Unit 15

Page 1


เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าชฉบั บ นี้ ได รั บ การสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ แ ละคุ ม ครองภายใต ก ฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ รวมทั้ ง สนธิ สั ญ ญาว า ด ว ยทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

หน่วยที่

15

ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ธ ส

ธ ส

ชื่อ วุฒิ ตำ�แหน่ง หน่วย​ที่​เขียน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

อาจารย์ส​ หัส ตรี​ทิพย​บุตร

ธ ส

ธ ส

อาจารย์​สหัส ตรี​ทิพย​บุตร M.Sc. (Computer and Information Science) Syracuse University, New York, USA นายกสมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย หน่วย​ที่ 15

15-1


15-2

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

หน่วย​ที่ 15

ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

เค้าโครงเนื้อหา

ธ ส

แนวคิด

ตอน​ที่ 15.1 ขอ้ มูลพ​ ืน้ ฐ​ าน​และ​ปจั จัยแ​ ห่งค​ วาม​ส�ำ เร็จข​ อง​บริษทั อ​ อฟฟิศเ​มท​ จ�ำ กัด (มหาชน) 15.1.1 ข้อมูล​พื้นฐ​ าน​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) 15.1.2 ปัจจัย​แห่งค​ วาม​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ตอน​ที่ 15.2 การ​ดำ�เนินธ​ุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) 15.2.1 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​ตลาด 15.2.2 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​บริหาร​คลัง​สินค้า 15.2.3 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ขนส่ง​สินค้า 15.2.4 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​และ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย ตอน​ที่ 15.3 การ​จัดการ​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท จำ�กัด (มหาชน) 15.3.1 การ​จัดการ​ด้าน​การ​พัฒนา​ระบบ​และ​บุคลากร​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ 15.3.2 การ​จัดการ​ด้าน​ซอฟต์แวร์ ตอน​ที่ 15.4 การเต​รี​ยม​การ​เข้า​สู่โ​ ลกา​ภิ​วัต​น์​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) 15.4.1 เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ของ​บริษัท​ ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) 15.4.2 การเต​รยี​ ม​การ​เข้าจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ข​ อง​บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน) 15.4.3 ผล​ที่​ได้​จาก​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​ บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท​ จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

1. บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ก่อ​ตั้ง​จาก​ธุรกิจ​ครอบครัว และ​ต่อย​อด​ด้วย​ทายาท​ รุ่น​ปัจจุบัน โดย​ทำ�​ธุรกิจ​จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ตั้งแต่​ต้น​ด้วย​การ​ เปิด​หน้า​ร้าน​ปกติ จน​ขยาย​มา​เป็น​ธุรกิจ​พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​บี​ทูบี โดย​มี​ปัจจัย​ แห่งค​ วาม​สำ�เร็จใ​ น​การ​ดำ�เนินธ​ ุรกิจห​ ลาย​ปัจจัยจ​ น​สามารถ​นำ�​บริษัทเ​ข้าส​ ตู่​ ลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ที่เ​ป็น​ตลาด​หลักทรัพย์เล็ก​ของ​บริษัท​เอส​เอ็​มอี​ได้ และ​มี​เป้าห​ มาย​จะ​ขยาย​ไป​ สู่​ตลาดหลักทรัพย์​ใหญ่ (SET) และ​ขยาย​ต่อ​โดย​ทำ�​ธุรกิจ​ไป​ต่าง​ประเทศ

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

ธ ส

2. ลักษณะ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ใช้​แบบ​ จำ�​ลอง​แบบ​บีท​ ูบี มีก​ าร​เลือก​ผลิตภัณฑ์​ที่เ​หมาะ​สม เพื่อ​จัด​จำ�หน่าย​ให้​กับ​ลูกค้า​องค์กร มี​ ระบบ​จัด​ทำ�​อี​แค​ตา​ล็อก​ทั้งใ​ น​ส่วน​ของ​บริษัท​เอง และ​เอื้อ​อำ�นวย​ให้​ลูกค้า​องค์กร​สามารถ​ จัดท​ �​ำ อแ​ี ค​ตา​ลอ็ ก​ของ​ตนเอง​ได้ มีร​ ะบบ​งาน​คลังส​ นิ ค้า และ​ระบบ​งานการ​จดั ก​ าร​โล​จส​ิ ติก​ ส์​ ที่​เป็น​หัวใจ​สำ�คัญ​ของ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​แบบ​บี​ทูบี ตลอด​จน​มี​ระบบ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​และ​การ​ รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่ท​ ัน​สมัย 3. การ​จัดการ​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ใช้​วิธี​การ​ พัฒนา​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์​ต่างๆ ขึ้น​ใช้​งาน​เอง โดย​ทีมพ​ ัฒนา​ระบบ​ภายใน​ของ​บริษัท และ​บริษัท​มี​วิธี​การ​จัดการ​บุคลากร​ทาง​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​เพื่อ​รักษา​ บุคลากร​เหล่า​นั้น​ไว้​กับ​บริษัท​โดย​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์​หรือ​ซอฟต์แวร์​ที่​พัฒนา​ขึ้น​เพื่อ​ สนับสนุนก​ าร​ด�ำ เนินธ​ รุ กิจอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ข​ อง​บริษทั ม​ ห​ี ลาย​ระบบ​ดว้ ย​กนั ครอบคลุมต​ ัง้ แต่​ การ​รับคำ�​สั่งซ​ ื้อจ​ าก​ลูกค้า​จนถึง​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​ลูกค้า 4. ผล​ที่​ได้​จาก​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาด​หลัก​ทรัพย์​ เอ็ม​ เอ ​ไอ​ ของ​บริษัท​ ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน) มี​ทั้ง​ผล​ดี​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ปัจจุบันแ​ ละ​ผล​ที่​ได้​รับ​ใน​อนาคต

ธ ส

15-3

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เมื่อศ​ ึกษา​หน่วย​ที่ 15 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. วิเคราะห์ข​ อ้ มูลพ​ นื้ ฐ​ าน​และ​ปจั จัยแ​ ห่งค​ วาม​ส�ำ เร็จข​ อง​บริษทั อ​ อฟฟิศเ​มท ​จ�ำ กัด (มหาชน) ได้ 2. วิเคราะห์​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้ 3. วิเคราะห์ก​ าร​จัดการ​ด้าน​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้ 4. วิเคราะห์​การเต​รี​ยม​เข้า​สู่​การ​แข่งขัน​ใน​ยุค​โลกา​ภิ​วัต​น์​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้

ธ ส

ธ ส


15-4

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

บทนำ�

ธ ส

ธ ส

จาก​เนื้อหา​ของ​ที่ผ​ ่าน​มา 14 หน่วย ได้บ​ รรยาย​ถึงร​ ะบบ​ธุรกิจพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ห​ รืออ​ ีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) ตั้งแต่พ​ ื้นฐ​ าน​เบื้อง​ต้นแ​ ละ​องค์ป​ ระกอบ​ทีส่​ ำ�คัญข​ อง​ระบบ​ธุรกิจพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์อ​ ย่าง​ กว้าง​ขวาง​และ​โดย​ละเอียด ตลอด​จน​ยก​ตัวอย่าง​กรณีศ​ ึกษา​ของ​ธุรกิจพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์แ​ บบ​บีท​ ูซ​ ีท​​ ี่เ​ป็น​ สมาชิก​ของ​สมาคม​ผู้ป​ ระกอบ​การ​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์​ไทย​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​มา​แล้ว ใน​หน่วย​นี้จ​ ะ​นำ�​เสนอ​กรณีศ​ ึกษา​ธุรกิจพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​ไทย​ที่ม​ ีแ​ บบ​จำ�ลอง​เป็นแ​ บบ​บีท​ ูบ​ี ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​อย่าง​น่า​ชื่นชม และ​บริษัท​ยังด​ ำ�เนิน​ธุรกิจ​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​โดย​เจริญ​ก้าวหน้า​มา​โดย​ตลอด​ อย่าง​ต่อ​เนื่อง​มา​ประกอบ​การ​บรรยาย การ​ที่​ผู้​เขียน​เน้น​เหตุ​ที่​เลือก​บริษัท​ธุรกิจ​ไทย​มา​เป็น​กรณี​ศึกษา เพราะ​ถ้า​นำ�​เทคโนโลยี​จาก​ต่าง​ ประเทศ​มา​ใช้​โดยตรง ใน​บาง​กรณีอ​ าจ​จะ​ยัง​ไม่เ​หมาะ​สม​กับ​สังคม​และ​วัฒนธรรม​องค์กร​ของ​ไทย ฉะนั้น​การ​ ประยุกต์​ใช้​เทคโนโลยี​และ​เทคนิค​กับ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​อย่าง​สมดุล​ตรง​กับ​สถานภาพ​และ​กาล​เวลา​ย่อม​เป็น​ ทาง​เลือก​ที่​ดี​ที่​จะ​นำ�พา​ให้ธ​ ุรกิจป​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ กรณี​ศึกษา​ที่​จะ​นำ�​มา​ประกอบ​การ​บรรยาย​นี้​คือ บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่ง​เป็น​บริษัท​ที​่ เข้า​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment – MAI) แล้ว​เมื่อ​เดือน​กรกฎาคม พ.ศ. 2553 และ​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​เจริญ​รุ่งเรือง​เป็น​อย่าง​ดี​มา​โดย​ตลอด ทั้ง​ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจการ​ของ​บริษัท​ และ​สถานะ​ของ​บริษทั ใ​ น​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ โดย​ราคา​หุน้ ข​ อง​บริษทั ส​ งู ข​ ึน้ อ​ ย่าง​ตอ่ เ​นือ่ ง​และ​มแ​ี นว​โน้ม​ จะ​ขยาย​เข้า​ตลาด​ใหญ่ค​ ือ ตลาดหลักทรัพย์​แห่ง​ประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand – SET) ใน​โอกาส​อัน​ใกล้ ซึ่งผ​ ู้เ​ขียน​เห็น​ว่า​ตัวอย่าง​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) เป็น​ตัวอย่าง​กรณี​ศึกษา​ที​่ น่า​สนใจ น่า​ติดตาม และ​น่า​เป็น​แบบ​อย่าง​ที่​นักศึกษา​จะ​ได้​เรียน​รู้​และ​นอกจาก​ภาค​ทฤษฎี​แล้ว นักศึกษา​ยัง​ มี​โอกาส​จะ​เรียน​รู้ใ​ น​ภาค​ปฏิบัติ​จาก​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้​โดย​สามารถ​ติดต่อ​บริษัท​เพื่อ​ขอ​ เข้า​เยี่ยม​ชม​กิจการ ทั้งนี้เ​พราะ​กรรมการ​ผู้จ​ ัดการ​ของ​บริษัท คือ คุณ​วร​วุฒิ อุ่น​ใจ ซึ่ง​เป็น​เจ้าของ​กิจการ​และ​ เป็น​ผู้​พัฒนา​ระบบ​ทั้งหมด​พร้อม​จะ​บรรยาย​ถ่ายทอด​และ​แลก​เปลี่ยน​ประสบการณ์​จริง​ให้​นักศึกษา​ที่​จะ​เข้า​ เยี่ยม​ชม​บริษัท​ได้อ​ ีก​ด้วย เหตุ​จูงใจ​ที่​นำ�​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) มา​ถ่ายทอด​เป็น​กรณี​ศึกษา​อีก​ประการ​หนึ่ง​คือ บริษัท​เติบโต​อย่าง​จริงจังใ​ น​ช่วง​ระยะ​เวลา​อัน​สั้นเ​พียง​ช่วง​อายุ​คน​เพียง​รุ่น​เดียว (one generation) แม้น​ว่า​ ธุรกิจ​นี้​จะ​เป็น​ธุรกิจ​ของ​ครอบครัว​มา​ก่อน โดย​ใช้​ความ​รู้​จาก​การ​ทำ�​ธุรกิจ​แบบ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​มา​ใช้​ ต่อย​อด​จาก​ธุรกิจ​เดิม​อย่าง​จริงจังแ​ ละ​ครบ​ถ้วน​ก็​ทำ�ให้​บริษัท​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​อย่าง​น่า​ชื่นชม การนำ�​เสนอ​เนื้อหา​ใน​หน่วย​ที่ 15 นี้จ​ ะ​อ้างอิงท​ ฤษฎีจ​ าก​หัวข้อว​ ิชา​ที่ผ​ ่าน​มา มา​ประยุกต์แ​ ละ​ประกอบ​ การ​บรรยาย​กับ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ว่า​เขา​ประยุกต์​อย่างไร และ​ทำ�ไม​เขา​จึง​ประสบ​ความ​ สำ�เร็จ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-5

ธ ส

ใน​เนื้อหา​ของ​การ​บรรยาย จะ​เริ่ม​ต้น​จาก​ประวัติแ​ ละ​ธุรกิจ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) โดย คุณ​วร​วุฒิ อุ่น​ใจ เจ้าของ​บริษัทเ​ป็น​ผู้เ​รียบ​เรียง​เอง จาก​นั้น​จะ​เข้า​เนื้อหา​คือ ปัจจัยแ​ ห่ง​ความ​สำ�เร็จ และ​ จะ​ขยาย​เข้า​สู่​ราย​ละเอียด​ใน​แต่ละ​เรื่อง​จนถึง​ราย​ละเอียด​ภาค​ปฏิบัติ และ​ใน​ตอน​ท้าย​แต่ละ​เรื่อง​จะ​มี​การ​ วิเคราะห์​ถึง​เหตุแ​ ห่ง​ความ​สำ�เร็จว​ ่า “ทำ�ไม” ต่อไ​ ป การ​ลำ�ดับ​เนื้อหา​ใน​หน่วย​นี้​จะ​เรียง​ลำ�ดับ​ตาม​ความ​เชื่อม​โยง​กัน ได้แก่ หัวข้อ​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​เลือก​ ผลิตภัณฑ์ การ​ประยุกต์​ใน​เทคโนโลยี​และ​ปัจจัย​สำ�คัญ​กับ​การ​ใช้​เทคโนโลยี เทคนิค​ด้าน​การ​ตลาด​และ​การ ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​ต่างๆ เทคนิค​ด้าน​การ​ให้​บริการ​ที่​รวดเร็ว​มี​ประสิทธิภาพ​และ​ต้นทุน​ต่ำ� ตลอด​จน​การ​ใช้​ เทคนิค​ด้าน​การ​บริหาร​สินค้าค​ งคลัง (inventoy) และ​การขนส่ง (logistics) และ​การ​บริหาร​ข้อมูล​ลูกค้า​หรือ​ การ​ให้​บริการ​และ​ระบบ​การ​บริหาร​ข้อมูล​ลูกค้า​เพื่อ​การ​ให้​บริการ ที่​เรียก​ว่า การ​บริหาร​ลูกค้า​สัมพันธ์​หรือ​ ซี​อาร์​เอ็ม (Customer Relationship Management – CRM) การ​ใช้​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​และ​ระบบ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย และ​สุดท้าย​ซึ่งจ​ ะ​เป็น​ตัวอย่าง​ที่ด​ ี คือ​การ​เข้าส​ ู่​ยุค​โลกา​ภิ​วัต​น์ โดย​ขยาย​กิจการ​ของ​บริษัท​เข้า​ สู่​ตลาดหลักทรัพย์ ​เข้า​สู่​ระดับ​ชาติ​ และ​ขยาย​ออก​สู่​ต่าง​ประเทศ​ต่อ​ไป ซึ่ง​คงจะ​เป็น​เป้า​หมาย​ของ​ผู้​ทำ�​ธุรกิจ​ พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ที่อ​ ยาก​จะ​ไป​ถึงใ​ น​ปัจจุบัน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


15-6

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ตอน​ที่ 15.1

ธ ส

ข้อมูลพ​ ื้น​ฐาน​และ​ปัจจัย​แห่ง​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ บริษัท​ออฟฟิศเ​มท จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 15.1 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

เรื่อง​ที่ 15.1.1 ข้อมูล​พื้น​ฐาน​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) เรื่อง​ที่ 15.1.2 ปัจจัย​แห่ง​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

1. บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ก่อ​ตั้ง​จาก​ธุรกิจ​ครอบครัว และ​ต่อย​อด​ด้วย​ทายาท​ รุ่นป​ ัจจุบัน โดย​ทำ�​ธุรกิจจ​ ำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ตั้งแต่ต​ ้นด​ ้วย​การ​เปิด​ หน้า​ร้าน​ปกติ จน​ขยาย​มา​เป็น​ธุรกิจพาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​บี​ทูบี 2. ปัจจัย​แห่ง​ความ​สำ�เร็จ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบ​บี​ทูบี​ของ​บริษัท​ ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน) ประกอบ​ไป​ด้วย การ​เลือก​ผลิตภัณฑ์ ระบบ​แค​ตา​ล็อก​สินค้า ระบบ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​สอดคล้อง​กับ​พฤติกรรม​ของ​ลูกค้า การ​บริหาร​สินค้า​คงคลัง ระบบ​ การ​สื่อสาร​สอง​ทาง การ​บริหาร​การขนส่ง คลัง​สินค้า​อัจฉริยะ และ​ทีม​งาน​ด้าน​เทคโนโลยี​ สารสนเทศ​ของ​บริษัท ฐาน​ข้อมูล​ด้าน​การ​ตลาด การ​ติดตาม​และ​ประยุกต์​ใช้​สื่อ​การ​ตลาด​ สมัย​ใหม่ และ​การ​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา​ที่​ทำ�​อย่าง​ต่อ​เนื่อง

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 15.1 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. วิเคราะห์ข​ ้อมูล​พื้นฐ​ าน​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) 2. วิเคราะห์ป​ ัจจัยแ​ ห่ง​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน)


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-7

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.1.1 ขอ้ มูลพ​ นื้ ฐ​ าน​ของ​บริษทั อ​ อฟฟิศเ​มท​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

1. ภาพ​รวม​การ​ประกอบ​ธุรกิจ

บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) เป็น​บริษัท​ธุรกิจ​ของ​คน​ไทย ทำ�​ธุรกิจ​จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​ อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ให้​แก่​ลูกค้าอ​ งค์กร​เป็นห​ ลัก ด้วย​วิธี​การ​จัด​จำ�หน่าย​แบบ​ธุรกิจก​ าร​ค้า​ทาง​ไกล (distance trade) ด้วย​ระบบ​แค​ตา​ล็อก​และ​ผ่าน​ระบบ​สื่อสาร​ออนไลน์ เป็นพาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​บีท​ ูบี ให้​บริการ​ ครบ​วงจร​ตั้งแต่​การ​สั่งซ​ ื้อ​จนถึง​การ​จัด​ส่ง​สินค้า​ที่ท​ ัน​สมัย​สามารถ​ส่ง​สินค้า​ถึง​มือ​ลูกค้า​ใน​วัน​ถัด​ไป รายการ​สนิ ค้าป​ ระเภท​เครือ่ ง​เขียน​และ​อปุ กรณ์ส​ �ำ นักงาน​ผา่ น​แค​ตา​ลอ็ ก​เป็นส​ นิ ค้าท​ มี​่ ค​ี ณ ุ ภาพ​และ​ได้​ มาตรฐาน​กว่า 10,000 รายการ ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า​ของ​ผู้​ผลิต​ชั้น​นำ�​และ​ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท (house brands) แบ่ง​เป็น 11 หมวด​สินค้า ครอบคลุม​ถึง ผลิตภัณฑ์​สำ�หรับ​คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์​การ​เขียน​และ​ลบ​คำ�​ผิด อุปกรณ์​สำ�นักงาน​เบ็ดเตล็ด กาว เทป และ​อุปกรณ์​เพื่อ​การ​บรรจุ ผลิตภัณฑ์​กระดาษ แฟ้ม​และ​อุปกรณ์​จัด​ เก็บเ​อกสาร อุปกรณ์เ​พื่อก​ าร​ประชุมแ​ ละ​นำ�​เสนอ อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ส​ ำ�หรับโ​ รงงาน​และ​ ซ่อม​บำ�รุงอ​ าคาร เครื่อง​ดื่ม เครื่อง​ใช้ใ​ น​โรง​อาหาร (canteen) และ​ผลิตภัณฑ์ท​ ำ�ความ​สะอาด และ​เฟอร์นิเจอร์​ สำ�นักงาน บริษัทม​ ฐี​ าน​ลูกค้าอ​ งค์กร​มากกว่า 80,000 องค์กร ล้วน​เป็นอ​ งค์กร​ชั้นน​ ำ�​ขนาด​ใหญ่ข​ อง​ประเทศ เช่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ธนาคาร​พาณิชย์เ​กือบ​ทุกธ​ นาคาร กลุ่มบ​ ริษัทใ​ น​เครือเ​จริญโ​ ภคภัณฑ์ กลุ่มบ​ ริษัท​ ใน​เครือน​ ้ำ�ตาล​มิตร​ผล องค์กร​ใน​ภาค​รัฐ กระทรวง​ต่างๆ และ​มหาวิทยาลัยห​ ลาย​แห่ง เป็นต้น บริษัท​มี​ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อท​ ี่อ​ ำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​ลูกค้า​องค์กร​ได้ 3 ระบบ คือ 1. ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อผ​ ่าน​คอลล์​เซ็นเตอร์ (call center) 2. ระบบ​รับคำ�​สั่ง​แบบ​ออนไลน์ 3. ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อท​ ี่พ​ ัฒนา​เฉพาะ​แต่ละ​องค์กร เรียก​ว่า OfficeMate e-Procurement ใน​ปี พ.ศ. 2552 บริษัทข​ ยาย​ธุรกิจส​ ู่​กลุ่ม​ลูกค้า​บุคคล​ผ่าน​เว็บไ​ ซต์​แบบ​บีท​ ู​ซี เว็บไซต์ท​ ี่​ใช้​กับ​ลูกค้า​ กลุ่ม​ใหม่น​ ี้​เป็น​เว็บไซต์แ​ นวคิด​ใหม่ท​ ี่​เรียก​ว่า อี​ซี​คอม​เมิร์ซ (Electronic Community Commerce – ecCommerce) เป็นการ​ผสม​ผสาน​แหล่ง​พบปะ​พูด​คุย​ของ​คน​ออนไลน์ และ​การ​จำ�หน่าย​สินค้า​ผ่าน​การ​สั่ง​ซื้อ​ ออนไลน์ และ​นอกจาก​จะ​ขาย​สินค้าเ​ครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ที่ข​ าย​อยู่​แล้ว บริษัท​ยัง​ได้​เพิ่มสิน​ค้า​ที่​ เกี่ยวข้อง​กับช​ ีวิตป​ ระจำ�​วันก​ ว่า 10,000 รายการ แบ่งเ​ป็น 15 หมวด ได้แก่ ความ​งาม สุขภาพ เกม​คอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดย​มุ่ง​เน้น​การ​จำ�หน่าย​สินค้า​ที่​มีค​ ุณภาพ บริษัทไ​ ด้ม​ ีก​ าร​ลงทุนใ​ น​คลังส​ ินค้าข​ นาด​ใหญ่แ​ ห่งใ​ หม่ พร้อม​ด้วย​ระบบ​การ​บริหาร​จัดการ​คลังส​ ินค้า​ และ​การ​ขนส่ง​สินค้า​ด้วย​เทคโนโลยี ทั้งอ​ ุปกรณ์แ​ ละ​ระบบ​สารสนเทศ​ที่​ทันส​ มัย ซึ่ง​สามารถ​รองรับ​การ​สั่ง​ซื้อ​ จาก​ลูกค้า​ได้ม​ าก​ถึง 5,000 องค์กร​ต่อ​วัน​และ​บริการ​จัด​ส่ง​ฟรี​ทั่ว​ประเทศ กรณี​ลูกค้า​ใน​เขต​กรุงเทพมหานคร​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-8

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

และ​พื้นทีใ่​ กล้เ​คียง​สามารถ​ส่งใ​ ห้ถ​ ึงม​ ือล​ ูกค้าภ​ ายใน​วันท​ ำ�การ​ถัดไ​ ป พร้อม​รับป​ ระกันค​ วาม​พึงพ​ อใจ​ของ​ลูกค้า​ ทุก​ราย โดย​บริษัท​จะ​รับ​คืน​สินค้า​ทุก​ชิ้น​ถ้า​ลูกค้า​ไม่พ​ อใจ​ใน​สินค้า บริษัท​พิมพ์แ​ ค​ตา​ล็อก​แบบ​รูป​เล่ม 4 สี กว่า 600 หน้า จำ�นวน 200,000 เล่ม​โดย​พิมพ์​ปีล​ ะ​สอง​ครั้ง สามารถ​นำ�​เสนอ​ราย​ละเอียด​ของ​สินค้า​กว่า 10,000 รายการ แจก​ฟรี​ให้​กับล​ ูกค้า​ทั่วประเทศ เพื่อต​ อบ​สนอง​การ​ขยาย​ตัวข​ อง​ฐาน​ลูกค้าท​ ีข่​ ยาย​ตัวอย่าง​รวดเร็ว บริษัทไ​ ด้ป​ รับก​ ลยุทธ์ก​ าร​ตลาด​ใน​ เชิงร​ ุกโ​ ดย​การ​จัดท​ ำ�​แค​ตา​ล็อก​อิเล็กทรอนิกส์​หรืออ​ แี​ ค​ตา​ล็อก (e-Catalog) และ​แค​ตา​ล็อก​ราย​เดือน เพื่อเ​ป็น​ ช่อง​ทาง​ให้​ลูกค้า​สามารถ​ติดตาม​สินค้า​ออก​ใหม่​หรือ​ราคา​ที่​เปลี่ยนแปลง​ใน​แต่ละ​เดือน​และ​เป็นการ​นำ�​เสนอ​ รายการ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​และ​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​รักษา​ความ​สัมพันธ์​กับล​ ูกค้า​อย่าง​ต่อ​เนื่อง

ธ ส

ธ ส

2. ข้อมูล​สถาน​ที่​ตั้ง ทุนจ​ ด​ทะเบียน ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน และ​ข้อมูลด​ ้าน​บุคลากร​ของ​บริษัท ชื่อ​บริษัท ที่​ตั้ง เว็บไซต์ ธุรกิจ​หลัก​คือ

ออฟฟิศเ​มท จำ�กัด (มหาชน) (Officemate Public Company Limited) เลข​ที่ 24 ซ.อ่อนนุช 66/1 แขวง​สวนหลวง เขต​สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 www.officemate.co.th และ www.trendyday.com จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ผ่าน​ระบบ​แค​ตา​ล็อก ไม่มี​ หน้ า ​ร้ า น​ข าย​ป ลี ก หรื อ ​เ รี ย ก​อี ก ​แ บบ​ห นึ่ ง ​ว่ า ธุ ร กิ จ ​ก าร​ค้ า ​ท าง​ไ กล (distance trade) ทุน​จด​ทะเบียน 80 ล้าน​บาท ชำ�ระ​เต็ม​จำ�นวน ตลาด​หุ้น​ที่​เข้า​คือ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI) ราคา​หุ้น​ต่อ​หน่วย 1 บาท ราคา​ใน​ตลาด 14 บาท (เดือน​พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) สัดส่วน​การ​ถือ​หุ้น ​ตระกูล​อุ่นใ​ จ 60% ผู้​ถือ​หุ้น​ทั่วไป 40% นโยบาย​จ่าย​เงินปันผล​คือ ไม่​น้อย​กว่า 40% ของ​กำ�ไร​สุทธิ ปี พ.ศ. 2554 (สถานะ​ทางการ​เงิน​ล้าน​บาท​ต่อ​ปี) ราย​ได้ (revenue)/ปี 1.152 ล้าน​บาท อัตรา​การ​เจริญ​เติบโต (% growth) 9.8 % กำ�ไร​เบื้อง​ต้น (EBITDA) 64.7 ล้าน​บาท กำ�ไร​สุทธิ (net profit) 36.0 ล้าน​บาท ด้าน​บุคลากร กรรมการ​ผู้จ​ ัดการ​ชื่อ นาย​วร​วุฒิ​ อุ่นใ​ จ จำ�นวน​พนักงาน 400 คน จำ�นวน​ลูกค้า​องค์กร 80,000 หน่วย​งาน แค​ตา​ล็อก 600 หน้า สินค้า 10,000 รายการ พิมพ์​ครั้งล​ ะ 200,000 เล่ม ทุก 6 เดือน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

3. วงจร​ใน​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท

15-9

ธ ส

เพื่อ​ให้​นักศึกษา​เข้าใจ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ง่าย​ขึ้น จึง​ แสดง​ภาพ​เป็น 5 ขั้นต​ อน (ภาพ​ที่ 15.1 ถึง​ภาพ​ที่ 15.5) ดังนี้

ธ ส

ขั้น​ตอน​ที่ 1 การ​สั่ง​ซื้อ (ordering) : หลาก​หลาย​ช่อง​ทางใน​การ​สั่ง​สินค้า

ธ ส

ธ ส

โทร​สั่งส​ ินค้า​ผ่าน​เจ้าห​ น้าที่ Contact Center

ธ ส

ธ ส

ธ ส

สั่งผ​ ่าน​โทรสาร​ที่ห​ มายเลข 02-721-1717

ธ ส

สั่งผ​ ่าน www.officemate.co.th

ม ม

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.1 ขั้น​ตอน​ที่ 1 ของ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)


15-10

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ขั้น​ตอน​ที่ 2 ระบบ​ประมวล​ผล​คำ�​สั่ง​ซื้อ (ordering processing system) : พนักงาน​ของ​ฝ่าย “contact center” ส่งเ​อกสารใบสั่งขาย (sale order) ให้​คลัง​สินค้า

ธ ส

ธ ส

ธ ส

สั่งซื้อสินค้าผ​ ่าน​ทาง​ระบบ​คอมพิวเตอร์

ธ ส

Sale order ถูกส่ง​ไป​ยัง​คลังส​ ินค้า

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.2 ขั้น​ตอน​ที่ 2 ของ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ธ ส

ขั้น​ตอน​ที่ 3 การ​ตรวจ​สอบ​คุณภาพ​และ​การ​บรรจุ (quality checking & packing) : จัด​สินค้า ตรวจ​สอบ และ​บรรจุ​สินค้า

ธ ส

จัด​สินค้า​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

บรรจุ​สินค้า

15-11

ตรวจ​สอบ​สินค้า​

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.3 ขั้น​ตอน​ที่ 3 ของ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-12

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ขั้น​ตอน​ที่ 4 ระบบ​โล​จิ​สติ​กส์ (logistic system) : จัด​สายส่ง​สินค้า

ธ ส

ธ ส

ธ ส

แบ่งส​ ินค้าต​ าม​สาย​จัด​ส่ง​

ธ ส

เตรียม​สินค้าข​ ึ้น​รถ

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.4 ขั้น​ตอน​ที่ 4 ของ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน)

ขั้น​ตอน​ที่ 5 การ​จัด​ส่ง (delivery) : ส่งส​ ินค้า​ถึง​มือ​ลูกค้าภ​ ายใน 24 ชั่วโมง

ธ ส

รถ​จัด​ส่ง​กว่า 80 คัน ครอบคลุม​ พื้นที่ก​ รุงเทพฯ และ​ปริ​มณฑล

ธ ส

ธ ส

จ​ ัดส่ง​สินค้าถ​ ึง​มือ​ท่าน ภายใน 24 ชั่วโมง​ทำ�การ

ภาพ​ที่ 15.5 ขั้น​ตอน​ที่ 5 ของ​วงจร​ของ​ระบบ​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)


ธ ส

15-13

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

4. โครงสร้าง​ราย​ได้​ของ​บริษัท

ธ ส

บริษัท​มี​ราย​ได้​หลัก​จาก​การ​จำ�หน่าย​สินค้า​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ซึ่ง​เป็น​ธุรกิจ​หลัก​ของ​ บริษัท ขณะ​ที่​แค​ตา​ล็อก​สามารถ​สร้าง​ราย​ได้​ค่า​โฆษณา​ให้​แก่​บริษัท (ตาราง​ที่ 15.1)

ธ ส

ตาราง​ที่ 15.1 โครงสร้าง​ราย​ได้ข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท​จำ�กัด (มหาชน)

รายได้

ล้านบาท

รายได้จากการจำ�หน่ายสินค้า

ธ ส

2550

2551

ร้อยละ

2552

2553

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

811.13

95.8%

925.74

95.9%

871.16

95.3%

1,045.23

95.84%

26.09

3.1%

36.32

3.8%

36.71

4.0%

37.77

3.46%

รายได้อื่นๆ

9.66

1.1%

3.37

0.3%

6.28

0.7%

7.65

0.7%

รายได้รวม

846.88

รายได้จากค่าโฆษณา

ธ ส

100%

965.43

100%

914.16

5. ประวัตคิ​ วาม​เป็น​มา การ​เปลี่ยนแปลง และ​พัฒนาการ​ที่​สำ�คัญ

100%

ธ ส

1,090.65

100%

บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน) จด​ทะเบียน​จัดต​ ั้งเ​มื่อว​ ันท​ ี่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 โดย​ตระกูล​ อุ่น​ใจ ซึ่ง​มี​ประสบการณ์​ใน​ธุรกิจจ​ ำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​มากว่า 40 ปี บริษัทเ​ริ่มต​ ้นจ​ าก​ธุรกิจค​ รอบครัวข​ นาด​เล็ก เปิดห​ น้าร​ ้าน​จำ�หน่าย​สินค้าแ​ ก่ผ​ ูบ้​ ริโภค​ทั้งข​ าย​ปลีกแ​ ละ​ ขายส่ง ต่อ​มา​เมื่อเ​กิด​วิกฤต​เศรษฐกิจ คุณว​ ร​วุฒิ อุ่น​ใจ ทายาท​ขณะ​นั้น​กำ�ลังศ​ ึกษา​ใน​ระดับป​ ริญญา​ตรี​ได้​เข้า​ มา​ชว่ ย​บริหาร​กจิ การ​และ​ได้พ​ ฒ ั นา​ระบบ​การ​บริหาร​งาน​ดว้ ย​แนวคิดด​ า้ น​การ​ตลาด​ยคุ ใ​ หม่ผ​ สม​กบั ก​ ารนำ�​ระบบ​ เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​เข้าม​ า​ใช้ใ​ น​การ​ดำ�เนินธ​ ุรกิจ โดย​เริ่มจ​ าก​การ​จัดท​ ำ�​รายการ​สินค้าเ​สนอ​แก่ผ​ ูป้​ ระกอบ​การ​ ราย​ย่อย​ด้วย​บริการ​ส่ง​สินค้า​ถึงที่ ซึ่ง​เป็นการ​เข้า​ถึง​ผู้​ประกอบ​การ​และ​ลูกค้า​โดยตรง​ด้วย​ตนเอง​เพื่อ​แนะนำ�​ ธุรกิจ​และ​สินค้า ด้วย​วิธีก​ าร​นี้​ได้​ผล​ตอบ​รับ​เป็น​อย่าง​ดี บริษัท​ได้​ขยาย​กิจการ​จน​ก่อต​ ั้งเ​ป็น​บริษัท​จำ�กัด ใน​นาม บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด ใน​ปี พ.ศ. 2537 ซึ่ง​เป็นจ​ ุด​เริ่ม​ต้น​ใน​การนำ�​ธุรกิจก​ าร​ค้า​ทาง​ไกล (distance trade) ผ่าน​แค​ตา​ล็อก​และ​เว็บไซต์​ใน​เวลา​ต่อ​มา ใน​ชว่ ง​เริม่ ต​ น้ บ​ ริษทั ไ​ ด้ป​ ระกอบ​ธรุ กิจจ​ �ำ หน่าย​เครือ่ ง​เขียน​และ​อปุ กรณ์ส​ �ำ นักงาน​ผา่ น​ระบบ​แค​ตา​ลอ็ ก​ แบบ​รูป​เล่ม โดย​รับคำ�​สั่งซ​ ื้อผ​ ่าน​ระบบ​คอลล์​เซ็นเตอร์ ต่อ​มา​บริษัท​ได้​มี​การ​ขยาย​หมวด​สินค้า​ให้​ครอบคลุม​ ไป​ถึง​กลุ่ม​เฟอร์นิเจอร์ และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ที่​เกี่ยวข้อง พร้อม​กับ​พัฒนา​ระบบ​การ​ขาย​แบ​บออน​ไลน์​ด้วย​ แค​ตา​ลอ็ ก​อเิ ล็กทรอนิกส์ห​ รืออ​ แ​ี ค​ตา​ลอ็ ก (e-Catalog) แบบ​บท​ี บู ท​ี เี​่ ข้าถ​ งึ ไ​ ด้ง​ า่ ย สะดวก ทันส​ มัยแ​ ละ​ครอบคลุม​ ยิ่ง​ขึ้น​ใน​ลักษณะ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ และ​ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เพื่อร​ องรับก​ าร​จัดซ​ ื้อข​ อง​องค์กร​ทั้งภ​ าค​รัฐแ​ ละ​เอกชน ทีเ่​น้นป​ ระสิทธิภาพ​และ​ความ​โปร่งใส​ใน​การ​จัดซ​ ื้อ โดย​ ลูกค้า​สามารถ​สั่ง​ซื้อส​ ินค้า​ผ่าน​เว็บไซต์​ของ​บริษัทไ​ ด้​ทันที พร้อม​บริการ​จัด​ส่ง​ภายใน​วัน​ทำ�การ​ถัด​ไป

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-14

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

6. การ​พัฒนา​ที่​สำ�คัญ ตั้งแต่​ปี พ.ศ. 2537 จนถึงป​ ัจจุบัน

ราย​ละเอียด​พัฒนาการ​ที่​สำ�คัญข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ดัง​แสดง​ใน​ตาราง​ที่ 15.2

ธ ส

ตาราง​ที่ 15.2 พัฒนาการ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน)

ปี พ.ศ.

