Jin

Page 1


‫ب‬


..

ก ก ก ' '((

ก !" # $ ก% & ) ก * + , -- ,.*

อาเซ็ม อัชชะรีฟ เรียบเรียง

2557 ราคา

60 บาท


.. ก อาเซ็ม อัชชะรีฟ ) )

ก ก aalsyareef@gmail.com 09 0505 0100

2557

ก ‫ب‬


ด&วยพระนามของอัลลอฮฺผู&ทรงเมตตา ผู&ทรงปรานียิ่ง บรรดาสรรเสริญแด9ผู&อภิบาลแห9งสากลโลก ความสันติสุข จงมีแด9ท9านเราะซูล ซึ่งเปAนผู&นําแห9งมนุษยชาติ ในจักรวาลรอบตัวเราซึ่งมีสรรพสิ่งมากมายสุดคณา นับอยู9นั้น ยังมี สิ่งต9างๆ อีกมากมายที่เราไม9อาจมองเห็ น หรือสัมผัสได& อัลลอฮฺ ได&ทรงสร&างพลังธรรมชาติขึ้นใน ร9 า งกายและวิ ญ ญาณของมนุ ษ ยK พลั ง ธรรมชาติ อั น นี้ จ ะ แตกต9างกันไปในแต9ละคนทั้งในด&านคุณสมบัติ ลักษณะของ พลังและผลต9างๆ ของมัน ผู&ที่มีสติปLญญาสามารถรับรู&ถึง การมีอยู9ของสิ่งที่ไม9อาจมองเห็นได&และจะไม9ปฏิเสธผลของ วิญญาณที่มีต9อร9างกาย โรคภั ย ไข& เ จ็ บ ยิ่ ง วั น ยิ่ ง เพิ่ ม มากขึ้ น บรรดานั ก การแพทยKไม9มีความสามารถที่จะรักษาได&ทุกโรค ภัยพิบัติ และอุ ป สรรคได& แ พร9 ห ลายไปทั่ ว ผู& ปO ว ยทุ ก หนแห9 ง มี ความรู&สึกสับสน ต9างสรรหาวิธีการรักษา แต9ก็ไม9ได&ผล ทุก ‫ت‬


สิ่ ง ทุ ก อย9 า งนี้ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ๆ ในมื อ ของพวกเขามี วิ ธี ก าร บําบัดรักษาที่ดีเลิศ นั่นคือ คําตรัสของผู&อภิบาลแห9งสากล โลก และทางนําของผู&นําแห9งมนุษยชาติ จะมีผู&แนะนําทางที่ ดีบ&างไหม หรือคู9มือ เพื่อที่เราสามารถทอดทางสู9เส&นทางที่ เที่ยงตรง แนวทางในการรักษาโรคทางวิญญาณและผลของมัน จะต&องใช&วิธีทางวิญญาณ ต&องใช&อัลกุรฺอานและการอ9าน ที่มาจากอัลกุรฺอานซึ่งเรียกว9า “ ก ” อะนัซได&กล9าวว9า ท9 า นนบี มุ หั ม มั ด ได& อ นุ ญ าตให& ใ ช& รุ ก ยะฮฺ เพื่ อ รั ก ษา อาการไข& นัยนKตาชั่วร&ายและอาการชาได& (เศาะฮีฮฺมุสลิม, 57/2196) อิ บ นุ ก็ อ ยยิ ม อั ล เญาซี ย ะฮฺ ไ ด& เ ห็ น กลุ9 ม ชนจากพวก ซะลัฟเขียนอายะฮฺอัลกุรฺอาน หลังจากนั้นก็ดื่มน้ํานั้น ผู&รู& ทางศาสนาได&มี ค วามคิ ด เห็ นว9 าทํ า ได& ตั ว อย9 างเช9น อบี กิ ลาบะฮฺเล9าจากอิบนุอับบาซว9า เขาได&ใช&ให&คนๆ หนี่งเขียน อายะฮฺอัลกุรฺอานแก9หญิงผู&หนึ่งที่คลอดลูกยาก หลังจาก ‫ث‬


นั้นให&ชําระล&างร9างกายและรดด&วยน้ํานั้น (กษิดิษ, 2548, 111) เราสามารถรับการรักษาด&วยอัลกุรฺอานได&อย9างไร อัล กุรฺอานสามารถให&หายจากโรคได&จริงหรือไม9 โรคที่อัลกุรฺ อานสามารถรักษาให&หายได&มีชนิดไหนบ&าง ทุกโรคหรือโรค บางชนิ ด เท9 า นั้ น การรั ก ษาด& ว ยอั ล กุ รฺ อ านอย9 า งเดี ย ว เพียงพอแล&วหรือ ยาทางการแพทยK ไ ม9จําเปAนแล&ว ใช9ไ หม หรื อ ว9 า การรั ก ษาด& ว ยอั ล กุ รฺ อ านจะต& อ งเคี ย งคู9 กั บ ยา ทางการแพทยK เมื่อไรเราจะรักษาด&วยอัลกุรฺอานอย9างเดียว และเมื่ อ ไหร9 เ ราจะรั ก ษาด& ว ยอั ล กุ รฺ อ านที่ เ คี ย งคู9 กั บ ยา ทางการแพทยKได& ทั้งหมดนี้มีวิธีการอย9างไร บทบัญญัติทาง ศาสนาได&กําหนดเกี่ยวกับเรื่องนี้อย9างไร มีหลักฐานจากอัล กุรฺอานและอัซซุนนะฮฺหรือไม9 คําตอบของคําถามต9างๆ ข& า งต& น นี้ มี อ ยู9 แ ล& ว ในหนั ง สื อ เล9 ม นี้ รวมถึ ง อาการและ ลักษณะของผู&ที่ถูกญินนฺเข&าสิงในร9าง หลักฐานการมองเห็น ญินนฺสําหรับผู&ปOวยที่ญินนฺหมายจะทําร&ายเขา การติดต9อ ของการให& ร& า ยจากชั ย ฏอน คํ า แนะนํ า สํ า หรั บ ผู& ทํ า การ ‫ج‬


รักษาและสําหรับผู&ได&รับการรักษา นิยามใหม9ของการซิหิรฺ ที่ได&แยกแยะระหว9างการให&ร&ายจากญินนฺที่ถูกบังคับและไม9 ถูกบังคับจากผู&ใดผู&หนึ่ง วิธีพิสูจนKว9าถูกการให&ร&ายหรือถูก ซิหิรฺ อิทธิพลของญินนฺในการทําให&เปAนหมัน ความสัมพันธK ที่ไม9ราบรื่นทั้งระยะก9อนการแต9งงานและหลังแต9งงานแล&ว ข&อเท็จจริงเกี่ยวกับการแต9งงานระหว9างญินนฺกับมนุษยKใ น มุมมองของปLญญาและศาสนา รวมถึงการรักษาด&วยน้ําผึ้ง และหั บ บะตุ ซ เซาดาอ ที่ มี ก ารอ9 า นด& ว ยอั ล กุ รฺ อ าน นอกจากนั้นยังมีการพูดถึงคําโต&ตอบสําหรับผู&ที่ปฏิเสธการ รั ก ษาด& ว ยอั ล กุ รฺ อ าน การอนุ ญ าติ รั บ ประโยชนK จ ากการ รักษาด&วยอัลกุรฺอาน และเกี่ยวกับคําตอบสําหรับผู&ที่สงสัย ในการักษาด&วยอัลกุรฺอานอีกด&วย การ ก ตามหลักศาสนาอิสลามยังคงแพร9หลายไม9 มากนักในสังคมไทย อาจจะเปAนเพราะการขาดองคKความรู& หรือคู9มือที่ถูกต&องสามารถเปAนแหล9งเรียนรู&และนําไปใช&ได& เองในชี วิตประจํ าวัน อัน เนื่องจากการไม9หยั่งรู&ถึ งวิธีการ และขั้นตอนที่จําเปAนต&องปฏิบัติ เพื่อได&ผลลัพธิ์ที่สอดคล&อง ‫ح‬


กับพระประสงคKของอัลลอฮฺ ในการบําบัดและสรรหา วิธีการที่พระองคKทรงอนุญาตและดําเนินตามกฏเหตุและ ผลของพระองคKในการที่จะรักษาโรคต9างๆ ให&หายได& ไม9ว9า จะเปAนโรคทางด&านกายภาพ หรือทางจิตวิญญาณ เพราะ บางครั้ ง โรคบางโรคเกิ ด จากการคุ ก คามของ และ และมีอาการเกิดขึ้นทางกายภาพ ดังนั้น ถึงแม&ว9าจะ ไปหาแพทยK ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในการรั ก ษาทางด& า น กายภาพ แต9ไม9สามารถที่จะทําให&หายขาดจากโรคดังกล9าว ได& นอกจากจะต&องใช&วิธีก ารบําบัดทางด&านจิตวิญญาณ ดั ง นั้ น จึ ง จํ า เปA น อย9 า งยิ่ ง ในการทํ า ความรู& จั ก เบื้ อ งต& น เกี่ ย วกั บ อาการของโรคดั งกล9 าว และใช& วิ ธี ก ในการ บําบัด การบําบัดโรคทางด&านจิตวิญญานในประเทศไทย ยัง มีอีกหลายกลุ9มที่ใช&วิธีและขั้นตอนที่ไม9ถูกต&อง ไม9เพียงจะ ทําให&ไม9เกิดผลที่ดี มิหนําซ้ํายังผิดหลักศาสนาอีกด&วย

‫خ‬


หนัง สือเล9มนี้ ไ ด&เ รียบเรีย งจาก หนังสือหลายเล9ม เช9น หนังสือ “ ” ของชั ย คฺ ริ ย าฎ มุ หั ม มั ด ซะมาหะฮฺ ชาวอียิปตK ท9านผู&นี้เปAนผู&มี ประสบการณK หลายสิ บ ป\ ใ นการ บําบัดโรคทางด&านจิตวิญญาณ และ เปAนคู9มือที่ได&รับการรับรองจากสภามหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรฺ ประเทศอียิป ตK รวมทั้งยั งเปAนคู9 มือที่ไ ด&รับการยอมรับกั น อย9างแพร9หลายในบรรดาผู&บําบัดโรคทางด&านจิตวิญญาณ ในหลายประเทศด&วยกัน เช9น ประเทศอียิปตK ซาอุดีอารเบีย คูเวต ซีเรีย จอรKแดน เปAนต&น หนั ง สื อ “ Menjawab Persoalan Makhluk Halus” ของ ดาโต]ะฮารูน เด็น ชาวมาเลเซีย ซึ่งได&รวบรวมข&อถกเถียง เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เร&นลับต9างๆ และท9าน ก็ เ ปA น ผู& ที่ รู& จั ก ในด& า นการบํ า บั ด รั ก ษา ‫د‬


ผู&ปOวยที่ไ ด&รับผลกระทบจาก และหนังสืออื่นๆ อีก มากมาย หนังสือนี้มีวัตถุประสงคKเพื่อถอดองคKความรู&จากอัล กุรฺอาน อัลหะดีษและแนวความคิดของนักปราชญKอิสลาม ในการบําบัดโรคทางด&านจิตวิญญาณ เพื่อเสริมสร&างองคK ความรู& ความเข&าใจในการใช& ก ที่ถูกต&อง และวิธีการ และขั้ น ตอนในการบํ า บั ด โรคทางด& า นจิ ต วิ ญ ญาณที่ สอดคล&องกับหลักการอิสลาม เพื่อเปAนคู9มือสําหรับผู&บําบัด โรคทางด&านจิตวิญญาณ และผู&สนใจทั่วไป รวมถึงการใช& ด& ว ยตนเองในชี วิ ต ประจํ า วั น และเพื่ อ ส9 ง เสริ ม ให& สั ง คม มุสลิมมีการเอาใจใส9ในสุขภาวะ การใช&ชีวิตอย9างมีคุ&มค9า และถูกต&องตามครรลองคลองธรรมแห9งศาสนา หนังสือนี้ ยังนับเปAนทางเลือกอีกประการหนึ่ง และยังเปAนส9วนหนึ่งใน การแก&และคลี่คลายปLญหาสุขภาวะในพื้นที่เปAนระยะยาว โดยอาศัยการพัฒนาทักษะคนโดยการเสริมองคKความรู&ที่มี ประสิทธิภาพ และพัฒนาทักษะคนเพื่อรับรู&องคKความรู&ที่ ถูกต&องในกระบวนทัศนKอิสลามในการเสริมสร&างสุขภาวะที่ ‫ذ‬


สมบูรณKอย9างถ&วนหน&ากัน และคาดว9าจะเปAนประโยชนKต9อ สังคมมุสลิมเปAนอย9างมาก อัลลอฮฺ คือผู&ทรงชี้ แนวทางที่ดี และผู& ทรงทําให& การงานลุล9วงได&อย9างสมบูรณK อาเซ็ม อัชชะรีฟ

‫ر‬


1 สมอง 1 หัวใจ 2 จิตใจ 2 วิญญาน 3 ร9างกาย 3 !!" 1 # ! $ ก % $ 5 อาการที่เกิดจากการแทรกซ&อนทางวิญญาน 11 - อาการที่เกิดขึ้นในขณะนอนหลับและการฝLน 12 - อาการที่เกิดขึ้นในขณะที่รู&สึกตัว 13 ประเด็นญินนฺเข&าสิงร9างมนุษยK 17 การแบ9งประเภทของการให&ร&ายจากชัยฏอน 21 สาเหตุต9างๆ ของการถูกให&ร&ายจากญินนฺ 27 !

!!" 2 ก

ก&

31 ‫ز‬


( ) หน&า 31 36 41 42 43 45 53 56 56

การรักษาด&วยอัลกุรฺอาน ท9านเราะซูล นําอัลกุรฺอานใช&ในการรักษา เงื่อนไขสําคัญของผู&ทําการบําบัดรักษา คําแนะนําสําหรับผู&ทําการรักษา คําแนะนําสําหรับผู&รับการรักษา เงื่อนไขการรักษาที่สัมฤทธKผล ปรัชญาการรักษาด&วยอัลกุรฺอาน วิธีการรักษา อายะฮฺรุกยะฮฺ ซูเราะฮฺที่ทําให&ญินนฺที่ทรยศและกาฟcรฺได&รับความ เจ็บปวด 60 อายะฮฺอัล-อะซาบ 61 อายะฮฺอัช-ชิฟาอK 67 อายะฮฺที่ใช&รักษาโดยการฟLงจากเครื่องบันทึกเสียง 69 ‫س‬


( ) !!" 3 ก '( วิธีพิสูจนKว9าถูกทําร&ายหรือถูกซิหิรฺ การรักษาผู&ที่ถูกซิหิรฺ อายะฮฺที่สามารถลบล&างอิทธิพลของซิหิรฺ วิธีการรักษาผู&ที่ถูกซิหิรฺ ซิหิรฺ เสน9หา ซิหิรฺที่มีผลให&เห็นภาพหลอน ซิหิรฺที่มีผลเปAนบ&า ซิหิรฺที่มีผลให&เฉื่อยชา ซิหิรฺที่มีผลให&สับสนและลังเล ซิหิรฺที่มีผลให&เจ็บไข&ได&ปOวย ซิหิรฺที่มีผลให&การมีเพศสัมพันธKไม9สมบูรณK ซิหิรฺที่มีผลให&มีการหลั่งเร็ว ซิหิรฺที่มีผลให&เสื่อมสมรรถนะทางเพศ ซิหิรฺที่มีผลให&เปAนหมัน ‫ش‬

หน&า 71 71 75 76 80 89 91 91 93 93 95 97 105 106 107


( ) ผู&หญิงมีระดูเทียมซึ่งมีผลจากชัยฏอน เลือดไหลอย9างมากทางจมูก การอิจฉาริษยาและนัยนKตาแห9งการให&ร&าย การรักษาด&วยพระนามของอัลลอฮฺ !!" 5 ! ) !"* $* ก +, ก บทอ9านจากอัลกุรฺอาน บทอ9านที่ใช&ในการปeองกันตัว บทอ9านที่ใช&ในการปeองกันสถานที่ การเตือน การชี้แจง และการแนะนํา บทอ9านที่ใช&คุ&มครองให&ปลอดจากชัยฏอน บทอ9านบัซมะละฮฺ บทอ9านที่ใช&ในการอ9านในยามเช&า บทอ9านที่ใช&ในการอ9านในยามเช&าและยามเย็น บทอ9านที่ใช&อ9านในยามเย็น ‫ص‬

หน&า 111 113 114 127 137 137 194 198 204 207 212 213 214 236


( ) บทอ9านในขณะฟLงเสียงอะซาน บทอ9านหลังละหมาดมัฆริบ บทอ9านก9อนนอน การปฏิบัติตนเมื่อรู&สึกตัวในตอนกลางคืน การปฏิบัติตนเมื่อนอนไม9หลับ บทอ9านเมื่อมีการฝLน บทอ9านเมื่อประสบกับอุปสรรคร&ายแรง บทอ9านเมื่อรู&สึกกลัวจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง บทอ9านเมื่อรู&สึกเศร&าโศกเสียใจ บทอ9านเมื่อเกิดปLญหาหรือวิกฤต บทอ9านเมื่อรู&สึกกลัวชัยฏอน บทอ9านเมื่อประสบกับสิ่งทุกขKยาก บทอ9านเมื่อขาดแคลนปLจจัยยังชีพ บทอ9านเพื่อหลีกห9างจากปLญหาสารพัน บทอ9านเมื่อมีหนี้สิน ‫ض‬

หน&า 237 237 238 248 250 253 254 256 256 257 258 258 259 259 260


บทอ9านสําหรับผู&ที่มีความลังเล 260 บทอ9านใช&กับผู&ที่ปLญญาอ9อนหรือผู&ถูกสัตวKต9อย 261 บทอ9านสําหรับคุ&มครองเด็กเล็ก 265 บทอ9านสําหรับเปAนฝ\หรือสิว 265 บทอ9านสําหรับผู&ปOวยอ9านเอง หรืออ9านให&ผู&ปOวย 266 ข&อปฏิบัติของผู&ที่มี หาญะฮฺ 267 บทอ9านในขณะคลอดบุตรและมีทารกใหม9 269 อาการเจ็บปOวยของผู&หญิงและการคลอดบุตร 270 ข&อปฏิบัติเมื่อได&ทารกใหม9 273 บทกล9าวเมื่อมีอาการโกรธ 273 ข&อปฏิบัติของผู&ที่มีอาการหูอื้อและขาเหน็บชา 274 ข&อปฏิบัติสําหรับผู&ที่พูดจาหยาบคาย 274 คํากล9าวสําหรับผู&ที่ทําดีต9อเรา 275 การรักษาอาการปวดหัว 275 อาการปวดฟLน เจ็บคอ และลูกกระเดือก 278 รักษาอาการมึนงงและขี้เกียจ 279 อาการเปAนพิษ 280 ‫ط‬


บทนํา มนุษยประกอบดวยธาตุแ ละวิ ญญาน สวนธาตุเปน สวนของกายภาพที่ ป ระกอบดวยอวั ย วะตางๆ บางสวน อาจจะเปนสัญลักษณที่เชื่อมกับวิญญานที่เราไมสามารถ จะสัมผัสไดดวยอวัยวะภายนอก

สมอง เปนสัญ ลักษณของความคิด และสติ ป-ญ ญา ซึ่ง เปน สั ญ ลั ก ษณเดนดานจิ ต วิ ญ ญาน เปนสิ่งสามารถหยั่งรูได และสิ่งที่ ไมสามารถหยั่ ง รู ได เปนสิ่ ง ที่ เอื้ออํานวยใหเรารับรูได และสิ่งที่ ไมอํานวยใหเรารับรูได เปนสิ่งที่ ถูกกําหนดในอํานาจแหงการเลือกเสรีในสิ่งที่ถูกตองกับสิ่ง ที่ไมถูกตอง ในขอบเขตของการเลือกเสรีซึ่งอัลลอฮฺ ผู ทรงปรีชาญาน ไดทรงกําหนดใหมนุษยมีความปรารถนา เสรี ความตองการที่ อิ ส ระ สอดคลองกั บ พระประสงค


ของอัลลอฮฺ ซึ่งครอบคลุมความปรารถนาและความ ประสงคทุกประเภท

หัวใจ เปนสัญลักษณของอารมณ ซึ่งเปนสัญลักษณเดนอีก ประการหนึ่งดานจิตวิญญาน เปนสิ่งที่ เอื้ออํานวยทางดานจิตวิญญาน และ ธรรมชาติแหงการศรัทธาในการ ยกระดับความรูสึกสูการศรัทธาที่มั่นคง และเต็มเป:;ยมดวยความรูสึกในการ ดําเนินชีวิต บางครั้งอาจจะเปนสิ่งที่ไมอํานวยซึ่งจะนําสูการ รักโลก ความทะเยอทะยานที่เฉื่อยชา และความรับผิดชอบ ที่เลวราย

จิตใจ จิตใจ เปนสิ่งที่อัลลอฮฺไดทรงสราง อยางสมบู ร ณ แลวพระองคทรงดลใจใหมั น สามารถ แยกแยะระหวางความดี กั บ ความชั่ ว และระหวางการ 2


ยําเกรงและกับความเลวราย เปนขอเท็จจริงที่อัลลอฮฺ ไดตรัสวา ﴾ ihgfe dcba`﴿ ความวา แนนอนผู ขั ด เกลาจิ ต ใจยอมไดรั บ ความสําเร็จ และแนนอนผูหมกมุน (ดวยการ ทําชั่ว) ยอมลมเหลว (อัชชัมสฺ : 9-10)

(١٠-٩ :‫)اﻟﺸﻤﺲ‬

วิญญาน วิญญาน เปนสิ่งเรนลับที่ยั่งยืนซึ่งเราสามารถมีชีวิต อยูไดเนื่องจากมัน เปนกิจการของอัลลอฮฺ ไมมีใครจะ ลวงรู ไดนอกจากพระองค สิ่ ง ที่ พ ระองคทรงใหเรารั บ รู เกี่ยวกับวิญญานนั้นเพียงเล็กนอยเทานั้น

รางกาย ทุ ก สิ่ ง จะมี ห นาที่ เ หนื อ ทุ ก สิ่ ง และจากทุ ก สิ่ ง เพื่ อ ทุ ก สิ่ ง ดวยโครงสรางของรางกาย 3


มนุ ษ ยมี ชี วิ ต อยู ถาหากปราศจากรางกายแลวเราจะไม ปรากฏเรือนรางขึ้นมา เพราะฉะนั้น มนุษยคืออะไร มาจาก ไหน โรคของมันเปนอะไร อะไรเปนวิธีการรักษา และจาก สิ่งใดที่สามารถหายจากโรคได สิ่งที่เปนธาตุตางๆ สามารถรักษาไดดวยธาตุ พรอม กับการขอดุอาอและวอนขอจากอัลลอฮฺ และใชคําตรัส ของพระองคในการรักษา โรคทางกายภาพเกิดจากเชื้อแบคทีเรียและไวรัส หรือ เกิดจากความบกพรองบางบระการในหนาที่การทํางานของ อวัยวะบางสวน สาเหตุที่เกิดจากอวัยวะตางๆ ก็ตองอาศัย การรักษาทางการแพทย สวนโรคที่เกี่ยวกับวิญญานตอง รักษาทางดานวิญญานที่ถูกหลักชะรีอะฮฺ นั่นคือ อัลกุรฺอาน ดุอาอตางๆ การอานที่ใชในการปกปHอง การกลาวเพื่อขอ ความคุ มครองจากอั ล ลอฮฺ โดยไมตองใชยาแผน ป-จจุบัน เพราะมันจะไมมีผลใดๆ เลย

ก ก

ก ก

ก ก

4


บทที่ 1 ก โรคเกิดจากป-จจัย 2 ประการ คือทางดานกายภาพ และดานวิญญาน สวนดานกายภาพเปนโรคที่รางกายไดรับ ผลมาจากแบคที เ รี ย หรื อ ไวรัส หรื อ อวั ย วะบางสวนของ รางกายหยุดการทํางานที่เกี่ยวกับอวัยวะของรางกาย สวน โรคดานจิตวิญญาน เปนการขัดแยงระหวางวิญญานที่อยู ภายนอกรางกายของมนุษยกับวิญญานผูปJวยแลววิญญาน ภายนอกจะครอบงํ า จนวิ ญ ญานภายในแพ ในทาง การแพทยไดนิ ย ามความขั ด แยงนี้ เ ปนการเปลี่ ย นแปลง อยางกระทันหันของประจุไ ฟฟHาในสมอง ไมวาจะมีประจุ ไฟฟHาเพิ่มขึ้นใหกับอวัยวะบางสวนหรืออวัยวะตางๆ จึงเกิด ค ว า ม ขั ด แ ย ง บ า ง ส ว น ห รื อ ทั้ ง ห ม ด ห รื อ เ ปน ก า ร เปลี่ยนแปลงในประจุไฟฟHาใหลดลง จึงเกิดอาการที่เรียกวา การเสื่อมสภาพในบางสวนของอวัยวะหรืออวัยวะตางๆ 5


ทั้ ง สองกรณี จ ะมี ผ ลทางดานกายภาพ บางครั้ ง วิ ญ ญานตางๆ ที่ อ ยู ภายนอกรางกายของมนุ ษ ยซึ่ ง มา ครอบงําและมีศูนยกลางอยูที่สมอง หัวใจ และเสนเลือด ตางๆ ก็จะทําใหเกิดโรคทางสมอง จิตใจและอารมณ ถา หากเราจะแบงอยางละเอียดแลว โรคที่เกิดดานกายภาพ แบงออกเปน 2 ประเภท ประเภทแรกเปนโรคที่เ กี่ย วกั บ อวัยวะของรางกายอยางเดียว และประเภทหลังเปนโรคที่ เกี่ยวกับอวัยวะและวิญญาน บางครั้งจะเปนโรคที่เกี่ยวกับ วิญญานอยางเดียว 1. ! ก ก" # ก $ วิธีการ รักษาดวยการรักษาทางรางกายซึ่งเปนวัตถุ เพราะสิ่งที่เปน วัตถุก็จะบําบัดดวยวัตถุ นั่นคือ การรักษาทางการแพทย 2. ! ก ก" %% ก ก" # ก จากประสบการณในการรั ก ษาจะพบวาญิ น นฺ1 1

ญินนฺเปนสรรพสิ่งถูกสรางจากไฟ (อัลหิญิรฺ 27) (อัรฺเราะหฺมาน 15) ประเภทหนึ่ง ที่ตางจากมนุษยและมลาอิกะฮฺ ซึ่งใชชีวิตในมิติที่มนุษยมองไม เห็น (ดังอายะฮฺที่ 27 จากซูเราะฮฺอัลอะอฺรอฟไดกลาวไว) ญินนฺไดมีมากอน

6


สามารถใหเกิดผลทางอวัยวะของรางกายได และมีอาการ เหมือนกั บผูประสบโรคดานกายภาพ เชน อัมพาต ใบ หู หนวก และตาบอด เปนตน ในบางกรณี ญิ น นฺ จ ะเขาไป ควบคุมในเสนเลือดบางชนิด ทําใหรางกายเกิดโรคตางๆ ที่ กลาวมาขางตน หรือโรคอื่นๆ ญินนฺมีอิทธิพลในการทําใหเกิดอาการปJวย เชนการ เกิดเสื่อมสภาพของอวัยวะบางสวนของรางกายของมนุษย ซึ่ ง มี อ าการเหมื อ นกั บ ที่ เ ปนโรคอั ม พาต การรั ก ษาทาง การแพทยเกิ ด การสับ สนและไมเกิ ดผลในการรั ก ษาโรค ดังกลาวได และอาการทางดานกายภาพอีกหลายประเภท ที่มีอาการเชนนี้ แตมันเกี่ยวกับวิญญานที่มีผลตออวัยวะ ของรางกาย เมื่ อ มี ก ารรั ก ษาดวยการใชอายะฮฺ จ าก อัลกุรฺอาน และมีปฏิสัมพันธกับญินนฺ โรคทางดานกายภาพ ก็หายไป

มนุษย (อัลอะอฺรอฟ 26-27) และรูเรื่องราวที่เกิดขึ้นในชั้นฟHากอนที่ทานนบี มุหัมมัด ถูกแตงตั้งเปนเราะซูล

7


3. ! ก ก" %% บางคนประสบกับ อาการทางดานอวั ย วะและทางวิ ญ ญาน ดั ง นั้ น เขา จําเปนตองไดรับการรักษาทั้ง 2 ดาน ทางดานกายภาพ เขา จะตองไดรับ การรัก ษาโดยแพทย สวนดานวิญญาน เขา ตองอาศัยการรักษาดวยอายะฮฺจากอัลกุรฺอาน ทานเราะซู ล บรรดาเศาะหาบะฮฺ บรรดาชนยุ ค ตาบิอีนและบรรดาชนยุคตาบิอฺตาบิอีนไดทําการรักษาโรค และอาการตางๆ ไมวาทางดานกายภาพและทางดาน วิ ญ ญานดวยอั ล กุ รฺ อ าน แตในกรณี ที่ เ ปนโรคทางดาน กายภาพ เราปฏิบัติพรอมกับการวอนขอจากอัลลอฮฺ ใหหายขาดจากโรคตางๆ แลว หลักศรัทธาที่ถูกตองยังเนน ใหเรายึดเอาหลักของกฏเหตุและผลในการรักษาโรคที่เกิด ขึ้นกับอวัยวะตางๆ ของรางกายโดยการไปหาแพทยเพื่อรับ การรักษา การสรรหาวิธีในการรักษาทางดานกายภาพไม ขัดกับความมั่นใจของเราที่มีตออัลลอฮฺ มิหนําซ้ําการ หาวิธีการรักษาเปนสวนหนึ่งของ ' ของเราในความ ชวยเหลือจากพระองค 8


4.! ก ก" %% ( การรั ก ษาทางดาน การแพทยไมมีผลไดเลย มิหนําซ้ํายาที่ทานไปนานๆ จะมี ผลขางเคี ย งอี ก ตางหาก และจะใหโทษแกรางกายและ จํ า เปนตองรั ก ษาโรคขางเคี ย งนั้ น ดวยการรั ก ษาทาง การแพทย ตนเหตุ ข องทั้ ง หมดนี้ ล วนมาจากโรคทาง วิญญาน ดวยเหตุนี้ ไมวาโรคที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลทางวิญญาน ลวนๆ หรือโรคที่เกิดจากวิญญานและทางกายภาพพรอมๆ กั น ผมแนะนํ า วาใหลดหรื อ หยุ ด จากการรั ก ษาทาง การแพทยอันเนื่องจากไมสามารถที่จะมีผลใหหายขาดได หรือไมเกิดผลใดๆ เลย มิหนําซ้ําจะใหเกิดผลขางเคียงอีก ดวย แนนอน ผลที่ออกมาในระยะตอมาก็ไมพนจากการให ยาแกปวด ยานอนหลับ แมกระทั้งยากลอมประสาท หรือ ประเภทของยาเสพติดบางชนิด มันเปนสิ่งที่สําคัญมากในการที่เราจะแยกแยะระหวาง โรคทางกายภาพกับโรคที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลทางวิญญาน เพื่อความสะดวกในก ก ก! ถา 9


หากเปนโรคทางกายภาพ เราจะตองยึดกฏเหตุและผลใน การรั บ การรั ก ษาทางการแพทยพรอมกั บ ขอดุ อ าอ จากอั ล ลอฮฺ ดวยบทดุ อ อาอเฉพาะที่ มี ใ นอั ล กุ รฺ อ าน และอัลหะดีษ และบางอายะฮฺจากอัลกุรฺอานที่เปนอายะฮฺ การแหงบําบัด (อายาตุ อัช-ชิฟาอ() เพื่อใหพนจากการ ทดสอบและสิ่งที่จะใหโทษได แทจริงแลว อัลลอฮฺ จะ ทรงอยูชิดใกลกับผูขอดุอาอ และพระองคเปนผูทรงตอบ รับคําดุอาอ สวน ก "#$ ก% & ยาแผน ป-จจุบันและการรักษาทางการแพทยไมมีผลใดๆ เลย เราก็ เลยเสนอแนะใหหยุดจากการทานยา ดังนั้น ผมพยายาม พูดถึงเกี่ยวกับการระบุชนิดของอาการของโรคที่เกิดขึ้นจาก อิทธิพลทางวิญญาน มันเปนการสัมผัสที่นํามาซึ่งความชั่ว รายของชัยฏอน2 แลวใหเกิดผลทางกายภาพ การถูกเวท มนตดวยวิธี ตางๆ และสิ่งตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการกระทํ า 2

เปนชื่อที่ใชเรียกญินนฺที่คิดรายและเปนประเภทของญินนฺที่มีความชั่ว

ราย

10


ของชัยฏอน เชน การมีเลือดไหลอยางมากทางอวัยวะเพศ ของผูหญิง หรือเปนการผูกมัดที่มาจากชัยฏอน หรือสิ่งที่ เกิ ด ขึ้ น จากอิ ท ธิ พ ลทางวิ ญ ญานที่ ม าในรู ป แบบของการ อิจฉาริษยา เปนตน

อาการที่เกิดจากการแทรกซอนทางวิญญาน กอนที่เราจะสาธยายถึงอาการที่เกิดจากการแทรก ซอนทางวิญญาน และโปรแกรมทางการรักษาโรคนี้ จําเปน อยางยิ่งที่จะตองมาชี้แจงสิ่งที่สามารถแยกแยะระหวางโรค ที่เกิดจากอิทธิพลทางวิญญาน กับโรคทางกายภาพ การไดรับอิทธิพลทางวิญญานจะมีอาการตางๆ กัน สวนหนึ่งจะเปนอาการที่เกิดขึ้น' #) *+ก และอีกสวน หนึ่งจะเปนอาการที่เกิดขึ้น' #) " ก ,-

11


ก ก

- การนอนไมหลับ และหลับไมสนิท - ความเครียด ในลักษณะทั่วๆ ไป - การฝ-นที่บอยครั้ง - การฝ-นราย - การฝ-นที่นากลัว ทําใหตกใจ เครียด และการฝ-นที่ สยดสยองในรูปแบบตางๆ - การมองเห็นงู แมลงปJอง หรือสัตวตางๆ เชน สุนัข แมว ควาย อูฐ หรือสัตวอื่นๆ - การพูดของผูที่กําลังนอนหลับ หรือ เปลงเสียง แปลกๆ ออกมา ในขณะที่กําลังนอนหลับอยู - การกัดฟ-นในขณะที่กําลังนอนหลับ - การตะโกน หัวเราะ หรือรองไหในขณะนอนหลับ - ผูนอนฝ-นวาเขาตกจากที่สูง หรือกําลังเดินในปJา ชา หรือในที่ที่นากลัว - ผูนอนฝ-นวาเขากําลังเดินอยูในน้ําหรือในเลือด 12


- ผูนอนฝ-นวาเขาเห็นผี - ผูนอนฝ-นวาเขาเห็นผูคนในลักษณะที่แปลกมาก เชน คนสูงหรือเตี้ยผิดปกติ เปนตน - หรือ ความฝ-นใดๆ ที่เขาไดฝ-นสิ่งนั้นบอยๆ และทํา ใหเขาไมสบายใจ คับอก และนากลัว หรือฝ-นแลว เกิดจริง แตทําใหเขามีความรูสึกไมดีตอจิตใจ เชน ผูที่เห็นในฝ-นวาเกิดอุบัติเหตุแลวมันก็เกิดขึ้นจริง หรือเห็นวามีคนปJวยหรือตาย หลังจากนั้นมันก็ เกิดขึ้นจริง

- มีอาการเจ็บในจุดเฉพาะตามรางกายซึ่งยาตางๆ ไมสามารถจะรักษาใหหายได - มี อ าการปวดหั ว เปนประจํ า ซึ่ ง ไมสามารถระบุ สาเหตุทางกายภาพได - อาการเศราโศก และรูสึกคับอกและหายใจไมออก - การหนีออกจากบาน หรือหนีหางจากสามี ภรรยา 13


ลูกๆ หรือครอบครัวโดยไรเหตุผลและไมสามารถ อธิบายไดชัดเจน - การเพิ่มความถี่ในการเตนของหัวใจโดยไมไดออก แรงกายเลย - การหลงกับเสียงกระซิบกระซาบของชัยฏอนเพื่อ ปฏิ บั ติ สิ่ งเลวราย เชน การฆาตกรรม การซิ น า (การผิดประเวณี) เปนตน - การหางไกลจากการรํ า ลึ ก ถึ ง อั ล ลอฮฺ และ จากการปฏิบัติภารกิจอิบาดะฮฺตางๆ แมกระทั่ง เมื่ อ ทํ า การละหมาด เขาจะลื ม สนิ ท เกี่ ย วกั บ จํ า นวนร็ อ กอะฮฺ ที่ กํ า ลั ง ละหมาดอยู เขาไม สามารถที่ จ ะควบคุ ม ความคิ ด ของเขาไดเลย จนถึงขนาดมีการแสดงอาการอยางไมรูสึกตัว เชน เสียงครวญคราง เสีย งหวี ด รองไหหรือหัว เราะ อยางแรง เปนตน - มีอาการโกรธจัด โดยไมรูสึกตัว 14


- มีความรูสึกที่แทรกซอนแปลกๆ จนกระทั่งมีการ สั่งใหออกจากการละหมาด - มี ก ารสั่ น คลอนในการมองกวาง ในการกระทํ า หรือในการพูด หรือจะรวมอยูในทั้งหมดที่ไดกลาว มา - การฟุHงซาน - การลืมที่บอยครั้งอยางไมธรรมดา - มีความเฉื่อยชาทั่วรางกายพรอมๆ กับมีความรูสึก เกียจครานอยางแรง ออนเพลียและออนแรง - มีอาการเหน็บชาบางสวนของอวัยวะในรางกายที่ ไมธรรมดา กลาวคื อ มั น เกิ ด ขึ้ น โดยผู หนึ่ ง ไม สามารถควบคุมอยูที่อวัยวะหนึ่งๆ เปนเวลานาน และโดยไมรูสาเหตุจากอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง - การกัดฟ-น และป-ญหาการช็อคในอวัยวะบางสวน ของรางกาย บางที ผู ปJ ว ยขาดการควบคุ ม ใน บางสวนของรางกายทั้งๆ ที่ความรูสึกไมไดขาด หายไป หรือขาดความรูสึกและสภาพทั่วไปไดมา 15


แทนที่ เขาจะเดิน แลวเพอเจออยางผิดปกติ - มีความรูสึกวามีคนคอยติดตามเขาอยูตลอดเวลา ดวยความรู สึ ก หรื อ การเห็ น ภาพลวงตา หรื อ มี ความรูสึกแปลกๆ ในรางกาย ถาหากทานพบอาการทั้งหมดหรือบางสวนที่ไดกลาว มาขางตน หรือแมกระทั่งอาการเดียวไมวาจะรูสึกตัวหรือ ในขณะนอนหลับ แตเปนรูป แบบที่ไ มปกติ เชน มี อาการ อยางนั้น ติดตอกัน หรื อมีพ ละกํ าลัง ที่เห็ นไดชัด หรือ เกิ ด อาการตางๆ ในเวลาเดี ยวกัน หรื อในเวลาที่ แตกตางกั น หรือเกิดขึ้นนานๆ ครั้งอยางตอเนื่อง หรือเกิดความแตกตาง จากธรรมชาติของผูหนึ่ง หรือบุคลิกภาพเดิมของเขาอยาง กระทั น หั น ทั้ ง ๆ ที่ ไ มไดปรากฏในตั ว ของเขาเลย ดู เหมือนกับวาไมใชเขา ดังนั้น สิ่งตางๆ เหลานี้สามารถระบุ ไดวาผูนี้ถูกทํารายโดยชัยฏอน

16


กอนอื่ น เรามาทํ า ความเขาใจเกี่ ย วกั บ ' ) " * ! วาเปนอยางไร อัลลอฮฺ ไดตรัสไวในคัมภีรอัลกุรฺอานวา:

(%

JIHGFEDCBA﴿ (٢٧٥ :‫)اﻟﺒﻘﺮة‬

﴾M LK

ความวา บรรดาผูกินดอกเบี้ยนั้นจะไมทรงตัว (ในการดําเนินชีวิต) นอกจากจะเป.นเชนเดียวกับ ผูที่ชัยฏอนทํารายเขา (เขาจะมีสติฟ01นเฟ2อนหรือ เป.นบา) (อัลบะเกาะเราะฮฺ 275) อบู ย ะอฺ ฟ- รฺ อั ฏ เฏาะบะรี ย ไดอธิ บ ายอายะฮฺ นี้ ว า: แทจริง. / จะมารัดคอมนุษย แลวจะทําใหเขาชักหมดสติ “คลายกับอาการบา” หมายถึง ถูกเขาสิง ทานอิบนุกะษีรฺ ไดกลาววา: คือพวกเขาไมไดฟUVนจากสุสาน นอกจากจะเปน เชนเดียวกับผูที่หมดสติและฟUVนขึ้นมา และ. / มาทําราย เขา ทานกุ รฺ ฏW บี ยฺ ไ ดกลาววา: แทจริ ง ในอายะฮฺ นี้ เ ปน หลั ก ฐานที่ หั ก ลางพวกที่ ป ฏิ เ สธการสลบเนื่ อ งจากการ กระทําของ% 0 และอางวามันเปนปฏิกิริยาทางธรรมชาติ 17


