Arabic malay corelated curiculum

Page 1


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

ถอยแถลง บัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ไดดําเนินการจัดการประชุมวิชาการ และการวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 2 ป 2558 ภายใตหัวขอ “การบูรณาการองคความรูเพื่อการพัฒนาสูสังคมสันติ สุขและประชาคมอาเซียน” เนื่องจากคณะกรรมการจัดการประชุม ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ หนา ก การเผยแพรผลงานวิชาการ งานวิจัยสูสังคม ในการนําไปใชประโยชนเพื่อการสรางสรรคสังคม สมัยใหมใหมีความเจริญกาวหนาที่ยั่งยืนทางการศึกษาบนหลักการของการบูรณาการองคความรู และเปนกลไกหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพดานวิชาการของบุคลากรทางการศึกษาของสถาบันสู ความเปนนั ก วิชาการมืออาชีพที่มีคุณภาพ และเพื่อเปนการรองรับ เขาสูก ารเปนประชาคม อาเซียนตอไป การจัดประชุมวิชาการระดับชาติในครั้งนี้มีวัตถุประสงคสําคัญ ดังนี้ 1.เพื่อเปนเวทีสําหรับคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการนําเสนอ และเผยแพรผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในศาสตรตางๆอันจะเปนประโยชนตอพัฒนาการ เรียนการสอนและการพัฒนาสังคม 2.เพื่อเสริมสรางบรรยากาศทางวิชาการและเปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความรูและ ขอคิดเห็นทางวิชาการในหมูคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาในการพัฒนาผลงานวิจัยและงาน วิชาการใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น อันเปนสวนหนึ่งของภารกิจในการบริการวิชาการแกสังคม 3.เพื่อสงเสริมคณาจารย นักวิจัยและนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาและหนวยงานตางๆ ไดมีโอกาสในการทําความรูจักและสรางมิตรภาพที่ดีตอกัน อันจะนําไปสูการสรางเครือขายความ รวมมือที่เขมแข็งในการพัฒนางานวิชาการที่สรางสรรคและมีคุณคาตอไป กิจกรรมในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาคเชาเปนการจัดสัมมนารวม ซึ่งรูปแบบการ ดําเนินการเปนการเปดพิธีพรอมบรรยายพิเศษโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา อธิการบดีม หาวิท ยาลัย ฟาฏอนี ตอดวยปาฐกถาพิเศษทางวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิที่มีความ เชี่ยวชาญและความสามารถดานวิชาการ รองศาสตราจารย ดร.อารง สุทธาศาสน นักวิชาการ อิสระ และผูอํานวยการสถาบันโลกอิสลาม ในหัวขอ “การบูรณาการองคความรูเพื่อการพัฒนาสู สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน” ภาคบายจะเปนการนําเสนอผลงานแบบบรรยาย และแบบโปสเตอร ซึ่งในปนี้มีผูที่ให ความสนใจในการเขารวมการจัดการประชุมนําเสนอทั้งหมด 67 ชิ้น ซึ่งไดผานการพิจารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิ Peer Review รวมถึงการตีพิมพลงใน Proceeding ประกอบดวย 5 กลุมสาขาวิชา คือ กลุมอิสลามศึกษา กลุมศึกษาศาสตรและเทคโนโลยีการศึกษา กลุมภาษาและวัฒนธรรม กลุม สังคมศาสตรและการพัฒนาชุมชน และกลุมวิทยาศาสตร คณะผูดําเนินงานหวังเปนอยางยิ่งวา การจัดประชุมระดับชาติในครั้งนี้จะเปนสวนหนึ่ง ของการเผยแพรองคความรูในแขนงวิชาตางๆ อันจะเปนประโยชนตอการจัดการศึกษา และผลิต นักวิจัย นักวิชาการในการพัฒนาผลงานดานตางๆ สูสังคมคุณธรรม รองศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย ประธานคณะกรรมการดําเนินงาน

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย

กําหนดการ

หนา ข

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ป 2558 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เวลา รายละเอียด 08.30-09.00 ลงทะเบียน เปดพิธี อัญเชิญอัลกุรอาน 09.00-09.10 โดยตัวแทนอาจารยประจําศูนยการศึกษาอัลกุรอาน คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร ประธานโครงการกลาวรายงาน 09.10-09.20 โดย รองศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี พิธีเปดการประชุมวิชาการระดับชาติ 09.20-09.40 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี พิธีมอบเกียรติบัตรใหกับนักวิจัยดีเดน 09.40-09.50 โดย อาจารยมสั ลัน มาหะมะ รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี แสดงศิลปวัฒนธรรมอนาชีด โดยชมรมอนาชีดนักศึกษา 09.50-10.00 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “การบูรณาการองคความรูเ พื่อการพัฒนาสูส ังคม 10.00-11.00 สันติสุขและประชาคมอาเซียน” โดย รองศาสตราจารย ดร.อารง สุทธาศาสน พิธีมอบโลทรี่ ะลึกใหกบั ผูท รงคุณวุฒิบรรยายพิเศษ 11.00-11.05 โดย รองศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี การนําเสนอผลงานภาคบรรยาย หองที่ 1-6 11.15-12.15

การนําเสนอผลงานภาคบรรยาย หองที่ 7-8

12.15-12.40 พักกลางวันรับประทานอาหารเที่ยง

สถานที่

ณ ชั้น 1 อาคาร เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต

ณ ชั้น 2 อาคาร เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต ณ ชั้น 6 อาคาร เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต ณ ชั้น 1 อาคาร

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

12.40-13.00 ละหมาดซุฮรีรวมกัน การนําเสนอผลงานภาคบรรยาย หองที่ 1-6 (ตอ) 13.00-15.30 การนําเสนอผลงานภาคบรรยาย หองที่ 7-8 (ตอ) 15.30-15.40 15.40-15.50

15.50-16.00 16.00-16.15 16.15-16.25

เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต ณ มั ส ยิ ด อั ล -ฮา รอมัยน ณ ชั้น 2 อาคาร เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต ณ ชั้น 6 อาคาร เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศคูเวต ณ หองนําเสนอ

พิธีมอบประกาศนียบัตรการนําเสนอผลงานตามหอง โดย ประธานผูท รงคุณวุฒปิ ระจําหอง พิธีมอบเกียรติบัตรการนําเสนอภาคโปสเตอร โดย รองศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี พิธีมอบเกียรติบัตรการนําเสนอภาคบรรยาย/ภาค ณ ชั้น 1 อาคาร โปสเตอรดเี ดน เทคโนโลยี โดยอาจารยมัสลัน มาหะมะ สารสนเทศคูเวต รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี พิธีปด โดยอาจารยมัสลัน มาหะมะ รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี กิจกรรมถายรูปหมู

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ค


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

รายนามคณะกรรมการกองบรรณาธิการ บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ง

ดวยบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย กําหนดจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ป 2558 เรื่อง “การบูรณาการองคความรูเพื่อการพัฒนาสูสังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน” ใน วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ดัง นั้น เพื่อใหก ารดําเนินงานการจัดการประชุมวิ ชาการระดับชาติในครั้ง นี้ เปนไปดวยความ เรียบรอยและบรรลุผลตามวัตถุประสงคที่ไดวางไว จึงไดเสนอชื่อผูทรงคุณวุฒิเปนคณะกรรมการ กองบรรณาธิการ จากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ป 2558 เพื่อทําหนาที่กลั่นกรอง ประเมิน คัดสรร ตลอดจนตรวจสอบความเหมาะสมของบทความในการจัดการประชุมในครั้งนี้ ดังรายนามตอไปนี้ ประธานคณะกรรมการ ศาสตราจารย.ดร.อิมรอน มะลูลีม รองประธานคณะกรรมการ รองศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณะกรรมการกองบรรณาธิการ ศาสตราจารย ดร.จรัญ มะลูลีม รองศาสตราจารย ดร.สรรพสิทธิ์ กลอมเกลา Assoc.Prof. Dr.Muhiden Abd.Rahman รองศาสตราจารย ดร.วิทยา ปนสุวรรณ รองศาสตราจารย ดร.สมบัติ พุทธจักร รองศาสตราจารย ดร.กูสกานา กูบาฮา รองศาสตราจารย ดร.ดลมนรรจ บากา รองศาสตราจารย ดร.อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต รองศาสตราจารย ดร.วิชิต เรือนแปน รองศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะ การีนา รองศาสตราจารย อับดุลเลาะ อับรู รองศาสตราจารย นิแวเตะ หะยีวามิง ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุทธิดา รักกะเปา ผูชวยศาสตราจารย.ดร.กาเดร สะอะ ผูชวยศาสตราจารย.ดร.อัดนัน สือแม ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิเลาะ แวอุเซ็ง ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนิวัช แกวจํานงศ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ซาการียา หะมะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุสลัน อุทัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.แวยูโซะ สิเดะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จารุวัจน สองเมือง

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง University of Malaya มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ขาราชการเกษียณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

ผูชวยศาสตราจารย เจะเหละห แขกพงศ ผูชวยศาสตราจารย อับดุลรอซีด เจะมะ ผูชวยศาสตราจารย วิภาดา มุนินทรนพมาศ ผูชวยศาสตราจารย อิสริยาภรณ ดํารงรักษ ผูชวยศาสตราจารย ซอลีฮะห หะยีสะมาแอ ผูชวยศาสตราจารย มะดาโอะ ปูเตะ ผูชวยศาสตราจารย ฮามีดะ อาแด ผูชวยศาสตราจารย จิระพันธ เดมะ อาจารย ดร.นิสาพร มูหะมัด อาจารย ดร.อิสมาแอ กาเตะ อาจารย ดร.อิบรอเฮม เตะแห อาจารย ดร.อับดุลรอนิง สือแต อาจารย ดร.ปญญา นาวงศ อาจารย ดร.ศอฮิบุลบะหรี บินโมง อาจารย ดร.อับดุลเลาะ อุมา อาจารย ดร.อัสมัน แตอาลี อาจารย ดร.มูฮํามัด วาเล็ง อาจารย ดร.ตายูดิน อุสมาน อาจารย ดร.มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ อาจารย ดร.วิสุทธิ์ บิลลาเตะ อาจารย ดร.ฮัมเดีย มูดอ อาจารย ดร.อารียุทธ สะมาแอ อาจารย ดร.อับดุลรอเซะ หะมีแย อาจารย ดร.สามารถ ทองเฝอ อาจารย ดร.ศรีสมภพ จิตภิรมยศรี อาจารย ดร.บดินทร แวลาเตะ อาจารย ดร.อับดุลฮาดี สะบูดิง อาจารย ดร.อานิส พัฒนปรีชาวงศ อาจารย ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมัด อาจารย ดร.มะรอนิง สาแลมิง อาจารย ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ อาจารย ดร.ไฟศ็อล หะยีอาวัง อาจารย ดร.แซมซู เจะเลง อาจารย ดร.อิบรอเฮม เตะแห อาจารย ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมัด อาจารย ดร.อับดุลอาซิ กะลูแป อาจารย ดร.นิพนธ โซะเฮง อาจารย ดร.ศอหิบูลบะหรี บินโมง

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ศูนยประสานงานสํานักจุฬาราชมนตรีภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา จ


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ฉ

อาจารย ดร.ฮูเซน หมัดหมัน อาจารย ดร.อับดุลเลาะ ยูโซะ Aj Dr.Bashir Mahdi Ali อาจารยแวมายิ ปารามัล อาจารย จารียา อรรถอนุชิต อาจารยซาวาวี ปะดาอามีน

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

บรรณาธิการจัดการ นายมาหะมะ ดาแม็ง นายฟาริด อับดุลลอฮหะซัน นายมูฮัมหมัด สนิ นายอาสมิง เจะอาแซ นางสาวกามีละ สาอะ นางสาวรอหานิง หะนะกาแม

บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

สารบัญ ถอยแถลง กําหนดการ รายนามคณะกรรมการกองบรรณาธิการ

ก ข ง

การนําเสนอแบบบรรยาย (Oral) กลุมอิสลามศึกษา P1-01 Wasilah Dakwah Islamiah Melalui Ucapan Khutbah: Satu Pengenalan ......... 1 (Ahamakosee Kasor, Abdullmasi Hajisamaall P1-02 ความประเสริฐของอุคุวะฮฺอิสลามียะฮฺ: แนวทางการปฏิบัติ.......................................... 13 (ฮามีดะห มาสาระกามา) P1-03 สภาพและสาเหตุการสมรสโดยใชอํานาจของวะลียอาม กรณีศึกษา จังหวัดสงขลาและนราธิวาส ......................................................................................... 28 (รอซีดะห หะนะกาแม, อิสมาอีล อาเนาะกาแซ ซัลมา แดเมาะเล็ง, รุสนี หะยีอมั เสาะ) P1-04 ‫ﺳﻄﹰﺎ" ﻣﻨﻮﺭﻭﺓ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ ﺩﺍﻥ ﺍﻟﺴﻨﺔ‬ ‫ﺔ ﻭ‬‫ ﻓﻨﺘﻴﻎ ﺑﺎﻛﻲ "ﺃﹸﻣ‬2‫ﺧﲑﻱ‬........................................... 39 (‫ ﻋﺪﻧﺎﻥ ﻋﻠﻲ ﻛﺎﻫﻰ‬،‫) ﺃﲪﺪ ﺍﻟﻔﺎﺭﻳﱵ‬ P1-05 บทบัญญัติวาดวยซะกาตการคา: กรณีศึกษาการปฏิบัติของชุมชนมุสลิม ในเขตอําเภอรามัน จังหวัดยะลา.................................................................................. 52 (อับดุลกอเดร ยีมะเด็ง, อับดุลฮาลิม ไซซิง) P1-06 หลักการและแนวทางการพัฒนาสังคมตามวิถีอิสลาม ................................................... 66 (มนูศักดิ์ โตะเถื่อน) P1-07 ทุนนิยม และทานนิยมแหงอิสลาม ............................................................................... 79 (นินาดียะห อาแย) P1-08 การสรางรัฐในอิสลาม................................................................................................... 88 (อับดุลอาซิ กะลูแป, อับดุลเลาะ อุมา) P1-09 การวิเคราะหแนวคิดการบิดเบือนของนักบูรพาคดีตอการเผยแผ คุณงามความดีของทานนบีมหัมมัด ( ) ...................................................................... 99 (อับดุลมาซิ หะยีสะมาแอ, แวยูโซะ สิเดะ)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ช