ม 2537

2542

ธ ส

- ปรับ​เปลี่ยน​ระบบ​คลังส​ ินค้า​เป็น​ระบบ​แนว​ราบ​บน​พื้นที่ 2,000 ตาราง​เมตร​และ​บริหาร​คลัง​สินค้า​ โดย​ระบบ​การ​จัดการ​คลัง​สินค้า ซึ่งช​ ่วย​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ใน​การ​บริหาร​คลัง​สินค้า และ​การ​จัด​ ส่งส​ ิน​ค้า

ธ ส

ม 2551

ธ ส

- เปิด​ให้​บริการ​เว็บไซต์ www.officemate.co.th และ​อี​แค​ตา​ล็อก (e-Catalog) เพื่อ​เพิ่ม​ ประสิทธิภาพ​และ​เพิ่ม​ช่อง​ทางใน​การ​สั่ง​สินค้า​ของ​ลูกค้าใ​ ห้เ​ข้า​ถึง​ได้ง​ ่าย​ยิ่งขึ้น

2545

2548

- จัดต​ ั้งบ​ ริษัทด​ ้วย​ทุนจ​ ด​ทะเบียน​เริ่มแ​ รก​จำ�นวน 5 ล้าน​บาท เพื่อจ​ ำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​ สำ�นักงาน​ผ่าน​ระบบ​แค​ตา​ล็อก​ซึ่งพ​ ิมพ์ค​ รั้งแ​ รก​ประมาณ 20,000 เล่ม และ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​ผ่าน​ระบบ​ คอลล์​เซ็นเตอร์ โดย​มี​เป้า​หมาย​ลูกค้าอ​ งค์กร​ทำ�​ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​บีทูบี

2544

2546

พัฒนาการที่สำ�คัญ

- ติด​ตั้ง​ระบบ​คอลล์​เซ็นเตอร์​อัจฉริยะ (intelligent call center) โดย​นำ�​ระบบ​ซอฟต์แวร์​เข้า​มา​ ช่วย​ใน​การ​บริหาร​จัดการ และ​การ​ควบคุมร​ ะบบ​คอลล์​เซ็นเตอร์​ให้ม​ ีป​ ระ​สิ​ทธิภ​ าพมากขึ้น

- พัฒนา​ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ซึ่ง​เป็นแ​ บบ​บีท​ ูบี​เพื่อ​ให้ต​ รง​กับ​ ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า​องค์กร​เฉพาะ​แต่​ละ​องค์ก​ ร

ธ ส

- จัดทำ�นิตยสาร “At Office” เป็นรายเดือน จำ�นวนพิมพ์ครั้งแรกประมาณ 40,000 เล่ม

- เริ่​มดำ�​เนิน​การ ณ คลัง​สินค้า​แห่ง​ใหม่ที่​ทัน​สมัย สามารถ​รองรับ​สินค้า​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​ สำ�นักงาน​กว่า 10,000 รายการ บน​พื้นที่​จัดเ​ก็บ​สินค้า​กว่า 7,200 ตาราง​เมตร - พิมพ์แ​ ค​ตา​ล็อก 4 สีท​ ั้งเ​ล่มก​ ว่า 600 หน้า จำ�นวน 200,000 เล่มท​ ี่ส​ ามารถ​นำ�​เสนอ​ราย​ละเอียด​ของ​ สินค้า​กว่า 10,000 รายการ​เพื่อ​ตอบ​สนอง​ฐาน​ลูกค้า​ที่ข​ ยาย​ตัว - แปร​สภาพ​เป็น​บริษัท​มหาชน เมื่อ​วัน​ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ด้วย​ทุนจ​ ด​ทะเบียน 80 ล้าน​บาท และ​ทุน​ชำ�ระ​แล้ว​จำ�นวน 56 ล้าน​บาท

ธ ส

ธ ส

2552

- เปิดใ​ ห้บ​ ริการ​เว็บไซต์ www.trendyday.com เพือ่ ต​ อบ​สนอง​ความ​ตอ้ งการ​ของ​กลุม่ ล​ กู ค้าบ​ คุ คล โดย​เพิ่มห​ มวด​สินค้า​ที่เ​กี่ยวข้อง​กับ​ชีวิตป​ ระจำ�​วัน​ภาย​ใต้ช​ ื่อ Trendyday - ปรับ​กลยุทธ์​การ​ตลาด​ใน​เชิง​รุก​โดย​การ​จัด​ทำ�​แค​ตา​ล็อก​ราย​เดือน “Trendyday/OfficeMate Catalog” แทน​การ​จัด​ทำ�​นิตยสาร “At Office” โดย​นำ�​เสนอ​รายการ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​แก่​ลูกค้า โดยตรง​และ​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​รักษา​ความ​สัมพันธ์​กับ​ลูกค้าไ​ ด้อ​ ย่าง​ต่อเ​นื่อง - เริ่ม​บริการ​ธุรกิจ Redeem Center เพื่อ​เป็นช​ ่อง​ทางใน​การ​แลก​รับ​ของ​กำ�นัลท​ าง​ออนไลน์ โดย​ เน้น​ธุรกิจ​บัตร​เครดิต​ของ​ธนาคาร​พาณิชย์​เป็นก​ลุ่ม​ลูกค้าเ​ป้า​หมาย​ใน​ช่วง​เริ่มต้น

2553

- นำ�หุ้นของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI)

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

7. เป้า​หมาย​ใน​อนาคต​ของ​บริษัท

15-15

ธ ส

บริษัท​มี​เป้า​หมาย​หลัก​ใน​เชิงธ​ ุรกิจ 3 ประการ คือ 1) ธุรกิจ​แบบ​บี​ทูบี บริษัท​มุ่ง​มั่น​ให้​บริษัท​เป็น​ผู้นำ�​ใน​ตลาด​ของ​ประเทศ​ใน​ธุรกิจ​การ​จำ�หน่าย​ เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน ตั้ง​เป้า​หมาย​จะ​สร้าง​มาตรฐาน​รายการ​สินค้า​ให้​มี​รายการ​สินค้า​ให้​มาก​ ที่สุด และ​ราคา​เป็นท​ ี่​ยอมรับ​ใน​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท เพื่อ​ให้​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท​เป็นแ​ ค​ตา​ล็อก​ของ​อุปกรณ์​ สำ�นักงาน​แห่ง​ชาติ 2) ขยาย​ธุรกิจไ​ ป​สบู่​ ี​ทู​ซี บริษัท​ต้องการ​ขยาย​ฐาน​ลูกค้า​เป็น​ลูกค้า​บุคคล​มาก​ขึ้น เพื่อ​ให้​ครอบคลุม​ ธุรกิจ​ด้าน​นี้ส​ มบูรณ์แ​ ละ​ครบ​วงจร เพื่อ​ทำ�​ธุรกิจท​ ี่​เกี่ยว​ข้อ​งอื่นๆ ต่อ​ไป 3) ขยาย​ธุรกิจ​ออก​ไป​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน เมื่อ​บริษัท​ทำ�​ธุรกิจ​ทั้ง​แบบ​บี​ทูบี​และ​แบบ​บี​ทู​ซี​ครบ​วงจร​ และ​มี​ฐาน​ของ​สินค้า​ที่ม​ ั่นคง​แล้ว การนำ�​ธุรกิจข​ อง​บริษัท​ขยาย​ออก​ไป​ต่าง​ประเทศ​คง​ไม่​ยาก

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.1.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.1.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.1 เรื่อง​ที่ 15.1.1

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.1.2 ปัจจัย​แห่งค​ วาม​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

จาก​ความ​สำ�เร็จข​ อง​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ตั้งแต่​อดีต​ถึง​ปัจจุบัน สามารถ​หยิบยก​มา​ อธิบาย​ให้​นักศึกษา​ได้​วิเคราะห์​เพื่อ​เป็น​กรณี​ศึกษา​และ​เป็น​แบบ​อย่าง​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจ​ การ​ค้า​ทาง​ไกล (distance trade) โดย​พิจารณา​จาก​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​มี​แนวคิด​และ​แนว​ปฏิบัติ​อย่างไร​ ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ จึง​ทำ�ให้​บริษัท​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ โดย​พบ​ว่า​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท จำ�กัด (มหาชน) มี​ปัจจัยแ​ ห่ง​ ความ​สำ�เร็จ​ด้วย​กัน​หลาย​ปัจจัย ดังนี้ 1. การ​เลือก​ผลิตภัณฑ์ คุณ ว​รา​วุฒิ อุ่นใ​ จ ผูบ้​ ริหาร​ระดับส​ ูงแ​ ละ​เจ้าของ​บริษัท โชค​ดที​ ีไ่​ ด้ร​ ับส​ ืบทอด​ ธุรกิจ​การ​ขาย เครื่อง​เขียน​แบบ​พิมพ์​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​จาก​ครอบครัว เพราะ​ผลิตภัณฑ์​นี้​เหมาะ​อย่าง​ยิ่ง​ กับ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ ถ้า​นักศึกษา​ย้อน​กลับ​ไป​ศึกษา​ใน​หัวข้อ​เกี่ยว​กับ​การ​เลือก​สินค้า​ ที่​เหมาะ​สม​กับ​การ​จำ�หน่าย​ผ่าน​ระบบ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​แบบ​บี​ทู​ซี​ใน​หน่วย​ที่ 14 จะ​เห็น​ได้​ว่า​สินค้า​ เครื่อง​เขียน​แบบ​พิมพ์ และ​เครื่อง​ใช้​สำ�นักงาน​มี​ความ​เหมาะ​สมอ​ย่าง​ยิ่ง คือ​เป็น​สินค้า​ที่​มี​ลักษณะ​มาตรฐาน​ ทั่วไป​ที่​ลูกค้า​สามารถ​จินตนาการ​รูป​ลักษณะ​ได้ มี​คุณภาพ​และ​ราคา​เป็น​มาตรฐาน​ที่​สามารถ​รับ​รู้​ทั่ว​กัน และ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-16

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

นี่​คือ​การ​เริ่ม​ต้น​การ​ไป​สู่​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ใน​ทิศทาง​ที่​ถูก​ต้อง ดุจ​การ​เริ่ม​ต้น​ติด​กระดุม​เสื้อ​เม็ด​แรก​ที่​ ถูก​ต้อง​และ​จะ​นำ�ทาง​ให้​ติด​เม็ด​ต่อๆ ไป​ถูก​ต้อง​ตาม​ไป​ด้วย 2. ระบบ​แค​ตา​ลอ็ ก​สนิ ค้า บริษัทเ​ลือก​การ​เริ่มต​ ้นธ​ ุรกิจด​ ้วย​ระบบ​การ​ขาย​ผ่าน​แค​ตา​ล็อก​ซึ่งเ​ป็นการ​ เลือก​จุด​เริ่ม​ต้นธ​ ุรกิจ​ใหม่ท​ ี่​เหมาะ​สม​ที่สุด​สำ�หรับ​การ​จะ​ต่อย​อด​ธุรกิจ​เพื่อ​ก้าว​ไป​สู่​ธุรกิจ​ออนไลน์ เพราะ​เมื่อ​ ลูกค้าม​ ี​ความ​คุ้นเ​คย​กับ​การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​แบบ​ไม่​เห็น​สินค้า​จริง​ก่อน (ซึ่ง​ก็​ทำ�ได้​ไม่​ง่าย​นัก) และ​จาก​นั้น​ลูกค้า​ จะ​สามารถ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​จาก​การ​ซื้อ​แบบ​ออฟ​ไลน์​สู่​การ​สั่ง​ซื้อ​แบบ​ออนไลน์​ง่าย​ขึ้น และ​บริษัท​ก็​จะ​ สามารถ​พฒ ั นา​อย่าง​เป็นร​ ะบบ​ตอ่ เ​นือ่ ง​ตอ่ ไ​ ป จน​ใน​ทีส่ ดุ บ​ ริษทั ไ​ ด้พ​ ฒ ั นา​ระบบ​แค​ตา​ลอ็ ก​ออนไลน์ใ​ น​เวลา​ตอ่ ม​ า 3. ระบบ​การ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​สอดคล้อง​กับ​พฤติกรรม​ลูกค้า ใน​ช่วง​เริ่ม​ต้น แม้​บริษัท​จะ​มี​ความ​ พร้อม​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ออนไลน์​ด้วย​วิธี​การ​ต่างๆ แต่​บริษัทย​ ัง​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ระบบ​การ ​ออฟ​ไลน์​ก่อน เพราะ​บริษัท​ตระหนัก​ดี​ว่า​ต้อง​ใช้​เวลา​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​ของ​ลูกค้า และ​อีก​ประการ​ หนึ่งล​ ูกค้าส​ ่วน​ใหญ่ย​ ังไ​ ม่ม​ ั่นใจ​ใน​ความ​ปลอดภัยใ​ น​ระบบ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ออนไลน์ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่งก​ าร​ชำ�ระ​ แบบ​ออนไลน์ด​ ้วย​บัตร​เครดิต ด้วย​เหตุน​ ี้​บริษัทจ​ ึง​เลือก​การ​ชำ�ระ​เงินป​ ลาย​ทาง​ผ่าน​พนักงาน​เก็บเ​งิน จึง​เป็น​ คำ�​ตอบ​ที่​ดี​ที่สุดใ​ น​ช่วง​เริ่ม​ต้น 4. การ​บริหาร​สนิ ค้าค​ งคลัง เมื่อธ​ ุรกิจข​ อง​บริษัทด​ ำ�เนินไ​ ป​ได้ร​ ะยะ​หนึ่งแ​ ล้ว ปัจจัยแ​ ห่งค​ วาม​สำ�เร็จท​ ​ี่ สำ�คัญ​มาก​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ของ​บริษัท คือ การ​บริหาร​สินค้า​คงคลัง (stock management) และ​ระบบ​การ​ขนส่ง​ อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ บริษัท​ได้​ให้​ความ​สำ�คัญ​อย่าง​มาก​ใน​กา​รสต็​อก​สินค้า​เอง​ทุก​รายการ เพื่อ​ให้​สามารถ​ ควบคุมค​ ุณภาพ และ​มาตรฐาน​ทั้งใ​ น​ด้าน​สินค้าแ​ ละ​การ​จัดส​ ่ง ซึ่งเ​ป็นส​ ิ่งจ​ ำ�เป็นใ​ น​การ​สร้าง​ความ​พึงพ​ อใจ​และ​ ความ​เชื่อ​มั่น​ให้​กับ​ลูกค้า 5. ระบบ​การ​สื่อสาร​สอง​ทาง เพื่อ​แก้​จุด​อ่อนข​อง​ระบบ​ธุรกิจ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​มี​การ​สื่อสาร​ กับ​ลูกค้า​ไม่​มาก​นัก เพราะ​เป็น​รูป​แบบ​การ​สื่อสาร​ทาง​เดียว บริษัท​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​สื่อสาร​กับ​ลูกค้า​ใน​ แบบ​การ​สื่อสาร​ทั้ง​ออนไลน์​และ​ออฟ​ไลน์​เข้า​ไว้​ด้วย​กัน เนื่องจาก​ลูกค้า​ส่วน​ใหญ่​ยัง​มี​ความ​พอใจ​ที่​จะ​ได้​รับ​ การ​ติดต่อ​สื่อสาร​เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​มั่นใจ​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า และ​ระบบ​นี้​ยัง​เป็นการ​สร้าง​ความ​สัมพันธ์​ที่​ดี​กับ​ ลูกค้า เพื่อ​ให้​ลูกค้าเ​กิด​ความ​ภักดี (brand loyalty) อีก​ด้วย 6. การ​จัด​การ​โล​จิ​สติก​ ส์ ต้นทุน​ของ​การ​ขนส่ง​ก็​เป็น​ปัจจัย​ที่​สำ�คัญ​อีก​ระบบ​หนึ่ง บริษัท​สามารถ​แก้​ ปัญหา​ที่ท​ ้าทาย​นี้ไ​ ด้ด​ ้วย​การนำ�​เทคโนโลยี​มา​ใช้ได้อ​ ย่าง​เหมาะ​สม​และ​มีป​ ระสิทธิภาพ โดย​ได้น​ ำ�​โปรแกรม​การ​ จัดสรร​เส้นท​ าง​ขนส่งม​ า​ใช้ เพื่อจ​ ัดสรร​รายการ​สินค้าท​ ี่​จะ​ต้อง​ส่ง​ใน​เส้น​ทาง​เดียวกันห​ รือ​ใกล้​เคียง​ให้​สามารถ​ ใช้​รถ​จัด​ส่ง​ร่วม​กัน​ได้ เพื่อล​ ด​ปริมาณ​การ​ใช้​รถ​ขนส่ง​สินค้า​และ​ทำ�ให้​การ​จัด​ส่ง​ใน​แต่ละ​รอบ​คุ้ม​ค่าก​ ับ​ต้นทุน หรือท​ ี่​เรียก​ว่า​เกิด การ​ประหยัด​จาก​ขนาด (economy of scale) อีก​ทั้ง​ยังม​ ี​การนำ�​ระบบ​นำ�ทาง​ผ่าน​ดาวเทียม (GPS) มา​ควบคุมแ​ ละ​บริหาร​เส้นท​ าง​เดินรถ​จดั ส​ ง่ เพือ่ ช​ ว่ ย​ค�ำ นวณ​เส้นท​ าง​ทแี​่ ม่นยำ�​และ​ดท​ี ีส่ ดุ ใ​ ห้แ​ ก่พ​ นักงาน​ ขับร​ ถ ทำ�ให้ล​ ด​การ​สูญเ​สียเ​วลา​และ​ต้นทุนน​ ้ำ�มัน แม้บ​ ริษัทจ​ ะ​ลงทุนด​ ้าน​นีส้​ ูง แต่ก​ าร​ใช้ท​ รัพยากร​ร่วม​กันข​ อง​ ทุก​บริการ ไม่​ว่า​จะ​เป็น OfficeMate, www.trendyday.com หรือ Redeem Center ทำ�ให้​ปริมาณ​การ ​สั่ง​ซื้อ​ที่​เพิ่ม​ขึ้น ช่วย​ลด​ต้นทุน​ต่อ​หน่วย​ใน​การ​ขนส่ง​ถูก​ลง​มาก (economy of scale in logistics)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-17

ธ ส

7. คลังส​ ินค้า​อัจฉริยะ การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​การ​สร้าง​คลัง​สินค้า (warehouse) ​ขนาด​ใหญ่​และ​ใช้​ระบบ ​การ​บริหาร​งาน​คลัง​สินค้า​ด้วย เทคโนโลยี​ที่​ทัน​สมัย พร้อม​กับ​การ​วาง​กระบวนการ​ทำ�งาน​ภายใน​ที่​ดี​ก็​เป็น​ ปัจจัยท​ สี​่ �ำ คัญอ​ ย่าง​ยิง่ ป​ จั จัยห​ นึง่ ท​ จี​่ ะ​ท�ำ ให้บ​ ริษทั ป​ ระสบ​ความ​ส�ำ เร็จ คลังส​ นิ ค้าถ​ กู บ​ ริหาร​ดว้ ย​ระบบ​โปรแกรม​ คำ�นวณ​ปริมาณ​สต๊อก​ที่​เหมาะ​สม​ที่สุด (optimum stock) สำ�หรับ​สินค้า​แต่ละ​รายการ​ให้​มี​เพียง​พอ​ต่อ​การ​ ขาย ด้วย​เหตุผล​ที่​บริษัท​ไม่มี​หน้า​ร้าน​จึง​ไม่มี​ความ​จำ�เป็น​ที่​จะ​ต้อง​สต๊อก​สินค้า​ใน​ปริมาณ​มาก​เพื่อ​ให้​ดู​เต็ม​ พื้นทีแ่​ สดง​สินค้า อีกท​ ั้งบ​ ริษัทย​ ังม​ รี​ ะบบ​การ​จัดว​ าง​สินค้าท​ ีม่​ ปี​ ระสิทธิภาพ โดย​คำ�นวณ​จาก​ข้อมูลก​ าร​จำ�หน่าย​ สินค้า สินค้าก​ ลุ่มใ​ ด​มกี​ าร​เคลื่อนไหว​รวดเร็ว (fast moving) จะ​ถูกจ​ ัดอ​ ยูใ่​ น​โซน​ทีห่​ ยิบไ​ ด้ง​ ่าย รวม​ถึงม​ กี​ าร​ใช้​ โปรแกรม​ระบุท​ ีต่​ ั้งข​ อง​สินค้าใ​ น​ใบ​จัดร​ ายการ​สินค้า เพื่อค​ วาม​รวดเร็วแ​ ละ​ลด​ความ​ผิดพ​ ลาด​ใน​การ​จัดเ​ตรียม​ สินค้า ซึ่ง​เรียก​ว่า คลังส​ ินค้า​อัจฉริยะ (intelligent warehouse) 8. ทีม​งาน​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ภายใน​องค์กร การ​มี​ทีม​งาน​ด้าน​คอมพิวเตอร์​ภายใน​องค์กร (inhouse – IT experts) เป็นป​ ัจจัยท​ ี่บ​ ริษัทเ​ห็นว​ ่าส​ ำ�คัญอ​ ย่าง​ยิ่งแ​ ละ​บริษัทก​ ็ส​ ามารถ​บริหาร​เรื่อง​นี้ ได้ส​ ำ�เร็จ​ เป็นอ​ ย่าง​ดี​เพื่อ​ต้องการ​เน้น​การ​บริการ​ระบบ​คอมพิวเตอร์​ออนไลน์​ใน​การ จำ�หน่าย​สินค้า​และ​บริการ​ผ่าน ทั้ง www.officeMate.co.th www.trendyday.com e-Procurement และ Redeem Center โดย​มี​ความ​ จำ�เป็น​ที่​ต้อง​มี​การ​ปรับปรุง พัฒนา และ​แก้​ปัญหา​ระบบ​โปรแกรม​ต่างๆ ให้​รวดเร็ว จึงเ​ป็น​เรื่อง​ที่​สำ�คัญ​อย่าง​ มาก​ที่​บริษัท​ต้อง​มี​ทีม​ผู้​เชี่ยวชาญ​ด้าน​นี้​โดย​เฉพาะ จึง​สามารถ​สนอง​ตอบ​ต่อ​ปัญหา​อย่าง​ทัน​ท่วงที​และ​ด้วย​ ความ​เข้าใจ​พฤติกรรม​การ​ใช้ง​ าน​ของ​ลูกค้าเ​ป็นอ​ ย่าง​ดี​เพื่อพ​ ัฒนา​โปรแกรม​ที่​มี​ความ​เหมาะ​สม​ต่อพ​ ฤติกรรม​ การ​ใช้​งาน​มาก​ที่สุด 9. ฐาน​ขอ้ มูลด​ า้ น​การ​ตลาด (database marketing)  เป็นเ​สมือน​คลังข​ ้อมูลท​ ั้งหมด​ที่เ​กี่ยว​กับลูกค้า​ และ​ผู้​บริโภค การ​ตลาด​และ​การ​ขาย โล​จิ​สติ​กส์​และ​การ​จัด​ส่ง การ​จัด​ซื้อ​และ​การ​บริหาร​สินค้าคงคลัง อัน​เป็น​ ปัจจัย​หลักส​ ำ�หรับ​การ​ขาย​ผ่าน​แค​ตา​ล็อก​และ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง​ฐาน​ข้อมูล​ทั้งหมด​จะ​เป็นพ​ ื้น​ฐาน​ใน​ การ​วิเคราะห์​วางแผน​และ​พัฒนา​โปรแกรม​ให้​เหมาะ​สม​กับ​พฤติกรรม​การ​ใช้​งาน เป็น​ข้อมูล​เพื่อ​จัดหา​สินค้า​ และ​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย (promotion) ที่​ตรง​ต่อ​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า รวม​ถึง​เพื่อ​เป็นการ​พัฒนาการ​ให้​ บริการ ฉะนั้นฐ​ าน​ข้อมูล​จึงเ​ป็น​เสมือน​ปัจจัย​ขับ​เคลื่อน​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท 10. การติดตาม​และ​ประยุกต์​ใช้​สื่อ​การ​ตลาด​สมัย​ใหม่​เสมอ บริษัท​เห็น​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​การ​พัฒนา​ เทคโนโลยี​ที่​ก้าวหน้า​ตลอด​เวลา บริษัท​ใช้​จุด​เด่น​ของ ระบบ​สังคม​ออนไลน์ (social network) มาส​ร้าง​ให้​ เกิด​ผล​ทางการ​ตลาด ใน​ปัจจุบันม​ ี​การ​ใช้​เครือข​ ่าย​สังคม (social network) เช่น เฟ​ซบุ๊ก (Facebook) เพื่อ​ เป็น​แหล่ง​พบปะ​พูด​คุย สร้าง​ความ​ผูกพัน​กับ​สมาชิก มี​กิจกรรม​ต่างๆ ให้​สมาชิก​ได้​ร่วม​สนุก ตลอด​จน​เป็น​ ช่อง​ทางใน​ประชาสัมพันธ์ข​ ่าวสาร แนะนำ�​สินค้า​และ​บริการ​ใหม่ๆ 11. การวิจัย​และ​พัฒนา จาก​ความ​สำ�เร็จ​จาก​อดีต​สู่​ปัจจุบัน​บริษัท​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​การ​ พัฒนา​ระบบ​การ​บริหาร​งาน​และ​ระบบ​การ​ค้าท​ าง​ไกล​ด้วย​การนำ�​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​มา​ใช้ใ​ น​การ​บริหาร​งาน ซึ่งจ​ าก​การ​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา (research and development) อย่าง​ต่อเ​นื่อง​ส่งผ​ ล​ให้บ​ ริษัทม​ คี​ วาม​พร้อม​ใน​การ​ ให้​บริการ​ใน​ทุก​รูป​แบบ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-18

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

บริษัทต​ ระหนักถ​ ึงค​ วาม​สำ�คัญข​ อง​การ​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา โดย​เฉพาะ​ระบบ​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​ซึ่งถ​ ือ​ เป็นป​ ัจจัยส​ ำ�คัญต​ ่อธ​ ุรกิจข​ อง​บริษัท บริษัทจ​ ึงไ​ ด้จ​ ัดใ​ ห้ส​ าย​งาน​ระบบ​สารสนเทศ​เป็นห​ น่วย​งาน​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา​ ใน​การนำ�​ระบบ​สารสนเทศ​เข้า​มา​ใช้​ใน​ทุก​ส่วน​งาน​ของ​บริษัท

ธ ส

บท​วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ใน​หัว​เรื่อง​นี้​ได้​แสดง​ถึง​ปัจจัย​แห่ง​ความ​สำ�เร็จ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ไว้​ถึง 12 ปัจจัย นักศึกษา​สามารถ​นำ�​มา​วิเคราะห์ว​ ่า​ปัจจัย​เหล่า​นั้น​มี​ความ​สำ�คัญ​มาก​น้อย​อย่างไร โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ เมื่อ​นักศึกษา​มี​โอกาส​ทำ�​ธุรกิจ​ด้าน​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ หรือ​การ​ขาย​ทาง​ไกล​ด้วย​ตนเอง นักศึกษา​ก็​จะ​ สามารถ​นำ�​มา​เปรียบ​เทียบ​เพื่อป​ ระยุกต์ใ​ ช้โ​ ดย​หา​จุดเ​หมาะ​สม​และ​สมดุลต​ าม​แต่ก​ รณี แม้ว่าใ​ น​ตอน​ที่ 15.1 นี้ นักศึกษา​ยัง​ไม่ท​ ราบ​การ​ปฏิบัติ​งาน​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) โดย​ละเอียด แต่​ได้​ทราบ​ว่า​อะไร​ คือป​ ัจจัยแ​ ห่งค​ วาม​สำ�เร็จข​ อง​บริษัทไ​ ว้ก​ ่อน เพื่อเ​ป็นป​ ระเด็นเ​ชิญช​ วน​ให้น​ ักศึกษา​ได้ค​ ้นคว้าต​ อน​ต่อๆ ไป​ของ​ หน่วย​นี้​อย่าง​ละเอียด​และ​วิเคราะห์​เปรียบ​เทียบ​กับ​เรื่อง​อื่น​ต่อ​ไป

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.1.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.1.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.1 เรื่อง​ที่ 15.1.2

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ตอน​ที่ 15.2

ธ ส

15-19

ธ ส

การ​ดำ�เนินธ​ ุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 15.2 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

เรื่อง​ที่ 15.2.1 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​ตลาด เรื่อง​ที่ 15.2.2 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​บริหาร​คลัง​สินค้า เรื่อง​ที่ 15.2.3 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ขนส่ง​สินค้า เรื่อง​ที่ 15.2.4 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​และ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย

ธ ส

ธ ส

1. กลุ่ม​ลูกค้า​เป้า​หมาย​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบ​ไป​ด้วย​ทั้ง​ลูกค้า​ ราย​ย่อย​และ​ลูกค้า​องค์กร โดย​สินค้า​ที่​บริษัท​จำ�หน่าย​มี​หลาก​หลาย​ประเภท มี​การ​ดำ�เนิน​ กลยุทธ์ก​ าร​ตลาด​ใน​หลาย​รูป​แบบ​ตลอด​จน​การ​ใช้​ประโยชน์​จาก​สื่อ​สังคม​ออนไลน์ หัวใจ​ สำ�คัญ​ของ​งาน​ด้าน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร​กับ​ลูกค้า ได้แก่ การ​มี​ระบบ​แค​ตา​ล็อก​สินค้า​ใน​ รูป​แบบ​อิเล็กทรอนิกส์​และ​มี​ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ที่​มี​ประสิทธิภาพ 2. บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้​เลือก​ทำ�เล​ที่​ตั้ง​ของ​คลัง​สินค้า​ใน​ทำ�เล​ที่​สะดวก​ต่อ​ การก​ระ​จาย​สินค้าแ​ ละ​ประหยัดค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ใน​การขนส่ง เป็นท​ ำ�เล​ทมี่​ ตี​ ้นทุนใ​ น​เรื่อง​ของ​ที่ดิน​ เพื่อต​ ั้งค​ ลังส​ ินค้าท​ ีเ่​หมาะ​สม บริษัทม​ กี​ าร​จัดการ​กลุ่มส​ ินค้าใ​ น​คลังส​ ินค้าต​ าม​หลักว​ ิชาการ โดย​แบ่งอ​ อก​เป็นก​ลุ่มส​ ินค้าข​ นาด​เล็ก กลุ่มส​ ินค้าข​ นาด​ใหญ่แ​ ละ​มนี​ ้ำ�​หนัก และ​กลุ่มส​ ินค้า​ มูลค่า​สูง ตลอด​จน​มี​ระบบ​การ​จัด​หีบห่อ​สินค้า​เพื่อ​การนำ�​ส่ง​ลูกค้า​ที่​มี​ประสิทธิภาพ 3. บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท​ จำ�กัด (มหาชน) ใช้ว​ ิธจี​ ัดการ​ระบบ​ขนส่งส​ ินค้าโ​ ดย​การ​เอาต์ซอร์ส ด้วย​ การ​ให้พ​ นักงาน​ขบั ร​ ถ​เป็นเ​จ้าของ​รถ​ขนส่งเ​อง มีก​ าร​ใช้ซ​ อฟต์แวร์ช​ ว่ ย​ค�ำ นวณ​เพือ่ จ​ ดั ส​ มดุล​ ของ​ปริมาณ​สินค้าท​ ี่​จะ​ขนส่ง​ใน​เส้น​ทาง​หนึ่งๆ เพื่อ​ให้​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ขนส่ง​อยู่​ใน​ระดับ​ที​่ เหมาะ​สม​ที่สุด

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-20

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

4. ระบบ​การ​รับ​ชำ�ระ​เงินจ​ าก​ลูกค้า จะ​แยก​ตาม​รูป​แบบ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ หาก​เป็น​รูป​แบบ​การ​ ดำ�เนิน​ธุรกิจพ​ าณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบ​บี​ทูบี จะ​ใช้​วิธี​รับช​ ำ�ระ​เงิน​ผ่าน​พนักงาน​เรียก​เก็บ​ เงิน หรือผ​ า่ น​ระบบ​อตั โนมัตป​ิ ระเภท​ตา่ งๆ หรือร​ ะบบ​ออนไลน์ต​ า่ งๆ ส่วน​รปู แบบ​​การ​ด�ำ เนิน​ ธุรกิจ​พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบ​บีทูซีจะ​มี​ระบบ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​คล้า​ยกับบี​ทูบี ยกเว้น​การ​ ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​พนักงาน​เรียก​เก็บ​เงิน และ​มี​ช่อง​ทาง​รับ​ชำ�ระ​เงิน​เพิ่ม​เติม​อีก 2 ระบบ ได้แก่ การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ออนไลน์​ผ่าน​องค์กร​กลาง และ​การ​ผ่อน​ชำ�ระ​การ​ซื้อ​กับธ​ นาคาร​เจ้าของ​ บัตร

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 15.2 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. วิเคราะห์ก​ าร​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​ตลาด​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้ 2. วเิ คราะห์ก​ าร​ด�ำ เนินง​ าน​ดา้ น​การ​บริหาร​คลังส​ นิ ค้าข​ อง​บริษทั อ​ อฟฟิศเ​มท ​จ�ำ กัด (มหาชน) ได้ 3. วิเคราะห์ก​ าร​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ขนส่งส​ ินค้า​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้ 4. วิเคราะห์​การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​และ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของบริษัท​ ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.2.1 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ตลาด

ธ ส

1. ภาวะ​การ​แข่งขันธ​ ุรกิจ​จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน

15-21

ธุรกิจ​จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​เป็นต​ ลาด​ที่ม​ ี​การ​แข่งขัน​ใน​ด้าน​ราคา​สูง เนื่องจาก​ สินค้า​มี​ลักษณะ​ไม่​แตก​ต่าง​กัน​และ​มี​คู่​แข่ง​มาก​ราย ทั้งนี้​สามารถ​แบ่ง​ผู้​ประกอบ​การ​ใน​ธุรกิจ​ประเภท​นี้​ออก​ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 กลุ่ม​โม​เด​ิร์น​เทรด (modern trade) อาทิ เท​ส​โก้​โลตัส บิ๊ก​ซี คาร์​ฟู ซึ่ง​มี​แผนก​หรือ​โซน ​เครื่อง​เขียน​ให้​บริการ​ลูกค้า โดย​เน้น​สินค้าร​ าคา​ถูก แต่​ความ​หลาก​หลาย​ของ​สินค้า​มี​จำ�กัด 1.2 กลุ่ม​ธุรกิจ​ที่​เสนอ​ขาย​เฉพาะ​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน (category killer) ซึ่ง​สามารถ​ แบ่งช​ ่อง​ทางใน​การ​จำ�หน่าย​สินค้า​ออก​เป็น 2 ประเภท คือ 1) จำ�หน่าย​สนิ ค้า​ผา่ น​หน้า​รา้ น​ของ​ตนเอง เน้นก​ ลุ่มล​ ูกค้าท​ ีเ่​ข้าม​ า​ซื้อส​ ินค้าใ​ น​ร้าน (cash and carry) เป็น​หลัก เดิม​มี​ผู้ป​ ระกอบ​การ​หลัก​ใน​กลุ่ม​ธุรกิจ​นี้ 2 ราย​คือ ออฟฟิศ​ดี​โป และ​ออฟฟิศ​เซ็นเตอร์ แต่​ ปัจจุบัน​ถือ​เป็นก​ลุ่ม​เดียวกัน​ภาย​หลัง​จาก​ที่​ออฟฟิศ​ดี​โป ประเทศไทย ซื้อ​กิจการ​จาก​ออฟฟิศ​เซ็นเตอร์ เมื่อ​ เดือน​พฤษภาคม พ.ศ. 2551 2) จำ�หน่าย​สินค้า​แบบ​ไม่มี​หน้า​ร้าน อาทิ ผ่าน​ระบบ​คอลล์​เซ็นเตอร์ และ​การ​สั่ง​ซื้อ​ออนไลน์​ ผ่าน​เว็บไซต์ เช่น บริษัท ลี​เรค​โก (ประเทศไทย) จำ�กัด และ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) เป็นต้น 1.3 ร้าน​เครื่อง​เขียน และ​อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ทั่วไป ซึ่ง​มี​จำ�นวน​มาก และ​ตั้ง​อยู่​ตาม​ชุมชน​ทั่วไป 1.4 กลุม่ ธ​ รุ กิจท​ ข​ี่ าย​สนิ ค้าเ​ฉพาะ​โดยตรง​ให้ก​ บั ล​ กู ค้า เช่น ดับ๊ เบิล้ เ​อ และ​เม​โทร​ซสิ เต็มส​ ์ คอร์ปอเรชัน่ เป็นต้น

ธ ส

2. กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เพื่อ​ให้​สามารถ​แข่งขัน​กับ​ผู้ป​ ระกอบ​การ​ราย​อื่น​ใด บริษัท​ดำ�เนิน​กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด ดังนี้ 2.1 ต้องการ​เป็น​ศูนย์​รวม​ของ​อุปกรณ์​เครื่อง​เขียน และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน (one stop service) ที่​มี​ ความ​หลาก​หลาย​ของ​สนิ ค้าผ​ า่ น​ระบบ​การ​ขาย​ทมี​่ พี​ นักงาน​ขาย และ​ระบบ​สนับสนุนก​ าร​ขาย​ทีส่​ ามารถ​ให้ข​ อ้ มูล​ และ​คำ�​แนะนำ�​แก่​ลูกค้าไ​ ด้​อย่าง​มีป​ ระสิทธิภาพ​ซึ่งช​ ่วย​ลด​ต้นทุน​การ​จัดหา​สินค้า (procurement cost) ของ​ ลูกค้าไ​ ด้ 2.2 ต้องการ​ให้บ​ ริการ​จดั จ​ �ำ หน่าย​สนิ ค้าใ​ น​ชวี ติ ป​ ระจำ�​วนั ผ​ า่ น​ออนไลน์ เพือ่ ต​ อบ​สนอง​ความ​ตอ้ งการ​ ของ​ลูกค้าบ​ ุคคล ตลอด​จน​การนำ�​เสนอ​ชุมชน​ออนไลน์ (online community) เพื่อ​เป็น​แหล่ง​พบปะ​พูด​คุย 2.3 การ​สร้าง​มาตรฐาน​ใน​การนำ�​เสนอ​สินค้า บริษัทต​ ้องการ​สร้าง​มาตรฐาน​การ​จำ�หน่าย​สินค้า​ผ่าน​ แค​ตา​ล็อก โดย​สินค้าท​ ี่จ​ ำ�หน่าย​ผ่าน​ระบบ​นี้ต​ ้อง​มีค​ ุณภาพ​เป็นท​ ีย่​ อมรับข​ อง​ทั้งล​ ูกค้า ผูผ้​ ลิตส​ ินค้าห​ รือแ​ ม้แต่​

ธ ส


15-22

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ผู้ป​ ระกอบ​ธุรกิจเ​ช่นเ​ดียว​กับบ​ ริษัทแ​ ละ​เป็นส​ ื่อก​ ลาง​ใน​การ​โฆษณา​ประชาสัมพันธ์ใ​ ห้ก​ ับส​ ินค้าแ​ ละ​องค์กร ทั้ง​ ของ​บริษัท และ​ผู้​ผลิต​สินค้า​หรือ​ตัวแทน​จำ�หน่าย​สินค้า 1) ระบบ​โครงสร้าง​ราคา​สินค้า​แบบ​ราคา​เดียว (one price policy) ลูกค้า​สามารถ​มั่นใจ​ได้​ว่า​ ราคา​สนิ ค้าจ​ าก​บริษทั เ​ป็นร​ าคา​มาตรฐาน เปรียบ​เทียบ​ได้ ด้วย​คณ ุ ภาพ​สนิ ค้าท​ ผี​่ า่ น​การ​คดั เ​ลือก​และ​ตรวจ​สอบ​ โดย​ฝ่าย​จัดซ​ ื้อ 80,000 องค์กร​ที่​เลือก​ใช้​บริการ​อย่าง​ต่อ​เนื่อง 2) การ​จัด​ส่ง​สินค้า​ฟรี​ทั่ว​ประเทศ เป็น​กลยุทธ์​ใน​การ​สร้าง​ความ​สามารถ​ใน​การ​แข่งขัน​กับ​ คู่​แข่ง​ที่เ​ป็นร​ ้าน​ค้า เนื่องจาก​ลูกค้า​ไม่​ต้อง​ใช้​เวลา​ออก​ไป​เลือก​ซื้อ​สินค้า 3) การ​จัด​ทำ�​รายการ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ลูกค้า​สามารถ​เข้า​ถึง​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​ โดย​ผ่านแค​ตา​ล็อก​ราย​เดือน​ที่แ​ จก​ฟรีใ​ ห้ล​ ูกค้า ​และ​อีกท​ าง​หนึ่งค​ ือเ​ว็บไซต์ข​ อง​บริษัท โดย​จัดส​ ิทธิพ​ ิเศษ​มอบ​ ให้​แก่​ลูกค้า ได้แก่ Officemate Member Rewards เมื่อ​ลูกค้า​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​แล้ว​สามารถ​เปลี่ยน​เป็น​คะแนน​ สะสม​เพื่อ​แลก​รับ​ของ​รางวัล​ได้ที่​เว็บไซต์ www.trendyday.com ตลอด​จน​การ​เสนอ​คูปอง​อิเล็กทรอนิกส์​ หรือ​อีค​ ูปอง (e-Coupon) เพื่อส​ ่ง​เสริม​ให้​ลูกค้าซ​ ื้อ​สินค้า​ผ่าน​เว็บไซต์​อย่าง​สม่ำ�เสมอ 4) บริการ​การ​ขาย​และ​การ​รักษา​ความ​สัมพันธ์​กับ​ลูกค้า ความ​พึง​พอใจ​ของ​ลูกค้า​เป็น​ปัจจัย​ สำ�คัญต​ ่อ​ความ​สำ�เร็จข​ อง​ธุรกิจจ​ ำ�หน่าย​สินค้าผ​ ่าน​ระบบ​แค​ตา​ล็อก โดย​ได้​พัฒนา​ระบบ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ แก่ล​ ูกค้าผ​ ่าน Live Chat ซึ่งเ​ป็นบ​ ริการ​ให้ข​ ้อมูลก​ าร​สั่งซ​ ื้อแ​ ละ​คำ�​แนะนำ�​ผ่าน​การ​สนทนา​กับพ​ นักงาน​เพื่อใ​ ห้​ สามารถ​เข้า​ถึง​ข้อมูล​และ​บริการ​ของ​บริษัท สร้าง​ความ​เชื่อ​มั่น​ใน​สินค้า​และ​บริการ​หลัง​การ​ขาย​โดย​บริษัท​รับ​ ประกันค​ วาม​พึง​พอใจ​ใน​สินค้า และ​บริการ​โดย​ยินดี​รับ​เปลี่ยน​หรือ​คืน​สินค้า​ภายใน 7 วัน การ​ใช้​เครือ​ข่าย​สังคม (social network) เสริม​การ​ตลาด บริษัท​ใช้​เทคโนโลยี​การ​สื่อสาร​ที่​ทัน​สมัย​มา​ใช้​ประกอบ​การ​สื่อสาร​การ​ตลาด​และ​สนับสนุน​การ​ขาย​ เสมอ บริษัทไ​ ด้​ติดตาม​และ​พัฒนา​งาน​ของ​บริษัท​โดย​นำ�​สื่อ​สังคม​ออนไลน์​มา​ประยุกต์​ใช้​หลาย​ประการ บริษัท​ใช้​จุด​เด่น​ของ​เครือ​ข่าย​สังคม (social network) มาส​ร้าง​ให้​เกิด​ผล​ทางการ​ตลาด โดย​การ​ พัฒนา​เว็บไซต์ร​ ูป​แบบ​ใหม่​ที่​เรียก​ว่า อีซ​ ี​คอม​เมิร์ซ (ec-Commerce) โดย​การ​ก่อ​ตั้ง​เว็บไซต์ www.trendyday.com ขึ้น​เพื่อ​มุ่ง​ให้​เกิด​สังคม​ออนไลน์​ใน​เชิง​ธุรกิจ โดย​เริ่ม​มา​จาก​แนวคิด​ความ​พยายาม​ดึงดูด​กลุ่ม​ผู้​ ใช้​งาน​อินเทอร์เน็ตท​ ั่วไป​ให้​เข้า​มา​เยี่ยม​ชม​เว็บไซต์ และ​ส่ง​เสริม​กิจกรรม​สัมพันธ์​ระหว่าง​ผู้​ใช้​งาน​และ​บริษัท หรือ​ระหว่าง​ผู้​ใช้​งาน​ด้วย​กัน จาก​นั้น​จึง​แทรก​การ​ขาย​สินค้า​สู่​สังคม​ออนไลน์​อัน​นำ�​ไป​สู่​การ​ซื้อ​ขาย​ขึ้น ขณะ​ เดียวกัน​บริษัท​ก็​กระตุ้น​ให้​มี​การ​สื่อสาร​กัน​ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย เพื่อ​สร้าง​ความ​เชื่อ​มั่น​ใน​การ​เข้า​มา​ใช้​ บริการ​และ​มี​กลยุทธ์ส​ ำ�คัญ​ที่จ​ ะ​ผลักด​ ัน​ให้​เว็บไซต์ www.trendyday.com กลาย​เป็น​ชุมชน​ออนไลน์​อย่าง​ เต็ม​รูป​แบบ​ภาย​ใต้​แนวคิด “Show and Share Your Style” ที่เ​ปิด​ให้​สมาชิก​ทุกค​ น​มี​เว็บ​บล็อก​ที่​เปรียบ​ เสมือน​ห้อง​ส่วน​ตัว นอก​เหนือ​จาก​ช่อง​ทางการ​สั่ง​ซื้อ​ดัง​กล่าว Live Chat ยัง​เป็น​อีก​หนึ่ง​ช่อง​ทางใน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร​ ระหว่าง​ลูก​ค้า​ด้ว​ยกัน​ได้​ทันที โดย​ลูกค้า​ที่​เข้า​มา​ใช้​บริการ​เว็บไซต์​สามารถ​พิมพ์​ข้อความ​เพื่อ​พูด​คุยห​รือ​ สอบถาม​เรื่อง​สินค้าแ​ ละ​บริการ​ต่างๆ ผ่าน​หน้า​เว็บไซต์ ทำ�ให้​ลูกค้า​รู้สึก​ใกล้​ชิด​กับ​บริษัทแ​ ละ​มี​ความ​เชื่อ​มั่น​ ใน​การ​ใช้บ​ ริการ และ​ตัดสิน​ใจ​ซื้อส​ ินค้า​ได้​เร็ว​ยิ่งข​ ึ้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-23

ธ ส

การ​ส่ง​เสริมก​ าร​ขาย​ด้วย Reward และ Rebate นอกจาก​นี้ บริษทั ย​ งั ไ​ ด้ใ​ ห้ค​ วาม​ส�ำ คัญต​ อ่ ก​ าร​ปรับปรุงเ​ว็บไซต์ใ​ ห้ม​ ค​ี วาม​ทนั ส​ มัยแ​ ละ​เหมาะ​สม​กบั ก​ าร​ ใช้ง​ าน​ของ​ลูกค้าอ​ ยู่เ​สมอ รวม​ทั้งก​ าร​จัดโ​ ปรแกรม​ส่งเ​สริมก​ าร​ตลาด​และ​การ​ขาย เช่น OfficeMate Member Reward ซึ่ง​เป็นการ​สะสม​แต้มเ​พื่อ​แลก​ของ​รางวัล​สำ�หรับ​สมาชิก และ OfficeMate Rebate เพื่อ​เป็นการ​ลด​ ราคา​ให้​แก่​ลูกค้า​เมื่อ​มีย​ อด​ซื้อเ​พิ่ม​ขึ้น​อีกด​ ้วย ผลพลอยได้จ​ าก​การ​ทำ�​ระบบ​ส่งเ​สริมก​ าร​ขาย​แบบ Reward และ Rebate นี้​ทำ�ให้บ​ ริษัทไ​ ด้ร​ ับค​ วาม​ ไว้ใจ​จากธนาคาร​ใหญ่ๆ บริษัทบ​ ัตร​เครดิตแ​ ละ​บริษัทท​ ั่วไป​ที่ป​ ระสงค์จ​ ะ​ทำ�การ​ส่งเ​สริมก​ าร​ขาย ​โดย​ให้ล​ ูกค้า​ สะสม​แต้มแ​ ละ​น�​ำ แต้มม​ า​แลก​สนิ ค้า ธุรกิจแ​ บบ​นบี​้ ริษทั ส​ ามารถ​ให้บ​ ริการ​ได้อ​ ย่าง​เหมาะ​สม​และ​มป​ี ระสิทธิภาพ​ เพราะ​บริษทั ม​ ร​ี ะบบ​ซอฟต์แวร์ท​ พี​่ ฒ ั นา​ใช้ง​ าน​อยูแ​่ ล้วแ​ ละ​บริษทั ก​ ม​็ ส​ี นิ ค้าป​ ระเภท​ใช้ก​ บั ช​ วี ติ ป​ ระจำ�​วนั ม​ ากมาย​ ที่​เหมาะ​กับ​การ​ให้​ลูกค้าเ​ลือก​เพื่อแ​ ลก​แต้ม​อยู่​ใน​แค​ตา​ล็อก​ให้​เลือก​อยู่​แล้ว

