เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชฉบั บ นี้ ได รั บ การสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละคุ ม ครองภายใต ก ฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ รวมทั้ ง สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
หน่วยที่
14
ธ ส
ม
14-1
ธ ส
ม
กรณีศึกษาพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ชื่อ วุฒ ิ ตำ�แหน่ง หน่วยที่เขียน
รองศาสตราจารย์จีราภรณ์ สุธัมมสภา วท.บ. (ฟิสิกส์), วท.ม. (คอมพิวเตอร์), พณ.ม. (บริหารธุรกิจ) Master of Business Systems, Monash University รองศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยส ุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 14
ชื่อ วุฒิ ตำ�แหน่ง หน่วยที่เขียน
อาจารย์สหัส ตรีทิพยบุตร M.Sc. (Computer and Information Science) Syracuse University, New York, USA นายกสมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย หน่วยที่ 14
ธ ส
ม
รองศาสตราจารย์จรี าภรณ์ สุธัมมสภา อาจารย์สหัส ตรีทิพยบุตร
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-2
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
หน่วยที่ 14
ธ ส
ม
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
ธ ส
เค้าโครงเนื้อหา
ธ ส
ม แนวคิด
ม
ตอนที่ 14.1 แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซ ีของประเทศไทย 14.1.1 ภาพรวมของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีท ูซีของประเทศไทย 14.1.2 ความหมายของสินค้าและบริการ 14.1.3 ประเด็นใ นกรณีตัวอย่างของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีท ูซี ตอนที่ 14.2 กลุ่มธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้า 14.2.1 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทดิจิทัลคอนเทนต์ 14.2.2 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ 14.2.3 กรณีต วั อย่างธรุ กิจจ �ำ หน่ายสนิ ค้าป ระเภทเครือ่ งส�ำ อาง น้�ำ หอม และเครือ่ งประดับ 14.2.4 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้าและของใช้สำ�หรับเด็ก 14.2.5 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทหนังสือ ตอนที่ 14.3 กลุ่มธุรกิจใ ห้บริการ 14.3.1 กรณีตัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการชำ�ระเงินออนไลน์และธุรกิจจัดหางาน 14.3.2 กรณีต ัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการส่งดอกไม้ 14.3.3 กรณีต ัวอย่างธุรกิจร ับจองที่พักและบริการท่องเที่ยว 14.3.4 กรณีต ัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการสอนงานฝีมือ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
1. พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์แ บบบีท ูซ ีใ นประเทศไทยมีอ ัตราการเจริญเติบโตเพิ่มม ากขึ้น โดยมี มูลค่าห ลายหมื่นล ้านบาทจากหลายประเภทอุตสาหกรรม เพื่อใ ห้ง ่ายต่อก ารแบ่งเป็นก รณี ตัวอย่างพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีของประเทศไทยเพื่อการศึกษาแล้ว จะใช้กรอบ แนวคิดข องการจัดแ บ่งผ ลิตภัณฑ์ซ ึ่งแ บ่งไ ด้เป็นส ินค้าแ ละบริการ มาใช้ใ นการจัดแ บ่งก รณี ตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า และกลุ่มธุรกิจให้บริการ โดยที่จะ แบ่งประเด็นการศึกษาในแต่ละกรณีตัวอย่างเป็น 4 ประเด็น คือ จุดเริ่มต้นและแนวทาง ในการดำ�เนินธุรกิจ การพัฒนาเว็บหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ และปัจจัยที่ก่อให้ เกิดความสำ�เร็จ
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
2. กลุ่มธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าที่นำ�มาเป็นกรณีตัวอย่าง ได้แก่ ธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภท ดิจิทัลค อนเทนต์ ธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าป ระเภท เครื่องสำ�อาง น้ำ�หอม และเครื่องประดับ ธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้าและของใช้ สำ�หรับเด็ก และธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทสินค้าหนังสือ 3. กลุ่มธ ุรกิจใ ห้บ ริการที่น ำ�มาเป็นก รณีต ัวอย่าง ได้แก่ ธุรกิจใ ห้บ ริการชำ�ระเงินอ อนไลน์แ ละ ธุรกิจจัดหางาน ธุรกิจให้บริการส่งดอกไม้ ธุรกิจรับจองที่พักและบริการท่องเที่ยว และ ธุรกิจใ ห้บริการสอนงานฝีมือ
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
14-3
ม
ธ ส
ม
เมื่อศ ึกษาหน่วยที่ 14 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. วิเคราะห์ภ าพรวมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซ ีของประเทศไทยได้ 2. วิเคราะห์การประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีของธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าใน ประเทศไทยเมื่อกำ�หนดกรณีศ ึกษาให้ได้ 3. วเิ คราะห์ก ารประกอบการพาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู ขี องธรุ กิจใ ห้บ ริการในประเทศไทย เมื่อกำ�หนดกรณีศึกษาให้ได้
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-4
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
บทนำ�
ธ ส
ม
ธ ส
ม
หลั ง จ ากที่ นั ก ศึ ก ษาไ ด้ เ รี ย นรู้ ถึ ง แ บบจำ � ลองแ บบต่ า งๆ ของธุ ร กิ จ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โครงสร้ า ง พื้นฐานและองค์ประกอบของการดำ�เนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง แล้ว ในหน่วยที่ 14 นี้ นักศึกษาจะได้ศึกษาเกี่ยวกับกรณีศึกษาของการประกอบธุรกิจในรูปของการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู ี (B2C) ของผปู้ ระกอบการในประเทศไทยทจี่ ัดว ่าป ระสบความสำ�เร็จ กรณีศ ึกษาต่างๆ ที่ได้นำ�มาให้นักศึกษาได้ศึกษาในหน่วยที่ 14 นี้ ส่วนใหญ่นำ�มาจากกิจการที่ได้รับคัดเลือกให้ลงในหนังสือ “กรณีศ ึกษาธุรกิจอ ีคอมเมิร์ซช ั้นน ำ�ของไทย” ซึ่งจ ัดท ำ�โดยสมาคมผู้ป ระกอบการพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ไ ทย ร่วมกบั ส �ำ นักงานสถิตแิ ห่งช าติ และกระทรวงเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสือ่ สาร โดยการเสนอกรณีต วั อย่าง ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต ่างๆ ในหน่วยนี้จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า และกลุ่มธุรกิจให้บริการ
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ตอนที่ 14.1
ธ ส
ม
14-5
ธ ส
แนวคิดเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แ บบบีทูซีประเทศไทย
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 14.1 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
ธ ส
หัวเรื่อง
เรื่องที่ 14.1.1 ภาพรวมของการพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีของประเทศไทย เรื่องที่ 14.1.2 ความหมายของสินค้าและบริการ เรื่องที่ 14.1.3 ประเด็นในกรณีต ัวอย่างของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีท ูซี
แนวคิด
ธ ส
ม
ธ ส
1. โดยภาพรวมแล้ว พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู ใี นประเทศไทยมอี ัตราการเจริญเติบโต เพิ่มม ากขึ้นโดยมีมูลค่าหลายหมื่นล้านบาทจากหลายประเภทอุตสาหกรรม ส่วนมากเป็น ธุรกิจขนาดเล็กมีพนักงานประมาณ 1–5 คน กว่าครึ่งทำ�การขายสินค้าและบริการผ่าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเดียว ส่วนที่เหลือจะขายสินค้าและบริการทั้งผ่านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์และผ่านหน้าร้าน โดยวัตถุประสงค์ของการใช้การเว็บไซต์ ได้แก่ เพื่อ ประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ เพิ่มช่องทางสั่งซื้อสินค้าและบริการเพื่ออำ�นวยความ สะดวกให้ผู้บริโภค ลดต้นทุนในการบริหารจัดการ และเพื่อตามกระแสความนิยมและ ความทันสมัย 2. ในทางการตลาดแล้ว ผลิตภัณฑ์ จะหมายถึง สินค้าและบริการ โดยที่สินค้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถจับต้องได้มีตัวตน จัดแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สินค้าอ ุปโภคบริโภค และสินค้าอ ุตสาหกรรม ในขณะที่บ ริการ หมาย ถึง กิจกรรมซึ่งส ่วนใหญ่จ ับต้องไม่ได้ แต่สามารถระบุหรือแยกแยะได้ เป็นกิจกรรมที่มุ่ง สร้างความพอใจให้ก บั ผ ูร้ บั บ ริการ บริการไม่จ �ำ เป็นต อ้ งผกู ต ดิ อ ยูก่ บั ก ารขายสนิ ค้าแ ละการ ขายบริการอื่น การให้บ ริการอาจจะใช้ห รือไ ม่ใ ช้ส ินค้าเป็นอ งค์ป ระกอบก็ได้ และหากมกี าร ใช้ส ินค้าเป็นส่วนประกอบก็จะไม่มีก ารโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้านั้นไปให้ผู้ประกอบการใช้ 3. กรณีตัวอย่างการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีของประเทศไทย จะแบ่งประเด็น ก ารศกึ ษาเป็น 4 ประเด็น คือ จุดเริม่ ต น้ แ ละแนวทางในการด�ำ เนินธ รุ กิจ การพฒ ั นาเว็บไซต์ หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-6
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
วัตถุประสงค์
ม
ม
ธ ส
ม
เมื่อศึกษาตอนที่ 14.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายภาพรวมของสถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีท ูซีในประเทศไทยได้ 2. อธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ พร้อมยกตัวอย่างประกอบได้ 3. วเิ คราะห์ป ระเด็นส �ำ คัญๆ ของการด�ำ เนินธ รุ กิจพ าณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู เี มือ่ ก �ำ หนด กรณีศ ึกษาให้ได้
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-7
ธ ส
เรื่องที่ 14.1.1 ภาพรวมของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซี ของประเทศไทย
ธ ส
ม
1. ข้อมูลทั่วไป
ธ ส
ม
จากรายงานผลสำ�รวจสถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยครั้งล่าสุดเมื่อ ปี พ.ศ. 2551 โดยสำ�นักงานสถิติแ ห่งช าติ พบว่าม ูลค่าพ าณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ข องประเทศไทยอยูท่ ี่ 427,460 ล้านบาท แยกเป็นแ บบจำ�ลองของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แ บบบีทูซี 127,325 ล้านบาท บีท ูซี 63,425 ล้านบาท และบีทูจ ี 236,710 ล้านบาท ซึง่ จ ะเห็นไ ด้ว า่ เป็นม ลู ค่าต ลาดทมี่ ากพอสมควร หากพจิ ารณาเฉพาะพาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบบีทูซีแล้ว จะพบว่ากลุ่มอุตสาหกรรมหรือธุรกิจที่เข้ามาประกอบการ ประกอบไปด้วยธุรกิจต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 14.1
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ตารางที่ 14.1 แสดงประเภทอุตสาหกรรมหรือธุรกิจที่ดำ�เนินธ ุรกิจแบบบที ูซีในประเทศไทย
ม
ประเภทอุตสาหกรรม/ธุรกิจ
ธ ส
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ บริการออกแบบเว็บไซต์ System Software/Solution Provider/System Integrator อุปกรณ์สื่อสาร สินค้าดิจิทัล อื่นๆ
ธ ส
ม
แฟชั่น เครื่องแต่งกาย อัญมณีฯ สิ่งทอ หัตถกรรม เสื้อผ้า และเครื่องหนัง น้ำ�หอม เครื่องสำ�อาง และอุปกรณ์เสริมความงาม อัญมณี และเครื่องประดับ
ม
ท่องเที่ยว โรงแรม รีสอร์ต ท่องเที่ยว จองตั๋วเดินทาง ที่พัก โรงแรม รีสอร์ต เกสต์เฮาส์
ม
ธ ส
ร้อยละ 21.2 9.5 3.2 2.5 1.4 1.5 1.5 1.6
ม
ธ ส
33.8 16.3 16.0 1.5 13.3 11.9 1.4
14-8
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตารางที่ 14.1 (ต่อ)
ม
ประเภทอุตสาหกรรม/ธุรกิจ
ธ ส
ยานยนต์และผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก รถยนต์ เครื่องยนต์ และอะไหล่ชิ้นส่วน
ม
สิ่งพิมพ์และเครื่องใช้สำ�นักงาน เครื่องใช้สำ�นักงานและเครื่องเขียน ผลิตภัณฑ์กระดาษ การพิมพ์ หนังสือ และสิ่งพิมพ์ ธุรกิจบริการ บริการวิชาชีพ (บัญชี กฎหมาย ฯลฯ) ธุรกิจประกันภัย นายหน้า และตัวแทน ยา บริการทางการแพทย์ และสุขภาพ บริการประชาสัมพันธ์ โฆษณา อื่นๆ
ธ ส
ม
สินค้า และอื่นๆ เคมีภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ อาหาร อาหารแปรรูป และเครื่องดื่ม เพลง ภาพยนตร์ ของขวัญของที่ระลึก อื่นๆ รวมทุกกลุ่ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ร้อยละ 2.2 1.4 0.8
ม
1.1 0.2 0.1 0.8
11.2 1.3 3.7 1.5 0.2 4.5
ธ ส
ม 17.2 1.4 1.4 2.5 — 0.6 1.4 0.1 9.8
ม
ธ ส
100
ทั้งนี้ หากจำ�แนกประเภทอุตสาหกรรมที่ด ำ�เนินธุรกิจแบบบีทูซีใน 5 อันดับแรก จะได้แก่ 1) สิ่งท อ หัตถกรรม เสื้อผ้า และเครื่องหนัง 2) น้ำ�หอม เครื่องสำ�อาง และอุปกรณ์เสริมความงาม 3) การท่องเที่ยว จองตั๋วเดินทาง ที่พัก 4) คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ค อมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง 5) ธุรกิจป ระกันภัย นายหน้า และตัวแทน
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-9
ธ ส
ธุรกิจส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจขนาดเล็กมีพนักงานประมาณ 1–5 คน และมีระยะเวลาที่ทำ�พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์โ ดยเฉลี่ยประมาณ 2–3 ปี ลักษณะของการขายสินค้าและบริการจะเป็นการขายผ่านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์อย่างเดียวประมาณเกือบร้อยละ 60 ที่เหลือเป็นการขายผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และหน้า ร้านจริง และโดยวิธีอื่นๆ ส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เฉลี่ยต่อธุรกิจ อยู่ที่ประมาณ 51,700 บาท โดยเฉลี่ยแล้วคิดเป็นร้อยละ 33.5 ของค่าใช้จ่ายในด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศ ทั้งหมด
ธ ส
ม
ธ ส
2. วิธีการดำ�เนินธุรกิจ
ม
วิธีการดำ�เนินธุรกิจของกิจการที่ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซี ที่กล่าวถึงในที่นี้ เป็นการกล่าวถึงการดำ�เนินการในเรื่องต่างๆ ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี การให้บริการส่วนหน้าเว็บไซต์ หรือ ฟร้อนต์เอนต์ (front end) การรับรองความน่าเชื่อถือ รูปแบบการชำ�ระเงิน และการจัดส ่งสินค้า 2.1 การใช้เทคโนโลยี 2.1.1 เพือ่ ก ารสง่ เสริมก ารตลาดและการประชาสัมพันธ์ธ รุ กิจแ บบออนไลน์ ในแง่ว ธิ กี ารด�ำ เนิน ธุรกิจ ผูป้ ระกอบการธรุ กิจพ าณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู จี ะท�ำ การสง่ เสริมก ารตลาดและการประชาสัมพันธ์ ธุรกิจแ บบออนไลน์ม ากกว่าใ ช้ท ั้งแ บบออนไลน์แ ละออฟไลน์ค วบคูก่ ัน และใช้แ บบออฟไลน์น ้อยที่สุด แต่เป็น ที่น ่าสนใจว่าหลายธุรกิจไ ม่ท ำ�การส่งเสริมการตลาดอยู่ในสัดส่วนที่พอๆ กันกับการใช้การส่งเสริมการตลาด และการประชาสัมพันธ์ธุรกิจท ั้งแ บบออนไลน์และออฟไลน์ วิธีออนไลน์ท ี่เลือกใช้เรียงตามลำ�ดับจ ากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) โฆษณาผ่านเว็บบอร์ดและตามเว็บไซต์ 2) เสิร์ชเอนจิน (search engine) 3) โฆษณาผ่านแบนเนอร์บนเว็บไซต์ 4) โฆษณาทางอีเมล 5) การตลาดผ่านนายหน้า 6) ระบบแจ้งข ่าวสาร 7) โฆษณาผ่านโทรศัพท์มือถือ ส่วนวิธีออฟไลน์ที่ใ ช้ ได้แก่ 1) แผ่นพ ับ/โบรชัวร์ 2) สื่อส ิ่งพ ิมพ์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ 3) สื่อว ิทยุ โทรทัศน์ 4) ป้ายโปสเตอร์ และบิลบ อร์ด