. / ไมสามารถเขามาสิงในมนุษยได และมนุษยก็จะไมบา หรือชัก เนื่องมาจาก. / เขามาสิง ชัยคุลอิสลาม อิบนุตัยมียะฮฺไดกลาววา ... เหตุนี้เอง บรรดากลุมมุอฺตะซีละฮฺ เฉกเชน อัลXุบบาอีย อบูบักรฺ อัรฺ รอซี และคนอื่นๆ ไดปฏิเสธเรื่องการที่% 0เขาสิงในรางของ คนที่ถูกทําใหขาดสติ ทั้งๆ ที่พวกเขามิไ ดปฏิเสธการมีอยู ของ% 0 เนื่ อ งจากสิ่ ง นี้ ไ มมี ป รากฏหลั ก ฐานจากทาน เราะซู ล ถึ ง แมวาพวกเขาคิ ด ผิ ด ในเรื่ อ งนี้ สิ่ ง นี้ ไ ดมี หลั กฐานจากคํ ากลาวของบรรดาอะฮฺ ลุซ ซุน นะฮฺ วัล ญะ มาอะฮฺ ทานอับดุลเลาะฮฺ บุตรชายของอิมามอะหฺมัด อิบนุ หันบัลกลาววา ผมไดพูดกับพอวา แทจริงมีหลายกลุมตาง กลาววา % 0ไมสามารถเขารางคนที่ขาดสติได ทานอิมาม จึงกลาววา บรรดาผูที่พูดเชนดังกลาวนี้พวกเขากําลังโกหก เพราะเรื่องนี้เปนเรื่องที่ใครก็รูกันวา คนที่หมดสติแลวเขา พูดจาโดยไมรูความหมายของมัน และเขาทํารายรางกาย ของตัวเองอยางแรง หากเขาตีอูฐตัวใดดังที่เขาตีตัวเองมัน จะสงผลแรงมาก แตเขากลับไมรูสึกตัวเลย และไมรูสึกตัว 18


ดวยซ้ํ า วากํ า ลั ง พู ด อะไรอยู บางที เ ขาจะลากคนที่ ไ มมี อาการขาดสติเชนเขา และบางทีเขาก็จะลากเสื่อที่เขากําลัง นั่ง อยู แลวยายอุ ป กรณจากที่ ห นึ่ ง ไปยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง โดยไม รูสึกตัววากําลังทําอะไรอยู และเรื่องอื่นๆ อีกมากมาย ผูใด ที่พบเห็นเขาจะรูวาผูที่ทําใหลิ้นเปลงเสียงออกมาและทําให รางกายเคลื่อนไหวนั้นเปน% 0ตางหาก ไมใชมนุษยเอง ใน บรรดาอิมามไมมีใครปฏิเสธการสิงของ% 0ในรางมนุษยที่ ถูก ใหขาดสติ ผูใดที่ป ฏิเ สธและอางวาไมมีใ นบทบัญ ญั ติ อิสลาม เขานั่นแหละที่ปฏิเสธบทบัญญัติ อิมามอิบนุลก็อยยิมไดกลาววา ... คนที่บาชักขาดสติ มี 2 ประเภท ประเภทแรกสาเหตุมาจากบรรดาวิญญานอัน ชั่ว ราย และประเภทที่ ส องมาจากสิ่ งเจื อ ปนที่ต่ํ า ตอยซึ่ ง บรรดานายแพทยจะพูดถึงสาเหตุและวิธีการรักษาของมัน สวนประเภทที่สาเหตุมาจากวิญญาน บรรดาอิมามและผูรู หลายทานตางเชื่อและไมไดคัดคานวามันเกิดขึ้นจริง และ ยังเชื่อวาการรักษามันไดโดยการเผชิญกับวิญญานที่ดีและ สูงสง แลวผลและอาการตางๆ จะลดหยอนลงและมันก็จะ 19


หายไป เรื่ อ งดั ง กลาวนี้ ท านไดบั น ทึ ก วิ ธี ก ารรั ก ษาไวใน หนังสือของทานบางเลม ซึ่งทานไดกลาววา สิ่งนี้เปนการ รัก ษาผู ที่ข าดสติอั นเนื่ องมาจากสาเหตุ ทางรางกายและ วัตถุ สวนการขาดสติที่สาเหตุมาจากวิญญาณนั้นจะไมมี ประโยชนใดๆ เลยดวยกับการรักษาทางวัตถุ “แทจริงความเขลา ความบกพรอง ความนาชังของ พวกหมอและผู ไมเชื่อเรื่ องศาสนานั้น พวกเขาจะปฏิเสธ เรื่องอาการขาดสติที่เกิดจากวิญญาณ และไมยอมรับวามัน จะมีผลตอรางกายของผูที่ถูกทําใหสลบและขาดสติ พวก เขาไมมี สิ่ ง ใดเวนแตคงามโงเขลา หากไมใชเชนนั้ น แลว เครื่องมือทางการแพทยยังไมสามารถที่จะชวยได แนนอน ความรูสึกและความเปนจริงนั้นยอมเปนพยานไดดีวามัน เกิดจากวิญญาณ บรรดาหมอตางเห็นพองกับพวกไมเชื่อ เรื่องศาสนา พวกเขาก็ไมสามารถจะยืนยันเวนแตอาการที่ เกิดจากวัตถุที่ต่ําตอย หรือเกิดขึ้นกับรางกายเพียงอยาง เดี ย ว ผู ที่ มี ส ติ ป- ญ ญาและมี ค วามรู เกี่ ย วกั บ วิ ญ ญาน ประเภทนี้และผลของมันแลว จะหัวเราะเยาะตอความเขลา 20


และเบาป-ญญาของพวกหมอเหลานั้น” อิบนุลก็อยยิม เญา ซียะฮฺ-ซาดุ อัล-มะอาด เลมที่ 3 หนาที่ 84

เราสามารถแบงประเภทการใหรายจากชัยฏอนโดย ยึดระดับความรุนแรงออกเปน 4 ประเภท การแบงประเภท นี้ เราไมไดอาศัยขอมูลจากตํารา แตเราแบงออกดวยความ โปรดปรานจากอั ล ลอฮฺ และความประเสริ ฐ ของ พระองค และจากการศึกษาหนังสือที่มีการแพรหลายซึ่ง ไดมาจากประสบการณในกรณีที่เกิดขึ้น และสถานภาพได ยืนยันอยางนั้น สภาพของมนุ ษ ยที่ ญิ น นฺ เ ขามาสิ ง ในรางเปนสิ่ ง ที่ จําเปนตองอาศัยความชัดเจน จากการกดดันญินนฺดวยวิธีที่ สอดคลองกับบทบัญญัติอิสลาม เชน ก ก1 0 ก 2 3 +ก + 40 หรื อ " 1 ที่ เ ป:; ย มดวยความ จริงใจ หรือโดยวิธีอื่นๆ สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท หรือสามารถแบงระดับได 4 ระดับ เรียงจากความแรง ดังนี้ 21


กรณีที่ 1 ในกรณี นี้ ญิ น นฺ ม าควบคุ ม มนุ ษ ยดวยสั ญ ลั ก ษณที่ ชัดเจน เชน ตาเหลือก หรือมีการเปลี่ยนเสียงพูดหรือภาษา หรือพละกําลังที่เปลี่ยนไป เปนตน ผูปJวยจะขาดสติอยาง สมบู ร ณ เขาจะไมรู วาไดพู ด อะไรหรื อ ทํ า อะไรออกมา เสมือนผูที่ ถูกยาชาทั่วกาย ในบางครั้ งเขาขาดการบังคั บ ตั ว เอง ไมมี ค วามประสงคในการแสดงทาทางและการ เคลื่อนไหวอยางสิ้นเชิง ไมวา การพูด การกระทํา หรือการ ไมพูดและไมทํา

กรณีที่ 2 ในกรณี นี้ ผู ปJ ว ยจะรู สึ ก ตั ว ในหลายเรื่ อ ง และจะไม รูสึกตัวอีกหลายเรื่อง เขาผูนี้จะคลายผูที่กําลังฝ-น แตเขาไม สามารถจะจดจําทุกอยางได เขาจะจําบางเรื่องและจะลืม บางเรื่อง นี่เปนอาการดานการรับรูและการรูสึกตัว สวน ดานการบังคับตัวเอง เขาไมมีความประสงคในการแสดง ทาทางและการเคลื่อนไหวและไมสามารถควบคุมตัวเอง ไม วาการพูดหรือการกระทํา 22


กรณีที่ 3 ในกรณีนี้ ผูปJวยจะรูสึกตัวทุกอยางที่เกิดขึ้นกับเขา ไม วาการพู ด หรื อ การกระทํ า แตเขาขาดความอิ ส ระอยาง สิ้นเชิง เขาไมสามารถบังคับตัวเองในการแสดงทาทางและ การเคลื่อนไหว ไมวา การพูดหรือการกระทํา

กรณีที่ 4 ในกรณีนี้ เปนกรณีที่มักเกิดขึ้นบอยครั้ง ผูปJวยจะมี อาการเฉพาะ แตไมถึงขาดสติ และเขาจะรูสึกตัวทุกอยางที่ เกิด ขึ้น รอบๆ ตั ว ไมวาจะเปนการกระทํา ที่เ ขาไดกระทํ า ออกมา หรือการพูดที่เขาไดเปลงออกมา ประการสําคัญ อีกอยางคื อ เขาก็มี อิสรภาพที่ สมบู รณในคําพู ดและการ กระทําของเขา แตก็มีกรณียกเวนในบางประการที่แสดง ออกมาดานกายภาพ เชน อาจจะรองไหออกมาโดยไมได ตั้งใจ และมีน้ําตาไหลออกมาซึ่งมีสัญลักษณ 3 ประการที่ สามารถแยกแยะจากอาการทั่วๆ ไป คือ 1. การรองไหออกมาโดยไมไดตั้งใจ 2. น้ําตาไหลออกมาขางๆ หรือตรงกลางเปลือกตา 23


3. น้ําตามีรสเปรี้ยวซึ่งเปนลักษณะที่เดนชัด ลักษณะนี้จะเปนลักษณะที่แตกตางจากน้ําตาทั่วๆ ไป ที่มักจะไหลอกมาจากมุมตาทั้งสองขาง และจะมีรสเค็ม ใน บางกรณีผูปJวยจะหัวเราะโดยไมไดตั้งใจ หรือเกิดอาการ เหน็บชาทั่วรางกายหรือบางสวนของรางกาย หรือรูสึกหนัก ทั่วรางกายหรือบางสวนซึ่งทําใหการเคลื่อนไหวคอนขาง ยาก อาการตางๆ เหลานี้เปนสิ่งยืนยันไดวา มันจะเกี่ยวของ กับการใหรายจากชัยฏอน แตมนุษยสวนใหญมักจะเชื่อวา การที่จะถูกการใหรายจากญินนฺนั้นผูปJวยจะตองพูดออกมา ดวยเสียงของญินนฺนั้น จริงๆ แลว มันไมไดเปนเงื่อนไขอะไร เลย ผูคนสวนมากที่ถูกการใหรายจากญินนฺ พวกเขาไมได พูดออกมาดวยน้ําเสียงของญินนฺนั้นเลย แตอาการตางๆ ที่ ผูปJวยแสดงออกมาสามารถยืนยันไดวาเขาถูกใหรายจาก มั น และจํ า เปนตองไดรั บ การบํ า บั ด จากอั ล กุ รฺ อ าน เพื่ อ ไมใหอาการของเขากํ า เริ บ เพิ่ ม ขึ้ น สู ขั้ น ที่ ร ายแรง และ เปลี่ยนจากสภาพเริ่มแรกกลายเปนสภาพที่รุนแรงกวา 24


การที่รางกายถูกแบคทีเรียหรือไวรัสเขามาแทรกแซง และรุกราน หรือเกิดความบกพรองในการปฏิบัติหนาที่ของ อวัยวะตางๆ มันก็จะถูกสิ่งที่มองไมเห็นดานวิญญานเขามา แทรกแซงและเลนงานไดเชนกัน ฉันใดก็ฉันนั้น อันเนื่องจาก โครงสรางของมนุษยไมไดประกอบดวยรางกายหรือวัตถุ เพียงอยางเดียว แตมันประกอบดวยรางกายและวิญญาน รางกายจะถูกสิ่งตางๆ มาทําราย วิญญานก็จะถูกทําราย เชนกัน การใหรายทางวิญญานนี้จะเปนรูปแบบของการบีบ บั ง คั บ ซึ่ ง จะออกมาในรู ป แบบของเวทมนตคาถา (ซิ หิ รฺ ) หรือเปนรูปแบบที่ไมมีการบีบบังคับ รางกายจะมีแบคทีเรียกระจายทั่วรางกาย แตก็ไมทํา ใหปJ ว ยได แตจะเกิ ด ขึ้ น ในกรณี ที่ ร างกายขาดภู มิ คุ มกั น แบคทีเรียก็จะแกรงกวา จึงเปนสาเหตุใหเปนโรคได และจะ เกิดอาการตางๆ ออกมา เฉกเชนเดียวกัน ในดานวิญญาน เรามักพบวา มนุษย ทุ ก คนจะอยู พรอมกั บ วิ ญ ญานอื่ น ๆ อี ก มากมาย เชน บรรดามลาอิกะฮฺที่คอยคุมครองและบันทึกการงาน ญินนฺที่ 25


เปนมุอมินหรือไมใชมุอมิน มารรายในระดับตางๆ แตมนุษย ทุกคนก็ไมถูกรุกราน หรือการใหรายของชัยฏอนในรูปแบบ ตางๆ แตในบางกรณี เขาก็จะถูกการใหรายทางวิญญานใน บางสถานการณ เมื่อภูมิคุมกันแหงอีมานไมเขมแขงพอซึ่ง จะปรากฏในสภาพตางๆ กัน เชน โกรธจัด เศราสลดอยาง มาก กลั ว มาก หลงลื ม อยางแรง หรื อ อาการอื่ น ๆ อี ก มากมายที่เปนสาเหตุที่อํานวยใหวิญญานของมนุษยถูกการ ใหราย เหมือนกับการเตรียมพรอมของระบบสมองที่จะเกิด โรคอันเนื่องจากกรรมพันธ สิ่งแวดลอม ประเพณีหรืออื่นๆ ซึ่งเปนกฏเกณฑที่อัลลอฮฺ ไดทรงกําหนดในกฏเหตุและ ผลที่ยุติธรรมและดวยความปรีชายิ่งของพระองค ในกรณีที่ ไดกลาวมาขางตนนี้ วิ ญญานรายที่ ทรยศสามารถทํ า ให มนุษยถูกคุกคามดวยโรคแหงการใหรายของชัยฏอนได ผูที่มีอาการตางๆ ที่ไดกลาวมาแลวนั้น ใหกลับมาพึ่ง การรักษาและบําบัดตนเองดวยการบําบัดทางวิญญานที่ สอดคลองกับบทบัญญัติอิสลามที่มีแหลงที่มาจากอัลกุรฺ อานและทางนําของทานนบีมุหัมมัด 26


เราถือวา อาการตางๆ ขางตนเปนบางสวนของการให รายจากสิ่ ง อื่ น ผู ปJ ว ยจํ า เปนจะตองรี บ มารั ก ษาตนเอง ดวยอั ล กุ รฺ อาน ซึ่ ง เราจะชี้ แ จงในบทตอไปอิน ชาอั ล ลอฮฺ และอยาไปใชสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากอัลกุรฺอาน และเขาก็ไม จําเปนที่จะไดรับการบําบัดทางดานกายภาพ เพราะจะทํา ใหเขาเพิ่มอาการออนลาและเหน็ดเหนื่อยโดยไมจําเปน

ก ก

!

การมีอารมณและความรูสึกที่เกินเหตุ เชน - โกรธจัด - เศราสลดอยางแรง - กลัวมาก - หลงลืมอยางแรง - มีอารมณที่รุนแรง - มนุษยไปทํารายญินนฺ โดยรูตัวหรือไมรูตัว

27


1 3 % 0! เชน ผูที่ใ ชอาซีมะฮฺ3เพื่อ เผาญินนฺอยางมิชอบอันเนื่องจากสาเหตุที่เบาบางที่สุด 1 3 % 0! เชน ผูที่ปาผูอื่นดวยกอน หินในที่มืดแลวไปถูกญินนฺ หรือเขาไปในสถานที่ที่เวิ้งวาง ปราศจากผูคนอยางบังเอิญโดยไมมีการซิกิรฺหรืออานดุอาอ หรื อ บางคนมี เ พศสั ม พั น ธกั บ ภรรยาโดยไมเอยพระนาม ของอัลลอฮฺ ในบางครั้งอาจจะทําใหญินนฺไดรับความ เสียหายก็ได หรือการป-สสาวะในรู หรือรบกวนพวกเขาดวย วิธีใดก็ตาม เชน ตะโกนเสียงดังในที่ที่พวกเขาอาศัยอยู เปน ตน เพราะเหตุนี้เอง ทานเราะซูล ไดชี้แจง แนะนําและ สอนเราใหกลาวรํ า ลึ ก ถึ ง อั ล ลอฮฺ และดุ อ าอจาก พระองคในทุกสถานการณ ไมวาจะยืน นั่ง ออกจากบาน หรือเขาบาน เขาหองน้ํา หรือเขาไปในสถานที่เปลี่ยว หรือ ในขณะรับประทานอาหาร ดื่มน้ํา และในขณะมีเพศสัมพันธ เราควรรําลึกถึงอัลลอฮฺ ในสถานการณดังกลาว เพื่อ 3

สิ่งตางๆ ที่นํามาติดตัวเพื่อปHองกันตัว เชน การเขียนอายะฮฺตางๆ แลว มาติดตัว เปนตน

28


ชัยฏอนไมสามารถที่จะมามีสวนเกี่ยวของกับเรา แลวเรา อาจจะไดรับ สิ่งเลวรายจากพวกเขา ทานเราะซูล ได แนะนํ า ใหเราหมั่ น อานดุ อ าอและซิ กิ รฺ เ พื่ อ ปH อ งกั น ภั ย อันตราย ไมวาจะอยูในสภาพนิ่งเฉยหรือเคลื่อนไหว จากสิ่งที่ไ ดกลาวมาขางตน สาเหตุสวนหนึ่งจาก การคุกคามของชัยฏอน คือ ก 5/" 3 3# 6 ผูใดที่ประสงคจะเรียนรูการปHองกันตัวดวยบทดุ อาอ เพียงพอแลวสํา หรับ เขาที่ จะนํ ามาใชประโยชนจาก หนังสือ “อัล-อัซการฺ” ของอิมามอัน-นะวะวีย ตัวอยางของการคุกคามจากญินนฺ ความแคนของ ครอบครัวและญาติๆ ของญินนฺตอมนุษยที่ไปทํารายญาติ ของพวกเขา อันเนื่องจากในบรรดาญินนฺมีจําพวกที่เปนผู ทรราช โงเขลา และเหิมเกรีม ในบางกรณี จะเปนการหลงรัก ของญิน นฺ ที่มี ต อ มนุษย หรือเกิดจากการกลาวคาถาตางๆ ซึ่งเปนการอาน เฉพาะที่ เ ปน *หรื อ *% ก ) หรื อ .7 ตางๆ ที่ ไ มเปนที่ เขาใจ หรื อ การทวนอายะฮฺ เ ฉพาะหรื อ พระนามตางๆ 29


ของอัลลอฮฺ ดวยเจตนาที่ไมบริสุทธิ์ เปนตน หากเราทราบสาเหตุตางๆ ของการคุกคามและ การใหรายจากชัยฏอนและญินนฺแลว เราก็สามารถเรียนรู วิธี การปHอ งกั น ตัว ซึ่ง สามารถหลี กเลี่ ยงจากสาเหตุ ตางๆ เหลานี้ได

30


บทที่ 2 ก " # ก$ ก ก!

% ก )%

พระองคอัลลอฮฺ

ทรงตรัสวา

(٨٢ :‫ { ﴾ )اﻹﺳﺮاء‬z y x w v u t ﴿

ความวา และเราไดใหสวนหนึ่งจากอัลกุรฺอานลง มา ซึ่งเป.นการบําบัดและความเมตตาแกบรรดาผู ศรัทธา (อัลอิซรออ 82) ทานอิมามอิบนุลก็อยยิมกลาววา “อัลกุรฺอาน คือ วีธี การรักษาที่สมบูรณแบบ สํา หรับโรคทางใจและรางกาย รวมถึงโรคทางโลกนี้และโลกอาคิเราะฮฺ และไมใชทุกคนที่มี สิท ธิ์ จ ะรั ก ษาโรคดวยอั ล กุ รฺ อานใหหายได หากผูปJ ว ยใช วิธีการรักษาที่ดีและสอดคลองกับโรคที่เขากําลังประสบอยู ดวยใจที่ สัจ จริ ง เต็ม ไปดวยความศรั ทธามั่น และสัญ หา ป- จ จั ย ในการรั ก ษาอยางครบถวนแลว โรคจะไมตาน 31


เด็ดขาด แลวโรครายตางๆ จะตอตานพระดํารัสของผูทรง อภิบาลไดอยางไร ซึ่งเปนพระดํารัสของพระผูอภิบาลแหง ฟากฟHาและแผนดิน ซึ่งหากพระองคประทานลงมาบนภูเขา มันก็จะสั่นไหว หรือหากลงบนแผนดิน แนนอนแผนดินก็จะ แยกออก ดังนั้นไมมีโรคใดๆ ทั้งโรคทางจิตใจ และรางกายเวน แตวาในอัลกุรฺอานจะถุกระบุไวถึงวีธีการรักษา สาเหตุ และ การปHองกันมัน แนนอน มันคือสิ่งที่พระองคทรงมอบใหแก ผูที่เขาใจในคัมภีรของพระองค ซึ่งผูใดก็ตามที่อัลกุรฺอานไม สามารถรักษาเขาใหหายไดพระองคก็จะไมใหหาย และผูใด ที่อัลกุรฺอานไมสามารถปกปHองเขาไดพระองคก็จะไมทรง ปกปHองเขา4 เพื่ อ ใหไดรั บ ประโยชนในการบํ า บั ด ดวยอั ล กุ รฺ อ าน และวิธีการปHองกันตางๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองยืนหยัดอยู ระหวางการยอมรั บ ของผู ปJ ว ยเอง การผู ก พั น ตั ว เขา กับอัลลอฮฺ การบริสุทธิ์ใจ การยอมจํานงรับวา แทจริง 4

ซาดุ อัล-มะอาด เลมที่ 3 หนา 123

32


การหายจากโรคนั้นเปนไปตามการอนุมัติและพระประสงค ของอั ล ลอฮฺ เพี ย งพระองคเดี ย ว และผู บํ า บั ด รั ก ษา จะตองมั่ น ใจและยอมรั บ วา อายะฮฺ ต างๆ ที่ ใ ชอานเพื่ อ ปHองกันตัวนั้นเปนแคสื่อกลางและสาเหตุที่ชวยใหเขาหาย เปนไปตามพระประสงคของอัลลอฮฺ ซึ่งเปนเปHาหมาย หลักที่แทจริง ทานอิม ามอิบ นุ ล ก็อ ยยิม กลาววา: บทซิก รฺ อายะฮฺ และบทดุอาอตางๆ ซึ่งนํามาใชในการเยียวยานั้น ในตัวมัน เองมีประโยชนและเปนสิ่งที่จะทําใหหายจากโรคได แตตอง อาศัยสถานที่และเวลา รวมถึงแรงกลาและความหนักแนน ของผูบําบัดและผลที่จะออกมา เมื่ออาการของโรคหายชา อัน เนื่ องจากความออนแอในอิท ธิ พ ลของผูบํ า บั ด หรื อ ผู ไดรับการบําบัดไมยอมรับ หรือมีสิ่งสกัดกั้นที่แข็งแกรงมาก ซึ่ ง ส ง ผ ล ไ ม ใ ห ย า ส า ม า รถ ช ว ยใ ห ห า ย จ า ก โ รค ไ ด เชนเดี ย วกั บ ในยาทั่ ว ไป และยาปฏิ ชี ว นะ การที่ มั น ไม ตอบสนองและไมสงผลบางทีเกิดจากธรรมชาติของยานั้น ไมยอมรับ บางทีสิ่งสกัดกั้นที่แข็งแกรงมากซึ่งสงผลไมใหยา 33


สามารถชวยใหหายจากโรคไดนั้น โดยปกติแลวเมื่อยานั้นมี ประสิทธิผลเต็มที่ รางกายก็จะไดรับประโยชนจากยานั้น หัวใจก็เฉกเชนเดียวกัน หากการเยียวยาและการบําบัดดวย การอานบทตางๆ มีป ระสิท ธิ ผลเต็ มที่ และผู กระทํ าการ บําบัดมีจิตใจที่หนักแนนและมีความมั่นใจสูงก็จะสงผลใน การขจัดโรคใหหายได 5 ทานอิมามอิบนุลก็อยยิมไดกลาวอีกวา: “ผมเคยอยู พํ า นั ก ที่ มั ก กะฮฺ ช วงระยะหนึ่ ง ผมประสบกั บ โรคตางๆ มากมาย และไมสามารถพบหมอ และใชยาใดๆ เลย ผมก็ ไดรักษาตันเองดวยกับการอานซูเราะฮฺ 8 40 ผมก็ได พบวามันมีผลอยางมหัศจรรย ตอมาผมก็ไดเลาวิธีดังกลาว แกผูที่กําลังเจ็บปJวย มีจํานวนมากจากพวกเขาไดหายจาก โรคอยางรวดเร็ ว หลั ง จากนั้ น ผมไดยึ ด เอามั น ไวรั ก ษา ความเจ็ บ ปวดตางๆ แลวมั น ก็ ใ หประโยชนไดอยางยอด เยี่ยมจริงๆ 5

อัล-ญะวาบุ อัล-กาฟ: ลิ มัน สะอะละ อัน อัด-ดะวาอิ อัช-ชาฟ: (คําตอบที่ สมบูรณสําหรับผูที่ถามเกี่ยวกับยาที่รักษาไดดี) หนา 15-16

34


ในเรื่องการรักษาและการทําใหหายดวยกับคัมภีรนั้น มีม ากมายเหลื อ เกิน และเปนที่ย อมรับ ทั่ ว ไป มั นคื อ แสง สวาง และยังเปนการรักษาจิตใจซึ่งอยูในหัวอกอีกดวย ทานอิมามอิบนุลก็อยยิมไดกลาววา (พึงทราบเถิดวา บรรดายาของพระเจานั้ น จะมี ส รรพคุ ณ หลั ง จากที่ มี โ รค และปHองกันจากสิ่งที่จะกอใหเกิดโรคได หากมันเกิดขึ้นจริง มั น ก็ ไ มกอใหเกิ ด อั น ตราย ถึ ง แมวามั น ทํ า ใหเกิ ด ความ เสี ย หายก็ ต าม สวนยาตามธรรมชาติ นั้ น มี ส รรพคุ ณ หลั ง จากเกิ ด โรคเทานั้ น เหตุ นี้ เ อง บทอานสํ า หรั บ การ ปHองกันและบทซิกรฺ บางทีมันอาจหามตนเหตุของการเกิด โรคได และบางทีมันจะสกัดกั้นจากโรคไมใหเกิดผลขึ้นมา โดยขึ้ น อยู กั บ ความสมบู ร ณ ความแข็ ง แกรง และความ ออนแอของบทอานสําหรับการขอความคุมครองและการ ปHองกัน ดังนั้นเราใชบทการอานสําหรับบําบัดและปHองกัน เพื่อรักษาสุขภาพ และเพื่อขจัดโรคภัยไขเจ็บ 6

6

ซาดุ อัล-มะอาด เลมที่ 3 หนา 123

35


*

+,

- % ก )% . ก ก!

อบูกะอับไดรายงานวา ขณะที่ผมอยูกับทานนบี มี ชาวอาหรั บคนหนึ่งมาหาทานนบี แลวกลาววา: โอ ทานนบีของอัลลอฮฺ ผมมี พี่ชายคนหนึ่งกํ าลังเจ็บปวดอยู ทานนบี กลาววา: เขามีอาการเจ็บปวดอยางไร เขา กลาววา: เขามีอาการสาหัสมาก ทานนบี จึงสั่งใหนําตัว เขามา แลวทานก็ไ ดใหชายผูปJวยมาอยูตอหนาทาน แลว ทานก็อานดังนี้ อัลฟาติหะฮฺ

JIHGF EDCBA﴿ TSR QPON MLK ]\[ ZYXW VU

อัลบะเกาะเราะฮฺ 1-4

﴾ dcba`_^

M L K J I HGFED C BA ﴿ V UTSRQPON ﴾ba`_ ^]\[ZYXW

36


อัลบะเกาะเราะฮฺ 163-164

BA ÙØ ×ÖÕÔÓÒÑÐÏ﴿ IHGFEDC UTSRQPONMLKJ a ` _ ^ ] \ [ZYXWV hgfedcb ﴾ lkji

อัลบะเกาะเราะฮฺ 255

¢ ¡ ~ } | {zyxwvuts ﴿ °¯®¬«ª©¨§¦¥¤£ ½¼»º¹¸¶µ´³²± ÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾ ﴾ ÐÏÎÍÌËÊ r q p o n m l k j i h g ‫﴿ـ‬ |{zyxwvuts g fedcba`_~} rqpon mlkjih

37


อัลบะเกาะเราะฮฺ 284-286

|{zyxwvuts ¦¥¤£¢¡ ~} ³²±°¯®¬«ª©¨§ À¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁ ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏÎÍÌ

อาลอิมรอน18

﴾ àßÞÝÜÛÚ ^ ] \ [ Z Y X W V U T﴿ ﴾ gfedcba`_

อัลอะอฺรอฟ 54

} | { z y x w v u﴿ gfedcba`_~ ponmlkjih ﴾w v u t s r q

38


อัลมุอมินูน 116-118 อัลญินนฺ 3

³ ² ± ° ¯ ® ¬ « ª © ¨‫﴿ ـ‬ ¿ ¾ ½ ¼ » º ¹ ¸ ¶µ ´ ÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ ﴾ ÒÑÐÏÎÍÌË ﴾ cba`_ ^]\[Z﴿

อัศศอฟฟาต 1-10

HG FED CBA ﴿ RQPONMLKJ I \[ZYXWV UTS gfedc ba`_^] s rqponmlkjih ﴾ zyxwvut yxwvutsrqponm﴿ ¥¤£¢¡ ~}|{ z «ª©¨§¦

39


อัลหัชรฺ 22-24 อัลอิคลาศ

µ´³²±°¯®¬ ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶ ﴾É È Ç Æ Å Ä Ã JI HGF EDCBA﴿ ﴾ SRQPONMLK

อัลฟะลัก

^ ]\[ZY XWVUT﴿ gfedcba`_ ﴾o n m l k j i h

อันนาซ

x wvu tsrqp﴿ ` _~}|{ zy gf edcba ﴾` h

40


หลังจากที่ทานนบี อานอายะฮฺขางตนแลว ชายคน นั้นก็ลุกขึ้นเหมือนกับวาเขาไมไดเปนอะไรมากอนเลย อิ บ นุ หิ บ บานไดรั บ รองการรายงานนี้ วาเปนสาย รายงานที่ถูกตอง7

(% /" -

"% 0, - ก 1- 1 ก!

ผูที่จะมารักษาการใหรายและการคุกคามจากญินนฺ ตองเปนผูที่มีอีมานอันแข็งกลา มีความมั่นใจในอัลลอฮฺ และในคํา ตรัส ของพระองค และเปนผูที่เขาใกลพระองค ดวยจิตมั่ น จริง ใจและบริสุ ทธิ์ ใ จ ระดับของการรักษาให หายนั้นขึ้นอยูกับระดับการศรัทธาของผูที่จะมารักษา สวนผูปJวยที่เขามารักษา จําเปนตองมั่นใจกับการตอบ รับของอัลลอฮฺ จากการดุอาอการซิกิรฺและอานเพื่อหวัง ใหหายจากสิ่งเลวรายดวยอัลกุรฺอาน ไมใชใชอัลกุรฺอานใน การรักษาเพื่อการทดลอง และไมปฏิบัติในสิ่งชั่วรายและสิ่ง 7

ตะญัมมุอุ อัซ-ซะวาอิด เลมที่ 5 หนา 115

41


ที่เปนการทรยศตออัลลอฮฺ (มะอฺศิยะฮฺ) ผูที่ถูกคุกคาม จากญินนฺสามารถรักษาดวยตนเอง แตถาหากไมสามารถ ทําได ก็ควรเลือกผูที่เขาเห็นวาเปนผูที่บริสุทธิ์ใจที่พรอมจะ ชวยเหลือและดูแลในการรักษา กอนที่เราจะพูดถึงวิธีการรักษา ผมขอใหคําแนะนําแก ผูปJวยและผูทําการรักษา ณ ที่นี้ดวย

-

- - 10, - ก ก!

เราแนะนําอยาเสนอตัวเพื่อรักษาผูที่เคยถูกญินนฺเขา หรือถูกคุกคามมาแลว ถาเห็นวาผูที่เราจะรักษาเปนคนที่ไม จําเปนสําหรับเราที่จะรักษา เชน ทําการรักษาผูที่ไมใชจาก เครื อ ญาติ หรื อ ผู ที่ เ ราไมตองรั บ ผิ ด ชอบหรื อ ใหความ คุมครอง เพราะถาไมทําการรักษาก็นับวาไมเห็นเปนไร เหตุ ผ ลที่ เ รากลาวมาขางตน คื อ ผู ที่ เ คยถู ก ญิ น นฺ คุกคามมาแลว ญินนฺอาจจะถูกบังคับใหออก หรืออาจจะ ถูกฆา ถาหากถูกบังคับใหออก มันจะทิ้งรองรอยที่ญินนฺตน

42


อื่นรูจักได แตถาหากถูกฆา มันจะทิ้งกลิ่นจนญินนฺตนอื่นรู เขาก็เลยถูกคุกคามอีกครั้ง อีกเหตุผลหนึ่ง คือ ญินนฺที่ออกมาดวยการบีบบังคับ ใหปฏิ บั ติ ต ามซึ่ ง ไดใหสั ญ ญากั บ เจาของวาปกปH อ งและ รักษา มันก็จะคอยจองมองเวลาเผลอหรือเวลาที่ผูปJวยมีอี มานออนหรือเมื่อมีสาเหตุตางๆ ที่อํานวยใหมันจูโจมไดอีก ครั้ง ในกรณีที่ผูทําการรักษาดําเนินการรักษาผูอื่น พวกมัน จะรวมตัวจัดการกับเขา ถาหากเขาออนแอกวาพวกมัน อัน เนื่องจากมะอฺศียะฮฺ หรือชวงของเวลาที่เขาเผลอ พวกมันก็ จะทํารายเขาเอง ครอบครัว หรือคนใดคนหนึ่งในครอบครัว ของเขา ถามีป-จจัยบางอยางไดเอื้ออํานวยใหกับมัน

-

- - 10, 1ก ก!

ผมขอแนะนําสําหรับผูที่อัลลอฮฺ ไดทรงทําใหเขา หายจากโรคทางวิญญาน และไดทําใหเขาปลอดพนจาก วิกฤตนี้วา เปนความจํ าเปนอยางยิ่งที่เขาตองยึดมั่นและ ดํารงมั่นกับการภักดีและอิบาดะฮฺหลักๆ นั่นคือ อิบาดะฮฺที่ 43


เปนฟ-รฎW และปฏิบัติอยางเครงครัด พรอมกับปฏิบัติตามซุน นะฮฺ ข องทานเราะซู ล ในทุ ก รู ป แบบอยางสม่ํ า เสมอ ประดับดวยความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮฺ ผูทรงสราง ความ บริสุทธิ์ใจตอพระองคที่ผุดจากความรักและมั่นใจอยางแนว แนในพระองคนั้นเปนดั่งกําแพงอันแข็งแกรง เพราะมารราย ชัยฏอนไดกลาวกับอัลลอฮฺ ดังที่อัลกุรฺอานไดถายทอด คําพูดของมันวา ~}|{zyxwvut﴿

(٤٠-٣٩ :‫ ﴾ )اﳊﺠﺮ‬c b a ` _

โอพระผูอภิบาลของขาพระองค( จากที่ พระองค(ทรงใหขาพระองค(หลงผิดไปแลว แนนอน ขาพระองค(จะลอลวงพวกเขาใหหลงกับสิ่งที่เพริศ แพรวในแผนดินนี้ และขาพระองค(จะทําใหพวก เขาทั้ ง หมดหลงผิ ด ยกเวนบาวของพระองค( ที่ บริสุทธิ์ใจ (อัลหิญิรฺ : 39-40)

44


ผู ปJ ว ยควรละเวนจากการปฏิ บั ติ สิ่ ง ใดก็ ต ามที่ เ ปน มะอฺศียะฮฺเล็กๆ นอยๆ และหางไกลจากมะอฺศียะฮฺตางๆ ที่ เปนบาปใหญ ถาหากเขาไปปฏิ บั ติ ส สิ่ ง ดั ง กลาวแลว แนนอนมันจะเปนสาเหตุใหญที่สุดของการไมหายจากโรค ในบางกรณีและชวงเวลาของการเปนโรคจะยาวนาน ตราบใดที่ผูปJวยซึ่งเคยไดรับการรักษาบกพรองในสิ่งที่ ไดกลาวมาขางตน การใหรายของญินนฺก็จะเพิ่มขึ้นในเวลา ที่ ร ว ด เ ร็ ว ก ว า ผู ที่ ไ ม เ ค ย โ ด น ก า ร ใ ห ร า ย จ า ก มั น เปรียบเสมือนกับผูที่ทานยาจนถึงระดับ “ดื้อยา” แลวละก็ ยานั้ น ก็ ไ มสามารถใหผลดี ต อเขาอี ก และตราบใดที่ เ ขา เครงครัดในการภักดี การใหรายของมันก็จะมลายหายไป

(% /"ก ก!

2 &0

การรั ก ษาจะใหเกิ ด ผลสั ม ฤทธได ควรปฏิ บั ติ ดังตอไปนี้ 1. การปฏิบั ติ อ ยางสุ ดความสามารถในสิ่ ง ที่ อัล ลอฮฺ ทรงใช และหลีกหางจากสิ่งที่พระองคทรงหาม 45


ดวยความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮฺ เพียงองคเดียว เทานั้น เพราะสิ่งนี้จะทําใหชัยฏอนไมสามารถที่จะ ทําใหเขาหลงผิดไดซึ่งชัยฏอนไดยอมรับดวยตนเอง ในสิ่งนี้ ในคําตรัสของอัลลอฮฺ วา }|{zyxwvut﴿ (40-39 :‫)اﳊﺠﺮ‬

﴾ cba`_ ~

ความวา มั น กลาววา โอพระผู อภิ บ าลของขา พระองค( จากที่พระองค(ทรงใหขาพระองค(หลงผิดไป แลว แนนอนขาพระองค(จะลอลวงพวกเขาใหหลง กับสิ่งที่เพริศแพรวในแผนดินนี้ และขาพระองค(จะ ทํ า ใหพวกเขาทั้ ง หมดหลงผิ ด ยกเวนบาวของ พระองค(ที่บริสุทธิ์ใจ

2. การทํ า ใหทุ ก รู ปแบบของการภัก ดี ต ออั ล ลอฮฺ เพียงพระองคเดียวใหเกิดเปนจริงในการดําเนินชีวิต สิ่งนี้จะสมบูรณไดตองอาศัยป-จจัยดังตอไปนี้ - อิบาดะฮฺทางรางกาย เชน การละหมาด การถือศีล อด การรุกูอฺ การสุXูด การทําหัจXฺ การเฏาะวาฟ เปนตน 46


- อิบาดะฮฺดวยทรัพยสิน เชน การเชือดสัตวพลี (กุรฺ บาน) การจายซะกาฮฺ การเศาะดะเกาะฮฺ เปนตน - อิบาดะฮฺทางจิตใจ เชน การคุชูอฺ การนอบนอม การ ถอมตน การถวายตัว และการมอบหมาย การยํ า เกรง การรัก การกลับตัว การหวัง เปนตน - อิบาดะฮฺทางวาจา เชน การสาบาน การดุอาอ การ ขอความคุมครอง การขอความชวยเหลือ เปนตน 3. การดํารงมั่นในญะมาอะฮฺ ดังตอไปนี้ - ดานการศรัทธา กลาวคือ หลักอากิดะฮฺของทานอยู บนฐานของหลักอากิดะฮฺของบรรพชนในยุคแรก นั่น คื อ บรรดาเศาะหาบะฮฺ ตาบิ อี น และผู ที่ อ ยู บน เสนทางของพวกเขา - การมีจิตสํานึกที่จะดํารงมั่นในญะมาอะฮฺ กลาวคือ จิต ใจและรางกายของทานพรอมที่ จะรวมในแถว ของผูที่ดําเนินชีวิตในสัจธรรม ไมวาจะอยู ณ แหง หนใดก็ตาม 4. การละหมาดฟ- รฺ ฎW พ รอมกั บ ญะมาอะฮฺ และการ 47


ละหมาดซุนนะฮฺใ หปฏิบัติที่บาน ดังที่ทานเราะซูล ไดกลาววา , +*

)

"!