ธ ส

ธ ส

ธ ส

3. ลักษณะ​ลูกค้า​และ​กลุ่มล​ ูกค้า​เป้าห​ มาย

ธ ส

ใน​ปัจจุบัน บริษัท​มี​ฐาน​ลูกค้าก​ ว่า 80,000 ราย ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​เป็น​บริษัท ห้าง​ร้าน และ​หน่วย​งาน​รัฐ ที​่ ตัง้ ใ​ น​เขต​กรุงเทพมหานคร นิคม​อตุ สาหกรรม และ​จงั หวัดท​ ใี​่ กล้เ​คียง เนือ่ งจาก​พืน้ ทีด​่ งั ก​ ล่าว​เป็นพ​ ืน้ ทีท​่ บี​่ ริษทั ​ มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​จัด​ส่งส​ ินค้า​ได้​ทั่วถ​ ึงภ​ ายใน​วัน​ทำ�การ​ถัด​ไป ตัวอย่าง​ลูกค้า​ของ​บริษัท ณ ปัจจุบัน เช่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ธนาคาร​ขนาด​ใหญ่เ​กือบ​ทุก​ธนาคาร กลุ่ม​บริษัท​ใน​เครือ​เจริญ​โภคภัณฑ์ กลุ่ม​ บริษัท​ใน​เครือ​น้ำ�ตาล​มิตร​ผล และ​องค์กร​ใน​ภาค​รัฐ กระทรวง​ต่างๆ และ​มหาวิทยาลัย เป็นต้น นอกจาก​นี้​ บริษัทย​ ังม​ ีแ​ ผนที่จ​ ะ​เพิ่มฐ​ าน​ลูกค้าอ​ งค์กร​ให้ม​ ีค​ วาม​หลาก​หลาย ทั้งใ​ น​เขต​กรุงเทพมหานคร จังหวัดใ​ กล้เ​คียง รวม​ถึง​จังหวัด​หัว​เมือง​สำ�คัญใ​ น​ภาค​ต่างๆ โดย​การ​ทำ�การ​ตลาด​ผ่าน​พนักงาน​ขาย (sales representatives) ที่​มี​กว่า 40 คน และ​การ​ทำ�​โฆษณา​ประชาสัมพันธ์​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ใน​ปี พ.ศ. 2553 ลูกค้า​ของ​บริษัท​ครอบคลุม​ องค์กร บริษัท​และ​ห้าง​ร้าน​ใน​ทุก​ประเภท​ธุรกิจ โดย​มี​สัดส่วน​ยอด​ขาย​แบ่ง​ตาม​ประเภท​ธุรกิจ​ได้​ดังนี้ • ธุรกิจป​ ระเภท​อุตสาหกรรม​และ​โรงงาน​คิด​เป็น​ร้อย​ละ 49 ของ​ยอด​ขาย • ธุรกิจก​ าร​ค้า​ทั่วไป​คิดเ​ป็น​ร้อย​ละ 24 ของ​ยอด​ขาย • กลุ่มล​ ูกค้า​ธุรกิจบ​ ริการ​และ​อสังหาริมทรัพย์ แสดง​ให้​เห็น​ว่า​บริษัท​สามารถ​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า​ที่​หลาก​หลาย​ได้​อย่าง​ครบ​วงจร ซึ่ง​เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ​ใน​การ​เติบโต​ทาง​ธุรกิจ ทั้งนี้​ลูกค้า​ของ​บริษัท​ส่วน​ใหญ่​อยู่​ใน​เขต​พื้นที่​กรุงเทพมหานคร​ และ​ปริมณฑล ร้อย​ละ 77 ของ​ยอด​ขาย​ใน​ปี พ.ศ. 2553 รอง​ลง​มา​คือ​ลูกค้า​ใน​พื้นที่​ภาค​ตะวัน​ออก​ร้อย​ละ 9 ภาค​กลาง​ร้อย​ละ 6 และ​ภา​คอื่นๆ ร้อย​ละ 8 ตาม “กราฟ​แสดง​ยอด​ขาย​ปี 2553 แบ่งต​ าม​ภูมิภาค​ของ​ลูกค้า” (ภาพ​ที่ 15.6)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-24

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.6 กราฟ​แสดง​ยอด​ขาย​ใน​ปีพ.ศ. 2553 แบ่ง​ตาม​ภูมิภาค​ของ​ลูกค้า

ธ ส

4. ลักษณะ​ผลิตภัณฑ์

4.1 สินค้า​ประเภท​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน เนื่องจาก​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนิน​ธุรกิจ​หลัก​ใน​การ​จัด​จำ�หน่าย​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​เครื่อง​ใช้​ใน​สำ�นักงาน​มา​นาน​กว่า 40 ปี บริษัท​ มี​ความ​มั่นใจ​ว่า​บริษัท​มี​ความ​เข้าใจ​ใน​ลักษณะ​และ​ความ​ต้องการ​ของ​ผลิตภัณฑ์​ใน​กลุ่ม​นี้​ดี​ที่สุด​องค์กร​หนึ่ง จน​มั่นใจ​ได้​ว่า​รายการ​สินค้า​ที่​จำ�นวน 10,000 รายการ ​เป็น​รายการ​สินค้า​ที่​ครอบคลุม​สินค้า​กลุ่ม​นี้​มาก​ที่สุด และ​รายการ​สินค้าท​ ั้งหมด​จะ​นำ�​มา​ลง​ไว้ใ​ น​แค​ตา​ล็อก ทั้งแ​ บบ​รูปเ​ล่มแ​ ละ​แบบ​อแี​ ค​ตา​ล็อก ภาย​ใต้แ​ บรนด์ข​ อง “Officemate” ซึ่งเ​ป็น​ธุรกิจแ​ บบ​บี​ทูบี ซึ่งแ​ ค​ตา​ล็อก​แบบ​รูป​เล่ม​นี้​จัด​พิมพ์ 4 สี กว่า 800 หน้า พิมพ์​ปี​ละ 2 ครั้งๆ ละ 20,000 เล่ม รายการ​สินค้า​แยก​ตาม​ประเภท​ของ​สินค้า แบ่งอ​ อก​เป็น 11 กลุ่ม​ได้​ดังนี้ 1) ผลิตภัณฑ์​สำ�หรับ​คอมพิวเตอร์ (computer supplies) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น ตลับ​หมึก เครื่องพิมพ์ จอภาพ สแกน​เนอ​ร์ โพร​เจ็ก​เตอร์ อุปกรณ์​บันทึก​ข้อมูล แผ่น​ดีวีดี เมาส์ คีย์บอร์ด แผ่น​ รอง​เมาส์ และ​อุปกรณ์​ทำ�ความ​สะอาด​คอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยที่​สินค้า​ที่​นำ�​มา​จำ�หน่าย​นั้น​ล้วน​แล้ว​แต่​เป็น​ สินค้า​ที่​ได้​ผ่าน​การ​คัด​เลือก​ผู้​ผลิต​ที่​มีชื่อ​เสียง​เชื่อ​ถือ​ได้ เช่น โซนี่ ฮิว​เลต​ต์-แพค​การ์ด ไมโคร​ซอฟท์ 3M บรา​เด​อร์ เอปสัน และ​แคน​นอน เป็นต้น 2) อุปกรณ์ก​ าร​เขียน และ​ลบ​คำ�​ผิด (writing and correction) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น ปากกา​ ประเภท​ต่างๆ ดินสอ ดินสอ​เขียน​กระจก เทป​ลบ​คำ�​ผิด และ​ยางลบ เป็นต้น ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า​ที่​เป็น​ที่​รู้จัก อาทิ ตรา​ม้า ซี​บร้า เพน​เทล ค​รอส ปาร์​ก​เกอร์ และ​ไอ-ย่า (ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท) เป็นต้น 3) อุปกรณ์​สำ�นักงาน​เบ็ดเตล็ด (office stationery) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น เครื่อง​เย็บกระดาษ เครื่อง​ยิง​บอร์ด กรรไกร เครื่อง​ตัด​ซอง​จดหมาย คัต​เตอร์ บัตร​ติด​หน้าอก ตรายาง ตู้จดหมาย แท่น​ประทับ ชุดเ​ครื่อง​ใช้​สำ�นักงาน ป้าย​ข้อความ เป็นต้น และ​สินค้า​ที่​บริษัท​เลือก​มา​จัด​จำ�หน่าย​ล้วน​มา​จาก​บริษัทผ​ ู้​ผลิต​ ที่ม​ ีชื่อ​เสียง มี​คุณภาพ​เป็น​ที่ย​ อมรับ​ได้แก่ แม็กซ์ ตรา​ม้า ตรา​ช้าง มา​เพ็ด และ​นาน​มี

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-25

ธ ส

4) กาว เทป และ​อุปกรณ์​เพื่อ​การ​บรรจุ (glue, tape and packing) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น กาว​ อเนกประสงค์ กาว​ช้าง เทป​ขุ่น เทป​ใส เทป​โอ​พี​พี เทป​พลาสติกไ​ ว​นิล อุปกรณ์​เพื่อ​การ​บรรจุ เป็นต้น ภาย​ใต้​ ตราสินค​ ้า​ที่​เป็นท​ ี่ร​ ู้จัก อาทิ สก๊อต​ช์ 3M ยู้ฮู ตรา​ช้าง และ​โบ​คุ โบ​คุ (ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท) เป็นต้น 5) ผลิตภัณฑ์ก​ ระดาษ (paper, pad and envelope) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น กระดาษ​ถ่าย​เอกสาร กระดาษ​การ์ด​สี กระดาษ​หนัง​ช้าง กระดาษ​อิงค์​เจ็ท แผ่น​ใส กระดาษ​ต่อ​เนื่อง กระดาษ​แฟกซ์ กระดาษ ​คาร์บอน โพสต์-อิท โน้ต กระดาษ​โน้ต​กาว​ใน​ตัว สมุด​ฉีก สมุด​ปก​อ่อน ใบ​สำ�คัญ​รับ-จ่าย ใบ​ส่ง​ของ บิล สมุดบ​ ญ ั ชี ซอง​เอกสาร ซอง​จดหมาย และ​ปา้ ย​สติก​ เ​กอร์ เป็นต้น ภาย​ใต้ต​ ราสินค​ า้ ท​ เี​่ ป็นท​ รี​่ ูจ้ กั แ​ ละ​ได้ม​ าตรฐาน เช่น ดั๊บเบิ้ล​เอ กรี​นรี​ด​ของ​เครือ​ซิ​เมน​ต์​ไทย เอปสัน ตรา​ช้าง โพสต์-อิท ตรา​วีนัส และ​สตริง (ตราสิน​ค้า ​ของ​บริษัท) เป็นต้น 6) แฟ้มแ​ ละ​อุปกรณ์​จัด​เก็บเ​อกสาร (filing and storage) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น แฟ้ม​สัน​กว้าง แฟ้ม 2-4 ห่วง แฟ้ม​หนีบ แฟ้ม​แขวน แฟ้มค​ ลิป​สปริง แฟ้ม​คอมพิวเตอร์ แท่น​โชว์​เอกสาร แฟ้ม​โชว์​เอกสาร ซอง​เอกสาร​พลาสติก ซอง​อเนกประสงค์พ​ ลาสติก อินเ​ด็กซ​ ์ ลิ้นแ​ ฟ้ม ตาไก่ คลิปบอร์ด ฉาก​กั้นห​ นังสือ กล่อง​ เอกสาร ตระ​กร้า​เอกสาร ตู้​เอกสาร เป็นต้น ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า ตรา​ช้าง ตรา​ม้า คิง​ส์​จิม เท​อริ​โฟ​ลด์ โค​มิค ฟ​ลา​มิง​โก้ ไอ-ย่า(ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท) เป็นต้น 7) อุปกรณ์​เพื่อ​การ​ประชุม และ​นำ�​เสนอ (conference and presentation) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น กระดาน​ไวท์​บอร์ด กระ​ดาน​ฟ​ลิป​ชาร์ต กระดาน​อิเล็กทรอนิกส์​บอร์ด บอร์ด​ต่างๆ แปรงล​บก​ระ​ดาน เครื่อง​เข้า​เล่ม สัน​ห่วง​เข้า​เล่ม สัน​รูด เครื่อง​เคลือบ​บัตร พลาสติก​เคลือบ​บัตร ชุด​ไมโครโฟน อุปกรณ์​ ขยาย​เสียง เทป​คาส​เซ็ต และ​วิดีโอ​เทป เป็นต้น บริษัท​ได้​ทำ�การ​คัด​เลือก​บริษัทผ​ ู้​ผลิต​ที่​มี​คุณภาพ น่า​เชื่อ​ถือ​ ได้​มา​จัดจ​ ำ�หน่าย เช่น ฟูจิ อิ​บิ​โก้ ค​รี​เอ​ตุส-ยู​นีค โซนี่ และ​ตรา​ซี (ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท) เป็นต้น 8) อุปกรณ์ส​ �ำ นักงาน​อเิ ล็กทรอนิกส์ (office electronics) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น เครื่อง​คิดเ​ลข เครื่อง​บันทึก​เงินสด เครื่องพิมพ์​อักษร โทรศัพท์ เครื่อง​โทรสาร เครื่อง​ถ่าย​เอกสาร ฟิล์ม​แฟกซ์ ผ้า​หมึก​ เครื่องพิมพ์​ดีด นาฬิกา ถ่าน​ไฟฉาย ไฟฉาย เครื่อง​ลง​เวลา เครื่อง​ทำ�ลาย​เอกสาร เครื่อง​ฟอก​อากาศ เครื่อง​ พับ​กระดาษ เครื่องพิมพ์​เช็ค เครื่อง​ตรวจ​นับ​ธนบัตร เครื่อง​นับ​แยก​เหรียญ และ​ปลั๊ก​ไฟ เป็นต้น ภาย​ใต้​ ตราสิน​ค้า​ที่เ​ป็นท​ ี่​รู้จัก เช่น คา​สิ​โอ โค​มิค แคน​นอน ชาร์ป โอลิมเปีย ออ​โร​ร่า บรา​เด​อร์ พา​นา​โซนิค จี​อี และ​ รีช เป็นต้น 9) อุปกรณ์ส​ �ำ หรับโ​ รงงาน​และ​ซอ่ ม​บ�ำ รุงอ​ าคาร (factory and maintenance) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น ไขควง ประแจ คีม ค้อน กุญแจ หมวก​นิรภัย แว่น​ครอบ​ตา​กัน​สะเก็ด ถุงมือ รอง​เท้า​บู๊​ท ตลับ​เมตร กล่อง​ใส่​เครื่อง​มือ ปืน​ยิง​กาว ป้าย​ตั้ง​เตือน กรวย​จราจร สาย​ยาง เครื่อง​ชั่ง ถัง​ขยะ ตู้​เก็บ​เครื่อง​มือ หลอด​ไฟ พัดลม ชั้น​วาง​ของ บันได รถ​เข็น รถ​ยก ล้อ​รถ​เข็น และ​อุปกรณ์​กีฬา เป็นต้น ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า​ที่​ มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​และ​มีค​ ุณภาพ 10) เครื่อง​ดื่ม เครื่อง​ใช้​ใน​แค​นที​น​และ​ผลิตภัณฑ์​ทำ�ความ​สะอาด (canteen and cleaning) สินค้า​ที่​ใช้ใ​ น​ห้อง​อาหาร ห้อง​รับรอง และ​ห้องน้ำ�​ใน​องค์กร​ทั่วไป เช่น กาแฟ ครีม​เทียม นมข้น​หวาน น้ำ�ตาล ชา เครื่อง​ดื่มส​ ำ�เร็จรูป ลูกอม บะหมี่ ซุปก​ ึ่งส​ ำ�เร็จรูป อุปกรณ์ส​ ำ�หรับห​ ้อง​แค​นทีน​ ถาด ช้อน แก้วน​ ้ำ� ตู้น​ ้ำ�​เย็น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-26

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

กระติก​น้ำ�​ร้อน คูล​เลอ​ร์น​ ้ำ� ที่​ใส่ช​ ้อน กระดาษ​ชำ�ระ เครื่อง​เป่าม​ ือ สบู่ เครื่อง​จ่าย​สบู่ น้ำ�ยา​เช็ด​กระจก แชมพู​ ล้าง​รถ น้ำ�ยา​ล้าง​จาน ผง​ซักฟอก น้ำ�หอม​ปรับ​อากาศ ยา​กำ�จัด​ยุง​และ​แมลง ถุงมือ​ยาง ไม้​ถู​พื้น ไม้กวาด ไม้​ขน​ไก่ เครื่อง​ดูด​ฝุ่น เก้าอี้ ถุง​ขยะ และ​ถัง​ขยะ เป็นต้น โดยที่​สินค้า​ใน​หมวด​นี้​บริษัท​ได้​เลือก​ผู้​ผลิต​ที่​มี ชื่อ​เสียง​เป็น​ที่​ยอมรับ​และ​เชื่อ​ถือ​ได้​ใน​ตลาด เช่น เน​สกา​แฟ มอค​โค​น่า เบอร์​ดี้ ไมโล โอ​วัล​ติน คอฟ​ฟี่​เมต ลิป​ตัน ท​ไว​นิงส​ ์ ยำ�​ยำ� สก๊อต​ช์ กีวี และ​วิม เป็นต้น 11) เฟอร์นเิ จอร์ส​ �ำ นักงาน (office furniture) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น เก้าอี้ ชุดร​ บั แขก โต๊ะท​ �ำ งาน โต๊ะ​คอมพิวเตอร์ ชุด​โต๊ะ​ผู้จ​ ัดการ โต๊ะ​ประชุม ตู้เ​อกสาร ตู้​หนังสือ เคาน์เตอร์ อุปกรณ์​เสริม ชุด​เฟอร์นิเจอร์​ ใน​ห้อง​ครัว ชุดโ​ ต๊ะ​อาหาร ตู้​เอกสาร​เหล็ก ตู้เ​ซฟ และ​ตู้​เก็บ​กุญแจ เป็นต้น ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า เช่น ลัคกี้ และ​ เฟอร์ร​ า​เดค (ตราสิน​ค้า​ของ​บริษัท) เป็นต้น พร้อม​บริการ​ติด​ตั้ง​โดย​พนักงาน​ที่​มี​ความ​ชำ�นาญ​และ​เชื่อ​ถือ​ได้ เป้าห​ มาย​ของ​บริษัท​จะ​พยายาม​ให้ร​ ายการ​สินค้า​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ทุกช​ นิดท​ ี่จ​ ะ​ขาย​ ให้​กับ​ลูกค้า มา​ลง​ใน​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท เพื่อใ​ ห้​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท​เป็น​แค​ตา​ล็อก​ของ​สินค้า​เครื่อง​เขียน​ และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​แห่ง​ชาติ (national office equipment catalog) ให้​ได้ 4.2 สินค้า​ที่​ใช้​กับ​ชีวิต​ประจำ�​วัน ใน​ปี พ.ศ. 2552 บริษัท​ได้​ขยาย​ธุรกิจ​จำ�หน่าย​สินค้า​ที่​เกี่ยวข้อง​ กับ​ชีวิต​ประจำ�​วัน ภาย​ใต้​แบรนด์​ของ Trendyday ซึ่ง​เป็นธ​ ุรกิจ​แบบ​บี​ทู​ซี เพื่อ​จำ�หน่าย​ให้​กับ​ลูกค้า​ประเภท​ บุคคล สินค้าก​ ลุ่ม​นี้​สามารถ​แบ่ง​ประเภท​ของ​สินค้า​ออก​เป็น 16 หมวด ได้แก่ 1) ความ​งาม (beauty and personal care) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น ครีมบ​ ำ�รุงผ​ ิว น้�ำ หอม อุปกรณ์​ เสริมส​ วย และ​เครื่อง​สำ�อาง เป็นต้น 2) สุขภาพ (healthy) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น เครื่อง​ออก​กำ�ลัง​กาย อาหาร​เพื่อ​สุขภาพ วิตามิน​ และ​อาหาร​เสริม และ​เครื่อง​มือ​เพื่อ​สุขภาพ เป็นต้น 3) เกม​คอมพิวเตอร์ (เames) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น แผ่น​ดีวีดี​เกม เมาส์ คีย์บอร์ด ชุด​หู​ฟัง แผ่น​รอง​เม้าส์ เกม​แพด (gamepad) และ​จอย​สติ๊ก (joystick) สำ�หรับ​เล่น​เกม เป็นต้น 4) แฟชั่น (fashion) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า เครื่อง​ประดับ เข็มขัด นาฬิกา ชุด​ชั้น​ใน และ​ถุงน​ ่อง เป็นต้น 5) หนังสือ (book) แบ่งเ​ป็นห​ นังสือใ​ น​หมวด​ต่างๆ เช่น นิยาย วรรณกรรม สุขภาพ​ความ​งาม ศาสนา​ปรัชญา ภาษา​และ​วิชาการ บริหาร​จัดการ พยากรณ์ บ้าน​และ​สวน สัตว์​เลี้ยง แม่​และ​เด็ก สารคดี เยาวชน การ์ตูน ท่อง​เที่ยว​วัฒนธรรม คอมพิวเตอร์​และ​ไอที อาหาร​และ​เครื่อง​ดื่ม ศิลปะ​และ​งาน​ฝีมือ ดนตรี กีฬา เกม และ​พระ​ราช​นิพนธ์ เป็นต้น 6) กิฟ๊ ช้อป​และ​เครือ่ ง​เขียน (gift and stationary) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น ตุ๊กตา กระปุกอ​ อมสิน พวง​กุญแจ ที่ห​ ้อย​โทรศัพท์ ประดับ​ยนต์ กรอบ​รูป และ​สมุด​และ​เครื่อง​เขียน เป็นต้น 7) หนังแ​ ละ​ดวี ดี ี (movie & DVD) แบ่งเ​ป็นส​ ินค้าล​ ิขสิทธิแ์​ ท้ 100% ตาม​หมวด เช่น หนังซ​ รี​ ีย์ แอ็ค​ ชั่น ผจญ​ภัย สืบสวน​สอบสวน โร​แมน​ติก ดราม่า สารคดี สยอง​ขวัญ คอนเสิร์ต และ​ตลก เป็นต้น 8) ตกแต่ง​บ้าน (home and living) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น หมอน​อิง มู่ลี่ เครื่อง​นอน โคม​ไฟ อุปกรณ์​ตกแต่ง​สวน อุปกรณ์​ใน​ห้องน้ำ� กล่อง​ใส่​ของ​เอนกประสงค์ พรม ผ้า​เช็ด​มือ และ​ผ้า​ขนหนู เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-27

ธ ส

9) เครือ่ ง​ใช้ใ​ น​บา้ น (home appliance) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น เครื่อง​ฟอก​อากาศ กระติกไ​ ฟฟ้า กา​ต้มน​ ้ำ�​ไฟฟ้า เครื่อง​ชง​กาแฟ อุปกรณ์ท​ ำ�ครัว หม้อ เตา กระทะ​ไฟฟ้า เครื่อง​ปิ้ง​ขนมปัง เตารีด ไมโครเวฟ เตา​อบ เครื่อง​ปั่น เครื่อง​ดูดฝ​ ุ่น เครื่อง​เสียง และ​เครื่อง​เล่น​ซีดี/ดีวีดี เป็นต้น 10) อุปกรณ์ไ​ ฮเทค (gadget) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น แฟลช​ไดรฟ์ ฮับ ลำ�โพง หู​ฟัง จีพ​ เี​อส เมาส์ คีย์บอร์ด กล้องเว็บ​แคม MP3 MP4 และ​อุปกรณ์​เสริม เป็นต้น 11) โทรศัพท์ม​ อื ถ​ อื (mobile) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ ได้แก่ โทรศัพท์ม​ ือถ​ ือร​ ุ่นต​ ่างๆ ภาย​ใต้แ​ บรนด์ HTC 12) เครื่อง​ครัว (kitchen) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น หม้อ​และ​เตา​กระทะ​ไฟฟ้า ไมโครเวฟ เตา​อบ กระติก​น้ำ� กา​ต้ม​น้ำ� เครื่อง​ปิ้ง​ขนมปัง เครื่อง​ปั่น​และ​เตรียม​อาหาร เครื่อง​ชง​กาแฟ อุปกรณ์​ทำ�ครัว กล่อง​ บรรจุ​และ​ถนอม​อาหาร ของใช้​บน​โต๊ะ​อาหาร และ​อุปกรณ์​ทำ�ความ​สะอาด เป็นต้น 13) บันเทิง (entertainment) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น โทรทัศน์ เครื่อง​เล่น​ซีดี และ​เครื่อง​เล่น​ ดีวีดี เป็นต้น 14) กล้อง (camera) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น กล้อง​ดิจิทัล​และ​กล้อง Toys ภาย​ใต้​แบรนด์​ ชั้น​นำ� ​เช่น แคน​นอน คา​สิโ​ อ นิคอน โอ​ลิมปัส พา​นา​โซนิค และ​ซัม​ซุง เป็นต้น 15) ของ​เล่น (toy) สินค้าใ​ น​หมวด​นี้ เช่น ของ​เล่นเ​สริมท​ ักษะ หุ่นย​ นต์ กีฬา เครื่อง​บังคับว​ ิทยุ เป็นต้น 16) สินค้า​สำ�หรับ​สัตว์​เลี้ยง (pet shop) สินค้า​ใน​หมวด​นี้ เช่น อุปกรณ์​อาบ​น้ำ�​และ​เสริม​สวย สินค้า​แฟชั่น ขนม อาหาร​และ​สุขภาพ ที่​นั่ง​ที่นอน ของ​เล่น ปลอกคอ สาย​จูง และ​กระเป๋า​ใส่​สัตว์​เลี้ยง เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

5. การ​คัด​เลือก​สินค้า​เพื่อ​ขาย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ใน​ส่วน​ของ​การ​คัด​เลือก​สินค้า บริษัท​ได้​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​คุณภาพ​ของ​สินค้า​ที่​จำ�หน่าย เนื่องจาก​ เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ​ต่อ​ความ​เชื่อ​มั่น​ของ​ลูกค้า​บริษัทท​ ี่​มี​ความ​คาด​หวังท​ ี่​จะ​จำ�หน่าย​สินค้า​ที่​มี​คุณภาพ​เหมาะ​สม​ กับ​ราคา​และ​เชื่อ​ถือ​ได้ ทั้งนี้บ​ ริษัทจ​ ัดหา​สินค้า​จาก​ผู้​ผลิต​และ​ตัวแทน ซึ่งส​ ามารถ​จำ�แนก​ออก​เป็น 2 กลุ่ม​คือ 5.1 บริษัท​ผู้​ผลิต​สินค้า​หรือ​ตัวแทน​จำ�หน่าย​สินค้า ภาย​ใต้​ตราสิน​ค้า​ชั้น​นำ� เช่น โซนี่ พา​นา​โซนิค คิง​ส์ต​ ัน แม็ก​เซล ฮิวเล็ตต์-แพค​การ์​ค 3M ซัม​ซุง นาน​มี ดั๊บเบิ้ล​เอ และ​เนสเล่ท์ เป็นต้น สินค้า​จาก​แบน​ด์เนม​ เหล่าน​ ไี​้ ด้ร​ บั ค​ วาม​เชือ่ ถ​ อื เ​รือ่ ง​คณ ุ ภาพ​ของ​ลกู ค้าโ​ ดย​ทัว่ ไป​อยูแ​่ ล้ว และ​สนิ ค้าเ​หล่าน​ แี​้ ต่ละ​ชิน้ ม​ ล​ี กั ษณะ​ทที​่ ราบ​ กันด​ ี​ยิ่ง ถ้า​มี​ภาพ​ประกอบ​ด้วย​แล้ว​ยิ่งช​ ัดเจน​และ​ราคา​ก็​เป็น​มาตรฐาน​ไม่​แตก​ต่าง​กัน​มาก 5.2 บริษัทผ​ ู้​ผลิตร​ ับจ้าง​ผลิต​สินค้าแ​ ละ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) นำ�​เข้าส​ ินค้า​ภาย​ใต้​ตรา สิน​ค้า​ของ​บริษัท​เอง​โดย​จด​ลิขสิทธิ์​ใน​เครื่องหมายการค้า​ของ​บริษัท อาทิ โบ​คุ โบ​คุ (Boku Boku) ไอ-ย่า (I-Ya) และ​เฟ​อราเดค (Furradec) เป็นต้น สินค้าเ​หล่าน​ เี​้ ป็นส​ นิ ค้าท​ มี​่ ค​ี ณ ุ ภาพ​ผา่ น​ระบบ​การ​ผลิตท​ ไี​่ ด้ม​ าตรฐาน โดย​สินค้าม​ ี​หลาย​ประเภท​และ​รูป​แบบ อาทิ ปากกา​ลูก​ลื่น ไม้บรรทัด เทป​ลบ​คำ�​ผิด คลิป​หนีบ​กระดาษ แฟ้ม​ พลาสติก และ​เฟอร์นิเจอร์​สำ�นักงาน เป็นต้น บริษัท​จะ​เลือก​ขาย​สินค้า​กลุ่ม​นี้​เพื่อ​เป็น​ทาง​เลือก เมื่อ​ได้​ศึกษา​

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-28

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

พฤติกรรม​ของ​ลูกค้า​แล้ว​ว่า​ลูกค้า​ไม่​ค่อย​พิถีพิถัน​กับ​การ​ต้อง​ใช้​แบ​รนด์เนม​ที่​มีชื่อ​เสียง​มาก​กับ​สินค้า​กลุ่ม​นี้​ ใน​ที่​สำ�นักงาน การ​เลือก​สินค้า​ลักษณะ​ที่​กล่าว​นี้​ทำ�ให้​ลูกค้า​มั่นใจ​ใน​สินค้า​ก่อน​การ​สั่ง​ซื้อ และ​เมื่อ​ได้​รับ​สินค้า​แล้ว​ ลูกค้า​จะ​ไม่​ผิด​หวังเ​พราะ​ได้​เห็น​สินค้า​ตาม​ที่ค​ าด​หวัง​และ​จินตนาการ​ภาพ​ไว้ ฉะนั้น​การ​ปฏิเสธ​การ​รับ​ของ​จะ​ มี​น้อย​มาก

ธ ส

6. ระบบ​แค​ตา​ล็อก​ที่​มปี​ ระสิทธิภาพ

ธ ส

ระบบ​แค​ตา​ล็อก​ถือว่า​เป็น​ระบบ​ที่​สำ�คัญ​มาก​ของ​บริษัท ซึ่ง​ทำ�ให้​บริษัท​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ และ​ สามารถ​ทำ�ให้​บริษัท​เป็น​ผู้ย​ ึด​ครอง​ตลาด​อาชีพ​จำ�หน่าย​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ได้​อย่าง​สมบูรณ์ 6.1 เป้า​หมาย​ของ​การ​ทำ�​แค​ตา​ล็อก วัตถุประสงค์​หลัก​ที่​สำ�คัญ​คือ ต้องการ​ให้​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท​ ครอบคลุมร​ ายการ​เครื่อง​เขียน​และ​เครื่อง​ใช้​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ทั้งหมด​ที่​มี​อยู่​ใน​ประเทศ บริษัทอ​ ยาก​ไป​ ให้​ถึง​จุด​หมาย​ที่ เมื่อไร​ก็ตาม​ที่ล​ ูกค้า​ต้องการ​หา​ซื้อ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน ต้อง​นึกถึง​แค​ตา​ล็อก​ของ​ออฟฟิศ​เมท​ จน​เป็น​วัฒนธรรม​องค์กร​ทุก​แห่ง​ทั่ว​ประเทศ บริษัท​ตั้ง​เป้า​หมาย​ที่​จะ​พิมพ์​รายการ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ให้​ครบ​ ถ้วน​ใน​แค​ตา​ล็อก​เพื่อแ​ จก​ทุก​สำ�นักงาน​ฟรี​ทั่วป​ ระเทศ 6.2 ลักษณะ​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท ลักษณะ​แค​ตา​ล็อก​พิมพ์ 4 สี 600 หน้า พิมพ์​ครั้ง​ละ 200,000 เล่ม แจก​ทัว่ ป​ ระ​เทศ​ทกุ ๆ รอบ 6 เดือน และ เพือ่ ป​ รับร​ าคา​สนิ ค้าท​ อี​่ าจ​มก​ี าร​เปลีย่ นแปลง​ใน​ชว่ ง​นแี​้ ละ​เพือ่ ส​ นับสนุน​ การ​ขาย​ให้ก​ ับล​ ูกค้า บริษัทไ​ ด้อ​ อก​วารสาร​ราย​เดือน​เพื่อแ​ จก​ให้ก​ ับล​ ูกค้าอ​ ีกเ​ดือน​ละ​หนึ่งเ​ล่ม วารสาร​นีเ้​รียก​ว่า ​ช้อป​ปิ้ง​โซน (Shopping Zone) หรือ​เทรนดี้​เดย์ (Trendyday) ใน​ขณะ​เดียวกัน​ใน​ช่วง​นี้​บริษัท​ได้​ออก ​แค​ตา​ล็อก​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) เป็น​ราย​เดือน ประกอบ​ด้วย​รายการ​ต่างๆ เหมือน​แค​ตา​ล็อก​รูป​เล่ม โดย​เก็บ​ไว้ใ​ น​คอมพิวเตอร์ เพื่อ​ให้​ลูกค้า​สามารถ​เปิด​เพื่อ​ค้นหา​ผ่าน​อินเทอร์เน็ต​ได้ (ภาพ​ที่ 15.7)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.7 แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-29

ธ ส

6.3 ข้อมูล​สำ�คัญท​ ี่​อยูใ่​ น​แค​ตา​ล็อก ใน​แค​ตา​ล็อก​จะ​จัด​กลุ่ม​ของ​ผลิตภัณฑ์​เป็น​กลุ่มๆ เพื่อ​ให้​ค้นหา​ ได้​ง่าย​และ​สะดวก โดย​สินค้า​ทั้งหมด​แบ่ง​ออก​เป็น 11 กลุ่ม ซึ่ง​ทั้ง 11 กลุ่ม แบ่ง​เป็นร​ าย​การ​ย่อยๆ คล้าย​กับ​ ระบบ​ห้อง​สมุด และ​ใน​แต่ละ​หน้า​จะ​มี​ภาพ​แสดง​ลักษณะ​อุปกรณ์​ชนิด​นั้นๆ โดย​มี​รหัส​ประจำ�​สินค้า มี​ขนาด มีส​ ี​และ​มี​ราคา​ประกอบ ซึ่งบ​ ริษัท​มี​ความ​ภูมิใจ​ใน​การ​ออกแบบ​แค​ตา​ล็อก​ว่า​มี​ข้อมูล​ครบ​ถ้วน​และ​ใช้​งาน​ง่าย​ ที่สุด​และ​การ​มี​ภาพ​ประกอบ​ที่​ดี เมื่อ​ลูกค้า​ดู​สินค้า​จาก​แค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัท​แล้ว​สามารถ​จินตนาการ​ได้​ว่า​ สินค้า​ที่จ​ ะ​ซื้อ​มีล​ ักษณะ​และ​ราคา​อย่างไร นอกจาก​รายการ​ที่ล​ ะเอียด​แล้ว ใน​แค​ตา​ล็อก​ยัง​ออกแบบ​ให้​ลูกค้า​สามารถ​ค้า​หา​สินค้า​ที่​ต้องการ​ซื้อ​ ได้​อย่าง​สะดวก โดย​มี​ดัชนีเ​พื่อก​ าร​สืบค้น เป็นด​ ัชนีข​ อง​ชื่อ (name index) ซึ่ง​ลูกค้าส​ ามารถ​ค้นหา​สินค้าด​ ้วย​ ชื่อ​ของ​อุปกรณ์​ได้ จุดเ​ด่นอ​ ีกป​ ระการ​หนึ่งใ​ น​แค​ตา​ล็อก คือม​ คี​ ำ�​ชี้แจง​ถึงว​ ิธกี​ าร​ซื้อแ​ ละ​วิธกี​ าร​ชำ�ระ​เงิน และ​มขี​ ้อก​ ำ�หนด​ และ​เงื่อนไข​ใน​การ​ซื้อส​ ินค้า และ​กรณีเ​มื่อ​ซื้อแ​ ละ​รับ​สินค้า​แล้ว​หาก​ลูกค้า​ไม่​พอใจ​ใน​สินค้า ถ้า​ลูกค้า​ต้องการ​ จะ​ส่ง​คืน​สินค้า​เพื่อ​เปลี่ยน​สินค้า​ลูกค้า​จะ​ต้อง​ทำ�​อย่างไร และ​แน่นอน​ที่สุด​ใน​แค​ตา​ล็อก​ต้อง​มี​การ​หน้า​โฆษณา​ของ​บริษัท​ต่างๆ ที่​ขาย​ผลิตภัณฑ์​ของ​เขา​ใน​ แค​ตา​ล็อก​และ​บาง​บริษัทจ​ ะ​ซื้อ​หน้า​โฆษณา​ด้วย ซึ่งเ​ป็นการ​ลด​ค่าใ​ ช้ใ​ น​การ​พิมพ์แ​ ค​ตา​ล็อก​ของ​บริษัทไ​ ป​ด้วย และ​บ่อย​ครั้งท​ ี่​บริษัทม​ ี​กำ�ไร​จาก​การ​พิมพ์​แค​ตา​ล็อก​ครั้ง​ละ​ไม่​น้อย​เลย

ธ ส

ธ ส

7. ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​ของ​บริษัท

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ตั้งแต่เ​ริ่มก​ ่อต​ ั้งบ​ ริษัท บริษัทไ​ ด้ใ​ ห้ค​ วาม​สำ�คัญก​ ับโ​ มเดล​ของ​ธุรกิจก​ าร​ค้าท​ าง​ไกล (distance trade) ใน 3 ด้าน คือ Demand Chain, Supply Chain และ Market Coverage ควบคู่​ไป​กับห​ ลัก​การ​ผสม​ผสาน​ ระหว่าง “เทคโนโลยี กระบวนการ และ​สุนทรียภาพ” (Technology-Process-Aesthetic – TPA) เช่น การ​ พัฒนา​และ​ปรับปรุงก​ ระบวนการ​ทำ�งาน​ใน​ด้าน​ต่างๆ ด้วย​การ​ใช้เ​ทคโนโลยีท​ ีท่​ ันส​ มัย เพื่อใ​ ห้เ​กิดผ​ ล​ประโยชน์​ สูงสุด​และ​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้าไ​ ด้​อย่าง​รวดเร็ว​ที่สุด ปัจจุบัน​บริษัทม​ ี​ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อแ​ บ่ง​เป็น 3 ระบบ​หลักๆ ดังนี้ 7.1 ระบบ​รบั คำ�​สงั่ ซ​ อื้ ผ​ า่ น​คอลล์เ​ซ็นเตอร์ ทีม่ ชี อื่ ว่า “Contact Center” ใน​ช่วง​ทบี่​ ริษัทเ​ปิดใ​ ห้บ​ ริการ​ ใหม่ๆ การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​แบบ​ออนไลน์​เป็น​สิ่ง​ใหม่​สำ�หรับ​พฤติกรรม​ของ​คน​ไทย ลูกค้า​บาง​กลุ่ม​ยัง​ขาด​ความ​ เชื่อ​มั่นใ​ น​ระบบ​ออนไลน์ ทำ�ให้ร​ ะบบ​คอลล์เ​ซ็นเตอร์ข​ อง​บริษัทเ​ป็นท​ างออก​ใน​การ​แก้ไข​ปัญหา​ดัง​กล่าว​ได้​ดี เนื่องจาก​ลูกค้าย​ ังส​ ามารถ​สอบถาม​ราย​ละเอียด​ต่างๆ เกี่ยว​กับต​ ัวส​ ินค้าแ​ ละ​บริการ​ผ่าน​คอลล์เ​ซ็นเตอร์ไ​ ด้ ซึ่ง​ ทำ�ให้ล​ ูกค้าเ​กิดค​ วาม​เชื่อม​ ั่น​และ​ไว้​วางใจ​ใน​สินค้า ใน​ขณะ​เดียวกันล​ ูกค้าท​ ี่​ยัง​ไม่​คุ้น​เคย​กับ​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ อินเทอร์เน็ตห​ รือค​ อมพิวเตอร์​ก็​ยังส​ ามารถ​สั่งซ​ ื้อส​ ินค้า​ผ่าน​แค​ตา​ล็อก และ​คอลล์​เซ็นเตอร์​ได้ บริษัทม​ กี​ าร​พัฒนา​และ​ส่งเ​สริมก​ าร​ตลาด​ออนไลน์อ​ ย่าง​เต็มร​ ูปแ​ บบ เพื่อส​ นับสนุนก​ าร​ค้าเชิงพ​ าณิชย์​ อิเล็กทรอนิกส์​ให้​เกิด​ขึ้น​ได้​จริง​ใน​ประเทศ เพื่อ​ลด​ต้นทุน​ใน​การ​บริหาร​งาน​ของ​แต่ละ​องค์กร​และ​ประหยัด​ ค่า​ใช้​จ่าย​ได้​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-30