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-10
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
2.1.2 เพื่อวัตถุประสงค์การใช้เว็บไซต์ วัตถุประสงค์ของการใช้เว็บไซต์ตามที่ผู้ประกอบการ ได้ต อบในแบบสำ�รวจ เรียงลำ�ดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ 2) การเพิ่มช่องทางสั่งซ ื้อส ินค้าและบริการ 3) การอำ�นวยความสะดวกให้กับผู้บริโภค 4) การลดต้นทุนการบริหารจัดการ 5) ตามกระแสนิยมและความทันสมัย 2.1.3 เพื่อการมีเว็บไซต์และการพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะมีเว็บไซต์เป็นของ ตนเอง โดยเว็บไซต์ส ว่ นใหญ่พ ฒ ั นาโดยใช้โ ปรแกรมส�ำ เร็จรูป ผูป้ ระกอบการบางรายจะมที มี พ ฒ ั นาของตนเอง หรือจัดจ้างผู้อื่นพัฒนาให้ 2.2 การให้บ ริการสว่ นหน้าเว็บไซต์ ผูป้ ระกอบการพาณิชย์ธ รุ กิจแ บบบที ซู สี ว่ นใหญ่จ ะมกี ารให้บริการ ส่วนหน้าเว็บไซต์ เพื่อว ัตถุประสงค์ใ นการประกอบการ ดังนี้ 1) การยืนยันตัวบุคคล 2) การรับประกันความพึงพ อใจการซื้อสินค้าและบริการ 3) การมีเครื่องหมาย/สัญลักษณ์แ สดงความน่าเชื่อถือ (credit check) ของผู้ให้บริการ 4) การประกันความเสียหายของสินค้า 5) การออกใบรับรองคุณภาพของสินค้าและบริการ 6) ระบบการให้บริการการชำ�ระเงิน 7) ระบบการให้คะแนนผู้ข ายสินค้า 2.3 การรบั รองความนา่ เชือ่ ถอื การรบั รองความนา่ เชือ่ ถอื ของผปู้ ระกอบการพาณิชย์ธรุ กิจแ บบบที ซู ี ตามที่ก ล่าวถึงในรายงานการสำ�รวจมีด้วยกัน 3 วิธี ดังนี้ 2.3.1 การจัดทำ�นโยบายความเป็นส่วนตัว หรือก ารใช้ทรัสต์มาร์ก 1) นโยบายความเป็นส่วนตัว (privacy/policy statement) คือ สิ่งที่ผู้ทำ�ธุรกิจผ่านทาง เว็บไซต์บ อกแก่ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการเว็บไซต์ใ ห้ทราบถึงแนวปฏิบัติในการเก็บรวบรวม การใช้ และการให้ ความคุ้มครองข้อมูลส ่วนบุคคลของลูกค้า ซึ่งล ูกค้าท ี่เข้าม าใช้บ ริการเว็บไซต์จ ะใช้น โยบายความเป็นส ่วนตัว ว่าจะให้ห รือไ ม่ให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่เว็บไซต์ 2) ทรัสต์มาร์ก (Trust Mark) ประกอบด้วย ทรัสต์อี (TRUSTe) บีบีบีออนไลน์ (BBB online) และเบ็ตเทอร์เว็บ (Better Web) เป็นองค์กรเครื่องหมายรับรองเว็บไซต์ในการคุ้มครองผู้บริโภค ในการซื้อขายในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเว็บไซต์ที่ผ่านการตรวจสอบจากองค์กรนี้จะได้รับอนุญาต ให้ติดสัญลักษณ์ขององค์กรนี้บนเว็บไซต์ของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าในการป้อนข้อมูล ส่วนตัว โดยเบ็ตเทอร์เว็บ เป็นโ ครงการรณรงค์เพือ่ ก ารออกแบบเว็บท ีด่ เีพือ่ ส ง่ เสริมใ ห้เว็บไ ทยมคี ณ ุ ภาพ และ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-11
ธ ส
ดูจากเว็บเบราเซอร์ไหนก็ได้ มีการวัดระดับเว็บไซต์ 3 ระดับ คือ ระดับ 1 สามารถดูและใช้งานได้ด้วยเว็บ เบราเซอร์ยี่ห้อหลัก ระดับ 2 เพิ่มเรื่องในการออกแบบเว็บที่ดี และระดับ 3 การทดสอบในด้านมาตรฐาน ของเว็บ (web standard) 2.3.2 การใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัย หรือการจัดทำ�นโยบายการรักษาความ ปลอดภัย ได้แก่ 1) การใช้เทคโนโลยีเข้าร หัสลับ หรือเอสเอสแอล (Secure Socket Layer - SSL) ซึ่งเป็น โพรโทคอลทสี่ ร้างความปลอดภัยใ นการรบั ส ง่ ข อ้ มูลผ า่ นระบบเครือข า่ ย ทำ�ให้ส ามารถสง่ ข อ้ มูลท เี่ ป็นค วามลบั เช่น รหัสผ ่าน หรือห มายเลขบัตรเครดิต ผ่านเครือข ่ายด้วยความปลอดภัย นอกจากผู้ส ่งแ ละผู้รับข ้อมูลแ ล้ว จะไม่มีใครในระบบเครือข่ายดึงข้อมูลที่เป็นความลับไปใช้ได้ หน้าที่ของเอสเอสแอลแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1) การตรวจสอบแม่ข ่าย หรือเซิร์ฟเวอร์ (server) ว่าเป็นตัวจ ริง 2) การตรวจสอบลูกข่ายหรือไคลเอนต์ (client) ว่าเป็นตัวจ ริง และ 3) การเข้ารหัสลับ และการเชื่อมต่อ 2) การจัดทำ�นโยบายการรักษาความปลอดภัย (security policy) คือ การกำ�หนดว่า สิ่งใ ดจำ�เป็นต้องป้องกัน จะป้องกันอย่างไร จะระบุถ ึงก ฎเกณฑ์แ ละแนวปฏิบัติต ่างๆ ที่ใช้ค วบคุมการจัดการ การป้องกัน และการแจกจ่ายข้อมูลที่เป็นความลับของระบบ 3) การใช้เทคโนโลยีลายน้ำ� (watermarking) เป็นเทคนิคการฝังลายน้ำ�จางๆ และเสียง รบกวน (noise) เข้าไปในเนื้อหา (content) ของดีวีดี ลายน้ำ�นี้จะถูกลบหรือแก้ไขไม่ได้โดยง่าย ภาพหรือ เสียงทกุ เฟรมถกู เคลือบดว้ ยเสียงรบกวน หรือล ายน้�ำ โปร่งใสซึง่ ป กติม องดว้ ยตาเปล่าไ ม่เห็น เครือ่ งบนั ทึกแ ละ เครือ่ งเล่นด วี ดี จี ะตรวจสอบพบเองวา่ ม กี ารฝงั ข อ้ มูลข องลายน้�ำ ไว้ใ นแผ่น และแสดงผลออกมาเมือ่ ก ารเล่นน ัน้ ไม่เป็นไ ปตามขอ้ บ งั คับข องระบบปอ้ งกัน โดยปกติแ ล้วล ายน้�ำ ไม่ไ ด้ไ ปกระทำ�ตอ่ เนือ้ หาของดีว ดี ี เป็นเพียงการ บอกชนิดข องรูปแ บบข้อมูลด ิจิทัลท ีแ่ ฝงข้อมูลเพื่อจ ัดการการควบคุม หรือซ เีอ็มไ อ (Control Management Information – CMI) เข้าไปด้วยกัน เมื่อสัญญาณผ่านเครื่องเล่นและตรวจพบชนิดของซีเอ็มไอว่าเป็นการ ป้องกันรูปแบบใดก็จะปฏิบัติตามข้อบังคับของรูปแบบนั้น เช่น ถ้าซีเอ็มไอกำ�หนดว่าต้องมีการถอดรหัส ก่อนจึงจ ะแสดงผลได้อ ย่างถูกต ้อง เครื่องเล่นก ็ท ำ�ตามกระบวนการแลกเปลี่ยนคีย์ต ่างๆ เพื่อนำ�ไปถอดรหัส ถ้าไม่ทำ�ตามหรือทำ�ตามไม่สำ�เร็จ ผลลัพธ์ก็คือ ได้ภาพที่ติดลายน้ำ� หรือได้ยินเสียงที่ติดสัญญาณรบกวน 2.3.3 การใช้ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ หรือซีเอ (Certification Authority - CA) คือ องค์กร รับรองความถูกต ้องมีบทบาทในการให้บริการเทคโนโลยีการเข้ารหัส ได้แก่ กุญแจสาธารณะ และกุญแจลับ สำ�หรับผู้จดทะเบียน การส่งมอบกุญแจลับ การสร้าง และการรับรองลายมือชื่อดิจิทัล นอกจากนี้ ยังเกี่ยว กับก ารออกใบรับร อง ได้แก่ การออก การเก็บรักษา การยกเลิก การตีพ ิมพ์เผยแพร่ ใบรับรองดิจิทัล รวมทั้ง การกำ�หนดนโยบายการออกและอนุมัตใิ บรับร อง ตลอดจนการบริการเสรมิ อื่นๆ ได้แก่ การตรวจสอบสัญญา ต่างๆ การทำ�ทะเบียน และการกู้ก ุญแจ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-12
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ทั้งนี้ ในส่วนของการจัดทำ�นโยบายความเป็นส่วนตัว หรือการใช้ทรัสต์มาร์ก ผู้ประกอบการ ธุรกิจแบบบีทูซี (เฉพาะที่ม ีเว็บไซต์เป็นของตนเอง) รับรองความน่าเชื่อถือด้วยวิธีนโยบายความเป็นส่วนตัว มากกว่าท รัสต์ม าร์ก ในส่วนของการใช้เทคโนโลยีเพื่อร ักษาความมั่นคงปลอดภัย หรือก ารจัดท ำ�นโยบายการ รักษาความปลอดภัย ผู้ประกอบการ (เฉพาะที่ม ีเว็บไซต์เป็นของตนเอง) ใช้ทั้งการเข้ารหัสลับ จัดทำ�นโยบาย การรักษาความปลอดภัย และจัดทำ�เทคโนโลยีลายน้ำ�ในสัดส่วนที่พอๆ กัน และในส่วนของการใช้ใบรับรอง อิเล็กทรอนิกส์ผู้ประกอบการ (เฉพาะที่มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง) พบว่าส่วนใหญ่ไม่มีการใช้ ประมาณครึ่ง หนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าไม่ท ราบว่ามี 2.4 รูปแบบการชำ�ระเงิน รูปแบบและวิธีการชำ�ระค่าสินค้าและบริการที่ผู้ประกอบการที่ตอบ แบบสอบถามเลือกใช้ มีด ว้ ยกนั 3 รูปแ บบ ได้แก่ การใช้ว ธิ ชี �ำ ระเงินแ บบออนไลน์ วิธกี ารช�ำ ระเงินแ บบออฟไลน์ และการชำ�ระเงินทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ ซึ่งผลการสำ�รวจพบว่าผู้ประกอบการเลือกใช้การชำ�ระเงิน ทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ ในสัดส่วนที่มากกว่าการใช้วิธีการชำ�ระเงินแบบออฟไลน์เล็กน้อย และใช้ วิธีชำ�ระเงินแ บบออนไลน์น้อยที่สุด ทั้งนี้ วิธีการชำ�ระเงินแบบออนไลน์ที่เลือกใช้มีด้วยกัน 5 รูปแบบ เรียงลำ�ดับการเลือกใช้จากมากไป หาน้อยได้ ดังนี้ 1) ชำ�ระเงินผ่านอีแบงกิ้ง/เอทีเอ็ม (e–Banking/ATM) 2) ชำ�ระเงินผ่านผู้ใ ห้บริการ 3) ชำ�ระเงินผ่านบัตรเครดิต 4) ชำ�ระทางอีด ีไอ (EDI) 5) ชำ�ระผ่านระบบโมบายเพย์เมนต์ (mobile payment) ส่วนวิธีออฟไลน์ท ี่เลือกใช้เรียงลำ�ดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) โอนเงินผ่านบัญชีธนาคาร 2) ชำ�ระกับพนักงานโดยตรงการ 3) โอนเงินทางไปรษณีย์ 4) การชำ�ระผ่านตัวกลางการเงิน 2.5 การจัดส่งสินค้า วิธีการจัดส่งสินค้าที่ใช้กันเรียงตามลำ�ดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ส่งทาง ไปรษณีย์ ใช้พนักงานขนส่งของตนเอง ใช้บริการขนส่งของเอกชน และการจัดส่งออนไลน์ โดยส่วนใหญ่มี ระยะเวลาส่งมอบประมาณ 2–3 วัน (ประมาณร้อยละ 42.8 ของผู้ตอบแบบสอบถาม) รองลงมาคือ ส่งม อบ ภายใน 1 วัน (ประมาณร้อยละ 22 ของผู้ต อบแบบสอบถาม) ส่วนอุปสรรคในการจัดส่งส ินค้าที่พ บเรียงลำ�ดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ราคาค่าขนส่งที่ส ูง ความ ล่าช้าในการจัดส่ง ปัญหาคุณภาพในการจัดส่ง ปัญหาการรับประกันการจัดส่ง และปัญหาขั้นตอนในการ จัดส่งที่ยุ่งยาก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-13
ธ ส
นอกจากนแี้ ล้ว ผูป้ ระกอบการทตี่ อบแบบสอบถามมคี วามเห็นว ่าพ ฤติกรรมของลูกค้าก เ็ป็นอ ุปสรรค ต่อก ารดำ�เนินธ ุรกิจเช่นก ัน ปัญหาลำ�ดับต ้นๆ คือ ลูกค้าก ลัวก ารฉ้อโกง คือ ซื้อข องแล้วไ ม่ไ ด้ส ินค้า รองลงมา คือ กลัวได้รับสินค้าไม่ตรงตามที่โฆษณา ปัญหาการที่ลูกค้าไม่เห็นสินค้าก่อนสั่งซื้อสั่งจอง และปัญหา กลัวการขโมยข้อมูลบัตรเครดิต จากข้อมูลที่ได้สรุปมาจากรายงานผลที่สำ�คัญ สำ�รวจสถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศไทย พ.ศ. 2551 ของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งถือว่าเป็นร ายงานล่าสุด ณ เวลานี้ ทำ�ให้นักศึกษาได้ ทราบภาพรวมของการพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ใ นรูปแ บบบที ซู ใี นประเทศไทยว่าม สี ถานภาพอย่างไร มีป ระเภท อุตสาหกรรมหรือธ ุรกิจใดบ้างที่เข้ามาประกอบการ ขนาดของธุรกิจ วิธีก ารดำ�เนินธ ุรกิจ ตลอดจนปัญหาและ อุปสรรค ซึ่งนักศึกษาจะได้ศึกษาถึงธุรกิจต่างๆ ที่ย กมาเป็นกรณีตัวอย่างต่อไปในตอนที่ 14.2 และ 14.3
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.1.1 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.1.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.1 เรื่องที่ 14.1.1
ธ ส
เรื่องที่ 14.1.2 ความหมายของสินค้าและบริการ
ม
ธ ส
ธ ส
ม
จากเรื่องที่ 14.1.1 จะเห็นไ ด้ว ่าผ ู้ป ระกอบการพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์แ บบบที ซู จี ะมที ั้งผ ูป้ ระกอบการ ที่ป ระกอบธุรกิจด ้านการจำ�หน่ายสินค้า และธุรกิจใ ห้บ ริการ เพื่อท ี่จ ะให้ส ามารถแบ่งแ ยกกันไ ด้ร ะหว่างสินค้า และบริการแล้ว ควรทจี่ ะได้ท �ำ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ล กั ษณะของสนิ ค้าแ ละบริการเสียก อ่ น ในทางการตลาดแล้ว หากกล่าวถึงคำ�ว่า “ผลิตภัณฑ์” (product) จะหมายรวมถึงส ินค้าหรือบริการ โดยที่ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พิษณุ จงสถิตย์วัฒนา (2544) ได้ให้ความหมายของผลิตภัณฑ์ไว้ว่า หมายถึงสินค้าหรือบริการ แนวคิดหรือ แนวปฏิบัติที่นำ�เสนอให้ตลาดเป้าหมายเพื่อตอบสนองความจำ�เป็น ความต้องการ ความปรารถนาของตลาด เป้าหมายให้เกิดความพอใจจากสิ่งที่จ ับต้องได้ มีตัวตน คือ “สินค้า” (goods) และสิ่งที่จับต้องไม่ได้ ไม่มี ตัวตน คือ “บริการ” (service) แนวคิด และแนวปฏิบัติ
ธ ส
ม
1. สินค้า
ม
ธ ส
ม
ธ ส
จากความหมายตามที่กล่าวมาข้างต้น พอจะสรุปได้ว่า สินค้า คือผลิตภัณฑ์ประเภทที่สามารถจับ ต้องได้ มีตัวตน ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พิษณุ จงสถิตย์วัฒนา (2544) ได้จัดแบ่งสินค้าตามวัตถุประสงค์การ ใช้งานได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ม
14-14
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
1.1 สินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods) เป็นส ินค้าที่มุ่งตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค สุดท้าย (ultimate consumers) ซึ่งเป็นสินค้าที่พร้อมใช้ประโยชน์ได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการใดๆ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงซื้อไปเพื่อมุ่งใช้ประโยชน์ส่วนบุคคลหรือใช้ในครัวเรือน ซึ่งหากจำ�แนกออกไปอีกตาม แนวคิดในเรื่องนิสัย (habit) และการจูงใจ (motivation) ในการซื้อของผู้บริโภคสุดท้ายจะแบ่งออกเป็น 4 ประเภทด้วยกัน คือ 1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience goods) เป็นส ินค้าที่หาซื้อได้ง่าย สะดวกในการซื้อ โดยไม่ ต้องใช้ค วามพยายามในการเดินเลือกซื้อ หรือเปรียบเทียบซื้อ ตัวอย่างสินค้าประเภทนี้ เช่น ผงซักฟอก บุหรี่ ยาสีฟัน ขนม เป็นต้น ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่ขายในร้านขายของชำ� (grocery store) แทบทุกชนิด 2) สนิ ค้าเปรียบเทียบซอื้ เป็นส นิ ค้าท ลี่ กู ค้าม กั จ ะซือ้ เมือ่ ไ ด้ใ ช้เวลาในการเปรียบเทียบถงึ ข อ้ มูล และความเหมาะสมในด้านราคา คุณภาพ รูปแ บบ สีสัน ตราสินค ้า หีบห่อ บริการ และอื่นๆ ทั้งย ังเป็นส ินค้าท ี่ ต้องเสาะแสวงซื้อบ ้าง ซึ่งม วี างจำ�หน่ายในร้านค้าป ลีกต ่างๆ น้อยกว่าส ินค้าส ะดวกซื้อ โดยมากร้านค้าป ระเภท เหล่านี้อาจจะจำ�หน่ายเฉพาะตราสินค้าใดสินค้าหนึ่งเท่านั้น ลูกค้าจะต้องใช้ความพยายามในการเดินเลือก ซื้อมากขึ้น การที่ลูกค้าจ ำ�เป็นต้องใช้ความพยายามในการเลือกซื้อเช่นนี้ก็จะเป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำ�ให้ ร้านค้าอาจจะต้องเสนอบริการและเงื่อนไขอื่นๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต ่อผู้ซื้อ เพื่อให้ลูกค้าได้พิจารณาเปรียบ เทียบ และเป็นส ินค้าที่มักจะมีราคาค่อนข้างสูง ได้แก่ รถยนต์ เครื่องอำ�นวยความสะดวกในครัวเรือน เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ หรือที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและการทำ�งานในยุคปัจจุบัน เช่น โทรศัพท์มือถือ โน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์แ ท็บเล็ต (tablet) ต่างๆ เป็นต้น 3) สินค้าเจาะจงซื้อ เป็นสินค้าที่ลูกค้าต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการแสวงหา และมี ความตั้งใจซื้อ การจะใช้ส ินค้าอื่นมาทดแทนยังต ้องใช้เวลานานกว่าในการตกลงใจซื้อ หรือมีความลังเลหรือ คิดอยู่นานที่จะยอมรับส ินค้าท ดแทนนั้น ลักษณะของสินค้าจะมีลักษณะเฉพาะเจาะจง ในบางครั้งลักษณะ ของสินค้าจะแบ่งประเภทผู้บริโภค เช่น นาฬิการาคาแพง รถยนต์รุ่นพิเศษ เสื้อผ้าตราสินค้าพิเศษประเภท แบรนด์เนม และแบบพิเศษทำ�จากต่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งล ้วนแต่ม ีล ักษณะเด่นเป็นพ ิเศษ เพราะสามารถบ่ง บอกระดับผู้ใช้ รสนิยมผู้ใ ช้ ตลอดจนสถานะของผู้ใช้ และโดยเหตุผลที่ผู้ซื้อต้องใช้ความพยายามในการซื้อ เป็นพ ิเศษ ถึงแม้จ ะมีจ ำ�หน่ายเพียงร้านเดียว ลูกค้าก็จ ะดั้นด ้นไ ปซื้อใ ห้จ งได้ สินค้าเจาะจงซื้อน ี้จ ะสร้างความ มีค ณ ุ ค่าท างใจแก่ผ ใู้ ช้ส งู ก ว่าค ณ ุ ค่าใ นตวั ส นิ ค้าน ัน้ ฉะนัน้ ตราสินค า้ จ งึ ม บี ทบาทส�ำ คัญอ ย่างมากส�ำ หรับส นิ ค้า ประเภทนี้ 4) สินค้าที่ไม่พึงแสวงหา เป็นสินค้าที่ลูกค้ามิได้รู้จัก หรือมีความรู้เกี่ยวกับสินค้าประเภท นี้มาก่อน หรืออาจจะรู้จักมาบ้างแต่มิได้ให้ความสนใจที่จะต้องแสวงหาข้อมูลความรู้ ลักษณะของสินค้า ประเภทนี้มักจะเป็นสินค้าใหม่ๆ ออกสู่ตลาด หรือเป็นสินค้าใหม่ที่มีเทคโนโลยีอย่างใหม่ๆ โดยผู้ผลิตจะ เป็นผู้คิดค้นข ึ้นมาแล้วนำ�ออกสู่ตลาดโดยใช้ความพยายามในการส่งเสริมก ารตลาดสูง เช่น การทุ่มโฆษณา การทำ�ประชาสัมพันธ์เพื่อแนะนำ�ตลาด และในขณะเดียวกัน การจัดจำ�หน่ายก็จะกระจายออกไปเพื่อให้ ผู้บริโภคได้ร ู้จักผ่านตา และตระหนักว่าย ังม ีสินค้าประเภทนี้เพิ่มเข้ามาจำ�หน่ายสู่ตลาด