#! $

$% &' ()

ความวา พวกทานทั้งหลายจงละหมาดในบาน ของพวกทาน แทจริงการละหมาดที่ดีที่สุดของ ผูหนึ่งนั้นคือการปฏิบัติในบานของเขา ยกเวน การละหมาดฟ0รฺ ฎ? (ตองปฏิบั ติ พ รอมกั บ ญะ มาอะฮฺที่มัสญิด) 5. การละหมาดซุนนะฮฺที่บานใหมาก เชน ละหมาดซุน นะฮฺ ก อนและหลั ง ของแตละฟ- รฺ ฎW การละหมาดฎW หาย การละหมาดกลางคืน การละหมาด (2 ร็อกอะฮฺกอนวิตรฺ) และวิตรฺ

8

รายงานโดย อันนะสาอีย อัลอัลบานียไดยกระดับหะดีษนี้วาเปนหะ ดีษที่เศาะ-ฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหุอัต-ตัรฺฆีบ เลม 1 หนา 178

48


6. การยึดมั่นในอัลกุรฺอานและอัซซุนนะฮฺ ทั้งสองนี้จะ ปกปHองบาวจากมารรายชัยฏอน 7. การขอความชวยเหลือจากอัลลอฮฺ ใหสามารถ เอาชนะชัยฏอน เพราะอัลลอฮฺ ผูทรงสรางมัน พระองคก็จะทรงคุมครองเราจากมัน 8. การขอความคุมครองจากอัลลอฮฺ ใหปลอดพน จากชัยฏอน ในกรณีตาง ขางลางนี้ - เมื่ อ รูสึ ก ถึง การกระซิ บ กระซาบและการยุ ยงจาก ชัยฏอน - กอนที่จะอานอัลกุรฺอาน - กอนจะเขาขั้นตอนการละหมาด - ในขณะโกรธ - เมื่อไดยินสุนัขหอนและลารอง - กอนเขาหองน้ํา 9. หมั่นอานบทดุอาอที่มีรายงานจากทานนบี ในทุก อิริยาบถ และปฏิบัติตามคําแนะนําของทาน ในกรณี ที่ไมทองบทดุอาอใหกลาวพระนามของอัลลอฮฺ 49


จนเราสามารถทองบทดุ อ าอตางๆ และบทซิ ก รฺ ตางๆ ได 10. ปกปHอ งครอบครัว และทรัพยสิ น โดยหมั่น อานบท การอานเพื่อปHองกันที่ถูกตองจากบทดุอาอจากทาน เราะซูล ซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ อายะฮฺอัลกุรฺ สีย 10 อายะฮฺจากซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ (4 อา ยะฮฺแรก อายะฮฺอัล-กุรฺสียและ 2 อายะฮฺหลังจาก นั้น และ 3 อายะฮฺสุดทาย) อิบนุมัสอูดไดกลาววา ผูใดอาน 10 อายะฮฺจากซู-เราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ (ในวั น นั้ น ชั ย ฏอนไมสามารถจะเขาใกลเขาและ ครอบครัวของเขาได และสิ่งที่เขาไมพึงประสงคจะ ไมประสบกับเขา หากเขาอานกับคนบาเขาก็จะหาย จากบาได) และใหอานมะอูซาต ดังที่ทานเราะซูล ไดกลาววา ((ผู ใดอานกุ ล ฮุ วั ล ลอฮุ อ ะหั ด ซู เราะฮฺอัลฟะลักและซูเราะฮฺอันนาซ ในยามเย็นและ ยามเชา 3 ครั้ง การอานเหลานั้นจะปกปHองเขาจาก ทุกสิ่ง)) 50


11. รักษาสายตาจากสิ่งตองหามทุกประเภท ไมวาจะ เปนอวัยวะพึงสงวน (เอาเราะฮฺ) หรือมองคนอื่นดวย สายตาเกลียดแคน โกรธเคือง อิจฉาริษยา หรือดู แคลน เปนตน 12. รั ก ษาลิ้ น จากการพู ด ไรสาระ ลวงล้ํ า ในสิ่ ง ที่ ไ มดี โตเถียงและตอบโตคูครหา พูดจาหยาบคาย ดาทอ และสาปแชงผูอื่น ถึงแมวาผูนั้นจะเปนกาฟ]รฺก็ตาม เพราะบางที เขาอาจจะเตาบะฮฺและรับอิสลาม แลว ตายในสภาพที่เขาเปนมุอมิน 13. รักษาทองจากการกินดอกเบี้ย คอรัปชั่น มูลคาจาก การทําธุรกรรมสุนัข ทรัพยสินของเด็กกําพราหรือ จากทรัพยสินที่คลุมเครือและที่ตองหามทุกชนิด 14. รักษาอวัยวะเพศจากการผิดประเวณี เลสเบี้ยน มี เพศสั ม พั น ธกั บ สั ต ว มี เ พศสั ม พั น ธกั บ ภรรยาที่ มี ประจําเดือน เปนตน 15. รั ก ษามื อ จากการใหรายของชั ย ฏอน ดั ง ที่ ท าน เราะซูล ไดกลาวมีความวา ((ผูหนึ่งผูใด อยาหัน 51


อาวุ ธ สู เพื่ อ นของเขา เพราะบางที เ ขาอาจไมรู วา ชัยฏอนจะแทรกซอน (แลวเกิดพลาดพลั้งขึ้นมาโดน เขาแลวตาย) เขาก็จะอยูในนรก)) และหักหามจาก การฆา จับมือ กับหญิง ที่สามารถแตงงานได และ จากการสวมสิ่งที่ทํามาจากทอง และจากการเลน พนัน 16. หมั่นอานอัลกุรฺอานใหมาก 17. ขจัดเสียงเพลง (เสียงของอิบลีส) ไมกางเขน รูปป-Vน และสุนัขออกจากบาน 18. มอบหมายตอกฎสภาวการณของอัลลอฮฺ 19. มีน้ําละหมาดอยูเสมอ เพราะนับวาเปนอาวุธอยาง หนึ่งของมุอมิน 20. การดุอาอตออัลลอฮฺ ดวยจิตใจที่บ ริสุทธิ์และ สมบูรณ 21. หามมีความรูสึกกลัว โกรธ หรือเศราโศกอยางเกิน เหตุ

52


22. ปกปHอ งรัก ษาจากชองทางตางๆ ของชัย ฏอน เชน ความโงเขลาเบาป-ญญา รักโลกดุนยา หวังอยากมี อายุยืนยาว ตระหนี่ถี่เหนียว หยิ่งยะโสโอหัง รักที่จะ ไดรับการสรรเสริญ และสิ้นหวังจากความเมตตา ของอัลลอฮฺ เปนตน

. ก ก!

% ก )%

ขอเท็ จจริง ของการรัก ษาดวยอัล กุรฺอานอยูบนแกน หลัก 2 ประการซึ่งทั้งสองนี้ตางสงเสริมซึ่งกันและกัน แกนหลักที่ 1 การทํ าใหพฤติกรรมของมนุ ษยไดรับอิส ระจากการ ควบคุ ม ของมารรายชั ย ฏอนดวยขอบเขตอั น จํ า กั ด ซึ่ ง สามารถทําใหมนุษยไดภักดีตออัลลอฮฺ ตามที่ควรจะ เปน และออกจากวงลอมของการกระทําที่ไมไดตั้งใจและไม รูสึกตัวซึ่งเปนป-ญหาหลักในประเด็นของการไดรับอิทธิพล จากการทํ า รายของชั ย ฏอน สิ่ ง นี้ ม นุ ษ ยไดรั บ การ กระทบกระเทือนอันเนื่องจากการหลงลืมที่ยาวนาน และ 53


มะอฺศียะฮฺที่ถลําลึก หรือเขาไมรูจักเสนทางการเขามาของ ชั ย ฏอน มั น จึ ง สามารถเขามาแทรกแซงและมี อํ า นาจ ควบคุมเหนือตัวเขา การปลดปลอยจากการควบคุมของชัยฏอนสามารถ กระทํ า ไดดวยโปรแกรมที่ ถู ก จั ด ขึ้ น มาโดยไมออก นอกเหนือจากการใชอัลกุรฺอานและซุนนะฮฺ ซึ่งเปนหัวขอ หลักของการแตงหนังสือเลมนี้ ดวยวิธีการที่ไดกลาวมานี้ สามารถทําใหชัยฏอนพายแพและการควบคุมของมันตอ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ยแตกหั ก ไปในรู ป แบบที่ เ ห็ น ชั ด และ แข็งแกรง ซึ่งเปนการเป]ดโอกาสแกมนุษยใหกลับไปพึ่งพา การปกปHองแหงผูอภิบาลดวยการปฏิบัติศาสนกิจและการ ภักดีโดยปราศจากการควบคุมของมารรายชัยฏอน แกนหลักที่ 2 แกนหลักนี้อยูบนฐานของการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มี ผลในการรักษาและกระทําอยางเครงครัดเปนหลักสําคัญ เชน การปฏิบัติการงานที่เปนฟ-รฺฎWและสิ่งที่เปนซุนนะฮฺ (กิจ อาสา) และปฏิบั ติต ามอยางสมบู รณในบทบัญ ญัติ ที่เ ปน 54


คําสั่งใช และหางไกลจากจากการปฏิบัติในสิ่งตองหามทุก ประการ ดวยการปฏิบัติเชนนี้ เราก็สามารถเขาถึงแกนหลัก ที่ 2 นี้ นั่นคือ ก 89: 8$; ก * # 1 ก ,<ก ก # ก # *ก 2ก 40 (ฏออะฮฺ ) ดั ง นั้ น พฤติกรรมที่ไมรูสึกตัวและไมตั้งใจซึ่งเปนผลพวงจากมาร รายชัยฏอนก็จะลดลง จนกระทั่งถึงจุดที่ออนแอที่สุดของ การควบคุม มิหนําซ้ํามันจะหายไปในที่สุด

! ก 13 % * ก ก ,* 1"% ก %4 ก ก! 3 % /

55


&ก ก! ผูทํ า การรั ก ษาจั บ ดานหนาศีร ษะของผู ปJ ว ยดวยมื อ ขวาและอานอายะฮฺตางๆ ที่ใชการรักษา ซึ่งเราเรียกวา “% 5) ก 5)” อยางชัดเจนในหูขวาของผูปJวย ทานเราะซูล ไดระบุอายะฮฺรุกยะฮฺในหะดีษ9 ดังนี้

อัลบะเกาะเราะฮฺ 1-4

% 5) ก 5) M L K J IHGFED C BA ﴿ V UTSRQPON ﴾ ba`_^]\[ZYXW

9

หะดีษที่รายงานโดยอัส-สินนีย และอับดุลลอฮฺ อิบนุอะหฺมัด อิบนุหัน บัล ในหนังสือซะวาอิดุลมุสนัด และรายงานโดยอัล-หากิมในหนังสือ อัลมุสตัดร็อก และอิบนุมาญะฮฺก็รายงานหะดีษนี้เชนกัน และมีกลาวในหนังสือ ฟ0ตหุลเกาะดีรฺ ของอัช-เชากานีย เลมที่ 1 หนา 38 หนังสือ อัดดีนุลคอลิศ เลมที่ 7 หนา 133 หนังสืออัล-อัซการฺ ของอัน-นะวะวีย ในบทเกี่ยวกับสิ่งที่ นํ า มาอานกั บ ผู ที่ เ ปนโรคความจํ า เสื่ อ มและผู ที่ ถู ก สั ต วกั ด ตอย และใน หนังสือ อัล-มุนตะกอ อัล-มุคตารฺ ของ อัศ-ศอบูนีย หนา 115-116

56


อัลบะเกาะเราะฮฺ 163-164

C BA ÙØ× ÖÕÔÓÒÑÐÏ﴿ KJIHGFED YXWVU TSRQPONML cba`_^]\[Z kjihgfed ﴾l

อัลบะเกาะเราะฮฺ 255

³²±°¯®¬«ª©¨§¦¥

อัลบะเกาะเราะฮฺ 285-286

¤ £ ¢ ¡ ~ }|{zyxwvuts ﴿

r q p on m l kj i h g﴿

ÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ÍÌËÊÉÈÇÆÅÄà﴾ ÐÏÎ

}|{zyx wvuts ¨§¦¥¤£¢¡ ~ ¸¶µ´³²±°¯®¬«ª©

57


ÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º¹ ÓÒÑÐÏ ÎÍ ÌËÊÉÈÇ Æ Å ÞÝÜÛÚÙØ×ÖÕÔ

อัลอะอฺรอฟ 54

อาลอิมรอน 18

﴾ àß ` _ ^ ] \ [ Z Y X W V U T﴿ ﴾ gfedcba ~ } | { z y x w v u﴿ hgfedcba`_ tsrqponmlkji ﴾w v u

อัลมุอมินูน 115-118

§ ¦ ¥¤ £ ¢ ¡ ~﴿ ´³²±°¯®¬«ª©¨  Á À ¿ ¾ ½ ¼ » º ¹ ¸ ¶µ ÎÍÌË ÊÉÈÇÆÅÄà ﴾ ÒÑÐÏ

58


อัศศอฟฟาต 1-10

IHG FED CBA ﴿ SRQPONMLKJ ^] \[ZYXWV UT jihgfedc ba`_ vuts rqponmlk ﴾ zyxw ba`_~}|{zy﴿

อัลหัชรฺ 21-24

kjihgfedc yxwvutsrqponm l ¥¤£¢¡ ~}|{z « ª © ¨ § ¦ µ´³²±°¯®¬ ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶

ญินนฺ 3

﴾É È Ç Æ Å Ä Ã

﴾cba`_ ^]\[Z﴿

59


อัลอิคลาศ อัลฟะลัก

KJI HGF ED CBA﴿ ﴾ SRQPONML _^ ]\[ZY XWVUT﴿ ihgfedcba` ﴾o n m l k j

อันนาซ

x wvu tsrqp﴿ a` _~}|{ z y

+, 5) -

﴾` h g f e d c b

)

ซูเราะฮฺอัรฺเราะอฺดุ ซูเราะฮฺอัศศอฟฟาต ซูเราะฮฺอัลญาษิยะฮฺ ซูเราะฮฺอัลวากิอะฮฺ ซูเราะฮฺอัลมุลกฺ

6 ก 78 )/ 1

'1

ซูเราะฮฺยาสีน ซูเราะฮฺอัดดุคอน ซูเราะฮฺอัรฺเราะหฺมาน ซูเราะฮฺอัลหัชรฺ อายะฮฺที่ 21 – 24 ซูเราะฮฺอัลญินนฺ 60


ซูเราะฮฺอัลบุรูจXฺ ซูเราะฮฺอัลอะอฺลา ซูเราะฮฺอัซซัลซะละฮฺ ซูเราะฮฺอัลฮุมะซะฮฺ ซูเราะฮฺอัลอิคลาศ ซูเราะฮฺอันนาซ

ซูเราะฮฺอัฏฏอริก ซูเราะฮฺอัลฆอชิยะฮฺ ซูเราะฮฺอัลกอริอะฮฺ ซูเราะฮฺอัลกาฟ]รูน ซูเราะฮฺอัลฟะลัก

หลั ง จากนั้ น ใหทานอานอายะฮฺ อั ล -อะซาบ (การ ลงโทษ)

% 5)% -% + 1

อัลบะเกาะเราะฮฺ 255 (อายะฮฺ อัลกุรสีย)

£ ¢ ¡ ~ } | { zyxwvuts ﴿ ²±°¯®¬«ª©¨§¦¥¤ ¿¾½¼»º¹¸¶µ´³ Ì Ë Ê É È Ç Æ Å Ä Ã ÂÁÀ ﴾ ÐÏÎÍ

61


yxwvutsrqp﴿ ¥¤£¢¡ ~}| {z ±°¯®¬«ª ©¨§¦ ¼»º¹ ¸¶µ´³² ÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½

อันนิสาอ 167–173

A ÒÑÐÏÎÍÌ ËÊÉÈ KJIHGFEDCB UTSRQPONML a`_^]\[ZYXWV nmlkjihgfedcb | { z y x w v u t s r q po edcba`_ ~} mlkjihgf u t s rq p o n }|{zyxwv ¤£ ¢¡ ~

62


﴾° ¯ ® ¬ « ª © ¨ § ¦ ¥

อัลมาอิดะฮฺ 33–34

r q p o n m l k ‫﴿ـ‬ { zyxwvuts edcba`_~}| p onmlkjihgf {zyxwvutsrq

อัลหะญัรฺ 16–18

อัลอันฟาล 12

﴾ ~}| cba`_~}|{zy ﴿ kjihgfed

﴾ qponml GFEDCBA﴿ R Q P O N M L K J IH

﴾ VUTS

63


อัลอิสรออ 110 – 111 อัลอันบิ ยาอ 70

gf edc ba`_ ~ } | { z ﴿ rqponmlkjih ¡ ~}|{zyxwvuts

﴾ ª©¨§¦¥¤£¢ ﴾ µ´³²±° ﴿

อัลหัจXฺ 19 – 22

vutsrqpon﴿ ¢ ¡ ~}|{zyxw ®¬«ª© ¨§¦¥¤£ ¹¸¶µ´³²±°¯

อันนูรฺ 39

﴾¼ » º mlkjihgf﴿ yxwvutsrqpon

อัลฟุรฺกอน 23

﴾ }|{z ﴾ k j i h g f e d c b﴿

64


อัศศอฟฟาต 98

﴾¹¸¶µ´³ ﴿

ฆอฟ]รฺ 78

IHGFEDCBA﴿ UTSRQPONMLKJ a`_^]\[ZYXWV

อัดดุคอน 43–50

ฟุศศิลัต อายะฮฺที่ 44

﴾ cb °¯®¬«ª©¨§¦ ﴿ ¼»º¹¸¶µ´³²± ÅÄÃÂÁÀ¿¾½

﴾ ÊÉÈÇÆ c ba` _^]\ ﴿ mlk jih gfed wvutsrq pon ba`_~} |{zyx

65


อัลญาษิยะฮฺ 7 – 8

﴾e d c ihgfedc ba`_~﴿

﴾ rqponmlkj I H G F E D C B A﴿ TSRQPONMLKJ _^]\[ZY X W VU

อัลอะหฺกอฟ 29–34

i hgfedcba` tsrqponmlkj `_~}|{zyx wv u ml kjihgfedcba wvutsrqpon ¦¥ ¤£¢¡ ~}|{zyx ´³²±°¯®¬«ª©¨§

﴾» º ¹ ¸ ¶ µ

66


อัรฺเราะหฺมาน 33–36

¤£¢¡ ~}|{﴿ ¯ ®¬«ª©¨§¦¥ »º¹¸¶µ´ ³²±°

﴾ ÂÁÀ¿¾ ½¼

% 5)%.-.7 % อายะฮฺอัช-ชิฟาอมี 6 อายะฮฺ ดังนี้ อัตเตาบะฮฺ 14

D C B A ﴿ JIHGFE

﴾ LK xwvutsr﴿

ยูนุส 57

_~}|{zy

﴾`

67


n m l k j i h g f e﴿ อันนะหฺลุ 69

อัลอิสรออ 82 อัชชุอะรออ 80

vutsrqpo

﴾ ~ } | { z y x w | { z y x w v u t﴿

﴾£ ¢ ¡ ~ } ﴾ ÆÅÄà﴿ ¯®¬«ª©¨§¦ ﴿ ¸¶µ´³²±°

ฟุศศิลัต 44

À¿¾½¼»º¹ ÈÇÆÅÄÃÂÁ

﴾ ÊÉ

68


% 5) . ก!

ก 7: ก (% 1 #ก

$

ในชวงการรักษาผูปJวยทางวิญญาน ใหผูปJวยใชหูฟ-ง ฟ-งอายะฮฺต างๆ ที่ถูกบั นทึก บนเทปโดยเรียงตามลํ าดับ ซู เราะฮฺในอัลกุรฺอาน ประมาณ 3 ชั่วโมง โดยแบงชวงการฟ-ง วันละ 4 – 6 ครั้ง ซูเราะฮฺตางๆ เหลานี้ คือ อัลฟาติหะฮฺ อัลบะเกาะเราะฮฺ อาลอิมรอน อัลอันอาม ฮูด อัลกะฮฺฟุ อัลหิจXฺรุ อัสสะญะดะฮฺ อัลอะหฺซาบ ยาสีน อัศศอฟฟาต ฟุศศิลัต อัดดุคอน อัลฟ-ตหฺ อัลหุXุรอต กอฟ อัซซาริยาต อัรฺเราะหฺมาน อัลหัชรฺ อัศศ็อฟ อัลXุมอะฮฺ อัลมุนาฟ]กูน อัลมุลกฺ อัลมะอาริจXฺ อัลญินนฺ อัตตักวีรฺ อัลอินฟ]ฏอรฺ อัลบุรูจXฺ อัฏฏอริก อัลอะอฺลา อัลฆอชิยะฮฺ อัลฟ-จXฺรุ อัลบะลัด อัซซัลซะละฮฺ อัลกอริอะฮฺ อัลฮุมะซะฮฺ 69


อัลกาฟ]รูน อัลฟะลัก

อัลมะสัด อันนาซ

อัลอิคลาศ

ถาหากเอาผาป]ดตาทั้งสองขางในขณะที่ฟ-งซูเราะฮฺ ตางๆ เหลานี้ก็จะเปนการดียิ่ง และใหติดตามและบันทึกสิ่ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแตละวั น จากการฝ- น หรื อ สิ่ ง ที่ ไ ดมองเห็ น ใน ขณะที่รูสึกตัว การฝ- น หรื อ การมองเห็ น นี้ จ ะเปนสิ่ ง บงชี้ ถึ ง การ วิวัฒนาการของการรักษา ตัวอยางเชน บางคนจะเห็นสัตว บางชนิดกําลังเจ็บปวดหรือถูกเผา สิ่งนี้อาจจะหมายความ วาชั ยฏอนที่เ ปนสาเหตุใ นการทํารายเขากํ าลัง ไดรั บทุก ข ทรมาน การดําเนินโปรแกรมอยางนี้มันจะจบใน 2 กรณี มันอาจจะออกไปหรือมันอาจจะถูกเผา ใหผูปJวยหมั่นอานซูเราะฮฺ และ ทุ ก เชา และกอนนอนใหอานซู เ ราะฮฺ และ - ถาหากเขาอานไมไดใหฟ-งซูเราะฮฺตางๆ นี้ดวย วิธีที่ไดกลาวมาแลวขางตน 70


บทที่ 3

ก % ! นิยามสั้นๆ ของการซิหิรฺ คือ รูปแบบหนึ่งของการใช . / และการใชประโยชนจากมั น หรื อ การทํ า สั ญ ญา รวมกันกับมัน สิ่งนี้นํามาซึ่งการกุฟรฺที่ชัดเจนและไมมีการ เตาบะฮฺ สํ า หรั บ ผู ที่ ใ ชมั น ดวยการใชวิ ธี นี้ จ ะมี ก ารสั่ ง ใช ชั ย ฏอนใหปฏิ บั ติ ห นาที่ ที่ ชั่ ว รายซึ่ ง บางอยางเกี่ ย วกั บ สถานที่เฉพาะ เวลาเฉพาะ เหตุการณเฉพาะ บุคคลเฉพาะ การเตรียมพรอมใหปฏิบัติการ หรือการสรางมโนทัศนให ดําเนินการในสิ่งชั่วรายบางอยาง

& ,

* ;,ก -

(%;,ก+ )

จากคําอธิบายขางตน เราสามารถรับทราบไดวากรณี ดังกลาวนั้นคือ กรณีถูกซิหิรฺ 71


;

<

กรณี นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ผู หนึ่ ง มี ค วามรู สึ ก คั บ แคบ หายใจไมออกและเศราโศกเมื่ออยู ณ สถานที่บางที่ และจะ ไมมีความรูสึกนี้เมื่อยายไปอยูที่อื่น เชน ถาสถานที่นั้นเปน บานของเขา เมื่อออกจากบานแลวจะไมเกิดความรูสึกที่ได กลาวมา

1.

<

ผูหนึ่งมีความรูสึกคับแคบอยางแรง หรือเจ็บปวดใน เวลาเฉพาะ เชนในชวงเชา หรื อ ชวงบาย หรื อ ในคื น พระจันทรเต็มดวง เปนตน หมายความวา การไดรับความ เจ็บปวดจะมีความสัมพันธกับเวลานั้นๆ

2. 3ก @ < ตัวอยางของกรณีนี้ เชน การไมเกิดความสมบูรณใน ชีวิตครอบครัว หรือการไมประสบความสําเร็จในการงาน อยางตอเนื่ อ งซึ่ ง สามารถเห็น ชั ด และไมธรรมดา การไม สํ า เร็ จ ความใครในขณะมี เ พศสั ม พั น ธระหวางสามี แ ละ ภรรยาไมวาจะในรูปแบบไหนก็ตาม เชน การหักหามผูหนึ่ง 72


จากการมีเพศสัมพันธกับภรรยาดวยการทําใหอวัยวะเพศ ของฝJายชายไมแข็งตัว หรือการหลั่งเร็ว เปนตน หรือเปน การหักหามจากฝJายหญิง เชนในกรณีที่ฝJายชายไมสามารถ จะสอดอวั ย วะเพศฝJ า เขาไปในอวั ย วะเพศหญิ ง ไดอั น เนื่องจากการไมเป]ดของอวัยวะเพศหญิง จากกรณีเชนนี้จะ ทําใหฝJายหญิงมีอารมณเย็นชาตอการมีเพศสัมพันธ หรือ พยายามหลีกหางจากการมีเพศสัมพันธเสียเลย อี ก กรณี ห นึ่ ง เปนป- ญ หาที่ เ กี่ ย วกั บ การที่ ผู หญิ ง มี เลือดออกทางอวัยวะเพศเปนจํานวนมาก หรือมีเลือดออก จากจมู ก เปนจํ า นวนมากโดยไมมี ส าเหตุ ท างกายภาพที่ รับทราบกัน หรือสาเหตุอื่นๆ ที่มีตอเหตุการณเฉพาะ

3. ก

3*%1

<

เปนกรณีที่ผูชายไมมีความรูสึกตองการในตัวผูหญิง หรือตรงกันขามกัน การไมมีความรูสึกตองการนี้จะเกิดขึ้น ใน 2 ดาน ดานลบ คื อ การเกลียด สวนอี กดานหนึ่ง คื อ ดานบวกเปนการหลงรัก มันจะชักนําใหผูหนึ่งถลําลึกใหอยูกับอารมณของเขา 73


โดยปราศจากการคิด หรื อ ใชป- ญญา ถึ งแมวาสิ่ง ที่ สมอง ตัดสินแลววาเปนเรื่องที่คัดคานกับพฤติกรรมของเขา สิ่งนี้ สามารถบงชี้ไดวาเปนผลมาจากการทํารายหรือถูกซิหิรฺ

4. ก

'

%

เปนกรณีที่ผูหนึ่งมองเห็นภรรยาของเขาในสภาพที่ไม ปกติ หรือในสภาพที่ปกติแตไมสอดคลองกับสิ่งที่คนทั่วไป รอบๆ ขางมองเห็น สภาพที่เขามองเห็นนั้นทําใหปลีกตัวหนี นากลัว กระตุนใหเกิดความรูสึกบางอยาง เปนตน ถาหากพบเจอขอใดขอหนึ่งจาก 5 กรณีที่ไดกลาวมา ขางตน หรือมีอาการที่มากกวานี้ สิ่งนี้ชี้ชัดเลยวาเปนผลมา จากการใหรายหรื อ ถู ก ซิ หิ รฺ จากสิ่ ง ที่ เ ราไดพู ด ถึ ง ใน ความหมายของการซิหิรฺนั้น เราจะประจักษไดวามันเปน เปH า ประสงคของชั ย ฏอนที่ จ ะใหรายหรื อ การซิ หิ รฺ ที่ มี ปฏิสัมพันธตอมัน และสิ่งนี้จะเกิดกับบุคคลเฉพาะ การซิหิรฺโดยรวมแลวจะมีผลรายแรงกวาการใหราย จากญินนฺหรือชัยฏอน เพราะวา การใหรายเกิดจากการที่ 74


ชัยฏอนทํารายโดยปราศจากการบังคับหรือการสั่งใชจากผู หนึ่งผูใด สวนการซิหิ รฺ ชัยฏอนจะถูกบั งคั บหรื อถู กสั่ง ใชโดย ชัยฏอนอื่นที่มีพละกําลังที่แข็งแกรงกวาใหไปทํารายผูหนึ่ง ถาหากมันขัดขืนการสั่งใชนี้มันก็จะถูกฆาอยางนาอนาถตอ หนาพวกพองของมันเพื่อเปนแบบอยางและเปนบทเรียนกับ ตนอื่น ชัยฏอนอื่นๆ จะไมมีการขัดขืนและแคลวในหนาที่ที่ ชั่วรายซึ่งไดถูกบังคับและสั่งใชโดยนักซิหิรฺ หรือจากผูที่มี อํานาจเหนือกวาดวยการตอบรับจากนักซิหิรฺ เพราะเหตุนี้ เอง การรั กษาผูปJ วยที่ เกิด จากการถู กซิหิ รฺจํา เปนตองใช ความอดทนกวา และใชโปรแกรมการรักษาที่ยาวนานกวา

ก ก! 0, ;,ก+ ) สิ่ ง ที่ เ ปนขอยื น ยั น ไดวากรณี ที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น เปนการ กระทําจากฝJายหนึ่งหรือเปนการซิหิรฺ ใหสังเกตในขณะที่ กําลังทําการตรวจอาการผูปJวยในระยะแรก ถาหากผูปJวย รองไหอยางแรงโดยไมรูสึกตัว หรือญินนฺไดมาสวมตัวและ 75


บอกวามั น เปนผู รั บ ใชจากการทํ า ซิ หิ รฺ แ ละถู ก บั ง คั บ ให ทํางานตามคําสั่ง หรือเราพบวาหลังจากทําการรักษาได ระยะหนึ่ง การรักษามีผลออนมากหรือการหายจากโรคชา มาก หรือผูปJวยยังลังเลวามันเปนการทําซิหิรฺอันเนื่องจาก เขาเห็นบางสิ่งบางอยางดวยตาตนเองอยูเสมอ หรือสงสัย กับบุคคลหนึ่งๆ ดวยเหตุผลบางอยางหรือสาเหตุอื่นๆ ในกรณีเ ชนนี้ จะเปนกรณี “การสงสั ย” หรืออาจจะ เปนกรณีการถูกซิหิรฺ เพื่อจะยืนยันวาเปนกรณีดังกลาวหรือ เปลา เราอาน อายะฮฺที่สามารถลบลางอิทธิพลของซิหิรฺ บนตัวผูปJวย ทุกอายะฮฺใหอาน 7 ครั้ง ถาหากผูปJวยรองไห แรงขึ้นจะรูไดเลยวามันเปนกรณีที่ถูกซิหิรฺ

อัลอะอรอฟ 117-122

% 5)

; 1 % & "% + )

$

Ç Æ Å Ä Ã Â Á À ¿ ¾ ½ ‫﴿ـ‬ ÑÐÏ Î Í Ì Ë ÊÉ È A Ø × ÖÕÔ Ó Ò

﴾ I H G FE D C B

76


ยูนุส 81-82 ฏอฮา 69

` _ ^ ] \ [ Z Y X W V U T S﴿ kj ihg fedcba

﴾nm l utsrqponmlkjih ﴿

﴾z y x w v

หลังจากนนั้นก็ปฏิบัติตามโปรแกรมการรักษาผูปJวยที่ ถู ก ซิ หิ รฺ เ ชนเดี ย วกั บ การรั ก ษาผู ปJ ว ยที่ ถู ก การใหราย จากญินนฺ แตใหเพิ่มวิธีการตอไปนี้ ใหเขียนอายะฮฺตางๆ ขางลางนี้ โดยเรียงตามลําดับที่ ไดกลาวมานี้ ดวยขมิ้นรอน มิสกฺขาวและเลือดกวางแลวบด ใหอยูในรูปผงแดงซึ่งคนขายน้ําหอมจะนํามาละลายในน้ํา กุห ลาบ แลวนํ ามาคั ดสรรและเขี ยนบนกระดาษ แลวนํ า กระดาษที่ถูกเขียนอายะฮฺตางๆ มาลางดวยน้ําที่มีภาชนะมา รองในจํานวนที่สามารถนํามาใชดื่มและอาบผูปJวยที่ถูกซิหิรฺ อายะฮฺตางๆ ที่ใชเขียนมีดังนี้ 77


-

-

ซูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ 1 ครั้ง บัสมะละฮฺ 3 ครั้ง อายะฮฺอัลกุรฺสีย 3 ครั้ง อายะฮฺที่ใชลบลางอิทธิพลของซิหิรฺ (อัลอะอรอฟ อายะฮฺที่ 117-122 ยูนุส อายะฮฺที่ 81-82 และฏอ ฮา อายะฮฺที่ 69) ซูเราะฮฺอัลฟุรฺกอน อายะฮฺที่ 23 อายะฮฺสุดทายของซูเราะฮฺอัลมุอมินูน 3 ครั้ง ซูเราะฮฺอัซซัลซะละฮฺ 2 ครั้ง ซูเราะฮฺอัลอิคลาศ 3 ครั้ง ซูเราะฮฺอัลฟะลัก 3 ครั้ง ซูเราะฮฺอันนาซ 3 ครั้ง

ใหปฏิบัติตามวิธีการตางๆ ขางตน 3 ครั้งเปนเวลา 3 วันติดตอกัน แลวเทน้ําที่เหลือจากการอาบน้ําในบริเวณที่ สะอาดและใหหางจากหองน้ําหรือที่จะไหลสูหองน้ํา จะเปน การดีถานําน้ําไปเทตามมุมบานที่ผูปJวยที่ถูกซิหิรฺอาศัยอยู 78


อิบนุอะบีหาติมไดกลาววา มุหัมมัด อิบนุอัมมารฺ อัล หาริ ษ ไดรายงานจากอั บ ดุ รฺ เ ราะหฺ ม าน อั ต ตั ช ตะกี ย จากอะบูญะอฺฟ-รฺ อัรฺรอซีย จากลัยษฺ อิบนุอะบีสุลัยมฺ กลาว วา เราไดรับรูวาอายะฮฺตางๆ นี้สามารถทําใหหายจากการ ซิหิรฺ ดวยความอนุมัติจากอัลลอฮฺ คุณสามารถทําได ดวยการอานอายะฮฺดังกลาวในภาชนะที่บรรจุดวยน้ําแลว นําไปรดบนหัวผูปJวยที่ถูกซิหิรฺ และอายะฮฺที่จะอานคือ ซู เราะฮฺยูนุส อายะฮฺที่ 81-82 ซูเราะฮฺอัลอะอรอฟ อายะฮฺที่ 117-122 และซูเราะฮฺฏอฮา อายะฮฺที่ 6910 อิบนุกะษีรฺไดกลาววา สิ่งที่เปนคุณประโยชนไดดีมาก จากบรรดาอายะฮฺที่อัลลอฮฺ ไดประทานแกเราะซูลของ พระองคในการนํามาใชในการลบลางซิหิรฺคือ มะอูซะตาน (ซูเราะฮฺอัลฟะลักและซูเราะฮฺอันนาซ) ในบทหะดีษไดกลาว วา “ทานไมเคยใชสิ่งอื่นมาปHองกันตัวนอกจากทั้งสองนี้” และการอานอายะฮฺอัลกุรฺสียสามารถขับไลชัยฏอนได 11 10 11

ตัฟซีรฺอิบนุกะษีรฺ เลมที่ 2 หนา 427 ตัฟซีรฺอิบนุกะษีรฺ เลมที่ 1 หนา 148

79


&ก ก! 0, ;,ก+ ) การงานตางๆ จะถูกผูกมัดเพื่อจุดประสงคการปอง รายในลักษณะตางๆ ที่เกิดขึ้นกับผูที่ถูกชัยฏอนควบคุมอยู เชน การแยกจากกัน ระหวางสามี แ ละภรรยา ลู กๆ บิ ด า มารดา พี่นอง หรือเพื่อนๆ ของเขา หรือจะเกิดขึ้นในกรณี ถูกทําเสนห ความเกลียดชัง การฟุHงซาน บา ความเฉื่อยชา อาการเปนโรค การมี เ ลือ ดออกอยางมาก หรือ ลั กษณะ ตางๆ ที่เราไดกลาวมาแลว ถาหากเปนการซิหิรฺที่มีจุดประสงคในการแตกแยก กัน ใหอานรุกยะฮฺ ดังตอไปนี้

อัลฟาติหะฮฺ

I H G F ED C B A S R Q P O N M L KJ [ZYXWVUT dc ba` _^]\

80


อัลบะเกาะเราะฮฺ 1 – 5

M LKJIHGFED C BA ﴿ W V U T S R Q P ON dc b a`_ ^] \[Z YX ﴾ lkjihgfe J I H G F E D C B A ‫﴿ـ‬

อัลบะเกาะเราะฮฺ 102 (7 ครั้ง

PONMLK ZYXWVUTSRQ edcba`_^]\[ onmlkjihgf zyxwvutsrqp dcba`_~}|{ onmlkjihgfe ﴾s r q p

81


อัลบะเกาะเราะฮฺ 163–164

BA ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏ﴿ JIHGFEDC WVUTSRQPONMLK ba`_^]\ [ Z Y X jihgfedc

﴾ lk

อัลบะเกาะเราะฮฺ

อัลบะเกาะเราะฮฺ 255

¤ £ ¢ ¡ ~ } | { z y x w v u t s﴿ ²±°¯®¬«ª©¨§¦¥ ¿¾½¼»º¹¸¶µ´³ Ì Ë Ê É È Ç Æ Å Ä Ã ÂÁÀ

﴾ ÐÏÎÍ r q p o n m lk j i h g﴿ |{zyxwvuts § ¦ ¥ ¤ £¢¡ ~} ³²±°¯®¬«ª©¨

82


285-286

À¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ÌËÊÉÈÇ Æ Å Ä Ã Â Á ÚÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏÎÍ

﴾ àßÞÝÜÛ

อาลอิมรอน 18-19

^ ] \ [ Z Y X W V U T﴿ ih gfedcba`_ tsrqponmlkj _~}|{zyxwvu

﴾ dcba`

อัลอะอฺรอฟ 54–56

}|{zyxwvu ﴿ gfedcba`_~ rqpon m l kji h }|{zyxwvuts §¦¥¤£¢¡ ~ ²± ° ¯ ®« ª ©¨

83


﴾ ´³¬

อัลอะอฺรอฟ 117–122

อาน (7 ครั้ง) โดยใหทวนประโยค ﴾Ø × Ö﴿ 30 ครั้ง

ÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½﴿ ÑÐ Ï Î Í Ì Ë ÊÉ È A Ø × ÖÕ Ô Ó Ò

ยูนุส 81–82

﴾I H G FE D C B

อาน (7 ครั้ง) และใหทวนประโยค ﴾ ^ ] \ ﴿ 70 ครั้ง ` _ ^ ] \ [ Z Y X W V U T S﴿ kjihg fedcba

ฏอฮา 69

﴾nml

vutsrqponmlkjih ﴿

﴾z y x w

84


อัลมุอมินูน 115–118

§ ¦ ¥ ¤ £¢ ¡ ~﴿ ³²±°¯®¬«ª©¨ À¿¾ ½¼»º¹¸¶ µ´ Ì Ë Ê É È Ç Æ Å ÄÃÂÁ ﴾ ÒÑÐÏÎÍ

อัศศอฟฟาต 1 - 10

I H GF E D C B A ﴿ SRQPON MLKJ ^ ]\ [ Z Y X W V U T j i h g f e d cb a ` _ v u t sr q p o n m l k

อัลอะหฺกอฟ 29–32

﴾ zyxw

* อานทวนประโยค ﴾ l k j i ﴿ 7 ครั้ง I H G F E D C B A﴿ SRQPONMLKJ ] \ [ Z Y X W V UT

85


hgfedcba`_^ rqponmlkji ~ } | { z y x wvuts kjihgfedcba`_ utsrqponml £¢¡ ~}|{zyxwv ±°¯®¬«ª©¨§¦¥¤

อัรฺเราะหฺมาน 33–36

﴾» º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ¥ ¤ £ ¢ ¡ ~ } | {﴿ ±°¯ ®¬«ª©¨§¦ ¼»º¹¸¶µ´ ³²

﴾ ÂÁÀ¿¾ ½ b a ` _ ~ } | { z y ‫﴿ـ‬ kjihgfedc yxwv utsrqp o nm l

86


อัลหัชรฺ 21–24

¥¤£¢¡ ~}|{z « ª © ¨ § ¦ µ ´³ ² ± ° ¯ ® ¬ ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶ ﴾ ÉÈÇÆÅÄÃ