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

7.2 ระบบ​รบั คำ�​สงั่ ซ​ อื้ ใ​ น​ระบบ​ออนไลน์ผ​ า่ น​เว็บไซต์  ใน​ชว่ ง​กระแส​การ​คา้ เ​ชิงพ​ าณิชย์อ​ เิ ล็กทรอนิกส์ จาก​สหรัฐอเมริกา​ได้​เริ่ม​เข้า​สู่​ประเทศไทย​นั้น ใน​ทัศนะ​ของ​บริษัท​เห็น​ว่า พฤติกรรม​ผู้​บริโภค​ใน​ประเทศไทย​ ต่าง​จาก​ผู้บ​ ริโภค​ใน​สหรัฐอเมริกา​ซึ่งจ​ ะ​คุ้นเ​คย​กับก​ าร​ซื้อส​ ินค้าโ​ ดย​ดูแ​ ค​ตา​ล็อก​แล้วจ​ ดหมาย​ตอบ​หรือโ​ ทร​ไป​ สั่ง​ธุรกรรม​แบบ​นี้​เขา​ทำ�​มา​ก่อน​หน้า​เรา​เป็น​สิบ​ปี เรียก​ว่า mail-order หรือ​แค​ตา​ล็อก​เซลส์ และ​เมื่อ​ปรับไ​ ป​สู่​ การ​ซื้อ​ขาย​ผ่าน​อินเทอร์เน็ต​จึง​ไม่ใช่เ​รื่อง​ยาก 1) การ​สงั่ ซ​ อื้ ด​ ว้ ย​แค​ตา​ลอ็ ก ด้วย​เหตุข​ ้าง​ต้น บริษัทจ​ ึงไ​ ด้ว​ าง​กลยุทธ์ใ​ น​การ​พัฒนา​ขั้นต​ อน​การ​ เรียน​รู้​เทคโนโลยี​ของ​คน​ไทย ซึ่ง​ขณะ​นั้นย​ ัง​เคยชิน​กับ​การ​เลือก​จับ​จ่าย​ผ่าน​หน้า​ร้าน บริษัท​ได้​เริ่ม​จาก​การ​ทำ�​ แค​ตา​ล็อก​เพื่อใ​ ห้​ลูกค้า​ใช้​ประกอบ​เป็น​ข้อมูล​เพื่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​โดย​ไม่​ได้​สัมผัส​กับ​สินค้า​จริง ลูกค้า​จะ​ยืนยัน​ การ​สัง่ ซ​ ือ้ โ​ ดย​การ​โทรศัพท์ม​ ายังบ​ ริษทั เมือ่ ไ​ ด้ป​ รับพ​ ฤติกรรม​ผบู​้ ริโภค​ให้ค​ ุน้ เ​คย​กบั เ​ทคโนโลยีแ​ ละ​การ​สือ่ สาร​ มาระ​ยะ​หนึง่ บริษทั จ​ งึ ไ​ ด้พ​ ฒ ั นา​กา้ ว​ไป​สรู​่ ปู แ​ บบ​การ​สนับสนุนก​ าร​สัง่ ซ​ ือ้ ส​ นิ ค้าข​ อง​ลกู ค้าเ​ป็นแ​ บบ​ออนไลน์ผ​ า่ น​ เว็บไซต์ 2) การ​สั่ง​ซื้อ​ผ่าน​เว็บไซต์​จาก​อี​แค​ตา​ล็อก ผล​จาก​การ​ปรับ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค จาก​การ​ใช้​ ข้อมูล​ใน​แค​ตา​ล็อก​และ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​มายัง​พนักงาน​ขาย​ทาง​โทรศัพท์​แล้ว​นั้น ทำ�ให้​เมื่อ​มี​การ​ปรับ​ใช้​ระบบ​ ออนไลน์ ลูกค้า​จึง​คุ้น​เคย​และ​รับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ได้​ง่าย ดัง​นั้น ด้วย​ความ​พร้อม​ใน​ด้าน​การ​ให้​บริการ​ของ​พนักงาน​ขาย คลัง​สินค้า และ​ระบบ​จัด​ส่ง อีก​ทั้ง​ความ​คุ้น​เคย​และ​ความ​เชื่อ​มั่น​ของ​ลูกค้า​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า​ผ่าน​แค​ตา​ล็อก ทำ�ให้​ธุรกิจ​ออนไลน์​จึง​กลาย​ มา​เป็น​ทาง​เลือก​ใน​การ​พัฒนา​รูป​แบบ​และ​ขยาย​กิจการ​ใน​ลำ�ดับ​ถัด​มา จึง​ได้​เปิด​ให้​บริการ​เว็บไซต์ เพื่อ​เพิ่ม​ ประสิทธิภาพ​และ​เพิ่ม​ช่อง​ทางใน​การ​สั่ง​สินค้า​ของ​ลูกค้า​ให้​เข้าถ​ ึง​ได้​ง่าย​ยิ่ง​ขึ้น​อีก ซึ่ง​ใน​การ​เข้า​สู่ธ​ ุรกิจอ​ อนไลน์​ใน​ครั้ง​นี้ บริษัท​ได้​มี​การ​ลงทุน​เพิ่ม​เติม​ใน​ส่วน​ระบบ​สารสนเทศ โดย​มี​ทีม​ผู้​เชี่ยวชาญ​พร้อม​เทคโนโลยี​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​ภายใน​องค์กร​เอง เพื่อ​ทำ�การ​ออกแบบ พัฒนา​และ​ ปรับปรุง​ระบบ​สารสนเทศ​ให้​เหมาะ​สม​กับ​รูป​แบบ​ธุรกิจ มี​ประสิทธิภาพ มี​ความ​ยืดหยุ่น​และ​เหมาะ​สม​กับ​ พฤติกรรม​ของ​ลูกค้า​คน​ไทย​มาก​ที่สุด ซึ่ง​ทำ�ให้​เว็บไซต์​มี​การ​ตอบ​สนอง​ต่อ​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า​และ​ ตอบ​สนอง​ต่อป​ ัญหา​ต่างๆ ได้อ​ ย่าง​ทันท​ ่วงที โดย​ภายใน​เว็บไซต์จ​ ะ​ประกอบ​ด้วย​ราย​ละเอียด​สินค้า การ​สั่งซ​ ื้อ การ​ชำ�ระ​เงิน​และ​การ​จัด​ส่ง ลูกค้า​สามารถ​ทำ�​รายการ​สั่ง​ซื้อ​ได้​ตลอด 24 ชั่วโมง​ทุก​วัน 7.3 ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​เฉพาะ​องค์กร ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เป็นร​ ะบบ​งาน​คอมพิวเตอร์ท​ บี​่ ริษทั ไ​ ด้ส​ ร้าง​ขึน้ เพือ่ อ​ �ำ นวย​ความ​สะดวก​ให้แ​ ก่ล​ กู ค้าส​ �ำ นักงาน​หรือล​ กู ค้าอ​ งค์กร ใช้​ใน​การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​สำ�นักงาน เนื่องจาก​กลุ่ม​ลูกค้า​เป้า​หมาย​ของ​บริษัท คือ กลุ่ม​ลูกค้า​องค์กร ซึ่ง​ใน​แต่ละ​องค์กร​จะ​มี​เงื่อนไข​และ​ ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​ที่​แตก​ต่าง​กัน บาง​องค์กร​ขนาด​ใหญ่​มี​กระบวนการ​ภายใน​เพื่อ​การ​จัด​ซื้อ​เครื่อง​ใช้​ สำ�นักงาน​ที่​ซับ​ซ้อน ทำ�ให้​ฝ่าย​จัด​ซื้อ​ไม่​สะดวก​จะ​ใช้​บริการ​ผ่าน​เว็บไซต์ ดัง​นั้น​เพื่อ​เข้า​ถึง​กลุ่ม​ลูกค้า​องค์กร บริษัทจ​ ึงพ​ ัฒนา​ระบบ​การ​จัดซ​ ื้อจ​ ัดจ​ ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ซึ่งเ​ป็นร​ ะบบ​จัดซ​ ื้ออ​ อนไลน์เ​ฉพาะ​ กลุ่มล​ ูกค้าอ​ งค์กร​เฉพาะ​ราย เพื่อใ​ ห้​สอดคล้อง​กับ​กระบวน​และ​เงื่อนไข​การ​จัด​ซื้อ​ของ​แต่ละ​องค์กร ซึ่ง​บริษัท​ ตั้ง​ทีมง​ าน​ผู้​เชี่ยวชาญ​ระบบ​สารสนเทศ​เพื่อ​ออกแบบ​ให้​ตรง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-31

ธ ส

ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ เป็น​แนวคิด​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​ยุค​ใหม่​เป็น​ระบบ​ไร้​กระดาษ (paperless system) ซึ่งแ​ ตก​ต่าง​จาก​ระบบ​เดิมท​ ีฝ่​ ่าย​จัดซ​ ื้อต​ ้อง​ทำ�งาน​อย่าง​ยุ่งย​ าก โดย​ต้อง​รวบรวม​คำ�​สั่งซ​ ื้อ​ ของ​แผนก​ต่างๆ ใน​องค์กร​และ​ติดต่อ​หา​ร้าน​ค้า​ต่างๆ เพื่อ​เปรียบ​เทียบ​ราคา แล้ว​นำ�​มา​สรุป​เพื่อ​ยื่น​ขอ​อนุมัติ ซึ่ง​ทุก​ขั้น​ตอน​ก่อ​ให้​เกิด​การ​สิ้น​เปลือง​เวลา กระดาษ​ และ​ค่าใ​ ช้​จ่าย​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ ระบบ​การ​จัดซ​ ื้อจ​ ัดจ​ ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ข​ อง​บริษัท เป็นร​ ะบบ​พัฒนา​เพื่อล​ ด​ขั้นต​ อน​การ​จัดซ​ ื้อท​ ซี่​ ับซ​ ้อน​ และ​สิ้น​เปลือง​ทรัพยากร​โดย​ไม่จ​ ำ�เป็น การ​ทำ�งาน​ของ​ระบบ​เริ่ม​โดย​ลูกค้า​ของ​แผนก​ต่างๆ ใน​องค์กร​สามารถ​ สั่ง​ซื้อ​ได้​ด้วย​ตัว​เอง​ผ่าน​ระบบ​ที่​บริษัท​ได้​ออกแบบ​ให้​และ​ทุก​ขั้น​ตอน​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ได้​ตาม​อำ�นาจ​การ​ อนุมัติ​และ​งบ​ประมาณ​ที่​บริษัท​เป็น​ผู้ก​ ำ�หนด​เอง ดัง​นั้น ระบบ​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​ช่วย​ใน​ด้าน​ การ​ควบคุมง​ บ​ประมาณ​การ​จัดซ​ ื้อข​ อง​องค์กร ช่วย​ลด​เวลา​และ​ขั้นต​ อน​ใน​การ​ดำ�เนินก​ าร​สั่งซ​ ื้อข​ อง​ลูกค้า ช่วย​ ลด​ค่า​ใช้จ​ ่าย​แฝง​ที่​เกิด​จาก​การ​จัด​ซื้อน​ อก​ระบบ และ​ลูกค้า​สามารถ​ตรวจ​สอบ​การ​สั่ง​ซื้อ​ได้ ใน​ระบบ​นี้ล​ ูกค้าอ​ งค์กร​สามารถ​เลือก​สร้าง​รายการ​สินค้าม​ าตรฐาน (standard catalog) ของ​องค์กร​ เอง​เพื่อ​ให้​เจ้า​หน้าที่ธ​ ุรการ​ที่ท​ ำ�​หน้าที่​จัด​ซื้อ​ตาม​หน่วย​งาน​หรือ​สาขา​ต่างๆ ของ​องค์กร​สามารถ​เลือก​ซื้อ​สินค้า​ สำ�นักงาน​จาก​รายการ​มาตรฐาน​ได้​โดยตรง​กับ​บริษัท ซึ่ง​ใน​ระบบ​จะ​มี​ระบบ​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ สั่งซ​ ื้อโ​ ดย​ผู้ส​ ั่งซ​ ื้อต​ ้อง​ซื้อส​ ินค้าใ​ น​รายการ​มาตรฐาน (standard catalog) พร้อม​ราคา​ตาม​ที่อ​ งค์กร​ได้ก​ ำ�หนด​ ไว้​เท่านั้น และ​การ​สั่ง​ซื้อ​ทุก​ครั้ง​ต้อง​มี​การ​อนุมัติ​ใน​ระบบ​ออนไลน์​จาก​ผู้​บริหาร​ใน​ระดับ​สูง​ขึ้น​ไป​ที่​ได้​รับ​ มอบ​หมาย​เป็นผ​ ู้​ทำ�​รายการ​อนุมัติ บริษัท​หวัง​จะ​ให้​ลูกค้า​มี​ความ​สะดวก ลด​ต้นทุน​ใน​การ​สั่ง​ซื้อ​โดย​ลด​ความ ย​ ุง่ ย​ าก​จาก​กระบวนการ​สัง่ ซ​ ือ้ แ​ บบ​ระบบ​เก่า และ​สามารถ​ปรับแ​ ต่งใ​ ห้ส​ ะดวก​กบั ผ​ ใู​้ ช้ได้ม​ าก สามารถ​ปรับว​ ธิ ก​ี าร ​ทำ�งาน​ตาม​ความ​เหมาะ​สม​ของ​แต่ละ​องค์กร​และ​ลูกค้า​ยัง​สามารถ​ควบคุม​และ​ตรวจ​สอบ​รายการ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ สำ�นักงาน​และ​ราคา​ให้อ​ ยู่ใ​ น​งบ​ประมาณ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่งแ​ ละ​เป็น​จุดเ​ด่น​ของ​ระบบ​คือ ระบบ​นี้ป​ ้องกัน​และ​ ควบคุมก​ าร​ทุจริต​ใน​การ​จัด​ซื้ออ​ ุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ของ​องค์กร​ลูกค้า​เป็น​อย่าง​ดี 1) ขั้น​ตอน​การ​ทำ�งาน​ของ​โปรแกรม​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ วัตถุประสงค์​ใน​การ​ แสดง​ขั้น​ตอน​การ​ทำ�งาน​ของ​โปรแกรม​การ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ต่อ​ไป​นี้ เพื่อ​ให้​ นักศึกษา​ได้ท​ ราบ​คร่าวๆ ว่าใ​ น​โปรแกรม​ของ​เขา​ทำ�งาน​อะไร​ได้บ​ ้าง เพื่อเ​ป็นพ​ ื้นฐ​ าน​ใน​การ​บรรยาย​สรุปใ​ น​บท​ วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง​ว่า โปรแกรม​ของ​บริษัทม​ ีผ​ ล​ต่อธ​ ุรกิจบ​ ริษัทอ​ ย่างไร​และ​จะ​ได้เ​ห็นก​ าร​ออกแบบ​ระบบ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย (security) ใน​ระบบ​งาน​อย่างไร ขั้น​ตอน​ที่ 1 การ​เปิด​ระบบ​ใช้ง​ าน ก่อน​จะ​ใช้​งาน​ผู้​จะ​เข้า​ระบบ​ที่​เกี่ยวข้อง​ทุก​คน​จะ​ต้อง​ ทำ�​ขั้นต​ อน​การ​เปิดร​ ะบบ​ก่อน​เสมือน​กับก​ าร​ลง​ทะเบียน​ตนเอง​กับร​ ะบบ​คอมพิวเตอร์เ​พื่อใ​ ห้ค​ อมพิวเตอร์ร​ ู้จัก​ ผู้​ใช้​งาน​แต่ละ​คน • การล็อกอิน (login) เข้าเ​ว็บไซต์​มี​ขั้นต​ อน​การ​ทำ�งาน คือ - พิมพ์ http://www.officemate.co.th/epo - พิมพ์อ​ ีเมล​แอดเดรส​ของ​ผู้​ใช้ - ใช้ง​ าน​ครั้ง​แรก​ใช้รหัสผ่าน (password) เป็น Officemate

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-32

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

• การ​เปลี่ยนรหัสผ่าน มีข​ ั้น​ตอน​การ​ทำ�งาน คือ - เมื่อค​ ลิก Sign-in แล้ว ให้​พิมพ์​เปลี่ยนรหัสผ่านของ​ผู้​ใช้​ใน​ช่อง “รหัส​ ผ่าน​ใหม่” และ​พิมพ์ “รหัส​ผ่าน​ใหม่” ซ้ำ�​อีกค​ รั้ง • กรณีล​ ืมรหัสผ่าน มีข​ ั้นต​ อน​การ​ทำ�งาน คือ - คลิกท​ ี่ “Forgot Password” - จะ​ปรากฏ​หน้า​จอ​ให้​พิมพ์​อีเมล​แอดเดรส - ระบบ​จะ​ส่งรหัสผ่านเก่า​ของ​ผู้​ใช้ ไป​ทาง​อีเมล​ของ​ผู้​ใช้ ขั้น​ตอน​ที่ 2 การ​กำ�หนด​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ก่อน​ลูกค้า​จะ​เริ่ม​ การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ได้ ลูกค้า​จะ​ต้อง​ทำ�​รายการ​กำ�หนด​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ก่อน​โดย​ เจ้าห​ น้าทีส่​ ่วน​กลาง​ทีไ่​ ด้ร​ ับม​ อบ​หมาย​และ​ต้อง​ผ่าน​การ​เห็นช​ อบ​จาก​ผูบ้​ ริหาร​ทีร่​ ับม​ อบ​หมาย​ทำ�​รายการ​อนุมัต​ิ ใน​ระบบ​ก่อน การ​ปฏิบัตขิ​ อง​เจ้า​หน้าที่​ส่วน​กลาง​ที่​ได้​รับ​มอบ​หมาย พนักงาน​ส่วน​กลาง​ที่​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ต้อง​ทำ�​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ของ​องค์กร​ก่อน โดย​ใช้​ระบบ​โปรแกรม​นี้​เลือก​รายการ​สินค้า​ต่างๆ ใน​แค​ตา​ล็อก​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) ของ​บริษัท โดย​สินค้าแ​ ต่ละ​รายการ จะ​มีชื่อ​สินค้า​และ​ราคา​ต่อ​หน่วย​พร้อม​รูป​สินค้า​ประกอบ เมื่อ​รายการ​สินค้า​ถูก​เลือกสรร​ลง​ใน​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) แล้ว พนักงาน​ส่วน​กลาง​ ที่​ทำ�​รายการ จะ​ส่ง​รายการ​เหล่า​นี้​ไป​ให้​ผู้​บริหาร (admin) ที่​รับ​ผิด​ชอบ ให้​ความ​เห็น​ชอบ​หรือ​อนุมัติ​ให้​เป็น​ รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ของ​บริษัท​ก่อน เพื่อ​ให้​เป็น​มาตรฐาน​ให้​พนักงาน​ธุรการ (requester) ของ​ลูกค้า​ตาม​หน่วย​งาน​หรือ​สาขา​ต่างๆ ของ​องค์กร​สามารถ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​เพื่อ​ใช้​งาน​ใน​หน่วย​งาน​ ของ​ตนเอง​ต่อ​ไป​ได้ ผู้​บริหาร​ที่​รับผ​ ิด​ชอบ ผู้บ​ ริหาร​ที่ร​ ับผ​ ิดช​ อบ เมื่อไ​ ด้ร​ ับร​ ายการ​สินค้าม​ า​แล้ว ต้อง​ตรวจ​ดูว​ ่าร​ ายการ​สินค​ ้าน​ ั้นๆ คือส​ ินค้า ทีค่​ วร​จะ​สั่งซ​ ื้อเ​พื่อใ​ ช้ง​ าน​ใน​องค์กร​หรือไ​ ม่ และ​ด้วย​ราคา​ทีย่​ อมรับไ​ ด้ และ​เมื่อผ​ ูบ้​ ริหาร​ทีร่​ ับผ​ ิดช​ อบ​ อนุมัตริ​ ายการ​ใน​รายการ​สินค้าม​ าตรฐาน (standard catalog) แล้ว เจ้าห​ น้าทีธ่​ ุรการ​หรือผ​ ูท้​ ีไ่​ ด้ร​ ับม​ อบ​หมาย​ ใน​การ​จัด​ซื้อ​ตาม​หน่วย​งาน​หรือ​สาขา​ต่างๆ จะ​สามารถ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ได้​ภาย​ใต้​การ​ควบคุม​รายการ​สินค้า​และ​ ราคา​ที่อ​ ยู่​ใน​แค​ตา​ล็อก​โดยที่​เขา​ต้อง​ควบคุม​ค่า​ใช้​จ่าย​ให้​อยู่​ใน​งบ​ประมาณ​ที่​เขา​รับ​ผิด​ชอบ ขั้น​ตอน​ที่ 3 การ​สั่งซ​ ื้อ​สินค้า วิธกี​ าร​ที่ 1 การ​สั่งซ​ ื้อส​ ินค้าต​ าม​รายการ​สินค้าม​ าตรฐาน (standard catalog) เจ้า​หน้าที​่ ธุรการ​ของ​ลูกค้า​ที่​อยู่​ตาม​หน่วย​งาน​หรือ​สาขา สามารถ​ทำ�​รายการ​สั่ง​ซื้อ​ด้วย​ระบบ​ออนไลน์​ได้​เอง​เลย ตาม​ ระบบ​ที่​กำ�หนด

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-33

ธ ส

เจ้า​หน้าทีธ่​ ุรการ​หรือ​ผู้​ที่​ได้​รับ​มอบ​หมาย • เจ้า​หน้าที่​ธุรการ​ของ​ลูกค้า​ต้องการ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า สามารถ​เลือก​รายการ​ สินค้า​ในรายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) โดย​คลิก​เลือก​สินค้า​ที่​ต้องการ​ซื้อ​และ​เติม​จำ�นวน​ หน่วย​ที่​จะ​ซื้อ​ลง​ใน​รายการ​สินค้า​และ​คลิก​ปุ่ม “หยิบ​ลง​ตะกร้า” • กรณี​ที่​อยาก​ดู​ลักษณะ​และ​รูป​สินค้า​ก่อน​จะ​เลือก ให้​คลิก “รูป​สินค้า” จะ​ปรากฏ​รูป​ของ​สินค้า​นั้น​บน​จอภาพ​เพื่อป​ ระกอบ​การ​เลือก​ซื้อ • เมื่อ​เลือก​รายการ​ครบ​แล้ว กด​ปุ่ม จบ เครื่อง​จะ​ปรากฏ​รายการ​สั่ง​ซื้อ​ ทั้งหมด​อีก​ครั้ง เพื่อก​ าร​ตรวจ​สอบ และ​ถ้า​กด​ปุ่ม ยืนยัน เครื่อง​จะ​แสดง​ใบสั่ง​ซื้อ (Purchase Order – PO) และ​เมื่อ​ยืนยัน​ใบสั่งซ​ ื้อแ​ ล้วใ​ ห้​กด Logout รายการ​นี้​จะ​ถูก​ส่ง​ทาง​อีเมล​ให้​ผู้​อนุมัติ วิธี​การ​ที่ 2 การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ที่​ไม่มี​รายการ​ใน​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) เจ้า​หน้าทีธ่​ ุรการ หรือ​ผู้​ที่​ได้​รับ​มอบ​หมาย • เมื่อ​เจ้า​หน้าที่​ธุรการ​จะ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ที่​ไม่มี​รายการ​ใน​รายการ​สินค้า​ มาตรฐาน (standard catalog) ให้​กด Special Request เพื่อ​ให้​สามารถ​เลือก​สินค้า​ใหม่​นอก​เหนือ​จาก​ รายการ​ใน​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) • เลือก​ใส่​รหัส​สินค้า​หรือ​ถ้า​จำ�​รหัส​ไม่​ได้​สามารถ​เปิด​ดู​จาก​เว็บไซต์​ของ​ บริษัท เพื่อด​ ูแค​ตา​ล็อก​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) • เมื่อ​ปรากฏ​รายการ​สินค้า​ที่​ต้องการ​แล้ว​ให้​เติม​จำ�นวน​หน่วย​ที่​จะ​สั่ง​ซื้อ​ ลง​ไป • เมื่อเ​ลือก​รายการ​สินค้า​จน​ครบ​แล้ว เครื่อง​จะ​แสดง​รายการ​เพื่อ​ยืนยัน • หลังจ​ าก​การ​ยืนยันแ​ ล้วใ​ ห้ส​ ่งร​ ายการ​เหล่าน​ ี้ท​ าง​อีเมล​ไป​หา​ผู้อ​ นุมัติเ​พื่อ​ พิจารณาอนุมัติ​ต่อ​ไป ผู้​อนุมัตหิ​ รือ​ผู้​ทไี่​ ด้​รับ​มอบ​หมาย​ให้​อนุมัติ • เมือ่ ผ​ อู​้ นุมตั ไ​ิ ด้ร​ บั อ​ เี มล​แล้วจ​ ะ​พจิ ารณา​อนุมตั ส​ิ นิ ค้าท​ เี​่ สนอ​มา​ใหม่พ​ ร้อม​ ด้วย​ราคา​ต่อ​หน่วย ที่​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) เสนอ ถ้า​ผู้​อนุมัติ​เห็น​ชอบ​จะ​กดอนุมัติ จาก​นั้น​จะ​ ส่ง​อีเมล​ให้​เจ้า​หน้าที่​ธุรการ​เพื่อส​ ั่ง​ซื้อต​ ่อไ​ ป • หลัง​จาก​ที่​มี​การ​อนุมัติ​แล้ว เครื่อง​จะ​นำ�​รายการ​สินค้า​นั้น​เข้าไป​อยู่​ใน​ รายการ​สนิ ค้าม​ าตรฐาน (standard catalog) ให้เ​จ้าห​ น้าทีธ​่ รุ การ​คน​อืน่ ๆ สามารถ​สัง่ ซ​ ือ้ ส​ นิ ค้าน​ ัน้ ต​ อ่ ไ​ ป​ได้ด​ ว้ ย วิธี​การ​ที่ 3 การ​กำ�หนด​และ​การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ซื้อบ​ ่อย (My Catalog) • การ​กำ�หนด​รายการ​สินค้า​ที่​ซื้อ​บ่อย (My Catalog) สำ�หรับเจ้า​หน้าที่​ ธุรการ​ที่​ทำ�​หน้าที่​สั่งซ​ ื้อ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-34

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ระบบ​นี้​ออกแบบ​มา​เพื่อ​ประโยชน์​ต่อ​เจ้า​หน้าที่​ธุรการ​ของ​บริษัท​ที่​ต้อง​ทำ�​ รายการ​สั่งซ​ ื้อส​ ินค​ ้าซ​ ้ำ�ๆ และ​บ่อยๆ เป็น​ประจำ� เพื่อ​ให้เ​ขา​สามารถ​ทำ�งาน​ได้ง​ ่าย​ไม่ต​ ้อง​ไป​เลือก​รายการ​สินค้า​ จาก​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ให้​ยุ่ง​ยาก​ทุก​ครั้ง เจ้าห​ น้าที่​สามารถ​เลือก​รายการ​สินค้า​ที่​ ตนเอง​ใช้​บ่อย​ออก​มา​ไว้​ใน​แคตา​ล็อกส่วน​ตัว โดย​กด​ปุ่ม My Catalog เครื่อง​จะ​ปรากฏ​รายการ​สินค้า​มา​ให้​ เจ้า​หน้าที่​เพื่อเ​ลือก​รายการ​ที่​ต้องการ​เข้าไป​ใน​แค​ตา​ล็อก​ของ​ตนเอง​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​สั่ง​ซื้อ​ที่ส​ ะดวก​ต่อ​ไป • การ​สั่งซ​ ื้อส​ ินค้า​จาก My Catalog ทุก​ครั้ง​ที่​เจ้า​หน้าที่ธ​ ุรการ​เปิด​ระบบ​ แล้ว เพียง​แต่​กด​ปุ่ม My Catalog รายการ​สินค้า​ที่​ได้​เลือก​ไว้​ใน​แค​ตา​ล็อก​ก็​จะ​ปรากฏ​บน​จอภาพ เพียง​เติม​ ตัวเลข​จ�ำ นวน​สนิ ค้าท​ จี​่ ะ​ซือ้ ล​ ง​ใน​ชอ่ ง “จำ�นวน” ใน​รายการ​ทตี​่ อ้ งการ​สัง่ ซ​ ือ้ ถ้าร​ ายการ​ใด​ไม่ต​ อ้ งการ​สัง่ ซ​ ือ้ เ​พียง​ เติม​เลข 0 ลง​ใน​ช่อง “จำ�นวน” เมื่อ​เลือก​ครบ​ทุก​รายการ​แล้ว กด​ปุ่ม End เครื่อง​จะ​แสดง​รายการ​ใบสั่ง​ซื้อ ขึ้น​มา​ให้​ดูบ​ น​จอภาพ​เพื่อย​ ืนยัน​อีก​ครั้งห​ นี่​ง นอกจาก​จะ​มี​ระบบ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​ของ​บริษัท​ใน​หลาย​รูป​แบบ​แล้ว บริษัท​ ยัง​ได้​พัฒนา​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​เพื่อ​มาส​นับ​สนุ​นกา​รบ​ริ​หา​รอื่นๆ หรือ​นำ�​มา​เสริม​การ​ให้​บริการ​ที่​มี​อยู่​ให้​มี​ ประสิทธิภาพ​มาก​ยิ่ง​ขึ้น​โดย​นำ�​มา​ผสม​ผสาน​กับ​วิธี​เดิม เพื่อ​ให้​ทัน​สมัย​และ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​แก่​ลูกค้า​ มาก​ยิ่ง​ขึ้น

ธ ส

ธ ส

บทวิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ธ ส

ธ ส

1) การ​วเิ คราะห์เ​ชิงธ​ รุ กิจ บริษัทใ​ ช้ก​ ลยุทธ์ท​ ีด่​ มี​ าก​ทีส่​ ร้าง​โปรแกรม​การ​จัดซ​ ื้อจ​ ัดจ​ ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ให้ล​ กู ค้าอ​ งค์กร​ใช้ เพราะ​บริษทั เ​ห็นว​ า่ อ​ งค์กร​สว่ น​ใหญ่ม​ ป​ี ญ ั หา​การ​สัง่ ซ​ ือ้ อ​ ปุ กรณ์ส​ �ำ นักงาน​ ชิ้นเ​ล็กชิ้น​น้อย​ที่​มี​จำ�นวน​มาก และ​ราคา​ไม่​แพง ถ้า​ซื้อ​ครั้ง​ละ​มากๆ ก็​อาจ​ใช้​ไม่​หมด​และ​เสื่อม​สภาพ​ได้ ครั้น​ จะ​ซื้อบ​ ่อยๆ ก็เ​สียเ​วลา​และ​การ​ควบคุมจ​ ัดซ​ ื้อก​ ท็​ ำ�ได้ย​ าก บาง​องค์กร​เสียห​ าย​จาก​การ​จัดหา​อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ ปี​ละ​มากๆ ฉะนั้น​ถ้า​บริษัท​สามารถ​ทำ�ให้​องค์กร​มั่นใจ​ว่า​สินค้า​ที่​จะ​ซื้อ​ได้​มาตรฐาน​ทั้ง​คุณภาพ​และ​ราคา​และ​ ป้องกัน​การ​ทุจริต​ได้ ซึ่งเ​รื่อง​ของ​การ​ป้องกันก​ าร​ทุจริตใ​ น​การ​จัดซ​ ื้อเ​ป็นป​ ัจจัยห​ ลักท​ ี่จ​ ะ​ทำ�ให้อ​ งค์กร​ต่างๆ เลือก​ใช้ว​ ิธีก​ าร​ ซื้อ​ผ่าน​ระบบ​นี้ เพราะ​ผู้​บริหาร​องค์กร​ไม่​อย่าง​มา​ยุ่ง​ยาก​กับ​ปัญหา​แบบ​นี้ และ​ที่​สำ�คัญ​อีก​ประการ​หนึ่ง​คือ บริษัทส​ ามารถ​ส่ง​สินค้า​ให้​ถึงม​ ือ​ผู้ใ​ ช้​ตาม​หน่วย​งาน​หรือ​สาขา​ต่างๆ ของ​องค์กร​ได้​ภายใน​วัน​รุ่ง​ขึ้น โดย​ลูกค้า​ ไม่​ต้อง​เสีย​ค้า​ใช้​จ่าย​เพิ่ม​เติม​มา​จัด​แรงงาน​เพื่อจ​ ัด​และ​กระจาย​สินค้า​ส่ง​ให้​ผู้​ใช้​ของ​ตน​โดยตรง​อีก​ครั้ง บริษัท​สร้าง​แค​ตา​ล็อก​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) ให้​ครอบคลุม​สินค้า​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​ สำ � นั ก งาน​ที่ ​มี ​อ ยู่ ​ใ น​ท้ อ ง​ต ลาด​ใ ห้ ​ม าก​ที่ สุ ด ​แ ละ​ยั ง ​ไ ด้ ​อ อก​แ ค​ต า​ล็ อ ก​ทั้ ง ​ที่ ​เ ป็ น ​ว ารสาร​แ ละ​แ ค​ต า​ล็ อ ก​ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) โดย​มี​การ​ปรับปรุง​ราคา​อยู่​เส​มอๆ ทุก 3 เดือน เพื่อ​ให้​ลูกค้า​องค์กร​มั่นใจ​ว่า​ สินค้า​ที่​ซื้อ​จาก​ออฟฟิศ​เมท​คุณภาพ​มาตรฐาน​ราคา​เป็นก​ลาง​และ​ถูก​ต้อง ลูกค้า​สามารถ​เลือก​จะ​ซื้อ​อะไร​และ​ ไม่​ซื้อ​อะไร​และ​เก็บ​ไว้​ใน​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) ของ​ตนเอง​เพื่อ​ให้​หน่วย​งาน​สั่ง​ซื้อ ​ใช้​งาน​ได้โ​ ดยตรง​ต่อไ​ ป

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-35

ธ ส

จะ​เห็นไ​ ด้ช​ ัดว​ ่าการ​ออกแบบ​โปรแกรม​การ​ใช้ง​ าน​ให้ล​ ูกค้าใ​ ช้ได้ส​ ะดวก​เป็นเ​คล็ดล​ ับส​ ำ�คัญอ​ ย่าง​ยิ่งท​ ี​่ ทำ�ให้​ลูก​ค้า​อยา​ก​ใช้​บริการ ตัวอย่าง​ที่เ​ห็น​ได้​ชัด​คือ My Catalog และ​นี่​คือ​เคล็ด​ลับ​สู่​ความ​สำ�เร็จใ​ น​การ​ขาย​ อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ของ​บริษัท ซึ่งค​ ู่แ​ ข่งขัน​จะ​พัฒนา​เพื่อ​มา​แข่งขัน​ได้​ไม่ใช่​ง่าย​นัก 2) วิเคราะห์​การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย (security) ของ​ระบบ • ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​ใช้​รหัส​ผ่าน เพื่อ​ให้​พนักงาน​ของ​ลูกค้า​องค์กร​ใช้​งาน​โปรแกรม​ ได้​สะดวก บริษัท​จึง​สร้าง​โปรแกรม​โดย​ผ่าน​อินเทอร์เน็ต โดย​กำ�หนด​ให้​ผู้​ใช้​ทุก​คน​ต้อง​มี​อีเมลของ​ตนเอง การ​มี​อีเมล​ของ​ตนเอง​ก็​ต้อง​มีรหัส (ID) และรหัสผ่าน (password) ของ​ตนเอง ซึ่ง​ก็​เท่ากับ​มี​การ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย​ระดับ​หนึ่ง​แล้ว​และ​ถ้า​ลูกค้า​ใช้​ระบบ​นี้​เป็น​ครั้ง​แรก ระบบ​จะ​กำ�หนด​ให้​ใช้​รหัส​ผ่าน​เป็น “Officemate” เพื่อ​ให้​เริ่ม​ต้นเข้าสู่ระบบได้ก​ ่อน แล้ว​จึง​ค่อย​เปลี่ยน​เป็น​รหัส​ผ่าน​ของ​ตนเอง การ​ทำ�​แบบ​นี้​ ทำ�ให้ล​ ูกค้าใ​ ช้ง​ าน​ง่าย​และ​สะดวก ส่วน​ลูกค้าต​ ้องการ​จะ​มกี​ าร​รักษา​ความ​ปลอดภัยใ​ น​รหัสผ​ ่าน​มาก​น้อย​เพียง​ ใด​ลูกค้า​สามารถ​กำ�หนด​เอง​ได้ โดย​การ​เปลี่ยน​หรือ​ไม่​เปลี่ยน​รหัส​ผ่าน​ก็ได้ กรณี​ลืม​รหัส​ผ่าน​ให้​กด​ปุ่ม “Forget Password” ระบบ​จะ​ส่ง​รหัส​ผ่าน​ที่​ลืม​กลับ​ไป​ที่​อีเมล​ ของ​ผู้​ใช้ ซึ่ง​ผู้​ใช้​ก็​ต้อง​มีรหัส (ID) และรหัสผ่าน (password) ของ​ตนเอง​เพื่อ​เปิด​อ่าน วิธี​การ​นี้​จัด​ได้​ว่า​เป็น​ ระบบ​ที่​ดีแ​ ละ​สมดุล​กับ​ลักษณะ​ของ​งาน กล่าว​คือ​ผู้​ออกแบบ​ระบบ ต้อง​รักษา​ความ​สมดุล​ระหว่าง​การ​ใช้​งาน​ ของ​ลูกค้าท​ ีส่​ ะดวก (เพราะ​เรา​ต้องการ​ขาย​ของ) กับก​ าร​ใช้ง​ าน​ทีย่​ ุ่งย​ าก​สลับซ​ ับซ​ ้อน​เพื่อใ​ ห้ม​ รี​ ะบบ​การ​ป้องกัน​ ความ​ปลอดภัย​ที่ม​ าก​จน​เกิน​ความ​พอดี ถ้า​หาก​จะ​มี​การ​รั่ว​ไหล​ของ​รหัส​ผ่าน​ก็​ไม่มี​ปัญหา​เพราะ​ยัง​มี​ระบบ​ป้องกันอีก​หลาย​ชั้น ที่​คอย​ ป้องกันก​ าร​ทุจริต​อยู่ • การ​ป้องกัน​ใน​การ​ใช้​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) เจ้า​หน้าที่​ของ​ลูกค้า​ที่​ ได้​รับ​มอบ​หมาย​ต้อง​เลือก​รายการ​สินค้า​และ​ราคา​ที่​จะ​ซื้อ​ก่อน​และ​ผ่าน​ระบบ​การ​อนุมัติ​ของ​ผู้​บริหาร​โดย​ ผู้​บริหาร​ก็​ต้อง​ใช้​รหัส​ผ่าน​ของ​เขา​เอง​เช่น​เดียวกัน จาก​นั้น​ระบบ​จึง​จะ​เก็บ​รายการ​ที่​อนุมัติ​แล้ว​ลง​ใน​รายการ​ สินค้าม​ าตรฐาน (standard catalog) ของ​องค์กร พนักงาน​ที่​จะ​ซื้อ​สินค้า​ของ​องค์กร​สามารถ​เลือก​ซื้อ​สินค้า​ ได้เ​ฉพาะ​ที่​อยู่​ใน​รายการ​สินค้า​มาตรฐาน (standard catalog) และ​ด้วย​ราคา​ที่​ระบุ​ไว้​เท่านั้น ซึ่ง​เพียง​เท่าน​ ี้​ ก็ม​ ีก​ าร​ป้องกันอีก​ระดับ​หนึ่ง​แล้ว • การ​ป้องกัน​ใน​การ​ออก​ใบสั่ง​ซื้อ ใบรับข​ อง ​และ​การ​ชำ�ระ​เงิน ระบบ​งาน​จะ​ออก​ใบสั่ง​ซื้อ​ที่​ ลูกค้า​ต้องการ ส่ง​ไป​ให้​บริษัท​เพื่อ​จัด​สินค้า​ส่ง​ให้​ลูกค้า​ใน​วัน​รุ่ง​ขึ้น และ​เมื่อ​สินค้า​ถูก​ส่ง​ถึง​มือ​พนักงาน​ที่​รับ​ ของ​ด้วย​ใบสั่ง​ซื้อ​ พนักงาน​รับ​ของ​ก็​ต้อง​ลง​นาม “รับ​ของ” พร้อม​ตรวจ​นับ​สินค้า ซึ่ง​ขั้น​ตอน​ทั้ง​สอง​นี้​ถือว่า​ มีร​ ะบบ​รักษา​ความ​ถูก​ต้อง​โดย​การ​ตรวจ​สอบ และ​สุดท้าย​เมื่อ​มี​การ​เก็บเ​งิน​ด้วย​ใบ​เรียก​เก็บเ​งิน ก็​ต้อง​มี​การ​ ตรวจ​สอบ​ความ​ถูกต​ ้อง​ของ​รายการ​ใน​ใบ​เรียก​เก็บอ​ ีกค​ รั้งก​ ่อน​การ​ชำ�ระ​เงิน และ​ใน​ระบบ​ชำ�ระ​เงินก​ ต็​ ้อง​มกี​ าร​ ตรวจ​สอบ​เพื่อร​ ักษา​ความ​ปลอดภัย​อีก​ชั้น ซึ่งจ​ ะ​กล่าว​ต่อ​ไป

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.2.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.2.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.2 เรื่อง​ที่ 15.2.1


15-36

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.2.2 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​การ​บริหารคลัง​สินค้า​

ธ ส

1. การ​วิเคราะห์​การ​เลือก​สถาน​ที่​ตั้ง​คลัง​สินค้า

บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) เลือก​จัด​ตั้ง​คลัง​สินค้า เลข​ที่ 70 หมู่ 2 ถนน​ร่วมพัฒนา แขวง ​ลำ�​ต้อยติ่ง เขต​หนองจอก กรุงเทพมหานคร (ภาพ​ที่ 15.8)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.8 ข้อมูลท​ ี่​ตั้งค​ ลัง​สินค้า​ของ​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

1.1 คลัง​สนิ ค้า​ของ​บริษทั ​ใน​เขต​กรุงเทพมหานคร การ​เลือก​ที่ต​ ั้ง​คลัง​สินค้า​ก็ถ​ ือว่า​เป็น​ปัจจัยส​ ำ�คัญ​ อย่าง​ยิง่ ใ​ น​การ​บริหาร​งานการ​ขนส่ง ผูบ​้ ริหาร​บริษทั ต​ อ้ ง​ตดั สินใ​ จ​ครัง้ ส​ �ำ คัญข​ อง​บริษทั ใน​ทีส่ ดุ บ​ ริษทั ก​ ต​็ ดั สินใ​ จ ​เพื่อ​เลือก​จุด​สร้าง​คลัง​สินค้า​ใน​ปัจจุบัน ด้วย​เหตุผล​คือ 1) องค์​ประกอบ​การ​ลงทุน​ทางการ​เงิน ก่อน​การ​ลงทุน​ใน​อสังหาริมทรัพย์​ใน​การ​ซื้อ​ที่ดิน​ ผู้​ลงทุน​ต้อง​พิจารณา​องค์ป​ ระกอบ​อย่าง​น้อย​ต่อ​ไป​นี้ • การ​ลงทุน​ซื้อ​ที่ดิน (investment cost) ก่อน​ซื้อ​ที่ดิน​ควร​พิจารณา​ว่า​ต้องการ​ซื้อ​ ที่ดิน​หรือ​เช่า​ที่ดิน ขึ้น​อยู่ก​ ับบ​ ริษัทม​ ีส​ ภาพ​คล่อง​ทางการ​เงิน​มาก​น้อย​เพียง​ไร การ​ซื้อท​ ี่ดิน​เพื่อ​เป็น​คลัง​สินค้า​ เป็นการ​ลงทุนอ​ สังหาริมทรัพย์​ทาง​อ้อม ตัวอย่าง​เรื่อง​นี้​คือ ธุรกิจ​โม​เดิร์น​เทรด อย่าง​เท​ส​โก้​โลตัส บิ๊ก​ซี หรือ​ แม้แต่ McDonald’s ยังบ​ อก​ว่าธ​ ุรกิจ​ของ​เขา​เป็น​ธุรกิจ​ลงทุน​ใน​อสังหาริมทรัพย์ • ค่าใ​ ช้​จ่าย​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน (operation cost) การ​ลงทุน​ครั้ง​แรก​ใน​การ​จัด​ซื้อ​ที่ดิน (investment cost) กับ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ขนส่ง​สินค้า (operation cost) ต้อง​นำ�​มา​ประกอบ​การ​ตัดสิน​ใจ​ที่​ เหมาะ​สมใน​การ​ลงทุนแ​ ละ​เหมาะ​สม​กับ​สถานะ​ทางการ​เงิน​ของ​บริษัท​ด้วย

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-37

ธ ส

การ​คาด​หวังใ​ น​อัตรา​การ​เพิ่ม​ของ​มูลค่า​ของ​ที่ดิน ก็​เป็น​ปัจจัย​ของ​การ​ตัดสิน​ใจ • การ​คาด​หวังใ​ น​อัตรา​การ​เพิ่มข​ อง​มูลค่าข​ อง​ที่ดิน ก็เ​ป็นป​ ัจจัยข​ อง​การ​ตัดสินใ​ จ อัตรา​ การ​เพิ่ม​ค่า​ของ​ที่ดิน​สูงก​ ว่าก​ าร​ลงทุน​ทางการ​เงิน การ​ซื้อ​ที่ดิน​ก็​น่า​จะ​เป็นท​ าง​เลือก​ที่​ดี • เลือก​อยูร่​ อบ​นอก​ของ​ตัวเ​มือง หลักก​ าร​นเี้​ป็นห​ ลักก​ าร​พื้นฐ​ าน​ของ​การ​เลือก​สร้าง​คลัง​ สินค้า เพราะ​ที่ดิน​ใน​ตัว​เมือง​จะ​มี​ราคา​สูง​ทำ�ให้​ต้นทุน​ใน​การ​เก็บ​สินค้า​สูง​ตาม​ไป​ด้วย ส่วน​จะ​อยู่​ที่ไหน ไกล​ ขนาด​ไหน ราคา​ที่ดิน​เป็น​อย่างไร ต้อง​พิจารณา​จาก​องค์​ประกอบ​อื่น​ด้วย 2) เลือก​ใกล้​ความ​หนา​แน่น​ของ​ลูกค้า ซึ่ง​ลูกค้า​ของ​บริษัท​เป็น​ลูกค้า​องค์กร​แบบ​สำ�นักงาน​ และ​อุตสาหกรรม ต้อง​พิจารณา​ต่อว่า​ลูกค้า​องค์กร​สำ�นักงาน​ของ​บริษัท​อยู่​บริเวณ​ใด 3) เลือก​ที่​ตั้ง​ฝั่ง​ตะวัน​ออก หรือ​ฝั่ง​ตะวัน​ตก​ของ​ตัว​เมือง จะ​เป็น​ที่ดิน​ของ​สำ�นักงาน​และ​ อุตสาหกรรม​มากกว่า​กัน ปรากฏ​ว่า​ตัว​เมือง​ฝั่ง​ตะวัน​ออก​เป็น​ที่​ตั้ง​ของ​สำ�นักงาน​และ​อุตสาหกรรม​มากกว่า​ ฝั่ง​ตะวันต​ ก​ซึ่ง​เป็นท​ ี่ต​ ั้งข​ อง​ที่อ​ ยู่​อาศัย 4) ค่า​ทางด่วน​ของ​ฝั่ง​ตะวัน​ออก การ​จราจร​ใน​ฝั่ง​ตะวัน​ออก​ด้วย​กัน​หรือ​จาก​ตะวัน​ออก​เข้า​ ตัว​เมือง ไม่​ต้อง​ใช้​หรือ​ใช้​น้อย​กับ​เส้น​ทาง​ที่ผ​ ่าน​ทางด่วน ซึ่ง​จะ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ขนส่ง​อย่าง​มาก ใน​ที่สุด​ผู้บ​ ริหาร​ตัดสิน​ใจ​ลงทุน​ซื้อท​ ี่ดิน​จำ�นวน 15 ไร่ ที่​เขต​หนองแขม​ใน​ปัจจุบัน 1.2 คลังส​ นิ ค้าใ​ น​ตา่ ง​จงั หวัด เนื่องจาก​ประเทศไทย​มขี​ นาด​ทีไ่​ ม่ใ​ หญ่เ​มื่อเ​ทียบ​การ​พื้นทีข่​ อง​ประเทศ​ สหรัฐอเมริกา​หรือ​จีน ดัง​นั้น ใน​เบื้อง​ต้น​บริษัท​จึงไ​ ม่​จำ�เป็น​ต้อง​สร้าง​คลัง​สินค้า​ลักษณะ​เครือ​ข่าย ทั้งนี้​เพราะ​ รถ​บรรทุกส​ ามารถ​เดินท​ าง​จาก​กรุงเทพมหานคร​ไป​จดุ เ​หนือส​ ดุ ห​ รือใ​ ต้ส​ ดุ ข​ อง​ประเทศไทย​ได้ภ​ ายใน 12 ชัว่ โมง เพราะ​ฉะนั้น​บริษัท​สามารถ​ให้​บริการ​จัด​ส่ง​สินค้า​ภาย​วัน​ถัด​ไป​ทั่ว​ประเทศ​ได้​โดย​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​พึ่ง​คลัง​สินค้า​ ใน​ต่าง​จังหวัด อย่างไร​ก็​ดี ถ้า​ปริมาณ​ลูกค้า​ใน​ต่าง​จังหวัด​มี​ปริมาณ​เพิ่ม​ขึ้น​ใน​อนาคต​ทาง​บริษัท​ย่อม​จะ​ต้อง​ ทำ�การ​ประเมินใ​ หม่ว​ า่ ต้นทุนก​ าร​ขนส่งใ​ น​ลกั ษณะ​เดิมก​ บั ใ​ น​ลกั ษณะ​ทมี​่ ค​ี ลังก​ ระจาย​สนิ ค้าใ​ น​ตา่ ง​จงั หวัดอ​ ย่าง​ ใด​จะ​คุ้ม​ทุนม​ ากกว่าก​ ัน ปัจจุบัน​การ​ขนส่ง​สินค้า​ไป​ยัง​ต่าง​จังหวัด​นั้น บริษัท​อาศัย​การ​ส่ง​สินค้า​ผ่าน​ไปรษณีย์​ แห่ง​ประเทศไทย ซึ่งท​ ำ�ให้​บริษัทไ​ ม่​ต้อง​สร้าง​หน่วย​งาน​เพื่อ​จัด​ส่ง​สินค้า​ใน​ต่าง​จังหวัดด​ ้วย​ตัวเ​อง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. การ​จัดการ​กลุ่มส​ ินค้า​ใน​คลัง​สินค้า