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ซ

P1-10 Metode Pergerakan Dakwah Islamiah Syeikh Dr. Ismail Lutfi Japakiya Di Fatoni Selatan Thailand.................................................................................. 112 (Abdullah Uma, Mahamadaree Waeno) กลุมศึกษาศาสตรและเทคโนโลยีการศึกษา P2-01 Guidance and Counseling Services as Perceived By Students in Fatoni University, Pattani Campus, Southern Thailandland ..................................... 128 (Ruhana Samaeng) P2-02 วะสะฏียะฮฺในการตัรบียะฮฺอสิ ลามียะฮฺ ศึกษาแบบอยางการตัรบียะฮฺดานอีบาดะฮฺของ ทานเราะสูลุลลอฮฺ...................................................................................................... 143 (มุมีนะห บูงอตาหยง) P2-03 ‫ﻣﻨﻬﺞ ﺍﻟﺘﺮﺑﻴﺔ ﺍﻻﺳﻼﻣﻴﺔ ﰲ ﺍﳌﺪﺍﺭﺱ ﺍﳊﻜﻮﻣﻴﺔ ﰲ‬ (‫ ﻭﻻﻳﺎﺕ ﺟﻨﻮﺏ ﺗﺎﻳﻼﻧﺪ )ﻣﺸﻜﻼﺕ ﻭﻋﻮﺍﺋﻖ‬........................................................... 154 (‫) ﺍﲰﺎﻋﻴﻞ ﻛﺎﻧﻴﻪ‬ P2-04 สภาพปจจุบัน ความคาดหวังของบุคลากร และผูป กครองนักเรียน ตอครูผสู อนศูนย การศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา) ในสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน อําเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ................................................................................ 170 (ฮาซนะ มิง, จิดาภา สุวรรณฤกษ, อมลวรรณ วีระธรรมโม) P2-05 การจัดการเรียนรูอสิ ลามศึกษาสําหรับศตวรรษที่ 21.................................................. 183 (จารุวัจน สองเมือง) P2-06 การศึกษาบูรณาการศาสนาและสามัญ: รูปแบบการจัดการศึกษาทีป่ รารถนาของชุมชนใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต ....................................................................................... 191 (ซาการียา บิณยูซูฟ, อิมรอน ซาเหาะ) P2-07 ระบบมัดราซะหและการพัฒนาสูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม .......................... 206 (นุมาน หะยีมะแซ) P2-08 การรับรูและความคาดหวังในการเขาสูประชาคมอาเซียนของนักศึกษาสังกัดสํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จังหวัดนครศรีธรรมราช............................................................................................. 220 (ภัทรพร บูรพนาวิบูลย, จิดาภา สุวรรณฤกษ, อนิวัช แกวจํานง)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

P2-09 การจัดการเรียนรูอสิ ลามศึกษาประจําศูนยการเรียนรูยุวกุตตาบ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยใช QAiMt Model ............................................................ 230 บัณฑิตวิทยาลัย (มูฮามัสสกรี มันยูน,ุ จิระพันธ เดมะ, ฟาตีเมาะ บือราเฮง, และการวิจัย ลุกมาน เจะโซะ, ฮูดา ฆอเดะ) หนา ฌ

P2-10 การจัดการศึกษาโดยการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการบูรณาการการ เรียนรูเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยของศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดสงขลา...................................................................... 241 (สุรางคนา หนูประกอบ, จิดาภา สุวรรณฤกษ, อนิวัช แกวจํานง) กลุมภาษาและวัฒนธรรม P3-01 ‫ ﻭﺍﻗﻊ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻭﺩﻭﺭﻫﺎ ﰲ ﺍﳊﻔﺎﻅ ﻋﻠﻰ ﺍﳍﻮﻳﺔ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﰲ ﺟﻨﻮﺏ ﺗﺎﻳﻼﻧﺪ‬............. 251 (‫)ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ ﺗﻴﻪ‬ P3-02 ‫ﺔ ﻷﲰﺎﺀ ﺍﳌﺴﻠﻤﲔ ﰲ ﺗﺎﻳﻠﻨﺪ "ﺟﺎﻣﻌﺔ ﻓﻄﺎﱐ ﳕﻮﺫﺟﹰﺎ‬‫ﺔ ﻭﺍﻻﺟﺘﻤﺎﻋﻴ‬‫ﻻﻟﺔ ﺍﻟﺜﻘﺎﻓﻴ‬‫"ﺍﻟﺪ‬.............. 265 (‫)ﳏﻤﺪ ﻋﻠﻲ ﻋﻤﺮ ﺷﻴﺬﻭ‬ P3-03 ‫ﺍﻟﺘﻐﲑ ﺍﻟﺪﻻﱄ ﰲ ﺍﻷﻟﻔﺎﻅ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺍﳌﻘﺘﺮﺿﺔ ﰲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‬........................................... 291 (‫)ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﻭﻭﺩﻳﺮ‬ P3-04 ‫ﺎﺱ ﻣﻼﻳﻮ ﺗﻮﻟﻴﺴﻦ ﺟﺎﻭﻯ‬ ‫ ﳎﻠﻴﺲ ﺍﻟﻌﻠﻢ ﻓﺎﺭﺍﻣﻴﱴ ﺑﺮﻓﺮﺍﻧﻦ ﺩﺍﱂ ﳑﻔﺮﻛﻤﺒﻐﻜﻦ‬.............. 309 (‫)ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺗﺆﻟﻮﻍ‬ P3-05 ‫ ﻋﻮﺍﻣﻞ ﺍﺯﺩﻫﺎﺭ ﺍﳊﺮﻛﺔ ﺍﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ﰲ ﺑﻐﺪﺍﺩ ﰲ ﺍﻟﻌﺼﺮ ﺍﻟﻌﺒﺎﺳﻲ ﺍﻷﻭﻝ‬................................ 321 (‫ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺯﺍﻕ ﳏﻤﺪ‬،‫)ﺷﺮﻳﻔﺔ ﻛﺎﺟﻲ‬ P3-06 ‫ ﻗﺮﺍﺀﺓ ﰲ ﺭﻣﻮﺯ ﺍﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺍﻟﻔﻄﺎﻧﻴﺔ‬:‫ ﺍﻟﺘﻮﺍﺻﻞ ﺍﻟﺜﻘﺎﰲ ﺑﲔ ﺍﳊﻀﺎﺭﺗﲔ؛ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻭﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‬...... 333 (‫)ﻋﺪﻧﺎﻥ ﺳﻮﻣﻲ‬ P3-07 Pengaruh Kepercayaan Pra-Islam dalam Mantera: Satu Penelitian Terhadap Budaya Perubatan Tradisional Melayu, Daerah Raman, Wilayah Yala ............................................................................. 345 (Saliha Musor)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ญ

P3-08 Peningkatan Pemikiran Kritis dalam Pengajaran dan Pembelajaran Bahasa Melayu dalam Kalangan Mahasiswa Jabatan Bahasa Melayu Melalui Aktiviti Latihan Mengajar....................................................................... 357 (Assumani Maso) P3-09 การบูรณาการแบบเรียนภาษาอังกฤษ กับเนื้อหาเกีย่ วกับประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิต และ อัตลักษณ ของชุมชนมุสลิมในทองถิ่นสามจังหวัดชายแดน ภาคใต สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 4 เพื่อเตรียมความ พรอมสูการเปนประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามในจังหวัดยะลา ............................................................................ 367 (นูรียะห แมกอง, มะพลี แมกอง, ปรัชญา บินหมัดหนี) P3-10 แนวคิดการประยุกตใชคํายืมจากภาษาอาหรับในภาษามลายูในการออกแบบหลักสูตร สหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายูสําหรับผูเ รียนภาษาอาหรับในบริบท สามจังหวัดชายแดนภาคใต ....................................................................................... 381 (อาเซ็ม อัชชะรีฟ) P3-11 บทบาทการลามภาษาอาหรับในประเทศไทยหลังเหตุการณ 9/11 ............................. 397 (ปญญา นาวงศ) กลุมสังคมศาสตรและการพัฒนาชุมชน P4-01 ‫ ﻓﺮﺍﻧﻦ ﺩﺍﻥ ﺳﻮﻣﺒﺎﻏﻨﺚ ﺩﺍﱂ‬:‫ﺗﻮﺍﻥ ﻛﻮﺭﻭﺣﺎﺝ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺷﻴﺪ ﺑﻦ ﺣﺎﺝ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺳﺎﻳﻒ‬ (‫ ﻋﻠﻤﻮ ﺍﻛﺎﻡ ﺩﺳﻠﻴﻨﺪﻭﻍ ﺑﺎﻳﻮ )ﺳﺎﻳﺒﻮﺭﻱ – ﻓﻄﺎﱐ‬....................................................... 411 (‫ ﳏﻤﺪ ﺻﺎﱀ ﻭﻳﻬﺎﻣﺄ‬،‫)ﻣﺮﻭﺍﻥ ﺣﺎﺝ ﻣﺄﻣﻴﻨﺞ‬ P4-02 การวิเคราะหความสอดคลองของเหตุการณทางประวัติศาสตรอิสลามทีเ่ กิดขึ้นบน คาบสมุทรอาหรับกับความมหัศจรรยของขอมูลจากหะดีษของทานนบี ( ) ............. 427 (แวยูโซะ สิเดะ, มาหามะสอเร ยือโระ) P4-03 รูปแบบการจัดการสหกรณการเกษตร ตามหลักการศาสนาอิสลามในบริบทสังคมไทย กรณีศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา....................................................................... 443 (มัซลัน สุหลง) P4-04 สาเหตุทบี่ ั่นทอนบทบาทในการบริหารจัดการของคณะกรรมการมัสยิดกับการขับเคลื่อน ชุมชนมุสลิมใหปลอดบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส............................................................ 456 (ฮัสบุลเลาะ อาศิสสกุล, สมชัย จูเปาะ, มาหามะสอเร ยือโระ)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

P4-05 การกําหนดสถานะสิ่งตองหามของบุหรี่ในอิสลามสูการขับเคลื่อนการเลิกบุหรี่ในชุมชน: กรณีศึกษามัสยิดกามาลียะหอสิ ลามียะห ตําบลปะลุรู อําเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส........................................................................................................ 469 บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย (มะดาโอะ ปูเตะ, สะสือรี วาลี, วันอีรฟาน แวมามุ) หนา ฎ

P4-06 การศึกษาเปรียบเทียบสภาพปญหาความขัดแยงในยุคเคาะลีฟะฮฺอุษมาน อิบนฺ อัฟฟาน กับความขัดแยงในบริบทพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ......................................... 481 (ทิวากร แยมจังหวัด, อับดุลรอนิง สือแต) P4-07 สถานภาพชาวยิวในธรรมนูญมะดีนะฮ ....................................................................... 497 (มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ) P4-08 ความคิดเห็นของกํานันและผูใหญบาน ตอการใชทงุ ยางแดงโมเดลในการแกปญ  หาความ ไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ............................................................................... 510 (อับดุลเลาะ ตีซา, สุวิทย หมาดอะดํา, จารุวัจน สองเมือง ซาฟอี บารู, จิระพันธ เดมะ) P4-09 การประเมินแผนปฏิบัติการพัฒนาจังหวัดยะลา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556...... 525 (อิสมาอีล ราโอบ, มุฮําหมัดซากี เจะหะ, สุไลมาน หะยีสะเอะ สุวิทย หมาดอะดํา, อับดุลยลาเตะ สาและ) P4-10 ความสัมพันธขององคกรชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต .............................................................................................. 540 (สุทธิศกั ดิ์ ดือเระ) P4-11 สัญลักษณของปนใหญที่สะทอนถึงอํานาจและความกลาหาญราชวงศปาตานีใน ภาพยนตรเรือ่ งปนใหญจอมสลัด ............................................................................... 551 (ซาฮีฎีน นิติภาค) P4-12 สหรัฐอเมริกากับยุทศาสตรซอนเรนเบื้องหลังการตัง้ ฐานทัพในอัฟกานิสถาน.............. 560 (อับดุลเลาะ ยูโซะ) P4-13 พื้นที่สาธารณะกับความรูในกระบวนการสันติภาพชายแดนใต/ ปาตานี ..................... 572 (อิมรอน ซาเหาะ) P4-14 แนวทางการเพิ่มยอดขายของรานคาปลีกชุมชนในชวงสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ....... 589 (กามีละฮ หะยียะโกะ)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ฏ