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-15
ธ ส
ข้อพิจารณาของสินค้าอุปโภคบริโภค คือ สินค้าแต่ละประเภทที่จำ�แนกออกตามลักษณะดังกล่าว มาแล้วข้างต้น จะจำ�แนกตามความต้องการของผู้บ ริโภค สินค้าบางอย่างอาจจะเป็นสินค้าเจาะจงซื้อสำ�หรับ ผู้บริโภคบางคน แต่อาจจะเป็นสินค้าที่เปรียบเทียบซื้อหรือสินค้าสะดวกซื้อของผู้บริโภคอีกคนหนึ่งหรือ กลุ่มห นึ่งก็ได้ เช่น นาฬิกาบางตราสินค้า บางแบบ อาจจะเป็นสินค้าเจาะจงซื้อสำ�หรับน ักธุรกิจหรือผู้บริหาร ระดับส ูง แต่อาจจะเป็นสินค้าเปรียบเทียบซื้อส ำ�หรับผู้บริโภคที่เป็นผู้มีรายได้ปานกลาง กาแฟบางตราสินค้า อาจจะเป็นสินค้าเจาะจงซ้ือสำ�หรับนักด่ืมกาแฟท่ีระบุตราสินค้า แต่สำ�หรับลูกค้าบางกลุ่มอาจจะด่ืมกาแฟ ตราสินค า้ อะไรกไ็ ด้ เช่นน ี้ กาแฟกจ็ ะเป็นส นิ ค้าเปรียบเทียบซอื้ เมือ่ ม กี ารค�ำ นึงถ งึ ค ณ ุ ภาพและราคา เป็นต้น ดังน นั้ การจัดป ระเภทของสินค้าอุปโภคบริโภค ผู้บ ริหารการตลาดจะต้องพิจารณาว่าล ูกค้าก ลุ่มใ ดที่เป็นล ูกค้าก ลุ่ม ใหญ่พ อทีจ่ ะมองสินค้าน ั้นว ่าเป็นส ินค้าป ระเภทไหน ถ้าห ากว่าล ูกค้าเป้าห มายกลุ่มใ หญ่ม องสินค้าว ่าเป็นสินค้า เจาะจงซื้อ กลยุทธ์ก ารตลาดกจ็ ะต้องเน้นท ีร่ าคา คุณภาพ และรสนิยม สาลักษณ์ (feature) (หมายถึง ลักษณะ ที่ปรากฏให้สามารถสร้างเอกลักษณ์และภาพลักษณ์ที่เด่นให้กับสินค้านั้นได้อย่างเด่นชัด ลูกค้ารู้จักและ จำ�ได้ว ่าตราสินค้านี้จ ะมีสาลักษณ์ใ นลักษณะนี้) และหีบห่อ เป็นต้น ซึ่งจะต้องสร้างความแตกต่างของสินค้า จากคู่แข่งขันให้ได้ การจัดแบ่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภคดังข้างต้น เป็นการจัดแบ่งประเภทตามหลักการพื้นฐาน ทางด้านการตลาด แต่ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศดังเช่นปัจจุบัน สินค้าอุปโภคบริโภค บางประเภทได้มีการเปลี่ยนรูปแบบไป ตัวอย่างที่เห็นชัดที่สุด ได้แก่ สินค้าประเภทเพลง ภาพยนตร์ เกม ซอฟต์แวร์ หรือแ ม้ก ระทั่งต ำ�ราเรียน หรือห นังสือพิมพ์ สินค้าเหล่าน ี้แ ต่เดิมผ ู้บ ริโภคซื้อห ามาใช้ง านในรูปข อง สื่อประเภทซีดี หรือสื่อสิ่งพิมพ์ โดยต้องไปซื้อตามร้านค้าต่างๆ แต่ปัจจุบันผู้บริโภคสามารถดาวน์โหลดมา บรโิ ภคโดยเสียค ่าใ ช้จ ่ายหรือเสียค ่าธ รรมเนียมเป็นค ่าส ินค้า ซึ่งส ินค้าใ นลักษณะนีเ้รียกว่า เป็นส ินค้าป ระเภท ดิจิทัลคอนเทนต์ (digital content) 1.2 สินค้าอุตสาหกรรม (industrial goods) หมายถึงสินค้าที่ซื้อโดยผู้ใช้เพื่อการอุตสาหกรรม (industrial users) เพื่อนำ�ไปใช้ในการผลิต การดำ�เนินการของกิจการ การขายต่อ การให้เช่า เพื่อก่อให้เกิด การค้าแ ละกำ�ไรต่อไ ป สินค้าอ ุตสาหกรรมสามารถแบ่งป ระเภทตามระยะเวลาของการใช้ใ นกระบวนการผลิต สินค้า และต้นทุนของสินค้าได้ 3 กลุ่มห ลัก คือ 1) วัสดุและอะไหล่ (material and parts) เป็นสินค้าอุตสาหกรรมที่จะต้องนำ�ไปใช้ในการผลิต เป็นผลิตภัณฑ์อ ื่นต ่อไป สินค้าป ระเภทนี้จะถูกนำ�มาขายตามสภาพเดิมที่ได้มาจากธรรมชาติ หรือสภาพที่มี การแปรสภาพแล้ว เพื่อป ระโยชน์ใ นการประหยัดค ่าใ ช้จ ่ายในการขนส่งแ ละการเคลื่อนย้าย แต่ก ารแปรสภาพ ของวัตถุดิบน ั้นยังไม่ส ำ�เร็จสมบูรณ์ตามขั้นตอนการผลิต 2) สนิ ค้าป ระเภททนุ (capital items) เป็นส นิ ค้าอ ตุ สาหกรรมทใี่ ช้ใ นบางสว่ นของสนิ ค้าส �ำ เร็จรูป แบ่งได้เป็น ถาวรวัตถุที่ต้องมีการติดตั้ง (installations) และอุปกรณ์เสริม (component parts) ถาวร วัตถุที่ต้องมีการติดต ั้ง เป็นสินค้าที่รวมส่วนประกอบของอาคาร ได้แก่ ทรัพย์สินถาวรที่มีการติดต ั้งประกอบ เช่น เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องจักรกล ซึ่งเป็นสินค้าคงทนที่มีราคาแพง และมีความสำ�คัญต่อกิจการ ที่จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการผลิต อันจะเป็นที่มาของการวิเคราะห์ลักษณะและประเภทของ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-16
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
อุตสาหกรรมว่ามีขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก สินค้าประเภทนี้ผู้ผลิตมักจะต้องติดตามให้บริการนับตั้งแต่การ คำ�นวณการติดต ั้ง บริการติดตั้ง บริการซ่อมแซม และดูแลรักษาเครื่องมือเครื่องจักรเหล่านั้น อุปกรณ์เสริม เป็นสินค้าอุตสาหกรรมที่ช่วยเสริมและเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การดำ�เนินงานของผู้ใช้เพื่อการอุตสาหกรรม เป็นไ ปอย่างสะดวก รวดเร็ว อุปกรณ์เสริมเหล่าน ีม้ ลี ักษณะเป็นถ าวรวัตถุเช่นเดียวกัน แต่ข นาดเล็กก ว่า ราคา ถูกกว่า เช่น เครือ่ งยนต์ข นาดเล็ก รถยก เครือ่ งอดั ส�ำ เนา เครือ่ งพิมพ์ด ดี ไฟฟ้า เครือ่ งใช้ส�ำ นักงาน เครือ่ งมือกล ตลอดจนยานพาหนะต่างๆ เป็นต้น 3) วัสดุสิ้นเปลือง และการบริการ (supplies and services) เป็นสินค้าอุตสาหกรรม แต่ไม่ได้ เป็นส่วนประกอบของสินค้าสำ�เร็จรูป แบ่งเป็นวัสดุสิ้นเปลือง (supplies) และบริการ (services) วัสดุสิ้น เปลือง เป็นส ินค้าอ ุตสาหกรรมประเภทหนึ่งท ีม่ กี ารซื้อเป็นป ระจำ� และซื้อเป็นจ ำ�นวนมากๆ หรือม กี ารซื้อบ ่อย ครั้ง โดยนำ�ไปใช้ใ นการดำ�เนินกิจการ วัสดุสิ้นเปลืองนี้เป็นส ินค้าประเภทใช้สิ้นเปลือง เช่น ดินสอ กระดาษ ยางลบ น้ำ�มัน น้ำ�ยาขัดพ ื้น เป็นต้น ส่วนบริการ ในกรณีส ินค้าอ ุตสาหกรรม หมายถึงบ ริการทางอุตสาหกรรม ที่ใ ห้บ ริการแก่อ งค์กร หน่วยงานธุรกิจ และกิจการต่างๆ เช่น การให้บ ริการด้านการเป็นท ี่ป รึกษา การบริการ วางแผนงาน การเอื้ออำ�นวยความสะดวก และการสนับสนุนการดำ�เนินงานต่างๆ ในรูปแบบต่างๆ กัน การ ให้บริการเช่นนี้ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเป็นพ ิเศษ การขายบริการต่างๆ เหล่านี้อาจจะเป็นการให้บริการที่ต้อง อาศัยผู้เชี่ยวชาญในระดับฝีมือ เช่น การทำ�ความสะอาดตัวตึกสูงๆ การบริการทาสีอาคาร เป็นต้น หรือ การให้บริการทางวิชาการ เช่น วิศวกรที่ปรึกษา ที่ปรึกษาทางการบริหาร เป็นต้น
ธ ส
ม
ธ ส
ม
2. บริการ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
จากหัวข้อที่ผ่านมาได้กล่าวถึงบริการอยู่บ้าง แต่เป็นการกล่าวถึงบริการในแง่ของการเป็นส่วน หนึ่งของสินค้าอุตสาหกรรม หากจะกล่าวถึงบริการในแง่ของเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทหนึ่ง ศาสตราจารย์สุธี นาทวรฑัต และคณะ (2544) ได้ให้ความหมายของบริการไว้ว่า บริการ หมายถึงกิจกรรมซึ่งส่วนใหญ่จับต้อง ไม่ไ ด้ แต่ส ามารถระบุ/แยกแยะได้ เป็นก ิจกรรมที่ม ุ่งส ร้างความพอใจให้ก ับผ ู้รับบ ริการ บริการไม่จ ำ�เป็นต ้อง ผูกต ดิ อ ยูก่ บั ก ารขายสนิ ค้าแ ละการขายบริการอืน่ การให้บ ริการอาจจะใช้ห รือไ ม่ใ ช้ส นิ ค้าเป็นอ งค์ป ระกอบกไ็ ด้ และหากมีการใช้ส ินค้าเป็นส่วนประกอบก็จะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้านั้นไปให้ผู้ประกอบการใช้ และ เพื่อไม่ใ ห้เกิดความเข้าใจสับสน ได้มีค วามพยายามที่จ ะขยายความหมายของ “บริการ” เพิ่มเติม ดังนี้ 2.1 บริการ หมายรวมถึงก ิจกรรม เช่น การรักษาพยาบาล การบันเทิง (entertainment) และบริการ ซ่อมแซมต่างๆ ทั้งนี้ ไม่ร วมยารักษาโรค และชิ้นส่วนอะไหล่ที่ใช้ประกอบการซ่อมแซม 2.2 การบริการในที่นี้ไ ม่รวมถึง การให้สินเชื่อ การจัดส่งสินค้า และบริการอื่นๆ ซึ่งเป็นการกระทำ� ร่วมกับก ารกระจายสินค้า 2.3 ผูใ้ ช้บ ริการอาจเข้าเป็นเจ้าของสินค้า หรือเป็นผ ูใ้ ช้ส ินค้าป ระกอบการใช้บ ริการ แต่ม ลี ักษณะเป็น เพียง “ชั่วคราว” มิใช่เป็นการ “ถาวร” เช่น การเช่าห้องพักในโรงแรม หรือการเช่ารถยนต์ 2.4 องค์การที่ให้บริการไม่เป็นผ ู้ผลิตส ินค้าเพื่อการขายสินค้าที่ผลิตขึ้น
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-17
ธ ส
การแบ่งประเภทของบริการเพื่อก ารค้าตามกลุ่มอุตสาหกรรม แบ่งออกได้ ดังนี้ 1) การขนส่ง รวมถึงการรับส่งคนโดยสารและสินค้า การซ่อมแซม และการให้เช่าอุปกรณ์ การขนส่ง 2) การสื่อสาร รวมถึงก ารสื่อสารทางโทรศัพท์ ทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และ การสื่อสารแบบอื่นๆ 3) การเงินและการประกันภัย รวมถึงการให้บริการทางการเงิน ประกันชีวิต และการประกัน วินาศภัย 4) การบริการที่พักอาศัย รวมถึงก ารเช่าห้องพักในโรงแรม การเช่าที่บ้าน และที่พักต่างๆ 5) การบริการส่วนบุคคล รวมถึงก ารซักรีด ซักแห้ง การเสริมสวย 6) การบริการเกีย่ วกบั ก ารพกั ผ อ่ นหย่อนใจ รวมถึงก ารท่องเที่ยว ภาพยนตร์ ตลอดจนบริการ ที่ใ ห้ความบันเทิง และการพักผ่อนต่างๆ 7) การบริการเกี่ยวกับสุขภาพ รวมถึงบริการทางการแพทย์ การรักษาพยาบาล และการ เสริมสุขภ าพทุกชนิด 8) การบริการทางการศึกษา 9) การบริการให้ค �ำ ปรึกษาแนะนำ�ทางธรุ กิจแ ละวชิ าชีพ รวมถงึ ก ารให้ค �ำ ปรึกษาทางการบริหาร การลงทุน กฎหมาย และบริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 10) การบริการเกีย่ วกบั ค รัวเรือน รวมถึงส าธารณูปโภค การซ่อมแซมบ้านเรือนและของใช้ใ น บ้าน การทำ�ความสะอาด การตกแต่งบ้าน และการจัดภูมิทัศน์ 11) การบริการที่เกี่ยวข้องการเป็นสมาชิกขององค์การ เช่น การเป็นสมาชิกของบริษัทที่ให้ บริการทางอินเทอร์เน็ต การเป็นสมาชิกของสนามกอล์ฟ เป็นต้น จากความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการตามที่ได้อธิบายมาแล้ว เมื่อนักศึกษาได้ศึกษากรณี ตัวอย่างของธุรกิจต่างๆ ต่อไปในตอนที่ 14.2 และตอนที่ 14.3 จะพบว่าในส่วนของธุรกิจจำ�หน่ายสินค้านั้น ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบีทูซีส่วนใหญ่จะขายหรือจำ�หน่ายสินค้าประเภทสินค้าอุปโภค บริโภคเป็นส่วนใหญ่ โดยส่วนมากแล้วจะเป็นการจำ�หน่ายสินค้าประเภทเจาะจงซื้อและสินค้าเปรียบเทียบ ซื้อ ในขณะที่กรณีตัวอย่างของธุรกิจการให้บริการจะเป็นบริการประเภทบริการที่พักอาศัย ได้แก่ การจอง โรงแรม การบริการเกี่ยวกับการพักผ ่อนหย่อนใจ ได้แก่ การท่องเที่ยว การบริการทางการเงิน ได้แก่ การรับ ชำ�ระค่าสินค้า การบริการให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ทางธุรกิจและวิชาชีพ ได้แก่ การรับสมัครงาน ตลอดจนบริการ ทางการศึกษา ได้แก่ การสอนงานฝีมือ ซึ่งท ั้งหมดจะไม่ใช่บริการที่เป็นส่วนหนึ่งของสินค้า โดยเฉพาะสินค้า อุตสาหกรรม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.1.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.1 เรื่องที่ 14.1.2
ม
ธ ส
14-18
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เรื่องที่ 14.1.3 ประเด็นในกรณีตัวอย่างของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบบบีทูซี
ธ ส
ม
ม
การนำ�เสนอกรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า และกรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการแต่ละตัวอย่างใน ตอนที่ 14.2 และตอนที่ 14.3 จะนำ�เสนอในประเด็นต่างๆ ได้แก่ จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ เทคโนโลยีที่ใช้หรือท ี่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ 1. จุดเริม่ ต น้ แ ละแนวทางในการด�ำ เนินธ รุ กิจ แสดงให้เห็นค วามเป็นม าทีก่ ิจการหรือผ ูป้ ระกอบการ แต่ ล ะร ายเ ข้ า ม าสู่ ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ แ บบพ าณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง จ ะมี ทั้ ง ผู้ ที่ ส นใจเ ข้ า ม าทำ �พ าณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่เริ่มธ ุรกิจเลย ทั้งค วามสนใจทีเ่กิดม าจากประสบการณ์จากความยากลำ�บากในการหาซื้อ สินค้าหรือบริการที่ตนเองต้องการ หรือประสบการณ์ส่วนตัวใดๆ ที่ผ่านมาแล้วเห็นโอกาสทางธุรกิจ หรือ อ าจมีหน้าร ้านอยู่แ ล้วแ ละทำ�พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์เพิ่มอ ีกช ่องทางหนึ่งเพื่อเพิ่มช ่องทางการสั่งซ ื้อส ินค้าห รือ บริการ หรือเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการก็เป็นไ ด้ 2. เทคโนโลยีท ใี่ ช้ห รือท เี่ กีย่ วข้อง เป็นการกล่าวถึงก ารพัฒนาระบบพาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ท ีก่ ิจการ ใช้ ซึ่งพ บว่าธ ุรกิจท เี่ป็นต ัวอย่างในการศึกษาส่วนใหญ่จ ะใช้เครื่องมือพ ัฒนาเว็บส ำ�เร็จรูปข องผใู้ ห้บ ริการตลาด กลาง (e–Marketplace) เช่น เว็บไ ซต์ต ลาดดอตคอม www.tarad.com หรือเว็บไซต์ม าร์เก็ตแ อตโฮม www. marketathome.com แต่ม บี างรายทีพ่ ัฒนาเว็บไซต์แ ละระบบประยุกต์ใ ช้ง านเอง ดังก รณีข องเว็บไซต์ บีเคเค ทีวี www.bkktv.com เว็บไซต์ไทยอีซีอ ิเล็ก www.thaieasyelec.com และเว็บไซต์บ ิวตี้อินเทรนด์ www. beautyintrend.com ซึ่งผ ู้ป ระกอบการเจ้าของเว็บไซต์ตามที่ก ล่าวมาจะเป็นผ ู้ท ี่ศ ึกษาและมีค วามรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างดีจึงสามารถพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เองได้ ผู้ประกอบการบาง รายจะมีท ีมพัฒนาระบบเองและให้ความสำ�คัญกับประสิทธิภาพ ความเสถียร และความปลอดภัยของระบบ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จด้วย ธุรกิจให้บริการตามที่นำ�มาเป็นกรณีศึกษาหลายธุรกิจได้ใช้ วิธีนี้ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์เพย์สบาย www.paysbuy.com เว็บไซต์มิสลิลลี่ www.misslily.com เว็บไซต์ โฮเทลทูไทยแลนด์ www.hotel2thailand.com และเว็บไซต์จ๊อบส์ดีบี www.jobsdb.com เนื่องจากงาน บริการเป็นก ิจกรรมที่ม ุ่งสร้างความพอใจให้กับผู้รับบ ริการหรือลูกค้าเป็นห ลัก นอกเหนือจ ากเรื่องของการพัฒนาเว็บแ ละระบบประยุกต์แ ล้ว บางกิจการยังต ้องลงทุนใ นเทคโนโลยี อื่นท ี่จ ำ�เป็นด ้วย ตัวอย่างเช่น ในส่วนของผู้ป ระกอบการจำ�หน่ายสินค้าป ระเภทดิจิทัลค อนเทนต์ก ็จ ำ�เป็นท ี่จ ะ ต้องลงทุนในเทคโนโลยีป ระเภทการจัดการลิขสิทธิ์ดิจิทัล (Digital Right Management – DRM) ซึ่งเป็น เทคโนโลยีที่ใช้โดยเจ้าของลิขสิทธิ์เพื่อควบคุมการเข้าถึงและการใช้งานข้อมูลดิจิทัล (เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์) และฮาร์ดแวร์ซ ึ่งใ ช้ส ำ�หรับจ ำ�กัดก ารใช้ง านข้อมูลด ิจิทัลเฉพาะงานใดงานหนึ่ง การจัดการลิขสิทธิ์ ดิจิทัลม ักส ับสนกับก ารป้องกันก ารคัดล อกซึ่งห มายถึง เทคโนโลยีใ นการจำ�กัดก ารใช้ง านและการเข้าถ ึงข ้อมูล บนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการลิขสิทธิ์ดิจิทัล หรือกรณีของผู้ให้บริการรับชำ�ระ ค่าสินค้า เช่น เพย์ส บาย (paysbuy) ก็จะต้องนำ�เทคโนโลยีในด้านการเข้ารหัสมาใช้
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-19
ธ ส