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ลักษณะ​การ​จัดเ​ก็บ​สินค้าค​ งคลังจ​ ะ​เป็นไ​ ป​ใน​ลักษณะ​ที่ใ​ กล้​เคียง​กับ​ระบบ​คงคลัง​แบบ​แยก​ประเภท ABC คือ บริษัทจ​ ะ​ทำ�การ​แยก​ประเภท​สินค้าโ​ ดย​แบ่งอ​ อก​เป็นส​ ินค้าข​ นาด​เล็ก ขนาด​ใหญ่ ขนาด​ใหญ่ม​ าก และ​ สินค้า​มี​มูลค่า​สูง (ภาพ​ที่ 15.9) • สินค้าข​ นาด​เล็ก สินค้า​อุปกรณ์เ​ครื่อง​เขียน และ​อุปกรณ์​สำ�นัก​งาน​เล็กๆ น้อยๆ • สินค้าข​ นาด​ใหญ่แ​ ละ​มีน​ ้ำ�​หนัก ต้อง​อาศัยร​ ถ​ยก​หรืออ​ ุปกรณ์ช​ ่วย​ซึ่งจ​ ะ​อยู่ใ​ น​บริเวณ​ที่ร​ ถ​สามารถ​ เข้า​ออก​ได้​สะดวก • สินค้า​มูลค่า​สูง จะ​มี​การ​ดูแล​อย่าง​เข้ม​งวด​มาก​ขึ้น​เพื่อ​ลด​การ​สูญ​เสีย​ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น​จาก​ความ​ ผิด​พลาด

ธ ส


15-38

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.9 คลัง​สินค้า​ของ​บริษัท

ธ ส

2.1 การ​จัด​สินค้า​ขนาด​เล็ก​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ บริษัท​อาศัย​ระบบ​ไอที​ใน​การ​ติดตาม​ความถี่​ของ​ สินค้า​ที่​ลูกค้า​สั่ง​ซื้อ​เพื่อ​ทำ�การ​จัด​เรียง​สินค้า​ใน​ลักษณะ​ที่​ให้​สินค้า​ที่​ถูก​สั่ง​ซื้อ​เป็น​ประจำ�​อยู่​ใน​บริเวณ​ที่​หยิบ​ จับ​ได้​สะดวก และ​ระยะ​ทางใน​การ​เดิน​เพื่อ​ไป​นำ�​สินค้า​มา​บรรจุ​นั้น​มี​ระยะ​ทาง​ที่​สั้น​ที่สุด โดย​ตำ�แหน่ง​ของ​ สินค้า​จะ​ถูก​ปรับต​ ำ�แหน่ง​ตลอด​เวลา​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความถี่​ใน​การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​นั้น​อยู่​เสมอ ข้อมูลท​ กุ อ​ ย่าง​จะ​ถกู เ​ก็บอ​ ย่าง​ละเอียด​โดย​อาศัยค​ อมพิวเตอร์ เพือ่ ใ​ ห้การ​ประมวล​และ​การ​คาด​การณ์​ การ​เปลี่ยนแปลง​การ​นำ�​เข้าส​ ต็อ​ ก​สินค้าใ​ ห้เ​พียง​พอ ไม่ว​ ่าจ​ ะ​เป็น​แนว​โน้ม​การ​สั่งซ​ ื้อห​ รือ​การ​สั่งซ​ ื้อต​ าม​ฤดูกาล​ เป็นไ​ ป​ได้อ​ ย่าง​แม่นยำ� และ​เนื่องจาก​การ​เก็บ​ข้อมูลเ​ป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​เกือบ​จะ​ทันที​ทัน​ใด​หรือ​เรีย​ ล​ไทม์ (real time) ดังน​ ั้น​จะ​ไม่​เกิด​ปัญหา​ใน​ลักษณะ​ของ​วิกฤต​สิน​ค้า​ขาด​สต๊อก (trumpet of doom) เกิด​ขึ้น 2.2 การ​จัด​สินค้าข​ นาด​เล็กบ​ น​ชั้น​วาง​ของ ชั้น​สำ�หรับว​ าง​สินค้า​ขนาด​เล็ก​มี 6 ชั้น อุปกรณ์​สำ�นักงาน​ ซึ่ง​เป็น​สินค้า​ชิ้น​เล็ก​และ​อยู่​ใน​รายการ​ที่​ขาย​บ่อย​จะ​ถูก​จัด​ให้​อยู่​ใน​ชั้น​ที่​เห็น​และ​หยิบ​ได้​ง่าย​คือ​ชั้น​ที่ 3 หรือ 4 ระดับ​สายตา เมื่อ​สายพาน​นำ�​ตะกร้า​ที่​มี​รายการ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​อยู่​ด้วย​ผ่าน​มา​ถึง​พนักงาน​ที่​ยืน​ตาม​จุด​ต่างๆ (station) ก็จ​ ะ​หยิบร​ ายการ​สัง่ ซ​ ือ้ ข​ ึน้ ม​ า​ดว​ู า่ ม​ ร​ี ายการ​ใด​บา้ ง​ทตี​่ น​ตอ้ ง​หยิบ ถ้าม​ ก​ี จ​็ ะ​หยิบส​ นิ ค้าจ​ าก​ชัน้ ล​ ง​ตะกร้า​ จน​ครบ​รายการ​ที่ต​ น​รับ​ผิด​ชอบ พร้อม​ทำ�​เครื่องหมาย​ใน​ใบ​รายการ​ว่า​ได้​หยิบ​แล้ว จาก​นั้น​ตะกร้า​จะ​เลื่อน​ไป​ หา​พนักงาน​ที่อ​ ยู่​จุดยืน​อื่นต​ ่อ​ไป จน​การ​หยิบ​สินค้า​จะ​ครบ​ทุก​รายการ 2.3 การ​บรรจุ​สินค้าล​ ง​กล่อง หลัง​จาก​พนักงาน​ที่​ทำ�​หน้าที่​หยิบ​สินค้า​ลง​กล่อง​ชิ้น​สุดท้าย​แล้ว กล่อง​ จะ​ถูก​เลื่อน​ไป​ตาม​สายพาน​ไป​ถึงพ​ นักงานตรวจ​สอบ พนักงาน​ตรวจ​สอบ​จะ​ตรวจ​สอบ​ความ​ครบ​ถ้วน​และ​ถูก​ ต้อง​ของ​สินค้าท​ ี่บ​ รรจุล​ ง​ไป​ใน​กล่อง​ให้ต​ รง​กับใ​ บสั่งซ​ ื้อ โดย​นำ�​ใบสั่งซ​ ื้อใ​ น​กล่อง​มาส​อบ​ทาน​ความ​ถูกต​ ้อง​และ​ ครบ​ถ้วน​อีก​ครั้ง​หนึ่ง และ​เมื่อ​ตรวจ​สอบ​ถูก​ต้อง​ครบ​ถ้วน​แล้ว​จะ​มี​การ​ปิด​กล่อง​ด้วย​อุปกรณ์​อย่าง​ดี​ให้​แน่น​ หนา และ​เลื่อน​กล่อง​สินค้าไ​ ป​ตาม​สายพาน​เพื่อ​ไป​หา “รถ​สำ�รอง” ที่​มี​หมายเลข​ตาม​ที่​คอมพิวเตอร์พ​ ิมพ์​ไว้​ ใน​ใบสั่ง​ซื้อ โดย​รถ​สำ�รอง​จะ​มี​หมายเลข​ตรง​กับ​รถ​ขนส่ง​ที่​จะ​ต้อง​ไป​ส่ง​สินค้า​ตาม​สาย​ใน​วันร​ ุ่ง​ขึ้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-39

ธ ส

ตลอด​กระบวนการ​ตรวจ​สอบ​เพื่อค​ วบคุมค​ ุณภาพ​หรือค​ ิวซ​ ี (Quality Control – QC) (ภาพ​ที่ 15.10) ที่พ​ นักงาน​ปฏิบัติจ​ ะ​มี​กล้อง​วงจรปิด (CCTV) บันทึกภ​ าพ​ไว้​ตลอด​ตั้งแต่ต​ ้น​จน​จบ ทั้งนี้ ด้วย​วัตถุประสงค์​ คือ - ให้พ​ นักงาน​ตัง้ ใจ​ท�ำ งาน เพราะ​ทราบ​ดว​ี า่ ท​ กุ อ​ ริ ยิ า​บท​ทตี​่ น​ท�​ำ อะไร​อยู่ ผูบ​้ งั คับบ​ ญ ั ชา​สามารถ​ มอง​เห็นแ​ ละ​สามารถ​นำ�​มา​พิจารณา​ย้อน​ดู​เทป​ที่บ​ ันทึก​ไว้​ได้ - เพื่อป​ ้องกัน​การ​ทุจริต​ของ​พนักงาน​ที่​จะ​หยิบข​ อง​ออก​จาก​กล่อง เมื่อ​ทราบ​ว่า​มี​การ​บันทึก​ วิดีโอ​ไว้​ก็​ไม่​กล้า​ทำ�การ​ทุจริต​หรือ​ขอ​เคลม​อย่าง​ไม่มี​เหตุผล - เพื่อย​ ืนยันก​ าร​ตรวจ​สอบ​สินค้าต​ าม​รายการ​ของ​พนักงาน​ตรวจ​สอบ หรือแ​ ม้แต่ก​ าร​ควบคุม​ ให้​พนักงาน​ตรวจ​นับ​และ​สอบ​ทาน​สินค้าท​ ี่​บรรจุ​ลง​ใน​กล่อง​ครบ​ถ้วน​อย่าง​แน่นอน​ก่อน​ปิด​กล่อง - เพื่อเ​ป็นห​ ลักฐ​ าน​ยืนยันก​ ับล​ ูกค้าก​ รณีท​ ีล่​ ูกค้าร​ ับส​ ินค้าไ​ ป​แล้ว และ​ร้อง​เรียน​ว่าไ​ ด้ร​ ับส​ ินค้า​ ใน​กล่อง​ไม่​ครบ​ถ้วน​ขาด​หาย​ไป เทป​ที่บ​ ันทึก​ไว้​สามารถ​นำ�​มาส​อบ​ทาน​และ​ตรวจ​สอบ​ได้

ธ ส

บทวิเคราะห์ท้ายเรื่อง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

- การ​ลงทุน​เพื่อ​ซื้อ​ที่ดิน​เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ​ต่อ​บริษัท​เป็น​อย่าง​มาก ถ้า​เลือก​ที่ดิน​ได้​ถูก​ต้อง​จะ​ทำ�ให้​ มูลค่า​ที่ดิน​ใน​อนาคต​สูง​ขึ้น และ​เป็น​ผล​ดี​ต่อ​บริษัท ที่ดิน​ที่​ซื้อ​เป็น​คลัง​สินค้า​ใน​ปัจจุบัน​มี​มูลค่า​สูง​ขึ้น​อย่าง​ มาก - การ​จัด​ตั้ง​คลังส​ ินค้า​ที่​ฝั่งต​ ะวัน​ออก​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ค่าท​ างด่วน​ได้​มาก - การ​จัดว​ าง​สินค้าใ​ น​คลังส​ ินค้า บริษัทใ​ ช้ร​ ะบบ​คอมพิวเตอร์เ​ก็บข​ ้อมูลโ​ ดย​ตลอด บริษัทจ​ ึงจ​ ัดเ​ก็บ​ สินค้า​ใน​ที่ๆ เหมาะ​สม​หยิบ​ง่าย และ​ที่ส​ ำ�คัญก​ าร​เก็บ​สินค้า​ใน​สต๊อก​จะ​ต้อง​มี​ปริมาณ​น้อย​ที่สุด เพราะ​สินค้า​ ใน​สต๊อก​มี​ต้นทุน แต่​ก็​ต้อง​มี​สินค้า​เพียง​พอที่​จะ​ไม่​ทำ�ให้​ขาด​ส่ง​สินค้า​เมื่อ​มี​การ​สั่ง​ซื้อ ต้อง​ยอมรับ​ว่า​บริษัท​ ใช้ร​ ะบบ​สารสนเทศ​เข้า​ช่วย​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​มาก - การ​มี​ระบบ​ควบคุมค​ ุณภาพ (QC) ใน​การ​ตรวจ​เช็คส​ ินค้าก​ ่อน​บรรจุก​ ล่อง​พร้อม​มี​กล้อง​วงจรปิด เป็นว​ ิธีก​ าร​ที่ด​ ีม​ ีป​ ระโยชน์ ที่ส​ ำ�คัญค​ ือบ​ ริษัทส​ ามารถ​ยืนยันล​ ูกค้าไ​ ด้ว​ ่าส​ ินค้าไ​ ม่ห​ าย​โดย​สามารถ​นำ�​เอา​ภาพ​ที่​ บันทึกไ​ ว้ม​ า​พิสูจน์ เพราะ​ถ้าไ​ ม่มรี​ ะบบ​นเี้​มื่อส​ ินค้าข​ าด​หาย​ไป​ไม่ส​ ามารถ​พิสูจน์ไ​ ด้ว​ ่าห​ าย​เพราะ​พนักงาน​บริษัท​ หยิบ​ไป​หรือ​ลูกค้า​หยิบ​ไป และ​วิธีก​ าร​นี้​ทำ�ให้​ทั้งพ​ นักงาน​ของ​บริษัท​และ​พนักงาน​ของ​ลูกค้า​ไม่​กล้า​ทุจริต

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.2.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.2.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.2 เรื่อง​ที่ 15.2.2


15-40

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.2.3 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​ขนส่ง​สินค้า

ธ ส

การ​จัดการ​ขนส่ง​สินค้าข​ อง​บริษัท​จะ​ทำ�​วันล​ ะ 1 เที่ยว​คือ​เวลา 09.00 น. เมื่อ​ถึง​เวลา​พนักงาน​ขับ​รถ​ ก็จ​ ะ​นำ�​รถ​มา​จอด​อยู่ท​ ี่แ​ นว​ลาน​จอด​รถ​เป็นแ​ ถว​เหมือน​กับล​ าน​จอด​เครื่อง​บิน เมื่อถ​ ึงเ​วลา​ที่ก​ ำ�หนด​บริษัทเ​ปิด​ ประตูค​ ลังส​ ินค้า พนักงาน​ขับร​ ถ​จะ​เข้าม​ า​ยก​สินค้าท​ ีบ่​ รรจุก​ ล่อง​พร้อม​ระบุช​ ื่อท​ ีอ่​ ยูล่​ ูกค้าเ​รียบร้อย​ใน​รถ​สำ�รอง​ ที่​จอด​ไว้​ใน​ช่อง​ของ​ตน​ขึ้น​รถ และ​รถ​ขนส่ง​แต่ละ​คัน​รู้​เส้น​ทางการ​เดินรถ​และ​ลูกค้า​ของ​เขา​เป็น​อย่าง​ดี เขา​จะ​ ออก​รถ​ไป​ตาม​เส้น​ทาง​ของ​เขา​โดย​จะ​ดูร​ ายการ​ว่าม​ ีส​ ินค้าก​ ล่อง​ไหน​ไป​ส่งใ​ ห้ล​ ูกค้า ราย​ใด เมื่อส​ ่งส​ ินค้าแ​ ล้วใ​ ห้​ ลูกค้า​ลง​นาม​รับ​ของ​โดย​ไม่​ต้อง​รับ​เงิน​เพราะ​บริษัทม​ ี​ระบบ​เก็บ​เงิน​ภาย​หลัง พนักงาน​ส่ง​ของ​จะ​ต้อง​ส่ง​ของ​ให้​ ลูกค้า​จน​หมด​ใน​วัน​เดียวกันจ​ ึง​จะ​กลับ​เพื่อ​นำ�​ใบรับ​ของ​มา​ส่ง 1. การ​บริหาร​รถ​และ​พนักงาน​ขับ​รถ • บริษทั เ​ป็นเ​จ้าของ​รถยนต์เ​อง เมื่อเ​ริ่มก​ ิจก​ าร​ใหม่ๆ บริษัทจัดซ​ ื้อร​ ถยนต์เ​อง โดย​บริษัทเ​ป็น​ ผูล้​ งทุนแ​ ละ​จัดหา​ว่าจ​ ้าง​พนักงาน​ขับร​ ถ​มา​ดำ�เนินง​ าน หลังจ​ าก​ได้ด​ ำ�เนินง​ าน​มาระ​ยะ​หนึ่งพ​ บ​ว่าม​ ปี​ ัญหา​ใน​ทาง​ ปฏิบัติ​หลาย​ประการ - การ​ลงทุน​ใน​รถยนต์​ขนส่ง​สูง​มาก ถ้า​ต้อง​ใช้​รถ​ถึง 80 คัน ต้อง​ลงทุนห​ ลาย​ล้าน​บาท - จัดหา​บุคลากร​ขับ​รถ​ที่​มี​คุณภาพ​หา​ได้​ไม่​ง่าย​นัก - อั ต รา​ก าร​เ ข้ า -ออก ของ​พ นั ก งาน​ขั บ ​ร ถ​สู ง ​ม าก พนั ก งาน​ขั บ ​ร ถ​ใ หม่ ​ย่ อ ม​ไ ม่ มี ​ ประสิทธิภาพ มีป​ ัญหา​เรื่อง​เส้น​ทางการ​เดินรถ และ​ความ​สัมพันธ์​กับ​ลูกค้า - พนักงาน​ขบั ร​ ถ​ไม่ร​ กั ษา​รถ เพราะ​รถ​เป็นข​ อง​บริษทั ทำ�ให้ร​ ถ​เสียห​ าย​และ​เกิดอ​ บุ ตั เิ หตุ​ บ่อย​ครั้ง • การ​จัด​จ้าง​แบบ​เอาต์ซอร์ส​เพื่อ​แก้​ปัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​อดีต บริษัท​เปลี่ยน​วิธี​การ​บริหาร​ใหม่ โดย​ทำ�​สัญญา​จ้าง​ระยะ​ยาว​โดย​จ้าง​เหมา​ราย​วันก​ ับพ​ นักงาน ทั้งนี้ใ​ ห้พ​ นักงาน​ขับร​ ถ​เป็นเ​จ้าของ​รถ​เอง และ​มา​ รับจ้าง​บริษัท​โดย​มี​สัญญา​ว่า​จ้าง​ระยะ​ยาว​เพื่อ​ให้​พนักงาน​ขับ​รถ​มั่นใจ​ว่า​เขา​จะ​มี​ราย​ได้​แน่นอน​เพื่อ​สามารถ​ ผ่อน​ชำ�ระ​ค่า​รถ​ได้ วิธีน​ ี้​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ด้วย​ดี เพราะ​เป็นผ​ ล​ดี​ทั้ง​ต่อ​พนักงาน​ขับ​รถ​และ​ต่อ​บริษัท ระบบ​ นี้​จึงใ​ ช้​อยู่​จนถึง​ปัจจุบัน ผล​ดี​ต่อ​บริษัท 1) ไม่ต​ ้อง​ใช้​เงินล​ งทุน​สูง 2) ไม่ต​ ้อง​มี​ทีม​งาน​มา​ดูแล​ซ่อม​บำ�รุง​รถ 3) ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ค่า​เสื่อม​สภาพ​รถ 4) เพิ่มป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน 5) ลด​การ​บริหาร​น้ำ�มัน​รถ 6) ลด​ปัญหา​ขาดแคลน​พนักงาน​ขับ​รถ 7) ลด​ปัญหา​อัตรา​การ​เข้า​ออก​ของ​พนักงาน​ขับ​รถ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ผล​ดี​ต่อ​พนักงาน​ขับ​รถ 1) เป็นเ​จ้าของ​รถ​เอง 2) ราย​ได้แ​ น่นอน 3) ดูแล​รักษา​รถ​ด้วย​ตนเอง

ธ ส

15-41

ธ ส

2. การ​บริหาร​ให้​รถ​ขนส่ง​ให้เ​ต็ม​ประสิทธิภาพ • การ​รักษา​ความ​สมดุล​ใน​การ​บรรจุ​สินค้า เนื่องจาก​บริษัท​ใช้​ระบบ​คอมพิวเตอร์​ช่วย​ใน​การ​ บริหาร​จัดการ​เรื่อง​การ​บรรจุ​สินค้า​ลง​กล่อง คอมพิวเตอร์​จะ​ช่วย​บริหาร​จัดการ​ให้​โดย​ทราบ​ถึง​พฤติกรรม​ การ​สั่ง​ซื้อ​ของ​ลูกค้า​แต่ละ​สาย​อยู่​แล้ว การ​จัด​สินค้า​ใน​แต่ละ​กล่อง​และ​แต่ละ​สาย​การ​เดินรถ​ได้​ถูก​คำ�นวณ​ เพื่อ​จัดสรร​สินค้า​ให้​กระจาย​เฉลี่ย​ไป​ตาม​รถ​ต่างๆ ให้​พอดี​กับ​ความ​จุ​ของ​รถ​แต่ละ​คัน​ไม่​มาก​หรือ​น้อย​เกิน​ ไป​จน​เป็น​ที่​เรียบร้อย​ก่อน​พิมพ์​รายการ​ใน​ใบ​ส่ง​สินค้า เมื่อ​พนักงาน​หยิบ​สินค้า​และ​บรรจุ​สินค้า​ลง​กล่อง​เสร็จ​ เรียบร้อย สายพาน​จะ​พาก​ล่อง​ไป​ที่ “รถ​สำ�รอง” ตาม​สาย​การ​เดินรถ​เพื่อ​ให้​รถ​ขนส่ง​นำ�​สินค้า​ไป​ส่ง​ตาม​ที่ไ​ ด้​ รับ​มอบ​หมาย • กรณี​สินค้า​เกิน​ความ​จุ​ของ​รถ​ขนส่ง กรณี​ที่​สินค้า​ใน​สาย​ใด​สาย​หนึ่ง​เกิน​กว่า​ความ​จุ​รถ​ หนึ่งค​ ันจ​ ะ​บรรจุไ​ ด้เ​กิดข​ ึ้นบ​ ่อย​ครั้ง ครั้นจ​ ะ​เพิ่มร​ ถ​อีกห​ นึ่งค​ ันเ​พื่อม​ า​จัดส​ ่งส​ ินค้าน​ ั้นก​ ็จ​ ะ​มีค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ต่อห​ น่วย​ สินค้าท​ สี​่ ง่ ส​ งู การ​บริหาร​จดั การ​กบั ป​ ญ ั หา​กรณีน​ ที​้ าง​บริษทั จ​ ะ​รบี แ​ ก้ไข​โดย​ตอ้ ง​รบี ข​ ยาย​เพิม่ ต​ ลาด​ลกู ค้าใ​ น​สาย​ การ​เดินรถ​นี้​ให้​มาก​ขึ้น เพื่อ​ให้​ปริมาณ​สินค้า​ที่​ส่ง​เพียง​พอ​กับ​ต้นทุน​เฉลี่ย​ต่อ​หน่วย​ของ​การ​ส่ง​สินค้า บริษัท​ แก้ไข​ปัญหา​นี้โ​ ดย​การ​ระดม​พนักงาน​ตัวแทน​ขาย​ไป​ขยาย​การ​ขาย​ให้ล​ ูกค้าใ​ หม่ใ​ น​บริเวณ​ที่ส​ าย​การ​เดินรถ​นั้น เพื่อ​เพิ่มย​ อด​ขาย​ให้​ปริมาณ​สินค้า​มาก​เพียง​พอ​กับ​การ​เพิ่ม​รถ​คัน​ต่อ​ไป แต่​จะ​ไม่​เพิ่ม​ยอด​ขาย​มาก​เกิน​ไป​กับ​ รถ​คันต​ ่อๆ ไป​อย่าง​ทันทีท​ ันใด​อย่าง​ไม่ส​ มดุล เพราะ​ถ้าม​ ยี​ อด​ขาย​มาก​จน​เกินไ​ ป​จะ​ทำ�ให้ก​ าร​บริหาร​ลูกค้าไ​ ม่ม​ี ประสิทธิภาพ ย่อม​เป็นผ​ ล​เสียแ​ ก่บ​ ริษัทม​ ากกว่าผ​ ล​ดี ฉะนั้นบ​ ริษัทจ​ ะ​พยายาม​รักษา​ความ​สมดุลข​ อง​ปริมาณ​ ขาย ปริมาณ​รถ​ขนส่ง และ​คุณภาพ​การ​ให้​บริการ​อย่าง​สมดุล​อย่าง​ค่อย​เป็น​ค่อย​ไป

ธ ส

บท​วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ใน​การ​บริหารระบบ​ขนส่ง บริษัท​แก้​ปัญหา​นี้​ได้​ด้วย​ดี เพราะ​ทุกอ​ งค์กร​ที่​ทำ�​ธุรกิจ​ที่​ต้อง​มี​การ​ขนส่ง​ ลักษณะ​นี้​จะ​มี​ปัญหา​คล้ายคลึง​กัน เพียง​แต่​จะ​แก้​ปัญหา​ได้​ถูก​จุด​หรือ​ไม่ การ​แก้​ปัญหา​โดย​ให้​พนักงาน ​ขับร​ ถ​เป็นเ​จ้าของ​รถ​เอง​เป็น​วิธี​แก้ท​ ี่​ดี​ที่สุด ดี​ทั้งก​ ับ​บริษัท ดี​ทั้ง​พนักงาน​ขับ​รถ และ​ดี​ทั้ง​ต่อ​สังคม ทรัพยากร​ และ​เศรษฐกิจข​ อง​ชาติโ​ ดย​รวม ทั้งนี้เ​พราะ​พนักงาน​ขับร​ ถ​จะ​ดูแล​รักษา​รถ​เป็นอ​ ย่าง​ดีเ​พราะ​เป็นร​ ถ​ของ​ตนเอง​ และ​จะ​ไม่​ขับ​รถ​เร็ว​เกิน​ไป ทำ�ให้​ลด​อุบัติเหตุ ลด​ค่าน้ำ�​มัน ยืด​อายุ​การ​ใช้​งาน​รถ พนักงาน​ขับ​รถ​มี​ฐานะ​ทั้ง ​การ​เงินแ​ ละ​ครอบครัวด​ ี​ขึ้น​กว่าก​ าร​เป็น​ลูกจ้าง ชีวิต​เป็นสุข สังคม​เป็นสุข บริษัท​สามารถ​ควบคุม​และ​คำ�นวณ​ค่า​ใช้​จ่าย​เรื่อง​การ​ขนส่ง​ได้​อย่าง​ถูก​ต้อง​และ​แม่นยำ� เพราะ​ค่า​ ขนส่ง​เป็นต้นท​ ุน​ทาง​ตรง​ที่​สำ�คัญข​ อง​ธุรกิจก​ าร​ค้า​แบบ​นี้

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.2.3 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.2.3 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.2 เรื่อง​ที่ 15.2.3


15-42

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

เรื่อง​ที่ 15.2.4 การ​ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน ​และ​การรักษาความ​ปลอดภัย

ธ ส

ธ ส

ช่อง​ทางการ​ชำ�ระ​เงิน เป็นอ​ ีกห​ นึ่งร​ ะบบ​ที่บ​ ริษัทใ​ ห้ค​ วาม​สำ�คัญเ​ป็นอ​ ย่าง​ยิ่งเ​พื่ออ​ ำ�นวย​ความ​สะดวก​ ให้​แก่​ลูกค้า ใน​ช่วง​เริ่มต​ ้น แม้บ​ ริษัทจ​ ะ​มีค​ วาม​พร้อม​ด้าน​การ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ออนไลน์ แต่บ​ ริษัทย​ ังใ​ ห้ค​ วาม​สำ�คัญ​ กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ออฟ​ไลน์เ​ช่น​กัน เนื่องจาก​บริษัทต​ ระหนักด​ ี​ว่า​ลูกค้าส​ ่วน​ใหญ่​ยัง​เคยชินก​ ับก​ าร​ชำ�ระ​เงิน​ แบบ​เดิม ฉะนั้นก​ าร​ปรับเ​ปลี่ยน​พฤติกรรม​คง​ต้อง​ใช้เ​วลา​สักร​ ะยะ​หนึ่ง และ​อีกป​ ระการ​หนึ่งล​ ูกค้าส​ ่วน​ใหญ่ย​ ัง​ ไม่มีค​ วาม​มั่นใจ​ใน​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ออนไลน์ โดย​เฉพาะ​การ​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ออนไลน์​ ด้วย​บัตร​เครดิต ฉะนั้น การ​ชำ�ระ​เงิน​ปลาย​ทาง​ด้วย​พนักงาน​เก็บเ​งิน​ของ​บริษัท​จึงเ​ป็น​คำ�​ตอบ​ที่​ดี​ที่สุด​ใน​ช่วง​ เริ่ม​ต้น​หรือ​แม้แต่​ใน​ปัจจุบัน​บริษัทก​ ็​ยังค​ ง​ให้​บริการ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​วิธี​ออฟ​ไลน์​อยู่ บริษัท​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​เป็น​แบบ​บี​ทูบี (B2B) เป็น​หลัก​ภาย​ใต้แบรนด์เนม “OfficeMate” และ​ได้​ขยาย​ ธุรกิจ​ใน​ลักษณะ​บี​ทู​ซี (B2C) ด้วย ภายใต้แบรนด์เนม “TrendyDay” ดัง​ได้​กล่าว​ไป​แล้ว ฉะนั้น​ทาง​บริษัท​ จึง​มี​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​กับ​สอง​ธุรกิจน​ ี้​ใน​ลักษณะ​ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน​ตาม​คุณลักษณะ​และ​ความ​สะดวก​ลูกค้า จึง​จะ​ แยก​การ​อธิบาย​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​บริษัท​ออก​เป็น 2 ส่วน​คือ ของ​ธุรกิจ​แบบ “ออฟฟิศ​เมท” และ​ธุรกิจ​ แบบ “เทรน​ดี้เ​ดย์”

ธ ส

ธ ส

ธ ส

1. ระบบ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ธุรกิจ​ออฟฟิศ​เมท

ธ ส

โดย​ทั่วไป​ลักษณะ​การ​ขาย​สินค้า​ใน​ธุรกิจ​ลักษณะ​นี้​จะ​มี​เงื่อนไข​หรือ​งวด​การ​ชำ�ระ​เงิน​เป็น 2 แบบ​

คือ

ธ ส

ธ ส

แบบ​ที่ 1 ขาย​แบบ​ชำ�ระ​ทันที​เมื่อ​รับ​สินค้า กล่าว​คือ เมื่อ​ลูกค้า​ได้​รับ​สินค้า​แล้ว​ต้อง​ชำ�ระ​ทันที แต่​จะ​ ชำ�ระ​ด้วย​วิธี​ใด​ใน​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ใด​นั้น​จะ​ได้อ​ ธิบาย​ต่อ​ไป แบบ​ที่ 2 ขาย​แบบ​มี​เครดิต คือ ขาย​แบบ​ให้​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ชำ�ระ ใน​แบบ​ที่​สอง​นี้ บริษัท​จะ​มี​ข้อ​ ตกลง​กับ​ลูกค้า​ว่า​เงื่อนไข​การ​ชำ�ระ​เงิน​จะ​เป็น​อย่างไร​หลัง​จาก​รับ​สินค้า​แล้ว โดย​ปกติ​จะ​ให้​ช่วง​ระยะ​เวลา​ใน​ การ​ชำ�ระ​ไม่​เกิน 30 วัน หรือ​อาจ​จะ​กำ�หนด​วัน​ชำ�ระ​เป็นท​ ุก​วัน​ที่ 15 หรือ 30 หรือ​วัน​ใด​ตาม​ที่​ลูกค้า​และ​บริษัท​ จะ​ตกลง​กัน​เพื่อ​หาความ​สะดวก​ทั้งส​ อง​ฝ่าย อย่างไร​ก็ตาม จะ​เป็นการ​ขาย​แบบ​ชำ�ระ​ทันที​หรือ​ขาย​แบบ​มี​เครดิต สุดท้าย​ก็​คือ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ ลูกค้า​ให้​บริษัท (money transfer) ใน​ที่น​ ี้​จะ​อธิบาย​การ​ชำ�ระ​เงิน​ด้วย​วิธี​การ​ต่างๆ ดังนี้ 1.1 ชำ�ระ​ผา่ น​พนักงาน​เรียก​เก็บ  ลูกค้าข​ อง​บริษทั ส​ ว่ น​ใหญ่เ​ป็นน​ ติ บิ คุ คล หรือธ​ รุ กิจ ยังน​ ยิ ม​การ​จา่ ย ​หรือ​ชำ�ระ​เงินจ​ าก​การ​ซื้อส​ ินค้า​ใน​แบบ​เดิมๆ คือ เมื่อ​ถึง​เวลา​นัด​ชำ�ระ บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) จะ​

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-43

ธ ส

ต้อง​เป็นผ​ ู้​ออก​บิล​เพื่อเ​รียก​เก็บ โดย​บริษัทจ​ ะ​มี​พนักงาน​นำ�​บิลไ​ ป​เรียก​เก็บ​กับ​ลูกค้า ส่วน​ลูกค้า​จะ​ชำ�ระ​ด้วย​ วิธี​การ​ใด​นั้น​แล้ว​แต่​ลูกค้า​จะ​สะดวก ซึ่งส​ ามารถ​จะ​ชำ�ระ​ได้​ด้วย​วิธี​การ​ดังนี้ 1) ชำ�ระ​ด้วย​เงินสด/เช็ค​ของ​ลูกค้า วิธี​การ​นี้​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ต้อง​พิมพ์​ บิล​เพื่อ​ส่ง​ไป​ให้​ลูกค้า​ล่วง​หน้า​และ​นัด​วัน​เพื่อ​ไป​เก็บ​เงิน​จาก​ลูกค้า เพื่อ​ให้​ลูกค้า​เตรียม​การ​เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน เมื่อ​ พนักงาน​เรียก​เก็บ​ของ​บริษัทไ​ ป​หา​เจ้า​หน้าที่​การ​เงิน​ของ​ลูกค้า เจ้าห​ น้าที่​จะ​ให้​เงินสด​หรือ​เช็ค​เงินสด​ที่เ​ตรียม​ ไว้​ตาม​บิล​ที่​บริษัท​ส่ง​มา​ล่วง​หน้า​ให้​กับ​พนักงาน โดย​พนักงาน​เก็บ​เงิน​ของ​บริษัท​จะ​ต้อง​ให้ “ใบ​เสร็จ​รับ​เงิน​ และ​ใบ​กำ�กับ​ภาษี” ที่​เตรียม​มา​ให้​กับ​เจ้า​หน้าที่​ของ​ลูกค้า เป็น​อันว่า​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ลูกค้า​ราย​นี้​เสร็จ​สิ้น พนักงาน​ของ​บริษัท​ที่​ทำ�​หน้าที่​เก็บ​เงิน​ก็ต​ ้อง​ไป​เก็บ​เงิน​กับ​ลูกค้า​รา​ยอื่นๆ ต่อ​ไป ซึ่ง​ปกติ​ได้​มี​การ​วาง​ระบบ​ไว้​ แล้ว​ว่า​ลูกค้า​แต่ละ​ราย​ที่​จะ​เรียก​เก็บ​แต่ละ​รอบ​ของ​พนักงาน​ราย​นี้​ควร​ต้อง​อยู่​ใกล้ๆ กัน เพื่อ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ การ​เดิน​ทาง 2) ชำ�ระ​ดว้ ย​บตั ร​เครดิต วิธีน​ ี้ก​ ็ค​ ล้าย​กับว​ ิธีช​ ำ�ระ​ด้วย​เงินสด เพียง​แต่ท​ ำ�​รายการ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ ระบบ​บัตร​เครดิตแ​ ทน โดย​พนักงาน​เก็บ​เงินข​ อง​บริษัท​จะ​มีเ​ครื่อง​รูด​บัตร​อัตโนมัติ (Electronic Data Capture – EDC) ที่​เป็น​ระบบไร้​สาย (remote) ผ่าน​เครือ​ข่าย​โทรศัพท์​มือ​ถือ​แบบ​จีพ​ ี​อาร์​เอส (GPRS) ลูกค้า​จะ​ นำ�​บัตร​ของ​องค์กร​ลูกค้า​รูดท​ ี่​เครื่อง​รูด​บัตร ด้วย​รายการ​ตาม​จำ�นวน​เงิน​บน​บิล จาก​นั้น​พนักงาน​เก็บ​เงิน​ของ​ บริษัทก​ จ็​ ะ​ให้ใ​ บ​เสร็จท​ ี่อ​ อก​จาก​เครื่อง​และ​ใบ​กำ�กับภ​ าษีท​ ีเ่​ตรียม​มา​ให้ก​ ับล​ ูกค้า หรือบ​ าง​กรณีบ​ ริษัทอ​ าจ​จะ​ส่ง​ มา​ให้​ลูกค้า​ภาย​หลัง 1.2 ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​คอมพิวเตอร์ ใน​กรณี​ที่​จะ​ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​คอมพิวเตอร์​โดย​ไม่​ผ่าน​พนักงาน ​เก็บ​เงิน​ของ​บริษัท ลูกค้า​สามารถ​ทำ�ได้​โดย​บริษัทไ​ ด้​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ไว้​หลาย​ช่อง​ทาง​คือ 1) ชำ�ระ​ผา่ น​ระบบ​เคาน์เตอร์ ลูกค้าส​ ามารถ​นำ�​เงินสด​หรือเ​ช็คไ​ ป​ชำ�ระ​ให้บ​ ริษัทโ​ ดย​ผ่าน​​สาขา​ ของ​ธนาคาร​ต่างๆ ทุก​ธนาคาร หรือ​ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​เคาน์เตอร์​ของ​บริษัท​ต่างๆ ได้ เมื่อ​ลูกค้า​ชำ�ระ​แล้วบ​ ริษัท​ สามารถ​รับ​รู้​ข้อมูล​การ​ชำ�ระ​เงิน​ได้​จาก​ระบบ​ธนาคาร​หรือ​บริษัท​ที่​ให้​บริการ​ชำ�ระ​เงิน บริษัท​ก็​จะ​ออก​ใบ​เสร็จ​ และ​ใบ​กำ�กับ​ภาษี​ส่ง​ให้ล​ ูกค้า​ใน​ภาย​หลัง 2) ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​เอทีเอ็ม ลูกค้า​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​เครื่อง​เอทีเอ็ม (ATM) เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน​ ให้​แก่​บริษัท​ได้โ​ ดย​ลูกค้า​ทำ�​รายการ​โอน​เงินจ​ าก​บัญชี​ของ​ตนเอง​เพื่อ​ชำ�ระ​ให้​แก่​บริษัท 3) ชำ�ระ​ผา่ น​ระบบ​เครือ่ ง​เอ​ดเ​ี อ็ม ถ้าล​ กู ค้าป​ ระสงค์จ​ ะ​น�​ำ เงินสด​ไป​ช�ำ ระ​สามารถ​ท�ำ ได้โ​ ดย​ช�ำ ระ​ ผ่าน​เครื่อง​เอ​ดี​เอ็ม (ADM) ลูกค้าน​ ำ�​เงินสด​ใส่​ไป​ใน​เครื่อง​เอ​ดี​เอ็ม (ให้​เครื่อง​รับ​เงิน) และ​ลูกค้า​ทำ�​รายการ​ ชำ�ระ​เงิน​ที่เ​ครื่อง เพื่อ​ชำ�ระ​ให้​แก่​บริษัทไ​ ด้​เช่น​กัน สังเกต​ว่าใ​ น​การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​เครื่อง​เอทีเอ็ม (ATM) หรือเ​อ​ดเี​อ็ม (ADM) การ​ทำ�​รายการ​โอน​เงินเ​พื่อ​ ชำ�ระ​เงินจ​ ะ​ต้อง​ทำ�​ผ่าน​เครื่อง​เอทีเอ็มแ​ ละ​เอ​ดีเ​อ็มข​ อง​ธนาคาร​ที่เ​ป็นเ​จ้าของ​บัตร​เอทีเอ็มท​ ี่ล​ ูกค้าใ​ ช้อ​ ยู่เ​ท่านั้น จะ​ใช้​บริการ​นี้​ผ่าน​เครื่อง​ของ​ธนาคาร​อื่นไ​ ม่​ได้ 1.3 การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ออนไลน์  การ​ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์​ทำ�ได้ 2 ช่อง​ทาง​ใหญ่ คือ ช่อง​ทาง​ที่ 1 ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​ธนาคาร​ออนไลน์​ของ​ธนาคาร กล่าว​ได้​ว่า​ทุก​ธนาคาร​จะ​มี​ระบบ​ การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ธนาคาร​ออนไลน์ (online banking) ของ​ธนาคาร โดย​จะ​เรียก​ชื่อ​บริการ​ที่​แตก​ต่าง​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-44