P4-15 แนวทางการพัฒนาธุรกิจบริการเพือ่ การประกอบพิธีฮัจยและอุมเราะห ดวยสวนประสม ทางการตลาด 7P’s ................................................................................................... 597 (จิราพร เปยสินธุ) P4-16 การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานเพื่อการสรางทัศนคติใหมใหกับบุคคลในครอบครัวใน การเลี้ยงลูกดวยนมแม .............................................................................................. 608 (โรสนา รัฐการัณย) กลุมวิทยาศาสตร P5-01 สภาวะและอายุการเก็บรักษาของมะพราวคั่วดวยไมโครเวฟ ...................................... 620 (รอมลี เจะดอเลาะ, รอมสรรค เศะ, อิสมาแอ ลาเตะเกะ) P5-02 การศึกษาชนิดไสเดือนดินที่สามารถยอยสลายกากขี้แปง จากอุตสาหกรรมแปรรูปน้ํายางขน ............................................................................ 632 (สะอาด อาแซ, ซูไฮมิน เจะมะลี) P5-03 การผลิตและคุณคาทางโภชนาการของตูปะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ของประเทศไทย........................................................................................................ 641 (รอมลี เจะดอเลาะ) P5-04 การพัฒนาเครือ่ งอัดประจุแบตเตอรี่ตนแบบดวยเครือ่ งกําเนิดไฟฟาจากการปนจักรยาน ออกกําลังกาย ........................................................................................................... 652 (รอมลี เจะดอเลาะ) การนําเสนอแบบโปสเตอร (Poster) กลุมศึกษาศาสตรและเทคโนโลยีการศึกษา P2-01 เทคนิคสอนเสริมวิชาคณิตศาสตร โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกม เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่มีตอผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียน ....................... 664 (ลิลลา อดุลยศาสน, มุนซีเราะห เจะอีแต) P2-02 รูปแบบการสอนของทานนบีมุฮมั มัด ( ) ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ............................. 673 (อะหมัดซากี มาหามะ) P2-03 ‫ ﺍﻟﺸﻴﺦ ﻭﺍﻥ ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ ﺑﻦ ﻭﺍﻥ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﻘﺎﺩﺭ ﻭﺇﺳﻬﺎﻣﻪ ﰲ ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻌﻘﻴﺪﺓ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‬............... 684 (‫)ﻣﺄﺳﻴﺪﻱ ﺳﺎﱄ‬ P2-04 สื่อการสอนฟสกิ ส สิง่ สําคัญในการเสริมการเรียนรู ..................................................... 700 (ปติ สันหีม)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


‫‪The 2nd National Conference 2015 on‬‬ ‫”‪“Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development‬‬

‫‪กลุมภาษาและวัฒนธรรม‬‬ ‫‪............................................................... 711 บัณฑิตวิทยาลัย‬ﺍﻟﻨﻈﺮﺓ ﺍﻟﺒﻼﻏﻴﺔ ﰲ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ ﺍﻟﻜﺮﱘ ﻋﻨﺪ ﺍﻟﺮﻣﺎﱐ ‪P3-01‬‬ ‫‪และการวิจัย‬‬ ‫)ﻣﺮﻳﻨﺔ ﻟﻮﻩ ﻻﻳﻮ‪ ،‬ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺗﻴﻬﻬﻲ(‬ ‫‪หนา ฐ‬‬

‫‪ ........ 722‬ﻣﻬﺎﺭﺓ ﺍﻟﻜﻼﻡ ﻟﺪﻯ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﺴﺘﻮﻯ ﺍﻟﺜﺎﻟﺚ ﲟﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﲜﺎﻣﻌﺔ ﻓﻄﺎﱐ ‪P3-02‬‬ ‫)ﻋﺎﺋﺸﺔ ﺗﺎﻟﺆ‪ ،‬ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺗﻴﻪ ﻫﻲ(‬ ‫‪ ....................................................... 741‬ﺍﳌﺨﺎﻟﻔﺔ ﺍﻟﺼﻮﺗﻴﺔ ﻋﻨﺪ ﺍﺑﻦ ﻣﻨﻈﻮﺭ ﰲ ﻟﺴﺎﻥ ﺍﻟﻌﺮﺏ ‪P3-03‬‬ ‫)ﺃﻧﻴﺴﺔ ﺟﺊ ﻣﺄ‪ ،‬ﺗﻮﺭﺍ ﻛﺎﺩﻳﺮ(‬ ‫ﺍﻗﺘﺮﺍﺽ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﺍﻟﻔﻄﺎﻧﻴﺔ ﻣﻦ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ )ﺟﻬﻮﺩ ﺍﻟﺸﻴﺦ ﻭﺍﻥ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺯﻳﻦ ‪P3-04‬‬ ‫‪ ............................... 750‬ﺍﻟﻔﻄﺎﱐ ﻣﻦ ﺧﻼﻝ ﻛﺘﺎﺑﻪ "‪‬ﺠﺔ ﺍﳌﺒﺘﺪﻳﻦ ﻭﻓﺮﺣﺔ ﺍ‪‬ﺘﺪﻳﻦ" ﳕﻮﺫﺟﺎﹰ(‬ ‫)ﻣﻨﲑﺓ ﺩﻭﻟﻮﻩ‪ ،‬ﺣﻨﻔﻲ ﺍﳊﺎﺝ ﺩﻭﻟﺔ(‬ ‫‪ .................. 764‬ﺷﻌﺮ ﺍﻟﻐﺮﺑﺔ ﻭﺍﳊﻨﲔ ﺇﱃ ﺍﻟﻮﻃﻦ ﻟﻮﺍﻥ ﺃﲪﺪ ﳏﻤﺪ ﺯﻳﻦ ﺍﻟﻔﻄﺎﱐ ‪ :‬ﺩﺭﺍﺳﺔ ﻓﻨﻴﺔ ‪P3-05‬‬ ‫)ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺗﻴﻪ ﻫﻲ‪ ،‬ﻣﺮﺗﻀﻰ ﻓﺮﺡ ﻋﻠﻲ ﻭﺩﺍﻋﺔ(‬ ‫‪ .............................. 774‬ﺍﻟﺸﺮﺡ ﰲ ﻗﺎﻣﻮﺱ ﺇﺩﺭﻳﺲ ﺍﳌﺮﺑﻮﻱ ﻭﻗﺎﻣﻮﺱ ﺍﳋﻠﻴﻞ‪ :‬ﺩﺭﺍﺳﺔ ﻣﻘﺎﺭﻧﺔ ‪P3-06‬‬ ‫)ﺳﻴﻤﺴﻮ ﺟﺊ ﻟﻴﻨﺞ(‬ ‫ﺍﻷﺧﻄﺎﺀ ﺍﻟﺘﺤﺮﻳﺮﻳﺔ ﰲ ﺍﻟﺘﺰﻛﲑ ﻭﺍﻟﺘﺄﻧﻴﺚ ﻟﺪﻯ ﻃﻠﺒﺔ ﺍﳌﺮﺣﻠﺔ ﺍﳌﺘﻮﺳﻄﺔ ﰲ ﺍﳌﻌﻬﺪ ﺍﻹﺳﻼﻣﻲ ‪P3-07‬‬ ‫‪ ........................................................... 792‬ﳑﺒﺎﻻ ﺭﺍﻣﻦ ﻭﻻﻳﺔ ﺟﺎﻻ ‪ :‬ﺩﺭﺍﺳﺔ ﻭﺻﻔﻴﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ‬ ‫)ﺭﺷﻴﺪﺓ ﺗﺎﻟﺊ(‬ ‫‪ .................... 806‬ﺍﻟﺘﺮﲨﺔ ﺑﲔ ﺍﻟﻠﻐﺘﲔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻭﺍﻟﺘﺎﻳﻼﻧﺪﻳﺔ ﻭﺗﺒﺎﻳﻦ ﺍﻟﻌﺎﺩﺍﺕ ﺍﻟﻠﻐﻮﻳﺔ ﺑﻴﻨﻬﻤﺎ ‪P3-08‬‬

‫)ﻧﻮﺭﻳﺴﺎﻥ ﻫﺎﻣﺎ(‬

‫‪P3-09 Pendekatan Komunikatif dalam Pengajaran dan‬‬ ‫‪Pembelajaran Bahasa Melayu............................................................................ 821‬‬ ‫)‪(Hasanah Abdulkadir‬‬

‫‪การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558‬‬


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

กลุมสังคมศาสตรและการพัฒนาชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา ฑ

P4-01 บทบาทของผูนําสูงสุดดานจิตวิญญาณตอกระบวนการพิพากษาคดีความของชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนนาเคียน อ. เมือง จ.นครศรีธรรมราช............................................. 834 (มนัส สุทธิการ) P4-02 เหตุการณความไมสงบ ทีส่ งผลตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่องคกรปกครองสวน ทองถิ่น ของเทศบาลตําบลตันหยง อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี.............................. 845 (บายฮียะ เจะดะ, ชนิษฎา ชูสุข) กลุมวิทยาศาสตร P5-01 สถานการณ ปญหา และขอเสนอแนะในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ................................................................................... 856 (อดินันท หวังพิทยา, เกื้ออนันต เตชะโต, โอภาส เกาไศยาภรณ)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

แนวคิดการประยุก ตใ ชคํายืมจากภาษาอาหรับ ในภาษามลายูในการออกแบบ หลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายูสําหรับผูเรียนภาษาอาหรับ ในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 381

อาเซ็ม อัชชะรีฟ ดร. (หลักสู ต รและการจัด การเรีย นการสอน) อาจารยภ าควิ ช าอิ ส ลามศึก ษา วิ ท ยาลัย อิส ลามศึ กษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

บทคัดยอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวของกับหลักสูตรและการเรียนการ สอนภาษาอาหรับในบริบ ทสามจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหทราบและเขาใจแนวทางการ พัฒนาหลักสูตรชั้นเรียน การเรียนการสอนเชิงสัมพันธเนื้อหาระหวางกลุมสาระการเรียนรูภาษา อาหรับกับกลุมสาระการเรียนรูภาษามลายูที่มีคํายืมจากภาษาอาหรับเปนตนทุนแหงการเรียนการ สอน แลวนําประยุกตใชในการออกแบบหลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายู วิธีการศึกษาที่ใชในการศึก ษาครั้ง นี้ เปนการศึกษาและคนควาซึ่ง รวบรวมขอ มูลจาก เอกสารเปนหลัก โดยสวนหนึ่งเปนการศึก ษาและคนควาเชิงประวัติศาสตร นอกจากนี้ ขอมูล บางสวนไดจากการสังเกตการณ โดยสังเกตการเรียนการสอน ตําราเรียน และปญหาการเรียนรู ภาษาอาหรับโดยภาพรวมซึ่งผูศึกษาไดสัมผัสจากการพูดคุยสนทนา หรือพบเห็นมาดวยตัวเอง ตามที่ โ อกาสอํ า นวย หลั ง จากนั้ น นํ า เสนอรายงานแบบพรรณนาวิ เ คราะห (Analytical Descriptive) ผลของการศึกษาครั้งนี้พบวา 1) หลักสูตรสหสัมพันธเหมาะกับการพัฒนาหลักสูตรชั้น เรียนในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต 2) หลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายูเหมาะกับ ผูเ รียนภาษาอาหรับระดับ ริเ ริ่ม ไดอยางดี ในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต 3) หลักสูตร สหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายูชวยปรับปรุงแกไขขอบกพรองของหลักสูตรรายวิชาภาษาอาหรับ โดยมุงแกไขที่เ หตุ และปรับปรุงหลักสูตรที่เปนอุปสรรคในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษา อาหรับและภาษามลายู อันจะมีสวนทําใหแนวทางการพัฒนาหรือแนวทางการแกไขเปนไปในทาง ที่ตรงจุดตรงประเด็น ครอบคลุม ทั่วถึง สมบูรณ และเปนระบบ คําสําคัญ: คํายืมภาษาอาหรับ, หลักสูตรสหสัมพันธ, ภาษาอาหรับ, ภาษามลายู, สามจังหวัด ชายแดนภาคใต

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 382

Concept of Applied Arabic Loan Word in Malay on Arabic-Malay Correlated Curriculum Designing for Arabic Learners at the Context of Three Southern Provinces Asem Ach-chareef Dr. (Curriculum and Instructional Management), Lecturer of Department of Islamic Studies, College of Islamic Studies, Prince of Songkhla University, Pattani Campus.

