรมาธิการการค้าก่อน หากตกลงกันไม่ได้ ให้มี การตัดสินโ ดยคณะลูกขุนของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ 10) กำ�หนดให้มีข้อตกลงข้างเคียงเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิประโยชน์ของแรงงานใน ประเทศภาคีโ ดยเฉพาะในประเทศเม็กซิโก รวมทั้งช ่วยป้องกันก ารไหลทะลักของสินค้าจ ากประเทศภาคีห นึ่ง ที่อาจทำ�ให้อุตสาหกรรมภายในประเทศอื่นๆ ต้องได้รับความเสียหาย 2.2 ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ สามารถสรุปได้ 2 ประเด็น ดังนี้ 1) การแข่งขันในตลาดสหรัฐ ซึ่งเป็นตลาดสำ�คัญของประเทศไทยเพราะตลาดนี้มีการนำ�เข้า สินค้าจ ากประเทศไทยเป็นม ลู ค่าจ �ำ นวนมาก จากผลขอ้ ต กลงเขตการคา้ เสรีอ เมริกาเหนือ ทำ�ให้เม็กซิโกซึง่ เป็น ประเทศภาคีซ ึง่ ไ ด้ร บั ส ทิ ธิป ระโยชน์ท างภาษีแ ละตามกฎวา่ ด ว้ ยแหล่งก �ำ เนิดส นิ ค้า ทำ�ให้ไ ด้เปรียบประเทศไทย ในการแข่งขันใ นตลาดสหรัฐ รวมทัง้ ต น้ ทุนก ารผลิตส นิ ค้าข องเม็กซิโกจะมตี น้ ทุนต ่�ำ จากการขนส่งท มี่ รี ะยะทาง ใกล้ก ว่า ส่งผลให้จ ำ�นวนสินค้าท ี่ป ระเทศไทยส่งไปในตลาดสหรัฐลดลง โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าที่ม ีก ารยกเลิก ภาษีห รือเสียภาษีในระดับต่ำ�สำ�หรับกลุ่มป ระเทศภาคี และสินค้าที่นักลงทุนอ เมริกันไปลงทุนในเม็กซิโก 2) การลงทุนของนักลงทุนต่างประเทศ เนื่องจากประเทศไทยยังอาศัยการลงทุนในประเทศ จากนักล งทุนต ่างประเทศเพื่อใ ห้เกิดก ารสร้างงานภายในประเทศ ผลจากข้อต กลงเขตการค้าเสรีอ เมริกาเหนือ มีสร้างแรงจูงใจชักนำ�ให้นักลงทุนต่างประเทศเข้าไปร่วมลงทุนในกลุ่มประเทศภาคี ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ ประเทศไทย คือมีนักลงทุนจากต่างประเทศบางส่วนได้เลือกที่จะลงทุนในกลุ่มประเทศภาคีเขตการค้าเสรี อเมริกาเหนือเพราะสามารถได้ตลาดสหรัฐเป็นแหล่งส่งออกสินค้าพร้อมสิทธิที่ให้แก่ประเทศภาคี การที่ นักลงทุนต่างประเทศไม่ลงทุนในประเทศไทย ทำ�ให้การผลผลิตบางส่วนขาดหายไปจากวงจรการผลิตของ ประเทศไทย ส่งผลกระทบต่อการผลิตสินค้าเพื่อส ่งออกไปจำ�หน่ายในภูมิภาคอื่นด้วย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-14
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
3. สหภาพยุโรป
ม
ธ ส
สหภาพยุโรป (European Union - EU) พัฒนามาจากประชาคมยุโรป ซึ่งเป็นกลุ่มที่รวมองค์กร ทางเศรษฐกิจ 3 องค์กรเข้าด้วยกัน คือ ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป จัดตั้งขึ้นเพื่อยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศ ต่างๆ ในทวีปยุโรปให้ดีข ึ้น โดยอาศัยความร่วมมือของประเทศภาคี ปัจจุบันมีสมาชิกอยู่ 25 ประเทศ ได้แก่ เบลเยี่ยม เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร กรีซ สเปน โปรตุเกส ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน เชก เอสโทเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย ฮังการี โปแลนด์ สโลวีเนีย สโลวาเกีย มอลต้า และไซปรัส 3.1 วัตถุประสงค์ข องการก่อตั้งส หภาพยุโรป สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) เพื่อรวบรวมระบบเศรษฐกิจ ความร่วมมือในการพัฒนาสังคม และการปกครองแบบ ประชาธิปไตยของประเทศภาคีให้เป็นอันหนึ่งอันเดียว 2) เพื่อย กระดับการดำ�รงชีวิตของประชากรชาวยุโรปให้ดีขึ้น 3) เพื่อจ ัดตั้งส หภาพศุลกากรโดยการขจัดอุปสรรคต่างๆ ทางการค้าระหว่างประเทศ 3.2 ความสมั พันธ์ระหว่างประเทศไทยกบั กลุม่ ส หภาพยโุ รป สามารถจำ�แนกได้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน การเมือง ด้านการค้า และ ด้านสังคมและวัฒนธรรม รายละเอียดมีดังนี้ 1) ด้านการเมือง ประเทศไทยกับประเทศต่างๆ ในกลุ่มสหภาพยุโรปมีความสัมพันธ์อันดี ตลอดมาและบางประเทศมีค วามยาวนานนับร ้อยปี โดยมีช ั้นผ ู้นำ�ของแต่ละประเทศได้เดินทางไปเยี่ยมเยือน เพื่อแลกเปลี่ยนและกระชับสัมพันธไมตรีต่อกัน 2) ด้านการค้าขาย ประเทศไทยได้ม ีก ารค้าขายกับป ระเทศภาคีข องกลุ่มส หภาพยุโรปมาเป็น ระยะเวลาอนั ย าวนาน โดยเฉพาะกบั ส หราชอาณาจักร ฝรัง่ เศส เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี และเดนมาร์ก กระทัง่ ถ งึ ปั จ จุ บั น สิ น ค้ า สำ � คั ญ ข องป ระเทศไทยที่ ส่ ง ใ ห้ ป ระเทศต่ า งๆ ในก ลุ่ ม ป ระเทศใ นส หภาพยุ โ รป ได้ แ ก่ มันสำ�ปะหลัง สิ่งทอ และเสื้อผ้าสำ�เร็จรูป ส่วนสินค้าที่ประเทศไทยนำ�เข้า ได้แก่ เครื่องจักรกล และยานยนต์ 3) ด้านสังคมและวัฒนธรรม ประเทศไทยมักจะได้รับความสนใจและความช่วยเหลือจาก ประเทศภาคีในกลุ่มสหภาพยุโรป ในการส่งนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆ มาให้คำ�แนะนำ�หรือ เป็นที่ป รึกษาโครงการต่างๆ และการให้ทุนแก่นักศึกษาประเทศไทยไปศึกษาต่อ ณ ประเทศเหล่าน ั้น 3.3 ผลกร ะท บที่ ป ระเทศไทยไ ด้ รั บ จ ากส หภาพยุ โ รป อาจจ ะมี ไ ม่ ม ากเ ท่ า กั บ ผ ลกร ะท บที่ ประเทศไทยได้รับจากเขตเสรีทางการค้าอเมริกาเหนือ แต่ที่ชัดเจนคืออำ�นาจการต่อรองการค้ากับแต่ละ ประเทศในกลุ่มสมาชิกสหภาพยุโรปมีอำ�นาจลดน้อยลง เพราะทุกประเทศในกลุ่มจะใช้มาตรฐานการค้า เดียวกันท ั้งหมดในการเจรจาการค้ากับประเทศหรือกลุ่มเศรษฐกิจอื่น สามารถสรุปได้ว่า เขตการค้าเสรีถือเป็นส่วนหนึ่งของตลาดโลกที่ให้สิทธิประโยชน์ภายในกลุ่ม ประเทศภาคีด้วยกัน ทำ�ให้มีหลายกลุ่มประเทศพยายามมีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีขึ้น ซึ่งผลกระทบการ ส่งออกสินค้าของประเทศไทยไปยังตลาดโลกมีแนวโน้มมากขึ้น ดังนั้นเพื่อลดอุปสรรคทางการค้า รักษา ผลประโยชน์ทางการค้าระหว่างประเทศ และดึงดูดนักลงทุน รัฐบาลไทยจึงมีการเจรจาในลักษณะทวิภาคี
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-15
ธ ส
ในการสร้างเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่างๆ เช่น ออสเตรเลีย (TAFTA) นิวซีแลนด์ (TNZCEP) ญี่ปุ่น (JTEFA) สหรัฐอเมริกา (TUSFTA) อินเดีย (TIFTA) เปรู (Thailand-Peru Free Trade Agreement) กลุ่ม BINSTEC (BINSTEC FTA) และสหภาพยุโรป (TEFTA) การที่ประเทศไทยได้มีการเปิดเขตการค้าเสรีกับประเทศที่กล่าวมา และมีการลงนามในข้อตกลง เขตการค้าเสรี สำ�หรับข้อบทตกลงด้านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนหนึ่งในข้อตกลงอื่นๆ ซึ่งจะอธิบาย รายละเอียดในตอนที่ 12.2
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.1.2 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.1 เรื่องที่ 12.1.2
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
12-16
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตอนที่ 12.2
ธ ส
ม
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ป ระเทศไทยกับเขตการค้าเสรี
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 12.2 แล้วจึงศ ึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 12.2.1 โอกาสธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ตามกรอบความตกลงเขตการค้าเสรี เรื่องที่ 12.2.2 สิ่งท ีต่ ้องเตรยี มพร้อมสำ�หรับก ารเข้าส ูก่ ารค้าร ะหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 12.2.3 พฤติกรรมของผู้ซ ื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
1. การที่กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีสนับสนุนธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์โดยถือเป็นหนึ่ง ข้อบังคับที่ประเทศภาคีต้องมีการพัฒนาและให้องค์กรใดๆ ในประเทศภาคีสามารถได้ รับสิทธิประโยชน์ จึงถือเป็นโอกาสทางธุรกิจที่ผู้ประกอบการสามารถใช้เป็นช่องทางใน การดำ�เนินธุรกิจ 2. ธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์เป็นเครือข ่ายที่เชื่อมตลาดจากสถานที่ต ่างๆ มาเป็นต ลาดใหญ่ต ลาด เดียวที่มีหลายมิติ และกลุ่มผู้บริโภคมีความหลากหลาย ดังนั้นผู้ประกอบการ/องค์กร ธุรกิจใดสนใจที่จะดำ�เนินธุรกิจผ่านช่องทางดังกล่าวต้องมีการปรับปรุงหรือต้องเรียนรู้ ในสิ่งท ี่เกี่ยวข้องเพื่อใ ห้สามารถแข่งขันในตลาดแห่งนี้ได้ 3. ก ารที่ นำ �ธุ ร กิ จ ก ารค้ า ม าเ ชื่ อ มต่ อ กั บ เ ครื อ ข ายสื่ อ สารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทำ � ให้ ผู้ บ ริ โ ภค สามารถตรวจสอบหรือค้นหาสินค้าหรือบริการได้จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพิ่มความ สะดวกรวดเร็ว ส่งผลให้พฤติกรรมผู้บริโภคในการจัดซื้อจัดหาสินค้าหรือบริการมี การเปลี่ยนแปลงไป
ม
ม
ธ ส
วัตถุประสงค์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
เมื่อศึกษาตอนที่ 12.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายโอกาสธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ตามกรอบความตกลงเขตการค้าเสรีได้ 2. อธิบายสิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมสำ�หรับการเข้าสู่การค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้ 3. อธิบายพฤติกรรมของผู้ซ ื้อส ินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันได้
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-17
ธ ส
เรื่องที่ 12.2.1 โอกาสธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ต ามกรอบความตกลง เขตการค้าเสรี
ธ ส
ม
ม
ผลจากที่หลายๆ ประเทศมุ่งที่จะเปิดเขตการค้าเสรีเพื่อรักษาและสร้างผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง ทำ�ให้ประเทศไทยจำ�เป็นต้องมีเปิดการค้าเสรีกับประเทศคู่สำ�คัญค้าต่างๆ เพื่อให้สามารถยังคงรักษาตลาด การค้าเดิมไว้ และสร้างโอกาสในการสร้างช่องทางการจำ�หน่ายสินค้าให้เป็นลักษณะเครือข่าย เพื่ออำ�นวย ความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคในการจัดซื้อจัดหาสินค้าหรือบริการ ซึ่งการที่องค์กรธุรกิจรายใดจะใช้ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ทำ�ธุรกิจใ นเขตการค้าเสรี จำ�เป็นต้องเข้าใจและรับรู้ถึงกรอบความตกลงที่เขตการค้าเสรีนั้นๆ ได้มีการเจรจาตกลงกันไว้ กรอบความตกลงของการค้าเขตการค้าเสรี เป็นข้อตกลงที่ก ลุ่มเศรษฐกิจได้มีก ารเจรจาตกลงกันไว้ ซึ่งจะระบุให้ทราบว่าอะไรบ้างที่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อตกลงของการเขตการค้าเสรีซึ่งแต่ละเขตการค้า เสรีอาจจะมีกรอบความตกลงที่แ ตกต่างกันไป ซึ่งกรอบความตกลงขั้นพื้นฐานมักจะประกอบด้วย ด้านการ ค้าสินค้า บริการ การลงทุน และธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ในที่นี้จะมุ่งเน้นเสนอกรอบความตกลงต่างๆ ของเขต การค้าเสรีที่เกี่ยวข้องกับประทศไทยเท่านั้น กรอบความตกลงทางการค้าเขตการค้าเสรีที่ประเทศไทยได้มีข้อตกลงสามารถจำ�แนกออกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. กรอบความตกลงทางการค้าเสรีระดับภูมิภาค 2. กรอบความตกลงทางการค้าเสรีทวิภาคี
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
1. กรอบความตกลงทางการค้าเสรีระดับภ ูมิภาค
ธ ส
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
กรอบความตกลงทางการค้าเสรี ที่ประเทศไทยได้จัดทำ�ข้อตกลงกับกลุ่มประเทศต่างๆ หรือเขต การค้าเสรีอื่นๆ ที่ส ำ�คัญมีด ังนี้ 1.1 กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน ประเทศในกลุ่มประเทศภาคีของอาเซียน ได้ม ีการกำ�หนดกรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน (E-ASEAN Framework Agreement) ให้ครอบคลุมม าตรการในการดำ�เนินการสำ�คัญ 5 ด้าน ดังนี้ 1.1.1 อำ�นวยความสะดวกในการจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลข่าวสารของอาเซียน 1.1.2 อำ�นวยความสะดวกในการขยายตัวของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน 1.1.3 ส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกการเปิดเสรีด ้านการค้าส ินค้า บริการ และการลงทุนที่ เกีย่ วกบั เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสือ่ สารหรือไ อซที ี (Information and Communication Technology - ICT)
ม
ม
ธ ส
ม
12-18
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.1.4 พัฒนาสังคมอิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน และเสริมสร้างความสามารถ เพื่อลดช่องว่าง ด้านอิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละประเทศ และระหว่างประเทศอาเซียน 1.1.5 ส่งเสริมการใช้ไอซีทีในการให้บริการของรัฐบาล หรือการจัดตั้งรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ทัง้ นีจ้ ะสง่ เสริมป ระเทศภาคีซ ึง่ ม คี วามพร้อมในการเร่งรัดก ารด�ำ เนินก ารตามความตกลงให้ส ามารถด�ำ เนินก าร ได้ในปี พ.ศ. 2545 และช่วยเหลือประเทศภาคีอื่นๆ ให้สามารถดำ�เนินการได้ ความคืบหน้าในการดำ�เนินการด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน มีการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้ 1) ในด้านการวางโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ ขณะนี้อาเซียนอยู่ระหว่างการยกร่าง รูปแบบที่มีความเป็นไปได้ที่จะเชื่อมต่อระบบโครงข่ายสารสนเทศในภูมิภาค นอกจากนี้ยังมีการยกร่าง มาตรฐานทางเทคนิค ซึ่งจ ะใช้เป็นแนวทางในการกำ�หนดมาตรฐานทางเทคนิคในภูมิภาคอาเซียน เพื่อรับฟัง ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และใช้เป็นแนวทางการดำ�เนินงานร่วมกันในเรื่องนี้ต่อไป 2) ในด้านการส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกในการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กำ�หนดดังนี้ • อาเซียนได้พิจารณาปัจจัยที่ส ่งเสริมให้มีการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กันมากขึ้น • ขจัดอุปสรรคที่ขัดขวางโดยในขณะนี้ได้เริ่มต้นยกร่างกรอบกฎหมายธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน • จัดพิมพ์เอกสารฉบับนี้เพื่อเผยแพร่และใช้เป็นเอกสารอ้างอิงสำ�หรับประเทศภาคีที่ ยังไม่มีกฎหมาย • การจัดต ั้งค ณะทำ�งาน (steering committee) เพื่อท ำ�หน้าทีป่ ระสานความร่วมมือ ในการสร้างความเชื่อม ั่นใ นการทำ�ธุรกรรมผ่านสื่ออ ินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะองค์กรที่จ ะทำ�หน้าที่ร ับรองความ ถูกต้อง 3) ในด้านการเปิดเสรีด ้านการค้า การบริการ และการลงทุน ในส่วนทีเ่กี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร กรอบความตกลงกำ�หนดให้สมาชิกจะต้องลดภาษีศุลกากร 4) ในด้ า นก ารพั ฒ นาสั ง คมแ ห่ ง เ ทคโนโลยี จะเ น้ น ใ ห้ ป ระชาชนอาเซี ย นส ามารถใ ช้ สื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง ซึ่งจะมีการเร่งสร้างความตื่นตัวในการใช้เทคโนโลยี โดย การประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ตามสื่อต ่างๆ เช่น โทรทัศน์ สารคดี และเอกสารเผยแพร่ เป็นต้น 5) การสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e – Government) รัฐบาลประเทศภาคีจะเน้นการให้ บริการประชาชน โดยใช้สื่ออ ิเล็กทรอนิกส์ให้มากขึ้น เช่น ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ การใช้บัตรอัจฉริยะ (smart card) แทนบัตรประชาชนและใบขับขี่ และการใช้หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ 1.2 กรอบความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ กรอบความตกลงการค้าเสรี อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (ASEAN-Australia-New Zealand Free Trade Agreement - AANZFTA) เป็นกรอบความตกลงที่มาจากการจัดเขตการค้าเสรีระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับ ออสเตรเลียแ ละนิวซีแลนด์ โดยสามารถระบุกรอบความตกลงที่สำ�คัญ ดังนี้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-19