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

กัน​ออก​ไป และ​มี​ระบบ​ความ​ปลอดภัย (security) ที่​ระดับ​ต่างๆ ขึ้น​อยู่​กับ​ลูกค้า​จะ​เลือก​ใช้ บาง​ระบบ​การ​ ทำ�​รายการ​ชำ�ระ​เงิน​ต้อง​มี​ผู้​ทำ�​รายการ 2 คน คือ ผู้​ทำ�​รายการ​คน​หนึ่ง และ​อนุมัติ​อีก​คน​หนึ่ง และ​มี​ระบบ​ ร่อง​รอย​การ​ตรวจ​สอบ (audit trail) เพื่อก​ าร​ตรวจ​สอบ​ต่าง​ระดับก​ ัน และ​มรี​ ะบบ​การ​แจ้งเ​ตือน​หรือแ​ จ้งข​ ้อมูล​ การ​โอน​ให้​ทั้ง​ผู้ท​ ำ�​รายการ (ลูกค้า) และ​ผู้รับเ​งิน ผ่าน​เอส​เอ็มเ​อส (SMS) มือ​ถือ และ/หรือผ​ ่าน​ระบบ​อีเมล หรือบ​ าง​ระบบ​จะ​มีร​ ะบบ “one time password” ส่งม​ า​ทาง​มือถ​ ือเ​พื่อใ​ ห้ผ​ ู้ท​ ำ�​รายการ​ยืนยัน (confirm) ผ่าน​ ระบบ​ออนไลน์​อีกค​ รั้ง ทุก​ธนาคาร​ต้อง​สร้าง​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ให้เ​ป็นท​ ี่น​ ่าเ​ชื่อถ​ ือข​ อง​ลูกค้า และ​ต้อง​ สามารถ​ป้องกันก​ าร​ทุจริตแ​ ละ​ถูก​โจมตีข​ อง​ผู้​ไม่​หวัง​ดี​ได้ เพราะ​หาก​เกิดอ​ ะไร​ขึ้น​ใน​ระบบ​โดย​ไม่ใช่ค​ วาม​ผิด ของ​ลูกค้า ธนาคาร​จะ​ต้อง​รับ​ผิด​ชอบ​ทุก​ประการ ช่อง​ทาง​ที่ 2 การ​ชำ�ระ​ด้วย​บัตร​เครดิต​แบบ​ออนไลน์ บริการ​นี้​เป็นบ​ ริการ​ที่​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ ได้พ​ ัฒนา​ขึ้นเ​พื่อใ​ ห้บ​ ริการ​แก่ล​ ูกค้า โดย​ลูกค้าส​ ามารถ​ชำ�ระ​เงินจ​ าก​บัตร​เครดิต (เสมือน​ทำ�​รายการ​ผ่าน​เครื่อง​ รูด​บัตร​ได้) ด้วย​การ​ทำ�​รายการ​ด้วย​ตนเอง​ผ่าน​ระบบ​โปรแกรม​ที่ทาง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​สร้าง​ขึ้น โดย​ลูกค้า​ สามารถ​ทำ�​รายการ​ชำ�ระ​เงิน​ตาม​บิล​รายการ​ใด และ​จำ�นวน​เท่าใด โดย​ต้อง​คีย์​เลข​บัตร​เครดิต​ลูกค้า​ตาม เลข​ หน้าบ​ ัตร​เครดิตล​ ง​ใน​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ด​ ้วย หรือล​ ูกค้าส​ ามารถ​ใช้เ​ลข​ประจำ�​ตัวอ​ ื่นท​ ี่บ​ ริษัทอ​ อก​ให้ ซึ่งด​ ้วย​ วิธี​การ​นี้​ลูกค้าม​ ัก​กลัวเ​รื่อง​ความ​ปลอดภัย ด้วย​เหตุ​นี้​บริษัท​ต้อง​แสดง​ให้​ลูกค้า​และ​ธนาคาร​ผู้รับ​บัตร​เครดิต (acquirer bank) มี​ความ​มั่นใจ​ใน​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ ระบบ​นี้​แม้​จะ​ยุ่ง​ยาก​และ​ชี้​ชวน​ลูกค้า​ได้​ยาก แต่​ระบบ​นี้​จะ​เป็น​ทิศทาง​ของ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ที่​กว้าง​ขวาง​ ทั้ง​ใน​และ​ต่าง​ประเทศ​ทั่ว​โลก​ต่อ​ไป​ใน​อนาคต โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​การ​ทำ�​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​ข้าม​ประเทศ​ ทั่ว​โลก

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ธุรกิจ​เทรน​ดเี้​ดย์

ธ ส

เนื่องจาก​ธุรกิจข​ อง​กลุ่มเทรนดี้เดย์ (Trendyday) เป็นร​ ะบบ​บี​ทูซ​ ี (B2C) คือ​ลูกค้า​จะ​เป็น​ราย​ย่อย หรือเ​ป็นบ​ ุคคล​ทั่วไป​จำ�นวน​มาก ฉะนั้นร​ ายการ​สินค้า​ที่​ขาย​มักจ​ ะ​มี​ชิ้นเ​ล็กก​ ว่า ราคา​ถูกก​ ว่า มีจ​ ำ�นวน​รายการ​ มากกว่า ด้วย​เหตุน​ ี้​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงินต​ ้อง​เน้น​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ให้​มาก เพื่อ​ลด​ต้นทุนก​ าร​ดำ�เนิน​งาน การ​ชำ�ระ​เงิน​ใน​ธุรกิจเทรนดี้เดย์จะ​ไม่​เน้น​การ​ให้​เงื่อนไข​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​มี​เครดิต แต่​จะ​เป็น​แบบ “ต้อง​ชำ�ระ​เงิน​ทันที​เมื่อ​ได้ร​ ับส​ ินค้า” และ​จะ​ไม่เ​น้น​การ​ให้พ​ นักงาน​เก็บ​เงิน​ไป​เก็บเ​งินท​ ี่บ​ ้าน เพราะ​มีค​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​ สูง​และ​ไม่​สะดวก ฉะนั้น​รูป​แบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ส่วน​ใหญ่​จะ​เป็นแ​ บบ​ออนไลน์ 2.1 ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​เคาน์เตอร์ ลูกค้า​สามารถ​ชำ�ระ​ผ่าน​ระบบ​เคาน์เตอร์​ธนาคาร​หรือ​เคาน์เตอร์​ ชำ�ระ​เงิน​ทั่วไป​เหมือน​กับ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ธุรกิจอ​ อฟฟิศ​เมท 2.2 ชำ�ระ​ผ่าน​เครื่อง​เอทีเอ็ม​หรือ​เครื่อง​เอ​ดี​เอ็ม (ATM/ADM) ลูกค้า​สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​เครื่อง​ เอทีเอ็ม​หรือ​เอ​ดี​เอ็ม​ของ​ธนาคาร​เจ้าของ​บัตร​ได้​เหมือน​ระบบ​ชำ�ระ​เงิน​ของ​ออฟฟิศ​เมท 2.3 การ​ช�ำ ระ​เงินผ​ า่ น​ระบบ​ออนไลน์   การ​ชำ�ระ​เงินผ​ ่าน​ระบบ​ออนไลน์ข​ องเทรนดี้เดย์สามารถ​ทำ�ได้ 2 ช่อง​ทาง​เช่นเ​ดียวกันแ​ ละ​ด้วย​วิธกี​ าร​เดียวกันแ​ ละ​เนื่องจาก​การ​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ธุรกิจเทรนดี้เดย์จะ​มจี​ ำ�นวน​เงิน​ ไม่ม​ าก และ​ลูกค้าโ​ ดย​รวม​เป็นบ​ ุคคล​ทั่วไป​ไม่ต​ ้อง​มี​ระเบียบ​และ​เอกสาร​มากมาย โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่งใ​ บ​เสร็จ​

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-45

ธ ส

รับเ​งินท​ ีเ่​ป็นก​ระ​ดาษ หรือใ​ บ​กำ�กับภ​ าษี ไม่มคี​ วาม​สำ�คัญต​ ่อล​ ูกค้าก​ ลุ่มน​ ีม้​ าก​นัก ฉะนั้นล​ ูกค้าจ​ ึงน​ ิยม​ใช้บ​ ริการ​ ช่อง​ทางการ​ชำ�ระ​เงินด​ ้วย​วิธี​นี้ ช่อง​ทาง​ที่ 1 การ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ธนาคาร​ออนไลน์​ของ​ธนาคาร โดย​ทั่วไป​ลูกค้า​สามารถ​ ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​ธนาคาร​ออนไลน์ (online banking) หรือ​ธนาคาร​เคลื่อนที่ (mobile banking) (ผ่าน smart phone) ของ​ธนาคาร แต่​ระบบ​นี้​จะ​มี​ระบบ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ที่​ใช้​ไม่​ยุ่ง​ยาก​สลับ​ซับ​ซ้อน​เหมือน​ ของ​บริษัท ลูกค้า​สามารถ​ทำ�​รายการ​ได้​สะดวก​และ​รวดเร็ว​กว่า แต่​ลูกค้า​ยัง​มี​ข้อ​จำ�กัด คือ • ต้อง​เป็นธ​ นาคาร​ออนไลน์ (online banking) หรือธ​ นาคาร​เคลื่อนที่ (mobile banking) ของ​ธนาคาร​ก่อน โดย​สมัคร​ที่ส​ าขา​ธนาคาร​หรือ​สมัคร​ผ่าน​เครื่อง​เอทีเอ็ม ทั้งนี้​เพื่อ​ขอรหัสผ่านและ​ขอ​ ให้​เชื่อม​โยง​กับ​บัญชี​ของ​ลูกค้า​เอง​ที่ม​ ี​อยู่​กับ​ธนาคาร • ทำ�​รายการ​ข้าม​ธนาคาร​ไม่​ได้ กล่าว​คือ ลูกค้า​ที่​จะ​ชำ�ระ​เงิน​ผ่าน​ระบบ​นี้​จะ​ต้อง​เป็น​ ลูกค้า​ของ​ธนาคาร​เดียว​กับ​ธนาคาร​ที่​บริษัท​เป็น​ลูกค้า​ด้วย ลูกค้า​ที่​จะ​ชำ�ระ​เงิน​ไม่​สามารถ​ทำ�​รายการ​ข้าม​ ธนาคาร​ได้ อย่างไร​ก็ตาม​ปัญหา​นี้ ทาง​บริษัทแ​ ก้ไข​ได้ โดย​บริษัท​เปิด​บัญชี​กับ​ธนาคาร​ใหญ่ๆ ทั้งหมด ช่อง​ทาง​ที่ 2 การ​ช�ำ ระ​เงิน​ดว้ ย​บตั ร​เครดิต​แบบ​ออนไลน์  ช่อง​ทาง​นี้ก​ ็ค​ ง​เหมือน​กับ​ช่อง​ทาง​ที่ 2 ของ​ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ใน​ระบบ​ออฟฟิศ​เมท ระบบ​นี้​เป็น​ที่​สนใจ​ของ​ลูกค้า​ที่​จะ​ชำ�ระ​เงิน และ​บริษัท​รับชำ�ระ​ เงิน แต่เ​ป็นท​ ีน่​ ่าส​ ังเกต​ว่าร​ ะบบ​นีธ้​ นาคาร​ผู้รับบ​ ัตร (acquirer bank) กลับไ​ ม่ค​ ่อย​ชอบ​และ​ไม่อ​ ยาก​ให้บ​ ริการ ด้วย​เหตุผล​หลาย​ประการ • ประการ​แรก จำ�นวน​เงิน​ใน​แต่ละ​รายการ​ที่​ทำ�​เป็น​จำ�นวน​ต่ำ� ค่าบ​ ริการ​ต่อ​รายการ​ที่​ คิดเ​ป็นเ​ปอร์เซ็นต์ ก็จ​ ะ​น้อย​ไป​ด้วย เช่น การ​ทำ�​รายการ 1,000 บาท กับ 100,000 บาท มีต​ ้นทุนใ​ น​การ​ปฏิบัต​ิ การ​ของ​ธนาคาร​ผู้รับบ​ ัตร​เท่า​กัน แต่​ธนาคาร​ผู้รับบ​ ัตร​ได้​ค่า​บริการ​ต่าง​กัน​ถึง 100 เท่า • ประการ​ที่ส​ อง โอกาส​ที่​ลูกค้า​องค์กร​จะ​ทำ�​รายการ​ทุจริต​น้อย​กว่าล​ ูกค้า​บุคคล​ทั่วไป เพราะ​บัตร​เครดิต​ของ​องค์กร​จะ​ต้อง​มี​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​ใน​การ​ดูแล​และ​มี​ผู้​ควบคุม และ​หาก​มี​การ​ทุจริต​และ​ เสีย​หาย​ผู้​ดูแล​บัตร​ต้อง​รับ​ผิด​ชอบ ใน​ช่อง​ทาง​ที่ 2 นี้ ไม่เ​ป็นป​ ัญหา​กับอ​ อฟฟิศเ​มท​เพราะ​เป็นบ​ ริษัทใ​ หญ่ มีค​ วาม​มั่นคง และ​ระบบ​ เชื่อ​ถือไ​ ด้ ฉะนั้นธ​ นาคาร​ที่ร​ ับ​บัตร​ย่อม​ยินดี​ที่​จะ​ให้​บริการ​ร่วม​กับ​ออฟฟิศ​เมท​เป็น​อย่าง​ดี 2.4 ระบบ​การ​ชำ�ระ​เงิน​แบบ​ออนไลน์​ผ่าน​องค์กร​กลาง เนื่องจาก​มี​ข้อ​จำ�กัด​ใน​การ​ชำ�ระ​เงิน​ข้าม​ ธนาคาร​ระหว่าง​ผู้​ซื้อ​และ​ผู้​ขาย​ต้อง​เป็น​ลูกค้า​ธนาคาร​เดียวกัน จึง​เกิด​องค์กร​กลาง​ขึ้น​ทำ�​หน้าที่​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ จาก​ลูกค้า​ด้วย​บัตร​เครดิต หรือ​ด้วย​บัตร​เดบิต (บัตร​เอทีเอ็ม) หรือ​ด้วย​เงินสด เพื่อ​ชำ�ระ​ให้​แก่​ผู้​ขาย ธุรกิจ​ ประเภท​คนกลาง​รับ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​ผู้​ขาย​และ​ผู้​ซื้อ​เป็น​ที่​นิยม​กัน​มาก​ใน​ปัจจุบัน​คือ Mpay และ Paysbuy ซึ่ง​ ทาง​ออฟฟิศ​เมท​ก็​ให้​บริการ​กับ​ลูกค้า​ราย​ย่อย​ของเทรนดี้เดย์สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​กับ​บริษัท​โดย​ใช้​บริการ​ของ​ ทั้ง​สอง​องค์กร 2.5 การ​ผอ่ น​ช�ำ ระ​การ​ซอื้ ก​ บั ธ​ นาคาร​เจ้าของ​บตั ร   ระบบ​นีเ้​พิ่งจ​ ะ​นำ�​มา​ใช้ก​ ับก​ าร​ชำ�ระ​เงินข​ อง​ไทย​ไม่​ นาน​นเี​้ อง ระบบ​นกี​้ �ำ ลังเ​ป็นท​ นี​่ ยิ ม​ของ​การ​ขาย​ตรง ขาย​ทาง​ไกล และ​ขาย​ผอ่ น​ใน​ปจั จุบนั เมือ่ ล​ กู ค้าซ​ ือ้ ส​ นิ ค้าก​ บั ​ ผูข้​ าย (ออฟฟิศเ​มท​) และ​เมื่อบ​ ริษัทผ​ ูข้​ ายส่งส​ ินค้าใ​ ห้ผ​ ูซ้​ ื้อ พนักงาน​ผูส้​ ่งข​ อง​จะ​นำ�​เครื่อง​อดี​ ซี​ ี (EDC) ติดตัวไ​ ป​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-46

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ด้วย เมื่อ​ลูกค้า​รับ​ของ​แล้วล​ ูกค้า​จะ​รูดบ​ ัตร​เครดิต​กับ​เครื่อง​อี​อี​ซี เพื่อ​ชำ�ระ​เงิน​เสมือน​กับ​ซื้อ​สินค้า​เป็น​เงินสด โดย​ปกติบ​ ริษทั ผ​ ขู​้ าย​จะ​ให้เ​ปอร์เซ็นต์ส​ ว่ นลด​ให้ล​ กู ค้าซ​ ือ้ เ​ป็นเ​งินสด เพือ่ เ​ป็นส​ ิง่ จ​ งู ใจ​ให้ล​ กู ค้าเ​ลือก​วธิ ช​ี �ำ ระ​เงิน​ แบบ​นี้​โดย​ผู้​ขาย​จะ​ได้​เงินสด​จาก​ธนาคาร​ใน​วัน​เดียวกัน แต่​ผู้​ซื้อ​สามารถ​ผ่อน​ชำ�ระ​กับ​ธนาคาร​ได้​เป็น​งวด​จะ​ จ่าย​งวด​ละ​เท่าใด​และ​จำ�นวน​เท่าใด​และ​ด้วย​อัตรา​ดอกเบี้ย​เท่าใด เป็น​ธุรกิจ​ระหว่าง​ธนาคาร​เจ้าของ​บัตร​กับ​ ลูกค้า​ผู้​ซื้อ ไม่มีค​ วาม​สัมพันธ์​หรือ​เกี่ยวข้อง​ทางการ​เงิน​ระหว่าง​ผู้​ขาย (ออฟฟิศ​เมท) กับผ​ ู้​ซื้อ​อีก​ต่อ​ไป​เพราะ​ ผู้​ขาย​ได้ร​ ับ​เงินค​ รบ​ถ้วน​จาก​ธนาคาร​แล้ว อย่างไร​ก็ตาม ก่อน​ทีล่​ ูกค้าจ​ ะ​สามารถ​ทำ�​รายการ​ข้าง​ต้นไ​ ด้ก​ ต็​ ้อง​ได้ร​ ับก​ าร​อนุมัตจิ​ าก​ธนาคาร​เจ้าของ​ บัตร​ก่อน ระบบ​การ​เก็บเ​งิน​โดย​ใช้​พนักงาน​เก็บ​เงิน​บวก​กับ​การ​ให้​เครดิต​อีก 30 วัน​นั้น มี​ประมาณ 60 – 70% ของ​ยอด​ขาย เป็นร​ ะบบ​ทมี่​ คี​ ่าใ​ ช้จ​ ่าย​สูง ทำ�ให้ต​ ้นทุนข​ อง​สินค้าส​ ูงข​ ึ้น กล่าว​ได้ว​ ่าม​ าก​ถึง 1% ของ​ราคา​ขาย ทำ�ให้​ ผล​ต่าง​ของ​ราคา​ขาย​กับ​ต้นทุน (margin) แคบ​ลง บริษัทจ​ ึง​ต้อง​พยายาม​หา​หนทาง​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ด้าน​อื่น การ​ ชำ�ระ​แบบ​นี้​บริษัท​ได้ใ​ ห้​บริการ​กับ​ลูกค้าม​ า​นาน​แล้ว จน​ลูกค้า​องค์กร​เคยชิน ฉะนั้น​การ​จะ​เปลี่ยนแปลง​ทำ�ได้​ ไม่​ง่าย​นัก ซึ่ง​เป็นอ​ ุปสรรค​ต่อ​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​การ​ชำ�ระ​เงิน​วิธี​กา​รอื่นๆ ที่​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ให้​หลาย​ ต่อ​หลาย​วิธี​ดัง​ที่​กล่าว​ไป​แล้ว ฉะนั้นก​ าร​แก้ไข​ให้​ลูกค้า​เปลี่ยน​มา​ใช้​ระบบ​ใหม่​ได้​บริษัท​จึง​ต้อง​เสนอ​สิ่ง​จูงใจ (intensive) จน​เป็นท​ นี​่ า่ ส​ นใจ​ของ​ลกู ค้าม​ าก​เพียง​พอทีจ​่ ะ​เปลีย่ นแปลง​ระบบ​การ​ช�ำ ระ​เงิน โดย​เสนอ​เปอร์เซ็นต์​ ส่วนลด​มาก​พอ​กับ​การ​ชดเชย​ต้นทุน​กระแส​เงินสด​ของ​ลูกค้า​ช่วง​เวลา 30 วัน และ​เพิ่ม​การ​ประชาสัมพันธ์​ให้​ ลูกค้า​มั่นใจ​ใน​ระบบ​ออนไลน์​อย่าง​แท้จริง​มาก​ขึ้น และ​อุปสรรค​ที่ส​ ำ�คัญ​อีกป​ ระการ​หนึ่ง​ของ​การ​ใช้​ระบบ​ออนไลน์​ชำ�ระ​เงิน คือ การ​ออก​ใบ​กำ�กับ​ภาษี​ แบบ​อิเล็กท​ รอ​นิกส์ใ​ ห้ล​ ูกค้า ไม่ส​ ามารถ​ทำ�ได้ค​ วบคูไ่​ ป​กับก​ าร​ชำ�ระ​เงินแ​ บบ​ออนไลน์ เพราะ​ใบ​กำ�กับภ​ าษีแ​ บบ​ อิเล็ก​ทรอ​นิกส์​ยัง​ไม่​เป็น​ที่​ยอมรับ​ของ​กรม​สรรพากร จึง​เป็น​อุปสรรค​อย่าง​ยิ่ง​ใน​การ​ให้​บริการ ปัญหา​นี้​ทาง​ กรม​สรรพากร​ตระหนัก​ดี​และ​กำ�ลังห​ า​หนทาง​แก้ไข​ปัญหา​นี้​ต่อ​ไป บริษัท​กำ�ลัง​พัฒนา​ให้​ระบบ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) ของ​บริษัท ให้​ลูกค้า​ สามารถ​ชำ�ระ​เงิน​ให้​บริษัท​ได้​ด้วย​วิธี​การ​ผ่าน​ระบบ​ออนไลน์​กับ​ธนาคาร หรือ​ผ่าน​บัตร​เครดิต​แบบ​ออนไลน์​ ได้ จะ​ช่วย​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เรียก​เก็บ​จาก​ลูกค้า​ลง​ได้​มาก แต่​ก็​ต้อง​ใช้​เวลา​ที่​จะ​เชิญ​ชวน​ลูกค้า​เปลี่ยน​มา​ใช้​ บริการ​นี้

ธ ส

ธ ส

ธ ส

บท​วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

แม้​จะ​มี​เทคโนโลยี การ​ชำ�ระ​เงิน​อย่าง​หลาก​หลาย​และ​ทัน​สมัย​ก็ตาม หาก​ลูกค้า​ยัง​ไม่​สนใจ​จะ​ใช้ บริษัท​ต้อง​รักษา​ความ​สมดุล​ระหว่าง​ความ​สะดวก​และ​ต้นทุน​ของ​บริษัท​กับ​การ​ต้องการ​ใช้​ของ​ลูกค้า เรื่อง​นี้​ บริษัท​ออฟฟิศเ​มท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้ร​ ักษา​สมดุล​เรื่อง​นี้​เป็น​อย่าง​ดี โดย​เสนอ​ทาง​เลือก​ให้​ลูกค้า​หลาก​หลาย​ วิธี และ​ถ้า​ใช้​วิธี​ที่​ทำ�ให้​บริษัท​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย บริษัท​ก็​จะ​มี​ส่วนลด​ให้​เพื่อ​เป็นส​ ิ่ง​จูงใจ​เลือก​ใช้

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.2.4 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.2.4 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.2 เรื่อง​ที่ 15.2.4


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ตอน​ที่ 15.3

ธ ส

การ​จัดการ​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ของ​ บริษัท​ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

15-47

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 15.3 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

แนวคิด

เรื่อง​ที่ 15.3.1 การ​จัดการ​ด้าน​การ​พัฒนา​ระบบ​และ​บุคลากร​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ เรื่อง​ที่ 15.3.2 การ​จัดการ​ด้าน​ซอฟต์แวร์

ธ ส

ธ ส

1. บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ใช้​วิธี​การ​พัฒนา​ระบบ​ประยุกต์​ที่​ใช้​สนับสนุน​การ​ ดำ�เนิน​งาน​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​ผู้​บริหาร​เอง​โดย​บุคลากร​ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ ของ​บริษัท การ​จัดการ​ด้าน​บุคลากร​ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ บริษัท​เน้น​คัด​เลือก​ บุคลากร​ทาง​ไอที​ที่​ยังไ​ ม่มีป​ ระสบการณ์​มา​ก่อน และ​เน้น​การ​ทำ�งาน​แบบ​ทีม และ​บริษัท​มี​ ระบบ​การ​พัฒนา​และ​ธำ�รง​รักษา​บุคลากร​ด้าน​ไอที​ที่​มี​ประสิทธิภาพ 2. ซอฟต์แวร์​หรือ​ระบบ​ประยุกต์​ที่​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) พัฒนา​ใช้​เอง​มี​ด้วย​ กัน​หลาย​ระบบ ครอบคลุม​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทั้ง​แบบ​บีท​ ูบี​และ​บีท​ ู​ซี ตั้งแต่​การ​รับคำ�​สั่ง​ซื้อ​ของ​ลูกค้า​จนถึง​ระบบ​รับ​ชำ�ระ​เงิน​จาก​ลูกค้า โดย​มี​กลุ่ม​บุคลากร​ ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ 3 กลุ่ม แบ่ง​หน้าที่​กัน​รับผ​ ิด​ชอบ​แยก​เป็นก​ลุ่มพัฒนา​และ​ ออกแบบ​ซอฟต์แวร์ กลุ่มพ​ ัฒนา​และ​จัดการ​ฐาน​ข้อมูล และ​กลุ่ม​งาน​บริการ​ให้​คำ�​ปรึกษา

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 15.3 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. อธิบาย​การ​จัดการ​ด้าน​การ​พัฒนา​ระบบ​และ​บุคลากร​ด้าน​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ​ของ​บริษัท​ ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้ 2. อธิบาย​การ​จัดการ​ด้าน​ซอฟต์แวร์ข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้

ธ ส


15-48

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.3.1 การ​จัดการ​ด้าน​การ​พัฒนา​ระบบ​และ​บุคลากร ​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ

ธ ส

บริษัท​เล็ง​เห็น​ว่าการ​นำ�​เทคโนโลยี​คอมพิวเตอร์​มา​ใช้​ใน​องค์กร​ถือว่า​เป็น​ปัจจัย​ที่​สำ�คัญ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​ การ​พัฒนา​องค์กร​เพื่อใ​ ห้​องค์กร​สามารถ - ลด​ต้นทุน​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน เมื่อ​มี​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์​เข้า​มา​ใช้​งาน​ใน​บริษัท ย่อม​ทำ�ให้​การ​ ปฏิบัติ​งาน​ของ​บริษัท​มี​ประสิทธิภาพ​และ​ประสิทธิผล​ทำ�ให้​ต้นทุน​การ​ผลิต​ต่ำ�​ลง โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​งาน​ของ​ บริษัท เป็น​งาน​ที่​มีก​ าร​ปฏิบัติ​งาน​ที่​สลับ​ซับ​ซ้อน​และ​มี​ปริมาณ​มาก - ค่าจ​ ้าง​แรงงาน​นับ​วันจ​ ะ​สูงข​ ึ้น​เรื่อยๆ - สามารถ​แข่งขันก​ ับค​ ูแ่​ ข่งไ​ ด้ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่งใ​ น​ยุคข​ อง​โลกา​ภวิ​ ัตน​ ใ์​ น​ขณะ​นี้ ซึ่งเ​ป็นย​ ุคข​ อง​โลก​ กว้าง และ​ยุค​ของ​ไซเบอร์ การ​มี​เทคโนโลยี​เท่านั้น​จะ​ทำ�ให้​องค์กร​อยู่​รอด - เพิม่ ย​ อด​ขาย การ​ซือ้ -ขาย ต้อง​สะดวก รวดเร็ว และ​ทนั ต​ อ่ ค​ วาม​กา้ วหน้าข​ อง​ลกู ค้า และ​การ​สือ่ สาร​ ที่​กว้าง​ไกล - ควบคุมต​ ลาด​สนิ ค้าแ​ ละ​บริการ ถ้าบ​ ริษทั ส​ ามารถ​ควบคุมต​ ลาด​ให้ก​ ว้าง ก็จ​ ะ​สามารถ​เป็นผ​ คู​้ วบคุม​ สัดส่วน​ของ​ตลาด (market share) ได้ - การ​มี​องค์กร​ที่​มี​ประสิทธิภาพ จะ​ช่วย​ป้องกัน​คู่​แข่งขัน​เข้า​มา​แย่ง​ชิง​ตลาด​ไม่​ได้​โดย​ง่าย

ธ ส

ธ ส

ธ ส

1. การ​สร้าง​ทีมง​ าน​พัฒนา​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์ภ​ ายใน​บริษัท

ธ ส

แนวคิดใ​ น​การ​เลือก​ทีมง​ าน​คือ เพื่อใ​ ห้บ​ รรลุเ​ป้าห​ มาย​ใน​การนำ�​เทคโนโลยีด​ ้าน​คอมพิวเตอร์ม​ า​ใช้ใ​ น​ องค์กร​ให้ม​ ีป​ ระสิทธิภาพ​และ​ประสิทธิผล​สูงสุดต​ าม​กลยุทธ์​ที่ต​ ั้งใจ​ไว้ บริษัท​ได้​เลือก​วิธีก​ าร​สร้าง​ทีม​งาน​ด้าน​ เทคโนโลยี​ภายใน​บริษัท​เอง​หรือ​เรียก​ว่า “In house IT Development Team” แทน​การ​ซื้อ​ซอฟต์แวร์​จาก​ ต่าง​ประเทศ​มา​ใช้​โดยตรง​ด้วย​เหตุผล ดังนี้ 1.1 ซอฟต์แวร์​ต่าง​ประเทศ​ราคา​แพง ปกติ​ซอฟต์แวร์​ที่​ซื้อ​มา​จาก​ต่าง​ประเทศ​มี​ราคา​สูง​มาก และ​ มี​ขนาด​ของ​ซอฟต์แวร์​ขนาด​ใหญ่​ต้อง​ใช้​ทรัพยากร​โดย​เฉพาะ​ฮาร์ดแวร์​ขนาด​ใหญ่ และ​ผู้​ดูแล​ต้อง​เป็น​ ผู้​ชำ�นาญ​การ​พิเศษ มี​ค่า​จ้าง​แรงงาน​สูง​มาก ​ออฟฟิศ​เมท เป็นบ​ ริษัทเ​ล็ก​ที่​ตั้ง​ขึ้น​ใหม่ จึง​ไม่​สามารถ​จะ​เลือก ​วิธี​การ​นี้​ได้ เพราะ​เกิน​กำ�ลังค​ วาม​สามารถ 1.2 ซอฟต์แวร์ต​ า่ ง​ประเทศ​ไม่เ​หมาะ​กบั ส​ งั คม​ไทย   ซอฟต์แวร์ต​ ่าง​ประเทศ​จะ​ถูกพ​ ัฒนา​จาก​ประเทศ​ ตะวัน​ตก จึงเ​หมาะ​กับ​ธุรกิจ สังคม​และ​วัฒนธรรม​ของ​เขา ซึ่ง​คง​ไม่​เหมาะ​จะ​นำ�​มา​ใช้​กับ​ประเทศไทย 1.3 การ​ปรับปรุง​แก้ไข​ซอฟต์แวร์​ต่าง​ประเทศ​ทำ�ได้​ยาก เนื่องจาก​ซอฟต์แวร์​สำ�เร็จรูป​จาก​ต่าง​ ประเทศ​ส่วน​ใหญ่ม​ ี​ความ​สลับ​ซับ​ซ้อน การ​จะ​นำ�​มา​ปรับ (customize) ให้​เข้าก​ ับ​สังคม​ไทย​ที่​ยัง​ไม่​ได้​ปรับต​ ัว​ ให้​เข้าก​ ับ​โลก​ของ​เทคโนโลยี​ได้เ​ต็ม​รูป​แบบ​ย่อม​ทำ�ได้​ไม่​ง่าย​นัก

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-49

ธ ส

1.4 เงื่อนไข​การ​จัดหา​ซอฟต์แวร์​มี​เงื่อนไข​ยุ่ง​ยาก การ​จัด​ซื้อ​หรือ​จัดหา​ซอฟต์แวร์​ต่าง​ชาติ​ทำ�​ไม่​ได้​ ง่าย ต้อง​ทำ�​ตาม​เงื่อนไข​ของ​เขา และ​โปรแกรม​ที่​ให้​มา​หลังจ​ าก​ใช้​งาน​แล้ว​จะ​แก้ไข​ปรับปรุง​ทุก​ครั้ง​ก็​ต้อง​มี​ค่า​ ใช้​จ่าย​ค่อน​ข้าง​สูง จาก​ความ​ยุ่งย​ าก​ต่างๆ มากมาย​ใน​การ​ซื้อ​ซอฟต์แวร์​ต่าง​ประเทศ​ข้าง​ต้น บริษัท​จึง​เลือก​วิธี​การ​สร้าง​ ทีมง​ าน​คอมพิวเตอร์ใ​ น​บริษัทข​ ึ้น​มา​เอง และ​ใน​การ​สร้าง​ทีม​งาน​คอมพิวเตอร์​นี้​บริษัท​เลือก​วิธี​จัด​ตั้ง​ทีมง​ าน​ที่​ เป็นบ​ ัณฑิต​ใหม่พ​ ึ่งจ​ บ​จาก​มหาวิทยาลัย

ธ ส

ธ ส

2. การ​ไม่​ว่า​จ้าง​บุคลากร​ด้าน​คอมพิวเตอร์​ทมี่​ ี​ประสบการณ์​ทันที

มี​เหตุผล ดังนี้ 2.1 ต้นทุน​สูง พนักงาน​ด้าน​คอมพิวเตอร์​ที่​มี​ประสบการณ์​ส่วน​ใหญ่ มี​ค่า​จ้าง​แรงงาน​สูง และ​ ขาดแคลน​ไม่ส​ ามารถ​หา​ได้ง​ ่าย​นักใ​ น​ตลาด​ประเทศไทย​เพราะ​ทุกอ​ งค์กร​ก็ห​ วงแหน​บุคลากร​ด้าน​นี้ข​ อง​ตนเอง โดย​กำ�หนด​อัตรา​ค่า​จ้าง​ไว้​สูงเ​พื่อ​เป็น​กำ�แพง​ไม่​ให้​ลา​ออก​จาก​บริษัทต​ น​ไป 2.2 การ​ทำ�งาน​ประสาน​กัน​ทำ�ได้​ยาก บุคลากร​ที่​มี​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ใน​ด้าน​คอมพิวเตอร์ โดย​ ส่วน​ใหญ่​มัก​จะ​มี​ความ​เชื่อม​ ั่นต​ นเอง​สูง ถ้า​นำ�​บุคลากร​ด้าน​นี้​จาก​หลาย​องค์กร​หรือ​หลาย​สังคม​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ มา​อยูร่​ ่วม​กัน มักจ​ ะ​เกิดป​ ัญหา​ใน​การ​ทำ�งาน​ร่วม​กัน และ​ทีส่​ ำ�คัญอ​ ย่าง​ยิ่งค​ ือ การ​ประสาน​งาน​กันใ​ น​การ​ทำ�งาน​ ไม่​ดี หรืออ​ าจ​จะ​ร้าย​ไป​ถึงข​ ั้น​ขัด​แย้งก​ ัน​ใน​องค์กร

ธ ส

ธ ส

3. วิธี​การ​พัฒนา​บุคลากร​ด้าน​คอมพิวเตอร์​ภายใน​บริษัท

ธ ส

การ​พัฒนา​บุคลากร​ด้าน​คอมพิวเตอร์ท​ ี่​เป็น​บัณฑิต​ใหม่​ให้​บรรลุ​เป้า​หมาย​ต้อง​ใช้​การ​บริหาร​จัดการ​ บุคลากร​อย่าง​เต็ม​ความ​สามารถ โดย​ผู้จ​ ัดการ​บริษัท​ให้​ความ​สนใจ​เรื่อง​นี้​อย่าง​จริงจัง​เป็น​พิเศษ ดังนี้ 3.1 ให้ผ​ ล​ตอบแทน​สงู ก​ ว่าต​ ลาด​ทวั่ ไป   เนื่องจาก​บริษัทเ​ป็นบ​ ริษัทเ​ล็กแ​ ละ​เพิ่งจ​ ะ​เริ่มต​ ้น บัณฑิตใ​ หม่​ ที่​มี​คุณภาพ​มัก​มี​โอกาส​เลือก​งาน​ใน​องค์กร​ขนาด​ใหญ่​และ​มั่นคง​ได้​ง่าย ฉะนั้น​กลยุทธ์​แรก​ของ​บริษัท​ที่​จะ​มี​ โอกาส​เลือก​บัณฑิต​ที่​มี​คุณภาพ​ได้​ก็ค​ ือ การ​เสนอ​ค่า​ตอบแทน​สูง​กว่า​ตลาด​ไม่​น้อย​กว่า 30% แต่​ถึงก​ ระนั้น​ก็​ ยังม​ ี​ค่า​ใช้​จ่าย​ถูก​กว่าก​ าร​หา​ผู้ช​ ำ�นาญ​การ​เข้า​มา​เลย​ตั้งแต่​ต้น 3.2 ให้การ​ฝกึ อ​ บรม​ดา้ น​วชิ าการ​อย่าง​สม่�ำ เสมอ   บัณฑิตใ​ หม่ใ​ น​สาขา​วิชาชีพน​ ี้ต​ ้องการ​สิ่งจ​ ูงใจ​หลัก​ อย่าง​หนึ่งค​ ือ การ​แสวงหา​ความ​รู้แ​ ละ​ประสบการณ์ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่งก​ าร​ได้ร​ ับก​ าร​ฝึกอ​ บรม​อย่าง​สม่ำ�เสมอ​ เป็นส​ ิ่ง​ที่พ​ วก​เขา​ต้องการ​มาก ซึ่ง​อาจ​จะ​มากกว่า​ค่า​ตอบแทน​ที่​สูง​กว่า​ตลาด​ด้วย​ซ้ำ�​ไป 3.3 ให้การ​ดูแล​ด้าน​การ​เป็น​อยู่​และ​สิ่ง​แวดล้อม สภาพ​แวดล้อม​ใน​การ​ทำ�งาน และ​สิ่ง​อำ�นวย​ความ​ สะดวก อุปกรณ์​คอมพิวเตอร์​ที่​จะ​ใช้​งาน​ต้อง​มี​ให้​อย่าง​เพียง​พอ หรือ​แม้แต่​สิ่ง​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ด้าน​การ​ เป็นอ​ ยู่​และ​ที่พัก​ก็​มีค​ วาม​สำ�คัญ​ต่อ​ความ​ต้องการ​ของ​พวก​เขา 3.4 เพื่อน​ร่วม​งาน​ที่​เข้า​กัน​ได้ การ​มี​เพื่อน​วัย​เดียวกัน มี​ระดับ​ความ​คิด​ใกล้​เคียง​กัน เมื่อ​มา​ทำ�งาน​ ร่วม​กัน​โอกาส​จะ​ทำ�งาน​ร่วม​กัน​ได้​ด้วย​ดี

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-50

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

3.5 ให้​ขวัญ​และ​กำ�ลัง​ใจ​ใน​การ​ทำ�งาน การ​เอาใจ​ใส่​โดย​ให้​ความ​สำ�คัญ และ​การ​ให้​กำ�ลัง​ใจ​กับ​พวก​ เขา​ก็​เป็นเ​รื่อง​สำ�คัญ 3.6 ให้ค​ วาม​ภมู ใิ จ​ใน​ผล​งาน​ทท​ี่ �​ำ ส�ำ เร็จ  ให้ค​ วาม​สำ�คัญแ​ ละ​ความ​ภูมิใจ​ใน​ผล​งาน​ทีเ่​ขา​ทำ�​สำ�เร็จ เช่น ซอฟต์แวร์​หรือ​โครงการ​ที่เ​ขา​ทำ�​สำ�เร็จ​ต้อง​ให้​เขา​ภูมิใจ​ว่า​เขา​มี​บทบาท​หรือ​มี​ส่วน​ร่วม

ธ ส

4. การ​รักษา​บุคลากร​คอมพิวเตอร์​ให้​คง​อยู่​กับ​บริษัท

ธ ส

4.1 สถานะ​ปัจจุบัน​ของ​บุคลากร​คอมพิวเตอร์ กล่าว​กัน​เสมอ​ว่า “การ​สร้าง​นั้น​ว่ายาก แต่​การ​ดูแล​ รักษา​ให้ค​ ง​อยูน่​ ั้นย​ าก​กว่า” ใน​ทำ�นอง​เดียวกันบ​ ุคลากร​ทีมง​ าน​คอมพิวเตอร์ข​ อง​บริษัทท​ ำ�งาน​ร่วม​กันใ​ น​บริษัท​ มา​นาน​กว่า 14 ปี ได้ท​ �ำ งาน​โครงการ​และ​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์ส​ �ำ เร็จก​ นั ม​ า​โดย​ตลอด ภูมใิ จ​รว่ ม​กนั ม​ า​จนถึงป​ จั จุบนั บัดนี้​พวก​เขา​อายุเ​ฉลี่ย 40 ปี เป็น​บุคลากร​ที่ม​ ี​ค่า​ของ​บริษัท 1) เป็นผ​ ช​ู้ �ำ นาญ​การ (in house expert) ภายใน​องค์กร บุคคล​เหล่าน​ นี้​ อกจาก​จะ​มคี​ วาม​รคู้​ วาม​ ชำ�นาญ​ด้าน​คอมพิวเตอร์ แต่​ยังม​ ี​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ด้าน​การ​ประยุกต์​ธุรกิจ​เกือบ​ทุก​สาย​งาน ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ การ​ตลาด การ​บริหาร​คลังส​ ินค้า การขนส่ง หรือ แม้แต่​การ​บริหาร​องค์กร 2) ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​และ​ความ​สุข​ใน​ชีวิต เขา​มี​ความ​ก้าวหน้า​ใน​หน้าที่​การ​งาน และ​มี​ ผล​ตอบแทน​จาก​บริษัท​ที่ส​ ูง​ขึ้น ทั้งนี้เ​พราะ​พวก​เขา​มี​ความ​รอบรู้​มาก​ขึ้น 3) ภูมิใจ​ผล​งาน​ที่​ตน​ผลิต ผล​งาน​ที่​เขา​ผลิต ถ้า​ผล​งาน​นั้น​เป็น​ที่​นิยม​ต่อ​ธุรกิจ​ทั้ง​ของ​บริษัท​ และ​ของ​ธุรกิจป​ ระเภท​เดียวกันใ​ น​ประเทศ ผล​งาน​ของ​เขา​จะ​เป็น “สินทรัพย์ท​ าง​ปัญญา” ที่ม​ ีค​ ุณค่าแ​ ละ​ราคา​ ทั้ง​ต่อบ​ ริษัท​และ​ต่อ​พวก​เขา​เอง เก็บ​ไว้เ​ป็น​ความ​ภาค​ภูมิใจ 4.2 ความ​ต้องการ​ทเี่​ปลี่ยนแปลง​ไป 1) รู้สึก​หรือ​เริ่ม​รู้สึก​ว่า​งาน​ที่​ทำ�​อยู่​ขาด​ความ​ท้าทาย ปุถุชน​ทั่วไป​การ​ทำ�​อะไร​ซ้ำ�ๆ และ​เป็น​ เวลา​นาน​ย่อม​เบื่อ​หน่าย แม้จ​ ะ​แสวงหา​งาน​ที่ท​ ้าทาย​เส​มอๆ ก็​จะ​รู้สึก​เหน็ดเหนื่อย 2) เมื่ออ​ ายุม​ าก​ขึ้นย​ ่อม​แสวงหา​ความ​มั่นคง​ของ​ชีวิต เมื่อม​ คี​ รอบครัวต​ ้อง​มภี​ าระ​มาก​ขึ้น เป็น​ ทีม่ า​ของ​การ​คดิ ถึงค​ วาม​เพียง​พอ​ของ​ราย​ได้เ​พือ่ ค​ วาม​มัน่ คง​ของ​ชวี ติ และ​ยิง่ อ​ ายุม​ าก​ขึน้ ก​ าร​ท�ำ งาน​หนักต​ ลอด​ เวลา​ย่อม​ทำ�ได้​ยาก 3) ผล​ตอบแทน​ใน​ปัจจุบัน​เพียง​พอ​กับ​ชีวิต​ปัจจุบัน​และ​อนาคต​หรือ​ไม่ แม้​บริษัท​จะ​ให้​ผล​ ตอบแทน​สูง​ขึ้น​เรื่อยๆ แต่​ก็ต​ ้อง​มีข​ ้อ​จำ�กัด​ของ​ค่า​ของ​งาน​ระดับ​หนึ่ง เพราะ​ค่า​งาน​ที่ท​ ำ�​ใน​หน้าที่​เดิม​ไม่​สูง​พอ​ กับ​ค่า​จ้าง​ที่​บริษัท​จ่าย บริษัท​ก็​จ่าย​เพิ่มไ​ ม่​ได้ 4) อนาคต​จะ​เป็น​อย่างไร​ถ้า​ปัจจุบัน​ไม่​ดี​ขึ้น​อย่าง​ที่​คาด​หวัง บุคลากร​กลุ่ม​นี้​มี​ความ​คาด​หวัง​ ค่อน​ข้าง​สูง​และ​ประเมิน​ตนเอง​สูง​ด้วย และ​พวก​เขา​ยัง​เป็นท​ ี่​ต้องการ​ของ​ตลาด​มาก 4.3 การ​บริหาร​เพื่อ​รักษา​บุคลากร​คอมพิวเตอร์ เนื่องจาก​บริษัท​ตระหนัก​ดี​ว่า​บุคลากร​กลุ่ม​นี้​มี​ คุณค่า​ต้อง​พยายาม​รักษา​ไว้ใ​ ห้​คง​อยู่ก​ ับ​องค์กร​ให้ม​ าก​ที่สุด และ​นาน​ที่สุด 1) ปรับเ​ปลีย่ น​ให้เ​ป็นผ​ บ​ู้ ริหาร บุคลากร​กลุ่มน​ ีเ้​ป็นก​ ำ�ลังส​ ำ�คัญข​ อง​องค์กร​ใน​ทุกแ​ ขนง เพราะ​ นอก​เหนือจ​ าก​คอมพิวเตอร์เ​ทคโนโลยีท​ ีพ่​ วก​เขา​ได้ม​ โี​ อกาส​ได้เ​รียน​รูแ้​ ล้ว พวก​เขา​ยังม​ โี​ อกาส​ได้เ​รียน​รูง้​ าน​ใน​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-51