ABSTRACT This study aim to investigate the concepts related to curriculum and Arabic teaching at the context of three southern provinces, in order to know and understand classes curriculum development way, relational content teaching between the Arabic learning with Malay learning based on Arabic loan words as an instructional capital, then apply its on Arabic - Malay correlated curriculum designing. Methodology used in this study was based on documentary research mainly, some of the datas primarily on historical approach, In addition, some of the datas from observation, by observing the teaching, textbooks and Arabic learning problems generally that researcher exposed the conversation or finding with himself according to the opportunities permits, then reported as an analytical descriptive. The results of this study were: 1) correlated curriculum be suitable for the development of classes curriculum at the context of three southern provinces, 2) Arabic - Malay correlated curriculum be suitable well for beginners Arabic learning at the context of three southern provinces, 3) Arabic - Malay correlated curriculum improves faults and defects on Arabic courses, by getting to fix the causes and develop the curriculum that hinders the Arabic-Malay teaching development, this will contribute to relevant way of the development or solutions comprehensively, thoroughly, completely and systematic. Keyword: Arabic loan word, correlated curriculum, Arabic, Malay, three southern provinces

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

ความนํา การศึกษาภาษาของมนุษยมีความสัมพันธกับกระบวนการทํางานของสรีระที่สําคัญที่สุด ในชีวิตมนุษยไดแก สมอง ซึ่งเกี่ยวเนื่องตอไปกับกระบวนการทางจิตที่สัม พันธกับการแรกรับ บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย ภาษาแม (language acquisition) และการรับรูทําใหพัฒนาไปเปนผูที่มีความรูคิดและปญญา รวมเรียกวา “พุทธิปญญา” โดยแสดงออกไดดวยภาษา อีกทั้งมนุษยใชชีวิตในสังคม การใชภาษา หนา 383 ในสังคมจึงมีบทบาทสําคัญยิ่งอีกประการหนึ่ง ซึ่งมิไดใชภาษาแตเพียงเพื่อการสื่อความเทานั้น แต ยังใชภาษาในพิธีกรรมและใชภาษาเพื่อเปนสวนแสดงวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ การนําแนวคิด และหลักการของภาษาไปใชประโยชนในการสรางเสริมการเรียนรูศาสตรอื่นๆ เพื่อผลทางการ พัฒนาการเรียนรูเชิงวิชาการหรือเพื่อการสื่อสารและการรับใชสังคม การศึกษาในแนวนี้จึงเปน การประยุกตภาษาศาสตรไปใชใหเกิดประโยชน หรือเรียกวา ภาษาศาสตรประยุกต (พิณทิพย ทวยเจริญ. 2547: 163) ในช ว งต นคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 20 การศึ ก ษาภาษาในลัก ษณะสหศาสตร ยั ง ไม เ กิ ด ขึ้ น เนื่องจากนักภาษาศาสตรบางทาน เชน เดอ ซอซูร ไดตีกรอบ หรือจํากัด สาระทางภาษาศาสตร แตเมื่อถึงปลายคริสตศตวรรษที่ 20 นักภาษาศาสตรตางมีความคิดเห็นตรงกันวา การศึกษาภาษา โดยไมพิจารณาบุคคลผูใชภาษาหรือสังคมตลอดจนสถานการณและสภาวะของการใชภาษานั้น ยอมขัดกับธรรมชาติและไมสมเหตุผล การศึกษาภาษาศาสตรในลักษณะสหศาสตรจึงมีมากขึ้น จนกลาวไดวาในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 20 (ชวง 1970) เปนตนไป การศึกษาภาษาศาสตรไม จําเปนตองศึก ษาภาษาเพื่อสาระเนื้อหาของตัวภาษาเองเทานั้น แตกระจายครอบคลุมออกไป มากมายในสาขาตางๆ ของภาษาศาสตรและภาษาศาสตรประยุกต มาตรฐานที่ 25 ของการศึกษาไทยไดระบุวา มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผูเรียนและทองถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อตอการเรียนรู ซึ่งตัวบงชี้ไดระบุวา มีหลักสูตรและเนื้อหาสาระของ หลักสูตรที่เหมาะสม สอดคลองกับเปาหมายการศึกษาและความตองการของผูเรียนและทองถิ่น การศึกษาเรื่องชั้นเรียนเปนนวัตกรรมที่มีแนวคิดและแนวทางที่นําไปสูการปฏิบัติที่ชวย พัฒนาการสอนของครู เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน การปรับหลักสูตรใหเหมาะสมคือ การเนนวา จะสอนอยางไร (how to teach) มากกวาสอนอะไร (what to teach) (นิตยา เปลื้องนุช. 2554: 131) ดร.รุง แกวแดง ไดมีความคิดเห็นวา การจัดการศึกษาของไทยในปจจุบันยังไมสอดคลองกับความ ตองการของบุคคล สังคมและประเทศ วิกฤตที่สําคัญของระบบการศึกษาไทยคือ ความทุกขของ ผูเรียน เนื่องจากเนื้อหาที่เรียนไมสอดคลองกับความเปนจริงในชีวิตประจําวัน ตองเรียนรูในเรื่องที่ ไกลตัว ตองสรางจินตนาการดวยความยากลําบาก และมีความทุกขเพราะตองทองจําตลอดเวลา จึงไม แปลกเลยที่มีความเห็นวาหลักสูตรทางการศึกษา ตลอดจนตําราเรียนขาดความยืดหยุนไมสอดคลอง กับสภาพของทองถิ่น (https://www.gotoknow.org/posts/264872) การเรียนภาษานับเปนมรดกวัฒนธรรมที่ควรแกการทนุถนอมอยางยิ่ง ภาษาอาหรับเปน ภาษาที่ใชในการปฏิบัติศาสนกิจสําหรับคนในบริบท สามจังหวัดชายแดนใต สวนภาษามลายูเปน ภาษาที่ไดรับการถายทอดวัฒนธรรมไปสูรุนตอๆ ไปซึ่งเปนตัวหลอมวัฒนธรรมกับกลุมประเทศ มลายูในอาเซียน สวนในดานขอมูลพื้นฐานดานวิชาการ ผูศึกษาไดคํานึงถึงเนื้อหา กระบวนการ แสวงหาความรู ที่จ ะเปนแนวทางไปสูก ารเรียนรูและพัฒนาศัก ยภาพการนํามาปฏิบัติจ ริง ใน ชีวิตประจําวัน ธรรมชาติการเรียนรูของผูเรียนสามารถเชื่อมโยงสัมพันธกับการเรียนภาษาอื่นๆ ในภาพรวม การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 384

ประวัติยอเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอาหรับในสามจังหวัดชายแดนใต ในการเรียนการสอนภาษาอาหรับในบริบทสามจังหวัดชายแดนใตไดผานมาหลายรอยป ประวั ติศ าสตรไ ด บั นทึ ก และสื บ ทอดมาตั้ ง แต อ ดีต เกี่ ย วกั บ สถาบั น การศึ ก ษาปอเนาะที่ ใ ห ความสําคัญกับการเรียนที่เกี่ยวกับศาสนกิจ วิธีการปฏิบัติศาสนกิจ ซึ่งเรียกวา ศาสนบัญญัติ และ อีกดานหนึ่งเปนการเรียนรูเพื่อทําความเขาใจบทอานในการปฏิบัติศาสนกิจซึ่งเปนภาษาอาหรับ และมีการถายทอดผานการเรียนหลักไวยากรณอาหรับ ทั้งสองแขนงวิชานี้นับเปนเอกลักษณเดน ของการเรียนในสถาบันปอเนาะตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จนมีผูที่เ ชี่ยวชาญในดานภาษาและ วรรณคดีอาหรับ ถึงขนาดไดรับ ขนานนามวาเปนอุละมาอ (ผูรู ) เปนจํานวนมาก ทานมูหัมมัด ซัมเบอรี (Mohamad Zamberi A.Malek, 1994: 111) ไดกลาวถึงทานชัยคฺดาวูดอัลฟะฏอนีย วา ทานเปนอุละมาอทานหนึ่งที่ไดเขียนหนังสือตําราที่มีคุณคาและไดถูกยกยองใหเปนนักเขียนที่ มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งที่มีชีวิตอยูในชวงที่ปตตานีไดกลายเปนศูนยกลางการศึกษาอิสลามใน ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต มุหัมมัดเศาะฆีรฺ บุตรของอับดุลลอฮฺ (2005: 3-4, ใน อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ . 2552: 2: 654) ไดกลาวถึงความสามารถของชัยคฺวันอะหฺมัด อัลฟะฏอนียดานการเขียนรอยกรองวา ทาน ไมไดเปนรองใครเมื่อเทียบกับรอยกรองที่อุละมาอของโลกมลายูรุนกอนๆ ไดเขียนไว เชน ฮัมซะฮฺ อันฟนซูรีย ผูแตงรอยกรองภาษามลายูคนแรกของโลกมลายูในศตวรรษที่ 16 และ 17 และรายา อาลี ฮัจญี ไดประพันธรอยกรองในศตวรรษที่ 18 สําหรับชัยคฺวันอะหฺมัด อัลฟะฏอนียนั้น ทาน เปนผูเริ่มประพันธรอยกรองมลายูในศตวรรษที่ 19 บทรอยกรองมลายูที่ประพันธโดยชัยคฺวันอะหฺ มัด อัลฟะฏอนียเปนครั้งแรกในภาษามลายูนั้น ทานประพันธในลักษณะ Nazam (กวีนิพนธ) เมื่อ ป ฮ.ศ. 1287/ ค.ศ. 1870 ขณะนั้นทานอายุเพียง 15 ป และประพันธในมัสญิดอัลหะรอม มหา นครมักกะฮฺ โดยทานใหชื่อบทรอยกรองภาษามลายูนั้นวา “Tranliterasi Nazam Nuril Aman” ชัยคฺวันอะหฺมัด บินมูฮัมมัดเซน อัลฟะฏอนียไมเพียงมีบทบาทในการเรียนการสอนภาษา อาหรับแตยังไดประดิษฐอักษรญาวีใหกับเสียงภาษามลายูมาใชโดยยืมอักษรมาจากภาษาอาหรับเปอรเซีย อักษรญาวีไดแพรก ระจายไปอยางกวางขวางพรอมกับ การเรียนการสอนไปทั่วทั้ง ภูมิภาคซึ่งมีขอบเขตตั้งแตจังหวัดชายแดนภาคใต ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซียบางสวน เขมร รวมถึงพมาดวยเชนกัน (Mohamad Zamberi A.Malek, 1994: 91) อุละมาอปตตานีนอกจากจะมีบ ทบาทในการคิดประดิษฐในดานภาษาเขียนแลว ยัง มี บทบาทในการพัฒนาอักษรมลายูอีกดวย ในป ค.ศ. 1884 ทางรัฐบาลตุรฺกี อุษมานียะฮฺ (ออตโต มาน) ไดใหจัดตั้งสํานักพิมพเพื่อภาษามลายูขึ้นครั้งแรกที่นครมักกะฮฺภายใตชื่อวา Mathbaah alMiriyah และไดแตงตั้งใหเช็ควันอะฮฺมัดเปนผูดูแลสํานักพิมพดังกลาวนี้ และทานยังไดรวบรวม หนั ง สือ ที่ เ ขีย นด วยลายมื อ ของบรรดาอุ ล ะมาอป ต ตานี ค นกอ นๆ (Mohamad Zamberi A.Malek, 2545: 116) นิเลาะ แวอุเซ็ง (2551, 174) ไดเขียนวา ผูที่สําเร็จการศึกษาจากสถาบันปอเนาะสวน ใหญจะประกอบอาชีพเปนครูศูนยอบรมการศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา) เปนผูชวยโตะ ครู เปนกรรมการมัสยิด เปดปอเนาะและเปนครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม นับจากอดีตการจัดการศึกษาของเอกชนไดเขามีบทบาทในการจัดการศึก ษาของชาติ จนถึง ปจ จุ บัน รัฐได เ ปดโอกาสใหเ อกชนสามารถจัดการศึก ษาไดทุก ระดับ และทุ ก ประเภท การศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด อยางไรก็ตาม แมวาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจะไดรับ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