MLKJIHGFEDCBA ﴿ [ Z Y X WVUTSRQPON อัลญินนฺ 1–9

hgf edcba`_^]\ vutsrqponmlkji ba`_~}|{zyxw o nm lkji hgfedc yxwv utsrqp

อัลอิคลาศ

﴾ ¥¤£¢¡ ~}|{z LKJI HGF ED CBA SRQ PON M

87


อัลฟะลัก (9 ครั้ง)

a `_^ ]\[ZY XW VUT kj ihgfed cb on ml

อันนาซ

zyx wvu tsrqp cba` _~}|{ `hg f ed

ใหผู ที่ ถูก ซิ หิ รฺ ดื่ม น้ํ า ที่ ไ ดอานอายะฮฺ ตางๆ ที่เ ปนอา ยะฮฺแหงการลบลางอิทธิพลของซิหิรฺ และเพิ่มอายะฮฺที่ 102 จากซูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺ ทั้งหมดนั้นใหอาน 7 ครั้ง ทั้งเชาและเย็น ถาหากซิหิรฺสามารถลบลางอิทธิพลของมัน ไดดวยการดื่ม จะมีสัญลักษณใหเห็นเกิดขึ้น นั่นคือ ผูปJวย จะรูสึกเจ็บปวดในกระเพาะอาหาร ถาสิ่งนี้เกิดขึ้นจงปฏิบัติ อยางตอเนื่องเปนระยะเวลา 7 วัน ถา ห า กอ า ก ารห นั กก ว า ที่ ไ ด ก ลา ว ม าข า ง ต น จําเปนตองมีการอาบน้ําโดยปฏิบัติเหมือนที่ไดปฏิบัติกับน้ํา 88


ดื่มเปนเวลา 7 วัน หลังจาก 7 วันแลวใหสังเกตุและมั่นใจวา อิ ท ธิ พ ของซิ หิ รฺ ยั ง คงหลงเหลื อ อยู อี ก หรื อ เลา ถาหาก อิทธิพลยังคงมีอยูใหผูปJวยฟ-งเทปที่ถูกบันทึกเสียงของอา ยะฮฺอัลกุรฺสียทุกวัน ครั้งละ 1 ชั่วโมง 3 เวลา เปนระยะเวลา 1 เดือน แลวกลับมาตรวจสอบใหม ถาหากยังไมหยุด ให ผูปJวยฟ-งเทปที่ถูกบันทึกเสียงของซูเราะฮฺยาสีน ซูเราะฮฺอัศ ศอฟฟาต ซูเราะฮฺอัดดุคอน และ ซูเราะฮฺอัลญินนฺ 3 ครั้ง ตอวั น เปนระยะเวลา 3 สั ป ดาห หรื อ ใหอั ด เทปจากซู เราะฮฺ อั ศศอฟฟาตและอายะฮฺ อัล กุ รฺสี ย 70 ครั้ง แลวให ผูปJว ยฟ-ง เทป 3 เวลาตอวั น โดยยึ ดหลั กเงื่ อนไขของการ รักษา

+ )

*

อาการของการถูกซิหิรฺประเภทนี้ คือ เกิดการหลงรัก อยางรุนแรง และมีความตองการทางเพศสูง และปฏิบัติ ตามคูรักอยางตาบอด

89


วิธีการรักษา ใหอานอายะฮฺ อั ล -รุก ยะฮฺที่ เ กี่ ยวกั บ ซิหิ รฺ ที่ไ ดกลาว มาแลวขางตน โดยนํ า อายะฮฺ ที่ 14–16 จากซู เ ราะฮฺ อัตตะฆอบุนมาแทนที่อายะฮฺที่ 102 จากซูเราะฮฺอัลบะเกาะ เราะฮฺ อายะฮฺที่ 14–16 จากซูเราะฮฺอัตตะฆอบุน คือ ` _ ~ } | { z y﴿ ihgfedcba tsrqponmlkj ~}|{zyxwvu ﴾© ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡

สวนมากแลว ผลที่เกิดขึ้นจะทําใหผูปJวยรูสึกปวดใน กระเพาะอาหาร และมีอาการชา ปวดหัว หรือมีอาการคับ อก หายใจไมสะดวก บางครั้งจะอาเจียนออกมา ในกรณีที่ ถูกซิหิรฺจากการดื่ม ถาเปนอยางนั้นจริงๆ ใหอานอายะฮฺ แหงการลบลางอิ ท ธิ พ ลของซิ หิ รฺ แ ละอายะฮฺ อั ล กุ รฺ สี ย 7 90


ครั้ง ในน้ํา แลวใหผูปJวยดื่มน้ํานั้น ถาหากผูปJวยไดอาเจียน ออกมาเปนสีเหลือง สีแดง หรือสีดํา แสดงวาซิหิรฺถูกลบ ลางแลว แตถาหากยังไมหายขาด ควรใหเขาดื่มน้ําที่ไดอาน อายะฮฺที่ 81–82 จากซูเราะฮฺยูนุส อายะฮฺที่ 117–122 จากซู เราะฮฺอัลอะอฺรอฟ และอายะฮฺที่ 79 จากซูเราะฮฺฏอฮา เปน ระยะเวลา 3 สัปดาห

+ ) 0

'

%

อาการของการถูกซิหิรฺประเภทนี้ คือ ผูปJวยจะเห็นสิ่ง ตางๆ ที่ไมสอดคลองกับธรรมชาติของภาพนั้น วิธีการรักษา อาซาน อานอายะฮฺอัลกุรฺสีย การอานดุอาอที่เกี่ยวกับ การขับไลชัยฏอน การอานบัสมะละฮฺ

+ ) 0 C1 อาการของการถู ก ซิ หิ รฺ ป ระเภทนี้ คื อ เกิ ด อาการ เหมอลอย ฟุH ง ซาน การหลงลื ม อยางมาก การพู ด การ 91


กระทํา และความคิดที่เลอะเลือน เปนตน วิธีการรักษา ใหอานรุกยะฮฺเฉพาะที่เกี่ยวกับการซิหิรฺ ถาผูปJวยเกิด อาการช็อคก็แสดงวาเกิดปฏิกิริยากับญินนฺ แตถาหากวาไม เกิดอาการใดๆ เปลี่ยนแปลงใหผูปJว ยฟ-งเทปบันทึ กเสีย ง ของอายะฮฺตางๆ ที่เกี่ยวกับการลบลางอิทธิพลของซิหิรฺซึ่ง ประกอบดวย ซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ ฮูด อัลหิจXฺรฺ อัศ ศอฟฟาต กอฟ อัรฺเราะหฺมาน อัลมุลกฺ อัลญินนฺ อัลอะอฺลา อัซซัลซะละฮฺ อัลฮุ มะซะฮฺ อัลกาฟ]รูน อัลฟะลั ก และอั น นาซ ใหผู ปJ ว ยฟ- ง ทุ ก วั น วั น ละ 3 ครั้ ง เปนเวลา 1 เดื อ น และเพิ่มขึ้นเปน 3 เดือนหรือมากกวานี้ และใหดื่มน้ําที่ไ ด อานอายะฮฺตางๆ ที่เปนอายะฮฺแหงการลบลางอิทธิพลของ ซิหิรฺเปนการเฉพาะ

92


+ ) 0

<(% .

ใหผู ปJ ว ยฟ- ง เทปบั น ทึ ก เสี ย งของซู เ ราะฮฺ ต างๆ ซึ่ ง ประกอบดวย ซู เ ราะฮฺ อั ล ฟาติ ห ะฮฺ อั ล บะเกาะเราะฮฺ อาลอิรอน ยาสีน อัศศอฟฟาต อัดดุคอน อัซซาริยาต อัล หั ช รฺ อั ล มะอาริ จ Xฺ อั ล ฆอชิ ย ะฮฺ อั ซ ซั ล ซะ-ละฮฺ อั ล กอ ริอะฮฺ อัลฟะลัก และอันนาซ นําซูเราะฮฺที่ไดกลาวมาขางตนไปอัดเทปเปน 3 แผน ใหผูปJวยฟ-งเทปแรกในชวงเชาเทปที่สองในชวงเย็น และเทป ที่ ส ามในขณะนอน เปนเวลา 45 วั น และใหดื่ ม น้ํ า และ อาบน้ําดวยน้ําที่ไดอานอายะฮฺตางๆ ที่เปนอายะฮฺแหงการ ลบลางอิทธิพลของซิหิรฺเปนการเฉพาะ

+ ) 0

1

อาการของการถูกซิหิรฺประเภทนี้ที่สามารถเห็นไดชัด คือ เกิดการลังเลบอยครั้งมาก และสงสัยตอเพื่อน คนรัก จนกระทั่งถึงขั้นบา และมีอาการเสื่อมลงแตไมเกินกวาการ ลังเลอยางแรง 93


วิธีการรักษา ใหผูปJวยทําวุฎaอกอนนอนแลวอานอายะฮฺอัลกุรสีย ซู เราะฮฺ อั ล ฟะลั ก และซู เ ราะฮฺ อั น นาซ โดยเปJ า ในกํ า มื อ หลังจากนั้นใหเขาเอามือลูบใหทั่วรางกาย 3 ครั้ง - ใหผูปJวยอานซูเราะฮฺ == 88 ในชวงเชา สุเราะฮฺ 1 กอนนอน หรือจะฟ-งจากเครื่องอัดเสียงก็ ได - อานซูเราะฮฺ " ก 40ทุกๆ 3 วัน หรือจะฟ-ง จากเครื่องอัดเสียงก็ได - กลาวซิกรฺนี้ทุกเชาและเย็น 7 ครั้ง ¾ ½¼»º¹ ¸¶µ´³²±°

- อาน 2 อายะฮฺ สุ ด ทายจากซู เ ราะฮฺ อั ล บะเกาะ เราะฮฺกอนนอน - กอนนอนใหอานดุอาอนี้ 768 4 ,./9: ; <, -# ,./ 0 1234 5 6 EFG HB

. #20 4 ,? CD >= 4 ,? @ A

94


- ฟ-งซูเราะฮฺตางๆ เหลานี้จากเครื่องอัดเสียง 3 ครั้ ง ตอวั น เปนเวลา 1 เดื อ นเต็ ม นั่ น คื อ ซูเราะฮฺฟุศศิลัต อัลฟ-ตหฺ และอัลญินนฺ

+ ) 0

'1/"/ D

อาการของการถู ก ซิ หิ รฺ ป ระเภทนี้ คื อ เกิ ด อาการ เจ็บปวดตรงจุดใดจุดหนึ่งของรางกายและการรักษาทาง กายภาพไมสามารถที่ จ ะทํ า ใหหายได หรื อ เปนอั ม พฤก หรือ ความรูสึกบางอยางเกิดบกพรองขึ้นมา วิธีการรักษา ใหอานรุกยะฮฺที่สามารถลบลางอิทธิพ ลของซิหิรฺ 3 ครั้ ง มั น อาจทํ า ใหญิ น นฺ พ ายแพและสามารถควบคุ ม มั น หรืออาจตองปฏิบัติดังตอไปนี้ - อัดเสียงซูเราะฮฺ 8 40 7 ครั้ง อายะฮฺ ก1 0* 7 ครั้ง ซูเราะฮฺ 8 กและซูเราะฮฺ 6 3 ครั้ง - อานรุ ก ยะฮฺ ข างลางนี้ โดยในขณะที่ อ านใหลม หายใจสั มผั สกับ >3 "" 1* * แลวนํ ามา 95


นวดหนาผากและสวนของอวั ย วะที่ มี อ าการ เจ็บปวดทุกเชาและเย็น รุกยะฮฺที่ใชอานมีดังนี้ 1. ซูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ 2. ซูเราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ 3. อายะฮฺที่ 82 จากซูเราะฮฺอัลอิสรออ 7 ครั้ง ~ } | { z y x w v u t﴿

﴾£ ¢ ¡

4. ดุอาอนี้ 7 ครั้ง

,>L:RL P Q = O MN > <KL 5 4 ,> JD 5 6 I P F4 S P <9 = O MN4 W> <KL 5 ,BP U V T

5. ดุอาอนี้ 7 ครั้ง 1[ ZA 4 , 7/ YC: ,

XD

-# I

W`aU DQ _L & ^ <A \] <A &' <A & , K

96


+ ) 0 ก -

-

-

-

6

&/ * 1, @

วิธีการรักษา ใหทํ า วุ ฎa อ กอนนอน แลวอานอายะฮฺ ก1 0 * ซู เราะฮฺ 8 - กและซูเราะฮฺ 6 โดยเปJาในกํามือ หลังจากนั้นใหเอามือลูบใหทั่วรางกาย 3 ครั้ง ใหอั ด เสี ย งอานอายะฮฺ ก1 0 * โดยทวนหลายๆ ครั้งใหไดเวลา 1 ชั่วโมง และฟ-งจากเครื่องอัดเสียง วันละ 1 ครั้ง ใหอั ด เสี ย งอานซู เ ราะฮฺ 8 กและ 6 โดย ทวนหลายๆ ครั้งใหไดเวลา 1 ชั่วโมง และฟ-งจาก เครื่องอัดเสียงวันละ 1 ครั้ง อานรุกยะฮฺใ นน้ําที่จะใชดื่มและอาบน้ํา 1 ครั้งใน ทุกๆ 3 วัน ใหอานซิกรฺนี้ 100 ครั้งหลังจากละหมาดศุบหฺ ,B$ef ( 4 >#$ ( ,( >L $A & dB$V4 c &' b' & LBJ P g O EF C4

97


หากปฏิบัติตามขั้นตอนที่กลาวมาขางตนแลว อาการ ตางๆ ที่ กํ า ลั ง ประสบอยู จะหายไป ดวยการอนุ มั ติ จากอัลลอฮฺ

ED .

%

6

&

อาการของการถูกซิหิรฺประเภทนี้ ฝJายชายไมสามารถ ที่จะมี เพศสัมพั นธกั บภรรยา อาการนี้ จะแบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. อวัยวะเพศไมแข็งตัว หรือจะเกิดขึ้นในขณะที่จะมี เพศสัมพันธ 2. อวั ย วะเพศแข็ ง ตั ว ไมเต็ ม ที่ ซึ่ ง จะทํ า ใหการมี เพศสัมพันธไมสมบูรณ 3. ป-ญหาการหลั่งเร็ว การเกิดขึ้นของอาการดังกลาวนี้ จะตองไมเกิดจาก สาเหตุทางรางกาย สิ่งที่เรากําลังพูดถึงคือ เปนอาการที่ถูก ซิหิรฺจากิทธิพลของชัยฏอนที่มีจุดศูนยกลางที่สมองของฝJาย ชาย โดยเฉพาะตามจุดเสียวตางๆ ที่กระตุนใหเกิดอารมณ 98


ทางเพศ สิ่งนี้จะสงสัญญานแหงความรูสึกไปยังอวัยวะเพศ ดังนั้น ชัยฏอนจะสกัดกั้นการมีเพศสัมพันธโดยการควบคุมที่ จุดเสียวตางๆ ที่กระตุนใหเกิดอารมณทางเพศ แลวสัญญาน ทางอารมณที่ ถู กสงไปยั ง อวั ย วะที่ มี สวนเกี่ ย วของกับ การ หลอเลี้ยงเลือดไปยังอวัยวะเพศหยุดชงักลง จึงทําใหอวัยวะ เพศขาดเลือดในการหลอเลี้ยงและไมแข็งตัว สวน การมั ด ในฝายหญิ ง จะแบงออกเปน 5 ประเภท คือ 1. การสกัดกั้น เปนอาการที่เกิดขึ้นโดยที่ฝJายหญิง จะแนบนองทั้งสองเขาดวยกันโดยไมรูสึกตัว จน ทํ า ใหฝJ า ยชายไมสามารถจะมี เ พศสั ม พั น ธกั บ หลอนได 2. การเกิดอารมณ)เย็นชา โดยที่ญินนฺที่ถูกบังคับ ดวยซิหิรฺมาควบคุมในบริเวณประสาทความรูสึก ในสมองของฝJายหญิง จนทําใหเธอไมมีความสุข กับการรวมเพศ เหมือนกับเธอมีความรูสึกเย็นชา ทั่ ว รางกาย การมี เ พศสั ม พั น ธก็ ไ มสมบู ร ณ อั น 99


เนื่องจากอวัยวะเพศหญิงไมหลั่งของเหลวซึ่งจะ ทําใหการมีเพศสัมพันธคลองตัวขึ้น 3. การมีเลือดไหล เปนเลือดที่ออกมาจากอวัยวะ เพศหญิง ในชวงเวลาที่จะมีเพศสัมพันธเปนการ เฉพาะ ดวยเหตุ นี้ ฝJ า ยชายไมสามารถที่ จ ะมี เพศสัมพันธได 4. การขวางกั้น เปนกรณีที่ฝJายชายมีความรูสึกวามี อ ะ ไ ร บ า ง อ ย า ง ที่ ข ว า ง กั้ น ร ะ ห ว า ง ก า ร มี เพศสัมพันธของเขากับฝJายหญิง 5. การป0 ด กั้น โดยที่ฝJ า ยชายไมสามารถที่ จ ะสอด อ วั ย ว ะ เ พ ศ ใ น อ วั ย ว ะ เ พ ศ ห ญิ ง ไ ด ก า ร มี เพศสัมพันธก็ไมเกิดขึ้น การมั ด จากชั ย ฏอนในเพศชายและเพศหญิ ง เปน ประเภทของการถูกซิหิรฺที่รายแรงที่สุด อันเนื่องจากชัยฏอน ใชวิ ธี นี้ ใ นการที่จ ะทํ า ใหสามี แ ละภรรยาแตกแยกกั น แต 100


ไมใชอาการเสื่อมสมรรถนะทางเพศที่เกิด ขึ้นจากสาเหตุ ทางรางกาย เพราะกรณี นี้ ต องอาศั ย การรั ก ษาทาง การแพทย บางครั้งการผูกมัดจากการสัมผัสชัยฏอนที่มีตอฝJาย ภรรยา จากการที่ ญิ น นฺ ทํ า การผู ก มั ด สามี ไ มใหเขามี เพศสัมพันธกับภรรยาของเขา เพราะมันชอบและหลงรัก ภรรยาของเขา ในกรณีเฉกเชนนี้ภรรยาตองไดรับการรักษา ดวยโปรแกรมการรักษาที่มีผลจากการสัมผัสของชัยฏอน ซึ่งไดกลาวมาแลวขางตน ในชวงของการรัก ษา ควรรั กษาทั้ง สามี แ ละภรรยา พรอมๆ กัน การรักษาจึงจะเกิดผล วิธีการรักษา ขั้นตอนแรก ใหอานอายะฮฺรุกยะฮฺตางๆ แลวอานอา ยะฮฺที่สามารถลบลางผลของการซิหิรฺกับสามีและภรรยาใน เวลาเดียวกัน ขั้ น ตอนที่ 2 ใหเขี ย นอายะฮฺ ต างๆ ขางลางนี้ บ น กระดาษดวยขมิ้น แลวนําน้ําไปลาง หลังจากนั้นใหสามีและ 101


ภรรยาดื่ม 3 ครั้ง น้ํา สวนที่ เหลือ ใหทั้ ง สองนํ า ไปอาบน้ํ า ควรระวังในการทิ้งน้ําที่ใชแลวในบริเวณที่สะอาด หรือนําไป ราดตามมุ ม ตางๆ ของที่ พั ก อาศั ย ควรปฏิ บั ติ วิ ธี ก ารนี้ หลายๆ ครั้ ง เพื่อ ไดผลอยางสมบู ร ณ อายะฮฺ ตางๆ ที่ ไ ด กลาวถึงคือ 8 40 อายะฮฺ ก1 * อายะฮฺที่ใชลบลางอิทธิพล ของซิหิรฺ นั่นคือ อายะฮฺที่ 120–122 ของซูเราะฮฺ 0 8 อายะฮฺ ที่ 81–82 ของซู เ ราะฮฺ 1 * อายะฮฺ ที่ 69 ของซู เราะฮฺ / 4 อายะฮฺ ที่ 23 ของซู เ ราะฮฺ 81 0 ก อายะฮฺ สุดทายของซูเราะฮฺ 1 (3 ครั้ง) ซูเราะฮฺ 66 6 40 (2 ครั้ง) ซูเราะฮฺ = (3 ครั้ง) ซูเราะฮฺ 8 กและซู เราะฮฺ 6 (3 ครั้ง) อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ใหนํ า ใบพุ ท รา 7 ใบ แลวนํ า ไปบดใส ภาชนะ และเทน้ําเขาไปใหเพียงพอสําหรับใชอาบน้ําและดื่ม แลวอานอายะฮฺและซูเราะฮฺตางๆ ที่ไดกลาวไวขางตน แลว ใหผูปJวยดื่มและอาบน้ํา ปฏิบัติอยางนี้ตลอดจนกวาจะหาย อยางสมบูรณ โดยที่ผูปJวยหมั่นซิกิรฺหลังละหมาด อิสติฆ ฟารฺ และกลาวประโยคตางๆ นี้ใหมาก 102


($$ $ $ 4 >#$$ $ $ $ ($$ $ $ ,($$ $ $ >L $ $ $ $ A & dB$$ $ $ $V4 c &' b' & LBJ P g O EF C4 ,B$ef

ซูเราะฮฺ 8 กและซูเราะฮฺ 6 อายะฮฺ ก1 0* และอานซิกรฺตางๆ ในชวงเชาและเย็นอยางสม่ําเสมอ

&%( F ก ก! ก 0,ก

ก. G%

- ใหเขียนอายะฮฺที่ 81-82 ของซูเราะฮฺ 1* ดวยหมึก ที่สะอาดบนภาชนะที่สะอาดและนํา >3 "" 1* * มา ลบ แลวใหผูถูกซิหิรฺดื่มจากภาชนะนั้น และนําน้ํามันมาลูบ หนาอกและหนาผากของเขา 3 วัน - ให อาน อาย ะฮฺ รุ กยะ ฮฺ ใ น หู ข อ งผู ปJ วยด วย ซู เราะฮฺ 8 40 70 ครั้ง อายะฮฺ ก1 0* 70 ครั้ง และซู เราะฮฺ ก 8@ = -8 กและ6 40 6 70 ครั้ง เปนระยะเวลา 3 วัน - ใหอานซูเราะฮฺ ก 8@ = 8 ก 6 และดุอาอตางๆ ขางลางนี้บนผิวน้ํา 103


1[ ZA 4 , 7/ YC: ,

XD

-# I

W`aU DQ _L & ^ <A \] <A &' <A & , K ,>L:RL P Q = O MN > <KL 5 4 ,> JD 5 6 I P 4S P <9 = O MN4 W> <KL 5 ,BP U V TF Wi$#8 N = $A MN h $N $) c h $e# : $F I

&4 nDG

m g ($eU lN ! $ L & jk 5 $6 I W $#2 l $e6

p4 o$e6

h e6 D /0 L > a q6 kC @r

-# I

Wn DG 4

อานดุอาอตางๆ นี้ในน้ํา 7 ครั้ง แลวใหผูปJวยดื่มและ อาบน้ําจากน้ํานั้น 3 วัน ดวยความประสงคของอัลลอฮฺ อิทธิพลของการถูกซิหิรฺและการผูกมัดก็จะหายไป - ใหอานอายะฮฺรุ ก ยะฮฺ ใ นหู ข องผู ปJว ย และอานอา ยะฮฺที่ 23 ของซูเราะฮฺอัลฟุรฺกอน 365 ครั้ง นั่นคือ 104


﴾ k j i h g f e d c b﴿

ดวยความประสงคของอัลลอฮฺ อิทธิพลของการถูก ซิหิรฺและการผูกมัดก็จะหายไป - ใหอานอายะฮฺที่ใ ชในการลบลางอิทธิพลของซิหิรฺ บนผิวน้ํา 7 ครั้ง แลวใหผูปJวยดื่มและอาบน้ําจากน้ํานั้น 7 วัน ดวยความประสงคของอัลลอฮฺ อิทธิพลของการถูกซิหิรฺ และการผูกมัดก็จะหายไป

+ ) 0

'

วิธีการรักษา - อานซิกรฺนี้ 100 ครั้งหลังจากละหมาดศุบหฺ ($$ 4 >#$$ $ ($$ ,($$ >L $ $ A & dB$$ $V4 c &' b' & LBJ P g O EF C4 ,B$ef

- อานซูเราะฮฺอัลมุลกฺกอนนอน หรือฟ-งจากเครื่อง อัดเสียง - อานอายะฮฺอัลกุรฺสีย 70 ครั้งทุกวัน - อานดุอาอเหลานี้ทุกเชาและเย็น 105


(3 ครั้ง) Wi$#8 N = $A MN h $N $) c h $e# : $F I nDG

m g ($eU lN ! $ L & jk 5 $6 I

(3 ครั้ง) W $#2 l $e6 p4 o$e6

&4

P @ A = O MN h $N $) c h $e# : $F I (3 ครั้ง) W*P N& TP F = O MN4 ,*P N C4

ใหปฏิบัติสิ่งดังกลาวขางตนเปนระยะเวลา 3 เดือน

+ ) 0

(%

;

6

วิธีการรักษา ในขณะที่ ท องวาง ใหผู ปJ ว ยทานน้ํ า ผึ้ ง บริ สุ ท ธที่ ไ ด อานซูเราะฮฺ 8 40 . 0 ก 8@ = 8 ก และซูเราะฮฺ 6 7 ครั้ง เปนระยะเวลา 1 เดือน หรือ 2 เดือน ขึ้นอยูกับระดับของความเสื่อมสมรรถนะทางเพศ เราเสนอใหตื่นละหมาดในยามค่ําคืน เพราะจะทําให หางไกลจากโรค

106


ก ก * ;# 3*

) - . 3 ,*/ * % C

ก*%

1. กอนแตงงาน บางทีอาจจะมีอุปสรรคที่ไมนาจะเกิดขึ้นในการทําให การแตงงานไมราบรื่น ซึ่ง เกิ ดขึ้ นในรูป แบบที่ไ มธรรมดา และรูปแบบที่ชัดเจนและเกิดขึ้นบอยครั้งติดตอกัน บางที อาจมี อ าการตางๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การใหรายของชั ย ฏอนมา เสริมสภาพที่เปนอยูแลว ไมวาในฝ-นหรือในขณะที่รูสึกตัว หรือบางทีอาจจะเห็นในฝ-นวามีผูมาหาม เตือน หรือขูไมให แตงงาน บางทีอาจจะเห็นภาพหลอนของฝJายตรงขามในภาพที่ ไมดี จนทําใหเขาปฏิเสธและหลีกเลี่ยงการแตงงาน เปนตน หรือเปนสิ่งที่เกิดขึ้นคลายๆ กันนี้ เชน มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบบไมเจตนา เชน โกรธจนทําใหเขาดูเหมือนคนโง จนเปน สาเหตุทําใหอีกฝJายหลีกหนีไป และทําใหการแตงงานไม เกิดขึ้น 107


2. หลังแตงงาน ป-ญ หาการใหรายหลั ง จากแตงงานแลวมี รู ป แบบที่ หลากหลายมาก ซึ่งตนเหตุมาจากญินนฺ เชน ทําใหชีวิตคูมี อุปสรรค ไมวาเกิ ดจากฝJายสามี เชนการผูกมั ดและการ สกัดกั้น หรือเกิดจากฝJายหญิง ไมวาจะกรณีก็ตามลวนเปน สาเหตุทําใหความสัมพันธของชีวิตคูขาดสะบั้นไป

+ ) 0

C

การใหรายของชั ย ฏอนตอผู ชายอาจจะออกมาใน รูปแบบอื่น เชนการสกัดกั้นสเป]รมของฝJายชาย หรือทําให มันออนแอ ทําใหมันตาย หรือทําใหมันหางไกลจากรังไข ของฝJายหญิงแลวมันไมสามารถผสมกับไขได สิ่งที่สามารถ ยื น ยั น ในเรื่ อ งนี้ ผลการวิ เ คราะหทางการแพทยในกรณี เดียวกันมีขอแตกตางที่ขัดแยงกันและวินิจฉัยผลการตรวจ ไมแนนอน

108


สวนการใหรายแหงชั ย ฏอนที่ มี ต อฝJ า ยหญิ ง อาจ ออกมาในรูปของการทําใหเวลาไขสุกเต็มที่นั้นคลาดเคลื่อน และบางทีอาจทําใหไขเสียและไมสามารถจะผสมพันธได อาจจะมีการใหรายชนิดอื่นๆ ที่ไมสามารถตั้งทองและ มีทารกได ซึ่งเราไดสังเกตสิ่งประหลาดที่ทางการแพทยไม สามารถยืนยันสาเหตุอยางชัดเจน เชน ทารกตายในเวลา อันจํากัด และสิ่งนี้เกิดขึ้นซ้ํากันหลายๆ ครั้ง บางทีเราพบ รอยจากการทํารายทารก เชน รอยตบ รอยนิ้วมือตามคอ ของทารก หรือกรณีที่บรรดานักการแพทยไดกลาวถึงวา เปนกรณีที่เกิดขึ้น 1 ใน พันกรณีหรือนอยกวานี้ แตกรณีนี้ เกิ ด ขึ้ น ซ้ํ า ๆ ในกรณี เ ดี ย วกั น คิ ด เปน 100 เปอรเซ็ น ต ตั ว อยางเชน กรณี ที่ ส ายสะดื อ พั น คอทารกและทํ า ให สิ้นชีวิตในชวงระยะสุดทายกอนการคลอด และกรณีเฉก เชนนี้เกิดขึ้นกับทารกคนตอไป และเกิดขึ้นอีกกับคนตอไป เรื่อยๆ หรืออาจจะเปนกรณีที่ทารกเปลี่ยนทาการอยูในทอง อยางฉับพลันดวยวิธีเฉพาะแลวทําใหถุงน้ําครําแตก หรือมี สัญลักษณอะไรก็ตามที่บงบอกถึงความคลายคลึงกับกรณี 109


ที่ไดกลาวมาขางตน ในบางครั้งสิ่งที่มารดาเห็นในฝ-นยืนยัน ในเรื่องนี้ เชน เธอฝ-นเห็นกลุมคนเขามารุมเธอและทุบบน ทองหรือหลังเพื่อใหเธอแทงลูก กลุมคนที่เธอเห็นในฝ-นนั้นมี หนาตาที่แปลกและหนากลัว เหมือนกับวาพวกเขาเหลานั้น ไมใชมนุษยในขณะที่ปรากฏตัวใหเห็นและในขณะที่หายตัวก็ เชนเดียวกัน ปรากฏการณนี้เกิดขึ้นซ้ํากันกับผูหญิงคนนี้ทุก ครั้งเมื่อเธอตั้งครรภ วิธีการรักษาการเป2นหมัน ในกรณีเปนหมันที่ไมใชเกิดจากสาเหตุทางรางงกาย อยางชัดเจนและแนนอนซึ่งบรรดานักการแพทยทราบดีและ สามารถทําการรักษาได แตเราหมายถึงหมันที่เกิดจากการ สัมผัสที่ใหรายของญินนฺภายในรางกายของมนุษย กรณีนี้ เราจึงตองรักษาดวยอัลกุรฺอาน บทดุอาอและซิกรฺตางๆ การักษาการเปนหมันเชนนี้ ใหผูปJวยอานซูเราะฮฺอัศ ศอฟฟาตหรื อ ฟ- ง จากเครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย งทุ ก เชา และซู เราะฮฺอัลมะอาริจXฺกอนนอน และอานซูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ อายะฮฺอัลกุรฺสีย 2 อายะฮฺสุดทายของซูเราะฮฺอัลบะเกาะ 110


เราะฮฺ และอายะฮฺสุดทายของซูเราะฮฺอาลอิมรอน อัลกาฟ] รูน อัลอิคลาศ อัลฟะลัก และซูเราะฮฺอันนาซ 7 ครั้ง ใหการ อานสัมผัสบนผิวน้ํามันหับบะตุสเสาดาอแลวนํามานวดบน หนาอก หนาผากและกระดูกสัหลังกอนนอน และอานอา ยะฮฺตางๆ ขางตนในน้ําผึ้งบริสุทธิ์ และใหทาน 1 ชอนชาทุก วันในขณะทองวาง ใหปฏิบัติอยางนี้ติดตอกันเปนเวลา 3 เดือนโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขการรักษาอยางเครงครัด

ก 0, %( %%ก ก ก% C 0 ก% & "% . G%

6 ( ,

) +#

ในหะดีษของฟาฏิมะฮฺบุตรสาวของอะบีหุบัยชฺได รายงานจากทานหญิงอาอิชะฮฺวา ทานเราะซูล ไดกลาว แกทานหญิงเกี่ยวกับเลือดประจําเดือนที่ออกมามากวา 12

WW @ $K h OD MN *m $ OD (9'II

หมายความวา มันเป.นการกระทืบของชัยฏอนชนิดหนึ่ง 12

เชากานีย, นัยลุลเอาฏอรฺ เลมที่ 1 หนา 270 - 273

111


อัชชับลียกลาววา “ชัยฏอนจะเคลื่อนที่ในรางกายของ มนุษยตามเสนไหลเวียนของเลือดดังที่ทานเราะซูล ได กลาวไว เมื่ อ ชั ย ฏอนกระทื บ เสนเลื อ ดนั้ น ในขณะที่ มั น เคลื่ อ นไหว เลื อ ดก็ จ ะไหลออกมา ชั ย ฏอนจะมี ก าร เคลื่ อ นไ หวอยา งคลองแ คลวมา กในเสน เลื อ ดที่ มี ความสัม พัน ธกั บประจํา เดื อนมากกวาเสนเลือ ดอื่ นๆ ใน รางกาย เพราะเหตุนี้เอง บรรดานักมายากลตางใชชองทาง นี้ในการใชชัยฏอนเปนสาเหตุใหมีเลือดไหลอยางมากทาง อวัยวะเพศของผูหญิงจนทําใหเธอสิ้นชีวิตได วิธีนี้พวกเขา ใชการกระทืบของชัยฏอนและการมีเลือดไหลออกมาอยาง มาก” วิธีการรักษา ผูที่ทําใหเกิดมีเลือดไหลอยางมาก คือ ญินนฺที่อาศัยอยูในรางกายของผูปJวย การรักษานั้นตองทํา ใหญิ น นฺ ต นนั้ น ออกจากรางของผู ปJ ว ย ขึ้ น อยู กั บ กรณี ที่ เปนอยู ถาหากเปนกรณีการสัมผัสใหรายจากชัยฏอนตอง ปฏิ บั ติ วิ ธี ก ารรั ก ษาตามโปรแกรมแหงการสั ม ผั ส ใหราย

112


และถาหากเปนการถูกซิหิรฺตองใชโปรแกรมที่ใชกับการลบ ลางซิหิรฺ ใหผูปJวยอาบน้ําที่ไดอานอายะฮฺรุกยะฮฺ และดื่มน้ําเปน เวลา 3 วัน หรือเขียนอายะฮฺนี้ ﴾ &Θβ≤Ω⊆Ω πΤ♥ΘΣ∨ ωΜ†Ω‰ΩΤ⇓  ΘΞ Ρ∇ΤΨΠ√﴿

ดวยหมึ ก ที่ ส ะอาดและนํ า ไปละลายในน้ํ า แลวให ผูปJวยดื่มในขณะทองวางเปนเวลา 11 วันติดตอกัน โรคนี้ก็ จะหายไปดวยพระประสงคของอัลลอฮฺ

ก ก! % ก ก

(% / % *

,ก+# / * .*

3

ชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮฺเคยเขียนบนหนาผากของ ผูที่ประสบอาการเลือดไหลอยางมากทางจมูกดวยอายะฮฺนี้ Ä Ã Â Á À ¿ ¾ ½ ¼﴿ (٤٤ : ‫ ﴾ )ﻫﻮد‬Å

อิ บ นุ ล ก็ อ ยยิ ม อั ล เญาซี ย ไดยิ น ทานกลาววา ผมได เขียนอยางนี้มาแลวกับหลายคน และปรากฏวาสามารถทํา 113


ใหทุเลาได และพึงใหความสําคัญในการเขียนดวยหมึกที่ดี และสะอาด

ก %< !