3. กลยุทธ์ เป็นการกล่าวถึงก ลยุทธ์ท างธุรกิจห รือก ลยุทธ์ท างการตลาดทีผ่ ูป้ ระกอบการเลือกใช้ ซึ่ง ก็มีด้วยกันห ลากหลายกลยุทธ์ ไม่ว่าจ ะเป็นการพยายามลดต้นทุนในการดำ�เนินงาน การให้บริการด้วยราคา ที่ต่ำ�กว่าคู่แข่งขัน เช่น กรณีข องเพย์สบาย การสร้างเครือพันธมิตรธุรกิจ และการจัดการคู่ค้า (partner) ให้ มีประสิทธิภาพควบคู่กับการใช้กลยุทธ์เอสอีโอ (SEO – Search Engine Optimization) เช่น กรณีของ โฮเทลทูไทยแลนด์ การสร้างภาพลักษณ์ให้ตราสินค้า (brand image) และการจัดการเรื่องห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ให้ม ีป ระสิทธิภาพ เช่น กรณีข องมิสล ิลลี่ หรือก ารใช้ก ลยุทธ์ส ร้างความแตกต่าง ในกรณีข อง ไทยอีซีอิเล็ก ด้วยการเจาะตลาดเฉพาะกลุ่มนักศึกษา อาจารย์ หรือนักวิจัยที่ต้องการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีลักษณะเฉพาะ ประกอบการใช้กลยุทธ์เอสอีโ อ หรือในกรณีของบิวตี้อินเทรนด์ที่ใ ช้ระบบไลฟ์คอนแท็กต์ (live contact) ที่ลูกค้าสามารถพูดคุยสอบถามรายละเอียดสินค้าได้กับเว็บมาสเตอร์โดยตรง เพื่อเป็น การสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าเนื่องจากกิจการไม่มีหน้าร ้านที่เป็นห น้าร้านแบบกายภาพ 4. ปัจจัยทกี่ ่อให้เกิดความสำ�เร็จ เป็นการกล่าวถึงปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจจัยภ ายในและปัจจัยภายนอก กิจการที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จต่อการดำ�เนินธุรกิจ ส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องของการให้บริการที่ดีและการสร้าง ความน่าเชื่อถือต่อลูกค้า แต่ก็ม ีหลายกิจการที่สร้างปัจจัยที่ก่อให้เกิดค วามสำ�เร็จของตนเองขึ้นมา เช่น กรณี ของบิวตี้อ ินเทรนด์ ที่ร ะบบติดตามลูกค้าใ นขณะที่เข้าม าที่เว็บเพจ โดยมีม อนิเตอร์ท ี่ค อยดูว ่าข ณะนี้ม ีค นเข้า มาเยี่ยมชมเว็บไซต์กี่คน แต่ละคนอยู่ที่หน้าเว็บเพจใด มีสินค้าใดอยู่ในตะกร้าบ้าง และหากมีข้อมูลอยู่ใน ตะกร้าแล้วยังไม่กดเช็คบิล เว็บมาสเตอร์ก็จะโต้ตอบกับผู้ซื้อว่ามีปัญหาอะไรหรือไม่ ซึ่งระบบดังกล่าวเป็น เสมือนหนึ่งเครื่องมือหนึ่งที่ทำ�ให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจในการสั่งสินค้าตามที่ได้กล่าวมาแล้วในข้อ 3 หรือ กรณีข องโฮเทลทูไ ทยแลนด์ ที่ใ ห้ค วามสำ�คัญก ับค ู่ค ้า (partner) ด้วยการใช้เอ็กซ์ท ราเน็ต (extranet) เพื่อให้ คู่ค ้าเข้าม าบริก ารห้องพักแ ละราคาได้เอง ทำ�ให้ล ดขั้นต อนการจัดการลงได้ หรือก รณีข องเว็บไซต์น ิตต ิ้งเฮาส์ www.knittinghouse.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ให้บริการในเชิงการสอน ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จอยู่ที่ ตัวผู้ส อนที่เป็นเจ้าของกิจการมีค วามเชี่ย วชาญและรู้จ ริงใ นเรื่องที่ท ำ� โดยมีก ารรับรองจากสมาคมนิตต ิ้งข อง สหรัฐอเมริกา (The Knitting Guild Association – TKGA) และใช้การจัดทำ�คลิปวิดีโอเพื่อใช้สอนลูกค้าที่ อยู่ต่างประเทศหรือล ูกค้าที่ไม่สามารถเดินทางมาเข้าร่วมการอบรมที่สถาบันต่างๆ ได้ โดยสรุปแล้ว เมื่อนักศึกษาได้ศ ึกษากรณีตัวอย่างในหน่วยที่ 14 นี้แล้ว เท่ากับนักศึกษาได้ประยุกต์ ความรู้ท ี่ไ ด้ศ ึกษามาจากหน่วยก่อนหน้าน ี้ ไม่ว ่าจ ะเป็นเรื่องแนวคิดพื้นฐ านทางธุรกิจ แนวคิดและหลักก ารทำ� ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างพื้นฐานที่รองรับธ ุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การออกแบบ การพัฒนาเว็บ การ ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e–Business marketing) การจัดการความสัมพันธ์ลูกค้า (Customer Relationship Management) โลจิสติกส์แ ละการจัดการโซ่อ ุปทาน (logistic and supply chain) ระบบการทำ�ธุรกรรม แบบน่าเชื่อถ ือ การชำ�ระเงินท างอิเล็กทรอนิกส์ (e–Payment) ความปลอดภัยธ ุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี และเครื่องมือสำ�หรับธุรกิจอ ิเล็กทรอนิกส์ เข้าด้วยกันผ่านการศึกษาจากกรณีศึกษาต่างๆ หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.1.3 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.1.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.1 เรื่องที่ 14.1.3
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-20
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ตอนที่ 14.2
ธ ส
กลุ่มธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า
ม
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 14.2 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 14.2.1 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทดิจิทัลคอนเทนต์ เรื่องที่ 14.2.2 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องที่ 14.2.3 กรณีต วั อย่างธรุ กิจจ �ำ หน่ายสนิ ค้าป ระเภทเครือ่ งส�ำ อาง น้�ำ หอม และเครือ่ งประดับ เรื่องที่ 14.2.4 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้าและของใช้สำ�หรับเด็ก เรื่องที่ 14.2.5 กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทหนังสือ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
1. กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าป ระเภทดิจิทัลค อนเทนต์ เป็นก รณีต ัวอย่างของธุรกิจท ี่ ผลิตข้อมูลหรือเนื้อหา ไม่ว ่าจะเป็นภาพยนตร์ หรือเพลงในรูปดิจิทัลไฟล์อย่างถูกลิขสิทธิ์ เพื่อให้ผู้ใ ช้บริการดาวน์โหลดตามความต้องการ 2. กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจที่ ขายสินค้าประเภทเจาะจงซื้อ มีลักษณะเป็นตลาดกลุ่มย่อย ซึ่งอำ�นวยความสะดวกให้ กลุ่มลูกค้าที่ต ้องการซื้อส ินค้าเพื่อไปใช้ในงานการศึกษาหรืองานวิจัย 3. กรณีต ัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าป ระเภทเครื่องสำ�อางและน้ำ�หอม เป็นก รณีต ัวอย่างของ ธุรกิจท ปี่ ระสบความส�ำ เร็จใ นการท�ำ พาณิชย์อ เิ ล็กทรอนิกส์ป ระเภททขี่ ายเครือ่ งส�ำ อางและ น้ำ�หอมแบรนด์เนมผ่านเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีห น้าร ้าน ในขณะที่ก รณีต ัวอย่าง ธุรกิจจำ�หน่ายเครื่องประดับ เป็นก รณีตัวอย่างที่จำ�หน่ายเครื่องประดับต่างๆ ทางเว็บไซต์ ที่ใ ช้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ การจำ�หน่ายสินค้าของทั้งสองกรณีตัวอย่างอาจถือ ได้ว่าเป็นการจำ�หน่ายสินค้าประเภทเปรียบเทียบซื้อ
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-21
ธ ส
ม
4. กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้า เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจจำ�หน่าย เสื้อผ้าสำ�หรับคนที่ม ีร ูปร ่างใหญ่ พอจะจัดไ ด้ว ่าเป็นส ินค้าป ระเภทเจาะจงซื้อไ ด้เช่นก ัน ใน ขณะที่ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายของเล่นเด็กเพื่อพ ัฒนาการของเด็ก และธุรกิจจ ำ�หน่ายของใช้ส ำ�หรับ เด็ก เป็นธุรกิจท ี่จำ�หน่ายผ่านทั้งทางเว็บไซต์และผ่านทางหน้าร้าน ธุรกิจจำ�หน่ายของเล่น เด็กที่เป็นกรณีตัวอย่างเป็นการจำ�หน่ายสินค้าเปรียบเทียบซื้อ ในขณะที่ธุรกิจจำ�หน่าย ของใช้ส ำ�หรับเด็กอาจเป็นได้ทั้งล ักษณะของสินค้าเจาะจงซื้อและสินค้าเปรียบเทียบซื้อ 5. กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทหนังสือ เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจที่เติบโต มาจากการประกอบธุรกิจสำ�นักพิมพ์มานานกว่าสามสิบปี ทำ�พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อ เป็นการประชาสัมพันธ์กิจการ และเพื่อเพิ่มช่องทางการสั่งซื้อสินค้าให้กับล ูกค้า ลักษณะ ของสินค้าเป็นได้ทั้งล ักษณะของสินค้าเจาะจงซื้อและสินค้าเปรียบเทียบซื้อ
ธ ส
ม
ม
ธ ส
วัตถุประสงค์
ธ ส
ม
เมื่อศึกษาตอนที่ 14.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. วิเคราะห์ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทดิจิทัลคอนเทนต์อ ื่นๆ ได้ 2. วิเคราะห์ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ได้ 3. วิเคราะห์ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทเครื่องสำ�อาง น้ำ�หอม และเครื่องประดับอ ื่นๆ ได้ 4. วิเคราะห์ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้าและของใช้สำ�หรับเด็กอ ื่นๆ ได้ 5. วิเคราะห์ธ ุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภทหนังสืออื่นๆ ได้
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-22
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
เรื่องที่ 14.2.1 กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภท ดิจิทัลคอนเทนต์
ธ ส
ม
1. กรณีตัวอย่างบริษัท ยูนีคโค้ด จำ�กัด
ธ ส
ธ ส
ม
บริษัท ยูน ีคโค้ด จำ�กัด เจ้าของเว็บไซต์บีเคเคทีวี www.bkktv.com เป็นผู้ผลิตข้อมูลหรือเนื้อหา ในรูปแบบของดิจิทัล และได้รับลิขสิทธิ์อย่างถูกต้องในการนำ�ดิจิทัลคอนเทนต์ (digital content) มาให้ บริการดาวน์โหลด ไม่ว่าจ ะเป็นไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วิดีโอ โดยใช้ระบบจัดเก็บเงินผ่านทางเพย์สบาย www.paysbuy.com และเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ภาพที่ 14.1 เว็บไซต์ของบริษัท ยูนีคโค้ด จำ�กัด
ที่มา: กรณีศึกษาธุรกิจ อีคอมเมิร์ซ ชั้นนำ�ของไทย หน้า 18
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-23
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ จากการที่ผู้บริโภคทั่วไปเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากขึ้น และมี พฤติกรรมในการซื้อส ินค้าท างอินเทอร์เน็ตม ากขึ้น จึงม ีแ นวคิดใ นการทำ�ธุรกิจว ่าท ำ�อย่างไรผู้บ ริโภคสามารถ ซื้อสินค้าประเภทดิจิทัลคอนเทนต์บนอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็วและราคาไม่แพง บริษัทจึงได้ทำ�การเปิด เว็บไซต์ www.bkktv.com พร้อมทั้งไ ด้รวบรวมผู้ผลิตคอนเทนต์ให้สามารถนำ�คอนเทนต์ม าจำ�หน่าย โดย สร้างความมั่นใจต่อผู้ผลิตคอนเทนต์ได้ว่าคอนเทนต์นั้นๆ จะไม่ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ และสร้างความมั่นใจใน ส่วนของลูกค้าได้ โดยลูกค้าจะได้เลือกซื้อคอนเทนต์ได้ในราคาถูกลง เพราะเมื่อเจ้าของธุรกิจคอนเทนต์ ไม่ต ้องมีค่าใช้จ่ายในส่วนของการผลิตแผ่นซีดี ค่าการตลาด ทำ�ให้สินค้ามีราคาถูกลง และยังเปิดโอกาสแก่ ผูส้ ร้างผลงานดๆี ทีม่ เี งินท นุ ไ ม่ม ากนกั สามารถรว่ มกนั น �ำ คอนเทนต์ม าจ�ำ หน่ายผา่ นบริษทั ไ ด้ ซึง่ ถ อื ว่าเป็นการ ตอบโจทย์ท ัง้ ฝ ัง่ ข องลกู ค้าแ ละของผผู้ ลิต ทัง้ นี้ บริษทั ม วี ตั ถุประสงค์ใ ห้ร า้ นคา้ อ อนไลน์ข องบริษทั เป็นศ นู ย์รวม ดิจิทัลคอนเทนต์ด้านต่างๆ ทั้งสื่อการสอน และสาระความบันเทิงต่างๆ ไว้ด้วยกัน ตลอดจนเป็นช่องทาง การจดั จ �ำ หน่ายสนิ ค้าป ระเภทดจิ ทิ ลั ค อนเทนต์โ ดยใช้ง บประมาณต่�ำ กว่าก ารผลิตใ นรปู แ บบของซดี ี การด�ำ เนิน งานได้ทำ�อย่างเป็นขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาความต้องการของตลาดในส่วนของกลุ่มลูกค้าที่ใช้อินเทอร์เน็ตถึงความต้องการ บริโภคคอนเทนต์ผ ่านช่องทางอินเทอร์เน็ต 2) ศึกษาเทคโนโลยีเพื่อก ารพัฒนาระบบการจัดการลิขสิทธิด์ ิจิทัล (Digital Right Management – DRM) 3) พัฒนาเว็บไซต์เพื่อน ำ�เสนอเนื้อหาต่างๆ ไปยังล ูกค้า ลูกค้าสามารถทีจ่ ะเลือกซื้อค อนเทนต์ ด้วยตนเองผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ของตนเองได้ตลอดเวลา ทำ�ให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการ เดินท าง 4) ระบบฐานข้อมูลส ำ�หรับบันทึกข้อมูลสินค้าที่ลูกค้าได้ทำ�การดาวน์โหลดอย่างเรียลไทม์ การพัฒนาเว็บไซต์แ ละเทคโนโลยีท ใี่ ช้ บริษทั ฯ ได้น ำ�ระบบการจดั การลิขสิทธิด์ จิ ิทัล (Digital Right Management – DRM) มาใช้ใ นการให้บ ริการเพื่อใ ห้เจ้าของผลงานสามารถมั่นใจได้ว ่าจ ะได้ร ับก ารคุ้มครอง เรื่องลิขสิทธิ์ และทุกครั้งที่ลูกค้าดาวน์โหลดคอนเทนต์ ลูกค้าจะได้คอนเทนต์ที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์แน่นอน โดยมีระบบของการเข้ารหัสในสื่อดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์วิดีโอ รวมถึงเทคโนโลยีเรื่อง ของการชำ�ระค่าบริการผ่านหลากหลายช่องทาง ตั้งแต่การชำ�ระเงินผ่านบัตรเครดิต การใช้บริการระบบชำ�ระ เงินข องประเทศไทย ได้แก่ เพย์ส บาย และระบบชำ�ระเงินข องต่างประเทศ ได้แก่ เพย์พัล รวมทั้งก ารชำ�ระเงิน ผ่านทางโทรศัพท์มือถือท ุกระบบ กลยุทธ์ นอกเหนือจ ากจ�ำ หน่ายคอนเทนต์บ นเว็บข องบริษทั แ ล้ว บริษทั ฯ ยังไ ด้จ ดั ท �ำ ระบบให้เจ้าของ เว็บไ ซต์อ ื่นๆ ที่ส นใจมาสมัครเป็นพ ันธมิตรธุรกิจ หรือค ู่ค ้า (partner) เพื่อน ำ�ลิงก์แ บนเนอร์ไ ปติดบ นเว็บไซต์ ของบริษัทฯ เพื่อเพิ่มรายได้ (affiliate) เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งพันธมิตรธุรกิจเหล่า นั้นจ ะมีร ายได้จ ากการดาวน์โหลดและการจ่ายเงินข องลูกค้า โดยที่ผ ู้นำ�ลิงก์แ บนเนอร์ม าไว้จ ะสามารถทำ�การ ตรวจสอบยอดรายได้ของตนเองที่เกิดจากการดาวน์โหลดของลูกค้าได้
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-24
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จ ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จข องธุรกิจเกิดม าจากความก้าวหน้าข อง อินเทอร์เน็ต การขยายตัวของการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนตัว ความสะดวกในการดาวน์โหลด และการชำ�ระค่า บริการ ผู้ใช้บริการหรือลูกค้าได้สินค้าหรือคอนเทนต์ที่มีราคาต่ำ�กว่าการซื้อซีดี และปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ อีกป ระการหนึ่ง ได้แก่ การมีพันธมิตรธุรกิจ
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.1 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.2.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.1
ม
ธ ส
ม
เรื่องที่ 14.2.2 กรณีตัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายสินค้าประเภท อิเล็กทรอนิกส์
ธ ส
กรณีตัวอย่าง บริษัท วีนัส ซัพพลาย จำ�กัด
ม
ธ ส
ม
บริษัท วีนัส ซัพพลาย จำ�กัด เจ้าเว็บไซต์ไ ทยอีซ ีอ ิเล็ก www.thaieasyelec.com เป็นธ ุรกิจจ ำ�หน่าย อุปกรณ์อ ิเล็กทรอนิกส์ป ระเภท ระบบสมองกลฝังต ัว (embedded system) แบบเอสเอ็ม ดี (Surface Mount Device - SMD)
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ภาพที่ 14.2 เว็บไซต์ของบริษัท วีนัส ซัพพลาย จำ�กัด
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-25