ความนิยมจากประชาชนในพื้นที่ดังขอมูลจํานวนโรงเรียนและจํานวนนักเรียนของโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาที่มีเปนจํานวนมากอันเนื่องมาจากสาเหตุเกี่ยวกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมที่เปนเอ กลัก ษณเฉพาะของพื้นที่แตเ มื่อพิจารณาดานคุณภาพโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามทั้ง บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย ประเภทมาตรา 15(1) และมาตรา 15(2) สวนใหญอยูในระดับที่ควรปรับปรุง และยังคงประสบป ญหาในภาพรวม สวนหนึ่ง คือปญหาดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน กลาวคือ ขาด หนา 385 ความตอ เนื่อ งของหลั ก สู ต รในแต ล ะระดั บ ชั้น ครู ส อนไม ตรงตามสาขา สื่อ การสอน ห อ ง ปฏิบัติการ หองเรียนไมสมดุลกับจํานวนนักเรียน ครูไดรับการพัฒนานอยมาก สงผลใหขาดทักษะ ในการจัดการเรียนการสอน (มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2549) กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา การสอนภาษาอาหรับในบริบทสามจังหวัดชายแดนใต-ซึ่งไมใชภาษาแมและอาจจะเปน ภาษาที่ 3 หลังจากภาษาไทยและภาษามลายู- ไมใชเรื่องงายเลย ความยากงายของการเรียน ภาษาตางประเทศจะแตกตางกันขึ้นอยูกับหลายปจจัย สวนหนึ่งมาจากปจ จัยของอายุผูเรียน บริบทที่ผูเรียนอาศัยอยู และธรรมชาติของภาษาที่จะเรียนรู รวมถึงความเหมือนและความตาง ดานการออกเสียงและการเขียน หลั ง จากที่ ผูศึก ษาได ศึก ษาและทบทวนวรรณกรรมและงานวิจั ยที่เ กี่ยวข องกับ การ ออกแบบหลักสูตร ไดนํากรอบแนวคิด (framework concept) และความรูที่ไดจากการทบทวน ดังกลาวมาผสมผสานกับแนวคิดและประสบการณของผูศึกษา เพื่อที่จะชวยในการจําแนก การ จัด กลุ ม หรื อ จั ด ประเภทของเหตุ ก ารณ แ ละสถานการณ ที่ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบหลั ก สู ต ร สหสัมพันธใหปรากฏชัดเจนขึ้น กรอบแนวคิดนี้ยังชวยกําหนดแนวทางในการวิเคราะหขอมูลและ ปรากฏการณไดอยางเปนระบบ ครอบคลุมครบถวนตรงประเด็น และงายตอการทําความเขาใจ ยิ่งขึ้นจากนั้นจึงไดสรางกรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ขึ้น กลาวคือ หลักสูตรการเรียนการ สอนภาษาอาหรับที่เ ปนอุปสรรคตอการพัฒ นาการเรียนการสอนภาษาอาหรับในบริบ ทสาม จังหวัดชายแดนภาคใตนั้นมีเหตุหรือสาเหตุ (causes) ซึ่งทําใหเกิดผล (effects) และยังสงผล กระทบ (impacts) ตอการเรียนการสอนภาษาอาหรับของผูเรียนในบริบทสามจังหวัดชายแดน ภาคใตดวย ตัวอยางเชน “เหตุ” หรือ “สาเหตุ” ที่เกิดจากการไมประยุกตใชคํายืมภาษาอาหรับ ในภาษามลายูในการเรียนการสอนภาษาอาหรับ ทําใหเกิด “ผล” เชน การเรียนการสอนภาษา อาหรับเปนไปไดยาก และยังทําใหเกิด “ผลกระทบ” ตามมาดวย คือ ทําใหการพัฒนาการเรียน การสอนภาษาอาหรับไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร เห็นไดจากพฤติกรรมของผูเรียน อาทิ ใชเวลา ในการเรียนภาษาอาหรับเกือบ 10 ป แตยังไมสามารถสื่อสารดวยภาษาอาหรับในชีวิตประจําวัน ได ถึง แมมีศัพทคํายืม จากภาษาอาหรับเปนทุนใชสื่อสารในชีวิตประจําวันและเปนทุนในการ เรียนรู แตธรรมชาติของการใชภาษาพูดที่มีการเปลี่ยนแปลงดานการออกเสียง สําเนียง หรือมี การตัดเสียงบางพยางค อาจทําใหมีอุปสรรคในการเรียนรูคําศัพท หลายตอหลายคนไมสามารถ นําคําดังกลาวยอนกลับไปสูรูปคําดั้งเดิมในภาษาอาหรับ จึงไมทราบความหมายเดิมของรากศัพท ซึ่งมีความหมายรวมระหวางภาษาอาหรับและภาษามลายู หลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับและภาษามลายูเปนหลักสูตรที่พยายามปรับปรุงแกไข ขอบกพรองของหลักสูตรรายวิชาภาษาอาหรับ โดยนําเอาเนื้อหาของสาขาวิชาภาษามลายูที่ สัมพันธกันมาผนวกเขาไว โดยเฉพาะในรูปคําที่มีการยืมใชจากภาษาอาหรับ นับวาปรากฏการณ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 386

นี้เปนปรากฏการณทางภาษาที่เดนมาก และคําอาหรับเหลานั้นกลายเปนภาษามลายูและถูกใชใน การสื่อสารในชีวิตประจําวันอยางกวางขวางอยูแลว จึงแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวาง เนื้อหาสาขาวิชาทั้ง 2 วิชา โดยไมทําลายขอบเขตวิชาเดิม (ยัง ไมไดผสมผสานหรือบูรณาการ เนื้อหาวิชาเขาดวยกัน ) กลาวคือ การศึก ษานี้เปนการจัดเนื้อหาเนนใหความสัม พันธระหวาง ปรากฏการณทางภาษาที่มีการเติมหนา-หลัง เกี่ยวกับรูปคําในรูปของ “imbuhan” บางชนิดใน ภาษามลายู ที่เ กี่ย วกั บ รู ป คํ าในรู ป ของ “อาการนาม” และคํ านามทั่ว ไปในภาษามลายู ซึ่ ง สอดคลองกับรูปแบบของคําในภาษาอาหรับที่เรียกวา “Maşdar-มัศดัรฺ” รวมถึงคํานามทับศัพท ทั่วไป ทั้ง นี้ จ ะไม ทําลายเอกลัก ษณ ของเนื้ อหาของวิ ชาทั้ ง สอง แต จ ะแสดงใหเ ห็นว าแตล ะ เนื้อหาวิชาเสริมกัน มีลักษณะในการจัดใหมีการสัมพันธระหวางวิชาที่ไมซับซอน เพื่อแกป ญหา ของความซับซอนของเนื้อหาในหลักสูตร โดยเฉพาะความหมายของคําศัพทตางๆ ดังนั้น เนื้อหา ซ้ําซอนกันรวมวางแผนการสอนรวมกัน และมีความสัมพันธใน 3 หัวขอ ไดแก สัมพันธขอเท็จจริง สัมพันธในหลักเกณฑ และสัมพันธตามหลักปฏิบัติสังคม รากศัพทของภาษามาตรฐานเมื่อกลับยอนไปสูรากศัพทเดิมจะเปนตนทุนทางภาษาโดยที่ ผูเ รียนสามารถเขาใจทันที โดยไมตองเรียนรูคําศัพทใหมม าเพิ่ม ในคลัง สมองของผูเ รียนอีก สันนิษฐานวานาจะเปนเปนการชวยในการประหยัดพลังงานและเวลาในการอธิบาย โดยเฉพาะ คําศัพทที่เ ปนนามธรรม เชน คําวา “อดทน” ผูเ รียนอาจเพียงแคตอยอดในการทําความรูจัก วิธีการผันรากศัพทคําดังกลาวในรูปกริยา รวมถึงมาตราหรือรูปแบบของคําประเภทตางๆ ที่มีการ เพิ่มหนวยเสียง การเปลี่ยนรูป เปนตน ผูเรียนก็สามารถที่จะเรียนรูศัพทภาษาอาหรับเบื้องตน และพัฒนาการเรียนรูไดเร็วกวา คํายืมจากภาษาอาหรับในภาษามลายู ศาตราจารย ดร. อับดุรฺเราะหฺมาน ชิก ไดศึกษาและรวบรวมคํายืมภาษาอาหรับในภาษา มลายูมาตรฐาน (หมายถึง ภาษามาเลเซีย) มีมากกวา 3,302 คํา ในจํานวนคําดังกลาวที่ยังคงไว ซึ่ง ความหมายเดิม จํานวน 1,005 คํา สวนคํายืม ที่ไดเ ปลี่ยนแปลงนัยยะแลว จํานวน 74 คํา กระบวนการการยืมคํายังคงตอเนื่องในบริบทสังคมมลายู โดยเฉพาะ หลังจากกระแสการใหความ สนใจกับภาษาอาหรับในยุคหลังนี้ เนื่องจากการตื่นตัวของอิสลาม การอพยพของชาวอาหรับสู ประเทศที่มีการสื่อสารดวยภาษามลายูและโอกาสของการศึกษา การทํางานและการทําธุรกิจ เปนตน (http://www.arabtimes.com/portal/article_display.cfm?ArticleID=21827) ชาวมลายูในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใตใชคํายืมจากภาษาอาหรับในชีวิตประจําวัน อยางกวางขวางอยูแลว ถึง แมวาการใชคํายืม ภาษาอาหรับ ในภาษามลายูมิใชภาษามาตรฐาน (standard language) ซึ่งเปนภาษาที่ไดมีการจัดใหเปนระบบโดยมีกฎเกณฑการอธิบายการใช ภาษาอยางเปนกิจจะลักษณะในตําราไวยากรณ พจนานุกรม หรือใชเขียนวรรณกรรมตางๆ อีกทั้ง เปนภาษาที่ใชในสถานศึกษา ใชในการติดตอทางราชการหรือใชในสื่อมวลชน (พิณทิพย. 2547: 198) ดังที่ชาวมาเลเซียใชภาษามาตรฐานเปนสื่อในการเรียนการสอนและเปนภาษาทางราชการ ในชีวิตประจําวันของพวกเขา แตมุสลิมในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใตใชคํายืมจากภาษา อาหรับในแบบภาษากลาง (lingua franca) ซึ่งเปนภาษาที่ชุมชนในสังคมทวิภาษาหรือพหุภาษา ใชสื่อสารซึ่งกันและกัน หรือเปนภาษาที่ใชในการสื่อสารทั่วไปไมวาจะเปนสังคมในลักษณะใด (พิณทิพย. 2547: 200) ดังที่ปรากฏในบริบทสามจังหวัดชายแดนใต ชาวปตตานี นราธิวาสและ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

ยะลาอาจจะมีการใชคํายืมจากภาษาอาหรับในรูป แบบและสําเนียงที่แตกตางกัน แตพวกเขา ทั้ง หลายตางก็สามารถสื่อสารอยางเขาใจกันดวยภาษากลางระหวางชาวมลายูในบริบ ทสาม บัณฑิตวิทยาลัย จังหวัดชายแดนใตดวยกัน และการวิจัย ถึงแมคํายืมจากภาษาอาหรับอาจมีการเปลี่ยนแปลงดานการออกเสียง สําเนียง หรือมี การตัดเสียงบางพยางค เมื่อผูเรียนภาษาอาหรับนําคําดังกลาวยอนกลับไปสูรูปคําดั้งเดิมในภาษา หนา 387 อาหรับก็จะทราบความหมายเดิมของรากศัพทซึ่งมีความหมายรวมระหวาง 2 ภาษา อาทิ ภาษามลายูกลางสาม จังหวัดชายแดนภาคใต ‫ﺍﺳﺎ‬ /a . sa/

ภาษามลายู มาตรฐาน ‫ﺍﺳﻞ‬ /a . sal/

ภาษาอาหรับ

ความหมาย

‫ﻞ‬‫ﺃﺻ‬ /aşl/

เดิม

คํายืมจากภาษาอาหรับในชีวิตประจําวันในภาษามลายูในบริบทสามจังหวัดชายแดนใตมี จํานวนมากกวา 250 คํา นับเปนทุนทางภาษาอันมหาศาล ดังนั้น หากการออกแบบหลักสูตรและ การจัดการหลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ -มลายูโดยการใชคํายืมจากภาษาอาหรับในภาษา มลายูเปนฐานแลว ผูศึกษาสันนิษฐานวา ผูเรียนภาษาอาหรับสามารถเรียนรูภาษาอาหรับไดเร็ว และมีประสิทธิภาพ และสามารถชวยแกไขปญ หาการเรียนภาษาอาหรับในบริบทสามจังหวัด ชายแดนภาคใตไดในระดับเบื้องตน แนวคิ ดการประยุก ตใ ชคํา ยื ม จากภาษาอาหรั บในภาษามลายู ในการออกแบบหลั กสู ต ร สหสัมพันธระดับชั้นเรียน หลักสูตร หมายถึง หลักสูตรที่เขียนขึ้นอยางเปนทางการ ตามนโยบายของสถานศึกษา ตางๆ ที่คาดหวัง ใหเ กิดขึ้นกับ ตัวผูเ รียน ซึ่ง อยู ในรูป ของเอกสารที่ส ะทอนถึง ทฤษฎีท างดาน การศึกษา หรือคุณคาทางสังคมในขณะนั้น หลักสูตรจึงเปนแนวทางการจัดประสบการณ และ/ หรือเอกสารที่มีการจัดทําเปนแผนการจัดสภาพการเรียนรูหรือโครงการจัดการศึกษา โดยมีการ กําหนดวิธีการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกิดผลการเรียนรูตามจุดประสงคหรือจุดมุง หมายตามที่ หลักสูตรกําหนดไว (จรุณี เกาเอี้ยน. 2555.171) หลั ก สู ตรไม จํา เป นที่ จ ะตอ งทํ าตามนโยบายจากสว นกลางเสมอไป มาตรฐานของ หลัก สูตรอาจจะกําหนดขึ้น โดยใชเ กณฑจ ากผูเชี่ยวชาญหรือครูผูส อนในโรงเรียน เชน ครูใน โรงเรียนสามารถตัดสินใจทีจ่ ะกําหนดหลักสูตรเกี่ยวกับการสอนทักษะทางดานภาษาที่จะสอนใน แตละระดับชั้น หรือกลุมโรงเรียนอาจจะกําหนดหลักสูตรตามที่กลุมของตนคาดหวัง (ชวลิต ชู กําแพง. 2551.12) การพัฒนาหลักสูตรเปนกระบวนการที่สําคัญในการดําเนินการตามกระบวนการเพื่อให หลักสูตรทันสมัย และเปนหลักสูตรที่ดีมีความเหมาะสมกับสภาพจริงของบริบทสังคมและเพื่อให เกิดการนําไปใชจ ริง ซึ่งเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเ รีย น และยังเปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพ มนุษยใหเปนผูที่มีความรู มีประสบการณและมีทักษะในการพัฒนาตนเองใหเจริญงอกงาม การพัฒนาหลักสูตรระดับหองเรียนเพื่อการจัดการเรียนการสอนทีมีประสิทธิภาพเพื่อให บรรลุตามจุดมุงหมายที่วางไว ผูที่มีหนาที่พัฒนาหลักสูตรในระดับนี้ คือ ครูผูสอน (จรุณี เกา เอี้ยน. 2555: 176) การออกแบบหลักสูตร (curriculum design) ควรใหความสําคัญกับการ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 388