ธ ส
• การค้าสินค้า จะครอบคลุมเรื่องการลดและ/หรือ การยกเลิกอากรศุลกากร การยกเลิก การอุดหนุนส่งออกสินค้าเกษตร ค่าธรรมเนียมและค่าภาระที่เกี่ยวข้องกับการนำ�เข้าและการส่งออก และ การอนุญาตการนำ�เข้า • กฎว่าด ้วยถิ่นกำ�เนิดสินค้า กล่าวถึงกฎเกณฑ์และข้อกำ�หนดในการได้ถิ่นกำ�เนิดสินค้า ซึ่ง จะทำ�ให้ส ินค้าน ั้นส ามารถได้ร ับส ิทธิป ระโยชน์ท างภาษีจ ากข้อมูลผ ูกพันภ าษีศ ุลกากร ของประเทศภาคีภ ายใต้ ความตกลง AANZFTA • พิธีการศุลกากร ตามข้อต กลงมีวัตถุประสงค์เพื่อทำ�ให้การใช้บังคับกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับด้านศุลกากร คาดการณ์ได้ สม่ำ�เสมอ และโปร่งใส เพื่อส่งเสริมการจัดการพิธีการศุลกากรที่มี ประสิทธิภาพและการตรวจผ่านสินค้าที่รวดเร็ว เพื่อทำ�ให้พิธีการศุลกากรง่ายขึ้น และเพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือร ะหว่างหน่วยงานศุลกากรของประเทศภาคี • มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช กำ�หนดให้ประเทศภาคีแต่ละประเทศยืนยันสิทธิ และพันธกรณีของตนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชภายใต้ กรอบองค์การการค้าโลก • มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง กำ�หนดให้ ประเทศภาคีแต่ละประเทศยืนยันสิทธิและพันธกรณีของตนภายใต้ความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิค ต่อการค้า ภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก • มาตรการปกป้อง กำ�หนดให้ม กี ารไต่สวนกอ่ นทจี่ ะใช้ม าตรการปกป้องตามขัน้ ต อนทกี่ �ำ หนด ไว้ในความตกลงว่าด้วยการปกป้อง ภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก • การค้าบ ริการ มีพ ื้นฐ านมาจากความตกลงทั่วไปว่าด ้วยการค้าบ ริการภายใต้ก รอบองค์การ การค้าโลก เช่น การปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ การเข้าส ู่ตลาด และการแก้ไขตารางข้อผูกพัน • การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา มีวัตถุประสงค์เพื่ออ ำ�นวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย บุคคลธรรมดาที่เกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศภาคี เพื่อให้มีระเบียบพิธีการเข้าเมือง สำ�หรับบุคคลธรรมดาที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส และเพื่อปกป้องบูรณภาพของเขตแดนและคุ้มครอง แรงงานภายในประเทศและการจ้างงานถาวรในอาณาเขตประเทศภาคี • ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และความ ร่วมมือในการพัฒนาธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ความโปร่งใสในการเผยแพร่ม าตรการทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์ต่อสาธารณะ การมีข้อกฎหมายและระเบียบข้อบังคับสำ�หรับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การมี มาตรการเพื่อยืนยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์และใบรับรองดิจิทัล การคุ้มครองผู้บริโภคที่ใช้ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ให้เท่าเทียมผู้บริโภคอื่นๆ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าไร้ก ระดาษ • การลงทุน ความตกลงประกอบด้วยสองส่วนหลัก คือ การเปิดเสรีการลงทุน และการ ส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน ยังมีส ่วนที่ถ ือเป็นพันธกรณีทั่วไป เช่น ความโปร่งใส ระเบียบปฏิบัติพิเศษ และการเปิดเผยข้อมูล เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-20
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
• ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ มีขอบเขตครอบคลุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเรื่องที่ ประเทศภาคีมีความสนใจร่วมกัน โดยจะดำ�เนินก ิจกรรมความร่วมมือตามที่ระบุไว้ในแผนงานความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ • ทรัพย์สินทางปัญญา กำ�หนดให้ประเทศภาคีที่เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกยืนยันสิทธิ และพันธกรณีภายใต้ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า ภายใต้กรอบองค์การ การค้าโลก • การแข่งขัน มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่องความร่วมมือด้านการแข่งขันทางการค้า เช่น การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อมูล และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ เป็นต้น และกำ�หนดให้ประเทศภาคีมี จุดติดต่อเพื่อป ระสานงานด้านการแข่งขันทางการค้า นอกจากนี้ยังมีกรอบความตกลงปลีกย่อยอื่นๆ อีก เช่น เรื่องความตกลงระหว่างประเทศที่มี การแก้ไข การเปิดเผยข้อมูล การรักษาข้อมูลลับ การแก้ไขความตกลง เป็นต้น 1.3 กรอบความตกลงการค้าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) เป็นพันธสัญญาระหว่างประเทศภาคีอาเซียนในการรวมตัวกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในปีพ.ศ. 2558 โดยกำ�หนดยุทธศาสตร์การก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่สำ�คัญคือ 1) การเป็น ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2) การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง 3) การเป็นภูมิภาค ที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน และ 4) การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สามารถอธิบายได้ด ังนี้ 1.3.1 การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน จะทำ�ให้อาเซียนมีความสามารถในการแข่งขัน สูง โดยมีองค์ป ระกอบอยู่ 5 องค์ป ระกอบหลัก คือ 1) การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี 2) การเคลื่อนย้ายบริการ เสรี 3) การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี 4) การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีขึ้น และ 5) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ เสรี การเป็นตลาดสินค้าและบริการเดียวจะช่วยสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายการผลิตในภูมิภาค และเสริม สร้างศักยภาพของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางการผลิตของโลก และเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานโลก 1.3.2 การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน เป้าหมายคือการสร้างภูมิภาคที่มี ความสามารถในการแข่งขันสูง มีความเจริญร ุ่งเรือง และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยมีองค์ประกอบอยู่ 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) นโยบายการแข่งขัน 2) การคุ้มครองผู้บริโภค 3) สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 4) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 5) มาตรการด้านภาษี และ 6) ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ประเทศภาคีอาเซียน มีข้อผูกพันที่จะนำ�กฎหมายและนโยบายการแข่งขันมาบังคับใช้ภายในประเทศ เพื่อทำ�ให้เกิดการแข่งขันที่ เท่าเทียมกันและสร้างวัฒนธรรมการแข่งขันของภาคธุรกิจที่เป็นธรรม 1.3.3 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ เท่าเทียมกันมี 2 องค์ประกอบ คือ 1) การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมหรือเอสเอ็มอี (SME) และ 2) ลดช่องว่างการพัฒนา ทั้งในระดับเอสเอ็มอี (SME) และเสริมสร้างการรวมกลุ่มของกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-21
ธ ส
1.3.4 การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ได้ กำ � หนดการดำ � เนิ น ก าร 2 มาตรการคือ 1) การจัดทำ�เขตการค้าเสรี (FTA) และความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (CEP) กับประเทศนอกอาเซียน และ 2) การมีส่วนร่วมในเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานโลก สรุปได้ว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งเน้นที่จะใช้ความร่วมมือของประเทศภาคี เพื่อช่วยและ สนับสนุนซึ่งก ันแ ละกันในการสร้างความแข็งแกร่งให้กับเศรษฐกิจของประเทศภาคี 1.4 กรอบความตกลงการค้าเสรีร ะหว่างประเทศไทยกับส หภาพยุโรป (Thailand-EU Free Trade Area) กรอบการเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยุโรปจะอยู่ภายใต้การเจรจา อาเซียนกับสหภาพยุโรปได้ม ีการกำ�หนดกรอบความตกลง ดังนี้ 1.4.1 การค้าสินค้า ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้มีการลดหรือยกเลิกอากรศุลกากร ค่าธรรมเนียม และเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจาก สินค้าน ำ�เข้าให้ครอบคลุมระหว่างกันให้มากที่สุด - เน้นใ ห้ล ดภาษีใ นสินค้าท ี่ไ ทยมีศ ักยภาพส่งอ อก โดยให้ม ีค วามสมดุลร ะหว่างสินค้า เกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม - ให้มีการลดหรือเลิกมาตรการกีดกันและอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี ที่ขัดกับ กฎเกณฑ์การค้าโลก ซึ่งเป็นอ ุปสรรคต่อการส่งอ อกให้มากที่สุด - ให้ม รี ะยะเวลาในการปรับต วั ท เี่ หมาะสมแก่ส นิ ค้าท มี่ คี วามออ่ นไหว รวมทัง้ มาตรการ อื่นๆ เพื่อล ดผลกระทบจากการลดภาษี 1.4.2 พิธีการศุลกากร ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้มีความร่วมมือในด้านพิธีการศุลกากร เพื่ออำ�นวยความสะดวกทางการค้าให้มี ประสิทธิภาพและไม่สร้างภาระต้นทุนที่ไม่เหมาะสม 1.4.3 กฎแหล่งกำ�เนิดส ินค้า ได้กำ�หนดดังนี้ - กำ�หนดกฎแหล่งกำ�เนิดสินค้าให้สอดคล้องกับโครงสร้างการผลิตสินค้าของไทย อาเซียนและสหภาพยุโรปให้ม ากที่สุด - กำ�หนดกฎเกณฑ์ท ชี่ ดั เจน มีก ารบงั คับใ ช้อ ย่างโปร่งใส และเท่าเทียมกนั แ ละลดความ เป็นอุปสรรค ทางการค้าของสินค้าไทยมากที่สุด - ร่ ว มมื อ ป รั บ ปรุ ง ร ะเบี ย บป ฏิ บั ติ ก ารรั บ รองแ หล่ ง กำ �เนิ ด สิ น ค้ า ใ ห้ โ ปร่ ง ใส มี ประสิทธิภาพ ไม่สร้างภาระ ต้นทุนที่ไม่เหมาะสม และอำ�นวยความสะดวกทางการค้าให้มีประสิทธิภาพ 1.4.4 มาตรการปกป้องและมาตรการเยียวยาด้านการค้า ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้มีมาตรการปกป้องระหว่างประเทศภาคีอาเซียนและสหภาพยุโรปเพื่อคุ้มกัน และ/หรือเยียวยา ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมภายในที่ได้รับผลกระทบอย่างร้ายแรงจากการทะลักของ สินค้านำ�เข้า รวมทั้ง มาตรการปกป้องกรณีที่เกิดปัญหา ด้านดุลการชำ�ระเงิน - ให้มีแนวทางการใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและมาตรการตอบโต้ก ารอุดหนุน ที่ไม่ขัดก ับกฎเกณฑ์ข ององค์การการค้าโลก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-22
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.4.5 มาตรการสุขอนามัย ได้กำ�หนดดังนี้ - เน้นย้ำ�ให้การใช้มาตรการสุขอนามัย ใช้ได้เฉพาะมาตรการที่สอดคล้องตามความ ตกลงขององค์การการค้าโลก - จัดตั้งกลไกการหารือ รวมทั้งระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบการติดต่อระหว่างกันเพื่อ ให้ส ามารถจัดการ ปัญหาและอุปสรรคที่อ าจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรการสุขอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ - หาแนวทางลดอุปสรรคทางการค้า ที่เกิดจากกฎระเบียบด้านมาตรการสุขอนามัย เช่น ให้ความรู้ ความช่วยเหลือในการปรับตัวรองรับข้อกำ�หนดด้านมาตรการสุขอนามัยของสหภาพยุโรป การจัดทำ�ความตกลงยอมรับร่วมในสินค้าต่างๆ เป็นต้น 1.4.6 อุปสรรคทางเทคนิคต ่อการค้า ได้กำ�หนดดังนี้ - เน้นย ้ำ�ให้การใช้ม าตรการด้านอุปสรรคทางเทคนิคต ่อก ารค้าใ ช้ได้เฉพาะมาตรการที่ สอดคล้องตามความตกลงขององค์การการค้าโลก - จัดตั้งกลไกการหารือ รวมทั้งระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบการติดต่อระหว่างกัน เพื่อให้สามารถจัดการ ปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรการกีดกันทางเทคนิคได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - หาแนวทางลดอุปสรรคทางการค้า ที่เกิดจากกฎระเบียบทางเทคนิคหรือมาตรฐาน ของสหภาพยุโรป เช่น ให้ความรู้ความช่วยเหลือในการปรับตัวรองรับข้อกำ�หนดด้านมาตรฐานสินค้าของ สหภาพยุโรป การจัดทำ�ความตกลงยอมรับร่วมในสินค้าต่างๆ เป็นต้น 1.4.7 การค้าบริการ ได้กำ�หนดดังนี้ - เปิดเสรีภ าคบริการอย่างค่อยเป็นค ่อยไป โดยให้ระดับการเปิดเสรีโ ดยรวมอาเซียน กับสหภาพยุโรป สูงก ว่าระดับการเปิดเสรีภายใต้องค์การการค้าโ ลก - ให้ม ีก ารเปิดต ลาดบริการและการลงทุนใ นสาขาที่ไ ทยมีศ ักยภาพ รวมถึงก ารอำ�นวย ความสะดวก ให้ผู้บ ริหารและบุคลากรที่มีฝีมือข องไทยสามารถเข้าไปทำ�งานในสหภาพได้ - ให้ร ักษาสิทธิข องทางการในการใช้ม าตรการที่จ ำ�เป็น เพื่อร ักษาเสถียรภาพทางระบบ การเงิน การธนาคาร การเคลื่อนย้ายเงินท ุน อัตราแลกเปลี่ยน และสิทธิ ในการใช้ม าตรการเพื่อป ้องกันค วาม เสียหาย ที่อาจเกิดขึ้นในกรณีท ี่เกิดเหตุการณ์ที่อาจกระทบต่อดุลการชำ�ระเงิน 1.4.8 การลงทุน ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้ม ีก ฎเกณฑ์ท ี่ช ัดเจนครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีค รอบคลุมธุรกิจที่น อกเหนือจาก ภาคบริการ - ให้ล ดมาตรการทางกฎหมายและทางการบริหารที่เป็นอ ุปสรรคต่อก ารลงทุนระหว่าง ประเทศ โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นในการใช้มาตรการและการกำ�หนดเงื่อนไขด้านการลงทุนที่สอดคล้อง กับเป้าหมายการพัฒนาประเทศ - เปิดโ อกาสให้ส ามารถใช้ก ระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศเป็นท างเลือก ในการระงับข้อพ ิพาท และผลักด ันให้มีก ลไกหารือเพื่อแก้ไขปัญหา ด้านการลงทุนเฉพาะเรื่อง
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-23
ธ ส