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ จุดเริ่มต้นเกิดมาจาก คุณณพงศ์ นิ่มสังข์ ซึ่งขณะนั้นยัง เป็นนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง ประสบปัญหาเรื่องการซื้อ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องไปหาซื้อที่บ้านหม้อ หรืออุปกรณ์แปลกหายากก็ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ ซึ่งต อนนั้นย ังเป็นน ักศึกษา ไม่มีบ ัตรเครดิต ทำ�ให้ข าดโอกาสใช้ง าน จึงม ีแ นวคิดร ่วมกับเพื่อนว่าค งจะง่ายขึ้น ถ้าท ำ�ให้น ักศึกษาผู้ที่ทำ�งานด้านการวิจัยและพัฒนา รวมไปถึงอาจารย์ท ั้งหลายที่มีความต้องการใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ได้ใช้อุปกรณ์อ ิเล็กทรอนิกส์แบบไม่ติดอุปสรรคเหล่านี้ เลยคิดนำ�เข้าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และขายผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยจะจำ�หน่ายผ่านทางเว็บไซต์เท่านั้น ไม่ทำ�หน้าร้าน เพราะผู้ซื้อสามารถดูรูป และคุณสมบัติสินค้าผ่านทางหน้าเว็บไซต์ได้เลย การพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บขึ้นเองโดยผู้ประกอบการ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ส ำ�คัญก็ค ือ เมื่อพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาแล้วทำ�อย่างไรเมื่อค้นหา (search) ไม่ว ่าใน ประเทศใดก็ตามต้องเจอเว็บข องบริษัทฯ ก่อน เพราะคีย์เวิร์ดในการค้นหานั้นมีค่อนข้างมาก โดยใช้หลักก าร ที่ว่าถ้าเป็นลูกค้าในประเทศจะลองนึกดูว่าขณะที่ค้นหาลูกค้าคิดอะไรอยู่ ถ้าค้นจะค้นหาคำ�ว่าอะไร แล้วนำ� คีย์เวิร์ดเหล่านั้นมาใส่ไ ว้ในเนื้อหาบนเว็บไซต์ และมีการลงโฆษณาในกูเกิ้ลแอดเวิร์ดส์ (google adwords) ในกรณีที่คีย์เวิร์ดไม่ครอบคลุม เมื่อมีการค้นหา ถ้าไม่พบที่ด้านซ้ายก็จะเห็นเว็บของบริษัทฯ อยู่ทางด้าน ขวา เรียกว่า ทำ�กลยุทธ์เอสอีโ อ (SEO – Search Engine Optimization) คู่กับแอดเวิร์ดส์ ส่วนลูกค้าใน ต่างประเทศจะใช้วิธีข องกูเกิ้ลแอดเวิร์ดส์เพียงอย่างเดียว เพราะการใช้คีย์เวิร์ดอย่างเดียวนั้นยาก ประการที่ สำ�คัญคือ การไม่ทราบความต้องการที่แน่นอนของลูกค้า ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จ การที่ส ามารถขายสินค้าไ ด้ต รงตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งบ ริษัท วีนัส ซัพพลาย จำ�กัด ไม่เน้นต้องขายสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ทุกอย่าง เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีหลาย หมวด หากขายหมดทุกหมวดจะมีความเสี่ยงสูง กิจการจึงต้องกำ�หนดจุดยืนว่าต้องการขายสินค้าหมวด ไหน แล้วเลือกหมวดที่สนใจ เพราะนอกจากจะช่วยประหยัดต้นทุนแล้ว ความเสี่ยงยังต่ำ� เป็นการขายสินค้า เฉพาะที่ตรงกับความต้องการเฉพาะของลูกค้า และต้องเป็นสินค้าที่มีความจำ�เป็นผู้ขายจะต้องมีความรู้ใน สิ่งที่ข าย สามารถให้ข ้อมูลหรือการอธิบายต่อลูกค้าได้ว่าสามารถใช้ทำ�อะไรได้บ้าง เอาไปใช้อย่างไร ต่อพ่วง กับอุปกรณ์อะไรได้บ้าง ที่สำ�คัญจะต้องสามารถให้การสนับสนุนต่อลูกค้าได้ จะทำ�ให้กิจการมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ซึ่งกิจการเลือกขายระบบสมองกลฝังต ัว (embedded system) แบบเอสเอ็มดี (Surface Mount Device – SMD) เป็นหลัก เพราะเป็นสินค้าที่ทันสมัยหาในประเทศได้ยาก ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จที่ สำ�คัญอีกประการหนึ่งค ือ เป็นเว็บไซต์ที่ส ามารถค้นหาได้เจอในครั้งแรก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.2 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.2.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.2
ม
ธ ส
14-26
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เรือ่ งที่ 14.2.3 กรณีต วั อย่างธรุ กิจจ �ำ หน่ายสนิ ค้าป ระเภทเครือ่ งส�ำ อาง น้ำ�หอม และเครื่องประดับ
ธ ส
ม
1. กรณีตัวอย่างบริษัท บิวตี้อินเทรนด์ จำ�กัด
ธ ส
ม
บริษัท บิวตี้อินเทรนด์ จำ�กัด เจ้าของเว็บไซต์บ ิวตี้อินเทรนด์ www.beautyintrend.com ประกอบ ธุรกิจจ ำ�หน่ายเครื่องสำ�อางและน้ำ�หอมแบรนด์เนมกว่า 100 แบรนด์ และเป็นเว็บไซต์ท ี่ต ิดอ ันดับ 1 ในหมวด ชอปปิ้ง บริการสุขภาพ และความงามของเว็บไซต์ทรูฮิตส์ www.truehits.net
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.3 แสดงเว็บไซต์ข องบริษัท บิวตี้อินเทรนด์ จำ�กัด
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-27
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ จุดเริ่มต้นของธุรกิจแห่งนี้เกิดมาจากนิสิตที่จบการศึกษา จากภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สองคนมีค วามสนใจ ทีจ่ ะเป็นผ ูใ้ ห้บ ริการตลาดกลาง (e–Marketplace) แต่เนื่องจากยังไ ม่มปี ระสบการณ์ม ากพอ จึงไ ด้เริ่มจ ากการ พัฒนาเว็บไซต์น ี้ข ึ้นม าเพื่อเป็นร ะบบนำ�ร่อง โดยการที่จ ับต ลาดเครื่องสำ�อางแบรนด์เนม เนื่องจากมีค วามคิด ว่าส ินค้าแ บรนด์เนมนั้น หากผู้ซ ื้อท ั่วไปเมื่อพ บเห็นส ินค้าก จ็ ะทราบข้อมูลข องผลิตภัณฑ์ไ ด้ใ นระดับห นึ่ง และ ย่อมท�ำ ให้ผ ซู้ ือ้ ต ดั สินใ จได้ง า่ ยขึน้ และการจ�ำ หน่ายสนิ ค้าแ บรนด์เนมนัน้ ก็จ ะเป็นการสร้างแบรนด์ (branding) ของเว็บไซต์ว่ามีคุณภาพและมีร ะดับด้วย การสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าจะทำ�ผ่านหน้าเว็บไซต์ด้วยตนเอง โดยสามารถชำ�ระค่าสินค้าผ่านทาง บัตรเครดิตแ บบออนไลน์ หรือใ ช้วิธีโ อนเงินผ่านตู้เอทีเอ็มของทุกธนาคาร เมื่อลูกค้าชำ�ระเงิน หรือโอนเข้าม า แล้ว ระบบงานที่เว็บไซต์ได้พัฒนาขึ้นเองจะทำ�การตรวจสอบยอดเงินโดยอัตโนมัติ และจะทำ�การตรวจสอบ ว่าเป็นยอดเงินของลูกค้าคนใด เมื่อระบบตรวจสอบทราบแล้วระบบจะส่งข้อความยืนยันการชำ�ระเงินของ ลูกค้าไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ของลูกค้า ทำ�ให้ลูกค้าไม่ต้องยุ่งยากแฟกซ์สลิป หรือโทรศัพท์แจ้งให้ทางร้าน ทราบแต่อย่างใด การพัฒนาเว็บไซต์แ ละเทคโนโลยีท ีใ่ ช้ เนื่องจากผูก้ ่อต ั้งธ ุรกิจต ้องการให้เว็บไซต์บ ิวตีอ้ ินเทรนด์เป็น ธุรกิจอ ีคอมเมิร์ซอ ย่างแท้จริง ทุกอ ย่างจึงท ำ�งานอยูใ่ นระบบอัตโนมัตทิ ั้งหมด ทั้งร ะบบการสั่งซ ื้อ การเช็คย อด เงิน การยืนยันย อดเงินก ับล ูกค้า การแจ้งก ารจัดส ่งส ินค้า และระบบส่งเสริมก ารขาย ทำ�ให้ส ามารถลดขั้นต อน ในการทำ�งาน และมีความถูกต้องแม่นยำ� รวดเร็วมาก พนักงานมีหน้าที่เพียงทำ�ตามระบบที่สั่งเท่านั้น และ เนื่องจากเป็นการทำ�งานผ่านระบบทั้งหมด จึงท ำ�ให้ส ามารถเก็บข ้อมูลไ ด้ล ะเอียด เพื่อน ำ�มาใช้ใ นการวิเคราะห์ แนวทางการบริหารได้อย่างมีป ระสิทธิภาพมากยิ่งข ึ้น กลยุทธ์ เนื่องจากไม่มีหน้าร้าน เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าของบริษัทฯ ทางเว็บไซต์ จึงสร้างระบบไลฟ์คอนแท็กต์ขึ้น เพื่อที่ผู้เข้ามาชมสินค้าสามารถพูดคุยสอบถามรายละเอียดสินค้าได้กับ เว็บมาสเตอร์โดยตรงในขณะที่เลือกซื้อส ินค้า เสมือนได้เดินเข้ามาในร้านค้าด้วยตนเอง ซึ่งระบบนี้จะช่วยใน เรื่องการติดตามลูกค้า โดยมีม อนิเตอร์ท ี่ค อยดูว ่าข ณะนี้ม ีค นเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์กี่ค น แต่ละคนอยู่ที่ห น้า เว็บเพจใด มีส ินค้าใ ดอยูใ่ นตระกร้าบ ้าง และหากมขี ้อมูลอ ยูใ่ นตระกร้าแ ล้วย ังไ ม่ก ดเช็คบ ิล เว็บม าสเตอร์ก จ็ ะ โต้ตอบกับผ ูซ้ ื้อว ่าม ปี ัญหาอะไรหรือไ ม่ ซึ่งร ะบบดังก ล่าวเป็นเสมือนหนึ่งเครื่องมือห นึ่งท ีท่ ำ�ให้ล ูกค้าเกิดค วาม มั่นใจในการสั่งสินค้า และมีผลต่อความน่าสนใจของเว็บอ ีกด้วย นอกจากนี้ เว็บไซต์บิวตี้อ ินเทรนด์ได้เข้าจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทะเบียนนี้จะขึ้นตรง กับกระทรวงพาณิชย์ ทำ�ให้เพิ่มความมั่นใจให้ก ับลูกค้าในการสั่งซื้อสินค้ามากยิ่งขึ้นด้วย ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ได้แก่ การให้บริการที่ดี และการสร้างความเชื่อมั่นต่อลูกค้า เพราะ บริษัทฯ เชื่อว่าการเข้าใจลูกค้าเป็นสิ่งที่สำ�คัญที่สุด เพราะนอกจากระบบเทคโนโลยีที่ดีและสินค้าที่ดีแล้ว ลูกค้าย ่อมต้องการบริการทีด่ ไี ม่แ พ้ก ัน การบริการทีด่ นี อกจากเป็นจ ุดข ายหนึ่งข องธุรกิจแ ล้ว ยังส ามารถเรียก ความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าที่เป็นลูกค้าประจำ� และลูกค้าที่จะเข้ามาอีกในอนาคตได้ เพราะธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-28
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เป็นธุรกิจที่เปิดกว้างสำ�หรับทุกคน จึงต้องเข้าใจลูกค้ามากกว่าการมีร้านค้า เพราะไม่มีการสื่อสารกับลูกค้า โดยตรง แต่จะสื่อสารผ่านตัวอักษรเป็นส่วนใหญ่ จึงควรแสดงรายละเอียดอย่างถูกต้องและครบถ้วนมาก ที่สุด เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันกับลูกค้า
ธ ส
2. กรณีตัวอย่างธุรกิจเครื่องประดับแฮนด์เมด
ม
ม
ร้านลามูร์จิเวลรี (La’mour Jewelry) เจ้าของเว็บไซต์ลามูร ์คริสตัล www.lamour–crystal.com ซึ่งเป็นธ ุรกิจร้อยสร้อยหรือเครื่องประดับที่อ อกแบบและทำ�เอง
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.4 เว็บไซต์ลามูร์คริสตัล
ธ ส
ม ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการทำ�ธ ุรกิจ การเข้าสู่ธุรกิจก ารทำ�สร้อยหรือเครื่องประดับแบบแฮนด์เมด เริ่มมาจากการที่เจ้าของร้านเคยได้ทำ�สร้อยขายเป็นของมือสองในเว็บไซต์ www.thaisecondhand.com ตั้งแต่สมัยเป็นน ักศึกษา ซึ่งทำ�รายได้ให้ค่อนข้างดี และพบว่าสามารถทำ�รายได้มากกว่าเงินเดือนที่ได้รับจาก การทำ�งานหลังจากจบการศึกษาด้านการออกแบบมาแล้ว เทคโนโลยีที่ใช้หรือที่เกี่ยวข้อง ใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูปของผู้ให้บริการตลาดกลาง
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-29
ธ ส
กลยุทธ์ การสร้างความแตกต่างและความหลากหลายในตัวสินค้าที่ตรงกับความต้องการของวัยรุ่น การบริการทีด่ แี ละการบริการหลังข ายทีด่ ี เช่น การให้บ ริการซ่อมแซมเครื่องประดับใ ห้ล ูกค้าเมื่อเกิดก ารชำ�รุด เสียหาย และส่งกลับคืนลูกค้าอย่างรวดเร็ว มีการแลกลิงก์กับผู้ที่อ ยู่ในธุรกิจเดียวกันแต่ต่างเว็บไซต์ ทำ�ให้ เกิดพันธมิตรธุรกิจ ปัจจัยท กี่ อ่ ใ ห้เกิดค วามส�ำ เร็จ แบบสนิ ค้าท เี่ ป็นท นี่ ยิ มของวยั ร ุน่ การได้ร บั ก ารสมั ภาษณ์ผ า่ นสือ่ ต า่ งๆ เช่น การถูกสัมภาษณ์ใ นเว็บไซต์ผู้จ ัดการออนไลน์ คอลัมน์เอสเอ็มอี (SMEs) การได้ไปออกรายการ “ร้านชำ� ยามเช้า” การให้ส ัมภาษณ์แบบออนไลน์ผ ่านเว็บม ายทีวี และการได้ล งนิตยสารบางเล่ม ประการสำ�คัญค ือ การ ได้ร ับรางวัลต ่างๆ จากเว็บไซต์ตลาดดอตคอมหลายปีติดต่อกัน ในฐานะเป็นเว็บไซต์เครื่องประดับท ี่มียอด ขายติดอ ันดับสูงสุด และเป็นเว็บยอดนิยมเรื่องชุมชน (community) ด้วย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.3 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.2.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.3
ธ ส
ธ ส
ม
เรื่องที่ 14.2.4 กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้า และของใช้สำ�หรับเด็ก
ม
1. กรณีตัวอย่างร้านบิ๊กไ ซส์
ธ ส
ม
ร้านบิ๊กไซส์ เจ้าของเว็บไซต์บิ๊กไซส์อินเทรนด์ www.bigsizeintrend.com ประกอบธุรกิจ ค้าปลีกเสื้อผ้าส ำ�หรับสตรีที่ค่อนข้างอ้วนทางอินเทอร์เน็ต มีลักษณะเป็นแคตาล็อก สินค้ามีหลายหมวดหมู่ มีรายละเอียดของสินค้านั้น ลูกค้าสามารถสั่งซ ื้อผ ่านทางหน้าจ อคอมพิวเตอร์ ทางอีเมล หรือทางโทรศัพท์
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-30
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.5 เว็บไซต์ของร้านบิ๊กไซส์
ที่มา: กรณีศึกษาธุรกิจ อีคอมเมิร์ซ ชั้นนำ�ของไทย หน้า 122
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
จุดเริ่มต ้นแ ละแนวทางในการดำ�เนินธ ุรกิจ จุดเริ่มต ้นข องธุรกิจเกิดม าจากประสบการณ์ของเจ้าของ กิจการที่เคยผอมแล้วอ้วนขึ้น ทำ�ให้หาซื้อเสื้อผ้าใส่ยากขึ้น จนสามารถหาแหล่งจำ�หน่ายเสื้อผ้าสำ�หรับ ค นอ้วนได้ จึงค ิดว ่าม ที างออกสำ�หรับต นเองและคิดว ่าน ่าจ ะมคี นอีกม ากทีป่ ระสบปัญหาเดียวกัน จึงค ิดว ่าห าก เปิดธ ุรกิจน ีแ้ ล้วน ่าจ ะเป็นการเพิ่มท างเลือกใหม่แ ละความสะดวกสบายในการหาซื้อส ินค้า ประหยัดค ่าร ถหรือ ค่าน้ำ�มันใ นการตระเวนออกไปซื้อเสื้อผ้า เพราะสามารถเลือกชมหรือเลือกซื้อส ินค้าไ ด้ต ลอด 24 ชั่วโมง เพียง แค่นั่งอ ยู่หน้าจ อคอมพิวเตอร์ก็ส ามารถสั่งซ ื้อส ินค้าได้ การพัฒนาเว็บไซต์ ใช้โปรแกรมพัฒนาเว็บไซต์สำ�เร็จรูปของตลาดกลาง กลยุทธ์ กิจการใช้ก ลยุทธ์ท เี่น้นก ารบริการทีด่ แี ละการเข้าถ ึงล ูกค้าด ้วยการสร้างความเป็นก ันเองและ ความไว้วางใจให้กับลูกค้า มีการแนะนำ�ตามประสบการณ์ที่เคยประสบมา และการพยายามสรรหาสินค้าที่มี คุณภาพ และมีการสรรหาสิ่งใ หม่ๆ เพื่อต อบสนองลูกค้าของร้านให้ได้มากที่สุด
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-31
ธ ส
ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จ การมีส ินค้าใ ห้เลือกหลากหลาย การเอาใจใส่ล ูกค้า และการที่ม ีโ อกาส ให้สัมภาษณ์สื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ และสื่อส ิ่งพิมพ์
ธ ส
2. กรณีตัวอย่างธุรกิจจ ำ�หน่ายของเล่นเด็ก
ม
คุณประกิจ วุฒิไกรบัญฑิต เจ้าของเว็บไซต์เบสต์ฟอร์คิด www.bestforkid.com จำ�หน่ายของ เล่นเด็กแรกเกิดจนถึงเด็กโต ซึ่งจะเป็นประเภทของเล่นที่เสริมสร้างพัฒนาการในการเรียนรู้ของเด็กแต่ละ ช่วงวัย
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.6 เว็บไซต์ของเบสต์ฟอร์คิด
ธ ส
ม ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการทำ�ธุรกิจ จุดเริ่มต้นของการทำ�ธุรกิจเริ่มต้นมาจากประสบการณ์ช่วง มีบุตรที่ต้องการซื้อหาเสื้อผ้าและของใช้เด็กจากห้างสรรพสินค้า ซึ่งราคาค่อนข้างสูงแม้จะเป็นช่วงลดราคา เมื่อได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพ่อแม่ที่มีลูกเล็กเช่นเดียวกัน ทำ�ให้ทราบว่าควรใช้สินค้าชนิด ไหนดี สินค้าชนิดไหนเหมาะสมกับราคา เมื่อได้ข้อมูลมากพอจึงได้เกิดแนวคิดท ี่จะเปิดร้านจำ�หน่ายของใช้ และของเล่นเด็กขึ้นมาภายใต้สโลแกน “ราคาถูก และคุณภาพดี” โดยสินค้าที่จำ�หน่ายเป็นสินค้าเดียวกัน กับห้างสรรพสินค้าทั่วไป แต่สามารถขายได้ใ นราคาที่ถ ูกกว่าเพราะมีต ้นทุนในการจัดการต่ำ�กว่า และมีส ินค้า บางตวั ท เี่ ป็นส นิ ค้าน �ำ เข้าบ า้ ง การเริม่ ต น้ ธ รุ กิจไ ด้เริม่ จ ากการมหี น้าร า้ นจริงค วบคูไ่ ปกบั ก ารท�ำ เว็บไซต์ เพือ่ เป็น การเพิ่มช ่องทางให้ล ูกค้าได้เข้าชมสินค้ามากขึ้น
ม
ธ ส
14-32
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์ ใช้เว็บไซต์สำ�เร็จรูปของมาร์เก็ตแอตโฮม www.marketathome.com ซึ่งมี ระบบรับคำ�สั่งซื้อสินค้ารองรับ กลยุทธ์ กลยุทธ์ท ีใ่ ช้ คือ การจัดหาแหล่งซ ัพพลาย (supply) หรือจ ัดส ่งส ินค้าท ีร่ าคาถูก โดยคุณภาพ อยูใ่ นระดับเดียวกับส ินค้าส ินค้าท ขี่ ายอยูใ่ นห้างสรรพสินค้าท ั่วไป ดังน ั้น เรื่องของราคาและคุณภาพจึงไ ปด้วย กัน ในขณะเดียวกัน ได้ท ำ�การลงโฆษณาตามสื่อออนไลน์ของเว็บไซต์ต ่างๆ ทำ�โบรชัวร์แจกตามสถานที่ต ่างๆ และลงโฆษณาในวารสารต่างๆ ที่ต รงกับกลุ่มเป้าหมายของกิจการ ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จ การที่ส ามารถหาแหล่งจ ัดส ่งส ินค้าใ นราคาถูกไ ด้ ทำ�ให้ม ีต ้นทุนใ นการ ดำ�เนินงานต่ำ� การมีบริการที่ดี และการที่สามารถให้คำ�แนะนำ�ปรึกษาต่อลูกค้าได้
ธ ส
ม
3. กรณีตัวอย่าง ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด พุงกลม
ธ ส
ม
ม
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด พุงกลม เจ้าของเว็บไซต์บีพีเอฟรีเบบี้ชอป www.bpafreebabyshop.com ประกอบธุรกิจจำ�หน่ายของใช้สำ�หรับแม่แ ละเด็กที่เน้นความปลอดภัย และเป็นเว็บไซต์ท ี่ติดอันดับ 1–5 ของ เว็บไซต์กูเกิ้ล (google) เมื่อค้นหาด้วยคำ�ว่า “ของใช้เด็ก” และมีจำ�นวนผู้เข้าชมอย่างน้อย 800 คนต่อวัน