เลือกและจัดเนื้อหาสาระ การเลือกประสบการณการเรียนรูที่เหมาะสมและความสอดคลองกับ เนื้อหาสาระที่ไดเลือก เหมาะสมกับเปาหมาย จุดหมาย ความตองการของผูเรียนและลักษณะ ของบริบทสังคม ตลอดจนขอกําหนดตางๆ ของสังคม และปรัชญาทางการศึกษา (จรุณี เกาเอี้ยน. 2555: 180) การพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความตองการของทองถิ่นและความสนใจเห็นคุณคา ในการเรียนของผูเรียนมีความสําคัญ การพัฒนาและการใชหลักสูตรโดยการจัดทําแผนการสอน และสื่อการเรียนที่ปรับจากหลักสูตรแมบทหรือหลักสูตรสวนกลางใหตรงกับสภาพทองถิ่น ยอม ถือไดวาเปนหลักสูตรทองถิ่น ทั้งนี้โดยจะตองคํานึงถึงแนวจัดการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ชวลิต ชูกําแพง(2551: 49) ไดกลาวถึงเหตุผลและความจําเปนในการพัฒนาหลักสูตรทองถิ่นไววา การพัฒนาหลักสูตรทองถิ่นจึงตองจําเปนตองใชลักษณะกระบวนการเทคนิควิธีการทั้งหมดในการ จัดทําหลักสูตรและการจัดเนื้อหาสาระและประมวลประสบการณในหลัก สู ตรที่จัดทําขึ้นมา เพื่อใหไดหลักสูตรที่มีคุณภาพตรงตามความตองการของนักเรียน โรงเรียนและชุมชน การออกแบบหลัก สูตรเปนลัก ษณะหนึ่ง ของกระบวนการพัฒ นาหลัก สูตร หลัก สูตร สหสัมพันธเปนหลักสูตรระดับหองเรียน ซึ่งเปนระดับที่สําคัญที่สุดในบรรดาระดับของหลักสูตร ทั้งหลาย (ชวลิต ชูกําแพง. 2551: 31) คือ หลักสูตรระดับหองเรียน หลักสูตรระดับสถานศึกษา หลักสูตรระดับทองถิ่น และหลักสูตรระดับชาติ ตามลําดับ หลักสูตรสหสัมพันธเปนหลักสูตรที่จัดตามแนวปรัชญาสารนิยม (essentialism) ซึ่ง มี ความเชื่อวาในแตละวัฒนธรรมมีความรู ทักษะ ความเชื่อ อุดมการณ ฯลฯ ที่เปนแกนกลางหรือ เปนหลัก ทุกคนในวัฒนธรรมนั้นควรรูสิ่งเหลานี้ ระบบการศึกษามุงถายทอดสิ่งเหลานี้แกเยาวชน สาระสําคัญของความรูเปนความรูปจจุบัน ซึ่งเนนปริมาณความรูเปนสําคัญ เนนการเรียนการ สอนมุงที่จะฝก นับเปนแนวความเชื่อที่มีอิทธิพลตอการจัดการศึกษาทั่วโลก ตั้งแตสมัยกอนจนถึง ปจจุบัน (ชวลิต ชูกําแพง. 2551: 36) การวิเคราะหสถานการณในการพัฒนาการเรียนรูภาษาอาหรับ การวิเ คราะหส ถานการณ (situation) การเรียนรูภาษาอาหรับ ในบริบ ทสามจัง หวัด ชายแดนใต โดยการศึกษาวิเคราะหสภาพในอดีต สภาพปจจุบันและสภาพที่ควรเปนในอนาคต โดยวิเคราะหสิ่งตางๆ ตอไปนี้ (จรุณี เกาเอี้ยน. 2555: 200) 1. ปรัชญาการศึกษานโยบาย หลักสูตร แผนการศึกษา งานวิจัย 2. สภาพปญหา คานิยม วัฒนธรรมและความตองการของชุมชน 3. ธรรมชาติของเนื้อหาสาระ วิชาความรู ความเจริญกาวหนาทางวิชาการ 4. ความรูเกี่ยวกับผูเรียน ในดานความตองการและความสนใจ 5. ทฤษฏีการเรียนรู ตลอดจนแนวทางการจัดประสบการณการเรียนรู บริบ ทของสัง คมในสามจั ง หวัด ชายแดนใต เ ป น สั ง คม พหุภ าษา (multilingualism) ธรรมชาติของผูเรียนในสังคมนี้ ดังทีพ่ ิณฑิพย (2547: 169) ไดมีความคิดเห็นวา ความยืดหยุนของ สมองในสมาชิกในสังคมพหุภาษา มีการสรางรูปแบบทางประสาทที่สัมพันธกับการออกเสียงได อยางรวดเร็วตามลักษณะของรูปแบบทางเสียงที่เกิดขึ้นในสังคมรอบตัว ทําใหมีโอกาสไดเรียนรู 2 ภาษา หรือภาวะทวีภาษา (bilingualism) โดยงาย ผูเรียนในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใตมี การใชภาษาในลักษณะ “การปนภาษา” เกิดขึ้นในแนวปรกติ ซึ่ง เปนสังคมพหุภาษา นั่นคือ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

สังคมนี้ผูพูดสามารถพูดได 2 ภาษาหรือมากกวา และใชทั้งสองภาษา (หรือสาม) รวมกันใน 1 ประโยค หรือใน 1 หัวขอประเด็นการสนทนา และภาษามลายูเปนภาษาแสดงเอกลักษณภูมิภาค ดังนั้น บริบทสามจังหวัดนับเปนสังคมหนึ่งที่แสดงการใชภาษาในลักษณะสลับภาษาและปนภาษา บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย มาก ผูใชภาษามลายูในสามจังหวัดจะรูวาตนควรสลับภาษาและปนภาษาเมื่อใด โดยพิจารณาจาก ตัวแปรเชน ผูรวมสนทนาเปนใคร มีความใกลชิดสนิทสนมหรือไม หัวขอสนทนาเปนหัวขอแบบใด หนา 389 นอกจากนี้ยัง พิจารณาตัวแปรจากความแตกตางทางสัง คมและวัฒ นธรรมของผูพูดและผูรวม สนทนาดวย ลักษณะของขอมูลทางภาษาที่ใชในการวิเคราะห อิสลามไดแพรขยายในโลกมลายูโดยชาวอาหรับและเปอรเซียราวในชวงศตวรรษที่ 13 ภาษาอาหรับมีอิทธิพลตอภาษามลายูและมีสถานะทีส่ ูงสงในสังคมมลายูเปนดั่งภาษาทางการ จึง ทําใหองคประกอบแหงการกลมกลืนทางภาษาเกิดขึ้นโดยงายในภาษามลายู โดยเฉพาะในดาน การยืมรูปแบบคําภาษาอาหรับ ปรากฏการณจะเห็นไดชัด อยางนอย ทาเรือมะละกาเปนทางผาน ทางการคาระหวางอาหรับ หลักฐานที่บง ชี้ถึง อิทธิพลของอาหรั บในโลกมลายูมีมากมาย จะ ออกมาในรูปแบบของคําศัพทอาหรับที่มีการใชในชีวิตประจําวัน เชน เราะสูล (ศาสนทูต) กิตาบ (ตํารา) อะมานะฮฺ (ความซื่อสัตย) หุรฺมัต (การใหเกียรติ) เปนตน สวนคําทับศัพทในการปฏิบัติ ศาสนกิจ เชน เศาะลาต (การละหมาด) รุกูอฺ (การกม) ซุูด (การกราบ) เปนตน อิท ธิพ ลของอาหรับ ที่มี ต อโลกมลายู มิ ใช เ พี ยงในภาษาเทา นั้ น แต ยัง ครอบคลุม ถึ ง วรรณคดีอีกดวย วรรณกรรมอาหรับไดถูกนํามาดัดแปลงและประยุกตใชโดยนักวรรณคดีทองถิ่น เชน เรื่องราวเกี่ยวกับบรรดานบี เรื่องราวของบรรดาเศาะหาบะฮฺ วีรบุรุษมุสลิม และเรื่องราว อื่นๆ (Ismail Hamid, 1982: 72) อิทธิพลนี้จะเห็นไดชัดในคําศัพทเชิงวิชาการที่มีการใชอยูเสมอ แนวคิดหรือปจจัยอื่นๆ ในดานรูปแบบและความหมาย ขอมูลพื้นฐานเบื้องตนที่ใชในการวิเคราะหภาษาในการศึกษานี้นํามาจากขอมูลภาษาพูด และภาษาเขียน แตเนื่องจากภาษาเปนเครื่องมือในการสื่อสารของคนทุกกลุม ทุกอาชีพ ทุกทองที่ ผูศึกษาขอมูลในการออกแบบหลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายู จึงควรกําหนดหลักการใน การพิจารณาลักษณะขอมูลดังนี้ 1. ภาษามาตรฐาน (standard language) เปนภาษาที่ใชอยางเปนกิจจะลักษณะใน ตํารา อีกทั้งเปนภาษาที่ใชในสถานศึกษา ซึ่งใชเปนสื่อในการเรียนการสอน 2. ภาษากลาง (lingua franca) เปนภาษาที่ชุมชนในสังคมทวิภาษาหรือพหุภาษาใช สื่อสารซึ่งกันและกัน หรือเปนภาษาที่ใชในการติดตอทั่วไปไมวาจะเปนสังคมในลักษณะใด (พิณ ทิพย. 2547: 200) กลาวคือ คําศัพทที่ใชรวมกันระหวางประชากรที่อาศัย ใน 3 จังหวัด คือ นราธิวาส ปตตานี และยะลา 3. ภาษาถิ่น (dialect) เปนภาษาของสังคมหนึ่งๆ ที่มีระบบสื่อความระบบเดียว แตอาจ มีภาษายอยที่ใชในกลุมชนตางๆ ของสังคมนั้นๆ ภาษานี้อาจพิจารณาเปนพื้นที่ตามลักษณะทาง ภูมิศาสตรซึ่งเรียกวาภาษาถิน่ (พิณทิพย. 2547: 200) กลาวคือ คําบางคําในจังหวัดนราธิวาสที่ใช สื่อเฉพาะชาวนราธิวาส หรือบางที่ในจังหวัดนราธิวาส

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 390

4. แหลงของขอมูล ภาษาที่ใชไมจําเปนตองมี “ลักษณะ” หรือ “แบบ” เดียวกันเสมอ ไป การวิเ คราะห “ภาษามลายู ” ที่ ผูศึก ษาวิเ คราะห นี้เ ปนภาษามลายูใ นบริบ ทสามจัง หวั ด ชายแดนภาคใต 5. การจัดกลุมภาษา การจัดกลุมภาษาอาหรับ และภาษามลายู เปนการจัดกลุม ใน ลักษณะเปรียบเทียบขามภาษา (cross linguistic comparison) เพื่อดูรูปแบบตางๆ ที่เกิดขึ้น คลายกันหรือตางกันใน 2 ภาษาที่ตางตระกูลภาษา ซึ่งไมไดมาจากแมภาษาเดียวกัน ภาษามลายู เปนภาษาในตระกูล ออสโตรนีเซียน (Austronisian) สวนภาษาอาหรับเปนภาษากลุมเซมิติก (Semitic) ในตระกูลแอโฟรเอเซียติก (Afro-Asiatic) (พิณทิพย. 2547: 160) ความคลายคลึงที่ เกิดมาจากการยืมภาษาเนื่องจากอิทธิพลทางความเชื่อ ศาสนา และการสัมผัสทางภาษา การจัด กลุมขามภาษานี้ ผูศึกษาไดพิจารณาจากกระบวนการบรรยายปรากฏการณทางภาษาระหวาง 2 ภาษา โดยมีเกณฑทางระบบรูปคํา ดูจากรูปแบบของหนวยคําที่เกิดในภาษาที่มีหนวยคําเติมและ ไมมีหนวยคําเติม เปนตน 6. วัฒนธรรมทางภาษา การศึกษาวัฒนธรรมเปนลักษณะสําคัญที่ศึกษาในภาษาศาสตร มานุษยวิทยา โดยการรวบรวมขอมูลจากวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อตางๆ ใน กลุมชนนั้นๆ ซึ่งจะมี “การใชภาษา” รวมดวยเสมอ จะเห็นไดชัดเจนในคําทับศัพทที่ใชในการ ประกอบศาสนกิจ อาทิ เศาะลาต ศิยาม ซะกาต เปนตน 7. การพิจารณาคุณสมบัติประจํากลุมภาษา นัน่ คือ การพิจารณาคุณสมบัติแกนกลางที่ เกิดรวมกันและคุณสมบัติที่เกิดตางกัน การพิจารณาคุณสมบัติประจํากลุมเปนแนวคิดที่สอดคลอง กับการศึกษาเชิงพุทธิปญญา ซึ่งเปนการศึกษาวามนุษยมีกระบวนการรับรูเพื่อพัฒนาเปนความรู ความคิดและการมีปญญาไดอยางไร (พิณทิพย. 2547: 156) การศึกษานี้ก็ไดพิจารณาคํายืมจาก ภาษาอาหรับในรูปของคํานามและนามกริยาในภาษามลายูที่เปนแกนรวมระหวาง 2 ภาษา แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเรียนภาษาอาหรับและภาษามลายู การใชภาษาในสังคมเปนการบงบอกวัฒนธรรมและธรรมเนียมปฏิบัติในสังคมหนึ่งๆ ซึ่ง เปนการศึกษาภาษาศาสตรมานุษยวิทยา ในสังคมสามจังหวัดชายแดนใต มีการสอนภาษาอาหรับ ใหแกเด็กในพื้นที่ ซึ่งความยืดหยุนของสมองจะทําใหมีการสรางรูปแบบทางปราสาทที่สัมพันธกับ การออกเสียงไดดี ถาตัวแบบ (model) ในการออกเสียง นั่นคือ “ผูส อน” ชาวมลายูในสาม จังหวัดชายแดนภาคใตสามารถออกเสียงพูดภาษาอาหรับไดคลายเจาของภาษา ผูเรียนก็จะรับ รูปแบบภาษาอาหรับที่คลายกับเจาของภาษาเชนกัน ภาษามลายูยังคงเปนภาษาหลักสําหรับการสื่อสารของคนในพื้นที่ แตพบวาดวยระบบ การศึกษาทําใหมีการเรียนรูภาษาไทยเพิ่มขึ้น และในทางตรงกันขามกันความรูในภาษามลายูถิ่น ของตนอาจจะลดลง ขึ้นอยูกับลักษณะของหนาที่การงานและความจํา เปนในการใชภาษาใน ชีวิตประจําวัน สุวิไล เปรมศรีรัตน (2541: 21) มีความคิดเห็นวา คนที่มีอายุเกิน 40 ปขึ้นไปซึ่งใช ชีวิตสวนใหญในหมูบานและเด็กกอนวัยเรียนจะมีความรูเ ฉพาะภาษาทองถิ่นของตนเปนสวนใหญ และใชภาษาทองถิ่นของตนในชีวิตประจําวัน อยางไรก็ตามผูศึกษามีความเห็นวาในบริบทสังคม สามจังหวัดชายแดนภาคใต ผูสอนภาษาอาหรับไมสามารถที่จะนําวิธีสอนตางๆ ที่ตางชาติคิดคน เพื่อสอนเด็กในสังคมที่ตางไปจากบริบทสังคมสามจังหวัดชายแดนภาคใต ผูศึกษาจึงไดดําเนินการ ศึกษานีเ้ พื่อเสนอแนวคิดการสรางหลักสูตรและดําเนินการสอนไดดวยวิธีสอนที่ประสมประสาน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