- ให้ร ักษาสิทธิข องทางการในการใช้ม าตรการที่จ ำ�เป็น เพื่อร ักษาเสถียรภาพทางระบบ การเงิน การธนาคาร การเคลื่อนย้ายเงินทุน อัตราแลกเปลี่ยน และสิทธิในการใช้มาตรการเพื่อป้องกันความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้นในกรณีท ี่เกิดเหตุการณ์ที่อ าจกระทบดุลการชำ�ระเงิน 1.4.9 การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้จัดตั้งกระบวนการระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐที่หลีกเลี่ยงไม่ได้สำ�หรับสิทธิและ พันธกรณีตามข้อต กลงที่เกี่ยวข้อง มีขั้นตอนและกลไกที่ชัดเจน โปร่งใส และเป็นธ รรมแก่รัฐคู่พิพาท และมี กลไกบังคับคำ�ตัดสินโดยฝ่ายที่สามที่ไม่เปิดโอกาสให้ดำ�เนินการฝ่ายเดียว 1.4.10 ความร่วมมือและการอำ�นวยความสะดวกทางการค้า ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้มีความร่วมมือเพื่อเพิ่มการอำ�นวยความสะดวกทางการค้าระหว่างอาเซียนและ สหภาพ - ให้ม คี วามร่วมมือท างวิชาการ และการเสริมส ร้างขีดค วามสามารถของผปู้ ระกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม - ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือด้านเศรษฐกิจที่อยู่ในความสนใจของทั้งสองฝ่าย 1.4.11 ทรัพย์สินทางปัญญา ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้ร ะดับก ารคุม้ ครองทรัพย์สนิ ท างปญ ั ญาสอดคล้องกบั ร ะดับก ารคุม้ ครองตามความ ตกลงขององค์การการค้าโลกและ/หรือความตกลงระหว่างประเทศ ที่ไทยเป็นภ าคี - ให้ม ีการบังคับใช้กฎหมายที่สอดคล้องกับระดับการพัฒนาของประเทศ - ส่งเสริมก ารใช้ค วามยืดหยุ่น ข้อย กเว้น และข้อจ ำ�กัดใ นการคุ้มครองทรัพย์สินอ ย่าง ปัญญาอย่างสมดุลระหว่างเจ้าของสิทธิผ ู้บ ริโภค และสาธารณชนโดยรวม - ร่วมมือกันในการพัฒนาระบบทรัพย์สินทางปัญญา การส่งเสริมการสร้างสรรค์ การคุ้มครอง และการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ซึ่งรวมถึง การส่งเสริม การถ่ายทอดเทคโนโลยี 1.4.12 ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้ม ีความร่วมมือในการส่งเสริมการค้าผ่านระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 1.4.13 การจัดซื้อโดยรัฐ ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการจัดซื้อโดยรัฐเกี่ยวกับโครงสร้างระบบบริหารจัด การภาครัฐ การงบประมาณ การจัดซื้อจ ัดจ้างภาครัฐ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีความโปร่งใสในกระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง 1.4.14 ความโปร่งใส ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้ม กี ฎหมายและขอ้ บ งั คับภ ายในทมี่ คี วามโปร่งใส และมกี ระบวนการในการเผยแพร่ กฎหมายและข้อบังคับดังกล่าวให้แก่สาธารณชนและผู้ประกอบการ และจะต้องพยายามจัดให้มีระยะเวลา ตามสมควร ระหว่างเวลาที่ประกาศ หรือเผยแพร่กฎหมาย หรือข้อบังคับดังกล่าวต่อสาธารณชนกับเวลาที่ กฎหมาย และข้อบังคับนั้นมีผลใช้บังคับ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-24
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.4.15 การแข่งขัน ได้กำ�หนดดังนี้ - ส่งเสริมใ ห้มีนโยบายการแข่งขันเสรีเป็นธรรมผ่านมาตรการกำ�กับด ูแลการแข่งขันท ี่ เหมาะสม ภายใต้ก ฎหมาย และระเบียบภายในประเทศของแต่ละฝ่าย - ให้มีความร่วมมือทางวิชาการและการประสานงาน ระหว่างหน่วยงานกำ�กับดูแล การแข่งขันของประเทศภาคีอาเซียนและสหภาพยุโรป 1.4.16 สิ่งแวดล้อม ได้กำ�หนดดังนี้ - ให้ม ีก ารปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ หรือกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวข้อง และ เปิดโอกาสให้ กำ�หนดมาตรฐานสิ่งแวดล้อมภายในประเทศเพิ่มเติมในอนาคต - สนับสนุนการปฏิบัติตามพันธกรณีหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ที่ไทยเป็นส มาชิกในปัจจุบันและอนาคต - ส่งเสริมให้มีความร่วมมือด้านการเสริมสร้างองค์ความรู้และการพัฒนาเทคโนโลยี ที่ใ ช้ในการจัดการสิ่งแ วดล้อม 1.4.17 แรงงาน ได้กำ�หนดดังนี้ - ส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบภายในที่ใช้บังคับอยู่ของแต่ละฝ่าย - ส่งเสริมให้มีค วามร่วมมือเพื่อการพัฒนาด้านแรงงาน สรุปได้ว่ากรอบความตกลงทางการค้าเสรีที่ประเทศไทยจัดทำ�กับสหภาพยุโรปภายใต้การ เจรจาอาเซียน จะเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งจะก่อให้เกิดการขยายการค้าขายระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการกำ�หนดความร่วมมือในการส่งเสริมการค้าผ่านระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ทำ�ให้สร้าง โอกาสผู้ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจของประเทศไทยในการขยายการค้าและเสนอสินค้าหรือบริการผ่าน ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้สะดวกและลดต้นทุนทางการค้าขาย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
2. กรอบความตกลงทางการค้าเสรีทวิภาคี
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ประเทศไทยได้ม กี ารดำ�เนินก ารในการสร้างกรอบความตกลงทางการเสรีก ับป ระเทศต่างๆ ส่วนใหญ่ จะพิจารณาจากมูลค่าของการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับป ระเทศนั้นๆ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถรักษา ตลาดสินค้าส่งออกไว้ไ ด้ ที่ส ำ�คัญมีด ังต่อไปนี้ 2.1 กรอบความตกลงทางการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศนิวซีแลนด์ (Thailand-New Zealand Closer Economic Partnership Agreement - TNZCEP) เป็นกรอบความตกลงทางการค้าเสรี ที่ประเทศไทยและนิวซีแลนด์ ตกลงร่วมกันให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 นอกจากนี้ เพือ่ ส นับสนุนแ ละเพิม่ ค วามสะดวกในการคา้ ขายระหว่างทัง้ ส องประเทศ และลดอปุ สรรคในการคา้ แ ละตน้ ทุน ในการค้าขาย ได้ม ีก ารบรรจุข ้อต กลงทางด้านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ (พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์) ไว้เป็นบ ทหนึ่งใ น กรอบความตกลง ในหมวด ๑๐ มีทั้งหมด ๘ มาตรา ดังนี้ มาตรา ๑๐.๑ วัตถุประสงค์และบทนิยาม ให้ประเทศคู่สัญญาตระหนักถึงการเจริญเติบโต ด้านเศรษฐกิจและโอกาสที่เกิดจากการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการขจัดอุปสรรคในการใช้และ พัฒนาการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการใช้กฎเกณฑ์ขององค์การการค้าโลกที่เกี่ยวข้อง
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-25
ธ ส
มาตรา ๑๐.๒ ภาษีศุลกากร ไม่มีการกำ�หนดภาษีศุลกากรสำ�หรับสิ่งที่ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
มาตรา ๑๐.๓ กรอบระเบียบภายในประเทศ ให้ประเทศคู่สัญญาต้องมีกฎหมายภายใน ครอบคลุมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic transactions) ตามอย่างกฎหมายแม่บทว่าด้วยการ พาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ข องคณะกรรมาธิการกฎหมายการคา้ ร ะหว่างประเทศแห่งส หประชาชาติ (UNCITRAL Model Law on Electronic Commerce 1996) มาตรา ๑๐.๔ การคุ้มครองผู้บริโภคออนไลน์ ให้ประเทศคู่สัญญาต้องมี กฎหมาย ระเบียบ หรือนโยบายในการคุ้มครองผู้บริโภคที่ใช้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย หรือเท่ากับการคุ้มครอง ผู้บริโภคที่ใช้การพาณิชย์ในลักษณะอื่นๆ มาตรา ๑๐.๕ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์ ให้ประเทศคู่ค้าต้องมีมาตรการที่ เหมาะสมและจำ�เป็นในการคุ้มครองข้อมูลข องผู้ใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มาตรา ๑๐.๖ การค้าไร้กระดาษ ให้ประเทศคู่ค้ายอมรับรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ของเอกสาร บริหารทางการค้า ให้มีผลทางกฎหมายเท่ากับเอกสารในรูปแบบกระดาษ มาตรา ๑๐.๗ ความรว่ มมอื เรือ่ งการพาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ ประเทศคสู่ ญ ั ญาจะตอ้ งสนับสนุน ให้มีความร่วมมือให้เกิดการวิจัย ฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการขยายและพัฒนา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มาตรา ๑๐.๘ การไม่นำ�บทบัญญัติเรื่องการระงับข้อพิพาทมาใช้ ยกเว้นกรณีการปรึกษา ร่วมกันและระงับข้อพิพาทในเรื่องที่เกี่ยวกับภาษีศุลกากร ตามมาตรา ๑๐.๒ สามารถสรุปไ ด้ก รอบความตกลงสำ�หรับเขตการค้าเสรีร ะหว่างประเทศไทยและประเทศนิวซีแลนด์ ได้ม กี ารจัดท ำ�ข้อต กลงทางด้านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ (พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์) เพื่อส นับสนุนใ นผูป้ ระกอบการ ทั้งส องประเทศสามารถสร้างโอกาสในการทำ�การค้าขายระหว่างกันไ ด้ส ะดวก รวดเร็ว อีกท ั้งส ามารถลดต้นทุน ในการค้าขายระหว่างกันได้อ ย่างดี 2.2 กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศ ไทยกับประเทศออสเตรเลีย (ThailandAustralia Free Trade Agreement - TAFTA) ความตกลงการจัดทำ�เขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทย และประเทศออสเตรเลียเป็นความตกลงว่าด้วยพันธมิตรทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิด (Closer Economic Partnership - CER) โดยมีกรอบความตกลงดังนี้ 2.2.1 การเปิดต ลาดการคา้ ส นิ ค้า เป็นการแลกเปลีย่ นการลดภาษีส นิ ค้าร ะหว่างกนั ตามประเภท สินค้าห รือร ายการทที่ ัง้ ส องประเทศเสนอและยอมรับท ัง้ ส องฝา่ ย ซึง่ ข อ้ เสนอของประเทศไทยครอบคลุมส นิ ค้า ทั้งหมด 5,505 รายการ โดยให้ลดลงเหลือร้อยละ 0 ทันที มีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2548 ส่วนออสเตรเลีย จะลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ทันทีถึง 5,083 รายการ จากทั้งหมด 6,108 รายการ หรือคิดเป็นร้อยละ 83.2 ซึ่งมีมูลค่าการนำ�เข้าถึงร ้อยละ 83 ส่วนในปี พ.ศ. 2553 จะมีสินค้าที่ลดภาษีเหลือ 0 อีก 786 รายการ และ ลดเหลือ 0 ทุกร ายการสินค้าในปีพ.ศ. 2558
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-26
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
2.2.2 การเปิดตลาดด้านการค้าบ ริการและการลงทุน ประเทศออสเตรเลียจะเปิดให้นักลงทุน ไทยสามารถเข้าไปลงทุนใ นธุรกิจท ุกประเภทได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น หนังสือพิมพ์ การกระจายเสียง การ ขนส่งท างอากาศ และทา่ อ ากาศยาน อย่างไรกต็ าม หากเป็นการลงทุนท มี่ ขี นาดเกิน 10 ล้านเหรียญออสเตรเลีย จะต้องขออนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาการลงทุนข องต่างชาติก ่อน พร้อมกันน ี้ ออสเตรเลียจ ะอนุญาต ให้ผู้บริหาร ผู้จัดการ ผู้เชี่ยวชาญ และคู่สมรสและผู้ติดตาม เข้าไปทำ�งานได้คราวละ 4 ปี โดยต่ออายุได้ ไม่เกิน 10 ปี รวมทั้งให้พ่อครัวไทยที่ได้รับประกาศนียบัตรของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานและสัญญา ว่าจ้าง งานจากกิจการในออสเตรเลียเข้าไปทำ�งานได้ไม่เกิน 4 ปี พร้อมกับยกเลิกข้อจ ำ�กัดที่กำ�หนดให้นายจ้างใน ออสเตรเลียต้องประกาศหาคนในประเทศมาสมัครเข้าทำ�งานก่อนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ หากไม่มีผู้ใ ดมาสมัคร จึงจะอนุญาตให้ว ่าจ้างคนงานจากต่างประเทศได้ ซึ่งเรียกว่า Labor Market Test ส่วนประเทศไทยจะเปิดให้นักลงทุนออสเตรเลียเข้ามาลงทุนในธุรกิจซึ่งเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ ที่ใช้เงินลงทุนสูง เช่น ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ หอประชุม การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค สถาบันอ ุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี โรงแรมขนาดใหญ่ อุทยานสัตว์น ้ำ� มารีน ่า และเหมืองแร่ โดยให้นักลงทุนออสเตรเลียถือหุ้นได้ไม่เกิน 60 เปอร์เซ็นต์และกำ�หนดขนาดของพื้นที่และเงินลงทุน ขั้นต ่ำ�ไว้เป็นเงื่อนไข พร้อมกันน ี้ ไทยจะอนุญาตให้น ักธ ุรกิจอ อสเตรเลียเข้าม าทำ�งานในไทยได้เฉพาะตำ�แหน่ง ผู้บริหาร ผู้จัดการ และผู้เชี่ยวชาญ โดยเข้ามาทำ�งานได้คราวละ 1 ปี ต่ออายุได้ไม่เกิน 5 ปี และสามารถใช้ บริการแบบ ณ จุดเดียว (one stop service) ได้ โดยไม่จ ำ�กัดว ่าต ้องเป็นบ ริษัทท ี่ม ีส ินทรัพย์ร วมเกินก ว่า 30 ล้านบาท และนักธุรกิจผ ู้ถือบ ัตรเดินทางสำ�หรับนักธุรกิจเอเปค (APEC Business Travel Card) สามารถ เข้ามาประชุมแ ละติดต่องานในไทยได้ไม่เกิน 90 วัน โดยไม่ต้องขอใบอนุญาตทำ�งาน 2.2.3 กฎเกณฑ์ใ นเรื่องต่างๆ ที่จะใช้ระหว่างกัน ดังนี้ • มาตรการสุขอ นามัย (Sanitary and Phytosanitary - SPS Measure) ทั้งส องฝ่าย จะจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านมาตรการสุขอนามัย (Expert Group on SPS) เป็นเวทีในการแก้ไขปัญหา เรื่องสุขอนามัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งส ินค้าสำ�คัญ (priority products) ของทั้งสองประเทศ • กฎว่าด้วยแหล่งกำ�เนิดสินค้า (Rule of Origins) ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงวิธีการ กำ�หนดแหล่งกำ�เนิดสินค้าในหมวดสินค้าที่มีก ารค้าระหว่างกัน โดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดสินค้า โดยถือกระบวนการผลิตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำ�คัญ (substantial transformation) ยกเว้นใน บางหมวด เช่น สินค้าพลาสติก แก้วและเครื่องแก้ว ของทำ�ด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า ยานยนต์และชิ้นส่วน ทีจ่ ะมกี ารกำ�หนดสัดส่วนมูลค่าว ัตถุดิบภ ายในประเทศ (local content) ร้อยละ 40 เพิ่มเติมด ้วย และสำ�หรับ หมวดสิ่งท อและเครื่องนุ่งห่ม จะใช้ก ฎการเปลี่ยนพิกัดค วบคู่ไปกับว ัตถุดิบภ ายในประเทศ (local content) ไม่ต ่ำ�กว่าร้อยละ 30 เป็นเวลา 20 ปี สามารถสรุปได้ว่า ทั้งประเทศไทยและออสเตรเลียได้รับประโยชน์จากการปรับลดข้อกีดกันทาง การค้าแล้ว และการร่วมมือในด้านต่างๆ อาทิเช่น ด้านมาตรฐานสินค้าและความสอดคล้อง ด้านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ด้านนโยบายแข่งขัน มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การจัดซ ื้อโ ดยรัฐ มาตรฐานคุ้มครองทรัพย์สินท างปัญญา ความร่วมมือด ้านการเงิน การขนส่ง การร่วมลงทุน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-27
ธ ส
การค้า และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ก่อให้เกิดการขยายตัวข องการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการลด การกีดกันท ี่ไม่ใช่ภ าษีแ ละการเพิ่มความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการ และองค์กรธุรกิจไทย 2.3 กรอบความตกลงเขตการคา้ เสรีร ะหว่างประเทศไทยกบั ป ระเทศสหรัฐอเมริกา (Thailand-U.S. Freaa Trade Agreement - TUSFTA) กรอบความตกลงในการจัดสร้างเขตการค้าเสรีระหว่างไทย-สหรัฐ จะมผี ลกระทบตอ่ เศรษฐกิจม หภาคของประเทศคคู่ า้ โ ดยเฉพาะประเทศไทยในวงกว้างในหลายสาขาเศรษฐกิจ ทำ�ให้ก ารเจรจาในการก�ำ หนดขอ้ ต กลงหลายขอ้ ยังต อ้ งเจรจาหารือก นั เพือ่ ห าขอ้ ย ตุ ิ ทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ เงือ่ นไขดา้ น ภาษีศ ุลกากร เนื่องจากการขยายตัวข องเศรษฐกิจไ ทยจากผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไ ทย-สหรัฐขึ้น อยูก่ ับผ ลการเจรจาว่าป ระเทศไทยสามารถต่อร องเรื่องการยกเลิกม าตรการกีดกันก ารค้าท ีไ่ ม่ใช่ภ าษีศ ุลกากร ได้มากเพียงไร ซึ่งในสภาพปัจจุบันส่วนแบ่งตลาดของสินค้าไทยในตลาดของสหรัฐมีแนวโน้มลดลง เพราะ ว่าสินค้าไทยส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่สหรัฐมีการขยายตัวของการนำ�เข้าในระดับสินค้าที่ต่ำ�และมีอุปสรรคของ เงื่อนไขทางภาษีศุลกากรที่ส่งผ ลกระทบต่อสินค้าของไทยที่จะมีต้นทุนทางการค้าส ูงกว่าคู่แข่งขันรายอื่นๆ สำ�หรับกรอบความตกลงในการจัดสร้างเขตการค้าเสรีระหว่างทั้งสองประเทศ ในส่วนของข้อตกลง ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้มีการดำ�เนินการและบรรลุข้อตกลง สามารถสรุปได้ ดังนี้ ข้อตกลงด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบ่งออกเป็นข้อตกลงที่เกี่ยวกับการค้าสินค้า และการค้า บริการ ในส่วนของการค้าสินค้า ข้อตกลงกำ�หนดให้สินค้าดิจิทัลที่นำ�เข้าประเทศทางกายภาพผ่านด่าน ศุลกากรถูกเก็บภาษีโดยประเมินตามมูลค่าของสื่อที่บรรจุ (ไม่ใช่ตามมูลค่าของสินค้าดิจิทัล) ซึ่งสอดคล้อง กับแ นวทางของประเทศไทยในปัจจุบัน ส่วนสินค้าดิจิทัลที่จัดส่งทางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์จะได้รับการยกเว้น ภาษีศุลกากร ในส่วนของการค้าบริการ ข้อตกลงดังกล่าวกำ�หนดให้ทั้งสองฝ่ายคุ้มครองการให้บริการผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ข ้ามพรมแดน เช่น บริการการเงิน ตลอดจนการลงทุนต ามความตกลงทีเ่กี่ยวข้อง เช่น ข้อต กลง ด้านการค้าบริการและการลงทุน เป็นต้น โอกาสของผู้ประกอบการและองค์กรธุรกิจไทย ที่ต้องการใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์สามารถขยาย การค้าได้ เนื่องจากข้อตกลงระหว่างประเทศไทยและประเทศสหรัฐด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้สิทธิ ประโยชน์ท างการค้าในการยกเว้นภาษีศุลกากรในสำ�หรับก รณีที่ส่งสินค้าดิจิทัลผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 2.4 กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economic Parthnership Agreement - JTEPA) ในการจัดทำ�เขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยและ ประเทศญี่ปุ่นได้มีการจัดทำ�กรอบความตกลงทางการค้าและข้อตกลง ได้แก่ การค้าสินค้า กฎว่าด้วยถิ่น กำ�เนิดสินค้า พิธีการทางการศุลกากร การค้าไ ร้ก ระดาษ การยอมรับร่วมกัน การค้าก ารบริการ การลงทุน การ เคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดหาโดยรัฐ การแข่งขันทางการค้า ความร่วมมือ และการระงับข ้อพิพาท