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ภาพที่ 14.7 เว็บไซต์บีพีเอฟรีเบบี้ชอป
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-33
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ ความเป็นมา เริ่มต้นจากการที่ผู้ก่อตั้ง เลือกซื้อของใช้ ของเล่น ให้หลานตั้งแต่แรกเกิด โดยซื้อจากร้านค้าในอินเทอร์เน็ต จึงเกิดความคิดอยากทำ�ธุรกิจเป็น ร ายได้เสริม เนือ่ งจากขณะนัน้ ย งั ท �ำ งานประจำ�ทบี่ ริษทั ค า้ ป ลีกแ ห่งห นึง่ ในแผนกซพั พลายเชน (supply chain) ซึ่งมีความถนัดในด้านการสั่งซ ื้อ ควบคุมดูแลสินค้าคงเหลือ รวมถึงความสามารถในการติดต่อประสานงาน เมื่อตัดสินใจทำ�เริ่มธุรกิจจึงได้ทำ�แบบสอบถามแจกให้กับเพื่อนพนักงานที่มีลูกว่า “คุณต้องการอะไรมาก ที่สุด หากเลือกซื้อสินค้าให้ลูกทางอินเทอร์เน็ต” คำ�ตอบที่ได้รับอันดับแรกคือ “ความปลอดภัย” รองลงมา เป็นเรื่องราคา และความน่าเชื่อถ ือ จึงต ั้งแ นวคิดข องเว็บไซต์ว ่าต ้องเป็นส ินค้าที่ม ีค วามปลอดภัยเท่านั้น หลัง จากได้ห าข้อมูลส ินค้าต่างๆ พบว่าร ะยะไม่น านที่ผ่านมา พ่อแ ม่ท ั่วโ ลกต้องตกใจกับส ารบีพ ีเอ (Bisphenol A – BPA) ที่อ ยู่ใ นขวดนมว่าเป็นส ารก่อม ะเร็ง ทำ�ให้เด็กเป็นห มัน และมีอ าการของโรคสมาธิส ั้น (hyperactive) จึงน ำ�ชื่อบ ีพ ีเอฟรี (BPA free) มาตั้งเป็นช ื่อเว็บไซต์ข องร้านเพื่อส ื่อว ่าเป็นร ้านค้าอ อนไลน์ท ี่ใ ห้ค วามสำ�คัญก ับ ความปลอดภัยของเด็กและคุณแ ม่ มีสินค้า เช่น ขวดนม ของใช้เด็กที่ปลอดสารบีพีเอ สินค้าที่เป็นออร์แกนิก ดีต่อสุขภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น สินค้าส่วนใหญ่สั่งจากต่างประเทศ นำ�เข้ามาเอง และยัง ไม่มีจำ�หน่ายในเมืองไทย จึงเกิดเว็บไซต์นี้ขึ้น และเริ่มเผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553 จับกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบน และได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี หลังจากเปิดได้ 2 เดือน จึง ตัดสินใจลาออกจากงานประจำ�เพื่อท ุ่มเทกับธุรกิจอ ย่างเต็มที่ การสั่งซ ื้อส ินค้าข องลูกค้าจ ะทำ�ผ่านหน้าเว็บไซต์ด ้วยตนเองโดยสามารถชำ�ระค่าส ินค้าผ ่านทางบัตร เครดิตแบบออนไลน์ หรือใ ช้วิธีโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็มของทุกธ นาคาร เมื่อลูกค้าชำ�ระเงิน หรือโอนเข้ามาแล้ว สามารถแจ้งทางข้อความสั้น หรือเอสเอ็มเอส (SMS) หรืออีเมล โดยทางร้านจะเช็คยอดเงินผ่านธนาคาร ออนไลน์ และจัดส่งสินค้าให้ในวันรุ่งขึ้นทางไปรษณีย์ ซึ่งทางร้านจัดส่งโดยลงทะเบียน หรือไปรษณีย์ด่วน หรืออีเอ็มเอส (EMS) และจะแจ้งร หัสสำ�หรับติดตาม (tracking code) ให้ลูกค้าทราบบนหน้าเว็บไซต์ ลูกค้า สามารถตรวจสอบสถานะการจัดส่งในเว็บไซต์ข องบริษัทไ ปรษณีย์ไทยได้ด้วยตัวเอง การพัฒนาเว็บไซต์ ธุรกิจพ าณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ท ีไ่ ม่มหี น้าร ้าน ให้อ ิสระแก่ผ ูป้ ระกอบการ เนื่องจาก ไม่มีข้อจำ�กัดในเรื่องเวลาและสถานที่ในการทำ�งาน อุปกรณ์ที่ใช้มีเพียงคอมพิวเตอร์พร้อมอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือที่สามารถรับส่งอีเมลได้ หากไม่ได้นั่งอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ก็สามารถรู้ความเคลื่อนไหวของ ธุรกิจได้ตลอดเวลา และยังส ามารถตอบอีเมลลูกค้าได้ทันที เนื่องจากเจ้าของธุรกิจไ ม่มคี วามรูใ้ นเรื่องการทำ�เว็บไซต์ จึงเลือกใช้เว็บไซต์ส ำ�เร็จรูป ซึ่งม กี ารบริการ และระบบที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระบบหลังร้าน (back office) ที่ช่วยอำ�นวยความสะดวกให้กับเจ้าของ ธุรกิจ ลักษณะการทำ�งานของระบบจะเริ่มจากเมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อสินค้า ระบบจะส่งอีเมลรายละเอียดการ สั่งซื้อ ซึ่งรวมถึงที่อยู่ใ นการจัดส่งข้อมูลใ นการติดต่อลูกค้าไปยังลูกค้า และเจ้าของร้านในเวลาเดียวกัน เมื่อไ ด้รับอ ีเมลการสั่งซื้อผ่านโทรศัพท์ม ือถือ ทางกิจการจะทำ�การยืนยันว่าสินค้าพร้อมส่ง เพื่อให้ ลูกค้าโอนเงิน นอกจากนี้ เว็บไซต์สำ�เร็จรูปยังมีการใช้งานที่ง่ายไม่ซับซ้อน และสามารถปรับเปลี่ยนข้อมูล หรือเพิ่มสินค้าได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดาย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-34
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
นอกจากนี้ ทางกิจการยังใ ช้เครือข่ายทางสังคมออนไลน์ หรือโซเชียลเน็ตเวิร์ก (social network) เป็นสื่อกลางในการสื่อสารแจ้งข้อมูลความเคลื่อนไหวต่างๆ ของร้านผ่านทางแฟนเพจ (fan page) ของ เฟซบุ๊ก (facebook) ซึ่งข ณะนี้ม ีแฟนเกือบ 1,000 ราย เป็นการสร้างความต่อเนื่องทำ�ให้มีลูกค้าประจำ�ที่คอย ติดตามสินค้าใหม่ และเป็นสังคมออนไลน์ที่ลูกค้าสามารถพูดคุยและแบ่งปันประสบการณ์ การดูแลลูกให้ กันและกันได้อ ีกด้วย กลยุทธ์ สินค้าของเว็บไซต์เป็นสนิ ค้าระดบั พรีเมีย่ ม ดังนน้ั การบริการ ความนา่ เชือ่ ถอื และภาพลักษณ์ ก็เป็นระดับพรีเมี่ยมด้วยเช่นกัน ทางกิจการจึงมีสโลแกนของเว็บไซต์ว่า safety–credible–premium service ภาพลักษณ์ของเว็บไซต์เน้นการออกแบบที่สวย สะอาดตา มีรูปภาพสินค้าที่ชัดเจน ข้อมูลสินค้าที่ กระชับ แต่ลูกค้าสามารถเข้าใจถึงค ุณสมบัติส ินค้าได้ครบถ้วน เนื่องจากการซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ ลูกค้า ไม่เห็นส ินค้าต ัวจ ริง และสินค้าส ่วนใหญ่ย ังไ ม่เป็นท ีร่ ู้จักใ นประเทศไทย ซึ่งเจ้าของกิจการมคี วามเห็นว ่าการให้ ข้อมูลส นิ ค้าอ ย่างละเอียดกบั ผ ซู้ ือ้ เป็นเรือ่ งส�ำ คัญ นอกจากการเน้นเรือ่ งความปลอดภัยใ นการสัง่ ซ ือ้ ส นิ ค้าแ ล้ว ผู้ประกอบการยังเน้นเรื่องการให้ความรู้และประโยชน์ของสินค้าที่ผู้ซื้อจะได้รับอย่างละเอียดอีกด้วย ดังนั้น ในหน้าร ายละเอียดสินค้าแ ต่ละชิ้น ผู้ซื้อจะได้อ่านวิธีการใช้งานและประโยชน์ข องสินค้าอ ย่างครบถ้วน เพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการสั่งซ ื้อ หรือส ามารถโทรสอบถามรายละเอียดจากทางร้านได้ นอกจากนี้ ทางร้านยังเน้นเรื่องการบริการที่รวดเร็ว ทั้งในการตอบคำ�ถาม การยืนยันคำ�สั่งซื้อ และ การติดต่อส ื่อสารทุกขั้นตอน เพื่อใ ห้ลูกค้ามั่นใจว่ามีตัวตนจริงๆ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ได้แก่ ความแตกต่างจากเว็บไซต์ของใช้เด็กทั่วไปที่เน้นเรื่องการให้ ความรู้ และประโยชน์อย่างละเอียด การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องด้วยสื่อต่างๆ รวมถึงการให้บริการที่ดี และรวดเร็ว เพื่อความเชื่อมั่นใ ห้กับล ูกค้าที่เป็นลูกค้าประจำ� และส่งผลถึงการแนะนำ�ต่อของลูกค้า อีกทั้งยัง ได้รับความสนใจจากสื่อต ่างๆ โดยการขอสัมภาษณ์เพื่อเผยแพร่ทั้งทางหนังสือ และเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเกี่ยว กับแม่และเด็ก
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.4 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.2.4 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.4
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-35
ธ ส
เรื่องที่ 14.2.5 กรณีตัวอย่างธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าประเภทหนังสือ
ธ ส
กรณีตัวอย่างสำ�นักพ ิมพ์เคล็ดไทย
ม
ม
สำ�นักพ ิมพ์เคล็ดไ ทย เจ้าของเว็บไซต์เคล็ดไ ทยช้อปปิ้ง www.kledthaishopping.com เป็นบ ริษัท ที่เปิดก ิจการมานานกว่า 30 ปี เป็นสำ�นักพ ิมพ์ท ี่ผลิตผลงานที่ให้สาระประโยชน์มากมาย
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.8 เว็บไซต์ของสำ�นักพิมพ์เคล็ดไทย
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ ประวัติความเป็นมาของบริษัทมีที่มาจากในปี พ.ศ. 2514 สำ�นักพิมพ์เคล็ด (Klett) มีค วามสนใจจะมาเปิดกิจการในเมืองไทย โดยที่ เคล็ตต์ แวร์ล๊าก (Klett Verlag) เป็นสำ�นักพิมพ์ตำ�ราเรียนใหญ่ของประเทศเยอรมนี ในเมืองสตุตการ์ต ซึ่งขณะนั้นฟื้นตัวในทางเศรษฐกิจ บริษัทห้างร้านทั้งหลายจึงพากันต้องการขยายตัวออกสู่โลกที่สามเป็นการเอาอย่างสหรัฐอเมริกาในระบอบ ทุนนิยม ในการเริ่มกิจการในประเทศไทยสำ�นักพิมพ์เคล็ดไทยได้เริ่มทำ�งานอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2515 ได้ตั้งความหวังจะสถาปนาการผลิตหนังสือภาษาไทยอย่างดี ช่วงต้นปี พ.ศ. 2516 สำ�นักพ ิมพ์ฯ ได้จ ัดพ ิมพ์ต ำ�ราด้านอุดมศึกษา โดยให้ม หาชนอ่านได้เช่นเดียวกับ Home University Library
ม
ธ ส
14-36
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
และ Teach Yourself Series ของอังกฤษ เมื่อวางฐานมั่นแล้วจึงค่อยคิดแปลตำ�ราเยอรมันของบริษัท เคล็ดไทย ออกเผยแพร่ต ่อไ ป ต่อม าได้ไ ปเช่าห ้องชั้น 5 ตึกศ ิวด ล ถนนคอนแวนต์ เป็นท ี่ทำ�การ เปิดเป็นก ิจการ สำ�นักพิมพ์ใ ห้ช ือ่ ว า่ ส �ำ นักพ มิ พ์เคล็ดไ ทย “Klett Thai” โดยตัง้ เป้าว า่ ใ นอนาคตจะเอาหนังสือภ าษาเยอรมันจาก สำ�นักพิมพ์ที่ประเทศเยอรมนีมาถ่ายทอดเป็นภาษาไทย สำ�หรับชื่อสำ�นักพิมพ์ในภาษาไทยในความหมาย หนึ่งแปลได้ว ่า เป็นเคล็ดหรืออุบายอย่างไทยๆ ให้ประสบผลสำ�เร็จ และได้ร่วมหุ้นกับบริษัทต่างๆ ในแวดวง เดียวกันก่อตั้งบริษัท สยามปริทัศน์ จำ�กัด เพื่อจ ัดการด้านสายส่งโดยเปิดเป็นสำ�นักงานสารสยามขึ้น ที่ท่าพระจันทร์ ใกล้กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นการขยายงานของสำ�นักพิมพ์เคล็ดไทยและสำ�นักพิมพ์ เล็กๆ อื่นๆ ที่มีคุณภาพ ซึ่งเริ่มม ีจำ�นวนมากขึ้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา สำ�นักพ ิมพ์เคล็ดไ ทยเริ่มต ้นท ำ�การเมื่อว ันท ี่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2516 โดยเห็นค วรว่าเริ่มท ำ�หนังสือช ุด มหาวิทยาลัยชาวบ้าน คือให้นิสิตได้ใ ช้เรียนด้วย และให้ชาวบ้านที่อยากได้รับการศึกษาซื้อหามาอ่านได้ด้วย เริ่มด้วยหนังสือปรัชญาการศึกษาเป็นเล่มแรก จากระบบการทำ�งานแบบเดิมท ี่ก ิจการมีหน้าร ้านอยูจ่ ริงอ ยูแ่ ล้ว เมื่อม ีก ารพัฒนาของเทคโนโลยีด ้าน อินเทอร์เน็ต ทำ�ให้สำ�นักพิมพ์เคล็ดไทยปรับตัวที่จะเข้ามาทำ�ธุรกิจบนโลกออนไลน์ด้วย ในโมเดลของคลิก แอนด์ม อทาร์ (Click & Motar) เพื่อเพิ่มฐ านลูกค้าใหม่ การพัฒนาเว็บไซต์ ทำ�การพัฒนาโดยใช้เว็บไซต์ส ำ�เร็จรูปข องตลาดคว ิกเว็บ www.TARADquickweb.com กลยุทธ์ เป็นการทำ�การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะการขยายฐานลูกค้าจากการที่มีหน้าร้าน อยู่แล้ว การมีหน้าเว็บไซต์ข ึ้นม านี้ส ำ�นักพิมพ์ฯ จึงได้ใช้เป็นช ่องทางการสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง ไม่ว่าจะเป็น ข่าวสาร ข้อมูล บทความ บทสัมภาษณ์ ซึ่งล ูกค้าจะได้รับข ้อมูลตรง และสำ�นักพิมพ์ยังจะได้รับข้อเสนอแนะ หรือข้อคิดเห็นจ ากลูกค้าได้โดยตรงอีกด ้วย ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ การเข้าถึงข้อมูลได้ของลูกค้า ความพร้อมทางด้านเนื้อหาที่ต้อง ทันส มัย ความสวยงามของเว็บ เนื้อหาดี ระบบสื่อสารข้อมูลที่ดี
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.2.5 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.2.5 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.2 เรื่องที่ 14.2.5
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ตอนที่ 14.3
ธ ส
กลุ่มธุรกิจให้บ ริการ
ม
14-37
ธ ส
ม
โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนที่ 14.3 แล้วจ ึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง
ม
หัวเรื่อง
แนวคิด
ธ ส
เรื่องที่ 14.3.1 กรณีตัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการชำ�ระเงินออนไลน์และธุรกิจจัดหางาน เรื่องที่ 14.3.2 กรณีตัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการส่งดอกไม้ เรื่องที่ 14.3.3 กรณีตัวอย่างธุรกิจรับจ องที่พักและบริการท่องเที่ยว เรื่องที่ 14.3.4 กรณีตัวอย่างธุรกิจใ ห้บริการสอนงานฝีมือ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
1. กรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการชำ�ระเงินออนไลน์ เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจที่ให้บริการ ระบบชำ�ระเงินออนไลน์ในรูปกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศไทย ในขณะ ที่กรณีตัวอย่างของธุรกิจจัดหางานเป็นตัวอย่างของเว็บไซต์จัดหางานที่ใหญ่เป็นอันดับ หนึ่งข องภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ดำ�เนินธุรกิจใน 2 รูปแบบ คือ ให้บริการพื้นที่โฆษณารับ สมัครงานออนไลน์ใ ห้แก่ล ูกค้าองค์การ และการให้บริการรับฝากประวัติส ่วนตัวและแจ้ง ข่าวตำ�แหน่งงานไปยังกลุ่มค นหางานโดยไม่มีค่าใช้จ่าย 2. กรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการส่งดอกไม้ เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจผู้นำ�ตลาดในการให้ บริการสั่งดอกไม้ท างอินเทอร์เน็ต และบริการส่งดอกไม้ทั่วประเทศไทย โดยเป็นบริษัทที่ ถือว่าเป็นหนึ่งใ นบริษัทจ ัดส่งดอกไม้สดที่เติบโตเร็วที่สุดในเอเชีย 3. กรณีตัวอย่างธุรกิจรับจองที่พัก เป็นกรณีตัวอย่างด้านการให้บริการจองโรงแรมทาง อินเทอร์เน็ตแก่นักท่องเที่ยว และการจองแพ็กเก็จการท่องเที่ยวครบวงจร เป็นตัวอย่าง ของธุรกิจท ี่บ ริหารความสัมพันธ์อ ันด ีก ับค ู่ค ้าใ นการให้บ ริการ ในขณะที่ก รณีต ัวอย่างของ ธุรกิจให้บริการท่องเที่ยว เป็นกรณีตัวอย่างของธุรกิจที่รับจัดกิจกรรมสันทนาการต่างๆ ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการจัดทำ�รายการสารคดีทางวิทยุโทรทัศน์มาก่อน เมื่อเข้าสู่ธุรกิจให้ บริการด้านการท่องเที่ยวจึงได้จัดทำ�เว็บไซต์เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการลูกค้า
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-38
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
4. กรณีต ัวอย่างธุรกิจใ ห้บ ริการสอนงานฝีมือ เป็นก รณีต ัวอย่างของธุรกิจท ี่ใ ห้บ ริการด้านรับ สอนงานฝีมือท ั้งในแบบกลุ่ม และสำ�หรับอ งค์กร หรือออแกไนเซอร์ต่างๆ เป็นธุรกิจที่ใช้ ประโยชน์จากพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในการเพิ่มช่องทางในการโฆษณาประชาสัมพันธ์กับ ลูกค้า โดยมีจุดเด่นท ี่สำ�คัญอีกประการหนึ่งคือ การใช้แนวคิดก ารเรียนด้วยตนเองแบบ ทางไกลมาประยุกต์กับการสอนงานฝีมือผ่านทางเว็บไซต์ ทำ�ให้สามารถเข้าถึงลูกค้าที่อยู่ ต่างจังหวัดห รือต่างประเทศได้
วัตถุประสงค์
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
เมื่อศึกษาตอนที่ 14.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. วิเคราะห์ธ ุรกิจใ ห้บ ริการชำ�ระเงินออนไลน์และธุรกิจจัดหางานอื่นๆ ได้ 2. วิเคราะห์ธ ุรกิจใ ห้บ ริการส่งดอกไม้อื่นๆ ได้ 3. วิเคราะห์ธ ุรกิจร ับจองที่พักแ ละบริการท่องเที่ยวอื่นๆ ได้ 4. วิเคราะห์ธ ุรกิจใ ห้บริการสอนงานฝีมืออื่นๆ ได้
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-39
ธ ส