เพื่อใหเ หมาะกับ สังคมในบริบ ทนี้ พิณทิพย (2547: 208) ไดมีความเห็นวา ในปจจุบันการที่ รัฐบาลไดกําหนดใหมีการสอนภาษาตางประเทศในระดับประถมศึกษาทําใหเกิดคําถามตอไปวา จะเริ่มสอนภาษาตางประเทศใหแกเด็กไทยเมื่ออายุเทาไหรจึงจะเหมาะสมโดยไมกระทบตอการ บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย พัฒนาภาษาแมของเด็ก จะสอนอยางไร และจะมีหลักสูตรในลักษณะใด การสอนภาษาอาหรับใหเ กิดผลดีแกผูเ รียนในบริบ ทสามจัง หวัดชายแดนภาคใตนั้น หนา 391 ผูสอนไมควรมุงวิธีสอนแบบหนึ่งแบบใดโดยเฉพาะ เนื่องจากสังคมในบริบทนี้มีพื้นฐานทางสังคม วัฒ นธรรม และการปลู ก ฝง ความคิดแตกตางไปจากสัง คมบริ บ ทอื่น การจะยืม แนวคิ ดทาง หลักสูตรหรือวิธีสอนมาใชในบริบทนี้โดยไมพิจารณาพื้นฐานทางสังคมและการอบรมตลอดจน พื้นฐานทางระบบการศึกษานั้นเปนการปฏิบัติที่ขัดกับความเปนจริง ดวยเหตุนี้ ผูศึกษาจึงไดเลือก วิธีสอนแบบประสมประสานและไมสรางภาระใหแกผูสอนมากจนเกินไป โดยผูสอนสามารถใช ภาษามลายูและภาษาไทยอธิบายความหมายหรืออธิบายแนวการใชกิจกรรมทางภาษาที่นํามา จากถอยคําแบบเบ็ดเสร็จ คําศัพทที่เลือกมาสรางเป นบทเรียนมี เกินกวา 250 คํา ที่ผูสอนกับ ผูเ รียนสามารถใชในกิจ กรรมการใชภาษารวมกันและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน และ สามารถสอนใหผูเรียนรับรูหรือใชภาษาอาหรับในสถานการณที่กําหนดไวไดเปนอยางดี โดยไม ตองอธิบายกฎไวยากรณแตอยางใด กระบวนการการประยุกตใชคํายืมจากภาษาอาหรับในภาษามลายูในการออกแบบหลักสูตร สหสัมพันธอาหรับ-มลายู สําหรับผูเรียนในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต หลังจากที่ผูศึก ษาในนําเสนอแนวคิดการประยุกตใช คํายืม จากภาษาอาหรับ ในภาษา มลายูในการออกแบบหลักสูตรสหสัมพันธอาหรับ-มลายูแลว ผูศึกษาขอเสนอกระบวนการในการ สรางหลักสูตรดังกลาว ดังขั้นตอนตอไปนี้ 1) รวบรวมคํายืมจากภาษาอาหรับในภาษามลายูที่ผูเรียนใชสื่อสารกันอยางแพรหลายใน บริบท สามจังหวัดชายแดนภาคใตใหมากที่สุด คําศัพทที่เลือกมาใชเปนคําศัพทที่รูจักทั่วไปใน บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต ไมวาผูเรียนจะมาในทองถิ่นใด คําศัพทเหลานี้ไมเปนภาระแก ผูสอนในการอธิบายเพื่อทําความเขาใจ 2) จัดคําศัพทที่เปนคํายืมเปนหมวดหมู ตามประเภทของคํา อาทิ คํานาม (อิซมฺ) และ คํานามกริยา (มัศดัร)ฺ หรือดานการใช อาทิ คําทับศัพทในการปฏิบัติศาสนกิจ (อิบาดะฮฺ) อาทิ รุ กูอฺ ซุดู กิยาม เปนตน การธุรกรรม (มุอามะละฮฺ) อาทิ ฮะดียะฮฺ เศาะดะเกาะฮฺ ซียาเราะฮฺ เปน ตน คํานามทั่วไป กุรซี กิตาบ เปนตน คํานามกริยา อาทิ ยากีน อิคลาศ เปนตน 3) การเลือกเนื้อหาเพื่อสรางบทเรียนเริ่มดวยคําศัพทรอบตัวและที่ใชบอย โดยการสราง บทเรียนที่เนนกระบวนการยอนกลับสูภาษามลายูมาตรฐาน หรือ ยอนกลับไปสูรูปคําดั้งเดิมใน ภาษาอาหรับ หลังจากไดวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงดานการออกเสียง สําเนียง หรือมีการตัดเสียง บางพยางค อันเนื่องจากคําบางคําที่มีอยูในภาษามลายูสามจังหวัดชายแดนภาคใตเปนภาษาพูดที่ มีการตัดทายพยางคสดุ ทาย หรือเปลี่ยนเสียงตางจากภาษามาตรฐานซึ่งอาจจะใกลเคียงกวากับ ภาษายืม อาทิ คําวา /อิคละฮฺ/ ซึ่งภาษามลายูมาตรฐาน เปน /อิคลาซ/ เปนตน 4) ในการอธิบายยอนกลับสูรูปคําเดิมที่เปนมาตรฐานในภาษาอาหรับ ควรยึดภาษาแม เปนหลัก อันเนื่องจากคําบางคําเปนภาษาพูดที่มีการตัดทายพยางคสุดทาย หรือเปลี่ยนเสียงตาง

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 392

จากภาษามาตรฐานซึ่ง อาจจะใกลเคียงกวากับภาษายืม แลวชี้แจงคําเดิมในภาษามลายูกอน หลังจากนั้นจึงชี้แจงคําเดิมในภาษาอาหรับ อาทิ 4.1) คําที่มีการตัดทายพยางคสุดทาย ‫ﺍﺳﺎ‬

‫ﺍﺳﻞ‬

/a.sa(x)/

/a.sal/

กลับสูคํายืมภามลายู มาตรฐาน

‫ﺍﺻﻞ‬ กลับสูคําเดิมในภาษา อาหรับ

/asl/

4.2) คําที่เปลี่ยนเสียงตางจากภาษามาตรฐาน ‫ﺍﺧﻠﻪ‬ /ikh.lah/

*‫ﺍﺧﻼﺱ‬ /ikh.las/

กลับสูคํายืมภามลายู มาตรฐาน หลังจากมี การเปลี่ยนเสียงสะกด ของพยางคสุดทาย

‫ﺇﺧﻼﺹ‬ กลับสูคําเดิมในภาษา อาหรับไดใกลเคียงกวา

/ikh.las/

* ภาษามลายูรูปแบบญาวีในบริบทสามจังหวัด จะเขียนวา /‫ ﺍﺧﻼﺹ‬/ อยูแลว ก็จะงายตอการทํา

ความเขาใจภาษาอาหรับ 4.3) สวนคําที่อยูในรูป “อาการนาม” อาทิ ภาษามลายูกลางสามจังหวัด ภาษามลายูมาตรฐาน ภาษาอาหรับ ชายแดนภาคใต ‫ﺻﺒﺎ‬

‫ﻛﺼﱪﺍﻥ‬

‫ﺮ‬‫ﺒ‬‫ﺻ‬

/so . ba/

/ke . şo . ba . ran/

/şobr/

ความหมาย ความอดทน

ในการอธิบายยอนกลับสูรูปคําเดิมที่เปนมาตรฐานในภาษาอาหรับ ควรยึดภาษาแมเปน หลัก ในคําประเภท “อาการนาม” เชนนี้ อาจตองชี้แจงคําเดิมในภาษาอาหรับกอน หลังจากนั้น จึงชี้แจงรูปแบบคําในภาษามลายูมาตรฐาน ดังแผนภาพ ตอไปนี้ ‫ﺻﺒﺎ‬ /a.sa(x)/

‫ﺻﱪ‬ กลับสูคําเดิมในภาษา อาหรับ

/a.sal/

‫ﻛﺼﱪﺍﻥ‬ กลับสูคํายืมในภาษา มลายูมาตรฐาน

/asl/

รากศัพทของภาษามาตรฐานเมื่อกลับ ยอนไปสูร ากศัพทเ ดิม เชน “ ‫ ”ﺹ ﺏ ﺭ‬ซึ่ง มี ความหมายวา “อดทน” เปนตนทุนทางภาษาโดยที่ผูเรียนสามารถเขาใจทันที โดยไมตองเรียนรู คําศัพทใหมมาเพิ่มในคลังสมองของผูเรียนอีก จึงเปนการชวยในการประหยัดพลังงานและเวลาใน การอธิบาย โดยเฉพาะคําศัพทที่เปนนามธรรม เชน คํา “อดทน” นี้ ผูเรียนอาจเพียงแคตอยอดใน การทําความรูจักวิธีก ารผันรากศัพทคําดัง กลาวในรูป กริยา เปน /‫ﺮ‬‫ﺒ‬‫ﺻ‬/ /‫ﺒﹺﺮ‬‫ﺼ‬‫ﻳ‬/ หรือ /‫ﺒﹺﺮ‬‫ ﺍﺻ‬/ รวมถึงมาตราหรือรูปแบบของคําประเภทตางๆ ที่มีการเพิ่มหนวยเสียง การเปลี่ยนรูป เปนตน

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

1) การสรางบทเรียนและแนวการสอนระดับประโยค เริ่มดวยประโยคสั้นๆ ที่ประกอบดวยคํายืม ทั้งหมด อาทิ บัณฑิตวิทยาลัย (‫)ﺻﻴﺤﺔ ﺍﻳﺖ ﺍﺩﺍﻟﻪ ﺳﻮﺍﺕ ﻧﻌﻤﺔ‬ . ‫ﺔ‬‫ﻤ‬‫ﺍﻟﺼﺤﺔ ﻧﹺﻌ‬ - และการวิจัย (‫ )ﺍﺳﺎﺱ ﺍﳝﺎﻥ ﺍﺩﺍﻟﻪ ﺗﻘﻮﻯ‬. ‫ﻯ‬‫ﻘﹾﻮ‬‫ ﺍﻟﺘ‬‫ ﺍﻹﳝﺎﻥ‬‫ﺃﺳﺎﺱ‬ - หนา 393 (‫ )ﺍﺧﻼﺹ ﺍﻳﺖ ﺍﺻﻞ ﻋﻘﻴﺪﺓ‬. ‫ﺓ‬‫ﻴﺪ‬‫ﻘ‬‫ﻞﹸ ﺍﻟﻌ‬‫ﺍﻹﺧﻼﺹ ﺃﹶﺻ‬ (‫)ﳏﻤﺪ ﻓﻬﻢ ﺗﻔﺴﲑ ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟﻔﺎﲢﺔ‬. ‫ﺔ‬‫ﺤ‬‫ ﺍﻟﻔﺎﺗ‬‫ﺓ‬‫ ﺳﻮﺭ‬‫ ﺗﻔﺴﲑ‬‫ﻢ‬‫ ﻓﺎﻫ‬‫ﳏﻤﺪ‬ หลังจากนั้นเริ่มเพิ่มคําบางคําที่ไมใชคํายืมในประโยค อาทิ (‫)ﻳﻮﺳﻒ ﺑﺮﺍﺩﺍ ﺩﺍﱂ ﻣﺴﺠﺪ‬ . ‫ﻳﻮﺳﻒ ﰲ ﺍﳌﺴﺠﺪ‬ (‫ )ﺳﺎﻱ ﺳﻮﻙ ﻣﱰﻳﺎﺭﻫﻲ ﻣﺮﻛﺰ ﺣﻔﻆ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ‬‫ ﺍﻟﻘﹸﺮﺁﻥ‬‫ﻔﹾﻆ‬‫ﺮﻛﹶﺰﹺ ﺣ‬‫ ﺯﻳﺎﺭﺓﹶ ﻣ‬‫ﺐ‬‫ﺃﺣ‬ 2) ในขณะที่มีการใชคําศัพทภาษาอาหรับ ควรนําคํายืม ในภาษามลายูมาเทียบดวย พรอมกับ อธิบ ายการเปลี่ยนแปลง เพื่อ สรางความสัม พันธของภาษาทั้ง สาม คือ มลายูในสามจัง หวัด ชายแดนใต มลายูมาตรฐาน และภาษาอาหรับ โดยพิจารณาตามหนวยคําฐาน (base) หนวยคํา เติมหนา (prefix) หรือหนวยคําเติมหลัง (suffix) ทั้งนี้เพื่อเอื้อใหครอบคลุมถึงการบรรยายภาพที่ ไมสามารถแยกหนวยคําในลักษณะดั้งเดิม ดังตัวอยาง หนวยคําเติมหนา-หลัง [ke-an] ในภาษา มลายูมาตรฐานทีใ่ ชแสดงเปนนามกริยา อาทิ ภาษามลายูในสาม ภาษาอาหรับ จังหวัด ‫ ﺻﺒﺎ‬/so . ba/ ‫ﺮ‬‫ﺒ‬‫ﺻ‬ ‫ ﺍﳝﻲ‬/i . mae/