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-28
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
สำ�หรับกรอบความตกลง ในส่วนของข้อตกลงด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้มีระบุไว้ในข้อตกลง การค้าไร้กระดาษสามารถสรุปได้ ดังนี้ ให้ทั้งสองประเทศยอมรับการค้าที่ใช้การจัดเก็บและถ่ายโอน ข้อมูลเกี่ยวกับการค้าขายอิเล็กทรอนิกส์และเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ใบตราส่งสินค้า บัญชีราคาสินค้า เลตเทอร์ออฟเครดิต (letter of credit) และหนังสือรับรองการประกันภัย ซึ่งจะช่วยสร้างเสริมประสิทธิภาพ การค้าขาย ช่วยลดค่าใ ช้จ ่ายและเวลาของการค้าขายระหว่างกัน นอกจากนี้ ทั้งส องประเทศจะต้องร่วมมือก ัน เพื่อมุ่งมั่นท ี่จะส่งเสริมการค้าไร้ก ระดาษระหว่างกัน จากกรอบความตกลงเขตการคา้ เสรีท ปี่ ระเทศไทยได้ม กี ารเจรจาและตกลงกบั ค เู่ จรจาการคา้ ป ระเทศ ต่างๆ พบวา่ จ ะมขี อ้ ต กลงดา้ นธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์เป็นข อ้ ต กลงหนึง่ ท รี่ ะบุไ ว้ เนือ่ งจากในยคุ น ซี้ ึง่ เป็นย คุ ด จิ ทิ ลั ดังนั้นการพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือหนึ่งมาใช้ในทางการค้าจึงเป็นสิ่งที่จำ�เป็น และเป็นโอกาสที่ ผูป้ ระกอบการและองค์กรธุรกิจใ นประเทศไทยขยายธุรกิจโ ดยการใช้ธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์แ ละสิทธิป ระโยชน์ ในการค้าขายในเขตการค้าเสรีต่างๆ ที่ประเทศไทยได้ทำ�ข้อตกลงไว้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.2.1 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.2 เรื่องที่ 12.2.1
ธ ส
ม
ธ ส
ม
เรื่องที่ 12.2.2 สิ่งท ี่ต้องเตรียมพร้อมสำ�หรับการเข้าสู่การค้า ระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
ธ ส
โอกาสที่องค์กรธุรกิจในประเทศไทยจะสามารถขยายธุรกิจของตนเองเข้าสู่การค้าระหว่างประเทศ โดยอาศัยธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในการค้าขายทั้งใ นเขตการค้าเสรีต่างๆ ที่ประเทศไทยได้ทำ�กรอบความตกลง ไว้ และนอกเขตการค้าเสรี ดังน ั้น การที่จะนำ�ธุรกิจเข้าส ู่การค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมี เครือข า่ ยอนิ เทอร์เน็ตเชือ่ มถงึ กันท ัว่ โ ลก ผูป้ ระกอบการและองค์กรธรุ กิจจ ะตอ้ งมกี ารเรียนรู้ และเตรียมพร้อม สามารถในการที่จะดำ�เนินธุรกิจ สามารถแยกในแต่ละด้านได้แก่ 1) ด้านกฎหมาย 2) ด้านการปรับก ลยุทธ์ ทางการค้า และ 3) ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถอธิบายรายละเอียดแต่ละด้านได้ดังนี้
ม
ธ ส
ธ ส
1. ด้านกฎหมาย
ม
เนื่องจากการทำ�ธุรกิจผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ สถานะและลักษณะของตลาดเป็นตลาดเสมือนที่มี ขนาดทั้งใ นแนวกว้างและแนวลึก กฎหมายจึงเป็นส ิ่งจ ำ�เป็นท ี่ผ ู้ป ระกอบการ และองค์กรธุรกิจท ุกร ายพึงต ้อง ยึดถือแ ละปฏิบัติ ได้แก่ 1) กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวกับธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ 2) กฎหมายของประเทศ
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-29
ธ ส
คู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 3) กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 4) สัญญา/ข้อตกลงทางการค้า ระหว่างประเทศ และ 5) กรอบความตกลงเขตการค้าเสรี 1.1 กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวกับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันประเทศไทยมีการปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ใ ห้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี พบว่า กฎหมายที่ เกี่ยวข้องโดยตรงกับเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ มีอยู่ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 1.2 กฎหมายของประเทศคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกันในรายละเอียด แต่โครงสร้างหลักของกฎหมายจะ มีความคล้ายคลึงกันและสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ขององค์การการค้าโลก ตัวอย่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศนิวซีแลนด์ ได้แก่ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ค.ศ. 2006 (Electronic Transactions Act 2006) พระราชบัญญัติอาชญากรรม (Crimes Act 1961) และ พระราชบัญญัติข้อความอิเล็กทรอนิกส์ที่ไ ม่พึงป ระสงค์ (Unsolicited Electronic Message Act 2007) 1.3 กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่าง ประเทศโดยตรง ได้แก่ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศและวิธี พิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติการส่งออกไปนอก และการนำ�เข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าขาออก พ.ศ. 2503 พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 และพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485 1.4 สัญญา/ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ ประเทศไทยได้มีการทำ�สัญญา/ข้อตกลงทาง การค้าระหว่างประเทศหลายฉบับ ตัวอย่างเช่น • คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law - UNCITRAL) ได้แก่ อนุสัญญาว่าด ้วยกฎหมายรูปแ บบของ การซื้อข ายระหว่างประเทศ (The convention relating to Uniform Law on the International Sale of Goods) อนุสัญญาว่าด ้วยกฎหมายรูปแ บบของการก่อใ ห้เกิดส ัญญาสำ�หรับก ารซื้อข ายระหว่างประเทศ (The convention relating to a Uniform Law on the Formation of Contracts for the International Sale of Goods) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods 1980) • กฎและระเบียบของหอการค้าน านาชาติ (International Camber of Commerce - ICC) ได้แก่ Uniform Rules for Collections(URC) 1996, Uniform Customs and Practice for Documentary Credits (UCP) 1974, Rules of Arbitration 1998 และ Rules of Conciliation 1988 • ความตกลงขององค์การการค้าโลก ได้แก่ ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากร และการค้า (The General Agreement on Tariffs and Trade - GATT) ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยเรื่อง การค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services - GATS) สัญญาทางการค้าแบบพหุภาคี (Multilateral Trade Agreements) สัญญาทางการค้าหลายฝ่าย (Plurilateral Trade Agreements)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-30
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.5 กรอบความตกลงเขตการค้าเสรี สำ�หรับประเทศที่ได้ทำ�ข้อตกลงเขตตลาดการค้าเสรีกับ ประเทศไทย จะมีการกำ�หนดกรอบความตกลงกันไว้ รายละเอียดกล่าวไว้แล้วในเรื่องที่ 12.2.1
ธ ส
2. ด้านการปรับก ลยุทธ์ทางการค้า
ม
การที่ผู้ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจของประเทศไทยจะประสบความสำ�เร็จในการขยายธุรกิจ ของตนเองเข้าสู่การค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ จำ�เป็นต้องมีการปรับปรุงกลยุทธ์ทาง การค้าใ ห้ส อดคล้องกับส ภาพตลาด ช่องทางการค้า และกลุ่มผ ูบ้ ริโภคทีม่ คี วามหลากหลายทั้งใ นด้านกายภาพ (physical) และจิตภาพ (image) ในการปรับกลยุทธ์ ทางการค้าสามารถทำ�ได้ 2 ด้าน ได้แก่ การปรับกลยุทธ์ ทางการค้าเชิงรุก และการปรับกลยุทธ์ท างการค้าเชิงรับ 2.1 การปรับก ลยุทธ์ท างการคา้ เชิงร กุ ในการปรับก ลยุทธ์ท างการค้าเชิงร ุกเป็นการเน้นก ารให้ต ้นทุน การผลิตที่ล ดลง เพื่อใ ช้ในการแข่งขันการค้าระหว่างประเทศ ดังนี้ • ศึกษาหาแหล่งวัตถุดิบจากเขตการค้าเสรี เพราะสามารถให้ประโยชน์จากกรอบข้อตกลง ทำ�ให้สามารถลดต้นทุนของการผลิตสินค้า • ศึกษารสนิยมและความต้องการของผูบ้ ริโภค เพื่อส นองความต้องการของผูบ้ ริโภคได้ต รง และสามารถควบคุมก ารผลิตทำ�ให้ต้นทุนการผลิตไ ม่ผันแปร • พิจารณาการย้ายฐานการผลิตไปในประเทศภาคีเขตการค้าเสรี ที่มีต้นทุนการผลิตและ ค่าแรงงานที่ต่ำ�กว่าจะผลิตเองในประเทศ • พัฒนาและปรับปรุงร ะบบต่างๆ ของบริษัท เพื่อใ ห้ส ามารถใช้ป ระโยชน์จ ากระบบโลจสิ ติก ส์ จะทำ�ให้ต้นท ุนด้านโลจิสติกส์ลดลงและสะดวกในการส่งสินค้า 2.2 การปรับกลยุทธ์ทางการค้าเชิงรับ ในการปรับกลยุทธ์ทางการค้าเชิงรับเป็นการเน้นการเพิ่ม ประสิทธิภาพขององค์กรเพื่อใช้ในการแข่งขันการค้าร ะหว่างประเทศ ดังนี้ • ปรับปรุงระบบการผลิต และการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ อาจจะใช้มาตรการผลิต ที่ม ีการยอมรับท ั่วโลกมาเป็นบรรทัดฐานในการปรับปรุง • พัฒนารูปแบบและคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานตามที่ได้รับการยอมรับ • สร้างเครื่องหมายการค้าของตนเองให้เป็นที่ยอมรับ • วิจัยและพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สามารถนำ�เทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการผลิต และ มีส ินค้าหรือผลิตภัณฑ์ใ หม่ให้ผู้บ ริโภคได้เลือกใช้อย่างต่อเนื่อง • พัฒนาและเสริมสร้างบุคลากรทุกระดับเพื่อรองรับภาคการผลิตและการบริการที่มีการ เปลี่ยนแปลง ทั้งสถานะตลาดและเทคโนโลยี ดังน ั้น ในการที่จ ะเแข่งขันในตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ประกอบการ/ องค์กรธุรกิจของประเทศไทย จำ�เป็นต้องมีการปรับปรุงกลยุทธ์ทางการค้า โดยอาศัยสิทธิประโยชน์จากข้อ ตกลงเขตการค้าเสรีเป็นปัจจัยห นึ่งม าช่วยสนับสนุนในการดำ�เนินธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
3. ด้านระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศ
ม
12-31
ธ ส
ในการที่จะดำ�เนินธุรกิจผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ประกอบการ/องค์กรธุรกิจจำ�เป็นต้องใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่ายสื่อสารอินเทอร์เน็ต เป็นระบบหลักสำ�หรับทำ�การค้าขาย การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การติดต่อส ื่อสารกับผ ูบ้ ริโภค และการชำ�ระเงินค ่าส ินค้า เนื่องจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1) ความแม่นยำ�และความถูกต้อง 2) การรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล 3) ความสามารถในการรองรับข้อมูลสารสนเทศได้หลากหลายรูปแบบ 4) ความยืดหยุ่น ในการรองรับการเปลี่ยนแปลงข้อมูลส ารสนเทศและการใช้บริการ 5) ความรวดเร็ว และ 6) ความสามารถใน การตรวจสอบ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.2.2 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.2 เรื่องที่ 12.2.2
ธ ส
ม
ธ ส
ม
เรื่องที่ 12.2.3 พฤติกรรมของผซู้ ื้อสินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
จากรายงานการศึกษาของบริษัท ออราเคิล (Oracle ATG) ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 พบว่ามูลค่า การใช้จ่ายของผู้บริโภคทั่วโลกที่ทำ�การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการในระบบธุรกิจพาณิชย์เป็นเงินถึง 470 ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐ (US$ 470 billion) และคาดว่าจะสูงถึงหนึ่งล้านล้านล้านเหรียญสหรัฐ (US$1 trillion) ในปี พ.ศ. 2555 จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การเติบโตของการใช้การสั่งซื้อสินค้าบริการผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์จ ะมแี นวโน้มท สี่ งู ข ึน้ และยงั แ สดงถงึ ก ารเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผบู้ ริโภคทใี่ ห้ค วามเชือ่ ม ัน่ และความนิยมในการใช้ธ ุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ใ นการจัดซื้อจัดหาสินค้าหรือบริการ นอกจากนี้ ได้มีผู้วิจัยหลายรายได้ทำ�การศึกษาปัจจัยที่ทำ�ให้ผู้บริโภคตัดสินใจในการสั่งซื้อสินค้า หรือบริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ต พบว่า ปัจจัยที่ม ีผลต่อการซื้อสินค้าและบริการกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ ความสำ�คัญต่อราคาของสินค้าและบริการ รูปแบบของสินค้าและบริการที่แสดงบนเว็บไซต์ ความปลอดภัย ในการชำ�ระค่าบริการ ระยะเวลาที่ใช้ในการสั่งซ ื้อสินค้าแต่ละครั้ง การรับป ระกันสินค้า ความหลากหลายใน ตัวสินค้า และความสะดวกในการใช้บริการ เนื่องจากระบบช่องการค้าผ ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์เข้าส ูต่ ลาดทีม่ ขี นาดใหญ่ หลายมิติ กลุ่มผ ูบ้ ริโภค มีความหลากหลายและแตกต่าง ทั้งด ้านพฤติกรรม ด้านประชากรศาสตร์ ด้านภูมิศาสตร์ และเป็นกลไกหนึ่ง ที่จะส่งเสริมการค้าระดับโลก อีกทั้งกรอบความตกลงของเขตการค้าเสรีทุกแห่งกำ�หนดให้เป็นข้อบังคับใน การที่ประเทศภาคีต ้องเปิดเสรีสำ�หรับการค้าในเชิงธ ุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-32
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ดังนั้น เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของแต่ละประเทศตาม ผลการศึกษาในแต่ละประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย กลุ่มประเทศอาเซียน ไต้หวัน และสหภาพยุโรป
ธ ส
1. พฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