เรื่องที่ 14.3.1 กรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการชำ�ระเงินออนไลน์ และธุรกิจจัดหางาน
ธ ส
ม
1. กรณีตัวอย่างบริษัท เพย์สบาย จำ�กัด
ธ ส
ม
บริษัท เพย์สบาย จำ�กัด (PaySbuy) เจ้าของเว็บไ ซต์เพย์สบาย www.paysbuy.com เป็นบริษัท ให้บริการระบบชำ�ระเงินออนไลน์ในรูปแบบกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ อำ�นวยความสะดวกให้ผู้ใช้บริการ สามารถส่งเงินไปยังผู้รับปลายทาง โดยเป็นการส่งเงินชำ�ระค่าสินค้าและบริการให้บุคคลใดก็ได้ที่มีที่อยู่ อีเมล และมีบัญชีธนาคารในประเทศไทย เพย์สบายถือว่าเป็นผ ู้ให้บริการกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์รายแรก ของประเทศไทย ซึ่งมีผู้ใช้บริการจำ�นวนมากโดยมีสมาชิกกว่า 90,000 ราย เป็นร้านค้าออนไลน์ประมาณ 1,500 ร้าน
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ภาพที่ 14.9 เว็บไซต์ของบริษัท เพย์สบาย จำ�กัด
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
14-40
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ เริ่มต้นจาก คุณสุโชติ ชีวะโกเศรษฐ ประธานเจ้าห น้าที่ บริหารเป็นผู้ก่อตั้ง เนื่องจากเห็นว่าในต่างประเทศมีตัวอย่างที่ชัดเจนของอีเบย์ (eBay) และเพย์พัล (Paypal) ซึ่งหากในประเทศไทยมีระบบรับชำ�ระเงินออนไลน์เกิดขึ้นก็จะเป็นส่วนช่วยให้การทำ�ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ในประเทศไทยเติบโตด้วย อย่างไรก็ตาม การทำ�ธุรกิจระบบการชำ�ระเงินนั้น ไม่ใช่ว่าบุคคลใดคิดอยากจะ ทำ�ก็ทำ�ได้เลย จำ�เป็นต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อน ซึ่งภายหลังจากเปิดให้บริการทาง เพย์ส บายได้ดำ�เนินก ารขอใบอนุญาตกับธนาคารแห่งป ระเทศไทย และได้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกส์ใ นเวลาต่อมา ยิ่งท ำ�ให้กิจการมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น หลังจากกลางปี พ.ศ. 2548 ก็เริ่มประชาสัมพันธ์กับเจ้าของเว็บไซต์ และผู้ซื้อสินค้าตามงาน สัมมนาเกี่ยวกับอีคอมเมิร์ซต่างๆ และได้มามีส่วนร่วมกับสมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แห่ง ประเทศไทย เพื่อผ ลักดันให้ธุรกิจอ ีคอมเมิร์ซในประเทศไทยเติบโตขึ้น การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท เพย์ส บาย จำ�กัด มีขั้นตอนดำ�เนิน ดังนี้ 1) ศึกษาการทำ�งานของระบบอีเพย์เมนต์ (e–payment) ต่างๆ ทั่วโลก 2) ศึกษาธุรกิจอีเพย์เมนต์ และการรับการชำ�ระเงินของธนาคารต่างๆ ในประเทศและต่าง ประเทศ 3) สอบถามธนาคารแห่งป ระเทศไทยเกี่ยวกับกฎหมายการทำ�ธุรกิจประเภทนี้ 4) สร้างเว็บไซต์และระบบหลังร้าน (back office) 5) ทำ�การเชื่อมต่อกับระบบของธนาคาร และระบบรับชำ�ระบัตรเครดิตออนไลน์ (payment gateway) 6) เริ่มต ้นให้บริการ 7) ประชาสัมพันธ์ และรับสมาชิกที่เป็นร ้านค้าออนไลน์ 8) ประชาสัมพันธ์ว ิธีก ารใช้งานแก่ลูกค้า 9) มองหาร้านเพื่อเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ เทคโนโลยีที่ใช้หรือที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นธุรกิจเกี่ยวกับเงินตรา กิจการจึงต้องให้ความสำ�คัญ เกี่ยวกับความปลอดภัยเป็นอย่างมาก ระบบที่ใช้จึงต้องทันสมัยและต้องใช้เทคโนโลยีที่สามารถใช้ร่วมกับ ธุรกิจประภทนี้ได้ ได้แก่ ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การใช้เอสเอสแอล (SSL– Secure Sockest Layer) และทำ�การเข้ารหัสด้วยกุญแจที่ม ีความยาว 128 บิต (an encryption key length of 128 bits) ซึ่งถ ือว่าเป็นเทคโนโลยีที่ด ีท ี่สุดเชิงพ าณิชย์ใ นปัจจุบัน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ถ ูกใ ช้โ ดยธนาคารพาณิชย์ช ั้นน ำ�ใน ปัจจุบัน และระบบการชำ�ระบัตรเครดิต (online payment gateway) กลยุทธ์ กิจการของเพย์สบายเน้นการให้บริการที่ดี กำ�หนดราคาที่เหมาะสม ไม่ได้มีการเก็บค่า สมัครสมาชิกรายเดือนหรือรายปี หรือค่าสมัครแรกเข้า ซึ่งถือว่าแตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่นๆ ที่ทำ� ด้านนี้ เนื่องจากเพย์สบายเห็นว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่ที่มาใช้บริการเพย์ส บายไม่ได้ดำ�เนินการเป็นธุรกิจ หลัก มักมีเงินทุนไม่มากนัก และมักเป็นผู้ป ระกอบการขนาดเล็กถึงข นาดกลาง ซึ่งการที่สามารถสร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้ซื้อขายในการรับส่งเงินได้นี้ ทำ�ให้ผู้ใช้บริการได้มีการบอกต่อๆ กันไป ซึ่งเป็นการใช้กลยุทธ์ แบบปากต่อปาก (viral marketing) นั่นเอง
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-41
ธ ส
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จสำ�หรับกิจการเพย์สบายก็คือ การมี พันธมิตรธุรกิจ เช่น ระบบชำ�ระเงินก็ต ้องเป็นส่วนประกอบหนึ่งของร้านค้าอ อนไลน์ หรือเว็บไซต์ที่มีการซื้อ ขายออนไลน์ หากขาดการทำ�ธุรกรรมแบบออนไลน์ค รบวงจรแล้วน ั้น ก็จ ะไม่ถ ือว่าเป็นธ ุรกิจอ ีคอมเมิร์ซอย่าง แท้จริง ดังนั้น ผู้ประกอบการก็จะขาดไม่ได้ในการให้ความร่วมมือและเป็นพันธมิตรที่ดีทางการค้า
ธ ส
ม
2. กรณีศึกษาบริษัทจ ัดหางาน จ๊อบส์ดีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด
ธ ส
ม
บริษัท จ๊อบส์ดีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด หรือภายใต้เว็บไซต์ชื่อ www.jobsdb.com เป็นเว็บไซต์ สมัครงานที่ใหญ่เป็นอ ันดับห นึ่งข องภูมิภาคเอเชียแ ปซิฟิก ดำ�เนินร ูปแ บบธุรกิจใ น 2 ส่วน คือ ให้บ ริการพื้นที่ โฆษณารับสมัครงานออนไลน์ให้แก่ลูกค้าองค์กร และให้บริการรับฝากประวัติย่อ (resume) และแจ้งข่าว ตำ�แหน่งงานไปยังกลุ่มค นหางานโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.10 เว็บไซต์ข องบริษัท จ๊อบส์ดีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
14-42
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ การที่เทคโนโลยีไ ด้เข้าม ามีบทบาทต่อการชีวิตแ ละการ ทำ�งานมากขึ้น ธุรกิจจึงส นใจที่จะให้บริการรับสมัครงานผ่านสื่อออนไลน์ และต้องการสร้างเครือข่ายการรับ สมัครงานจากทัว่ โ ลก จ๊อ บส์ด บี จี งึ ต อ้ งการเป็นส ือ่ ก ลางและเป็นผ ูน้ �ำ เทคโนโลยีด า้ นการรบั ส มัครงานผา่ นระบบ ออนไลน์โ ดยใช้เครือข ่ายพันธมิตรที่มีอยู่ใ นประเทศต่างๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย และสหรัฐอเมริกา การพฒ ั นาเว็บไซต์แ ละระบบงานทเี่ กีย่ วข้อง เทคโนโลยีห ลักๆ ทีน่ �ำ มาใช้ใ นการพฒ ั นาเว็บไซต์ ได้แก่ เทคโนโลยีด้านอินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่ทันสมัย เพื่อนำ�มาใช้พัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน (web application) และฐานข้อมูล สำ�หรับให้บริการลูกค้าและผู้สมัครงาน กลยุทธ์ การออกแบบเว็บไซต์ท เี่ข้าใจง่ายและเป็นม ิตรกับผ ูใ้ ช้ (user friendly) ทำ�ให้ก ารเข้าใ ช้บ ริการ เป็นเรื่องทีไ่ ม่ย ุ่งย าก โดยมกี ลยุทธ์ส ำ�คัญท ีถ่ ือเป็นก ฎในการปฏิบัตขิ องจอ๊ บส์ด ีบี ได้แก่ การให้บ ริการหลังข าย ที่ดี และมีความรวดเร็วแก่ลูกค้าขององค์กรเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้า มีการสร้างระบบฐานข้อมูลที่ ปลอดภัยเพื่อรักษาความเป็นส่วนตัวให้กับผู้ส มัครงานที่ฝากประวัติย่อ หรือหางานผ่านเว็บไซต์ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จของจ๊อบส์ดีบี ได้แก่ การมีระบบฐาน ข้อมูลท ี่ด ีแ ละปลอดภัย การพัฒนาเครือข ่ายพันธมิตรเกี่ยวกับก ารสมัครงานครอบคลุม 12 ประเทศ และการ ให้บริการลูกค้าที่ตรงต่อความต้องการ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.3.1 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.3.1 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.3 เรื่องที่ 14.3.1
ธ ส
ม
เรื่องที่ 14.3.2 กรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการส่งดอกไม้
ธ ส
กรณีตัวอย่างบริษัท มิสลิลลี่ จำ�กัด
ม
ม
ธ ส
บริษัท มิสลิลลี่ จำ�กัด เจ้าของเว็บไซต์มิสลิลลี่ www.misslily.com ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2541 เป็น ธุรกิจผ ูน้ �ำ การให้บ ริการสง่ ดอกไม้ท างอนิ เทอร์เน็ตแ ละบริการสง่ ดอกไม้ท ัว่ ป ระเทศไทย และเป็นห นึง่ ใ นบริษทั จัดส่งดอกไม้สดที่เติบโตเร็วที่สุดในเอเชีย
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.11 เว็บไซต์ข องบริษัท มิสลิลลี่ จำ�กัด
ธ ส
14-43
ธ ส
ม
ธ ส
ม
จุดเริม่ ต น้ แ ละแนวทางในการด�ำ เนินธ รุ กิจ สืบเนือ่ งจากการทธี่ รุ กิจด อกไม้ม กี ารเติบโตอย่างตอ่ เนือ่ ง ตลาดธุรกิจดอกไม้สดมีมูลค่าสูงกว่า 7,000 บาท เพราะผู้บริโภคนิยมมอบดอกไม้ให้แก่กันอย่างต่อเนื่องใน วันส ำ�คัญแ ละในเทศกาลต่างๆ ในขณะทีก่ ารสั่งซ ื้อด อกไม้ท างอินเทอร์เน็ตน ั้นย ังไ ม่มใี ครให้บ ริการส่ง บริษัทฯ จึงต ้องการพัฒนาบริการส่งดอกไม้ใ นประเทศไทยให้ไ ด้ร ับค วามสะดวกสบายยิ่งข ึ้นด ้วยการให้บ ริการดอกไม้ ทางอนิ เทอร์เน็ต และกจิ การของมสิ ล ลิ ลีม่ เี ครือข า่ ยพนั ธมิตรกว่า 135 รายในกรุงเทพมหานคร และมพี นั ธมิตร ร้านดอกไม้ท ้องถิ่นท ั่วป ระเทศ เมื่อค วามต้องการของลูกค้าม มี ากขึ้น บริษัทฯ จึงไ ด้ล งทุนส ร้างลิลลีฟ่ าร์ม เพื่อ เป็นฐานการผลิตสินค้าท ั้งด อกไม้สดและดอกไม้แห้ง และเพื่อขยายกิจการสู่การทำ�อุตสาหกรรม ขั้นตอนการให้บริการของมิสลิลลี่ มีด ังนี้ 1) ผูใ้ ช้บ ริการเลือกประเภทของดอกไม้ท ีต่ ้องการ ได้แก่ ช่อด อกไม้ ตะกร้าด อกไม้ ดอกไม้ใ น โอกาสพิเศษต่างๆ และดอกไม้สำ�หรับการไว้อาลัยผ่านทางหน้าเว็บไซต์ หรือโทรศัพท์เข้าไปที่ค อลล์เซ็นเตอร์ (call center) 2) เมื่อเลือกชนิดดอกไม้ที่ต้องการแล้ว ผู้ใช้บริการสามารถเลือกชนิดของดอกไม้และสีของ ดอกไม้ ทั้งรูปแบบการจัดดอกไม้แ บบต่างๆ 3) คำ�สั่งซื้อโดยที่ใส่รายละเอียด การส่งแก่ผู้รับในวาระต่างๆ กำ�หนดวันที่ต้องการส่ง และ คำ�อวยพร
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-44
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
4) ชำ�ระเงินผ ่านบัตรเครดิต หรือก ารโอนเงินผ่านธนาคารในกรณีที่ลูกค้าไม่มีบัตรเครดิต 5) ส่งคำ�สั่งซื้อให้ฝ่ายจัดเตรียมดอกไม้ตามคำ�สั่งซื้อ ซึ่งหากเป็นในกรุงเทพมหานคร ทาง มิสลิลลี่ จะทำ�การเตรียมดอกไม้เอง ส่วนในต่างจังหวัดจะส่งคำ�สั่งซื้อให้กับร้านดอกไม้ที่เป็นพันธมิตร 6) นำ�ส่งดอกไม้แก่ผู้ใ ช้บริการตามสถานที่ท ี่ผู้ใช้บริการต้องการ การพัฒนาเว็บไซต์แ ละระบบงานทเี่กี่ยวข้อง มิสล ิลลีไ่ ด้น ำ�พัฒนาระบบสารสนเทศเชื่อมโยงระหว่าง ร้านดอกไม้และเครือข่ายทั่วประเทศโดยใช้เทคโนโลยีฐานข้อมูลของออราเคิล (ORACLE) นอกจากนี้ มีการเก็บข้อมูลการใช้บริการของลูกค้าและความต้องการของลูกค้าเพื่อนำ�มาพัฒนารูปแบบการจัดดอกไม้ ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า มีระบบรับชำ�ระเงินผ่านทางหน้าเว็บไซต์ หรือการโอนเงินผ่านธนาคาร และนอกเหนือจากการสั่งซื้อผ่านทางหน้าเว็บกิจการยังอำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้าสั่งผ่านคอลล์เซ็นเตอร์ ได้อีกด ้วย กลยุทธ์ สำ�หรับก ลยุทธ์ใ นการดำ�เนินธ ุรกิจ กลยุทย์ส ร้างความแตกต่าง (differentiation) การสร้าง ภาพลักษณ์ตราสินค้า (brand image) และกลยุทธ์การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) - กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง ทำ�โดยการอำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าได้ ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งถ ือว่าเป็นการสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันที่มีจำ�นวนมากในท้องตลาด และเป็นจุด สำ�คัญที่ทำ�ให้การทำ�ธุรกิจดอกไม้ของมิสลิลลี่ประสบความสำ�เร็จและก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้นำ�ทางด้านตลาด ดอกไม้ ภายใต้สโลแกนที่ว ่า “มิสลิลลี่บ ริการส่งดอกไม้ทั่วราชอาณาจักรตลอด 24 ชั่วโมง ในราคาเดียวกัน ทั่วประเทศ” - การสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า สินค้าของมิสลิลลี่จะเป็นสินค้าระดับพรีเมี่ยม ซึ่งราคาช่อ ดอกไม้ท ี่ม ิสลิลลี่จำ�หน่ายนั้นอาจสูงก ว่าร้านดอกไม้ทั่วไป แต่ผู้ใช้บริการก็ได้รับช ่อดอกไม้ที่สวยกว่าและช่อ ใหญ่ก ว่า นอกเหนือจ ากคุณภาพของสินค้าแ ล้ว การสร้างภาพลักษณ์ต ราสินค ้าอ ีกว ิธีห นึ่งท ี่ม ิสล ิลลี่ไ ด้ด ำ�เนิน การคือ การจัดแฟชั่นโชว์ด อกไม้ตามผับและร้านอาหารชื่อดังในกรุงเทพมหานคร ซึ่งป็นการเจาะกลุ่มลูกค้า เป้าห มายโดยลกู ค้าส ามารถมสี ว่ นรว่ ม เนือ่ งจากมสิ ล ลิ ลีไ่ ม่มหี น้าร า้ น กิจการเน้นก ารบริการให้ล กู ค้าเกิดความ ประทับใจเพื่อที่ลูกค้าจะได้จ ดจำ�ตราสินค้า (branding) ได้ - การจดั การโซ่อ ปุ ทาน ซึ่งเป็นห ัวใจของการให้บ ริการจัดช ่อด อกไม้เพื่อก ารจัดส ่ง กิจการเน้น การจดั การซพั พลายเออร์ โดยมสิ ล ลิ ลีไ่ ด้เซ็นต ส์ ญ ั ญากบั ฟ าร์มด อกไม้ร ายใหญ่ต ามภมู ภิ าคตา่ งๆ ของประเทศ เพื่อใ ห้จ ัดส ่งว ัตถุดิบใ ห้ไ ด้โ ดยไม่ผ ่านคนกลาง ทำ�ให้ส ามารถควบคุมป ริมาณวัตถุดิบแ ละราคาได้ ในปัจจุบัน เฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีจ ุดกระจายสินค้าโดยลิลลี่ฟาร์มอยู่ด้วยกัน 3 แห่ง ได้แก่ พระโขนง ธนบุรี และสีลม ส่วนในต่างจังหวัด กิจการใช้วิธีก ารกระจายวัตถุดิบผ่านพันธมิตร นอกจากนี้แล้วปี พ.ศ. 2546 กิจการได้ส ร้างช่องทางการจัดจำ�หน่ายในรูปแ บบของตู้โ ชว์ นำ�ไปไว้ใน ร้านอาหารกึ่งผ ับเพื่อจับก ลุ่มลูกค้าที่ม ีก ำ�ลังซื้อส ูง และขยายเข้าสู่ร ้านค้าป ระเภทร้านค้าส ะดวกซื้อใ นลักษณะ ของสินค้าในรูปแบบเดียวกันจ ำ�นวนมากๆ (mass product)
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-45
ธ ส
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ มิสลิลลี่ใช้หลักการของการจัดการความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า (Customer Relationship Management - CRM) โดยทางกิจการได้ทำ�การจัดเก็บข ้อมูลความต้องการ ของลูกค้ามาตลอด แล้วนำ�ข้อมูลดังกล่าวมาพัฒนารูปแบบการจัดดอกไม้ให้มีความหลากหลาย เน้นที่การ ออกแบบรูปทรง การใช้บรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัย มีแบบดอกไม้ให้เลือกที่เหมาะสมกับทุกโอกาส ทุกเทศกาล ไม่ว ่าจะเป็นวันเกิด งานรับปริญญา เทศกาลวันแม่ เทศกาลวันวาเลนไทน์ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จอีกเรื่องหนึ่ง ได้แก่ การจัดการโซ่อุปทานที่ดี โดยการขยายกิจการ เข้าสู่การทำ�อุตสาหกรรมดอกไม้ครบวงจร โดยลงทุนสร้างลิลลี่ฟาร์ม ซึ่งมีลักษณะของคอนแท็กฟาร์มมิ่ง (contact farming) ทำ�ให้ส ามารถเลือกซื้อดอกไม้จากผู้ผลิตได้เอง เพื่อเป็นฐานการผลิตสินค้าทั้งดอกไม้ สดและดอกไม้แห้ง ขยายกิจการสู่ก ารทำ�อุตสาหกรรมดอกไม้ครบวงจร ซึ่งเป็นการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ รูปแบบของดอกไม้ที่ถูกต้อง เพื่อใ ห้การขนส่งไปยังที่หมายที่ลูกค้าสั่งได้สะดวกรวดเร็ว
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.3.2 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.3.2 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.3 เรื่องที่ 14.3.2
ธ ส
ม
ม