‫ﺇﳝﺎﻥ‬

ภาษามลายู รูปญาวี ‫ﻛﺼﱪﺍﻥ‬

ภาษามลายูรูป โรมัน

ความหมาย

kesobaran

‫ﻛﺎﳝﺎﻧﻦ‬

Keimanan

ความ อดทน การศรัทธา

3) หลังจากนั้นฝกผูเรียนใหสามารถเรียนรูลักษณะทั่วไปของภาษาอาหรับ ซึ่งใชรากศัพทของคํา ยืมที่รูจักกันทั่วไปในภาษาหลัก ลักษณะโครงสรางของไวยากรณและการสรางคําจัดทําขึ้นอยาง งายๆ โดยที่รากคําหนึ่งๆ สามารถขยายออกไปเปนศัพทที่ไดจํานวนมากโดยการใชหนวยคําเติม หนา หนวยคําเติมกลาง และหนวยคําเติมหลัง ทั้งนี้เพื่อเอื้อใหครอบคลุมถึงการบรรยายภาพที่ไม สามารถแยกหนวยคําในลักษณะดั้งเดิม ความหมายของกริยาตนเคาในภาษาอาหรับสัมพันธกับ กาล การก และลักษณะทางไวยากรณอื่นๆ ในลักษณะรวม ดังตัวอยาง เชน หนวยคําเติมหนา ‫ﻠﹶﺺ‬‫ ﺃﹶﺧ‬/akh.la.şo/ เขา ซื่อสัตย Dia ikhlas หนวยคําเติมกลาง ‫ﻢ‬‫ ﻓﺎﻫ‬/fa.him/ ผู เขาใจ Yang faham หนวยคําเติมหลัง ‫ﻮﻥ‬‫ﻤ‬‫ﻠ‬‫ﺴ‬‫ﻣ‬/mus.li.mun/ บรรดา มุสลิม Para muslim 4) ขั้นตอนตอไป ควรมีแบบฝกในรูปแบบตางๆ โดยเนนคํายืม ในมาตราที่หลากหลาย ในประโยค และบทสนทนา และบทความ พรอมกับเทียบภาษามลายูมาตรฐานตลอดหลักสูตร

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บทสรุป บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 394

การประยุ ก ต ใ ช คํ า ยื ม ภาษาอาหรั บ ในภาษามลายู ส อดคล อ งกั บ ความเป น จริ ง ใน ชีวิตประจําวันของผูริเริ่มเรียนภาษาอาหรับ เขาเรียนรูสิ่งใกลตัว ไมตองสรางจินตนาการในการ เขาใจความหมาย ไมตองใชการทองจํา นับเปนตนทุนทางภาษาโดยที่ผูเรียนสามารถเขาใจทันที โดยไมตองเรียนรูคําศัพทใหมม าเพิ่มในคลัง สมองของผูเ รียนอีก นับ เปน เปนการชวยในการ ประหยัดพลังงานและเวลาในการอธิบาย ผูเรียนสามารถตอยอดในการทําความรูจักวิธีการผันราก ศัพทคําดังกลาวในรูปกริยา รวมถึงมาตราหรือรูปแบบของคําประเภทตางๆ ที่มีการเพิ่มหนวย เสียง การเปลี่ยนรู ป เปนต น ผูเ รียนก็ส ามารถที่จ ะเรีย นรูศัพ ทภาษาอาหรับ เบื้อ งตน และ พัฒนาการเรียนรูไดเร็วกวา หลัก สู ตรสหสัม พันธนั บ เป นหลั ก สูตรที่สํา คัญ หลัก สูต รหนึ่ ง ในบรรดาหลั ก สูต รทาง ภาษาศาสตรประยุกต โดยการนําแนวคิดและหลักการในลักษณะสหศาสตรไปใชประโยชนในการ สรางเสริมการเรียนรูศาสตรอื่นๆ เพื่อผลทางการพัฒนาการเรียนรูเชิงวิชาการหรือเพื่อการสือ่ สาร และการรับใชสังคม และยังปรับปรุงแกไขขอบกพรองของหลักสูตรรายวิชาภาษาอาหรับ โดย นําเอาเนื้อหาของสาขาวิชาภาษามลายูที่สัมพันธกันมาผนวกเขาไว โดยเฉพาะในรูปคําที่มีการยืม ใชจากภาษาอาหรับนับเปนการมุงแกไขที่เหตุหรือสาเหตุ และปรับปรุงหลักสูตรที่เปนอุปสรรคใน การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอาหรับ อันจะมีสวนทําใหแนวทางการพัฒนาหรือแนวทางการ แกไขเปนไปในทางที่ตรงจุดตรงประเด็น ครอบคลุม ทั่วถึง สมบูรณ และเปนระบบ โดยไมทําลาย เอกลักษณของเนื้อหาของวิชาทั้งสอง แตจะแสดงใหเห็นวาแตละเนื้อหาวิชาเสริมกัน มีลักษณะใน การจัดใหมีการสัมพันธระหวางวิชาที่ไมซับซอน เพื่ อแกปญหาของความซับซอนของเนื้อหาใน หลักสูตร โดยเฉพาะความหมายของคําศัพทตางๆ ดังนั้น เนื้อหาซ้ําซอนกันรวมวางแผนการสอน รวมกัน และมีความสัมพันธใน 3 หัวขอ ไดแก สัมพันธขอเท็จจริง สัมพันธในหลักเกณฑ และ สัมพันธตามหลักปฏิบัติสังคม การศึกษาสหสัม พันธภาษาอาหรับและภาษามลายูไดดําเนินบนพื้นฐานดานจิตวิทยา การศึกษาและวิเคราะหประเด็นหลักๆ แลวนํามาจัดใหเหมาะกับธรรมชาติการเรียนรูของผูเรียน ในบริบทจังหวัดชายแดนใต นับเปนสวนหนึ่งของการคิดเชิงอนาคตดานหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู ผลการศึกษาครั้งนี้ไมอาจใชเปนตัวชี้วัด เพื่อยืนยันในการไดรับผลสัมฤทธิ์ในการเรียน การสอนภาษาอาหรับและภาษามลายูในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใตของสถาบันใดสถาบัน หนึ่ง หรือในพื้นที่ๆ หนึ่งเปนการเฉพาะเจาะจงได เนื่องจากเปนการศึกษาการออกแบบหลักสูตร สหสัม พันธภาษาอาหรับ -มลายูในภาพรวม แตอยางนอยก็พอใชเปนแนวทางหรือเปนพื้นฐาน สําหรับ การศึกษา วิจัย และนําไปประยุกตใชเพื่อพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอน ภาษาอาหรับในบริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใตได สว นประสิท ธิผ ลของการประยุ ก ต ใช คํา ยืม จากภาษาอาหรั บ ในภาษามลายูใ นการ ออกแบบหลักสูตรสหสัมพันธภาษาอาหรับ-มลายูที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษานี้ 1) กอใหเกิดความรูใหมเกี่ยวกับหลักสูตรสหสัมพันธ 2) โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตและสถาบัน ปอเนาะไดองค ป ระกอบและแนวทางการจัดการหลัก สูตรสหสัม พันธภาษาอาหรับ -มลายูที่ เหมาะสมสําหรับการนําไปประยุกตใชเปนหลักสูตรชั้นเรียนการสอนเชิงสัมพันธเนื้อหาระหวาง การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

กลุมสาระการเรียนรูภาษาอาหรับกับกลุมสาระการเรียนรูภาษามลายูที่เกี่ยวกับคํายืมจากภาษา อาหรับในทุกโรงเรียนตามสภาพและบริบทของแตละโรงเรียน 3) โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจัง หวัดชายแดนภาคใตและสถาบัน บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย ปอเนาะไดแนวทางการเรียนการสอนภาษาอาหรับที่สอดคลองกับบริบทพื้นที่สามจังหวัดชายแดน หนา 395 ภาคใต 4) การเรียนการสอนภาษามลายูมาเลเซียมีประสิทธิภาพและนักศึกษาไดรับการสงเสริม และพั ฒ นาศั ก ยภาพในการใช ภ าษามลายู ใ ห อ ยู ใ นระดั บ ที่ ใ ช ใ นการทํ า งานได เ ป น อย า งดี (Proficiency working level) 5) อาจารย บุคลากร และสถาบันอุดมศึกษาไทยไดแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาอาหรับและภาษามลายูใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและมีผลในทางปฏิบัติจริง 6) เปนขอมูลสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของในการสงเสริมและสนับสนุนอยางถูกตองและ เหมาะสม เพื่อการพัฒนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและสถาบันปอเนาะไดอยางเปน รูปธรรม เอกสารอางอิง กําชัย ทองหลอ. (2554). “หลักภาษาไทย”. พิมพครั้งที่ 53. กรุงเทพ: รวมสาสน (1977) จํากัด. จรุณี เกาเอี้ยน. (2555). “เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา กลยุทธและแนวทาง ปฏิบัติสําหรับผูบริหารมืออาชีพ”. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ชวลิต ชูกําแพง. (2551). “การพัฒนาหลักสูตร”. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสารคาม ชวลิ ต ชู กํ าแพง. (2553) . “การวิจั ย หลั ก สู ตรและการสอน”. พิ ม พ ค รั้ง ที่ 2. สํ า นัก พิ ม พ มหาวิทยาลัยสารคาม ซูฮัยมีย อาแว. (2552). “ภาษามลายูปาตานีเปนมรดกตกทอดทางอารยธรรมอันภาคภูมิใจแหง โลกมลายู”. ใน International Conference Proceeding: The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World. 11-12 December 2009, Chulalongkhon University, Bangkok, Thailand นิเลาะ แวอุเซ็ง และคณะ. (2551). “รายงานการวิจัย เรื่อง สภาพ ปญหา และความตองการใน การจั ด การศึ ก ษาของสถาบั น ศึ ก ษาปอเนาะในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต . มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นิตยา เปลื้องนุช. (2554). “การบริหารหลักสูตร”. โรงพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน พิณทิพย ทวยเจริญ. (2547). “ภาพรวมของการศึกษาสัทศาสตรและภาษาศาสตร”. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สุวิไล เปรมศรีรัตน. (2541). “พัฒนาสื่อภาษาพื้นบาน กรณีภาษาเขมรถิ่นไทย”. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์. (2552). “ชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนีย นักปรัชญาเมธีดานการศึกษาและ การเมื องของโลกมลายู (พ.ศ. 2399-2451)”. ใน International Conference Proceeding: The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558


The 2nd National Conference 2015 on “Knowledge Integration for Peaceful Society and The ASEAN Community Development”

บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย หนา 396

on Patani and the Islamic World. 11-12 December 2009, Chulalongkhon University, Bangkok, Thailand รุ ง แ ก ว แ ด ง . (2552). “ ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย ม า ต ร ฐ า น ต่ํ า ” อ อ น ไ ล น https://www.gotoknow.org/posts/264872) สืบคนเมื่อวันที่ (28 เมษายน 2558) Ismail Hamid. (Mac, 1982). “Hubungan Kesusasteraan Arab dan Parsi dengan Kesusasteraan Melayu Lama”. Kuala lumpur: Dewan Bahasa. Mohamad Zamberi A.Malek. (1994). “Patani Dalam Tamadon Melayu”. Selangor Darul Ehsan: Dewan Bahasa dan Pustaka. Nik Safiah dan rakan-rakan. (2006). “Tatabahasa Dewan Edisi Baharu”. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ออนไลน "‫ ﻋﺮﺽ ﻭﲢﻠﻴﻞ‬:‫ "ﺍﻷﻟﻔﺎﻅ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺍﳌﻘﺘﺮﺿﺔ ﰲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‬،‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﺷﻴﻚ‬ http://www.arabtimes.com/portal/article_display.cfm?ArticleID=21827 สืบคนเมื่อวันที่ (27 เมษายน 2558)

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 4 มิถุนายน 2558



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.