จากผ ลก ารสำ � รวจก ลุ่ ม ผู้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ใ นป ระเทศไ ทยปี พ .ศ. 2553 โดยศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์แ ละคอมพิวเตอร์แ ห่งช าติ มีผ ู้ร ่วมตอบแบบสอบถามประมาณ 1.4 หมื่นร าย พบว่า พฤติกรรม ของผใู้ ช้อ ินเทอร์เน็ต ร้อยละ 54.3 ใช้อ ินเทอร์เน็ตจ ากทบี่ ้าน ซึ่งห มายถึงม กี ารเพิ่มข ึ้นข องคอมพิวเตอร์ส ่วนตัว มากขึ้น จึงท ำ�ให้ค นเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคจากเดิมต ้องเดินท างไปแหล่งข ายสินค้า มาเป็นการเลือก สั่งซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ตคิดเป็นร้อยละ 57.2 เพิ่มจากปีพ.ศ. 2552 เท่ากับ ร้อยละ 9.4 สินค้า ที่มีก ารสั่งซื้อมากที่สุดเป็นหนังสือ และบริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต แต่มีการลดลงในการสั่งซื้อภาพยนตร์ สำ�หรับเหตุผลที่ไม่สั่งซ ื้อส ินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต จำ�นวนร้อยละ 60.5 ตอบว่า ไม่สามารถจับต้องสินค้าที่ขาย ผ่านอินเทอร์เน็ตไ ด้ ตอบว่า ไม่ไว้ใจผู้ขายว่าจะมีสินค้านั้นจริงหรือส่งสินค้าให้ได้จริง คิดเป็นร้อยละ 56.8 ผู้ใช้ต อบว่า ไม่ต้องการให้หมายเลขบัตรเครดิตคิดเป็นร้อยละ 49.9 และตอบว่า ไม่มั่นใจในระบบชำ�ระเงิน คิดเป็นร้อยละ 46.2 สำ�หรับกิจกรรมที่ผู้บริโภคใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 27.6 สำ�หรับการรับส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 26.1 สำ�หรับก ารค้นคว้าห าข้อมูล และร้อยละ 15.1 ติดตามข่าวสาร ซึ่งพฤติกรรม ดังกล่าวสามารถใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า นอกจากนี้บ ริษัท เพย์พัล (PayPal) ที่เป็นอ งค์กรธุรกิจท ี่ป ระกอบธุรกิจด ้านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ได้ เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต และผ่านโทรศัพท์มือถือในประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2553 มีมูลค่า 14.7 พันล้านบาท โดยเป็นสั่งซ ื้อภ ายในประเทศคิดเป็นม ูลค่า 6.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41 สั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศจำ�นวน 6.4 พันล้านบาท คิดเป็นร ้อยละ 44 และไม่ระบุจำ�นวน 2.2 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15 โดยมีจำ�นวนผู้บริโภคสั่งซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ถึง 2.5 ล้านคน (อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) มียอดใช้จ่ายเงินเฉลี่ยต่อคนถึง 12,181 บาท โดยจำ�นวนร้อยละ 71 ของยอดรวมการซื้อสินค้า ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดมาจากกลุ่มช นที่ม ีรายได้ปานกลางในประเทศไทย นอกจากนี้พบว่าคนที่ซื้อ สินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (ออนไลน์) จริงๆ คิดเป็นร้อยละ 37 ที่เหลืออีกร้อยละ 63 ผู้บริโภคเลือกไป ซื้อสินค้าโดยการเดินทางไปซื้อส ินค้าหรือโทรศัพท์สั่งซื้อสินค้ามากกว่า เนื่องจากพฤติกรรมลูกค้าที่ต้องการ คำ�แนะนำ�ช่วยเหลือเพิ่มเติมเวลาที่จะสั่งซื้อส ินค้าออนไลน์ ผลจากการศึกษายังร ะบุถ ึงเหตุจ ูงใจของผูบ้ ริโภคไทยในการซื้อส ินค้าจ ากต่างประเทศคือ เป็นส ินค้า ที่ไม่มีจ ำ�หน่ายในประเทศไทย คิดเป็นร ้อยละ 45 ผลิตภัณฑ์/บริการมีราคาถูกกว่า คิดเป็นร้อยละ 36 และมี ความสะดวกในการซื้อเทียบเท่ากับการซื้อผ่านระบบออนไลน์ในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 30 จากผลการสำ�รวจพฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย สามารถ วิเคราะห์ออกมาได้ 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยท ี่สนับสนุนการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภคในประเทศไทยผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ และ 2) ปัจจัยที่จ ะสนับสนุนธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-33
ธ ส
1.1 ปัจจัยท สี่ นับสนุนก ารสงั่ ซ อื้ ส นิ ค้าข องผบู้ ริโภคในประเทศไทยผา่ นธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ผ บู้ ริโภค ในประเทศไทยจะสั่งซ ื้อส ินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ พิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ • ราคาของสินค้าที่ถ ูกกว่าในตลาดทั่วไป • ความสะดวกในการจัดซื้อและค้นหา และเลือกแหล่งขายสินค้า • สามารถสั่งซื้อส ินค้าท ี่ไม่มีจ ำ�หน่ายในตลาดเมืองไทย • ความสะดวกในการชำ�ระค่าสินค้า 1.2 ปัจจัยที่จะสนับสนุนธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปัจจัยที่จะสนับสนุนผู้ประกอบการ รายใหม่ และส่งเสริมประสิทธิภาพธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยให้สามารถขยายขนาดและเติบโตได้ ดังนี้ • ตลาดยังม ขี นาดและความจทุ ีผ่ ูป้ ระกอบการ/องค์กรธุรกิจร ายใหม่ส ามารถและมโี อกาสเข้า มาดำ�เนินธุรกิจในธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ • ความไม่ส ะดวกในการเดินทางไปซื้อสินค้าของผู้บริโภค ดังนั้นการสั่งซื้อจากอินเทอร์เน็ต จึงเป็นทางเลือกที่ผ ู้บ ริโภคสามารถเลือกใช้ในการสั่งซื้อสินค้า เนื่องจากสะดวกที่สุดในการสั่งซื้อสินค้า • การสร้างความเชือ่ ม ัน่ ใ ห้แ ก่ผ บู้ ริโภค โดยการใช้ร ะบบมลั ติมเี ดียน �ำ เสนอตวั ส นิ ค้า คุณภาพ สินค้า และระบบการรักษาความปลอดภัย และการตรวจสอบในการชำ�ระเงินค่าสินค้า • การพัฒนารูปลักษณ์และคุณภาพของสินค้าของประเทศไทย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่มีค ุณภาพและคุณสมบัติท ัดเทียมสินค้าต่างชาติ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
2. พฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ของประเทศในกลุ่มอาเซียน
จากข้อต กลงของประเทศสมาชิกอ าเซียนในการรวมตัวก ันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอ าเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทำ�ให้เกิดตลาดการค้าเขตเสรีขนาดใหญ่ที่มีจำ�นวนผู้บริโภคของประเทศในกลุ่มอาเซียน จำ�นวนมาก ถึง 580 ล้านคน ที่มีความหลากหลายในด้านวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของประชากร และพฤติกรรม ในการบริโภค ทำ�ให้หลายประเทศสนใจที่จ ะเข้ามาทำ�การค้าขายด้วย สำ�หรับองค์กรธุรกิจของไทยต้องมีการ ปรับกลยุทธ์ในการค้าเพื่อใ ห้สามารถแข่งขันในตลาดได้ จากกรอบความตกลงการค้าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่จะต้องมีการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศ เพื่อใ ห้เกิดค วามเข้มแ ข็งข องการดำ�เนินธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งผ ลของสำ�รวจและ ศึกษาโครงสร้างอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยสำ�นักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme - UNDP) ได้เสนอรายงานการพัฒนามนุษย์ (Human Development report 2007/2008) โดยสรุปถึงก ารใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ และอินเทอร์เน็ตในกลุ่มประเทศ อาเซียนในปี พ.ศ. 2548 ดังแสดงในภาพที่ 12.1
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-34
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 12.1 อัตราส่วนโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ตต ่อประชากร 1,000 คน ในกลุ่มประเทศอาเซียนในปี พ.ศ. 2548
ธ ส
ธ ส
จากภาพที่ 12.1 จะเห็นว่าอัตราส่วนของของโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ตต่อประชากร 1,000 คน ยังอัตราส่วนต่อประชากรที่ค่อนข้างต่ำ� ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ สำ�หรับประเทศไทย ผลการสำ�รวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ของสำ�นักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ รายงานว่า ในปี พ.ศ. 2552 มีจำ�นวนโทรศัพท์เคลื่อนที่มีทั้งหมด 64.1 ล้านหมายเลขและจำ�นวนผู้ใ ช้อินเทอร์เน็ตประมาณ 12.8 ล้านหรือประมาณร้อยละ 20 ของจำ�นวนประชากร ทั้งหมด สำ�หรับด้านรายได้ของประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund - IMF) ได้ร ายงานไว้ใน World Economic Outlook Database แสดงถงึ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศต่อหัวของประเทศในกลุ่มอ าเซียนในปี พ.ศ. 2552 ดังแสดงในภาพที่ 12.2 จะเห็นว่า
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-35
ธ ส
ผลิตภัณฑ์ม วลรวมตอ่ ห วั ของประเทศสงิ คโปร์และบรูไนสูงท ีส่ ดุ ตามล�ำ ดับ และประเทศทผี่ ลิตภัณฑ์มวลรวม ต่อหัวต่ำ� ได้แก่ ประเทศลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ตามลำ�ดับ ดังนั้นจากข้อมูลดังกล่าวสามารถ แบ่งระดับ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว ได้ 4 ระดับ ดังนี้ • ระดับผ ลิตภัณฑ์ม วลรวมต่อห ัวสูงที่สุด ได้แก่ สิงคโปร์ และบรูไน • ระดับผ ลิตภัณฑ์มวลรวมต่อห ัวสูง ได้แก่ มาเลเซีย และไทย • ระดับผ ลิตภัณฑ์มวลรวมต่อห ัวปานกลาง ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม • ระดับผ ลิตภัณฑ์มวลรวมต่อห ัวต่ำ� ได้แก่ ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 12.2 ผลิตภัณฑ์ม วลรวมต่อหัวภายในประเทศกลุ่มอาเซียน ปี พ.ศ. 2552
ธ ส
นอกจากนี้ ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเซีย (Asian Development Bank - ADB) การศึกษาและ รายงานด้านประชากรศาสตร์ในปี พ.ศ. 2551 ของแต่ละประเทศของสมาชิกเอเซียน ดังแ สดงในภาพที่ 12.3 จะเห็นว ่าประชากรในเอเซียนมีอายุระหว่าง 15-64 ปีมากที่สุด และรองลงมาจะมีอายุระหว่าง 0-14 ปี
ม
ม
ธ ส
ม
12-36
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 12.3 รายงานประชากรศาสตร์ข องประเทศในกลุ่มอาเซียนในปี พ.ศ. 2551
ธ ส
จากข้อมูลของภาพที่ 12.1–12.3 จะพบว่าจำ�นวนประชากรในกลุ่มประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวม ต่อหัวต ่ำ� ได้แก่ ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ จะสัมพันธ์กับอัตราส่วนของประชากรต่อผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ และอินเทอร์เน็ตต่ำ� เช่นกัน ดังนั้นพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ต้องการสั่งซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ จะมีมูลค่าน้อยมาก แต่ประเทศเหล่านี้ม ีประชากรช่วงอายุ 0–14 ปี เป็นจำ�นวนเฉลี่ยร้อยละ 33.3 และแผน พัฒนาของประเทศประชาคมอาเซียนจะมีก ารพัฒนาโครงสร้างพื้นฐ านของระบบอิเล็กทรอนิกส์ร ่วมกันท ำ�ให้ ในระยะยาว ประเทศเหล่านี้จ ะมีค วามเติบโต และการขยายตลาดอิเล็กทรอนิกส์ค่อนข้างสูง ดังนั้นแนวทาง ก ารดำ�เนินธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องผูป้ ระกอบการหรืออ งค์กรธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศไทยควรเข้าม า ทำ�ตลาดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใ ห้ส ามารถครอบครองตลาดก่อนคูแ่ ข่งร ายอื่น โดยเน้นส ินค้าด ้านอาหารและขนม สำ�เร็จรูป เครื่องดื่มบำ�รุงกำ�ลัง และเครื่องใช้ไ ฟฟ้า เพราะสินค้าเหล่าน ี้เป็นสิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน สำ�หรับประเทศสิงคโปร์ บรูไน มาเลเซีย และไทย ซึ่งจัดอยู่ในระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวสูง ที่สุด และสูง อีกทั้ง อัตราส่วนจำ�นวนประชากรต่อผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ตสูงเช่นกัน สามารถ วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บ ริโภค และแนวทางการทำ�ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ได้ดังนี้ • ประเทศสิงคโปร์ถือไ ด้ว ่าม ีก ารพัฒนาธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ และพฤติกรรมของประชากรมีก ารซื้อ และขายสินค้าผ ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ท ีเ่ติบโตอย่างต่อเนื่อง และสินค้าท ีจ่ ำ�หน่ายผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ม ี ความหลากหลายและครอบคลุมห ลายประเภทของสินค้า ดังน ั้นแ นวทางการดำ�เนินธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข อง ผู้ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ควรเน้นสินค้าด้านการท่องเที่ยว โรงแรม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-37
ธ ส
และรักษาสุขภาพด้วยธรรมชาติบำ�บัด เพราะสินค้าประเภทนี้สินค้าของประเทศไทยได้รับการยอมรับ และมี สถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลาย และโรงแรมที่พักได้มาตรฐาน • ประเทศบรูไน เป็นป ระเทศทมี่ วี ฒ ั นธรรมทเี่ ข้มแ ข็ง แต่ม คี วามอดุ มสมบูรณ์ และจดั เป็นป ระเทศที่ ฐานะทางการเงินท ีเ่ข้มแ ข็ง ดังน ั้นแ นวทางการดำ�เนินธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องผูป้ ระกอบการหรืออ งค์กรธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศไทย ควรเน้นสินค้าด้านการท่องเที่ยว โรงแรม และรักษาสุขภาพด้วยธรรมชาติ บำ�บัด ด้านอาหาร ด้านช้อปปิ้งสินค้า และด้านการรักษาพยาบาลและสาธารณสุข เพราะสินค้าประเภทนี้ สินค้าของประเทศไทยได้รับการยอมรับ และในประเทศบรูไนยังมีจำ�นวนไม่มากพอจะรองรับประชากรของ ตนเอง • ประเทศมาเลเซีย มีโครงสร้างสินค้าและผลิตภัณฑ์มีความใกล้เคียงกับประเทศไทย ดังนั้น แนวทางการดำ�เนินธ ุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ข องผู้ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศไทย ควรเน้นส ินค้าด ้านการท่องเที่ยว โรงแรม และรักษาสุขภาพด้วยธรรมชาติบ ำ�บัด เพราะสินค้าป ระเภทนี้ส ินค้า ของประเทศไทยได้รับการยอมรับ และมีสถานที่ท ่องเที่ยวที่หลากหลาย และโรงแรมที่พักได้มาตรฐาน สำ�หรับประเทศ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม เนื่องจากประเทศเหล่านี้ ยังมีกลุ่มผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่สูงนัก อีกทั้งผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่ง สามารถอธิบายได้ถ ึงพ ฤติกรรมของผู้บ ริโภคส่วนใหญ่ น่าจ ะเน้นก ารใช้จ ่ายส่วนใหญ่ใ นการซื้อส ินค้าป ระเภท บริโภคเป็นหลัก และใช้เวลาในการพักผ่อนอยู่กับบ้าน ดังนั้นแนวทางการดำ�เนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ควรเน้นสินค้าด้านการอาหารและเครื่องใช้ ไฟฟ้า สำ�หรับทำ�ธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ในประเทศเหล่านี้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
3. พฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ของไต้หวัน
ม
ม
ธ ส
ม
ในปัจจุบันนี้อินเทอร์เน็ตถ ือเป็นสิ่งจำ�เป็นในชีวิตประจำ�วันไปแล้ว ไม่ว่าการทำ�งานหรือการใช้ชีวิต ประจำ�วันต่างก็หลีกไม่พ้นการใช้อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในไต้หวันที่เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จากสถิติของ Foreseeing Innovative New Digiservices (FIND), Institute for Information Industry (III) ชี้ว่า จนถึงสิ้นเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 มีผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในไต้หวันทั้งส ิ้นป ระมาณ 16.12 ล้านคน คิดเป็นส ัดส่วนร้อยละ 69.9 ของจำ�นวน ประชากรทั้งหมด (ประมาณ 23 ล้านคน) เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าร้อยละ 6.5 และจาก การต้องการความสะดวกในชีวิตป ระจำ�วันผ ่านอินเทอร์เน็ตท ี่ม ีม ากขึ้นเรื่อยๆ ทำ�ให้ก ารซื้อข ายสินค้าผ ่านทาง เว็บไซต์ต่างๆ เพิ่มมากขึ้นด้วย โดยจากการสถิติของ Market Intelligence & Consult Institute (MIC) ชี้ว่ามูลค่าการซื้อขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตในปีพ.ศ. 2552 สูงถึงประมาณ 311,600 ล้านเหรียญไต้หวัน (1 เหรียญสหรัฐ เท่ากับประมาณ 32 เหรียญไต้หวัน) เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.4 จากปีก ่อนหน้า โดยในจำ�นวนนี้ เป็นการซื้อขายแบบซีทูซี (C2C) คิดเป็นมูลค่า 142,700 ล้านเหรียญไต้หวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 จากปี พ.ศ. 2551 และเป็นการซื้อข ายแบบบีทูซี (B2C) มูลค่า 168,800 ล้านเหรียญไต้หวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.5
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-38