3 *ก

อิบ นุ ด าวูด ไดรายงานจากอะบู ฮุ ร็ อยเราะฮฺว า ทาน เราะซูล ไดกลาววา O7 `O h 6f O7L B6f

,B$6f 4 O L'II

WWYK2 s J 4 Y@f D

ความวา พวกทานทั้งหลายจงหลีกเลี่ยงจากการ อิจฉาริษยาเถิด เพราะมันจะกระเทาะกัดกินคุณ งามความดี เหมือนกับไฟที่เผาไหมฟ2นหรือหญา ฉันใดก็ฉันนั้น ในสายรายงานอื่นมีวา WW^ D <O jB2 20

O L'II

ความวา พวกทานทั้ ง หลายจงอยากลายเปนผู ปฏิเสธศรัทธาหลังจากยุคของผม 114


ในการรายงานของอิมามอะบูดาวูดจากอะนัส อิบนุ มาลิกวา ทานเราะซูล กลาววา N^ J

,

#F 5 Q =BK

6<[ EF 4Q =BK &II

C L a >#) , - #F 5 QBK -6<[ EF 4QBA

WW - #F C /)O N C FB) *^ 9 /CD D L =B 4 lN %

ความวา พวกทานทั้ งหลายจงอยาปฏิ บัติ ยาก เข็ญตอตัวของพวกทานเอง (ถาพวกทานปฏิบัติ เชนนั้ น แลว) อั ล ลอฮฺ ก็ ท รงทํ า ใหการงานของ พวกทานยากเข็ญ แทจริง กลุมชนหนึ่งไดปฏิบัติ อยางยากเข็ญตอตัวของพวกเขา อัลลอฮฺจึงทรง ทําใหการงานของพวกเขายากเข็ญตอพวกเขา ดังนั้น นั่นแหละรองรอยที่เหลือจากโบชญ(และ สถานที่ทํ าอิบ าดะฮฺข องพวกเขาโดยปฏิบั ติต น เป. น นั ก บวช ซึ่ ง พระองค( มิ ไ ดบั ญ ญั ติ ขึ้ น มาแก พวกเขา เวนแตพวกเขาประดิษฐ(มันมาเอง หลั งจากนั้น อะนัส ก็ไ ดชี้ ถึ งรองรอยหมูบานรางของ 115


กลุมชนหนึ่งที่ถูกทําลายอยางสิ้นซากและกลาววา ความชั่ว รายและการอิจฉาริษยาไดทําลายกลุมชนในชุมชนนี้อยาง พินาศ แทจริงการอิจฉาริษยาไดดับรัศมีแหงคุณงามความ ดี ความชั่วรายจะเปนพยานทางธรรมชาติตอสิ่งนั้นวามัน ปรากฏจริงหรือไม เฉกเชนสายตาไดทําการซินา และฝJามือ เทา รางกาย ลิ้น และอวัยวะเพศจะเปนสิ่งใหมันเปนจริง หรือปฏิเสธ อิบนุอับบาซไดรายงานจากทานเราะซูล วา 13

WWT2 ()a/U DBa i U m g O 4 ,it V T2 II

ความวา นัยน(ตาแหงการใหรายมีจริง และถาหาก ทุ ก สิ่ ง สามารถแซงมาแทนที่ ก ฏสภาวการณ( แหงอัลลอฮฺได แนแทนัยน(ตาแหงความชั่วรายจะ มาแซงหนา

13

อันนะวะวีย ชัรหุเศาะฮีหฺมุสลิม เลมที่ 14 หนา 171. อิบนุหะญัรฺ อัลอัสเกาะ-ลานีย, ฟ-ตหุลบารีย เลมที่ 21 หนา 330–331

116


ทานหญิงอาอิชะฮฺไ ดรายงานวา ทานเราะซูล ได กําชับใหเธออานรุกยะฮฺปกปHองจากนัยนตาแหงการใหราย อิบนุลก็อยยิมอัลเญาซียไดกลาววา นัยนตาแหงการ ใหรายมี 2 ประเภท นัยนตาแหงการใหรายจากมนุษยและ นัยนตาแหงการใหรายจากญินนฺ มีการรายงานที่ถูกตอง จากอุมมุสะละมะฮฺวา ทานเราะซูล ไดเห็นหญิงคนใชใน บานของนางมีรองรอยนัยนตาบนหนาของเธอ ทานจึงกลาว วา จงอานรุกยะฮฺใหเธอ เพราะเธอโดนการมองดวยสายตา ที่ใหราย14 อัลหุสัยนฺ อิบนุมัสอูด อัลฟ-รรออไดกลาววา (รองรอย นัยนตา) หมายถึง การมองดวยสายตาที่ใหรายจากญินนฺ นัยนตาที่แฝงดวยการใหรายที่ประสบกับเธอจากการมอง ของญินนฺจะแหลมคมกวาหอกเสียอีก

14

อิบนุหะญัรฺ อัลอัสเกาะลานีย, ฟ-ตหุลบารีย บทการแพทย เลมที่ 10 และหนังสืออุมดะตุลกอรีย เลมที่ 17 หนา 403-404

117


มีรายงานที่มัรฺฟุอฺ จากญาบิรฺวา แทจริงนัยนตาแหง การใหรายทําใหผูหนึ่งเขาในหลุมฝ-งศพ และทําใหอูฐเขาใน หมอได (คือ ถึงตายได) อะบู ส ะอี ด ไดรายงานวา ทานเราะซูล ขอความ คุมครองจากญินนฺและนัยนตาแหงการใหรายจากมนุษย ตลอดเวลา อิ ท ธิ พ ลของบุ ค คลที่ ส งนั ย นตาแหงการใหรายไม ขึ้นอยูกับการมองของเขา แมกระทั่งบางครั้งเขาเปนคนตา บอด แลวมีคนมาบอกลักษณะตางๆ จนทําใหเขารูสึกและ เกิดอิจฉาขึ้นมา ถึงแมเขาจะไมเห็นก็ต าม สวนมากผูที่ มี นัยนตาแหงการใหรายจะสงผลใหกับผูถูกกระทําเพียงแค ดวยการบอกกลาวโดยที่ไมไดมองเลย ขอเท็จจริงนี้ อัลลอ ฮฺ ทรงกลาวแกนบีของพระองควา vutsrqponml ﴿ (٥١ :‫﴾ )اﻟﻘﻠﻢ‬x w

ความวา และบรรดาผูปฏิเสธศรัทธานั้นแทบจะทํา ใหสายตาของพวกเขาจองเขม็งไปยังเจา(เพราะ 118


ความโกรธแตคน) เมื่อ พวกเขาไดยินอั ลกุรฺ อาน พวกเขาก็กลาว (ดวยความแคนและความอิจฉา ริษยา) วา แทจริงเขาเป.นคนบาแนๆ (อัลเกาะลัม : 51)

ดังนั้น ผูที่มีนัยนตาแหงการใหรายทุกคนนั้นเปนคน อิ จ ฉาริ ษ ยา แตไมใชผู ที่ อิ จ ฉาริ ษ ยาทุ ก คนนั้ น เปนผู ที่ มี นัยนตาแหงการใหราย เพราะเหตุนี้ การขอความคุมครอง จากการอิ จ ฉาริ ษ ยาจะครอบคลุ ม กวาการขอความ คุมครองจากผูที่มีนัยนตาแหงการใหราย อิมามอะบูอับดุลลอฮฺ อัลมาซรียไดกลาววา มหาชน แหงนั กปราชญอิส ลามไดยึด ฐานของตั วบทอั ลหะดี ษ วา “นัย น( ต าแหงการใหรายนั้ น มี จ ริง ” อะหฺลุ ส ซุ น นะฮฺ ต างมี ความคิดเห็นวา แทจริงนัยนตาแหงการใหรายจะมีผลใน ขณะที่ผูกระทําสงนัยนตาที่แฝงดวยการใหรายดวยความ อนุมัติของอัลลอฮฺ บางครั้ ง มนุ ษ ยจะอิ จ ฉาตั ว เอง หรื อ ทรั พ ยสิ น หรื อ ลูกหลานของเขา 119


ก 4% ก กก % < ! 1. อิมรอน อิบนุหุศ็อยนฺไดรายงานจากทานเราะซูล วา ทา นไดกลา ววา ((บาวผู หนึ่ งไมอาน ซู เราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ และอายะฮฺอัลกุรสียในบาน ดังนั้น นัยนตาแหงการใหรายจากมนุษยหรือญินนฺจะประสบ กับพวกเขาในวันนั้น)) บันทึกโดยอัดดัยละมีย 2. หากผู ที่ มี นั ย นตาที่ แ ฝงดวยการใหรายกลั ว วา นัยนตาของเขาจะทําใหผูอื่น ทรัพยสิน หรือลูกหลาน ของเขาเสียหาย เขาควรกลาววา &' J & 5 A N) (c เนื่องจากอะนัสไดรายงานจากทานเราะซูล วา ((ผูใดที่เ ห็ นบางสิ่ งบางอยางและเกิ ด ชอบสิ่ง นั้ น แลวเขากลาววา "c &' J & 5 A N " มันจะไม ทําใหสิ่งนั้นเกิดความเสียหายได)) 3. ปกป]ดหรือซุกซอนสิ่งดีงามตางๆ สําหรับผูที่กลัว จะถูกนัยนตาแหงการใหราย 120


4. อานซูเราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ บทอานเพื่อการ ปHองกัน และดุอาอตางๆ มีอัลหะดีษหลายบทจากทาน เราะซูล ที่บงชี้ถึงการปHองกันจากการอิจฉาริษยา ของญินนฺได เชน ((เปนการป]ดบังระหวางสายตาของญินนฺกับอวัยวะพึง สงวนของลูกหลานอะดัม โดยที่มุสลิมกลาวในเมื่อจะ ถอดเสื้ อ ผาวา " C &$' b $' & $jk $5 $6$ ")) บั น ทึ ก โดยอิบนุอัซซุนนีย จากอะนัส ((เปนการป]ดบังระหวางสายตาของญินนฺกับอวัยวะพึง สงวนของลูกหลานอะดัม โดยที่เขากลาวเมื่อเขาหองน้ําวา "5 $6 ")) บันทึกโดยอะหฺมัด และอัตตัรมีซียมีความเห็นวา เดปนหะดีษที่เฎาะอีฟ ((เปนการป]ดบังระหวางสายตาของญินนฺกับอวัยวะพึง สงวนของลูกหลานอะดัม โดยที่มุสลิมกลาวในเมื่อจะถอด ِ ‫ ))" ﺑِﺴـ ِﻢ‬รายงานโดยอิบนุอะบีดดุนยา เสื้อผาวา "‫اﷲ اﳊَ ِﻜْﻴ ِﻢ‬ ْ ในหนังสือ “มะกายิดุชชัยฏอน” อิบนุสสุนนีย ใน “อะมะลุล 121


เยามิวัลลัยละฮฺ” และรายงานจากอะนัสและอัฏเฏาะบะรีย ใน “อัล-เอาสัฏ”

การรักษา 1. ทานญิบริลไดอานรุกยะฮฺในการรักษาทานเราะซูล ดวยบทรุกยะฮฺนี้ นั่นคือ P <9 = O MN4 ,>L:RL P Q = O MN > JD 5 6 I 4 S P F c 4 > JD 5 6 ,> <KL 5 ,BP U V T 15

W> <KL

2. อัลบุ คอรียไดรายงานวา ทานเราะซูล ไดขอ ความคุมครองจากอัลลอฮฺ แก อัลหะสันและอัลหุ สัยนฺวา ,*P N C4 P @ A = O MN *N $) c h $e# `Ok $F I P F = O MN4 W*P N& T

15

บันทึกโดยอะหฺมัด มุสลิม อัตตัรมิซีย และอิบนุมาญะฮฺ จากอะบูสะ อีด อัล-คุดรีย

122


และกลาววา แทจริง นบีอิบรอฮีมซึ่งเปนบิดาของพวก ทานไดขอความคุมครองจากอัลลอฮฺ แกอิสมาอีลและ อิสหากดวยดุอาอนี้ 3. ใหอานบนรางกายตนเองดวยการอานซู เ ราะฮฺ อัลฟาติหะฮฺ อัลอิคลาศ อัลฟะลักและอันนาซโดยเปJา ในมือแลวลูบสองฝJามือทั่วรางกาย ทานหญิงอาอิชะฮฺ ไดกลาววา “เมื่ อ มี ส มาชิ ก ในบานเจ็ บ ปJ ว ย ทาน เราะซูล จะเปJาตัวผูปJวยดวยซูเราะฮฺอัลฟะลักและ อันนาซ เมื่อทานเราะซูล ปJวยหนักจนกระทั่งได สิ้นชีวิต ฉันไดเปJาบนตัวทาน และฉันเอามือทานไปลูบ ทั่วรางกายของทานเอง อันเนื่องจากมือของทานจะ มี ศิ ริ ม งคลมากกวามื อ ของฉั น ” การเปJ า ณ ที่ นี้ หมายถึง การเปJาเบาๆ โดยไมมีน้ําลายปนออกมา 4. อะบูอิสหากไดรายงานจากอัลหาริษ จากอะลีอิบ นุอะบูฏอลิบวา ทานญิบรีลไดมาหาทานเราะซูล และปรากฏวาทานมีความรูสึกไมสบายใจ จึงกลาววา โอ มุหัมมัด ความเศราสลดอะไรเยี่ยงนี้ที่ฉันไดเห็นบน 123


ใบหนาทาน ทานเราะซูล ตอบวา ((อัลหะสันและอัลหุสัยนฺถูก นัยนตาแหงการใหราย)) ทานญิบรีลกลาววา โดนนัยนตาแหงการใหรายจริง เพราะนัยนตาแหงการใหรายนั้นมีจริง ทานจะไมขอ ความคุ มครองจากอั ล ลอฮฺ แ กทั้ ง สองดวยถอยคํ า เหลานี้หรือ ทานเราะซูล ถามวา ((อะไรละ โอญิบรีล)) ทานญิบรีลกลาววา จงกลาววา (0

:4 , LBa M= 4 , v2

@#6 : -# I

,h w)6 h FB 4 h N ) h`#

;= 4 , L

WS9x TF 4 M= y S<[ MN T6f 4 M6f z F

ทานนบี ก็ ก ลาวบทอานเหลานั้ น ทั น ใดนั้ น ทั้ ง สองก็ลุกขึ้นไปเลนตอหนาตอตาทานทานจึงกลาว วา ((จงขอความคุ มครองจากอั ล ลอฮฺ ด วยบทขอ ความคุมครองนี้สําหรับพวกทานเอง บรรดาภรรยา 124


และลู ก หลานของทาน เพราะไมมี ผู ที่ ข อความ คุมครองจะขอไดดีกวาสิ่งนี้แลว)) 1. ในกรณีที่เรารูผูที่อิจฉาริษยา ทานเราะซูล กลาววา :'4 ,T2 ()a/U DBa i U {m A O 4 ,it V T2 II 16

WW #6,

)#6_)U

ความวา นัยน(ตาแหงการใหรายมีจริง และถา หากทุกสิ่งสามารถแซงมาแทนที่กฏสภาวการณ( แหงอัลลอฮฺได แนแทนัยน(ตาแหงความชั่วราย จะมาแซงหนา ณ ที่ นี้ ทานไดสั่ ง ใหผู ที่ มี นั ย นตาแหงการใหราย อาบน้ํ าเมื่อ มีผูที่ เกิดเสียหายอัน เนื่อ งจากสายตาของเขา ลักษณะการอาบน้ํ าประเภทนี้ ดังที่ อัตตั รมิซี ยไดกลาววา “ใหผู ที่ มี นั ย นตาแหงการใหรายจุ มมื อ เขาไปในภาชนะที่ 16

อันนะวะวีย ชัรหุเศาะฮีหฺมุสลิม เลมที่ 14 หนา 171. อิบนุหะญัรฺ อัลอัสเกาะ-ลานีย, ฟ-ตหุลบารีย เลมที่ 21 หนา 330–331

125


บรรจุดวยน้ําแลวบวนปาก หลังจากนั้นใหปลอยน้ําที่บวน อยูนั้นในภาชนะนั้น แลวใหลางหนาของเขาในภาชนะนั้ น หลังจากนั้นใหเอามือซายจุมลงไปในภาชนะแลวรดบนหัว เขาขางขวาในภาชนะ หลังจากนั้นใหเอามือขวาจุมลงไปใน ภาชนะแลวรดบนหัวเขาขางซายในภาชนะ และใหลางผาที่ ใสในภาชนะนั้น และอยาตั้งภาชนะนั้นบนดิน หลังจากนั้นให รดบนหั วของผู ที่ ถูก นั ยนตาแหงการใหรายจากดานหลั ง ทีเดียวเลย 2. บทขอความคุมครองและรุกยะฮฺที่มีประโยชนใน การรักษาผูที่ถูกซิหิรฺ คืออายะฮฺอัลกุรสีย ซูเราะฮฺอัลฟาติ หะฮฺ ซู เ ราะฮฺ อั ล ฟะลั ก และอั น นาซ และบทขอความ คุมครองอื่นๆ ที่มาจากทานเราะซูล

126


ก ก!

ก ก*

"% % %5)

การรักษาดวยการกลาว "d 8|4 ( 4 5 $6 " แลวให ป]ดปากและสูดลมหายใจทางจมูกโดยกลาวซิกรฺขางตนนี้ หลายๆครั้งติดตอกันดวยวิธีเดียวกันติดตอกันนานเทาที่จะ ทําได และพยายามอยาหยุดอันเนื่องจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม จากการเขาใจในความหมายอั ลหะดีษ ที่ว า อาหาร ของชัยฏอนเปนสิ่งที่ไมกลาวพระนามของอัลลอฮฺใ นขณะ รับประทาน ชัยฏอนไมสามารถรวมทานอาหารที่มีกลาว พระนามของอัลลอฮฺ หากมันทานเขาไปมันก็จะอาเจียน ออกมา หากไมอาเจียนออกมาลําใสมันก็จะขาดสะบั้นและ จะพินาศในที่สุด การรวมรั บ ประทานอาหารของชั ย ฏอนกั บ มนุ ษ ย หมายถึ ง การไมเกิ ด ศิ ริ ม งคลในอาหารที่ ท านเขาไป เหมื อ นกั บ ที่ เ ขามี 7 ทอง กิ น เทาไรก็ ไ มอิ่ ม มั น ยั ง ทํ า ให มนุ ษ ยเอนเอี ย งไปสู ความผิ ด และการหลงลื ม ตราบใดที่ อาหารซึ่งอยูในทองของเขาเปนอาหารที่ถูกรับประทานโดย ไมไดกลาวพระนามของอัลลอฮฺ 127


ในขณะที่เราใชการกลาวพระนามของอัลลอฮฺ ใน การหวังใหหายจากโรคดวยวิธีที่ไ ดกลาวไวขางตน จริงๆ แลวเราไดกลาวพระนามของอัลลอฮฺในลมหายใจที่สูดเขา ไปตั้งแตตนจนจบ จะทําใหชัยฏอนไมมีอํานาจใดๆ ตอลม หายใจ แลวมันก็จะขาดลมหายใจในที่สุด การกลาว d 8|4 ( 4 5 $6 อยางตอเนื่องดวยวิธีการ ที่ไดกลาวไวแลวนั้น โดยปกติแลวจะทําใหเรารูสึกอาการ บางประการ ดังตอไปนี้ - อาการหนาวเย็ น ตามนิ้ ว มื อ และนิ้ ว เทา และจะ รูสึ ก เหน็ บ ชาตามรางกาย หรื อสวนใดสวนหนึ่ ง ของรางกาย - มึนหัว และปวดหัว - ออนเพลียและตัวสั่น - หาวบอยๆ และรูสึกอยากนอนอยางแรง - ไออยางกระทันหัน - เวี ย นศี ร ษะและคลื่ น ใส ในบางครั้ ง จะอาเจี ย น ออกมาเลย 128


-

-

รูสึกคับอกและหายใจไมสะดวก เกิดการชักหรือกระตุกของนิ้วมือและนิ้วเทา หัวเราะหรือรองไหอยางไมตั้งใจ เกิดเปนลมและไมรูสึกตัวอยางกระทันหัน หรืออาการอื่นๆ ซึ่งเกิดจากผูปJวยหยุดกลาวบัส มะละฮฺดวยวิธีที่ไดกลาวมาแลว เชน กรณีที่ผูปJวย ลื ม ซิ รฺ ดั ง กลาว และกลาวถอยคํ า อื่ น โดยไมได ตั้งใจ พูดตะกุกตะกัก ในบางครั้งลิ้นของเขาจะติดแนบ กับเพดานแลวทําใหเขาไมสามารถพูดออกมาได รางกายขยับเขยื่อนลําบาก หรือในบางสวนของ รางกาย เกิดอาการเจ็บในบางสวนของรางกาย เกิดอาการไมดีในบางสวนของรางกาย มองเห็ น รู ป รางบางอยาง หรื อ ไดยิ น เสี ย งตางๆ เปนตน 129


คําอธิบายในอาการดังกลาวขางตนนี้ คือ ชัยฏอนเปน สาเหตุของอาการทั้งหลายนี้ เพื่อใหผูปJวยที่ถูกมันควบคุม ไมสามารถกลาวซิกรฺดังกลาว หรือรบกวนเขาไมใหกลาว อยางตอเนื่ อ ง มั น จึ ง เขามาแทรกแซงและเขารวมในลม หายใจ ดวยเหตุนี้ ถาหากไมกลาวบัสมะละฮฺดวยวิธีที่ถูกตอง ดั ง กลาว มั น ก็ จ ะไมเกิ ด ผลดั ง ที่ ห วั ง เราอยากจะให ขอสังเกต ณ ที่นี้วา วิธีดังกลาวนี้มีขอยืนยันอยางแนนอนวา การใหรายของชัยฏอนมีระดับที่แตกตางกัน แตก็ไมปฏิเสธ วาการกระทํ า ดั ง กลาวสามารถทํ า รายชั ย ฏอนได อั น เนื่องจากบางทีมันสามารถหนีเอาตัวรอดจากสิ่งที่เกิดขึ้นได

0

% กก ก * 1

5)

ในขณะกลาวบัสมะละฮฺจะเกิดการกดดันอยางรุนแรง ตอชัยฏอน และเมื่อปรากฏอาการตางๆ ที่ไดกลาวมาแลว ขางตนหรืออาการบางอยางกับผูปJวย ใหปฏิบัติดังนี้

130


ใหผู รั ก ษาหรื อ ผู ชวยในการรั ก ษากดในบริ เ วณที่ มี อาการเจ็บ หรือในบริเวณทางเดินบางสวนของชัยฏอนใน รางกายของมนุ ษ ย สิ่ ง นี้ ป ระสบการณตางๆ ไดยื น ยั น ขอเท็จจริงนี้ แลว ซึ่ งสามารถกดดัน มัน ทํา ใหมั นออนแอ และใหเกิดผลของมันนอยที่สุด บริเวณทางเดินบางสวนของ ชัยฏอนนี้ เชน กระดูกขาทั้งสองขาง สวนวิ ธี ก าร ใหกดดวยแมมื อ บนสวนบนสุ ด ของ กระดูก ขา ผูปJ วยจะรู สึก ปวดมาก คนที่ ไ มปJว ยจะไมรูสึ ก ปวดเยี่ยงนี้ หรือผูปJวยในเวลาที่ไ มมีการกลาวบัสมะละฮฺ ดวยถอยคํ า และวิ ธี เ ฉพาะ จากการกดอยางตอเนื่ อ งจะ สังเกตวาความปวดจะทุเลาลงอยางเปนลําดับจนกระทั่ง หายขาดจากจุดดังกลาว มีขอสังเกตวา แรงกดจะไมหาย และเปลี่ยนแปลง เมื่ อ ความเจ็ บ ปวดไดหายจากจุ ด ที่ ไ ดกดแลว ให เคลื่ อนไ ปก ดใน จุ ด ที่ ต่ํ า กว านั้ น แ ละใ หเราปฏิ บั ติ เชนเดียวกับวิธีดังกลาวจนความปวดหาย แลวปฏิบัติอยาง นั้นตลอดจนถึงเทา หลังจากนั้นใหกดนิ้วเทา 131


ใหปฏิบัติอยางนั้นกับขาอีกขางหนึ่ง หรือจะกดขาทั้ง สองขางในเวลาเดียวกันเลย เราสามารถที่จะปฏิบัติตามวิธี นี้ในบริเวณอื่นๆ ของรางกาย นั่นคือ บริเวณขอพับตามเสน ที่มีการควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะตางๆ สวนอาการ ปวดหัว สามารถกดที่เขมือบในบริเวณปลายตาตรงปลาย สุดของคิ้ว มันจะทําใหผูปJวยรูสึกเจ็บปวดมาก จากการกด อยางตอเนื่องจะทําใหอาการปวดหัวหายทีละนิดทีละนอย จนกกระทั่งหายในที่สุด ดวยการอนุมัติจากอัลลอฮฺ ขอสังเกต การกดแรง คนธรรมดาสามารถรับได แต ผูปJวยไมสามารถทนไดในระยะแรก เมื่อกดตอไปความปวด ก็จะคอยๆ หายไปและหลังจากนั้นผูปJวยก็สามารถทนได เราสามารถกดใตซี่ โ ครงในบริ เ วณตรงกลาง แลวขอให ผูปJวยไอดวยเสียงปกติ เฉกเชนเดียวกัน เราสามารถกดใน บริเวณทั้งสองขางโดยที่หัวแมมือหันไปขางบน และใหกด ตอไปจนหายปวด ขอแนะนําที่สํา คัญ ในกรณีที่มีอาการเหน็บชาตาม นิ้ ว มื อ และนิ้ ว เทาและมี อ าการปวดสามารถรดอวั ย วะ 132


เหลานี้ดวยน้ําที่มีการอานอายะฮฺรุกยะฮฺอายะฮฺอัชชิฟาอ และซูเราะฮฺยาสีน อาการเหน็บชาและกระตุกก็จะหาย ดวย การอนุมัติจากอัลลอฮฺ สามารถลางหัวดวยน้ําที่ดังกลาวมาขางตนไดเชนกัน เพื่อลดอาการปวดหัว และการทําใหหายขาดดวยการอาน บัสมะละฮฺไดเชนกัน เมื่อลิ้นแข็งสามารถดื่มน้ําดังกลาว 3 เวลาแลวจะหายแข็ง เปนที่สังเกตวาเมื่อผูปJวยดื่มน้ําที่มีการ อานอายะฮฺตางๆ ในขณะอานบัสมะละฮฺเขาจะรูสึกวารส ของน้ําจะเปลี่ยนแปลง น้ําจะมีร สเปรี้ย ว หรือจะออกรส เปรี้ยว หรือไมสามารถกลืนไดงาย หรือจะมีรสชาดอื่นที่ไม ธรรมดา สิ่งนี้บงชี้วาเปนอิทธิพลของชัยฏอนอยางแนนอน และชั ด เจน ดวยการอานบั ส มะละฮฺ ต ามวิ ธี ที่ ไ ดกลาว มาแลวนั้นสามารถทําใหอิทธิพลของชัยฏอนออนลงและจะ เปลี่ยนรสชาดของน้ําเปนปกติและสามารถกลืนไดอยางลื่น ไหลไดดี ถาหากผูปJวยมีอาการตาเหลือกลอยในขณะที่อานบัส มะละฮฺ และอิทธิพลของชัยฏอนรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นถาเขา 133


มองไปยังผูทําการรักษาดวยภาพลักษณที่นาสะพรึงกลัว เชน มีตาแดงเสมือนมีไฟออกมาจากตาทั้งสองขาง หรือมีสี ดําปกคลุมหนาโดยไมธรรมดา หรือภาพลักษณที่นากลัว บนใบหนาของเขา ดวยการอานบัสมะละฮฺอยางตอเนื่องจะ ทํ า ใหภาพเหลานั้ น เปลี่ ย นแปลงอยางคอยเปนคอยไป กลายเปนหนาตาปกติ มิหนําซ้ําสุดทาย ผูปJวยจะรูสึกสบาย ใจและโลงอกเมื่อมองใบหนาของผูรักษา และหนาของเขา จะกลายเปนหนาที่เปลงปลั่ง เราสามารถทราบไดเลยวา การอานบัสมะละฮฺไดทําใหฤทธิ์ของชัยฏอนออนแอลง แลว มันก็ไมอาจจะกลับมามีผลในการทําใหใบหนาของผูปJวยดูขี้ เหรและนากลัว หรือสามารถเปลี่ยนรสชาติของน้ําไดอีก เหตุ ผ ลที่ น้ํ า กลายเปนรสเปรี้ ย วหรื อ เปลี่ ย นรสชาด และใบหนาที่ ไ มนาดู ข องผู ทํ า การรั ก ษานั้ น เนื่ อ งจาก ชั ย ฏอนไมสามารถทนไดกั บ น้ํ า ที่ ถู ก อานดวยคํ า ตรั ส ของอัลลอฮฺ ในทัศนะของมันแลว มันรับไมได สวนผูทําการ รักษาก็ไมสามารถรับชัยฏอนได จึงปรากฏภาพที่นากลัวซึ่ง ผูปJวยไดมองเห็น หรืออาจจะเปนการกระทําของชัยฏอนใน 2 กรณี เพื่ อ ใหผู ปJ ว ยหลี ก หางจากน้ํ า ที่ ไ ดอานคํ า ตรั ส 134


ของอัลลอฮฺ หรือใหหางไกลจากผูทําการรักษาคนนั้น เขาก็ปฏิเสธที่จะมานั่งรวมกับเขา และจะปฏิเสธการรักษา ไปเลย ดวยการอานบั ส มะละฮฺ อ ยางตอเนื่ อ งทํ า ใหอาการ ตางๆ ดังกลาวลดลงจนคอยๆ หายในที่สุด ความรูสึกเศรา สลดก็จะกลายเปนความสบายอกสบายใจ การหายใจไม คลองก็จะกลายเปนสะดวก ความเจ็บปวดก็ทุเลาหายไป น้ําที่มีรสเปรี้ยวก็เปลี่ยนเปนจืด หนาตาที่ไ มนาดูของผูทํา การรักษาก็กลายเปนใบหนาที่ดี เปนตน ดวยการอานบัสมะละฮฺอยางตอเนื่องทุกวัน ผูปJวยจะ รูสึกตัวดี ขึ้นมากๆ ดวยความโปรดปรานของอั ลลอฮฺ และดวยความประเสริ ฐ ของการซิ ก รฺ ด วยพระนาม ของอัลลอฮฺ ดวยถอยคําและวิธีที่เราไดกลาวมาแลวนั้น กรณีตางๆ และอาการปJวยไดหายขาดอยางมากมาย

135


136


บทที่ 4

&'

ก ( ก )

มุอมินทุกคนสามารถปกปHองตนเอง สรางเกราะกําบัง ตัวและทําการรักษาดวยตนเองและผูอื่นจากโรคตางๆ ที่มี ผลจากการใหรายของชัยฏอน โดยการอานบทอานเหลานี้ ที่ ใ ชในการปH อ งกั น ตั ว ดวยความมั่ น ใจและความซื่ อ สั ต ย ตออัลลอฮฺ ไมใชเพื่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเพื่อผูหนึ่งผูใด 1. บทอานจากอัลกุรฺอาน

อัลฟาติหะฮฺ

JIHGF EDCBA﴿ TSR QPON MLK ]\[ ZYXW VU ﴾ dcba`_^

137


อัลบะเกาะเราะฮฺ 1-4

M LKJIHGFED C BA ﴿ XWVUTSRQP ON edc ba`_^]\[ZY ﴾ lkjihgf JIHGFEDCBA﴿ QPONMLK

อัลบะเกาะเราะฮฺ 102

[ZYXWVUTSR gfedcba`_^ ]\ srqponm lkjih ~}|{zyxwvut ihgfedcba`_ rqponmlkj ﴾s

138


 ÁÀ¿¾½¼»﴿ A ÍÌËÊÉÈ Ç Æ Å Ä Ã MLKJIHGFEDCB VUTSRQP ON

อัลบะเกาะเราะฮฺ 152-169

_^ ]\[ZYXW ji hgfedcba` ut srqponmlk a`_~}|{zyxw v mlkjihgfedcb xwvutsrqp on ¤£¢¡ ~}|{zy ®¬ « ª © ¨ § ¦ ¥ »º¹¸¶µ ´³²±°¯ Ä ÃÂÁÀ¿¾½ ¼ Î Í Ì Ë ÊÉ È Ç Æ Å

139


CBA ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏ KJIHGFED YXWVUTSRQPONML cba`_^]\[Z kjihgfed vutsrqponm l dcba`_~}|{zyxw po nmlkjihgfe yxwvutsrq ¦¥¤£¢¡ ~}|{z ³²±°¯®¬«ª©¨§ ¿¾½¼»º¹ ¸¶µ´ Ë ÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ ﴾ ÖÕÔÓÒÑÐÏÎÍÌ

140


¤£¢¡ ~ } | { z y x w v u t s ﴿

อัลบะเกาะเราะฮฺ 255-257

³²±°¯®¬«ª©¨§¦¥ ÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ÍÌËÊÉÈÇÆÅÄàÛÚÙØ×ÖÕÔÓÒÑ ÐÏÎ ãâáàßÞÝÜ DCBA ìëêéèçæåä MLKJIHGFE UTSRQPO N

อัลบะเกาะเราะฮฺ 285–286

﴾\[ZYXW V rqpon m lkji hg﴿ }|{zyxwvu ts ¨§¦¥¤£¢¡ ~ ¸¶µ´³²±°¯®¬«ª© ÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º¹

141


ÓÒÑÐÏ ÎÍ ÌËÊÉÈÇ Æ Å ÞÝÜÛÚÙØ×ÖÕÔ ﴾ àß MLK JIHGFEDC BA ﴿ อาลอิมรอน 1-6

XW VUTSRQPON dcba`_^]\[ZY srqponml kj i hgf e ` _ ~ }| { z y x w v u t ﴾ fedcba

อาลอิมรอน 15-19

¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± ° ¯ ®﴿ Á À ¿ ¾ ½ ¼ » º A ÉÈ Ç Æ Å Ä Ã Â LKJIHGFEDCB Q P O N ]\[ ZYXWVUTSR

142


ih gfedcba`_^ tsrqponmlkj `_~}|{zyxwvu ﴾ dcba a ` _ ~ } | { z y x w﴿ ponmlkjihgfedcb }|{zyxwvuts rq

อาลอิมรอน 26-30

ª©¨§¦¥¤£¢¡ ~ ¶µ´³²±°¯®¬ « ÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸ Ñ Ð Ï Î ÍÌ Ë Ê É È Ç Æ Å ß Þ Ý Ü ÛÚ Ù Ø × Ö Õ Ô Ó Ò GFEDC BA å ä ã â á à SRQPON MLKJIH ﴾ ]\ [ZYXWVUT

143


IHGFEDCB﴿

อาลอิมรอน 133-136

RQPON MLKJ ZYXWVUTS ba`_^] \[ kjihgfedc u tsrqponml ~}|{zyxwv ﴾ edcba`_

อาลอิมรอน 169-175

p o n m l k j i h g f e d﴿ yxwvuts rq ¥¤£¢¡ ~}|{z ±°¯®¬«ª© ¨ § ¦ ¼»º¹¸¶ µ´³² È ÇÆÅÄÃÂÁ¿¾½ Ò Ñ Ð ÏÎ Í Ì Ë Ê É

144


CB A Ù Ø × Ö Õ Ô Ó ONMLKJIHGFED Y X W VU T S R Q P ﴾] \ [ Z a ` _ ~ } | { z y﴿ j i h g f ed c b

อาลอิมรอน 190-200

srqponmlk ~}|{ zyxwvut ª© ¨§¦¥¤£¢¡ ¶µ´³ ² ± ° ¯ ® ¬ « Á À¿¾½¼»º¹¸ ÎÍÌËÊÉÈÇÆÅÄàIHGFEDCBAÐÏ VUTSRQPONMLKJ ^]\[ZYXW

145


gfed cba `_ srqp onmlkjih ~}|{zyx wvut ihgfedcba `_ vutsrqponmlk j ¢¡ ~}|{zyxw ¬«ª©¨§¦¥¤£ ¹¸¶µ´³²±°¯® À¿¾½¼ »º ﴾Æ Å Ä Ã Â Á

อันนิสาอ 72-77

| { z y x w v u t s r q﴿ ¨§¦¥¤£¢¡ ~} ³²±°¯®¬«ª© ¾½¼»º¹ ¸¶µ´ ÇÆÅÄÃÂÁÀ¿ CBA ÐÏÎÍÌËÊÉÈ

146


LKJIHGFED XWVUTSRQPON M dcba `_^]\[ZY onmlkjihgfe }|{zyx wvutsrqp hgfedcba`_~ utsrqponmlkji £¢¡ ~}|{zyxwv ﴾«ª©¨§¦¥¤

อันนิสาอ 90-91

x w v u t s r q p o﴿ ¤£¢¡ ~}|{zy ¯®¬«ª ©¨§ ¦¥ º¹¸¶µ´³²±° ÅÄÃÂÁÀ¿¾½¼» Ï ÎÍÌ ËÊ É È Ç Æ

147


×ÖÕÔÓÒÑÐ ﴾Û Ú Ù Ø a ` _ ~ } | { z y x w v u t﴿ lkj ihgfedcb

อันนิสาอ 116-121

vutsrqponm ~ } | { z y x w ¥ ¤ £ ¢ ¡ ® ¬ « ª © ¨ § ¦ ¶µ´³²±°¯ ÁÀ¿¾½¼»º ¹¸

อันนิสาอ 171-173

﴾ ÊÉÈÇÆÅÄÃ Â IHGFEDCBA ﴿ TSRQPONMLKJ _^]\[ZYXWVU lkjihgf edcba`

148


yxwvuts r qpo n m c b a` _ ~ } | { z lkjihgfed s r q p o n m zyxwvut ¢ ¡ ~ } | { ®¬«ª©¨§¦¥ ¤ £

อัลอันอาม 112-113

อัลอันอาม 61

﴾° ¯ cba`_^]\[ZY﴿ ﴾ kjihgfed a ` _ ^ ] \ [ Z Y﴿ nmlkjihgfedcb wvuts rqpo ﴾_~ }|{ zyx

149


อัลอันอาม 121

{zyxwvutsrqp﴿ cba`_~}| ﴾ fed © ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢﴿ µ´ ³²±°¯® ¬ «ª ÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶

อัลอันอาม 123-130

ÍÌËÊÉÈÇÆÅ DCBA ÔÓÒÑÐÏÎ ONMLKJI H G F E XWVUTSRQP ba` _^]\[ZY n m l k j i h g fe d c zyx wvutsrqpo ed c ba ` _ ~ } | { q po n m l k j i h gf

150


}|{zyxwvutsr ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡ ~ ²±°¯®¬«ª© ¾½¼»º¹¸¶µ´³ ÇÆÅÄÃÂÁÀ¿ ﴾È ¶µ ´³²± °¯ ® ﴿

อัลอะอฺรอฟ 11-22

D C BA ¿¾ ½¼»º¹¸ SRQPONMLKJIHGFE `_^]\[ZYXWVUT m lk jih gfedcb a xwvu tsrqpon d c b a` _ ~ } | { z y ponmlkjihgf e {zyxwvut srq

151


§ ¦¥ ¤ £ ¢ ¡ ~ } | ³²±°¯®¬«ª©¨ ÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ÌËÊÉÈ ÇÆÅÄà×ÖÕÔÓÒÑÐÏÎÍ âáàßÞÝÜÛ ÚÙ Ø ﴾æ å ä ã ~}|{zyxwvu﴿ อัลอะอฺรอฟ 54-56

hgfedcba`_ tsrqponmlkji ~}|{zyx wvu ¨§¦¥¤£ ¢¡ ³²±°¯®¬«ª© ﴾´

152


« ª © ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢﴿ อัลอะอฺรอฟ 115-122

µ´³²±°¯® ¬ ¾½¼ »º¹¸¶ ÊÉ È Ç Æ Å Ä Ã Â Á À ¿ ÔÓÒÑ ÐÏÎÍÌË FE D C B A Ø × ÖÕ ﴾I H G KJIHGFEDCBA ﴿ TSRQPONML _^]\[Z YX WVU jihgfe dcba` srqponm lk _~}|{zyxwvu t gfedcba` srqpon mlkjih

153


อัลอะอฺรอฟ 196-206

¢¡ ~}|{zyxwvut «ª © ¨§ ¦ ¥ ¤ £ µ´³ ²±°¯®¬ ¿¾½¼»º¹¸¶ ËÊÉÈÇÆÅ ÄÃÂÁÀ ﴾Ñ Ð Ï Î Í Ì ~ } | { z y x w v﴿ ª©¨§¦¥¤£ ¢¡

อัลอันฟาล 7-19

µ´³²±° ¯®¬« FEDCBA ¸¶ P O N ML K J I H G ]\[ZYXWVUTSRQ gfedcb a`_^ ponmlkjih y xwvutsrq

154


dcba`_~}|{z lkjihgfe utsr qponm ~}|{zyxwv ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢¡ ³²±°¯®¬«ª© ¾½¼»º¹¸¶µ´ ÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ¿ GFEDCBA ÌËÊ QPONMLKJIH ]\[Z YXWVU T SR g f e d c b a` _^ tsrqpo n m l kj i h ﴾ {zyxwvu

155


อัลอันฟาล 48

m l k j i h g f e d﴿ xwvutsrqp o n dcba`_~}|{zy ﴾j i h g f e À¿¾½¼»º¹¸ ﴿ A ËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁ IHGFEDCB

อัตเตาบะฮฺ 7-16

RQPONMLKJ \[ ZYXWVUTS fedcba`_^] m lkjihg xwvutsrqpon dc b a ` _ ~ } | { z y lkjih gfe v u t s r q p o nm

156


~}|{zyxw ª©¨§¦¥¤£¢¡ ² ± ° ¯ ® ¬ « º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ÄÃÂÁÀ¿¾½¼» FEDCBA NML K J I HG [Z Y X W V U T S R Q P O edcba`_^]\ ponmlkjihgf

อัตเตาบะฮฺ 25-32

﴾t s r q x w v u t s r q p o n﴿ ~}|{zy ©¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡ ´³²±°¯®¬«ª

157



MLKJIHGFEDCB ﴾P O N |{zyx wvu ﴿ อัตเตาบะฮฺ 40

¦¥¤£¢¡ ~} ° ¯ ® ¬ « ª © ¨ § ¸¶µ´³²± ¿¾½¼»º¹

อัตเตาบะฮฺ 128-129

﴾ ÆÅÄÃÂÁÀ ¤ £ ¢ ¡ ~ } |﴿ ª©¨§¦¥ º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± ° ¯ ® ¬« ﴾ ¿¾½¼» {zyxwvutsr ﴿ dcba `_~}| n m l k j i hg f e

159


yxwvutsrqpo §¦¥¤£¢¡ ~}|{z ´³²±°¯®¬«ª©¨

ยูนุส 57-64

ÂÁÀ¿¾½¼» º ¹¸ ¶µ ÏÎÍÌËÊÉÈÇÆÅÄ Ã ÛÚÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐ CBA åäãâáàßÞÝÜ M LK J I H G F E D VUTSRQ PON a`_^]\[ZYXW ﴾b

ยูนุส 79-82

KJIHGFEDCBA﴿ W V U T SR Q P O N M L e d c b a ` _ ^ ] \[ Z Y X ﴾ nmlkjihg f

160


ฮูด 64

a ` _ ^ ] \ [ Z Y﴿ ﴾ jihgfedcb

ฮูด 101

j i h g f e d c b﴿ xwvutsrqponmlk ﴾| { z y u t s r q p o n m l k j﴿ }|{zyxwv

อัรฺเราะอฺดุ 8-13

gfedcba `_~ rqponmlkji h ¢¡ ~}|{zyxwvuts ²±°¯®¬«ª©¨§¦¥¤£ ¾½¼»º ¹¸¶µ´³ ÆÅÄÃÂÁÀ¿ ÏÎÍÌËÊÉÈÇ ﴾ ×ÖÕÔÓÒÑ Ð

161


อัรฺเราะอฺดุ 28-29

ã â á à ß Þ Ý Ü Û Ú﴿ EDCBA æåä ﴾I H G F «ª©¨§¦¥¤£ ﴿ ´³²±°¯®¬ ÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶µ

อิบรอฮีม 10-17

BA ÈÇÆÅÄÃÂ NMLKJIHGFEDC [ZYXWVUTSRQPO dcba `_^]\ p o n mlk j ih g f e xwvutsrq ba`_~}|{zy i h gf e d c s rqponmlkj

162


~}|{zy xw vu t §¦¥¤£¢ ¡ ³²±°¯®¬«ª©¨ ﴾´ Ð Ï Î Í Ì Ë Ê É È﴿ BA ÖÕÔÓÒÑ ML KJIHGFEDC อิบรอฮีม 42-52

WVUTSRQPON `_^]\[ZYX jih gfedcb a rqponmlk zyxwvuts cba`_~}|{ onmlkjihgfed z y xw v u t s r q p

163


£ ¢ ¡ ~ }| { « ª © ¨ § ¦ ¥¤ ¸¶µ´³²±°¯®¬ à  Á À ¿ ¾ ½ ¼ » º¹ ﴾ ÇÆÅÄ » º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± °﴿ ÆÅÄÃÂÁÀ¿¾ ½ ¼ Ñ Ð Ï Î ÍÌ Ë Ê É ÈÇ HGFEDCBA ÔÓ Ò TSRQPONMLKJ I _ ^ ] \[ Z Y X W V U lkj ihg fe dc ba` wvutsrqponm `_~}|{zyx i hg f e d c b a

164


tsrqponmlkj

อัลหิจXฺรุ 28-50

~}|{ zyxwvu ª © ¨ § ¦ ¥¤ £ ¢ ¡ ¶ µ ´ ³ ² ± ° ¯® ¬ « ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸ Í ÌËÊÉÈÇÆÅÄ Ã ﴾ ÒÑÐÏÎ É È Ç Æ Å Ä Ã Â Á À﴿

อันนะหฺลุ 63-69

ÓÒ ÑÐÏÎÍÌËÊ ÞÝÜÛÚÙØ×ÖÕÔ HGFEDCBA áàß V U T SR Q P O N M L K J I cba`_^]\[ZYXW kjihgfed x wv u t s r q p o n m l

165


e dcba`_~}|{zy qponmlkjihgf }|{zyxwvutsr ﴾ ~ r q p o n m l k j i h g﴿ |{zy xwvuts fedcba`_~}

อันนะหฺลุ 96-102

o n ml k j i h g zyxwvutsrqp £¢ ¡ ~}|{ ®¬«ª©¨§¦¥¤ ¹¸¶µ´³²±°¯ ÅÄàÁÀ¿¾½¼»º ÍÌËÊÉÈÇÆ ﴾Ï Î

166


ÓÒÑÐÏÎÍÌË Ê

อัลอิสรออ 45-46

﴾ ÕÔ ¤£¢¡ ~}|{z﴿

อัลอิสรออ 53

อัลอิสรออ 26-27

É È Ç Æ Å Ä Ã Â Á À﴿

| { z y x w v u t s r q p﴿

°¯®¬«ª ©¨ §¦¥ ﴾ ¾½¼ »º¹¸¶µ´³²±

﴾ ba`_~}

อัลอิสรออ 61-65

}|{zyxwvu﴿ gfedc ba`_~ qponmlkjih {zyxwvuts r ¥¤£¢¡ ~ }| ¯®¬«ª©¨§¦

167


º¹¸¶µ´³²±° ﴾ À¿¾½¼» g f e d c b a ` _ ^ ]﴿

อัลอิสรออ 78-82

r q p o n ml k j i h }|{zyxwvuts gfedcba`_~ srqponmlkjih ~}|{zyxwvut ﴾£ ¢ ¡

อัลอิสรออ 105-111

KJIHGFEDCBA ﴿ V UTSRQPONML edcba`_^]\[ZYXW ponmlkj ihgf yxwvuts rq gf edc ba`_~ }|{z

168


rqponmlkjih ¢¡ ~} |{zy x w v u t s ﴾ ª©¨§¦¥¤£ ¹¸¶µ´³²±°¯®¬« ﴿ ÂÁÀ¿¾½¼»º ÍÌË ÉÈÇÆÅÄÃ

อัลกะฮฺฟุ 1-14

EDCBA ÔÓÒÑÐÏÎ QPONMLKJ IHG F \[ZYXWVU T SR gfedcba` _^] rqponmlkjih | { z yx w v u t s hgfedcba`_~ } rqponmlkji | { z y x w v u ts

169


© ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢¡ ~ } ³ ² ± °¯ ® ¬ « ª ¾½¼»º¹¸¶µ´ ﴾ ÅÄÃÂÁÀ¿ nmlkji h g f e d c ﴿ yxwvu tsrqpo

อัลกะฮฺฟุ 103-110

¦¥ ¤£¢¡ ~}|{z ³²±° ¯®¬«ª©¨§ À¿¾½ ¼ » º ¹ ¸ ¶ µ ´ ÎÍÌËÊÉÈÇÆÅÄà ÂÁ ÜÛÚÙØ×Ö ÕÔÓÒÑÐÏ êéèçæåäãâáàßÞÝ ﴾ ïîíìë ~ } | { z y x w v u t﴿ jihg fedcba`_

170


t srqpon mlk ~ }|{zyxwvu © ¨§¦¥¤ £¢¡

มัรฺยัม 83-98

´ ³²± ° ¯ ®¬« ª ÁÀ¿¾½¼»º ¹¸¶µ Ì ËÊÉÈÇÆÅÄàÖÕÔÓÒ Ñ ÐÏ Î Í HGFEDCBA PONMLKJI \[ZYXWV UTSRQ ﴾d c b a ` _ ^ ] ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡ ~﴿ µ´³²±°¯®¬«ª© À¿ ¾½¼»º¹ ¸¶ ÉÈÇÆÅÄÃÂÁ

171


ÔÓÒÑÐÏÎÍ ÌËÊ

ฏอฮา 60-70

JIHGFEDCBA Ø × Ö Õ WVUTSRQPONM LK dcba `_^]\[ Z YX rqponmlkjih gfe _ ~ } | {z y x w v u t s ﴾ cba` Þ Ý Ü Û Ú Ù Ø × Ö Õ Ô Ó Ò﴿

ฏอฮา 98-104

MLKJIHGFEDCBA ß XWVUTSRQP ON fed cb a`_^]\[ZY ponml kjihg | { z y x w v u t s rq gfedcba` _~} r qp o n m l k j i h

172


}|{ zyxwvuts «ª©¨§¦¥¤£ ¢¡ ~ º¹¸¶µ´ ³ ² ± ° ¯ ® ¬ ÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½ ¼» ÒÑÐÏÎÍÌËÊÉ ÈÇ ÜÛÚÙØ×ÖÕ ÔÓ FEDCBA ãâáàßÞÝ RQPONMLKJIHG

อัลอันบิยาอ 42-43

ฏอฮา 124

﴾ TS Î Í Ì Ë Ê É È Ç Æ Å﴿ ﴾ ÑÐÏ yxwvutsrqpo﴿ £¢¡ ~ }|{z ®¬«ª©¨§¦¥¤ ﴾¯

173


Z Y X W V U T S R﴿ ed cba`_^]\ [ ponml kjihgf xwvutsrq cba`_~}|{zy

อัลอันบิยาอ 74-92

kjihg fed utsrqpo nml ¡ ~}|{zyxwv © ¨§¦¥¤£¢ ³²±°¯®¬«ª ¾½¼»º¹¸¶µ´ CBAÆÅÄÃÂÁÀ¿ LKJIHGFED V U T S R Q P ON M `_^]\[ ZYXW jihgfedcba

174


srqponmlk | { z y x w vu t hgfedcba`_~} srqponmlkji |{zyxwvut §¦¥¤£¢¡ ~} ±°¯®¬«ª©¨ º¹¸¶µ´³² ÃÂÁÀ¿¾½¼» GFEDCBA Ä ONMLKJIH

อัลหัจXฺ 1-4

﴾U T S R Q P IHGFEDCBA ﴿ R Q P O N M LK J [ZYXWVUTS

175


edc ba`_^] \ ponmlkjihgf ﴾ {zyxwvutsrq wvutsrqpon﴿ ¤£¢ ¡ ~ }|{zyx อัลหัจXฺ 19-24

¯ ®¬«ª© ¨§¦¥ »º¹¸¶µ´³²±° ÄÃÂÁÀ¿¾½ ¼ ÍÌËÊÉÈÇÆÅ CBA ÔÓÒÑÐÏÎ

อัลหัจXฺ 38-41

﴾ JIHGFED ÛÚÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏ ﴿ IHGFEDCBA ÝÜ TSRQPONM LK J `_^]\[ZYXWVU

176


ihgfedcba t srqponmlkj }|{zyxwvu ﴾ fedcba`_~ tsr qponmlkj﴿ ~}|{zyxwvu °¯®¬«ª ©¨§¦¥¤£¢ ¡ ½ ¼ » º ¹ ¸¶ µ ´ ³ ² ± ÆÅÄà ÂÁÀ¿¾ ÎÍÌËÊ ÉÈÇ Ø×ÖÕ ÔÓÒÑÐÏ GFEDCBAÛÚÙ PONMLKJIH ZYXWVUTS RQ edcba `_^]\[

177


onmlkjihgf wvutsrqp

อัลมุอมินูน 97-118

ba ` _ ~ } | { z y x onmlkj ihgfedc {zyxwvutsrqp ¥¤£¢¡ ~}| ²±°¯®¬«ª©¨§¦ ¾ ½ ¼ » º ¹ ¸ ¶µ ´ ³ Ë ÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ¿ ﴾Ò Ñ Ð Ï Î Í Ì

อันนูรฺ 35-39

¤£¢¡ ~}|{zy ﴿ °¯®¬«ª©¨§¦¥ ¼»º¹¸¶µ´³²± ÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½ Ø×ÖÕÔ ÓÒÑÐÏÎÍÌË

178


âáàßÞÝÜÛÚÙ NMLKJIHGFEDCBA WV UTSRQPO cba`_^]\[ZYX kjihgfed wvutsrqp o n m l ﴾ }|{zyx LKJIHGFEDCB ﴿

อัลฟุรฺกอน 21-34

XWVUTSRQPONM ` _ ^ ] \ [ Z Y k j i h g f e d c ba tsrqponml ~ } |{ z y x w v u ihg fedcba`_ s rqponmlkj

179


~}|{zyxwvut ©¨ §¦¥¤£¢¡ ´³ ²±°¯®¬«ª À¿¾½¼»º¹¸¶µ ËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁ DCBA ÒÑÐÏÎÍÌ LKJ IHGFE ﴾U T S R Q P O N M ÜÛÚÙ Ø×ÖÕÔÓ﴿ อัชชุอะรออ 38-48

I HGFEDCBA ÞÝ UTSRQPONMLKJ ba`_^]\[ZYXWV lkjih gf ed c wvutsrqpo nm ba ` _ ~ } | { z y x

180


﴾ dc  ÁÀ¿¾½ ¼»º¹ ¸ ﴿ ËÊÉÈÇ ÆÅÄà ×ÖÕ ÔÓÒÑÐÏÎÍÌ EDCBA ÛÚÙØ

อัชชุอะรออ 78-104

RQPON M L K J I H G F `_^]\[Z YXWVU TS l kjih gfedcba zyxw vutsrqp onm e d cb a ` _ ~ } | { qponm lkjih gf |{zy xwvut sr ¬«ª©¨ §¦¥¤ £¢¡ ~ } ¼ »º¹¸¶µ´³²± °¯® ﴾ÁÀ¿¾½

181


อัชชุอะรออ 221-227

¡ ~ } | { z y x w v u﴿ ©¨ §¦¥¤£ ¢ µ ´³²±°¯®¬ «ª À¿¾½¼ »º¹¸¶ ÌËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁ ﴾Ð Ï Î Í n m l k j i h g f e d c﴿ vutsrq po

อันนัมลฺ 59-65

`_~}|{zyxw o nmlkjihgfedcba xwvutsrqp ¥¤£¢¡ ~}|{zy ¯®¬«ª©¨§¦ º¹¸¶µ´³²±° ÂÁÀ¿¾½ ¼»

182


ÐÏÎÍÌËÊÉÈÇÆÅÄÃ GFEDCBA ÓÒÑ TSRQPONMLKJIH a`_^]\[ZYXW VU

อันนัมลฺ 76-77

﴾f e d c b áàßÞÝÜÛÚÙØ× ﴿ ﴾ EDCBA ãâ b a ` _ ~ } | { z y﴿ mlkjihgf e d c t s r q p on ~} | { z y x w v u ©¨§¦¥¤£¢¡ ² ± °¯ ® ¬ « ª ½¼»º¹¸¶µ´³ A ÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾

183


อัรฺรูม 20-27

MLKJIHGFEDCB XWVUTSRQPON cba`_^] \[ZY onmlkjihgfed ﴾q p e d c b a` _ ^ ] \ ﴿ ponm lkji hgf {zyxwvu tsrq

ยาสีน 1-12

f ed c b a ` _ ~ } | ponmlkjihg zyxwv utsrq ¥¤£¢¡ ~}|{ °¯ ®¬«ª©¨§¦ »º¹¸¶µ´³² ± ﴾ ¿¾½¼

184


onmlkjihgfed ﴿

ยาสีน 78-83

{zyxwvutsrq p §¦¥¤£¢¡ ~} | ²±° ¯ ® ¬ « ª © ¨ ¿¾½¼ »º¹¸¶µ´³ É È ÇÆ Å Ä Ã Â Á À ﴾Ï Î Í Ì Ë Ê

อัศศอฟฟาต 1-10

J IHG FE D CBA ﴿ T S R Q P O NM L K `_^] \[ZYXWV U lkjihgfedc ba xwvuts rqponm ﴾ zy ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏÎ﴿ äã âáàßÞ ÝÜÛÚ

185


A îíìëêéèçæå อัซซุมัรฺ 21-23

MLKJIHGFEDCB ZYXWVUTSRQPON cba`_^]\[ onmlkjihgfed ﴾ |{z yxwv utsrqp ¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡﴿ ´³²±°¯®¬«ª ©

ฆอฟ]รฺ 38-52

ÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶µ ÊÉÈÇÆÅÄ Ã E D C BA Ð Ï Î Í Ì Ë NML KJIHGF ZYXWVUTSRQPO g f e d c b a ` _ ^ ] \[ qponmlkjih

186


}|{zyxwvuts r g f e d c ba ` _ ~ qponmlkjih {zyxwvutsr ¤ £ ¢ ¡ ~ }| ®¬«ª©¨§¦¥ ¹¸¶µ´³²±°¯ ÄÃÂÁ À¿¾½¼»º ÎÍÌËÊÉÈÇÆÅ KJIHGFEDCBA WVUSRQPONML ba `_^]\[ZYX ﴾ lkjihgfedc IHGFEDCBA﴿ RQPONMLKJ

187


\[ZYXWVUT S

ฟุศศิลัต 30-36

fedcba`_^] rqponml kjihg {z yxwvuts gfedcba`_~}| rqponm lkjih }|{zy xwvuts ﴾ ¦¥¤£¢¡ ~

ซุครุฟ 36-38

a ` _ ^ ] \ [ Z Y X W V﴿ j ihgf edcb tsrqponmlk

อัดดุคอน 43-50

﴾u dc ba` _^]\﴿ nmlk jih gfe y xw vutsrq po

188


dcba`_ ~}|{z ﴾e IHGFEDCBA﴿ TSRQPONMLKJ อัลอะหฺกอฟ 29-33

_^]\[ZYXWVU ji hgfedcba` utsrqponmlk ba`_~}|{zyx wv ponml kjihgfedc zyxwvutsrq ﴾¤ £ ¢ ¡ ~ } | { ¹¸ ¶µ´³²±°¯®¬«﴿ Æ ÅÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º BAÐÏÎÍÌËÊÉÈÇ ONMLKJIHGFEDC

189


^]\[ZYXWVUTSRQP kji hgfedcba`_ xwvuts rqponml d c b a `_ ~ } | { z y อัลหะดีด 1-10

ponmlkjihgfe }|{z y x w v u ts r q ª©¨§¦¥¤ £¢ ¡ ~ ¹ ¸¶µ´³²±°¯ ® ¬ « ÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º ÓÒÑÐÏÎÍÌËÊÉÈÇ áàßÞÝÜ ÛÚÙØ× Ö Õ Ô

อัลหัชรฺ 18-24

﴾â W V U T S R Q P O N M﴿ dcba `_^]\[ZYX nmlkjihgfe

190


xwvuts r q p o ba`_~}|{zy kjihgfedc yxwvutsrqponm l ¥¤£¢¡ ~}|{z « ª © ¨ § ¦ µ´³²±°¯®¬ ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶ ﴾É È Ç Æ Å Ä Ã MLKJIHGFEDCBA﴿ อัลญินนฺ 1-10

[Z YXWVUTSRQPON ihgfedcb a ` _ ^ ]\ w vutsrqponml kj c ba`_~}|{zyx onm lkji hgfed

191


yxwv utsrqp §¦ ¥¤£¢¡ ~}|{z ﴾ ´³²±°¯®¬«ª©¨

อัซซัลซะละฮฺ

a`_^ ]\[ZY lk ji hg f edcb utsrqp onm ~ }|{zyxw v

อัลกาฟ]รูน

dcba`_ J IHGFE DCBA WV UTSRQP ONMLK `_^]\ [ZYX

อันนัศรฺ

h g f e d c b a qponmlkji wvutsr

192


อัลอิคลาศ

KJI HGF EDCBA SRQPONML

อัลฟะลัก

_^ ]\[ZY XWVUT ihgfedcba` onmlkj

อันนาซ

yx wvu tsrqp ba` _~}|{ z `hgf edc

193


1 %* X=

. ก 4% ก 3 1e%)F 4 ,h4}y 4

=~2

jk 1 %•

& jk € B .J / .= f EF 1#O 4 ,h # P g = O EF >9' H:G .= F z• 4 . J -# ,h eL 294 ‚w

294 ƒ _

29 L , m LB0 * 0x , m LBJ

…‚% Q< c

294 „

1e%)F I BVG BV

294 k 2

c

1 %•

M L †4 ,B L †4 B#L † jk 5 EF 1#O 4 ,Be% …W mBV ^ <O ( .04‡ MF4 ; N4 ˆC MF4 .= F z• 4 . J -# … m LBJ P g = O EF >9' ,H:G .)LD= :4 … BP eF `6 l D c 1 %• 1#O ,Bew P N EF nDG ‰6 jk c 1 %• c 1 2)U ,QBF C %V 4 i#Š i#8 jk 5 EF

194


ˆ= 2 c 1 %• , ^BV - N ‹6 L †4 i#Š Œ‡D jk

S9x TŽ A • = MN4 ,dQ 04 S # ' • = MN v2 -vL N • = MN4 ,• • N4 MP #2N = O • = MN4 ,M= y 4 N• = MN4 `6 MN s~ L N • = MN4 , # Me L4

‘ ’ N• = MN4 nDG

D: N • = MN4 , - ‘ 2L

# ŒD Ž • = MN4 ,D - 4 # * ) • = MN4 , - N P ” Œ @L J^ D Ž &' D - 4 … M“ D L ‚

D @ 8G • = 4 D •G • = MN v2 ˆ= 2 c 1 %•

iŽ & • • j: = O •4 = Q 6f •4 = n NG •4 = P km 8| 1[ * Q = O • = MN4 ,dQ 04 S # ' • = MN4 ,d• P • EF –D ' , -) … P a)6N • =

1/y

h <O4 ,dBV4

, — ˜ %<9 & ‹a™

42

v2

ˆ= 2

c

1 N|

1e%)F 4 ,h , @

, FQ MN 5 leU ,‹<O4 5 ./6V , m #F lm eU 5 4 … ‹N N 5 D4 S

195


/6V4 ,Q /2 MN X!

/6V , O

294 5 /6V

/6V ,Œ4‡

MN Œ‡ /6V …Œ #” MN i Š , 2@L &4 2@L C4 P g = O h #N dB jk 5 5 /6V ,( #F D š &4 ‚š C4 ,› _L &4 ƒ _L C4 œ 2 X! D C4 , #O P ‡ ~<)U 4 h P ‡ MN h

( #F , C &' b' & jk … v2 v2

ˆ= 2

c

1 %•

…TŽ K h

-)U 4

P ~ MN v2 ˆ2 c 1 %• …TŽ K ML~•4 TL = •4 sP 3'4 P ,' MN v2 ˆ= 2 c 1 %• P ž 4 P 69 MN ZL •4 S

…TŽ K

v2 ˆ= 2 c 1 %• …TŽ K

…TŽ K lL~< 4 lP L4 MN v2 ˆ= 2 c 1 %•

196


Q4B 4 ŸP B 4 ŸP • MN

v2 ˆ= 2 c 1 %• …TŽ K

P /8 MN v2 ˆ2 c 1 %• …TŽ K ƒ€ /84 ƒ = …TŽ K B€ N4 P N MN v2 ˆ= 2 c 1 %• @#U4 S• N4 P 4 U4 MN v2 ˆ= 2 c 1 %• … 4

¡

v2 ˆ= 2 c : F 4 ,TŽ K

¢' , C &' b' & jk c 1e%)F 4 c 1 %• … P g = O b'4 ¢' , C &' b' & jk c hk2)U 4 c 1 2)U 4 … P g = O b'4 ¢' , C &' b' & jk c h w)U 4 c 1£_)U 4 … P g = O b'4 , C &' b' & jk c 1“¤U 4 c h¥ )U 4 … P g = O b'4 ¢' & jk c 1 _)U 4 c 1 <K)U 4 c 1LB-)U 4

197


P kL' O 12 B)U 4 , P g = O b'4 ¢' , C &' b' P 44 P 4 MF4 ,; N4 ˆC MF4 .= F P aA4 •4 • s V & Z¦ Z¦7 Te#6 l § MF4 ,.)LD= :4 .04‡

… v2 ˆ= 2 c &' J &4

.= f c .)LD= :4 .04‡4 ; N4 ˆC 4 ¨<9 1 %V …˜ ! a

1 %*

. ก 4% ก ;

บทอานที่ ใ ชกั บ สถานที่ เ พื่ อ ปกปH อ งและบํ า บั ด ดังตอไปนี้ 1. อานซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ ณ สถานที่หนึ่งๆ โดย การอานเองหรือจากเครื่องบันทึกเสียงเปนเวลาทุกวัน หรือ อยางนอย 3 วันตอ 1 ครั้ง เพราะทานเราะซูล ไดบอก ใหแกเราทราบวาซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺนั้นสามารถขับไล ชัยฏอนได อะบูฮุร็อยเราะฮฺไดรายงานจากทานเราะซูล วา 198


1 / MN < L @ K

' , aN

#2© &II

WW a/ D U (

a jk

ความวา พวกทานทั้งหลายอยาทําบานเรือนของ พวกทานเป.นดั งสุส าน จริงๆ แลวชัย ฏอนจะหนี จากบานที่มีการอานซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ 2. หลังจากที่ไดอานซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺแลว หากทานมี ค วามรู สึ ก วามี อ ะไรบางอยางในบาน จงนํ า ภาชนะที่บรรจุน้ําและจุมมือของทานในน้ํานั้นพรอมกับให อานบทอานขางลางนี้โดยใหกระแสลมจากปากไดสัมผัสผิว น้ํา (อยายกมือของทานออกจากภาชนะนั้นจนกวาจะอาน เสร็จสมบูรณ) 5 ~2 4 ,lm )ª m g ( N S jk c

,Yw)q9 l

5

@ # 6 4 ,˜

6N ,5 6 &4 ˜

& .)

TŽ A • = MN4 *6 rG MN km € F -#= O ‹ 6f (€`U7 4 N• = MN4 ,• • N 4 MP #2N = O • = MN4 ,M= y 4 S9x

‘ ’4

#

Me L4 ,D -

199

Me L4

#

‘’


S#' • = MN4 , 4 D:4 i#8 N • = MN4 ,D EF –= D ' , -) km 8| 1[ *P Q = O • = MN4 ,dQ 04 P • ‹6 F4 ‹U N ( : 2)U ` c : F … P a)6N • • = MN4 , 4 D:4 i#8 N • = MN4 ,«4 jk M“

5 6 , 0

C '4

…‹_/L N • = MN4 ,dQ 04 S # ' @ K MN l e6 c : F … V

หลังจากนั้นใหทานอานอายะฮฺที่ใชในการรุกยะฮฺ แลว เอาน้ํานี้ไปพรมตามซอกตามมุมใหทั่วบาน ดวยการอนุมัติ ของอัลลอฮฺ พวกญินนฺทั้งหลายจะออกจากบาน 17 17

อะบูอันนัฎรฺ ฮาชิมอิบนุอัลกอสิมไดกลาววา ผมไดเห็นญินนฺในบาน ของผม มี เ สี ย งพู ดวา โอ อะบู อั นนั ฎ รฺ จ งยายออกหางจากพวกเรา (คื อ ญินนฺไดขอใหเขายายออกจากบานของเขาเอง) เขาจึงเลาตอวา เรื่องนี้ทําให ผมลําบากใจมาก ผมจึงเขียนหนังสือถึงอิบนุอิดรีส และอัล-มะหาริบีย อะบู อุสามะฮฺ เขาจึงเขียนหนังสือถึงอัลมะหาซียวา ณ นครอัลมะดีนะฮฺมีบอที่ เชือกสําหรับใชในการยกน้ําขาด (จึงไมมีการใชน้ําจากบอแหงนี้) มีคาราวาน

200


3. แทรกจดหมายเหตุขางลางนี้ อาจจะถือไว แขวน หรือเอามาตั้งใตหมอนในขณะที่นอนก็ได นั่นคือ คํากลาว ของอะบูดุญานะฮฺ ดังตอไปนี้ s UD BP e¬ MN Xm )O kC , V

M“

5 6

…D 4~ 4 D`2 MN X / Œ Ž MN „' T 2 X= D

a^ A F >

,*m 2 N i$= f

4

:B2 N

… ^ @/N 4 a® V `^ F ‡ 4 `^ q)aN ^ 0 4 ^ 2 N

O 9' ,i= f , e) ˜

N

#F4

#F i@ L 5 X )O kC

/) L #UD4 , #e2 ) O N ¯6 )69

G B/F „' a#@9 4 , kC – )O YV

O

ไดมาถึง ณ จุดนั้น ผูคนที่อาศัย ณ ที่นั่นไดรองเรียนใหพวกเขาชวย พวกเขา จึงขอใหนําถังน้ํา แลวอานบทอานขางตนและเทลงในบอ ทันใดนั้นไฟก็ลุก โชนขึ้ นจากบอนั้ น แลวดั บ ตรงปากบอ อะบู อั นนั ฎ รฺ ไ ดกลาววา ผมก็ เ อา ภาชนะที่มีน้ําและอานบทอานนี้ หลังจากนั้นสอดสองตนเหตุที่เกิดขึ้น แลว เอาน้ําพรม ณ ตนเหตุนั้น พวกมันก็ตางรองตะโกนตอหนาผมวา ทานไดเผา พวกเรา พวกเราจะยายออกเอง (อัล-วาบิล อัศ-ศ็อยบฺ หนา 27)

201


! O , C &' b' & , 8| ° ^ 5 lN 20

( '4

F~L MN „'4 f ( ,(-04 &' >m C P g

,5 BF Œ < ,i6F V 4¥ & V , /#_ ,c &'

J &4 s V &4 ,5 *wV 1_# 4 ±+…

#2 l e6

C4 ,5 - < 6

เรื่ อ งราวของจดหมายเหตุ นี้ คื อ เศาะหะบะฮฺ ที่ มี เกี ย รติ ท านหนึ่ ง ชื่ อ อะบู ดุ ญ านะฮฺ ไ ดรองเรี ย นแกทาน เราะซูล วา ในขณะที่ผมกําลังนอนอยูบนเตียงของผม ทันใดนั้นผมไดยินเสียงเหมือนเสียงเสียดสีของโมหินและ เหมือนเสียงหึ่งของผึ้ง และแสงจาเหมือนแสงของฟHาผา ผม จึงลุกขึ้นมา ทันใดนั้น ผมไดเห็นเงามืดหอยลงมา มีขนาด สู ง ระดั บ เพดานของบาน ผมก็ ถ ลาเขาหามั น และสั ม ผั ส ผิวหนังของมัน ปรากฏวาผิวของมันเหมือนผิวของเมน มัน 18

รายงานโดยอัลบัยฮะกีย ในหนังสือ ดะลาอิลุอัน-นุบูวะฮฺ เลมที่ 7 หนา 120. และอัสสุยูฏีย

202


จึงพนเสก็ดไฟตรงหนาของผม จนทําใหผมคิดวามันจะเผา ผมและบานของผม ทานเราะซูล จึงกลาววา โอ อะบู ดุญานะฮฺ มั นไดปกคลุ มบานของทานดวยสิ่ งเลวราย ขา สาบานตออั ล ลอฮฺ คนที่ ป ระสบเหมื อ นทานจะไดรั บ สิ่ ง เลวราย หลั ง จากนั้ น ทานก็ ก ลาวอี ก วา จงนํ า หมึ ก และ กระดาษ เขาก็นําสิ่งทั้งสองและอะลีอิบนุอะบูฎอลิบก็รับไว ทานเราะซูล ไดกลาววา โออะบูอัลหะสันจงเขียน เขาก็ ถามวา ใหผมเขี ย นอะไรหรื อ ทานก็ ก ลาววา จงเขี ย น (จดหมายเหตุขางตน) อะบูดุญานะฮฺไดกลาววา ผมเลยนํา จดหมายนั้ น กลั บ บานและตั้ ง ใตศี ร ษะแลวก็ เ ขานอน จนกระทั่ ง ผมไดยิ น เสี ย งรองตะโกนวา โออะบู ดุ ญ านะฮฺ ถอยคําเหลานั้นไดทําใหเราเผาไหม ดวยความสัจจริงของน บีของทาน หากทานปกป]ดจดหมายนั้น พวกเราจะไมหวน กลับมาที่บานของทานอีก ตนอื่นก็ไดกลาวอีกวา ไมมีการ ใหรายทาน ไมเขาใกลทานและบริเวณที่มีจดหมายนี้ อะบู ดุญานะฮฺจึงกลาววา ดวยความสัจจริงของทานเราะซูล ขาจะไมยกเลิกจดหมายนี้เด็ดขาดจนกวาทานเราะซูลจะ 203


ขอใหขายกเลิก หลังจากนั้นอะบูดุญานะฮฺก็เลาตอไปวา ผม ไดยิ น เสี ย งครวญของญิ น นฺ แ ละเสี ย งตะโกนและรองให ตลอดคืนจนกระทั่งสวาง แลวผมก็ไปละหมาดศุบหฺกับทาน เราะซูล และไดเลาเหตุการณที่เกิดขึ้น ทานเราะซูล ก็กลาวกับผมวา โออะบูดุญานะฮฺ จงนําเสนอสิ่งนี้ใหแกหมู ชนของทาน ขาขอสาบานกับ ผู ที่ส งฉัน มาเปนนบี ดวยสั จ ธรรม พวกมันจะไดรับความเจ็บปวดจนกระทั่งวันกิยามะฮฺ ดวยเหตุนี้ การใชจดหมายนี้ทําใหญินนฺเจ็บปวดและ ชวยขับไลมันในขณะที่ไดตั้งจดหมายนี้ใตศีรษะของผูปJวย

ก 3(% ก

ก .$

-

เปนมติเอกฉันทของบรรดาอุละมาอมุสลิมวา ไมควร นําสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากอัลกุรฺอานและทางนําแหงเราะซูล มาทําการรักษา มุสลิมไมควรจะไปขอใหผูที่ไมใชมุสลิม มารักษา และไปพึ่งผูที่มีหลักการศรัทธาที่เบี่ยงเบนไมวาจะ เปนกรณีใดๆ ทั้งสิ้น เพราะจะสงผลใหหลักการศรัทธาของ เขาเสื่อมเสีย และจะทําใหเพิ่มการใหรายทางดานวิญญาน อีกดวย ถาหากผูนั้นอางวาไดทําการรักษา มันก็เปนเพียง 204


แคกลอุบายระหวางชัยฏอนและสิ่งอื่นเพื่อมีจุดมุงหมายใน การทําลายอะกีดะฮฺของเขา หลังจากนั้นไมนาน โรคก็จะ หวนกลับมาใหมและยิ่งหนักไปกวาเดิมเสียอีก นอยมากที่ จะเกิดขึ้น ถาหากสมาชิกครอบครัวของผูที่ประสบเคราะห รายถูกหลอกลวงและถูกการใหราย มันจะไมทําสมาชิกใน ครอบครัวคนอื่นๆ โดนการใหรายดวย หรืออาจจะโดนทุก คนในครอบครัวอีกดวย มุส ลิม ไมควรไดรับ การรั ก ษาดวยการอานหรื อการ กระทําที่ไมใชมาจากหลักการของอิสลาม นั่นคือ ไมใชมา จากอัลกุรฺอานและอัซซุนนะฮฺ มิหนําซ้ํายังเปนสิ่งตองหาม และอิสลามนับสิ่งนี้วาเปนความชั่วราย ผูที่ปฏิบัติใ นสิ่งนี้ และผู ที่ ไ ดรั บ การรั ก ษาและโดนการหลอกลวงจากสิ่ ง นี้ นับ วาเปนผูราย การใชสิ่ง อื่ นที่ นอกเหนือ จากอัล กุ รฺอ าน และอัซซุนนะฮฺ มารักษา เรีย กในภาษาอาหรับวา “ ” ผูหลอกลวงทั้งหลายนี้ คือ บรรดาผูที่หลงผิดและทํา ใหผู อื่ น หลงผิ ด ไปดวย เพราะพวกเขาขาดการคิ ด 205


จรรยาบรรณ และหลักการศาสนา เนื่องจากพวกเขาโกหก โอหังและหลอกลวงสามัญชนและผูที่ไ มมีความรูไมวาจะ โดยทางออมหรือทางตรงวาพวกเขารูในสิ่งเรนลับ เพราะไม มีผูใดรับรูสิ่งเรนลับนอกจากอัลลอฮฺ เทานั้น และพวก เขาทําใหผูที่มารับการรักษาเชื่อวาการที่พวกเขาใชชัยฏอน ในการปลดทิ้งสิ่งที่ใหโทษและการไดมาของคุณประโยชน เพื่อปHาหมายจะไดสําเร็จลุลวงไปดวยดี ทั้งหมดนั้น พวกเขา ไดรับทรัพยสินของผูอื่นอยางไมเปนธรรม และหลอกลวง พวกเขาจจนทําใหออกจากศาสนาของอัลลอฮฺ อีกดวย

206


1 %* . ก "% ก. G%

% 3*%% %5)

MN LBa (9 @#6 4 L

%

(-0 4 v2 c : F

(”<94 (£<9 MN T2# BL

BL @

0

@K …d~²4

( 4}04 (9 @#U4 ( J4 ( DBJ4 ()evF4 5 ~2 : F ,M= y 4 S9x TŽ A • = MN4 ,dQ 04 S # ' • = MN # -vL N • = MN4 ,• • N 4 MP #2N = O • = MN4 N• = MN4 `6 MN s~ L N • = MN4 ,D -

Me L4

ŒD Ž • = MN4 ,D - 4 # M) • = MN4 , - N ‘ ’ P ” Œ @L J^ D Ž &' D - 4 # …M“D L ‚ ~2 4 ,( N vF g & jk ,Yw)q9 l

5

@# 6 4 ,˜

v2 5 (0 : F &4 ˜ & .) 5

h OD / h /= @ h C @ h N ) 5 h`# : F 4

207


5 `U7 : F 4 , m 0 &4 m MC‡4 š & .) h O~

,( aF4 (/ , MN ‹ev2 5 `U7 : F 4 ,‹ 6f • = MN4 ,dQ 04 S # ' • = MN4 ,dQ /F • = MN4 MN4 ,• • N 4 MP #2N = O • = MN4 ,M= y 4 S9x TŽ A

Me L N • = MN4 , #

Me L4 D -

‘ ’ N• = MN4 nDG

D: N • = MN4 , - ‘ 2L N

• = MN4 `6 MN s~ L N • = MN4 , #

-vL N • =

-vL4 D -

=O • = MN4 ,d• i Ž & • • j: = O • = MN4 , - N D @ 8G • km 8| 5 ,*P Q = 4 D •G • = MN4 , -) P • EF –D ' n NG •4 … P a)6N • = =

( 1J• jk – s~ L

L

>- 0 4 D

8³ 4 9 !B

: F ?= ' -#

N ( #F ´# 4 ,h`#v!

&4 ,µ ‹)V ‹/)2 > ,>/ , ˆF ¡ 4 >@”U … v2 ˆ= 2 c &' J &4 s V

208


mBe¬ 9B= U ( N : 2)U N • = MN v2 ˆ= 2 c : F

5 h`# : F 4 ,«4 jk C '4 ‹U N4 ‹6 F4 P F = O • MN4 ,*N — 4 *N 6 • MN *N ) … *P N& T = = P P MN4 ,BL N @ A = O • = MN h N ) 5 h`# : F …BP F DP /0 = O ¶@ = O MN4 ,*P N C4 P @ A = O MN *N ) 5 h`# : F P F … *P N& T

BP U • = MN4 ,X a2 4 * f • = MN v2 c : F ,B 4 N4 BP 4 • = MN4 ,B#/ MO U • = MN4 ,Q U 4 P • EF –D ' , -) • km 8| 5 ,*P Q = O • = = MN4 … P a)6N

4 U44 NG h )A MN

v2 ˆ= 2 c : F

… h` 4 q * ) MN4 , a2 Q4• MN4 ,DB% MN > : F 4 , ~f 4 = — MN > : F ?' -#

> : F 4 , ”/ 4 M/y MN > : F 4 , 6 4 ~w2

209


…s 0 =

-J4 MLB */#, MN

&' s= k MN4 ,> ' &' a< MN > : F ?= ' -# , > ' &' >

w# MN4 ,> N &' z Š MN4 ,> '

O 4 D^ w ‹K, 4 D4‡ ^ s J

> : F4

B s F4 BFG * `A MN > : F 4 , D4 ^ _N

> : F 4 ,*ea

w 4 *e2 s 4‡4 0

U4 v *roO4 i#Š

U4 Œ‡

v2 ˆ= 2 c : F 4 ,B

… X 6f ˜

*/ 84

= C4 i#Š • = MN

4 CG 4 s ·

Y#a

MNRL & }P = )N = O • = MN

X= D > : F 4 TŽ K h ~² MN > : F ?= ' -# … 4 MLBU f 4 MLBJ f • = MN

¡

v2 ˆ= 2 c : F 4

…*6 rG 4 TŽ K 4 ML V 6 4

h OD / h /= @ h C @ h N ) 5 h`# : F dQ /F4 (/ , MN m 0 &4 m MC‡4 š & .) h O~

210


P ‡ MN4 ,TŽ K h ,~94 h P ~² MN4 ,dQ /F •4 h = P ‡ ~<)U 4 sP 3'4 P ,' MN4 ,TŽ K h -)U 4 h

P ž 4 P 69 MN4 ,TŽ K ,TŽ K ZL •4 S lL~< 4 lP L4

MN4 ,TŽ K

•4

P ~ MN4 ML~•4 TL

MN4 ,TŽ K Q4B 4 ŸP B 4 ŸP • MN4 ,TŽ K @#U4 S• N4 P 4 U4 MN4 ,TŽ K

ƒ€ /8

> : F 4 ,TŽ K B€ N4 P N MN4 ,TŽ K … 4

211

¡


1 %* 1

5) 5 6 − > JD 5 6 I . JD 5 6 − W> JD

. L:RL P Q = O MN . JD 5 6 = O MN . JD 5 6 . L :R L P . aKL P aA4 • • = O MN . JD 5 6 P F4 S P <9 = O MN . JD 5 6 4 BP J V T P F BP U V T

-

P <9 = O MN . JD 5 6 4 P V U qU 4 S P N F eF

BO4 PON

P <9 = O MN . JD 5 6 N4 S BP € O

Ba2

h™< • = MN . JD 5 6 BaV :' BP J V • = MN . JD 5 6 -

212


QSV :' BP U V • = MN . JD 5 6 qU :' P V U • = MN . JD 5 6 eF :' P N F • = MN . JD 5 6 -

N :' P O N • = MN . JD 5 6 -

. < L 5 4 ? F L 5 4 . JD 5 6 . 2L 5 4 . <KL 5 4 . JD 5 6 . L aL 5 4 . w L 5 4 . JD 5 6 ?¤6L 5 4 ?¥ L 5 4 . JD 5 6 . J‡ L 5 4 ?}š 5 4 . JD 5 6 ?}š 5 4 . £ _L 5 4 . JD 5 6 ?k 2L 5 4 . 2L 5 4 . JD 5 6 . %¡ 5 4 . e%2L 5 4 . JD 5 6 5 4 . U ¡ 5 4 . v<¡ 5 4 . JD 5 6 . e¡

213


1 %*

. ก %*

.