ธ ส

ธุรกิจ​ที่​เขา​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา และ​ด้วย​ที่​พวก​เขา​เป็น​บุคคล​ที่​มี​ทักษะ​ทาง​ตรรกะ (logic) ใน​การ​ทำ�งาน​ดี​เป็น​ทุน​เดิม​อยู่​แล้ว​และ​ถ้า​พวก​เขา​ได้​พัฒนา​ตนเอง​อีก​เล็ก​น้อย​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​นำ�​ความ​รู้​ ด้าน “บริหาร​โครงการ” (project management) มา​ประยุกต์​ใช้​ด้วย พวก​เขา​จะ​สามารถ​พัฒนา​ตนเอง​จน​ เป็น​ผู้​บริหาร​ของ​บริษัทท​ ี่​ดีม​ ี​คุณภาพ​ต่อ​ไป 2) หา​งาน​ทม​ี่ ค​ี ณ ุ ค่า​เพิม่ ข​ นึ้ เมื่อบ​ ุคลากร​กลุ่มน​ ีป้​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จต​ าม​เป้าห​ มาย​แล้ว ทิศทาง​ และ​อนาคต​ของ​พวก​เขา​จะ​เป็นอ​ ย่างไร​ต่อไ​ ป​ใน​อนาคต เพื่อค​ วาม​เจริญร​ ุ่งเรือง​ต่อต​ ัวพ​ วก​เขา​เอง​และ​ต่อบ​ ริษัท พัฒนา​ตนเอง​ให้ท​ ันก​ ับเ​ทคโนโลยีส​ มัยใ​ หม่ต​ ่อไ​ ป เป็นท​ ีแ่​ น่นอน​ว่าเ​ทคโนโลยีด​ ้าน​คอมพิวเตอร์ไ​ ม่มคี​ ำ�​ว่าห​ ยุด​ ยั้ง แต่​กลับ​ตรง​ข้าม​กับ​มี​ตัว​เร่ง​ให้​มี​การ​พัฒนา​เร็ว​ยิ่ง​ขึ้น​เป็นท​ วีคูณ ฉะนั้น​บุคลากร​กลุ่ม​นี้ ถ้า​ยัง​คง​สนุก​กับ​ การ​ติดตาม​ความ​ก้าวหน้า​ของ​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​เรื่อยๆ จน​เข้า​สู่​ยุค​ของ​เครือ​ข่าย​สังคม (social network) การ​สื่อสาร​ที่​ไร้​พรมแดน​มาก​ขึ้น 3) จัดต​ งั้ บ​ ริษทั จัดต​ ัง้ บ​ ริษทั พ​ ฒ ั นา​ซอฟต์แวร์ข​ ึน้ ใ​ น​เครือข​ อง​ออฟฟิศเ​มท เมือ่ บ​ คุ ลากร​กลุม่ น​ ​ี้ มีค​ วาม​สามารถ​ดา้ น​บริหาร​จดั การ​ใน​การ​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์ใ​ ห้เ​ป็นร​ ะบบ​มาก​ขึน้ มีท​ มี ง​ าน​มาก​ขึน้ และ​ซอฟต์แวร์​ ที่​ผลิต​อยู่ ถือ​ได้​ว่า​เป็น​ซอฟต์แวร์​ที่​ดี​ที่สุด​ของ​ไทย​และ​ของ​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน บริษัท​จึง​มี​แนว​ความ​คิด ​ว่า​น่า​จะ​จัด​ตั้ง​บริษัท​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ (software house) เพื่อ​จำ�หน่าย​ซอฟต์แวร์​ที่​มี​อยู่​ให้​กับ​องค์กร​อื่น​ใน​ ประเทศไทย และ​ประเทศ​เพือ่ น​บา้ น และ​รบั จ้าง​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์ใ​ ห้ล​ กู ค้าเ​พือ่ ห​ า​ราย​ได้ใ​ ห้ม​ าก​ขึน้ และ​สดุ ท้าย​ คือ​ยัง​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​ซอฟต์แวร์ท​ ี่​ใช้​งาน​ใน​ออฟฟิศ​เมท​ให้​ดี​ขึ้น ทันส​ มัย​ขึ้น​ตลอด​เวลา

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

บท​วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ธ ส

หนทาง​สู่​ความ​สำ�เร็จ​ของ​องค์กร​ที่​สำ�คัญ​ที่สุด​งาน​หนึ่ง​คือ งาน​เทคโนโลยี​คอมพิวเตอร์ ฉะนั้น​ ผู้บ​ ริหาร​องค์กร​ที่จ​ ะ​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ต้อง​มีว​ ิสัย​ทัศน์​ที่จ​ ะ​ทำ�​อย่างไร​ให้อ​ งค์กร​มีร​ ะบบ​งาน​คอมพิวเตอร์​ที่ม​ ​ี ประสิทธิภาพ ค่า​ใช้​จ่าย​เหมาะ​สม​กับ​องค์กร​มาก​ที่สุด ออฟฟิศ​เมท​เลือก​การ​มี​ทีม​งาน​พัฒนา​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์​ใน​บริษัท​เอง (in house computer team) และ​เป็น​ทีม​งาน​ที่​เป็น​บัณฑิต​ใหม่​ที่​ไม่มี​ประสบการณ์​เข้า​ร่วม​ทีม วิธี​การ​นี้​เหมาะ​สม​กับ​ออฟฟิศ​เมท​ ด้วย​เหตุผล​คือ 1) ผู้จ​ ัดการ​หรือเ​จ้าของ​เป็นค​ น​หนุ่มแ​ ละ​เป็นบ​ ัณฑิตใ​ หม่จ​ าก​มหาวิทยาลัย ไม่มชี​ ่อง​ว่าง​ทาง​วัย ต้อง​ สามารถ​สื่อสาร​กัน​ได้​ด้วย​ดี​และ​มี​ความ​สุขใ​ น​การ​ทำ�งาน​ร่วม​กัน ให้การ​ยกย่อง และ​ให้​เกียรติ​ซึ่ง​กัน​และ​กัน 2) บริษัทต​ ั้งข​ ึ้น​ใหม่​ทุน​น้อย ต้อง​ลงทุน​แบบ​ค่อย​เป็น​ค่อย​ไป สามารถ​ร่วม​กัน​ศึกษา​ระบบ​งาน​และ​ พัฒนา​งาน​แบบ “ศึกษา​ไป​แก้ไข​ไป​จน​ได้​งาน​ที่ด​ ี​ที่สุด” 3) แสวงหา​โปรแกรม​งาน​ที่​เหมาะ​สม​กับ​สังคม​ไทย 4) ปรับต​ วั ใ​ ห้เ​ข้าก​ บั ก​ าร​เติบโต​แต่ละ​ชว่ ง​ชวี ติ แ​ ละ​ความ​กา้ วหน้าข​ อง​ทมี ง​ าน ทัง้ หมด​นผี​้ จู​้ ดั การ​บริษทั ​ รับ​บทบาท​ที่​ดี​มาก​จึง​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​มา​จน​ทุก​วัน​นี้ ทั้งๆ ที่​ไม่ใช่​งาน​ง่ายๆ และ​แม้แต่​การ​บริหาร​ทีม​งาน ​กลุ่ม​นี้​ให้​คง​อยู่​กับ​บริษัท​ใน​อนาคต​ไม่ใช่​งาน​ง่าย​เช่น​กัน เพราะ​บุคลากร​กลุ่ม​นี้​ยัง​คง​แสวงหา​งาน​ที่​ท้าทาย ก้าวหน้า และ​ผล​ตอบแทน​สงู ข​ ึน้ ซึง่ ผ​ จู​้ ดั การ​ทราบ​สจั ธรรม​ขอ้ น​ ดี​้ ี จึงไ​ ด้ว​ างแผน​การ​ววิ ฒ ั นาการ​ทมี ง​ าน​และ​งาน​

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-52

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ส่วน​นี้​ต่อ​ไป​ใน​อีก​รูป​แบบ​หนึ่งค​ ือ การ​จัด​ตั้งบ​ ริษัท​ใน​เครือ​ให้​เป็นบ​ ริษัท​ที่​ปรึกษา พัฒนา และ​ขาย​ซอฟต์แวร์​ ที่พ​ ัฒนา​ขึ้นม​ า (software house) หรือใ​ ห้บ​ ุคลากร​กลุ่มน​ ี้เ​ป็นผ​ ู้ถ​ ือห​ ุ้น เป็นเ​จ้าของ​บริษัทเ​อง เป็นผ​ ู้จ​ ัดการ​เอง เป็น​ผู้​บริหาร​เอง อย่าง​เป็น​อิสระ​มาก​ขึ้น และ​นี่​คือ​การ​ท้าทาย​อีก​บทบาท​หนึ่ง​ของ​วัฏจักร​ของ​องค์กร​ที่​เจริญ​ เติบโต​เป็น​ขั้น​เป็น​ตอน​ของ​คน​อาชีพ​นี้

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.3.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.3.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.3 เรื่อง​ที่ 15.3.1

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.3.2 การ​จัดการ​ด้าน​ซอฟต์แวร์

ธ ส

ธ ส

เนื่องจาก​บริษัทท​ ำ�​ธุรกิจเ​ป็นแ​ บบ​การ​ค้าท​ าง​ไกล​ไม่มหี​ น้าร​ ้าน ฉะนั้นก​ าร​ใช้เ​ทคโนโลยีเ​พื่อก​ าร​สื่อสาร​ ช่วย​ใน​การ​ขาย​และ​บริการ ย่อม​เป็น​สิ่งจ​ ำ�เป็น​อย่าง​ยิ่ง​ที่​จะ​ทำ�ให้​ธุรกิจ​ของ​บริษัท​บรรลุ​เป้า​หมาย สิ่ง​ที่​ได้ร​ ับ​จาก​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ภ​ ายใน​องค์กร 1. ปัจจัย​ใน​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ - เสริมส​ ร้าง​ศักยภาพ​ใน​การ​แข่งขันท​ าง​ธุรกิจ​แบบ​ไม่มี​หน้า​ร้าน​อย่าง​เป็น​ระบบ - สร้าง​ความ​โดด​เด่นใ​ น​การ​บริหารธุรกิจ ด้วย​กระบวนการ​ทำ�งาน​ภายใน​อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ - พัฒนา​โอ​กาส​ใหม่ๆ ทาง​ธุรกิจ​ได้​ง่าย​และ​เร็ว​ทันต​ ่อ​สถานการณ์ - ปรับเ​ปลี่ยน​ธุรกิจใ​ ห้​สอดคล้อง​ต่อ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​ธุรกิจ​ได้​รวดเร็ว - สามารถ​แก้ไข​และ​ปรับ​เปลี่ยน​ซอฟต์แวร์​ได้​ตลอด​เวลา โดย​ไม่​เสีย​เวลา​และ​ค่า​ใช้​จ่าย - ลด​ภาระ​และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ซื้อ​ซอฟต์แวร์​ภายนอก - ไม่เ​สีย​เวลา​ใน​การ​ทดลอง​ใช้​และ​ปรับซ​ อฟต์แวร์​ภายนอก​ให้​เหมาะ​สม​กับธ​ ุรกิจ - ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​บริหาร​งาน​ภายใน​องค์กร - เพิ่มป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​บริหาร​งาน​ภายใน​องค์กร 2. บุคลากร​ใน​สาย​งาน​คอมพิวเตอร์  บุคลากร​และ​หน้าทีค​่ วาม​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ดา้ น​การ​พฒ ั นา​คอมพิวเตอร์​ ของ​บริษัท • ทีม​งาน​พัฒนา​และ​ออกแบบ​ซอฟต์แวร์​ มี 15 คน ทำ�​หน้าที่ รับ​ผิด​ชอบ​ด้าน​การ​ออกแบบ​ ซอฟต์แวร์เ​พื่อ​รองรับ​กระบวนการ​ทำ�งาน และ​เพื่อ​ต่อย​อด​ธุรกิจ​การ​ค้า​ระบบ​ทาง​ไกล เช่น ออกแบบ​เว็บไซต์​ และ​โครงสร้าง​การ​ใช้​งาน​ให้​เหมาะ​สม​กับ​โครงสร้าง​ทาง​ธุรกิจ​และ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค เป็นต้น

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-53

ธ ส

• ทีม​งาน​พัฒนา​และ​จัดการ​ฐาน​ข้อมูล​ มี 3 คน ทำ�​หน้าที่ รับ​ผิด​ชอบ​ด้าน​การ​จัด​เก็บ​และ​ วิเคราะห์​ฐาน​ข้อมูล​ลูกค้า เพื่อ​พัฒนา​ระบบ​รองรับ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค​ได้​อย่าง​เหมาะ​สม​และ​เป็น​ข้อมูล​เพื่อ​ จัด​กิจกรรม​ทางการ​ตลาด • ทีม​งาน​บริการ​ให้​คำ�ป​ รึกษา​ มี 2 คน ทำ�​หน้าที่ รับ​ผิด​ชอบ​ติดตาม​งาน​ที่​ได้​พัฒนา​จาก​ทีม​ พัฒนา​และ​ออกแบบ​ซอฟต์แวร์ และ​ทีม​พัฒนา​และ​จัดการ​ฐาน​ข้อมูล 3. ซอฟต์แวร์แ​ ละ​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ • ซอฟต์แวร์​เพื่อ​การ​ตลาด ซอฟต์แวร์​เพื่อ​สนับสนุน​การ​ขาย​ของ​บริษัท​ใน​ขณะ​นี้​มี​อยู่ 6 เว็บไซต์ ซึ่ง​ทั้งหมด​ได้​พัฒนา​ขึ้น​เอง​ภายใน​บริษัท​โดย​บริษัท​ภูมิใจ​ใน​ผล​งาน​ทั้งหมด​นี้​อย่าง​ยิ่ง เว็บไซต์​ทั้ง 6 คือ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

เว็บไซต์ www.officemate.co.th www.officemate.co.th/eprocurement www.trendyday.com www.trendyprint.net www.redeemcenter.com www.trendyday.com/ushop

ออกแบบ​เพื่อ บี​ทู​ซี/บี​ทูบี สินค้า​เครื่อง​เขียน​และ​อุปกรณ์​สำ�นักงาน บี​ทูบี ระบบ​คำ�​สั่ง​ซื้อ​เฉพาะ​องค์กร บี​ทู​ซี/บี​ทูบี สินค้า​อุปโภค/บริโภค/สินค้า​ทั่วไป สำ�หรับ​งาน​พิมพ์ เช่น นามบัตร โปสการ์ด เป็นต้น Redeem แลก​แต้มแ​ ละ​ส่งเ​สริมค​ วาม​จงรักภ​ ักดีต​ ่อต​ ราสินค​ ้า Redeem KTC จับม​ ือ​กับ​พันธมิตร เช่น ธนาคาร เพื่อ​ทำ�การ​ แลก​คะแนน​บัตร​เครดิต​กับ​สินค้า​ของ​บริษัท ผ่าน​ช่อง​ทาง​ของ​บริษัท

ธ ส

ธ ส

นอกจาก​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์​เพื่อ​สนับสนุน​การ​ขาย​แล้ว บริษัท​ยัง​ออกแบบ​และ​ พัฒนา​ซอฟต์แวร์เ​พื่อก​ าร​บริหาร​งาน​ภายใน​บริษัทเ​อง​อีก​มากมาย​โดย​ประกอบ​ด้วย • ซอฟต์แวร์ด​ ้าน​การ​ตลาด ด้าน​การ​พนักงาน ด้าน​บัญชี ระบบ​ออี​ าร์​พี และ​ด้าน​การขนส่ง

ธ ส

ฝ่ายงานที่ใช้ซอฟต์แวร์ ฝ่ายขาย

ซอฟต์แวร์ที่พัฒนา

ธ ส

Sale Order Redeem System Document Controlling CRM (Customer Relationship Management) Outbound Management สำ�หรับกิจกรรมในการติดต่อ ลูกค้า Reward System (การแลกคะแนนสะสมเพือ่ รับของรางวัล) Intranet เพื่อออกรายงานลูกค้าและยอดขาย

ธ ส


15-54

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ฝ่ายงานที่ใช้ซอฟต์แวร์ ฝ่ายการตลาด

ธ ส

ฝ่ายบุคลากร

ฝ่ายบัญชีและการเงิน

ธ ส

ฝ่ายจัดการขนส่ง

ผู้บริหาร

ธ ส

ธ ส

ซอฟต์แวร์ที่พัฒนา

Purchase Order Product Management Promotional Design Intranet เพื่อออกรายงานข้อมูลลูกค้าและยอดขาย ID Staff Log e-Learning e-Recruitment Financial Statement Invoice System Bank Reconcile ระบบบัญชีลูกหนี้และเจ้าหนี้ Budgeting Management Tax System Intranet เพื่อออกรายงานบริหารข้อมูลลูกหนี้ ระบบ Warehouse Management Inventory Control Quantity Control Shelf Location Intranet รายงานเพือ่ การบริหารสินค้าและการตรวจจำ�นวน สินค้า ระบบ Delivery Network Intranet เพื่อการบริหารการจัดส่ง Routing Management Tracking & Delivery Network design Check & Bill Handling Inventory Analysis, Sales

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.3.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.3.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.3 เรื่อง​ที่ 15.3.2

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ตอน​ที่ 15.4

ธ ส

การเต​รี​ยม​การ​เข้า​สโู่​ ลกา​ภิ​วัตน​ ์​ของ ​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

15-55

ธ ส

โปรด​อ่าน​แผนการ​สอน​ประจำ�​ตอน​ที่ 15.4 แล้ว​จึงศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ พร้อม​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ใน​แต่ละ​เรื่อง

หัว​เรื่อง

ธ ส

ม แนวคิด

เรื่อง​ที่ 15.4.1 เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ของ​บริษัท​ ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) เรื่อง​ที่ 15.4.2 การเต​รย​ี ม​การ​เข้าจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ข​ อง​บริษทั อ​ อฟฟิศเ​มท  จ�ำ กัด (มหาชน) เรื่อง​ที่ 15.4.3 ผล​ที่ไ​ ด้​จาก​การ​เข้า​เป็น​บริษัทจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​ บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

1. บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้​มี​เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ ตลาดหลักทรัพย์​เพื่อ​ให้​สามารถ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ใน​สภาวการณ์​แข่งขัน​ทาง​ธุรกิจ​ที่​รุนแรง​ใน​ ยุค​โลกา​ภิ​วัต​น์​ได้ โดย​เป้า​หมาย​ดัง​กล่าว​คือ เพื่อ​ยก​ระดับ​บริษัท​ให้​เป็น​มาตรฐาน​สากล เพื่อใ​ ห้ม​ แี​ หล่งเ​งินท​ ุนร​ ะยะ​ยาว เพื่อส​ ร้าง​ความ​น่าเ​ชื่อถ​ ือแ​ ละ​ภาพ​ลักษณ์ส​ ินค้าท​ ีม่​ คี​ ุณภาพ เพื่อ​การ​ขยาย​ตัว​ทาง​ธุรกิจ​ทั้ง​ภายใน​ประเทศ​และ​ต่าง​ประเทศ และ​เพื่อ​ความ​ภูมิใจ​ของ​ พนักงาน​ภายใน​บริษัท 2. บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้​มี​การเต​รี​ยม​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ตาม​หลัก​เกณฑ์​ของ​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาด​ หลัก​ทรัพย์​ดัง​กล่าว​ทุก​ประการ และ​ได้​แปร​สภาพ​เป็น​บริษัท​มหาชน​เพื่อ​ระดม​ทุน​จาก​ ตลาดหลักทรัพย์​ดังก​ ล่าว​เมื่อวันท​ ี่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 3. ผล​ที่​ได้​จาก​การ​เข้า​เป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​บริษัท ​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ใน​ปัจจุบัน ​ได้แก่ ความ​มีชื่อ​เสียง​และ​การ​รับ​รู้​ใน​ตลาด​ การ​ค้า ยอด​ขาย​และ​การ​เติบโต​ของ​ยอด​ขาย คุณค่าท​ ีม่​ ตี​ ่อบ​ ุคลากร​ของ​บริษัทใ​ น​หลาย​ด้าน และ​สามารถ​ต่อย​อด​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​ได้​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ผล​ที่ไ​ ด้​ใน​อนาคต ได้แก่ ความ​ เป็นผ​ ู้นำ�​ใน​ธุรกิจป​ ระเภท​ธุรกิจอ​ อนไลน์ใ​ น​ภูมิภาค​อาเซียน การ​เติบโต​ของ​ธุรกิจ และ​การ ​ต่อย​อด​ธุรกิจด​ ้วย​การ​เพิ่ม​พันธมิตร​ทาง​ธุรกิจ

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-56

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

วัตถุประสงค์

ธ ส

เมื่อ​ศึกษา​ตอน​ที่ 15.4 จบ​แล้ว นักศึกษา​สามารถ 1. บอก​เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้าเ​ป็น​บริษัทจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​บริษัท​ ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้ 2. อธิบาย​การเต​รี​ยม​การ​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน) ได้ 3. อธิบาย​ผล​ทีไ่​ ด้จ​ าก​การ​เข้าเ​ป็นบ​ ริษัทจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​บริษัท​ ออฟฟิศ​เมท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-57

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.4.1 เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้า​เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ข​ อง​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

1. การ​เข้าส​ ู่​โลกา​ภิ​วัต​น์

ธ ส

เป้า​หมาย​ที่ส​ ำ�คัญ​ของ​องค์กร​ธุรกิจเ​กือบ​ทุก​องค์กร ทั้ง​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​กลาง​ที่​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​แล้ว​ ประสบ​ความ​ส�ำ เร็จม​ าระ​ดบั ห​ นึง่ แ​ ล้วอ​ ยาก​จะ​กา้ วหน้าต​ อ่ ไ​ ป​และ​อยาก​ไป​ให้ถ​ งึ อ​ ย่าง​ยิง่ คือก​ ารนำ�​บริษทั ข​ อง​ตน ​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ตลาดหลักทรัพย์​​เล็ก (MAI) หรือ​ค่อย​พัฒนา​เข้า​สู่​ตลาด​ หลักทรัพย์ใหญ่ (SET) ของ​ประเทศ ​หรือถ​ ้า​เหนือ​ไป​กว่า​นั้น​ก็​อยาก​จะ​เข้าไป​ตลาด​ต่าง​ประเทศ​ต่อ​ไป นั้น​เป็น​ เป้าห​ มาย​สูงสุดท​ ีน่​ ักธ​ ุรกิจอ​ ยาก​จะ​ก้าว​ไป​ให้ถ​ ึง ​และ​ถ้าจ​ ะ​ถาม​ว่า “ทำ�ไม​จึงอ​ ยาก​จะ​นำ�​บริษัทเ​ข้าไป​จด​ทะเบียน​ ใน​ตลาดหลักทรัพย์?” และ “การ​บริษัท​เข้าไป​ใน​ตลาดหลักทรัพย์จ​ ะ​ได้​ประโยชน์อ​ ะไร ?” จึง​จะ​ขอ​นำ�​กรณี​ ศึกษา​ของ​ออฟฟิศ​เมท​มา​เป็น​ตัวอย่าง​เพื่อ​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ปฏิบัติ​ต่อ​ไป ก่อน​จะ​นำ�​บริษัท​เข้าจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ได้จ​ ะ​ต้อง​มีข​ ั้นต​ อน​ที่จ​ ะ​ต้อง​ผ่าน​การ​ดำ�เนิน​การ ห​ ลาย​ขัน้ ต​ อน และ​ตอ้ ง​สามารถ​ปฏิบตั ใ​ิ ห้ถ​ กู ต​ อ้ ง​ตาม​ขอ้ ก​ �ำ หนด​และ​ขอ้ บ​ งั คับข​ อง​สอง​สถาบันห​ ลักค​ อื สำ�นักงาน​ คณะ​กรรมการ​กำ�กับ​หลัก​ทรัพย์แ​ ละ​ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ​คณะ​กรรมการ​ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่ง​แบ่ง​ กัน​ทำ�​หน้าที่​ออก​ข้อ​กำ�หนด​และ​ข้อ​บังคับ​เพื่อ​ควบคุม​การ​ปฏิบัติ​งาน​ของ​บริษัท​มหาชน​ที่​จะ​เข้า​และ​เข้า​มา​อยู่​ ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อเ​ป็นการ​คุ้มครอง​ผล​ประโยชน์​ผู้​ถือ​หุ้น​ที่​เป็น​ประชาชน​ทั่วไป ทุก​บริษัท​ที่​จะ​นำ�​บริษัท​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ได้​ก็​จะ​ต้อง​ปรับปรุง หรือ​ปรับ​แต่ง​ โครงสร้าง​และ​ระบบ​การ​ทำ�งาน​ใน​บริษัท​ให้​ได้​มาตรฐาน​ตาม​เกณฑ์​ก่อน​จะ​ผ่าน​การ​อนุมัติ​ให้​เข้า​จด​ทะเบียน​ ใน​ตลาดหลักทรัพย์ไ​ ด้ โดย​มี​องค์กร​ด้าน​การ​เงิน​คือ บริษัท​ที่​ปรึกษา​ทางการ​เงิน (FA) และ​องค์กร​ด้าน​การ​ ควบคุมแ​ ละ​การ​บริหาร​ความ​เสี่ยง​คือ บริษัทต​ รวจ​สอบ​ภายนอก (external audit) มา​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​โดย​ ให้​คำ�​แนะนำ�​และ​ปรับปรุง ระบบ ระเบียบ ระบบ​การ​บัญชี และ​อื่นๆ จนกว่า​บริษัท​ที่​จะ​นำ�​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ ตลาด​มีค​ ุณสมบัติ​ครบ​ถ้วน​ก่อน และ​ต้อง​ผ่าน​ความ​เห็น​ของ​สอง​สถาบัน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. เป้า​หมาย​ของ​การ​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท​จำ�กัด (มหาชน)

การ​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์​ของ​บริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) จึงม​ ี​เป้าห​ มาย​สำ�คัญ ได้แก่ 2.1 เพื่อ​ยก​ระดับ​บริษัท​ให้​เป็น​มาตรฐาน​สากล บริษัท​มี​ความ​มุ่ง​มั่น​ที่​จะ​ยก​ระดับ​มาตรฐาน​การ​ ประกอบ​การ​ของ​บริษัท เพื่อ​รองรับ​การ​ขยาย​ตัว​และ​เติบโต​ทาง​ธุรกิจ​ใน​อนาคต ซึ่ง​การ​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ ตลาดหลักทรัพย์ มี​ส่วน​ช่วย​กระตุ้น​ให้​บริษัท​มี​การ​บริหาร​งาน​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​แบบ​มือ​อาชีพ​มาก​ขึ้น​และ​ มี​การ​บริหาร​งาน​ภายใน​บริษัท​ให้เ​ป็น​ระบบ​และ​เป็น​มาตรฐาน​สากล​มาก​ขึ้น

ธ ส


15-58

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

2.2 แหล่ง​ระดม​เงิน​ทุน​ระยะ​ยาว บริษัท​สามารถ​ระดม​ทุน​จาก​ประชาชน​เพื่อ​นำ�​มา​ใช้ขยาย​ธุรกิจ​ ของ​บริษัท ซึ่ง​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​ได้​เปรียบ​ใน​ด้าน​การ​แข่งขัน รวม​ทั้ง​ช่วย​ให้​มี​โครงสร้าง​ทางการ​เงิน​ที่​แข็ง​แรง​ ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจการ นอกจาก​นี้​ใน​อนาคต​บริษัทย​ ัง​สามารถ​เลือก​ระดม​ทุน​ผ่าน​การ​ออก​หลัก​ทรัพย์​ประ​เภท​ อื่นๆ เช่น หุ้น​กู้​หรือ​หุ้น​กู้​แปลง​สภาพ เป็นต้น ซึ่ง​ล้วน​แต่​จะ​ช่วย​ให้​บริษัท​สามารถ​บริหาร​การ​เงิน​ได้​อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ 2.3 สร้าง​ความ​นา่ เ​ชือ่ ถ​ อื แ​ ละ​ภาพ​ลกั ษณ์ส​ นิ ค้าท​ ม​ี่ ค​ี ณ ุ ภาพ   เนื่องจาก​บริษัทป​ ระกอบ​ธุรกิจค​ ้าป​ ลีกท​ ี​่ จำ�หน่าย​สินค้าผ​ ่าน​ออนไลน์แ​ ละ​แค​ตา​ล็อก ความ​น่าเ​ชื่อถ​ ือใ​ น​สินค้าแ​ ละ​การ​ทำ�​ธุรกิจจ​ ึงเ​ป็นส​ ิ่งส​ ำ�คัญม​ าก การ​ เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ ก่อ​ให้​เกิด​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​แก่​ลูกค้า​และ​คู่​ค้า​ของ​บริษัท​และ​ที่​สำ�คัญ​คือ​จะ​ เป็นการ​ส่ง​เสริมภ​ าพ​ลักษณ์ท​ ี่ด​ ี​ให้​บริษัท ทั้งนี้เ​พราะ​ว่า​บริษัท​ที่​จะ​ผ่าน​การ​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ได้​ นั้น​ต้อง​ผ่าน​การ​พิจารณา​จาก​สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​กำ�กับห​ ลัก​ทรัพย์แ​ ละ​ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ​ คณะ​กรรมการ​ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งเ​ป็นส​ ถาบันท​ ี่จ​ ัดต​ ั้งข​ ึ้นเ​พื่อด​ ูแล​ผล​ประโยชน์ข​ อง​ผู้ถ​ ือห​ ุ้นท​ ี่เ​ป็นป​ ระชาชน​ ทั่วไป ซึ่งบ​ ริษัทท​ ี่จ​ ะ​ผ่าน​การ​พิจารณา​ของ​สอง​สถาบัน​นี้ย​ ่อม​จะ​ต้อง​เป็นบ​ ริษัทท​ ี่ม​ ีผ​ ล​การ​ดำ�เนินก​ าร​ที่ด​ ี และ​ม​ี ฐานะ​มั่นคง รวม​ทั้งม​ ีก​ าร​เปิด​เผย​ข้อมูล​ที่โ​ ปร่งใส​และ​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ได้ นอกจาก​นีย้​ ังจ​ ะ​ช่วย​บริษัทเ​ผย​แพร่ข​ ่าวสาร​และ​ความ​เคลื่อนไหว​ผ่าน​สื่อต​ ่างๆ ของ​ตลาดหลักทรัพย์​ และ​ภาค​ธุรกิจ ช่วย​ให้​บริษัท​เป็น​ที่​รู้จัก​และ​ยอมรับ​ของ​สาธารณชน​มาก​ขึ้น รวม​ถึง​สร้าง​ความ​ตระหนัก​และ​ ความ​นิยม​ใน​สินค้า​และ​บริการ​ของ​บริษัทใ​ น​ทาง​อ้อม 2.4 การ​ขยาย​ตวั ท​ าง​ธรุ กิจใ​ น​ประเทศ​และ​ตา่ ง​ประเทศ  ใน​ยคุ ก​ าร​คา้ เ​สรีไ​ ร้พ​ รมแดน​ทจี​่ ะ​มก​ี าร​แข่งขัน​ สูง​มาก​นั้น บริษัท​ที่​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ จะ​เป็น​ที่​น่า​สนใจ​ของ​นัก​ลงทุน​ที่​เข้า​ร่วม​เป็น​พันธมิตร​ ธุรกิจ เนื่องจาก​บริษัท​มีร​ ะบบ​บัญชีม​ าตรฐาน โปร่งใส ตรวจ​สอบ​ได้​และ​เป็น​ที่​ยอมรับ​ของ​สากล ซึ่ง​จะ​ก่อ​ให้​ เกิด​ความ​แข็งแ​ กร่งท​ าง​ธุรกิจข​ อง​บริษัท​มาก​ยิ่ง​ขึ้น 2.5 ความ​ภาค​ภมู ใิ จ​ของ​พนักงาน​ของ​บริษทั   เมือ่ บ​ ริษทั ไ​ ด้จ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาด​หลักท​ รัพย์ พนักงาน​ ของ​บริษัท​จะ​มี​ความ​ภาค​ภูมิใจ​ใน​บริษัท​มาก​ยิ่ง​ขึ้น โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​หาก​บริษัท​มี​ผล​ประกอบ​การ​ดี​และ​ ภาพ​ลักษณ์​ดี มีชื่อ​เสียง​และ​เป็น​ที่​รู้จักก​ ัน​อย่าง​แพร่​หลาย​ย่อม​จะ​ทำ�ให้​พนักงาน​ของ​บริษัทเ​กิด​ความ​รู้สึก​ที่​ดี​ ต่อ​บริษัท มีค​ วาม​ยึดม​ ั่น​หรือ​ค่า​นิยม​ร่วม​และ​มี​ส่วน​ร่วม​ต่อ​การ​สร้าง​ชื่อ​เสียง​และ​เกียรติคุณ​ของ​บริษัท ทั้งนี้ ธุรกิจ​ที่​ต้องการ​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ จะ​ต้อง​มี​คุณสมบัติ​สอดคล้อง​กับ​ เกณฑ์​ที่ต​ ลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ กำ�หนด​ไว้ ดังนี้ 1) คุณสมบัติ​ของ​หุ้น​สามัญ​ของ​บริษัท บริษัท​ที่​จะ​ขอ​จด​ทะเบียน​จะ​ต้อง​แปรง​สภาพ​เป็น​บริษัท​ มหาชน​โดย​มี​หุ้น​สามัญ​ที่ร​ ะบุ​ชื่อ​ผู้ถ​ ือแ​ ละ​ไม่มีข​ ้อ​จำ�กัด​ใน​การ​โอน​หุ้น เว้น​แต่​ข้อ​จำ�กัด​ที่เ​ป็น​ไป​ตาม​กฎหมาย​ ที่ร​ ะบุ​ไว้​ใน​ข้อ​บังคับ​บริษัท

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

2) คุณสมบัติ​ของ​บริษัท

15-59

ธ ส

สถานะ ต้องเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด ทุนชำ�ระแล้วเฉพาะหุ้นสามัญ ≥ 20 ล้านบาท (หลังการเสนอขายหุ้นแก่ประชาชน) การกระจายการถือหุ้นรายย่อย (หลังการเสนอขายหุ้นแก่ประชาชน) จำ�นวนผู้ถือหุ้นรายย่อย ≥ 300 ราย อัตราส่วนการถือหุ้น ถื​อห​ ุ้น​รวม​กัน > 20% ของ​ทุน​ชำ�ระ​แล้ว ผู้​ถือ​หุ้น​ราย​ย่อย คือ ผู้​ที่​ไม่​ได้​เป็น Strategic Shareholders คือ กรรมการ ผู้จ​ ัดการ และ​ผู้​บริหาร รวม​ถึงผ​ ู้​ที่​เกี่ยวข้อง หรือ​ผู้​ถือ​หุ้น​ที่​ ถือ​หุ้น > 5% นับร​ วม​ผู้​ที่​เกี่ยวข้อง การได้รับอนุญาต ต้องได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นจาก ก.ล.ต. จำ�นวนหุ้นที่เสนอขาย ≥ 15% ของทุนชำ�ระแล้ว ผลการดำ�เนินงาน • มี​ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน​ต่อ​เนื่อง > 2 ปี โดย​อยู่​ภาย​ใต้​การ​จัดการ​ของ ​ผู้บ​ ริหาร ส่วน​ใหญ่​ชุด​เดียวกัน > 1 ปี ก่อน​การ​ยื่น​คำ�ขอ และ​กำ�ไร​ สุทธิ​ใน​ปี​ล่าสุด​ก่อน​ยื่น​คำ�ขอ​มี​กำ�ไร​สุทธิ และ​มี​กำ�ไร​สุทธิ​ใน​งวด​ สะสม​ของ​ปี​ที่​ยื่น​คำ�ขอ • ใน​กรณี​ที่​มี​ผล​การ​ดำ�เนิน​การ​เพียง 1 ปี สามารถ​เข้า​จด​ทะเบียน​ได้ หาก​มี​มูลค่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท ฐานะการเงินและสภาพคล่อง • มีส่วน​ของ​ผู้​ถือ​หุ้น > 20 ล้าน​บาท - สามารถ​พิสูจน์ไ​ ด้ว​ ่าบ​ ริษัทย​ ังม​ ีส​ ถานะ​ทางการ​เงินท​ ี่ม​ ั่นคง ตลอด​ จน​มี​เงิน​ทุนหมุนเวียน​ที่​เพียง​พอ การบริหารงาน • มีผู้​บริหาร​และ​ผู้​มี​อำ�นาจ​ควบคุม​ที่​มี​คุณสมบัติ และ​ไม่มี​ลักษณะ​ ต้อง​ห้าม​ตาม​หลัก​เกณฑ์​ที่กำ�หนด​ใน​ประกาศ​ของ ก.ล.ต. - มกี​ าร​กำ�หนด​ขอบเขต​อำ�นาจ​หน้าทีข่​ อง​คณะ​กรรมการ​บริษัทต​ าม​ หลัก​เกณฑ์​ที่​กำ�หนด​ใน​ประกาศ​ของ ก.ล.ต. การกำ�กับดูแลกิจการ • มีระบบ​การ​กำ�กับด​ ูแล​กิจการ​ทีด่​ ี มีค​ ณะ​กรรมการ​ตรวจ​สอบ (audit และการควบคุมภายใน committee) ซึ่ง​มี​คุณสมบัติ​ตาม​ที่​ตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด • จั ด ​ใ ห้ ​มี ​ร ะบบ​ก าร​ค วบคุ ม ​ภ ายใน​ต าม​ห ลั ก ​เ กณฑ์ ที่ ​กำ � หนด​ใ น​ ประกาศ​ของ ก.ล.ต. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ไ ม่ ​มี ​ก าร​ขั ด ​แ ย้ ง ​ท าง​ผ ล​ป ระโยชน์ ต าม​ห ลั ก ​เ กณฑ์ ​ที่ ​กำ � หนด​ใ น​ ประกาศ​ของ ก.ล.ต.

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-60

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ข้อบังคับบริษัท

ธ ส

งบการเงินและผู้สอบบัญชี

กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

ธ ส

• ข ้​อบัง​คับ​ของ​บริษัท​และ​บริษัท​ย่อย​มี​ข้อ​กำ�หนด​ครบ​ถ้วน​ตาม​หลัก​ เกณฑ์ท​ ี่​กำ�หนด​ใน​ประกาศ​ของ ก.ล.ต. • มีงบการ​เงิน​ที่​มี​ลักษณะ​และ​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​เกณฑ์​ที่​กำ�หนด​ใน​ ประกาศ​ของ ก.ล.ต. • ผู้ส​ อบ​บัญชี​ของ​ผู้​ยื่น​คำ�ขอ​ต้อง​ได้​รับ​ความ​เห็น​ชอบ​จาก ก.ล.ต. • มี​การ​จัด​ตั้ง​กองทุน​สำ�รอง​เลี้ยง​ชีพ​ตาม​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​กองทุน​ สำ�รอง​เลี้ยง​ชีพ

ธ ส

บริษัท​ออฟิ​ศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) จะ​สามารถ​ยื่น​คำ�ขอ​เพื่อ​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ได้ บริษัท​จะ​ต้อง​มี​คุณสมบัติ​ครบ​ถ้วน​ตาม​เกณฑ์​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น ซึ่ง​บริษัท​ต้อง​ใช้​เวลา​เตรียม​การ​หลาย​ปีก​ว่า​ จะ​บรรลุ​เป้า​หมาย

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.4.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.4.1 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.4 เรื่อง​ที่ 15.4.1

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-61

ธ ส

เรื่อง​ที่ 15.4.2 การเต​รี​ยม​การ​เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ของบริษัทอ​ อฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

1. ขั้น​ตอน​ที่​ต้องเต​รี​ยม​การ

ธ ส

จาก​เกณฑ์​คุณสมบัติ​ที่​กำ�หนด​บริษัทม​ ี​ขั้น​ตอน​ที่​ต้องเต​รี​ยม​การ​เป็นข​ ั้น​เป็น​ตอน​ดังนี้

ระยะเวลาเตรียมการ 3 - 6 เดือน ก่อนยื่นคำ�ขอ

ธ ส

ธ ส

❐ ศกึ​ ษา​ข้อมูลแ​ ละ​กฎ​ระเบียบ​ทีเ่​กี่ยวข้อง เช่น พระ​ราช​บัญญัตบิ​ ริษัทม​ หาชน​จำ�กัด เกณฑ์​ของ ก.ล.ต. เกี่ยว​กับ​การ​ออก​และ​เสนอ​ขาย​หุ้นแ​ ก่​ประชาชน เกณฑ์​ของ​ ตลาดหลักทรัพย์ ใน​การ​รับ​หุ้น​สามัญ​เข้าจ​ ด​ทะเบียน ❐ คัด​เลือก​บริษัทท​ ี่ป​ รึกษา​ทางการ​เงิน (financial advisor) ที่​ได้​รับ​ความ​เห็น​ชอบ​ จาก ก.ล.ต. เพื่อ​ช่วย​เหลือ​ใน​ด้าน​การ​ให้​คำ�​ปรึกษา​และ​การเต​รี​ยม​การ 1) ให้​คำ�​ปรึกษา​และ​แนะนำ�​ใน​การ​ปรับ​โครงสร้าง​ของ​บริษัท 2) เตรียม​เอกสาร​และ​ติดต่อ​ประสาน​งาน​กับ​ตลาดหลักทรัพย์ 3) ให้ค​ วาม​รคู​้ วาม​เข้าใจ​แก่บ​ ริษทั ถ​ งึ ห​ น้าทีค​่ วาม​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ใน​การ​เป็นบ​ ริษทั ​จด​ทะเบียน 4) ศึกษา​ข้อมูล​ของ​บริษัท​และ​รับรอง​ว่า​บริษัท​มี​คุณสมบัติ​ครบ​ถ้วน 5) รับรอง​ว่า​บริษัทไ​ ด้​เปิด​เผย​ข้อมูล​ที่​ถูก​ต้อง​และ​ครบ​ถ้วน 6) ติดตาม​ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน​และ​ร่วม​ชี้แจง​กับบ​ ริษัท​ต่อไ​ ป​อีก 1 ปี ❐ ให้​ข้อมูล​ราย​ละเอียด​แก่​ที่​ปรึกษา​ทางการ​เงิน​เพื่อ​ตรวจ​สอบ​คุณสมบัติ และ​ ปรับปรุง​แก้ไข​ให้​สอดคล้อง​กับห​ ลัก​เกณฑ์​ที่​เกี่ยวข้อง ❐ วางแผนการจัดเตรียมข้อมูลและตารางเวลาดำ�เนินการ ❐ จัดโครงสร้าง​การ​ถือห​ ุ้นข​ อง​บริษัท และ​กลุ่มบ​ ริษัทใ​ ห้ป​ ราศจาก​ความ​ขัดแ​ ย้งท​ าง​ ผล​ประโยชน์ และ​เตรียม​การ​ให้​มี​ระบบ​การ​กำ�กับ​ดูแล​กิจการ​ที่ดี ❐ จัดเตรียมงบการเงินและข้อมูลทางบัญชีในรูปแบบที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ❐ แต่ง​ตั้ง​คณะ​กรรมการ​ตรวจ​สอบ ซึ่ง​ถือว่า​เป็นคณะ​กรรมการ​ที่​สำ�คัญ​มาก​ต้อง ​ทำ�​หน้าที่​รับ​ผิด​ชอบ​และ​มี​คุณสมบัติ ดังนี้

ธ ส

การเตรียมตัว

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-62

ระยะเวลาเตรียมการ

ธ ส

2 - 5 เดือน ก่อนยื่นคำ�ขอ

ธ ส

1 - 2 เดือน ก่อนยื่นคำ�ขอ

ธ ส

การเตรียมตัว

หน้าที่​รับ​ผิด​ชอบ 1) สอบทานรายงานทางการเงิน 2) สอบทานระบบควบคุมภายในและระบบตรวจสอบภายใน 3) พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 4) สอบทานการปฏิบัติงานตามข้อกำ�หนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลในรายการเกี่ยวโยงให้ถูกต้องครบถ้วน 6) หน้าทีอ่ ืน่ ใดทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นชอบ 7) จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบไว้ในรายงานประจำ�ปี องค์ประกอบและคุณสมบัติ 1) ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 คน (1 คน ควรมีความรู้ ด้านบัญชีหรือการเงิน) 2) ต้องได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท หรือ ผู้ถือหุ้น 3) เป็นกรรมการที่ไม่ใช่กรรมการบริหารหรือผู้บริหาร พนักงาน หรือที่ปรึกษา ที่ได้รับเงินเดือนประจำ�จากบริษัท 4) ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียทั้งด้านการเงินหรือการบริหารงานกับ บริษัท 5) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 5 โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย ❐ แปร​สภาพ​บริษัทเ​ป็น​บริษัท​มหาชน โดย​การ​ติดต่อ​กับ​กรม​พัฒนา​ธุรกิจ​การ​ค้า กระ​ทร​วง​พาณิชย์​ เพื่อย​ ื่นข​ อ​แปร​สภาพ​บริษัทเ​ป็น​บริษัท​มหาชน​จำ�กัด ❐ จัด​เตรียม​เอกสาร​ตาม​กำ�หนด​เพื่อ​ยื่น​ต่อ ก.ล.ต. ❐ รวม​กับท​ ี่ป​ รึกษา​ทางการ​เงินว​ างแผน​และ​ศึกษา​การ​กำ�หนด​ราคา​และ​จัดจ​ ำ�หน่าย​ หุ้น​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ ❐ จัด​เตรียม​แผนการ​ประชาสัมพันธ์ ❐ จัดตั้งก​ องทุนส​ ำ�รอง​เลี้ยง​ชีพ​ให้​แก่​พนักงาน ❐ แต่ง​ตั้ง นาย​ทะเบียน​หลัก​ทรัพย์ (registrar) บริษัทต​ ้อง​มอบ​หมาย​ให้บ​ ริษัทศ​ ูนย์ร​ ับฝ​ าก​หลักท​ รัพย์ ให้ค​ วาม​เห็นช​ อบ​ทำ�​หน้าที​่ เป็น​นาย​ทะเบียน​หลัก​ทรัพย์ ❐ ยื่นข​ อ​อนุญาต​จำ�หน่าย​หุ้น​ของ​บริษัทต​ ่อ ก.ล.ต. ❐ เตรียม​การ​ให้ ก.ล.ต.เยี่ยม​ชม​กิจการ​และ​ตอบ​ข้อ​ซัก​ถาม ❐ จัด​เตรียม​เอกสาร​ที่ก​ ำ�หนด​เพื่อ​ยื่น​ต่อ​คณะ​กรรมการ​ตลาดหลักทรัพย์

ธ ส

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ระยะเวลาเตรียมการ

ธ ส

การเตรียมตัว

❐ ยื่นคำ�ขอเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ ❐ เตรียมการให้คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์เยี่ยมชมกิจการ และ ตอบข้อซักถาม ❐ เสนอขายหุ้นแก่ประชาชน ❐ เริ่มซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 2 วันทำ�การนับแต่วันที่สั่งรับ หลักทรัพย์จดทะเบียน ทำ�การซื้อขายวันแรกเมื่อ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553

ธ ส

ยื่นคำ�ขอ

15-63

ธ ส

2. ปัญหา​อุปสรรค​ใน​ช่วง​การเต​รี​ยม​การ

ธ ส

กว่า​จะ​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์​ได้ บริษัท​ต้อง​มี​การเต​รี​ยม​ตัว​เป็น​ขั้น​เป็น​ตอน บริษัท​พบ​ปัญหา​และ​ อุปสรรค​บ้าง โดย​เฉพาะ​วิกฤต​เศรษฐกิจท​ ั้งข​ อง​โลก​หรือ​ของ​ไทย​เรา​เอง

ธ ส

พ.ศ. 2551

บ ริ ษั ท ​ไ ด้ ​แ ปร​ส ภาพ​เ ป็ น ​บ ริ ษั ท ​ม หาชน​จำ � กั ด ​แ ล้ ว ​แ ละ​มี ​แ ผน​จ ะ​เ ข้ า​ จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ แต่เ​นื่อง​จาก​สภาว​ะว​ ิกฤต​ทาง​เศรษฐกิจ​ ทั่ ว ​โ ลก ส่ ง ​ผ ล​ใ ห้ ​บ ริ ษั ท ​ต้ อ ง​ช ะลอ​ใ น​ก าร​เ ข้ า ​จ ด​ท ะเบี ย น​ใ น​ต ลาด หลักทรัพย์​ออก​ไป​ก่อน พ.ศ. 2551-2552 เกิดป​ ัญหา​สภาวะ​เศรษฐกิจข​ อง​ไทย​และ​ตลาด​โลก​ประสบ​วิกฤต Hamburger Crisis อีก บริษัท​ก็​ต้อง​ชะลอ​ออก​ไป​อีก พ.ศ. 2553 (6 เดือน​แรก) เกิด​ปัญหา​การเมือง​ใน​ประเทศไทย

ธ ส

ธ ส

อย่างไร​ก็ตาม ใน​ที่สุด​เมื่อ​เศรษฐกิจ​กลับ​มา​ดี​ขึ้น บริษัท​ก็​สามารถ​มา​ถึง​จุด​หมาย​ที่​ตั้งใจ​ไว้ คือ​เมื่อ วัน​ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 บริษัท​ได้​นำ�​หลัก​ทรัพย์​เข้า​ซื้อ​ขาย​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ได้​ตาม ​เป้า​หมาย และ​ใน​วัน​นั้น​หุ้น​บริษัท​ได้​รับ​ความ​สนใจ​จาก​ผู้​ลงทุน​อย่าง​มากมาย เกิน​การ​คาด​หมาย ราคา​หุ้น​ เพิ่มข​ ึ้น​เป็น 2 เท่าจ​ าก​ราคา​เปิด​ตัว เพีย​ ง​ภายใน 2 ชั่ว​โมง​เท่านั้น

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.4.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.4.2 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.4 เรื่อง​ที่ 15.4.2

ธ ส


15-64

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

เรื่อง​ที่ 15.4.3 ผล​ที่​ได้​จาก​การ​เข้า​เป็นบ​ ริษัท​จด​ทะเบียน​ ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ของ​ บริษัทออฟฟิศเ​มท ​จำ�กัด (มหาชน)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

1. ผล​ทไี่​ ด้​จาก​การ​เข้า​เป็น​บริษัทจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ

หลัง​จาก​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์​แล้ว​ตั้งแต่ เดือน​กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เวลา​ผ่าน​ไป​ปีเ​ศษ บริษัท​รับ​รู้​ ได้ท​ ันที​ว่า​บริษัท​ดีข​ ึ้น​ใน​ด้านๆ ดังนี้ ชื่อ​เสียง​และ​การ​รับ​รู้​ใน​ตลาด​การ​ค้า • บริษัทเ​ป็น​ที่ร​ ู้จักอ​ ย่าง​กว้าง​ขวาง ได้​รับก​ าร​ยอมรับ​และ​เข้าถ​ ึง​สา​ธารณ​ชน​มาก​ขึ้น • บริษัท​ได้​รับ​การ​ตอบ​รับ​จาก​นัก​ลงทุน​ใน​ฐานะ​บริษัท​ที่​มี​แนวคิด​การ​ตลาด​และ​การ​ค้า​สมัย​ ใหม่ เน้นก​ าร​ใช้​เทคโนโลยี​ใน​การ​บริหาร​งาน ยอด​ขาย​และ​การ​เติบโต • สินค้าแ​ ละ​บริการ​ของ​บริษัทเ​ป็น​ที่​รู้จัก​และ​ยอมรับอ​ ย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​วงการ​ธุรกิจ​เครื่อง​ใช้​ สำ�นักงาน สามารถ​ขยาย​ยอด​ขาย​ให้​เติบโต​ได้​มาก​ขึ้น​เป็น​ทวีคูณ • สามารถ​ขยาย​ตลาด​ไป​สู่​ลูกค้าบ​ ริษัท​ขนาด​เล็ก​ได้​มาก​ขึ้น คุณค่า​ทมี่​ ี​ต่อ​บุคลากร​ของ​บริษัท • พนักงาน​มี​ราย​ได้จ​ าก​ส่วน​แบ่งข​ อง​หุ้น​ที่​ขาย​ใน​ตลาด • พนักงาน​มี​ความ​ภูมิใจ​และ​เชื่อ​มั่น​ใน​บริษัท​มาก​ขึ้น • พนักงาน​มีข​ วัญ​และ​กำ�ลังใ​ จมาก​ขึ้น • พนักงาน​มี​ความ​ภักดี​กับ​บริษัท​มาก​ขึ้น • สามารถ​สรรหา​และ​คัด​เลือก​บุคลากร​ได้​เหมาะ​สม​เข้า​ร่วม​งาน​กับบ​ ริษัท​ได้​ง่าย​ขึ้น การ​วิจัย​และ​พัฒนา • มี​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​จุด​แข็ง​ของ​บริษัท​ได้​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​และ​ได้​รับ​ความ​ร่วม​มือ​จาก​หลาย​ หน่วย​งาน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

2. ผล​ใน​อนาคต​ที่​ได้​จาก​การ​เข้าเ​ป็น​บริษัท​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ

ผล​ใน​อนาคต​ที่​ได้จ​ าก​การ​เข้า​เป็น​บริษัทจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือ​อีก​นัย​หนึ่ง​ คือ การ​เติบโต​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ของ​ธุรกิจ ซึ่ง​หมายความ​ถึง การ​คาด​หวัง​การ​เติบโต​ของ​​ออฟฟิศ​เมท​ต่อ​ไป​ใน​ อนาคต


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-65

ธ ส

เมื่อ​บริษัท​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์​แล้วม​ ี​ฐานะ​ต่างๆ ดี​ขึ้น บริษัทย​ ัง​คง​ตั้ง​ความ​คาด​หวังก​ ้าว​ไป​ข้าง​หน้า​ เพื่อ​อนาคต​ต่อ​ไป • ความ​เป็นผ​ ู้นำ�​ทาง​ธุรกิจ ประเภท​ธุรกิจ​ออนไลน์​ใน​ภูมิภาค​อาเซียน การ​เข้าจ​ ด​ทะเบียน​ในตลาด หลักทรัพย์​ก่อน​บริษัทค​ ู่​แข่งอ​ ื่น​ทำ�ให้​บริษัทม​ ี​เงินท​ ุน​เพียง​พอที่​จะ​ลงทุน​เน้น​การ​วิจัย​และ​พัฒนา เพื่อ​สามารถ​ ช่วย​ให้​บริษัท​มี​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​และ​การ​ทำ�​ธุรกิจ​ที่​ได้​เปรียบ​ทางการ​ค้า​ใน​เวลา​อัน​สั้น​และ​เพื่อ​ให้​บริษัท​ เติบโต​อย่าง​ยั่งยืนส​ ามารถ​แข่งขันใ​ น​ตลาด​การ​ค้าร​ ะดับภ​ ูมิภาค​เอเชียห​ รือร​ ะดับโ​ ลก​ต่อไ​ ป​ได้ และ​ทำ�ให้บ​ ริษัท​ สามารถ​ปกั ธ​ ง​ความ​เป็นผ​ ูน้ �​ำ ใน​ธรุ กิจก​ าร​คา้ ผ​ า่ น​ระบบ​ทาง​ไกล​อย่าง​ภาค​ภมู ต​ิ าม​ทไี​่ ด้ต​ ัง้ ค​ วาม​คาด​หวังไ​ ว้แ​ ต่ต​ น้ • การ​เติบโต​ทาง​ธุรกิจ จาก​การ​ที่​สินค้า​และ​บริการ​เป็น​ที่​รู้จัก​และ​ยอมรับ​อย่าง​กว้าง​ขวาง ส่งผ​ ล​ให้​ บริษัทส​ ามารถ​ขยาย​ตลาด​ไป​สูล่​ ูกค้าข​ นาด​เล็กท​ ีก่​ ำ�ลังแ​ สวงหา​บริษัทผ​ ูใ้​ ห้บ​ ริการ​อุปกรณ์ส​ ำ�นักงาน​ทีม่​ คี​ วาม​น่า​ เชื่อถ​ ือ ทำ�ให้บ​ ริษัทส​ ามารถ​ขยาย​ยอด​ขาย​ให้เ​ติบโต​ได้ม​ าก​ขึ้น อีกท​ ั้งย​ ังส​ ามารถ​ทำ�การ​ตลาด​ทาง​อ้อม​ผ่าน​การ​ ประชาสัมพันธ์​ของ​ตลาด​หลัก​ทรัพย์ และ​นัก​ลงทุนท​ ี่​มี​ความ​ไว้​วางใจ​และ​เป็นล​ ูกค้า​ของ​บริษัท • การ​ตอ่ ย​อด​ธรุ กิจ​ดว้ ย​การ​เพิม่ ​พนั ธมิตร​ทาง​ธรุ กิจ จาก​การ​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์ ส่ง​ผล​ให้บ​ ริษัท​ม​ี ความ​น่าเ​ชื่อถ​ ือเ​พิ่มข​ ึ้นใ​ น​ทุกๆ ด้าน เช่น ความ​โปร่งใส ความ​มีป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​บริหาร​กิจการ และ​สะท้อน​ จุด​เด่น​ใน​การ​ให้​บริการ​ด้าน​โล​จิส​ ติ​กส์ การ​ค้า​ออนไลน์ เป็นต้น ด้วย​เหตุ​นี้ ทำ�ให้​พันธมิตร​หลาย​ราย​ให้​ความ​ สนใจ​ใน​การ​ต่อย​อด​ธุรกิจ​ร่วม​กัน​กับ​บริษัท บริษัท​ได้​รับ​การ​ติดต่อ​จาก​พันธมิตร​หลาย​ราย​และ​ได้​ศึกษา​ รูปแ​ บบ​การ​ส่งเ​สริมก​ าร​ปฏิบัติง​ าน​ร่วม​กัน และ​ใน​ที่สุด พันธมิตร​ราย​แรก​ที่ไ​ ด้ร​ ่วม​ธุรกิจก​ าร​ค้าก​ ัน คือ บริษัท​ ใน​วงการ​บันเทิงย​ ักษ์ใ​ หญ่ใ​ น​สื่อ​ดิจิทัลแ​ ละ​วงการ​เพลง​ใน​ประเทศไทย จะ​เห็นไ​ ด้​ว่า ประโยชน์​จาก​การ​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์ ทำ�ให้​บริษัท​เป็น​ที่​รู้จัก​ของ​บริษัท​ทั้ง​ขนาด​ใหญ่​ และ​ขนาด​เล็ก​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ใน​เวลา​อันร​ วดเร็ว และ​จุด​แข็ง​ของ​บริษัท​จะ​เป็น​ที่​ประจักษ์ใ​ น​วง​กว้าง​และ​ นำ�​ไป​สู่​การ​ต่อย​อด​ทาง​ธุรกิจไ​ ด้​ไม่​ยาก (ภาพ​ที่ 15.10)

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ภาพ​ที่ 15.10 กำ�ไร​สุทธิ​ของ​บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จำ�กัด (มหาชน) ระ​หว่าง​ปีค.ศ. 2005-2010


15-66

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

3. บท​วิเคราะห์ท​ ้าย​เรื่อง

ธ ส

ประโยชน์ ​โ ดย​ร วม​ข อง​ก าร​เ ข้ า ​จ ด​ท ะเบี ย น​ใ น​ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ​แ ห่ ง ​ป ระเทศไทย (SET) และ​ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI) นั้น ล้วน​แต่​สร้าง​ประโยชน์​ต่อ​ผู้​ที่​มี​ส่วน​เกี่ยวข้อง​ทั้ง​สิ้น​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ เจ้าของ​กิจการ ผู้​ลงทุน ตลาด​ทุน เจ้า​หนี้ ลูก​หนี้ พนักงาน ตลอด​จน​ประเทศ​ชาติ​โดย​รวม อย่างไร​ก็​ดี ผู้​ที่​จะ​ ได้​รับ​ประโยชน์​ชัดเจน​ที่สุด​คือ บริษัท​และ​ผู้ถ​ ือ​หุ้น โดย​ทั่วไป​วิวัฒนาการ​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​ส่วน​ตัว​ของ​กลุ่ม​ธุรกิจ​ขนาด​ย่อย​จะ​มี​ลำ�ดับ​การ​พัฒนา​เป็น ข​ ั้นเ​ป็นต​ อน​โดย​เริ่มจ​ าก​ธุรกิจข​ นาด​เล็กๆ ด้วย​เงินท​ ุนส​ ่วน​ตัวห​ รือจ​ าก​ครอบครัวห​ รือจ​ าก​คน​ใกล้ช​ ิด ​และ​เมื่อ​ ประสบ​ความ​สำ�เร็จร​ ะดับห​ นึ่งแ​ ล้วต​ ้องการ​ขยาย​กิจการ​ก็​จะ​ต้อง​มี​การ​ขยาย​เงินท​ ุน​โดย​การ​เปลี่ยน​รูป​องค์กร​ เดิม​ให้​เป็น​รูป​บริษัท​จำ�กัด มี​ผู้​ถือ​หุ้น​เป็น​สัด​เป็น​ส่วน​และ​ใน​ระยะ​นี้​อาจ​จะ​ต้อง​ใช้​เงิน​ทุนหมุนเวียน​ใน​ธุรกิจ​ ด้วย​การ​กู้​เงิน​จาก​สถาบัน​การ​เงิน​และ​เมื่อ​ธุรกิจ​ก้าวหน้า​ขึ้น​เรื่อยๆ การ​จะ​ขยาย​แหล่ง​เงิน​ทุน​ด้วย​การ​กู้​เงิน​ จาก​สถาบัน​การ​เงิน​หรือ​จาก​ครอบครัว​หรือ​คน​ใกล้ช​ ิด​ย่อม​มี​ข้อ​จำ�กัดม​ าก​ขึ้น ฉะนั้น​แนวคิด​ที่​จะ​นำ�​บริษัท​เข้า​ จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​ย่อม​เป็น​ทางออก​ที่​ดี​ที่สุด​ทาง​หนึ่ง การนำ�​บริษัท​เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​มี​ประ​โยน​ช์​คุณา​ประการ​ทั้ง​แก่​ผู้​ถือ​หุ้น​เดิม​แก่​ตัว​ บริษัทเ​อง โดย​ผู้ถ​ ือห​ ุ้นเ​ดิมจ​ ะ​ได้ผ​ ล​ประโยชน์ต​ อบแทน​เป็นท​ ั้งต​ ัวเ​งินแ​ ละ​ทรัพย์สิน โดย​จะ​แสดง​ให้เ​ห็นใ​ น​รูป​ คณิตศาสตร์​ต่อ​ไป ส่วน​ตัว​องค์กร​คือบ​ ริษัทเ​อง​ก็ได้​รับ​ผล​ประโยชน์​ทั้ง​ทาง​ตรง​และ​ทาง​อ้อม โดย​บริษัท​ได้​มี​ เงินท​ ุนเ​ข้าม​ าส​นับส​ นุน​ กา​รบ​ริห​ าร​และ​การ​ขยาย​ธุรกิจม​ าก​ขึ้นโ​ ดย​ไม่ต​ ้อง​ใช้แ​ หล่งเ​งินก​ ู้ และ​เนื่องจาก​ก่อน​การ​ เข้า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ ​บริษัท​ต้อง​ดำ�เนิน​การ​ตาม​ข้อ​กำ�หนด​และ​เงื่อนไข​ของ​ตลาดหลักทรัพย์​ และ ก.ล.ต ทำ�ให้​บริษัท​ต้อง​พัฒนา​ตัว​เอง​ใน​ด้าน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ให้​ได้​มาตรฐาน​และ​แบบ​มือ​อาชีพ​มาก​ขึ้น แ​ ละ​การ​บริหาร​องค์กร​ให้ม​ ีป​ ระสิทธิภาพ​และ​โปร่ง​ใสเข้า​ตรวจ​สอบ​ได้​ และ​ใน​อนาคต​ถ้าบ​ ริษัทไ​ ด้พ​ ัฒนา​ต่อไ​ ป​ อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ใน​ระ​ดับ​หนึ่ง​เป็น​ที่​เชื่อ​มั่น​ของ​ประชาชน​และ​นัก​ลงทุน บริษัท​ก็​จะ​สามารถ​ระดม​ทุน​ก้อน​ใหญ่​ ได้​เอง​โดย​การ​ออก​พันธบัตร​ของ​บริษัท (corperate bond) หรือ​หุ้น​กู้​ของ​บริษัท​ได้​เอง ซึ่ง​เหมือน​กับ​บริษัท​ ใหญ่ๆ ทำ�​กัน​ใน​ปัจจุบัน

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

4. การ​วิเคราะห์​ผล​ประโยชน์​ที่​ได้​จาก​การ​ที่​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท​จำ�กัด (มหาชน) นำ�​บริษัท​เข้า​ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ

ประการ​ที่​หนึ่ง  ผล​ประโยชน์​ด้าน​การ​เงิน​แก่​บริษัท​และ​แก่​ผู้​ถือ​หุ้น​เดิม จาก​ข้อมูล​ของ​ออฟฟิศ​เมท​ใน​วันเ​ปิด​ตัว​เข้า​ตลาดหลักทรัพย์ (วัน​ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) ทุน​จด​ทะเบียน 80 ล้าน​บาท ราคา​หุ้น​ต่อ​หน่วย 1.0 บาท/หุ้น มูลค่า​หุ้น​ทาง​บัญชี (book value) 2.42 บาท/หุ้น ราคา​หุ้น​ใน​วันเ​ปิด​ตัว (IPO) 4.50 บาท/หุ้น ผู้​ถือห​ ุ้น​เดิม​ต้องการ​ถือ​หุ้น​ไว้ (60%) 48 ล้าน​หุ้น เสนอ​ขาย​ให้​พนักงาน​และ​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ 32 ล้าน​หุ้น ราคา​หุ้น​ใน​ตลาด​เมื่อ​สิ้น​ปีพ.ศ. 2554 18.50 บาท/หุ้น

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

ธ ส

จาก​ข้อมูล​ข้าง​ต้น​สามารถ​วิเ​ครา​ะห์​เพื่อก​ าร​ศึกษา​ได้​ดังนี้ • ประโยชน์​ของ​ผถู้​ ือ​หุ้น​เดิม ผู้​ถือ​หุ้นเ​ดิม​ขาย​หุ้น​ออก​ไป 32 ล้าน​หุ้น​ใน​ราคา​หุ้น​ละ 4.50 บาท ได้​ราย​ได้ 32*4.50 เป็น​เงิน 144 ล้าน​บาท เมื่อ​หัก​จาก​ต้นทุน​เดิม​ที่​ราคา​ทาง​บัญชี (book value) คือ 2.40 บาท/หุ้น จะ​มี​ผล​ประโยชน์ 144 – (32*2.40 = 76.8) = 67.2 ล้าน​บาท ถ้า​คิด​จาก​ราคา​หุ้น (ราคา​พาร์) ที่ 1.0 บาท/หุ้น สามารถ​คิด​เป็น​ประโยชน์​ได้ที่ 144 – (32*1) = 32) = 112 ล้าน​บาท หุ้น​ที่ผ​ ู้ถ​ ือ​หุ้น​เดิม​ยังถ​ ือ​อยู่จ​ ำ�นวน 48 ล้าน​หุ้น ถ้าร​ าคา​ตลาด​ใน​ปัจจุบัน​เป็น 18.50 บาท ผู้ถ​ ือห​ ุ้น​เดิม​จะ​มีท​ รัพย์สิน​เป็น​มูลค่า​หุ้น 48*18.50 = 888 ล้าน​บาท

ธ ส

ธ ส

15-67

ธ ส

ปัจจุบัน​ผู้ถ​ ือ​หุ้น​เดิม​แบ่งห​ ุ้น 5% คือ 2.4 ล้าน​หุ้น​ให้​บริษัท​บันเทิงข​ นาด​ใหญ่​ใน​ราคา 12.0 บาท/หุ้น เป็น​เงิน 28.8 ล้าน​บาท​และ​จาก​การ​ขาย​หุ้น​ให้​บริษัท​บันเทิง​ขนาด​ใหญ่​ที่​มี​ธุรกิจ​ส่ง​เสริม​กับ​ธุรกิจ​ของ​บริษัท จะ​ทำ�ให้บ​ ริษัทม​ รี​ าย​ได้จ​ าก​ธุรกิจร​ ่วม​มาก​ขึ้นแ​ ละ​ทำ�ให้บ​ ริษัทม​ ั่นคง​ขึ้น ฉะนั้นร​ าคา​หุ้นใ​ น​ตลาด​อาจ​จะ​ขยับข​ ึ้น​ เป็น 20 หรือ 30 หรือ 40 บาท​ใน​อนาคต ลอง​คำ�นวณ​เอง​ว่า​ผู้​ถือ​หุ้น​เดิม​จะ​มี​ทรัพย์สิน​เป็น​เท่าใด ด้วย​เหตุน​ ี้​ นักธ​ ุรกิจ​รุ่น​ใหม่จ​ ะ​มอง​ข้าม​การ​บริหาร​ทางการ​เงิน​แบบ​ใหม่​ที่พ​ ัฒนา​ไป​ข้าง​หน้าอย่าง​รวดเร็ว​ไม่​ได้​เลย • ประโยชน์​ของ​บริษัท เมื่อ​นำ�​บริษัท​เข้า​ตลาด​และ​นำ�​หุ้น​จำ�นวน 32 ล้าน​หุ้น​ออก​ขาย สมมติ​ว่า​ขาย​ได้​ใน​ราคา​โดย​ เฉลี่ย​ที่ 4.50 บาท/หุ้น บริษัท​จะ​ได้​ราย​ได้​ส่วน​ต่าง​เป็น 32 * (4.50-1.0 = 3.50) = 112 ล้าน​บาท มากกว่า​ทุน จ​ ด​ทะเบียน​เสียอ​ ีก ซึ่งบ​ ริษัทส​ ามารถ​นำ�​ราย​ได้ส​ ่วน​นี้ม​ า​ลด​ภาระ​สินเ​ชื่อแ​ ละ​เสริมส​ ภาพ​คล่อง​หรือน​ ำ�​มา​ลงทุน​ เพื่อ​ขยาย​ธุรกิจ​ของ​บริษัท​ให้เ​จริญ​ก้าวหน้า​ต่อ​ไป • ประโยชน์​ของ​ผลู้​ งทุน​และ​ประเทศ ผู้​ลงทุน​พอใจ​ที่​ได้​ร่วม​ลงทุน​ใน​บริษัท​ที่​ตน​คาด​หวัง​ว่า​จะ​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​และ​คาด​หวัง​ ที่​จะ​ได้​ผล​ตอบแทน​เป็น​เงินปันผล (dividend) ใน​ตอน​สิ้น​ปี ซึ่ง​เงินปันผล​โดย​ทั่วไป​คง​ไม่​ต่ำ�​กว่า​ดอกเบี้ย ​เงิน​ฝาก​กับ​ธนาคาร​และ​ผู้​ลงทุน​ยัง​คาด​หวัง​ที่​จะ​ได้​เห็น​ราคา​หุ้น​ของ​บริษัท​สูง​ขึ้น​เรื่อยๆ (ปัจจุบัน​ราคา​หุ้น​ใน​ ตลาด 18.50 บาท/หุ้น ถ้า​ผู้ล​ งทุน​ซื้อห​ ุ้นต​ อน​เปิด​ตัว​ราคา 4.50 บาท จะ​มี​ผล​ต่าง​ถึง 14.0 บาท/หุ้น) ฉะนั้น​ ผู้​ลงทุน​จะ​มี​ความ​รู้สึก​มี​ส่วน​ร่วม​และ​เป็น​เจ้าของ​บริษัท ​และ​เมื่อ​มี​โอกาส​ก็​จะ​ให้การ​สนับสนุน​ใน​ทาง​ธุรกิจ​ หรือ​ทาง​ใด​ทาง​หนึ่งท​ ี่​ทำ�ได้ ใน​มุม​มอง​ของ​ประเทศ ใน​การ​ที่​​ออฟฟิศ​เมท​นำ�​หุ้น​มา​ซื้อ​ขาย​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ เป็น​โอกาส​ ให้​นัก​ลงทุน​ต่าง​ประเทศ​มา​ลง​ทุน​ซึ้อ​หุ้น​ของ​ไทย ซึ่ง​เป็นการ​นำ�​เงิน​เข้า​ประเทศ​เพื่อ​เสริม​สภาพ​คล่อง​ให้​ ประเทศไทย และ​ใน​ขณะ​เดียวกันก​ น็​ ำ�​เงินม​ า​ให้อ​ อฟฟิศเ​มท​ขยาย​กิจการ​ทำ�ให้ธ​ ุรกิจใ​ น​ประเทศ​เดินส​ ะพัดม​ าก​

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-68

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

ธ ส

ขึน้ แ​ ละ​ใน​ทาง​ออ้ ม​ถา้ ล​ กู ค้าข​ อง​ออฟฟิศเ​มท​ได้ซ​ ือ้ ส​ นิ ค้าท​ ใี​่ ช้ใ​ น​ส�ำ นักงาน​ถกู ล​ ง​กจ​็ ะ​ท�ำ ให้ต​ น้ ทุนใ​ น​การ​ผลิตข​ อง​ ลูกค้าถ​ ูกล​ ง​ด้วย ด้วย​เหตุน​ รี้​ ัฐบาล​ทุกส​ มัยต​ ้องหา​ทาง​สนับสนุนใ​ ห้อ​ งค์กร​ธุรกิจห​ รือแ​ ม้แต่ร​ ัฐวิสาหกิจบ​ าง​แห่ง​ นำ�​บริษัท​ของ​ตน​เข้าม​ า​จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์​และ​ยัง​มี​การ​ลด​หย่อน​ภาษี​ให้​อีก​เพื่อ​เป็น​แรง​จูงใจ ประการ​ทส​ี่ อง  บริษัท​มี​ระบบ​การ​บริหาร​จัดการ​องค์กร​ที่​แข็งแกร่ง​และ​เป็น​มาตรฐาน​มาก​ขึ้น ก่อน​ที​่ บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​จะ​ผ่าน​การ​จด​ทะเบียน​ได้​ บริษัท​จะ​ต้อง​จัด​ตั้ง​คณะ​กรรมการ​ต่างๆ และ/หรือ​คณะ​ทีม​งาน​ ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก​บริษัท​มา​ช่วย​การ​บริหาร​องค์กร​อย่าง​เป็น​ระบบ​และ​น่า​เชื่อ​ถือ • คณะ​กรรมการ​บริษัท โดย​ปกติ​บริษัท​ต้อง​แสวงหา​ประธาน​กรรมการ​และ​กรรมการ​อิสระ​ ของ​บริษัท​ที่​เป็น​ที่​ย่อม​รับ​และ​เชื่อ​ถือ​ของ​นัก​ลงทุน​เพื่อ​ช่วย​ให้​นัก​ลงทุน​มั่นใจ​ใน​การ​ลงทุน​เพราะ​กรรมการ​ ทุก​คน​จะ​ต้อง​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อผ​ ู้ถ​ ือ​หุ้น​และ​ต่อ​นัก​ลงทุน​ตาม​กฎหมาย • คณะ​กรรมการ​ตรวจ​สอบ เป็น​คณะ​กรรมการ​อีก​ชุด​หนึ่ง​ที่​มี​บทบาท​สำ�คัญ​ต่อ​บริษัท​โดย​ ต้อง​รับผ​ ิดช​ อบ​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​การ​ปฏิบัตง​ิ าน​และ​การ​บริหาร​การ​เงินข​ อง​บริษัทแ​ ละ​หน้าท​ อี่​ ื่นๆ ตาม​กฎหมาย​ กำ�หนด คณะ​กรรมการ​บริหาร​ของ​บริษทั เป็นค​ ณะ​กรรมการ​ที่มา​จาก​กรรมการ​ภายนอก​หรือม​ า​จาก​ผูบ้​ ริหาร​ ของ​บริษทั เพือ่ ป​ ระชุมห​ ารือแ​ ละ​บริหาร​จดั การ​ธรุ กิจข​ อง​บริษทั แ​ บบ​เป็นห​ มูค​่ ณะ​แทนทีจ​่ ะ​ให้ก​ รรมการ​ผจู​้ ดั การ​ บริหาร​องค์กร​เอง​ลำ�พังเ​พียง​คน​เดียว โดย​บริษัทต​ ้อง​กำ�หนด​อำ�นาจ​หน้าที่​ของ​คณะ​กรรมการ​อย่าง​ชัดเจน คณะ​กรรมการ​สรรหา​และ​กำ�หนด​ค่า​ตอบแทน เป็น​คณะ​กรรมการ​ที่​จะ​ช่วย​บริษัท​ใน​การ​สรรหา​และ​ กำ�หนด​ค่า​ตอบแทน​ให้​แก่​ผู้บ​ ริหาร​และ​แก่​พนักงาน คณะ​กรรมการ​ความ​เสี่ยง เป็น​คณะ​กรรมการ​ที่​หารือ​กัน​เพื่อ​กำ�หนด​วิธี​การ​ป้องกัน​ความ​เสี่ยง​ที่​อาจ​ จะ​เกิดข​ ึ้น​กับ​บริษัท บริษัท​ตรวจ​สอบ​ภายนอก เป็น​บริษัท​ตรวจ​สอบ​ภายนอก​ที่​มี​คุณภาพ​โดย​บุคลากร​มือ​อาชีพ​และ ​เชื่อ​ถือ​ได้​โดย​ต้อง​เป็น​บริษัทท​ ี่​จะ​ต้อง​ได้​รับ​ความ​เห็น​ชอบ​จาก​ตลาดหลักทรัพย์ เลขานุการ​บริษทั เป็นพนักงานของบริษัทที่ต้องได้รับการอบรมเป็นพิเศษโดยต้อง​ศึกษา​กฎ​ระเบียบ​ ต่างๆ ของ​ตลาดหลักทรัพย์​และ ก.ล.ต เพื่อ​ทำ�​หน้าที่​ดูแล​การ​ประชุม​ของ​คณะ​กรรมการ​บริษัท​และ​ติดต่อ​ ประสาน​งาน​กับ​ตลาดหลักทรัพย์และ ​ก.ล.ต. ด้วย​เหตุ​ที่​มีค​ ณะ​กรรมการ​ชุด​ต่างๆ และ​คณะ​ที่​ปรึกษา​หลาย​ชุด​จะ​ช่วย​ให้​บริษัทป​ รับปรุง​และ​เสริม​ สร้าง​ความ​แข็งแกร่ง​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ระบบ​งาน​และ​วิธี​การ​ทำ�​ธุรกิจ​ให้​ดี​ขึ้น ประการ​ทส​ี่ าม  การ​มรี​ ะบบ​ปฏิบัตงิ​ าน​ภายใน​อย่าง​เป็นร​ ะบบ บริษัทย​ ังจ​ ะ​ต้อง​จัดร​ ะบบ​การ​ปฏิบัตงิ​ าน​ ภายใน​ให้​เป็น​ระบบ​และ​มี​ประสิทธิภาพ โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ต้อง​มี​ระบบ​บัญชี​ที่​ถูก​ต้อง​มี​ประสิทธิภาพ​เป็น​ ระบบ​ที่ไ​ ด้ม​ าตรฐาน​ตาม​มาตรฐาน​การ​บัญชีต​ าม​กฎหมาย ​และ​สามารถ​ปิดบ​ ัญชีเ​พื่อเ​สนอ​ให้ต​ ลาดหลักทรัพย์​ ได้​ทุก​สิ้น​เดือน ทุก​สิ้น​งวด ​และ​ทุก​สิ้น​ปี​ และ​นำ�​เสนอ​ให้​ผู้​ถือ​หุ้น​ตรวจ​สอบ​ได้​อย่าง​โปร่ง​ใส่​และ​สามารถ​ เปิด​เผย​ต่อ​สาธารณ​ชน​ได้ นอกจาก​นี้ร​ ะบบ​การ​ปฏิบัติง​ าน​ภายใน​ของ​บริษัทท​ ุกร​ ะบบ​จะ​ต้อง​มีค​ ู่มือป​ ฏิบัติ (operating procedure manual) อาทิ ระเบียบ​ว่าด​ ้วย​การ​ธุรการ การ​จัดซ​ ื้อจ​ ัดจ​ ้าง อำ�นาจ​ใน​การ​ลง​นาม​ของ​ผูบ้​ ริหาร​ระดับต​ ่างๆ

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


ธ ส

กรณีศึกษาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

15-69

ธ ส

อำ�นาจ​ใน​การ​อนุมัติท​ างการ​เงิน ระบบ​งาน​เอกสาร ระบบ​งาน​บัญชี ระบบ​บริหาร​ลูก​หนี้​และ​เจ้า​หนี้ ทั้งนี้​ควร​มี​ การ​ใช้เ​ทคโนโลยีด​ ้าน​คอมพิวเตอร์เ​ข้าช​ ่วย​ใน​การ​ปฏิบัติง​ าน​โดย​ระบบ​งาน​ต่างๆ เหล่าน​ ี้ต​ ้อง​มีค​ ู่มือป​ ฏิบัติเ​พื่อ​ ให้​หน่วย​งาน​ตรวจ​สอบ​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ได้ (operation audit) การ​มี​ระบบ​ปฏิบัติงาน​เป็น​มาตรฐาน​และ​มี​คู่มือ​ปฏิบัติ​อย่าง​ถูก​ต้อง​จะ​ช่วย​ให้​องค์กร​ปฏิบัติ​งาน​เป็น​ มาตรฐาน​เดียวกันอ​ ย่าง​เป็นร​ ะบบ (systematic) ทำ�ให้ก​ าร​ทำ�งาน​ใน​องค์กร​ไม่ข​ ึ้นก​ ับบ​ ุคคล​ใด​บุคคล​หนึ่งแ​ ละ​ เมื่อ​มี​การ​พัฒนา​ระบบ​งาน​ใหม่​ก็​สามารถ​ปรับปรุง​และ​เปลี่ยนแปลง​ได้​ง่าย ​เป็น​ผล​ให้​บริษัท​สามารถ​พัฒนา​ ตนเอง​ให้​ก้าวหน้าต​ ่อ​ไป​ใน​อนาคต​ได้อ​ ย่าง​รวดเร็ว ประการ​ที่​สี่ การ​บริหาร​บุคล​า​กร​ใน​องค์กร​มี​ประสิทธิภาพ​มาก​ขึ้น ปัจจัย​ที่​สำ�คัญ​ที่​จะ​ทำ�ให้​องค์กร​ ธุรกิจ​จะ​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ที่​จะ​ละเลย​ไม่​ได้​คือ​บุคลากร​ของ​องค์กร ฉะนั้น​หลัง​จาก​บริษัท​เข้า​จด​ทะเบียน​ ใน​ตลาดหลักทรัพย์​แล้ว​จะ​สร้าง​ความ​เชื่อ​มั่น​ให้​แก่​พนักงาน​มากกว่า​ก่อน​การ​เข้า เพราะ​พนักงาน​มี​ความ​ รู้สึก​ว่า​ตนเอง​มี​ส่วน​ร่วม​การ​เป็น​เจ้าของ​บริษัท​และ​มี​ความ​มั่นคง​มาก​ขึ้น​เพราะ​บริษัท​เจริญ​รุ่งเรือง​มาก​ขึ้น​ ทั้งใ​ น​ปัจจุบันแ​ ละ​อนาคต และ​พนักงาน​มี​สวัสดิการ​อยู่​ใน​ระดับท​ ี่​ดี​ขึ้น​ตาม​เกณฑ์ท​ ี่​ตลาด​กำ�หนด และ​เป็นท​ ี่​ ยอมรับว​ ่า การ​หา​บุคลากร​ทีม่​ คี​ ุณภาพ​เข้าร​ ่วม​งาน​กับบ​ ริษัทท​ ีจ่​ ด​ทะเบียน​แล้วย​ ่อม​หา​ได้ง​ ่าย​กว่าบ​ ริษัทท​ ีไ่​ ม่ไ​ ด้​ จด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ จะ​เห็นไ​ ด้ว​ ่าการ​นำ�​บริษัทเ​ข้าจ​ ด​ทะเบียน​ใน​ตลาดหลักทรัพย์ม​ ผี​ ล​ดตี​ ่อบ​ ริษัทแ​ ละ​ต่อผ​ ูป้​ ระกอบ​การ​ที​่ ได้​พัฒนา​ธุรกิจ​ของ​ตนเอง​มา​ถึงร​ ะดับ​หนึ่งแ​ ละ​ต้องการ​ให้​บริษัทส​ ามารถ​พัฒนา​ต่อ​ไป​อย่าง​มั่นคง​ใน​อนาคต บริษัท​ออฟฟิศ​เมท​ จำ�กัด (มหาชน) ได้​พัฒนา​องค์กร​ของ​ตนเอง​ด้วย​หลัก​วิชาการ​อย่าง​ค่อย​เป็น ​ค่อย​ไป​และ​ด้วย​ความ​มั่นคง​และ​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​อย่าง​น่า​ชื่นชม​และ​น่า​เป็น​แบบ​อย่าง จึง​ได้​นำ�​เอา​บริษัท​ ออฟฟิศเ​มท จำ�กัด (มหาชน) มา​เป็นก​ รณีศ​ ึกษา​เพื่อใ​ ห้น​ ักศึกษา​นำ�​ไป​เป็นแ​ บบ​อย่าง​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจข​ อง​ตนเอง​ เมื่อ​มี​โอกาส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

หลัง​จาก​ศึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 15.4.3 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 15.4.3 ใน​แนว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 15 ตอน​ที่ 15.4 เรื่อง​ที่ 15.4.3

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส


15-70

ธ ส

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์

บรรณานุกรม

ธ ส

ธ ส

ข้อมูลก​ าร​ลงทุนข​ อง​บริษัทอ​ อฟฟิศเ​มท​ จำ�กัด (มหาชน) จาก http:/www.set.or.th ค้น​คืนเ​มื่อว​ ันท​ ี่ 15 พฤศจิกายน 2554 ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​บริษัท​ออฟฟิศเ​มท​ จำ�กัด (มหาชน) จาก www.officemate.co.th/ ค้น​คืนเ​มื่อ​วัน​ที่ 15 พฤศจิกายน 2554

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส

ธ ส

ม ม

ธ ส


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.