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ในส่วนของสินค้าที่มีการซื้อขายแบบบีทูซี (B2C) มากทางอินเทอร์เน็ตในไต้หวันนั้น ที่นิยมมาก ที่สุด ได้แก่ สินค้าเกี่ยวกับการท่องเที่ยวคิดเป็นร้อยละ 48.5 รองลงมาได้แก่ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายคิดเป็น ร้อยละ 12 และผลิตภัณฑ์อ เิ ล็กทรอนิกส์ค ดิ เป็นร อ้ ยละ 10.2 ซึง่ ท ัง้ ส ามประเภทนสี้ ามารถครองสว่ นแบ่งต ลาด สูงถ ึงร ้อยละ 71.6 ส่วนที่เหลือเป็นส ินค้าผ ลิตภัณฑ์เสริมค วามงามและสุขภาพคิดเป็นร ้อยละ 9.3 บัตรเข้าช ม ต่างๆ คิดเป็นร ้อยละ 5.6 และหนังสือคิดเป็นร้อยละ 2.4 ตามลำ�ดับ ในส่วนผู้บ ริโภค มีผ ู้ต อบแบบสอบถามมากกว่าร ้อยละ 90 เคยมีประสบการณ์ในการซื้อขายสินค้า ออนไลน์ และเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยกลุ่มอายุที่มีพฤติกรรมซื้อขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ตมากที่สุด คือร ะหว่าง 20-39 ปี โดยในส่วนของจำ�นวนเงินท ี่ใ ช้ใ นการซื้อส ินค้าอ อนไลน์โ ดยเฉลี่ยน ั้น ผู้บ ริโภคที่เป็นช าย จะใช้จ ่ายเงินสูงกว่าผู้ห ญิง โดยผู้ชายจะใช้จ่ายเฉลี่ย 12,510 เหรียญไต้หวัน ในขณะที่ผู้หญิงจะใช้จ่ายเฉลี่ย 8,631 เหรียญไต้หวัน สาเหตุสำ�คัญท ี่ทำ�ให้ผู้บ ริโภคชายมีการใช้จ่ายเฉลี่ยสูงกว่าหญิงน ั้นเป็นเพราะประเภท สินค้าที่นิยมสั่งซื้อ โดยผู้ชายนิยมซื้อส ินค้า 3C ซึ่งสินค้าสำ�หรับใช้งานส่วนบุคคลโดยเฉพาะ ได้แก่ โน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ กล้องถ่ายรูปดิจิทัล เครื่องใช้ไฟฟ้า และโทรทัศน์ จอแอลซีดี ซึ่งจะมีราคาต่อหน่วย สูงกว่าสินค้าเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายที่ผู้ห ญิงน ิยมสั่งซื้อ ด้านพฤติกรรมการใช้จ า่ ย จากการส�ำ รวจพบวา่ แนวโน้มข องผทู้ ีส่ ัง่ ซ ือ้ ส ินค้าผ า่ นเว็บไซต์แ บบประมูล (auction) เริ่มลดลงอย่างเห็นได้ช ัด จากอัตราการขยายตัวใ นปี พ.ศ. 2548 ที่ร้อยละ 28 เหลือเพียงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2552 แต่ในขณะเดียวกัน การสั่งซ ื้อสินค้าจ ากผู้ประกอบการโดยตรงทางอินเทอร์เน็ตก ลับมาก ขึ้นเรื่อยๆ จากร้อยละ 71 (ปี พ.ศ. 2548) เป็นร้อยละ 78 (ปี พ.ศ. 2552) แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเติบโต ของตลาดซื้อขายสินค้าออนไลน์ในแบบบีทูซี (B2C) ซึ่ง Market Intelligence & Consult Institute (MIC) ชี้ว ่าส าเหตุส ำ�คัญม าจากการที่ผ ู้บ ริโภคให้ค วามสำ�คัญก ับเวลามากขึ้น จึงย อมที่จ ะซื้อส ินค้าใ นราคาที่แ พงกว่า แต่ไม่ประสงค์จะเสียเวลามาติดตามการสั่งซ ื้อท ี่แม้จะได้ราคาที่ถูกกว่า แต่ก็มีส่วนต่างไม่มากหากสั่งซื้อเป็น จำ�นวนน้อย สำ�หรับป ัจจัยท ีม่ ผี ลต่อก ารตัดสินใ จสั่งซ ื้อส ินค้าเรียงตามลำ�ดับค วามสำ�คัญ ได้แก่ ราคาทีถ่ ูกก ว่า ราคาตลาด สามารถค้นหาข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว มีโปรโมชั่นเสริมหรือมีของแถม โดยผู้บริโภคที่เป็นชาย นั้น จะให้ความสำ�คัญกับข้อมูลแนะนำ�สินค้า/บริการ ที่มีระบุบนเว็บไซต์และเทคนิคการแนะนำ�เสนอสินค้า บนหน้าเว็บไซต์มากที่สุด ในขณะที่ผู้บริโภคหญิงจะให้ความสำ�คัญกับราคาสินค้าและติดตามประสบการณ์ ของผู้ที่เคยใช้งาน/ใช้บริการมากกว่า โอกาสของผู้ประกอบการไทย จากสัดส่วนการมีส่วนร่วมและแนวโน้มการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ ขยายตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ ทำ�ให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า การซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ตกลายมาเป็นส่วนหนึ่งใน ชีวิตประจำ�วันของผู้บ ริโภคไต้หวันไปแล้ว นอกจากนี้จากการสำ�รวจยังพบว่าผ ู้บริโภคไต้หวันกว่าร้อยละ 80 นิยมการสัง่ ซ ือ้ ส นิ ค้าจ ากเว็บไซต์ใ นประเทศ อันเนือ่ งจากความสะดวกดา้ นภาษาและโลจสิ ติก ส์ แต่ก ม็ ผี บู้ ริโภค ไต้หวันเป็นจ ำ�นวนไม่น้อยที่ส ั่งซื้อส ินค้าจากเว็บไซต์ต ่างประเทศคิดเป็นร้อยละ 16.3 โดยเป็นการสั่งซื้อจาก เว็บไซต์ข องญี่ปุ่นม ากที่สุด คิดเป็นร ้อยละ 70 รองลงมา ได้แก่ จากสหรัฐอเมริกา คิดเป็นร ้อยละ 43 จากยุโรป คิดเป็นร้อยละ 21 และจากจีนคิดเป็นร้อยละ 19 โดยประเภทสินค้าที่นิยมสั่งซื้อจากเว็บไซต์ต่างประเทศ มากที่สุด ได้แก่ เครื่องแต่งก ายสตรี ผลิตภัณฑ์เสริมความงามและสุขภาพ สินค้ากระเป๋าสตรี (แบรนด์เนม)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-39
ธ ส
หนังสือและนิตยสาร อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ และสินค้าแบรนด์เนมสำ�หรับผู้ชาย เห็นได้ ชัดว่าผู้บริโภคหญิงน ิยมการสั่งซ ื้อจ ากเว็บไซต์ต่างประเทศมากกว่าช าย และเมื่อพิจารณาจากประเภทสินค้า ที่มีการสั่งซื้อมากที่สุดแล้วจะพบว่าสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของไทย เช่น ร้านอาหาร สปา โรงแรม รีสอร์ตต่างๆ รวมไปจนการขายแพ็กเกจทัวร์ในประเทศไทย มีโอกาสในการเข้าถึงผู้บริโภคไต้หวันได้ง่าย ที่สุด เนื่องจากไม่มีปัญหาด้านโลจิส ติกส์ แต่ทั้งนี้ค วรจะต้องมีการจัดทำ�เว็บไซต์ที่เป็นภาษาจีน (traditional chinese) เพื่อค วามสะดวกรวดเร็วใ นการค้นหาข้อมูลข องผู้บ ริโภคไต้หวัน นอกจากนี้ส ินค้าผ ลิตภัณฑ์เสริม ความงามและสุขภาพ ถือเป็นสินค้าที่ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพสูงในตลาดโลกก็มีโอกาสไม่น้อยในการ ขยายตลาดออนไลน์ได้เช่นเดียวกัน เนื่องจากมีชาวไต้หวันเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยเป็นจำ�นวน ไม่น้อยในแต่ละปี การส่งและรับของในประเทศไทยในช่วงที่นักท่องเที่ยวเดินทางมาเยือนไทย จะช่วยแก้ ปัญหาด้านโลจิสติกส์ได้ไ ปในตัว นอกจากนี้แ ล้ว ความสำ�เร็จในการประกอบธุรกิจในไต้หวันจะสามารถช่วยในการขยายตลาดไปยัง ต่างประเทศโดยเฉพาะตลาดจีนได้ง ่าย เพราะผู้บริโภคจีนให้การยอมรับและมีความสนใจจะติดต่อกับธ ุรกิจ ที่ประสบความสำ�เร็จ/มีชื่อเสียงในไต้หวันมากกว่าจากชาติอื่น ผู้ประกอบการไทยจึงสามารถใช้ไต้หวันเป็น เส้นทางเข้าส ู่ตลาดจีนได้เป็นอย่างดี จากผลการสำ�รวจพฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไต้หวันสามารถวิเคราะห์ ออกมาได้ 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยท ี่ส นับสนุนการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภคในไต้หวันผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ และ 2) ปัจจัยที่จะสนับสนุนผู้ป ระกอบการและองค์กรธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทยสามารถแข่งขันในตลาด อินเทอร์เน็ตของไต้หวัน 3.1 ปัจจัยทสี่ นับสนุนก ารสั่งซ ื้อสินค้าของผู้บริโภคในไต้หวันผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ • ความสะดวกในการสั่งซื้อส ินค้า • ราคาของสินค้า • สามารถเลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายแหล่ง • สามารถพิจารณาคุณสมบัติของสินค้าได้อย่างละเอียด และตลอดเวลา • มีก ารโปรโมชั่น ประชาสัมพันธ์ ในการขายสินค้า 3.2 ปัจจัยที่สนับสนุนผู้ประกอบการและองค์กรธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทยสามารถแข่งขันใน ตลาดอินเทอร์เน็ตข องไต้หวัน ดังนี้ • จำ�นวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในไต้หวันมีจำ�นวนมาก ซึ่งหมายถึง จำ�นวนผู้บริโภคที่ สามารถสั่งซื้อสินค้าจากอินเทอร์เน็ตมีจำ�นวนมากเช่นกัน • ผู้บ ริโภคในไต้หวันมีก ำ�ลังใ นการซื้อสินค้าสูง • สินค้าเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ความงามและสุขภาพ เป็นที่นิยมของผู้บริโภคในไต้หวันซึ่ง สอดคล้องกับการส่งเสริมก ารท่องเที่ยวในประเทศไทย ทีม่ ที ั้งโ รงแรม ที่พัก ธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ท ีเ่กี่ยว กับความงามและสุขภาพที่ได้รับการยอมรับ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-40
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
4. พฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ในประเทศกลุ่มส หภาพยุโรป
จากการสำ�รวจของบริษัท ออราเคิลเว็บคอมเมิร์ซ (Oracle ATG Web Commerce) พบว่า อัตราการเจริญเติบโตของผู้ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543-2552 สูงถ งึ 275 เปอร์เซ็นต์ และ ในปี พ.ศ. 2550 มีจ �ำ นวนผขู้ ายสนิ ค้าผ า่ นธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ใ นประเทศ ฝรัง่ เศส สหราชอาณาจักร อิตาลี เยอรมนี และเนเธอร์แลนด์ เพิ่มขึ้น 31 เปอร์เซ็นต์ ในเ ดื อ นก รก ฎาค ม พ.ศ. 2552 บริ ษั ท ได้ ทำ � การศึ ก ษาพ ฤติ ก รรมของผู้ ซื้ อ สิ น ค้ า ผ่ า นธุ ร กิ จ อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป ได้แก่ สหราชอาณาจักร สเปน เยอรมนี ฝรั่งเศส และ กลุ่ม เบเนลักซ ์ (Benelux)1 โดยทำ�การศึกษาและสำ�รวจในประเภทสินค้าจ ำ�นวน 6 ประเภท ได้แก่ สินค้าท ีเ่กี่ยวกับ แฟชั่น เครื่องตกแต่งบ้าน การเดินทางและการท่องเที่ยว อาหารและเครื่องดื่ม ด้านบันเทิง และเครื่องใช้ ไฟฟ้า นอกจากนี้ได้ศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายแต่ละครั้งในการสั่งซื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ มี รายละเอียดดังต่อไปนี้
ธ ส
ม
สหราชอาณาจักร
ม
ผู้ชาย
ผู้หญิง
รวมทั้งหมด
ม
ธ ส
ตารางที่ 12.1 จำ�นวนกลุ่มตัวอย่างโดยแยกตามเพศในแต่ละประเทศ
ธ ส
เพศ
ธ ส
ม
577
สเปน 318
1,009
684
1,586
1,002
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
391
340
ธ ส 607
666
998
1,006
ม
ม
กลุ่มเบเนลักซ์ 464
1,097 1,561
จากตารางที่ 12.1 พบวา่ ก ลุม่ ผ ตู้ อบแบบสอบถามในแต่ละประเทศสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง ซึง่ ส ามารถ สรุปไ ด้ว ่า ผูบ้ ริโภคทีเ่ป็นเพศหญิงเป็นกลุ่มท ีน่ ิยมใช้ธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ใ นการสั่งซ ื้อส ินค้า มากกว่าผ ูบ้ ริโภค ที่เป็นเพศชาย
ธ ส
ม
ม
ธ ส
1 กลุ่มเบเนลักซ์ ประกอบด้วย เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ และลักแซมเบิร์ก
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
ธ ส
ตารางที่ 12.2 เปอร์เซ็นต์ความพึงพอใจในการสั่งซ ื้อสินค้าในแต่ละประเทศ
ธ ส
ความพึงพอใจ ดีมาก
สหราชอาณาจักร 55.00
ดี
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
55.00
25.00
30.00
35.00
50.00
25.00
8.00
20.00
1.50
3.00
0.50
1.50
0.00
0.50
25.00
25.00
ม
พอใจ
สเปน
18.00
ไม่พึงพอใจ
1.00
6.00
แย่
0.75
4.00
แย่มาก
ธ ส
ม
0.25
10.00
12-41
กลุ่มเบเนลักซ์
ม
30.00
45.00
21.00 8.00
1.00
0.00
ธ ส
จากตารางที่ 12.2 พบว่า ในทุกประเทศผู้บริโภคมีความพึงพอใจในการสั่งซื้อสินค้าผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ในระดับตั้งแต่ พอใจถึงด ีมาก ดังนี้ สหราชอาณาจักรและเยอรมนี ผู้บริโภค มีความพึงพอใจ 98 เปอร์เซ็นต์ ฝรั่งเศสผู้บ ริโภคมีความพึงพ อใจ 95 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มเบเนลักซ์ ผู้บริโภคมีความพึงพอใจ 91 เปอร์เซ็นต์ และสเปนผู้บ ริโภคมีความพึงพ อใจ 80 เปอร์เซ็นต์ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการเจริญเติบโต และขยายของตลาดการขายสินค้าผ ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ไปในทิศทางบวก เพราะผู้บ ริโภคมีค วามพึงพ อใจ ในระดับที่สูงในการที่สั่งซ ื้อส ินค้าผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ตารางที่ 12.3 เปอร์เซ็นต์ของประเภทสินค้าที่มีการสั่งซ ื้อสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละประเทศ ประเภทของสินค้า
สินค้าเกี่ยวกับแฟชั่น
15.00
เครื่องตกแต่งบ้าน
7.00
เดินทางและการท่องเที่ยว
16.00
อาหารและเครื่องดื่ม
10.00
ด้านบันเทิง
40.00
ธ ส
ม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ม
สหราชอาณาจักร
สเปน
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
กลุ่มเบเนลักซ์
14.00
19.00
28.00
32.00
4.00
4.00
3.00
47.00
9.00
20.00
3.00
1.00
2.00
18.00
52.00
37.00
14.00
15.00
10.00
ธ ส
12.00
ม
ม
ธ ส 7.00
12.00 4.00
32.00 12.00
12-42
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
จากตารางที่ 12.3 แสดงให้เห็นว ่าผ บู้ ริโภคในสหราชอาณาจักรนิยมสั่งซ ื้อส ินค้าด ้านบันเทิงผ ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ส ูงถ ึง 40 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นส ินค้าเกี่ยวกับก ารเดินท างและการท่องเที่ยว สินค้าเกี่ยวกับ แฟชั่น สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม และสินค้าประเภทเครื่องตกแต่งบ้าน ตามลำ�ดับ ผู้บริโภคในประเทศสเปนนิยมสั่งซื้อสินค้าเกี่ยวกับการเดินทางและการท่องเที่ยวผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ส ูงถ ึง 47 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นส ินค้าด ้านบันเทิง สินค้าเกี่ยวกับแ ฟชั่น สินค้าเครื่องใช้ไ ฟฟ้า สินค้าประเภทเครื่องตกแต่งบ้าน และสินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม ตามลำ�ดับ ผูบ้ ริโภคในประเทศเยอรมนีน ยิ มสัง่ ซ ือ้ ส นิ ค้าด า้ นบนั เทิงผ า่ นธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ส งู ถ งึ 52 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นสินค้าเกี่ยวกับแฟชั่น สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกี่ยวกับการเดินทางและการท่องเที่ยว สินค้า ประเภทเครื่องตกแต่งบ้าน และสินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม ตามลำ�ดับ ผูบ้ ริโภคในประเทศฝรัง่ เศสนยิ มสัง่ ซ ือ้ ส นิ ค้าด า้ นบนั เทิงผ า่ นธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ส งู ถ งึ 37 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นส ินค้าเกี่ยวกับแฟชั่น สินค้าเกี่ยวกับการเดินทางและการท่องเที่ยว สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้า ประเภทเครื่องตกแต่งบ้าน และสินค้าป ระเภทอาหารและเครื่องดื่ม ตามลำ�ดับ ผู้ บ ริ โ ภคใ นก ลุ่ ม เ บเนลั ก ซ์ นิ ย มสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ด้ า นบั น เทิ ง แ ละสิ น ค้ า เ กี่ ย วกั บ แ ฟชั่ น ผ่ า นธุ ร กิ จ อิเล็กทรอนิกส์สูงถึง 32 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกี่ยวกับการเดินทางและ การท่องเที่ยว สินค้าประเภทเครื่องตกแต่งบ้าน และสินค้าประเภทอาหารและเครื่องดื่ม ตามลำ�ดับ แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปส่วนใหญ่จะเลือกซื้อสินค้า ด้านบันเทิงประเภทผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ รองลงมาเป็นสินค้าประเภทแฟชั่น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ตารางที่ 12.4 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริโภคทำ�การชำ�ระค่าสินค้าที่มีการสั่งซื้อสินค้า ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ต ่อครั้งในแต่ละประเทศ
24.00
ม
22.00
27.00
29.00
30.00
25.00
24.00
17.00
8.00
3.00
5.00
2.00
มูลค่าสินค้าต่อครั้ง (ยูโร)
สหราชอาณาจักร
50
38.00
500
ธ ส
ม 1,000
5,000
ธ ส
สเปน
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
กลุ่มเบเนลักซ์
50.00
44.00
52.00
68.00
ธ ส
ม
14.00
17.00
1.00
จากตารางที่ 12.4 แสดงให้เห็นว่าส่วนใหญ่ผู้บริโภคในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปจะสั่งซื้อสินค้าใน แต่ละครั้งม มี ูลค่า 50 ยูโร รองลงมาอยูใ่ นช่วงครั้งล ะ 500–1,000 ยูโร สำ�หรับก ลุ่มผ ูบ้ ริโภคในสหราชอาณาจักร จะสั่งซื้อสินค้าแต่ละที่มีมูลค่า 5,000 ยูโรมากที่สุด