เรื่องที่ 14.3.3 กรณีตัวอย่างธุรกิจรับจองที่พักและบริการท่องเที่ยว
ธ ส
ม
1. กรณีตัวอย่างบริษัท บลูเฮาส์ ทราเวล จำ�กัด
บริษัท บลูเฮาส์ ทราเวล จำ�กัด เจ้าของเว็บไซต์โฮเทลทูไทยแลนด์ www.hotel2thailand.com ก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2547 ด้วยทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท ดำ�เนินธุรกิจด้านการให้บริการจองโรงแรม ทางอินเทอร์เน็ตแ ก่นักท ่องเที่ยว และการจองแพ็กเกจการท่องเที่ยวครบวงจร
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ธ ส
14-46
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.12 เว็บไซต์ข องบริษัท บลูเฮาส์ ทราเวล จำ�กัด
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวถือว่าเป็นอุตสาหกรรมที่นำ�รายได้ เข้าส ู่ป ระเทศไทยจำ�นวนมาก และประเทศไทยยังเป็นส ถานทีท่ ่องเที่ยวระดับต ้นๆ ของโลก ประกอบกับธ ุรกิจ ท่องเที่ยวได้นำ�อีคอมเมิร์ซมาอำ�นวยความสะดวกมากขึ้น โดยที่ธุรกิจท่องเที่ยวออนไลน์นั้นมีมูลค่านับหมื่น ล้านบาท จึงนับว่าเป็นธุรกิจที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการไทยหลายรายได้หันมาทำ�ธุรกิจท่องเที่ยว ออนไลน์ม ากขึ้น จึงเป็นที่มาที่ทำ�ให้บ ริษัท บลูเฮาส์ ทราเวล จำ�กัด ได้เข้าส ู่ธุรกิจนี้เช่นกัน สำ�หรับบริษัท บลูเฮาส์ ทราเวล จำ�กัด แล้ว ในเริ่มแ รกเน้นก ารให้บ ริการจองโรงแรมแก่น ักท ่องเที่ยว ต่างชาติที่ต้องการเดินทางมาท่องเที่ยวและพักผ่อนในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านทางเว็บไซต์โฮเทลทูไทยแลนด์ซึ่งเป็นเว็บไซต์หลัก และเว็บไซต์ย่อยอีก 9 เว็บไซต์ โดยมีโรงแรมให้ เลือกมากกว่า 2,000 โรงแรม ซึ่งส ามารถอำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้าเลือกได้ตามความต้องการ โดยลูกค้า สามารถตรวจสอบห้องพักท ีว่ ่างได้ท ันทีแ ละชำ�ระเงินผ ่านบัตรเครดิต และยังน ำ�เสนอข้อมูลก ารท่องเที่ยวและ คูปองลดราคา ซึ่งเป็นจุดดึงดูดผู้ใ ช้บริการ โดยมีเจ้าหน้าที่ให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง ในรูปแบบของ ผู้ช่วยออนไลน์ (live assistant) ที่ล ูกค้าสามารถพูดคุยด้วยได้ ขั้นตอนในการให้บ ริการ มีดังนี้ 1) ผู้ใ ช้บริการสามารถค้นหาโรงแรมที่ต้องการตามเมืองที่จะไป ในราคาและวันที่ต้องการผ่านทาง หน้าเว็บไซต์
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-47
ธ ส
2) ระบบจะแสดงข้อมูลโ รงแรมและภาพถ่าย ราคาห้องพักประเภทต่างๆ ให้ลูกค้าเลือกตามความ ต้องการ โดยที่ลูกค้าสามารถพิมพ์ข ้อมูลโ รงแรมตามที่เลือกไว้ในรูปแบบพีดีเอฟ (PDF file) 3) ผูใ้ ช้บ ริการเลือกโรงแรมและราคาทีต่ ้องการ ป้อนข้อมูลช ื่อผ ูเ้ข้าพ ัก หากห้องพักว ่างในวันท ีล่ ูกค้า จะเข้าพัก ระบบจะตอบรับการจอง ลูกค้าทำ�การชำ�ระเงินผ่านบัตรเครดิต ระบบจะจัดส่งใบยืนยันเพื่อใช้ใน การเข้าพักให้ผู้ใช้บริการทางอีเมลโดยอัตโนมัติ 4) ในกรณีที่ไม่สามารถยืนยันได้ทันที ทางเว็บไซต์จะติดต่อกับทางโรงแรมเพื่อยืนยันห้องพักและ ติดต่อก ลับลูกค้าเพื่อย ืนยันห้องพักภายใน 24 ชั่วโมง 5) ในกรณีท ี่ลูกค้ามีคำ�ถามสามารถที่จ ะคุยกับเจ้าห น้าที่ทางออนไลน์ได้ 24 ชั่วโมง การพัฒนาเว็บไซต์แ ละระบบงานทเี่กี่ยวข้อง เว็บไซต์โ ฮเทลทไู ทยแลนด์ใ ช้ภ าษาเอเอสพี (ASP) และ เอเอสพีดอตเน็ต (ASP.Net) ในการพัฒนาเว็บไซต์และฐานข้อมูล เป็นระบบที่บริษัทมีพนักงานที่ทำ�หน้าที่ พัฒนาระบบใช้เอง เหตุผลของการพัฒนาระบบใช้เองเพื่อใ ห้ม ีก ารพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง ระบบจะทำ�งาน ด้านการบริหารการจองและบริหารการรับคำ�สั่งซื้อของลูกค้าอย่างอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถ คำ�นวณราคาและระยะเวลาที่เข้าพักท ี่แตกต่างกันไ ด้ บริษัทใช้เอ็กซ์ท ราเน็ต (extranet) ในการเชื่อมโยงรับส่งข้อมูลกับธุรกิจที่เป็นพ ันธมิตรกัน โดยใช้ ในการบริหารข้อมูลและราคาของโรงแรมร่วมกัน ทำ�ให้สามารถอำ�นวยความสะดวกให้คู่ค้าท ี่มีถึงกว่า 2,000 ราย สามารถลดขั้นตอนในการบริหารงาน โดยที่ทางโรงแรมและคู่ค้าสามารถเข้ามาบริการจำ�นวนห้องพัก และราคาได้เอง การรับช ำ�ระเงินค ่าบ ริการ ใช้ก ารชำ�ระเงินผ ่านบัตรเครดิตผ ่านทางธนาคาร ซึ่งเป็นร ะบบทีม่ กี ารรักษา ความปลอดภัยที่เป็นมาตรฐาน และสามารถสร้างความเชื่อมั่นแก่ลูกค้าได้ กลยุทธ์ เว็บไซต์นี้เลือกใช้กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง โดยบริษัทได้สร้างความแตกต่างในการให้ บริการโดยการเพิ่มม ูลค่าการบริการของเว็บไซต์ด้วยการทำ�ประกันอุบัติเหตุฟรีแ ก่ผ ู้ใ ช้บ ริการ การแจกคูปอง ลดราคาร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว และบริการต่างๆ ฟรีผ่านทางหน้าเว็บไซต์แก่ผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นจุดที่ ทำ�ให้ล ูกค้าส นใจในการบริการ ในด้านข้อมูลท ีน่ ำ�เสนอลูกค้าน ั้น ทางเว็บไซต์เน้นก ารออกแบบหน้าตาเว็บไซต์ ที่สวยงามและใช้ง านง่าย พร้อมทั้งข ้อมูลโรงแรมที่ครบถ้วนและภาพถ่ายโรงแรมต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยที่ ทางบริษัทได้ส่งทีมงานไปเยี่ยมชมโรงแรมและถ่ายรูปเอง เนื่องจากเป็นข้อมูลปัจจัยสำ�คัญในการเลือกซื้อ ของลูกค้า และยังสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้าด้วยการให้ลูกค้าสามารถเขียนความพึงพอใจแก่โรงแรมต่างๆ ลงในเว็บไซต์ได้ ด้านกลยุทธ์ราคานั้น เว็บไซต์ได้นำ�ระบบคำ�นวณราคาอัตโนมัติมาใช้ โดยที่สามารถแสดงสกุลเงิน ต่างๆ และราคาห้องพักต ามวันที่ต ้องการเข้าพัก โดยราคาดังกล่าวได้รวมค่าบ ริการแล้ว เป็นการสร้างความ สบายใจแก่ลูกค้าว่าราคาที่เห็นนั้นเป็นราคาที่ร วมทุกอย่างไว้แล้ว ในสว่ นการตลาดนัน้ เว็บไซต์ไ ด้เน้นก ารใช้เอสอีโ อ (SEO) ซึง่ ท �ำ ให้เว็บไซต์ต ดิ อ นั ด บั ต น้ ๆ ในหน้าแ รก ของเสิร์ชเอนจิน (search engine) ทำ�ให้เกิดการได้เปรียบคู่แข่งขัน นอกจากนี้ ยังไ ด้ทำ�การประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บบอร์ดท ่องเที่ยวต่างๆ
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-48
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
การสร้างความสัมพันธ์อ ันด ีกับคู่ค ้า (Partner Relationship Management – PRM) ทางเว็บไซต์ ได้ล งนามในสัญญากับโ รงแรมทีเ่ป็นค ูค่ ้าโ ดยตรงโดยไม่ผ ่านตัวแทน และเน้นก ารรับฟ ังค วามคิดเห็นข องคูค่ ้า ในการพัฒนาระบบ ทำ�ให้พัฒนาระบบงานที่ส ามารถรองรับความต้องการและการใช้งานได้ง่ายแก่คู่ค้า ปัจจัยท ี่ก ่อใ ห้เกิดค วามสำ�เร็จ ได้แก่ การมีโ รงแรมที่เป็นพ ันธมิตรธุรกิจก ว่า 2,000 ราย ด้วยการเซ็น สัญญาต่างๆ กับคู่ค ้าโดยไม่ผ ่านตัวแทน ทำ�ให้ได้เปรียบเรื่องราคา การมีระดับการบริการที่ดีในลักษณะของ การจัดเจ้าห น้าทีไ่ ว้บ ริการลูกค้า 24 ชั่วโมง สร้างความพึงพ อใจให้แ ก่ล ูกค้าท ีส่ ามารถสอบถามเกี่ยวกับโ รงแรม สถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องการได้ท ันที การแสดงราคาที่ชัดเจนไม่มีการแฝงค่าใช้จ่ายอื่นๆ การเพิ่มมูลค่าการให้ บริการด้วยวิธีส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ เช่น การแถมคูปองลดราคา การลดราคาตามเทศกาลต่างๆ อย่างสม่ำ�เสมอ เป็นต้น การมีระบบรับชำ�ระเงินที่ปลอดภัยน่าเชื่อถือ และใช้เทคโนโลยีที่นำ�มาพัฒนาระบบ รับจองที่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้ระบบทำ�งานได้อย่างรวดเร็ว
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
2. กรณีตัวอย่าง บริษัท หัวหิน แอดแวนเจอร์ ทัวร์
บริษัท หัวหิน แอดเวนเจอร์ ทัวร์ เจ้าของเว็บไซต์ไทยแลนด์หัวหิน www.thailand–huahin.com ประกอบธุรกิจรับจองห้องพักและจัดกิจกรรมสันทนาการต่างๆ เช่น การเดินป่า การทำ�สร้างทีมงาน (team building) เป็นต้น
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ภาพที่ 14.13 เว็บไซต์ข องบริษัท หัวหิน แอดเวนเจอร์ ทัวร์
ม
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-49
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธ ุรกิจ ธุรกิจของ บริษัท หัวหิน แอดเวนเจอร์ ทัวร์ เริ่มมาจาก การทำ�รายการสารคดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆ ทางสถานีโทรทัศน์และวิทยุกองทัพบกช่อง 5 ชื่อ รายการ “ใต้ฟ ากฟา้ ” ซึง่ ต อ้ งไปถา่ ยท�ำ สถานทที่ อ่ งเทีย่ วหลายแห่งโ ดยเฉพาะหวั หิน ทำ�ให้ม ผี ชู้ มสนใจสอบถาม มามาก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเปิดบริษัทท่องเที่ยวขึ้นมา โดยรับจองห้องหักและจัดกิจกรรมสันทนาการ ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติถึงร้อยละ 99 เนื่องจากลูกค้าชาวไทยไม่นิยมการท่องเที่ยวในประเทศที่มี ผู้นำ�ทางหรือไกด์ เพราะถือว่าเป็นเมืองที่ตนเองอาศัยอยู่แล้ว ลูกค้าหลัก ได้แก่ ชาวสิงคโปร์ เพราะมาจาก ประเทศที่ไ ม่มีภูเขาหรือป ่า แต่ละครั้งชาวสิงคโปร์จะส่งคนมาอบรมถึง 14 วัน เมื่อเปิดบริษัทรับจองโรงแรม และจัดกิจกรรมสันทนาการแล้ว ก็ได้ศึกษาการทำ�ธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่การทำ�เว็บไซต์ ระบบรับจองโรงแรม และระบบการชำ�ระเงิน โดยใช้บริการชำ�ระเงินผ่านระบบของเพย์สบาย ในการดำ�เนินธุรกิจนั้น บริษัทฯ ได้ทำ�การแบ่งลูกค้าออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มตัวแทน (agency) และกลุ่มลูกค้าขาจร (walk in) ในส่วนของกลุ่มตัวแทน บริษัทฯ ได้ทำ�การเก็บข้อมูลต่างๆ ไม่ว่า เป็นการถา่ ยภาพขอ้ มูลส ถานทที่ อ่ งเทีย่ วตา่ งๆ ดูร ายละเอียดภาพรวมเพือ่ น �ำ เสนองานให้ล กู ค้าผ า่ นทางเว็บไซต์ ในส่วนของลูกค้าขาจร บริษัทฯ จะทำ�การนำ�เสนอข้อมูลและทำ�การประชาสัมพันธ์เอง ซึ่งค่อนข้างที่จะใช้ ค่าใช้จ่ายสูงกว่าแต่มักจ ะได้ผลตอบแทนที่มากกว่า การพัฒนาเว็บไซต์ ได้ใช้บริการโปรแกรมเว็บไซต์ ตลอดจนระบบประยุกต์สำ�เร็จรูปที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ สำ�หรับกลยุทธ์ที่ใช้ก็เช่นเดียวกันกับงานบริการทั่วไปคือ การให้บริการที่ดีและครบวงจร ต่อลูกค้า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ปัจจัยที่ก ่อให้เกิดความสำ�เร็จในส่วนของบริษัท หัวหิน แอดเวนเจอร์ ทัวร์ นอกเหนือจากเรื่องของเว็บที่ใช้สำ�หรับประชาสัมพันธ์ตัวธุรกิจแล้ว ปัจจัยที่สำ�คัญอีกประการหนึ่งคือ พนักงานที่ปฏิบัติง านให้บริการ อาทิ มัคคุเทศก์ หรือผู้นำ�การสันทนาการ เพราะธรรมชาติของธุรกิจประเภท นี้เป็นการให้ความรู้และความบันเทิงกับลูกค้า ความสำ�เร็จของธุรกิจจึงขึ้นอยู่กับบุคลากรที่ธุรกิจมีเป็นส่วน ใหญ่ ในขณะทเี่ ว็บไซต์ท �ำ หน้าทีใ่ นการเป็นช อ่ งทางในการโฆษณาประชาสัมพันธ์แ ละให้ข อ้ มูลก บั ล กู ค้าม ากกว่า ดังนั้น หากมีเว็บไซต์ที่ดีและสวยงามแล้วยังไม่เพียงพอ การให้บริการต้องได้ตามคุณภาพที่ได้กำ�หนดหรือ บอกไว้ท ี่หน้าเว็บด้วยเช่นกัน
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.3.3 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.3.3 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.3 เรื่องที่ 14.3.3
14-50
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
ม
ธ ส
เรื่องที่ 14.3.4 กรณีตัวอย่างธุรกิจให้บริการสอนงานฝีมือ
ธ ส
กรณีตัวอย่างเว็บไซต์ส อนงานฝีมือ
ม
ม
คุณส มสวาท แสงนนท์ต ระกูล เจ้าของเว็บไซต์น ิตต ิ้งเฮาส์ www.knittinghouse.com ทำ�ธุรกิจเปิด สอนงานฝีมือ งานถักนิตติ้งท ั้งแ บบกลุ่ม งานสำ�หรับองค์กร และออแกไนเซอร์ต่างๆ
ธ ส
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ภาพที่ 14.14 เว็บไซต์ www.knittinghouse.com
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
จุดเริ่มต้นและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ เกิดจากความชอบ ประกอบกับตอนเด็กๆ คุณแม่ซึ่ง เป็นผ ู้ที่ช อบงานฝีมือเคยสอนให้ ได้ทำ�การหาความรู้เพิ่มเติมจากการไปซื้อหนังสือต่างๆ โดยเฉพาะหนังสือ จากต่างประเทศมาลองทำ�ดู เมื่อเรียนรู้มากขึ้นและความชอบที่มีอยู่มาก จึงอยากสอนให้กับคนที่สนใจ และ เปิดค อร์สส อนการถักไ หมพรมทีบ่ ้านก่อน แล้วจ ึงเปิดเว็บไซต์ ทำ�ให้ม ผี ูส้ นใจติดต่อเข้าม าทางเว็บไซต์ม ากขึ้น จึงได้เปิดคอร์สสอนที่บ้านพักใ นวันพุธ ศุกร์ และเสาร์ และรับเป็นวิทยากรให้กับองค์กรต่างๆ ที่ต ิดต่อเข้ามา เช่น เซ็นท รัลเวิร์กชอป (Central workshop) และบีทีเอส (BTS)
ม
ธ ส
ธ ส
กรณีศึกษาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
ม
14-51
ธ ส
การพัฒนาเว็บไซต์ พัฒนาเว็บไซต์โดยใช้โปรแกรมเว็บไซต์สำ�เร็จรูปของเรดีแพลนเน็ต (ReadyPlanet) มีก ารถ่ายภาพนิ่งแ ละคลิปวิดีโอสำ�หรับการสอนโดยใช้กล้องดิจิทัล กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ใช้ ได้แก่ การมีความเชี่ยวชาญและมีองค์ความรู้ในเรื่องที่ทำ�จริง สามารถตอบ คำ�ถามผู้เรียนได้ทุกคำ�ถาม สิ่งท ี่ไม่รู้ก ็ต้องพยายามไปค้นคว้ามา เพื่อให้เกิดค วามน่าเชื่อถือ ทำ�ให้ลูกค้าบอก ต่อๆ กันแบบปากต่อปาก นอกจากนี้ ยังมีการถ่ายเป็นค ลิปวิดีโอเพื่อให้ผู้เรียนที่ไม่สามารถมาร่วมเรียนได้ เช่น คนไทยในสวิตเซอร์แลนด์ สก็อตแลนด์ เป็นลักษณะการสอนแบบทางไกล และมีการอัพเดตงานฝีมือ ใหม่ๆ ให้ด ูผ่านคลิปวิดีโอด้วย และมีการใช้กลยุทธ์เอสอีโอ (SEO) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จ ความเชี่ยวชาญและความรู้จริงใ นเรื่องที่ทำ� และการได้รับการรับรอง จากสมาคมนิตติ้งข องสหรัฐอเมริกา (The Knitting Guild Association – TKGA) ซึ่งได้มาจากการเรียน ทางไกลหรือทางไปรษณีย์ การส่งผลงาน ทำ�ข้อสอบ ทำ�วิจัย การสามารถเข้าถึงลูกค้าที่อยู่ห่างไกลได้ด้วยการ ใช้เทคโนโลยี เช่น คลิปวิดีโอ และการใช้ประโยชน์จากคลิปวิดีโอในการอัพเดตเนื้อหา
ธ ส
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องที่ 14.3.4 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 14.3.4 ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.3 เรื่องที่ 14.3.4
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
14-52
ธ ส
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์
บรรณานุกรม
ธ ส
ม
ธ ส
ม
สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไ ทย (2550) “กรณีศึกษาธุรกิจอีคอมเมิร์ซชั้นน ำ�ของไทย” กันยายน สำ � นั ก งานส ถิ ติ แ ห่ ง ช าติ รายงานผ ลที่ สำ � คั ญ “สำ � รวจส ถานภาพก ารพ าณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ห่ ง ป ระเทศไทย พ.ศ. 2551” พิษณุ จงสถิตย์วัฒนา (2544) “สารนิเทศและสารนิเทศศาสตร์” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการการตลาด หน่วยที่ 8 นนทบุรี สาขาวิชาวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร าช สุธี นาถวรฑัต และจริ ะภร ณ์ ตันติช ยั ร ตั นกลู (2544) “สารนิเทศและสารนิเทศศาสตร์” ใน เอกสารการสอนชดุ ว ชิ าการ จัดการการตลาด หน่วยที่ 15 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร าช Laudon, Kenneth C. and Traver, Guercio Carol. (2009). E–Commerce: Business, Technology, Society. 5th ed. New Jersey: Pearson Education Upper Saddle River.
ม
ธ ส
ม
ม
ธ ส
ธ ส
ม
ธ ส
ม ม
ธ ส
ธ ส
ม ม
ธ ส