ผูใดที่กลาวบทอานนี้หลังจากละหมาดศุบหฺในสภาพที่ เขายังพับขาโดยไมไดเปลี่ยนทาการนั่งและกอนที่จะพูด อะไร วา C4 ,Bef ( 4 ># ( ,( >L $A & dBV4 c &' b' & … LBJ P g O EF

ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัลลอฮฺเพียงพระองคเดียว ไมมีภาคีใดเทียบ พระองค อํ า นาจการปกครองและมวลการ สรรเสริญเปนเอกสิทธิ์ของพระองค และพระองค ทรงเดชานุภาพเหนือทุกสิ่ง

จํ า นวน 10 ครั้ ง เขาจะไดรั บ 10 ระดั บ แหงผลบุ ญ และ ความผิ ด จะถู ก ลบ 10 อยาง และเขาจะถู ก ยกระดั บ 10 ตําแหนง ในวันที่เขาไดอานนั้น เขาจะไดรับการปกปHองจาก สิ่งที่ไมพึงประสงคและจะถูกปกปHองจากชัยฏอน ความผิด ตางๆ ไมประสบกับเขาในวันนั้นยกเวนการตั้งภาคีกับอัลลอ ฮฺ (หะดีษหะสัน บางรายงานบันทึกวาเปนหะดีษที่เศาะฮีหฺ) 214


ทานเราะซู ล ไดกลาวมี ค วามวา ((หากทาน ละหมาดมัฆริบเสร็จแลว ใหทานกลาววา D

MN ? 0 -#

ความวา โออัลลอฮฺ ขอใหขาหางไกลจากไฟนรกดวยเถิด

จํานวน 10 ครั้ง ดังนั้นเมื่อทานกลาวประโยคขางตนแลว หลังจากนั้นทานตายในคืนนั้น จะถูกบันทึกสําหรับทานให ไกลจากนรก และเมื่อทานละหมาดศุบหฺเสร็จแลวใหกลาว ประโยคขางตน หากทานตายในวันนั้น จะถูกบันทึกสําหรับ ทานใหไกลจากนรก หลังละหมาดศุบหฺทานเราะซูล มักจะกลาววา /^ = Ž J^ ‡D4 ,^ /a)N ^ $eF4 , 2^ 9 `^ #F >¦7$U ?= ' -#

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอตอพระองค(ซึ่งความรูที่เป.น ประโยชน( การงานที่ถูกตอบรับ และป0จจัยยังชีพที่ดี

ทานเราะซูล

มักจะกลาวในยามเชาวา

MLQ4 ,¹ 8x *e#O4 ,˜ Ux

@ EF q/$ II MN O N4 ^`#6N ^ < V C ' $ r *$#N4 BP e¬ = /9

215


WWTO $K

ความวา เราใชชีวิ ตในเชานี้ บนฐานแหงธรรมชาติ อันบริสุทธของอิสลาม ถอยคําแหงความบริสุทธ( 19 ในศาสนาของนบีมุหัมมัดซึ่งเป.นนบีของเรา และใน ศาสนาของนบีอิบรอฮีมซึ่งเป.นบิดาของเรา ผูที่ยึด มั่ น อยู บนแนวทางที่ เ ที่ ย งตรงและเป. น ผู นอบนอม ยอมจํานนเสมอ และทานไมอยูในกลุมชนผูตั้งภาคี

ทานเราะซูล

มักจะกลาวในยามเชาวา

,5 Bef 4 , 04 ~F 5 >#$

´/$ 4

q/$

N4 D - 4 # 4 NG 4 i#Š 4 ,5 *ev2 4 L} 4 , V^

DT“

kC s4 20 -# ,„ 2 5 - M U VD L , V^

d 8|4 , V^ w9 (@U4 4

ความวา เราใชชี วิ ต ในเชานี้ โ ดยที่ อํ า นาจการ ปกครองเป. น กรรมสิ ท ธิ์ ข องอั ล ลอฮฺ และบรรดา สรรเสริญมีแดอัลลอฮฺ ความยิ่งใหญและความสูงสง 19

หมายถึง คําปฏิญานตน 2 ประโยค คือ ลา อิลาฮา อิลลัลลอฮฺ มุหัม มัด เราะสูลุลลอฮฺ

216


เป. น ของอั ล ลอฮฺ สรรพสิ่ ง กิ จ การงาน กลางคื น กลางวัน และสิ่งที่มีอยูในนั้นเพื่ออัลลอฮฺ โออัลลอฮฺ ขอใหพระองค(ทรงทําใหชวงเชาของวันนี้เป.นสิ่งดีงาม ชวงกลางวันไดรับความสําเร็จ และชวงเย็นของวันนี้ จะไดรับชัยชนะ โอผูที่มีความเมตตายิ่งในบรรดาผู เมตตาทั้งหลาย

ทานเราะซูล กลาววา

ไดกลาววา เมื่อทานอยูในยามเชาจง

m g > YCkL & (9 ,; N4 ˆC 4 ¨<9 EF 5 6

ความวา ดวยพระนามของอั ล ลอฮฺ มี ต อชี วิ ต ครอบครัวและทรัพย(สินของขา แทจริงจะไมมีสิ่งใด รอดพนจากพระองค(ไดเลย

1 %* •

. ก %* ทานเราะซูล ที่สุดคือ

.

'

ไดกลาววา “การขออภัยโทษที่ดี

[ 4 ,\B/F [ 4 . )a#8 ,1[ &' b' & –= D 1[ -#

217


N = $A MN > : F ,12@$)U N \BF44 \B-F EF

; <, ,./9k

$r 4 ,ˆF >)e2 >

r , 12

1[ &' X 9k! <_L & (9

ความวา โออัลลอฮฺ พระองค(คือผูอภิบาลของขา ไมมี พระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอกจากพระองค( พระองค( ไ ดทรงสรางขาในสภาพที่ ข าเป. น บาวของ พระองค( ขาอยูในปฏิญญาและสัญญาของพระองค( เทาที่ข ามีความสามารถปฏิบัติได ขาขอใหพระองค( ทรงคุมครองตัวขาจากความชั่วรายที่ขาไดกระทําไว ขากลับสูพระองค(ดวยการยอมรับในความโปรดปราน ของพระองค( ที่ มี ต อตั ว ขา และขาขอกลั บ ไปหา พระองค(ดวยการยอมรับในความผิดของขา ดังนั้น ขอ ไดโปรดประทานอภั ย แกขาเถิ ด แทจริ ง ไมมี ผู ใด สามารถอภัยความผิดไดนอกจากพระองค(

ผูใดไดอานในยามเย็นแลวเขาตาย เขาจะไดเขาสวรรค หรือเขาเปนชาวสวรรค หากเขาอานในยามเชา แลว เขาตายในวันนั้น เขาก็จะไดเฉกเชนนั้นเหมือนกัน” 218


ผูใดอาน dB$eq 4 5 $q/U 100 ครั้งในวันกิยามะฮฺ จะไมมีใครนําสิ่งที่ดีกวานอกจากผูที่ไดอานเหมือน กับที่เขาไดอานหรือเพิ่มมากกวานั้น ในการรายงาน ของอะบูดาวูดวาdB$eq 4 v2 5 $q/U หมายถึง มหาบริสุทธและการสรรเสริญมีแดอัลลอฮฺผูทรง ยิ่งใหญ อานซูเราะฮฺอัลอิคลาศ (DC B AI ซูเราะฮฺอัลฟะ ลัก (W V U T) และซูเราะฮฺอันนาซ q p) (s r ในยามเย็นและยามเชา 3 ครั้ง สิ่งนี้จะ ปกปHองเขาจากทุกสิ่ง

ทานเราะซูล

ไดกลาวในยามเชาวา

… D K$! > '4 h e9 > 4 q9 > 4 , 6N > 4 q/

> -#

ความวา โออัลลอฮฺ ดวยอํานาจแหงพระองค(พวก เราไดมีชีวิตในเชานี้และยามเย็น พวกเรามีชีวิตและ ตายดวยอํ า นาจแหงพระองค( และการฟ2K น คื น ชี พ ยอมกลับสูพระองค(

219


และยามเย็นวา ‚$% > '4 h e9 > 4 , q9 > 4 , q/

> 4 , 6N > -#

ความวา โออัลลอฮฺ ดวยอํานาจแหงพระองค(พวกเราไดใช ชีวิตในเย็นวันนี้และยามเชา พวกเรามีชีวิตและตายดวย อํานาจแหงพระองค( และพวกเราจะกลับสูพระองค( (อัตตัรมิซียไดกลาววา เปนหะดีษระดับดี (หะสัน)) •

ทานเราะซูล

ไดกลาวในยามเย็นวา

5 &' b' & ,5 B$$ $ $ ef 4 ,5 >#$$ $ $ ‹$$ $ $ $6N 4 $ $ $ $ 6N …( >L• & ,dBV4

ความวา เราใชชี วิ ต ในยามเย็ น โดยที่ อํ า นาจการ ปกครองเป. น กรรมสิ ท ธิ์ ข องอั ล ลอฮฺ มวลการ สรรเสริญมีแ ดอัลลอฮฺ ไมมีพระเจา(ที่ควรแกการ ภักดี)นอกจากพระองค(ผูเดียวโดยไมมีภาคีใดๆ กับ พระองค( •

ทานเราะซูล ไดสั่งใหกลาวในยามเชา ยามเย็น และกอนเขานอนวา 220


P 4`6 XD , Q -K 4 Y _ † F ,nDG 4 h • = MN > : F ,1[ &' b' &

Ž -# B-A ,( #N4 P g = O

(O•4 @ K • = 4 ¨<9

ความวา โออัลลอฮฺ ผูทรงสรางชั้นฟLาและแผนดิน ผู ทรงรอบรูสิ่งเรนลับและสิ่งเปMดเผย ผูอภิบาลและผู ทรงครอบครองทุกๆ สิ่ง ขาขอปฏิญานตนวาไมมี พระเจา(ที่ ควรแกการภั กดี) นอกจากพระองค( ขา ขอใหพระองค(ทรงคุมครองขาจากความชั่วรายของ ตัวขาเองและจากความชั่วรายของชัยฏอนและสมุน ที่ภาคีกับมัน

(อัตตัรมิซียไดกลาววา เปนหะดีษระดับดี (หะสัน)) •

ผูใดไดอานในทุกเชาของแตละวัน และทุกเย็นของ แตละคืนวา &4 nDG

m g (eU lN ! L & jk 5 6

#2 l e6 C4 oe6

ความวา ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ซึ่งดวยพระนาม ของพระองค( ทุกสิ่งทุกอยางในพื้นแผนดินและในชั้น ฟLาไมสามารถใหโทษได และพระองค(เป.นผูทรงไดยิน

221


และทรงรอบรูยิ่ง

ครั้งละ 3 ครั้ง ทุกสิ่งไมสามารถทําอันตรายเขาได) อัต ตั ร มิ ซี ย ไดกลาววา เปนหะดี ษ ที่ เ ศาะฮี หฺ ในการ รายงานของอะบูดาวูดวา (เขาจะไมประสบภัยพิบัติ อยางกระทันหัน) •

ทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดกลาวในยามเชา และยามเย็นวา

*#“ B-A 4 \B-A ,W1$ 6N I 1q/$

?= '

$-#

&' b' & 5 1[ >[ >a#8 l §4 >) € N4 >A F > UD4 \B/F ^Be¬ 4 ,1[

ความวา โออัลลอฮฺ ขาไดใชชีวิตในเชานี้ (ยามเย็น) ขาพระองค(เป.นสักขีพยานแกพระองค( บรรดามลาอิ กะฮฺ ผู แบกอั ร ชฺ บรรดามลาอิ ก ะฮฺ แ ละทุ ก สรรพ สิ่งของพระองค(วา พระองค(คืออัลลอฮฺซึ่งไมมีพระ เจา(ที่ควรแกการภักดี) นอกจากพระองค( และนบี มุหัมมัดเป.นบาวและศาสนทูตของพระองค(

222


อัลลอฮฺ จะทรงทําให 1 สวน 4 จากตัวของเขา ปลอดพนจากนรก ผู ใดที่ ก ลาว 2 ครั้ ง อั ล ลอฮฺ จะทรงปลดครึ่ ง ตั ว ของเขาจากนรก ผู ใดที่ กลาว 3 ครั้ง อัลลอฮฺ จะทรงปลด 3 สวน 4 จากตัวของเขาปลอดพนจากนรก และผูใดที่กลาว 4 ครั้ง พระองคจะทรงปลดเขาจากนรก” (อะบูดา วูดไดกลาววาเปนสายรายงานในระดับดี) •

ในหนังสือสุนันอะบูดาวูด จากการรายงานที่มีระดับ ดี อับดุลลอฮฺ อิบนุฆ็อนนามกลาววา ทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดไดกลาวในยามเชาวา ,>a#8 MN BP V7 4 *P e29 MN – W‹6N I ´/

N -#

K! > 4 Bef ># ,> >L• & \BV4 > e

ความวา โออัลลอฮฺ ไมมีนิอฺมะฮฺ (การประทาน) อันใด ที่อยูกับขาหรือผูหนึ่งผูใดจากบาวของพระองค(ในเชา วันนี้ (ยามเย็น) นอกเสียวามันมาจากพระองค(ผูเดียว เทานั้ น ไมมี ภ าคี ใ ดๆ กั บ พระองค( เฉพาะพระองค( เทานั้นที่สมควรไดรับการสรรเสริญและการขอบคุณ

223


เขาไดดํา เนิ น การสรรเสริ ญ ที่ ควรแกการปฏิ บั ติ แลวในวันนั้น และผูใดไดกลาวในยามเย็นเขาได ดําเนินการสรรเสริญที่ควรแกการปฏิบัติแลวใน คืนนั้น” •

จากอิ บ นุ อุ มั รฺ โ ดยสายรายงานที่ เ ศาะฮี หฺ ทานได กลาววา ทานเราะซูล ไมเคยละทิ้งการอานบทดุ อาอนี้ไมวาในยามเชาหรือยามเย็น ?= ' -# , 8³ 4 9 !B ,; N4 ˆC 4 j 9Q4 . LQ

* 2 >¦7U ?= ' -# * 2 4 <2 >¦7U

T MN . v<V -# ,º F4D MN|4 º D F ¤U -# ,.J MN4 ,;`A MF4 . eL MF4 ,.<#8 MN4 jBL ….)• MN s ),

>)ev2 : F 4

ความวา โออั ล ลอฮฺ ขาขอวิ ง วอนตอพระองค( ไ ด โปรดประทานสุขภาวะอันสมบูรณ(ทั้งในโลกนี้แ ละ โลกอาคิเราะฮฺ โออัลลอฮฺ ขาขอวิงวอนตอพระองค( ไดโปรดประทานอภั ย และสุ ข ภาวะอั น สมบู ร ณ( ใ น ศาสนา โลกนี้ ครอบครั ว และทรั พ ย( สิ น ของขา

224


โออัลลอฮฺ ขอไดโปรดทรงปกปMดสิ่งพึงสงวนของขา20 และทรงทําให(จิตใจสงบรมเย็น)ปลอดภัยจากความ กลัวของขา โออัลลอฮฺ ขอใหพระองค(ทรงปกปLองตัว ของขาจาก(ความชั่ ว รายที่ อ ยู ) เบื้ อ งหนาและ เบื้องหลัง จากดานขวาและดานซาย จากเบื้องบน ของขา และขาขอความคุมครองดวยความยิ่งใหญ ของพระองค(จากการถูกจูโจมจากเบื้องลางของขา (หมายถึง ธรณีสูบ) (อัลหากิม อะบูอับดุลลอฮฺไดกลาววา เปนหะดีษที่ มีสายรายงานที่ถูกตอง (เศาะฮีห)ฺ ) •

ในสุนันอะบูดาวูดและอิบนุมาญะฮฺโดยสายรายงาน ในระดับที่ดี จากอิบนุอับบาซวา ทานเราะซูล ได กลาววา “ผูใดกลาวในยามเชาวา ,Bef ( 4 ># ( ,( >L• & dBV4 c &' b' & LBJ P g O EF C4

20

หมายถึง สิ่งบกพรองในตัวของขาและความลับที่ผูอื่นไมควรรูเห็น

225


ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัลลอฮฺเพียงพระองค(ผูเดียว ไมมีการภาคีใดๆ เที ย บพระองค( สํ า หรั บ พระองค( ก รรมสิ ท ธิ์ แ หง อํา นาจการปกครองและมวลการสรรเสริ ญ และ พระองค(ทรงเดชานุภาพเหนือทุกสิ่ง

เขาจะไดผลบุ ญ เหมื อ นกั บ เขาไดปลอยผู หนึ่ ง เปน อิสระ เขาจะถูกบันทึกความดีใหสิบระดับของความดี เขาจะถูกลบลางจากความชั่วสิบความชั่ว เขาจะถูก ยกระดับสิบระดับ และเขาจะถูกปกปHองจากชัยฏอน ในเย็นของวันนั้น หากเขาไดอานในยามเย็น เขาตาย เขาจะไดรับสิ่งนั้นเหมือนกันจนถึงเชาของวันรุงขึ้น” •

ในสุนันอะบูดาวูดโดยสายรายงานที่ดี จากอะบูมา ลิกอัล-อัชอะรีย ทานเราะซูล ไดกลาววา “เมื่อผู หนึ่งอยูในยามเชา จงกลาววา >¦7U ?= ' -# ,T 2 X= D 5 ># ´/ 4 q/ : F 4 , d BC4 ()O 4 dD 94 d¥94 (q) ,˜

kC ‚8

… dB$2 N • = 4( N• = MN >

226


ความวา เราใชชีวิตอยูในเชานี้ โดยที่อํา นาจการ ปกครองเป.นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ ผูอภิบาลแหง สากลโลก โออัลลอฮฺ ขาขอวิงวอนความดีงามจาก พระองค(ในวันนี้ ไมวาจะเป.นการเปMดเมือง การมี ชัย รัศมีความสิริมงคล และทางนําของวันนี้ และ ขาขอใหพระองค(ทรงคุมครองตัวขาจากความชั่ว รายที่มีอยูในวันนี้และวันถัดไป

และเมื่ออยูในยามเย็น ใหอานสิ่งนั้นเหมือนกัน •

ในสุนันอะบูดาวูด จากอับดุรเราะหฺมาน อิบนุอะบู บักรฺไดกลาวแกบิดาของเขาวา ทานพอครับ ผมได ยินทานดุอาอทุกเชาวา -# ,j¥

. F -# ,.2eU

MN > : $F ?' -# , a< 4 <

. F -#

MN > : F ?'

1$[ &' b' & ,}a X kF

ความวา โออั ล ลอฮฺ ขาขอไดโปรดประทาน พลานามั ย ที่ ดี ใ นการฟ0 ง ของขา ขาขอไดโปรด ประทานพลานามั ย ที่ ดี ใ นการมองเห็ น ของขา

227


โออัลลอฮฺ ขาขอใหพระองค(ทรงคุมครองตัวขาจาก การฝQ า ฝ2 น และความยากจน โออั ล ลอฮฺ ขาขอให พระองค(ทรงคุมครองตัวขาจากการลงโทษในหลุม ศพ ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอกจาก พระองค(

ทานพอไดอานทวน 3 ครั้งในยามเชา และ 3 ครั้งใน ยามเย็น เขาก็ตอบวา ขาไดยินทานเราะซูล ไดดุ อาอกับบทดุอาอนี้ ขาจึงชอบที่จะดําเนินตามแนวทาง ของทาน •

ในสุนันอะบูดาวูด จากบุตรสาวของทานเราะซูล วา ทานไดสอนหลอนวา “เจาจงกลาวในยามเชาวา N4 O 5 A N ,c &' J & dBeq 4 5 q/U 5 4 , m LBJ P g = O EF 5 #F ,M L † 7KL † `#F P g = • V BJ

ความวา มหาบริ สุ ท ธ( แ ละมวลการสรรเสริ ญ มี แดอัลลอฮฺ ไมมีอํานาจใดๆ นอกเสียจากอัลลอฮฺ สิ่ ง ที่ อั ล ลอฮฺ ท รงประสงค( ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น และสิ่ ง ที่

228


พระองค( ไ มทรงประสงค( ก็ จ ะไมเกิ ด ขึ้ น ขารู วา แทจริ ง อั ล ลอฮฺ ท รงเดชานุ ภ าพเหนื อ ทุ ก สิ่ ง และอัลลอฮฺผูทรงรอบรูทุกสิ่ง

แทจริง ผูใดไดกลาวบทนี้ในยามเชาเขาจะถูกปกปHอง จนถึงเย็น และผูใดไดกลาวบทนี้ในยามเย็นเขาจะถูก ปกปHองจนถึงเชา” •

ในสุ นัน อะบูด าวู ด จากอะบูส ะอี ดอัล คุด รีย วา วั น หนึ่ง ทันใดที่ทานเราะซูล ไดเขามัสญิด ทานได เจอชายผูหนึ่งจากอันศอรฺชื่ออะบูอุมามะฮฺ ทานจึง พู ด วา โอ อะบู อุ ม ามะฮฺ ใยเลาฉั น เห็ น ทานนั่ ง อยู ในมัส ญิด นอกเวลาละหมาดอยางนี้ เขาก็ต อบวา ความกังวลอยางหนักและหนี้สินที่มากดดันผม โอ ทานเราะซู ล ทานเราะซูล จึ งกลาววา “ฉันจะ สอนถอยคําหนึ่งใหทานไดไหมละ หากทานกลาว ถอยคํ า นี้ แ ลว อั ล ลอฮฺ จะทํ า ใหทานหายจาก ความกังวลและจะปลดหนี้จากทาน” เขาก็ตอบรับ ทานเราะซูล จึงกลาววา “ทานจงกลาวทุกเชา 229


และเย็นวา MN > : F 4 , ~f 4 = — MN > : F ?= ' -#

: F 4 , ”/ 4 M/y MN > : F 4 , 6 4 ~w2 s 0=

-J4 MLB$ *$/#, MN >

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอใหพระองค(ทรงคุมครอง จากความกั ง วลและเสี ย ใจโออั ล ลอฮฺ ขาขอให พระองค(ทรงคุมครองจากความออนแอและความ เกี ย จคราน โออั ล ลอฮฺ ขาขอใหพระองค( ท รง คุ มครองจากความขี้ ข ลาดตาขาวและความ ตระหนี่ถี่เหนียว โออัลลอฮฺ ขาขอใหพระองค(ทรง คุมครองจากหนี้สินที่หนักหนวงและการคุกคามขู เข็ญจากผูคน (ที่มีอํานาจ)

เขากลาววา ขาจึงปฏิบัติตามที่ทานเราะซูล ได สอน อัลลอฮฺ ก็ทรงทําใหความกังวลและความ โศกเศราไดหายไป และไดทรงทําใหหนี้ของขาหมด ไป

230


อะนัสไดกลาววา ทานเราะซูล เชาและเย็นวา

มักจะดุอาอทุก

… = $K 7w MN > : F 4 ,‚$Š 7w MN >¦7U -#

ความวา โออั ล ลอฮฺ ขาขอวิ ง วิ น ตอพระองคซึ่ ง ความดีที่มาโดยฉับพลัน และขาขอใหพระองคทรง คุมครองจากความชั่วที่มาโดยไมทันตั้งตัว •

อะนัสไดกลาววา ทานเราะซูล ไดกลาวแกฟาฏิ มะฮฺวา “อะไรหรือที่หักหามเจาจากการฟ-งสิ่งที่ฉัน จะสั่งเสียแกเจา เจาจงกลาวในยามเชาและยามเย็น วา , (#O ?7$A ; ´$# 7 , ƒ $_$)U >)“ ˜ ! J L .$! V L … T$F * $Ž ¨$<9 „' . # &4

ความวา โอผูทรงชีวิน ผูทรงดํารงอยูดวยพระองค( เอง ขาวิงวอนขอความชวยเหลือดวยความเมตตา ของพระองค( ดังนั้นขอพระองค(ทรงโปรดปรับปรุง กิจการงานของขาใหลุลวงดวยดี และโปรดอยาได ทอดทิ้งหรือปลอยวางใหเป.นภาระแกตวขาเพีย ง

231


ลํ า พั ง (โดยไมไดรั บ การสนั บ สนุ น และความ ชวยเหลือจากพระองค() แมเพียงชั่วพริบตาเดียว •

อิบนุอับบาซไดกลาววา ทานเราะซูล “ผูใดกลาว *P F4 *P e29 9 !B

> N W1$ 6N I 1q/

ไดกลาววา ?= ' -#

\¤U4 >) F4 ˆF >)e29 »7 ,¤P U4 8³ 4

ความวา โออัลลอฮฺ ขาไดใชชีวิตในเชานี้ (ยามเย็น ในวั น นี้ ) ในนิ อฺ ม ะฮฺ สุ ข ภาวะและการปกปM ด ความผิดจากพระองค( ดังนั้น ขอพระองค(ทรงทํา ใหนิอฺมะฮฺ สุขภาวะและการปกปMดความผิดแกขา สมบูรณ(ในโลกนี้และโลกอาคิเราะฮฺดวยเถิด

3 ครั้ง ทุกเชาและเย็น สมควรอยางยิ่งที่อัลลอฮฺ จะทรงทําใหกิจการของเขาสมบูรณ” •

ทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดไดกลาวในยาม เชาและยามเย็นวา 232


1#O ( #F , C &' b' & ,( #F 1#O ,5 –= DII N , v2 ˆ! 2 5 &' b' & , v2 œ 2 X! D C4 = O EF 5

#F ,M L † 7KL † N4

WW`#F P g =

• V BJ 5

O5

A

4 , m LBJ P g

ความวา ผู อภิ บ าลของขาคื อ อั ล ลอฮฺ ขาได มอบหมายตอพระองค(แลว ไมมีพระเจา(ที่ควรแก การภักดี)นอกจากพระองค( ขาไดมอบหมายตอ พระองค(ซึ่งเป.นผูอภิบาลแหงอัรชฺที่ยิ่งใหญ ไมมี พระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอกจากอั ล ลอฮฺ ผู สูงสงและยิ่งใหญ สิ่งที่อัลลอฮฺทรงประสงค(ก็จะ เกิดขึ้น สิ่งที่พระองค(ไมประสงค(ก็จะไมเกิดขึ้น ขา รู วาแทจริ ง อั ล ลอฮฺ ท รงเดชานุ ภ าพเหนื อ ทุ ก สิ่ ง และอัลลอฮฺผูทรงรอบรูทุกสิ่ง

หลังจากนั้น เขาไดตาย เขาจะไดเขาสวรรค” •

ทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดไดกลาวทุกวันใน ยามเชาและยามเย็นวา

¾ ½¼»º¹ ¸¶µ´³²±°

233


ความวา ผูที่ขารูสึกพอเพียงคือ อัลลอฮฺ ไมมีพระ เจา(ที่ ควรแกการภัก ดี) นอกจากพระองค( ขาได มอบหมายตอพระองค(ซึ่งเป.นผูอภิบาลแหงอัรชฺที่ ยิ่งใหญ

7 ครั้ง อัลลอฮฺ ทรงทําใหเขาพอเพียงจากทุกสิ่งที่ เขากังวลในโลกนี้และโลกอาคิเราะฮฺ” ในหนังสือของอิบนุอัสสุนนีย จากฎ็อลกฺ อิบนุหะบีบ วามีผูชายคนหนึ่งมาหาอะบูอัดดัรฺดาอและกลาววา มีผูหนึ่ง บอกวาคุณไดประสบไฟไหม เขาก็กลาววา ผมไมถูกไฟไหม เพราะผมไดยินทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดไดกลาว ในตอนเชาวา X! D 1[ 4 ,1#O > #F ,1[ &' b' & ,–= D 1[ -#

s V & ,M L † 7KL † N4 O 5 A N , v2 œ 2 P g = O EF 5 #F , v2 ˆ= 2 c &' J &4 > : F ?= ' -# ,`#F P g = • V BJ 5 4 , m LBJ

234


–= D ' , -)

km 8| 1[ *P Q = O • = MN4 ¨<9 • = MN P • EF … P a)6N •

ความวา โออัลลอฮฺ พระองค(เป.นผูอภิบาลของขา ไม มีพระเจา(ที่ควรแกการภักดี)นอกจากพระองค( ขา ไดมอบหมายตอพระองค(ซึ่งเป.นผูอภิบาลแหงอัรชฺที่ ยิ่งใหญ สิ่งที่อัลลอฮฺทรงประสงค(ก็จะเกิดขึ้น สิ่งที่ พระองค(ไมทรงประสงค(ก็จะไมเกิดขึ้น ไมมีอํานาจ ใดๆ นอกจากอํานาจแหงอัลลอฮฺผูสูงสงและยิ่งใหญ ขารู วาแทจริง อั ล ลอฮฺ ท รงเดชานุ ภ าพเหนือ ทุ ก สิ่ ง และอัลลอฮฺผูทรงรอบรูทุกสิ่ง โออัลลอฮฺ ขาขอให พระองค(คุมครองตัวขาจากความชั่วรายของตัวขา เองและความชั่วรายของสัตว(ตางๆ ซึ่งพระองค(จะ เป. น ผู จั ด การมั น แทจริ ง ผู อภิ บ าลของขาอยู บน หนทางที่เที่ยงตรง

ทุกสิ่งทุกอยางที่เขาไมปรารถนาจะไมประสบกับเขา รวมถึงครอบครัวและทรัพยสินของเขา วันนี้ ผมไดกลาวบทอานนี้แลว หลังจากนั้นเขาก็พูด วา พวกทานทั้งหลายจงลุกขึ้นแลวตามผมไป เมื่อมาถึงที่ 235


บานของเขา ปรากฏวาสิ่งที่อยูรอบๆ บานของเขาถูกไฟไหม หมด แตบานของเขาไมถูกอะไรเลย

1 %*

.%*

'

ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามมุสลิมมีการบันทึกไววา ผูชายคนหนึ่งมาหาทานเราะซูล แลวกลาววา โอทาน เราะซูลแหงอัลลอฮฺ ทานไมทราบหรือครับวา เมื่อวาน ผม ถูกแมลงปJองทิ่ม ทานเราะซูล จึงกลาววา “หากเจาได กลาวในยามเย็นวา i#8 N = $A MN h N $) c h`# : F

ความวา ขาขอความคุมครองดวยดวยพระพจนารถ แหงอัลลอฮฺที่สมบูรณ(ยิ่ง(ใหปลอดภัย)จากความชั่ว รายของทุกสิ่งที่พระองค(ทรงสราง

ทุกอยางก็จะไมทําอันตรายตอเจา” อิบนุอัส สุนนียไดกลาวในหนัง สือของเขาวา ใหอาน ดุอาอขางตน 3 ครั้ง ทุกอยางก็จะไมทําอันตรายตอเขา ทานเราะซูล ไดกลาววา “ผูใดกลาวในยามเย็นวา 236


^& UD4 ^ $ /9

BP e$qe 4 ,^ $LQ ˜ Ux 4 ,^ $ D c 1$ 3D

ความวา ขาพอใจที่อัลลอฮฺเป.นผูอภิบาล อิสลามเป.น ศาสนา และนบีมุหัมมัดเป.นนบีและเราะซูลของขา

แนนอน อัลลอฮฺ

1 %*

"@ 7:

จะทรงพอพระทัยในตัวเขา”

%+

อุมมุสะละมะฮฺไดกลาววา ทานเราะซูล ไดสอนฉัน ใหกลาวในเมื่อไดยินเสียงอะซานเวลามัฆริบวา , > € FQ h

4 ,\D ¼ D Q'4 ,># s /J' kC -# ; <,

ความวา โออั ล ลอฮฺ นี่ เ ป. น เวลาการหั น หนาสู กลางคืนและผิงหลังจากกลางวัน ของพระองค( และ นี่เ ป.นเสีย งเรีย กรองของพระองค( ขอพระองค(ทรง โปรดอภัยใหขาดวยเถิด

1 %*

J1 อัตตัรมิซียมีการบันทึกไววา อัมมาเราะฮฺ อิบนุชัยบฺได 237


รายงานจากทานเราะซูล

วา “ผูใดกลาว

,Bef ( 4 ># ( ,( >L• & dBV4 c &' b' & LBJ P g O EF C4 1 eL4 . ¡

ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัล ลอฮฺเ พีย งพระองค(เ ดีย ว ไมมี การภาคีใดๆ เทียบพระองค( สําหรับพระองค(กรรมสิทธิ์แหงการ ปกครองและการสรรเสริญ พระองค(ทรงใหมีชีวิต และใหตาย และพระองค(ทรงเดชานุภาพเหนือทุกสิ่ง

10 ครั้งหลังจากละหมาดมัฆริบ อัลลอฮฺ จะทรงสงผูคุม กั น ใหเขาปลอดพนจากชั ย ฎอนจนกระทั่ ง รุ งเชา และ พระองคจะทรงบัน ทึกความดีใ หเขาเทากับสิ บระดับ ของ ความดี และจะทรงลบลางสิบความชั่วชนิดแรงจากความ ชั่วของเขา และเขาจะไดผลบุญเทากับการปลอยทาส 10 คนใหเปนอิสระ

1 %* ก*% % เมื่อทานเราะซูล

จะเขานอน ทานจะกลาววา 238


h N 4 V -# >e$6

WjD ”/ ´ q I

ความวา โออัลลอฮฺ ดวยพระนามของพระองค( ขามีชีวิตและตาย

ทานเราะซู ล ไดกลาวแกอะลี แ ละฟาฎิ ม ะฮฺ ว า ((เมื่อเจาทั้งสองจะเขานอน ใหกลาวตักบีรฺ 33 ครั้ง กลาว ตัสบีหฺ 33 ครั้ง และกลาวตะหฺมีด 33 ครั้ง)) อะลีไดกลาว วา ผมไมเคยละทิ้งการกลาวนี้เลยตั้งแตวันที่ผมไดยินจาก ทานเราะซูล ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามอัลบุคอรียมีการบันทึกไว วา ทานเราะซูล ไดกลาววา ((เมื่อผูใดผูหนึ่งจากพวก เจาจะเขานอน ควรสบัดผาปูที่นอนกอน เพราะเขาไมรูวามี อะไรซุกซอนอยู แลวควรกลาววา 1 6N

' ,(2 D > 4 ,./ 0 1234 ,–= D >e$6

\Q /F ( ½<• ` -v<V

-)#UD

'4 , -“D ¨<9 Tf %

ความวา ดวยพระนามของพระผู อภิ บ าลของขา พระองค( ขาพระองค(ไดเอีย งขาง (ที่จะนอน) และ

239


ดวยพระองค( ขาพระองค(สามารถยกราง(ตื่นขึ้นมา) หากพระองค( ท รงยึ ด ชี วิ ต ของขาพระองค( ขอให พระองค(ทรงเมตตาดวยเถิด และหากพระองค(ทรง ปลอย (ใหมีชีวิตตอไป) ขอใหพระองค(ทรงปกปLอง ดวยเถิ ด ดั ง ที่ พ ระองค( ไ ดทรงปกปL อ งบาวที่ ดี ข อง พระองค(มาแลว

ในการรายงานอื่น ควรสบัดผาปูที่นอน 3 ครั้ง ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามอัลบุคอรียมีการบันทึกไว วา ทานหญิงอาอิชะฮฺไดกลาววา เมื่อทานเราะซูล เขา นอน ทานจะเปJาในฝJามือทั้งสองขางของทานดวยการอานซู เราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ แลวเอามือลูบทั่วรางกาย ทาน ไดลูบอวัยวะตางๆ ของรางกายเทาที่สามารถจะลูบได โดย เริ่มจากศีรษะ หนาและสวนหนาของรางกาย และปฏิบัติ เชนนั้น 3 ครั้ง ในหนั ง สื อ เศาะฮี หฺ ข องอิ ม ามอั ล บุ ค อรี ย และอิ ม าม มุสลิมมีการบันทึกไววา ทานเราะซูล ไดกลาววา “เมื่อ เจาจะเขานอน จงทําวุฎaอแลวนอนตะแคงขวาและกลาววา 240


,> ' j N 13 4 ,> ' ¨<9 1e#U

-#

&4 7w#N & ,> ' *^ /,D4 *^ /CD > ' j -¾ h7w¦ 4 >= / 4 ,1 ~[ jk > ) 1 N| ,> ' &' > N ‹w N 1#UD jk

ความวา โออัลลอฮฺ ขาไดถวายชีวิตตอพระองค(และ ไดมอบหมายกิจการงานตอพระองค( ขาพระองค(ได พิงหลังตอพระองค(ในสภาพที่มเกรงกลัวตอพระองค( และความหวังจากพระองค( ไมมีที่พักพิงและพึ่งพา นอกจากพระองค( ขาพระองค(ไดศรัทธาตอคัมภีร(ที่ พระองค(ไดประทานลงมา และทานนบีที่พระองค(ได ทรงสงมา

หากเจาตายในคืนนั้น เจาตายในฟ]ฎเราะฮฺแหงอิสลาม และจงปฏิ บั ติ ก ารอานนี้ ใ หอยู ทายสุ ด จากสิ่ ง ที่ เ จา กลาว ในหะดีษบทหนึ่ง ทานเราะซูล ไดสั่งใหอะบูฮุร็อย เราะฮฺรวบรวมซะกาฮฺ ปรากฏวามีผูหนึ่งไดมาขโมยอาหาร ที่เปนซะกาฮฺนั้น สุดทายก็ถูกจับได แตเขาออนวอนไมใหไป 241


แจงตอทานเราะซูล และไดสอนอะบูฮุร็อยเราะฮฺวา เมื่อ ทานจะเขานอน ทานจงอานอายะฮฺอัล-กุรฺสีย อัลลอฮฺ จะทรงปกปH อ งเขาตลอด และชั ย ฏอนจะไมเขาใกลทาน จนกระทั่งรุงเชา ทานเราะซูล จึงกลาววา “เขาพูดความ จริงกับเจาทั้งๆ ที่เขาเปนผูพูดมดเท็จสุดๆ มันนั่นแหละคือ ชัยฏอน” เมื่อทานเราะซูล จะนอน ทานจะเอามือขวาวางไว ใตแกมและกลาววาดุอาอนี้ 3 ครั้ง \Q /F ƒ2/ ˜ L > kF . J -#

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอตอพระองค(ทรงปกปLอง ขาพระองค(จากการลงโทษของพระองค( ในวันที่ พระองค(ทรงทําใหบาวฟ2Kนคืนชีพ

ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามมุสลิมมีการบันทึกไววา เมื่อทานเราะซูล จะเขานอน ทานจะกลาววา XD4 D , v2 œ 2 XD4 ,l/6 h e6 XD -# P w9x 4 D ) s~ N4 ,H 4 Y = f i , g =O ,() km 8| 1[ P g = O • = MN > : F , J < 4

242


S # 8³ 1[ 4 , m g >#/J S # s4G 1[

-#

MŽ / 1[ 4 , m g >J S # C v 1[ 4 , m g \B2 … a< MN , 4 MLB

F ¿J , m g >94Q S #

ความวา โออัลลอฮฺ ผูอภิบาลแหงชั้นฟLาทั้งเจ็ด และ ผูอภิบาลแหงอัรชฺที่ยิ่งใหญ โอพระผูอภิบาลของเรา และทุก ๆ สิ่ ง ผูทรงใหเมล็ ดพืช พัน ธ(ป ริออกและผู ทรงประทานเตารอฮฺ อินญีลและอัลกุรฺอาน ขาขอ ตอพระองค( ใ หทรงคุ มครองจากความชั่ ว รายทุ ก ประการซึ่ ง พระองค( เ ป. น ผู ที่ ส ามารถกํ า จั ด มั น ได โออัล ลอฮฺผู ทรงเป.น องค(แ รกและไมมี ผูใดมากอน พระองค( พระองค(ผูทรงเป.นองค(สุดทายและไมมีผูใด หลังจากพระองค( พระองค(ผูทรงอยูเหนือและไมมี ผูใดเหนือกวาพระองค( พระองค(ผูทรงรนลับและไมมี ผูใดนอกเหนือพระองค( ขอใหพระองค(ทรงปลดหนี้ ใหเราและทรงทํา ใหเราหลุดพนจากความยากจน ดวยเถิด

ทานเราะซูล

จะเขานอน ทานยังไดกลาวอีกวา 243


N• = MN *N ) > `# 4 , L

>-0 : F ?= ' -#

-# , À7· 4 ˜ _ ZK 1[ -# ,()

km 8| 1[

> =B$y : l< L &4 ,\BF4 Z#’ &4 ,\B 0 ˜~" & … \Beq 4 -# >9 q/$U , !By

ความวา โออั ล ลอฮฺ ขาขอตอพระพัก ดิ์ ที่ มีเ กี ย รติ์ แหงพระองค( และดวยพระพจนารถอันสมบูรณ(ยิ่ง ของพระองค( ใหขาพระองค(ไดหลุดพนจากความชั่ว ซึ่งพระองค(เป.นผูที่สามารถกําจัดมันได โออัลลอฮฺผู ทรงขจัดหนี้สินอันหนักหนวงและบาป โออัลลอฮฺผูที่ ทหารหาญของพระองค(ไมมีการพายแพ และการ สั ญ ญาของพระองค( ไ มมี ก ารบิ ด พริ้ ว และผู ที่ มี เกียรติ์ไมสามารถใหคุณประโยชน(ไดเลยเนื่องจาก เกียรติ์มาจากพระองค( โออัลลอฮฺ มหาบริสุทธ(และ มวลการสรรเสริญมีแดพระองค(

ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามมุสลิม ทานเราะซูล กลาววา 244


, 9 4|4 9 <O4 9 aU4 e2Ž jk 5 Bef H47N &4 (

O&

ความวา มวลการสรรเสริ ญ แดอั ล ลอฮฺ ผู ทรงให อาหาร เครื่องดื่ม ความพอเพียงและที่พักอาศัย มี ผูคนอีกมากเทาไหรที่ไมเพียงพอและไมมีที่พักอาศัย สําหรับเขา

ทานเราะซูล

ยังไดกลาวอีกวา

768 4 ,./9: ; <, -# ,./ 0 1234 5 6 EFG HB

. #20 4 ,? CD > 4 ,? @ A

ความวา ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ขาพระองค(ได เอียงขาง (ที่จะนอน) โออัลลอฮฺ ขอใหพระองค(ทรง ลบลางความผิ ด ของขาพระองค( ด วยเถิ ด และ ขอใหพระองค( ท รงทํ า ใหชั ย ฎอนใบ และทรง ปลดปลอยเชลยของขาพระองค( และทรงทําใหขา พระองค(อยูในระดับสูง

ทานเราะซู ล ไดกลาววา พวกเจาจะเอาไหมละ หากฉันจะชี้ถึงถอยคําหนึ่งซึ่งสามารถปกปHองจากการตั้ง 245


ภาคีกับอัลลอฮฺ นั่นคือ จงอานซูเราะฮฺอัลกาฟ]รูนกอน นอน ทานเราะซูล ยังไดกลาวอีกวา ผูใดที่กลาวในขณะ จะเขานอนวา ( ' X » 4 ˜ ! a .! f C &' b' & jk

v2 5 <_)U

ความวา ขาขอตออัลลอฮฺผูทรงยิ่งใหญซึ่งไมมีพระ เจาอื่นใดนอกจากพระองค( ผูทรงชีวินและทรงยืน หยัดดวยพระองค(เอง และขาพระองค(ข อลุแกโทษ จากพระองค(

3 ครั้ง อัลลอฮฺ จะทรงอภัยโทษความผิดของเขา ถึงแมวามันจะมากเทาฟองทะเลจํานวนดวงดาว จํานวนเม็ดทรายและจํานวนวันในโลกนี้ก็ตาม ทานเราะซูล ไดสั่ ง เสี ยผู ชายคนหนึ่ง เมื่ อจะเขา นอน ใหเขาอานซูเราะฮฺอัลหัชรฺ และกลาววา หากเจาตาย เจาจะตายในสภาพชะฮีด (หรือเจาเปนชาวสวรรค) ทานเราะซูล ยังไดสั่งเสียกลุมชนหนึ่ง เมื่อพวกเขา จะเขานอนวา 246


Áª > ,C

1[ 4 ¨<9 1a#8 1[

-#

-# , — <, -)N '4 , -v<V -) V ' , C ¬4 * 2 >¦7U ?= '

ความวา โออัลลอฮฺ พระองค(ทรงสรางชีวิตของ ขาพระองค(แ ละพระองค(ทรงทํา ใหตาย ความ ตายและการมีชีวิตเป.นกรรมสิทธิ์ของพระองค( หากพระองค( ท รงใหมี ชี วิ ต ขอใหพระองค( ท รง ปกปLองดวยเถิด และหากพระองค(ทรงใหตาย ขอใหพระองค(ทรงอภัยดวยเถิด โออัลลอฮฺ ขา พระองค(ขอสุขภาวะที่สมบูรณ(จากพระองค(

ทานหญิงอาอิชะฮฺไดกลาววา เมื่อทานเราะซูล เขานอน ทานจะกลาววา ,.= N ›D

`-#20 4 ,j¥ 4 .2e6 . 2=)N -#

> : F ?= ' $-# ,jD7™ ( N ?D 4 ,j4= BF EF ?¥9 4 …l w

Sž (9 Ÿ y MN4 ,MLB$ *$/#, MN

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอตอพระองค(โปรดทําใหการ ไดยินและการมองเห็นของขาไดรับความสุขดวยเถิด

247

จะ


และทรงทํ า ใหสิ่ ง ทั้ ง สองสื บ เนื่ อ งตอไป และทรง ชวยเหลือขาใหไดรับชัยชนะเหนือศัตรู และทรงทําให ขาเห็นสิ่งที่ขาโกรธแคนจากพวกเขา โออัลลอฮฺขาขอ ความคุมครองตอพระองค(จากหนี้สินที่หนักหนวงและ จากความหิวโหย เพราะมันเป.นคูนอนที่เลวรายที่สุด

อะบูอุมามะฮฺไดรายงานวา เขาไดยินทานเราะซูล กลาววา ผูใดเขานอนในสภาพที่สะอาด (โดยทําวุฎWอ) และ กลาวรํ า ลึ ก ถึ ง อั ล ลอฮฺ จนกระทั่ ง หลั บ ยามใดที่ เ ขา สะดุงตื่นในค่ําคืนและเขาไดวอนขอสิ่งดีงามตางๆ ทั้งในโลก นี้และโลกอาคิเราะฮฺจากอัลลอฮฺ แนนอนพระองคจะ ตอบรับสิ่งดีงามเหลานั้น

ก G133 (% , #ก3 3% ก

(

% 3*%

ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามอัลบุคอรียมีการบันทึกไว วา อิบาดะฮฺ อิบนุอัศศอมิตไดรายงานจากทานเราะซูล วา ผูใดตื่นขึ้นมาในตอนกลางคืน แลวเขากลาววา 248


Bef ( 4 ># ( ,( >L• & dBV4 5 &' b' & b' &4 5 q/U4 5 Bef , m LBJ P g = O EF C4 …5 &' J &4 s V &4 }O 5 4 5 &'

ความวา ไมมีพระเจา(ที่ควรแกการภักดี)นอกจาก พระองค(เพียงผูเดียว ไมมีภาคีใดๆ เทียบพระองค( อํา นาจการปกครองและมวลการสรรเสริญเป.น กรรมสิทธ(ของพระองค( พระองค(ทรงเดชานุภาพ เหนือทุกสิ่ง มวลการสรรเสริญมีแดอัลลอฮฺ มหา บริสุทธ(เป.นของอัลลอฮฺ ไมมีพระเจา(ที่ควรแกการ ภักดี)นอกจากอัลลอฮฺ อัลลอฮฺผูทรงยิ่งใหญ ไมมี อํานาจใดๆ นอกจากอํานาจแหงอัลลอฮฺ

หลังจากนั้น เขากลาววา ‫ﻢ ا ْﻏ ِﻔ ْﺮ ﱄ‬ ‫ ُﻬ‬‫ اﻟﻠ‬หรือ ดุอาอ สิ่ง นี้จะถูกตอบรับสําหรับเขา ถาหากเขาทําวุฎaอแลวละหมาด การละหมาดของเขาก็จะถูกรับ

249


ก G133 (% % / * 1 นําหับบะตุซเซาดาอ (เทียนดํา) หนึ่งชอนผสมในนม อุนที่ปรุงรสหวานดวยน้ําผึ้งหนึ่งแกว โดยอานดุอาอขางลาง นี้ใหลมหายใจสัมผัสกับผิวน้ํานั้น (7 ครั้ง) แลวดื่มกอนนอน ดุอาอดังกลาว คือ ˜m ! J .t V 1[ 4 ,

2 h BC4 ,˜ w! hD , -#

[ 4 ˆ ÂBC ˜ ! J L .! V L ,˜m 9 &4 *m $U \k87 & . 6 M d 4D … .

F

ความวา โออัลลอฮฺ บรรดาดวงดาวก็คลอยลงต่ํา แลว บรรดาดวงตาก็ไดสงบนิ่ง (ในการหลับนอน) และพระองค( ผู ทรงชี วิ น ผู ทรงดํ า รงอยู ดวย พระองค(เอง การงวงนอนและการนอนไมประสบ กับพระองค( โออัลลอฮฺ ผูทรงชีวิน ผูทรงดํารงอยู ดวยพระองค(เ อง ขอโปรดใหกลางคืนไดสงบนิ่ ง และขอโปรดใหดวงตาของขาไดหลับนอนดวยเถิด

ดุอาอขางตน เมื่อซัยดฺ อิบนุษาบิตไดรองเรียนตอทาน เราะซูล เกี่ยวกับที่เขาประสบกับการนอนไมหลับ ทาน 250


เราะซูล ก็ใ ชใหกลาวดุอาอนี้ เมื่อเขาไดอานแลว สิ่งที่ เขาไดประสบหมดไป คอลิด อิบนุอัลวะลีดไดรองเรียนเกี่ยวกับการนอนไม หลับตอทานเราะซูล ทานก็ไดสั่งใหอาน MN4 ,>/ , MN h N ) 5 h`# : F ?= ' -# 4

¡ 4 TŽ K h ~² MN4 ,\Q /F • =

ความวา โออั ล ลอฮฺ ขาขอดวยพระพจนารถ แหงอัลลอฮฺที่สมบูรณ(ยิ่งโปรดคุมครองขาจากความ กริ้ว โกรธของพระองค( ความชั่ วรายจากบาวของ พระองค(และเสียงกระซิบกระซาบของชัยฏอนที่จะ มาประสบกับขาดวยเถิด N4 TŽ K XD4 ,1#¾ N4 h e6 XD -# I • = <L

,T2§ >a#8 • = MN ^ D 0 ; MO ,1#3

251


\] ™ 04 \D 0 ~F ,‹_@L 21

4

- N BP V EF

W\‚, b' &4 ,>eU \D / 4

ความวา โออัลลอฮฺ พระผูทรงอภิบาลแหงชั้นฟLา ทั้งหลายและสิ่งที่มันไดปกคลุม พระผูทรงอภิบาล แหงมารรายทั้งหลายและสิ่งที่มันไดทําใหหลงทาง ขาขอใหพระองค(ทรงเป.นผูคุมครองขาจากสิ่งชั่ว รายแหงสรรพสิ่งทั้งหลายที่จะมามีอิทธิพลเหนือผู หนึ่ ง ผู ใด หรื อ มาทํ า รายได ความคุ มครองแหง พระองค(ที่เกรียงไกร การสรรเสริญแหงพระองค( ประเสริฐ สุด และพระนามแหงพระองค(มี ความ เจริญสุข และไมมีพระเจาอื่นใดเวนแตพระองค(

บทอานนี้ สามารถอานในยามกลัวและตกใจไดเชนกัน

21

รายงานโดยอัฎ-เฎาะบะรอนียในอัล-เอาสัฏ และอิบนุชัยบะฮฺใน มุศ็อนนัฟของเขา

252


1 %*

(% ก E:

ในหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามอัลบุคอรียมีการบันทึกไว วา การฝ-นดีมาจากอัลลอฮฺ และฝ-นรายมาจากชัยฏอน ผูใดฝ-นเห็นสิ่งที่ไมพึงประสงคใหหันไปทางซายมือ 3 ครั้ง และขอความคุมครองตออัลลอฮฺ ใหปลอดจากชัยฏอน มันก็จะไมทําใหเขาเกิดอันตราย ในสายรายงานอื่น ใหขอความคุมครองตออัลลอฮฺ ใหปลอดจากชั ยฏอน 3 ครั้ ง แลวใหเปลี่ย นขางจากที่ ไ ด นอน ในสายรายงานอื่นอีกมีวา เมื่อผูใดฝ-นเห็นสิ่งที่ไมพึง ประสงคใหถมน้ําลาย 3 ครั้งและกลาววา ˜ VG h ž= U4 @ K

eF MN > : F ?= ' -#

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอตอพระองค( (ใหขาปลอด พน) จากการงานของชัยฏอนและจากการฝ0นราย ตางๆ

สิ่งตางๆ จะไมเกิดขึ้นกับตัวเขา 253


1 %*

(%

1ก1%

œ 2 X! D 5 &' b' & , #f

v2 5 &' b' & −

œ 2 X! D4 h e6 X! D 5 &' b' & , v2 … L

ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัลลอฮฺผูทรงยิ่งใหญและผูทรง หนักแนนเสมอ ไมมีพระเจา(ที่ควรแกการภักดี)นอกจากอัลลอฮฺผู อภิบาลแหงอัรชฺอันยิ่งใหญ ไมมีพระเจา(ที่ควรแก การภั ก ดี ) นอกจากอั ล ลอฮฺ ผู อภิ บ าลแหงชั้ น ฟL า และอัรชฺอันทรงเกียรติ … ƒ _)U >)$“ ˜ ! J L .! V L −

ความวา โอผูทรงชีวิน ผูทรงดํารงอยูดวยพระองค( เอง ขาวิงวอนขอความชวยเหลือดวยความเมตตา ของพระองค( X! D 5 \D / >9 q/U , v2

L

5 &' b' & −

… T 2 X= D 5 Bef , v2 œ 2

254


ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอั ลลอฮฺ ผู ทรงเอื้อ เฟ2Kอ เผื่ อแผ ผู ทรงยิ่ งใหญ มหาบริ สุ ท ธ( แ ดพระองค( อั ล ลอฮฺ ผู ทรงสู ง สง ผู อภิบาลแหงอัรชฺอันยิ่งใหญ มวลการสรรเสริญเป.น กรรมสิทธ(ของอัลลอฮฺ … ^ ž A ( \• & –= D 5 −

ความวา อั ลลอฮฺ เป. นผู อภิ บาลของขา ขาไมตั้ ง ภาคีสิ่งใดเทียบพระองค(

ผูใดที่อานอายะฮฺอัลกุรฺสีย และอายะฮฺสุดทายจากซู เราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ เมื่อเกิดสิ่งเลวรายกับตัวเขา อัลลอ ฮฺ จะทรงชวยเหลือเขา มุ ส ลิ ม จะไมอานดุ อ าอนี้ ใ นสิ่ ง ใดๆ ก็ ต าม นอกเสี ย จากอัลลอฮฺ จะตอบรับเขา นั่นคือ T v MN 1 O ?= ' >9 q/U 1[ &' b' &

ความวา ไมมีพระเจา(ที่ควรแกการภักดี)นอกจาก พระองค( มหาบริสุทธ(แหงพระองค( แทจริงขาเป.น ผูหนึ่งในหมูผูอธรรมทั้งหลาย

255


1 %*

(% , #กก

#

( >L• & –= D 5 …5 C

ความวา พระองค(คืออัลลอฮฺ อัลลอฮฺเป.นผูอภิบาล ของขา ไมมีภาคีใดๆ เทียบพระองค(

1 %*

(% , #ก 6 6ก ,>) /J ,\] J

>)N M \B/F M \B/F [ ?= ' -# P N ,\B .) n

sm BF ,>e V

() ~[ 4 >6<9 ( 1 eU ,> C P U =

9

>¦7U

( h À7)U 4 ,>a#8 MN ^ BV ()e#F 4 ,> )O ,jDB D 9 L

|a

… .² = X C:4 ?~V

,\B F Y _

#F

04 ,./#J l D4

ความวา โออัลลอฮฺ ขาเป.นบาวของพระองค( เป.น ลู ก หลานของบาวของพระองค( ซึ่ ง ลวนอยู ในกํ า พระหัตต(ของพระองค( หนาผาก (หมายถึงรางกาย ทุกสวน) อยูในพระหั ตต(ข องพระองค( อดีต กาล ของขาเป.นการตัดสินของพระองค( ความยุติธรรม

256


ในตั ว ขาเป. น ขอพิ พ ากษาแหงพระองค( ขาขอ วิ ง วอนจากพระนามทั้ ง หลายของพระองค( ซึ่ ง พระองค( ท รงเรี ย กพระองค( เ องดวยพระนาม เหลานั้ น หรื อพระองค( ไดประทานในคั ม ภีร( ข อง พระองค( หรื อ ทรงใหผู หนึ่ ง จากปวงบาวของ พระองค(ไดรู หรือพระองค(ไดเก็บเป.นความลับไว ในความรูอันเรนลับแหงพระองค(เอง ไดโปรดทรง ทําอัลกุรฺอานอันทรงเกียรติเป.นรัสมีสองหัวอกขา เป.นดั่งดอกไมผลิแหงดวงใจขาและ เป.นสิ่งที่ทําให ความโศกเศราเสียใจเลือนหายไป และความกังวล ไดมลายสิ้นไป

1 %*

(% ก :

ก23

ˆ= 2 5 &' J &4 s V &4 … V M“ 5 6 v2

ความวา ดวยพระนามของอั ลลอฮฺผูทรงเมตตา และทรงปรานียิ่ง ไมมีอํานาจใดๆ นอกจากอํานาจ แหงอัลลอฮผูสูงสงและผูยิ่งใหญ

257


ดวยบทอานนี้ อัลลอฮฺ วิกฤตทุกประเภท

1 %*

จะทรงทําใหหางไกลจาก

(% , #กก . G% อานบทนี้ 3 ครั้ง

> Nc : F

ความวา ขาขอตออัลลอฮฺไดโปรดคุมครองจากเจา

แลวอาน

*N ) 5 * 2# > 2¦

ความวา ขาขอสาปแชงเจาดวยการสาปแชง แหงอัลลอฮฺที่สมบูรณ(ยิ่ง

1 %*

(%

1ก1

ก" ก

:' ~f 2© 1[ 4 ,^ -U ()#20 N &' -U & -# ^ -U 1žA

ความวา โออัลลอฮฺ ไมมีความงายนอกเสียจากสิ่ง ที่พระองค(ทรงทําใหมันงาย และพระองค(ทรงทํา ใหที่ราบสูง หากพระองค(ทรงประสงค(ก็จะกลาบ เป.นที่ราบได

258


1 %*

(%"

:

.

ใหกลาวในขณะจะออกจากบานวา ,>€ a . 3= D -# ,. LQ4 ; N4 ¨<9 EF 5 6 &4 ,h 8 N w2 Y ! V & ‹)V ; D =BJ ` ; \D 4 … 1#wF N ‚87

ความวา ดวยพระนามของอั ล ลอฮฺ มี ต อชี วิ ต ครอบครัวและทรัพย(สินของขา โออัลลอฮฺ ไดโปรด ทรงทําใหขาพอใจกับการกําหนดของพระองค(ดวย เถิ ด และไดโปรดทรงทํา ใหเกิ ด สิริ ม งคลในสิ่ ง ที่ พระองค(ไดกําหนดใหแกขา จนทําใหขาชอบที่จะ ใหมาถึงเร็วในสิ่งที่พระองค(ทรงกําหนดใหชา และ ใหขาชอบที่ จ ะใหมาถึ ง ชาในสิ่ ง ที่ พ ระองค( ท รง กําหนดใหเร็ว

1 %*

(% ก *

ก: 5 &' J &4 5 A N

ความวา สิ่งที่อัลลอฮฺทรงประสงค( ไมมีอํานาจ ใดๆ นอกจากอํานาจแหงอัลลอฮฺ

259


1 %*

(%

$

\ U MeF ># < . , 4 ,>N V MF > q . <O -#

ความวา โออัลลอฮฺ ไดโปรดทรงทําใหขาพอเพียงกับ สิ่งที่อนุมัติโดยใหหางไกลจากสิ่งตองหาม และได โปรดทรงทํ า ใหขารวยดวยความโปรดปรานแหง พระองค( ไมใชจากสิ่งที่นอกเหนือพระองค(

1 %* - 10, 0

@ K MN #2 l e6 c : F

ความวา ขาขอความคุมครองตออัลลอฮฺผูทรงได ยินและผูทรงรอบรูจากชัยฏอนที่ถูกสาปแชง (#UD4 c 1 N|

ความวา ขาไดศรัทธามั่นกับอัลลอฮฺและศาสนทูต ของพระองค( (#UD4 c

N|

ความวา เราไดศรัทธามั่นกับอัลลอฮฺและศาสนทูต ของพระองค

260


1 %*

.ก10, :

%*%

(%;,ก 3 3*%

- ใหอานซูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ - 4 อายะฮฺแรกจากซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ M LKJIHGFED C BA ﴿ V UTSRQPON ba`_^]\[ZYXW

﴾ lkjihgfedc - อายะฮฺที่ 163–164 จากซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ BA ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏ ﴿ IHGFEDC VU TSRQPONM L K J a`_^]\[ZYXW hgfedcb

﴾ lkji

- อายะฮฺอัลกุรฺสีย 261


- 3 อายะฮฺสุดทายจากซูเราะฮฺอัลบะเกาะเราะฮฺ rqponmlkjihg﴿ Ψ |{zyxwvuts g fedcba`_~} rqponmlkjih |{zyxwvuts ¦¥¤£¢¡ ~} ³²±°¯®¬«ª©¨§ À¿¾½¼»º¹¸¶µ´ ËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁ ÙØ×ÖÕÔÓÒÑÐÏÎÍÌ

﴾ àßÞÝÜÛÚ

- 2 อายะฮฺแรกจากซูเราะฮฺอาลอิมรอน ﴾ JIHGFEDC BA ﴿

- อายะฮฺที่ 18 จากซูเราะฮฺอาลอิมรอน 262


^ ] \ [ Z Y X W V U T﴿

﴾ gfedcba`_

- อายะฮฺที่ 54 จากซูเราะฮฺอัลอะอฺรอฟ }|{z yxwvu﴿ gfedcba`_~ ponmlkjih

﴾w v u t s r q

- อายะฮฺที่ 115 จากซูเราะฮฺอัลมุอมินูน ﴾§¦ ¥¤£ ¢¡ ~ ﴿

- อายะฮฺที่ 3 จากซูเราะฮฺอัลญินนฺ ﴾ cba`_ ^]\[Z ﴿

- 10 อายะฮฺจากซูเราะฮฺอัศศอฟฟาต IHG FED CBA ﴿ SRQPONMLKJ ^] \[ZYXWVUT

263


jihgfedc ba`_ vuts rqponmlk

﴾ zyxw

- 3 อายะฮฺสุดทายจากซูเราะฮฺอัลหัชรฺ yxwvutsrqponm﴿ ¥¤£¢¡ ~}|{z «ª©¨§¦ µ´³²±°¯®¬ ÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸¶

﴾ ÉÈÇÆÅÄÃ

- ซูเราะฮฺอัลอิคลาศ KJI HGF E D C BA SRQPONML

- อัลมะอูซะตาน (ซูเราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ) 264


`_^ ]\[ZY XWVUT kj ihgf edcba on ml zyx wvu t s r q p cba`_~}|{ `hg f ed

1 %* - 1

% 'ก 'ก

ِ ِ‫أ ُِﻋﻴ ُﺬ َك ﺑِ َﻜﻠ‬ ِ ِ ‫ﻤﺎت اﷲِ اﻟﺘ‬ ٍ ‫ وِﻣ ْﻦ‬،‫وﻫ َﺎﻣ ٍﺔ‬ َ ‫ﻞ َﺷْﻴﻄﺎن‬ ‫ ﻣ ْﻦ ُﻛ‬،‫ﺎﻣﺔ‬ َ ٍ ْ ‫ﻞ َﻋ‬ ‫ُﻛ‬ ‫ﻻﻣ ٍﺔ‬ َ ‫ﲔ‬

ความวา ขาขอดวยพระพจนารถแหงอั ล ลอฮฺ อั น สมบูรณ(ยิ่งไดโปรดคุมครองขาจากชัยฏอนและนก ฮู ก และจากนั ย น( ต าแหงการใหรายที่ ถู ก ตํ า หนิ ติ เตียน

1 %* - 1 C EK (% – N _= ,‚_% }= N4 ,‚/

_= %N L -#

ความวา โออัลลอฮฺ ผูที่สามารถทําใหสิ่งใหญเล็ก

265


ลง และสามารถทํ า ใหสิ่ ง เล็ ก ใหญขึ้ น ขาขอตอ พระองค(ทรงทําสิ่งที่ขากําลังประสบอยูใหเล็กลง

1 %* - 10, D %* %

(%%*

0, D

- ใหอานซู เ ราะฮฺ อั ล อิ ค ลาศ อั ล มะอู ซ ะตาน (ซู เราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ) บนฝJามือ แลวลูบ ใหทั่วรางกาย - วางมือบริเวณที่มีอาการเจ็บและอาน 5 $6 3 ครั้ง แลวอาน W7 D: V 4 B0 N = $A MN ( DBJ4 5 ~$2 : F ครั้งI , K 1[ ZA 4 , 7/ YC: ,

XD -#

… `aU DQ _L & ^ <A \] <A &' <A & = O = $A MN ,>L:RL P g = O MN ,> JD 5 6 P F4 S P <9 … > JD 5 6 ,> <KL 5 4 ,BP U V T

266


Be$% BVG c \k F … V

M“

5 6

N = $A MN , mBV ^ <O ( M L †4 B L †4 B#L † jk

… B©

> <KL

, v2 œ 2 XD , v2 5 s7$U … 5 A ' Dm -Ž

7&

… D -Ž4 m D <O

- วางนิ้วชี้บนดิน แลวยกขึ้นมา และใหอานบทกลาว นี้ … =D :

e aU ( .<KL

"% G13"% 0,

2 *aL

3D * 5 6

# (

5))

ผูที่ มีค วามประสงคในสิ่ งใดสิ่ ง หนึ่ งจากอั ลลอฮฺ หรือจากเพื่อนมนุษยดวยกัน ใหทําวุฎWออยางดีแลวละหมาด 2 ร็อกอะฮฺ พรอมๆ กับหวังจากอัลลอฮฺ และสรรเสริญ พระองค เศาะละวาตแกทานเราะซูล แลวกลาววา œ 2 X= D 5

q/U , L

267

#f 5 &' b' &


h /0 N >¦7U ,T 2 X= D 5 Bef , v2 ,•

= O MN *e _ 4 ,> <_N

`$® C &4 ,( <, &' /^ 9:

€ ~F4 ,>)“D

ŸB & , P ™ ' = O M N * N $ 6 4

VD L -) J &' 3^ D > .C *^ 0 V &4 ,()0 &' … T“

ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัลลอฮฺผูหนักแนน ผูที่เ อื้อเฟ2Kอเผื่อแผ มหา บริ สุ ท ธ( แ หงอั ล ลอฮฺ ผู อภิ บ าลแหงอั ร ชฺ ที่ ยิ่ ง ใหญ มวลการสรรเสริญ เป. นกรรมสิ ท ธ( ข องอั ลลอฮฺ ผู อภิบาลหงสากลโลก ขาขอวิงวอนตอพระองค(ได โปรดประทานสิ่งตางๆ ที่ควรแกไดรับความเมตตา จากพระองค( การอภัยโทษที่แนวแนจากพระองค( การไดรับสวนจากความงดีงามทุกประเภท ความ ปลอดภัยจากบาปทุกประการ ขอพระองค(ไดโปรด อยาละทิ้งความผิดบาปใดนอกเสียจากพระองค(ได อภัยมันแลว และไดปลดความกังวลใจใหขา และ ได โปรดทําใหความประสงค(ของขาเป.นตจริง ซึ่ง

268


พระองค(พอพระทัย กับสิ่งนั้น โอผูที่เ มตตายิ่งใน บรรดาผูเมตตาทั้งหลาย

และตามดวยดุอาอเมื่อมีอุปสรรค คือ D

X kF J4 *^ $6V 8³ 4 *^ $6V 9 !B

| D

ความวา โอพระผู อภิ บ าลของเรา ไดโปรด ประทานความดีงามในโลกนี้ และโลกอาคิเราะฮฺ และทรงปกปLองเราจากการลงโทษดวยไฟนรก

1 %*

"@ % 13 - อายะฮฺอัลกุรฺสีย - อายะฮฺที่ 54 จากซูเราะฮฺอัลอะอฺรอฟ }|{z yxwvu﴿ gfedcba`_~ ponmlkjih

﴾w v u t s r q

- อัลมะอูซะตาน (ซูเราะฮฺอัลฟะลักและอันนาซ) 269


`_^ ]\[ZY XWVUT kj ihgf edcba on ml zyx wvu t s r q p cba`_~}|{ `hg f ed

%ก

'1 D 3* F"% 0,

% 13

วิธีการหนึ่งที่ชวยทําใหคลอดบุตรงายคือ ฮับบะตุ ซ เซาดาอ ตมเดื อ ด ปรุ ง รสหวานดวยน้ํ า ผึ้ ง โดยการนํ า น้ํามันฮับบะตุซเซาดาอ ใสในเครื่องดื่มสําหรับใชรักษาโรค ตางๆ ที่เกี่ยวกับผูหญิง และยังสามารถนําน้ํามันเทียนดํา ทารักษาชองคลอดไดผลดีอีกดวย ทานสะอีด อิบนุXุบัยรฺไดรายงานจากอิบนุอับบาซวา: เมื่อผูหญิงคลอดบุตรยาก ใหเขียนบทดุอาอนี้ X= D 5

q/U , L

#f 5 &' b' & 5 6

……… T 2 X= D 5 Bef , v2 œ 2

270


ความวา ดวยพระนามแหงอัลลอฮฺผูซึ่งไมมีพระ เจาอื่นใดเวนแตพระองค( ผูทรงออนโยน ผูทรง โอบออมอารี มหาบริสุทธิ์แดอัลลอฮฺ ผูทรงเป.น เจาของบัลลังค( อันเกรียงไกร การสรรเสริญเป.น สิทธิ์ของพระองค( ผูทรงอภิบาลแหงสากลโลก... (٤٦ :‫ ﴾ )اﻟﻨﺎزﻋﺎت‬é è ç æ å ä ã â á à ﴿

ความวา วั นที่พวกเขาจะเห็นมัน(วันกิย ามะฮฺ ) ประหนึ่งวันพวกเขาไมไดพํานักอยูโลกนี้ เวนแต เพียงชั่วครูหนึ่งของยามเย็นและยามเชาของมัน เทานั้น) (อันนาซิอาด 46) ÔÓÒÑÐÏÎÍÌËÊÉÈÇ ﴿

(٣٥ :‫ ﴾ )اﻷﺣﻘﺎف‬Ù Ø × Ö Õ

ความวา ประหนึ่งวา พวกเขามิไดพํานักอยูในโลก นี้เวนแตเพียงชั่วครูหนึ่งยามกลางวันเทานั้น นี่คือ การประกาศตั กเตือ น ดัง นั้น ความหายนะจะไม ประสบแกผู ใดนอกจากหมู ชนผู ฝQ า ฝ2 น เทานั้ น (อัลอะหฺกอฟ 35)

271


ทานอับดุลลอฮฺ อิบนุอะหฺมัด อิบนุหันบัลไดกลาววา พอของขาไดกลาววา อั ส วั ด อิ บ นุ อ ามิ รฺ ไ ดรายงานดวย ความหมายวา ใหเขียนไวในภาชนะที่สะอาด แลวใหนางดื่ม ... พอของขากลาววา: ทานวะกีอฺเพิ่มตอไปวา ใหนางดื่ม และใหนํ า น้ํ า พรมที่ ส วนลางจากสะดื อ ลงไป ทานอั บ ดุ ล ลอฮฺ ก ลาววาขาเห็ น พอเขี ย นอายะฮฺ ต างๆ ในถวยหรื อ ภาชนะที่สะอาด22 เรายอนกลับมาดูน้ําผึ้ง : หากผูหญิงดื่มน้ําผึ้งที่มีการ อานอายะฮฺขางตนขณะที่เริ่มจะคลอดหนึ่งแกวเล็ก มันจะ ชวยทําใหคลอดลูกงาย แลวใหนางทานขนมป-งสาลีพรอม กับน้ํ าผึ้ งหลัง จากการคลอด เพื่ อใหขั บเลือ ดเสีย ออกมา และบรรเทาอาการเจ็บปวด และดื่มนมสดปรุงรสหวานดวย น้ําผึ้ง ทุกเชาเย็น แทจริงการลางชองคลอดดวยกับ น้ําผึ้งและน้ําอุนๆ สามารถที่จะทําใหผูหญิงรูสึกสบาย และไมจําเปนตองลาง

22

อีฎอหุ อัด-ดะลาลัต ฟ: อุมูมิ อัร-ริสาละฮฺ หนา 48, 49

272


ชองคลอดและมดลูกที่จะมีอาการเจ็บและอาจเกิดอันตราย อีกดวย

"% G13 (%/

ก *

เมื่อผูใดไดทารกใหม แลวกลาวบทอะซานที่หูขวาของ ทารกนั้นและกลาวบทอิกอมะฮฺที่หูซายของเขา ชัยฏอนจะ ไมสามารถทําอันตรายทารกนั้น

1ก*

(% % ก ก &

… @ $K MN ? $0 4 ,./#J ½ , YC: 4 ,./9: ; <, -#

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอตอพระองค(โปรดอภัย ความผิดของขาดวยเถิด และทรงทําใหความโกรธ เคืองไดหายจากหัวใจของขา และไดโปรดใหขา ปลอดภัยจากชัยฏอน … 0

@ K MN #2 l e6 c : F

ความวา ขาขอความคุมครองตออัลลอทรงไดยิน ผู ทรงรอบรู (ใหปลอดภั ย ) จากชั ย ฏอนที่ ถู ก สาปแชง

273


ทานเราะซูล กลาววา “แทจริงแลว ความโกรธนั้น มาจากชั ย ฏอน และชั ย ฏอนถู ก สรางมาจากไฟ สิ่ ง ที่ สามารถดับไฟไดคือน้ํา ดังนั้น หากผูหนึ่งผูใดจากบรรดา พวกเจามีอาการโกรธจงทําวุฎWอเถิด”

"% G13 - 10, % ก ,%($% "

'1.

ใหผูที่มีอาการดังกลาวรําลึกถึงเราะซูล เศาะละวาตแกทานมากๆ

"% G13 - 10, - #ก * 3 % ,

และกลาว

1

หุซัยฟะฮฺไ ดกลาววา ผมไดรองเรียนตอทานเราะซูล เกี่ย วกับ การที่ ผมพู ดไมดี ทานจึง กลาววา ทานละทิ้ ง อิซตีฆฟารที่ไหนละ23 แทจริง ฉันขออภัยโทษจากอัลลอฮฺ วันละ100 ครั้ง

23

หมายถึง ทานจงอิซติฆฟารฺเถิด (ผูแปล)

274


- ก * - 10, - 3*% … > /9 ( 1v<V $e 5 >v<V

ความวา ขอใหอัลลอฮฺทรงปกปLองทานดวยสิ่งที่ พระองค(ไดทรงปกปLองทานนบีมาแลว … > N4 >#C

> 5 \D

ความวา ขอใหอัลลอฮฺประทานความสิริมงคล แกทานในครอบครัวและทรัพย(สินของทาน … ‚$ ^ 8 5 \ ~$0

ความวา ขอใหอั ลลอฮฺ ทรงตอบแทนทานดวย ความดีงาม

ก ก! % ก นําผงหับบะตุซเซาดาอ (เทียนดํา) ผสมกานพลูออน เมื่อมีอาการปวดหัวใหรับประทานหนึ่งชอนกลางพรอมนม โยเกิ รตกอนอาหารเชา และกอนอาหารกลางวั น หากมี อาการปวดตอเนื่ อ งใหนํ า น้ํ า มั น เที ย นดํ า มาทาและนวด บริเวณที่ปวดดวย 275


ใหอานดุอาอในขณะที่ผสมน้ํามันเทียนดําดังนี้ 1- อานดุอาอขางลางนี้ 7 ครั้ง œ 2 X! D 5 &' b' & , #f L

v2 5 &' b' &

œ 2 X! D4 h e6 X! D 5 &' b' & , v2

ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอั ล ลอฮฺ ผู ทรงยิ่ ง ใหญและผู ทรง หนั ก แนน เสมอ ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอก จากอัลลอฮฺผูอภิบาลแหงอัรชฺอันยิ่งใหญ ไมมีพระ เจา(ที่ควรแกการภักดี)นอกจากอัลลอฮฺผูอภิบาล แหงชั้นฟLาและอัรชฺอันทรงเกียรติ (บันทึกโดยอัลบุคอ รียและมุสลิม)

2- อานดุอาอขางลางนี้ 7 ครั้ง … ƒ _)U >)$“ ˜ ! J L .! V L

ความวา โอผูทรงชีวิน ผูทรงดํารงอยูดวยพระองค( เอง ขาวิงวอนขอความชวยเหลือดวยความเมตตา ของพระองค( (อัลหากิมมีความคิดเห็นวาเปนหะดีษที่มี สายรายงานที่ถูกตอง)

276


3- อานดุอาอขางลางนี้ 7 ครั้ง T v MN 1 O ?= ' >9 q/U 1[ &' b' &

ความวา ไมมี พ ระเจา(ที่ ค วรแกการภั ก ดี ) นอกจากพระองค( มหาบริ สุ ท ธ( แ หงพระองค( แทจริงขาเป.นผูหนึ่งในหมูผูอธรรมทั้งหลาย

มุสลิมคนหนึ่งจะไมขอสิ่งใดเวนแต จะไดรับการตอบ รับดุอาอของเขา 4- อานดุอาอขางลางนี้ 7 ครั้ง M N4 D 9 Œ F • = MN v2 c : 29 ,‚/ D

5 6

=V• =

ความวา ดวยพระนามแหงอัลลอฮฺผูทรงยิ่งใหญ เราขอการรอดพนตอพระองค(ผูทรงยิ่งใหญใหพน จากตนตอแหงไฟนรกและพนจากสวนที่รอนระอุ ที่สุดของมัน

บทดุอาอนี้มีรายงานไวในหนังสือของอิบนุสุนนี อิบนุ อับบาซไดรายงานวา ทานเราะซูล ไดสอนดุอาอนี้แก พวกเขา เพื่อใหหายจากอาการเจ็บปวด และเพื่อเยียวยา 277


อาการไขตัวรอน ดังนั้น สมควรแกบุคคลหนึ่งที่เขาจะอานซู เราะฮฺ อั ล ฟาติ ห ะฮฺ อั ล อิ ค ลาศ และอั ล มะอู ซ ะตาน (ซู เราะฮฺอัลฟะลักและสอันนาซ) ขณะที่เขามีอาการปวดหัว

- 1% ก

7:

'1 %

,กก

(%ก

ตมฮับบะตุซเซาดาอและใชกลั้วคอ สําหรับทุกๆโรคที่ เกิดในปากและลูกกระเดือก แลวใหเอาผงของฮับบะตุซเซา ดาอหนึ่ ง ชอนกลื น ไปพรอมกั บ น้ํ า อุ นทุ ก วั น พรอมนํ า น้ํ า มั น ฮั บ บะตุ ซ เซาดาอมาทาภายนอกลํ า คอ เหนื อ ลูกกระเดือก และบริเวณเหงือกภายในปาก พยายามอานดุ อ าอตอไปนี้ ขณะที่ ผ สมสวนตางๆ ขางตนหรือในของเหลว: FB (6q= 4 ,Bš N W †G YV I MF YC: -# II W7 ครังI WW \B F \D / T

>= /9

ความวา : โออัลลอฮฺขอพระองค(ทรงโปรดขจัดใหพน จากสิ่งที่...(ผูที่มีอาการเจ็บ) ไดประสบ และไดโปรด ทรงทํา ใหเขาหายดวยดุ อาอ(ข องทานนบีผูที่มั่นคง และจําเริญ ณ ที่พระองค(

278


อั ล บั ย ฮะกี ย ไดรายงานวา แทจริ ง อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ เราะวาหะฮฺ ไดพร่ํ า บนใหทานนบี ฟ- ง วาเขาปวดฟ- น กราม ดังนั้นทานเราะซูล จึงไดวางมือของทานบนแกม ของเขาที่ปวดอยู แลวขอดุอาอดวยบทดุอาอขางตน ๗ ครั้ง อัลลอฮฺ ก็ไดทรงใหเขาหายกอนที่เขาจะผละจากทานน บีไป

ก! % ก #

"$ ก

ใหดื่มน้ําสมหนึ่งแกว ผสมน้ํามันฮับบะตุซเซาดาอ 10 หยด กอนอาหารเปนระยะเวลา 10 วัน และหมั่นอานดุอาอ ตอไปนี้ , ”/ 4 ˜ — 4 M/y 4 , 6 4 ~w2 MN > : F ?= ' -# h` 4 q * ) MN4 ,}a X kF MN > : F 4

ความวา โออัลลอฮฺ ขาขอวอนพระองค(ทรงคุมครอง ใหขาพเจารอดพนจากความออนแอและความเกียจ คราน และจากความขี้ ข ลาดตาขาว วั ย ชรา และ ความตระหนี่ถี่เหนียว ขาขอใหพระองค(ทรงคุมครอง

279


ใหรอดพนจากการลงโทษในหลุ มฝ0ง ศพ และจาก ความชั่วราย ในขณะมีชีวิตและตาย (เศาะฮีหฺข องอี มามมุสลิม)

ขอเสนอ จะตองไมนอนหลังละหมาดศุบหฺ และใหซิกรฺ ตออัลลอฮฺ ใหมากๆ

%ก

C !

ในชวงเชาใหทานน้ํ า ผึ้ ง 1 ถวยที่ มี ส วนผสมจาก น้ํามันงา 1 ชอน สวนในชวงเย็นใหทานน้ําผึ้งที่ละลายในนม เปรี้ยวอุนและผสมกับหยดน้ําอันบัรฺที่มีกลิ่นหอม ใหปฏิบัติ เชนนี้ 3 วัน และควรหลีกเลี่ยงจากการทานเนื้อ อีกวิธีหนึ่ง ใหหั่นกระเทียม 5 กลีบแลวผสมกับน้ําผึ้ง ที่ละลายในน้ําเทียนดํารอน แลวดื่มทันที ใหปฏิบัติเชนนี้ทั้ง เชาและบาย พรอมกับใหอานอายะฮฺ 1ก 40 7 ครั้ง และอา ยะฮฺ .-.8 7 ครั้ง แลวกลาวถอยคําตางๆ ขางลางนี้ `6 , n DG

\ N , >e U

Ba , `6

>)“D 20 , `6

280

jk 5 ! D

>)“D `O nDG 4


*^ “D s~[ ,T/= @ X! D 1[ , 9 L @84 r d 4DI …l0

V

<, 4

kC EF >€ <A MN ^ <A4 \B F MN W.€ 6 4 Q4 Q

ความวา พระผูอภิบาลของเรา ผูทรงอยู ณ ฟากฟLา พระนามแหงพระองค(บริสุทธิ์ กิจการแหงพระองค( ณ ฟากฟLาและแผนดิน เฉกเชนเดียวกับความเมตตา แหงพระองค(ก็ ณ ฟากฟLา ขอใหพระองค(ทรงทําให ความเมตตาของพระองค( ณ พื้นแผนดิน และขอให พระองค(ท รงอภัย ในความผิด และความผิ ด พลาด ของเรา พระองค( ผูอภิบาลของคนดีทั้ง หลาย ขอ โปรดประทานความเมตตาจากพระองค( และโปรด ประทานการเยียวยาจากพระองค(ตอความเจ็บปวด นี้

อะบูอัดดัรฺดาอไดกลาววา ขาไดยินทานเราะซูล ไดกลาววา ผูใดในบรรดาพวกทานที่รองเรียนจากสิ่งหนึ่ง ใหอานดุอาอขางตน

281


282


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.