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-43
ธ ส
จากการสำ�รวจและศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปในการสั่งซื้อสินค้า ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า ผู้บ ริโภคในแต่ละประเทศจะมีพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน หรือใกล้เคียงกัน ทั้งในประเภทของสินค้าและมูลค่าข องสินค้าที่ทำ�การสั่งซื้อในแต่ละครั้ง จากผลการรายงานและสำ�รวจพฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าผ ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศกลุ่ม สหภาพยุโรปสามารถวิเคราะห์ออกมาได้ 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยที่สนับสนุนการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภคของ ประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ และ 2) ปัจจัยที่จะสนับสนุนผู้ประกอบการ และองค์กร ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทยสามารถแข่งขันในตลาดอินเทอร์เน็ตในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป 4.1 ปัจจัยที่สนับสนุนการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภคของประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปผ่านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ • ความสะดวกในการสั่งซื้อส ินค้า • ราคาสินค้าไม่สูงกว่าราคาสินค้าในตลาดทั่วไป • ค่าครองชีพที่สูงขึ้นทำ�ให้พฤติกรรมผู้บริโภคในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรปเปลี่ยนไปเน้น การบันเทิง และพักผ่อนอยู่แต่ในบ้าน 4.2 ปัจจัยท จี่ ะสนับสนุนผ ปู้ ระกอบการ และองค์กรธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ของไทยสามารถแข่งขันใ น ตลาดอินเทอร์เน็ตในประเทศกลุ่มส หภาพยุโรป • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในประเทศกลุ่มส หภาพยุโรป ทีน่ ิยมในการสั่งซ ื้อ สินค้าจากอินเทอร์เน็ตม ากขึ้น • จากกรอบข้อต กลงเขตการค้าเสรีท ีป่ ระเทศในกลุ่มอ าเซียนได้ท ำ�การตกลงกับส หภาพยุโรป ทำ�ให้การสั่งซื้อสินค้าด้วยอินเทอร์เน็ต ไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร ทำ�ให้ราคาสินค้าของประเทศไทยจะมีราคา ที่ถูกลง • สินค้าประเภทสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกี่ยวกับการเดินทางและการท่องเที่ยว สินค้า ประเภทเครือ่ งตกแต่งบ า้ น ซึง่ ส นิ ค้าด งั ก ล่าวประเทศไทยสามารถผลิตไ ด้ค ณ ุ ภาพ และเป็นท ยี่ อมรับใ นหลายๆ ตลาดทั่วโลก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.2.3 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.2.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.2 เรื่องที่ 12.2.3
ม
ธ ส
ม
ธ ส
12-44
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตอนที่ 12.3
ธ ส
ม
ธ ส
กรณีศึกษาการค้าร ะหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 12.3 แล้วจึงศ ึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 12.3.1 กรณีศ ึกษาการค้าอัญมณีและเครื่องประดับผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 12.3.2 กรณีศ ึกษาการค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 12.3.3 กรณีศึกษาการค้าของสินค้าเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑ์สปาผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
1. สินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับ เป็นสินค้าประเภทหนึ่งที่ได้รับสิทธิประโยชน์ จากข้อตกลงเขตการค้าเสรี อีกทั้งเป็นสินค้าประเภทที่ประเทศไทยมีกำ�ลังการผลิตและ คุณภาพ การใช้ธ รุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ม าสนบั ส นุน การคา้ ท �ำ ให้ม โี อกาสเติบโตในตลาด กรณี ศึกษาเป็นส ่วนหนึ่งท ี่ส ามารถให้ผ ู้ป ระกอบการ/องค์กรธุรกิจรายอื่นส ามารถศึกษาก่อนที่ จะดำ�เนินการเพื่อล ดข้อผิดพ ลาดที่จะเกิดข ึ้น 2. กรณีศึกษาการค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ เป็นกรณี ศึกษาหนึ่งที่จะช่วยสนับสนุนการค้าเฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ ้านของประเทศไทยให้ สามารถขยายธุรกิจไปยังก ลุ่มผู้บริโภคที่มีความหลากหลายในเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ 3. สินค้าเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑ์สปา เป็นสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่หลากหลายใน หลายๆ ท้องถิ่นของประเทศไทย ที่ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมในการผลิตและวิจัย ค้นคว้า อีกท ัง้ ผ า่ นการรบั รองคณ ุ ภาพ การใช้ธ รุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ส ามารถสง่ เสริมใ ห้ส นิ ค้า เหล่านี้มีตลาดที่เติบโตได้ทั้งใ นประเทศและต่างประเทศ
ม
ม
ธ ส
วัตถุประสงค์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
เมื่อศึกษาตอนที่ 12.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายกรณีศ ึกษาการค้าอัญมณีแ ละเครื่องประดับผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้ 2. อธิบายกรณีศ ึกษาการค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ ้านผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้ 3. อธิบายกรณีศึกษาการค้าของสินค้าเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑ์สปาผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ได้
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
เรื่องที่ 12.3.1 กรณีศึกษาการค้าอ ัญมณีและเครื่องประดับ ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
12-45
ธ ส
ม
ปัจจุบันนิวซีแลนด์นำ�เข้าสินค้าอัญมณีแ ละเครื่องประดับอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2550 นิวซีแลนด์ มีการนำ�เข้าสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับเป็นมูลค่าประมาณ 178,179,000 เหรียญสหรัฐ ในขณะที่ ประเทศไทยส่งอ อกสินค้าอ ัญมณีแ ละเครื่องประดับไ ปนิวซีแลนด์ มูลค่าป ระมาณ 4,170,202.9 เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.08 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับที่ประเทศไทย ส่งออกไปยังตลาดโลกทั้งหมด โดยสินค้าส่วนใหญ่เป็นส ินค้าจำ�พวกเครื่องประดับ สำ�หรับประเภทสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับที่ประเทศไทยส่งออกไปนิวซีแลนด์ ได้แก่ สินค้า กลุ่มเครื่องประดับที่ทำ�ด้วยเงิน เครื่องประดับที่ทำ�ด้วยโลหะมีค่าอื่นๆ และเครื่องประดับเทียม มีมูลค่า ส่งออกประมาณ 2,095,411.7 เหรียญสหรัฐ 1,292,110.2 เหรียญสหรัฐ และ 257,005.1 เหรียญสหรัฐ (ปี พ.ศ. 2550) ตามลำ�ดับ ซึ่งม ีส่วนแบ่งในตลาดของนิวซีแลนด์ ประมาณร้อยละ 38.79 ร้อยละ 6.39 และ ร้อยละ 8.30 ตามลำ�ดับ ดังแสดงในภาพที่ 12.4 ภาพที่ 12.5 และ ภาพที่ 12.6 สำ�หรับประเทศที่เป็นคู่แข่งขัน สำ�คัญในตลาดนิวซีแลนด์ คือ จีน ออสเตรเลีย อินเดีย และอิตาลี
ธ ส
ม
ธ ส
ม
อื่นๆ 24.43%
อิตาลี 11.48%
ธ ส
ออสเตรเลีย 10.80%
ม
ธ ส
ม
จีน 8.14%
สหรัฐอเมริกา 6.36%
ธ ส
ม
ไทย 38.7%
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ภาพที่ 12.4 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าเครื่องประดับแท้ท ำ�ด้วยเงิน ปี พ.ศ. 2550
12-46
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
อื่นๆ 25.94%
ธ ส
ม
อิตาลี 10.22%
ม
ไทย 6.39%
ธ ส
จีน 11.29%
ออสเตรเลีย 35.18%
ม
ภาพที่ 12.5 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าเครื่องประดับท ำ�ด้วยโลหะมีค่าอื่น ปี พ.ศ. 2550
อื่นๆ 22.78%
ธ ส ฮ่องกง 3.83%
ม
ออสเตรเลีย 10.97%
ม
ธ ส
ธ ส
ไทย 8.30%
เกาหลีใต้ 5.21%
จีน 48.91%
ธ ส
ภาพที่ 12.6 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าเครื่องประดับเทียม ปี พ.ศ. 2550
กลยุทธ์การขยายตลาด
ธ ส
อินเดีย 10.99%
ม
ม
ธ ส
จากแนวโน้มป ริมาณความต้องการสินค้าเครื่องประดับข องนิวซีแลนด์ท ี่เพิ่มข ึ้น ขณะที่ป ระเทศไทย ส่งอ อกไปยังน ิวซีแลนด์ใ นสัดส่วนไม่ถ ึงร ้อยละ 1 ของมูลค่าก ารส่งอ อกที่ป ระเทศไทยส่งอ อกไปยังต ลาดโลก แสดงให้เห็นว ่าป ระเทศไทยยังม ีศ ักยภาพที่ส ามารถขยายตลาดไปนิวซีแลนด์เพิ่มข ึ้นไ ด้ โดยใช้ป ระโยชน์ต าม กรอบความตกลง TNZCEP ทั้งนี้ สินค้าที่มีแนวโน้มว่าจะสามารถแสวงหาประโยชน์จากข้อตกลงด้านธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ม ากทีส่ ดุ คือ สินค้าเครือ่ งประดับต า่ งๆ ทัง้ เครือ่ งประดับเงิน และเครือ่ งประดับเทียม ในปจั จุบนั มีผ ู้ป ระกอบการธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศไทยที่จ ำ�หน่ายเครื่องประดับต ่างๆ โดยใช้ส ื่ออ ิเล็กทรอนิกส์ จำ�นวนมาก ซึ่งข้อมูลเฉพาะจากเว็บไซต์ www.weloveshopping.com พบว่า มีการจำ�หน่ายสินค้า เครื่องประดับเป็นจ ำ�นวนถึง 73,678 รายการ โดยมจี ำ�นวนร้านค้าท ีจ่ ำ�หน่ายสินค้าด ังก ล่าวทั้งหมด 447 ร้านค้า สำ�หรับในเว็บไซต์ www.dbdmart.com พบว่า มีการจำ�หน่ายสินค้าเครื่องประดับจำ�นวน 488 รายการ โดย มีเว็บไซต์ที่ได้ร ับการจดทะเบียนธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กับก รมพัฒนาธุรกิจการค้ามีจำ�นวน 141 เว็บไซต์ หรือ คิดเป็นร ้อยละ 2.41 ที่ได้รับการจดทะเบียนธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-47
ธ ส
เนื่องจากการซื้อขายสินค้าและการทำ�ธุรกรรมออนไลน์เป็นที่นิยมมากในนิวซีแลนด์ ทำ�ให้มี หน่วยธุรกิจต่างๆ สนใจดำ�เนินธุรกรรมธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กันมากขึ้น ตัวอย่างธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ประสบความสำ�เร็จในการดำ�เนินงาน และเป็นเว็บไซต์ที่น ิยมมากในนิวซีแลนด์ ได้แก่ Shop NZ Limited (www.shopnewzealand.co.nz) และ Trademe (www.Trademe.co.nz) ดังแสดงในภาพที่ 12.7 และ ภาพที่ 12.8 โดยเฉพาะในเว็บไซต์ของ Trademe มีการจำ�หน่ายเครื่องประดับจำ�นวนถึง 33,626 รายการ ซึ่งเว็บทั้งสองแห่งนี้มีการจำ�หน่ายสินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับหลากหลายประเภทด้วยกัน และ เว็บไซต์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ดังที่ได้กล่าวมานี้ นอกจากจะรับชำ�ระค่าสินค้าเป็นเงินตราสกุลของนิวซีแลนด์ และเงินต ราสกุลห ลักอ ื่นๆ ได้แก่ เงินย ูโร และดอลล่าร ์ส หรัฐแ ล้ว ยังร ับช ำ�ระค่าส ินค้าเป็นเงินต ราต่างประเทศ ในสกุลอื่นอีกด้วย ที่ส ำ�คัญ เช่น เงินเยนญี่ป ุน เงินวอนเกาหลี เงินดอลล่าร์ฮ่องกง เงินดอลล่าร์สิงคโปร์ และ เงินหยวนของจีน เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 12.7 ตัวอย่างการจำ�หน่ายสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับผ่านเว็บไซต์ธ ุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ Trademe
ม
ม
ธ ส
ม
12-48
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 12.8 ตัวอย่างการจ�ำ หน่ายสนิ ค้าอ ญ ั มณีแ ละเครือ่ งประดับผ า่ นเว็บไซต์ธ รุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ Shop New Zealand
ม
การขยายตลาดทางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ป ระกอบการควรพัฒนากระบวนการการผลิตและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ เพื่อใ ห้ก ระบวนการผลิตท ี่ไ ด้ส ามารถผลิตส ินค้าไ ด้ค ุณภาพ และมาตรฐานสากล มีผ ลิตภัณฑ์เป็น เอกลักษณ์ ให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในสินค้า และควรมีการศึกษาพฤติกรรม และรสนิยมของผู้บริโภคใน ประเทศนิวซีแลนด์ ในการจับจ่ายใช้สอยในการซื้อสินค้าประกอบในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดเครื่องประดับของนิวซีแลนด์ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และสร้างภาพลักษณ์ใ ห้ก ับส ินค้า จะทำ�ให้ผ ู้ป ระกอบการสามารถใช้ป ระโยชน์จ ากความตกลง ตามข้อบทต่างๆ ของความตกลง TNZCEP ได้อย่างมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ม
ธ ส
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.3.1 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.3.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.3 เรื่องที่ 12.3.1
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-49
ธ ส
เรื่องที่ 12.3.2 กรณีศึกษาการค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ ้าน ผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ม
ปัจจุบันการส่งออกสินค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งของประเทศไทยไปยังนิวซีแลนด์นั้นมี แนวโน้มการส่งออกลดลงและมีอัตราการขยายตัวเป็นลบ ขณะที่ความต้องการการนำ�เข้าเฟอร์นิเจอร์และ ของตกแต่งบ ้านในนิวซีแลนด์ย ังค งมแี นวโน้มก ารขยายตัวเพิ่มข ึ้น แม้ว่าส ินค้าเฟอร์นิเจอร์แ ละเครื่องตกแต่ง ของประเทศไทยนั้นจะได้ประโยชน์จากการลดภาษีจากความตกลง TNZCEP ก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากสินค้า เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านของประเทศไทยประสบกับปัญหาการแข่งขันอย่างรุนแรงจากประเทศ คู่แข่งขันที่สำ�คัญ คือ ออสเตรเลีย อินเดีย อินโดนีเซีย และโดยเฉพาะจีน ซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออกที่มี ส่วนแบ่งตลาดมากที่สุด ในปี พ.ศ. 2550 นิวซีแลนด์นำ�เข้าสินค้าในกลุ่มเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านทั้งหมด รวม มูลค่าประมาณ 245,542,000 เหรียญสหรัฐ ขณะที่ประเทศไทยส่งออกสินค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ง บ้านไปนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 9,593,076.79 เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 3.91 ของมูลค่า การนำ�เข้าเฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ้านของนิวซีแลนด์ทั้งหมด ประเทศไทยส่งออกสินค้าประเภทเฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบไปยังประเทศนิวซีแลนด์ เป็น มูลค่าส่งออกประมาณ 4,621,287.2 เหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.03 ของมูลค่า สินค้าเฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบที่ประเทศไทยส่งออกไปยังตลาดโลกทั้งหมด สินค้าเฟอร์นิเจอร์และ ส่วนประกอบของประเทศไทยมีส่วนแบ่งตลาดในนิวซีแลนด์ประมาณร้อยละ 1.88 ขณะที่การส่งออกสินค้า ประเภทของตกแต่งบ ้าน ของประเทศไทยไปยังต ลาดนิวซีแลนด์ม มี ูลค่าส ่งอ อกประมาณ 175,250.89 เหรียญ สหรัฐ ในปี พ.ศ. 2550 ลดลงจากปี พ.ศ. 2549 ประมาณรอ้ ยละ 29.81 สำ�หรับส นิ ค้าอ อกทสี่ �ำ คัญ คือ กรอบรปู ไ ม้ รูปแกะสลัก และเครื่องประดับที่ทำ�จากไม้ ซึ่งมีส่วนแบ่งตลาดในนิวซีแลนด์ประมาณร้อยละ 7.06 และ ร้อยละ 3.90 ตามลำ�ดับ ดังแ สดงในภาพที่ 12.9 และภาพที่ 12.10
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
12-50
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส อื่นๆ 4.82%
ม
อินเดีย 1.73% ฮ่องกง 1.68%
ม
ภาพที่ 12.9 ส่วนแบ่งตลาดสินค้ากรอบรูปไม้ ปี พ.ศ. 2550
ธ ส อินเดีย 7.69%
ม
ธ ส
ไทย 3.90%
ธ ส
ออสเตรเลีย 5.62%
จีน 49.76%
อินโดนีเซีย 13.95%
ม
ออสเตรเลีย 1.64%
ธ ส
จีน 83.08%
อื่นๆ 19.08%
ธ ส
ไทย 7.06%
ม
ม
ภาพที่ 12.10 ส่วนแบ่งต ลาดสินค้ารูปแกะสลักแ ละเครื่องประดับท ำ�จ ากไม้ ปี พ.ศ. 2550
ธ ส
กลยุทธ์การขยายตลาดสินค้า
ธ ส
สินค้าส่งออกประเภทที่ได้รับประโยชน์จากข้อตกลงด้านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ คือสินค้าของ ตกแต่งบ ้านมากกว่าส ินค้าจ ำ�พวกเฟอร์นิเจอร์แ ละส่วนประกอบ เนื่องจากผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ใ นประเทศ รับจ้างผลิตโ ดยรับคำ�สั่งซ ื้อล ่วงหน้า อีกท ั้งก ารซื้อข ายผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ยังม ตี ้นทุนค ่าข นส่งต ่อช ิ้นท ีส่ ูง เมื่อเปรียบเทียบกับก ารผลิตต ามคำ�สั่งซื้อในช่องทางการค้าปกติซ ึ่งมักจะมีก ารสั่งซื้อในปริมาณมาก ซึ่งทำ�ให้ มีร าคาขายต่อห น่วยเฉลี่ยแ ล้วต ่ำ�กว่าก ารซื้อข ายผ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นอ ุปสรรคต่อก ารค้าท างธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ที่สำ�คัญ ดังนั้นการใช้สื่ออ ินเทอร์เน็ตเพื่อการพาณิชย์ในส่วนของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้านนี้จึงเป็นไปเพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์สินค้ามากกว่า ใช้เพื่อการซื้อขายสินค้าระหว่างกันเป็นสำ�คัญ
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-51
ธ ส
ปัจจุบนั ม ผี ปู้ ระกอบการเฟอร์นเิ จอร์แ ละของตกแต่งบ า้ นจ�ำ นวนหนึง่ ท นี่ �ำ ธรุ กิจอ เิ ล็กทรอนิกส์ม าชว่ ย ในการขยายตลาด ซึ่งข ้อมูลเฉพาะจากเว็บไซต์ www.weloveshopping.com พบว่า มีการจำ�หน่ายสินค้า เฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ้านเป็นจำ�นวนถึง 15,691 รายการ โดยเป็นจ ำ�นวนร้านค้าทั้งหมด 150 ร้านค้า สำ�หรับใ นเว็บไซต์ www.dbdmart.com พบว่าม ีก ารจำ�หน่ายสินค้าเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ ้านจำ�นวน 1,006 รายการ ซึ่งปรากฏเว็บไซต์ที่จำ�หน่ายสินค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านที่ได้รับการจดทะเบียน ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจก ารค้ามีจำ�นวน 57 เว็บไซต์ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.04 ของ เว็บไซต์ที่จดทะเบียนทั้งหมด ส่วนใหญ่ของธุรกิจที่จำ�หน่ายสินค้าเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านในนิวซีแลนด์ดำ�เนินธุรกิจ ทางธุ ร กิ จ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ค วบคู่ กั บ ก ารข ายสิ น ค้ า โ ดยตรงผ่ า นห น้ า ร้ า นที่ เ ป็ น ก ายภาพซึ่ ง เ ป็ น ช่ อ งท าง ปกติสำ�หรับการจำ�หน่ายสินค้าประเภทเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านที่ปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ Trademe (www.Trademe.co.nz) พบว่ามีจำ�นวนมากถึง 98,334 รายการ นอกจากนี้ยังปรากฏการจำ�หน่ายสินค้า ประเภทเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านจำ�นวนมาก และหลากหลายประเภทในเว็บไซต์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ที่ประสบความสำ�เร็จในการดำ�เนินงาน และเป็นที่นิยมในนิวซีแลนด์ เช่น Shop NZ Limited (www.shopnewzealand.co.nz) อีกด ้วย ดังแสดงในภาพที่ 12.11 และภาพที่ 12.12
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 12.11 ตัวอย่างการจำ�หน่ายสินค้าเฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ ้านผ่านเว็บไซต์ธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ Trademe
ม
ธ ส
12-52
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 12.12 ตัวอย่างการจำ�หน่ายสินค้าเฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ้านผ่านเว็บไซต์ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ Shop New Zeland
ม
ธ ส
ม
โอกาสการขยายตลาดสินค้าเฟอร์นิเจอร์แ ละของตกแต่งบ ้านผ่านทางธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์อ าจทำ�ได้ โดยการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ร่วมกับการค้าทางช่องทางกายภาพปกติ เช่น การตั้งตัวแทนจำ�หน่ายสินค้า การดำ�เนินการด้านการรับคำ�สั่งซื้อ จะทำ�ให้ได้สินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค และทำ�ให้ราคา ต่อหน่วยเฉลี่ยลดลง อันจะส่งผลต่อการขยายตลาดต่อธุรกิจประเทศไทยได้ดีกว่าการค้าผ่านทางธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ และตรงตามความต้องการของตลาด ควบคู่ไปกับการใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการโฆษณา และสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ จะทำ�ให้ผู้ประกอบการสามารถขยายตลาด และสามารถแสวงหาประโยชน์ท างการค้าจ ากความตกลงตามข้อบ ทต่างๆ ของความตกลง TNZCEP ได้อ ย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.3.2 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.3.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.3 เรื่องที่ 12.3.2
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-53
ธ ส
เรื่องที่ 12.3.3 กรณีศ ึกษาการค้าข องสินค้าเพื่อสุขภาพและ ผลิตภัณฑ์สปาผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
ม
ม
ปัจจุบันสินค้าเพื่อส ุขภาพ เครื่องสำ�อางจากธรรมชาติ และสมุนไพร ในประเทศไทยมีการผลิตและ ได้รับการสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและเอกชน มีความหลากหลายและได้มีการผ่านการรับรองมาตรฐานทั้ง ของประเทศไทยและนานาชาติ อีกทั้งกระแสความนิยมที่ดีในตลาดนิวซีแลนด์ ทำ�ให้ประเทศไทยสามารถ ขยายการส่งอ อกสินค้าเพื่อส ุขภาพ และผลิตภ ัณฑ์ส ป าไปยังน ิวซีแลนด์ไ ด้เพิ่มข ึ้นเป็นล ำ�ดับ โดยมีค ู่แ ข่งขันท ี่ สำ�คัญคือ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และออสเตรเลีย โดยสินค้าส่งออกที่สำ�คัญ คือสินค้าประเภทเครื่องสำ�อาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว ในปี พ.ศ. 2550 นิวซีแลนด์มีการนำ�เข้าสินค้าเครื่องสำ�อาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว ทั้งหมด คิด เป็นม ูลค ่าป ระมาณ 454,704,000 เหรียญสหรัฐ ขณะที่ป ระเทศไทยส่งส ินค้าด ังก ล่าวเข้าต ลาดนิวซีแลนด์เป็น มูลค่า 12,856,715.30 เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 2.83 ของมูลค่าทั้งหมดสินค้าเครื่องสำ�อาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว ที่น ิวซีแลนด์ได้มีการนำ�เข้ามาในประเทศ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับส ินค้าเครื่องสำ�อาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิวท ี่ประเทศไทยส่งอ อกไปยังนิวซีแลนด์จะมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 1.04 ของมูลค่า สินค้าที่ประเทศไทยส่งอ อกไปตลาดโลกทั้งหมด ประเภทสินค้าที่มีความสำ�คัญที่ประเทศไทยส่งออกไปยังตลาดนิวซีแลนด์ประกอบด้วย สินค้า สิ่งปรุงแต่งที่ใช้แต่งหน้าหรือบำ�รุงผิว และสินค้าสิ่งปรุงแต่งสำ�หรับใช้กับผม ในปี พ.ศ. 2550 ประเทศไทย ส่งออกสินค้าสิ่งปรุงแต่งที่ใช้แต่งหน้าไปประเทศนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 2,847,147.61 เหรียญสหรัฐ หรือ ค ิดเป็นส ัดส่วนร้อยละ 1.36 ของมูลค่าส ินค้าป รุงแ ต่งท ีใ่ ช้แ ต่งห น้าทีไ่ ทยส่งอ อกไปตลาดโลกทั้งหมด และเป็น ส่วนแบ่งตลาดในนิวซีแลนด์ประมาณร้อยละ 8.05 ดังแสดงในภาพที่ 12.13
ธ ส
ม
ธ ส
อื่นๆ 28.60%
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ไทย 8.05%
ม
ม
ออสเตรเลีย 13.62%
ธ ส
ม
ฝรั่งเศส 15.34%
ธ ส
สหรัฐอเมริกา 27.50%
ธ ส
จีน 7.34%
ภาพที่ 12.13 ส่วนแบ่งต ลาดสินค้าสิ่งปรุงแต่งท ี่ใช้กับหน้าหรือบำ�รุงผ ิว ปี พ.ศ. 2550
12-54
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
สำ�หรับสินค้าสิ่งปรุงแต่งที่ใช้แต่งสำ�หรับผม ประเทศไทยส่งออกไปยังนิวซีแลนด์เป็นมูลค่าการส่ง ออกประมาณ 5,873,734.92 เหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.35 ของมูลค่าสินค้าปรุงแต่งที่ใช้ แต่งส ำ�หรับผ มทีไ่ ทยส่งอ อกไปตลาดโลกทั้งหมด และเป็นส ่วนแบ่งต ลาดในนิวซีแลนด์ป ระมาณร้อยละ 27.86 ดังแสดงในภาพที่ 12.14
ธ ส
ม
อื่นๆ 16.66%
ธ ส
สหรัฐอเมริกา 8.93%
ม
ไทย 27.86%
ธ ส
สเปน 4.12%
ม
ออสเตรเลีย 36.98%
ธ ส
เยอรมนี 5.45%
ม
ภาพที่ 12.14 ส่วนแบ่งต ลาดสินค้าสิ่งปรุงแต่งส ำ�หรับใช้กับผม ปี พ.ศ. 2550
ม
กลยุทธ์การขยายตลาด
ธ ส
ในการขยายตลาดของสินค้าเพื่อส ุขภาพ และผลิตภัณฑ์สปา ไปยังตลาดนิวซีแลนด์ ผู้ประกอบการ ควรเพิ่มป ระสิทธิภาพในการแข่งขัน ในการพัฒนามาตรฐานสินค้า การวิจัยผ ลิตภัณฑ์ การพัฒนาศักยภาพใน การผลิต และคุณภาพของสินค้าผ่านการรับรองมาตรฐานของสินค้าของประเทศนิวซีแลนด์ หรือมาตรฐานที่ ได้ร ับการยอมรับใ นตลาดนิวซีแลนด์ จากการสำ�รวจและวิเคราะห์ข้อมูลการขายสินค้าผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในปี พ.ศ. 2550 พบว่า มีผู้จำ�หน่ายสินค้าประเภทนี้ ที่ใช้ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลของเว็บไซต์ www.weloveshopping.com พบว่ามีการจำ�หน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สปา เป็นจำ�นวนถึง 141,516 รายการ และจำ�นวนร้านค้าทั้งหมด 1,365 ร้านค้า และเว็บไซต์ www.dbdmart.com พบว่า มีการ จำ�หน่ายสินค้าเครื่องสำ�อาง ความงาม และเพื่อสุขภาพ จำ�นวน 597 รายการ สำ�หรับเว็บไซต์ท ี่มีการจำ�หน่าย สินค้าเพื่อส ุขภาพทีไ่ ด้ร ับก ารจดทะเบียนพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ก ับก รมพัฒนาธุรกิจก ารค้า กระทรวงพาณิชย์ มีจ ำ�นวน 260 เว็บไซต์ คิดเป็นส ัดส่วนร้อยละ 4.74 ของเว็บไซต์ท ีไ่ ด้ร ับก ารจดทะเบียนพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ แบ่งออกเป็นเว็บไซต์ที่จำ�หน่าย สินค้าเพื่อส ุขภาพและความงาม 89 เว็บไซต์ กลุ่มเครื่องสำ�อาง 126 เว็บไซต์ และสินค้าที่เกี่ยวกับสมุนไพร 45 เว็บไซต์ พฤติกรรมของผบู้ ริโภคในประเทศนวิ ซีแลนด์ม คี วามนยิ มสนิ ค้าผ ลิตภัณฑ์ เพือ่ ส ขุ ภาพจากธรรมชาติ อีกทั้งผลิตภัณฑ์สินค้าเพื่อสุขภาพที่ผลิตในประเทศนิวซีแลนด์ยังได้รับความนิยมในตลาดประเทศต่างๆ ได้แก่ ครีมและผลิตภัณฑ์จากแกะ ผลิตภัณฑ์จากผึ้ง โคลนพอกหน้า ครีมบำ�รุง และสินค้าเพื่อสุขภาพที่
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-55
ธ ส
ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติต่างๆ จากเว็บไซต์ www.Trademe.co.nz มีการจำ�หน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพและ ความงาม มีจำ�นวนมากถึง 24,858 รายการ นอกจากนี้การจำ�หน่ายสินค้าประเภทนี้ในนิวซีแลนด์ จะทำ�การ จำ�หน่ายผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการขายโดยตรง เช่น www.thehealthstone.co.nz และ www. beautyshop.co.nz เป็นต้น การขยายตลาดสินค้าเพื่อสุขภาพ และผลิตภัณฑ์สปา ของผู้ประกอบการไทย ที่ต้องการเข้าสู่ตลาด นิวซีแลนด์ ควรใช้ผ ่านธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ใ นการขยายการค้าขาย ควบคูก่ ับก ารค้าขายผ่านช่องทางปกติ โดย ใช้ป ระโยชน์ข องสื่ออ ิเล็กทรอนิกส์ใ นการทำ�แผนการตลาด เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ความคิดเห็นห รือ พฤติกรรมของผู้บริโภคต่อสินค้า และรายละเอียดของสินค้า เพื่อผ ู้บริโภคได้รับทราบและสร้างความเชื่อม ั่น นอกจากนี้ค วรใช้ส ิทธิป ระโยชน์ท ี่ป ระเทศไทยได้ท ำ�ข้อต กลงหรือก รอบความตกลงเขตการค้าเสรีก ับป ระเทศ นิวซีแลนด์มาใช้เป็นก ลยุทธ์ในการแข่งขัน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 12.3.3 แล้วโปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.3.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 12 ตอนที่ 12.3 เรื่องที่ 12.3.3
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
12-56
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
บรรณานุกรม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
กรมเจรจาการค้าร ะหว่างประเทศ Fact Book (2550) ความตกลงการค้าเสรีไ ทย-ออสเตรเลีย (Thailand-Australia Free Trade Agreement) กระทรวงพาณิชย์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2551) สรุปสาระความตกลงเพื่อการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ กระทรวงพาณิชย์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2554) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Factbook) กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ (2550) กรอบการเจรจาความตกลงการค้าเสรีของไทยภายใต้การเจรจาอาเซียนกับสหภาพยุโรป กระทรวงพาณิชย์ กษิติธร ภูภราดัย และ คณะ (2551) การศึกษาผลกระทบของ FTA ต่อธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย กองธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2546) บทสรุปรายงานการศึกษาเรื่องผลกระทบจากการทำ�ความตกลง การค้าไทยสหรัฐ ตุลาคม สรจักร เกษมสุวรรณ และ คณะ (2551) ธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ก รอบความตกลง TNZCEP กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า สำ�นักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (2553) พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคไต้หวันในปี 2552 สำ�นักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ 2553 สำ�นักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ AFTA (ASEAN Free Trade Area) & AEC (ASEAN Economic Community) จากเขตการค้าเสรีอาเซียน สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (2553) รายงานผลการสำ�รวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทย ปี 2553 สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีแห่งช าติ องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำ�คัญของโลก (2553) เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North America Free Trade) องค์กรความร่วมมือท างเศรษฐกิจที่ส ำ�คัญของโลก อรพรรณ พนัสพัฒนา และ คณะ (2552) คู่มือกลยุทธ์ท างการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันร ะหว่างประเทศเพื่อการ ค้าและการพัฒนา Asian Development Bank. (2010). Key Indicator for Asia and the Pacific. Asian Development Bank. ASEAN Secretariat. (2009). A Guide for ASEAN Business: ASEAN-Australia-New Zea Land Free Trade Area. the ASEAN Secretariat Indonesia. International Monetary Fund. (2010). World Economic Outlook Database. International Monetary Fund. April.
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
การเข้าสู่ตลาดการค้าระหว่างประเทศผ่านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ม
12-57
ธ ส
Oracle ATG Web Commerce. European Consumer Views of E-Commerce A Consumer Research Study of Buying Behavior and Trends. Oracle White Paper. March 2. Sinawong Sang, Jeong-Dong Lee and Jongsu Lee. (2009). E-government adoption in ASEAN: the Case of Cambodia. Internet Research, Volume 19, No. 5, pp. 517-534.
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส