Wannakdi 271 muka b5 ok

Page 1

ISLAMIC LITERATURE

อาเซ็ม อัชชะรีฟ ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอสิ ลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

(1)


อาเซ็ม อัชชะรีฟ วรรณคดีอิสลาม . 2556 . ปตตานี : อิกเราะมีเดีย 271 หน)า 1. วรรณคดี – อิสลาม 1. ชื่อเรื่อง ISBN : 978-663-721-181-6

พิมพครั้งที่ : 2 (พฤศจิกายน 2556) จัดจําหนายโดย --------------------------------------

วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี --------------------------------------

ออกแบบปก / จัดรูปเลม สํานักพิมพอิกเราะมีเดีย 17/293 (ตรงข)ามไปรษณียรูสะมิแล) ต. รูสะมิแล อ. เมือง จ. ปตตานี 94000 โทรศัพท 08 4749 0400 อิเมล : aalsyareef@gmail.com (2)


สารบัญ หนา (2) (4) (6)

สารบัญ สัญลักษณและคําศัพทเฉพาะ คํานํา บทที่ 1 วรรรณคดี ความหมายของวรรณคดี ความหมายของวรรณกรรม ความแตกตางระหวางวรรณกรรมและวรรณคดี ทําไมต5องมีวรรณกรรม

1 1 3 4 6

บทที่ 2 วรรณกรรมในคาบสมุทรอาหรับ สถานภาพของบทกวีอาหรับกอนอิสลาม รูปแบบของกวีกอนยุคอิสลาม

9 12 15

บทที่ 3 วรรณคดีอิสลาม วรรณคดีอิสลามกับวรรณคดีอาหรับ วรรณคดีกับหลักศรัทธาของนักวรรณคดี กรอบของวรรณคดีอิสลาม วรรณกรรมทางเลือก

17 19 21 25 26

บทที่ 4 บทกวีในทัศนะของอิสลาม อัลกุรฺอานมิใชบทกวี จุดยืนของทานเราะสูล ตอบทกวี ความสุนทรียภาพแหงคํากลอน มุฮัมมัด อิกบาล ยอดกวีมุสลิม รหัสยแหงอาตมัน (อัสรา-ริ-คูดี) ตัวอยางการใช5บทกวีในการเสริมสร5างมโนทัศน เปDดใจ สกุณากระหายน้ํา ความกลมกลืนของกลุมชน ปลอยใจให5สงบกับธรรมชาติแหงความงาม

35 38 43 50 53 56 58 58 59 60 62

(3)


ยุวชนของเรายุคนี้โดนหลอกลวง เนื้อสมันที่หวาดกลัว การกราบไหว5แหงอิสรภาพ ความสุขที่แท5จริง ใต5รมเงาแหงมัสญิด

63 65 68 70 71

บทที่ 5 สุภาษิต สุภาษิตอัลกุรฺอาน ประเภทของสุภาษิตในอัลกุรฺอาน

73 74 76

บทที่ 6 เรื่องเลาจากอัลกุรฺอาน ชาวเมือง ชาวถ้ํา

83 87 98

บทที่ 7 เรื่องเลาจากอัล-หะดีษ ชาวถ้ําผู5บริสุทธิ์ใจ บทละครเวที ... เพราะเราบริสุทธิ์ใจ

115 116 119

บทที่ 8 เรื่องยาว “อุมัรฺมหาราช”

131 132

บทที่ 9 วรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม วรรณกรรมอิสลามชวงแรกๆ ในแหลมมลายู ลักษณะวรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม ประเภทของวรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม ชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนีย กับบทบาททางวรรณกรรม ชัยคฺหัมซะฮฺ ฟNนซูรีย กับการปฏิรูปกลอนมลายู นะซัม หนังสืออัล-บุรฺดะฮฺของอัล-บูศิรีย ตัวอยางบทกลอนภาษาไทยเพื่อใช5ในการตักเตือน อ5างอิง

233 234 235 237 241 243 248 252 254 260

(4)


สัญลักษณ �

อานวา “ซุบฮฺานะฮุ วะ ตะอาลา” แปลวา “มหาบริสุทธิ์แดพระองคและทรงไวซึ่งความสูงสงยิ่ง” เปนประโยคทีก่ ลาวสรรเสริญอัลลอฮฺหลังกลาวนามของพระองค อานวา “ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ ซัลลัม” แปลวา “ขอใหอัลลอฮฺประทานความจําเริญและความสันติจงมีแด ทาน” เป น ประโยคที่ใ ชก ล าวหลังจากอางอิง ถึง หรือตอทา ยชื่อ ของนบีมุฮัมมัด อานวา “อะลัยฮิสสะลาม” แปลว า “ขอความสั น ติ จ งมี แ ด ท า น” เป น ประโยคที่ ใ ช ก ล า ว หลังจากอางอิงถึงหรือตอทายชื่อของบรรดานบีมุฮัมมัด อานวา “เราะฎิยัลลอฮุอนั ฮุม” แปลวา “ขออัลลอฮฺทรงพึงพอใจเขาดวยเถิด” เป น ประโยคอวยพรที่มัก กลาวหลั งจากเอยนามของสหายและ ภรรยาของทานนบีมุฮัมมัด ประโยคจะแตกตางกันที่สวนทายขึ้นอยู กับพจนและเพศของนามที่ถูกกลาว อาทิ อันฮุ อันฮา เปนตน

คําศัพท เคาะลีฟะฮฺ คิลาฟะฮฺ ชัยฏอน ซุนะฮฺ ซูเราะฮฺ ญิน ญิฮาด

ผูสืบทอดการเปนผูนําของมวลมุสลิมตอจากนบีมุฮัมมัด  ระบอบการปกครองที่มีเคาะลีฟะฮฺเปนผูน ํา มารราย ความหมายเดียวกับ ซาตาน แนวทาง คําสอน และหรือการปฏิบัติของทานนบีมุฮัมมัด  ที่เปน แบบแผนใหมุสลิมเจริญรอยตาม บทตอนในคัมภีรอัลกุรฺอาน ซึ่งมีทั้งหมดรวม ๑๑๔ ซูเราะฮฺ สิ่งมีชีวิตถูกสรางจากไฟ และดํารงชีวิตอยูคนละมิติกับมนุษย การพยายามตอสูดิ้นรนในหนทางของอัลลอฮฺ � (5)


ดุนยา นบี

โลกนี้ บุคคลที่อัลลอฮฺ ติดตCอเพื่อให)รับรู)ถึงสัจธรรมของพระองคและ ปฏิบัติตนเปLนแบบอยCางให)ประชาชาติเจริญรอยตาม ฟVฏเราะฮฺ สามัญสํานึกหรือสัญชาตญานและธรรมชาติของมนุษย มลาอิกะฮฺ สิ่งมีชีวิตถูกสร)างจากรัศมีและดํารงชีวิตอยูCคนละมิติกับมนุษย มี หน)าที่และบทบาทเปLนทูตของอั ลลอฮฺ ในภารกิจและกิจการ ตCางๆ มุชริก ผู)ที่ตั้งภาคีตCออัลลอฮฺ หรือศรัทธาสิ่งอื่นรCวมกับอัลลอฮฺ รซูล หรือรซูลุลลอฮฺ ศาสนทูต หรือบุคคลที่อัลลอฮฺเลือกให)ทําหน)าที่ถือสาสนของ พระองคเพื่อเผยแผCตCอมนุษยชาติ วะฮฺยุ คําวิวรณ เศาะฮฺาบะฮฺ สหายของทCานนบีมุฮัมมัด หรือความหมายอยCางกว)าง หมายถึง มุสลิมที่มีชีวิตรCวมสมัยกับทCานนบีมุฮัมมัด โดยที่เขาพบเจอทCาน ในสภาพที่ ตื่ น ตั ว มิ ใ ชC ใ นฝนแล) ว ศรั ท ธาในทC า นวC า เปL น ศาสนทู ต ของอัลลอฮฺ หิกมะฮฺ วิท ยปญญา วิจารณญานในการทํ า สิ่งที่เ หมาะสมกั บ กาลเทศะ หรือ คุณประโยชนเบื้องหลังสิ่งหนึ่งๆ ซึ่งมนุษยไมCรับรู)มากCอน อาคิเราะฮฺ โลกสุ ดท)าย ซึ่งในอิสลามเชื่อวCา โลกที่มุสลิมกําลังมุCงหน)าสูCโลก ดังกลCาวเปLนโลกสุดท)ายและจะไมCเวียนวCายตายเกิดอีกตCอไป จบที่ สวรรคหรือนรก อิจYฺติฮาด กระบวนการที่ผู)รู)ทางศาสนานําหลักการของอิสลามมาวิเคราะห และวินิจฉัยปญหาเพื่อกําหนดกฎเกณฑและข)อบังคับตCางๆ ทั้วนี้ กระบวนการดังกลCาวอยูCบนรากฐานขององคความรู)ทั้งในแงCของตัว บทสําคัญและการตีความ รวมถึงความเชี่ยวชาญในภาษาอาหรับ อิบาดะฮฺ วัตรปฏิบัติที่แสดงความเคารพภักดีตCออัลลอฮฺ อีมาน ความศรัทธาตCออัลลอฮฺ อุมมะฮฺ ประชาชาติ (6)


อัลหัมดุลิลลาฮฺ มวลการสรรเสริญเปLนกรรมสิทธิ์แหCงผู)อภิบาลแหCงสากลโลก พรสันติสุขและสวัสดิภาพพึงมีแดCทCานนบีมุหัมมัด และวงควานของทCาน รวมถึงผู)ที่ เจริญรอยตามทCานด)วยความดี วรรณกรรมเปLนสื่อที่มนุษยนํามาใช)เพื่อสนองตอบพระประสงคของอัลลอฮฺ การนําสื่อสูCสังคมเปLนดั่งกระจกที่คอยสะท)อนถึงการใช)ชีวิตของแตCละยุคสมัยจน จวบจนปจจุบัน วรรณกรรมยังสามารถกลCอมเกลานิสัยของผู)อCานให)อCอนโยน ยึดมั่น อยูC ใ นศี ล ธรรมอั น ดี ง าม ให) ค วามรู) ท างด) า นโบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร และ ขนบธรรมเนียมตCางๆ เกิดความรู)ในด)านการดํารงชีวิตมนุษย เพราะได)กลCาวถึงความ ดี ความชั่ว อุดมคติ ความสมหวัง ความสําเร็จ เปLนต)น วรรณคดีอิสลามเปLนวรรณคดีที่บCงบอกถึงความสวยงาม (ญะมาล) และมีความ สัจจริง (อัล-หักฺ) อยูCในตัว คุณลักษณะทั้ง 2 นี้เปLนคุณลักษณะของอัลลอฮฺ และ เมื่อวรรณกรรม ได)ประกอบไปด)วยคุณลักษณะทั้ง 2 นี้ก็จัดได)วCาเปLนวรรณกรรมที่เดCน และยอดเยี่ยม ล)วนจุดมุCงหมายในการสร)างการตื่นตัวให)แกCสังคม ความสวยงามใน การขีดเขียนที่มุCงหวังให)ผู)อCานเกิดการตื่นตัว และปรับปรุงแนวทางการดําเนินชีวิตให) เปL น ไปในครรลองที่ อิ ส ลามต) อ งการ ฉะนั้ น ผู) ใ ดที่ ส ามารถผลิต ผลงานออกมาใน รู ป แบบที่ ส ร) า งสรรค สร) า งความตื่ น ตั ว ให) เ กิ ด ขึ้ น แกC สั ง คม นั บ วC า ผู) นั้ น ได) ผ ลิ ต วรรณกรรมที่ดี และได)ปฏิบัติกรรมทําดีแล)ว ในหนังสือ “วรรณคดีอิสลาม” เลCมนี้ ผู)เรียบเรียงได)รวบรวมข)อมูลตCางๆ จาก แหลCงข)อมูลที่หลากหลาย และนําเสนอในมุมมองที่แตกตCางกันให)กับนักศึกษาวิทยาลัย อิสลามศึกษา แตCปรากฏวCานักศึกษาจากคณะอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานีก็ได)ให)ความสนใจเปLนจํานวนมาก อาจเปLนเพราะรายวิชานี้ได)รวมทั้ง ศาสตรและศิลป]ภายในตัว เสริมสร)างมุมมองใหมCให)กับชีวิตของพวกเขา สังเกตได)จาก การที่หลายคนให)ความสําคัญกับความงามและความสุนทรียในครรลองแหCงสัจธรรม ในชิ้นงานอยCางเห็นได)ชัด

(7)


ผู)เรียบเรียงขอขอบคุณ มัรหูม ผูชวยศาสตรจารย ดร. หะสัน หมัดหมาน ที่เอื้อ ข)อมูลในหนังสือเลCมนี้ รวมทั้งคณะบรรณาธิการที่ชCวมเสริมเติมแตCง ปรับ และแก)ไขให) มีความสมบูรณมากขึ้น ท)ายสุด มวลการสรรเสริญเปLนกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ ด)วยนิอฺมัตของพระองค การงานที่ดีก็ลุลCวงได)อยCางสมบูรณ

อาเซ็ม อัชชะรีฟ

(8)


วรรณคดี

1

ความหมายของวรรณคดี วรรณคดีในภาษาไทย ตรงกับคําวา " Literature ในภาษาอังกฤษ" โดยคําวา Literature ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาลาติน แปลวา การศึกษา ระเบียบของภาษา ซึง่ ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายหลายอยาง ดังนี้ 1. อาชีพการประพันธ 2. งานเขียนในสมัยใดสมัยหนึ่ง 3. งานประพันธที่ไดรับการยกยองจากนักวิจารณ และผูอานทั่วไป คําวา "วรรณคดี" ตามตัวอักษร หมายความวา "แนวทางแหงหนังสือ" คําวา วรรณคดี เปนคําสมาส ประกอบดวยคํา "วรรณ" จากรากศัพทสันสกฤต วรณ แปลวา หนังสือ กับคําวา "คดี" จากรากศัพทบาลี คติ แปลวา การดําเนิน การไป ความเปนไป แบบกวาง ทาง ลักษณะ ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2539 : 754) ไดใหความหมายวา “หนังสือทีไ่ ดรบั การยกยองวาแตงดี” สิทธา พินิจภูวดล, รืน่ ฤทัย สัจจพันธ และเสาวลักษณ อนันตศานต (2524: 1) ไดอธิบายเพิม่ เติมความหมาย ของวรรณคดีที่วาเปนหนังสือแตงดีนั้นไดแก บทประพันธทกุ ชนิดทีผ่ แู ตงมีวิธีเขียนทีด่ ี มีศิลปะ กอใหเกิดความประทับใจแกผอู านสรางความสนุกเพลิดเพลินใหแกผอู าน ทํา ใหผูอานมีมโนภาพไปตามจินตนาการของผูแตง เราใหเกิดอารมณสะเทือนใจไปตาม ความรูสึกของผูแตง บางครั้งผูแตงจะสอดแทรกความรูและทัศนคติในเรือ่ งตางๆ ลง ในงานของเขา แตกม็ ิไดหมายความวาผูแตงมุงใหความรูหรือมุงสอนปรัชญา ศีลธรรม 1


หรือเรื่องของชีวิต ทั้งนี้เพราะวรรณคดีไมใชตําราซึ่งมุงสอนความรูเปนสําคัญ ถาตํารา เลมใดมีลักษณะเปนวรรณคดีก็จะไดรับการยกยอง วรรณคดีเปนที่รวมความรูสึกนึก คิด ความรอบรู ความฉลาด และสติปญญาอันลึกซึ้ง คนที่อานวรรณคดีก็จะไดรับ ถายทอดความฉลาดรอบรูไวดวยมากบางนอยบาง ชลธิรา กลัดอยู (อางถึงใน สนิท ตั้งทวี. 2528 : 1) อธิบายวา วรรณคดี มี ความหมายทีใ่ ชกนั ทัว่ ไปสองประการ คือ ความหมายประการแรกไดแก หนังสือที่ เรียบเรียงออกมาเปนตัวหนังสือหรือนัยหนึ่งหมายถึงหนังสือทั่วไปนั่นเอง แตมีเงา ความหมายวาเปนหนังสือเกาถือเปนมรดกที่สืบทอดกันมาแตโบราณ สวนความหมาย ที่สอง มีความหมายคลายคลึงกับคํา "กวีนิพนธ" คือถือวาเปนหนังสือที่ไดรับการยก ยองแลวจากกลุมคนที่นับวาเปนคนชั้นนําในวงการหนังสือ มีนยั ลึกลงไปอีกวามีคณ ุ คา สูงสงเขาขั้นวรรณศิลป คือเปนแบบอยางที่ยกยองเชิดชูกันตอไป เจือ สตะเวทิน ( 2514 : 8) กลาววา วรรณคดี คือหนังสือหรือบันทึก ความคิดที่ดีที่สุดดวยทวงทํานองเขียน (Style) ทีป่ ระณีตบรรจงครบองคแหงศิลปะ ของการเขียน สามารถดลใจใหผอู านผูฟ งเกิดความปติ เพลิดเพลิน มีความรูส ึก รวมกับผูแตง เห็นจริงเห็นจังกับผูแตง เรียกกันเปนสามัญวา มีความสะเทือนอารมณ ทั้งตองประกอบไปดวยคุณคาสาระอีกดวย จากความหมายของวรรณคดีที่มีผูใหไวจํานวนมากนั้นสรุปไดวา วรรณคดี เปนคําทีม่ ีความหมายลึกซึ้ง ไมเฉพาะแตเพียงพิจารณาความหมายตามรูปศัพท แต ตองศึกษาถึงความหมายลึกซึ้งกวานั้นหนังสือที่เปนวรรณคดีจะตองเปนหนังสือที่เขียน ขึ้นดวยความประณีตบรรจงทั้งในดานการใชภาษา การแสดงความคิด รูปแบบและ เนื้อหา อีกทั้งคุณคาทางอารมณและความประทับใจในความงามดานตาง ๆ ตามที่ ผูเขียนสรางขึ้น วันเนาว ยูเด็น (2537 : 5) สรุปไดวา วรรณคดี ก็คือ หนังสือหรืองานเขียน ทีไ่ ดรบั การยกยองวาแตงดี มีความงามดานภาษา การใชคาํ มีคณ ุ คาเขาขั้นวรรณศิลป และมีเนื้อหาทีด่ ีสามารถโนมนาวจิตใจผูอานใหเกิดความเพลิดเพลิน ความสํานึกคิด และอารมณตางๆ ตามผูเขียน ซึง่ มีลกั ษณะดังนี้ 2


1. มีความเปนศิลป (Artistic) ในคุณลักษณะขอนี้วรรณคดีตองมีความ งดงาม กลาวคือ ตองสะทอนชีวิตในแงความเปนจริงทีถ่ กู ตองงดงาม 2. มีลกั ษณะของการคาดคะเน (Suggestive) วรรณคดีจะไมอยูในลักษณะ เปดเผยแบบตายตัว หากแตจะเขาใจไดโดยการคาดคะเน การตีความหมายทาง วรรณคดีจะขึ้นอยูกับการคาดคะเนของแตละคน การคาดคะเนอาจจะแตกตางกันไป ตามความซาบซึ้ง (Appreciation) ของคนอาน 3. มีลกั ษณะของความคงทน (Permanent) เปนที่นาสังเกตวา งานที่เปน วรรณคดีนั้น โดยมากจะมีลักษณะคงทน กลาวคือ เปนที่นิยมและอยูในความทรงจํา ของคนอานในระยะเวลาอันยาวนาน ไมใชเปนที่นิยมกันในวันนี้วันเดียว สําหรับในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสือพระราชกฤษฎีกาตั้ง วรรณคดีสโมสร วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 โดยมีความหมายคือ หนังสือทีไ่ ดรบั ยกยองวาแตงดี นั้นคือมีการใชภาษาอยางดี มีศิลปะการแตงทีย่ อดเยีย่ มทั้งดานศิลปะ การใชคาํ ศิลปะการใชโวหารและถูกตองตามหลักไวยากรณ และภาษานั้นให ความหมายชัดเจน ทําใหเกิดการโนมนาวอารมณผอู านใหคลองตามไปดวย กลาว งายๆ คือ เมือ่ ผูอาน ๆ แลวทําใหเกิดความรูสึกซาบซึ้ง ตืน่ เตน ดืม่ ด่าํ หนังสือเลมใด อานแลวมีอารมณเฉยๆ ไมซาบซึ้งตรึงใจและทําใหนาเบือ่ ถือวาไมใชวรรณคดี หนังสือ ทีท่ าํ ใหเกิดความรูสึกดืม่ ด่าํ ดังกลาวนี้จะตองเปนความรูสึกฝายสูง คือทําใหเกิด อารมณความนึกคิดในทางทีด่ ีงาม ไมชกั จูงในทางทีไ่ มดี

วรรณกรรม คืออะไร วรรณกรรมเปนคําที่ใชตรงกับภาษาอังกฤษวา Literary work หรือ General literature อันหมายถึง งานเขียนทุกชนิดซึ่งไมจํากัดวามีคุณสมบัติห รือไม เปนคําที่มี ความหมายกวางมาก (สุทธา พินิจภูวดล. 2520 : 3) เนือ่ งจากมีการเขาใจสับสนระหวางคําวา วรรณคดี กับวรรณกรรม อยูเสมอ เนือ่ งจากทั้งสองคํา มาจากภาษาอังกฤษวา Literature เชนเดียวกัน สําหรับใน 3


ภาษาไทยนั้นมีการใชคาํ วา "วรรณคดี" กอนภายหลังจึงไดเกิดมีคาํ วา "วรรณกรรม" ขึ้น และจริง ๆ แลว ในอดีตกอนป พ.ศ. 2457 ไทยเรายังไมมีคาํ วา "วรรณคดี" ใช เรา เรียกหนังสือวรรณคดีวา "หนังสือ" (เชน เรียกเรือ่ งมหาภารตะวา "หนังสือมหาภา รตะ") หรือเรียกโดยใชชื่อผูแตงกับชื่อลักษณะคําประพันธและประเภทของเนื้อหา (เชน นิราศนรินทรคําโคลงหรือนิราศพระยาตรัง เปนตน) หรือเรียกโดยใชชื่อลักษณะคํา ประพันธและเหตุการณหรือโอกาสที่ทําใหเกิดเรื่องนั้นๆ ขึ้น (เชน กลอนนิราศรบพมา ทีท่ าดินแดง หรือโคลงนิราศเวียงจันทร พระนิพนธสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรม พระยาเดชาดิศร เปนตน) (ชลดา เรืองรักษลิขิต. 2541 : 15) และคําวา "วรรณคดี" นี้ รูจักกันอยางเปนทางการเมื่อ พ.ศ. 2450 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวในโอกาสที่ทรงตั้ง "โบราณคดีสโมสร" ขึ้น วัตถุประสงคของสโมสรนี้ก็เพื่อ สงเสริมการประพันธ การศึกษาประวัติศาสตรและโบราณคดี งานที่สําคัญที่สุด เกี่ยวกับวรรณคดีคือ การพิมพเผยแพรวรรณคดีโบราณ เชน นิราศพระยาตรัง เปน ตน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการตรวจคัดหนังสือที่แตงดี เพือ่ รับพระบรมรา ชานุญาตประทับพระราชลัญจกรมังกรคาบแกว หนังสือใดที่โบราณคดีสโมสรนี้ ประทับพระราชลัญจกรมังกรคาบแกวก็ไดชื่อวาเปน "วรรณคดี" ซึ่งในขณะนั้นถือวา เปน "หนังสือดี" ตอมาใน พ.ศ. 2457 คําวา "วรรณคดี" จึงไดประกาศใชอยางเปนทางการ เนื่องดวยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูห ัวไดทรงตัง้ วรรณคดีสโมสร เพือ่ สงเสริมการแตงหนังสือ เชนเดียวกับกิจการของโบราณคดีสโมสร และงานที่สําคัญ ของวรรณคดีสโมสรนี้ก็คือการพิจารณายกยองหนังสือสําคัญของชาติวาเรื่องใดเปน ยอดทางไหน (สิทธา พินิจภูวดล และนิตยา กาญจนะวรรณ. 2520 : 1-3)

ความแตกตางระหวางวรรณกรรมและวรรณคดี จากการทีไ่ ดศึกษาความหมายของคําวา วรรณกรรม และ วรรณคดีน้นั แม มองเผินๆ ดูเหมือนวาจะมีความหมายเกือบคลายกันบาง แตกตางกันบาง แตก็มีผู เขาใจผิดๆ ระหวางการใช 2 คํานี้อยูเสมอ หากพิจารณาจากพจนานุกรมฉบับ 4


ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2539 : 754) “วรรณกรรม” หมายถึง งานหนังสือ งานนิพนธทที่ าํ ขึ้นทุกชนิด ไมวาแสดงออกมาโดยวิธีหรือรูปแบบอยางใดสวน “วรรณคดี” หมายถึง หนังสือทีไ่ ดรบั การยกยองวาแตงดี วันเนาว ยูเด็น (2537 : 5) กลาววา วรรณกรรมและวรรณคดีแตกตางกันตรงทีว่ า งานไหนมีคณ ุ คาทางศิลปะ ก็ถือเปนวรรณคดี สวนวรรณกรรมจะหมายถึงงานทาง หนังสือทั่วๆ ไป ซึง่ อาจจะมีคณ ุ คาเพียงทางดานวิชาการ หรือความคิดเห็นอยางเดียว ก็ได หรือหมายถึงงานทีเ่ ปนวรรณศิลปกไ็ ด ดังนั้นความหมายของคําวาวรรณกรรมจึง กวางกวาคําวา วรรณคดี สําหรับ ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ( 2514 : 58-133) ไดกลาวถึง ความสัมพันธและความแตกตางระหวางวรรณกรรมและวรรณคดีไวดงั นี้ วรรณกรรมและวรรณคดี ถือวาเปนศิลปกรรมชนิดหนึ่ง มีถอยคําใน ภาษาที่พูดและเขียนเปนวัสดุเชนเดียวกับเสนและสี เปนวัสดุของ จิตรกรรม และเสียงเปนวัสดุของดนตรี นอกจากวัสดุดังไดกลาวมาแลว ศิลปกรรมทั้งหลายมีความคิดและเรือ่ งราวเปนเนื้อหา การประกอบ ศิลปกรรมเปนสภาวะธรรมดาของมนุษยที่อยูรวมกันเปนสังคม ศิลปกรรมเปนเครือ่ งสือ่ ความหมายหรือสือ่ สาร ผูประกอบความคิด มี เรื่องราวที่จะสื่อใหแกผูอื่น ความคิดและเรื่องราวเปนสาร แตใน บางครั้ง ผูประกอบอาชีพอาจเขียนหรือวาดหรือแตงทํานองดนตรีไว เพื่อสื่อแกตนเองในกาลเวลาตอไป เพื่อกันความหลงลืม ดังนี้ก็อาจมีได วรรณคดีจะจํากัดใชสาํ หรับวรรณกรรมทีไ่ ดรบั ความยกยองแลวจาก กลุมคนที่ไดรับความนับถือจากคนหมูมากอีกตอหนึ่ง เชน พระราช นิพนธรามเกียรติ์ เปนตน คําวา วรรณกรรม จะใชสาํ หรับหนังสือหรือ เอกสารที่ไดประกอบขึ้น มีลักษณะเปนศิลปกรรมในฐานะที่มีรูปแบบ มี วัสดุและเนื้อหาประกอบขึ้นดวยความพยายามที่จะสื่อสารดวยประการ หนึ่ง วรรณคดีมีคุณคาทางความรูประการหนึ่ง กับคุณคาทางสัมผัส หรือ รูป รส กลิน่ เสียง อีกประการหนึ่ง สัมผัสของผูรูรสวรรณคดีเปน สัมผัสประณีต สัมผัสดวยแสงจันทร ดวยเมฆหมอก ดวยเสียงจักจั่น 5


เรไร จากถอยคําทีม่ ีความหมายหนักหรือเบา ตื้นหรือลึก เปนคําตรง หรือเปรียบเทียบ จากจังหวะ จากโวหารการบรรยายและพรรณนา สัมผัสนํามาซึง่ อิฏฐารมณ และอนิฏฐารมณ ถาโกรธก็โกรธอยางแสบ รอน ถายินดีกร็ นื่ รมยซาบซาน ถาริษยาก็รมุ เราบีบรัด ถาเสียดายก็ เหมือนถูกแหวะเอาดวงใจไป ถาทุกขก็ระทมขมขื่น ถารักก็เหมือนจมลง ในหวงทะเลลึก เปนสัมผัสทีล่ ึกซึ้งและรุนแรง ถาวรรณกรรมใดไมทาํ ให เกิดสัมผัสและอารมณดงั กลาว วรรณกรรมนั้นก็จะไมจบั ใจผูอาน และ มักไมไดรบั ความยกยองเรียกวาเปนวรรณคดี การทีจ่ ะพิจารณาวา หนังสือเรื่องใดจะเปนวรรณคดีหรือไมนั้น ไมใชงานงายเลย โดยมากจะ หาคนที่เห็นพองตองกันไมคอยไดนอกจากเวลาจะลวงไปมากและ หนังสือนั้นอยูคงทน พิสูจนตัวเองวาเปนหนังสือที่คนอานไมอยากใหสูญ ไปจากความทรงจํา ประสงคจะใหคนรุน ตอๆ ไปไดรักษาไว จากทัศนะและความคิดเห็นตาง ๆ ของผูเขียนถึงความแตกตางระหวาง วรรณกรรมกับวรรณคดีพอสรุปไดวาความแตกตางนั้นมีอยู 2 ประการ คือ คุณภาพ ของงาน และกาลเวลาของการผลิตงาน ทําใหเกิดความแตกตางขึ้น นั่นก็คือ วรรณกรรม หมายถึง หนังสือที่แตงขึ้นไมวาจะเปนหนังสือดีหรือไมดี กลาวคือไมมีการ ประเมินคาหนังสือแตอยางใด สวนวรรณคดี หมายถึง งานเขียนทีม่ ีวรรณศิลป หรือ แสดงศิลปะของการแตง และการประสานองคประกอบอืน่ ๆ เขาดวยกันอยาง เหมาะสมกลมกลืน เชน ความงามของภาษา ความงามของเนื้อหาที่กลมกลืนกับ รูปแบบ ความงาม ความมีสาระ ขอคิดเห็นหรือแนวคิดที่แทรกแฝงอยูในเนื้อเรื่อง

ทําไมตองมีวรรณกรรม วรรณกรรมเปนสื่อที่มนุษยนํามาใชเพื่อสนองตอบพระประสงคของอัลลอฮฺ  การนําสื่อเขามาสูสังคมเปนหนาที่ของทุกคน อัลลอฮฺ  มิไดทรงสรางมนุษยมาอยาง ไรความหมาย ฉะนั้น มนุษยทุกคนจะตองทําหนาที่ของตนใหเหมาะกับสิ่งที่ตนไดรับ 6


วรรณกรรมเปนสื่อที่สําคัญยิ่ง สามารถถายทอดหลักการอิสลามผานกวีและบทความ ในรูปแบบตางๆ กัน เหมาะสมกับกาลเทศะ นักขียน นักพูดจะตองรูจักการปรับตัวให เขากับสังคม และควรคํานึงเสมอวาศมิลปะเพื่อสังคมนัน้ มีประโยชนมากกวาศิลปะ เพื่อศิลปะ แทจริงจากกวีนั้นมีคติพจนือยู และเราทราบกันอีกวา จากคําพูดนั้นมีทั้ง ความดีและความชั่ว การแสดงออกทางภาษาที่สละสลวยนั้นเปนสิ่งจําเปน การแสดงออกถึงความสวยงาม ของสรรพสิง่ ตางๆ ในโลกนี้เปนสิง่ ทีท่ กุ คนสามารถกระทําได แตตองเขาใจดวยวา ความสวยงามของมันนั้น หาใชวาเพราะสีสันของดอกกุหลาบในตัวของมันเอง เพราะ ความสวยงามที่ปรากฏใหเห็นในดอกกุหลาบนั้น มันจะไมจีรังยั่งยืน มันจะตองดับ สลายและสูญหายไปในที่สุด นักกวีและนักประพันธจะตองเขาใจในจุดนี้ ดังที่อัลกุรฺ อานในบทอัล-กะฮฺฟ อายะฮฺที่ 7 มีวา ﴾             ﴿ ความวา “เราไดสรางสรรพสิง่ ตางๆ บนหนาแผนดินเปนเครือ่ งประดับ ประดา เพื่อที่จะทดสอบวา ผูใ ดในหมูพ วกเขาจะทําความดีที่สุด (และ เขาใจถึงจุดหมายของพระผูอภิบาล)”

7


8


2

ก ความนํา

วรรณกรรมอาหรับมีลักษณะพิเศษในตัวของมันเอง (Martin Seymour Smith, 1973: 171) วิวัฒนาการได1เริ่มมากกว3า 1500 ป7ก3อนยุคอิสลาม ความสูงส3งของ วรรณกรรมอาหรับสร1างความประทับใจแก3นักวิจัยวรรณกรรมมากมาย แม1มันเกิดขึ้น ในบริเวณทะเลทรายที่มีแต3ความแห1งกระด1างก็ตาม (Betram Thomas, 1937, ใน Nurazmi Kuntum, 1991: 1) และเริ่มปรากฏการณJในสมัยอานารยะ อวิชชา (ก3อน อิสลามหรือสมัยญาฮิลียะฮฺ) โคแวน (Cowan, 1976 :144 อ1างใน ประวัติการศึกษาอิสลาม . อิบรอฮิม หน1า ๑๐) ได1 ใ ห1ค วามหมายของคํ า “ญาฮิ ลีย ะฮฺ ” ในพจนานุ ก รมอาหรั บ -อั งกฤษว3 า หมายถึง “Pre Islamic paganism, Pre Islamic time” (สมัยปdาเถื่อนก3อนอิสลาม สมั ยก3อนอิส ลาม) สมั ย ที่ถือว3าเปeนสมัย ญาฮิลีย ะฮฺ คือสมัย หลังจากราชวงคJซาบา เพราะเปe นสมั ยที่ชาวอาหรั บไม3มีเราะซูล ปราศจากคั มภีรJที่จะชี้นําไปยังสัจธรรมที่ เที่ยงแท1 แม1ในสมัยนี้จะมีคัมภีรJเล3มก3อนๆ เช3น คัมภีรJเตารอฮฺ คัมภีรJอินญีล เปeนต1น แต3คัมภีรJเหล3านี้ล1วนถูกบิดเบือน (อิบรอฮิม . 2556: 11) แต3พัฒนาการจริงๆ ของวรรณกรรมนี้กลั บอยู3ในสมัยอิสลาม เริ่มจากมหา คั ม ภีรJ อั ล กุ ร อานที่ นับ เปe นบ3 อ เกิด แห3 งการขั บ เคลื่ อ นการพรรณา จิ นตนาการและ สํ าบั ด สํ านวนในแวดวงมรดกทางวั ฒนธรรมแบบอาหรั บ -อิส ลาม จากดีต จวบถึ ง พัฒนาการของวรรณคดีร3วมสมัยต3างๆ ในปkจจุบัน นวนิยายร3วมสมัย วรรณกรรมที่ เขียนขึ้นเปeนภาษาอาหรับมีความเปeนมายาวนานไม3น1อยกว3า ๑๕ ศตวรรษ จากของถือ กําเนิดที่เรียกว3า อัล-มุอัลละกอต จวบจนถึงนวนิยายร3วมสมัยในปkจจุบัน การได1รับ

9


รางวัลโนเบลสาขาวรรณคดีของนะญีบ มะหฟูซ ในป7ค.ศ. 1988 ส3งผลให1วรรณคดี อาหรับมีบทบาทสําคัญในเวทีวรรณคดีโลก (อณัส อมาตยกุล) เบื้องหลังของระบบสังคมอาหรับทําให1วรรณกรรมอาหรับขยายตัวไปได1อย3าง ดี สังคมอาหรับนั้นเปeนสังคมเร3ร3อน (เบดูอิน) เปลี่ยนแปลงไปตามเผ3าพันธุJภายใต1การ นําของหัวหน1าเผ3าที่เปeนที่รู1จักในนาม “ชัยคฺ” ทุกคนต1องให1ความเคารพภักดีต3อหัวหน1า เผ3า พวกเขามักจะทําการสู1รบกับเผ3าอื่นตลอดเวลา ดังนั้นทุกคนจะต1องรักษาไว1ซึ่ง ศักดิ์ศรีอันนี้ แต3ละคนจะต1องปกปpองพวกพ1องจนชีวิตหาไม3 (Ismail Hamid : 1982 : 1-3) ทะเลทรายแต3ละแห3งมีแต3ความแห1งแล1งเปeนเหตุให1ทุกคนต1องการแหล3งน้ําและ ทุ3งหญ1า จากความต1อ งการสิ่งนี้ทําให1เผ3าอาหรั บมีการขัด แย1งแย3งชิงซึ่งกั นและกั น (Taha Hussain : 1969 : 55) ในสังคมอาหรับนั้นแม1นว3าทุกเผ3านิยมชมชอบการสู1รบ และมีความขัดแย1งกันตลอดมา แต3ชาวอาหรับก็มีลักษณะพิเศษ เช3นมีน้ําใจต3อผู1อื่น (กะร็อม) ให1เกียรติเพื่อนบ1านและแขกที่มาเยือน (อิกรอม) พร1อมทั้งมีความจําดี และ สามารถผลิตวรรณกรรมออกมาในรูปของร1อยกรอง (Poetry) และร1อยแก1ว (Prose) ที่ ดีเยี่ยม ในกลุ3มร1อยกรองนั้นมีนักกวีที่โด3งดังมากมาย เช3นเดียวกับในร1อยแก1วจะมีนัก พูด นักเขียนเรื่องสั้น เรื่องยาว สุภาษิตที่โด3งดังอีกมากมาย หุสัยนฺ (Husayn, 1990 : 309 อ1างใน อิบรอฮิม . 2556: 12) มีความคิดเห็นว3า ผู1ที่มีความรู1ในสมัยนั้นจะเปeนผู1รู1ในเรื่องกวี ซึ่งติดต3อมาแต3กําเนิด กวีนิพนธJในสมัยนั้น จะเปeนกวีเชิงสร1างสรรคJมากกว3าจะเปeนกวีเชิงวิเคราะหJเหมือนในสมัยอิสลาม การ เผยแพร3ความรู1ก็จะเปeนการเผยแพร3โดยการใช1วาจา เพราะชาวอาหรับส3วนใหญ3เปeนผู1 ที่ไม3รู1หนังสือ ดังนั้นการเรียนรู1ในสมัยนั้นจึงเปeนแบบท3องจํา หากใครไม3ท3องจําความรู1 ที่เขามีอยู3ก็จะเลือนหายไป ก3อนยุคอิสลามนั้น วรรณกรรมบอกเล3าจะได1ยินมาจากพวกหมอดู (Kahin) หรือในภาษามลายูเรียกว3า (Pawang) นักกวีเองมักอยู3ในสถานะของผู1พยากรณJประจํา เผ3า พวกเขาเหล3านี้ได1รับการยกย3อง เพราะกล3าวกันว3า สามารถปkดเปdาโรคภัยไข1เจ็บ และเรื่องราวต3างๆ ในรูปแบบบทกวี (เกาะศีดะฮฺ) และร1อยแก1ว ร1อยกรองเปeนที่นิยม

10


กั น มากที่ สุ ด และเปe น ที่ ย อมรั บ กั น มากในวรรณกรรมอาหรั บ ก3 อ นอิ ส ลาม (Ismail Hamid, 1982: 18) ความโด3 ง ดั ง ของบทกวี ร1 อ ยกรองมี บ ทบาทยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ ได1 จั ด ให1 มี “วั น แห3 ง วรรณกรรม” (Ahmad Shalaby, 1975: 70-75) การประกวดบทกวีได1จัดให1มีการ แข3งขันกันขึ้นที่ตลาด “อุกาซ” ซึ่งเปeนสถานที่ที่ไม3ห3างไกลจากเมืองมักกะฮฺมากนัก บท กวีที่ได1รับ ชัยชนะก็ จะเลือกมารวบรวมและบั นทึกลงบนผืนผ1าจากอียิปตJด1วน้ําทอง แล1วนํามาแขวนที่กะอฺบะฮฺ ซึ่งรู1จักต3อมาว3า “al-Mu’allaqat” บทกวีชุดนี้ได1ประพันธJขึ้น ในศตวรรษที่ ๖ โดยนักกวีเด3นๆ ซึ่งเปeนกวีก3อนยุคอิสลาม เช3น -

Ibnu al-Qays Tarafah Zuhair Labid ‘Amr Ibnu Kauthum ‘Antarah Al-Harith Ibnu Hillizah (Ahmad Shalaby : 1975 : 21)

ผู1 ร วบรวมและนั ก วิ จ ารณJ ว รรณคดี อ ย3 า ง อิ บ นุ กุ ตั ย บะฮฺ (ต.889) ได1 ปะติ ด ปะต3 อ ส3 ว นต3 า งๆ ที่ ต กทอดมาให1 เ ปe น บทกวี ข องเผ3 า อาหรั บ แม1 นั ก วิ จ ารณJ วรรณคดีอาหรับสมัยใหม3จะได1ตั้งคําถามมากมายถึงกระบวนวิธีของอิบนุ กุตัยบะฮฺใน การจั ด ลํ า ดั บ เกาะศี ด ะฮฺ เ หล3 า นี้ แต3 ก ารวิ จ ารณJ เ หล3 า นี้ ก็ ไ ม3 มี ผ ลอะไรต3 อ การ เปลี่ยนแปลงมาตรฐานที่บรรดานักภาษาและวรรณคดีอาหรับในสมัยกลางได1ยอมรับ บทกวีเหล3านี้ไปแล1วในฐานะแม3แบบของไวยากรณJและร1อยกรอง ในยุคก3อนอิสลามได1พบว3ามีนักกวีเอก ๑๒๑ คน (Jawad Ali : 1972 : 93) ซึ่ง คนเหล3านี้ได1รับการยกย3องและได1รับเกียรติสูงส3ง เช3นเดียวกับหัวหน1าเผ3า พวกเขา ได1รับเกียรติให1เปeนโฆษกทางการเมืองในช3วงทําสงคราม และเปeนที่ปรึกษาในยามสงบ มิหนําซ้ํายังเปeนผู1เผยแผ3ศาสนาด1วย (Hanan al-Fikry : 1953 : 65) กวีในสมัยก3อน 11


อิสลามนั้นมีทั้งชายและหญิง กวีสตรีอย3าง อัล ค็อนซาอJ ผู1ประพันธJบทกวีไว1อาลัย พี่ชายของหล3อน

สถานภาพของบทกวีอาหรับกอนอิสลาม บทกวีนับว3าเปeนวรรณกกรรมชิ้นแรกในยุคก3อนอิสลาม แหล3งที่มาของบทกวี อาหรับสามารถจะบอกได1ว3ามาจากการประพันธJที่มีลักษณะ “Rhymed Prose” หรือที่ ภาษาอาหรับเรียกว3า “ซะญะอฺ” ซึ่งปรากฏขึ้นก3อนอิสลาม มันเปeนฉันทลักษณJของ การเขียนกวีประพันธJที่มีเนื้อหาในลักษณะที่ไม3ยึดติดอยู3กับรูปแบบที่เรียกว3า Metre แต3พ วกหมอดู เ หล3านั้นจะนํ าความในใจออกมาเปe นคํ าพู ดในรู ปแบบของ กอฟ† ย ะฮฺ กล3าวคือ จังหวะการลงท1ายที่รูปแบบเฉพาะ ผู1ประพันธJบบทกวีเหล3านั้นจะยึดหลัก ความสมดุลในโครงสร1างของประโยคสั้นๆ และกะทัดรัด พร1อมด1วยจังหวะของเสียง บทร1อยแก1วอันนี้ ได1พัฒนาเข1าสู3บทโครงอันเก3าของอาหรับที่มีชื่อว3า “Rajaz” ในบท โครงทํานองนี้จะมี Metre ซึ่งต3อมาบทโครงในทํานอง “Rajaz” ได1กลายเปeนแบบฉบับ ของบทกวีอาหรับที่มี Metre เปeนหลัก (Ignace Goldziher, 1966: 8) ชาวอาหรับยุคก3อนอิสลามถือว3านักกว3านั้นหลังจากได1รับความรู1พิเศษจากมิติ ที่ ม นุ ษ ยJ ไ ม3 ส ามารถมองเห็ น พวกเขาเชื่ อ ว3 า นั ก กวี ไ ด1 รั บ อํ า นาจมาจากพวกญิ น ผู1รับผิดชอบในเสียงแห3งศิลปะโวหาร หากเขาได1รับอิทธิพลจากญินผู1ดี เขาจะสามารถ ประพันธJบทกวีที่ดีเ ลิศและสูงส3ง และหากได1รับ อิท ธิพลจากญินร1ายก็จะทํ าให1การ ประพันธJของเขาต่ําลง (‘Abd al-Mun’im Khafaji : 1949 : 227-228) ด1วยเหตุนี้นักกวี อาหรับจึงมีสถานภาพสูงส3งในสังคม สถานภาพเช3นนี้จะเห็นได1จากคํากล3าวของชาย หนุ3มผู1ที่ได1รับการปฏิเสธจากคนรักโดยถือว3าเขาไม3ได1เปeนนักกวีหรือหมอดู นอกเหนือจากการมีอํานาจทางวิญญาณแล1ว นักกวียุคก3อนอิสลามได1รับการ ยกย3องเปeนผู1คงแก3เรียน ดังนั้นพวกเขาจึงได1รับการให1คําปรึกษาหารือในเรื่องต3างๆ ที่ เกี่ยวข1องกับชีวิตประจําวัน (Ahmad Amin, 1963: 55) ความสําคัญของนักกวีในสังคม อาหรับสามารถเห็นได1จากคําพูดของอิบนุเราะชีก (Rashik) ว3า 12


“เมื่อมีนักกวีโผลขึ้นมาในครอบครัวใดของชนอาหรับ เผาอื่นก็จะมาห!อม ล!อมเขา และอวยพรให!เขาโชคดี พวกเขาก็จัดงารนฉลองขึ้น พวกผู!หญิง ของเผานั้นจะรวมวงชุมนุมกันเป+าขลุยอยางกับพิธีแตงงาน พวกผู!ชายพรร! อมเด็กๆ จะแสดงความยินดีกันและกัน เพราะนักกวีจะเป0นผู!ปกป1องเผา พวกเขาจะไมถูกตําหนิดูแคลน แตจะมีเกียรติและชื่อเสียงตลอดไป พวก เขาต!องการมีบุตรชาย มีนักกวีเอก และมีม!าตัวเมียพันธ5ดี” (Afzal Iqbal, 1967 : 43-44) บางครั้ง นั ก กวี เ อกมี ค วามยิ่ งใหญ3 ก ว3 าหั ว หน1า เผ3 า เสี ย อี ก เขาจะได1รั บ การ ปรึกษาหารือจากเผ3าเพื่อหาแหล3งหญ1าใหม3 และจะมีอิทธิพลต3อการตัดสินใจของเผ3า ในการที่จะหาแหล3งพักพิง คําพูดของเขาได1รับการยกชูไว1ที่สูง และคําพิพากษาของเขา มีผลเหมือนกฏเกณฑJของแผ3นดินด1วยประโยคสั้นๆ จากฝ7ปากของเขาจนะสามารถทํา ให1ใครต3อใครมีศักดิ์ศรีและตกต่ํา (Hanan al-Fakhry, Ibid: 63) บทกวีในยุคก3อนอิสลามทําหน1าที่เสมือนสื่อมวลชน แสดงออกความคิดเห็น ของประชาชนและมีอิทธิพลสูงส3งในด1านการพัฒนาการเมืองของเผ3า ด1วยเหตุนี้ ชาว อาหรับให1เกียรติและยกย3องนักกวี ในภาวะสงครามนักกวีสามารถยืนคียงบ3าเคียงไหล3 กับนักรบ บางครั้งชาวอาหรับนิยมชมชอบนักกวีมากกว3านักรบตัวจริงเสียอีก เพราะ ฤทธิ์เดชของคมดาบจะหายสาบสูญไปทันทีที่สงครามยุติลง แต3ผลสะท1อนของบทกวี สดุดี (Madah, Panegyric) และกล3าวเสียดสี (Hijaa, Satirical poem) จะยังคงสถิตนิจนิ รันดรJ ในยามสงคราม บทกวีเพื่อโอ1อวดคุณธรรมและคุณงามความดีก็ได1แต3งขึ้นเพื่อ ส3งเสริมและให1ขวัญกําลังใจแก3นักรบของเผ3าตน บทกวีสามารถทําลายข1าศึกและลด เกีรติและศักดิ์ศรีของผู1นําได1 ดังนั้นความแข็งแกร3งของเผ3าขึ้นอยู3กับนักกวีของเผ3านั้นๆ (‘Abd al-Mun’im Khafaji, 1973: 196-197) ชาวอาหรั บ ก3 อ นอิ ส ลามนิ ย มชมชอบวาทศิ ล ป‹ แ ละโวหารพร1 อ มทั้ ง ความ สวยงามของภาษา ตราบใดที่การประพันธJประกอบด1วยภาษาที่ไพเราะจะได1รับยกย3อง ทันที คําประพันธJที่ดีเยี่ยมจะได1นํามาอ1างและท3องจํา ในเวลาเดียวกันชาวอาหรับก็ 13


กลัวอํานาจของนักกวีเปpนอย3างมาก มีรายงานว3า ท3านอบูสุฟยานรู1สึกหวั่นวิตกเมื่อ ทราบข3าวว3า อัลอะอฺชาอJ ตัดสินใจออกเดินทางเข1าสู3นครอัลมะดีนะฮฺ เพื่อประพันธJบท กวีสดุดีท3านเราะสูล และเพื่อที่จะรับอิสลาม ท3านอบูสุฟยานจําเปeนต1องขอร1องให1 กวีเอกผู1นี้ยกเลิกการตัดสินใจ และมีการเสนอให1รางวัลอูฐ 100 ตัว หากเขายกเลิก แผนการครั้งนี้ คํ าร1อ งของเขาได1เ ปe นไปตามนั้น อั ล อะอฺ ชาอJก็ ไ ด1รับ ของกํ านั ล และ เดินทางกลับไปยังเผ3าของเขาจนเสียชีวิตที่นั่น (Jawad Ali, Ibid: 112) ท3านญาหิซ (Jahiz) ได1รายงานว3าชนอาหรับนั้นเกรงกลัวปลายลิ้นของนักกวี เปeนอย3างมาก เมื่อใดอาหรับพบนักกวีอยู3ในกลุ3มผู1ถูกกักขัง เขาจะถูกจับและตัดสิน ทันทีเพื่อจะได1ไม3สามารถพูดออกมาเปeนบทกวีได1อีกต3อไป สิ่งนี้เกิขึ้นแก3อบูยาฆูษ อิบนุ วิกอศ อัล-หะรีรียJ หลังจากที่ถูกจับกุมโดยบะนีตะมีม ในขณะที่ทําการสงครามกับเผ3า กิลาบ (Al-Jahiz, 1961: 45) ชาวอาหรับผู1ดีบางคนต1องเสียน้ําตา ร1องไห1เพราะเจอกับความแหลมคมของ นักกวี อันเนื่องมาจากบทบาทอันโด3งดังของนักกวีและการประพันธJของพวกเขาใน สังคมอาหรับ ผู1นําเผ3าต3างๆ ได1ใช1นักกวีเปpนเครื่องมือเพื่อผลประโยชนJของพวกตน แต3 ก็นั่นแหล3พ นักกวีก็ได1รับสินบนอย3างงดงาม และทําให1นักกวีเองก็ใช1ความฉลาดของ ตนสร1างเนื้อสร1างตัวได1อย3างงดงาม ด1วยเหตุนี้ นักกวีเหล3านี้มักจะอพยพเดินทางจาก สํ า นั ก ยุ ท ธการหนึ่ ง ไปยั ง อี ก ยุ ท ธการหนึ่ ง เพื่ อ หาผลประโยชนJ ด1 ว ยการกล3 า วคํ า ประพันธJ บทกวียกย3องกษัตริยJและผู1นําเผ3าต3างๆ เช3น อันชาอJ นักกวีชื่อดังผู1นี้ได1เข1า เยี่ยมคารวะกษัตรยJ Ghassan ในซีเรียและกษัตรยJ al-Munazarah ในอิรัก พร1อมทั้งได1 เข1าเยี่ยมหัวหน1าเผ3าบางคนที่เมืองเยเมนและเมืองนัจŒฺรอน เขาได1กล3าวสดุดียกย3อง ผู1นําดังกล3าวด1วยบทกวี ยังผลให1เขาได1รับรางวัลจากผู1นําอย3างมหาศาล (Jawad ‘Ali, Ibid: 93) สาเหตุ จ ากความสํ า คั ญ ของบทบาทกวี ใ นสั ง คมอาราเบี ย ก3 อ นอิ ส ลามมี มากมาย สุภาพบุรุษหลายต3อหลายคนปรารถนาที่จะเปeนกวีกับเขาบ1าง จึงมีบทกวี ออกมาสู3สายตาสังคมอีกมากหลายรส บางบทมีคุณค3าสูงส3ง (Muhammad Abu Zahrah, n.d: 63-64) 14


กวีเอกเช3น ‘Amru’al-Qays อันเปeนกวีก3อนยุคอิสลามได1ถ3ายทอด ความรู1สึกออกมาเปeนบทกวีเด3นๆ ในวรรณกรรมอาหรับ และได1ถูกคัดเลือก ให1อยู3ใน กลุ3ม Mu-allagat (Chrles James Lyall : 1885 : p.xvi.) นอกจากกวี ‘Amru’al-Qays แล1วก็ยังมีกลุ3มอื่นอีกมากมายจากกลุ3มต3างๆ ในอาราเบีย นาย Charles Lyall กล3าว ว3า: ไมมีสวนไหนของอาราเบียที่ไมมีนักกวี การแสดงออกของชายฉกรรจ ไดยินไปทั่วทิศ จากเมืองฮีรา บนริมแมน้ํายูเฟอรติส ภายใตรมเงา เปอรเซียและคอสซานในซีเรีย ภายใตวิหาร ดามัสกัส ไปถึง ซนอา และเอเดนที่หางไกลไปทางใต ทําการปกครองโดยเปอรเซีย ในนามของ ซาฮานซาฮ งานของกลุมกวีไดรับเกียรติเปนอยางดี (Chrles James Lyall: Ibid.) วิกฤตการณJสงครามที่เกิดขึ้นภายในเผ3าใหญ3และเผ3าเล็ก ก็เปeนปkจจัยหนึ่งที่ ทําให1ผลิตบทกวีก3อนอิสลามออกมา ตั้งแต3ศตวรรษที่ 5 จนถึงกลางศตวรรษที่ 7 บท กวีอาหรับได1สะท1อนออกมาให1เห็นถึงความไม3มีคุณธรรมและผสมด1วยกลิ่นอายแห3ง เผ3านิยมอย3างเห็นได1ชัด (I.M.Fislshinsky, 1966: 9-10)

รูปแบบของกวีกอนยุคอิสลาม รูปแบบส3วนใหญ3ของบทกวีก3อานยุคอิสลาม มีดังต3อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

Madh (Penegyric) ชมเชย สดุดี Fakhr (Self-glorifacation) ยกย3องตนเอง Wasf (Descriptive) พรรณนา Hija’ (Satire) ด3าเสียดสี Ritha’ (Lamentation for the Dead) รําพึงรําพันถึงผู1ตาย Nasyid บทเพลง Ghazal (Love lyric) บทเพลงรัก 15


ในช3วงยุคก3อนอิสลาม บทกวีในรูปแบบ Hija’ นั้น ได1ประพันธJขึ้นเพื่อต1องการ ทําลายข1าศึก ศั ตรู นั ก กวีจะต1อ งแสดงให1ก ลุ3มเผ3าของตนเห็ นว3าสามารถที่จะได1รับ เกียรติจากเผ3าได1 ด1วยเหตุนี้เขาจําเปeนต1องร3ายบทกวีออกมาเพื่อให1ขวัญกําลังใจให1 กลุ3มของตนออกไปทําสู1รบในสนามรบ ในเมื่อได1มีการโต1ตอบกันทางบทกวี นักกวีก็ พยายามสร1างบทประพันธJโจมตีศัตรู แสดงออกด1วยการดูหมิ่นดูแคลนโดยใช1ภาษาที่ สามารถระงับความเก3งกาจของศัตรูได1 (Jawad ‘Ali, Ibid: 93) การต3อสู1กันด1วยลิ้นของนักกวีนั้นเปeนสนามรบที่ไม3ด1อยไปกว3าสนามรบกลาง ทะเลทราย คําพูดของนักกวีก3อนอิสลาม เปรียบได1ดุจลูกศรที่ทําลายข1าศึกในสมรภูมิ ดังที่อาหรับมีความเชื่อว3านักกวีและผลงานของพวกเขาเปรียบได1เกมือนสิ่งปฏิหารยJที่ สามารถนําคําพูดของพวกเขาให1เปeนยาพาทําลายข1าศึกศัตรูอย3างไม3มีทางที่จะหลบ หลีกได1 (R.A. Nicholson, 1966: 73)

16


3 วรรณคดีอิสลาม วรรณคดีอิสลามหมายถึงอะไร ? 1. วรรณคดีอิสลาม เปนการระบายความหมายเชิงศิลปที่มีประโยชน$สําหรับ มนุ ษ ยชาติ การดํ ารงชีวิต สิ่งแวดล+อ มซึ่งสอดคล+อ งกั บ มโนทั ศน$อิส ลาม เปนสื่อ ที่ สํ าคั ญ ในการเสริมสร+างมนุ ษ ย$ ที่ดี สั งคมที่ดี และยั งเปนสื่อ ที่ สํ าคั ญ ในการเผยแผ1 อิสลาม และเกราะป2องกันบุคลิกภาพอิสลาม 2. วรรณคดีอิสลาม เปนวรรณกรรมที่อยู1ในกรอบครรลองคลองธรรม เปนการ นําพาประชาชาติ และความรับผิดชอบต1อหน+าอัลลอฮฺ นั กวรรณคดีมุส ลิมจะมี ระเบียบวินัยที่ผุดออกมาจากความรู+สึกที่ได+รับการกลั่นกรองด+วยหลักอะกีดะฮฺแห1ง อิสลาม สาส$นของเขาที่ได+ผลิตออกมาเปนส1วนหนึ่งของสาส$นอิสลามที่ยิ่งใหญ1 3. วรรณคดีอิสลามมีค วามรับ ผิด ชอบโดยตรงในการร1วมเกื้อกู ลประชาชาติ อิสลามจากวิกฤติในยุคสมัยใหม1นี้ นักวรรณคดีมุสลิมจําเปนต+องเปนผู+นําในด+านนี้ 4. วรรณคดีอิส ลาม เปนเรื่อ งสัจจริงนั บ ตั้งแต1รุ1งอรุ ณ แห1งอิส ลามได+ท อแสง ออกมา การนําเสนอของวรรณคดีอิสลามถูกนํามาจากรัศมีแห1งวะหฺยุและทางนําของ ท1านเราะสูล จนกระทั่งถึงยุคป@จจุบันเพื่อร1วมสืบสานการเผยแผ1สู1อัลลอฮฺ และ ต1อต+านศัตรูอิสลามและผู+ที่เบี่ยงเบนจากอิสลาม

17


5. วรรณคดีอิสลาม เปนวรรณคดีของกลุ1มชนอิสลามทั้งหลาย ถึงแม+มีเผ1าพันธ$ และภาษาที่แตกต1างกัน ลักษณะเด1นของวรรณคดีอิสลามเปนลักษณะร1วมกันระหว1าง วรรณคดีของกลุ1มชนอิสลามทั้งหลายในทุกยุคทุกสมัย 6. วรรณคดีอิสลามนําเสนอมโนทัศน$อิสลามสําหรับมนุษย$ ชีวิตและจักรวาล ด+ า นหลั ก การต1 า งๆ สํ า หรั บ ทฤษฎี ที่ ส มบู ร ณ$ แ บบในสาขาวรรณกรรมและและ วรรณคดีวิจารณ$ ลัก ษณะเด1นของทฤษฎีนี้มีอ ยู1ใ นผลผลิตทางวรรณกรรมอิส ลาม ตลอดมา 7. วรรณคดีอิสลามต1อต+านความพยายามทุกอย1างที่จะตัดขาดความสัมพันธ$ ระหว1างวรรณคดีในยุคก1อนกับวรรณคดีในยุคใหม1โดยอ+างความเจริญ โลกยุคใหม1 หรือการทันสมัย เปนต+น 8. วรรณคดีอิสลามต1อต+านทุกทฤษฎี สํานักความคิดทางวรรณคดีที่เบี่ยงเบน วรรณคดีอาหรับที่มดเท็จ วรรณคดีวิจารณ$ที่มีฐานอยู1บนความประจบประเจ+อ หรือ การมี ทิ ฐิส1 ว นตั ว แต1 จ ะเปนวรรณกรรมที่ เ ชิ ญ เชิ ญ สู1 ก ารวิจ ารณ$ ที่ชั ด แจ+ งและเพื่ อ ประโยชน$ในการพัฒนา และเสริมสร+างเส+นทางของวรรณคดีและทําให+รากฐานของมัน หยั่งลึกและฝ@งแน1น 9. วรรณคดี อิ ส ลาม เปนวรรณคดี ที่ ส มบู ร ณ$ ครอบคลุ ม และทั่ ว ถึ ง ความ สมบูรณ$ไม1สามารถเปนรูปธรรมนอกจากต+องสานให+เปนหนึ่งเดียวระหว1างรูปแบบและ ความหมาย 10. วรรณคดี อิ ส ลามเปM ด รั บ ทั ก ษะทางวรรณคดี ส มั ย ใหม1 และพร+ อ มที่ จ ะ นําเสนอทุกวรรณกรรมที่ไม1ขัดกับอิสลาม วรรณคดีอิสลามยังร่ํารวยด+วยกฏมารยาท ที่สูงส1ง และข+อแนะนําที่แข็งแกร1งสําหรับมนุษย$ในการดําเนินชีวิต วรรณคดีนั้นถือว1า เปนกระจกที่คอยสะท+อนถึงการใช+ชีวิตของแต1ละยุคสมัยจน จวบจนป@จจุบัน ดังนั้นประโยชน$ของวรรณคดีสามารถพอที่จะสรุปได+ดังนี้ 1. เปนเครื่องกล1อมเกลานิสัยของผู+อ1านให+อ1อนโยน ยึดมั่นอยู1ในศีลธรรมอันดี งาม 2. ให+ความรู+ทางด+านโบราณคดี ประวัติศาสตร$ และขนบธรรมเนียมต1างๆ 18


3. เกิดความรู+ในด+านการดํารงชีวิตมนุษย$ เพราะวรรณคดีเปนเรื่องของมนุษย$ กล1าวถึงความดี ความชั่ว อุดมคติ ความสมหวัง ความสําเร็จ เปนต+น 4. ส1งเสริมให+รักสวยรักงามละเอียดอ1อนและรักสันติภาพ 5. วรรณคดีเปนสัญลักษณ$แห1งความเปนอารยะของประเทศ วรรณคดีอิสลามจึงเปนวรรณคดีที่บ1งบอกถึงความสวยงามและมีความสัจจริง อยู1ในตัว มีจุดมุ1งหมายในการสร+างการตื่นตัวให+แก1สังคม มิได+มีจุดหมายในการมอม เมาสังคมผ1านการขีดเขียนหรือวรรณกรรมในรูปแบบต1างๆ กัน ความสวยงามในการขีดเขียนที่มุ1งหวังให+ผู+อ1านเกิดการตื่นตัว และปรับปรุงแนว ทางการดําเนินชีวิตให+เปนไปในครรลองที่อิสลามต+องการนั้นเรียกว1า Beauty หรือที่ รู+จักกันในภาษาอาหรับว1า อัล-ญะมาล ซึ่งความจริงอัลลอฮฺ นั้นสวยงามและ พระองค$ทรงชอบความสวยงาม1 ฉะนั้น ผู+ใดที่สามารถผลิตผลงานออกมาในรูปแบบที่ สร+างสรรค$ สร+างความตื่นตัวให+เ กิดขึ้นแก1สังคม นับว1าผู+นั้นได+ผลิตวรรณกรรมที่ดี และได+ปฏิบัติกรรมทําดีแล+ว คุณลักษณะและความโดดเด1นของวรรณกรรรมอิสลามอีกแง1หนึ่ง คือ ความมี สั จจริง หรือ ที่ภาษาอาหรั บ เรีย กว1า อั ล -หั กฺ และแท+จริงคุ ณ ลั ก ษณะทั้งสองนี้เ ปน คุ ณ ลั ก ษณะของอั ล ลอฮฺ และเมื่ อ วรรณกรมชิ้ น นั้ น ๆ ได+ ป ระกอบไปด+ ว ย คุณลักษณะทั้งสองนี้ก็จัดได+ว1าเปนวรรณกรรมที่เด1นและยอดเยี่ยม

วรรณคดีอิสลามกับวรรณคดีอาหรับ เศาะดีก บะกัรฺ อีเฏาะฮฺ (Sodiq, 2010: 25 ใน Al-Adab al-Islāmī) ได+มีความ คิดเห็นว1า วรรณคดีอาหรับเปนศัพท$เทคนิคที่บ1งชี้ถึงวรรณกรรมที่ประดิษฐ$ขึ้นด+วย ภาษาอาหรับ ไม1ว1าเนื้อ หา ทิศทางและยุค สมั ย ใดก็ตาม ส1ว นวรรณคดีอิสลามเปน ِ ِ ِ ِ ดู บทหะดีษ ( ‫ﺎس‬ َ َ‫ﺐ اﳉ‬  ‫ﻴﻞ ُِﳛ‬ ٌ ‫ن اﷲَ َﲨ‬ ‫ )إ‬เลขที่ 1626 ใน มุหัม َ ّ‫ﻖ و َﻏﻤﺲ اﻟﻨ‬ ‫ن اﻟﻜ َﱪ َﻣ ْﻦ َﺳﻔﻪَ اﳊَـ‬ ‫ إ‬،‫ﻤﺎل‬ มัด นาศิรฺ อัด-ดีน อัล-อัลบานีย . 1988 . สิลสิลัต อัล-หะดีษ อัศ-เศาะหีหะฮฺ . ริยาฎ มักตะบัต อัล-มะอาริฟ หน*า 165 1

19


ศัพท$เทคนิคที่ใช+กับวรรณกรรมที่แก+ไขประเด็นหนึ่งๆ ด+วยมโนทัศน$อิสลามอันบริสุทธิ์ ไม1ว1าจะถูกเขียนด+วยภาษาอาหรับหรือภาษาอื่นๆ ก็ตาม วรรณคดีอิสลามได+เติบโตใน อ+อมแขนของวรรณคดีอาหรับ ดังจะเห็นได+ว1า เมื่อบรรดานักวรรณคดีที่ได+รับทางนํา แห1งอิสลาม ได+นําประสบการณ$ทางวรรณกรรมของพวกเขามารับใช+อิสลาม พวกเขา ใช+บทกลอนและร+อยแก+วในการฟbcนฟูและยกระดับสังคมอิสลาม ดังนั้น วรรณคดีอิสลามไม1ขัดกับวรรณคดีอาหรับ อย1างแน1นอน และวรรณคดี อิสลามจึงมิใช1มีกรอบเฉพาะวรรณคดีอาหรับ เพราะสาเหตุ ดังต1อไปนี้ 1. ชนอาหรับไม1ใช1มุสลิมทุกคน บางคนเปนคริสเตียน บางคนเปนมุชริก บาง คนเปนผู+ปฏิเสธศรัทธาในอัลลอฮฺ เปนต+น 2. นักวรรณคดีส1วนหนึ่งจากชาว อาหรับได+ห1างไกลจากหลักการอิสลามที่ ถู ก ต+ อ ง พ ว ก เ ข า ไ ด+ เ บี่ ย ง เ บ น ใ น วรรณกรรมของพวกเขาจากเส+นทางที่ ถูกต+อง ในบางครั้งขัดกับหลักศรัทธาอีก ต1างหาก เศาะดีก อีเฏาะฮฺ (Sodiq, 2010: 25 ใน Al-Adab al-Islāmī) ได+กล1าวถึง บรรทัดฐานที่พึงประสงค$ในการวางกรอบกฏจริยธรรมของนั กวรรณคดีที่เ กี่ย วกั บ เป2าหมายหลักของเขา เป2าหมายหลักนี้อยู1ระหว1าง 2 ด+านด+วยกัน คือ 1. เป2 า หมายที่ นั บ ว1 า เปนขั้ น ต่ํ า สุ ด นั่ น คื อ เป2 า หมายนี้ ไ ม1 ส1 ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น ในสิ่ ง เลวทราม หากไม1 มี เ ป2 า หมายที่ จ ะเชิ ญ ชวนสู1 ค วาม ประเสริฐ 2. เป2าหมายที่นับว1าเปนขั้นสูงสุด กล1าวคือ รวมยอดอยู1ในการยืนยันการ ภักดีต1ออิสลาม การยกเกียรติความรับผิดชอบในภารกิจดะอฺวะฮฺ การ นําพาจิตวิญญานมนุษยชาติสู1ความเชื่อมันกับการอภัยโทษจากอัลลอฮฺ และการยกระดับมนุษย$จนสามารถข+ามความอ1อนแอและความล+มเหลว ของเขาได+ หลั งจากนั้น รณรงค$สังคมสู1การกํ าจั ดความเลวร+าย และ 20


กลับไปยังความบริสุทธิ์อันดั้งเดิมของอิสลาม และกฎจริยธรรมอิสลาม อันสูงส1ง ด+ ว ยสาเหตุ ดั ง กล1 า วนี้ เราสามารถเข+ า ใจได+ ว1 า วรรณคดี อิ ส ลามเปน วรรณคดีของทุกภาษา ทุกชนชาติไม1ว1าจะเปนอาหรับ เปอร$เซีย ตุรกี มลายู ไทย จีน ยุโรป แอฟริกา เปนต+น จากชนชาติเหล1านี้เราสามารถสัมผัสตัวอย1างจากวรรณคดี อิสลามได+ และเราก็มีนักเขียน นักกวี นักวรรณกรรมที่เปนมุสลิมมากมาย

วรรณคดีกับหลักศรัทธาของนักวรรณคดี เปนประเด็นสําคัญซึ่งมีคําถาม ผุดขึ้นมาว1า หลักศรัทธาของนักวรรณคดี กั บ วรรณกรรมของเขามี ค วามสั ม พั น ธ$ หรือไม1 หากนักวรรณคดีที่ไม1ใช1มุสลิมได+ เขี ย นวรรณกรรมหรื อ ได+ ป ระพั น ธ$ บ ท กลอน ซึ่ ง แฝงนั ย ยะในการเชิ ญ ชวนสู1 จริยธรรมอิสลามและความประเสริฐของ มนุษยชาติ วรรณกรรมประเภทนี้เปนวรรณกรรมอิสลามหรือไม1 คําตอบของประเด็นนี้ เราจําเปนต+องมีการแบ1งประเภทของนักวรรณคดีออกเปน 4 ประเภท ดังต1อไปนี้ 1. นักวรรณคดีมุสลิมที่เขียนวรรณกรรมอิสลาม ไม1เปนที่สงสัยเลยว1าวรรณกรรมประเภทนี้เปนที่ยอมรับอย1างสมบูรณ$ ในยุค ก1อนและยุคสมัยใหม1นี้ นายมุหัมมัด กามาล หัสสาน (Hasan, 1977: 3) ได+กล1าวว1า วรรณกรรมอิสลามจะต+องเปนวรรณกรรมที่เขียนโดยผู+ที่ยึดมั่นในหลักการอิสลาม ส1วน อิสมาอีล อิบรอฮิม (Ismail Ibrahim, 1977: 5) นั้น มีความเห็นว1า วรรณคดี อิสลามนั้นจะต+องเปนข+อเขียนที่ยึดเอาหลักเตาหีด (ความเปนเอกะของอัลลอฮฺ ) มาเปนหลัก 21


เรามีนักวรรณคดีประเภทนี้ที่ได+มีผลงานทางวรรณกรรมมากมาย เช1น บท กวี เรื่องสั้น เรื่องยาว นวนิยาย บทละคร บทภาพยนต$ และงานเขียนอื่นๆ 2. นักวรรณคดีมุสลิมที่เขียนวรรณกรรมไมใชรูปแบบอิสลาม วรรณกรรมที่ออกมาในรูปแบบนี้ถูกปฏิเสธและไม1เปนที่ยอมรับ ถึงแม+ว1าจะ เปนผลงานของมุสลิมก็ตาม แต1ถ+าหากว1า บางส1วนของวรรณกรรมของเขาสอดคล+อง กับหลักการอิสลาม เรารับเพียงสิ่งที่ถูกต+องเท1านั้น นายมุหัมมัด อุษมาน อัล-มุหัมมะ ดียะฮฺ (El-Muhammady, 1977: 203) ได+กล1าวว1า วรรณคดีอิสลามจะต+องเปนศิลปะ อันบริสุทธิ์ ตัวอย1างของนักวรรณคดีประเภทนี้ เช1น สัลมาน รุชดี (Salman Rushdie) ในนวนิยายที่ชื่อ อายาต ชั ยฏอนียะฮฺ- สั ญญานแห1งชัย ฏอน และนัก เขียนหญิง ชื่อ นิสรีน (Nesreen) จากประเทศบังคลาเทศ เปนต+น 3. นักวรรณคดีไมใชมุสลิมที่เขียนวรรณกรรมอิสลาม ประเภทนี้เปนประเภทที่มีความขัดแย+งกัน อุละมาอ$บางท1านมีความเห็นว1า วรรณคดีอิส ลามเปนวรรณกรรมที่มุส ลิม ได+นําเสนอออกมา อุ ล ะมาอฺ ท1านอื่นๆ มี ความเห็ นว1 า ถ+ าหากผู+ ที่ไ ม1ใ ช1 มุส ลิ มเขีย นวรรณคดีที่ ส อดคล+อ งกั บ หลั คํ า สอนของ อิสลามและเชิญชวนสู1ความประเสริฐจะเปนที่ยอมรับ สัจธรรมก็คือสัจธรรมโดยไม1 คํานึงถึงผู+พูดและผู+ที่มีงานวรรกรรมออกมา หลักฐานที่พวกเขานํามาสนับสนุน ณ ที่นี้ คือ จุดยืนของท1านเราะสูล ที่มีต1อบรรดานักกวีและคําพูดของท1านที่เกี่ยวกับบทกวี 4. นักวรรณคดีไมใชมุสลิมที่เขียนวรรณกรรมที่ไมใชรูปแบบอิสลาม ไม1เปนที่สงสัยเลยว1าวรรณกรรมประเภทนี้ไม1เปนที่ยอมรับเด็ดขาด มันไม1 ต1างเลยกับนักวรรณคดีประเภทที่ 2 ดังนั้น ผลงานทางวรรณกรรมจะรวมถึงประเภทต1างๆ มากมาย เช1น บทกวี เพลง ละครเวที เรื่องสั้น รูปวาด รูปป@cน การถ1ายภาพ หนัง เปนต+น งานวรรณกรรมที่ 22


ได+กล1าวมานี้ มุสลิมจําเปนต+องวางตัวอยู1ในกรอบจริยธรรมอิสลาม นักกวีไม1ใช+บทกวี ในทางที่ไม1ถูกต+อง ไม1ใช+เพื่อเปนสื่อในการชวนเชื่อให+หลงตามอารมณ$ใฝrต่ํา เพราะการ กล1าวบทกวีเข+าอยู1ในการพูดที่จําเปนจะต+องสํารวมตนในการพูด และไม1ใช+คําพูดเพื่อ การเยาะเย+ยและดูหมิ่นเพื่อนด+วยคําพูดที่เขาจะเสียใจและเสียความรู+สึก อัลลอฮฺ ตรัสว1า …_⁄κΤΩā Ν…ΣΤ⇓Ρ∇ΤΩ ÿ ⇐Κς… υϖΩ♥Ω∅ ζ ] ΤΩ ∈ ⇑ΨΘ∨ χ⋅π ΤΩΤ∈ ≤⌠ Ω ♥ΤΩ ÿ ‚Ω Ν…Σ⇒Ω∨…ƒ∫ ⇑ Ω ÿΨϒς√Π ≅… †ΩΣΤΘ ÿΚς†;ΤΗ ΤΩΤÿ﴿ (١١ :‫)اﳊﺠﺮات‬

﴾ ∃ ⇑ΘΩ Σ⇒ΤΘΨ∨ …_⁄κΤΩā ⇑ΘΩ Ρ∇ΤΩ ÿ ⇐Κς… υϖΩ♥Ω∅ ]∫:†ΤΩ♥ΨΠ⇓ ⇑ΨΘ∨ χ∫:†ΤΩ♥Ψ⇓ ‚Ω Ω ¬ΣΤ⇒ΘΨ∨

ความวา โอศรัทธาชนทั้งหลาย ชนกลุมหนึ่งอยาไดเยาะเยยชนอีกกลุม หนึ่ง บางทีชนกลุมที่ถูกเยาะเยยนั้นจะดีกวาชนกลุมที่เยาะเยย และสตรี กลุมหนึ่งอยาไดเยาะเยยสตรีอีกกลุมหนึ่ง บางทีกลุมสตรีที่ถูกเยาะเยยจะ ดีกวากลุมที่เยาะเยย ท,านเราะสูล ได*กล,าวว,า

.((‫اﳌﺴﻠﻢ َﻣ ْﻦ َﺳﻠِ َﻢ اﳌﺴﻠﻤﻮن ِﻣ ْﻦ ﻟﺴﺎﻧِ​ِﻪ وﻳَ ِﺪﻩ‬ ُ ))

ความว1า มุสลิม คือ ผู+ที่คนอื่นปลอดภัยจากลิ้นและมือของเขา วรรณคดีอิสลามครอบคลุมถึงงานทางวรรณกรรมและศิลปะที่สอดคล+อง กับ จริย ธรรม หลั กการศรั ทธาและหลั ก การปฏิบั ติข องอิส ลามที่ถู ก ต+อ ง วรรณคดี อิสลามเปนส1วนหนึ่งของรากฐานแห1งอิสลาม เปนสื่อหลักในการดําเนินภารกิจดะอฺ วะฮฺที่สามารถต1อต+านสื่อต1างๆ ของแนวความคิดที่เบี่ยงเบนทั้งหลาย นับได+ว1ามันเปน อาวุ ธ สมั ยใหม1ใ นสงครามทางด+านทั ก ษะศิล ป และข1าวสารต1างๆ วรรณคดีอิส ลาม นับว1าเปนแนวทางหนึ่งเดียวที่รองรับความหมายที่เต็มเปstยมด+วยหลักอะกีดะฮฺซึ่งซึม ซาบในชีวิตและวิญญานของเรา และเราก็พร+อมที่จะดําเนินชีวิตต1อไปบนเส+นทางแห1ง หลักศรัทธาสายนี้ อัลลอฮฺได+ตรัสว1า †ΩΣΤ∏π″ςΚ… ◊] Ω‰ΤΤΘΞ∼ς≡ ω〈≤Ω Τφ Τ•Ω↑ς ◊⊥ Ω‰ΤΤΘΞ∼ς≡ ◊⊥ Ω∧Ψ∏Ω{ „Ω‘Ω∨ Σ/ ϑð ≅… ‡ ð ≤Ω Ω∂ ∪ ð ∼ð ≤Ω ΤΩ ⌠¬ς√Κς…

﴿

%†ΩΤΘΞ ŠΩ⁄ Ξ⇐<′ΞΜ†ΤΤΨŠ >Ψ ⇐κΨš ΘΩΡ †Ως∏Σ{ΚΡ… ϖΤΨ ΣΤ (24) Ψ∫:†Ω∧ϑð♥√≅… ℑ †ΩΣ∅≤⌠ ς⊇Ω Œ τ ΨŠ†ΩΤ’

23


◊] Ω∧Ψ∏Ω{ 〉Ω‘Ω∨Ω (25) φΣ≤ς{ Π ΩϒΩ ΤΩ ÿ ψΣς∏Π Ω⊕ς√ ♣ Ξ †Πς⇒∏Ψ√ Ω†ΩΤ‘∨ςΚ‚≅… Σ/ ϑð ≅… ‡ 〉 ≤Ξ π∝ΤΩ ÿΩ

﴾ (26) ⁄ξ …Ω≤ΤΩ ∈ ⇑Ψ∨ †φΤΤΤΤς√ †Ω∨ ≥ Ξ ⁄Κς‚≅… ⊄ Ψ ⌠ ΤΩ ⊇ ⇑Ψ∨ Œ π ς‘Π ΣΤ πΤ–≅… ◊] Ω‘∼Ψ‰Ωā ]〈≤Ω Τφ Τ•Ω↑ς ◊ξ Ω‘∼Ψ‰Ωā

٢٦-٢٤ :‫ﺳﻮرة إﺑﺮاﻫﻴﻢ‬

ความวา เจามิ เ ห็ น ดอกหรื อ วา อั ล ลอฮฺ ทรงยกอุ ทาหรณ, ไ ววา อุ ป มา คําพูดที่ดีดั่งตนไมที่ดี รากของมันฝ2งแนนลึกมั่นคง และกิ่งกานของมันชู ขึ้ น ไปในทองฟ5 า ผลของมั น จะออกมาทุ ก กาลเวลา โดยอนุ มั ติ ข องผู อภิบาล และอัล ลอฮฺทรงยกอุทาหรณ,แกปวงมนุษย, เพื่ อพวกเขาจะได รําลึก (แลวพวกเขาจะศรัทธา) และอุปมาคําพูดที่เลว ดั่งตนไมที่อับเฉา ถูกถอนรากออกจากพื้นดิน มันไมมีความมั่นคงเลย คํ า พู ด ที่ ดี คื อ คํ า กล1 า ว “ลาอิ ล าฮะอิ ล ลั ล ลอฮฺ , ไม1 มี พ ระเจ+ า อื่ น ใด นอก จากอัลลอฮฺ” และต+นไม+ที่ดีคือ มุอฺมิน อัลลอฮฺ ทรงเปรียบเทียบคําพูดแห1งการศรัทธาว1า เสมือนหนึ่งต+นไม+ที่ดี และ คําพูดแห1งการศรัทธาจะมั่นคงอยู1ในหัวใจของมุอฺมิน การงานของเขาจะขึ้นสู1ชั้นฟ2า และจะได+รับความสิริมงคล และได+รับการตอบแทนทุกกาลเวลา ส1วนคําพูดแห1งการ ตั้งภาคีเสมือนหนึ่งต+นไม+ที่อับเฉา ไม1มีความมั่นคง ไม1มีกิ่งก+านและไม1เปนสิริมงคลเลย นายยูสุฟ ซากี ยะอฺกูบ (Yusof Zaky Yaacob: 1974) ได+อธิบายไว+ว1า วรรณคดี อิส ลามนั้น คือ วรรณกรรมที่มีป@ จจั ย ทางการเผยแผ1ทางนํ าอันถูก ต+อ งของอิสลาม ส1วนนายชะฮฺนูน อะหฺมัด (Shahnon Ahmad, 1977: 427) กล1าวว1า วรรณกรรมคืองานที่ เขียนขึ้นตามแนวทางของพระองค$อัลลอฮฺ เพื่อความดีงามของมนุษยชาติ ฉะนั้น ในจุดนี้ พอจะสรุปได+ว1า วรรณคดีอิสลาม คือ การขีดเขียนที่สามารถ นํามาซึ่งความเข+าใจอันถูกต+องแก1สังคม ซึ่งสังคมสามารถเข+าใจหลักการอิสลามได+ อย1างชัดเจน เพราะเปนคําสอนที่ปูอยู1บนพื้นฐานแห1งความเปนเอกะของอัลลอฮฺ ด+วยการใช+ภาษาที่ไม1ไพเราะ ไม1แอบแฝงไปด+วยสิ่งที่มอมเมา และทุกอย1างได+ทําขึ้น เพื่อพระองค$อัลลอฮฺ องค$เดียวเท1านั้น 24


กรอบของวรรณคดีอิสลาม วรรณคดี อิ ส ลามประกอบด+ ว ยงานวรรณกรรมที่ ก ว+ า งขวาง ประเภทของ วรรณคดีมีทุกรูปแบบ ทั้งหมดล+วนมีอิทธิพลในป@จเจกบุคคลและกลุ1มชนต1างๆ ไม1ว1า พวกเขาจะอยู1ในสถานะไหนหรือมีหลักเชื่อมั่นชนิดไหน นักวรรณคดีมุสลิมมีบทบาท อะไรบ+าง โดยเฉพาะผู+ที่ทําหน+าที่เผยแผ1สาส$นอิสลามในยุคแห1งการรวมองค$ความรู+ ยุ ค ที่ทํ าให+สิ่งต1างๆ ที่อ ยู1ไ กลสามารถกระชั บ ให+ชิดใกล+ไ ด+ การที่จะทํ าให+ว รรณคดี อิสลามได+แสดงบทบาทในเชิงบวกอย1างเต็มที่ จําเปนอย1างยิ่งที่จะต+องอาศัยป@จจัยที่ สําคัญต1างๆ เพื่อที่สามารถบรรลุวัตถุประสงค$ที่หวังไว+ บางส1วนจากป@จจัยดังกล1าว คือ 1. การปฏิบัติอยางเครงครัดใหสอดคลองกับหลักการศาสนา

ป@จจัยของการเคร1งครัดในหลักการศาสนานี้ นับเปนป@จจัยที่สําคัญและแกร1ง มาก วรรณคดีอิสลามควรมีลัก ษณะเฉกเช1นนี้ และไม1อ อกจากกรอบอิส ลามโดยมี ข+อ อ+างของความอิส ระ เพราะว1า อิส ลามได+ท อดทางแห1งการดํ ารงชี วิตและได+ว าง หลักสูตรการเดินทางบนเส+นทางนี้แล+ว ซึ่งมุสลิมไม1ควรที่จะเดินออกห1างจากเส+นทางนี้ ไม1ว1าเขาจะอยู1 ณ แห1งหนใด อยู1ในสภาพไหนก็ตามที โดยเฉพาะผู+ที่นําสาส$นอิสลาม ต+องยืนหยัดบนจุดยืนที่แข็งแกร1งต1อหน+าประเด็นต1างๆ ของหลักอะกีดะฮฺ ในเรื่องนี้ มุสลิมควรตระเตรียมเสบียงที่เพรียบพร+อมในกลักคําสอนของศาสนา การเผยแพร1 ผลงานของเขาต+องมีความเชื่อมโยงที่แน1นแฟ2นกับสิ่งที่อิสลามได+ส1งเสริมเอาไว+ เช1น ใน เรื่องสัจธรรม ความยุติธรรม ความเสมอภาค การต1อต+านทรราช เปนต+น ดั งนั้ น นั ก วรรณคดีอิ ส ลามเปนผู+ที่ ไ ด+ รับ ความไว+ว างใจในแนวความคิด ของ ประชาชาติรวมถึงความรู+สึกทั้งหลายของพวกเขา ความไว+วางใจนี้จะไม1สามารถมีขึ้น ถ+าปราศจากมโนทัศน$ในด+านหลักศรัทธาที่ถูกต+อง และองค$ความรู+ที่เพียงพอ และนัก วรรณคดีอิสลามเปนผู+ที่ยึดมั่นกับหลักการอิสลาม จริยธรรมและคุณธรรม พวกเขา ต1างปฏิบัติอย1างเคร1งครัดในผลงานด+วยหลักการและเปนแบบอย1างที่ดีงาม

25


2. คุณลักษณะที่เปนอิสลาม

ป@ จ จั ย นี้ มี ค วามสั ม พั น ธ$ แ ละเปนสิ่ ง เติ ม เต็ ม ให+ กั บ ป@ จ จั ย แรก วรรณคดี นี้ จําเปนต+องมีคุณลักษณะที่ชัดเจน ไม1แยกตัวออกจากหลักการและหลักอะกีดะฮฺ และ ต+องเปนเสียงให+กับสภาพข+อเท็จจริงของหลักอะกีดะฮฺน้ี นั่นคือ ควรมีลักษณะที่เปน อิสลามซึ่งออกมาในรูปผลงานเชิงอารยธรรมใหม1 ไม1ว1าจะเปนบทความ งานวิจัย ร+อย แก+ว ร+อยกรอง และทุกสิ่งที่ปากกาสามารถเขียนได+ 3. พรรณนาถึงสภาพปจจุบันของประชาชาติอิสลาม

หน+าที่รับผิดชอบที่สําคัญซึ่งนักวรรณคดีมุสลิมต+องแบกรับ คือ การสาธยายถึง สภาพความเปนอยู1ของประชาชาติอิสลาม ความโศกเศร+าที่พวกเขากําลังประสบอยู1 และสาเหตุของความทุกข$และความเศร+าหมอง เขาควรชี้แจงสิ่งต1างๆ เหล1านี้เพื่อการ เยียวยาและป2องกันต1อไป

วรรณกรรมทางเลือก เมื่ อ ศาสนาอิ ส ลามปรากฏขึ้ น ใน คาบสมุทรอาหรับ การชิงดีชิงเด1นกันในเรื่อง เผ1าพันธุ$ยุติลง การยกชูเผ1าตนก็ไม1ได+รับการส1งเสริมเพราะขัดกับอุดมการณ$อิสลาม อิสลามไม1ส1งเสริมการเข+าข+างพวกตนอย1างไร+เหตุผล แต1ส1งเสริมระบบการเปนพี่น+อง ด+วยเหตุนี้บทประพันธ$ในรูปแบบร+อยกรองและร+อยแก+วที่แพร1หลายจนถึงสมัยอิสลาม มีเรื่องราวที่อิสลามส1งเสริมเท1านั้น อิส ลามได+นําความเปลี่ยนแปลงมาสู1สั งคมอาหรับ และวรรณกรรมอาหรั บ อย1างมาก การกราบไหว+บูชาของชาวอาหรับต1อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ ก็ค1อยๆ หายจากไป คาถาอาคมของพวกหมอดู ก็ ไ ด+เ ลิ ก ไป อย1 างน+ อ ยอิ ส ลามได+ นํา ความ เปลี่ยนแปลงมาสู1วงการวรรณกรรมถึง ๗ อย1าง ดังคํากล1าวของนายนะญีบ มุหัมมัด อัล-บะฮีตีย$ (Najib Muhammad al-Bahity, 1963: 47-49) ดังต1อไปนี้ 26


1. วรรณกรรมได+เน+นการท+าทายแล+วให+ใช+ความคิดอย1างรอบคอบและด+วย 2. 3. 4. 5. 6. 7.

จิตสํานึก มีความผูกพันกันอย1างแน1นแฟ2นระหว1างความจริงกับการจินตนาการ ให+ความสนใจต1อป@ญหาสังคม แต1ต1อต+านการยึดพรรคพวกเปนหลัก ใช+ภาษาที่เหมาะสมเพื่อจะได+นํามาซึ่งความชัดเจน เปนวรรณกรรมมาเผยแพร1ใ นรู ป เปรีย บเทีย บ ม1ใ ช1นํามาในรู ป คํ าพู ด ที่ หยาบคาย มีการเขียนที่กะทัดรัด เหมาะสม อิสลามส1งเสริมให+เขียนยาว แต1ควรมี น้ําหนักและเหมาะสม คุณค1าของผลงานมีความเหมาะสมกับทุกยุคทุกสมัย ด+วยเหตุนี้ อิสลาม เรีย กร+อ งให+อยู1ร1ว มกั น สนั บสนุ นซึ่งกั นและกั น ไม1แตกแยก และไม1ถือ พรรคถือพวก

อัลกุรฺอานได+ถูกประทานลงมาสู1มวลมนุษย$ได+ท+าทายความโด1งดังของบทกวี อาหรับสมัยญาฮิลียะฮฺ อัลกุรฺอานประกอบด+วยคุณค1าแห1งวรรณกรรมที่สูงส1ง ศึ่งทํา ให+นักกวีอาหรับพากันตกตะลึงและงงงันกันไปหมด เพราะไม1สามารถท+าทายโองการ ต1างๆ ที่ปรากฏอยู1ในอัลกุรฺอานได+ มีผลทําให+นักวีอาหรับต+องยอมสยบตนแสดงถึง ความอ1อนแอของมนุษย$ บทกวีญาฮิลียะฮ$เหล1านี้เผชิญกับความจํากัดในการเปนมาตรฐานหลักทาง ภาษาและไวยากรณ$ ใ ห+ แก1 ภาษาอาหรั บ ที่ ภายหลั ง กลั บ มานิ ย มงานร+ อ ยแก+ ว มหา คัมภีร$อัลกุรอานได+มีโอกาสร1วมสมัยกับกระแสวรรณคดีอาหรับก1อนสมัยอิสลาม มี พลังการพรรณนาที่ไพเราะและการสร+างจินตนาการที่งดงามรวมทั้งการสร+างศรัทธา ทางศาสนาที่แรงกล+า และเปนปรากฏการณ$ทางวรรณคดีที่มิได+ร+อยกรองอย1างบท กวีญาฮิลียะฮ$เหล1านั้นทําให+พระคัมภีร$อัลกุรอานในฐานะวะหฺยุ (วิวรณ$) ที่ล+วนเปนคํา ดํารัสของอัลลอฮ$แก1มนุษยชาติผ1านทางท1านนบี มุฮัมมัด จึงเปนบรรทัดฐานทาง วรรณคดีที่สมบูรณ$แบบแก1วรรณคดีร+อยแก+วที่เติบโตและพัฒนาไปกับประวัติศาสตร$ อันยิ่งใหญ1ของอาณาจักรอาหรับและอิสลาม พร+อมๆ กับการเปนทางนําที่สมบูรณ$ 27


แบบของชีวิต คํ าดํารัส ของอัล ลอฮ$ ปรากฏแก1ผู+สดั บในรูป แบบที่ไ ม1ธ รรมดาทั้ง ลัก ษณะการพรรณนาที่ทั้งเนื้อหา ความลุ1มลึก หรือ การบอกเล1าเรื่อ งราวของอดีต ป@ จ จุ บั น และอนาคตที่ ผ1 า นการท+ า ทายมานั บ ครั้ ง ไม1 ถ+ ว นจนเปนที่ ป ระจั ก ษ$ ใ นขั้ น ที่ กลายเปนความมหัศจรรย$ของพระคัมภีร$อัลกุรอาน (อิอฺญาซ) ทําให+สํานวนและโวหาร ของพระคัมภีร$อัลกุรอานได+กลายเปนมาตรฐานและบรรทัดฐานหลักของนักภาษาและ ไวยากรณ$อาหรับ การขยายอาณาจักรอิสลามออกไปในคริสต$ศตวรรษที่ 7 และ 8 ได+ก1อกําเนิด จัก รวรรดิที่ป ระกอบด+วยผู+คนหลายชาติหลายภาษาจากเสปนจนถึงอั ฟ กานิสถาน สังคมนานาชาติเหล1านี้ได+เปนแหล1งหลอมรวมวัฒนธรรมของแต1ละพื้นที่ที่อาณาจักร อิสลามเข+าครอบครอง ซึ่งรวมถึงอรรถรสทางวรรณคดีไว+ไ ม1ว1าจะเปนของภู มิภาค ทะเลเมดิเตอเรเนียนหรือของยุโรปสมัยกลาง กระดาษที่ผลิตในจีนส1วนใหญ1 ส1งออก มาในโลกมุสลิมได+ส1งผลให+งานวรรณคดีเฟbtองฟูขึ้นเปนอย1างมาก และก1อให+เกิดการ แลกเปลี่ยนทางความคิดไปทั่วอาณาจักร นักวิชาการและนักเขียนมุสลิมผลิตชิ้นงาน ของพวกเขาจากตะวันตกสุดในบริเวณที่ป@จจุบันเปนประเทศโปรตุเกส ผ1านดินแดนริม ฝ@tงทะเลแดงไปสิ้นสุดในแทบเทือกเขาฮินดูกูษ มรดกทางวรรณคดีอาหรับในแบบของร+อยแก+วที่ตกทอดมาถึงเราจากสมัย คลาสิกรวมเรียกเปน อดับ แต1จะเรียกว1าเปนร+อยแก+วล+วนก็อาจไม1ถูกต+องนัก แต1ก็ ไม1ใช1ร+อยกรอง ในบรรดาชิ้นงาน อดับเหล1านี้ได+แก1 อัลกุรอาน อัลหะดีษซึ่งรวบรวม แบบฉบับของท1านนบี ไว+ทั้งคําตรัส การกระทําและการยอมรับ การกระทําของ บรรดาเศาะหาบะฮฺ (สหาย) ของท1าน นักเขียนที่ได+รับการยกย1องว1าเปนเพชรน้ําเอกขอ งอดับก็คือ อัลญาหิซแห1งศตวรรษที่ 19 หนังสือที่มีชื่อเสียงของเขาคือ กิตาบ อัล-บุ เคาะลาอ$ (หนังสือว1าด+วยคนตระหนี่ถี่เหนี่ยว) ได+รับการอ1านอย1างกว+างขวางอยู1หลาย ร+อยปs ป@จจุ บันยังเปนเรื่องราวตัดทอนมาลงในหนังสืออ1านสําหรับเด็กทั่ วไปในโลก อาหรับ ตัวละครในหนังสือนี้มีตั้งแต1กษัตริย$ ชนชั้นปกครอง บรรดากอฎีย$ (ผู+พิพากษา ตามหลักนิติศาสตร$อิสลาม) พวกโลภมากหรือแม+แต1คู1สงคราม

28


เกร็ด ทางวรรณคดีใ นสมั ยกลางเหล1านี้ยั งมีผลงานวรรณคดีที่ใ กล+เ คียงกั น อย1างอัล-มะกอมาต และ อาหรับราตรี หรือ พันหนึ่งทิวาราตรี ชิ้นงานอย1าง อัลมะกอ มาต เกิดจากเค+าโครงวรรณคดีท+องถิ่นต1างๆ ที่บะดีอุซซะมาน อัลฮัมดานีย$ (ต.1008) นํามาประพันธ$ขึ้นใหม1 มะกอมาตของบะดีอุซซะมาน มีอัตลักษณ$ด+วยการเปนร+อยแก+ว ที่มีท1วงทํานองคล+องจอง ขณะที่ อัลหะรีรีย$ (ต.1122) มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเขียนอัล มะกอมาตที่มีสํานวนโวหารโดดเด1นกว1านักเขียนมะกอมาตคนก1อนๆ มะกอมาตของ อัล หะรีรีย$ ได+ก ลายเปนแม1แบบแก1นัก เขีย นในศตวรรษที่ 19 ที่ต+องการฟbcนฟู งาน วรรณคดีอาหรับ “พันหนึ่งทิวาราตรี” เปนงานที่นําวรรณคดีหลากหลายมาปะติดปะต1อกันโดย ใช+เวลานานนับศตวรรษ พันหนึ่งทิวาราตรี เปนงานคลาสสิกทั้งในโลกอาหรับเท1าๆ กับ ที่ไ ด+รับ การยอมรั บ ในโลกตะวั นตกเช1นกั น เวทมนต$ เรื่อ งบนเตีย ง พรมวิเ ศษ ฯลฯ นับเปนส1วนหนึ่งของเนื้อหาที่คนนึกถึงวรรณคดีเรื่องนี้ ชะฮฺเราะซาด และ ดุนยาซาด น+องสาวของนาง ขณะที่ชะฮฺริยาดและน+องชาย ทั้งสองคู1มีชีวิตโลดแล1นอยู1เพื่อเล1าขาน เรื่องราวของพันหนึ่งทิวาราตรี วรรณคดีชิ้นนี้ยังส1งผลให+บุคลิกภาพของชะฮฺเราะซาด เปนตัวแทนแห1งศักดิ์ศรีของสตรีทั้งในเวทีของวรรณคดีคลาสสิกและวรรณคดีอาหรับ สมัยใหม1 วรรณคดี เ ฟbt อ งฟู อ ย1 า งเท1 า เที ย มกั น ทั้ ง ในตะวั น ตกของโลกอิ ส ลามและ ตะวันออก แม+อัล-มะกอมาตจะมีกําเนิดในทางตะวันออกของโลกอาหรับ-อิสลามแต1 กลับมีงานอัล-มะกอมาตไปปรากฏในทางตะวันตกที่สเปนอิสลาม อัล-มุวัชชะฮาต เปนงานวรรณคดีแบบลูกผสมในทางตะวันตกชนิดใหม1ที่ก1อเกิดจากการผสมผสาน ระหว1างร+อยกรองอาหรับและบทกวีท+องถิ่นของยุโรป และสามารถนําไปปรับใช+เปน เนื้อเพลงที่เรายังสามารถได+ยินขับขานอยู1ในเพลงอาหรับทุกวันนี้ อิบนุหัซมฺ (ต.1064) ได+นําเสนอทิศทางใหม1ของงานร+อยแก+วแบบโรแมนติกในงานเรื่อง เฏากฺ อัล-หัมมา มะฮฺ (สร+อยคอนกพิราบ) เปนอีกหนึ่งพัฒนาการของงานกวีที่ได+รับอิทธิพลจากแว1น แคว+นใกล+เคียงกับคอร$โดบา (กุรฏ•บะฮฺ) ที่อิบนุหัซมฺ นํามาใช+พรรณนาชีวิตรักในราช สํานักสเปน-อิสลาม 29


งานวรรณคดีในแนวของศูฟsย$เริ่มมีพัฒนาการปรากฏเค+าให+ได+ยินมาตั้งแต1ยุค ต+นๆ ของอิสลาม โดยปกติมักมาจากป@จเจกบุคคลที่ให+ความสําคัญกับการขัดเกลา และเข+าถึงหลักธรรมโดยอาจมองข+ามบริบททางชะรีอะฮฺ ไป ประเภทของวรรณคดี ศูฟsย$ที่แตกต1างอาจเปนผลงานของนักปรัชญาและแพทย$ชาวสเปนอย1าง อิบนุ ฏ•ฟ@ยลฺ (ต.1185-1186) ที่ประพันธ$นิทานเปรียบเปรยที่ยิ่งใหญ1ในชื่อ หัยยฺ อิบนุยักซฺอน เปนงาน ที่สะท+อนความสัมพันธ$ทางวรรณคดีอาหรับ-อิสลามและปรัชญา เปนงานชิ้นเอกที่ สะท+อ นอรรถรสทางวรรณคดี เพศของนามและสรรพนามทางไวยากรณ$ ไปจนถึง สาระทางปรัชญาแพร1หลายอยู1จากสมัยกลางมาจนถึงป@จจุบัน ปรากฏอยู1ในวรรณคดี สําหรับเด็กๆ จากอียิปต$ไปจนถึงตูนิเซีย การบูรณาการระหว1างปรัชญากับชะรีอะฮฺ (นิติศาสตร$อิสลาม) ที่เหมาะเจาะ เกิดขึ้นโดยนักคิดผู+ยิ่งใหญ1 อบู หามิด อัลเฆาะซาลีย$ (ต.1111) หนังสืออัตชีวประวัติของ ท1 า นในชื่ อ อั ล -มุ น กิ ซ มิ น อั ฎ -เฎาะลาล พรรณนาถึ ง การแสวงหาสั จ ธรรมจาก แนวทางหนึ่งไปสู1อีกแนวทางหนึ่งของท1าน มีลักษณะคล+ายงานของนักบุญออกุสตีนที่ อธิบายป@ญหาทางศาสนา งานอัตชีวประวัติอีกชิ้นเกิดขึ้นก1อนสมัยใหม1โดยมุญาฮิดีน นักเขียนชาวซีเรียในศตวรรษที่ 12 อุสามะฮฺ อิบนุ มุนกิซ เขียนขึ้นในช1วงสงครามครูเสด เพื่อพรรณนาข+อสังเกตของเขาที่มีต1อนักรบครูเสดคู1สงครามในหนังสือ กิตาบ อัล-อิอฺ ติ บ ารฺ นั้ น ป@ จ จุ บั น กลายเปนงานคลาสสิ ก อี ก เช1 น กั น ทั้ ง ยั ง มี อิ ท ธิ พ ลต1 อ นั ก เขี ย น ปาเลสไตน$ส มั ย ใหม1อ ย1าง อีมีล หะบีบีย ที่ไ ม1ข วยเขินที่จะประพั นธ$งานที่ล+อไปกั บ วรรณคดีที่มีอายุนานหลายร+อยปsเช1นนี้ นักเขียนอัตชีวประวัติในสมัยกลางจะมีความสัมพันธ$อย1างใกล+ชิดกับงานเขียน ประวัติชีวิต และงานประเภทนี้ก็เชื่อมโยงอย1างแนบแน1นกับศาสตร$ของวิชาหะดีษ หรือ การเล1าประวั ติก ารสืบ สายตระกู ล ของเผ1าอาหรั บ ต1างๆ และประเพณีการเล1าขาน ตํานานบทกวี ส1วนการเรียบเรียงความเปนมาก็จะใช+แนวคิดเรื่องการจัดลําดับชั้นของ คนจากรุ1นหนึ่งไปสู1อีกรุ1นหนึ่งหรือ “เฏาะบะกอต” ความเชี่ยวชาญในงานวรรณคดี ประเภทชีวประวัติยังคงพัฒนาต1อไปจนบรรลุถึงยุคทองในสมัยมัมลูก (ค.ศ.1250-1500) ซึ่งรวมถึงงานที่ผลิตโดยผู+พิการทางสายตา 30


มีข+อสังเกตประการหนึ่งก็คือหากใครได+อ1านงานอัตชีวประวัติของอุสามะฮฺที่ เขาพูดถึงการสนทนากับนักรบครูเสดแล+วก็จะเห็นว1าวรรณคดีอาหรับมีผลผลิตส1วน หนึ่งมาจากพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาค ยิ่งในสมัยใหม1ด+วยแล+วก็จะ ยิ่งเห็นได+อย1างชัดเจน ศตวรรษที่ 19 และ 20 เปนช1วงเวลาที่ตะวันตกมีอิทธิพลต1อ วรรณคดี แ ละวั ฒ นธรรมยิ่ ง กว1 า การเมื อ งก็ ว1 า ได+ ลั ก ษณะและรู ป แบบใหม1 ๆ ทาง วรรณคดี รวมถึงนวนิยายและเรื่องสั้นมาพร+อมกับจักรวรรดินิยมตะวันตก ร+อยกรอง และบทกวีซึ่งอยู1เคียงคู1กับวัฒนธรรมทางวรรณคดีในโลกอาหรับมาตลอดได+รับการ ส1งเสริมและเผยแพร1ออกไปในลักษณะที่แตกต1างไปจากร+อยแก+ว ในส1วนของนวนิยายนั้นอาจถือได+ว1า “ซัยนับ” เปนนวนิยายอาหรับเรื่องแรก เขียนขึ้นโดย มุหัมมัด หุสัยนฺ ฮัยกัล นักเขียนชาวอียิปต$ ได+รับการตีพิมพ$ในปsค.ศ. 1913 ช1วงเวลาดังกล1าวนี้ถือเปนจุดสมบูรณ$สุดสุดของพัฒนาการของวรรณคดีอาหรับที่เริ่ม มาจากศตวรรษที่ 19 และนับเปนส1วนหนึ่งของการเปMดเวทีให+แก1วรรณคดีอาหรับใน โลกสมัยใหม1 นอกจากนั้นยังมีชื่อของนักเขียนซีเรียอย1าง นะศีฟ อัลยาซิญีย$ (ต.1871) ผู+เขียนมะกอมาตสมั ยใหม1บ นบรรทั ดฐานของนัก เขียนสมัยกลาง หรือหากใครได+มี โอกาสเดินท1องตามถนนในกรุงไคโรและหยิบวารสารอย1างอัลฮิลาลขึ้นมาดูก็อาจนึกไม1 ถึงว1าวารสารดังกล1าวนี้มีอายุยืนยาวมาจากช1วงเวลาของขบวนการฟbcนฟู วรรณคดี อาหรับและเปนผลงานของผู+ก1อตั้งที่มีชื่อเสียงอย1าง •ุรญี ซัยดาน (ต.1914) ป@ญญาชน แห1งศตวรรษที่ 19 ยังมีอีกหลายคนเช1น ริฟาอะฮฺ รอฟsอฺ อัลเกาะฮฺฏอวีย$ (ต.1873) ผู+มี โอกาสเดินทางไปเยือนยุโรปในฐานะอาจาย$ที่ปรึกษาของบรรดานักเรียนทุนอียิปต$ใน ฝรั่ งเศสและเขีย นสิ่งต1างๆ ที่เ ขาได+เ ห็ นไว+เ ปนภาษาอาหรั บ ยั งมีงานร+อ ยแก+ว แบบ คลาสสิกใหม1ในช1วงต+นๆ ของศตวรรษที่ 20 ให+เห็นอีกเช1นงานเขียนของ อะหฺมัด เชาว$ กีย$ (ต.1932) และหาฟMซ อิบรอฮีม (ต.1932) แม+งานเขียนของทั้งสองยังคงยึดแบบของ มะกอมาตอยู1 แ ต1 นั บ เปนงานชิ้ น เอกและเริ่ ม มี ก ารวิ จ ารณ$ สั ง คมปรากฏให+ เ ห็ น นอกจากนั้นทั้งสองยังมีชื่อเสียงในการประพันธ$บทกวีอีกด+วย ในช1วงต+นศตวรรษที่ 20 วรรณคดีคลาสสิกใหม1ของอาหรับเริ่มไม1เห็นบทกวี แบบคลาสสิกหรือ เกาะศีดะฮฺอีกยกเว+นในกลุ1มกวีหัวโบราณกลุ1มเล็กๆ บทกวีต1างๆ 31


กลายเปนบทกวีอิสระไม1ขึ้นกับมาตรฐานและกฎเกณฑ$โบราณอีกต1อไป ความนิยมใน กวีแบบใหม1นี้กระจายไปทั่วจากอิรักถึงแอฟริกาเหนือ กวีเช1น เศาะลาหฺ อับดุศเศาะบูรฺ (ต.1981) มะหฺมูด ดัรวีช หรือ อะหฺมัด อับดุลมุอฺฏีย$ อัล-หิญาซีย$ ล+วนเปนผู+ผลักดันกวี นิพนธ$อาหรับให+ผงาดขึ้นมาใหม1ในโลกอาหรับและในโลกสากล ช1วงเวลาที่วรรณคดีอาหรับใช+เวลาเดินทางจากศตวรรษที่ 20 ช1วงหลังนวยุค ได+ก1อเกิดนั ก เขีย นที่ส ร+างสรรค$ผลงานไว+จนแน1นห+อ งสมุ ด การเขียนบทละครแบบ ตะวันตกไม1ใช1แบบมะกอมาต ที่มีการวิจารณ$สังคมเริ่มปรากฏขึ้น พร+อมกับป@ญหาการ ใช+ภาษาตลาดในบทละครเวทีหากต+องมีบทของชาวนาเข+ามาเกี่ยวข+อง ทั้งนี้เนื่องจาก วรรณคดีอาหรับไม1เคยยอมรับการใช+ภาษาตลาดในงานวรรณกรรมมาก1อน บุคคลสําคัญยิ่งในแวดวงวรรณคดีอาหรับสมัยใหม1ที่ไม1อาจละเลยไปได+คือ ฏอฮา หุสัยนฺ (ต.1973) ผู+เขียนอัตชีวประวัติของตนและให+ชื่อว1า “อัล-อัยยาม” หรือ “วันเวลา” ที่นับว1าเปนงานเขียนยอดนิยมแห1งศตวรรษที่ 20 และเปนแม1แบบการเขียน จดหมายอาหรั บ สมั ย ใหม1 จากเด็ ก ชายตาบอดฏอฮา หุ สั ย นฺ ได+ ฟ@ น ฝr า อุ ป สรรค ทั้ ง หลายจนสามารถกลายเปนศาสตราจารย$ แ ห1 ง มหาวิ ท ยาลั ย สมั ย ใหม1 อ ย1 า ง มหาวิทยาลัยไคโร เด็กนักเรียนจากตะวันออกถึงตะวันตก จากซีเรียถึงซูดานและจาก ซาอุดิอาระเบียจนถึงแอฟริกาเหนือยังคงอ1านงานของเขา บทละครของเขาอย1าง “ผู+ พิ ชิ ต ความมื ด ” ได+ รั บ การสร+ า งเปนภาพยนต$ แ ละถ1 า ยทอดไปสู1 ผู+ ช มนั บ ล+ า นๆ คน ช1วงเวลาของ ฏอฮา หุสัยนฺ เปนช1วงเวลาที่อียิปต$กําลังเรียกหาเอกราชจากจักรวรรดิ นิยม แต1นักเขียนและนักวิจารณ$วรรณคดีหลายคนกลับผลิตงานเขียนด+วยภาษาของ เจ+าอาณานิคมไม1ว1าจะเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาฝรั่งเศสได+เคียงคู1กับภาษาอาหรับ หลายคนผลิตงานเขียนในขณะที่กําลังลี้ภัย อยู1ในต1างประเทศ แต1ไม1ว1าจะเขียนด+ว ย ภาษาอะไรวรรณคดีอาหรับก็เดินไปเคียงข+างกับภาษาของเจ+าอาณานิคมดังเช1น หะ นาน อั ช -ชั ย คฺ นั ก เขี ย นสตรี ช าวเลบานอนที่ เ ขี ย นนวนิ ย ายอาหรั บ จากมหานคร ลอนดอนแต1ผู+อ1านของเธอมีอยู1ทั่วโลกอาหรับ เรื่องราวของเธอก็เหมือนกับ มะหฺมูด ดัรวีช กวีชาวปาเลสไตน$เช1นกัน

32


ไม1ต+อ งสงสั ย เลยว1าโลกตะวั นตกได+ทํ าให+ง านเขีย นของ นะญีบ มะหฺ ฟู ซฺ ที่ ถ1ายทอดชีวิตของชาวอียิปต$เปนส1วนหนึ่งของวรรณคดีอาหรับไปแล+วด+วยฤทธิ์เดชของ รางวัลโนเบล ทั้งๆ ที่ยังมีนักเขียนคนอื่นๆ ที่ผลิตวรรณกรรมในมาตรฐานเดียวกันเช1น ยูสุฟ อิดรีส (ต.1991) ที่ได+ชื่อว1าบรมครู (ชัยคฺ) แห1งเรื่องสั้นอาหรับ งานเขียนของอิดรีส บางเรื่องซึ่งเปนวรรณคดีที่ทรงพลังที่สุดเรื่องหนึ่งในเวทีวรรณคดีโลกโดยเฉพาะเรื่องที่ มีเนื้อหาวิพากษ$วิจารณ$ป@ญหาทางเพศระหว1างหญิงและชายในโลกอาหรับ ขณะที่ทิศทางของวรรณคดีอาหรับป@จจุบันก็เริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่องานเขีย น ของนักเขียนสตรีเริ่มทวีความสําคัญขึ้นในโลกอาหรับมากกว1าที่เคยเปนมาในช1วงก1อน สมัยใหม1 วรรณคดีอาหรับในป@จจุบันมิได+มีแต1นักเขียนชายที่ยึดครองพื้นที่ของหน+า วรรณกรรมส1วนใหญ1ไว+แต1เพียงฝrายเดียว ปรากฏการณ$นี้มิได+เกิดขึ้นเฉพาะในแวดวง ร+อยกรองเท1านั้นแต1ได+ขยายไปยังนวนิยายและเรื่องสั้นอีกด+วย วรรณคดีที่ผลิตโดย นักเขียนสตรีจึงมักสะท+อนป@ญหาสตรีในสังคมอาหรับ หลายชิ้นงานเปนผลิตผลของ กลุ1มสตรีนิยมโดยตรง ผู+อ1านในโลกอาหรับอาจสังเกตเห็นว1างานเขียนของนักเขียนชาย และหญิงสะท+อนแนวคิดและป@ญหาทางการเมือง สังคมและวัฒนธรรมในโลกอาหรับ ป@จจุบันในมุมมองที่แตกต1างกัน นักเขียนสตรีและแพทย$หญิงชาวอียิปต$อย1าง นะวาล อัล-ซะอฺดะวีย$ นําเสนองานเขียนชนิดที่ไม1มีการประนีประนอมใดๆ กับความเปนจริง ของสังคมที่ผิดกรอบและเกณฑ$จริยธรรมตะวันตกในป@ญหาสตรี ความเปลี่ยนแปลงในทิศทางของวรรณคดีอาหรับยังไม1หยุดนิ่ง ด+านหนึ่งคือ การผลิ ต งานตามบรรทั ด ฐานวรรณคดี ห รื อ แม+ แ ต1 ต ามระเบี ย บวิ ธี ข องทั้ ง ภาษา ไวยากรณ$ และสํ า บั ด สํ า นวนภาษาตะวั น ตก กั บ อี ก ดุ ล ยถ1 ว งหนึ่ งที่ ม าจากกลุ1 ม นั ก วรรณคดี ก ารเมื อ งและศาสนาที่ พ ยายามฟbc น ฟู คุ ณ ค1 า ที่แ ท+ จ ริ ง ของภาษา สํ า นวน โวหารและอรรถรสที่แท+จริงของวรรณคดีอาหรับจากคลังของงานวรรณคดีอาหรับอิสลามในอดีต นักฟbcนฟูอิสลามเหล1านี้ต1างดิ้นรนที่จะเปrาวิญญาณลงไปในร1างที่อ1อน ระทวยของวรรณคดีอาหรับและยังโดนสิงสู1โดยจิตวิญญาณตะวันตกแม+จะต+องฟ@นฝrา อคติของโลกตะวันตกที่จ+องจับตาดูความเคลื่อนไหวของกลุ1มเคร1งครัดศาสนาอย1างตา ไม1กระพริบ ขณะเดียวกั นกลุ1มอิส ลามก็มิไ ด+มีกิจกรรมเท1าที่เห็ นฉาบฉวยเช1น การ 33


บรรยาย การคุฏบะฮฺหรือที่เห็นผ1านสื่อเช1นการเดินขบวน การเผาธง ฯลฯ เท1านั้น แต1 รวมถึ ง การขั บ เคลื่ อ นให+ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงผ1 า นการผลิ ต วรรณคดี ใ ห+ ไ ด+ ต าม มาตรฐานวรรณคดีอาหรับ-อิสลามแต1เดิม หลังจากที่งานวรรณคดีตกอยู1ในมือของ นักเขียนและกวีโลกียะ (แนวยึดมั่นแต1โลกดุนยาหรือแนวแยกศาสนาออกจากรัฐ) มา นาน งานวรรณคดีของกลุ1มอิสลามมิได+จํากัดการตีพิมพ$ผลงานอยู1ในตะวันออกกลาง เท1านั้นแต1ตีพิมพ$มาจากหลายมหานครใหญ1ๆในตะวันตกที่มีจํานวนประชากรอาหรับ อาศัยอยู1เปนจํานวนมากด+วยเช1นเดียวกัน ขบวนการฟbcนฟูดังกล1าวเรียกผลผลิตของตนว1า “อัล-อดับ อัล-อิสลามีย$” หรือ วรรณคดีอิ ส ลามนั่ นเอง และวรรณคดี นี้ค รอบคลุ มงานเขีย นทุ ก ประเภททาง วรรณกรรม นักวรรณคดีอิสลามจะเตือนสติชาวอาหรับเสมอว1าวรรณคดีนั้นก็ไม1ต1าง จากเรื่องของการเมืองอาหรับที่มีอิทธิพลของตะวันตกครอบงําอยู1 อิทธิพลตะวันและ อาหรับ-อิสลามนี้ดําเนินไปควบคู1กันตั้งแต1สมัยอาณานิคมและตัวอย1างที่เห็นได+ชัดเจน ก็คือชาติอาหรับในแอฟริกาเหนือที่นิยมใช+ภาษาของเจ+าอาณานิคมตะวันตกหรือเขียน วรรณคดีอาหรับตามสีสันของภาษา สํานวนและจิตวิญญาณตะวันตก กระแสของ วรรณคดีอิสลามส1งผลให+เกิดความเปลี่ยนแปลง ป@จจุบันเริ่มมีนักเขียนในกลุ1มชาติ อาหรับแถบแอฟริกาเหนือหันมาผลิตงานเปนภาษาอาหรับมากขึ้น ป@จจุบันวรรณคดีอาหรับ ไม1ว1าแบบโลกียะ (ดุนยาวี) หรือแบบอิสลาม ต1างก็ เปนพลังขับเคลื่อนทางวัฒนธรรมที่สําคัญในตะวันออกกลางและมีความสัมพันธ$กับ วรรณคดีร1วมสมัยอื่นๆ โดยเฉพาะวรรณคดีตะวันตก ในเวลาเดียวกันวรรณคดีอาหรับ ก็มีความสัมพันธ$อย1างแนบแน1นกับมรดกทางวัฒนธรรมแบบอาหรับ-อิสลามอย1าง แยกไม1ออกและส1วนหลังนี้เองที่ทําให+วรรณคดีอาหรับมีอัตลักษณ$และอรรถรสที่โดด เด1นในแวดวงวรรณคดีของโลก (คัดจากArabic Literature : An Overview ใน Encyclopedia Of The Modern Islamic World ของ John L. Esposito Editor in Chief) โดย อณัส อมาตยกุล ในเว็บ http://www.dranas.net

34


4

ความนํา ภาษาอาหรับที่มีรูปแบบสําเนียงหลากหลายของเผาอาหรับไดกลายมาเปน ภาษามาตรฐาน เพราะภาษาอัลกุรฺอานเปนภาษาของชาวกุรอยชฺ คําตางๆ ในภาษา ของพวกเขากระทัดรัด สวยงาม ปราศจากความคลุมเครือ และสามารถนํามาใชใน เวที ว รรณกรรมแขนงตางๆ อั ล กุ รฺ อ านสามารถสรางความสดใสใหชี วิ ต มนุ ษ ย1 มี จุดมุงหมายใหมนุษย1รวมสรางประโยชน1ใหแกสังคมมนุษย1 โดยทั่วไปอัลกุรฺอานไดแจง ขาวคราวเรื่ อ งราวตางๆ และเรี ย กรองใหมนุ ษ ย1 ทํ า ความดี นํ า สารธรรมที่ มี ความสําคัญตอมนุษย1ทั้งปวง (Mana Sikana, 1987: 93) อัลกุรฺอานเปนคําตรัสของอัลลอฮฺ ที่ถูกประทานลงมาเปFนภาษาอาหรับซึ่ง เปนภาษาใหญติดอันดับ ๑ ใน ๕ ของภาษาที่ชาวโลกใชกันอยูในปKจจุบัน ซึ่งแตกตาง จากคัมภีร1อื่นๆ ที่ชาวโลกไมไดใชภาษาดั้งเดิมของคัมภีร1นั้นแลว อัลกุรฺอานถูกประทาน เพื่อเปนทางนําแกมนุษยชาติและนําโลกนี้ไปสูจุดหมายเดียวกันหมดเลย และเปนมุอฺญิ ซะฮฺที่ยิ่งใหญซึ่งอัลลอฮฺ ไดประทานแกนบีมุหัมมัด ใหเปนสัญลักษณ1แหงการ เปนศาสนทูตของพระองค1 สามารถทาทายความเกงกลาของบรรดาพวกกุรอยชฺที่ตาง ทึ่งและภูมิใจกับคําประพันธ1ของพวกเขา บรรดาพวกกุรอยชฺนับเปนนักพูดและกวีที่ เหนือกวาบรรดาชนอาหรับในคาบสมุทรอาหรับในขณะนั้น 35


เมื่อชาวอาหรับกลาววาอัลกุรฺอานนั้นเปนคําพูดของทานนบีมุหัมมัด อัลกุรฺ อานไดถู ก ประทานลงมาทาทายพวกอาหรั บ เหลานั้ น ดวยการขอใหประพั น ธ1 นํ า โองการมาเพียง 10 โองการ1 แตพวกเขาไมสามารถนํามาได เมื่อไมมีใครสามารถทํา ไดก็ไดขอใหพวกเขานํามาเพียงแค 1 โองการที่มีทํานองและลักษณะเหมือนอยางที่ ปรากฏในอัลกุรฺอาน นักกวีโดงดังของอาหรับไมสามารถจะโตตอบการทาทายจากอัล กุรฺอานได จึงแสดงความออนแอของพวกเขา (Ismail Hamid, 1982: 33) การประทานของอัลกุรอานนอกจากจะเปนรัฐธรรมนูญแหงการดําเนินชีวิต แลวยังบงบอกถึงความสูงสงของผูทรงตรัส นั่นคือ อัลลอฮฺ อีกดวย และเพื่อยืนยัน วาหลั ก คํ า สอนที่ ไ ดทานเราะสู ล ไดเผยแพรนั้ น มาจากพระองค1 ไมใชเปนคํ า ประพันธ1ของมนุษย1 และไมใชบทกวีหรืองานวรรณกรรม ไมมีนักภาษาอาหรับยุคไหน มาคั ด คานหรื อ วิพ ากษ1 วิจ ารณ1 ภาษาที่ มีใ นอั ล กุ รฺ อ านแมแตคํ า เดี ย ว ทั้ง ๆ ที่ ภาษา อาหรับไมใชเพียงดคมุสลิมกลุมเดียวที่ใช แมแตชาวคริสเตียนก็มีเปนจํานวนมากที่พูด ภาษาอาหรับ ผูเชี่ยวชาญภาษาอาหรับทั้งอดีตและปKจจุบันที่มิใชเปนมุสลิมตางกไม คัดคานในเรื่องนี้เลย แมกระทั่งผูที่เกงกลาเหนือมนุษย1 เฉกเชน ญินนฺจะพยายามทา ทายและนํามาเหมือนกับอัลกุรฺอานเพียงใดก็ไมสามารถจะนํามาเหมือนอัลกุรฺอานได ดังที่อัลลอฮฺ ไดตรัสวา ‚Ω γ⇐…ƒ∫≤⌠ ΤΣ⊆<√≅… …ΩϒΤΗ Ω∑ ΞΤπ Τ‘Ψ∧ΨŠ Ν…ΣΤ <Κ†ΤΩ ÿ ⇐Κς… υϖς∏Ω∅ Σ⇑ Θ Ψ•<√≅…Ω ♦ 〉 ⇓‚ΞΜ≅… Œ γ Ω⊕Ω∧ΤΩ –≅… ⇑ Ξ ΜΞς√Π ΣΤ∈

٨٨ :‫ﺳﻮرة اﻹﺳﺮاء‬

﴿

﴾(88) …_⁄κΞςℵ≡ × ω ⊕Ω‰Ψ√ ⌠¬Σ〉∝⊕ΤΩ Š φ†ς ⌠ Τς√Ω −ΨΨπ∏‘Ψ∧ΨŠ Ω⇐ΣΤ Κ<†ÿΩ

จงกลาวเถิด (มุหัมมัด) แนนอนหากมนุษยและญินนฺรวมกันที่ จะนํามาเชนอัลกุรฺอานนี้ พวกเขาไมอาจจะนํามาเชนนั้นได& และแม&วา บางคนในหมูพวกเขาเป,นผู&ชวยเหลือแกอีกบางคนก็ตาม

1

al-Quran : Hud, 13.

óΟçFΖä. βÎ) «!$# Èβρߊ ÏiΒ ΟçF÷èsÜtGó™$# ÇtΒ (#θãã÷Š$#uρ ;M≈tƒu tIø ãΒ Ï&Î#÷VÏiΒ 9‘uθß™ Î ô³yèÎ/ (#θè?ù'sù ö≅è% ( çµ1u tIøù$# šχθä9θà)tƒ ÷Πr&

﴿

﴾ ∩⊇⊂∪ tÏ%ω≈|¹

36


อัลกุรฺอานเปนสิ่งที่อยูเหนือความสามารถมนุษย1และญินที่คิดจะเลียนแบบ ตอ เติม ตัดทอนและบิดเบือน ถึงกระนั้น อัลลอฮฺ ทรง ٣٤ :‫ﺳﻮرة اﻟﻄﻮر‬

﴾ (34) φκΨ∈ΨŸΤΗ Ω″ Ν…ΣΤ⇓†ς ⇐ΜΞ… ,−ΨΨ∏Τπ Τ‘ΨΘ∨ ÷ ξ ÿΨŸΩµγš Ν…ΣΤ <Κ†Ω∼<∏ΤΩ ⊇ ﴿

ดังนั้น จงใหพวกเขานําคํากลาวเชนเดียวกันนี้มา หากพวกเขา เปนผูสัจจริง นี่คือ ความลับแหงอัลลอฮฺ ผูที่มีอรรถรสสูงในภาษาอาหรับและวาทศิลปW ไมเคยมองผานเลย อันเนื่องจากความเปนเอกลักษณ1เดนของคําตางๆในอัลกุรฺอาน ซึ่ง เปนคําที่สามารถใหความกระจางชัดและมีอรรถรสสูง ดังที่ลาสิล อาบิรฺ กุรุมบี ได กลาววา “ทักษะในวรรณกรรมเปนทักษะการใชคําในการเขียน สวนทักษะการพูดนั้น ขึ้นอยูกับศักยภาพของผูพูด มันจะมีผลอันยิ่งใหญและลึกซึ้งกวาผลที่ไดจาก คําตางๆ” ชาวอาหรับเปนชนที่มีความรูสึกไวกับแวดลอมมาก พวกเขาจะคลอยตามสิ่งที่ พวกเขาไดยิน ดังนั้น พวกเขาจะชื่นชมหรือ ติเ ตียนและปฏิเสธ และจะทุ มเทและให เกียรติจากการฟKงคําตางๆ พวกเขายอมรับรูและรูสึกถึงคุณคาของคําตางๆ ในอัลกุรฺ อาน อันเนื่องจากที่พวกเขาไดสั มผัส กับ กลอนและสุ นทรพจน1ตางๆ มาแลว อั ซซั ร กอนีย1ไดกลาววา “ความสุนทรียภาพทางเสียง หรือการออกเสียงที่คลองจองและมีจังหวะนี้ เปนสิ่ ง แรกที่ หู ข องชาวอาหรั บ ไดสั ม ผั ส ในขณะที่ อั ล ลอฮฺ ได ประทานอัลกุรฺอาน พวกเขาไมเคยชินกับรอยกอยที่พวกเขาไดยินมา ไมวา จะเปนรอยแกวธรรมดา หรือที่มีเสียงสัมผัสคลองจองกัน จนทําใหพวกเขา คิดวา อัลกุรอานนั้นเปนกลอน” อยางไรก็ ต าม อั ล กุ รฺ อ านก็ ถู ก แสดงออกมาเปนคํ าพู ด และการเขีย น ดั ง นั้ น รูปแบบและลีลาทางภาษาของอัลกุรฺอานอาจจะพิจารณาไดดังนี้ ๑. รอยแกว ๒. รอยกรอง หรือบทกวี (Poetry) คํานี้ในภาษาอาหรับ คือ ชิอฺรฺ "‫" ِﺷ ْﻌﺮ‬

37


รอยแกว คือ วิธีการแสดงออกที่ใกลเคียงกับภาษาที่พูดกันในชีวิตประจําวัน และสิ่งที่แตกตางจากรอยกรองก็คือ รอยแกวไมมีสัมผัสและทํานอง

อัลกุรฺอานมิใชบทกวี บทกวีญาฮิลียะฮ1ไดเผชิญกับความจํากัดในการเปนมาตราฐานหลักทางภาษา และไวยากรณ1ใหแกภาษาอาหรับที่ภายหลังกลับมานิยมงานรอยแกว พระคัมภีร1อัลกุรฺ อานไดมีโ อกาสรวมสมั ย กั บ กระแสวรรณคดีอ าหรั บ กอนสมั ย อิส ลาม มีพ ลั ง การ พรรณาที่ไพเราะและการสรางจินตนาการที่งดงามรวมทั้งการสรางศรัทธาทางศาสนา ที่แรงกลา และเปนปรากฏการณ1ทางวรรณคดีที่มิไดรอยกรองอยางบทกวีญาฮิลียะฮฺ เหลานั้ น ทํ า ให พระคั ม ภี ร1 อั ล กุ รฺ อ านในฐานะวะห1 ยู (วิ ว รณ1 ) ที่ ล วนเปนคํ า ดํ า รั ส ของอั ล ลอฮฺ แ กมนุ ษ ยชาติ ผ านทางทาน นบี มุ หั ม มั ด จึ ง เปนบรรทั ด ฐานทาง วรรณคดีที่สมบูรณ1แบบแกวรรณคดีรอยแกวที่เติบโตและพัฒนาไปกับประวัติศาสตร1 อันยิ่งใหญของอาณาจัก รอาหรับและอิส ลาม พรอมๆกับการเปนทางนําที่ส มบูรณ1 แบบของชีวิต คําดํารัสของอัลลอฮฺ ปรากฏแกผูสดับในรูปแบบที่ไมธรรมดาทั้ง ลั ก ษณะการพรรณาที่ ทั้ งเนื้ อ หา ความลุ มลึ ก หรื อ การบอกเลาเรื่ อ งราวของอดี ต ปKจจุ บันและอนาคตที่ผานการทาทายมานับครั้งไมถวนจนเปนที่ป ระจักษณ1ในขั้นที่ กลายเปนความมหัศจรรย1ของพระคัมภีร1อัลกุรอาน (อิอ1ญาซ) ทําใหสํานวนและโวหาร ของพระคัมภีร1อัลกุรอานไดกลายเปนมาตราฐานและบรรทัดฐานหลักของนักภาษา และไวยากรณ1อาหรับ (อณัส อมาตยกุล ในเว็บ http://www.dranas.net) วิวัฒนาการของวรรณกรรมและภาษาศาสตร1 หรือศาสตร1ที่เกี่ยวของกับการใช ภาษามี ค วามเกี่ย วพั นธ1กั นอยางลึ ก ซึ้งกั บ วิวั ฒนาการของภาษา ไมเพีย งแตนั ก โบราณคดีชาวยุโรปเทานั้นที่กลาววา ขอความอัลกุรฺอานบางตอนเปนยิ่งกวา “บทกวี” แมแตศัตรูอิสลามของทานนบีมุหัมมัด เองก็เคยใชคําพูดนี้กลาวหาทานนบี วา เปนกวีหรือหมอเวทมนต1 ซึ่งขอกลาวหานี้ อัลลอฮฺ ไดปฏิเสธดวยพระองค1เองวา แทจริงอัลกุรฺอานนั้นเปนคํากลาว (ที่ นําพาโดย) เราะสูลผูทรงเกียรติ

(40) ψ ξ ÿΞ≤ς ξΣ♠⁄Ω ΣΩ⊆ς√ ΙΣςΤΠ ⇓ΜΞ…

38


และมิใชคํากลาวของนักกวี สวนนอย เทานั้นที่พวกเจาศรัทธา และมิ ใ ชคํ า กลาวของนั ก พยากรณ< สวนนอยเทานั้นที่พวกเจาใครครวญ (อัลกุรฺอาน) เปนการประทานจากผู อภิบาลแหงสากลโลก

(41) Ω⇐Σ⇒Ψπ∨Σ †ΘΩ∨ „∼Ψ∏ΤΩ ∈ ≤&ξ ΤΨ∅†Ω→ ΞΩ⊆ΨŠ Ω Σ∑ †Ω∨Ω (42) Ω⇐Σ≤ς{ Π ΩϒΤΩ †ΘΩ∨ „∼Ψ∏ΤΩ ∈ ⇑ &ω Ψ∑†ς ΞΩ⊆ΨŠ ‚Ω Ω (43) Ω⇐κΨ∧ς∏ΤΗ Ω⊕<√≅… ‡ ϑγ ⁄ΩΘ ⇑ΨΘ∨ βÿΞ∞⇒ΩΤ

เนื่องจากอัลกุรฺอานที่ถูกประทานแกทานนบีมุหัมมัด นั้นอาศัยการกลาวหา วาถูกใชลีลาคลายกับ “สะญะอฺ” คําวา “สะญะอฺ” โดยปกติแลว แปลวา “รอยแกวที่สัมผัส” ซึ่งเปนรูปแบบของ วรรณกรรมที่ มี ก ารเนนสั ม ผั ส และทํ า นองบางตอน กวีช าวอาหรั บ กอนอิส ลามใช “สะญะอฺ ” และเปนที่ รู จั ก ดี ใ นหมู ของพวกเขา มั น แตกตางไปจากบทกวี ต รงที่ ไ มมี จั งหวะกาพย1ก ลอน และไมสละสลวยเหมือ นบทกวี กลาวคือ ไมมีรูป แบบทํ านอง ตอเนื่อง แตกลับมีการสัมผัสคลายกับบทกวี วรรคตอนในอั ล กุ รฺ อ านที่เ หมื อ นกั บ “สะญะอฺ ” นั้ น จะเห็ น ไดชั ด เจนในสู เราะฮฺตางๆ ที่อัลลอฮฺ ไดประทานในยุคของมักกะฮฺ (มักกียะฮฺ) ที่เกี่ยวกับหลักการ ศรัทธาและเดชานุภาพของพระองค1 เนื่องจากทานเราะสูล กําลังเผชิญกั บพวก กุร็อยชฺที่ปฏิเสธศรัทธาอยางสุดขีด แตพวกเขามีอรรถรสในภาษาอาหรับที่ลึกซึ้งตรึง ใจยิ่ง พวกเขาประจักษ1ดีวาอัลกุรฺอานไมใชบทกวีแนนอน และทานเราะสูล ก็ไมใช นักกวี แตพวกกลาวก็ยังกลาวหาวาทานเราะสูล เปนกวีที่สามารถใหผูอื่นหลงไหล ตามสิ่งที่ทานไดปฏิบัติ และเชื่อมั่นในสิ่งที่ทานนํามาได พวกเขาตางกลาวหาเชนนี้เพียง เพื่อใชเปนยุทธศาสตร1ในการหันเหมวลชนใหหางไกลจากความมหัศจรรย1แหงอัลกุรB อานและความเปนศาสนทูตของทานนบีมุหัมมัด เพราะถาหากมวลชนตางเชื่อวาน บีมุหัมมัด เปนกวีแลว มันก็ไมแปลกเลยที่ทานจะประพันธ1ปKeนแตงอัลกุรฺอานเอง ถา เปนเชนนั้ น แลวอั ล กุ ร อานก็ ไ มตางกั บ รอยกลอนทั่ ว ๆ ไป และไมใชเปนคํ า ตรั ส ของอัลลอฮฺ มันเปนยุทธศาสตร1ที่ปราดเปรื่องมากและแฝงดวยความเลวรายยิ่งนัก แตอั ล ลอฮฺ ทรงหั ก ลางแผนการอั นชั่ว นี้มาแลว และสิ่งตางๆ ก็ ไดผานพนไปได อยางงดงาม 39


ในเหตุการณ1หนึ่ง พวกกุร็อยชฺไดสงอัลวะลีด อิบนุ อัลมุฆีเราะฮฺเปนผูแทนไป เจรจากับทานเราะสูล อัลวะลีดเปนคนที่มีปKญญาที่เฉลียวฉลาดและปราดเรื่องมาก ทานเราะสูล ไดประจั ก ษ1ใ นเรื่องนี้ดีจึงเสนอแกเขาใหรั บฟK งในสิ่งที่ทานจะเสนอ ใหแกเขา หากพอใจก็จงนํ าไปไตรตรองและหากไมพอใจก็ จงผละไป เขาก็ตอบรั บ ดังนั้น ทานเราะสูล ก็ไดอานอัลกุรฺอานใหเขาฟKง เมื่อเขาไดยินบางอัลกุรฺอานแลว ติดใจ เลยกลับไปหาพวกกุร็อยชฺโดยลืมถึงเปFาหมายหลักของการมาหาทานเราะสูล และหันกลับไปโดยไมมีการเจรจาใดๆ มิหนําซ้ํายังเอยถึงสิ่งที่เขารับฟKงจากทานนบี มุฮัมมัด ตอหนาพวกกุร็อ ยชฺดวยความชื่นชมอีกดวย อิมามอัสสุยูฏีย1ไดกลาววา “ทานนบีไดอานอัลกุรฺอานใหเขาฟKง คลับคลายคลับคลาวาเขาจะโอนออนกับอัลกุรฺ อาน” ซึ่งคําชมของอัลวะลีดตออัลกุรฺอานวา ขาขอสาบานกับอัลลอฮฺ สิ่งที่เขาไดกลาว ออกมานั้น ชางหวานชื่นนัก และมีความสวยและนุมนวลอยู เบื้องบน ชางผลิออกผล เบื้องลาง อุดมสมบูรณ< สูงสง และไมมีอะไรเหนือกวา สามารถปราบทุกสิ่งที่อยูภายใตมัน

ُ َ‫ ِﺬي ﻳ‬‫"ﻓَﻮاﷲِ ﻟِﻠ‬ ٌ‫ﻼوة‬ َ ‫ﻘﻮل َﺣ‬ ِ ٌ‫ﻼوة‬ َ َ‫ن َﻋﻠَﻴﻪ ﻟَﻄ‬ ‫وإ‬ ِ ُ‫ﻪُ ﻟَ ُﻤﺜْﻤٌﺮ أ َْﻋﻼﻩ‬‫َوإﻧ‬ ِ ُ‫َﺳ َﻔﻠَﻪ‬ ْ ‫ُﻣ ْﻐﺪ ٌق أ‬ ِ ‫ﻠﻰ َﻋﻠَْﻴﻪ‬ َ ‫َوإﻧﻪُ ﻳَـ ْﻌﻠُﻮ وﻻ ﻳـُ ْﻌ‬ ٢ "‫ﻪُ ﻟَﻴَ ْﺤ ِﻄ ُﻢ ﻣﺎ َْﲢﺘَﻪ‬‫َوإِﻧ‬

สิ่งที่อัลวะลีด ไดรับฟKงนั้นเปghยมไปดวยเสียงอันไพเราะ เปนทํ านองที่สดุด หู แนนอน เขาเปนนักกวีก็ยอมสัมผัสอรรถรสของศิลปWและเอกลักษณ1พิเศษของอัลกุรฺ อานซึ่งเขาไมเคยคุนกับเสียงและการเรียงคําอันสละสลวยนี้ เขาจึงไดนําเสนอบรรทัด ฐานเลยวา อัลกุรฺอานนั้น ฟKงแลวรื่นหู อันเนื่องจากการออกเสียงของคําที่สะดวกและ งาย เปนคํ าที่ถูก เรีย งอยางละเอีย ดออน เหมือ นกั บวาเขาไดยืนยั นในสิ่งนี้ดวยการ กลาววา “ความหวาน” เขาหมายถึง การออกเสียงที่เรียบงาย “เบื้องบนนั้นออกผล” 2

อัสสุยฏู ีย< ,อัล-อิตกอน ,๒/๒๕๓ .

40


นั่นคือ การคลองจองกัน และ “เบื้องลางนั้นอุดมสมบูรณ1” ดวยการมีสัมผัสในที่ลื่น ไหล ตัว อยางที่ดีและเห็นไดชัดในวรรคตอนของอัล กุรฺอานในสู เราะฮฺอั ลอิคลาศ (122. 1-4) ซึ่งมีสัผัสในและนอกและจบดวยพยางค1 “อัด” ที่ลงทายดวย “ดาล”. (1) δŸΤφ ΤΤšςΚ… Σ/ ϑð ≅… Ω Σ∑ ΣΤ∈ (2) ΣŸΩ∧ΤΥφ Τ±√≅… Σ/ ϑð ≅… (3) Ÿς√ΣΤÿ ⌠¬ς√Ω ŸΨ∏Τφ ΤΤΤÿ ¬ς√ (4) =ΣŸΤφ ΤΤšςΚ… …[Σ⊃Σ{ ΙΣςΤΠ √ ⇑Ρ∇ΤΩ ÿ ⌠¬ς√Ω

และอายะฮฺอื่นอีกมากมายที่แสดงถึงการใชคําในอัล-กุรฺอานที่มีสัมผัสที่คลาย กับ “สะญะอฺ” ที่ชาวอาหรับไดคุนเคยกัน เชน (1) Ξ∼Ψ⊃<√≅… ˆ γ ΤΗ Ω™″ςΚγ†Š ∠ ð ΣΤΘ Šð⁄ ΩΩ⊕ΤΩ ⊇ ∪ ð ∼ð ≤Ω ΤΩ ψς√Κς… (2) ω∼Ψ∏π∝ΤΩ ℑ ψΣ∑ΩŸ∼Ω{ Ω⊕– µð ψς√Κς… (3) Ω∼ΨŠ†ΩΤŠςΚ… …[⁄κς≡ ¬Ξ∼ς∏Ω∅ ΩΩ♠⁄Κς…Ω (4) ω∼ΘΨ•γ♠ ⇑ΨΘ∨ ξ〈⁄Ω †Ω•Ψ™ΨŠ ¬Ξ∼Ψ∨≤⌠ ΤΩΤ (5) >Ψ Σ{<Κ†ΘΩ∨ ∪ ξ π±Ω⊕ð ¬Σς∏Ω⊕Ω•ΤΩ ⊇

อิบนุค็อลดูน (ตาย ฮ.ศ. 809 /ค.ศ. 1406) ผูประพันธ1หนังสือที่มีชื่อเสียงเรื่อง “มุก็อ ดดิ มะฮฺ ” ไดชี้ใ หเห็นถึ งความแตกตางระหวางวรรณกรรมกับ อัลกุ รฺอ าน และ ความแตกตางระหวาง “สะญะอ1” กับอัลกุรฺอานไวตอนหนึ่งวา เราควรรูวาภาษาอาหรับและการพูดอาหรับนั้นถูกแบงออกเปนสองสาขา ดวยกัน สาขาหนึ่ง คือ บทกวีรอยกรอง ... อีกสาขาหนึ่ง คือ รอยแกว นั่น คือ คําพูดที่ไมมีฉันท:ลักษณ: อัล-กุรฺอานอยูในประเภทรอยแกว แตอยางไร ก็ตาม มันก็มิไดจัดอยูในประเภทใดในสองประเภท อัล-กุรฺอานไมอาจจะ 41


ถู กเรี ย กวาเปนรอยแกวตรงและรอยแกวสั มผั ส แตอั ล -กุ รฺ อานถู กแบง ออกเปนวรรคๆ แตละวรรคจะหยุดตรงที่สมควรจะหยุด และจะมีรูปแบบ ที่คลายกันที่ถูกกลาวทวนใหม โดยจะมีฉันท:ลักษณ: ซึ่งจะทําใหรูปแบบ ของคําพูดรอยแกวที่มีสัมผัสนั้นไมคงที่ เหมือนกับฉันท:ลักษณ:ที่ใชในบท กวี มิ ใ ชคนธรรมดาที่ ส ามารถจะรายกวี ที่ มี คุ ณ ภาพได โดยเฉพาะเปนกวี ที่ มี รูปลักษณ1แหงอิสลาม นักกวีเปนผูที่ไดรับลักษณะเปนธรรมชาติที่พิเศษและสนองรับ กั บ บริบ ทและสภาพรอบตั ว ของเขา เขาเปนมนุ ษ ย1 ที่ส รางสรรค1 จิ นตนาการ และ สามารถคิดอยางมีส ติ เหมาะสม เปgh ย มดวยความรูสึก ที่สุ นทรีย1 ละเอียดออนและ ความสวยงาม (Nurazmi, 1991: 26) นักกวีและนักวรรณกรรมที่ปฏิบัติตามครรลองของอิสลามและสอดคลองกับ หลักอะกีดะฮฺ ไดชื่อวา นักกวีมุสลิม นักวรรณกรรมมุสลิม หรือศิลปกรมุสลิม เขาจะ ใชบทกวีของเขาในการกําชับใชความดี หักหามจากการทําชั่ว เชิญชวนสูการปรองดอง สรางความสัมพันธ1 และสานสายใยแหงอิสลามระหวางมนุษย1ใหมั่นคงและแข็งแกรง มันจะเปนสิ่งที่ตรงกันขามกันกับนักกวีที่ไมยึดหลักอะกีดะฮฺที่ถูกตอง มีความประพฤติ ที่เอียงเอนไปในทางถือพรรคถือพวก คลั่งใคลในความคิดที่เบี่ยงเบน ความบาบิ่นใน อารมณ1ใฝpต่ํา และมีเปFาหมายหลักเพียงเพื่อไดประพันธ1บทกลอนเทานั้น อัลลอฮฺ ไดตรัสถึงนัยนี้วา Ω⇐Σ∧∼ΞΤΩ ÿ ξ …Ω ΘΞΣ{ ℑ ⌠¬ΣςΤΠ ⇓Κς… ≤Ω ΤΩ ψς√Κς… (224) Ω⇐ΙΣ†Ω⊕ <√≅… Σ¬ΣΣ⊕Ξ‰ς Π ΤΩ ÿ Σ∫:…≤Ω Ω⊕Ρ↑ Π √≅…Ω

﴿

Ν…ΣΤ∏Ψ∧Ω∅Ω Ν…Σ⇒ΤΩ∨…ƒ∫ ⇑ Ω ÿΨϒς√Π ≅… ‚Πς ΜΞ… (226) Ω⇐ΣΤ∏Ω⊕Τπ ⊃ΩΤÿ ‚Ω †Ω∨ Ω⇐Ρ√Σ⊆ΤΩ ÿ ⌠¬ΣςΤΠ ⇓Κς…Ω (225) ψ 〉 ς∏⊕Ω∼ΤΩ♠Ω %Ν…Σ∧Ψ∏≡ 〉ℵ †Ω∨ ΨŸ⊕ΤΩ Š ⇑ ? Ψ∨ Ν…Σ≤Ω±Ω ⇓≅…Ω …_⁄κΨ‘ς Ωϑð/≅… Ν…Σ≤Ω{ς′Ω Œ γ ΤΗ Ω™Ψ∏ΤΗ ϑð±√≅…

(٢٢٧-٢٢٤ :‫)اﻟﺸﻌﺮاء‬

﴾ (227) Ω⇐Σ‰Ψ∏Ω⊆⇒ΩΤÿ ˆ ξ ς∏Ω⊆⇒Σ∨ ϑðςΚ… Νϖ…Σ∧ς∏ςℵ≡ ⇑ Ω ÿΨϒς√Π ≅…

และพวกกวีนั้น พวกหลงผิดจะปฏิบัติตามพวกเขา เจาไมเห็น ดอกหรือวา แทจริงพวกเขานั้นเรรอนไปโดยไมรูสึกตัวในทุกหนแหง และ พวกเขานั้น(โกหก) พูดในสิ่งที่พวกเขาไมกระทํา นอกจากบรรดาผูศรัทธา 42


และปฏิบัติความดีทั้งหลายและรําลึกถึงอัลลอฮฺอยางมาก และตอบโต ปAองกันหลังจากที่พวกเขาถูกขมเหง (กลาวตอบโตพวกมุชรีกีนเพื่อปกปAอง ความจริง และสนับสนุนอิสลาม) และบรรดาผูอธรรมจะไดรูวา ทางกลับอัน ใดที่พวกเขาจะกลับคืนสู (คือการลงโทษ ดวยไฟนรกญะฮันนัมนั่นคือทางกลับที่ ชั่วรายและสาสม)

ในอายะฮฺขางตน อัลลอฮฺ ทรงตอบโตผูที่อางวานบีมุหัมมัด เปนนักกวีวา พวกกวีนั้น ผูใดที่ปฏิบัติตามเขา คือพวกหลงผิด ไมใชพวกที่มีสติปKญญา พวกเขาจะ ปฏิบัติการสรรเสริญเยินยอ และการขุดคุยความไมดีงามหรือการสบประมาท มีรายงานวา หลังจากที่อัลลอฮฺ ประทานอายะฮฺนี้ลงมา หัสสาน อิบนุษา บิต อับดุลลอฮฺ อิบนุเราะวาหะฮฺ และกะอับ อิบนุมาลิกไดไปหาทานเราะสูล ใน สภาพที่รองไห แลวกลาววา อายะฮฺนี้ไดลงมาทั้งๆ ที่พวกเราก็เปนนักกวี ทานเราะสูล ก็ไดทวนประโยคซึ่งมีความวา “นอกจากบรรดาผูศรัทธาและปฏิบัติความดีทั้งหลาย” และกลาววา นี่แหละพวกทาน หลังจากนั้นทานก็ทวนประโยคซึ่งมีค วามวา “รําลึ ก ถึงอัลลอฮฺอยางมาก” และกลาววา นี่แหละพวกทาน หลังจากนั้นทานก็ทวนประโยคซึ่ง มีความวา “ตอบโตปAองกันหลังจากที่พวกเขาถูกขมเหง” และกลาววา นี่แหละพวกทาน ผูที่มีคุณลักษณะที่อายะฮฺไดยกเวนดังที่กลาวมาขางตนนับวาเปนการชื่นชม พวกเขา ดวยเหตุนี้ นักกวีและนักวรรณกรรมในบรรดามุสลิมที่เชิญชวนสูหลักการ อิสลามจําเปนตองมีคุณลักษณะดังกลาวจึงจะนับวาเปนนักกวีมุสลิมที่แทจริง

จุดยืนของทานเราะสูล

ตอบทกวี

การเรียนรูวรรณคดีอิสลาม สวนหนึ่งที่เราจําเปนตองรับรู คือ จุดยืนของทาน เราะสูล ตอบทกวี เราสามารถเรียนรูจุดยืนนี้ไดจาก ๒ ประการ คือ ๑. คํากลาวของทานเราะสูล เกี่ยวกับบทกวีและกวี • มีอัล-หะดีษหลายบทที่พูดถึงเกี่ยวกับบทกวี เชน

43


ِ ‫ن ِﻣﻦ اﻟﺸ‬ ِ‫ وإ‬،ً‫ﻴﺎن ﻟَ ِﺴﺤﺮا‬ ِ ‫ن ِﻣﻦ اﻟﺒ‬ ‫))إ‬ ((‫ْـﻤﺔ‬ ْ َ ْ َ َ َ ‫ـﻌ ِﺮ َﳊﻜ‬ ความวา แทจริงในคําพูดที่ชัดแจงนั้นมีสิ่งที่ทําใหตรึงใจอยู และจากบท กลอนนั้นมีคุณประโยชน:ที่แฝงอยู 3

ทานกลาวเชนนี้ หลังจากที่ไดรับฟKงบทกลอนของอะบู อัล-อะลาอ1 อัล-หัฎเราะ มีย1ซึ่งเปนกวีในยุคญาฮิลียะฮฺ ทานเราะสูล ฟKงบทกลอนของสุวัยดฺ อิบนุอามิรฺ จนกระทั่งถึง ๒ วรรคขางลางนี้

ٍ ْ‫ﻞ إِﻧ‬ ‫ن اﳌﻨﺎﻳﺎ ِﲜْﻨﱯ ُﻛ‬ ِ‫إ‬ ‫ﺴﺎن‬ َْ َ ٍ ‫ﻞ ز ٍاد وإِ ْن أَﺑـ َﻘﻴﺘَﻪ‬ ‫وُﻛ‬ ‫ﻓﺎن‬ ُْ​ْ َ َ

ความวา

‫ﺖ ِﰲ َﺣَﺮٍم‬ َ ‫ﻻ ﺗَﺄْ َﻣ ْﻦ َوإِ ْن أ َْﻣ َﺴْﻴ‬ ِ ‫ﻞ ِذي‬ ‫ﻓَ ُﻜ‬ ٍ ‫ﺻﺎﺣ‬ ُ‫ﺐ ﻳَـ ْﻮًﻣﺎ ﻳُﻔﺎ ِرﻗُﻪ‬ ْ

อยาไดหวัง แมนวาอยู ณ หะร็อม ความตายยอม จะเคียงขาง ทุกผูคน มีเพื่อนรัก วันหนึ่งก็ ตองพรากพน ทุกเสบียง ที่ออมไว ยอมสูญเสีย แลวทานก็กลาววา “ หากชายผูนี้รับรูหลักคําสอนของอิสลาม แนนอนเขาตอง รับอิสลาม” ทานเราะสูล ไดฟKงบทกลอนที่มีความยาวประมาณ 100 วรรคของ อุ มั ย ยะฮฺ อิ บ นุ อ ะบู อั ศ -ศ็ อ ลตฺ ซึ่ ง เปนนั ก กวี ใ นยุ ค ญาฮิ ลี ย ะฮฺ แลวทานก็ ก ลาววา “แทจริง ในบทกลอนนี้ เขารับอิสลามแลว” และมีการรายงานอื่นอีกวา “ชายผูนี้ ลิ้น ของเขารับอิสลามแลว แตใจของเขายังปฏิเสธ”

3

ดู อัลญามิอฺ อัศเสาะฆีรฺ มิน หะดีษ อัลบะชีรฺ อันนะซีรฺ 1/231 หะดีษที่ (2456)

44


นอกเหนือจากนั้น ทานเราะสูล เองก็ไดทองบทกลอนของนักกวีใน ยุคญาฮิลียะฮฺเปนจํานวนมาก และทานก็รับฟKงการรายกลอนของบรรดาเศาะหาบะฮฺ อีกดวย ๒. การปฏิบัติของทานเราะสูล ตอนักกวีและบทกวีของเขา ทานเราะสูล ก็เหมือนกับคนอาหรับทั่วๆ ไป ที่ชอบบทกลอน ดังที่ได กลาวมาแลว ทานมีจุดยืนที่ไดแสดงออกมาตอนักกวี เชน อัน-นาบิเฆาะฮฺ อัล-ญะอฺดีไดมาหาทานเราะสูล แลวรายกลอน ในสภาพที่เขาภูมิใจกับเผาพันธ1ของเขาวา

ِ ‫ﻚ َﻣﻈْ َﻬﺮا‬ َ ‫َوإِﻧّﺎ ﻟَﻨَـ ْﺮﺟـﻮ ﻓَـ ْﻮ َق ذَﻟ‬

ความวา

‫ﺪودﻧﺎ‬ ُ ‫وﺟ‬ ُ ‫ﺴـﻤﺎءَ َْﳎ ُـﺪﻧﺎ‬ ‫ﺑَـﻠَ ْﻐﻨﺎ اﻟ‬

ความเกรียงไกรและบรรพบุรุษของเราเหนือเทียมฟ5า เราหวังวามันจะยิ่งใหญสูระดับที่สูงกวา(ฟากฟ5า) เมื่อทานเราะสูล ไดรับฟKงถอยคํานี้และกลาววา “โอ อะบูยะอฺลา จะสูง จนถึงที่ไหนหรือ?” เขาก็กลาววา “จนถึงสวรรค1” ทานเราะสูล ก็ยิ้มอยางดีใจแลว กลาววา “อินชาอัลลอฮฺ” กวีหญิงผูหนึ่งชื่อ อัล-คุนสาอ1ไดมาหาทานเราะสูล ทานก็ไดนํา ผามาปูเปนที่นั่ง นางก็นั่งบนผานั้นแลวรายกลอนของนางใหทาน เราะสูล ฟKง ทานก็กลาววา เอาอีก รายกลอนตอไปเรื่อยๆ กะอั บ อิ บ นุ ซุ ฮั ย รฺ ไดรายกลอนของเขาตอหนาทานเราะสู ล จนกระทั่งถึงวรรคนี้

ِ ‫ ٌﺪ ِﻣﻦ ﺳ‬‫ﻣﻬـﻨ‬ ‫ﻮل‬ ُ ُ‫ـﻴﻮف اﳍِْﻨ ِﺪ َﻣﺴـﻠ‬ ُ ْ َُ

ِ ‫ﻮر ﻳُﺴﺘَﻀﺎءُ ﺑِ​ِﻪ‬ َ ‫اﻟﺮﺳ‬ ٌ ُ‫ـﻮل ﻟَﻨ‬ ّ ‫ن‬ ‫إ‬

ความวา ทานเราะสูลดุจรัศมีที่ผูคนตางไดรับแสงนี้ (ทาน)ดังดาบแหงอินเดียที่ ตระหงาน ทานเราะสูล พอใจมาก ทานจึงถอดเสื้อคลุมของทานแลวสวมใหกับกะอับ บทกลอนนี้ จึ ง ถู กเรี ย กวา บทกลอนบุ ร ดะฮฺ (เสื้ อ คลุ ม) แตทานเราะสู ล ขอใหกะอั บ เปลี่ยนจากคําวา “อัล-ฮินดฺ” เปนคําวา “อัลลอฮฺ” แทน 45


ِ ‫ ٌﺪ ِﻣﻦ ﺳ‬‫ﻣﻬـﻨ‬ ‫ﻮل‬ ُ ُ‫ـﻴﻮف اﷲِ َﻣﺴـﻠ‬ ُ ْ َُ

ِ ‫ﻮر ﻳُﺴﺘَﻀﺎءُ ﺑِ​ِﻪ‬ َ ‫اﻟﺮﺳ‬ ٌ ُ‫ـﻮل ﻟَﻨ‬ ّ ‫ن‬ ‫إ‬

ในหนาประวั ติ ศ าสตร1 ไมเพี ย งแตมี ก ารบั น ทึ ก เฉพาะมุ ส ลิ ม เทานั้ น ที่ มี ความสามารถและทักษะในการใชบทกวีและรายกลอน ยังมีมุสลิมะฮฺหลายคนดวยกัน ที่มีทักษะในดานนี้ ผูที่ควรทราบ คือ ทานหญิงอาอิชะฮฺ นางมิใชกวี แตนางก็มีรสนิยม ในบทกวี หัสสาน อิบนฺษาบิต กวีผูมีชื่อเสียงในยุคนั้นไดเคยมาหานางเพื่อใหอานในสิ่ง ที่เขาแตงมา ฮิชาม อิบนฺอุรวะฮฺไดรายงานจากบิดาของเขาวา นาจะประมาณถึง ๑๖๐ บทกวี ที่รายงานโดยอาอิชะฮฺ (Ibn Sa'ad Al Basri. 1990: 58) ทานหญิงอาอิชะฮฺไมเพียงแตจะมีความรูเปนอยางดีในความรูสาขาเหลานี้ แต นางยังเปนครูผูเชี่ยวชาญและไดชวยคนนับรอยใหมีความเชี่ยวชาญในเรื่องเหลานี้ดวย ซึ่งในจํานวนนี้ก็มีอุรวะฮฺ อิบนฺซุเบร กอสิม อิบนฺมุหัมมัด อบูสัลมา อิบนฺอับดุลเราะ หมาน มัสรูก อุมรอ เศาะฟgยะฮฺ บินตุชัยบะฮฺ อาอิชะฮฺ บินตุฏ็อลหะฮฺและมุอะวา อัดวี ยะฮฺ สําหรับเรื่องความรูในดานวรรณกรรมนั้น ทานหญิงอาอิชะฮฺเปนคนที่พูดเพราะ และพูดเกงดวย มูสา อิบนุฏ็อลหะฮฺไดกลาววา “ฉันไมเคยเห็นใครที่พูดจาคลองแคลว มากไปกวาอาอิชะฮฺเลย” โดยทั่วไปแลว คําบอกเลาอะไรก็ตามจะไมถูกนํามากลาว อางแบบคําตอคํา แตตรงไหนที่เปนคําพูดเริ่มตนของทานหญิงอาอิชะฮฺแลว คําพูดนั้น จะถูกรักษาไวทั้งประโยค ตัวอยางเชน ในขณะที่เลาเรื่องสภาพของการไดรับวะหฺยุใน ตอนเริ่มตน นางจะกลาววา “ความฝKนของทานนบีเปนกฎเลยวาจะเปนจริง (และชัดเจน) เหมือนกับรุงอรุณ” “เมื่อทานนบีไดรับวะหฺยุ หนาผากของทานจะมีเหงื่อไหลออกมา นางไดอธิบาย ถึงสิ่งนี้วา ไขมุกปรากฏออกมาบนหนาผาก”

46


ตัวอยางคํากลาวของทานหญิงอาอิชะฮฺ ทานหญิงอาอิชะฮฺไดกลาววา “มารยาทนั้นมีสิบอยาง มันอยูกับบาวไมใชเจ&านาย อยูกับผู&ตาม ไมใชผู&นํา ๑. การมีสัจจะในการพูด ๒. การปฏิบัติหน&าที่หรือการมอบสมบัติที่ได&รับมอบหมาย ๓. การจริงใจ ๔. การอดทนในยามยากลําบาก ๕. การให&ความปลอดภัยให&แกเพื่อน ๖. การให&ความปลอดภัยแกเพื่อนบ&าน ๗. การให&ในยามขัดสนของผู&อื่น ๘. การให&อาหารแกคนจน ๙. การปฏิบัติตนอยางออนโยนกับบาว ๑๐. และการทําดีตอบิดามารดา (Umar Ridha Kahalah 1991:117-118) บทกวีหรืองานเขียนตางๆ จําเปนตองเสริมแตงใหสมบูรณ1ดวยการเลียนแบบ คําพูดจากผูที่ประเสริฐในยุคกอน เพื่อพวกเขาจะไดมีความประณีตในกิจการงานของ พวกเขา และเพื่อพวกเขาจะไดประดับดวยสิ่งที่จําเปนจากจริยธรรมของศรัทธาชนใน การบุกฝpาทางเดินเชน ความอดทน ความกลาหาญ ภารดรภาพ การยําเกรง ตออัลลอฮ ปราถนาความกรุณาจากพระองค1 การสมถะ ไมฝKนเฟƒhองตอโลกดุนยา เคารพภักดีตอผูนํา และสิ่งจําเปนสําหรับพวกเขาในการเยียวยาโรคหัวใจ เชน การ หลงตัวเอง หยิ่งยะโส ทําตามความอยากไดของจิตใจ ละเมิดในการใหสัตยาบัน ยิ่งไป กวานั้น เพื่อใหประจักษ1ถึงความจําเปนของการทํางานเปนหมูคณะ ทักษะ และแกน แทในการตัรบียะฮฺคนอื่น ในประวัติศาสตร1อิสลามไดมีการบันทึกวรรณกรรมที่สวยงาม สละสลวย เปghยม ไปดวยความบริสุทธิ์ใจและซื่อสัตย1ที่สุด เชน งานเขียนของหะสัน อัล-บันนา ตามดวย หนังสือของซัยยิด กุฏ…บ และอัล-เมาดูดีย1 และบรรดานักดาอีย1ทั้งหลาย และชนผูได 47


รับรองความเชื่อใจ ซึ่งความรูสึกของเขาไมเคยหางไกลจากการเผยแผอิสลามเลย เฉก เชน มุศเฏาะฟาย1 ศอดิกอัร-รอฟ†อีย1 อับดุลวะฮฺฮาบ อัซซาม เปนตน อัน-นะดะวีย1ไดบอกคุณลักษณะของซัยยิด กุฏ…บ วา (เป,นสวนหนึ่งของการเป=ด เมืองแหงอิสลามที่ใหมเอี่ยม) ใครที่เคยรูจักจดหมายเหตุ (เราะสาอิล) ของอัลบันนา เเละสามารถเเยกแยะ ระหวางประโยคของอัล-เมาดูดีย1ในหนังสือ (อัล-ญิฮาด) หนังสือ (มินฮา‡ุ อัล-อิงกิ ลาบิ อัล-อิสลามี, ยุทธวิธีแหงการปฏิวัติแบบอิสลาม) และหนังสือ(นะเซาะรียะตุ อัลอิสลาม อัส-สิยาสียะฮฺ, ทฤษฎีทางการเมืองในอิสลาม) เขาจะประจักษ1ถึงความ ชัดเจนวาคําพูดของซัยยิดที่เขียนไวในหนังสือ (อัต-ตะญัมมุ อัล-หะรอกีย1, การรวม พลในการเคลื่อนไหว) เเละ(อัล-กออิดะตุ อัศ-ศุลบะฮฺ, รากฐานอันแข็งแกรง) เเละ (อัล-มุฟาเศาะละฮฺ, การตัดขาดจากญาฮิลียะฮฺ) ไดรับอิทธิพลตอความคิดอันลึกลํ้า จากอัลบันนาและอัลเมาดูดีย1 หนังสือเหลานี้ยังเป†ดตาเเกเขาถึงเเกนเเทของมุมมอง ทัศนะเเละคําอธิบายตางๆ ของอัลเมาดูดีย1อีกดวย ดวยเหตุนี้ เราจะไดรับทุกความหมายที่ดีงามซึ่งทานยะฮฺยา อิบนุมุอาซซึ่งเปนผู สมถะไดชี้แนะในคํากลาวที่วา ( ก กก ก ! " # #$%& ' ( ) ) เราเชื่อวา คําพูดที่ออนนุมนี้ที่ไดถอดออกมาจากหนังสือเกาแกของบรรดาอุ ละมาอ1 ดวยคําขยายความที่หยั่งลึก แตคนอื่นปนเปƒeอนสิ่งที่ไดรับจากกนทะเลลึกกับ สิ่งที่เขานํามาจากชายฝKhง แตเราปฎิเสธที่จะคัดออกมานอกจากสิ่งที่ไดมาจากกนทะเล ลึกเทานั้น แลวเราจะรูสึกวาความออนโยน และความละเอียดออนที่หัวใจของวีรบุรุษ เหลานั้น พกพามาชางมากเหลื อ เกิ น พวกเขาเหลานั้น เปนผู ที่ยื่ นผลพลอยจาก ประสบการณ1และผลลัพธ1จากการวิจารณญานของพวกเขาที่พรอมจะมอบใหเยาวชน รุนใหม ดังนั้น ถอยคําของพวกเขาจะคงสถิตย1นิจนิรันดร1ในมนุษย1ชาติโดยที่ถอยคํา เหลานั้นจะเผยประกาศสิ่งที่เกี่ยวพันกับการพาดพิงถึงความสัจจริง 48


(ทุกคําพูดจะไมมีวันสถิตย:นิจนิรันดร:อยูกับเชื้อชาติแตละรุน เวนแตจะ ผูกมัด และเชื่อมโยงกับ ความสัจจริ งเเละคุณธรรม การพาดพิ งจะมี ความสั มพั น ธ:กับ กฏแหงอัล ลอฮ ในสรรพสี่ งถูกสรางของพระองค: ความเกื้อกูลจากการดลใจของพระองค:ก็จะเปนของบาวของพระองค:) บางทีชอดอกไมไฟแหงถอยคําที่จักรพรรดิผูที่มีอิทธิพล หรือเทวรูปที่ไดรับคํา บูชาอันเลื่องชื่อ* ไดโยนไป อาจจะมีเสียงอึกทึกในบางคราว และจะสองแสงเปลง ประกายชั่วขณะหนึ่ง หลังจากนั้นไมนาน มันก็จะเงียบและดับลง ดุจดาวตกที่ตกลงมา เปนเถาถานหลังจากที่ลุกโชน เพราะวาเสียงกระหึ่มของมันจากเสียงปลอม มิใชจาก ความจริง และประกายระยิบระยับของมันจากความพราวแพรวแหงความมดเท็จ มิใช จากความสัจจริงแมแตอยางใด ถอยคํ าสั จจริงอั นนิจนิรันดร1จะไมเปลงออกมาเวนแตจากสมองที่หยั่ งรู และ หัวใจที่สมบูรณ1 มันจะถูกกลาวโดยผูกลาวที่คุนเคยกับตัวเองและเชื่อมั่นในความคิด เห็นของตน เขาจะสงถอยคําเปนดั่งอุทาหรณ1ทั่วๆไปและความชัดแจงที่ยั่งยืนในชีวิต ไมเพียงแคบงบอกลักษณะในเวลาที่จํากัด ไมใชแคเรื่องชั่วคราว มิใชเพื่อมนุษย1คน เดียว มิใชเปนเหตุการณ1ที่เกิดขึ้นครั้งเดียว แตทวามันจะคลุมทุกชนเชื้อชาติทุกยุคทุก สมัย หลากหลายประเทศ และเมืองตางๆ ปริมาณเทาเทียมกับความยิ่งใหญของผูพูด: ทานจะไดพบความกวางขวางนี้ใน คําพูดของซัยยิด เขาตองการที่จะทําใหทุกถอยคําของเขาลวนเปนหลักสูตรแหงการ ดําเนินชีวิตแกมนุษยชาติ เขายังตองการใหถอยคําของเขาเปนดั่งตะเกียงที่โชติชวงไมมี วันดับในความมืดมิดของชีวิตอีกดวย

*

หมายถึง การนอบนอมและการบูชาทุกสิ่งที่นอกเหนือจากอัลลอฮ ไมวาจะจัดอยูในรูปของวัตถุนยิ ม สังคมนิยม คอมมิวนิสต< ประชาชาตินิยม และลัทธิความเชื่อตางๆที่นอกเหนือจากอิสลาม.(ผูแปล).

49


ความสุนทรียภาพแหงคํากลอน คํากลอนอาจทําใหคําพูด ... มีความสุนทรียภาพแฝงอยูและเพิ่มขวัญกําลังใจ เรามั ก จะพบเห็ น ในหนั ง สื อ บางเลมที่ แ ตงขึ้ ง มาในเชิ ง ตั รฺ บี ย ะฮฺ ไ ดแยกแยะ ระหวางรอยแกวกับรอยกลอน ผูใหการอบรมเลยมิไดรับประโยชน1จากรอยๆโครงและ รอยๆ วรรคของคํากลอนที่ละเอียดออน ไมไดรับประโยชน1จากคํากลอนที่ปลุกขวัญ หรือ จากกลอนที่แตงขึ้นมาในทางอะกีด ะฮฺ แ ละแนวความคิด จากนั ก กวีที่ส ามารถ ไววางใจได ไมวาจะเปนอวุโสหรือนักกวีรุนเยาว1จากนักกวีมือใหมในทางดะอฺวะฮฺอัน ประเสริฐ นัยที่เปนรอยแกวบางคนฟKงแลว มันไมสามารถเขยาความรูสึกของเขาและ ไมทําใหเขาเบิกบานไดเลย แตเมื่อเปลี่ยนมาเปนโคลงกลอนแลวมันสามารถทําใหผูที่ กําลังอยูในสภาพโศกเศรากลับดีใจขึ้นมา ทําใหผูที่เฉื่อยชาลุกขึ้นมาเคลื่อนไหว และ ทําใหความหวังอีกยาวไกลกลับดูเหมือนใกลเขามา (แทจริงในคํากลอนนั้นมีคติพจนแฝงอยู) ดังที่ทานนบี ไดแถลงไว (แทจริง คําพูดที่มีน้ําหนักดวยการเสริมแตงในรูปของคลองจองนั้นเหมือนกับการเสริมทํานอง ในเสียงรอง คือการเสริมศิลปะแหงความเบิกบานของจิตใจสูศิลปะแหงความเบิกบาน ของความคิด) การใหความสําคัญกับบทกลอนโดยมีจุดประสงค1เพื่อเพิ่มนัยแหงความหมายที่ แนวความคิดของนักดาอีย1คิดวาดี ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งของการเห็นชอบในตัวเขาเพื่อนัย นั้นไดหยั่งลึกกวา และการไตรตรอง วิจารณญาน และการนึกคิดจะไดยาวนานกวา ไมมีหลักฐานที่เดนชัดกวานี้อีกแลวซึ่งสามารถบงบอกถึงความสําคัญของรอย กรองในการสนั บ สนุ น ในเรื่ อ งอะกี ด ะฮฺ แ ละคํ า เชิ ญ ชวนใหหลงใหลและยึ ด มั่ น กั บ หลักอะกีดะฮฺนั้น มากกวาการที่คํากลอนมีบทบาทในการยื่นมือแกชาวบิดอะฮฺเพื่อ เกื้อหนุนเขาใหประชาชนทั่วไปหลงใหล พรอมกับที่พวกเขาใชอิทธิพลของกลอนมา 50


ขัดขวางความพยายามของทานอิบนุตัยมียะฮฺและศานุศิษย1ในการทําลายและพยายาม ปKดทิ้งการอุตริ(บิดอะฮฺ) และความชั่วรายของพวกเขา ดวยเหตุผลการปฏิบัติตามสุน นะฮฺอันบริสุทธ1 (ไมเปนที่สงสัยเลยวา คําพูดเชิงเหตุผลของทานอิบนุตัยมียะฮฺกอใหเกิดอิทธิพล และผลพลอยตามมา แตทวาคําพูดเชิงเหตุผลที่แหงเหือดนั้นไมแข็งแกรงพอที่จะ ตอตานความสวยงามของคํากลอนและเสนห1ชักจูงใหหลงไหลได) ดังที่นักกวีอิสลาม ทานมุหัมมัดอิกบาลไดกลาวไว เหมือนกับที่ทานอิกบาลกลาวไวเลยวา ผูที่นําเอาคําพูดของทานอิบนุตัยมียะฮฺ สูปถุชนเพียงนอยนิดนั้น คือ ผูที่เดินตามรอยหัวหนาผูหลงทางที่เชื้อเชิญสูการอุตริ ดวยอรรถรสของความละเอียดออนแหงคําโคลง และความชํานาญของพวกเขาใน เรื่องนี้ จนกระทั่งสามารถสะกดลอใจมนุษย1ดวยคําโคลงโดยที่พวกขาไมรูตัว แต สําหรับทานอิบนุตัยมียะฮฺแลวไมมีนักกวีคนใดเลยที่มีความคิดสรางสรรค1พรอมที่จะ หนุนทาน แทจริงอันคํากลอนนั้นพรอมที่จะหนุนผูที่ใชประโยชน1จากมัน คํากลอนสามารถ ตกแตงสิ่งที่ผิดหรือสิ่งถูกตอง คํากลอนมีผลที่จะเกื้อกูลสัจธรรมหรือสิ่งอธรรมฉันใดก็ ฉันนั้น ในทุกเรื่องราวของแนวความคิดและขอเท็จจริงของการดํารงชีวิต อนึ่ง จิตใจ มนุษย1นั้นถูกหลอมดวยการรักสวยรักงาม ทุกคําของคํากลอนนั้นลวนสละสลาย เปนไปไดมากที่คํากลอนจะเพิ่มเติมความสวยงาม ความโออา ความรุงโรจน1และความ ชัดแจงใหแกสัจธรรมและความถูกตอง คํากลอนเชนกันอาจจะซุกซอนสิ่งไมดีจากการ ฉีดขาด โคงงอและเบี้ยวในหนาบันทึกแหงอธรรม ความผิดพลาด และภาพมายา ดังนั้นมันจึงปกป†ดสิ่งตําหนิของอธรรมนี้ดวยการชุบทอง แนแทจะไมมีใครคนใดที่ สามารถรอดพนจากการเปนเชลย และแรงอิทธิพลของคํากลอนนี้ทําใหหลงไดเวนแต หัวใจที่เปghยมลนดวยอีมาน แทจริง ตามสภาพการณ1ที่มีการใชคํากลอนที่กลาวมานี้ คํากลอนนั้นแหละที่ ผลักดันเราใหนําประโยชน1จากคํากลอนมาใช ถึงแมวามุสลิมบางคนไมคอยจะลิ้มรส ของคํากลอนอาหรับที่มีความสงางามและชัดแจง เขาจะเผชิญเหมือนที่เยาวชนอาหรับ รุนใหมนี้เผชิญอยู คือความออนแอในการสัมผัสหยั่งรูและทําความเขาใจในเรื่อง 51


วรรณกรรมของพวกเขา แทจริงในดานผลผลิตของผูที่สามารถไววางใจไดจากนักกวี รุนกอนๆ นั้นร่ํารวยและประเสริฐนัก ถึงแมบทกลอนสวนมากถูกแพรหลายกอนหนานี้ แทจริงในการเลือกเฟFนบทกลอนจากพวกเขาเหลานั้นจะเปนดั่งการเสริมพลัง การ อนุรักษ1 การเสริมเสนห1 และการปลุกระดมอันใหมใหแกคํากลอนนั่นเอง ในการนําคํากลอนอัรฺ-เราะกออิก (การโชลมจิตใจอันละเอียดออน) มาใช เรา ควรปฏิบัติตามทานอิมามอะหฺมัด ทานเคยทองกลอนมากมาย ษะอฺลับซึ่งเปนนัก วรรณกรรมผูโดงดังไดจดลอกมาจากทาน สหายของทานไดยินทานรายโคลงหลายตอ หลายครั้งเชนกัน นักกวีตางๆ ยังยืนเสนอตอหนาทานเพื่อสรรเสริญยกยองทานในวัน แหงวิกฤต4 ที่ทานไดประสบมา ยิ่งไปกวานั้นบางบทถูกอางโยงวาทานไดแตงบทกลอน นั้นในการติเ ตี ย นอะลี อิบ นุ อั ล -มะดีนีย1 ข ณะที่ เ ขาไมสามารถอดทนกั บ การทรมาน พรอมกับทานในวันแหงวิกฤต สหายคนหนึ่งไดกลาวแกทานวา: (โอทานอะบูอับดุลลอฮฺ! บทกลอนที่บอบบาง ที่กลาวถึงสรวงสวรรค1และนรกนี้ ทานมีความคิดเห็นอยางไรบาง? ทานก็ถามวา : อยางเชนบทไหนหละ? เขากลาววา: ยามใดที่ พระผู อภิบาล ไดตรัสขาน แกฉันวา: หรือไมอาย เจาซอนบาป จากมวลสรรพ สิ่งทั้งหลาย แลวมาหา ขาดวยการ ทรยศ? พลันทานกลาววา : กรุณาทวนอีกครั้งซิ เขาคนนั้นก็พูดวา: ขาพเจาก็ทวนใหทานฟKงอีกครั้ง ทานเลยยืนขึ้นและ หันหลังเขาไปในบานพรอมกับป†ดประตู หลังจากนั้นขาพเจาไดยินเสียงสะอึกสะอื้นดัง แววมาจากขางใน พลางทานก็เอยวา ยามใดที่ พระองค: อภิบาล ไดตรัสขาน แกฉันวา: หรือไมอาย เจาซอนบาป จากมวลสรรพ สิ่งทั้งหลาย แลวมาหา ขาดวยการ ทรยศ? สวนการยืมใชบางบทกลอนที่ถูกกลาวในเชิงเชิดชูบรรดาผูที่ษิเกาะฮฺ เชน: เคาะ ลีฟะฮฺ (ผูสืบตําแหนงแทนผูปกครองมุสลิม) ผูบัญชาการและผูมีเกียรติ เพื่อพรรณา 4

คือวิกฤตที่ทานถูกทรมานที่ไมยอมกลาววาพระมหาคัมร<อัลกุรอานเปนสรรพสิ่งถูกสราง

52


คุณศัพท1ของนักเผยแผอิสลามดวยคํากลอนนั้น เรื่องนี้เปนขนบธรรมเนียมประเพณีที่ ทําตามเรื่อยมาจากบรรพบุรุษ ในเรื่องนี้เราควรเดินตามรอยปฎิบัติของทานอุมัร อิบ นุอัล-ค็อฏฏอบ ในขณะที่ทานฟKงบทกลอนของซุฮัยรฺ อิบนุอะบีสูลมาที่ไดกลาวถึงฮา ริม อิบนุสีนานอัล-มัรรีย1 : “ จงปลอยคนนี้ และจงสงถอยคําอันออนนุมนี้ เพื่อฮาริม ผูดีเลิศแหงชายฉกรรจ: และผูเปนหัวหนาของชาวเมือง” ในบทกลอนอื่นๆ มีอีกมากมายที่ทานอุมัรฺไดกลาวไว ทานอุมัรก็กลาววา : นั่นแหละ ผูที่ซุฮัยรฬหมายถึง คือ ทาน เราะสูลุลลอฮฺ ดวยความเปรมปรีย1และความอิ่มเอิบในประโยชน1ของคํากลอนและการอนุญาต ใชไดนี้(เห็นชอบตามบทบัญญัติ) ไดผลักดันใหเราสรรหาและหยิบยกบทประพันธ1จาก สมุดบันทึกของผูอาวุโส หลังจากนั้นนําคํากลอนตางๆ จากสมุดบันทึกการประพันธ1 (เปนลายลักษณ1อักษร) ของวาลีด อัลอะอฺซอมีย1 มะหฺมูดอัล-ยะอฺฟKรฺ อัล-อามีรีย1 อับ ดุลลอฮฺอัซซาม และคนอื่นๆ

มุฮัมมัด อิกบาล ยอดกวีมุสลิม ทานศาสตราจารย1 ดอกเตอร1 เซอร1 อัลลามะฮฺ มุ ฮั ม มั ด อิ ก บาล เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ ๙ พฤศจิ ก ายน ค.ศ. ๑๘๗๗ ที่เมืองซียาลโกท ซึ่งเปนเมืองเล็กๆ ในแควน ปKญจาบ (ปากีสถาน) หลั งจากนั้นทานไดเดินทางไป ศึ ก ษาตอขั้ น สู ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เคมบริ ด จ1 และ มหาวิ ท ยาลั ย มิ ว นิ ค ทานไดรั บ ปริ ญ ญาเอกทาง สาขาวิชาปรัชญญาจากมหาวิทยาลัยมิวนิคในปg ค.ศ. ๑๙๐๘ ในปgนั้นเองทานไดเดินทางกลับป†ตุภูมิ ตลอดชีวิตของทานไดเขาไปมีสวนรวม อยางจริงจังในกิจกรรมที่สําแดงออกทางการเมืองและศีลธรรมของบรรดามุสลิมใน อินเดีย แตสาส1นของทานมิใชเพียงเพื่อประชาชนในชมพูทวีปอยางเดียวเทานั้น ทานได 53


แสดงออกอยางล้ําลึกซึ้งถึงความคิดความเชื่อเกี่ยวกับภราดรภาพ ซึ่งอยูโพนพรมแดน ทางดานภูมิศาสตร1 (ไรนาน อรุณรังสี . 1977: 9) ทาน มุฮัมมัดอิกบาล เปนนักปรัชญา-กวีแหงปากีสถานที่ดีเดนในประวัติการณ1 ของวรรณคดีตะวันออกสมัยปKจจุบันในฐานะที่เปนอัจฉริยบุรุษที่หาไดยากยิ่ง ทานอิก บาลมิ ไ ดเปนเพี ย งกวี ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะดี เ ดนเปนพิ เ ศษเทานั้ น แตทานยั ง เปนผู ที่ มี ความคิดฝKนอันบรรเจิดยิ่งใหญอีกดวย ผลงานของทานสะทอนใหเห็นถึงความรอบรูที่ กวางขวาง และความคิดอันสุขุมล้ําลึกซึ่งแสวงหามาไดโดยการพินิจพิจารณาตรึก ตรองอยางลึ ก ซึ้ ง และศึ ก ษาไมเฉพาะเพี ย งอิ ส ลามเทานั้ น แตทานยั ง ไดศึ ก ษา แนวความคิดรวมสมัยในชวงระหวางที่ทานอยูในยุโรปเปนเวลายาวนานอีกดวย (ไร นาน อรุณรังสี . 1977: 5) ทาน อิกบาล เปนกวีแหงอิสลามรุนเยาว1และเปนนักวิชาการผูยิ่งใหญ ทานได บันทึกไวในสมุดประพันธ1ของเขา เชน: - อัสรา-ริ-คูดี, ความลึกลับและสัญลักษณ1 บทกวีเรื่องนี้สําเร็จสมบูรณืในปg ๑๙๑๗ ซึ่งแสดงอัจฉริยภาพของกวีที่ไดพัฒนาความคิด ในรูปแบบชั้นสูง นับเปนงานชิ้นเอกอมตะซึ่งวรรณคดีนอยมากในโลกนี้ที่จะสรางสรรค1ใหได ถึงขนาดนั้น - รุมู-ซิ-เบคูดี ไดรับการจัดพิมพ1ในปg ๑๙๑๘ นับวาสมบูรณ1มากในดาน ศิลปะการแตง ประสานกลมกลืนใหเห็นขั้นตอนระหวางความลับกับการ เปนกวี และความกลมกลืนระหวางกวีและปรัชญา - ป@ยยา-มิ-มัชริก, สาส1นแหงบูรพาทิศ เปนบทกวีที่รวบรวมเขียนดวยภาษา เปอร1 เ ซี ย แสดงใหเห็ น ถึ ง ศิ ล ปะของการรจนาสู ง สุ ด และสํ า แดง ความสามารถในการเปนนายบังคับภาษาไดอยางสมบูรณ1แบบ นับเปนบท กวีเปอร1เซียภายหลังสุดซึ่งยากที่จะหาบทกวีใดเทียบได - ซอร-เบ-กะลีม, ไมเทาอันทรงเกียรติของนบีมูซา ผูซึ่งพูดกับอัลลอฮฺ ไดรับ การจัดพิมพ1ในปg ค.ศ. ๑๙๓๖ นับวาสมบูรณ1

54


ทาน อิกบาล ถือวาบทกวีตองสรางจินตนภาพและเปนประโยชน1แกมวลชนที่จะ หลอมวิญ ญานความรูสึก ของคนใหกระพือ พลั งสรางสรรค1ใหจงได วิญ ญาณกวีมี ความหมายมากกวาตัวอักษรในแผนกระดาษ ! ! "#$ %& ' ' '() '* % + (& , "# , # ! ! , - , -( .# .'& / / !0 ! ( % %, , '$ " , " ' , , %1 ก, ก ก '( ' #/ !"#$% .'3 ... ก5, 6, + %& ,ก 6, + , & ( + %7 + ก5! !!! 8 (จากไมเทาอันทรงเกียรติ ใน ไรนาน อรุณรังสี . 1977: 34) นับวาคํากลอนของอิกบาลไดเขามาเปนครั้งแรกในคําเตือนอนุสติของอาหรับ หลังจากที่ทาน อับดุลวะฮฺฮาบ ไดแปลรูปออกมาเปนภาษาอาหรับ อิกบาลเปนนักกวีที่มีอะกีดะฮฺที่ถูกตอง มองการณ1ไกล มีความคิดเฉียบแหลม สมบูรณ1 ทาน อะบูหะสันอันนัดวีย ไดรับรองความเชื่อใจเขาแลว อันนัดวีย1ไดศึกษา เกี่ยวกับตัวเขาและเขียนหนังสือที่ใหนามวา: (เราะวาอิอุอิกบาล, ความสุนทรียภาพ ของอิกบาล) อบูลอะอฺลาอัลเมาดูดีย ก็ไดใหคํารับรองความเชื่อใจแกเขาเหมือนกันใน บทความที่สําคัญที่ทานไดเผยแพรในนิตรสาร (อัล-บะอฺษุ อัล-อิสลามีย) ในประเทศ อินเดีย ทานไดใหขอกระจางถึงความประเสริฐของทานอิกบาลในการแนะแนวเยาวชน ในขณะที่อารยธรรมยุโรปไดครอบงําพวกเขาไว และความพยายามของเขาในการนํา เยาวชนเหลานั้นใหหลีกเลี่ยงจากความคับแคบของการมีทิฐิในกลุมนิยม (ยึดถือและ เคารพรักในความคิดเห็นของหมูขณะ) และไดใหความหนักแนนในมโนทัศน1ของความ เปนรัฐอิสลามอันหนึ่งเดียวแกพวกเขา จนกระทั่งอัล-เมาดูดีย1เองไดพรรณาคุ ณ ลักษณ1การงานของอิกบาลวาเปนการงานที่ยิ่งใหญนักในดานการปฎิรูป (อิศลาหฺ) มัน มีคุณคาที่ประวัติศาสตร1อิสลามจะลืมไมไดเลย แทจริงเขายังสามารถประคับประ 55


ครองเยาวชนมุสลิมที่ประสบวิกฤตสมัยใหมและทฤษฎีรายแรงตางๆ นานาที่พยายาม ตะครุบกลืนพวกเขา นอกเหนือไปกวานั้น ชิ้นงานที่สําคัญที่อิกบาลไดเสนอในชวงสุดทายของชีวิต ชางยิ่งใหญเหลือเกินในทัศนะของอิสลาม นั่นก็คือ อุทิศปลายปากกาของเขาในการ ประจานและแฉเผยความชั่วของลัทธิ -ก และลัทธิ เขา ไดเตือนใหระมัดระวังจากความเชื่อทั้งสองประเภทนี้ จะเห็นไดวาเขาจะคัดคานอยาง แรงในความเบี่ยงเบนในความคิด ( ,9& ! :&, ความเปนหนวยเดียวกับอัลลอฮฺ ) ซึ่งแตกตางกันมากจากที่บางคนเขาใจในตัวเขา แทจริง แนวความคิดที่ใสสะอาดของอิกบาลไดรบเราสัยยิดกุฏ…บใหกลาวออก มาวา: “ขาพเจาประจักษ:แลววาระหวางความคิดเห็นของมุหัมมัดอิกบาลและ แนวทางมโนทัศน:ของขาพเจามีจุดคลายคลึงอยางมหัศจรรย: เขากาวขาม ดวยนัยสูถอยคําตางๆ ซึ่งบางครั้งไมสามารถที่จะเผยออกมาดวยถอยคํา ไดโดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวของกับจิตและวิญญาน แทจริงขาพเจาหลงใหล มากกับการศึกษาของอิกบาลและตัวบทตางๆของเขา”

รหัสยแหงอาตมัน (อัสรา-ริ-คูดี) ,' + , ! ' เปนกวี นิพ นธ1ที่ สํ า แดงออกที่ แจมชั ด ที่ สุ ด ของแนวความคิ ด เกี่ยวกับความสัมพันธ1ของมนุษญ1กับจักรวาลตามทัศนะของทานอิกบาล ทานเชื่อวา มนุษย1ผูซึ่งไดรับลักษณะคุณานุภาพของพระเจาเยี่ยงพระองค1นั้น กําลังมีสวนรวมใน กระบวนการสรางสรรค1จักรวาลนี้ดวย แลวอะไรเลาคือชีวิต? ชีวิต คือ ปKจเจกภาวะซึ่ง เปนรูปแบบที่สูงสุดของอัตตา ภายในอัตตานั้นแหละที่ปKจเจกภาวะไดกลายเปนศูนย1 รวมแหงพลังอัตตาภาพ เพราะฉะนั้น อุดมคติของมนุษย1ทางดานศาสนาและศีลธรรม นั้นไมใชการปฏิเสธอัตตา แตเปนการยืนหยัดการยอมรับอัตตาเพื่อใหปรากฏชัดแจง ออกมา เมื่ อ มนุ ษ ย1 ไ ดรั บ แนวอุ ด มคติ นี้ ก็ จ ะกลายเปนปK จ เจกบุ ค คลทวี เ พิ่ ม ขึ้ น ๆ

56


จนกระทั่งหลอหลอมเปนหนวยเอกภาพสมบูรณ1ถึงที่สุดแหงอัตตภาวะนั้นๆ (ไรนาน อรุณรังสี . 1977: 10-11) ทานอิกบาลไดใหความสนใจกับสังคมอินเดียซึ่งขณะนั้นยังลาหลังอยู จําตอง ปรับปรุงและตอสูอุปสรรคอีกมาก ทานหาทางวางรากฐานปรัชญาชีวิตเพื่อรวมพลัง มวลชน โดยเนนเรื่อง อัตตภาวะ คือ เราบุคลิกภาพของปKจเจกชนใหวิวัฒน1ไปในทาง ปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ทานสาธยายปรัชญาพื้นฐานนี้ดวยภาษากวีที่ไพเราะแข็งกราว เราใจ เปนปรั ชญาที่ตอตานปรั ชญาระบบเกาๆ ที่เ นนหนั กไปทางจิตวิญญาณดาน เดียว จนยึดถือการสมาธิเปนเอกฉันท1 ไมสําแดงกัมมันตภาพในเชิงปฏิบัติแตประการ ใด ทานเห็นวาเปนมติที่ลดพลังของมนุษยืลง ไมเหมาะสมกับการพัฒนาชาติทุกดานใน โลกปKจจุบัน ในที่สุด ทานก็เขียนบทกวีเรื่อง รหัสย1แหงอนันตาภาพ (ความลี้ลับของ อนั ตตา) จุ ด ประสงค1ข องทานคื อ เรงเราใหคนเปนตั ว ของตั ว เอง สรางสรรค1แ ละ เสริมสรางตัวเองเพื่อรูจั กตัว เอง เมื่อ บุคคลรูจัก ตัวเองก็ทํ าลายอัตตาได และเขาสู ความไมเห็นแกตัว แตดํารงชีวิตเพื่อประโยชน1ของมวลมนุษย1อยางแทจริง กลาวคือ มองไมเห็ นความทุ ก ข1ย ากลํ าบากของตนเอง ไมมีค วามเห็นแกตั ว แตทําหนาที่เ พื่อ ความจําเริญของโลกและชีวิตทั้งมวล (ไรนาน อรุณรังสี . 1977: 28-29)

57


ตัวอยางการใชบทกวีในการเสริมสรางมโนทัศนและความเขาใจใหกระจางยิ่งขึ้น

/ & ก &&# "#$ 77 "ก ; ; "; < ก ")= . + " (; &; >/ "'$ ก ('ก '* ?@ , + . ' . !! A A "'* ก # "ก , , / / ก ' !+ " <( ' + ' !'& ! / " * $' &#"ก $ .+ >'ก&# !. + " ) + . + &# " '* ! &ก . + " '* "#$ , .$ ก ก* != &; / .$ ./. " "#$ ) "ก A ก ' ! + " "#$ %& '/ -" Aกก *

"#$ ) / ' & -, / " '* , & & ) + ก ) '* . ' & " (รหัสย<แหงอาตมัน หนา 398) 58


ก ก ทานอิกบาลสอนใหคนรักศักดิ์ศรีของคน ไมดูถูกคนสอนใหตอสูดิ้นรนตลอดไป ไมงอมืองอเทา ไมโพนทะนาดุดาโชคชะตา แตใหตอสูไปดวยความอดทนยิ่ง มีบทกวีที่ ไพเราะเพราะพริ้งหลายตอนที่นากลาวถึง เชน , ( , 1/ 1 ก

ก / A , ' % ,5 , / ?@ # # %, % ก , *; $; % (B / -ก , , "#$ % ,5 *; , ,"'

% -

#

*;

, %, $ ก , -ก &-( ก' , # (

/'&& '* ก ,5 < , & *; (B %!A & &# C! != # ! / < . ก ก5(ก ( + " " , 'ก, ก ( ก ( ( 1 # !( ( , ก 1 1 ( กD / , 1 ' % '! ' &#E -( %& ,5 < *; 7B$ ' / , ก, / '$ ( ก ก ' , , -( ' ' ' ก $ $ "; 1' -& ( %&&$ -, * (! 59


! " .D , , /5 (5/ ' ( , &, & % &#E ก ก5('กAB (B %&ก (รหัสย<แหงอาตมัน หนา ๓๖)

ก ก!

ก"#

ทานอิกบาลเจ็ บปวดที่พ ยายามคนควาหาหลัก การรวมภายในเขาดวยกันให กลมกลืนไดประสบความลมเหลวครั้งแลวครั้งเลา ทําไมกลุมตางๆ ตองประสบความ ลมเหลว? บางทีอาจจะเกิดจากการที่เราตางสงสัยในความตั้งใจของกันและกัน ทาน ไดมีความเห็นวา เราไมสามารถที่จะแยกสวนของการผูกขาดตางๆ ซึ่งสถานการณ1 แวดลอมไดสอนใหแกมือ ของเราและซอนเรนลั ท ธิเ ห็ นแกตั ว ของเราไวในเสื้อ คลุ ม ภายนอกที่สําแดงออกมานั้นเปนการกระตุนความรักชาติอยางใจกวาง แตภายในใจ แคบเหมือนกับการถือเชื้อชาติ เผาพันธุ1 หรือบางทีเราไมเต็มใจที่จะยอมรับวา แตละ กลุมมีสิทธิในการพัฒนาอยางอิสระ เพื่อใหเปนไปตามครรลองของประเพณีนิยมทาง วัฒนธรรมของกลุมของเขาเอง ทานอิกบาลไดสาธยายไวในบทกวีตางๆ ดังนี้ " 7B$ < 'ก "D- ก !ก ( # /" # " & ก#$ ก'/ ก 8 A " #. ( .# + &# ( ('& ก' ( ก; ('& & ก#$ ก'/ก; % - &" ( . ' '") "#$ 5 ก ก'/ # ! / " ! & ก'8 $ % ' ? ,+ (!-( " Aก"; -, 5 ( กA ; ก 8 ( ก ' -& ! ' G9 . ก ' < .D>' กก 6/'!ก "'* ' ( "#$ & , #! 7B$ ('/ '/ มุสฏอฟา % %& 60


( < 6 )7 ก' < " ,' -(AกH > - ก <" ก '/ก < > ก ก <" Aก"; -, !ก ก *ก# '* " "ก' ก'/ก '* ก #* ก &, $ " - / ./ D '* &. & / ./ D *' ' .' )+ก'/0I ก ก '* ' '* 'ก #.* J !ก! ก' '/ ' - ,' -("'* , ( ก6 B* A& '/ #$ ! K ( ก6 B* A& , ('ก #$ "#$ & ( # / # Bก"Bก Bก / & ! # "# ! & # &!# + " A& ( ก B* &#& . , > & A& ( -, ก '/ 7B$ A % + , 'ก ' ! ก ( ; ' , ' ! "'* , ก '/ ก #ก '* , B$ A& ( / + , ' !> . ก , '* D ! " " .& " ก5/ ก#$ " @, , # ! #* ? ก# 9 , B$ 7B$ -, . ก * ? ก# 9 , B$ 7B$ '/"'* , ก .! ก ? ก# 9 , B$ 7B$ ; ก( ,&,-( ' ! ? ก# 9 7B$ ก #& ก < > .& ! L '3 ? ก# 9 .! " ก; ' & 5 (ก - " ; '* %&&&7'/ !! ' !ก % ? ก# + ก . !ก ก ' "; -," MN / +& >. < ( -, 'ก %, ' "ก $ "ก " -,, & ( (; ! '() , '* 7B$ ( ก '/ > . " -, < &( #,+ ) D + ก#$ ก'/ ก , '(( %ก' 61


/ & #,+ . ( '* % ('ก ,+ก ' (* ( ก ( -( A " ! ก &ก"#$ < . ( & ( ก/ ./ D " $ '* % (-, C! ก" %& ( A& ' ก < , ก (B < . -&% #. ' + ก %- % $ ก( ก 6 ) , &

ปลอยใจใหสงบกับธรรมชาติแหงความงาม

อุปมัยศิลปW (การอุปมาอุปไมยและการเปรียบเปรย) ความเปนเอกพันธ1ของ คลองจอง การเปรียบเทียบในคํากลอน ผูที่มีรสนิยมสูงจะรูวาคําพูดเชิงระดมขวัญจะ มีอิทธิพลเหนือกวาหากมาประกบกับศิลปWแหงสํานวนโวหาร ดวยเหตุนี้ เราไดหยิบยก สิ่งเหลานี้มา โดยไมมีการเกินเหตุใดๆ การหยิ บ ยื ม คํ า (คํ า พั ง เพย–ในภาษาหมายถึ ง การเอาศั พ ท1 คํ า หนึ่ ง มาใชกั บ ความหมายอื่น) และกินายะฮฺและรูปแบบอื่นๆในสํานวนโวหาร มิใชอื่นใดนอกจากเปน สํานวนทั่วๆไป ซึ่งไมมีทางหลีกพนไดสําหรับจิตที่มีศิลปW อนึ่ง ในธรรมชาติของจิตใจ แลว มันตองการสิ่งที่ยิ่งใหญกวา สิ่งที่งดงามกวา และสิ่งที่ละเอียดออนกวาเสมอ บาง 62


คราผูที่ไมมีใจทางศิลปWจะเห็นวาเลยเถิด เปนคําพูดที่ไมใหความหมาย เปนการพูดดวย ถอยคําที่ไมตรงจุดที่ผูฟKงตองการทราบ และเปนการวางคําสําหรับบางสิ่งในที่ไม เหมาะไมควร ผลที่ออกมาจะตรงขามกันเลย มันจึงถูกมองวาเปนการงานที่สูญเปลา เเละสูญเสีย เปนการงานที่เเกมโกงไมมีคติพจน1ในนั้นเลย เเตทวา ศิลปWที่มีอยูในตัวนัก กวีจะคัดคานเวนเเตจะเสริมแตงความหมายของมันซะอีก ดังนั้นมันจะเนรมิตถอยคํา เชิงวรรณกรรม มันจะควบคุมดวยพลังอันหนึ่งซึ่งจะทะลุสูจิตใจ และเพิ่มความรูสึกที่มี ตอมัน มันจะไมเพิ่มในรูปแบบของคําพูดใดๆ ไมวาการเปลี่ยนแปลงถอยคํา หรือการ ซ้ําความหมาย นอกจากจะเปนการตระเตรียมในการเสริมแตงในความรูสึกของจิต วิญญานทั้งสิ้น ดังนั้นมันมีความสําคัญมาก เพราะบางคน(ถอยคําอันงดงามจะเปนที่ ชื่นชอบของเขา บางคนสัญลักษณ1และปริศนาจะเปนที่สนใจของเขา และบางคนจะถูก ชักจูงโดยเพียงบทกลอนหนึ่งเทานั้น มนุษย1ที่ตองการสํานวนโวหารและถอยคําที่ ละเอียดออน คือนักดาอีย1ที่เปนดั่งผูตักเตือนใหแกสังคม เพื่อเขาจะไดเชิญชวนมนุษย1 ใหไดมาซึ่งสิ่งปราถนาของสัญชาตญานของเขา ถึงกระนั้นก็ตาม เขาควรมองสิ่งที่ จําเปนและเอาสิ่งที่อนุญาตในการใชถอยคําที่เปนสํานวนโวหารและเชิงวรรณกรรม เทากับปริมาณเกลือในอาหาร หลังจากนั้นเขาควรชักจูงพวกเขาสูความทะเยอทะยาน อันอยางแนวแน และแนะแนว พวกเขาสูเสนทางสัจธรรมในที่สุด

ยุวชนของเรายุคนี้โดนหลอกลวง ประชาชาติอิสลามถูกแผนการลวงลอจากพวกยิว พวกเขาไดเปลี่ยนบันทัด ฐานตางๆของประชาชาติอิสลามใหหยอนลง ยังมีสิ่งที่บังคับลูกหลานของมุสลีมีนให ถูกอบรมบนเสนทางของแผนการนั้น ซึ่งเปนเสนทางที่มาจากมโนภาพที่แตกตางกัน มากกับอิสลาม ตามนามเรียกตางๆที่ไดนํามาสวมใสดวยอาภรย1ตางๆ นานา พวกเขา จะหลอกลวงดวยการหวานเสนห1มาลอลวง สุดทายพวกเขาทําใหมุอ1มินตกเปนเชลย 63


ของนักการเมือง นักวรรณคดี นักบูรพาคดีที่ไมมีความหยั่งรูในศาสนาเลย พวกเขา เลยเอาบทศาสนาทั่วไปมาเปนอุปกรณ1การคลุมเคลือที่มาจากมหาคัมภีร1อัลกุรอาน และอั ล -หะดีษ ที่ใ หความหมายอั นกวางขวาง บางทีอ าจนํ ามาจากหะดี ษ ที่เ มาฎC อฺ (ปลอม) เพื่อสถาปนาระบอบการเมือง องค1กรทางเศรษฐกิจ ใหออกมาในรูปแบบและ ประทับตราดวยระบอบอิสลาม โดยปราศจากเงื่อนไขของรากฐานการออกกฏหมาย บทบัญญัติอิสลามและการอิจDฺติฮาด(การพยายามออกความคิดเห็นของตนเองตาม เงื่อนไขของบทบัญญัติอิสลาม) สิ่งเคราะห1รายของมุสลิมในวันนี้ ไมจํากัดแคการแทรกแซงของผูนําแหงความ เหลวไหล ซึ่งไดออกจากทางที่เที่ยงตรงเทานั้น ทวาสืบเนื่องไปถึงระบบการอบรมใน หลักสูตรการศึกษา หองบรรยายในมหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ1และวิทยุกระจายเสียง และอุปกรณ1การสื่อสารที่ทันสมัยทั้งหลาย ถูกใชประโยชน1เพื่อลบลางความคิดและ คุ ณ คาตางๆ ของอิ ส ลาม จนกระทั่ ง ผู ที่ ต กเปนเชลยของแผนการลาเหยื่ อ จะมี ความรูสึกปลื้มและสําราญใจ เพราะเขาคิดในใจวา เขาไดเปนอิสระจากการเปนเชลย ของผูคนเกากอน ผูคนเกากอนที่ไหนหละ ? และแลว การอบรมเฉกเชนนี้ พวกยิวสามารถเปลี่ยนเหยี่ยวอิสลามใหกลับ กลายเปนนกกระทาที่รักความสงบและสุภาพออนโยน ดังที่ทานอิกบาลไดกลาวเอาไว แทจริงมันเปนทักษะที่ละเอียดออนชนิดหนึ่ง และเปนการฝŒกซอมในการลอ ดวยคําหวานที่นักวิชาการแหงความงมงายไดใชมัน มันเปนทักษะที่ : แยงชิงยอดดอกไมที่เอนเอียงอยางสวยงาม และเปลี่ยนเหยี่ยวใหเปนดั่งนกกระทา พวกเขาสะกดขบวนมาดวยมนต:ตรึงใจและทํานองที่ไพเราะเพราะพริ้น บางทีการโยนของคลื่นทะเลทําใหเรือลมได ทํานองและเพลงกลอมของพวกเขาทําใหการตื่นตัวของเรางีบลง ลมหายใจของพวกเขานั้น ทําใหเชื้อเพลิงของเราไดดับลง5 มนุษยชาติก็ถูกซึมซับดวยความต่ําตอยโดยที่ไมรูตัว ........

5

อับดุลวะฮาบ อัซซาม หนังสือ(มุหัมมัด อิกบาล) หนา : 162 .

64


แทจริง (มนุษยชาติโดยสัญชาติญาณแลว ตางหลีกหนีจากการดูถูก ถอนตัว คืนมาจากเสนทางการกดขี่ แตสถานการณ1ก็คลอบคลุมดวยมนุษย1เอง และเกิดขึ้นกับ พวกเขาติดตอกันมา พวกเขาจึงยอมสยบอยางถอมตัวครั้งแลวครั้งเลา และพวกเขา จะเงียบหายภายใตอํานาจบางสถานการณ1แลวสถานการณ1เลา จนกระทั่งพวกเขาได ฝŒกซอมและชินกับมันแลว เหมือนกับขั้นตอนที่ใชในการทําใหสิงโตและสัตว1ดุรายเชื่อง ได และทําใหสัตว1รายออนโยน แตทวา อะตอมแหงศักดิ์ศรียังคงสถิตในจิตวิญญาณ ในเลือดยังคงมีเกล็ดถานที่ยังลุกโชนอยู หากนักดาอีย1เชิญชวนสูเกียรติศักดิ์ ประกาศ กองซึ่งความอิสระ ปลุก จิตใจที่กํ าลั งหลั บไหล และเขยาความรู สึก ที่กํ าลั งนิ่งหลั บ ศักดิ์ศรีในวิญญาณก็พลันเตน ถานที่ยังแดงเรื่ออยูในทรายก็จะเปลงปลั่ง ความเปน มนุษย1ในตัวก็จะสะดุงตื่นอีกครั้ง เขาเลยยืนตระหงานคัดคานการดูถูกและลุกขึ้นตอสู แลวเขามองทุกสิ่งที่เขาไดพบเห็นในทางการญิฮาด เปนการงายกวาการตกเปนทาศที่ นอกเหนือจากการเปนทาสของอัลลอฮฺ และเปนสิ่งที่ประเสริฐกวาธรรมชาติของ สัตว1เดียรัจฉานเสียอีก

เนื้อสมันที่หวาดกลัว ในทางการดํ าเนิน ปฏิบั ติ ก ารเหยีย บหยามและการลอลวงดวยคํ าหวานให ออกมาในรูปแบบที่สมบูรณ1ไดนี้ พวกเขาจะกดดันนักเผยแผอิสลาม เพื่อวิชาการ นัก วรรณกรรม นักปราชญ1จอมปลอมจะไดใชอํานาจกดขี่ดวยการแนะแนวเชิงอบรม ทาง วิทยุกระจายเสียง และทางหนังสือพิมพ1 ซึ่งพวกเขาจะโฆษณาชวนเชื่อและพวกเขา สมทบกิจการตางๆของพวกเขาดวยองค1ความรู และคติพจน1ตามแบบฉบับญาฮิลียะฮฺ ตะวันตกและตะวันออก และพวกเขาปลอมแปลงกิจการตางๆของพวกเขาโดยองค1กร ตางๆ ดูเผินๆ แลวออกจะแตกตางกัน พวกเขาก็เริ่มตกแตงดวยเครื่องประดับที่ดึงดูด จิ ต ใจเยาวชนรุ นใหม รุ นลู ก มาแหงนั ก รบ และลู ก สิ ง โต เพื่ อ พวกเขาจะไดเปนผู ละเอียดออนในตัณหา เซ็กส1 ชีวิตที่มั่นคั่งในปKจจัยยังชีพ และสําราญสุขในอารมณ1 65


ใฝp ตํ่ า หลั ง จากนั้ น พวกเขาก็ เ ริ่ ม ลบลางมรดกตกทอดที่ นํ า พาความเจริ ญ ของ ประชาชาติส มัย ทองซึ่งมีอารยธรรมที่สู งสง และพวกเขาลบเรื่อ งราวของอุ ละมาอ (นักวิชาการอิสลาม) ออกจากหลักสูตรของพวกเขา เพราะพวกเขากลัววา ชีวประวัติ ของบรรดาอุละมาอ1เหลานั้นจะเปนดุจแสงเทียนสําหรับเยาวชนมุสลิม กลัววาพวกเขา จะนํ าบทเรีย นตางๆ มาสองบนเสนทางการปฏิบั ติและดํ าเนินภารกิจดะอฺ ว ะฮฺ และ การญิฮาดตอไป คําพูดของอิกบาลผูเปนนักกวีแหงอิสลามไดแฉยุทธศาสตร1อันทรยศของพวก เขาวา ยุคของประชาราษฎรที่ถูกหยามจะไมสรางจากผูรู นักกวี และนักปราชญ ทฤษฎีทางความคิดไดแบงแยกพวกเขา แตทวาทุกความคิดจะสงเป/าหมายในแผนการหนึ่งเดียว พวกเจาจงสอนสิงโตวาดวยความหวาดกลัวของเนื้อสมัน และจงลบเรื่องราวของสิงโตในคําพูดและนิยายเกาๆ ความตั้งใจของเขาคือ ความป4ติของขาทาสในการเป5นทาส ทุกคําสอนของพวกเขาลวนเป5นการหลอกลวงของนักวิชาการ6 แผนการของพวกเขาก็เกิดขึ้นแลว … นี่แหละเปนสัญลักษณ1แหงการเล เหลี่ยมที่เปนยุทธวิธีของพวกยิวและคริสเตียน แทจริงมันเปนการสอนสิงห1แหงอิสลามดวยความหวาดกลัวดั่งเนื้อสมัน และการลบลางเรื่องราวของสิงห1แหงอิสลามจากบรรดาอุละมาอ1และผูใชชีวิตอยาง สมถะและวี รบุ รุษ นั ก รบในประวั ติศ าสตร1ข องศตวรรษยุ ค แรกที่ป ระเสริฐ เลิศ ของ ประชาชาติแหงนักรบ แผนการอบรมและระบบการศึกษาแบบญาฮิลียะฮฺจากผลผลิตของฏอฆูต จากยิว คริสเตียนและพวกวัตถุนิยมไดผลิตเนื้อสมันอันหวาดกลัวตัวนั้น พวกเขาจะไม มีวันบุกรุกตอสูอีกตอไป กลับกันพวกเขาตางเปลี่ยนความปรารถนาอันแรงกลาดวย การหันกลับและแยงพากันหนี และปลีกตัวจากความรับผิดชอบ นี่แหละคือเยาวชนยุค นี้จากลูกหลานของมุสลีมีนเอง พวกเขาเหลานั้นคือลูกสิงโตที่ไดกลายเปนเนื้อสมันที่ 6

อิกบาล ดีวานุ ฎอรบิลกะลีม หนา : 102 .

66


สุ ภ าพและรั ก สงบเสี ย แลว แทจริ ง พวกเขาคื อ ลู ก หลานของมุ ส ลิ ม ที่ เ ปนอิ ส ระชน แผนการอันอัปยศทําใหพวกเขาเปนทาส พวกเขาก็เปรมปรีย1กับการเปนทาส ถึงกระนั้นก็ตาม หากผูที่ตกเปนเหยื่อของแผนการลอดวยคําหวานจาก เนื้อสมันที่ขลาดและเปนดั่งนกกระทาที่รักความสงบเนื่องจากการรุกรานทางความคิด ของกระแสความคิ ด แบบญาฮิ ลี ย ะฮฺ แทจริ ง สิ ง ห1 จ ากเหลานั ก เผยแผอิ ส ลามได ประจั ก ษ1 รู ซึ้ง แลว...และเรากํ า ลั ง เอี ย งหู ฟK ง เสี ย งเพลงอั น สู ง สงในการเดิ น ทางอั น ประเสริฐของพวกเขา พวกเราเป5นผูสืบทอดจากผูที่ใหทางนําแกประชาชาติ พวกเราคือความมหัศจรรยที่ซอนเรน ณ สัจธรรม พระอาทิตยยังคงแผรัศมีของพวกเรา ในกอนเมฆของเรามีฟ/าแลบและแสงไฟ ตัวเราคือกระจกของสัจธรรม และจงรูเถิดวา หลักฐานแหงสัจธรรมนั้นคือการมีอยูของมุสลิม7 นั้นแหละคือการหยั่งรูและการตื่นตัว... หลักฐานแหงสัจธรรมนั้นคือ การมีอยูของมุสลิม การมีอยูของมุสลิมนั้นเปนสวนหนึ่งจากสิ่งที่ตองเกิดขึ้นของประวัติศาสตร1 ไมวาในอดีตและปKจจุบันและแทจริงมันเปนสิ่งที่ตองบังเกิดขึ้นที่จะดําเนินไปจนกระทั่ง ถึงวันอาคิเราะฮฺ (สัจธรรมคือแกนหลักของการมีอยูนี้ ดังนั้นหากมันเบี่ยงเบนจากสิ่งนั้นมัน ก็จะสั่นคลอนและพินาศ คําตรัสของอัลลอฮ ซึ่งมีความวา (หากวาสัจธรรมนั้นสอดคล&องอารมณฝHายต่ําของพวกเขาแล&วชั้น ฟ5 า ทั้ ง หลายและแผนดิ น และสิ่ ง ที่ อ ยู ในนั้ น จะต& อ งเสี ย หายอยาง แนนอน(คือระบบของโลกทั้งมวล)

7[8]

อิกบาล หนังสือประพันธ< (อัล-อัสรอรฺ วะ อัรฺขรุมูซ) หนา ๖๗ .

67


ณ ที่นั่นสัจธรรมจะตองบังเกิดขึ้นและสิ่งอธรรมจะตองมลายลง ถึงแมวาสภาพการณ1จะไมปรากฏมาอยางนี้แตทวาบั้นปลายของมันจะตอง เป†ดเผยอยางชัดเจน อัลลอฮฺ ไดตรัสมีความวา (แตวาเราไดใหความจริงทําลายความเท็จแลวเราก็ใหมันเสียหายไป แลวมันก็จะมลาย สิ้นไป8

การกราบไหว(แหงอิสรภาพ สัญลั กษณ1ของการเปนบาวของพวกเขาในทุ กสิ่งที่กลาวมานั้น คือ การ สุ‡ูด (กมกราบ)ตออัลลอฮฺ ซึ่งเปนสุ‡ูดที่ทําใหหัวใจของพวกเขาสูงสง เหมือนดั่ง ที่สัญลักษณ1ของพวกปpาเถื่อน คือการกราบไหวตอวัตถุและตัณหา ที่ทําใหหัวใจของ พวกเขาตายไป แทจริงมั นเปนการกราบไหวของมุ ส ลิม มั นเปนเครื่อ งหมายแหงความ สูงสงและเปนเครื่องอิสริยภรณ1แหงความสมถะ และบริสุทธ1จากสิ่งฏอฆูตทั้งหลาย ........ การสุ?ูดนั้นทําใหหนาผากสูลงที่ต่ํา แตทวา ผูที่กลาวตัสบีหฺ ยิ่งใหญและสูงสงกับการกราบไหวนั้น ผูไมรูคิดวา มันเป5นหวงโซสําหรับบาว แตการสุ?ูดนั่นแหละสามารถทําใหโซตรวนขาดสะบั้นได ในความประเสริฐของการสุ?ูด ทุกสรรพสิ่งจะนอบนอมตอผูกราบ ถอยคําและการกมกราบของเขาทําใหโลกตางหวาดผวา การสุ?ูดทําใหใบหนาและอวัยวะอื่นๆ สงบนิ่งบนพื้นดิน แตทวา เทือกเขาจะ สั่นสะเทือน 8

มุก็อดดิมะตุ อัซ-ซิลาล ๑/๗ .

68


การสุ?ูดจะทําลายการตั้งภาคีและการลังเลในจิตใจ แตทวามันไดสรางเยาวชน รุนตอรุน การสุ?ูดอยูในภาวะที่เงียบนิ่ง และสําหรับหัวใจนั้นมีทางเดิน และใชประโยชน จากแผนดินอยางนาเกรงขามและยิ่งใหญ การสุ?ูดจะเป5นเพียงสําหรับอัลลอฮ และทําใหเป5นหนึ่งเดียว ดังนั้น ... การสุ?ูดจึงสงบนิ่งและลบลางทุกผูทรชนที่หยิ่งผยอง ผูใดใหความสนใจแกการสุ?ูด เขาจะใหความสนใจกับเรื่องการปกครองบนพื้น พิภพ โดยมีความรูสึกยิ่งใหญ เมตตาปรานี และความสุนทรี)9. นั่นแหละ ที่ไดใหขนานนามวา : “การกราบไหว&แหงอิสรภาพ” จากการ สุ‡ูดนี้มุสลิมสามารถตัดโซตรวนแหงตัณหาจนขาดสะบั้น ฉับพลันเขาจะเปนอิสระ อิสรชนผูที่รับการสืบทอดมโนทัศน1ตางๆ กฏระเบียบ หลักสูตร บทบัญญัติ กฏหมาย จารีตประเพณี และบรรทัดฐานจากอัลลอฮฺ องค1เดียว การงานของเขาในเรื่องนี้ เหมือนกับการงานของมนุษยชาติอื่นๆในโลก ดังนั้นเขาและทุกมนุษยชาติอื่นๆ จึงเทา เที ย มกั น ทุ ก คนจะมายื น ในระดั บ เดี ย วกั น พวกเขาทุ ก คนเปนพี่ น องกั น และจะ จงรักภักดีตอพระเจาองค1เดียวกัน และเขาจะไมอางบางคนจากพวกเขามาเปนพระเจา นอกจากอัลลอฮฺ )10 ประชาชาติจะยังคงอยูในสภาพเศราสลด ถูกทําราย อยูในความกระวน กระวาย เจ็บสาหัส ถาหากประชาชาตินั้นไมกราบอยางการกราบไหวเฉกเชนนี้ และ พวกเขาจะยังไมรับการศรัทธาอยางสมบูรณ1ในอิสลาม การทุกข1ทรมานจิตใจ และการ ทรราชที่ตอเนื่อง ทั้งๆที่ประชาชาติอยูในยุคความเจริญของบานเมือง มิใชอื่นใดนอก เสียจากจะเปนหลักฐานวา: (มันสมองไมสามารถจะเปนเครื่องบังคับที่สมดุลไดหากประชาชาติไม พั ฒ นาตั ว เองบนบั น ทั ด ฐานของหลั ก ศรั ท ธาที่ ส มบู ร ณ: แ ละถู ก ตอง เนื่องจากมันสมองจะคลอยตามตัณหาดังที่เราไดเห็นมาตลอด อนุภาพ

9 10

อับดุลวะฮาบ อัซซาม ในนิตยสาร(อัลมุสลิมูน) ป_แรก / ๙๖๑ . อัซซิลาล ๓ / ๒๐๖ .

69


ของมันในการตอตานภัยคุกคาม กดขี่ จะสูญหายไป หากเครื่องบังคับที่ สมดุลไมยืนอยูเคียงใกลกับสติปJญญา)11.

ความสุขที่แท(จริง ความสุขจะไมบังเกิดขึ้นแกมนุษยชาติ และจะไมมีความปลอดภัยจากการ หลั่งไหลอยางรวดเร็วของความปpาเถื่อนที่ไดมาแซกแซงรอบๆ นอกจากเขาจะผิงตัวสู การศรั ท ธา เพื่ อ นํ า มาเปนเครื่ อ งชี้แ นวทาง ดั ง นั้ น หลั ก อะกี ด ะฮฺ ที่ ถู ก ตองจึ ง เปน คําตอบที่ถูกตองของเขาในคําถามเกาแกสําหรับทุกมนุษยชาติ เพื่อหลักอะกีดะฮฺนี้ได เป†ดเผยวาผูที่เกื้อหนุนญาฮิลียะฮฺ พวกเขานั่นแหละที่อางตนในความคิด และผูที่สราง มานกั้นระหวางตัวเขากับสันชาตญานของเขา ในวั นนั้นเทานั้น วันที่มนุษย1กลั บมาอยู ภายใตรมเงาแหงอิสลาม วั นนั้น แหละ เขาจึงจะลิ้มรสของความหมายแหงความสุขที่แทจริง.... แทจริง ความสุขนั้น ยามเจาใชชีวิตเพื่ออุดมกาณแหงสัจธรรมที่เกาแก ยามเจาใชชีวิตเพื่อหลักศรัทธาอันยิ่งใหญ ซึ่งสามารถไขปFญหาโลกที่สับสน มันจะตอบในสิ่งที่ผูสงสัยไดถาม ในการตื่นตัวที่สงบเสงี่ยม ฉันมาจากไหน? ฉันจะไปไหน? และฉันถูกสรางเพื่อใคร? และฉันกลับไปหรือ ดังนั้น ความมั่นใจจะแผซานในจิตวิญญาน และจะขับไลความลังเลที่ดื้อรั้น มั น จะสอนดวยความคิ ด ที่ ส มบู ร ณ และมั น จะสรางสรรพสิ่ ง ถู ก สรางที่ น า สรรเสริญ มันจะพากลับยังหนทางที่เที่ยงแท แกทุกคนที่ครองมันสมองอันฟุ/งซาน มันจะทําใหชีวิตของเจามีคา ชีวิตชางมากเหลือเกินที่มันไดนําพา และฝIายเจาจะยังคงมีเสียงกังวาล ดังนั้นเจาจงใชชีวิตในโลกนี้เพื่อโลกอื่นที่ไมมีวันสลาย และสูญเสีย 11

อัซซิลาล ๗ / ๕๗ .

70


แลวแผนดินของเจาจะทอดยาวติดกับฟากฟ/า ติดกับเราะสูลที่เป5นพยาน นี่แหละคือหลักศรัทธาสําหรับผูที่มีความสุข ซึ่งมันเป5นดั่งรากฐานและเสาหลัก ผูที่ใชชีวิตโดยการแบกมัน และตะโกนรองดวยนามของมัน ดังนั้นเขาจึงเป5น ผูที่มีความสุข

ใต(รมเงาแหงมัสญิด จงหันความประสงคของหัวใจ สูรมเงา แหงมัสญิด อันสถาน รอยการเดิน บนหนทาง ของอีมาน เทาจํานวน รอยก&าว การเดินทาง เจตนา รมณเราร&อน เริ่มประสาน เป=ดทางใจ สถิต สุขรมเย็น ผู&กราบ ทาบหน&าผาก อยางถอมตน เปJKยมความหวาน ซึ้งตรึง ใจไมสราง เสียงวิงวอน จากฤทัย อยางสุดซึ้ง ความยินดี และความ พึ่งพระทัย เสียงดุอาอ นี้ใคร ความปรานี บาวผู&หวัง ผิงตัวสู ขอบฟ5าไกล คําขอพร แอบแฝงร&อยปรารถนา ดลใจบาว ให&หลีกเลี่ยง สิ่งอธรรม จากหัวใจ ผู&สํานึก อยางตระหนัก ปรารถนา ลกโทษ และสงสาร ดุจการเดิน ของเขา ที่เปลาเปลี่ยว สาสนนบี สองทาง เพื่อพิชิด 71

กับทรวงในที่เต็มด&วยอุดมการณ แสงอีมาน ชวยสอง ชี้นําทาง ชวยฉีกมาน มลทิน ถูกลบล&าง พลาดผิดหลง คงไม มีให&เห็น ดั่งสัญญาน การดลใจ ที่ซอนเร&น กับอิสลาม ที่สาดสอง ทางสวาง หวังดลใ จฮิดายะฮฺ ชี้นําทาง โปรดตอบรับโอ&ผู&ทรงเกรียงไกร คิดถึงความ เมตตา และอภัย ความหวังนี้ เต็มปรี่ ในหัวใจ จากผู&ทรง เอื้ออารี ยื่นมือให& พเนจร ตามเส&นทาง คุณธรรม ชวนประชา ชาติหวลสู สัจธรรม ในวันรุง ของพรุงนี้ ที่ยาวนาน เคยทลัก ด&วยมลทิน มายามาร อภัยเถิด บาวนี้ สํานึกผิด แตแลเหลียว เล็งมอง อยางพินิจ ความมืดมิด ของดวงตา แหงฤทัย


มวลมนุษย มาเถิดมา เสริมกําลัง ที่แอบแฝง ในมัสญิด ฝHาข&ามไป

พลังความ เป,นหนึ่ง ดุจเขาใหญ สูใต&รม รัศมี แหงอีมาน (อาศิม อาลชะรีฟ)

ผู(หญิง ดอกไม(งามที่หายไป

ซี่โครงหนึ่ง ซึ่งถอดมา จากผูชาย บุพชาติ สงกลิ่น รินระรวย อนาถนัก นงลักษณ1 เจาเพิกเฉย ปกป†ดราง นงครา ทําเฉยชา โอนงนุช เจาฉุดลาก คาสตรี เสียงปรบมือ ยกยอง ใชคําชม โอละหนอ เจาเอ•ยเจา ชอผกา บุรุษสูง เจาจะสูง ใหเทียมทัน คืออภิชาต บุตรี ที่นารัก คือมารดา หนาที่ เหนือชายใด โอวันนี้ ไมมีแลว บุพชาติ สตรีสูงคา ในศาสนา ไดอันตรธาน

อันในโลก ทั้งปวง ที่วาดี ลวนแตมี ภาพลวงตา แอบแฝงไว แตสิ่งที่ มีคามาก กวาสิ่งใด คือจิตใจของมุสลีมะฮฺที่งดงาม 72

ถูกเสกสราง กลับกลาย ไมดอกสวย โอนารี คือความสวย แหงดุนยา เจาละเลย บัญญัติ แหงฟากฟFา อวดความงาม แหงกายา ใหโลกชม ใหบุรุษ ย่ํายี นาขื่นขม แทจริงคือ เสียงดาขรม นรกลงทัณฑ1 เจาหลงคิด คือดอกฟFา มาเฉิดฉัน แตหนาที่ ที่สําคัญ เจาทิ้งไป คือภรรยา ประเสริฐศักดิ์ นาหลงใหล คือภาระ อันยิ่งใหญ อัลลอฮฺประทาน ที่สะอาด ชื่นตา นาหอมหวาน ดอกไมงาม เบงบาน ณ หนใด......


สุภาษิต

5

ความนํา “สุ ภ าษิ ต ” หมายถึ ง ถอยคํ า หรื อ ขอความที่ ก ลาวสื บ ตอกั น มาชานาน มี ความหมายเป%นคติสอนใจเป%นสวนใหญ บางทีก็เป%นสํานวน แตตางกันตรงที่สํานวนมัก มีความหมายไมตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู ทั้งนี้ สํานวนในแตละภาษา ยอมมีค วามแตกตางกั นไปไมมากก็ นอย เพราะมั นเป% นถอยคํ าที่แสดงออกมาเป% น ขอความพิเศษเฉพาะภาษา แตละชาติแตละภาษามีสุภาษิตและสํานวนเป%นของตนเอง สุภาษิต ใชในภาษาอาหรับวา “:‫ َﻣﺜَﻞ‬- มะษัล” บางทีมีเคาเงื่อนจากเรื่องจริง ในอดีต ซึ่งกลั่นกรองมาจากประสบการณ8ชีวิตของแตละชุมชน แสดงอุดมคติ หรือ เป9าหมายของกลุมหรือองค8กรนั้นๆ ใชเป%นเครื่องเตือนใจใหปฏิบัติตาม (Muhammad al-Fayyadh, 1995, 115) ในบางครั้งจะออกมาในรูป “คําคม” และ “คติพจน8” กลาวคือ ถอยคําที่เป%นแบบอยาง มีคติชวนคิด มุงใหเกิดผลดีตอตนเองและสังคม ซึ่ง ใชถอยคํานอยมีความหมายลึกซึ้ง หรือใชคําคลองจอง สละสลวย มุงใหเกิดผลในดาน ดีเ ทานั้น ทั้ ง หมดที่ ก ลาวมานี้มี อ งค8 ป ระกอบขึ้ น อยู กั บ ความมุ งหมายหรื อ แนวคิ ด ขอความหรือเนื้อหา และศิลปะแหงการใชถอยคํา อาลี เสือสมิง (2548) มองวาชนอาหรับมีวรรณกรรมทางภาษาที่เลิศล้ํา มีการ จดจําถายทอดจากปากสู ปากจวบจนถึงยุ ค สมั ย แหงการจดบั นทึก เป% นลายลัก ษณ8 อักษร ทั้งในสวนวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง ตลอดจนถอยคําหรือขอความที่ กลาวสืบตอกันมาตั้งแตเมื่อครั้งโบราณกาล และมีความคิดเห็นวาสุภาษิตป%นเครื่องวัด ถึงพลังทางสติปPญญาและความคิดอันกวางไกลของชนอาหรับที่สั่งสมถายทอดจาก 73


การเรียนรู ประสบการณ8 และความเป%นไปของสภาพสังคมของแตละยุคแตละสมัย เรียกไดวา มีภูมิปPญญาที่พรอมสรรพและมากมายซึ่งไดรับการถายทอดออกมาเป%น ภาษาที่สวยงามและลุมลึก

สุภาษิตอัลกุรอาน ความหมายและเป9าประสงค8ที่แฝงอยูในขอเท็จจริงอันสูงสงไดเผยรางอันสงา งามเมื่อใดที่ไดเรียงรอยถอยคําของมันในแมแบบที่สัมผัสได ซึ่งมันสามารถที่จะทําให ความนึกคิดยิ่งใกล หากไดเทียบกับองค8ความรูที่หนักแนน การยกอุทาหรณ8สอนใจ เป%นแมแบบที่สามารถเผยความหมายออกมาเป%นรูปธรรมที่ฝPงแนนในสติปPญญา โดย การเปรียบเทียบสิ่งซอนเรนกับสิ่งที่มองเห็นไดตรงหนา และสิ่งที่อยูในสามัญสํานึกกับ สิ่งที่สัมผัสได รวมถึงการเทียบเคียงสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งที่คลายคลึงกัน มีมากนอย เพียงใดเลาที่ควายหมายหนึ่งๆ ที่สละสลวยซึ่งเป%นผลผลิตจากการยกสุภาษิตและอุป มั ย ศิ ล ปR อ อกมาในรู ป ที่ เ อออาสงางาม สิ่ ง นี้ เ ป% น เหตุ ห นึ่ ง ที่ ทํ า ใหจิ ต ใจสดั บ รั บ สติ ปP ญ ญาก็ พ ลอยนอมรั บ ไปดวย สิ่ง นี้ เ ป% นสวนหนึ่ง ของสํ า นวนอั ล กุ รอานในการ อธิบายที่รูปแบบอันหลากหลาย และความมหัศจรรย8ที่เกินกวาการพรรณนาใดๆ ในบรรดาอุ ล ะมาอ8 บางคนไดประพั น ธ8สุ ภาษิต เป% นการเฉพาะ บางทานได จัดเป%นบทเฉพาะในตําราของทาน เชน อบู อัล-หะสัน อัล-มามัรฺดี1 ก็ไดเขียนตําราใน เรื่องนี้ อิมามอัส-สุยูฏีก็ไดจัดบทหนึ่งเกี่ยวกับสุภาษิตใน หนังสือ อัล-อิตกอน ฟ อุลูม อัล-กุรฺอาน อิบนุ อัล-ก็อยยิมในหนังสือ อะอฺลาม อัล-มุวักกิอีน ไดรวบรวมสุภาษิตที่ มีกลาวในอัลกุรอานที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบสิ่งนี้กับอีกสิ่งหนึ่ง และสิ่งที่ใกลเคียง กับสิ่งนี้ มากกวา ๔๐ สุภาษิต อัลลอฮฺ

ไดทรงตรัสวาพระองค8ไดทรงยกอุทาหรณ8ในอัลกุรอานวา

(٢١ :‫ ∪⊇⊄∩ ﴾ )اﳊﺸﺮ‬šχρã ©3x tGtƒ óΟßγ¯=yès9 Ĩ$¨Ζ=Ï9 $pκæ5Î ôØtΡ ã≅≈sVøΒF{$# öš ù=Ï?uρ﴿ 1

อัล-มาวัรฺดี คือ อะบู อัล-หะสัน อะลี อิบนุ หะบีบ อัช-ชาฟอีย เจาของหนังสือ (อะดับ อัด-ดุนยา วะ อัด-ดีน) และหนังสือ (อัล-อะหฺกาม อัส-สุลฏอนียะฮฺ) สิ้นชีวิตในป, ๔๕๐ ฮ.ศ.

74


ความวา อุปมาเหลานี้เราไดยกมันมาเปรียบทียบสําหรับมนุษย#เพื่อ พวกเขาจะไดพิจารณาใครครวญ อัลลอฮฺ

ไดตรัสวา

(٤٣ :‫ ∪⊂⊆∩ ﴾ )اﻟﻌﻨﻜﺒﻮت‬tβθßϑÎ=≈yèø9$# āωÎ) !$yγè=É)÷ètƒ $tΒuρ ( Ĩ$¨Ζ=Ï9 $yγç/Î ôØnΣ ã≅≈sVøΒF{$# š ù=Ï?uρ﴿

ความวา อุปมาเหลานี้เราไดยกมันมาเปรียบทียบสําหรับมนุษย#แตไม มีผูใดตระหนักมันดอก นอกจากผูที่มีความรู อัลลอฮฺ ไดตรัสว3า (٢٧ :‫ ∪∠⊄∩ ﴾ )اﻟﺰﻣﺮ‬tβρã ©.x‹tGtƒ öΝßγ¯=yè©9 9≅sWtΒ Èe≅ä. ÏΒ Èβ#uö à)ø9$# #x‹≈yδ ’Îû Ĩ$¨Ψ=Ï9 $oΨö/u ŸÑ

ô‰s)s9uρ﴿

ความว3า และแนะนอน เราไดยกทุกๆ อุลาหรณ#ในอัลกุรฺอานนี้สําหรับ มนุษย#เพื่อพวกเขาจะไดใครครวญ ท3านอะลี

ไดรายงานจากท3านนบี ว3า ِ ِ ِ ِ ((ً‫ﻀﺮوﺑﺎ‬ ْ ‫وﻣﺜَﻼً َﻣ‬ َ ،ً‫ﺔً ﺧﺎﻟﻴَﺔ‬‫وﺳﻨ‬ ُ ،ً‫ن اﷲَ أَﻧْـَﺰَل اﻟ ُﻘﺮآ َن آﻣﺮاً وزاﺟﺮا‬ ‫))إ‬ ความว3า อัลลอฮฺ ไดประทานอัลกุรอานในรูปแบบการสั่งและการ หาม วิถีชีวิตของกลุมชนในอดีต และการยกสุภาษิตและอุทาหรณ# สอนใจ บรรดานักปราชญ8มุสลิมไดใหความสนใจกับสุภาษิตอักุรอาน พวกเขายังให ความสําคัญกับสุภาษิตของทานบี ดวยเชนกัน (มันนาอฺ อัล-ก็อฏฏอน . 1992: 291) อบูอีซา อัต-ติรมิซีย8บทหนึ่งในหนังสือญามิอฺของทานและไดนํา 40 สุภาษิตจากทาน นบี จนทําใหอัล-กอฎี อบูบักรฺ อิบนุ อัล-อะเราะบีย8 กลาววา “ขาพเจาไมเคยเห็น จากบรรดานั ก รายงานอั ล -หะดีษ ผู ที่แตงหนั งสือ และจั ด บทเฉพาะสํ าหรั บ สุ ภาษิ ต นอกจากอบูอีซา โอ .. มันชางเลิศเสียเหลือเกิน ทานไดเปZดประตูดานนี้ และไดสรางที่ พํานักไว แตทานเพียงขีดเสนเพียงเล็กนอย เรายอมรับทาน และขอขอบคุณทานมาก กับงานชิ้นนี้” 75


ประเภทสุภาษิตในอัลกุรอาน สุภาษิตในอัลกุรอานมี 3 ประเภท 1. สุภาษิตตรง 2. สุภาษิตซอนเรน 3. สุภาษิตทั่วไป ประเภทแรก สุภาษิตตรง เป%นสุภาษิตที่มีคําที่บงชี้วาเป%นสุภาษิต หรือสิ่งที่ บงชี้ถึงการอุปมา สุภาษิตประเภทนี้มีกลาวในอัลกุรอานเป%นจํานวนมาก เชน อัลลอฮฺ ไดตรัสวา ª!$# |=yδsŒ …ã&s!öθym $tΒ ôNu!$|Êr& !$£ϑn=sù #Y‘$tΡ y‰s%öθtGó™$# “Ï%©!$# È≅sVyϑx. öΝßγè=sVtΒ﴿ Ÿω öΝßγsù Ò‘ôϑãã íΝõ3ç/ BΛ༠∩⊇∠∪ tβρç ÅÇö6ムāω ;M≈yϑè=àß ’Îû öΝßγx.t s?uρ öΝÏδÍ‘θãΖÎ/ tβθè=yèøgs† ×−ö t/uρ Ó‰ôãu‘uρ ×M≈uΚè=àß ÏµŠÏù Ï!$yϑ¡¡9$# zÏiΒ 5=ÍhŠ|Áx. ÷ρr& ∩⊇∇∪ tβθãèÅ_ö tƒ ∩⊇∪ tÌ Ï ≈s3ø9$$Î/ 8ÝŠÏtèΧ ª!$#uρ 4 ÏNöθyϑø9$# u‘x‹tn È,Ïã≡uθ¢Á9$# zÏiΒ ΝÍκÍΞ#sŒ#u þ’Îû ÷ΛàιyèÎ6≈|¹r& öΝÍκö n=tæ zΝn=øßr& !#sŒÎ)uρ ϵŠÏù (#öθt±¨Β Νßγs9 u!$|Êr& !$yϑ¯=ä. ( öΝèδt ≈|Áö/r& ß#sÜøƒs† ä−÷ y9ø9$# ߊ%s3tƒ &óx« Èe≅ä. 4’n?tã ©!$# āχÎ) 4 öΝÏδÌ ≈|Áö/r&uρ öΝÎγÏèôϑ|¡Î/ |=yδs%s! ª!$# u!$x© öθs9uρ 4 (#θãΒ$s%

﴾ ∩⊄⊃∪ Ö ƒÏ‰s% ความวา อุปมาพวกเขานั้น ดังผูที่จุดไฟขึ้น ครั้งเมื่อไฟไดใหแสงสวางแก สิ่งที่อยูรอบๆ ตัวเขา อัลลอฮฺก็ทรงนําเอาแสงสวางของพวกเขาไป และ ปลอยพวกเขาไวในบรรดาความมืด ซึ่งพวกเขาไมสามารถจะมองเห็นได เขาเหลานั้นเป8นคนหู หนวก เป8นใบ และตาบอด ดั งนั้นพวกเขาจึงไม สามารถจะกลับมาได หรือดั่งฝนที่หลั่งลงมาจากฟากฟ:า โดยที่ในฝนนั้นมี ทั้งบรรดาความมืด ฟ:าคํารน และฟ:าแลบ พวกเขาจึงเอานิ้วมือของพวก เขาอุดหูไว เนื่องจากฟ:าผา ทั้งนี้เพราะกลัวความตาย และอัลลอฮฺนั้นทรง ลอม พวกปฏิเสธการศรัทธาเหลานั้นไวแลว 76


ในอายะฮฺ ข างตน อั ล ลอฮฺ ไดทรงยกอุ ท าหรณ8 พ วกมุ น าฟZ กี น 2 ประการ ประการแรก เป%นการอุปมาที่เกี่ยวกับไฟ (อุปมาพวกเขานั้น ดังผูที่จุด ไฟขึ้น) และประการที่ 2 การอุปมาที่เกี่ยวกับน้ํา (หรือดังฝนที่หลั่งลงมาจาก ฟากฟ:า) อัลลอฮฺ ไดทรงประทานใหแกพวกมุนาฟZกีนสิ่งเอื้ออํานวยในการไดรับ ทางนํา พวกเขาไดจุดไฟเพื่อจะไดเห็นสิ่งที่อยูรอบ ๆ ตัวพวกเขาวา มีอะไรบางที่ มี ป ระโยชน8 แ ละเป% น อั น ตรายแกตั ว ของพวกเขาอั น เปรี ย บไดดั ง การมาของ อิสลาม เพราะอิสลามทําใหเขารูและเขาใจสิ่งที่เป%นหนาที่ของพวกเขา ความ ที่วา “สิ่งที่อยูรอบๆ ตัวของพวกเขา” นั้น หมายถึงหนาที่ตางๆ ที่พวกเขาตอง ปฏิบัติ เมื่อไฟไดชวยใหเขาเห็นสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเขา (อันหมายถึงหนาที่ของ พวกเขา แทนที่เขาจะใหความสนใจกับสิ่งเหลานั้นเพื่อประโยชน8แกตัวของเขา กลับทําเป%นไมเห็น และผินหลังใหเสีย เมื่อพวกเขาไมสนใจในสิ่งที่พวกเขาเห็น รอบๆ ตัวของเขาแลว อัลลอฮฺ ทรงปลอยใหพวกเขาอยูในความมืดตอไป กลาวคือปลอยใหจมปลักแกความโงตอไปตามที่พวกเขาปรารถนา ทั้งนี้โดยที่ได ทรงใชถอยคําในเชิงประชดวา อัลลอฮฺ ก็ทรงนําเอาแสงสวางของพวกเขาไป ปลอยใหพวกเขาอยูในความมืดมิดซึ่งพวกเขาไมสามารถจะมองเห็นได ในการที่ จะทําใหพวกเขาใชชีวิตอยูในความมืด โดยไมสามารถรูวาอะไรควรและไมควร อันเป%นการเปรียบเทียบใหเห็นสภาพของผูปฏิบัติศรัทธาวาการดําเนินชีวิตของ พวกเขานั้นเหมือนอยูในความมืด อัลลอฮฺ ทรงเปรียบเทีย บพวกเขาวาประหนึ่ง คนหูหนวก เป%นใบ และตาบอด และประการหนึ่งวาพวกมุนาฟZก นั้น เป%นพวกที่สูญเสียอวัยวะ สําคัญทั้งสามดังกลาว แนนอนผูที่สภาพดังกลาวยอมไมสามารถกลับไปสูทางที่ ถูกได เพราะวาจะฟPงเขาพูดก็ไมไดยิน จะถามเขาก็พูดไมได และจะมองก็มองไม เห็น อันนับไดวาเป%นมนุษย8ที่นาทุเรศที่สุด 77


อีกประการหนึ่ง อุ ปมาพวกเขาดั่งฝนที่หลั่งลงมาจากฟากฟ9า ตาม ธรรมดาสําหรับผูมีปPญญานั้น เมื่อกลัวฟ9าผาก็จะตองหลีกเลี่ยงใหหางไกลจาก สิ่งที่เป%นสื่อไฟฟ9าเสีย จึงจะไดรับความปลอดภัย ไมใชเอานิ้วมืออุดหู เพื่อไมให ไดยินเสียฟ9าผา แลวฟ9าก็จะไมผา อันเป%นการกระทําของผูที่ขาดปPญญา ใน ทํานองเดียวกัน พวกมุนาฟZกที่พยายามหลีกเลี่ยงไมยอมฟPงอัลกุรอาน และ คํ า แนะนํ า ของทานนบี นั้ น ก็ ใ ชวาจะพนการลงโทษของอั ล ลอฮฺ ได เพียงแตแกตัววาไมเคยไดยินโองการของอัลลอฮฺ และคําแนะนําของทานนบี เทานั้น พระองค8จึงทรงแจงใหทราบวาพวกเขาไมสามารถจะหนีใหพนไปได เพราะประหนึ่งพวกเขาถูกลอมไวแลว สายฟ9าแลบแทบจะเฉี่ยวสายตาของพวก เขาไป คราใดที่มันใหแสงสวางแกพวกเขา พวกเขาก็เดินไปในแสงสวางนั้น และ เมื่อมันมืดลงแกพวกเขา พวกเขาก็หยุดยืน และหากอัลลอฮฺ ทรงประสงค8 แลว แนนอนพระองค8ก็ทรงนําเอาหูและตาของพวกเขาไปแลว แทจริงอัลลอฮฺ นั้นทรงอานุภาพเหนือทุกสิ่งทุกอยาง อัลลอฮฺ ทรงเปรียบเทียบวา ความชัดเจนของอัลกุรอานนั้นใหความ เจิดจาประดุจสายฟ9าแลบที่แทบจะเฉี่ยวสายตาของพวกเขาไป พระองค8ทรง เทียบวาเมื่ออัลกุรอานไดใหความเขาใจแกพวกเขาในสิ่งที่พวกเขายังมืดมนอยู (อันเปรียบเสมือนแสงฟ9าแลบที่ใหความสวางแกพวกเขา (พวกเขาก็ปฏิบัติตาม (อันเปรียบเสมือนพวกที่ยืนอยูกับที่ ถาอัลลอฮฺ ทรงประสงค8จะลงโทษพวก เขา พระองค8ก็ ทรงใหตาของพวกเขาบอดไปแลว เพราะมีตาก็ เหมือนไมมี เนื่องจากไมกอใหเกิดประโยชน8แกตนเองแตอยางใด ประเภทที่ 2 สุภาษิตซอนเรน เป%นสุภาษิตที่ไมมีคําที่บงชี้วาเป%นการอุปมา แตสํานวนที่รวบรัดไดบงชี้ถึงนัยนั้น กลาวคือ ถานํามาเทียบกับสุภาษิตแลว สํานวนอัล กุรอานไดบงชี้ถึงสิ่งนี้ไดอยางยอดเยี่ยม เชน กิจการงานที่เลิศล้ํานั้นปานกลาง ก. อัลลอฮฺ ไดตรัสเกี่ยวกับสีของวัวว3า 1.

78


٦٨ : ‫ ( ﴾ اﻟﺒﻘﺮة‬y7Ï9≡sŒ š÷t/ 8β#uθtã í õ3Î/ Ÿωuρ ÖÚÍ‘$sù (ω﴿

ความว3า ที่ไมแกและไมสาว แตมีอายุปานกลาง ข. อัลลอฮฺ

ไดตรัสเกี่ยวกับการใหทานวา

﴾∩∉∠∪ $YΒ#uθs% š Ï9≡sŒ š÷t/ tβ%Ÿ2uρ (#ρç äIø)tƒ öΝs9uρ (#θèùÌ ó¡ç„ öΝs9 (#θà)x

Ρr& !#sŒÎ) (tÏ%©!$#uρ﴿

٦٧ : ‫اﻟﻔﺮﻗﺎن‬

ความว3า และบรรดาผูซึ่งเมื่อพวกเขาใชจายก็ไมสุรุยสุรายและไมตระหนี่ และ ระหวางทั้งสองสภาพนั้น พวกเขาอยูสายกลาง ค. อัลลอฮฺ

ไดตรัสเกี่ยวกับการละหมาดวา

١١٠ : ‫ ∪⊃⊇⊇∩ ﴾ اﻹﺳﺮاء‬Wξ‹Î6y™ y7Ï9≡sŒ t÷t/ Æ8tFö/$#uρ $pκÍ5 ôMÏù$sƒéB Ÿωuρ y7Ï?Ÿξ|ÁÎ/ ö yγøgrB (Ÿωuρ﴿

ความว3า และอยายกเสียงดังในเวลาละหมาดของเจา และอยาลดใหคอย เชนกัน แตจงแสวงหาทางระหวางนั้น (ปานกลาง) ง. อัลลอฮฺ ไดตรัสเกี่ยวกับการบริจาควา ٢٩ : ‫ ﴾ اﻹﺳﺮاء‬ÅÝó¡t6ø9$# ¨≅ä. $yγôÜÝ¡ö6s? Ÿωuρ y7É)ãΖãã 4’n<Î) »'s!θè=øótΒ x8y‰tƒ ö≅yèøgrB (Ÿωuρ﴿

ความว3า และอยาใหมือของเจาถูกตรึงอยูที่คอของเจา และอยาแบมันจนหมด สิ้น (คืออยาเป/นคนตระหนี่และสุรุยสุราย แลวทานจะเสียใจภายหลัง) จ. การบอกกลาวยอมไปเหมือนกับการมองดวยตา อัลลอฮฺ ไดตรัสแก3นบีอิบรอฮีมว3า ٢٦٠ : ‫ ( ﴾ اﻟﺒﻘﺮة‬É<ù=s% £Í≥yϑôÜuŠÏj9 Å3≈s9uρ 4’n?t/ tΑ$s% ( ÏΒ÷σè? öΝs9uρr& tΑ$s%﴿ ความว3า เจามิไดเชื่อดอกหรือ เขา (อิบรอฮีม) กลาววา หามิได แตทวาเพื่อ หัวใจของขาพระองค1จะไดสงบ ฉ. คุณปฏิบัติอยางไร คุณก็จะไดรับเยี่ยงนั้น อัลลอฮฺ ไดตรัสวา ١٢٣ : ‫ ﴾ اﻟﻨﺴﺎء‬ϵÎ/ t“øgä† #[þθß™ ö≅yϑ÷ètƒ tΒ﴿

79


ความว3า ผูใดที่กระทําชั่วเขาก็ถูกตอบแทนดวยความชั่วนั้น ประเภทที่ 3 สุภาษิตทั่วไป อายะฮฺตางๆ ของอัลกุรอานจะออกมาในรูปแบบของสุภาษิตทั่วไป เชน ٥١ :‫‘﴾ ﻳﻮﺳﻒ‬,ysø9$# }ÈysóÁym z≈t↔ø9$#﴿

บัดนี้ความจริงไดปรากฏขึ้นแลว ไม3มีผูใดที่จะป9ดเป:าใหพนไปได นอกจากอัลลอฮฺ เรื่องถูกกําหนดไวตามที่ท3านทั้งสอง ขอความเห็น

٥٨ :‫ ∪∇∈∩ ﴾ اﻟﻨﺠﻢ‬îπx

Ï©%x. «!$# Èβρߊ ÏΒ $yγs9 }§øŠs9﴿

٤١ :‫ ∪⊇⊆∩﴾ ﻳﻮﺳﻒ‬Èβ$u‹ÏGø

tGó¡n@ ϵŠÏù “Ï%©!$# ã øΒF{$# zÅÓè%﴿

٨١ : ‫ ﴾ ﻫﻮد‬5=ƒÌ s)Î/ ßxö6÷Á9$# (}§øŠs9r&﴿

เวลาเชานั้นใกลเขามาแลวมิใช3หรือ

٦٧ : ‫﴾ اﻷﻧﻌﺎم‬4 @ s)tGó¡•Β :*t7tΡ Èe≅ä3Ïj9﴿

สําหรับแต3ละข3าวคราวนั้น ย3อมมี เวลาที่เกิดขึ้น

٤٣ : ‫﴾ ﻓﺎﻃﺮ‬Ï&Î#÷δr'Î/ āωÎ) à⋅Äh÷¡¡9$# ã õ3yϑø9$# ß,‹Ïts† Ÿωuρ﴿

แผนชั่วนั้นจะไม3หอมลอมผูใด นอกจากเจาของของมันเท3านัน้

٨٤ : ‫ ﴾ اﻹﺳﺮاء‬ϵÏFn=Ï.$x© 4’n?tã ã≅yϑ÷ètƒ ö@≅à2﴿

ทุกคนจะกระทําตามรูปแบบของ เขา

อาจเป?นไปไดว3า การที่พวกเจา : ‫ ﴾ اﻟﺒﻘﺮة‬öΝà6©9 เกลียดสิ่งหนึ่งทั้งๆ ที่สิ่งนั้นเป?นสิ่งดี แก3พวกเจา

× ö yz uθèδuρ $\↔ø‹x© (#θèδt õ3s? βr& #|¤tãuρ﴿

٢١٦

อาจเป?นไปไดว3าการที่พวกเจาชอบ สิ่งหนึ่ง ทั้งๆ ที่สิ่งนั้นเป?นสิง่ เลวราย แก3พวกเจา

٢١٦ : ‫ ﴾ اﻟﺒﻘﺮة‬3 öΝä3©9 @ Ÿ° uθèδuρ $\↔ø‹x© (#θ™6Åsè? βr& #|¤tãuρ﴿

แต3ละชีวิตย3อมถูกค้ําประกันกับสิ่งที่ มันขวนขวายไป

٣٨ : ‫ ﴾ اﳌﺪﺛﺮ‬îπoΨ‹Ïδu‘ ôMt6|¡x. $yϑÎ/ ¤§ø

tΡ ‘≅ä.﴿

٦٠ :‫ ﴾ اﻟﺮﲪﻦ‬ß≈|¡ômM}$# āωÎ) Ç≈|¡ômM}$# â!#t“y_ ö≅yδ﴿

จะมีการตอบแทนความดีอันใดเล3า นอกจากความดี

80


٥٣ : ‫ ﴾ اﳌﺆﻣﻨﻮن‬tβθãmÌ sù öΝÍκö‰y‰s9 $yϑÎ/ ¥>÷“Ïm ‘≅ä.﴿

แต3ละฝ:ายก็พอใจในสิ่งที่ตนเอง ยึดถือ

٧٣ : ‫﴾ اﳊﺞ‬Ü>θè=ôÜyϑø9$#uρ Ü=Ï9$©Ü9$# y#ãè|Ê﴿

ทั้งผูขอและผูถูกขออ3อนแอแท ๆ

٦١ : ‫﴾ اﻟﺼﺎﻓﺎت‬tβθè=Ïϑ≈yèø9$# È≅yϑ÷èu‹ù=sù #x‹≈yδ È≅÷VÏϑÏ9﴿

เพื่อเยี่ยง (การตอบแทน) นี้ บรรดา ผูต3อสูดิ้นรนจงต3อสูต3อไปเถิด

١٠٠ : ‫ ﴾ اﳌﺎﺋﺪة‬Ü=Íh‹©Ü9$#uρ ß]ŠÎ7sƒø:$# “ÈθtGó¡o„ āω﴿

สิ่งเลวกับสิง่ ดีนนั้ ย3อมไม3เท3าเทียม กัน กี่มากนอยแลว พวกนอยเอาชนะ พวกมากได ดวยอนุมัติของอัลลอฮฺ

﴾«!$#

ÈβøŒÎ*Î/ Oοu ÏWŸ2 Zπt⁄Ïù ôMt7n=xî A's#ŠÎ=s% 7πt⁄Ïù ÏiΒ öΝŸ2

﴿

٢٤٩ : ‫اﻟﺒﻘﺮة‬ ١٤ :‫ ﴾ اﳊﺸﺮ‬4®Lx© óΟßγç/θè=è%uρ $Yè‹ÏΗsd óΟßγç6|¡øtrB﴿

เจาเขาใจว3าพวกเขารวมกันเป?น ปBกแผ3นแต3 (ความจริงแลว) จิตใจ ของพวกเขาแตกแยกกัน

81


82


เรื่องเลาจากอัลกุรฺอาน

6

ความนํา ปรากฏการณที่เกิดขึ้นยอมมีความเชื่อมโยงกับมูลเหตุและผลซึ่งการรับฟ(งจะ สดับสูสิ่งนั้น หากปรากฏการณเหลานั้นสามารถจะแทรกซึมบทเรียนและคติสอนใจใน เรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต การชอบที่จะรับรู.เรื่องราวตางๆ นับเป0นป(จจัยที่แกรงที่สุดใน การที่จะฝ(งคติสอนใจในจิตวิญญานได.อยางล้ําลึก (มันนาอฺ อัล-ก็อฏฏอน 1992: 316) วรรณคดีเรื่องเลาทุกวันนี้กลายเป0นศิลปAเฉพาะตัวในด.านศิลปAทางภาษาและ วรรณคดี และเรื่องราวที่สัจจริงได.แสดงบทบาทอันนาทึ่งในสํานวนภาษาอันสูงสงและ สละสลวย และได.เผยในรูปที่ล้ําลึกที่สุดโดยเรื่องเลาที่ปรากฏในอัลกุรฺอาน อัลลอฮฺ ได. ก ลาวถึ ง เรื่ อ งราวทางประวั ติ ศ าสตร ซึ่ ง มี จุ ด มุ งหมายที่ ห ลากหลาย เพื่ อ ปลอบใจทานนบี มุ หั ม มั ด และเป0 น อุ ท าหรณสอนใจสํ า หรั บ ผู. ที่ ป ฏิ เ สธศรั ท ธา ในอัลลอฮฺ และเราะสูลของพระองค ดังที่อัลลอฮฺ ได.ตรัสไว.ในสูเราะฮฺยูสุฟ อา ยะฮฺที่ 3 วา: …ΩϒΤΗ Ω∑ ∠ ð ∼ς√ΜΞ… :†ΤΩ ⇒Τ∼ΩšςΚ… :†Ω∧ΨŠ ° Ξ Ω±Ω⊆<√≅… ⇑ Ω Ω♥šΚς… ∠ ð ∼ς∏Ω∅ ° ϑ〉 Σ⊆ΤΩ ⇓ ⇑ Σ ™ΤΩ ⇓

﴾ (3) Ω⇐κΨ∏Ψ⊃ΤΗ ΤΩ ⊕ <√≅… ⇑Ω Ψ∧ς√ −ΨΨ∏‰ΤΩΤ∈ ⇑Ψ∨ Œ ð ⇒Σ{ ⇐ΜΞ…Ω Ω⇐…ƒ∫≤⌠ ΤΣ⊆<√≅…

83

﴿


ความวา: “เราจะเลาเรื่องราวที่ดียิ่งแกเจา (โอ มุหัมมัด) ตามที่เราไดประทาน คัมภีร$ อัลกุรอานนี้แกเจา และถึงแมวากอนหนานี้เจาอยูในหมูผูที่ไมรูเรื่องราว ก็ตาม” นอกเหนือจากที่อัลลอฮฺ ได.ทรงกลาวถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับบทบัญญัติและ แนวทางการปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ ตางๆ ในมหาคั ม ภี ร อั ล กุ รฺ อ านแล. ว มี ส วนที่ ไ มน. อ ย เหมือนกัน พระองคได.เลาเรื่องราวทางประวัติศาสตรที่เกิดขึ้นกับประชาชาติกอนๆ และประวัติการเผยแผศาสนาของบรรดาเราะสูลและการตอต.านของกลุมชนเหลานั้น กับคําเชื้อเชิญสูการภักดีตออัลลอฮ องคเดียว ในบรรดาเรื่องเลาทางประวัติศาสตรที่กลาวไว.ในมหาคัมภีรอัลกุรอานจะมี ความสัมพันธกับการศรัทธามั่นในหลักอะกีดะฮฺ ประเด็นการประทานวะหฺยุ ความจริง แหงสาสนอิสลาม (ริสาละฮฺ) ของมุหัมมัด และประเด็นการฟHIนคืนชีพและการตอบ แทน การดําเนินชีวิตอยูในความหลงผิด มหาคัมภีรอัลกุรอานได.ยืนยันประเด็นตางๆ ในรู ป แบบของเรื่อ งราวที่ ส ะท. อ นถึง สถานภาพและจุ ด ยื นของการศรั ท ธาและการ ปฏิเสธศรัทธาในเดชานุภาพแหงอัลลอฮฺ และใช.เรื่องราวหรือเหตุการณในอดีตมา เป0นบทเรียนและนิทัศนอุทาหรณให.ประจักษชัดแจ.งตอหน.าสายตาทั้งหลาย มหาคัมภีรอัลกุรฺอานได.ประมวลเรื่องราวและเหตุการณทางประวัติศาสตร มากมาย เชน - ชาวเมืองซึ่งเป0นเมืองที่อัลลอฮฺ ได.ประทานเราะสูล 2 ทาน ชาวเมืองนั้น ได.ปฏิเสธและไมยอมเชื่อฟ(ง พระองคจึงทรงสมทบทานที่ 3 มาทําการเชิญ ชวนสูความเป0นเอกภาพของพระองค จนบรรดาเราะสูลทั้ง 3 ถูกฆา แล.วมี ผู.ศรัทธามาสานตอสาสนอิสลามตอไป ในที่สุดเขาก็ถูกฆาเหมือนกัน - อัศหาบุลกะฮฺฟ2 (ชาวถ้ํา) ซึ่งเป0นเรื่องเกี่ยวกับปาฏิหาริยแหงพระผู.เป0นเจ.า ในเรื่องประหลาดเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นกับบรรดาชายฉกรรจที่เข.าไป พั ก พิ ง ในถ้ํ า พวกเขายอมเสี ย สละชี วิ ต ในแนวทางของการศรั ท ธาและ เชื่อ มั่นตออัล ลอฮฺ ผู.เป0นเจ.าแหงสากลโลก เหตุ จากแรงปรารถนาที่แข็ ง 84


กล.าของชายหนุมกลุมนี้ในการปกป(กษความมั่นใจและการศรัทธาของพวก เขา การศรัทธานี้เป0นที่คัดค.านและขัดกับการศรัทธาของกลุมชนทั้งหลาย ในสมัยนั้น ชายหนุมเหลานี้ยึดถือหลักเตาหีด (หลักการศรัทธาในความเป0น เอกะของอัลลอฮฺ ซึ่งพวกเขาเชื่อวาผู.ที่ครอบครองสากลโลกนี้คือ พระ เจ.าผู.ทรงเอกะ พวกเขาไมยอมที่จะกราบไหว.นอกจากพระองคองคเดียว และพวกเขายังเชื่อตอวันกิยามะฮฺ (วันแหงการฟHIนคืนชีพ) อีกด.วย เพราะ เหตุนี้เอง เพื่อที่พวกเขาไมถูกทําร.ายหรือถูกบังคับให.กลับไปนับถือศาสนา เดิม พวกเขาจึงเห็นวาจะต.องปลีกตัวหางจากสังคมนี้ พวกเขาจึงหลบหนี ออกจากที่อยูของตนเพื่อศาสนา การเข.าไปพํานักอยูในถ้ําที่หางไกลจะเป0น การดี สํ า หรั บ พวกเขา ตามการกํ า หนดในกฏสภาวการณและความ ประสงคของอัลลอฮฺ พวกเขาก็หลับในถ้ํานั้นนานถึง 309 ปLโดยการใช. ระบบจันทรคติเป0นหลักในการนับวันและเดือน1 หลังจากนั้นอัลลอฮฺ ทรงให.พวกเขาตื่นขึ้นมาใหม (Ibnu Kathïr, 3: 73-75) ถึงแม.วาเรื่องของ พวกเขาจะเป0นเรื่องที่แปลกกวาปกติ ถ.าหากเราเปรียบเทียบกับสัญญาน แหงความยิ่งใหญของอัลลอฮฺ แล.วมันมิใชเป0นเรื่องแปลกแตอยางใด เพราะพระองคจะมีสัญญานตางๆที่บงบอกถึงเดชานุภาพอีกมากมาย - เรื่องของการพบปะระหวางนบีมูซา (อะลัยฮิสสะลาม ; ขอความสันติสุขจงมีแด 2 ทาน) กั บ เคาะฎิ รฺ เป0 น เรื่ อ งการถอมตนในทางแสวงหาวิ ช าความรู. แ ละ เหตุ ก ารณอั น เร. น ลั บ ซึ่ ง อั ล ลอฮฺ ทรงเป[ ด เผยให. บ าวที่ ศ อลิ หฺ (มี คุณธรรมสูง)ได.รับทราบ โดยที่นบีมูซาไมสามารถลวงรู.ได.ถึงเบื้องหลังของ เหตุการณที่เกิดขึ้นตอหน.าเขา จนกวาเคาะฎิรฺจะแจ.งให.เขาทราบ นั่นคือ 1

เป0นข.อแตกตางระหวางการคํา นวณโดยอาศัย ดวงอาทิตยและอาศัย ดวงจันทร นั่นคือ ถ.า คํา นวณตามดวงอาทิตยซึ่งเป0นศักราชที่อาณาจักรโรมันได.ใช.ในสมัย กอนและสืบทอดจนถึงทุกวันนี้ใน ประเทศตางๆโดยเฉพาะแถบยุโรปก็จะเป0น 300 ปL แตถ.าคํานวณตามดวงจันทรจะเป0น 309 ปL การ คํานวณโดยอาศัยดวงจันทรนี้มีขึ้นนับตั้งแตอาหรับกอนอิสลามเสียอีก หลังจากนั้นชาวมุสลิมได.อาศัยการ คํานวณที่มีชื่อเรียกวาฮิจเราะฮศักราชจนถึงวันนี้.(Al-Khalidiy, 1409/1989 : 107-108). 2 เคาะฎิร เป0นชื่อของบาวผู.มีคุณธรรมซึ่งอัลลอฮ ได.ประทานความรู.ในสิ่งเร.นลับให.แกเขา

85


เรื่องการทําลายเรือเดินทะเล เรื่องการฆาเด็กและการบูรณะกําแพงโดย ไมได.รับ อนุ ญาตจากเจ.าของและปฏิเ สธคาจ.าง ดังนั้น อัล ลอฮฺ ทรง บัญชานบีมูซาให.ไปเพิ่มพูนประสบการณและสรรหาอาจารยผู.ทรงความรู. ที่เหนือกวาและผู.ที่มีความคิดอันกว.างไกล เพราะวานบีมูซาได.มาถึงขั้น ความคิด เห็ นที่ไ มถู ก ต.อ ง นั่ นคือ นบีมูซ าอ.างตั ว เองวาเขาเป0 นผู.ที่ค งแก ความรู.ในสังคม เนื่องจากทานเป0นนบีและเราะสูล เพราะเหตุนี้ อัลลอฮฺ จึงทรงสั่งให.ไปหาอาจารย ทานนบีมูซาจึงได.รับความรู.และได.เพิ่มพูน 3 ประสบการณ จากประสบการณทั้ง 3 นี้ทําให. นบีมูซารู.สึกสํานึกและรู.วา ชางมีเรื่องราวอีกมากมายที่ทานยังไมรู.ในชีวิตนี้ - ซูลกอรนัยนฺ (Zulqarnain) ที่พเนจรไปในแผนดิน อัลลอฮ ทรงให.เขามี ความเข. ม แข็ ง ด. ว ยการยํ า เกรงและความยุ ติ ธ รรมและให. เ ขามี อํ า นาจ ปกครองอยางกว.างใหญไพศาลทางทิศตะวันตก หลังจากนั้นทานได.พเนจร ทางด.านทิศตะวันออกโดยผานทางระหวางเทือกเขา 2 ลูก ในที่สุดเขาได. อาสาสร.างเขื่อนตามคําเรียกร.องของประชาชนเพื่อกั้นจากการบุกรุกของ ยะอฺ7ูจ7ฺและมะอฺ7ูจ7ฺซึ่งเป0น 2 กลุมชนที่มารุกรานพวกเขา เรื่องอุทาหรณแหงข.อเท็จจริงให.เป0นที่ประจักษแจ.งวาสัจธรรมนั้นมิได.สัมพันธ กับการมีทรัพยสมบัติมากมายหรือมีอํานาจสูงสง แตสัจธรรมนั้นสัมพันธอยูกับความ เชื่อมั่นและการศรัทธา เชน - เศรษฐีที่ได.อวดมั่งมีในทรัพยสมบัติและอุทยานที่อุดมสมบูรณ กว.างใหญ มี แมน้ําไหลเชี่ยวและให.ผลผลิตอันเป0นที่ภูมิใจมาก แตเขากลับหลงลืมอัลลอ ฮฺ สวนอีก คนเป0 นยาจกที่มี ค วามภาคภู มิ ใ จในความเชื่ อ มั่ น และการ ศรั ท ธา เขารู. สึ ก สํ า นึ ก เสมอวาทรั พ ยสมบั ติ ข องเขาเป0 น กรรมสิ ท ธิ์ ของอัลลอฮฺ เขาจึงสุขใจและไมลืมที่จะจงรักภักดีตอพระองค สวนผู.ที่ หยิ่ ง ยะโส นานวั น เขายิ่ ง ลื ม นิ อฺ ม ะฮฺ ( คุ ณ งามความดี จ ากการประทาน ของอัลลอฮฺ ให.แกบาว) ดั งนั้นเรื่อ งที่ไ มคาดคิดก็เ กิดขึ้น พายุจัดพั ด 86


กระหน่ําทําให.พืชผลและต.นองุนเสียหายในพริบตา ตอนนั้นผู.ที่หยิ่งยะโสจึง สํานึกถึงคําแนะนําของเพื่อน แตการสํานึกของเขาไมมีประโยชนอีกแล.ว (Hamka, 1984: 15: 152) - การดํารงชีวิตอยูในโลกดุนยา(โลกที่เรามีชีวิตอยูตอนนี้)และป(จจัยที่ทําให. ดับสลายและสูญเสีย - การหยิ่งยะโสและการจองหองของอิบลิส3 ที่ปฏิเสธและไมยอมก.มกราบให. เกี ย รติ แ กอาดั ม จนกระทั่ ง ถู ก เฉดหั ว ออกจากความเอ็ น ดู แ ละเมตตา ของอัลลอฮฺ เรื่องราวและอุทาหรณตางๆ ที่ได.นํามากลาวไว.ในซูเราะฮฺนี้เพื่อเป0นนิทัศน อุทาหรณโดยมีเปlาหมายเพื่อชี้แนะและเป0นบทเรียนแกบรรดามุอ$มินในการดําเนินชีวิต ให.อยูในครรลองที่ถูกต.อง

ตัวอยางเรื่องเลาในอัลกุรฺอาน

ชาวเมือง ในสูเราะฮฺยาสีน หลังจากที่อัลลอฮฺ ได.ตรัสถึงประเด็นการประทานวะหฺยุ ความจริงแหงสาสน (ริสาละฮฺ) ของมุหัมมัด และประเด็นการฟHIนคืนชีพและการ ตอบแทน แล.ว ได.ทรงกลาวถึงพวกกุรอยชฺ ในมักกะฮฺซึ่งพวกเขาได.ดําเนินชีวิตอยูใน ความหลงผิด และปฏิเสธการเป0นเราะสูลของมุหัมมัด อิบนุอับดุลลอฮฺ พระองคได. นําเสนอการยืนยันในประเด็นดังกลาวในรูปแบบของเรื่องราวที่สะท.อนถึงสถานภาพ 3

หัวหนามารราย ซึ่งเปนสิ่งที่ถูกสรางมาจากไฟ

87


และจุดยืนของการศรัทธาและการปฏิเสธศรัทธาในเดชานุภาพแหงอัลลอฮฺ และผล สุดท.ายของประเด็นนี้ตามรูปแบบของอัลกุรฺอานในการใช.เรื่องราวหรือเหตุการณใน อดีตมาเป0นบทเรียนและนิทัศนอุทาหรณให.ประจักษชัดแจ.งตอหน.าสายตาทั้งหลาย อัลลอฮฺ ได.ตรัสวา

<′ΞΜ… (13) Ω⇐ΣΤ∏Ω♠≤⌠ Σ∧<√≅… †Ω∑ƒ∫:†Ω– <′ΞΜ… ◊Ψ ΤΩΤÿ⌠≤Ω⊆<√≅… ˆ ð ΤΗ Ω™π″Κς… „Ω‘ΩΘ∨ ¬Σς√ ‡ π ≤Ξ ∂≅…Ω

﴿

¬Ρ∇∼ς√ΜΞ… :†ΤΠςΤ⇓ΞΜ… Νϖ…ΣΤ√†Ω⊆ΤΩ ⊇ ÷ ξ Ψ√†Ω‘ΤΨ Š †ΩΤ⇓ƒς∞Π Ω⊕ΤΩ ⊇ †Ω∧Σ∑ΣΤŠΠςϒς∇ΤΩ ⊇ γ⇐κΤΩ ⇒<’≅… Σ¬Ξ∼ς√ΞΜ… :†ΤΩ ⇒<∏Ω♠⁄ςΚ…

]∫πΩ→ ⇑Ψ∨ Σ⇑ΤΗ Ω∧š≤ΘΩ √≅… Ω∞Ω ⇓Κς… :†Ω∨Ω †Ω⇒ΣΤ∏Τ‘ΨΘ∨ χ≤ΤΩ↑ΤΩ Š ‚Πς ΜΞ… ψΣ ⇓Κς… :†Ω∨ Ν…ΣΤ√†ΩΤ∈ (14) Ω⇐Ρ∏Ω♠≤⌠ ΤΘΣ∨ †Ω∨Ω (16) Ω⇐Ρ∏Ω♠≤⌠ Σ∧ς√ ψΡ∇∼ς√ΜΞ… :†ΤΘΩ Τ⇓ΞΜ… ψ 〉 ς∏⊕ΤΩ ÿ †ΩΤ⇒ΘΣΤŠΩ⁄ Ν…ΣΤ√†ΩΤ∈ (15) Ω⇐ΣΤŠΨϒ<∇ΤΩ ‚Πς ΜΞ… ψΣ ⇓Κς… ⌠⇐ΜΞ…

Ν…ΣΤΩ ⇒ΩΤ ψς√Π ⇑ΜΞς√ ¬ ∃ Ρ∇ΤΨ Š †ΩΤ⇓⁄ςκΠ ð≠ΤΩ †ΘΤΩ Τ⇓ΞΜ… Ν…;ΤΡ√†ΩΤ∈ (17) Σ⇐κΨ‰Σ∧<√≅… Σ⊗ΤΗ ς∏Ω‰<√≅… ‚Πς ΜΞ… :†ΤΩ ⇒∼ς∏Ω∅

⇑ΜΞςΚ… &¬Ρ∇Ω⊕ΩΘ∨ ¬Ρ≤〉 ΞΜ;ΗΤΤς≡ Ν…ΣΤ√†ΩΤ∈ (18) χψ∼Ψ√Κς… ‡ } …ΩϒΩ∅ †ΘΤΩ ⇒ΨΘ∨ ψΡ∇ς⇒Π ΤΘΩ♥Ω∧Ω∼ς√Ω ⌠¬Ρ∇ςΤΠ ⇒Ω∧Σ–≤⌠ Ω⇒ΤΩ √

﴾ (19) φΣΤ⊇Ξ≤Τπ ♥ΘΣ∨ χ⋅⌠ ΤΩΤ∈ ψΣ ⇓Κς… ΤΩ Š ψ& ΣΤ ⌠≤ΠΨ{Σ′

ความวา (13) และจงเลาเรื่องชาวเมืองแกพวกเขาในขณะที่มีทูตหลายคน มายังเมืองนั้น (14) จงรําลึกในขณะที่เรา (อัลลอฮฺ) ทรงสงทูตสองคนไปยัง พวกเขา แลวพวกเขาไดปฏิเสธเขาทั้งสอง ดังนั้น เราจึงไดสบทบดวยการ สงทูตคนที่สาม พวกเขา (บรรดาทูต) จึงไดกลาววา แทจริงพวกเราถูกสง มายังพวกทาน (15) พวกเขา (ชาวเมือง) ไดกลาววา พวกทานมิใชใครอื่น นอกจากเปBนสามัญชนเชนเดียวกับพวกเรา และพระผูทรงกรุณาปรานี มิไดประทานสิ่งใดลงมา พวกทานมิไดเปBนอื่นใดนอกจากกลาวเท็จ (16) พวกเขา (บรรดาทูต) กลาววา พระผูอภิบาลของเราทรงรูดียิ่งวา แทจริง เราถูกสงมายังพวกทานอยางแนนอน (17) และไมมีหนาที่อื่นใดแกพวกเรา 88


นอกจากการประกาศเชิญชวนอันชัดแจงเทานั้น (18) พวกเขากลาววา แทจริงพวกเราถือเปBนลางรายตอพวกทาน หากพวกทานไมยอมหยุดยั้ง เราจะเอาหินขวางพวกทานจนตายและแนนอน การลงโทษอันเจ็บปวด จากพวกเราจะประสบแกพวกทาน (19) พวกเขา (บรรดาทูต) กลาววา ลางรายของพวกทานเพราะพวกทานเอง พวกทานไดถูกตักเตือนมากอน แลวมิใชหรือ เปลาดอกพวกทานเปBนหมูชนผูฝJาฝKนตางหาก ฉากแรก มหาคัมภีรอัลกุรฺอานไมได.กลาวถึงวาชาวเมืองเป0นกลุมใดและจากหมูบ.าน ไหน มีการรายงานที่แตกตางกันมากในเรื่องนี้ การที่มหาคัมภีรอัลกุรฺอานไมได.เลา อยางชัดแจ.งในเรื่องนี้บงชี้วา การระบุชื่อ หรือสถานที่ของมันไมได.เสริมอะไรเลยใน ประเด็นของเรื่องราวนี้ พระองคจึงไมระบุอยางชัดเจน แตพระองคจะเน.นหนักกับแกน หลักของบทเรียนในเรื่อง นั่นคือ มันเป0นหมูบ.านที่อัลลอฮฺ ได.ประทานศาสนทูต ๒ ทาน ชาวเมืองนั้นได.ปฏิเสธและไมยอมเชื่อฟ(ง พระองคก็ได.ทรงสมทบทานที่ ๓ และมา ยืนยันวาพวกเขาทั้ง ๓ เป0นเราะสูลของอัลลอฮฺ แล.วพวกเขาก็ได.ทําการเชิญชวนสู ความเป0นเอกภาพของพระองคอีกครั้ง พวกเขากลาววา “แทจริงเราถูกสงมายังพวก ทานอยางแนนอน และไมมีหนาที่อื่นใดแกพวกเรานอกจากการประกาศเชิญชวนอัน ชัดแจงเทานั้น” สัยยิด กุฎบฺ (Qutb : 5: 2961) ได.กลาววา ณ ที่ที่นี้ ชาวเมืองได.คัดค.านด.วย ภาพลั ก ษณแหงการคั ด ค.า นที่ซ้ํ า ๆ ในประวั ติ ศาสตรของบรรดาเราะสู ล เป0 น การ คัดค.านเรื่องเกี่ยวกับการเป0นมนุษยของเราะสูล ซึ่งเป0นเรื่องที่พวกเขาตางคิดแบบตื้นๆ พวกเขาตางคาดหวังวาบรรดาศาสนทูตต.องมีความพิศวง ความลับและสิ่งซอนเร.นอยู เบื้อ งหลั งในบุ ค ลิก ของบรรดาเราะสู ล และการดํ าเนิน ชีวิตของพวกเขา แตสิ่งที่ไ ด. ปรากฏ คือ เราะสูลเป0นมนุษยธรรมดาซึ่งอัลลอฮฺ ได.เลือกเฟlนในบรรดาพวกเขา และได.ทรงประทานวะหฺยุ มันแปลกกวาการที่เราะสูลมาจากมะลาอีกะฮฺดังที่พวกเขา ได.วาดหวังไว. 89


พวกเขาจึงกลาววา

พวกทานไมใชศาสนทูต และอัลลอฮฺ ไมได.ประทานอะไร เลยให.กับพวกเจ.า บรรดาเราะสูลกลาววา หน.าที่ของเรานั้นชัดแจ.งอยูแล.ว หากพวกทานยอมรับสิ่งที่เรา เรียกร.องเชิญชวนพวกทาน ก็นับได.วาเป0นโชคดีและเป0นการ รอดพ.นของพวกทาน หากพวกทานปฏิเสธก็นับได.วาเป0นโชค ร.ายและเป0นความพินาศของพวกทาน พวกเขากลาววา พวกทานนั่นแหละเป0นลางร.าย เพราะพวกทานแท.ๆ ที่ทําให. พวกเราได.รับความลําบากยากแค.น บรรดาเราะสูลได.ตอบโต.พวกเขาวา ลางร.ายของพวกทานนั่นอยูที่การปฏิเสธศรัทธา ของพวกทานเองตางหาก เพราะพวกทานได.รับการตักเตือน มากอนแล.ว พวกทานก็ขูจะทําร.ายพวกเรา แท.จริงพวกทาน นั้นเป0นผู.ดื้อรั้นและฝrาฝHนตางหาก หลังจากนั้น อัลลอฮฺ ไมได.ทรงเลาวา อะไรได.เกิดขึ้นกับบรรดาศาสน ทูตทั้ง ๓ แตจากบริบทของอายะฮฺ เราทราบได.วาชาวเมืองได.ฆาพวกเขาแล.ว หลังจาก นั้นมีชายคนนี้ คือ หะบีบ อัน-นัจsฺญารฺ ซึ่งเขาทราบมากอนนี้วาศาสนทูตทั้ง ๓ ได. เรียกร.องเชิญชวนสูสัจธรรม เขาจึงรีบเดินทางเข.ามาเพื่อเรียกร.องชาวเมืองให.เชื่อฟ(ง คําสอนของบรรดาศาสนทูต โดยที่พวกเขาไมได.เรียกร.องคาจ.างรางวัลแตประการใด ในการเรียกร.องไปสูการศรัทธาในอัลลอฮฺ และพวกเขาอยูในหนทางที่ถูกต.องอีก ด.วย

90


ฉากที่ ๒ ชายจากชานเมืองประกาศความเป0นมุสลิม Ν…Σ⊕Ψ‰ςΤΠ ≅… ζ Ψ ⌠ Ω⊆ΤΗ ΤΩ ÿ Ω†ΩΤ∈ υΩ⊕♥ΤΩ ÿ βΣ–⁄Ω ◊Ψ Ω⇒ÿΨŸΩ∧<√≅… †Ω±<∈ςΚ… ⇑ ⌠ Ψ∨ ƒ∫:†Ω–Ω ﴿

(21) Ω⇐ΣŸΤΩ ΣΘ∨ ¬Σ∑Ω …_≤–ςΚ… ψΡ∇Ρ∏ΤΛΩ ΤπΤ♥ΩΤÿ ϑð‚ ⇑Ω∨ Ν…Σ⊕ΤΨ ‰ΠςΤ ≅… (20) φκΨ∏Τφ ΤΤ♠⌠≤Σ∧<√≅…

⇑Ψ∨ ΣϒΨ•ςΤΠ Κς…ƒ∫ (22) φΣ⊕Ω–≤⌠ ΣΤ ΨΤ∼ς√ΜΞ…Ω ΨΤ⇓Ω≤ς≠ΤΩ ⊇ Ψϒς√Π ≅… ΣŸΣ‰∅ςΚ… :‚Ω ƒΤΨ √†Ω∨Ω

‚Ω Ω †_ΤΛ Τ∼ΤΩ→ ⌠¬ΣΣ Ω⊕ΤΗ Ω⊃Ω→ ΠΨ⇒Ω∅ ⇑ Ξ Τπ ⊕ ΣΤ ϑð‚ ≤Θω Σ∝ΤΨ Š Σ⇑ΤΗ Ω∧š≤ΘΩ √≅… Ξ⇐ ≤Ξ ΣΤÿ ⇐ΜΞ… ◊Ζ ΩΨ√…ƒ∫ ,−ΨΤΤΨ⇓Σ

⌠¬Ρ∇ΤΘΨ ŠΩ≤ΤΨ Š Œ 〉 ⇒Ω∨…ƒ∫ ⌡ΠΨ⇓ΜΞ… (24) ]⇐κΨ‰ΣΘ∨ ωΤΗ ΤΩ ∏φΤΤ∂ γ⊃ςΠ√ …⊥′ΞΜ… ⌡ΠΨ⇓ΜΞ… (23) Ξ⇐ΣϒΨ⊆⇒ΣΤÿ

٢٤-٢٠ :‫ﻳﺲ‬

﴾ (25) Ξ⇐Σ⊕Ω∧Τπ ♠≅†ΤΩ ⊇

ความวา (20) และมีชายคนหนึ่งจากสุดหัวเมืองไดมาอยางรีบเรง พวก ทานจงปฏิบัติตามผูที่มิไดเรียกรองรางวัลใด ๆ จากพวกทาน (21) และ ทําไมเลาฉันจะไมเคารพภักดีผูทรงบังเกิดฉัน และยังพระองค$เทานั้นที่ พวกทานจะถูกนํากลับไป (22) จะใหฉันยึดถือพระเจาอื่นใดนอกจาก พระองค$กระนั้นหรือ? หากพระผูทรงกรุณาปรานี ทรงประสงค$จะกอ ความทุกข$ยากแกฉัน การชะฟาอะฮ$ของพวกเขาจะไมกอประโยชน$อัน ใดแกฉันเลยและพวกเขาก็จะชวยฉันใหรอดพน (จากการลงโทษ) ไมได เลย (23) แทจริง เมื่อนั้นฉันจะอยูในการหลงผิดอยางชัดแจง (24) แทจริงฉันศรัทธาตอพระเจาของพวกทาน ดังนั้น พวกทานจงฟQงฉันซิ! อัลลอฮฺ ทรงกลาวถึงทาทีของนักเผยแผมุอฺมินผู.หนึ่ง เขาได.ตักเตือน กลุมชนของเขา แล.วพร.อมกับประกาศวา - จะมีสิ่งใดมาห.ามฉันมิให.อิบาดะฮฺพระผู.บังเกิดฉัน และทรงให.ฉันมี รูปรางที่สวยงาม หลังจากตายแล.ว พวกทานจะต.องกลับไปหาพระองค เพื่อพระองคทรงตอบแทนทุกคนตามผลงานของเขา

91


- จะให.ฉันเคารพบูชาพระเจ.าอื่นใดที่ไมได.ยิน ไมได.ประโยชนอันใดแกฉัน และไมสามารถคุ.มกันให.พ.นจากการลงโทษของอัลลอฮฺ ได.เลย หาก พระองคทรงประสงคจะให.ฉันได.รับทุกขหรืออันตราย - ถ.าฉันเคารพบูชาสิ่งอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ แล.ว แนนอนฉันจะต.อง อยูในการหลงผิด สัยยิด กุฎบฺ (Qutb, 5: 2962) ได.กลาววา “ผูชายคนนี้ไดยินการเชิญชวนสูศรัทธาในอัลลอฮฺ เขาจึงตอบ รับหลังจากที่ไดเห็นหลักฐานแหงสัจธรรมจากคํากลาวของเขากับ หมูชนเขา หัวใจของเขามีความรูสึกถึงความสัจจริงของการศรัทธา นี้ สัจธรรมก็ไดแผซานจากทรวงในของเขา จนกระทั่งทําใหเขาไม สามารถนิ่งเงียบได เขาไมไดนั่งอยูกับหลักศรัทธาเพียงแตในบาน ทั้ ง ๆ ที่ เ ขาเห็ น สภาพการหลงผิ ด การปฏิ เ สธและความชั่ ว ราย รอบตั ว แตเขาไดลุ ก ขึ้ น ดวยพลั ง แหงการศรั ท ธาที่ ฝQ ง แนนอยู ภายในและไดเขยาความรูสึกของเขาใหเคลื่อ นไหวไปยังกลุมชน ของเขาที่ ไ ดปฏิ เ สธการศรั ท ธา ดื้อ รั้น คุ ก คามและขู เข็ ญ เขาได เดินทางจากหมูบานที่ไกลโพนจากตตัวเมืองเพื่อดําเนินภารกิจการ เชิญชวนกลุมชนสูสัจธรรม และหักหามพวกเขาจากความชั่วราย พรอมกับปกปTองการใหรายของพวกเขาที่มีตอบรรดาเราะสูล” ดูเผินๆ แล.วชายคนนี้ไมใชผู.ที่มียศฐกาบรรดาศักดิ์ และไมมีความคุ.มครอง ใดๆ จากพวกพ.องของเขาเอง แตเป0นเพราะหลักศรัทธาที่มีชีวิตชีวาจากทรวงในของ เขาที่ผลักดันเขาให.เดินทางไปในเมืองที่ไกลโพ.นนั้น หลังจากได.ตักเตือนชาวบ.านแล.ว เขาก็ได.ประกาศการเป0นมุสลิมของเขาอยางเป[ดเผย มหาคัมภีรอัลกุรอานไมได.สาธยายเรื่องราวตอไปวา เกิดอะไรขึ้นกับเขา แต เราสามารถเข.าใจจากบริบทนี้วา ชาวเมืองนั้นได.รุมทําร.ายเขาจนกระทั่งเขาตาย 92


ฉากที่ ๓ สภาพชายคนนั้นในสรวงสวรรค Ψ√ ≤Ω Ω⊃∅ Ω †Ω∧ΤΨ Š (26) Ω⇐Σ∧ΤΩ ∏⊕ΤΩ ÿ Ψ∨⌠ ΤΩ ∈ Œ ð ∼ς∏ΤΗ ΤΩ ÿ Ω†ΩΤ∈ ◊∃Ω ς⇒Π Ω•<√≅… ΞΣā ≅… Ω∼Ψ∈﴿

٢٦-٢٥ :‫ﻳﺲ‬

﴾ (27) Ω⇐κΨ∨≤Ω <∇Σ∧<√≅… ⇑Ω Ψ∨ Ψ⇒ς∏Ω⊕Ω–Ω ΘΤΨ ΤŠΩ⁄

ความวา (25) เขากลาววา โอ มาตรวาหมูชนของฉันไดรู (สภาพของ ฉัน) (26) ถึงการที่พระเจาของฉันทรงอภัยใหแกฉัน และทรงทําใหฉัน อยูในหมูผูมีเกียรติ เมื่อ เขาตายแล.ว อั ลลอฮฺ ได.ตรั สแกเขาวา จงเข.าไปในสรวงสวรรค พร.อมกับบรรดาคนตายชะฮีดเถิด เป0นการตอบแทนตอการจริงใจในการอีมานของเจ.า และเมื่อเขาได.เข.าสวรรคและได.ประสบกับการที่อัลลอฮฺ ทรงให.เกียรติแกเขาใน สวรรค เพราะการอีมานและการอดทนของเขาแล.ว เขาก็นึกอยากให.หมูชนของเขาได.รู. เห็นสภาพของเขาและผลสุดท.ายที่เขาได.รับ ฉาก ที่ ๔ การลงโทษที่สาหัส อัลลอฮฺ ก็มิได.ประวิงเวลาให.แกบรรดาอาชญากรเลานั้น พระองคทรง คราชีวิตของพวกเขาด.วยเสียงกัมปนาทจนพินาศยอยยับ ดังคําตรัสของพระองควา Ω⇐κΨΤ√Ξ∞⇒Σ∨ †ΠςΤ⇒Ρ †Ω∨Ω Ψ∫:†Ω∧ϑð♥√≅… ⇑ Ω ΨΘ∨ ξŸ⇒Σ– ⇑Ψ∨ −ΨΨŸ⊕ΤΩ Š ⇑ ? Ψ∨ −ΨΨ∨⌠ ΤΩ ∈ υς∏Ω∅ †Ω⇒<√∞Ω ⇓ςΚ… :†Ω∨Ω ﴿

ς∏Ω∅ [〈≤Ω π♥Ω™ΤΗ Τÿ (29) Ω⇐ΣŸΨ∧ΤΗ Τφ ΤΤā ⌠¬Σ∑ …ς′ΜΞ†ΤΩ ⊇ _〈ðŸΨš.Ω ◊_ Ω™∼Ω″ ‚Πς ΜΞ… Œ π ΤΩ ⇓†ς ⇐ΜΞ… (28)

٣٠ :‫ﻳﺲ‬

﴾(30) Ω⇐Σ∫∞Ξ ΤΩ πΤ♥ΩΤÿ −ΨΤΨ Š Ν…ΣΤ⇓†ς ‚Πς ΜΞ… ]Σ♠⁄ΩΘ ⇑ΨΘ∨ ψΞ∼ΨΤ Κ<†ΤΩ ÿ †Ω∨ &Ψ †Ω‰Ψ⊕<√≅…

93


ความวา (27) และเรามิไดสงไพรพลลงมาจากฟากฟTาแกหมูชนของเขา หลังจากเขา และเราก็มิใชเปBนผูสงพวกเขาลงมา แลวเมื่อนั้นพวกเขาก็ ดับเงียบ (28) โอ อนิจจาตอปวงบาว ไมมีเราะสูลคนใดมายังพวกเขา เวนแตพวกเขาไดเยยหยันเขา หลังจากการตายของชายผู.นั้น อัลลอฮฺ มิได.ทรงสงไพรพล (มะลาอิกะฮฺ) ลงมาจากฟากฟlาเพื่อเป0นการลงโทษกลุมชนของเขาอันเนื่องจากการชิรกฺ เพราะไมมี ความจําเป0นที่จะต.องกระทําเชนนั้นบรรดาหนังสือตัฟสีรฺหลายเลมได.มีความคิดเห็นวา เสียงกัมปนาทนั้นมาจากญิบรีล อะลัยฮิสสะลาม และบางคนก็มีความหมายเป0นอยาง อื่น แตจากคําที่ปรากฏในอายะฮฺนี้บงชี้วา มันเป0นเพียงเสียงกัมปนาทครั้งเดียว พวก เขาก็พากันตายเรียบ &Ψ †Ω‰Ψ⊕<√≅… ς∏Ω∅ [〈≤Ω π♥Ω™ΤΗ Τÿ

โอ อนิจจาตอปวงบาวทั้งหลาย เป0 น การแสดงความเสีย ใจหรื อ เสี ย ดายตอปวงบาวที่ป ฏิเ สธการศรั ท ธา กลาวคือ ทุกครั้งที่มีการสงเราะสูลมาเผยแผเชิญชวนไปสูการศรัทธาในพระเจ.าองค เดียว จะต.องได.รับการตอบโต.แสดงปฏิริยาอยูเสมอ

94


เรื่องจริงผานภาพ

ภาพแสดงหมู่บ้านของชาวเมือง

ในประวัติศาสตรได.ระบุวาสภาพการตายของชาวปอมเปอีเป0นการตาย แบบทันทีทันใด เชนเดียวกันกับที่อัลกุรฺอานได.อธิบายไว.กอนหน.านี้ และเสียงกัมปนาท ที่กลาวในอายะฮฺข.างต.นจะเป0นเสียงของภูเขาไฟระเบิดอยางแรงในประวัติศาสตรที่ เกี่ยวข.องกับชาวปอมเปอีหรือเปลา

ภาพแสดงภูเขาไฟที ตังอยู่ใกล้ กับเมืองปอมเปอี

95


ภาพแสดงถึงสภาพเมืองที ชาวปอมเปอีซึงได้ มีการค้ นพบ

96


ภาพแสดงถึงสภาพศพชาวปอมเปอีหลังจากได้ มีการค้ นพบภายใต้ ลาวาของภูเขาไฟระเบิด

ทั้งหมดที่ได.กลาวมานี้จะเห็นได.วา สิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นในป(จจุบันกลับไมได. เปลี่ยนแปลงไปจากสิ่งที่ชาวปอมเปอีในอดีตได.ประสบแม.แตน.อย หมูบ.านของชาวเน เป[ลสได.กลายเป0นสถานบันเทิงอยูในป(จจุบัน โดยไมได.นําบทเรียนที่ชาวปอมเปอีใน อดีตได.ประสบ บนเกาะแคปรี ได.กลายเป0นสวรรคของชาวรักรวมเพศ อันเป0นธุรกิจ การทองเที่ยวที่เลื่องชื่อ ไมเพียงแตเกาะแคปรีและประเทศอิตาลีเพียงเทานั้น แตทวา เกือบทั้งโลกกลับให.การยอมรับความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมเชนนี้ อีกทั้งผู.คนตางไม ยอมนําบทเรียนจากประชาชาติในอดีตมาคิดใครครวญ แมวาความคิดของตะวันตกในเรื่องของพระเจาจะ พยายามเปลี่ยนความคิดของผูที่มีศาสนาใหจงได แตก็ดู เหมือนวาความพยายามเหลานั้น นับวันก็ยิ่งดอยลงไป 97


ประสิทธิภาพด.านการนํามาใช. เปลี่ยนเรื่องราวในอัลกุรฺอานให.เป0นละคร ภาพยนต การตูนสําหรับเด็ก เขียนบทเพลงอะนาชีด เขียนเรื่องสั้นในแนวที่เกี่ยวข.องกับเรื่องราวในอัลกุรฺอาน

ตัวอยางที่ ๒ จากเรื่องเลาในอัลกุรฺอาน

ชาวถ้ํา ในบรรดาเรื่องเลาทางประวัติศาสตรที่กลาวไว.ในพระมหาคัมภีรอัลกุรอาน เราขอยกตัว อยางเรื่องราวที่มีค วามสัมพันธกับการศรัทธามั่ นในหลัก อะกีดะฮฺ ในสู เราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[ สู เ ราะฮฺ อั ล กะฮฺ ฟ[ ไ ด. ป ระมวลเรื่ อ งราวและเหตุ ก ารณทางประวั ติ ศ าสตรที่ สําคัญ 3 เรื่องด.วยกัน เรื่องทั้ง 3 จะยืนยันถึงความมุงหมายหลักเพื่อเน.นหนักถึง หลักการเชื่อมั่นและการศรัทธาตอความยิ่งใหญของอัลลอฮฺ เรื่องแรกเป0นเรื่อง ของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ซึ่งเป0นเรื่องเกี่ยวกับปาฏิหาริยแหงพระผู.เป0นเจ.าในเรื่องประหลาด เกี่ยวกับอัศหาบุลกะฮฺฟ[ (ชาวถ้ํา) ชื่อสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[นี้นํามาจากเหตุการณที่เกิด ขึ้นกับบรรดาชายฉกรรจที่เข.าไปพักพิงในถ้ํา พวกเขายอมเสียสละชีวิตในแนวทางของ การศรัทธาและเชื่อมั่นตออัลลอฮฺ ผู.เป0นเจ.าแหงสากลโลก เหตุจากแรงปรารถนาที่แข็ง กล.าของชายหนุมกลุมนี้ในการปกป(กษความมั่นใจและการศรัทธาของพวกเขา การ ศรัทธานี้เป0นที่คัดค.านและขัดกับการศรัทธาของกลุมชนทั้งหลายในสมัยนั้น ชายหนุม เหลานี้ยึดถือหลักเตาหีด(หลักการศรัทธาในความเป0นเอกะของอัลลอฮฺ ซึ่งพวก 98


เขาเชื่อวาผู.ที่ครอบครองสากลโลกนี้คือ พระเจ.าผู.ทรงเอกะ พวกเขาไมยอมที่จะกราบ ไหว.นอกจากพระองคองคเดียว และพวกเขายังเชื่อตอวันกิยามะฮฺ (วันแหงการคืนชีพ) อีกด.วย เพราะเหตุนี้เ อง เพื่อที่พ วกเขาไมถู กทํ าร.ายหรือถู กบังคับ ให.ก ลับ ไปนั บถือ ศาสนาเดิม พวกเขาจึงเห็นวาจะต.องปลีกตัวหางจากสังคมนี้ พวกเขาจึงหลบหนีออก จากที่อยูของตนเพื่อศาสนา การเข.าไปพํานักอยูในถ้ําที่หางไกลจะเป0นการดีสําหรับ พวกเขา ตามการกําหนดในกฏสภาวการณและความประสงคของอัลลอฮฺ พวก เขาก็หลับในถ้ํานั้นนานถึง 309 ปLโดยการใช.ระบบจันทรคติเป0นหลักในการนับวันและ เดือน4 หลังจากนั้นอัลลอฮ(สุบหฯ)ทรงให.พวกเขาตื่นขึ้นมาใหม (Ibnu Kathïr, 3: 7375) ถึงแม.วาเรื่องของพวกเขาจะเป0นเรื่องที่แปลกกวาปกติ ถ.าหากเราเปรียบเทียบกับ สั ญ ญานแหงความยิ่งใหญของอั ล ลอฮฺ แล.ว มั นมิใ ชเป0 นเรื่อ งแปลกแตอยางใด เพราะพระองคจะมีสัญญานตางๆที่บงบอกถึงเดชานุภาพอีกมากมาย เรื่องที่ 2 เป0นเรื่องของการพบปะระหวางนบีมูซา(อะลัยฮิสสะลาม ; ขอความ สันติสุขจงมีแดทาน) กับเคาะฎิรฺ5 เป0นเรื่องการถอมตนในทางแสวงหาวิชาความรู.และ เหตุการณอันเร.นลับซึ่งอัลลอฮทรงเป[ดเผยให.บาวที่ศอลิหฺ(มีคุณธรรมสูง)ได.รับทราบ โดยที่ น บี มู ซ าไมสามารถลวงรู. ไ ด. ถึ ง เบื้ อ งหลั ง ของเหตุ ก ารณที่ เ กิ ด ขึ้ น ตอหน. า เขา จนกวาเคาะฎิรฺจะแจ.งให.เขาทราบ นั่นคือ เรื่องเรือเดินทะเล เรื่องการฆาเด็กและการ บูรณะกําแพง อัลลอฮ(สุบหฯ)ทรงบัญชานบีมูซาให.ไปเพิ่มพูนประสบการณและสรรหา อาจารยผู.ทรงความรู.ที่เหนือกวาและผู.ที่มีความคิดอันกว.างไกล เพราะวานบีมูซาได. มาถึงขั้นความคิดเห็นที่ไมถูกต.อง นั่นคือ นบีมูซาอ.างตัวเองวาเขาเป0นผู.ที่คงแกความรู. ในสังคม เนื่องจากทานเป0นนบีและรซูล เพราะเหตุนี้ อัลลอฮฺ จึงทรงสั่งให.ไปหา อาจารย ทานนบี มู ซ าจึ ง ได. รั บ ความรู. แ ละได. เ พิ่ ม พู น 3 ประสบการณ จาก 4

เป0นข.อแตกตางระหวางการคํานวณโดยอาศัย ดวงอาทิตยและอาศัย ดวงจันทร นั่นคือ ถ.า คํา นวณตามดวงอาทิตยซึ่งเป0นศักราชที่อาณาจักรโรมันได.ใช.ในสมัย กอนและสืบทอดจนถึงทุกวันนี้ใน ประเทศตางๆโดยเฉพาะแถบยุโรปก็จะเป0น 300 ปL แตถ.าคํานวณตามดวงจันทรจะเป0น 309 ปL การ คํานวณโดยอาศัยดวงจันทรนี้มีขึ้นนับตั้งแตอาหรับกอนอิสลามเสียอีก หลังจากนั้นชาวมุสลิมได.อาศัยการ คํานวณที่มีชื่อเรียกวาฮิจเราะฮศักราชจนถึงวันนี้.(Al-Khalidiy, 1409/1989 : 107-108). 5 เคาะฎิร เป0นชื่อของบาวผู.มีคุณธรรมซึ่งอัลลอฮ ได.ประทานความรู.ในสิ่งเร.นลับให.แกเขา

99


ประสบการณทั้ง 3 นี้ทําให. นบีมูซารู.สึกสํานึกและรู.วาชางมีเรื่องราวอีกมากมายที่ทาน ยังไมรู.ในชีวิตนี้ เรื่อ งที่ 3 เป0 นเรื่อ งของซู ล กอรนั ย นฺ (Zulqarnain) ที่พ เนจรไปในแผนดิ น อัลลอฮ ทรงให.เขามีความเข.มแข็งด.วยการยําเกรงและความยุติธรรมและให.เขามี อํานาจปกครองอยางกว.างใหญไพศาลทางทิศตะวั นตก หลังจากนั้นทานได.พเนจร ทางด.านทิศตะวันออกโดยผานทางระหวางเทือกเขา 2 ลูก ในที่สุดเขาได.อาสาสร.าง ทํานบใหญตามคําเรียกร.องของประชาชนเพื่อกั้นจากการบุกรุกของยะอฺsูจsฺและ มะอฺsูจsฺซึ่งเป0น 2 กลุมชนที่มารุกรานพวกเขา นอกจากเรื่องทั้ง 3 แล.ว สูเราะฮฺนี้ยังได.กลาวถึงอุทาหรณแหงข.อเท็จจริงอีก 3 เรื่องเพื่อชี้แจงให.เป0นที่ประจักษแจ.งวาสัจธรรมนั้นมิได.สัมพันธกับการมีทรัพยสมบัติ มากมายหรือมีอํานาจสูงสง แตสัจธรรมนั้นสัมพันธอยูกับความเชื่อมั่นและการศรัทธา และอี ก หลายอายะฮฺ ใ นซู เ ราะฮฺ นี้ จ ะเน. น หนั ก ในหลั ก อะกี ด ะฮฺ ข องความเป0 น เอกะ ของอัลลอฮ(สุบหฯ)และการยึดมั่นในการศรัทธากับวันอะคีเราะฮฺ ตัวอยางแรก กลาวถึงเศรษฐีที่ได.อวดมั่งมีในทรัพยสมบัติและอุทยานที่อุดม สมบูรณ กว.างใหญ มีแมน้ําไหลเชี่ยวและให.ผลผลิตอันเป0นที่ภูมิใจมาก แตเขากลับ หลงลืมอัลลอฮ(สุบหฯ) สวนอีกคนเป0นยาจกที่มีความภาคภูมิใจในความเชื่อมั่นและ การศรัทธา เขารู.สึกสํานึกเสมอวาทรัพยสมบัติของเขาเป0นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮ(สุบห ฯ) เขาจึงสุขใจและไมลืมที่จะจงรักภักดีตอพระองค สวนผู.ที่หยิ่งยะโส นานวันเขายิ่ง ลืมนิอฺมะฮฺ(คุณงามความดีจากการประทานของอัลลอฮ(สุบหฯ)ให.แกบาว) ดังนั้นเรื่อง ที่ไมคาดคิดก็เกิดขึ้น พายุจัดพัดกระหน่ําทําให.พืชผลและต.นองุนเสียหายในพริบตา ตอนนั้ น ผู. ที่ ห ยิ่ ง ยะโสจึ ง สํ า นึ ก ถึ ง คํ า แนะนํ า ของเพื่ อ น แตการสํ า นึ ก ของเขาไมมี ประโยชนอีกแล.ว (Hamka, 1984: 15: 152) ตัวอยางที่ 2 กลาวถึงการดํารงชีวิตอยูในโลกดุนยา(โลกที่เรามีชีวิตอยูตอนนี้) และป(จจัยที่ทําให.ดับสลายและสูญเสีย สวนตัวอยางที่ 3 กลาวถึงการหยิ่งยะโสและการจองหองของอิบลิส6 ที่ปฏิเสธ และไมยอมก.มกราบให.เกียรติแกอาดัม จนกระทั่งถูกเฉดหัวออกจากความเอ็นดูและ 6

หัวหนามารราย ซึ่งเปนสิ่งที่ถูกสรางมาจากไฟ

100


เมตตาของอัลลอฮ เรื่องราวและอุทาหรณตางๆ ที่ได.นํามากลาวไว.ในซูเราะฮฺนี้เพื่อ เป0นนิทัศนอุทาหรณโดยมีเปlาหมายเพื่อชี้แนะและเป0นบทเรียนแกบรรดามุอ$มินในการ ดําเนินชีวิตให.อยูในครรลองที่ถูกต.อง

เรื่องของอัศหาบุลกะฮฺฟ$ในพระมหาคัมภีร,อลั กุรฺอาน คัมภีรอัล-กุรฺอานคือรากฐานเดียวที่กลาวถึงเรื่องราวของอัศหาบุลกะฮฺ ฟ[ อั ล -หะดีษ และคํ า พู ด ของบรรดาเศาะหาบะฮฺ 7 ไมมีก ารกลาวถึง เรื่อ งนี้ ที่ พอจะเป0นรากฐานในการอ.างอิงได. คัมภีรอัล-กุรฺอานได.เลาเรื่องของอัศหาบุล กะฮฺฟ[อยางสมบูรณ โดยที่อัลลอฮฺ จะเลาเรื่องในสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[ ในรูป บทสรุปที่ครบถ.วนในตอนต.น หลังจากนั้นจะเป0นการเลาเรื่องของพวกเขาอยาง ละเอียด เรื่องของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ถูกประทานลงมาในชวงกอนการฮิจsฺเราะฮฺ (การ อพยพ) ของมุสลิมจากนครมักกะฮฺสูนครมะดีนะฮฺ มันเป0นชวงที่พวกกุร็อยชฺได.เปลี่ยน ยุทธศาสตรของพวกเขาในการเผชิญหน.ากับการเชื้อเชิญของทานนบี สูศาสนา อิสลามจากยุทธศาสตรแหงการดูหมิ่น การเย.ยหยัน การกลาวหาและการขูเข็ญ สู ยุทธศาสตรใหมโดยการคุกคาม การทําร.าย การคว่ําบาตรทางเศรษฐกิจและการบีบ คั้นทานนบี และบรรดาเศาะหาบะฮฺให.ปลีกตัวจากสังคมของพวกเขา (al-Majdüb, 1990: 65) มุหัมมัด ตัยสีรฺ อัศ-ศ็อบยาน (al-Sobyãn, 1978: 8) กลาววา เรื่องของอัศ หาบุ ล กะฮฺ ฟ[ไ ด.ถู ก เลาให.แกทานนบี และบรรดาเศาะหาบะฮฺ ใ นชวงที่เ หมาะกั บ สถานการณมาก กลาวคือ ในชวงนั้นมุสลิมในนครมักกะฮฺ ได.เผชิญหน.ากั บวิกฤตที่ คล.ายกับวิกฤตซึ่งอัศหาบุลกะฮฺฟ[ได.ประสบมาจากการกดขี่และการคุกคามกอนที่พวก เขาจะออกจากเมืองและไปอาศัยในถ้ํา

7

เศาะหาบะฮฺ คือ ผูที่บรรลุศาสนภาวะตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลามและไดพบท1านนบี โดยตัวตน หลังจากที่ท1านไดถูกแต1งตั้งเปนรสูลและก1อนที่ท1านจะเสียชีวิตแลวเขาไดศรัทธากับท1าน หลังจากนั้นเขาตายในอิสลาม ถึงแมว1าจะมีการออกนอกศาสนาก1อนหนานั้นแลวเขามารับอิสลามอีกครั้งก็ตาม (Nuh, 1993: 21-22).

101


หลังจากที่อัลลอฮฺ ได.ทรงยกนบีอีซา สูฟากฟlา พวก “หะวารีย” ซึ่ง เป0นพวกที่ศรัทธากับนบีอีซา วาเป0นนบีได.ประสบกับสถานการณที่ลําบากในการ เผยแผคําสอนที่ทานได.นํามา เพราะพวกยิวได.ทําการกดขี่ขมเหงผู.ที่ศรัทธาตอนบีอีซา พวกหะวารียจําเป0นต.องนอบน.อมตอตุลาการชั้นสูงของชาวยิว และแสร.งปฏิบัติ ตัวตามคําสั่งตางๆเพื่อที่พวกเขาจะได.ไมถูกกลาวหาวาออกนอกศาสนา หลังจากนั้น พวกเขารู.สึกคับแคบกับความเป0นอยูในปาเลสไตนและไมสามารถจะดําเนินบทบาท ตามที่เคยได.ปฏิบัติในสมัยนบี อีซา ยังอยู ในสภาพการณดังกลาวนั้น พวกเขา จําเป0นต.องพากันแยกย.ายออกไปยังแผนดินใกล.เคียงเพื่อดําเนินการเชิญชวนสูคําสอน ของนบีอีซา หลังจากที่นบีอีซา ได.นําคําสอนมา เผา“อาซีนีย” ซึ่งเป0นชนกลุมน.อ ย จากพวกยิวซึ่งมีมากอนการประสูตของนบีอีซา กลุมนี้ไมได.ปฏิเสธหลักคําสอน ของทาน มิหนําซ้ํายังศรัทธาในความเป0นมนุษยและการเป0นนบีของทาน เผาอื่นๆเชน เผา “นาศิรีย ” ซึ่งเป0 นที่รู.จั ก ในประวั ติศาสตรวา “นะศอรอย” ก็ ไ ด.ศรั ท ธากั บ ทาน เชนกัน ถึงแม.มีข.อแตกตางกันมากระหวางเผา “อาซีนีย” กับเผา “นะศอรอย” ทั้งสอง เผาต.อ งเผชิญกั บ การกดขี่และการทรราชของพวกยิว ทั้งหมดนี้ทํ าให.พ วกเขาเพิ่ม ความมั่นใจกับหลักศรัทธาแหงความเอกะของอัลลอฮฺ ยิ่งขึ้น หลังจากนั้น พวกคริส เตียนที่ติดตามเซ็นตปอลได.รวมตัวกั บพวกยิวในการ คุกคามและตามลาเผา “อาซีนีย” และเผา “นะศอรอย” หลังจากนั้น พวกยิวได.กอ การปฏิวัติในเมืองโรม พวกคริสเตียนที่อาศัยอยูที่เมืองอูรฺชะลีม (เยรูซาเล็ม) คิดวาวัน สิ้นโลกใกล.เข.ามาแล.ว พวกเขาจึงไมสนใจกับเรื่องการเมืองอีกแล.วพวกเขาก็ออกจาก เมืองนั้นไปตั้งถิ่นฐานใกล.แมน้ําจอรแดน (ใต.การปกครองของ “อันบาฏ”) ในชวงนั้น พวกยิวและพวกคริสเตียนแตกแยก พวกยิวจึงกลาวหาวาพวกคริสเตียนได.หักหลัง และผิดสัญญา ในปL 115-116 ค.ศ. พวกยิวได.กอการปฏิวัติอีกครั้ง พวกเขาได.ทําการฆาผู.คน มากมายที่ไ มใชพวกยิว โดยเฉพาะเผา “อาซีนีย ” ที่อ พยพไปตั้งหลั ก แหลงทางทิศ

102


ตะวันออกของแมน้ําจอรแดน ซึ่งเป0นที่รู.จักในชื่อหมูบ.าน “ค็อรบั ตก็อมรอน”8 เมื่อ พวกเขารู.วาพวกเขาต.องเผชิญวิกฤตและภัยตางๆจากพวกยิวที่คอยตามลาพวกเขา พวกเขาจึงบันทึกเป0นลายลักษณอักษรบนแผนหนังและใสไว.ในโถที่ทําจากดินเผาแล.ว ซอนไว.ในถ้ําตางๆ แผนหนังนี้ประกอบด.วยหลักคําสอน ระเบียบการ ประวัติศาสตร สถานการณและความเป0นอยูของพวกเขา9. เผาอาซีนียได.ตั้งหลักแหลงในบริเวณนี้ตั้งแตปL 70 ค.ศ. หลังจากนั้นเผานี้ได. อพยพไปตั้งถิ่นฐานทางทิศตะวันออกของจอรแดนใกล.เมือง “อัมมาน” ซึ่งเมื่อกอนมี ชื่อวา “ฟLลาดิลเฟLย” ที่ทอดทางไปยังเมืองหลวง “บัฏรออ” ของเผานิบฏียในสมัยกอน สมัยโรมกอนเรียกวา “บีรา” ในชวงเกิดการบุกรุกจากพวกยิวครั้งสุดท.าย เมื่อพวกยิวได.กอการคุกคามโดยที่พวกเขาจะทําการฆาพวกยิวด.วยกันที่ได. ออกนอกศาสนายิวแล.วไปยึดมั่นศรัทธากับนบีอีซา ที่พวกเขามั่นใจวาพวกเขา สามารถเอาชนะและปราบทุกคนได.แล.ว พวกเขาเลยเชิญชวนผู.ที่พวกเขาอ.างวาได. ออกนอกศาสนาและรวมถึงเผา “อาบิยูนีย” ซึ่งเป0นกลุมชนของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ให. กราบไหว.สักการะพระเจ.า “ยาโฮวา” แตพวกเขาทั้งหลายได.ปฏิเสธทําตามที่พวกยิวได. เชิญชวน สัยยิด กุฏบฺ(Qutb, 1985: 4: 2261) ได.กลาว ณ ที่นี้วา พวกเขาได.ปฏิเสธการ ตั้งภาคีและมาศรัท ธาในอัล ลอฮฺ พระองคจึงให.พ วกเขามั่ งคงอยูในศาสนาและ พระองคได.ให.พวกเขามีความเชื่อมั่นในศาสนามากยิ่งขึ้น พระองคได.ให.ทางนําโดยการ ดลใจให.พวกเขารู.ถึงยุทธวิธีในการที่จะ ดําเนินการปฏิบัติในกิจการของพวกเขา อัลอาลูสีย (al-Alüsï, 14: 218)ได.กลาววาพวกเขาจึงลุกขึ้นยืนด.วยแรงปรารถนาที่แข็ง กล.าและดํารงมั่นในสถานภาพของพวกเขาโดยไมสะทกสะท.านหรือเกรงกลัวอํานาจ ใดๆ สิ่งเหลานี้ทํ าให.พ วกเขากล.าที่จะเผยความจริงพร.อมกับ ประกาศบุ คลิกภาพที่ แท.จริงของพวกเขา นั่นก็คือ การมอบหมายทุกกิจการของพวกเขาแกผู.อภิบาลของ พวกเขา ยอมตัดขาดจากมวลมนุษยและยืนกรานเพื่อประกาศศาสนาที่พวกเขาศรัทธา มั่น อัลลอฮฺ ได.ตรัสในอายะฮฺที่ 14 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[วา 8

เป0นหมูบ.านที่มีการพบแผนหนังแหงทะเลสาปหรือแผนหนังค็อรบัตก็อมรอนอยางเป0นทางการ เมื่อ 14 March 1952 (al-majdüb, 1410/1990 : 88) 9 ดูใน : http:// www.coptichistory.org/new_page_378.htm

103


‹ γ Ω.ΗΤΩ∧ΘΩ♥√≅… ‡ ϑ〉 ⁄Ω †ΩΤΤ⇒ΘΣΤΤŠΩ⁄ Ν…ΣΤ√†Ω⊆ΤΩ ⊇ Ν…Σ∨†ΩΤ∈ <′ΞΜ… ψΞΤΞ ŠΣΤ∏ΣΤ∈ υς∏Ω∅ †Ω⇒π≠ΤΩ ŠΩ⁄Ω ﴿

.﴾ (14) †ΖΤ≠ς≠Ω→ …⊥′ΞΜ… :†ΤΩ ⇒<∏ΣΤ∈ ŸΩ⊆ςΠ√ ∃†Τ_ ΗΤς√ΞΜ… ,−ΨΤΤΨΤ⇓Σ ⇑Ψ∨ Ν…Ω Σ∅ŸςΤΠ ⇓ ⇑ς√ ≥ Ξ ⁄Κς‚≅…Ω

ความวา:“และเราไดใหความเขมแข็งแกหัวใจของพวกเขา(โดยการดลใจ ใหพวกเขามี ความอดทนและหยิ่ ง ตอการอี ม าน)ขณะที่ พ วกเขายื น ขึ้ น ประกาศ(โดยไมเกรงกลัวอํานาจใดๆ)วา พระผูอภิบาลของเราคือพระผู อภิบาลแหงชั้นฟTาทั้งหลายและแผนดิน เราจะไมวิงวอนพระเจาอื่นจาก พระองค$ มิ เ ชนนั้ น (หากเราเคารพอิ บ าดะฮฺ อื่ น จากพระองค$ แ ลว)เราก็ กลาวเกินความจริง(จมอยูในความอธรรมและการหลงผิด)อยางแนนอน”

นั่นก็คือพระเจ.าของกลุมชนของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ คือ พระเจ.าแหงมนุษยทั้งมวล ไมใช “ยาโฮวา” ที่เป0นเพียงพระเจ.าของพวกยิวพวกเดียว บรรดาผู.ที่ศรัทธากับนบีอีซา เป0นชาวยิวจากเผาอาสีนียซึ่งเป0นเผาเล็กเผา หนึ่ง พวกเขาได.ศรัทธาและยึดมั่นกับหลักคําสอนของเตารอฮฺ หลังจากที่นบีอีซา ได.นําหลักคําสอนมาเผยแผ ชาวยิวจากเผาใหญๆ เชน เผาเศาะดูกียและเผาฟะรีสียได. ยึดหลักคําสอนเดิมและปฏิเสธหลักคําสอนของทาน ชาวยิวจากเผาอาสีนียเทานั้นที่ ตางจากพวกพ.องของเขาที่มาศรัทธาในนบีอีซา ในเวลาตอมา มีชาวยิวผู.หนึ่งชื่อ “เซ็นตปอล” ได.ประกาศวาเขาได.ศรัทธาใน หลั ก คํ า สอนของนบี อี ซ า หลั ง จากนั้ น ไมนานเขาได. ป ลอมแปลงหลั ก คํ า สอน ดังกลาวมาเป0 นหลั ก “ษาลู ษ ” (ตรีเ อกานุภาพ10) โดยอ.างวานบีอีซา นั้นไมใช มนุษยและไมใชนบีแตทานเป0นพระเจ.าและบุตรของพระเจ.า การอ.างดังกลาวจึงเป0น การภาคีและเทียบเทากับอัลลอฮฺ ถึงแม.วาเรื่องนี้ พวกยิวที่ยังคงยึดมั่นกับคําสอน ของเตารอฮฺ ไมเห็นชอบกับนบีอีซา และหลักคําสอนของทาน แตพวกเขาชะลอ 10

ตรีเอกานุภาพ หมายถึง หนึ่ง พระบิดาหมายถึงอัลลอฮฺ สอง พระบุตรหมายถึงท1านนบีอีซา และ สาม พระวิญญาณบริสุทธิ์ หมายถึงการที่พระบิดาเขาอยู1ในพระบุตรจึงไดประกอบขึ้นเปนพระวิญญาณ อย1างไรก็ ดี ในทัศนะของคริศตGถือว1า แต1ละองคGใน 3 องคGนั้นเปนพระเจาเต็มตัว มิใช1เปนส1วนหนึ่งของพระเจา และถือว1า ทั้ง 3 องคGนั้น คือพระเจาองคGเดียว กล1าวคือ พระบิดาก็คืออัลลอฮฺ พระบุตรก็คืออัลลอฮฺ และพระวิญญาณ บริสุทธิ์ก็คืออัลลอฮฺ ดวยเหตุนี้ พวกคริสเตียนจึงกล1าวคําจํากัดความว1า “ตรีเอกานุภาพ” หมายถึงสามนั้นคือองคG เดียว. (สมาคมนักเรียนเก1าอาหรับแห1งประเทศไทย, 267).

104


ความเข็มงวดกับผู.ที่ยึดมั่นกับหลักคําสอนของเซ็นตปอล โดยถือวาเป0นการดีสําหรับ พวกเขาที่จะได.เป0นพวกที่ยึดมั่นในความเอกะของอัลลอฮฺ เพียงพวกเดียว ในเวลา เดีย วกั นพวกเขาจะได.สงวนศั ก ยภาพในการเป0 นกลุ มชนที่ถู ก เลือกของพระองคใน ทั ศ นะของพวกเขา สภาพการณดั งกลาวยั งคงมีใ ห.เ ห็ น นั บ ตั้ งแตสมั ย นบีมู ซ า จนถึงสมัยนบีมุหัมมัด ทั้งหมดนี้จะเห็นได.วาในประวัติศาสตรของพวกยิว พวกเขา ไมเชิญชวนและสนับสนุนให.คนอื่นมายึดถือกับศาสนาของพวกเขาเลย อยางไรก็ตาม หลักคําสอนในการยึดมั่นกับตรีเอกานุภาพของเซ็นตปอลได. แพรหลายในบรรดาผู.ที่ยึดมั่นกับนบีอีซา มากอนแล.วและพวกที่มายึดมั่นกับคํา สอนหลังๆนี้ แตพวก “อาซีนีย” ได.ศรัทธากับหลักคําสอนของนบีมูซา เรื่อยมา และปฏิเสธการเบี่ยงเบนเหมือนกับที่พวกยิวกลุมอื่นๆเชน เผา “เศาะดูกีย” และเผา “ฟะรีสีย” ได.เบี่ยงเบนมา และพวกเขาคัดค.านวิถีชีวิตแบบนักกฎหมายของพวกยิวที่ คอยฉวยผลประโยชน หลังจากนั้นตอมาผู.ที่ยึดมั่นในลัทธิ “ตรีเอกานุภาพ” (นั่นก็คือพวกมะสีหิยูน) ได.บุกรุกพวกยิวและสามารถเอาชนะพวกเขาได. พวกเขาจึงเชิญชวนผู.ที่ยึดหลักคําสอน เดิมของนบีอีซา รวมถึงกลุมชายหนุมให.ยึดมั่นและศรัทธากับตรีเอกานุภาพเพราะ พวกเขาคิด วาชายหนุ มกลุ มนี้ มีค วามคิ ด เหมื อ นกั บ พวกเขา แตชายหนุ มกลุ มนี้ไ ด. ปฏิเสธเพราะวาพวกเขาเป0นพวกที่ศรัทธาตอ อัลลอฮฺ องคเดียว ทั้งๆ ที่กลุมชนของ พวกเขาได.ตั้งภาคีกับพระองค คัมภีรอัล-กุรฺอานได.กลาวถึงคําพูดของพวกเขาวา ψΞ∼ς∏Ω∅ φΣΤ Κ<†ΤΩ ÿ ð‚ ⌠ςΠ√ ◊&_ ΩΨ√…ƒ∫ ,−ΨΤΤΨΤ⇓Σ ⇑Ψ∨ Ν…ΣϒΩ•ςΤΠ ≅… †Ω⇒Σ∨⌠ ΤΩ ∈ Ψ∫:‚Ω Σ;ΗΤς∑﴿

.﴾ (15) †_ΤŠΨϒς ϑðΨ/≅… ς∏Ω∅  υ ≤Ω ΤΩ Τ<⊇≅… ⇑ Ξ ΘΩ∧Ψ∨ Σ¬ΤΩ ∏<ℵ≡ςΚ… ⇑ ⌠ Ω∧ς⊇ ∃ξ⇐κΠΨ ΤΩ Š >Ψ ⇑ΗΤΤς≠<∏Σ♥ΨŠ ความวา “กลุมชนของเราเหลานั้นไดยึดเอาพระเจาตางๆอื่นจาก พระองค$ ทําไมพวกเขาจึงไมนําหลักฐานอันชัดแจงมายืนยันเลา ดังนั้น จะมีผูใดอธรรมยิ่งไปกวาผูที่กลาวเท็จตอ อัลลอฮฺ(ดวยการตั้งภาคีตอ พระองค$)”

105


คําวา “กลุมชน” 11 และ “พระเจ.าตางๆ” นี้เราสามารถเข.าใจได.จากการศึกษา ของอัล-มัจดูบ (al-Majdüb, 1990: 208) วา จากคํากลาวของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ (กลุม ชนของเราเหลานั้น) เราสามารถเข.าใจวาไมมีกษัตริยซึ่งเป0นผู.ที่บังคับให.พวกเขากราบ ไหว.เทวรูป แตคํานี้ชี้ให.เห็นวามีกลุมชนจากพวกพ.องของพวกเขาเองที่ได.ยึดเอาพระ เจ.าตางๆอื่นจากอัลลอฮฺ มันเป0นสิ่งที่คัดค.านกับหลักอะกีดะฮฺของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ ซึ่งพวกเขาได.กราบไหว.พระองคองคเดียวและพวกเขาไมได.นําสิ่งใดมาภาคีกับพระองค การปฏิเ สธของกลุมชายหนุมนี้ทํ าให.พวก “มะสีหิยูน” โกรธมาก ผลพลอย จากอิท ธิพลที่พ วกเขาสามารถปราบพวกยิวได. พวกเขาจึงใช.อํานาจในการชักชวน ให.อัศหาบุลกะฮฺฟ[ละทิ้งการนับถือกับอัลลอฮฺ องคเดียวแล.วมานับถือในตรีเอกานุ ภาพ อัศหาบุลกะฮฺฟ[เลยปรึกษาระหวางพวกเขาในการดํารงมั่นกับศาสนาของพวก เขา ในที่สุดพวกเขาไมมีทางอื่นนอกจากจะต.องปลีกตัวหางจากกลุมชนของเขา พวก เขาตางลงความเห็นที่จะอาศัยในถ้ําและทําเป0นที่ทําอิบาดะฮฺตออัลลอฮฺ ดังอายะฮฺ ได.กลาวชี้ถึงคําพูดของพวกเขาในอายะฮฺที่ 16 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[วา ψΡ∇ς√ ≤⌠ 〉↑⇒ΩΤÿ ∪ γ ς∇<√≅… ς√ΞΜ… Ν…,ΙΣ<Κ†ΤΩ ⊇ ϑðΩ/≅… ‚Πς ΜΞ… Ω⇐ΣŸΣΤ‰⊕ΤΩ ÿ †Ω∨Ω ⌠¬Σ∑Σ∧ΣΤ <√∞Ω ΤΩ ∅≅… Ψ′ΜΞ…Ω ﴿

.﴾(16) †_Τ⊆ΩΤ⊇⌠≤ΘΨ∨ ψΣ{≤Ξ ∨Κς… ⇑⌠ ΨΘ∨ ψΡ∇ς√ ΛΘΞ∼ΩΣΤÿΩ −ΨΨ Ω∧⌠š⁄ΩΘ ⇑ΨΘ∨ ¬Ρ∇ΣΤΘ ŠΩ⁄

ความวา "และเมื่อพวกเจาปลีกตัวออกหางจากพวกเขา และสิ่งที่พวก เขาเคารพบูชาอื่น จากอัลลอฮฺแลว ดังนั้นพวกเจาก็จงหลบเขาไปในถ้ํา พระผูอภิบาลของพวกเจา จะทรงแผความเมตตาของพระองค$แกพวก เจา และจะทรงทําใหกิจการของพวกเจา ดําเนินไปอยางสะดวกสบาย" สัยยิด กุฏบฺ (Qutb, 1985: 4: 2262) กลาววา “ณ ที่นี้เราจะเห็นจุดยืนของอัศ หาบุลกะฮฺฟ[อยางชัดแจ.งและเด็ดขาด โดยไมมีการเคลือบแคลงใดๆ แนแท.พวกเขาคือ กลุ มชายฉกรรจที่ แข็ งแกรงด.า นรางกายของพวกเขา แข็ ง แกรงในด. านอี มานและ แข็งแกรงในการปฏิเสธและคัดค.านสิ่งที่กลุมชนของเขาปฏิบัติอยู เส.นทางทั้งสองเห็น 11

จากการอธิบายของนักอรรถาธิบายคัมภีรGอัล-กุรฺอานว1า พวกเขาไดยืนประกาศต1อหนากษัตริยGที่เหี้ยมโหดโดย ไม1เกรงกลัวสิ่งใด (al-Alüsï, 14: 218) กษัตริยGองคGนี้เปนกษัตริยGในจักรพรรดิโรมันในสมัยนั้นมีนามว1า (Decius) บรรดานัก อรรถาธิบายเรียกว1า (Ducyanus)

106


ได.ชัด ทั้งสองหลักสูตรแตกตางกัน ไมมีวันที่จะมีจุดคล.ายคลึงกันและไมมีโอกาสที่จะมี สวนรวมในชีวิต จึงจําเป0นจะต.องหาทางออกเพื่อหลักอะกีดะฮฺ เพราะพวกเขาไมใช บรรดารสูลที่ถูกประทานมายังกลุมชนของพวกเขา แล.วพวกเขาเผชิญหน.ากับกลุมชน นั้นด.วยหลักอะกีดะฮฺที่ถูกต.องและเชื้อเชิญพวกเขาสูหลักอะกีดะฮฺนี้ และพวกเขาก็จะ ได.รับเหมือนกับที่บรรดารสูลได.รับ” อัศหาบุลกะฮฺฟ[ไมสามารถที่จะเผชิญหน.ากับกลุมชนของพวกเขา พวกเขาจึง จําเป0นต.องปลีกตัวหนีเพื่อรักษามั่นในศาสนา เลยต.องไปพํานักในถ้ํา อัลลอฮฺ ได. เลาถึงสถานการณตอนที่พวกเขาอยูภายในถ้ําในอายะฮฺที่ 17-18 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺ ฟ[วา ŒΩŠ≤Ω ∅ Ω …ς′ΞΜ…Ω Ξ⇐κΨ∧ΤΩ ∼<√≅… ‹ ð …Ω′ ψΞΨ⊃ð ⇑Ω∅ Σ⁄Ω .Ω∞ςΤΠ ŒΩ⊕ς∏ς≡ …Ω′ΞΜ… ♦ ð ∧ς↑ Π √≅… Ω≤ΤΩ Ω﴿

ΨŸΤΩ ÿ ⇑Ω∨ %ϑðΨ/≅… Œ Ψ ΤΗ ΤΩ ÿ…ƒ∫ ⇑ ⌠ Ψ∨ ∠ ð Ψ√.ς′ Σ& Τ⇒ΨΘ∨ ξ〈Ω •ΤΩ ⊇ ℑ ⌠¬Σ∑Ω Ψ†Ω∧ΠΨ↑√≅… ‹ ð …Ω′ ⌠¬ΣΣ∂≤Ξ Τπ ⊆ΤΠς (17) …_ŸΨ→≤⌠ ΣΤΘ ∨ †ΘΤ⊥ ∼Ψ√Ω ΙΣςΤ√ ΩŸΨ•ΤΩ ⇑ΩΤ∏ΩΤ⊇ Ψ∏π∝ΣΤÿ ⇔Ω∨Ω ∃ΨŸΤΩ πΤΣ∧<√≅… Ω ΣΤΩ ⊇ Σ/ ϑð ≅…

∃Ψ†Ω∧ΠΨ↑√≅… ‹ ð …Ω′Ω Ξ⇐κΨ∧Ω∼<√≅… ‹ ð …Ω′ ⌠¬ΣΣΤ‰ΠΨ∏Ω⊆ΣΤ⇓Ω χ& ΣΤ∈Σ⁄ ⌠¬Σ∑Ω †_ΤΤℵ≡†Ω⊆ΤÿςΚ… ⌠¬ΣΣ‰Ω♥ðµšΩ

…_⁄…Ω≤Ψ⊇ ψΣ⇒ΤΨ ∨ Œ ð Τ⌠ ∼Πς√Ω ς√ ⌠¬Ξ∼ς∏Ω∅ Œ ð ⊕ς∏ς≡ Π ≅… Ξ ς√ &ΨŸ∼Ψ″Ω <√≅†ΤΨ Š ΨΤ⌠ ∼ΩΤ∅…Ω⁄Ψ′ β÷Ψ♥ΤΗ ΤΩ Š ψΣΣ‰<∏Ω{Ω

﴾(18) †_Τ‰Τ∅Σ⁄ ⌠¬Σ⇒ΤΨ ∨ Œ ð ΛΤΨ ∏Σ∧ς√Ω

ความวา: “(โอ มุหัมมัด) เมื่อดวงอาทิตย$ขึ้น เจาจะเห็นมันคลอยจาก ถ้ําของพวกเขาไปทางขวา และเมื่อมันตก มันจะเบนออกไปทางซาย โดยพวกเขาอยูในที่โลงกวางของมัน นั่นคือสวนหนึ่งจากสัญญาณ(แหง เดชานุภาพ)ทั้งหลายของอัลลอฮฺ ผูใดที่อัลลอฮฺทรงแนะทางที่ถูกตอง แกเขา เขาก็คือผูที่อยูในแนวทางที่ถูกตอง และผูใดที่พระองค$ทรงให เขาหลง เขาจะไมพบผูชวยเหลือและผูชี้ทางแกเขาเลย. และเจาจะคิด วาพวกเขาตื่นทั้งๆที่พวกเขาหลับ และเราพลิกพวกเขาไปทางขวาและ ทางซาย ในขณะที่สุนัขของพวกเขาเหยียดขาหนาทั้งสองของมันไปทาง ปากถ้ํา หากเจาจองมองพวกเขา แนนอนเจาจะหันหลังเตลิดหนีจาก พวกเขา และเจาจะเต็มไปดวยความตกใจเพราะพวกเขา” 107


อัลลอฮฺ ได.บอกลักษณะความเป0นอยูของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ภายในถ้ําอยาง ละเอียด เป0นถ้ําที่เป[ดกว.าง ผู.เดินผานไปมาสามารถมองเห็นพวกเขาที่กําลังนอนอยู ข.างใน และสุนัขที่กําลังนอนอยูที่ปากถ้ํา แตอัลลอฮฺ ได.ทําให.ผู.คนที่จ.องมองยังพวก เขามีความรู.สึกกลัว ถึงขนาดวาถ.าทานนบี จ.องมองพวกเขา ทานก็จะเตลิดหนีด.วย ความตกใจ จนกระทั่งไมมีใครเข.าไปใกล. อัศหาบุลกะฮฺฟ[ยังคงอยูในสภาพนอนหลับ ตลอดมา ผานไปหลายยุคหลายสมัย ผู.คนก็ตางพูดถึงพวกเขาปากตอปากโดยที่ไมมี ใครเข.าไปใกล.เลย สวนกลุมชนของพวกเขาตางแยกย.ายในแผนดินทําให.สถานที่นั้นเหมือนเมือง ร.าง ไมคอยมีใครเดินผาน ผู.คนจึงไมรู.วาอะไรได.เกิดขึ้นกับพวกเขา นานวันผู.รวมสมัย กับพวกเขา พวกยิวและพวกคริสเตียนที่ตามลาพวกเขาก็ได.ตายไป เมือง “อันบาฏ” ก็ พินาศลง เมือง “เฆาะสาสินะฮฺ” ที่ศรัทธาตอหลักตรีเอกานุภาพซึ่งได.แพรหลายในชวง นั้น ได.ถู ก สถาปนาขึ้ น โดยเฉพาะหลั งจากที่ ก ษั ตริ ย คอนสแตนติ โ นเป[ น ได. ยึด หลั ก ศรัทธาในสํานักนิกายของเซ็นตปอล สถานการณดําเนินมาเรื่อย ประชาราษฎรใช.ชีวิต อยางสงบและปลอดภัย พวกเขาไปมาในทุกหนแหงอยางสุขสวัสดิ์ ในบรรดาพวกเขาที่ ศรัทธาในตรีเอกานุภาพได.ปฏิเสธการฟHIนคืนชีพหลังจากการตาย โดยเฉพาะสถานที่ แถบ “ชาม”12 ซึ่งได.รับอิทธิพลแหงความคิดจากยิวเผา “เศาะดูกีย” ที่ไมเชื่อกับวันคืน ชีพอยางเห็นได.ชัด ในเวลานั้นอัลลอฮฺ ทรงประสงคจะเผยสัญลัก ษณของพระองคจากการ นอนของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ในการยืนยันการฟHIนชีพนั้นวาเป0นจริง ไมใชเป0นเพียงการฝ(น เฟH„องดังที่พวกปฏิเสธได.อ.างมา สวนมากแล.วพวกเขาเป0นพวกยิวจากเผา “เศาะดูกีย” ที่ปฏิเสธการฟHIนคืนชีพหลังการตาย ความคิดของพวกเขาได.ซึมซับสูนักการศาสนา และนักปราชญจากพวกคริสเตีย นที่ศรัทธาในตรีเอกานุภาพ อัล ลอฮฺ ได.ทรงให. พวกเขาตื่นจากการหลับอันยาวนานและตางถกเถียงถึงเวลาที่ใช.ในการนอน ในที่สุด คนหนึ่งจากพวกเขาก็สั่งให.อีกคนในหมูของพวกเขาไปในเมืองใกล.ๆ ถ้ําที่พวกเขาอาศัย อยู คือ เมือง “ฟLลาดิลเฟLย” ตอนนี้มีชื่อเรียกวา “อัมมาน” ซึ่งผู.ปกครองเมืองนี้เป0น 12

ตอนนี้ถูกแบ1งออกเปน 4 ประเทศ คือ ปาเลสไตนG ซีเรีย จอรGแดนและเลบานอน.

108


ชาวคริสเตียนจาก “เฆาะสาสินะฮฺ” เพื่อไปซื้ออาหารด.วยความระมัดระวัง ดังอายะฮฺที่ 19-20 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[วา ⌠¬Ω{ ⌠¬Σ⇒ΤΠΞ∨ βΜΞ:†ΤΩ ∈ Ω†ΩΤ∈ &¬ ⌠ ΣΤΩ Τ⇒∼ΤΩΤŠ Ν…ΣΤ√ƒ∫:†Ω♥Ω Ω∼Ψ√ ψΣΤΗ ΤΩ ⇒ΤΤ‘ΩΤ⊕ΩΤŠ ∠ ð Ψ√.ΩϒΩ{Ω ‫﴿ ـ ـ‬

ψΣΤ <‘Ψ‰ς√ †Ω∧ΨŠ ψ 〉 ΤΩ ∏∅Κς… ⌠¬Ρ∇ΣΤΘ ŠΩ⁄ Ν…ΣΤ√†ΩΤ∈ ζ &ξ ΤΩ ÿ × ð Τ⊕ΤΩ Š ςΚ… †Ζ∨ΤΩ ÿ †ΩΤ⇒<‘Ψ‰ς√ Ν…ΣΤ√†ΩΤ∈ ψ ∃ ΣΤ <‘Ψ‰ς√

υΩ{ƒΚς… :†ΩΣΤΘ ÿΚς… ≤⌠ Ρℵ≠⇒Ω∼<∏ΤΩ ⊇ ◊Ψ Ω⇒ÿΨŸΩ∧<√≅… ς√ΞΜ… ,−ΨΨϒΤΗ Ω∑ ⌠¬Ρ∇ΤΨ ∈Ψ⁄Ω ΨŠ ¬Σ{ΩŸΩšΚς… Νϖ…Σ‘ΤΩΤ⊕ΤŠ≅†ΤΩ ⊇ ⌠¬ΣςΤΠ ⇓ΞΜ… (19) …[ŸΩšςΚ… ⌠¬Ρ∇ΤΨ Š ΘΩ⇐≤Ω Ψ⊕π↑ΣΤÿ ‚Ω Ω ∪ π ϑð≠ςΤ∏Ω Ω∼<√Ω Σ⇒ΤΠΨ∨ ⊄ ξ ƒ≤Ξ ΨŠ ¬Σ|ΤΨ <Κ†Ω∼<∏ΤΩ ⊇ †_Τ∨†Ω⊕ς≡

…Ζ′ΞΜ… Νϖ…Σ™Ψ∏Τπ ⊃ΣΤ ⇑ς√Ω ⌠¬ΞΤΨ Πς∏Ψ∨ ℑ ⌠¬Σ{ΣŸ∼Ψ⊕ΣΤÿ ςΚ… ψΣΣ∧Σ–≤⌠ ΤΩ ÿ ψΡ∇∼ς∏Ω∅ Ν…Σ≤Ω≠ πℵ ΤΩ ÿ ⇐ΜΞ…

.﴾(20) …_ŸΤΩΤŠΚς…

ความวา: “และในทํานองนั้นเราไดใหพวกเขาลุกขึ้นเพื่อพวกเขาจะถาม ซึ่งกันและกัน คนหนึ่งในบรรดาพวกเขากลาววา พวกทานพํานักอยูนาน เทาใด? พวกเขากลาววา เราพักอยูวันหนึ่งหรือสวนหนึ่งของวัน อีกพวกห นี่งกลาววา: พระผูเปBนเจาของพวกทานทรงทราบดีวาพวกทานพํานักอยู นานเทาใด ดั ง นั้ น จงสงคนหนึ่ ง ในหมู พวกทานไปในเมื อ ง พรอมดวย เหรีย ญเงินนี้เพื่อ เลือกดู อ าหารที่ดียิ่ง และใหเขาซื้อ มาใหแกพวกทาน และใหเขาประพฤติอยางสุ ภาพ(ขณะเขาไปในเมือง) และอยาใหผูใดรู เรื่องของพวกทานเด็ดขาด หากพวกเขารูเรื่องของพวกทาน พวกเขาจะ เอากอนหินขวางพวกทานหรือนําพวกทานกลับไปนับถือศาสนาของพวก เขา และเมื่อนั้นพวกทานจะไมบรรลุความสําเร็จเลย” หลังจากนั้นอัลลอฮฺ ได.ทําให.พวกเขาตื่นขึ้นมาเหมือนกับให.ชีวิตแกพวกเขา ใหม เพื่อที่พ ระองคจะทําให.ก ารนอนและการตื่นนอนของพวกเขาเป0 นข.อ พิสูจนใน สัญลักษณของความเดชานุภาพและความเกรียงไกรของพระองค และเป0นหลักฐาน ทางประวัติศาสตรอันชัดเจนวา การฟHIนคืนชีพในวันกิยามะฮฺจะต.องเกิดขึ้นจริงอยาง แนนอน และได. ข จั ด ความคลุ ม เครื อ ในเรื่ อ งดั ง กลาว โดยที่ พ ระองคทรงเชื่ อ ม ความสัมพันธระหวางการนอนที่ยาวนานของอัศหาบุลกะฮฺฟ[กับความเดชานุภาพของ 109


พระองคในการอภิบาลในกิจการตางๆ (al-Sha'rawï, nd: 57-58) และพระองคทรง ยืนยั น ในการตื่ นนอนของพวกเขาในการฟHI นคื นชีพ หลั ง จากได.ต ายไป สั ย ยิด กุ ฏ† บ (Qutb, 1985: 4: 2264) กลาววาเรื่องของอัศหาบุลกะฮฺฟ[เป0นตัวอยางใกล.ตัวและ สัมผัสได.ที่มนุษยสามารถนําเป0นหลักฐานอันชัดแจ.งในการเกิดวันกิยามะฮฺ ด.วยเหตุนี้ อัลลอฮฺ ได.ทําให.อัศหาบุลกะฮฺฟ[ฟHIนจากนอนและมนุยษได.ประจักษกับเรื่องนี้ การตื่นขึ้นมาของอัศหาบุลกะฮฺฟ[เป0นสัญลักษณหนึ่งที่สอดคล.องกับยุคสมัย นั้น ซึ่งเป0นสมัยที่ผู.คนตางตั้งภาคีกับอัลลอฮฺ และปฏิเสธการฟHIนคืนชีพในวันกิยา มะฮฺ สวนผู.ที่ศรัทธาในวันฟHIนคืนชีพโดยเฉพาะ คริสเตียนได.มีการถกเถียงวาการฟHIนคืน ชีพด.วยวิญญาณหรือรางกาย(al-Dimashkï, 1998: 12: 452) การตื่นขึ้นมาของพวก เขาจาการหลับนอนที่ยาวนานนั้น อัลลอฮฺ ทรงประสงคให.เป0นหลักฐานวา การฟHIน คืนชีพในวันกิยามะฮฺจะต.องเกิดขึ้นจริงอยางแนนอน และเป0นการโต.ตอบผู.ที่ปฏิเสธ การฟHIนชีพในวันกิยามะฮฺ ดังที่อัลลอฮฺ ได.เลาเหตุการณนี้ในสวนหนึ่งของอายะฮฺที่ 21 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[วา ‚Ω ◊Ω Ω∅†ΥΤφ Τ♥√≅… ΘΩ⇐Κς…Ω βΘ⊂Ωš ϑðΨ/≅… ΩŸ∅Ω ΥφΚς… Νϖ…Σ∧ΤΩ ∏⊕Ω∼Ψ√ ⌠¬Ξ∼ς∏Ω∅ †ΩΤ⇓⌠≤ΤΩ ‘∅ςΚ… ∠ ð Ψ√.ΩϒΩ{Ω ﴿

.﴾∃⌠¬Σ∑≤Ω ∨ςΚ… ⌠¬ΣΤΩ ⇒∼ΤΩ Š Ω⇐Σ∅∞Ω ΤΗ Ω⇒ΤΩ ΩΤÿ <′Μ… :†Τφ ΤΤ∼Ψ⊇ ˆ ð ΤÿΩ⁄

ความวา: “และในทํ า นองนั้ น เราไดเป2 ด เผยแกพวกเขา (คื อ มนุ ษ ย$ ทั้งหลาย) เพื่อ พวกเขาจะไดรู วาสัญ ญา (การใหฟKYนคืนชีพในวั นกิย า มะฮฺ) ของอัลลอฮฺนั้นเปBนจริง และแทจริงวันสิ้นโลกนั้นมีจริง ไมตอง สงสัยเลย13 ตอนที่พวกเขา (ผูที่รูเห็นเหตุการณ$ในสมัยที่ชาวถ้ําฟKYนคืน ชีพ)โตเถียงกันในหมูพวกเขาถึงเรื่องของพวกเขา (อัศหาบุลกะฮฺฟ2)” หลังจากที่ผู.แทนของอัศหาบุลกะฮฺฟ[เข.าไปในเมือง ในที่สุดเรื่องของพวกเขาก็ ถูกเป[ดเผย นักกฎหมายจากพวกยิวและนักการศาสนาจากพวกคริสเตียนตางพากัน ไปยั งถ้ําดั งที่ผู.แทนได.เ ลาเรื่องที่เ กิด ขึ้นกับ พวกเขาทั้งหมด แล.วพวกเขาได.ส นทนา 13

เพราะผูที่สามารถใหอัศหาบุลกะฮฺฟZฟ[\นคืนชีพจากการนอนของพวกเขาถึง 300 ป]กว1า แน1นอน พระองคGย1อมสามารถใหปวงบ1าวของพระองคGทั้งหมดฟ[\นคืนชีพมาอีกครั้งหลังจากการตายของพวกเขา (สมาคม นักเรียนเก1าอาหรับ : 695) .

110


กับอัศหาบุลกะฮฺฟ[ เมื่อได.ยินเรื่องทั้งหมดพวกเขาจึงประจักษข.อเท็จจริง และกอนหน.า นี้ไมมีใครรู.วาอัศหาบุลกะฮฺฟ[มีจํานวนเทาใด พวกเขายังคงถกเถียงกันเกี่ยวกับพวกเขา ตลอดมา คัมภีรอัล-กุรฺอาน ได.เลาเหตุการณนี้ในอายะฮที่ 22 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[ วา ⌠¬ΣΣ♠Ψ †Ω♠ β◊Ω♥⌠∧Ωā φΣΤ√Σ⊆ΤΩ ÿΩ ψΣΣ‰<∏ς ψΣΣ⊕ΨŠ…Ω⁄Θ β◊Ω‘ΤΗ ΤΩ ∏ς’ Ω⇐ΣΤ√Σ⊆Ω∼Ω♠

﴿

ϖΤΘΨ ΤŠΘ⁄Ω ΣΤ∈ ⌠¬ΣΣ‰<∏Ω{ ⌠¬ΣΣ⇒Ψ∨†ΩΤ’Ω β◊Ω⊕‰Ω♠ φΣΤ√Σ⊆ΤΩ ÿΩ ˆ ∃γ ∼ΤΩ⊕ <√≅†ΨŠ †ΩΤ? ∧–⁄Ω ⌠¬ΣΣ‰Τ<∏ς …_≤ΞΤΗ ςℵ≡ _∫:…≤Ω Ψ∨ ‚Πς ΜΞ… ⌠¬Ξ∼Ψ⊇ ⁄Ψ †Ω∧ΣΤ ð„ΤΩΤ⊇ χ%∼ΨΤ∏ΩΤ∈ ‚Πς ΜΞ… ⌠¬ΣΣ∧ΤΩ ∏⊕ΤΩ ÿ †ΘΩ∨ ¬ΞΨ ςŸ Π Ψ⊕ΤΨ Š Σ¬ΤΩ ∏∅Κς…

﴾ (22) …⊥ŸΩšςΚ… ψΣ⇒ΤϑΨ ∨ ψΞ∼ΨΤ⊇ Œ γ Τπ ⊃ΤΩΤ ♥ΤΩ ‚Ω Ω

ความว-า: “พวกเขาจะกลาวกันวา ชาวถ้ํานั้นมี 3 คน ที่ 4 ก็คือสุนัขของ พวกเขา และอีกกลุมจะกลาววา พวกเขามี 5 คน ที่ 6 ก็คือสุนัขของพวก เขา ทั้งนี้เป$นการเดาในสิ่งที่ไมรู+ และอีกกลุมหนึ่งจะกลาววา พวกเขามี 7 คน และที่ 8 ก็คือสุนัขของพวกเขา จงกลาวเถิด พระผู+เป$นเจ+าของฉันทรง รู+ดียิ่งถึงจํานวนของพวกเขา ไมมีผู+ใดรู+เรื่องของพวกเขาเว+นแต สวนน+อย ดั งนั้ น เจ+ า อยาโต+ เ ถี ย งกั น ในเรื่ องของพวกเขา นอกจากการโต+ เ ถี ย งที่ ประจั ก ษ6 แจ+ ง (เพราะบทเรี ย นในเรื่ องของพวกเขายอมเกิ ด ขึ้ น จะด+ ว ย จํานวนมากหรื อน+อยก็ตาม) และอยาสอบถามผู+ ใดในเรื่องของพวกเขา เลย” อัศหาบุลกะฮฺฟ[เป0นกลุมชนที่หลงเหลือจากเผาพันธุที่ตางคนคิดวาได.สาบสูญ ไปแล.วตั้งแต 300 ปLที่ผานมา การระลึกถึงสงครามที่หลั่งเลือดไมเคยเลือนจากความ ทรงจําของพวกยิว พวกเขาตางพูดคุยกันในระหวางพวกเขาเองโดยที่ไมมีการบันทึก ใดๆ เพราะเรื่ อ งนี้ ไ มใชเป0 น ผลดี แ กพวกทั้ ง สอง คื อ พวกยิ ว และพวกคริ ส เตี ย น เนื่องจากพวกยิวไมยอมรับนบีอีซา วาเป0นมนุษยที่ถูกเลือกเป0นนบี พวกยิวจึงไม สนใจที่ จ ะบั น ทึ ก เรื่ อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ อั ศ หาบุ ล กะฮฺ ฟ[ สวนพวกคริ ส เตี ย นจะไมได. รั บ

111


ผลประโยชนใดๆในการรื้อ ฟHI นความคิดเกี่ยวกับ พระเจ.าองคเดียวซึ่งสนับ สนุ นด.ว ย มุอฺญิซะฮฺ14 เฉกเชน มุอฺญิซะฮฺของอัศหาบุลกะฮฺฟ[นี้ พวกยิวและพวกคริสเตียนสมัยนั้นไมรู.ถึงสมัยที่อัศหาบุลกะฮฺฟ[ได.เข.าไปพักพิง ในถ้ําอยางเจาะจง แตพวกเขาเพิ่งรู.หลังจากที่พ วกเขาได.ยินอั ศหาบุ ลกะฮฺ ฟ[พู ด ถึง สถานการณที่ บี บ คั้ น พวกเขาให. ไ ปอาศั ย ในถ้ํ า และจากการเปรี ย บเที ย บระหวาง สถานการณนั้นกับ ข.อ มูลทางประวั ติศาสตรที่บิดเบือ นที่พวกเขามี เนื่องจากความ เกลียดและความแค.นที่พวกเขามีตอกลุมชนของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ แม.วาบางคนจากพวก เขาอาจจะรู.ข.อเท็จจริงอยางดีแตพวกเขาไมยอมพูดความจริง สาเหตุจากความกลัว ความโลภในตํ า แหนงหรื อ อํ า นาจทางศาสนาและทางโลก จากผลพวงดั ง กลาว หลังจากที่ อัลลอฮฺ ได.ทําให.อัศหาบุลกะฮฺฟ[ตายไป ผู.ที่รู.เห็นเหตุการณนั้นเสนอให. สร.างอาคารเหนือถ้ําที่พวกเขาได.ตาย พวกคริสเตียนที่ศรัทธาในตรีเอกานุภาพและเป0นพวกที่ได.ยินอัศหาบุลกะฮฺฟ[ ได.พูดถึงอัลลอฮฺ ผู.ทรงเอกะ ผู.ที่ไมมีบุตรและไมถูกกําเนิด พวกเขาไมได.กลาววา “พระผู.เป0นเจ.าของเรา” เพราะวาพวกเขายังคงอ.างวาอัศหาบุลกะฮฺฟ[เป0นผู.ที่ออกนอก ศาสนาและไมกราบไหว.ตอพระผู.เป0นเจ.าของพวกเขา ฝrายบรรดาผู.มีเสียงข.างมากได. เสนอให.มีการสร.างมัสญิดที่ปากถ้ําให.แกพวกอัศหาบุลกะฮฺฟ[ พวกเขา ณ ที่นี้หมายถึง พวกยิว เพราะพวกเขามีจํานวนมาก นับตั้งแตพวกเขาได.หนีจากพวกโรมันแล.วมาตั้ง ถิ่นฐานทางตอนเหนือของแม.น้ําจอรแดนและบางที่ในคาบสมุทรอาหรับ ประหนึ่งพวก เขาดุจศูนยกลางแหงอํานาจ เนื่องจากพวกเขามีทรัพยสินเงินทองอันมหาศาลซึ่งทําให. พวกเขาสามารถครอบครองสังคมที่พวกเขามาอยูนี้ ตอนท.ายของอายะฮฺตางๆ ที่พูดถึงเรื่องของอัศหาบุลกะฮฺฟ[ อัลลอฮฺ ได.ตอ วาทานรสูล ที่ได.ให.สัญญากับพวกกุรอยชฺกอนที่พระองคจะประทานเรื่องของอัศ หาบุลกะฮฺฟ[ลงมา และพระองคก็ได.แถลงเวลาที่พวกเขาหลับในถ้ําด.วยพระองคเองใน อายะฮฺที่ 23-26 ของสูเราะฮฺอัล-กะฮฺฟ[วา

14

เหตุการณGที่เหนือธรรมดาที่อัลลอฮฺ ไดใหเกิดขึ้นในการลบลางความคิดที่ไม1ถูกตองเกี่ยวกับ พระองคG และเปนสิ่งยืนยันการเปนศาสนทูตของบรรดานบี

112


≤Σ{<′≅…Ω Σ/ &ϑð ≅… ƒ∫:†Ω↑ΤΩ ÿ ⇐Κς… :‚ς Π ΜΞ… (23) …[Ÿ∅ Ω ∠ ð Ψ√.ς′ βΨ∅†ΩΤ⊇ ΨΤΠ⇓ΜΞ… ]∫πΝ†Ω↑Ψ√ ⇑ ΘΩ ς√Σ⊆ΤΩ ‚Ω Ω ﴿ (24) …_ŸΩ→⁄Ω …ΩϒΤΗ Ω∑ ⇑ ⌠ Ψ∨ ‡ ð ≤Ω <∈ςΚ‚Ψ ΘΤΨ ŠΩ⁄ ⇑ γ ÿΩ ΨŸΤΩ ÿ ⇐Κς… υϖΩ♥Ω∅ ΣΤ∈Ω Œ ð ∼Ψ♥ΤΩ ⇓ …ς′ΞΜ… ∠ ð ΤΘΩ ŠΘ⁄Ω

†Ω∧ΤΨ Š Σ¬ΤΩ ∏∅Κς… Σ/ ϑð ≅… ΞΣΤ∈ (25) †_Τ⊕π♥ΤΨ Ν…Σ …Ω ƒ≅…Ω Ω⇐κΨ⇒Ψ♠ ◊ξ ΤΩΤΛ Ν†Ψ∨ ÷ ð ΤΗ ΤΩ ∏ς’ ψΞΨ⊃ς ℑ Ν…Σ‘Ψ‰ς√Ω

⇑ΤΠΨ∨ ψΣς√ †Ω∨ &⊗ ⌠ ΤΨ∧♠ςΚ…Ω −ΨΤΨ Š ≤⌠ Ψ±ΤŠςΚ… ≥ ∃Ξ ⁄Κς‚≅…Ω ‹ γ .ΩΤΗ Ω∧ΘΩ♥√≅… ˆ 〉 Τ∼ΩΤ∅  ΙΣΤς√ ∃Ν…Σ‘Ψ‰ς√

﴾ (26) …_ŸΩšςΚ… ,−ΨΨ∧<∇Σš ℑ 〉∉≤Ξ ↑ΣΤÿ ‚Ω Ω ωΘΨ√Ω ⇑Ψ∨ −ΨΤΤΨΤ⇓Σ ความว-า: “(โอ+ มุหัมมัด) เจ+าอยากลาวเกี่ยวกับสิ่งใดวา แท+จริงฉันจะเป$น ผู+ทํา สิ่งนั้น ในวั นพรุงนี้ เว+น แตอัล ลอฮฺทรงประสงค6 จงรํ าลึ กถึงพระผู+ เป$ น เจ+าของเจ+าเมื่อเจ+าลืม และจงกลาววา บางทีพระผู+เป$นเจ+าของฉันจะทรง ชี้แนะทางที่ถูกต+องที่ใกล+กวานี้แกฉัน พวกเขาได+พํานักอยูในถ้ําของพวกเขา 300 ป> และเพิ่มอีก 9 ป>15 จงกลาวเถิด(มุฮัมมัด) อัลลอฮฺทรงรู+ดียิ่งวาพวก เขาพํานักอยูนานเทาใด สําหรับพระองค6นั้นทรงรู+สิ่งพ+นญาณวิสัยในชั้นฟDา ทั้งหลายและแผนดิน พระองค6ทรงเห็นชัดและทรงฟEงชัดทุกสิ่งทุกอยาง ไมมี ผู+คุ+มครองใดสําหรับพวกเขาอื่นจากพระองค6 พระองค6ไมทรงรับผู+ใดเข+ารวม ภาคีในการปกครองของพระองค6” ประสิทธิภาพด.านปฏิบัติงาน เปลี่ยนเรื่องราวในอัลกุรฺอานให.เป0นละคร ทําเป0นการตูนเพื่อเด็ก เขียนบทเพลงอะนาชีด เขียนเรื่องสั้นในแนวที่เกี่ยวข.องกับเรื่องราวในอัลกุรฺอาน 15

เป0นข.อแตกตางระหวางการคํา นวณโดยอาศัย ดวงอาทิตยและอาศัย ดวงจันทร นั่นคือ ถ.า คํา นวณตามดวงอาทิตยซึ่งเป0นศักราชที่อาณาจักรโรมันได.ใช.ในสมัย กอนและสืบทอดจนถึงทุกวันนี้ใน ประเทศตางๆโดยเฉพาะแถบยุโรปก็จะเป0น 300 ปL แตถ.าคํานวณตามดวงจันทรจะเป0น 309 ปL การ คํานวณโดยอาศัยดวงจันทรนี้มีขึ้นนับตั้งแตอาหรับกอนอิสลามเสียอีก หลังจากนั้นชาวมุสลิมได.อาศัยการ คํานวณที่มีชื่อเรียกวาฮิจเราะฮศักราชจนถึงวันนี้ (al-Khalidi, 1989 : 107-108).

113


114


เรื่องเลาจากอัล-หะดีษ

7

ทานเราะสูล ไดเลาเรื่องที่เ กิดขึ้นในสมัยกอนมากมาย เพื่อ เปนการ ปลุกขวัญและอุทาหรณ&ใหกับเศาะหาบะฮฺ อันเนื่องจากมนุษย&มีความกระชับกระเฉง และตื่นตัวเมื่อไดยินเรื่องเลา เพราะเหตุนี้เอง ทานเราะสูล จึงใชเรื่องเลาตางๆ ใน การอบรมบรรดาเศาะหาบะฮฺ เรื่องตางๆ ที่ทานเราะสูล ไดเลาซึ่งเปนที่รูจักอยาง กวางขวาง เชน • • • • • • • • •

เรื่องนบีอิบรอฮีมกับกษัตรย&นัมรูด เรื่องของ 3 ชาวถ้ําที่บริสุทธ&ใจ เรื่องของทารกที่พูดได เรื่องนบีมูซาและคิฎ็อรฺ เรื่องนบีมูซาและมะลิกุลเมาตฺ เรื่องอัศฮาบุ อัล-อุคดูด (ชาวคู) เรื่องของ<ุร็อยจ<ฺและเสียงเรียกรองของมารดา เรื่องโถทอง เรื่องหนึ่งพันดีนารฺ

เรื่องอื่นๆ อีกมากมาย ที่ทานเราะสูล ไดเลาอยางละเอียดในอัล-หะ ดีษ ซึ่งเปนการขยายเรื่องราวที่มีการกลาวในอัลกุรฺอานอยางชัดเจนและเปนจริง

115


‫‪3‬‬ ‫‪ตัวบทอัล-หะดีษ‬‬

‫ﻋﻦ اﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ اﳋﻄّﺎب رﺿﻲ اﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻋﻦ رﺳﻮل اﷲ ﻗﺎل‪)) :‬ﺑﻴﻨﻤﺎ‬ ‫ﺛﻼﺛﺔ ﻧﻔﺮ ﻳﺘﻤﺎﺷﻮن‪ ،‬أﺧﺬﻫﻢ اﳌﻄﺮ‪ ،‬ﻓﺂووا إﱃ ﻏﺎر ﰲ اﳉﺒﻞ‪ ،‬ﻓﺎﳓﻄﺖ ﻋﻠﻰ ﻓﻢ ﻏﺎرﻫﻢ‬ ‫ﺻﺨﺮة ﻣﻦ اﳉﺒﻞ‪ ،‬ﻓﺄﻃﺒﻘﺖ ﻋﻠﻴﻬﻢ‪ ،‬ﻓﻘﺎل ﺑﻌﻀﻬﻢ ٍ‬ ‫ﻟﺒﻌﺾ‪ :‬اﻧﻈﺮوا أﻋﻤﺎﻻً ﻋﻤﻠﺘﻤﻮﻫﺎ ﷲ‬ ‫اﻟﻠﻬﻢ إﻧﻪ ﻛﺎن ﱄ واﻟﺪان ﺷﻴﺨﺎن‬ ‫ﺻﺎﳊﺔً ﻓﺎدﻋﻮا ‪‬ﺎ ﻟﻌﻠّﻪ ﻳﻔﺮﺟﻬﺎ ﻋﻨﻜﻢ‪ .‬ﻓﻘﺎل أﺣﺪﻫﻢ‪ّ :‬‬ ‫ﺑﺪأت‬ ‫ﻛﺒﲑان واﻣﺮأﰐ‪ ،‬وﱄ ﺻﺒﻴﺔ ﺻﻐﺎر ﻛﻨﺖ أرﻋﻰ ﻋﻠﻴﻬﻢ‪ ،‬ﻓﺈذا ُرﺣﺖ ﻋﻠﻴﻬﻢ ﺣﻠﺒﺖ‪ُ ،‬‬ ‫ﲏ‪ ،‬وإﻧﻪ ﻧﺄى ﰊ ذات ﻳﻮم اﻟﺸﺠﺮ‪ ،‬ﻓﻤﺎ آت ﺣﱴ أﻣﺴﻴﺖ‪،‬‬ ‫اﻟﺪي‪ ،‬أﺳﻘﻴﻬﻤﺎ ﻗﺒﻞ ﺑَِ ‪‬‬ ‫ﺑﻮ ّ‬ ‫ﻓﻮﺟﺪ‪‬ﻤﺎ ﻗﺪ ﻧﺎﻣﺎ ﻓﺤﻠﺒﺖ‪ ،‬ﻛﻤﺎ ﻛﻨﺖ أﺣﻠﺐ ﻓﺠﺌﺖ ﺑﺎﳊﻼب‪ ،‬ﻓﻘﻤﺖ ﻋﻨﺪ رءوﺳﻬﻤﺎ‬ ‫أﻛﺮﻩ أن أوﻗﻈﻬﻤﺎ ﻣﻦ ﻧﻮﻣﻬﻤﺎ‪ ،‬وأﻛﺮﻩ أن أﺳﻘﻲ اﻟﺼﺒﻴﺔ ﻗﺒﻠﻬﻤﺎ‪ ،‬واﻟﺼﺒﻴﺔ ﻳﺘﻀﺎﻏﻮن ﻋﻨﺪ‬ ‫ﻗﺪﻣﻲ‪ ،‬ﻓﻠﻢ ﻳﺰل ذﻟﻚ دأﰊ ودأ‪‬ﻢ‪ ،‬ﺣﱴ ﻃﻠﻊ اﻟﻔﺠﺮ‪ ،‬ﻓﺈن ﻛﻨﺖ ﺗﻌﻠﻢ أﱐ ﻓﻌﻠﺖ ذﻟﻚ‬ ‫اﺑﺘﻐﺎء وﺟﻬﻚ ﻓﺎﻓﺮج ﻟﻨﺎ ﻓﺮﺟﺔ ﻧﺮى ﻣﻨﻬﺎ اﻟﺴﻤﺎء‪ ،‬ﻓﻔﺮج اﷲ ﳍﻤﻢ ﻓﺮﺟﺔ ﺣﱴ ﻳﺮون ﻣﻨﻬﺎ‬ ‫اﻟﺴﻤﺎء‪.‬‬ ‫ﳛﺐ اﻟﺮﺟﺎل‬ ‫ﻋﻢ أﺣﺒﺒﺘﻬﺎ‪ ،‬ﻛﺄﺷ ّﺪ ﻣﺎ ّ‬ ‫اﻟﻠﻬﻢ إﻧﻪ ﻛﺎﻧﺖ ﱄ اﺑﻨﺔ ّ‬ ‫وﻗﺎل اﻟﺜﺎﱐ‪ّ :‬‬ ‫ﲨﻌﺖ ﻣﺎﺋﺔ‬ ‫اﻟﻨﺴﺎء‪ ،‬ﻓﻄﻠﺒﺖ إﻟﻴﻬﺎ ﻧﻔﺴﻬﺎ‪ ،‬ﻓﺄﺑﺖ ﺣﱴ آﺗﻴﻬﺎ ﲟﺎﺋﺔ دﻳﻨﺎر‪ ،‬ﻓﺘﻌﻴﺖ‪ ،‬ﺣﱴ‬ ‫ُ‬ ‫ﻓﻠﻤﺎ وﻗﻌﺖ ﺑﲔ رﺟﻠﻴﻬﺎ‪ ،‬ﻗﺎﻟﺖ ‪ :‬ﻳﺎ ﻋﺒﺪ اﷲ‪ .‬اﺗﻖ اﷲ وﻻ ﺗﻔﺘﺢ اﳋﺎﰎ‬ ‫دﻳﻨﺎر ﻓﺠﺌﺘﻬﺎ ‪‬ﺎ‪ّ ،‬‬ ‫إﻻّ ﲝ ّﻘﻪ‪ ،‬ﻓﻘﻤﺖ ﻋﻨﻬﺎ‪ ،‬ﻓﺈن ﻛﻨﺖ ﺗﻌﻠﻢ أﱐ ﻗﺪ ﻓﻌﻠﺖ ذﻟﻚ اﺑﺘﻐﺎء وﺟﻬﻚ ﻓﺎﻓﺮج ﻟﻨﺎ ﻣﻨﻬﺎ‬ ‫ﻓﺮﺟﺔ‪ ،‬ﻓﻔﺮج ﳍﻢ ﻓﺮﺟﺔ‪.‬‬

‫‪116‬‬


‫ ﻗﺎل‬،‫ ﻓﻠﻤﺎ ﻗﻀﻰ ﻋﻤﻠﻪ‬،‫إﱐ ﻛﻨﺖ اﺳﺘﺄﺟﺮت أﺟﲑاً ﺑﻔﺮق أرز‬ ّ ‫اﻟﻠﻬﻢ‬ ّ :‫وﻗﺎل اﻵﺧﺮ‬ ً‫ ﻓﻠﻢ أزل أزرﻋﻪ ﺣﱴ ﲨﻌﺖ ﻣﻨﻪ ﺑﻘﺮا‬،‫ ﻓﺮﻏﺐ ﻋﻨﻪ‬،‫ ﻓﻌﺮﺿﺖ ﻋﻠﻴﻪ ﻓﺮﻗﻪ‬،‫ أﻋﻄﲏ ﺣﻘﻲ‬:‫ﱄ‬ ِ :‫ ﻓﺠﺎءﱐ ﻓﻘﺎل‬،‫ورﻋﺎءﻫﺎ‬ ،‫ اذﻫﺐ إﱃ ﺗﻠﻚ اﻟﺒﻘﺮ ورﻋﺎﺋﻬﺎ‬:‫ ﻗﻠﺖ‬،‫اﺗﻖ اﷲ وﻻ ﺗﻈﻠﻤﲏ ﺣﻘﻲ‬ ‫ ﺧﺬ ذﻟﻚ اﻟﺒﻘﺮ‬،‫ إﱐ ﻻ أﺳﺘﻬﺰئ ﺑﻚ‬:‫ ﻓﻘﻠﺖ‬،‫ اﺗﻖ اﷲ وﻻ ﺗﺴﺘﻬﺰئ ﰊ‬:‫ﻓﺨﺬﻫﺎن ﻓﻘﺎل‬ ‫ ﻓﺈن ﻛﻨﺖ ﺗﻌﻠﻢ أﱐ ﻓﻌﻠﺖ ذﻟﻚ اﺑﺘﻐﺎء وﺟﻬﻚ ﻓﺎﻓﺮج ﻣﺎ‬،‫ ﻓﺬﻫﺐ ﺑﻪ‬،‫ ﻓﺄﺧﺬﻩ‬،‫ورﻋﺎءﻫﺎ‬ (‫ )رواﻩ اﻟﺒﺨﺎري وﻣﺴﻠﻢ‬.‫ﺑﻘﻲ‬ ความวา ทานอิบ นุอุ มัรฺ อิบ นุ อั ล -ค็ อฏฏอบ ไดรายงานจากทานรสู ล วา ใน ระหวางชาย ๓ คนกําลังเดินอยู ฝนก็กระหน่ําลงมา พวกเขาก็เขาไปอาศัยในถ้ํา แหงหนึ่ง หลังจากนั้น หินใหญก็หลนทับปากถ้ํา จนพวกเขาไมสามารถออกไป ได พวกเขาตางพู ด วา พวกทานจงนึก ถึงการงานที่ดีที่พ วกทานไดทํ าไปเพื่อ อัลลอฮฺ แลวใหพวกทานทั้งหลายขอดุอาอ3กับการงานนั้น เผื่อวาอัลลอฮฺจะทรง เป5ดทางใหเรา คนหนึ่งในพวกเขาพูดวา โอ อัลลอฮฺ ขามีบิดามารดาที่แกเฒา ภรรยาและลู ก ๆ ซึ่งตามปกติหากขากลั บ จากฟาร3ม ขาจะรีด นมแลวใหบิด า มารดาของขาดื่มกอนภรรยาละลูกๆ ของขากอนทุกครั้ง วันหนึ่ง ขาตองออกไป ตามทุงหญาและตนไมที่อยูไกล กลับถึงบานก็คํ่าพอดี ปรากฏวาทานทั้งสองได หลับไปแลว ขาก็รีดนมตามปกติแลวนําเตานมมายืนรออยูที่หัวนอนของทานทั้ง สอง ไมอยากปลุกทานทั้งสอง และไมปรารถนาที่จะใหลูกๆ ดื่มกอนทานทั้งสอง ทั้งๆ ที่ลูกๆ ตางรองครวญดวยความหิวรอบๆ เทาของขา สภาพของขาและ ลูกๆ ที่กําลังรองอยูอยางนี้จนถึงฟ<าสาง โออัลลอฮฺ หากพระองค3ทรงรูวา การที่ ขาไดกระทําไปนั้นเพียงเพื่อพระองค3แลว ก็ขอใหพระองค3ทรงเป5ดทางใหเราดวย โดยที่เราสามารถเห็นทองฟ<าได อัลลอฮฺก็ทรงเป5ดทางใหพวกเขาไดเห็นทองฟ<า คนที่ ๒ ก็พูดวา โอ อัลลอฮฺ ขามีญาติหญิงซึ่งเป>นลูกพี่ลูกนอง และขาหลงรัก เธอมาก เหมือนกับชายทุกคนที่ไดหลงรักผูหญิง เยี่ยงใดเยี่ยงนั้น ขาก็เขาไปสู ขอเธอ แตเธอไดปฏิเสธและตั้งเงื่อนไขใหนําเงิน ๑๐๐ ดีนารฺ ขาลําบากใจมาก จนกระทั่งขาไดรวบรวมเงิน ๑๐๐ ดีนารฺมา ในขณะที่ขาไดอยูกับเธอสองตอสอง เธอก็พูดวา ทานผูเป>นบาวของอัลลอฮฺ จงยําเกรงตออัลลอฮฺเถิด ทานอยาได 117


ละเมิดในสิทธิการแตงงาน ทันใดนั้นขาก็ผละตัวออกจากเธอ โออัลลอฮฺ หาก พระองค3 ท รงรู วา การที่ ข าไดกระทํ า ไปนั้ น เพี ย งเพื่ อ พระองค3 แ ลว ก็ ข อให พระองค3ทรงเป5ดทางใหเราดวย อัลลอฮฺก็ทรงเป5ดทางใหพวกเขาอีก คนสุดทาย ก็พู ดวา โอ อั ลลอฮฺ ขาเคยจางคนงานผู หนึ่งโดยใหขาวสารเป> นคาตอบแทน หลังจากที่เขาไดทํางานเสร็จเรียบรอย เขาก็พูดวา จงใหในสิทธิของขา ขาก็เลย เสนอใหเขารั บ ขาวสารเป> น คาตอบแทน แตเขาไดปฏิ เ สธแลวผละออกไป หลังจากนั้น ขาก็ไดเอาขาวนั้นไปปลูกจนกระทั่งขาไดรวบรวมราคาไดวัวและ สิ่งของตางๆ เขาก็มาหาแลวพูดวา จงยําเกรงตออัลลอฮฺและอยา .......

ประสิทธิภาพดานปฏิบัติงาน เปลี่ยนอัล-หะดีษใหเปนละครเวที ทําเปนการ&ตูนเพื่อเด็ก เขียนเรื่องสั้นในแนวที่เกี่ยวของกับอัล-หะดีษนี้

118


บทละครเวที (ตัวอยาง)

... เพราะเราบริสุทธิใ์ จ (ฉาก : ชองทางแคบระหวางภูเขา ทองฟBามืดครึ้มปกคลุมดวยเมฆหนา ฟBาแลบ คํารามอยางแรง และฝนก็กระหน่ําหนักลงมา) (ชายฉกรรจ& ๓ คนกําลังเดินในทองทุง แหงนมองไปยังภูเขาขางหนา พรอมกับเงยมองดูทองฟBาดวยความรูสึกหวาดกลัว สองในสามคน เดินหนาขามทุงไป สวนคนที่สามเดินชาๆ เหมือนกับกําลังครุนคิดวิธีทาง เพื่อความปลอดภัย) ยูสุฟ : ฮารูน ! มีอะไรเหรอ ? เร็วเขาซิ .. รีบเดินเร็ว ๆ ฮารูน : (พลันหยุดชั่วขณะหนึ่ง ) แต .. มัตตา ยังอยูขางหลังเราโนน ยูสุฟ: ปลอยเขาเถิด….เขาแกลง เดินชาตางหากละ ฮารูน : เราจะทิ้งเพื่อนไปอยางนั้น ไมไดนะ ยูสุฟ (พลันเรียกมัตตาอยางสุดเสียง) มัตตา ! มัตตา ! มัตตา : (เสียงขานของเขาจากไกล ) ฮารูน ! ฮารูน : ทําอะไรอยูเหรอ ที่นั้นนะ ? ตามพวกเรามา เร็วเขา มัตตา : รอกอนซิ ยูสุฟ: รอเหรอ ? หรือวา เราจะรอใหน้ําไหลเชี่ยวมา ขณะที่เราอยูในกลางทุงอยาง นี้ …..ตายนะซิ ฮารูน : อยาผลุนผลันซิ ! นั่นเห็นไหม เขารีบเรงมายังเราแลวงัย มัตตา : (มาถึง ในสภาพการหายใจหอบจากการวิ่ง ) สหายรัก ขาวา เราหยุดพัก ตรงนี้กอนดีกวา ยูสุฟ: อยากใหน้ํามาโถมทับอยางนั้นหรือ? นายจะใหเราตายอยางนั้นหรือ? 119


มัตตา : แตนายนั้นแหละอยากใหเราตายดวยความคิดของนายที่ตื้นๆ เราไมมีทางที่ จะแซงหนาสายน้ําไดเลย ถามันซัดมา แตวาเราสามารถปกปBองจากมันได ยูสุฟ: ทําอยางไรละ มัตตา : เราไปหลบในถ้ําบนเขานั่นไง (พลันไดยินน้ําเชี่ยวมาจากไกล ) ฮารูน : เฮย ! นายทั้งสองฟKงนั่นซิ ! น้ําเชี่ยวมาแลว ! เสียงน้ํานั่นนะ ! มัตตา : เร็ว พวกเรา เร็วเขา ยูสุฟ: แต … แตดูหินขนาดใหญหนาถ้ํานั่นซิ มัตตา : แลว ทําไมกับมันละ ยูสุฟ: นายสองคนไมกลัวเหรอ วาหินใหญนั้นจะหลนมาปLดหนาถ้ําไว ? มัตตา : หินใหญ อยูอยางนี้ ตั้งแตไหนแตไรแลว … มันจะตกลงมาวันนี้เหรอ ? ยูสุฟ: เอา .... แลวใครจะไปรูเลา ? มัตตา : (ยังผืน) โอMย .. ถาอยางนั้น เราก็ตายพรอมกันเลย.. และเราก็โลงอกดวยซ้ํา ที่จะไดตายเปนเพื่อนนาย ฮารูน : หยุดเถอะ ..เราไมมีเวลาโตเถียงกันแลว .. เขาไปในถ้ําเถอะ ปลอยใหเอก องค&อัลลอฮฺทรงกระทําตามความประสงค&ของพระองค&เถอะ ( พวกเขาก็ปNนขึ้นยังหนาหุบเขา อยางรวดเร็ว ) ( ภายในถ้ํา แสงยังคงทอเหลืออยูที่เล็ดลอดจากปากถ้ํา ขณะที่เสียงน้ําเชี่ยว ซัดกระหน่ํามาอยางแรง ) มัตตา : วาไงละ โอ เจาของความคิดอันเฉียบแหลม หากเราไมเขามาในถ้ํานี้ น้ํา เชี่ยวขนาดใหญคงซัดเราพาไปไหนแลวแนนอน ยูสุฟ: แลวถาหินใหญนี้ถลมทับขังเราในนี้ละ? มัตตา : (หัวเราะเยาะ) ถาถึงเวลานั้น ขาจะยอมรับความคิดเห็นของนายที่ถูกตอง ที่สุด ฮารูน : แยจริงพวกนายเนี๊ยะ! ไมมีอะไรดีกวาการโตเถียงแลวเหรอ เรามารําลึก ถึงอัลลอฮ ดีกวา และมาขอดุอาอ&กัน เผื่อวาผลสุดทายของเราจะได รอดพนดวยดี 120


(ขณะเดี๋ยวกัน เสียงเกราะแกระก็ดังแววมาจากปากถ้ํา) ฮารูน : อุย ! แยแลว อะไรกันนี่ ? ยูสุฟ: หินใหญนั่น กําลังขยับขับเคลื่อน ! มัตตา : อัลลอฮฺชวย ยูสุฟ: มัน..มันถลมทับปLดปากถ้ําแลว ! ( ปากถ้ําซึ่งมีแสงทออยูนั่นก็ถูกปLดสนิท ความมืดมิดเลยแทนที่) ฮารูน : (‫ﻮَة إِﻻ ﺑِﺎﷲ‬ ‫)ﻻ َﺣ ْﻮَل وﻻ ﻗُـ‬ ยูสุฟ: ขาบอกเจาสองคนแลวไง วามันอยูไมนิ่งมันเกือบจะตกมา ? โอ…นายมัตตา เอQย โอ เจาของความคิดที่เฉียบแหลม! หาทางออกใหเราเดี๋ยวนี้ มัตตา ; หากเรายังฝSนอยูกลางทุงนั่น เราก็ตายอยูดี ยูสุฟ: แลวการตายของเราตอนนี้ ไมแนนอนอีกหรือ? มัตตา : ทั้งหมดนี้ ก็เพราะมองโลกในแงรายของเจานะซิ. ยูสุฟ: แลวการมองโลกในแงรายของขา มันทําใหหินมันเคลื่อนที่นั่นหรือ? มัตตา : ใช ฮารูน : สหายรักทั้งสอง พอทีเถอะ หยุดโตเถียงสักทีไดไหม ขาไมคิดวา สิ่งที่เกิด ขึ้นกับเรานอกจากเปนการลงโทษจากอัลลอฮ..เ พราะการโตเถียง และตอ ลอตอเถียงอยางนี้เอง ยูสุฟ: เฮย ! ฮารูน แลวคุณมีสิทธิ์อะไรมาดาขาละ คนอื่นตางหากที่ควรถูกดาวา ฮารูน : พอกันสักทีไดไหม ยูสุฟ ... แลวมัตตาหายไปไหนเสียละ? มัตตา ... นาย กําลังทําอะไรที่นั่น ยูสุฟ: เขากําลังผลักกอนหินใหญนั่น มัตตา : อยามาเยาะเยยขานะ .. ยูสุฟ ฮารูน : ยูสุฟ นายไมคิดจะหยุดอีกหรือ? ยูสุฟ: เพื่อนรัก ขาไมไดเยาะเยยสักหนอย แตหินนั่นขนาดรอยคนก็ไมสามารถจะ ขยับมันได ฮารูน : มัตตา .. มานี่ มานั่งใกลขาซิ เราไมตายแนนอน เวนแตอัลลอฮฺจะโปรด ปรานพวกเรา ยูสุฟ ... นายก็เหมือนกัน มานั่งใกลขา แลวยื่นมือมา 121


ยูสุฟ: เอา .. นี่มือขา ฮารูน : (เอามือยูสุฟตั้งบนมือมัตตา) จงจับมือแลวกลาวอภัยซึ่งกันและกันเสียกอน แทจริง อัลลอฮฺ จะไมทรงมองเราหากเรายังตัดขาดกันอยางนี้ ยูโซฟ : อภัยใหขาดวยนะ มัตตา มัตตา : ขาอภัยแลว .. นายอภัยใหขาดวยแลวกัน ยูสุฟ: เหอะนา..ขาอภัยแนนอนเพื่อนรัก ฮารูน : อัลหัมดุลิลลาฮ … งั้นฟKงขาใหดี .. ขาไดยินมาจากบรรดาอุละมาอ&ของเรา บางคนที่คงแกความรูวา …สิ่งที่ดีเลิศแกผูที่จะดุอาอ&ในยามคับขันคือการ “ตะวัซซุล” ดวยอะมัลศอลิหฺ ของเขา ... ดังนั้น พวกเราแตละคนจงนึก ถึงอะมัลที่ดีเลิศที่สุดที่ไดปฏิบัติมาตลอดชีวิต แลวดุอาอ&ตออัลลอฮดวยสิ่ง นั้น มัตตา : ฮารูน .. นายเริ่มกอนซิ ยูสุฟ: ใชแลว .. นายแหละที่ดีเลิศที่สุดในบรรดาพวกเราสามคน ฮารูน : องค&อัลลอฮฺ เทานั้นที่ทรงรูวาใครดีกวากัน .. ที่จริง ขาเคยทําผิดมามาก บาปนั้นใหญหลวงนัก ขาไมรูจักอะมัลที่ดีเลิศ นอกจากความกตัญ<ูของขา ที่มีตอบิดามารดาที่แกชรา มัตตา : งั้น จงรําลึกซิ เพราะวา ความกตัญ<ูตอบิดามารดาเปนการอะมัลที่ ประเสริฐ ที่สุด ฮารูน : (เริ่มเลา) โดยปกติแลว หากขากลับจากฟาร&ม ขาจะรีดนมแลวใหบิดา มารดาขาดื่มกอนภรรยาและลูกๆ ของขา วันหนึ่ง ขาติดงานที่ฟาร&ม กลับถึง บานก็มืดค่ําพอดี ภรรยาขาตอนรับขาดวยความกังวล ( ฉากยายไปที่บานฮารูน ) ( ฮารูนกําลังยืน และในมือของเขากําลังถือแกวนม ... ภรรยาของเขา (หินนะฮฺ) ยืนอยู ตรงหนาเขา) ภรรยา : บังจQา ... วันนี้มีอะไรหรือที่ทําใหบังกลับชาละ ฮารูน : ศรีภรรยา หินนะฮฺจMะ! บังออกไปตามทุงหญาไกล จึงไปไกลหนอย เออ.. ทานพอและแมอยูที่ไหนละ? 122


ภรรยา : ทานทั้งสองรอบังตั้งนาน จนงวง เลยเผลอหลับไป ฮารูน : โอ นาสงสารจังเลย ทานทั้งสองนอนทั้งๆ ที่ยังไมทานอะไรเปนอาหารเย็น เลย ภรรยา : ถาอยางนั้น สงนมที่บังไดรีดมา เผื่อฉันจะไดใหลูกๆ ดื่ม เพราะพวกเขา กําลังครวญดวยความหิวโหย ฮารูน : ไมนะ หินนะฮฺ ... บังจะไมใหใครดื่มกอนทานทั้งสองเด็ดขาด ภรรยา : ใหลูกๆ ของเราดื่มนมนี้กอน หลังจากนั้นก็ไปรีดใหทานพอ ทานแม เมื่อทั้ง สองตื่นก็ได ฮารูน : ไมเด็ดขาด บังไมยอมผิดพลาดความเคยชินที่มีตอทานหรอก ภรรยา : ถาอยางนั้น ก็ปลุกทานทั้งสอง เดี๋ยวจะไดใหลูกๆ ตอ ฮารูน : ไมควรรบกวนการนอนของทานทั้งสองตอนนี้เลย ภรรยา : แลวบังจะทําอยางไรละ? ฮารูน : บังจะรอยืนตรงนี้ จนกวาทานทั้งสองจะตื่น แลวบังจะยื่นนมใหทานทั้งสอง ดื่ม ภรรยา : บัง กําลังทําอะไรอยูนั่นนะ? อยาตั้งภาชนะชิดกับทองอยางนั้นซิ? ฮารูน : บังทําอยางนี้ เพื่อนมจะไดอุนไง ไปหาลูกๆ เถิด ..หินนะฮฺ. ภรรยา : แลวฉันจะทําอยางไรกับพวกเขาละ? ฮารูน : จงกลอมพวกเขาจนกวาจะหลับ (ฉาก ในถ้ํา) มัตตา : พอแมของทานตื่นมาเมื่อไรละ? ฮารูน : เกือบๆ จะฟBาสาง ยูสุฟ: นายยืนรอถือภาชนะอยูตลอดคืนเลยหรือ? ฮารูน : ใช ขาประกบนมชิดกับทองใตเสื้อผาขา มัตตา : หวังวาผลแหงความดีสําหรับนายนะ..ฮารูน เราไมเคยไดยินวามีลูกที่ชาง กตัญ<ูกับบิดามารดาของเขาแบบนี้เลย

123


ฮารูน : (พรอมกับยกมือทั้งสองขางพึมพําดวยการดุอาอ&) โอ อัลลอฮฺ หากพระองค& ทรงรูวาการที่ขาไดกระทําลงไปนั้นเพียงเพื่อบริสุทธิ์ใจตอพระองค& ก็ขอให พระองค&ทรงปลอยพวกเราใหพนจากที่เรากําลังประสบอยูเถิด มัตตา : ฮารูน! ดูนั่นซิ หินแตกแลว ยูสุฟ: ใชแลว เห็นทองทุงแลว! ฮารูน : โอ…อัลลอฮ อัลหัมดุลิลลาฮฺ ... บรรดาสรรเสริญจงมีแดพระองค& มัตตา : หวา! แตเรายังออกไปไมไดอีกอยูดี ฮารูน : ตอนนี้ ถึงคิวนายทั้งสองแลวนะ จงระลึกอะมัลที่ประเสริญที่สุดที่นายไดทํา มา มัตตา : ยูสุฟ นายเริ่มกอนซิ ยูสุฟ: แต นายเริ่มกอนแลวกัน นายดีกวาขามาก ฮารูน : ไมเปนไร ยูสุฟ เริ่มกอนก็ได ยูสุฟ: ขาจะพูดอยางไรดีหละ? ฮารูน : นึกสิ่งที่เจารู อยาไปดูแคลนบางอยางจากการงาน เพราะแทจริงอัลลอฮไม เคยดูแคลนสักอยางเลย ยูสุฟ: ในหัวของขามีสิ่งหนึ่ง แตวา ขาอายที่จะกลาวออกมา ฮารูน : อะไรกัน! อะมัลที่ศอลิหฺ ไมเห็นจะตองอายสักหนอย ยูสุฟ: มันเกี่ยวของกับศักดิ์ศรีของญาติฝWายหญิงขา ฮารูน : เราสัญญากับนาย วาเราจะไมเปLดโปงความลับนี้แกใคร ยูสุฟ: (เริ่มเลา) ขาหลงรักลูกพี่ลูกนองของขามาก เหมือนกับผูชายหลงรักผูหญิง มากๆอยางไรอยางนั้นนะ ตอนนั้นขายากจนมาก พอของนางเลยยกนางให คนอื่น ความรักของขาที่มีตอนางยังคงดื่มดําฝKงแนนในหัวใจขา ขาก็อุตสาห& ทํางานหายังชีพจนกระทั่งขาไดเปนเศรษฐี ชัยฏอนจึงลอลวงขาใหลวงลอนาง ดวยเงินทอง แตนางสํารวมตนจากขา จนกระทั่งนางประสบภัยแลงอัน ยาวนาน นางจึงมาขอความชวยเหลือจากขา (ฉาก ณ บานของยูสุฟ)

124


ยูสุฟ:

โอ ยินดีตอนรับที่รักจQา หวังวาวันนี้ เธอจะยินยอมกับคําขอของญาติเธอที่ ดื้อรั้นรักเธอยิ่งนัก เชิญนั่งบนเตียงอันนุมนี้ซิจMะ หลอน : ยูสุฟ ฉันมาขอยืมเงิน 60 ดีนารฺ ตามที่คุณไดสัญญาไวกับฉัน เขา : แลวเธอจะยินยอมไหมละ? หลอน : ตามใจคุณซิ (หลังจากที่ครุนคิดนาน) เขา : งั้นก็จงรับเอาเทาตัวจากที่เธอขอแลวกัน รับไว 120 ดีนารฺ ถาที่รักตองการ ผมจะเพิ่มมากกวานั้น หลอน : ไมหรอก.. ยูสุฟ เพียงพอแลว แคนี้ก็เหลือเฟSอแลวละ เขา : เอานี่ โอ.. ความหวังแหงวิญญาณขา (พรอมกับสงถุงเงินที่เต็มไปดวยเงินดี นารฺ) หลอน : ยูสุฟ.. ขอใหไดรับผลตอบแทนที่ดีนะ! ความดีของคุณนี้ สามีและลูกๆ ของ ฉันจะไดรอดชีวิต เขา : ไดโปรดเถิด อยาพูดถึงสามีของเธอตอนนี้ไดไหม หลอน : แปลกจริง ยูสุฟนี่ คุณหึงหวงสามีฉันหรือ ทั้งๆ ที่สามีฉันไมมีขอผูกมัดกับ คุณเลย เขา : นี่เธอวาอะไรนะ? หลอน : ฉันไดขออนุญาตเขาแลว แลวเขาก็อนุญาตใหฉันมาอีกดวย เขา : เขาอนุญาตเธอหรือ? หลอน : ใช .. ทั้งๆ ที่น้ําตาคลอ เพราะกลัววา ลูกๆ ของเขาจะตายดวยความหิวโหย (สีหนาของยูสุฟก็เปลี่ยนไป แตความรูสึกของเขาที่มีตอเธอปกคลุมอยู แลวเขาก็จับ มือนางไว) เขา : ถาอยางงั้น เราก็โลงอกจากเขาเสียที .. มาซิ ที่รักของหัวใจ เรามาสนุกกัน หลอน : (น้ําตาเออนอง) ฉัน ... ยินดีเสมอคะ เขา : (ปลอยมือนาง) แตวาเธอรองไหนิ .. เกิดอะไรขึ้นหรือ? หลอน : ฉันกลัวอัลลอฮฺ ผูทรงอภิบาลแหงสากลโลก เขา : (สั่นดวยความกลัว) โอ ชางเวรกรรมของขากระไร ที่ปฏิเสธนิอฺมัต ของอัลลอฮ เธอกลัวพระองค&ในยามยากรากแคน และขาไมกลัวพระองค& 125


หลอน : เขา : หลอน : เขา :

มัตตา : ยูสุฟ:

มัตตา : ฮารูน : มัตตา : ยูสุฟ: มัตตา : ฮารูน : มัตตา : ยูสุฟ: มัตตา :

ทั้งๆ ที่ขาอยูอยางสุขสบาย ขาขอสาบานตออัลลฮ .. ขาจะไมแตะตอง แมแตเสื้อผาของเธออีก แลวเงินละ ยูสุฟ? จงรับไวแลวกัน โอ…ไม .. ขาไดใหเจาแลวเพื่ออัลลอฮ .. กลับไปหาลูกๆ ของเธอเถิด แตวา สามีของฉัน คงจะคิดวาคุณได ……....... แลวไปเกี่ยวของกับสามีของเธอเรื่องอะไร? แทจริงขาไมกลัวเขาหรอก แต วาขารูสึกกลัวตออัลลอฮผูทรงอภิบาลแหงสากลโลก (ฉากภายในถ้ํา) นางจากไปพรอมเงินใชไหม? ใชแลว ทั้งๆ ที่หัวใจของขา เกือบจะหลอมละลายเพราะรักเธอ (เขาดุอาอ& ออนวอน) โออัลลอฮ …หากพระองค&ทรงรูวาการที่ขาพระองค& ไดกระทําลง ไปนั้น เพียงเพื่อความบริสุทธิ์ใจตอพระองค& ก็ขอใหพระองค&ทรงใหพวกเรา พนจากที่เรากําลังประสบอยูดวยเถิด (ตะโกน) หินเคลื่อนแลว! อัลหัมดุลิลลาฮฺ .... บรรดาสรรเสริญ จงมีแดพระองค& นั่น ทองฟBา! ขาสามารถเห็นทองฟBา! อัลหัมดุลิลาฮฺ แตวา โอ นาเสียดายจัง…ยังออกไปไมไดอยูดี มัตตา..ตอนนี้เปนหนาที่นายแลวนะ ขาไมมีอะมัลใดนอกจากสิ่งเดียวที่อาจหวังจากอัลลอฮได..ขาเคยคิดจะเก็บ มันเปนความลับเพียงขากับพระองค&เทานั้น .. จงรําลึกเถอะมัตตา และขอจากอัลลอฮดวยสิ่งนั้น นานมาแลว ขามีสวนผลไม วันหนึ่งขาจางคนงานมาทํางานที่สวนของขา เมื่อกลางวันผานไป ขาก็จายคาจางแกทุกคน ยกเวนคนหนึ่งชื่อ สุลัยมาน ไมยอมรับคาตอบแทนนั้น ขาปรารถนาจะเพิ่มคาตอบแทน เขายังปฏิเสธ และหันหลังไป ตั้งแตนั้นมา ความรูสึกที่แรงกลาก็ผุดขึ้นในใจขา ขาเลยตาม หาเขาทุกที่ แตไมเห็นรองรอยใดๆ เลย ขาเลยคิดที่จะเพิ่มพูนคาตอบแทน 126


ของเขา อัลลอฮฺ ก็ใหความบะเราะกะฮฺ คาตอบแทนนั้นเพิ่มขึ้นและเปน จํานวนมาก จนกระทั่งภัยแลงก็มากวาดทรัพย&สินของขา ภรรยาของขาก็ คะยั้นคะยอใหขาใชประโยชน&จากทรัพย&สินนั้น (ฉากที่บานมัตตา ที่กําลังเถียงกับภรรยาของเขา) เขา : ไมเด็ดขาด มันเปนทรัพย&สินของลูกจางคนนั้น หลอน : แตคุณเปนคนเพิ่มพูนมัน เขา : ทุนเดิมเปนสิทธิ์ของเขา แทจริงอัลลอฮฺ ใหบะเราะกะฮฺแกเขาใน ทรัพย&สินของเขา หากขาปนกับทรัพย&สินของขาแลว แนนอนภัยแลงจะ กวาดไปหมด หลอน : เอาแคแพะตัวเดียวก็พอ แลวเชือดในวันอีด และแบงใหลูกหลาน เขา : ไมเด็ดขาดขาขอสาบานตออัลลอฮฺ ขาจะไมแตะตองแมแตสิ่งเดียวจนกวา เจาของจะมา หลอน : เจาของมันจะมาเมื่อไรกัน? เขาอาจตายไปแลวก็ได เขา : หากเขาไดตายจริง เผื่อสักวันหนึ่งขาเจอกับญาติๆ ของเขา แลวขาจะได มอบมันใหกับเขา (ฉากในถ้ํา) ยูสุฟ: มัตตา เจาของทรัพย&สินนั้น มาหานายหลังจากนั้นหรือเปลา? มัตตา : ใช…สุลัยมานมาหาหลังจากผานไป 5 ปN (ฉากที่บานมัตตาอีกครั้ง) สุลัยมาน : มัตตา…มัตตา…คุณรูจักผมไหม? มัตตา : ใครหรือ ? สุลัยมาน? สุลัยมาน: ใช ผมสุลัยมาน.. แนนอนคุณจะตองนึกถึงชื่อขา มัตตา : สหายรัก .. คุณหายไปไหนตั้งนาน? ขาหานายตั้งนาน สุลัยมาน: เผื่อวา คุณจะจางขาอีกครั้ง .. แลวคุณจะโกงสิทธิ์ของขางั้นหรือ มัตตา : แตขาหาคุณ เพื่อคืนสิทธิของคุณ..ขาขอสาบานตออัลลอฮฺ ขาหาคุณตั้งนาน สุลัยมาน: คุณจะมอบถุงขาว ที่ขาทิ้งไวกับนายนั้นเหรอ? จงรูเถิด .. มัตตา แท จริงอัลลอฮทรงใหฉันมากกวาขาวสารหนึ่งกันตังนั่น 127


มัตตา : มานี่ ดูนี่ซิ….คุณเห็นฝูงแกะและคนเลี้ยงนี้ไหม? สุลัยมาน: โอ..จริงอยางที่นายพูด..นายเพิ่มพูน จริงๆ มัตตา . มัตตา : มิใชหรอก..ทั้งหมดนี้ไมใชของขาหรอก..สุลัยมาน..แตมันเปนทรัพย&สินของ คุณจากขาวสารหนึ่งกันตังที่คุณไมยอมรับเมื่อกอน สุลัยมาน: คุณพูดอะไรนะ? มัตตา : ขาถือวา มันเปนอะมานะฮฺที่อยูกับขา..วันนี้คุณไปรับมันไว และปลอยใหขา โลงอกซะที กับการเก็บรักษาอะมานะฮฺอันหนักหนวงนี้ สุลัยมาน: มัตตา นายอยามาเยาะเยยขาเลนนะ..วันนี้ขาไมใชคนจนอีกแลวที่นายจะ มาเยาะเยยขา มัตตา : ขาขอสาบานตออัลลอฮฺ .. ขาไมไดเยาะเยยคุณ สุลัยมาน: จริงหรือ? (เขายังลังเลใจ) มัตตา : ใช..ขาขอสาบานกับอัลลอฮฺ ซึ่งไมมีพระเจาอื่นใดเวนแตอัลลอฮฺ ฝูงแกะ แพะและวัว ทั้งหมดนี้เปนกรรมสิทธิ์ของคุณ สุลัยมาน: มันชางเปนการรักษาอะมานะฮฺที่ยิ่งใหญเสียเหลือเกิน! ขาจะตองทิ้งไว ครึ่งหนึ่งเปนของนาย…นะ มัตตา มัตตา : ไม ขาไมรับ ขอใหอัลลอฮฺทรงตอบแทนสิ่งที่ดีกวานี้อีก สุลัยมาน: บางทีคุณอาจตองการมันนะ มัตตา มัตตา : อะไรกันนี้สุลัยมาน คุณเห็นวาที่ขาเก็บรักษาไวเพื่อคุณนะ อัลลอฮฺจะไมให ขางั้นหรือ? อัลหัมดุลิลลาฮ…สิ่งที่ดีๆ สําหรับขามีอีกเยอะแยะ (ฉาก ภายในถ้ํา) ยูสุฟ: แลวเขาจูงฝูงสัตว&นั้นไปหมดเลยหรือ? มัตตา : ใชซิ ถึงขนาดภรรยาขา โกรธเคืองขาเปนเดือน ไมพูดกับขาอีกดวย เนื่องจากที่ขาปฏิเสธรับสิ่งที่สุลัยมานเสนอ ขาก็บอกนางวา แทจริง อัลลอฮฺ เปนผูใหและผูใหยังชีพ ฮารูน : มัตตา ขอใหไดผลตอบแทนที่ดีสําหรับนายนะ และนี่นะ เปนการงานที่ ยิ่งใหญกวาอะมัลของขา และอะมัลของยูสุฟ ดังนั้น จงดุอาอ&กับสิ่งนี้ ใหอัลลอฮฺปลดพนพวกเราจากสิ่งที่เราเปนอยูนี้ 128


มัตตา : (วิงวอนดวยการดุอาอ&) โออัลลอฮฺ หากพระองค&ทรงรูวา การที่ขาไดกระทํา ลงไปนั้น เพียงเพื่อความบริสุทธิ์ใจตอพระองค& ก็ขอใหพระองค&ทรงใหเราพนจากสิ่งที่ พวกเรากําลัง ประสบอยูดวยเถิด ยูโซฟ : (ตะโกนรองเสียงดัง) ดูนั่น! หินขยับเขยื้อนจากที่แลว .. โอ อัลลอฮฺ มัน เคลื่อนไปแลว … (ปากถ้ําก็เปLดออกกวางกวากอน.. และเสียงการเคลื่อนของหินสูขางลางก็ยัง ไดยินตลอด) ฮารูนก็พลันพูดวา : อัลหัมดุลิลลาฮ ! เรารอดตายแลว..เรารอดแลว … ทั้งสาม : (ตางกอดรัดกันอยางเบิกบานใจ) อัลหัมดุลิลลาฮ ! อัลหัมดุลิลลาฮ . (จบบริบูรณ&)

129


130


8

เรื่องยาว

หนังสือ “ครึ่งศตวรรษแหงชีวิต” เปนผลงานของฮัจญีประโยชน% ค&าสุวรรณ ที่ ได& ป ระมวลพระราชกรณี ย กิ จ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ ทรงมี ต อพสกนิ ก รมุ ส ลิ ม และได& รวบรวมบทความเกี่ยวกับจริยธรรมอิสลาม ประวัติศาสตร%ของศาสนาอิสลาม และ บทความวรรณกรรม รวมถึงบทบรรยายธรรมทางวิทยุกระจายเสียงตามสถานีสวน พระองค% ภายใน ๕๐ ป7 มาแล& ว และได& ตี พิ ม พ% เ พื่ อ กราบบั ง คมทู ล เกล& า ฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ&าอยูหัว ทรงครองราชย%ครบ ๕๐ พรรษา “โอมาร% มหาราช” เปนบทความทางประวัติศาสตร%ชิ้นหนึ่งของฮัจญีประโยชน% ค&า สุ ว รรณ ที่ไ ด&ถู ก รวบรวมในหนั งสื อ “ครึ่ง ศตวรรษแหงชีวิ ต” บทวรรณกรรมที่ เกี่ยวกับบทความทางประวัติศาสตร%นี้ได&เปนบทความทางวิทยุเราะมะฎอนของมูลนิธิ เพื่อศูนย%กลางอิสลามแหงประเทศไทย ในป7 พ.ศ ๒๕๓๓ บทวรรณกรรมที่เกี่ยวกับ บทความทางประวัติศาสตร%นี้แบงออกเปน ๓๐ ตอน ตอนแรกเริ่มต&นในคืนแรกของ เราะมะฎอน และตอนสุดท&ายจบลงในคืนสุดท&ายของเราะมะฎอน ฮ.ศ. ๑๔๑๔ “โอมาร% มหาราช” เปนการนําเสนอชีวประวัติอันนาเทิดทูนของเคาะลีฟะฮฺทาน หนึ่ ง ในหน& า ประวั ติ ศ าสตร% อิ ส ลาม คื อ ทานเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ มั รฺ อิ บ นุ ล ค็ อ ฏฏอบ ซึ่ ง ประวัติศาสตร%โลกเรียกสมญานามทานวาโอมาร%มหาราช บทความทางประวัติศาสตร% นี้ได&ใช&ภาษาที่สละสลวยชวนอานมาก และได&สะท&อนประวัติศาสตร%อิสลามได&อยาง ครอบคลุมในด&านการศรัทธา การอิบาดะฮฺ การคบหาสมาคม การใช&ชีวิตเพื่อศาสนา การปฏิบัติตนในยามสงคราม

131


อุมัมรฺัรมหาราช ฺมหาราช เหนือ เส&นทางสายเปลี่ยวสายหนึ่งนอกชานเมืองมักกะฮฺ ทามกลางแสง ตะวันร&อนแรงเหนือทะเลทรายสีทอง ม&าสีหมอกขาวตัวหนึ่งกําลังวิ่งอยางรีบเรงด&วย ฝ7เท&าที่สูงจัด เหนือหลังม&ามีรางของชายชาตรีนายหนึ่งนั่งเดนเปนสงา อาภรณ%แบบอา ราเบียนที่สวมใสแสดงชัดวาชายผู&นี้เปนชนชั้นศักดินา มือหนึ่งของเขาถือเชือกบังคับม&า ด&วยความชํานาญแตอีกมือหนึ่งนั้นกลับถือดาบอันคมกริบสะท&อนแสงตะวัน ดวงหน&า ของเขาเครงเครียดบงถึงอารมณ%อันร&อนระอุดังเปลวไฟ ชาวมักกะฮฺและชาวเบดูอินที่ เรรอนกลางทะเลทรายทุกคนตางรู&จักเขานามของเขาเรียกกันวา” อุมัรฺ “อิบนุลคอฏฏ อบ“ ชายผู& นี้ มี ด วงวิ ญ ญาณถึ ง สามดวงในรางเดี ย ว ดวงวิ ญ ญาณหนึ่ งเปนดวง วิ ญ ญาณของตุ ล าการผู& ท รงความยุ ติ ธ รรมแหงนคร ดวงวิ ญ ญาณหนึ่ ง เปนดวง วิญญาณของขุนพลหนุมที่คมดาบของเขาตวัดศีรษะศัตรูมาแล&วไมน&อยกวาร&อยศีรษะ และดวงวิญญาณที่เหี้ยมเกรียมนี้เองกลับมีอีกดวงวิญญาณคือดวงวิญญาณกวี คม วาทีและคมปากของเขานั้นไมแพ&คมดาบอันคมกริบ เขามีหน&าที่ตุลาการชี้ข าดการ พิพาทตางๆในระหวางตระกูลของอรับทุกตระกูลเขาทําหน&าที่โต&ตอบคารมกับหัวหน&า 132


นครอื่นๆที่บังอาจสู&กรกับเขาแตในยามวางที่ดาบเสียบไว&ในฝHก ปากกาของเขาก็ราย คํากวีนิพนธ%ที่ทุกคนอานแล&วตื้นตันใจ ขณะที่ม&าสีหมอกขาวกําลังวิ่งอยางเรงรุดเหนือทะเลทรายสีทอง ชายคนหนึ่งที่ กางกระโจมอยูริมทาง ได&เดินออกมาสกัดหน&าอาชาไนยของเขาไว&และก&มศีรษะแสดง คามคารวะให&แกเขา เขาพยักหน&ารับการคารวะและหยุดม&าเพื่อเจรจาเมื่อเห็นวาชายที่ ยืนอยูตรงหน&าของเขานั้นก็คือเพื่อนรักคนหนึ่งของเขาเอง “ทานกําลังจะไปไหนหรือ...อุมัรฺ“ “ไปที่บ&านอัรกอม หมูบ&านข&างหน&า” เขาตอบ “ทานจะไปหาใครที่นั่นหรือ” “ไปหาคนที่พวกเราเคยนิยมชมชื่นเขาถึงแกให&สมญานามเขาวาอัล-อะมีน แต ขณะนี้เพื่อนคงทราบดีแล&ววาอัล-อะมีนคนนี้แหละที่มันกําลังทําอะไร มันอ&างตัวเอง วาเปนนบีของพระเจ&า ประกาศตนอยางชัดแจ&งวามันคือศัตรูตอเทวรูปของเรา มันเปน ตัวการแหงความยุงยากทั้งมวลที่กําลังเกิดในแผนดินของเรา มันทําลายความสงบสุข ที่พวกเราเคยมีมาแตกอน มันยุยงให&ลูกปลีกตัวออกจากพอแมและยุยงให&น&องปลีกตัว ออกจากพี่ และทุกวันนี้ชาวมักกะฮฺกี่ร&อยคนแล&วที่เดินทางไปอบิสสิเนียตามคําแนะนํา ของมัน ดังนั้นหน&าที่ของเราจะไปยังบ&านอัรกอมซึ่งเปนสถานที่ที่มันและสหายรวมตัว กันอยู หน&าที่นี้ก็คือตั ดศีรษะมูหัมหมัดเสีย ความยุงยากทั้งมวลจะได&สูญสิ้นไปเมื่อ ศีรษะของมุฮัมหมัดกระเด็นออกจากคอ “เขาตอบพร&อมทั้งกัดฟHนกรอด ”ทานควรไปหาเขาด&วยลัษณะที่ได&เปรียบมากกวานี้ ศีรษะของมุฮัมหมัดคง ขาดแนด&ว ยคมดาบของทาน แตกอนที่ท านจะฆาเขาให&ตายควรให&เ ขาได&รับ ความ ทรมานมากกวานี้ กลับไปที่บ&านน&องสาวของทานกอนเถิดทานอุมัรฺ แล&วทานจะแก& แค&นเขาได&อยางสมใจ“ ฟาฏิมะฮฺน&องสาวของเราไปเกี่ยวข&องอะไรกับมุฮัมหมัดด&วยหรือ “เขาถาม ”น&องสาวของทานและสามีของเขาอาจจะน&อมรับศาสนาของมุฮัมหมัดแล&วก็ ได& เพราะเราเคยเห็นทั้งสองแอบมาที่บ&านอัรกอมแล&วหลายครั้ง ทานควรจะไปลากคอ น&องสาวและน&องเขยของทานมาหามุฮัมหมัมดด&วย และทําทารุณกรรมทั้งสองคนให&

133


ถึงที่สุดตอหน&าตอตามุฮัมหมัด แล&วทานจะได&ตัดศีรษะมุฮัมหมัดเสียให&ตายด&วยความ ตรอมใจกอนสิ้นลมหายใจ“ ”เปนความจริงหรือที่ทานกลาว “อุมัรฺถาม” ไมใชเปนการลวงลอให&เราไป ทาง อื่นเพื่อให&มุฮัมหมัดหลบหนีจากเงื้อมมือของเราไป“ ”ความแค&นของข&าพเจ&ามีไมน&อยกวาทาน...อุมัรฺ ,เราไมบังอาจที่จะท&าทายกับ คมดาบของทานดอก และเรามั่นใจวามุฮัมหมัดจะไมหนีไปที่ไหนอีกแล&วนอกจากจะยึด มั่นอยูที่บ&านอัรกอม“ ” อุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบพยักหน&าและ ชักม&าคืนกลับสูนครมักกะฮฺ เขารีบควบม&าไป ที่บ&านพักน&องสาวของเขาทันที เขาได&ยินเสียง ใครสองคนกําลังทองจําหรือสวดมนต%กันอยู อยางแผวเบา ถ&อยคําดังกลาวนี้เขาไมเคยได& ยินจากที่ใดมากอน และถ&อยคําที่กําลังได&ยินก็ เปนคํ าสรรเสริญ ความความเกรีย งไกรของ พระเจ&า รวมทั้งคําปฏิญาณรับรองวามุฮัมหมัดเปนศาสนทูตของพระเจ&า ความแค&นใจ ของเขาลุกโชนเสมือนไฟเผาไม&เชื้อเพลิง เขาใช&เท&าถีบประตูบ&านจนบานประตูบ&านของ น&องสาวแยกออกจากกั น เมื่อ รางของเขายืนเดนที่หน&าธรณีประตู ทั้งน&องสาวและ น&องเขยตางมีสีหน&าซีดเผือดด&วยความตระหนก เขาจ&องมองดวงหน&าของน&องเขยด&วย ดวงตาพยักฆ%ร&ายและถามวา” เอ็งกําลังอานอะไรกันอยูหรือ “แล&วเขาก็ชายตามายัง น&องสาวก็แลเห็นน&องสาวกําลังซอนกระดาษแผนหนึ่งไว&ใต&หมอน เขาสั่งน&องสาวทันที ที่ให&สงกระดาษนั้นมอบให&เขา แตน&องสาวของเขาปฏิเสธ เขาจึงตรงไปทําร&ายน&องเขยทันทีด&วยความเคียด แค&น และถามอยางเยาะเย&ยวา” ข&าได&ทราบวาเอ็งนับถือศาสนาของมุฮัมหมัดแล&วใช ไหม “แล&วเขาก็ทําร&ายรางกายของน&องเขยของเขาตอไปอีกอยางทารุณ สุดวิสัยที่ภรรยาจะมองภาพสามีของตนถูกทําร&ายอยางทารุณโดยปราศจาก การตอสู&เลย ฟาฏิมะฮฺรีบตรงไปสวมกอดสามีโดยเอารางของนางเองกําบังสามีไว& เปน ขณะเดียวกันกับอุมัรฺกระชากดาบออกจากฝHก แล&วใช&สันดาปฟาดลงไปอยางเมามัน 134


เลือดที่ไหลโทรมหน&าที่อุมัรฺแลเห็นจึงมิใชเลือดของน&องเขย แตเปนเลือดของนิ้งสาวผู& รวมสายเลือ ดเดี ย วกั บ เขา นางร&อ งไห& ด&ว ยความเจ็ บ ปวดรวดร& าว แล& ว ตะโกนวา ”แล&วแตคุณพี่ ,เรานับถือศาสนาของทานอัลอมิน หากมันเปLนความแค&นในอกของพี่ แล&วพี่จะฆาเราทั้งสองคนเสียก็ได&สุดแล&วแตใจ“ อุมัรฺตกตะลึงแลเห็นเลือดน&องสาวโชกหน&า น้ําตาชายชาตรีใจเพชรของคลอ เบ&า เขาถามน&องสาววา” หยิบกระดาษที่เจ&าซอนพี่ไว&ใต&หมอนมาให&พี่ดูสักทีหรือ“ ”บุคคลที่มีมลทินไมมีสิทธิ์ที่จะแตะต&องโองการของพระเจ&าได& แมวาจะเปน โองการเดียว พี่จะต&องไปชําระล&างรางกายของพี่ให&สะอาดเสียกอน ฉันจึงจะให&พี่ดูได&“ อุมัรฺทําตามคําสั่งของน&อ งสาว และเมื่อ เขาหยิบกระดาษแผนนั้นมาอานได& เพี ย งไมกี่ บ รรทั ด รางกายกวี เ อกเชนเขาก็ ต& อ งยื น ตรึ ง อยู กั บ ที่ เพราะถ& อ ยคํ า ใน กระดาษนั้นมันเปนไปไมได&เลยที่คนอานและเขียนหนังสือไมเปนเชนอัลอมินจะนิพนธ% ออกมาได& ข&อความที่อุมัรฺได&อานนั้นมีดังนี้ ฏอฮา เราพะผู&เปนเจ&ามิได&ประทานคัมภีร%อัลกุรอานนี้ให&แกสูเจ&า เพื่อให&สูเจ&าต&องทุกข%ระทมต่ําต&อย แตทวาเปนคําตักเตือนบุคคลผู&เกรงกลัว คัมภีร%นี้ถูกประทานลงมาโดยนพระองค%ผู&ทรงเนรมิตปฐพีและนภากาศอันสูง ล้ํา พระองค%ผู&ทรงกรุณา ทรงมั่นคงในอํานาจแหงพระองค% สรรพสิ่งในชั้นฟLา และสรรพสิ่งในแผนดิน และสรรสิ่งตางๆในระหวางสรรสิ่ง ทั้งสอง และสรรพสิ่งที่อยูภายใต&ปฐพีนั้นเปนของพระองค%เชนกัน และถ&าสุเจ&าจะกลาว คําโดยดังนั้น แนแท&พระองค%ทรงรอบรู&ในสิ่เงที่ซอนเร&นและเปนความลับยิ่ง อัลลอฮฺ ,ไมมีผู&ใดที่สูเจ&าเคารพภักดีนอกจากพระองค% พระนามที่เยี่ยมยอด ทั้งหลายนั้นเปนพระนามของพระองค%“อุมัรฺยืนตะลึง...มองหน&าน&องสาวด&วยน้ําตาที่ ไหลรินเปนทาง ตอ

135


”ข& า พเจ& า ได& ท ราบวาน& อ งสาวของข& า พเจ& า น& อ มรั บ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม ข&าพเจ&าทั้งโกรธทั้งแค&นจึงรีบไปบ&านน&อง ได&ยินเสียงน&องและน&องเขยกําลังหัดอานอัล กุรอาน ข&าพเจ&าต&องยื้อแยงแผนกระดาษนั้นมาอาน และเมื่ออานจบข&าพเจ&าก็น&อมรับ ทันทีวาถ&อยคําที่ข&าพเจ&าได&อานนั้นมิใชกวีนิพนธ% แตมันคือโองการอันศักดิ์สิทธิ์จาก สวรรค% ข&าพเจ&าตัดสินใจน&อมรับศาสนาอิสลามทันที และเมื่อมั่นใจแล&วทานคือศาสฯ ทูตที่แท&จริงของพระเจ&า“ ”เราขอสรรเสริญในการดลใจของพระเจ&า และขอต&อนรบทานด&วยความยินดี เชนกัน “ทานอบูบักรผู&เปนมิตรรักของศาสนากลาวขึ้นบ&าง” เมื่ออายุของทานจะน&อย กวาเราของทานนบี ขอให&เราเปนทั้งเพื่อนและเปนพี่ของทาน อรามั่นใจอยายิ่ง อุมัรฺ, การได&อยางคนอยางทานมาคนหนึ่งเรายินดีเสีเยกวาได&กองทัพทั้งกองทัพ เราหวังวา ทานจะเปนผู&ประกาศศาสนาอิสลามให&รุงโรจน%ขึ้นไป ตอไปนี้ทานจงทําตัวเสมือนเปน เพื่อนตายของเราและของทานนบี“ ทานอุมัรฺกลาววา” ข&าพเจ&าขออนุญาตตอทานนบีเพื่อเดินทางสูวิหารมักกะอฺ“ ”ทานจะไปทําไมที่นั่นอีกเลา...เมื่อทานเลิกบูชาเทวรุปทั้งหลายโดยสิ้เนเชิงแล&ว ” ”ขอใสห&ทุกคนในที่นี้คอยดูการกระทําของข&าพเจ&าก็แล&วกัน “ทานอุมัรฺกลาว อยางมั่นใจและด&วยรอยยิ้มที่เต&มใบหน&า เขารีบควบม&าสูวิหารกะอฺบะฮฺ รางของเขายืน ตระหงานทามกลางบรรดาหัวหน&าชาวกุเรซเผาตางๆ ทานได&ประกาศตนวาทานน&อม รับศาสนาอิสลามแล&ว และเชิญชวนให&มิตรสหายของทานน&อมรับศาสนาอิสลามด&วย ทุกคนในวิหารกะอฺบะฮฺจ&องมองเขาอยางตะลึงงัน เสียงใครคนหนึ่งอุทานอยางแผวเบา วา” อุมัรฺคงจะโดนเวทมนต%จากมุฮัมมัดเสียแล&ว“ ทานอุมัรฺกนะชากดาบออกจากฝHกกลาววา” หากกลาวคําคํานี้ให&เราได&ยินอีก ดาบในมือของเรานี้แหละจะตัดคอเขาเสีย คนอยางเรานะหรือที่จะตกอยูในเวทมนต% ผู&ใดได&งายๆ สิ่งที่โน&มน&าวใจเราให&นับถือศาสนาอิสลามนั่นคือถ&อยคําจากพระเจ&า ซึ่ง เราได&แลเห็นและได&อานกับสายตาของเราเอง และขอให&ทราบด&วยวาตอไปนี้ถ&าผู&ใดถือ วามุฮัมมัดเปนศัตรูของเขา เขาผู&นั้นจงนึกวาศัตรูของเขาเพิ่มอีกแล&วคนหนึ่งคือเรา ซึ่ง จะยืนปกปLองนบีมุฮัมมัดทุกยางก&าวนับแตนี้เปนต&นไป“ 136


ความห&าวหาญของทานอุมัรฺลวงรู&มาถึงยทุกคนที่อยูในบ&านอัรกอม ทุกคนตาง เปลงเสียง” อัลลอฮุอักบัร “ดังกังวานและกระหึ่มอีกครั้ง ทานอบูบักรนั้นถึงแกซึมไป และกลาววา” ข&าแตทานนบี...ข&าพเจ&ามั่นใจเสียยิ่งกวามั่นใจเสียอีก ตอไปอุมัรฺคนนี้นี่ แหละที่จะทําให&ศาสนาของเรายืนหยัดอยูได&โดยไมต&องหวั่นแคร%ใคร มันชางเปนโชค ของทานแท&ๆ...... ตอมาทานอุ มั รฺก ลั บ กระทํ าการอั นห&า วหาญกวานั้ น ทานอุ มัรฺ ไ ด&ข อร&อ งให& ทานนบีและเศาะหาบะฮฺไปทําการนมาซหรือนมัสการตอพระเจ&าภายในวิหารกะอฺบะฮฺ ทานอุ มั รฺ เ ดิ น นํ า หน& า มุ ส ลิ ม กลุ มหนึ่ ง เข& า สู วิ ห ารกะอฺ บ ะฮ% แ ล& ว ทานนบี ก็ เ ปนผู& นํ า นมัสการ และนี่คือการนมาซครั้งแรกในวิหารกะอบะฮ% เมื่อทานนบีได&รับบัยชาจากพระเจ&าให&มุสลิมอพยพๆไปยัษริบ ทานนบีมีความ วิตกอยางยิ่งวาจะหาใครเปนผู&นํามุสลิมผู&อพยพนี้เดินทางไปมาดีนะฮฺได&โดยปลอดภัย ทานอุมัรฺกลาววา” โดยใจจริงของข&าพเจ&า...ข&าพเจ&าปรารถนาที่จะเดินทางไปมาดีนะฮฺ พร& อ มกั บ ทานแตเมื่ อ ทานยั ง หาผู& ที่ จ ะนํ า บรรดาอพยพเดิ น ทางไปยั ง ยั ษ ริ บ ไมได& ข&าพเจ&าก็ขออาสาที่จะนํามุสลิมเดินทางไปเอง “เขาแตงกายอยางรัดกุมเดินทางเข&าสู วิหารกะอฺบะฮ% แล&วเขาก็นมาซภายในวิหารแหงนั้น เมื่อนมาซเสร็จเรีเยบร&อยแล&ว เขา ก็กระชากดาบออกจากฝHกและชูดาบยกขึ้นมาเหนือศีรษะ ประกาศเสียงดังก&องให&ได& ยินกันทั่วทุกคนวา ”เราจะเดินทางไปยังนครยัษริบ ถ&าหากวามีใครคิดยับยั้งหรือขัดขวางเราขอ เชิญทุกคนไปพบกับเราที่เชิงเขาข&างหน&า แตจงจําไว&อยางหนึ่งวามารดาของเขผู&นั้น จะต&องร่ําไห&แกศพของลูกนางด&วยความโศกกาดูรไ การท&าทาเยคนทั้งเมืองเชนนี้ ยังไมมีใครกล&าที่จะตอกรกับคนอยางเขา เขาจึง รับสมญานามวา” ฟารุค “ซึ่งมีความหมายวาผู&ที่แยกความจริงจากคเวามเท็จ * * * ** * * * * ตลอกดระยะเวลาอันยาเวนานในสงครามศาสนาทุกครั้ง และไมวาทานนบีจะ เดินทางไปแหงหนใด ทานอุมัรฺจะอยูเคียงข&างทานนบีตลอดเวลา แม&ต&องเสียเลือดเนื้อ และเสียญาติมิตร การสูญเสียนี้ทานอุมัรฺถือวาการรับใช&ทานนบีมีความหมายยิ่งกวา หลายเทานัก 137


หลังจากการสงครามศาสนาครั้งแรกที่ทุงราบบะดัรฺ ทานนบี ได&นําเรื่องนี้ ปรึกษากับเศาะหาบะฮฺวา จักจัดการกับบรรดาเชลยสถานใด ทานอุมัรฺซึ่งเปนคนที่ จริงจังตอชีวิตและตอการตอสู&อยูแล&วเสนอทานนบี สมควรที่จะฆาบรรดาเชลยศึก ทั้งสิ้น และควรให&ญาติของเชลยเองเปนผู&ลงมือฆา สวนทานอบูบักรนั้นน้ําใจของทาน ออนโยนและชอบสงสารคนให&ความเห็นแกทานนบีวาสมควรที่จะปลอยตัวเชลย โดยมี หลักประกัน ทานนบีได&ฟHงคําเสนอชองผู&เปนเพื่อตายทั้งสองทาน ทานกลาววา ทานอุมัรฺมีความเห็นแบบเดียวกับนบีนุฮฺ โดยปราศจากที่จะให&มีการลดกวาด ล&างฝQายศัตรูมิให&ที่อยูอาศัย สวนอบูบักรมีความเห็นเชนเดียวกับนบีอิบรอฮีม “แล&ว ทานนบีก็ทําตามคําแนะนําของทานอบูบักร โดยกําหนดคาไถตัวเชลยศึกทุกคน แตถ&า เชลยผู&ใดยากจนไมมีเงินที่จะเปนคาไถตัวเองได& จะต&องทําการสอนให&แกเด็กชาวเมือง มะดีนะฮฺอานออกและเขียนได&จํานวนสิบคน จนเด็กมะดีนะฮฺทั้งสิบนั้นได&รับการศึกษา อยางดีที่สุดแล&ว เชลยผู&นั้นก็ได&ถือเปนอิสระได& ”ทานโกรธเราหรือไมที่เ ราทํ าตามคํ าแนะนํ าของอบู บัก ร โดยไมได&ทํ าตาม คําแนะนําของทาน “ทานนบีรับสั่งถามทานอุมัรฺ ”ข&าพเจ&ามีสิทธิ์ที่จะโกรธผู&ที่ข&าพเจ&าถวายชีวิตให&แล&วได&อยาองไร และข&าพเจ&า เองก็ต&องเห็นชอบกับ ข&อเสนอของทานอบูบั กร เพราะทานอบูบั กรด&วยวัยมากกวา ข&าพเจ&าสูงด&วยเกียรติที่เปนชายคนแรกที่น&อมตนรับนับถือศาสนาของทานนบี ข&าพเจ&า ยอมต&องรับฟHงข&อเสนอของทานอบูบักรและไมมีความคิดเสียใจแม&แตน&อย ที่ความ คิดเห็นของข&าพเจ&าไมตรงกับความคิดเห็นของทานอบูบักรผู&สุขุมคัมภีร%ภาพมากกวา ข&าพเจ&า ข&าพเจ&าเปนคนเลือดร&อนและใจร&อนไปหนอยซึ่งเรื่องนี้ทานนบีก็ทราบดีอยู ข&อเสนอของข&าพเจ&าจึงเปนไปตามแบบฉบับ ทานนบีอยาวิตกถึงเรื่องนี้เลยไมวาจะเปน วันนี้หรือวันหน&า ข&าพเจ&าจะเคารพรักทานอบูบักรเปนที่สองรองจากทานนบี“ ในการหลั่งเลือดโลมดินที่สมรภูมิอุหุท ทานนบีเปนฝQายแพ&เพราะทหารเกอด ความโลภ ทั้งทๆที่สงครามนั้นทานนบีกําลังได&รับชัยชนะอยูแล&วแตแล&วทานนบีก็ถูก ศัตรูโอบมาทางด&านหลัง ใช&หอกพุงเข&าสูรางของทานนบี จนราสงของทานนบีรวงลง จากม&า ด&วยบาดแผลโชกหน&าและพระทนต%หักไปสองวี่ แมทัพของฝQายข&าศึกเห็นทหาร พยุงรางของทานนบีไปรักษาแผล แมทัพของข&าศึกก็ตะโกนถามอยางเยาะเย&ยตอไปอีก 138


วา อบูบักรและอุมัรฺเลาตายแล&วเชนกันใชไหม ไมทันที่ทานนบีจะห&ามทานอุมัรฺตะโกน ตอบทันทีวา ”ไอ&ศัตรูของพระเจ&า...พวกเราทุกคนยังมีชีวิตอยู“ เมื่อทานนบียึดนครมักกะฮฺได&นั้น ทานนบีได&เปนผู&รับการถวายความภักดีจาก ฝQายชาย และทานมอบให&ทานอุมัรฺเปนผู&รับการถวายความจงรักภักดีจากฝQายหญิง ”ข&าพเจ&าไมเข&าใจวาทําไมทานนบีจึงไมมอบหน&าที่การรับความจงรักภักดีจาก ฝQายหญิงให&ทานอบูบักร เพราะทานอบูบักรเหมาะสมมากกวาข&าพเจ&า“ ”ทานอบูบักรเองเสนอเรื่องนี้ด&วยความเห็นชอบของเราเชนกัน “ทานนบีตอบ ทานอุมัรฺ ***************** ความจงรักภักดีที่ทานอุมัรฺตอนบีเพียงใดนั้น จะแลเห็นได&จากทานได&ยกธิดา คนหนึ่งของทานชื่อฮัฟเศาะฮฺเปนภรรยาทานนบี โดยที่ทานอุมัรฺกลาววา “ทานอบูบักรฺ ยกบุตรีของทานคือนางอาอิชะฮฺให&แกทานนบี เราก็ขอดําเนินรอยตามด&วยการยกบุตรี ที่เรารักให&แกทานเปนบาทบริจาริกา เราเศร&าใจอยางที่สุดหากทานนบีปฏิเสธ “ซึ่ง ทานนบีก็ยอมรับ มีอยูครั้ง ทานนบีไมพอใจในความประพฤติของบรรดาภรรยาของทาน ทาน ไมได&ตอวาเรื่องนี้แกใครหรือนําความที่ทานไมพอใจให&ผู&ใดทราบ ทานจึงพักอยูแตคน เดียวในห&อง ไมยอมสนทนากับใครเปนเวลานานถึง ๓ สัปดาห% ผู&ที่ทนไมไหวได&แกทาน อุมัรฺ ทานได&เดินทางไปที่หน&าห&อ งพั ก ทานนบี ผ๔เฝLาอยู หน&าห&อ งก็ตอบแกทานวา ทานนบียั งไมต&อ งการพบใครขณะนี้ ทานอุมัรฺได&ยินเชนนั้นก็ ตะโกนด&วยเสียงอั นดั ง เพื่อให&ทานนบีได&ยินวา “โปรดทูลตอทานนบีด&วยวา ชายคนหนึ่ง อุมัรฺอิบนุลค็อฏฏอบมาขอเฝLาทาน ด&วยความรําลึกถึงอยางสุดจะทนตอไปไมได&แล&ว และข&าพเจ&ามาครั้งนี้ก็มิได&มาพูดเพื่อ บุตรีของข&าพเจ&า ด&วยพระนามของอัลลอฮฺ ... ข&าพเจ&าขอสาบานตรงนี้ ข&าพเจ&าจะตัด คอหัฟเศาะฮฺนํามาวางไว&แทบเท&าทานนบีทันที ถ&าหากทานนบีต&องการ” ทานนบี ได&ยิ นเข&า ก็ ต กใจและซึ้ งในน้ํา ใจของสหายรั ก รุ นน&อ งและเศาะ หาบะฮฺผู&นี้ ทานรีบเดินออกมาหาทานอุมัรฺและเชิญชวนให&ทานอุมัรฺไปในห&องเปนเพื่อน 139


สนทนากั บทาน ทานอุ มัรฺก ลาววา “ผู&ที่ทํ าให&ทานนบีโ กรธคือ หั ฟเศาะฮฺ ใชหรือไม” ทานนบีรีบสั่นศีรษะปฏิเสธ ทานกลาววา “สนทนากันเรื่องอื่นจะดีกวา อุมัรฺเอSย มีหรือ ที่เราจะต&องการได&คอบุตรีของคนที่เรารักเชนทาน” ทานนบีชอบฟHงความคิดเห็นของทานอุมัรฺเสมอ เพราะทานอุมัรฺเปนทั้งนักรบ และเปนนักกวี ถ&อยคําของทานอุมัรฺเปรียบได&ดังมธุรสวาจาสําหรับทานนบี ทานนบี ทราบดีวา ถ&อยคําที่ทานอุมัรฺกลาวเปนถ&อยคําที่ออกมาจากใจของชายชาตรี เพราะ ทานอุมัรฺนั้นประจบสอพลอใครไมเปน และทานนบีเองก็ไมนิยมการประจบสอพลอ เชนเดียวกัน ความคิดเห็นของทานอุมัรฺมักจะเปนความคิดเห็นที่ถูกต&องเสมอ มีอยูบอยครั้ง ที่ความคิดเห็นของทานอุมัรฺไมตรงกับความคิดเห็นของบรรดาเศาะหาบะฮฺอื่นๆ แต จากการดลใจจากพระเจ&า ทานนบี มักจนะกรนะทําตามความคิดเห็นของทานอุมัรฺ เสมอ ความคิ ด หนึ่ ง ที่ ยื น ยั น ในเรื่ อ งนี้ ก็ คื อ เรื่ อ งการเรี ย กร& อ งให& มุ ส ลิ ม มาชุ ม นุ ม รวมกันในการนมัสการ เศาะหาบะฮฺบางคนได&เสนอให&ใช&วิธีเปQาแตรแบบชาวยิว เศาะ หาบะฮฺบางคนเสนอให&มีการสั่งระฆังแบบชาวคริส ทานอุมัรฺเห็นวา การกระทําเชนนั้น เปนการกระทําตามแบบศาสนิกอื่น ซึ่งทานอุมัรฺทราบดีวา คนอยางทานนบีไมนิยมนัก ทานจึงเสนอแกทานนบีวา “ในบรรดาเศาะหาบะฮฺของทานนบี ... ทานลืมไปเสียแล&วหรือวามีทาสชาวนิ โกรผู&หนึ่งชื่อวา บิลาลผู&ยอมถวายชีวิตให&แกศาสนาแทบขาดใจตาย บิลาลเปนทาสมา แตกอนก็จริง แตเมื่อบิลาลเปนมุสลิมแล&ว ศักดิ์ศรีของเขาก็ไมน&อยหน&ามุสลิมทุกคน บิลาลได&รับพรสวรรค%จากพระเจ&าให&มีเสียงที่ดังก&อง แตมีกังวานแหงความไพเราะแฝง อยู ทานนบีนาจะแตงตั้งชายผู&นี้ให&เปนผู&เปQาประกาศ เสียงของเขาจนะได&ยินก&องทั่ว นครมะดีนะฮฺ และมันจักเปนเกียรติแกชีวิตคนที่จงรักภักดีตอพระเจ&าและทานนบีเชน เขา ทานนบีตัดสินใจทันที ให&บิลาลทําหน&าที่ตามที่ทานอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบเสนอ ความรักและความภักดีที่ทานอุมัรฺตอทานนบีจะมีเพียงใดนั้น ในวันที่ทานนบี สิ้นพระชนม%เปนการให&คําตอบที่ประทับใจที่สุด เมื่อทานนบีสิ้นพระชนม%ทานอุมัรฺตรง 140


เข&ากอดรางทานนบีแล&วสะอื้นไห& ทานพยายามเขยารางทานนบีเพื่อให&ทานตื่นเพราะ อุมัรฺไมเชื่อวาคนอยางทานนบีจะสิ้นพระชนม% ทานเชื่อถึงขนาดที่วาคนอยางนบีมุฮัมมัด ผู&ซึ่งเปนทั้งผู&นําและมิตรรักของทานนั้นไมมีวันตาย ดังนั้นทามกลางเสียงร&องไห&อัน ระงมใกล&ที่บรรทมสิ้นพระชนม%ของทานนบีนั้น ทานอุมัรฺถึงแกกระชากดาบอันคมกริบ ออกจากฝHกและประกาศวา “หากใครวาทานนบีที่เคารพของเราตาย เราจะตัดศีรษะเสียเดี๋ยวนี้” ตราบจนกระทั่ งทานอบู บั กรเดินทางมาถึง ทานอบู บัก รก็ ได&ย กข&อ ความใน คัมภีร%อัล กุรอาน ที่ก ลาวถึงพระเจ&าทรงสงบรรดาศาสนทู ตมาแล&ว หลายทาน และ บรรดาศาสนทูตเหลานั้นทุกทานก็คืนกลับไปสูพระเจ&า ทานอุมัรฺจึงได&สติแตแม&กระนั้น ดวงตาทั้งสองของทานก็แดงก่ําด&วยสายเลือด แสดงถึงความรันทดอยางสุดซึ้งเทาที่ใน ชีวิตของทานอุมัรฺได&รับ เมื่อทานอบูบักรได&รับการเลือกตั้งเปนเคาะลิฟะฮฺ ทานได&แตงตั้งทานอุมัรฺให& เปนที่ปรึกษา เพราะทานไมเคยลืมเลยวาเมือขณะทานนบีทรงพระชนม%นัน&ทานนบีก็ ทรงฟHงคําเสนอแนะของทานอุมัรฺเสมอมา ในชวงสุดท&ายแหงยุคของทนเคาะลิฟะฮฺอบูบักร กองทัพอรับซึ่งตั้งอยูในอิรัก ถูกโจมตีที่ฮิรอฮฺ แตมุซันนา อิบนุฮา ริ ส ซึ่ ง รั ก ษาการแมทั พ ก็ ส ามารถ ตอต&านและตีทัพอิรักแตกพายไปได& อยางไรก็ ต ามมุ ซั น นาสื บ ทราบวา ทางอิ รั ก กํ า ลั ง ระดมพลครั้ ง ใหญ เพื่อทําการโจมตีขั้นแตกหักอีก มุซัน นาจึงรีบเรงออกเดินทางกลัมมามา ดีนะฮฺ เพื่อรายงานถึงเหตการณ%ให& ทานเคาะลีฟะฮฺอบูบักรทราบ แตมุซันนาเดินทางมาถึงนครมาดีนะฮฺและรายงานให& ทานเคาะลีฟะฮฺทราบได&เพีงวันเดียว ทานเคาะลีฟะฮฺอบูบักรก็ถึงแกกรรม กอนที่ทาน จะถึงแกกรรมทานไดเนรียกอุมัรฺเข&าพบและกลาววา

141


“ตําแหนงเคาะลีฟะฮฺตอจากข&าพเจ&าคงเปนของทานอยางแนนอน, เพราะทาน เปนคนดีมีศีลธรรม และเปนที่รักใครอยางยิ่งจากประชาชน เราจึงไมมีคําแนะนําอันใด ให&แกทาน นอกจากจะขอให&ทานทําภารกิจแรกเพื่อศาสนาของเรา ภารกิจนั้นคือเรื่อง สงครามกับอิรัก และขอให&ทานตัดสินใจให&ดีที่สุดเพื่อรักษาศาสนาของเราไว&ตลอกไป” ดังนั้นเมื่อทานอุมัรฺได&รับการเลือกตั้งจากประชาชนให&เปนเคาะลิฟะฮฺ บรรดา ประชาชนจากเมืองตางๆ ก็ได&เดินทางมาถวายตวงามจงรักภักดี ทานอุมัรฺถือโอกาส ที่วานี้ให&ปวงชนรวมใจกันรณรงค%กับอิรัก ประชาชนที่นั่นตางเงียบกริบเพราะทุกคนมี ความเชื่อ มั่ นอยางสุ ด หั ว ใจวา แมทั พ ที่ทํ าการพิชิตอิรั ก ได& นั้นขุ นพลคอลิด เทานั้ น ขุนพลคอลิดคนนี้เองที่เคยรบกับทานศาสดาและทําให&กองทัพของนบีถอยร&น แตเมื่อ คอลิดน&อมตนเข&ารับนับถือศานาอิสลาม เขากลับเปนแมทัพที่นําชัยชนะมาให&แกมุสลิม ในสงครามทุกครั้งในสงครามทุกครั้ง จนประชาชนถึงกับเชื่อมั่นวาเขาคือเทพบุตรที่ พระเจ&าประทานลงมาให&เพื่อเปนแมทัพแหงการสงคราม และให&ความเคารพแกขุนพล คอลิด เพราะเกรงวาในอนาคตข&างหน&าประชาชนจะศรัทธาตอขุนพลคอลิดดังศรัทธา ตอนบี ทานอุมัรฺจึงมีความจําเปนที่จะต&องถอนรากถอนโคนความเชื่อถือผิดๆของปวง ชน ในเรื่องที่วาอิสลามจะไมสามารถทําอะไรได&หากปราศจากขุนพลอยางคอลิด ไมวา บุคคลนั้นจะยิ่งใหญสักเพียงใดก็ตาม ทานได&กลาวถามปวงชนวา “มีชายชาตรีสักคนหนึ่งไหมที่ชุมนุมกัน ณ ที่นี้ ด&วยความศรัทธาตอพระเจ&า และทานนบี ที่จะประกาศตนตอสู&เพื่อพระเจ&าเปนคนแรก ข&าพเจ&าปรารถนาที่จะพบ คนคนนั้น” ชายคนหนึ่งก&าวออกมาหน&าแถวทันที เขาเปนหัวหน&าเผาเผาหนึ่งของอรับชื่อ ของเขาคือ อบู อุบัยดฺ เขาได&ประกาศตนเปนคนแรกที่จะยอมตายในสนามรบ ในที่สุด กองทัพของอรับก็สามารถรวมตัวกันขึ้นมาได& โดยที่ทานอุมัรฺไมลังเลที่จะแตงตั้งให&อบู อุบัยดฺเปนแมทะพ ทานมีเหตุผลวา “เมื่อเขาก&าวออกมาเปนคนแรกประกาศตนวา พร&อมที่จะรบ พร&อมที่จะตายเพื่อศาสนา ตําแหนงแมทัพในการรบของเราครั้งนี้ก็ไมมี ผู&ใดอีแล&วที่จะเหมาะสมเทากับเขา” อบู อุบัยดฺได&ทําหน&าที่แมทัพอยางสุดความสามารถ เขาสามารถพิชิตอิรักจน แตกพาย ทําให&ความเชื่อถือของปวงชนที่เชื่อวาขุนพลคอลิดเดียวเทานั้นที่รบที่ไหนก็ 142


ต&องชนะที่นั่น ความเชื่อถือนี้ได&เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออบู อุบัยดฺพิสูจน%ให&เห็น การปราชัย ในอิรัก ทําให&เ จ&าเมือ งตางเมืองตางๆพากันตกใจกลั ว นึกถึงภัย ของตนที่อรั บ จะรุ ก มายังนครของตนบรรดาเจ&าเมืองตางๆที่เคยประกาศตัวเปนศัตรูตออิสลาม หันหน&า เข&าแรองดองกันอยางเครงเครียด ในที่สุดจึงลงมติให&ราชาภิเษกเจ&าหญิงปุราณคุคขึ้น เปนจั กรพรรดินี อละแตงตั้งให&รุส ตัมขุ นนางผู&มีชื่อเสียงและนัก รบเรืองนามขึ้นเปน หัวหน&ารัฐ และเปนผู&บังคับบัญชาการทหารสูงสุดของพระนาง รุสตัมกลาววา “สิ่งแรกที่กองทัพของเราจะกระทําคือปฏิบัติการเพื่อชวงชิง ดินแดนซึ่งตกอยูในมุสลิมคืนมา โดยเราจะปฏิบัติการเพื่อชวงชิงดินแดนที่อยูในมือของ มุสลิมกลับคืนมาทั้งหมด เราสงกองทัพใหญไปสองกองทัพภายใต&การนําของขุนพล สองคน ผู&ชํานาญศึกคือเจ&าชายซาฮาน และเสนาบดีนารซี ทัพของเจ&าชายซาฮานปะทะกับขุนพลอบู อุบัยดฺที่นามาริก ได&สู&รบกันอยาง ดุเดือด ผลของการรบครั้งนี้คือทัพของเจ&าซาฮานแตกพายยับเยิน ตัวเจ&าชายซาฮาน ถูกพลทหารมุสลิมจับได& ซึ่งพลทหารที่จับได&ก็ไมทราบวาผู&ที่ตนจับกุมตัวได&นั้นเปนใคร เจ&าชายซาฮานกลาวแกพลทหารมุสลิมวา “เราชราภาพมากแล&ว จงปลอยตัว เราไปเถิด แล&วเราจะให&เงินทานเปนจํานวนมาก “ พลทหารมุสลิมก็ปลอยตัวเจ&าชาย ซาฮานไป แตในไมช&าทหารคนอื่นซึ่งจําได&ก็จับตัวเขาไว&อีก และครั้งนี้เจ&าซาฮานถูกนํา ตัว ไปหาอบู อุบั ย ดฺ ฝQานซาฮานเมื่อถู ก จับ อีก เขาก็ กลาวทวงสั ญ ญา ซึ่งตนทํ าไว&กั บ ทหารอีกคนหนึ่งของขุนพลอบูอุบัยดฺ บรรดาทหารที่อยู ณ ที่นั้นเมื่อได&ฟHง สวนใหญพา กันประท&วงเจ&าชายซาฮานด&วยถ&อยคํารุนแรง แตจอมพลอบูอุบัยดฺกลาวกับทหารของ ตนวา “เราต&องให&เกียรติกับพูดซึ่งพวกเราคนใดคนหนึ่งได&กลาวไป อิสลามมิอนุญาต ใหเรากลับคําพูดได&” ด&วยเหตุนี้เจ&าชายซาฮานจึงได&รับการปลดปลอยเปนอิสระ ทหารอิรักซึ่งแตกหนีเอาตัวรอดไปจากสมรภูมิที่นามาริก ได&ไปรวมกับกองทัพ นารซี ก็ถูกตีพายไปอีกกองทัพหนึ่ง ชัยชนะทั้งสองครั้งนี้มีผลสะท&อนยิ่งใหญเกรียงไกร แกหัวเมืองทางชายแดน บรรดาเจ&าเมืองและขุนนางตําบลตางๆของหัวเมืองเหลานี้ ตางก็ พ ากั น เข&า มาออนน& อ มตออบู อุ บั ย ดฺ และให& คํ า สั ต ย%ป ฏิ ญ าณที่ จ ะซื่ อ สั ต ย% ต อ อิสลามตลอดไป 143


หลั ง จากการยอมรั บ การพายแพ& อ ยางยั บ เยิน ของตนแล& ว ทหารอิ รั ก และ กองทั พ นารซี รวมทั้งบรรดาเจ&าเมืองและขุ นนางแหงแคว&นตางๆ พากันนําอาหาร อยางดีมาเลี้ยงแกแมทัพอบูอุบัยดฺ จอมทัพของมุสลิมที่ได&รับการอบรมและกําชับอยาง ดีมาแล&วจากทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ กลาวถามบรรดาเจ&าเมืองตางๆเหลานั้นวา “ขอขอบใจทานทั้งหลายในฐานะมิตร ในฐานะภราดรภาพเราขอถามทานวา อาหารที่ ท านจั ด ทํ า มาให& แ กเรานี้ จั ด มาให& แ กเราโดยเฉพาะ หรื อ แบงปH น กั น ทั้ ง กองทัพ” บรรดาเจ&าเมือ งตางพากั นตอบวา “เวลามั นน&อ ยเหลือ เกินที่พ วกเราจะจั ด อาหารให&กองทัพทั้งกองทัพของทานได&” แมทัพอบูอุบัยดฺตอบวา “จงนําอาหารที่นํามากลับไปเถิด มิใชวาเรารังเกียจ อาหารของทาน ตรงกันกข&ามกลับซาบซึ้งเปนอยางยิ่ง ที่เราเคยรบกันมาและบัดนี้เรา กลับมาเปนพี่น&องกัน การที่เราขอร&องให&ทานนําอาหารกลับไปนี้ เพราะเราไมสามารถ กลืนอาหารอันดีเลิศนี้แตเพียงผู&เดียวได& ในสนามรบข&าพเจ&าในฐานะที่เปนแมทัพได& รวมรบกันในสนามกับพลทหาร เราทุกคนตางหลั่งเลือดมาด&วยกันดังนั้นเมื่อยามกิน ข&าพเจ&าก็ต&องนั่งรวมวงด&วยกันกับเขา กินอาหารอยางเดียวกับที่เขากิน ถ&าทานจะ ทําอาหารอยางงายๆอยางเชนแกงกาบอิบทผาลัม เราก็พร&อมที่จะรับทันทีและเรียก บรรดาขุนพลทหารมากินพร&อมกับเรา ขฯนี้เรารู&สึกดีใจเหลือเกินที่พวกทานให&ความ ศรัทธาในศาสนาอิสลาม สิ่งสําคัญอยางยิ่งสิ่งหนึ่งสําหรับมุสลิมคือความเสมอภาพ ขณะนี้ทุกทานก็มีเกียรติเทากันกับข&าพเจ&า คือเกรยติในความเปนมุสลิมด&วยกัน ทาน ไมต&องเปนหวงดอก เราสิได&รับคําสั่งอยางเข&มงวดจากเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ ห&ามมิให&เรา สร&างภาระอันเดือดร&อนให&กับคูสงครามเมื่อเราชนะศึก ตรงกันข&ามให&ข&าพเจ&าและ ทหารทุ กคนในกองทัพ เอาใจใสในความเดือดร&อนทุกข%ยากของราษฎร เราเปนชน ชาวเบดู อินที่นอนกั บ ดินกั บทราย อาหารทุก อยางเรากินได&แม&จะเปนเพีย งขนมปH ง แห&งๆสักชิ้นหนึ่ง เทานี้ก็เปนพอเพียงสําหรับเราแล&ว” บรรดาผู&ครองนครตางๆพากันตกตะลึงที่ได&ยินคําพูดของแมทัพผู&ชนะศึก ชีวิต ของชาวอิรักนั้นเคยยิ่งใหญและหรูหรา แตเมื่อมาพบกับแมทัพที่ทลายอาณาจักรอิรัก สลายลงได& แมทัพผู&นี้กลับวางตนดังเปนมิตรกันมาช&านานกับพวกเขา 144


ความปราชัยของซาฮานเจ&าฟLาชายและขุนพลนารซี เขยาขวัญขุนพลรุสตัมอ ยางหนัก “มันจะทําความดีกับพวกเราอยางใดก็ตาม แตประวัติศาสตร%จะต&องจารึกวา กองกํ า ลั ง อิ รั ก อั น เกรี ย งไกรมาพายแพ& แ กทั พ ของชาวอาราเบี ย นผู& เ รรอนกลาง ทะเลทราย” รุสตัมจึงรวบรวมกําลังพลขึ้นมาใหมเปนกองทพอัมหมา มอลให&ขุนพลผู& หาญยิ่งอีกคนหนึ่งชื่อนะฮฺมานจาดูยา ทั้งได&มอบธงไชยเฉลิมพลที่มีชื่อวา “ดุรฟาซ อิ คาวายานี” ให&แกนะฮมานอีด&วย ธงผืนนี้เปนธงอันศักดิ์สิทธิ์ยิ่งชาวอิรักทั้งทั้งมวล และแล&วภายในเดือนซะอฺบาน แหงฮิจญเราะฮฺที่สิบสาม กองทัพทั้งสองฝQาย ตางก็เผชิญหน&ากันและกันคนละฝHUงน้ํา โดยมีแมน้ํายูเฟรติสกั้นกลาง แล&วการรบก็ได& เกิดขึ้น ขุ นพลนะฮฺ ม านตะโกนท& าทายให&ก องทั พ ของอบู อุ บั ย ดฺ ข&า มน้ํา มารบกั บ ตน เพราะมั น เปนการเสีย เปรี ย บอยางยิ่ง ในเมื่อ ทหารมุ ส ลิ มชํ า นาญการรบเฉพาะใน ทะเลทราย การยกทัพข&ามน้ํามาก็เทากับนําตัวเองไปจมลงกลางทะเลเลือดของแมน้ํา ยูเฟรติส แตทหารอิรักนั้นมีความชํานาญทั้งในการรบบนที่ราบและทะเล บรรดาทหาร ของอบูอุบัยดฺจึงห&ามมิให&ทานอบูอุบัยดฺยกกองทัพข&ามฝHUงไปอีกฝHUงหนึ่ง เพราะทหาร และอาวุธทั้งกองทัพจะต&องวายน้ําข&ามไปในขณะที่วายข&ามน้ํายูเฟรติสทุกชีวิตอาจจะ ถูกอาวุธของรุสตัมจนสลายทั้งกองทัพ “ทหารหาญที่รักของเราเอSย ทานเคาะลีฟะฮฺสั่งเราแล&วมิใชหนือวาหน&าที่ของ พวกเราคือการก&าวไปข&างหน&า แม&การก&าวไปของเราจะทําให&เรากลายเปนซากศพ เมื่อทหารอิรักท&าทายให&เราข&ามน้ําไปรบ เราก็จะยกม&าไปรบกับพวกเขา” “ม&ามันจะทนวายน้ําอันเชี่ยวกรากได&หรือทานแมทัพ” “การข&ามแมน้ํามีทางเดียวคือการวายน้ําข&ามหรือ,ทหารเอSย เรามีกุลยุทธวิธีที่ จะข&ามแมน้ํายูเฟรติสไปจนดาบของเราและดาบของรุสตัมปะทะกัน พวกเราแลเห็น แล&วมิใชหรือวามีเรือหลายสิบลําจอมอยูฝHUง ดังนั้นยามวิกาลคืนนี้ทหารสวนหนึ่งจง ปฏิบัติการอยางรอบคอบที่สุดคือพยายามตอเรือเหลานี้เข&าประชิดกัน โดยไมให&ข&าศึก ทั นรู&ตั ว เรือ เหลานี้เ มื่ อ ตอกั นเปนอั น หนึ่ง อั นเดีย วได& เราก็ จะใช&มัน เปนสะพานยก

145


กองทัพม&าของเราขึ้นบกพร&อมทหาร เราเสียเปรียบข&าศึกหลายด&าน แตเราจะไมยอม แพ&ข&าศึกในเรื่องหัวใจทหาร เราชนะได&เราก็พร&อมที่จะตายกลางสมรภูมิได&เชนกัน” แตรุสตัมนั้นฉลาดในเรื่องเลห%เพทุบายมากมายนัก แทนที่เขาจะสั่งให&ทหาร ของเขาคอยรบกับทหารมุสลิมที่ริมฝHUง เขากลับใช&ช&างรางใหญเปนกําแพงปLองกันทัพไว& ช&างเหลานี้เปนช&างอิหรานซึ่งดุร&ายมาก เมื่อทานแมทัพอบูอุบัยดฺตอเรือเปนสะพานนํา กองทัพม&าและทหารไปยังตรงกันข&ามได& ทุกคนก็งงงันที่แลเห็นฝูงช&างนับพันตัวของ รุสตัมคอยอยูที่นั่น โดยตัวรุสตัมมิได&ออกมารบด&วย ม&าอรับนั้นเปนม&าที่มีฝ7เท&าจัดและและเปนม&าที่ยอมรับกันวาเปนม&าพันธุ%เลิศ กวาม&าพันธุ%ใดใดพิภพ แตเมื่อม&าอรับซึ่งไมเคยเห็นช&างมากอนมาปะทะกับกองทัพช&าง เข&าม&าอรับก็เกิดอาการหวั่นกลัวเบนหน&ากลับ แมทัพอบูอุบัยดฺสั่งทหารทุกคนลงจาก หลังม&าให&ทหารของตนรบกับทหารของรุสตัมซึ่งนั่งอยางสงาอยูบนหลังช&าง อบูอุบัยดฺ สั่งให&ทหารอรับชวยกันตัดเชือกกูบบนหลังคชาธาร เพื่อทําให&ทหารอิรักซึ่งนั่งบนหลัง ช&างรวงลงและจัดการสังหารทหารเสีย การรบเชนนี้เปนการที่นาสยดสยองเปนการรบ ของชายชาตรีกับช&างศึก เมื่อช&างศึกโดนตัดเชือกกูบบนหลังมันก็กระโจนเข&าขยี้ทหารอ รั บ อยางเอาเปนเอาตาย มั น เหยี ย บย่ํ า ทหารอรั บ จนล& ม ตายลงเปนจํ า นวนมาก ช&างเผือกซึ่งเปนจาฝูงเกิดความตระหนกมันวิ่งตะลุยไปทั่วเหยียบทั้งทหารมุสลิมที่ยืน อยูและซากศพมุสลิมอยางบ&าเลือด ทานอบูอุบัยดฺตัดใจที่จะจัดการกับช&างศึกเชือกนี้ เพื่อปLองกันกองทัพทหาร ของเขาไว& เขาฟาดดาบอยางแรงไปที่งวงช&างเชือกนั้นจนงางขาด ช&างเชือกนั้นยิ่งบ&า เลือดขึ้นเปนทวีคูณ มันโจนเข&าเหยียบอบูอุบัยดฺจนทานถึงแกความตาย น&องชายของ ทานอบูอุบัยดฺก็เข&าชวยพี่ชาย แตที่สุดก็ประสบชะตากรรมเดียวกันกับแมทัพ การรบ ครั้งนี้ญาติของทานแมทัพสิ้นชีวิตด&วยการประสบชะตากรรมเชนนี้ถึงเจ็ดศพ เมื่อ เหตุ ก ารณ%พ ลิก โฉมหน&าเปนไปเชนนี้ ทหารมุ สลิมตางก็ เ สีย ขวั ญที่ต&อ ง สูญเสียนายทัพของตนอยางนาอนาถ ตางคนตางวิ่งหนีเอาตัวรอดไปยังขบวนเรือที่ตอ ไว&เปนสะพาน แตปรากฎวาเด็กหนุมคนหนึ่งได&ตัดเชือกของเรือเหลานั้นให&ขาดจากกัน เสียแล&ว เพื่อให&ทหารมุสลิมสู&โดยไมมีการถอยหนี

146


มุซันนาเห็นเหตุการณ%นั้นก็นึกถึงทานเคาะลีฟะฮฺ เขาสั่งตอเรือให&เปนสะพาน เชื่อ มกั นอีก ครั้ง ในขณะเดี ย วกั นก็ ค อยปLอ งกั นศั ตรู ไ ว& แม&ก ระนั้นกองมุ ส ลิมซึ่งยก กองทัพไปสู&ศึกครั้งนี้ถึงเก&าพันคน ปรากฎวารอดชีวิตจาการศึกได&เพียงสามพันคน เทานั้น เลือดมุสลิมหกพันคนไหลเจิ่งนองจนแมน้ํายูเฟรติสเปลี่ยนสีจนเปนสีเลือดแดง ฉาน เลือดเหลานี้ทานเคาะลีฟะฮฺแก&ไขกอบกู&ศักดิ์ศรีอยางใดนั้น ยากที่จะมีใครคิดวา ทานจะเลือกทางไหนคือการยอมแพ&แกอิรักหรือการตอสู&จนเลือดมุสลิมไหลจนหยด สุดท&าย ขณะที่ทานแมทัพมุซันนากําลังคิดจะเดินทางไปพบทานเคาะลีฟะฮฺนั้น ม&าเร็ว ตัวหนึ่งก็วิ่งมาอยางเหนื่อยหอบเหนือท&องทะเลทรายมายังกองทัพ ผู&นั้นอยูบนหลังม&า รีบขอพบแมทัพมุซันนา พร&อมกับยื่นจดหมายฉบับหนึ่งให& มุซันนายกจดหมายนั้นแนบ หน&าผากแสดงความคารวะ เพราะทานจําลายมือที่จาหน&าซองจดหมายฉบับนั้นได& แนนอนจดหมายนั้นเปนจดหมายที่สงมาจากเคาะลีฟะฮฺของเขาเอง “มุซันนา เพื่อนรัก เราได&รับ ขาวศึก ริมฝHUงแมน้ํายู เฟรติสแล&วด&วยความอาลั ยตอทานแมทั พอบู อุบั ย ดฺ และทหารหาญทุ ก ทาน ที่ต&อ งสู ญ เสีย ชีวิตในการสู&รบครั้งนี้ แตมุ ซั นนาอยา ตรอมใจและทุกข%ระทม ผู&สูญเสียชีวิตไปแล&วทุกทานได&อุทิศชีวิตตนเองเพื่อพระเจ&า และศาสนา ดวงวิญญานของทุกทานเหลานั้นนเปนสุขแล&ว ด&วยความกรุณาปรานีจาก พระผู&อภิบาล สิ่งที่เราสะเทือนใจขณะนี้อยูเพียงประการเดียว ประการเดียวเทานั้นคือ การ สูญเสียเกียรติศักดิ์ของอิสลาม เราได&สงสาส%นของเราไปยังหัวหน&าเผาตางๆ แล&ว ซึ่ง อยางช& า ที่ สุ ด บรรดาทหารเหลานี้ จ ะมาพบทานใน พรุงนี้เช&า มือของมุซั นนาจะต&องคุ มทัพ เหลานี้ตอไป และมือของมุซันนาอีกเชนกันจะต&องนําชัยชนะของเรา คืนมา หากเราไมมี ภ ารกิ จ อั น หนั ก หนวงที่ จ ะต& อ ง ปกครองอาณาจั ก รอิ ส ลาม เราจะเดิ น ทางมารบ 147


รวมกับ มุซั นนา แตเราเชื่อในฝ7มือของทหารมุ สลิมทุ กคน การพายแพ&ครั้งหนึ่งมิไ ด& หมายความวาจะต&องพายแพ&อีกครั้ง มุซันนาจะต&องพิสูจน%ให&พวกอิรักเห็นวาแม&ทานบู อุบัยดฺสิ้ชีวิตลง แตทหารหาญอยางทานอบูอุบัยดฺนั้นมีตัวแทนอยูแล&วคือทาน ทหาร หาญของเราอาจจะเสียเปรียบในด&านกําลังพลและอาวุธยุทโธปกรณ% ดังนั้น การเผด็จ ศึกครั้งนี้มุซันนาจงรีบเผด็จศึกอยางรวดเร็วที่สุด เราขอมอบอาญาสิทธิ์ทุกประการ โดยให&ทานเปนแมทัพอยางสมบูรณ% และจงกลับมาหาเราพร&อมกัยชัยชนะด&วยเกียรติ ศักดิ์ของอิสลาม จากเพื่อนรักของทาน เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ แมทัฟมุซันนาพับจดหมายฉบับนั้นและสั่งให&ทหารรักษาการณ%ประกาศขาววา เคาะลิฟะฮฺสั่งให&ทุกคนสู&จนสุดชีวิต เสียงไชโยโหร&องดังกึกก&องกังวาลเมื่อทหารได&รับ กําลังใจจากทานเคาะลิฟะฮฺ และตกดึกของคืนนั้นเองทหารหาญจากเผาตางๆที่ทาน อุ มั รฺ สั่ ง ให&ม าชวยรบก็ เ ดิน ทางมาถึง ทหารหาญชุ ด ใหมนี้ ย กกองทั พ มาด& ว ยความ เสียสละและความแค&น คําขวัญของเขาคือ “เลือดต&องล&างด&วยเลือด” รุสตัมแหงอิรักประหลาดใจอยางที่ยิ่งที่แลเห็นกองทัพมุสลิมไมเสียขวัญอะไร เลย ครั้งนี้เขาเพิ่มกําลังพลซึ่งสวนใหญเปนมหาดเล็กรักษาพระองค%ซึ่งสรรแล&วในเรื่อง ฝ7มือทางการรบ โดยมีเมหรานขุนพลผู&ทําศึกกับมุสลิมมาแล&วหลายตอหลายครั้งเปน แมทัพ รุสตัมมั่นใจวาเมหรานผู&รอบรู&ยุทธวิธีกับการรบตอชาวอาราเบียน คงจะปราบ ทหารอาราเบียนให&สิ้นซาก กองทัพทั้งสองฝQายเผชิญ หน&ากันที่ตําบลกู ฟาฮฺซึ่งมีแมน้ํายู เฟรติส กั้นกลาง เมหรานทเทายให&มุซันนาข&ามแมน้ําไปรบกับเขา มุซันนาจึงให&ทหารตะโกนตอบออกไป วา “แมน้ําสายนี้นี่หรือกองทัพอาราเบียนเคยข&ามไปแล&วมั้งกองทัพ แม&วาเราจะ เปนฝQายพายแพ&เราก็ภูมิใจที่เราก&าวข&ามแมน้ํายูเฟรติสของอิรักไปทําการรบ ครั้งนี้เรา เพิ่งประจั ก ษ%ว ากองทั พ นับ หมื่นของอิรัก กลั บ กลั ว สายน้ําในแมน้ําของตนเอง ถอด เครื่องแบบทหารออกเสียเถิดเมหราน พวกเราจะได&หัวเราะเยาะชายที่มีนามวาเมห ราน หัวเราะเยาะแมทัพที่มีนามวาเมหรานผู&สั่นกลัวแมน้ํายูเฟรติส หากองทัพของทาน 148


หาทหารที่จะข&ามมารบกับเราไมได& ทานควรกลับไปหาสตรีสักคนที่มีใจห&าวหาญมา เปนแมทัพแทนทาน หรือมิฉะนั้นเราเองก็จะพักรบไว&กอน จะขอร&องไปยังทานเคาะ ลีฟะฮฺของเราให&สงทหารหญิงมารบกับขุนพลเมหราน คงจะเปนการสมศักดิ์ศรีของ ทานไมน&อย” เมหรานสุ ด ที่ จ ะทนฟH ง ถ& อ ยคํ า อั น เสียดสีและแทงใจของทานแมทัพมุซันนา ตอไปได&เขาจึงสั่งให&ทัพอิรักยกกองทัพไป รบกั บ ทหารของมุ ซั น นายั ง ฝHU ง ตรงข& า ม มุซันนายังใช&ให&คารมตอไปอีกวา “ยก ทั พ มาทั้ ง ก องทั พ เ ถิ ด .. . กองทัพของเราจะไมลอบฆากองทัพของ ทานกลางแมน้ําอยางที่ทานทําแกกองทัพ ของเรา เพราะเลือดของทานไมสมควรที่จะไหลไปรวมกับสายน้ํายูเฟรติส เราจะเริ่ม ลงมือก็ตอเมื่อกองทัพทั้งกองทัพของทานก&าวขึ้นสูฝHงทุกคนแล&วโดยความปลอดภัย แล&วตอจากนั้นเราก็จัก ได&พิสู จน%คมดาบกั นระหวางดาบที่เ ขรอะสนิมของทาน และ ดาบอรับอันคมกริบของเรา” กองทัพทั้งสองฝQายตางรบกันอยางดุเดือด โดยที่กองทัพอิรักมีทหารมากกวา กองทัพมุสลิมหลายเทา ในการรบครั้งนี้มีพลทหารมุสลิมคนหนึ่งยืนปLองกันตังเองโดย ไมยอมประดาบกับทหารอิรักเขาแสร&งทําทีวาได&รับบาดเจ็บจนใกล&จะตายแล&ว ทหาร อิรักจึงปลอยเขาไว&ให&นอนรอความตายอยางทรมาน แตเมื่อแมทัพเมหรานนั่งบนหลังช&างกรีฑาผานหน&าพลทหารผู&นี้ พลทหารผู&นี้ก็ ตัดเชือกที่ผูกกูบช&างที่เมหรานนั่งเดนเปนสงาอยู รางของขุนพลผู&ยิ่งใหญแหงอิรักรวง ลงมาจากหลังช&าง และกอนที่ศีรษะของเมหรานจะรวงลงสูดิน ดาบของพลทหารผู&นี้ก็ ฟHนคอของเมหรานขาดกระเด็นในชั่วพริบตา เขาชูคอของเมหรานถือไว&ในมือและเดิน ไปทั่วกองทัพ ตะโกนวา “เราคือพลทหารตาบูตักหลาบ ทหารมุสลิมและอิรักจําได& หรือไมวาศีรษะที่เราถืออยูในมือขณะนี้เปนศีรษะของเมหรานใชหรือมิใช”

149


ทั้งสองทัพตางพากันตกตะลึงพร&อมกัน มุซันนาโอบกอดบาบูตักหลาบไว&แล&ว กลาววา “ไมนึกเลยวาคําท&าทายของเราจะเปนความจริงด&วยฝ7มือของทาน” เสียงไชโย โหร&องของกองทัพมุสลิมดังกระหึ่ม และในไมช&าธงชัยเฉลิมพลและดาบอาญาสิทธ%ที่ ตั้งอยู บนหลั งช&างก็ ถูก ทหารมุ ส ลิมนํ ามามอบให&แกแมทั พมุ ซั นนา มุ ซันนากลาววา “เมื่อแมทัพทานคอขาดแล&วเมื่อธงไชยเฉลิมพลและดาบอาญาสิทธิ์ของอิรักต&องฉีก ขาด นํามาวางไว&ที่แทบเท&าเราเชนนี้ คิดดูให&ดี ทหารอิรักทั้งหลาย ทานจะรบตอไป หรือจะยอมพายแพ& ดาบของเรายังไมได&ถอดออกจากฝHกเลย แตคอของแมทัพของ ทานขาดแล&วด&วยดาบของพลทหารของเรา หากเราถอดดาบออกจากฝHกเมื่อใดจะไมมี ทหารอิรักคนใดหลงเหลืออยูที่นี่อีกตอไปแม&แตคนเดียว” ทหารอิรักเริ่มเสียขวัญแตกพายหนีเอาตัวรอด พากันวิ่งกรูหนีเพื่อจะกลับไป ฝHUงตรงข&าม ซึ่งสร&างด&วยเชือกอยางดี แตแมทัพมุซันนายืนรออยุที่สะพานนั้นแล&ว ดาบ ของมุซันนาตัดเชือกขาดสะบั้นลง ทหารอิรักและอิหรานหลายพันคนต&องจมน้ําตาย และและอี ก หมื่อ คนสิ้ นชี พ กลางสมรภู มิ แ หงนั้น เกื อ บจะเรีย กได& ว ากองทั พ นั้น ทั ง กองทัพเปนกองทัพศพ อีกสองวันตอมาม&าเร็วตัวหนึ่งก็วิ่งมายังกองทัพของมุซันนา “มุซันนาเพื่อนรัก เกียรติศักดิ์ของอิสลามได&กลับคืนมาแล&วด&วยฝ7มือของทหารหาญแหงกองทัพ ของทาน ขอได&ประกาศให&ทหารทุกคนทราบวาเราในฐานะเคาะลิฟะฮฺ ของสรรเสริญ น้ําใจทหานหาญของทานในครั้งนี้ เราเชื่ อ วาอิห รานจะต& อ งแก& แ ค& น เราแทนอิ รั ก ดั ง นั้ น จงถอนทหารกลั บ มา พักผอนที่อรับกอนเถิด เรารบมิใชหวังจะเอาแผนดินใคร เรารบเพราะความจําเปนที่ ถูกรุกรานย่ํายี ดังนั้นให&ทหารเพียงกงทัพหนึ่งคุมภาคตะวันตกของลุมแมน้ํายูเฟรติสก็ เปนการเพียงพอ จากเพื่อนรักของทาน เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ

150


แนนอน...การพายแพ& ใ นครั้ ง หลั ง นี้ ย อมสร& า งความกระทบกระเทื อ นตอ เกียรติภูมิของจักรภพอิหรานเปนอยางยิ่ง บรรดาขุนนางชั้นสูงของอิรักและอิหราน ประชุมกันอยางเครงเครียดที่จะทําลายล&างอาณาจักรอรับให&พินาศลงไป และในที่สุด ก็เห็นพ&องต&องกันวาจะทุมเทคาใช&จายอยางไมอั้นในการสงครามครั้งใหมนี้ ได&มีการสถาปนานุพราชเยซเกิร%ดขึ้นเปนกษัตริย%องค%ใหม เยซเกิร%ดขณะนั้น อายุเพียงยี่สิบป7 เลือดแค&นในวัยหนุมของตนจึงระอุอยางเต็มที่ พระองค%ทรงปรับปรุง กองทั พ ใหม เสริ ม กํ า ลั ง ชายแดนให& เ ข& ม แข็ ง ขึ้ น กระตุ& น ให& ขุ น นางและทหารหาญ เข&มแข็งในการศึก เรียกวาเปนสงครามล&างแค&นที่จะให&ฝQายมุสลิมพินาศให&จงได& ทานเคาะลิฟะฮฺอุมัรฺก็ได&สั่งระดมพลขึ้นใหมอีกเชนกัน ทานได&ออกคําสั่งไปยัง บรรดาเจ&า เมืองตางๆให&ทําการคัดเลือกและรวบรวมบรรดานายทหารผู&เจนศึก นักรบ ที่มีความกล&าหาญ และอีกบรรดาพวกที่วาทศิลปWในการปลุกและปลอบใจ ไมนานนัก กองทัพมุสลิมก็สามารถรวมตัวกันได&ที่นครมะดีนะฮฺ “พี่น&องทหารมุสลิมที่รักของเราเอSย บนแผนดินที่พวกเรายืนกันอยูขณะนี้ไม ไกลกันนักคือที่ฝHงพระบรมศพของทานนบี ผู&ซึ่งเราทุกคนจงรักภักดีทานในฐานะที่ทาน เปนศาสนทูตของพระผู&เปนเจ&า ทานนบีได&ตอสู&เพื่อรักษาศาสนาอิสลามมาแล&วอยาง โชกโชน จนตัวทานนบีเองเกือบวายชนม%ที่ทุงอุหุท ดังนั้นเราจะต&องรักษาศาสนาของ ทานนบีเอาไว& ด&วยความหวงวาชัยชนะนั้นจักอยูใกล&สําหรับผู&ประอบกุศลกรรม การพลีชีพและเลือดเนื้อตลอดจนทรัพย%สินเพื่อศาสนาเรียกได&วาญิฮาด และ การญิฮาดของเราครั้งนี้พร&อมที่จะญิฮาดด&วยชีวิต เราจะแบงกองทัพของเราออกเปน สามกองและอีกกองทัพหนึ่งเปนกองทัพหลวงซึ่งเราจะทําหน&าที่เปนผู&บัญชาการรบ ครั้งนี้ด&วยตนเอง ทัพแรกที่เปนหน&าที่ของตอลฮะตฺเปนแมทัพ ทัพที่สองเปนหน&าที่ของ แมทั พ สะอXา ดหรื อ สุ บั ย รฺ ทั พ ที่ส ามเปนหน&า ที่ข องอั บ ดุ ล เราะฮฺ มาน ให&ทุ ก กองทั พ เดินทางไปพร&อมกันโดยเราจะทําหน&าที่เปนผู&บัญชาการรบครั้งนี้ด&วยตนเอง ดาบขอ งอมัร อิบนุลค็อฏฏอบดเคยใช&ในการรบทุกครั้งที่นบีและทานเคาะลิฟะฮฺอบูบักรมีชีวิต อยู ครั้งนี้ก็จะเปนอีกครั้งที่ดาบของเราจะได&ใช&เพื่อศาสนา เราพร&อมที่จะนําชัยชนะ กลับมาสูนครอันศักดิ์สิทธิ์ เชนเดียวกันกับที่เราพร&อมที่จะตายในสมรภูมิ

151


ทานนบีของเราและทานเคาะลิฟะฮฺอบูบักรไมเคยฝYกฝนหรือเชี่ยวชาญในเรื่อง การใช&ม&าศึกและจับดาบ แตเมื่อถึงคราวที่ทานต&องรบ..ทานก็รบโดยยืนเคียงบาเคียง ใหลกับทหาร แตสําหรับเรา และพวกทานตางชํานาญในเรื่องการใช&ม&าศึกและคมดาบ ตลอดชีวิตเราต&องทําหน&าที่นี้ให&ดีที่สุดเพื่อความสุขแหงดวงวิญญาณของทานทั้งสอง และเหนือกวานั้นคือเรารบเพื่อปLองกันแผนดินและศาสนาที่พระเจ&าทรงประทานให&แก เรา หากใครยังหวงหน&าหวงหลังก็จงอยาออกรบเลย กลับไปบ&านของตนเสียเถิด เราต&องการเฉพาะชายชาตรีที่เห็นวาอัลลอฮฺและนบีมีคายิ่งกวาชีวิตของเขา ทุกคนจะ ไมมีโอกาสหันหลังกลับในการเดินทัพครั้งนี้ นอกจากจักต&องเดินไปข&างหน&า ดาบในมือ ของเราเองจะตัดศีรษะทหารทุกคนที่หนีทัพ แม&วาในหัวใจของเราจะเจ็บปวดที่ต&องฆา ทานผู&รวมศรัทธาเดียวกันกับเรา แตมันเปนความจําเปนที่แมทัพทุกคนจะควบคุมทัพ ให&อยูในระเบียบวินัยการศึกครั้งนี้เรามีแตทางได&รับชัยชนะ เรามั่นใจวาพระเจ&าจักทรง อยู กั บ อุ มั รฺ อิ บ นุ ล ค็ อ ฏฏอบ ผู& ซึ่ ง พระองค% ด ลใจให& เ ขาน& อ มรั บ นั บ ถื อ ศาสนาของ พระองค%หรือหากวาเราตายก็ถือวาเราชนะเพราะเราตายภายใต&รมธงที่มีคําปฏิญาณ ตน วาไมมีพระเจ&าอื่นใดนอกจากอัลอฮฺ และทานนบีมุฮัมมัดนั้นคือทานศาสนทูตของ พระองค% การตายภายใต& ธ งไชยเฉลิม พลที่มี พ ระนามของพระองค% และนบี มั น คื อ ภาชนะอันยิ่งใหญมิใชความพายแพ& ขอให&เรานึกถึงชายชาตรีคนหนึ่ง ตอนที่เราถามวาผู&ใดจะยืนขึ้นประกาศตน เปนคนแรกวาเราพร&อมที่จะรบกับอิรักและอิหราน ชายชาตรีที่ก&าวออกมาเปนทหาร ธรรมดาที่เรานึกไมถึง เขาผู&นั้นคืออบู อุบัยดฺ เขาตายไปแล&วก็จริงแตชื่อของเขาจักไมมี วันตายอีกนับร&อยพันป7 เรานึกถึงพลทหารบาบูตักหลาบที่กล&าสู&กับจอมทัพอยางเมห รานและตัดคอจอมทัพเมหรานขาดจากบาได& ทหารหาญของเราขอให&นึกถึงสมรภูมิ อุหุท ทานฮัมซะฮฺลุงของทานนบีที่มีชีวิตหกสิบกวาป7 รบจนตัวตายรางกายยับเยินไป ทั่วราง เราต&องนึกถึงพระคุณของทานเหลานี้อยาให&ดวงวิญญาณของทานต&องเสียใจ ในความขลาดของมุสลิมในยุคหลัง” บรรดาขุนนางตางตกตะลึงที่เคาะลีฟะฮฺอุมัรฺจะนําทัพไปด&วยตนเอง ตอลฮะตฺ ได&กลาววา 152


“ข& าพเจ& าภาคภู มิใ จที่ ไ ด& มี ชีวิ ตภายใต&ก ารปกครองของทานนบี ภายใต&ก าร ปกครองของทานอบูบักร ภายใต&การนําของทานอุมัรฺผู&ห&าวหาญ ทานเคาะลิฟะฮฺอยา โกรธเราหากเรามีความคิดไมตรงกับทาน” ทานอุมัรฺถึงแกสะอึก “ขอบใจทานมาก ตอลฮะตฺ แตเอาเถิดเราจะพยายาม พิชิตศึกครั้งนี้ให&จบโดยเร็วที่สุดเพื่อกลับมาทําหน&าที่ของเราที่นครแหงนี้ตอไป ออก เดินทัพด&วยทหารหาญอยางพวกทาน การรบครั้งนี้ยอมยุติอยางรวดเร็ว ลั่นกลองศึก เถิดทหาร เราพร&อมที่เคลื่อนพลได&แล&ว” กองทัพมุสลิมตางโหร&องเสียงดังก&องนครมะดีนะฮฺ ชาวนครตางน้ําตาคลอที่ แลเห็นเคาะลิฟะฮฺออกทัพด&วยตนเอง พวกเขาพยายามกันวิงวอนขอพรตอพระเจ&าให& ทรงปกปLองชายชาตรีผู&มีหัวใจอันเปนเลิศอยางทานอุมัรฺ เสียงอัลลอฮุอักบัร...อัลลอฮผู& ทรงเกรีย งไกร ดั ง กึก ก&อ งทั่ ว ท& อ งทะเลทราย ทานอุ มั รฺ โ บกมือ อํ า ลาประชาชนจน กองทัพลับสายตาจากนครมะดีนะฮฺ คํากลาวของตอลฮะตฺเริ่มเปนความจริง กองทัพมุสลิมภายใต&การนําของทาน อุมัรฺเดินพ&นจากตัวนครมะดีนะฮได&เพียงสามไมล%เทานั้น ม&าเร็วจากนครมะดีนะฮฺรีบสง ขาววาชาวกําลังกอการร&ายในนคร เผาผลาญสถานที่ตางๆและกอความจลาจล และ ยิ่งกวานั้นมีขาววากองทัพจากตางนครกําลังมุงเข&าสูมะดีนะฮฺ โดยไมมีใครทราบเปน กองทัพของใคร เพราะยกกองทัพมาจาทิศทางตางๆ ทานอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบถึงแกร&องไห&ตอหน&าทหาร รําพึงวา “โอ&พระผู&เปนเจ&าของข&าพระองค% พระองค%ไมทรงยินยอมให&เคาะลีฟะฮฺคนหนึ่ง ตายอยางชะฮีดดอกหรือ การนั่งบนบัลลังค%ก็ไมสุขใจเทากับการรบเพื่อปLองกันศาสนา แตเมื่อเหตุการณ%เปนไปเชนนี้ทหารทุกคนจะเสียกําลังใจหรือไม ที่เราจําเปนจะต&อง เดินทางกลบไปนครมะดีนะฮฺ ทหารทุกคนตะโกนวา “รีบกลับไปนครมะดีนะฮฺเถิด ทานเคาะลิฟะฮฺ หัวใจของ มุส ลิมอยู ที่นั่น มิใ ชที่อิรัก หรือ อิหราน การปราบอิรักหรือ อิหรานนั้นปลอยให&เ ปน หน&าที่ของพวกเราเถิด” ทานอุมัรฺมองหน&าทหารแล&วก็ร&องไห&อีก ทานเหลือบไปเห็นทหารคนหนึ่งชื่อสะ อัด อิบนุอบีวักกอส หลังจากนั้นไมช&าทานเคาะลิฟะฮฺก็รีบควบม&าคูใจวิ่งกลับสูนครมะ 153


ดีนะฮฺ เพื่อรักษานครอันเปนเมืองหลวงและเปนสถานที่ฝHUงพของพระบรมศพของทานน บีที่ทานอุมัรฺเองให&ความรักและเคารพมาตลอดชีวิต. แมทัพสะอXาดนํากองทัพไปจนถึงชายแดน ซึ่งมุซันนาคุมทัพไว&ที่นครกุฟาฮฺ แตที่นั่นไมมีรางของทานแมทัพผู&ยิ่งยงเสียแล&ว แมทัพสะอXาดได&พบทหารแปลกหน&าคน หนึ่งมาต&อนรับ “ข&าพเจ&าเปนน&องชายของมุซันนา ขอแจ&งขาวด&วยความสลดใจยิ่งวามุซันนาได& กลับไปสูความเมตตาของพระผู&เปนเจ&าเสียแล&ว กอนที่พี่ของข&าพเจ&าจะวายชนม% พี่ได& สั่งให&ข&าพเจ&าคุมกําลังแปดพันคนไว& ณ ที่แหงนี้ เพื่อคอยรวมกับกองทัพของทาน” แมทัพสะอXาดรู&สึกสลดใจและเสียดายอยางยิ่งในการสูญสิ้นมุซันนา กองทัพ มุส ลิมเดินทางตอไปโดยทานอุ มัรฺจะสงคําแนะนํ าตางๆมาให&ตลอดเวลา ทานเคาะ ลิฟ ะฮฺ สั่ งกองทั พให&พัก ที่ทุงกอดีซีย ะฮฺ พร&อ มทั้งให&ท านแมทั พสะอXาดสงแผนที่ข อง บริเวณทุงราบแหงนี้ไปให&พิจารณาและเมื่อทานอุมัรฺได&พิจารณาแผนที่ของทุงราบนี้ โดยละเอียดแล&ว ทานได&แนะนํายุทธวิธีตางๆให&แกกองทัพอีกด&วย “เราได&สั่งให&มุสลิมทุกคนทําการนมาซฆอเอ็บให&แกดวงวิญญาณของทานมุซัน นาแล&ว สะอXาดสหายรั ก แม&เ ราและทานจะอยู หางกั นกี่ร&อ ยกี่พันไมล%ก็ ดี ขอนึก วา ข&าพเจ&ากําลังนั่งรวมมากับขบวนการรบครั้งนี้ด&วย เหตุการณ%ทางนครมะดีนะฮฺขอให& ทหารทุกคนอยาได&หวง ทุกสิ่งทุกอยางสลบลงทันทีเมื่อเรากลับถึงมะดีนะฮฺโดยที่พวก กอการร&ายคาดไมถึง กอนที่เราจะรบกับเยซเกิร%ดครั้งนี้ เราปรารถนาสันติภาพ การรบแตละครั้งเรา เสียดายชีวิตทหาร ที่สูญเสียไปอยางหลีกเลี่ยงมาได& เราต&องขาดคนอยางอบูอุบัยดฺ ต&องขาดคนอยางมุซันนา ดังนั้นกอนที่จะทําการรบครั้งนี้ของใหทานคัดเลือกทูตไป เจรจากับเยซเกิร%ต เผาทหารทุกเผาในกองทัพที่ทานเปนผู&นําขณะนี้ประกอบด&วยเผา ตางๆสิ บ สี่ เ ผา การคั ด เลื อ กบุ ค คลหนึ่ ง บุ ค คลหนึ่ ง จากเผาเดี ย วไปเปนทู ต อาจจะ กอให&เกิดความน&อยเนื้อต่ําใจและขาดความสามัคคี ดังนั้นจงเลือกนายทหารสิบสี่เผา เดินทางไปพบกั บ เยซเกิร%ต โดยให&ผู&แทนทุก เผาอ&างตัว วาได&รับ การแตงตั้งจากเรา โดยตรง มิฉะนั้นเยซเกิร%อาจไมตอวรับ อาจจะเลี่ยงให&สะอXาดสหายรักเดินไปพบเขา

154


ด&วยตนเอง ซึ่งมันจะเสียเกียรติแมทัพอยางทาน ดังนั้นขอให&ทานสั่งการตามคําสั่งของ เราครั้งนี้” เยซเกิร%ดรีบสงให&ทหารจัดท&องพระโรงโออาประดับด&วยแสงไฟสองรัศมีแสง ทุกวิถีทาง มีกระจกประดับอยางแพรวพราว การที่เยซเกิร%ดทําเชนนี้เพราะเชื่อวาชาว ทะเลทรายอยางบรรดาทูตของทานอุมัรฺ จะต&องตกตะลึงในความยิ่งใหญและนอบน&อม ตอยศศักดิ์ข องเยซเกิร%ต แล&วเขาก็คอยดู การแตงกายของบรรดาทูตทานอุมัรฺ และ กริยาทาทีมีความเกรงกลัวหรือประหวั่นพรั่นตอเขาสักเพียงใด แตเยซเกิร%ตกับเปนฝQานตกตะลึงเสียเอง เพราะบรรดาทูตที่ระบุวามาให&นาม ของประมุขแหงจักรภพอิสลามนั้น แตงกายด&วยผ&าดิบธรรมดาเนื้อผ&าหยาบเหมือน กําลังเดินเลนอยูกลางทะเลทราย ทุกคนมีเพียงผ&าพันคอพาดไหล สวมรองเท&าแตะ สวนมือนั้นถือแส& ทุกคนเดินไปยืนอยูตรงหน&ากษัตริย%เยซเกิร%ตอยางปราศจากความ สะทกสะท&านเยซเกิร%ตถามวา “นี่หรือคือทูตของเคาะลิฟะฮฺซึ่งสงมาพบเรา ทูตอรับแตงกายกันอยางนี้หรือ” “ถูกต&องแล&ว...เราทุกคนเปนคณะทูตของทานอุมัรฺ เราแตงกายแบบประมุข ของเราแตง เพราะเราสวมเสื้อผ&าอาภรณ%อันสวยงามยิ่งกวาประมุขของเราไมได&” คําตอบของบรรดาทูตทําให&เยซเกิร%ตเกิดความงุนงง เขาตรัสถามวา “พวกทามาพบกับเราเพื่อต&องการสิ่งใดหรือ” นุมาน อิบนุมักรอน ก&าวออกไปข&างหน&าและกลาวแกกษัตริย%เยซเกร%ตอยาง ปราศจากความพรั่นพรึง “โอ&...ทานผู&เปนกษัตริย%ผู&ยิ่งใหญ กอนหน&านี้พวกเราทุกคนตางเปนคนโงเงา และปQาเถื่อน ตอมาพระเจ&าได&ทรงปราณีแกพวกเรา ด&วยการสงศาสนทูตมาแนะนํา ธรรมนูญแหงชีวิตให&แกเรา ทานศาสนทูตเปนผู&นําเรามาสูชีวิตใหมที่ดีกวาเดิมทุกด&าน กอนหน&าที่ทานจะ สิ้นพระชนม% ทานสั่งให&พวกเรานําศาสนานี้ไปเผยแพรยังนครตางๆซึ่งอยูใกล&หรือไกล ศาสนานี้มีชื่อวาศาสนาอิสลามอันมีความหมายถึงศานติ คําสอนของทานนบีบอกพวก เราอยางแจ&งชัดวาอะไรเปนความดี และอะไรคือความเลวทราม

155


ข&าแตกษัตริย%ผู&ทรงเกียรติ...ทานอุมัรฺประมุขแหงจักรภพอิสลามของฝากความ ปรารถนาดียังทานและประชาชน ให&ได&รับรู&ความจริงเกี่ยวกับคําสอนของศาสนา ขอ ทานจงยอมรับไว&เถิด ไมมีทางใดที่จะประเสริฐกวาวิถีทางนี้อีกแล&ว เราและทานตางจะ ได&อยูกันตามลําพังโดยสงบสุข ด&วยความรักดังหนึ่งรวมสานเลือดเดียวกัน เรามิได&นํา ดาบหรืออาวุธสิ่งใดติดตัวมาเลยดังที่ทานเห็นแล&ว แตเรามีคั มภีร%จากพระเจ&าที่ยื่น มอบให&หากทานสนใจ แตเมื่อทานรับคัมภีร%จากเราแล&ว ทานต&องปฏิบัติตามคําสั่งของคัมภีร%อยาง เครงครัด ทานต&องให&คํารับรองแกเราวาจะไมมีความอยุติธรรมใดๆหรือการกระทําอัน เลวทรามบนแผนดินอีกตอไป นี้คือคําขอร&องของเราผู&ปรารถนาศานติ หากทานไมยินยอมที่จะรับคําเสนอนี้ เราและทานก็มีทางเลือกอยูอีกทางเดียว ทางนั้นคือการทําสงคราม เยซเกิร%ตทนฟHงคํากลาวของนุมานที่กลาวอยางฉาดฉาน โดยที่พระองค%ทรง นึกไมถึงวาชาวทะเลทรายจะกล&าพูดกับพระองค%อยางนี้ ในที่สุดกษัตริย%ก็ตรัสตอบ บรรดาทูตจากอรับวา “โอ&...เจ&าทู ต อรั บ มองดู เ สีย กอนวาพวกเจ& ากํ าลั งพู ด อยู กั บ ใคร เราทนฟH ง คําพูดของเจ&าตั้งแตต&นจนจบลงได& เพราะเรายังรักษาธรรมเนียมทางการทูตเทานั้น เจ&ากลาวแกเราวาพวกเจ&าได&รับสัจธรรม มิหนําซ้ํากลับเชิญชวนจักรพรรดิ อยางเราให&ความเคารพแกศาสนาของพวกเจ&า เราไมเชื่อในถ&อยคําที่พวกเจ&ากลาว เพราะเราทราบถึงความประพฤติของชาวอรับตั้งแตเรายังเยาว%วัย ไมมีใครจะชั่วร&าย และสารเลวเทาขาวอรับ แล&วจะให&คนอยางเราคนอยางประชาชนของเรานี่ละหรือหัน กลับจากศาสนาเดิมของเราไปศรัทธาตอศาสนาที่พวกเจ&ากําลังศรัทธา เจ& า ท& า ทายวาเราและพวกเจ& า มี ท างเลื อ กทางเดี ย วที่ เ หลื อ อยู ขณะนี้ คื อ สงคราม เจ&าทูตอรับเอSย กําลังพลที่พวกเจ&ายกมาประชิดชายแดนของเรานั้นยังน&อย นัก เมื่อเทียบกับกองทัพอันเกรียงไกรด&วยกําลังพลและอาวุธยุทโธปกรณ%อยางเรา ขณะนี้เพียงคําสั่งไมกี่คําของเราที่สงไปยังทหารของเราที่ชายแดน กองทัพที่พวกเจ&า สงมาก็สลายลง ล&มเลิกความคิดที่จะปะทะกับเราเสียยังจะดีกวา ถ&าเสบียงอาหารใน กองทัพของพวกเจ&ามีไมพอหรือพวกเจ&าต&องการเครื่องยังชีพอื่นๆจากเราก็จงกลาวมา 156


เถิด ราจะสงไปชวยเหลือด&วยความสงสารในความทุกข%ยาก เราจะแตงตั้งพอเมืองไป ทําการดูเอาใจใสพวกเจ&า ยืนอยูบนแผนดินอันอุดมสมบูรณ%ของเรายังดีเสียกวาเรรอน ซุกหัวนอนอยูบนผืนแผนดินทะเลทราย” เมื่อกษัตริย%ตรัสจบลง มุฆีเราะฮฺ อิบนุซาเราะฮฺ ทูตอีกคนหนึ่งของมุสลิมกลาว ขึ้นทันทีวา “ถูกต&องของทาน สิ่งที่ทานพูดถึงชาวอรับในสมัยกอนนั้น เลวชั่วช&ายิ่งกวาที่ ทานพูดหลายเทานัก พวกเรากินสัตว%ตายเอง สวมหนังสัตว% นอนกับดิน กินกับทราย อยางทานวา แตทวาหลังจากพระเจ&าสงศาสนทูตของพระองค%มาสพวกเรา ชีวิตของ พวกเราก็แปรเปลี่ยนไป คําสอนอันมหัศจรรย%ของพระเจ&าแบบฉบับอันสูงสงของนบี แหงเรา ทําให&เราเปนผู&นําของโลก ขอให&เรากลาวความจริงกันดีกวาวา แม&แตกษัตริย% ผู&หยิ่งผยองเชนทานก็ยังมีความหวันไหวในพวกเรา โอ&...ทานกษัตริย% ข&าพเจ&าจะขอพูดกับทานเปนสิ่งสุดท&าย หากทานไมยอมรับ ศาสนาอิสลาม ทานอาจจะเสียญิซญะฮฺก็ได& แล&วเราตางก็จะอยูกันอยางเปนสุขหาก ทานไมยอมรับทั้งสองข&อนี้ข&อหนึ่งข&อใดแล&ว เราจําเปนที่จะต&องบังคับทาน ให&เข&ามาสู วิถีทางอันถูกต&องให&ได&” “ญิซญะฮฺอะไรของเจ&าเราไมเข&าใจ” กษัตริย%ถาม “ญิซญะฮฺ เปนกฎหมายของมุส ลิมวาด&ว ยการสงคราม ผู&แพ&เมื่อยอมรับ นั บ ถือศาสนอิสลามแล&ว สิทธิ์และศักดิ์ศรีของเขาจะเทาเทียมกับมุสลิมทุกประการ แตถ&า ไมยอมรั บ นับ ถือ ศาสยาอิส ลาม เขาก็ ต&อ งเสียคาตอบแทนความอารั กขาที่ก องทั พ มุสลิมจะให&ค วามอารัก ขาแกเขา หลั งจากนั้นเขาก&มีสิท ธิ์อ ยางสมบูรณ%ใ นการที่จะ ปฏิบัติตามความเชื่อถือของตน รวมทั้งได&รับการอารักขาอยางดีที่สุดจากมุสลิมในการ ครองชีพ เงินหรือสิ่งของที่ใช&ในการญซญะฮฺนี้จะเรียกเก็บจากบรรดาบุรุษผู&มีรางกาย สมบู ร ณ% เ ทานั้ น เด็ ก คนชรา สตรี คนเข็ ญ ใจ คนที่ ไ มสามารถชวยตนเองได& เชน นัยน%ตาบอดหรือพิการ ไมจําเปนต&องเสียญิซญะฮฺ” คําพูดของมุฆีเราะฮฺมีผลทําให&เยซเกิรด%อดรนทนฟHงตอไปไมได& พระองค%ทรง ตวาดวา

157


“ไอ&ค นถอย ข&าอยากจะตั ด คอเจ&าเสีย เลยขณะนี้ แม&ว าไมขั ด จรรยาบรรณ ทางการทู ต แล& ว อยางไรก็ ต ามเราจะสงรุ ส ตั ม ให& จั ด การกั บ พวกเจ& า รุ ส ตั ม จะฝH ง กองทัพของพวกเจ&าทั้งกองให&จมดินที่ทุงราบกอดิซียะฮฺ” แล&วเยซเกิร%ดก็ถามตอไปอีกวา “ในบรรดาพวกทูตถอยๆ เชนพวกเจ&า ใครเปนทูตที่อวุโสที่สุด” อาศิม อิบนุอุมัรฺ ก&าวไปยืนข&างหนน&าตอบวา “เราเอง” เยซเกิร%ดสั่งมหาดเล็กให&นําดินบรรจุลงสูตะกร&าเต็มตะกร&า แล&วตัวเยซเกิร%ด เองก&นําตะกร&าบรรจุดินนั้นวางลงบนศรีษะของอาศิม อิบนุอุมัรฺเปนการประจาน อาศิมยิ้มอยางเยือกเย็น “เยซเกิร%ด ทานคิดหรือเปลาวาการกระทําเชนนี้นะ หรือที่เรียกวาเปนธรรมเนียมทางการทูต และทานคิดตอไปอีกสักนิดเถิดวา การที่ทาน นํ า ดิ น ในพระราชวั ง ของทานวางลงบนศี ร ษะเราเชนนี้ มั น เปนลางที่ ว าทานได& ยื่ น แผนดินของทานให&แกเราเอง” แล&วอาศิมก็ควบม&าพร&อมกับตะกร&าทูนดินกลับมาที่ กองทัพ เขาได&นําตะกร&าที่บรรจุดินเดินทางมาจนพบแมทัพสะอัด อาศิม อิบนุอุมัรฺกลาววา “นี่เปนการต&อนรับของอาณาจักรที่อ&างตนวาเขาคือ ชาติอ ารยธรรม และชาติอรั บของเราเปนชาติที่ปQาเถื่อน เขาเอาตะกร&านี้ว างไว&บ น ศีรษะของข&าพเจ&าเพื่อประจาน แตข&าพเจ&ากลับดีใจที่กษัตริย%ของแผนดินนั้นทรงมอบ ดินในแผนดินของเขาเองเปนบรรณาการแกเรา ข&าพเจ&ากลาวแกเขาวา การกระทํา ของเขาครั้งนี้เปนลางร&ายที่แสดงวาตอไปแผนดินทั้งหมดของเขาจะตกอยูในมือของเรา เพราะดาบตอดาบของทหารทั้ งสองฝQา ยจะมิไ ด&ป ะทะกั นเลย แตเราก็ เ ปนผู&ค รอง แผนดิ น ของเขาแล& ว อยางน& อ ยหนึ่ ง ตะกร& า โดยการได& รั บ มอบจากมื อ กษั ต ริ ย% เ อง โดยตรง เยซเกิร%ดตกตลึงทําทีวาจะขอตะกร&าคืน ข&าพเจ&าก็กลาววาคนที่เปนกษัตริย% ตรัสแล&วยอมไมคืนคํา ข&าพเจ&ากลาวแกขุนวังผู&มาสงนอกราชวัง ทานรู&สึกอายบ&างไหม ที่การรบยังไมได&ปะทุกันเลย แตข&าพเจ&าสามารถนําดินจากในมือกษัตริย%ของทานมาได& และแนนอนดินบนตะกร&านี้เปนดินในพระราชวังนั่นเอง ยิ่งเปนการแสดงวาเมื่อแผนดิน ของทานสูญสิ้นแล&ว เวียงวังของเยซเกิร%ดตอไปก็จะเปนเวียงวังของชาวทะเลทราย เสีย งหั ว เราะทีหลั งยอมดั งกวาเสีย งหั ว เราะครั้งแรก สิ่งที่เ ราได&รับ ภายหลั งก็ ย อม มากกวาดินหนึ่งตะกร&าอยางแนนอน 158


เรากลาวแกขุนวังวาจะไมนําตะกร&าดินนี้ออกจากศีรษะของเราจนกวาเราจะ ไปพบกับทานสะอัด แมทัพของเรา เพื่อแมทัพของเราจะได&เยียบแผนดินที่เยซเกิร%ด มอบให&เปนการประเดิมชัย ระหวางทาง ถ&ามีใครถาม เราก็จะตอบแกทุกคนวา นี่คือ บรรณาการที่กษัตริย%หนุมเลือให&แกทูตที่สูงอวุโสที่สุด เราจะนําดินนี้ไปวางลงแทบเท&า แมทัพของเรา เรากลาวยืนยันแกขุนวังวา นี่คือมารยาททางการทูตที่กษัตริย%อาณาจักรหนึ่ง กระทําแกทูตผู&ชราภาพ คนรุนหลังจะได&ทราบวาระหวางเรากับกษัตริย%ของทาน ใคร เปนคนมีมารยาทถอยกวาใคร ความข&อนี้ทราบไปถึงอาณาจักรใด ผู&ครองอาณาจักร นั้นคงสรรเสริญ กษั ตริย%เยซเกิร%ด อยางแนนอน เราไมอายดอกที่จะต&อ งทู นดินจาก อิหรานกลับไปยังกองทัพ ตรงกันข&ามกัน เรายินดีที่จะนําดินในตะกร&านี้ไปให&แมทัพ ของเราดู เ ปนตั ว อยางวา ดิน ในนตะกร& า นี่แ หละเปนสวนแรกที่ก ษั ตริ ย%อิ ห รานเอง พระราชทานให&แกเรา สวนที่เหลือคือการเชิญชวนให&แมทัพของเรานําแผนดินอิหราน ทั้งผืนมายึดไว&ในกํามือ ขุนวังกลาวขอโทษแกเราวากษัตริย%ของเขายังทรงพระเยาว% นัก และขออยาให&ถือวาการเจรจาครั้งนี้เปนการเจรจาครั้งสุดท&าย เขาจะจัดการให&มีการพบกันอีกระหวางเราและฝQายเขา การพบกัน ครั้งนี้จะไมมีกษัตริย%เยซเกิร%ด แตจะเปนการพบของผู&แทนของเรา กับจอมทัพรุสตัมของเขา เราก็กลาววา ยินดี ไมวาจะเปนคนยิ่งใหญอยางรุสตัมก็อยา หวังวาพวกเราจะเกรงกลัว แตจะให&แมทัพของเรามาพบกับรุสตัมนั้นอยาหวัง เพราะ ในกองทัพของเรายังมีทูตอีกหลายคนจากอีกหลายเผาที่พร&อมจะเผชิญหน&าจอมทัพ รุสตัม” แมทัพสะอัดหัวเราะก&องคาย “ทานอาศิมทําได&เจ็บแสบเหลือเกิน คําพูดของ ทานจะเปรียบเสมือนดาบที่ปHกอกกษัตริย%เยซเกิร%ดให&ปวดร&าวและขายหน&าตลอดกาล นาน” ทางฝQายรุสตัมขุนพลเอกแหงอิรักและอิหรานได&นําทัพแสนสองหมื่นนายตรง ไปยังทุงกอดิสียะฮฺ ด&วยความหวังที่จะขยี้กําลังพลของกองทัพมุสลิมให&แหลกลาญ เขา ได&วางแผนการยุทธวิธีที่เขาคิดวากองทัพมุสลิมไมอาจจะลวงรู& เขาสั่งขุดสนามเพลาะ 159


เตรียมศึกครั้งใหญ แตเนื่องจากในสวนลึกแหงหัวใจของรุสตั มนั้น ตั วของเขาเองก็ ยอมรับในความกล&าหาญและเสียสละของทหารมุสลิม ดังนั้นกอนที่จะปะทะกัน รุสตัม ได&นัดให&กองทัพมุสลิมสงคนเข&าเจรจากับเขาอีกหลายครั้ง สงครามจึงไมได&เริ่มต&นเปน เวลานั บเดือ น จนกองทัพ มุ ส ลิมสงผู&แทนไปเจรจาเปนคนสุ ด ท&าย ผู&แทนมุ ส ลิมคน สุดท&ายที่เดินทางไปเจรจาเรื่องสงครามกับรุสตัมครั้งนี้คือ มูฆีเราะฮฺ อิบนุซาอับ เพื่อให&ทางฝQายมุสลิมเกรงกลัวในบารมี รุสตัมจัดการต&อนรับทูตครั้งนี้ด&ว ย ตนเองประทั บ บนบั ล ลั ง ก% ท อง สวมมงกุ ฏ เพชรอั น มี ป ระกายแพรวพราย สถานที่ ต&อนรับประดับประดาด&วยผ&าดอกหลากสี เครื่องใช&ทุกชิ้นในสถานที่รับรองนั้นล&วนแต ทําด&วยทองคําและเพชรนิลจินดาทั้งสิ้น สวนมุฆีเราะฮฺนั้นสวมเสื้อผ&าแบบชาวทะเลทราย ควบม&ามายังที่ที่แมทัพรุสตัม ประทับอยู เขาผูกม&าไว&หน&าสถานที่รับรอง และเดินเข&าสูที่รับรองโดยไมต&องให&ใครมา คอยเชิญ เมื่อไปถึงที่ที่รุสตัมประทับอยู มุฆีเราะฮฺก็ไปนั่งบนบัลลังก%ทองเดียวกันกับ รุสตั ม บรรดาองครั กษ%ของรุสตั มพยายามจั ดการให&เขาลงจากบัล ลังก%ทอง แตมุ ฆี เราะฮฺนั่งอยางสงบและเยือกเย็น จับมือรุสตัมแนนอยางมิตรภาพ รุสตัมก็เลยไมทราบ วาจะหาสาเหตุอันใดที่จะไมยอมให&มุฆีเราะฮฺชาวทะเลทรายนั่งบนบัลลังก%ทองเดียวกัน กับตน มุฆีเราะฮฺมองหน&าทหารของรุสตัมทุกคนและยิ้มให&เปนการท&าทาย ขุนวังได&กลาวแกมุฆีเราะฮฺวา “ขอเชิญทานลงมานั่งบนเก&าอี้หน&าบัลลังก%เถิด” “แล&วเก&าอี้ของรุสตัม เจ&านายของทานเลาตั้งอยูที่ไหน” “บนบัลลังก%ที่ทานนั่งนั่นแหละเปนสถานที่สําหรับเจ&านายของเรา สวนทาน เราได&จัดเก&าอี้อยางดีไว&แล&ว” “การเจรจาจะเกิดผลได&อยางใด ในเมื่อฝQายเชิญประทับบนบัลลังก%ทอง สวนผู& ถูกเชิญต&องนั่งบนเก&าอี้เสมือนการเจรจาของผู&ชนะกับเชลยศึก ทานวางตนโดยความ สงบเสียจะดีกวา เพราะเจ&านายของทานเองขณะนี้ก็ประทับเคียงคูกับเราแล&ว” “ทานมั่นใจหรือวาเกียรติยศของชาวเบดูอินเชนทานจะเทียบเทาจอมทัพรุสตัม ของเรา”

160


“แนนอน รุสตัมเปนจอมทัพก็จริง แตรุสตัมก็เปนทาสของกษัตริย%เยซเกิร%ด เรา เองก็เปนทาส แตนายขของเราคือพระผู&เปนเจ&าซึ่งไมมีวันตาย ดังนั้นฐานะของข&าพเจ&า ยอมไมน&อยหน&ากวารุสตัมอยางแนนอน” “ทานอยาปากกล&านัก ขณะนี้ทานอยาลืมวาทานตกอยูในเงื้อมมือของเราก็วา ได& ทานมาเพียงคนเดียวกับม&าตัวหนึ่ง ดาบสักเลมก็ไมมี หากพวกเราจัดการกับทาน เสีย ชีวิตของทานก็ยอมสิ้นลง ณ ที่นี้” “ดาบของเราไมได&ถือในมือ แตดาบของเราถือ ยูในหั วใจ ทานทั้งหลาย เรา ไมใชลู ก แกะพลั ด ถิ่นหรือ หลงทาง เดินเข&ามายั งดงสั ตว%ปQาที่ดุร&าย เชิญซิ หากใคร อยากจะสร&างประวัติศาสตร%อันงดงามอยางกษัตริย%ของทาน เคยกระทําแกทูตชรา ภาพของเรา เราก็พร&อมที่ชวยให&ทานได&กระทําให&ประวัติศาสตร%นั้นบังเกิดซ้ําอีกครั้ง เพื่อคนทั้งโลกจะได&ทราบวาในขณะที่ราชสีห%อยางรุสตัมนิ่งสงบ ฝูงสัตว%ปQายังบังอาจ กระทําการอันเลวร&ายตอหน&าจอมทัพของเขาได& กอนที่ เ ราจะเดิ น ทางมาพบกั บ พวกทานครั้ ง นี้ เรามาด& ว ยความนั บ ถื อ เกียรติยศของทหารอิหราน เราถือวาทานเปนชาติที่มีเกียรติ เคยคิดวาทหารอิหราน นั้นเปนทหารที่เกงกล&าและเฉลียวฉลาดลึกซึ้งนัก แตแล&วทานเองก็กลับทําให&เราเสียใจ ตนเอง ที่ได&มาเห็นธาตุแท&จริงของทหารอหรานวาโงเงาเหลือหลาย ศาสนาของเรา สอนเราวาห&ามมิให&เรายกมนุษย%คนหนึ่งคนใดให&ขึ้นมาอยูในฐานะเทพเจ&า เคาะลิฟะฮฺ ของเรานั้นมีอาณาจักรกว&างขวางกวาทานมากมายนัก แตทานก็วางตัวแบบสามัญ ธรรมกาสวมเสื้อผ&าธรรมดาเชนราษฎร ทานไมมีมงกุฎที่จะสวมเพราะในสมองของ ทานเคาะลิฟ ะฮฺ คิด ถึงแตความทุ ก ข%ย ากของประชาชน คิด ถึงแตความอยู รอดและ เกียรติศักดิ์ของอิสลาม ผู&ออนแอในระหวางพวกเรามิจําเปนต&องสยบหัวอยูภายใต&ความยิ่งใหญของผู& ที่เ ข&มแข็ งกวาตน ข&าพเจ&าไมเคยนึก เลยวาผู&ที่เ ข&มแข็ งในหมูพวกทานนั้น ได&รับ การ ยกขึ้นเทิดทูนเหนือศีรษะของมวลชน และจักต&องให&บุคคลผู&ออนแอกวาเคารพบูชา ข&าพเจ&าไมทราบวาทานไมรู&จักคําวาความเสมอภาคในระหวางมวลมนุษย% ถ&า หาดข&าพเจ&าได&ทราบมากอนธาตุแท&ของพวกทานเปนเชนนี้ ข&าพเจ&าจะไมไมขอมาเหยีย บั ง สํ า นั ก ของทานเลย และเรามี ข& อ คิ ด ที่ จ ะฝากทานไปคิ ด วิ ธี ก ารที่ ก ระทํ า นี้ จํ า 161


จักรวรรดิหลายแหงเคยกระทํามาแล&ว และผลที่สุดจักรวรรดินั้นก็ต&องสลายลง พวก เราได&ทําสงครามมาแล&วจนนับครั้งไมได& ภายใต&การปกครองของานเคาะลิฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบ ทานอุมัรฺไมเคยรุกรานใคร ทานเคยกลาววาอยากให&มีเทือกเขาสัก เทือกเขาหนึ่ง กั้นพรมแดนระหวางอรับและอิหราน เพื่อวาทั้งสองฝQายตางจะได&ทะนุ บ&านเมืองและราษฎรของตนให&อยูกันอยางรมเย็นเปนสุข ทานยอมทราบดีวาคนอยาง ทานอุ มัรฺนั้นยอมเรียกทานไมได&ว าทานอุ มัรฺนั้นเปนคนขลาด แตในขณะที่ท านอุ มัรฺ ต&องการปกครองจักรพรรดิอิสลามให&อยูในความศานติ พวกทานกลับกระหายเลือด พวกเรานัก หนา ชงวางเชนน&แหละในวันหนึ่งพวกทานที่มีชองวางตางกั นจะต&องรบ กันเองเพื่อรักษาศักดิ์ศรีของแตละฝQาย รุสตัมอดทนฟHงตอไมไหว เพราะยิ่งมุฆีเราะฮฺพูดมากเทาใด ก็เปรียบดังคํายุยง ให& ท หารรุ ส ตั ม ยื น หยั ด ตอสู& รุ ส ตั ม เอง รุ ส ตั ม จึ ง กลาววา “กลั บ ไปเถิ ด มุ ฆี เ ราะฮฺ เปนอันวาเราทั้งสองฝQายไมมีทางเลือกทางอื่นใดอีกแล&วนอกจากการรบ กลับไปบอก แมทัพของทานวาเราอยากจะพิสูจน%วาคมดาบของอรับและคมลิ้นของนักการทูตของอ รับ กับกองทัพที่เคยทําลายทัพของพวกทานมาแล&ว ใครจะเปนผู&ที่มีชัยครั้งนี้ ทองจํา คําวาช&างเอาไว&เถิดเมื่อกองทัพของทานอยางดีมีเพียงม&า ช&างเชียกเดียวของเราทําลาย ชีวิตอบูอุบัยดฺและพี่น&องเขาถึงเจ็ดศพนอนกายกองกัน ครั้งนี้ช&างของเราซึ่งยิ่งยงกวา ช&างของเมหรานจะให&บทเรียนอันยิ่งใหญกับแมทัพสะอXาดและกองทัพของเขา” มุฆีเราะฮฺกอนที่อําลาวา “ทานจะนั่งบนหลังช&างศึกนําหน&าทหารอยางขุนพล เมหรานนั่นหรือเปลา” รุสตัมถึงแกสะอึกและนิ่งไป มุฆีเราะฮฺกลาววา “เมื่อทานให&เรานึกถึงช&าง เราขอให&กองทัพของทานจําคําวา พลทหาร ขุนพลเมหรานของทานตายด&วยฝ7มือทหารคนหนึ่งซึ่งเพิ่งออกรบเปนครั้ง แรกเทานนั้น พลทหารเชนบาบูตักหลาบยังมีอีกมากนักในกองทัพของเรา เรากลัววา สงครามครั้งนี้พลทหารของเราอาจจะตัดศีรษะใครอีกคนก็ยอมได&” สงครามได&เกิดขึ้นในเดือนมุฮัรรอม ป7ที่สิบสี่แหงฮิจเราะฮฺศักราช ณ สมรภูมิ กอดีซียะฮฺ รุสตัมดีใจมากที่ทราบวาขณะนั้นทานแมทัพสะอXาดล&มปQวยหนักไมสามารถ นํ า ทั พ เองได& แตเขาหาทราบไมวารางอั นปQ ว ยหนั ก ของแมทั พ สะอXา ดนั้น นั่ ง อยู บน 162


หลังคาบ&านแหงหนึ่งในบรเวณใกล&ๆกันนั้น ทานแมทัพสั่งใช&ให&ทหารทุกคนนมาซดุฮริ จนแล&ว เสร็จหลั งจากนั้นทานก็ สั่ งให&ท หารมุ ส ลิมโจมตีท หารอิหรานทั นที และการ โจมตีของทหารมุสลิมนั้นมีขนบธรรมเนียมอยูอยางหนึ่งคือกอนจะโจมตีข&าศึก ทุกคน ต&องตะโกนวา”อัลลอฮุอักบัร...อัลลอฮฺผู&ยิ่งใหญ” สามครั้งสามคราวติดตอกัน และม เอกลาวเปนครั้งที่สี่กองทัพมุสลิมก็จะเคลื่อนพลเข&าประจัญบานกับข&าศึก การตอสู&ดําเนินไปจนถึงเวลาพลบค่ํา จริงอยางรุสตัมพูดที่วาช&างของเขาจะ ทลายกอทัพมุสลิมช&างอิหรานสร&างความหวาดกลัวแกม&าศึกอรับตลอดเวลา พลธนู ของมุสลิมพยายามทําหน&าที่อยางดีที่สุดในการยิงธนูสกัดกองทัพช&าง แตไมสามารถ สกัดกั้นกองทัพช&างเอาไว&ได& วันแรกนี้ชัยชนะจึงเปนของอิหราน ในขณะที่กองทัพมุสลิมกําลังอับจนปHญญานั้น ในวันที่สองแหงการรบกองทัพ จากซีเรีย ก็เดินทางมาถึง แตมีกํ าลังทหารยกมาเพียงหกพันคนเทานั้น และกวาจะ เดินทางมาถึงก็เปนเวลาค่ํา ทําให&พวกอิหรานคิดวากองทัพมุสลิมยกมาเสริมในกําลัง พลที่นากลัว แมทัพสะอXาดนั้นเมื่อแลเห็นกองทัพซีเรียนําจดหมายฉบับหนึ่งมาให& ทาน ก็ยกจดหมายนั้นขึ้นมาจูบเพราะทราบดีวาจดหมายนั้นเปนของใคร เขาฉีกอานดูและ ข&อความที่เขาอานนั้นมีดังนี้ สะอXาด สหายรัก เรารูสึกใจหายที่ได&ทราบวาทานแม&ทัพล&มเจ็บหนัก เราทราบ ดีวานั่นคือบททดสอบความอดทนจากพระเจ&าที่ทดสอบทาน สหายรัก เราได&วิงวอน ขอพรตอพระองค%แล&วให&ทานหายเจ็บโดยเร็วที่สุด และขอเชื่อมั่นด&วยวาทานจะหาย เจ็บในวันพรุงนี้เปนอยางช&า เราใช&เวลาที่เรามีอยูรวมทั้งปวงชนมุสลิมในนครมะดีนะฮฺ รวมกั นขอพรตออัล ลอฮฺ เพราะทานแมทั พจงหายปQวยอยางฉับ พลัน อยาเพิ่งมอบ ตํ า แหนงของทานให& ใ ครบั ญ ชาการแทน เพราะการกระทํ า ดั ง กลาวอาจจะทํ า ให& กําลังใจของทหารเสียขวัญ ทานจะต&องบัญชาการรบตอไป นี่มิใชคําบังคับจากเราแจ เปนคําขอร&อง เราทราบแนนอนแล&ววากองทัพอิหรานจะต&องใช&ช&างศึกบดขยี้กองทัพม&าอัน ปราดเปรียวของเรา เราได&ฝากกลวิธีในการสู&กับกองทัพช&างมากับกองทัพซีเรียแล&ว กลวิธีอ าจจะตกไปอยู ในเงื้อ มมือ ของอิหราน จงถามแมทั พซีเ รีย เถิด แล&ว จงปฏิบั ติ ตามที่เราแนะนํา” 163


ทานอุมัรฺหายปQวยทั นทีเมื่อเห็นจดหมายฉบับนี้ ทานรีบเรียกแมทั พซีเรียมา ถามถึงกลยุทธในการตอสู&กับกองทัพช&าง แมทัพซีเรียก็หัวเราะแล&วกลาววา “ทานเคาะลีฟะฮฺกลาววาอยางใดทานทราบไหม แมทัพสะอXาด ทานวาสัตว%ที่มี อํานาจที่สุดในทะเลทรายนั้นมิใชช&าง อูฐคูชีพทะเลทรายตางหากเลาที่จะตอกรกับสัตว% ที่มีงวงและงาตลอดจนเขี้ยวเล็บอยางช&างได& เราจึงนําอูฐมากับกองทัพครั้งนี้หลาย ร&อยตัว ทานเคาะลิฟะฮฺสั่งให&ทานนําเสื้อสีดําขนาดใหญคลุมทั่วตัวอูฐไว& ช&างมันตกใจ ทันทีเมื่อแลเห็นสัตว%ประหลาดเชนนี้ ทานเคาะลิฟะฮฺกลาววา ทานมั่นใจในความทรหด อดทนของอู ฐ ทานวาครั้งนี้แหละชาวอิหรานซึ่งคงคิดวาอู ฐนั่ นโงกวาช&าง คงจะให& บทเรียนอันเจ็บปวดแกเขา” ทานแมทัพสะอXาดรีบปฏิบัติตามคําสั่งทันที ดังนั้นในการรบวันที่สองสัตว%ใหญ สองเผาพันธุ%ก็เผชิญหน&ากัน ทัพช&างพิศวงเพราะไมเคยเห็นสัตว%ใหญแตปราดเปรียว และซ้ํายังมีสีผิวดําอันนาสะพรึงกลัว ทัพช&างวันนี้จึงจนแต&มในเชิงรุกได&แตคอยปLองกัน ตัวเองไว& ในการรบครั้งนี้แมทัพสะอXาดเพิ่งหายปQวยยกกองทัพมาเผชิญหน&ากับรุสตัม ด&วยตนเอง และในการรบครั้งนี้เจ&าชายอีกพระองค%หนึ่งของอิหรานคือเจ&าชายชาฮัร บาลาซ บะฮฺมาน ตลอดจนขุนพลอิหรานอีกหลายคนถูกฆาตาย การรบในวันที่สอง มุสลิมกําชัยชนะไว&ได&ในที่สุด “อัลฮัมดุลิลาฮฺ...การสรรเสริญเปนของพระองค% ของให&ทานเคาะลิฟะฮฺผู&ชาญ ฉลาดของเราจงเจริญ” แมทัพสะอXาด กลาวนําทหารอรับและซีเรีย ทามกลางความ ปรีดาปราโมทย%ของกองทัพมุสลิม ทานแมทัพสะอัด อิบนุอบีวักกอสนั้น ทานเปนทั้งแมทัพผู&เครงครัดตอระเบียบ วินัย รวมทั้งเปนผู&ที่เครงครัดอยางที่สุดในการประกอบศาสนกิจทางศาสนา ทานจึง เปนทั้งขุนพลและนักบุญ วันหนึ่งขณะที่ทานตรวจแถวทหานนั้น ทานได&กลิ่นสุราจาก ปากของทหารคนหนึ่ง ทานกลาวแกทหารผู&นั้นวา “นี่ห รือ คื อ กองทั พ มุ ส ลิม ของเรา ไมทั นที่จ ะประดาบกั บ ข& าศึก เพื่ อ ปกปLอ ง ศาสนาแตกลับคิดฆาตัวตายอยางนาอัปยศเสียกอนเชนนี้” ทหารผู&นั้นตอบทานวา “ข&าพเจ&าไมได&คิดฆาตัวตาย” 164


“แตเราอยากให&เจ&าตายเสียขณะนี้ยังดีกวา เพราะการตายของเจ&ายังถือวา เปนการตายในหน&าที่ การดื่มสุราของเจ&านั่นแหละที่มันร&ายแรงเสียยิ่งกวาการฆาตัว ตาย เพราะเจ&ากําลังฆาตัวตายทั้งเปน และฆาทั้งระเบียบวินัยกองทัพ” “ข&าพเจ&าขออภัย...” “การขออภั ยจากเรานั้นหรือ ” ทานหั ว เราะด&ว ยความเศร&าสลด แล&ว ทานก็ เรียกทหารคนหนึ่งมา ให&จับทหารผู&ดื่มสุราคนนั้นจําไว&ในคุมขัง พร&อมทั้งสวมโซไว&ที่ ข&อมือและข&อเท&า นักโทษทหารผู&นี้อยูในที่คุมขัง แตจากที่คุมขังนั้นเขาสามารถมองผานลูกกรง ออกไปเห็ น ภาพการรบในสมรภู มิ ไ ด& เขาผู& นี้ มี ฝ7 มื อ ในการรบผู& ยิ่ ง ใหญและมี ความสามารถในด&านกวีอยางสูงสง ชื่อของเขาคืออบูมะฮยาน ตักฟ7 ในวันที่สองของการรบอันดุเดือดนั้น ภาพของกองทัพมุสลิมที่ตกอยูในวงล&อม ของข&าศึก ภาพนั้นทําให&หัวใจของเขาเราร&อนดังเปลวเพลิง เขาปรารถนาอยางยิ่งที่จะ ออกไปรบเคียงข&างเพื่อนทหารมุสลิมของเขา แตโซตรวนที่ลามทั้งมือและเท&าของเขา ทําให&ไมสามารถที่แหกคุกออกมาได& อีกประการหนึ่งการแหกคุกในสถานการณ%เชนนี้ เปรียบได&ดังผู&ละเมิดกฎอัยการศึก ความตายเทานั้นที่จะเปนการลงโทษในกรณีเชนนี้ เขาซบหน&าลงกรงของคุกด&วยน้ําตา ทันใดนั้นเขาก็เห็นนางซัลมา ภรรยาของทานแมทัพเดินผานหน&ากรงขัง เขาก็ กลาวแกนางวา “โอ&...ทานผู&เ ปนภรรยาแหงแมทั พ ซึ่งเปนนายของเรา ขอได&โ ปรด สงเคราะห%เราสักอยางหนึ่งจะได&หรือไม...” “ขอเหล&าจากเรานะหรือ คอยขอจากคมดาบของแมทัพสามีของเราจะดีกวา” “ข&าพเจ&าไมปรารถนาจะดื่มเหล&า แตข&าพเจ&าปรารถนาที่ดื่มเลือด และเลือดที่ ข&าพเจ&าปรารถนาจะดื่มอยางเหลือเกินขณะนี้ นั่นคือเลือดข&าศึกที่กําลังรบกับทานแม ทัพ “ทหารขี้เมาเชนทาน อกไปรบก็เทากับออกไปเอาหัวสังเวยข&าศึกเสียเทานั้น” “ข&าพเจ&าหายเมาแล&ว...ทานผู&เปนศรีภรรยาแหงทานแมทะพ โปรดได&ปลดให& ข&าพเจ&าออกจากคุกเถิด แม&จะเปนการออกไปตายก็ยังดีกวายืนดูเพื่อรวมทัพรบกับ ข&าศึก โดยที่ข&าพเจ&าต&องยืนเดียวดายภายในคุกนี้” 165


“มีหลักประกันหรือวาทานจะออกไปรบ มิใชหลอกลวงเราเพื่อจะหนีคุก” “หลักประกันในตัวข&าพเจ&าคือข&าพเจ&าเปนทหารแหงสามีของทาน ข&าพเจ&าจะ ออกรบจนตัวตายหรือได&รับชัยชนะ หากได&รับชัยชนะกลับมาข&าพเจ&าขอเดินเข&าคุก ยอมให&สวมโซตรวนอยางที่เปนอยูขณะนี้ ทานคงทราบดีวาข&าพเจ&าเปนกวีผู&หนึ่ง กวีจะ ไมมี อ ารมณ% ท รยศ โดยเฉพาะอยางยิ่ ง ตอผู& มี พ ระคุ ณ เชื่ อ ข& า พเจ& า เถิ ด ปลอยให& ข&าพเจ&าออกจากคุกพร&อมกับดาบสักเลมหนึ่ง ข&าพเจ&าทนดูภาพการรบตอหน&าไมไหว เพราะข&าพเจ&าก็เคยฝYกในการรบอยางโชกโชนมาแล&ว” นางซัลมาทนการอ&อนวอนของนักรบและกวีผู&ยิ่งยงไมได& นางจึงอนุญาตให&เขา ออกจากคุก เพื่อไปรบกับเพื่อนรวมทัพตามที่เขาขอร&อง นางสงดาบเลมหนึ่งให&เขา และกลาววา “ปากกาของทานคมนักในเชิงกวี วันนี้เราจะดอยดูทานวาระหวางอารมณ%กวี และอารมณ%ทหาร สิ่งใดเหนือกวากัน” มะฮยานกําดาบในมือแนนเมื่อโซตรวนที่สวมข&อมือและเท&าของเขาหลุดจาก รางเขากระโจนขึ้นหลังม&าตัวหนึ่งออกสูสนามรบทันที ภาพที่นางได&เห็นคือการรบของ มะฮยานอยางห&าวหาญ อยางบ&าบิ่นและทระนงตามวิสัยกวี ภาพการรบของเขาที่มุง หน&าไปทางไหนศัตรูก็ล&มตายเปนใบไม&รวงแตกกันออกเปนชองด&วยความชุลมุน ภาพนี้ ทานแมทัพซึ่งนั่งบัญชาการรบอยูบนหลังคาบ&านก็แลเห็น ทานรู&สึกชื่นชมเชยในฝ7มือ ของทหารคนนี้อ ยางยิ่งและพยายามที่จะมองวานั ก รบผู& เ กรีย งไกรผู&นั้นจะเปนเขา เพราะมะฮยานขณะนี้ถูกจองจําอยูในคุก การรบได&ผานไปจนค่ําด&วยดาบของมะฮยาน ดื่มเลือดข&าศึกนับร&อยร&อยศพ ทานแมทัพพยายามถามทหารองค%รักษ%วาทหารผู&ห&าว หาญนั้นเปนใคร ทุกคนก็ไมสามารถที่จะให&คําตอบแกทานได& เมื่อการรบเสร็จสิ้น นางซัลมาก็เตรมาดูที่คุก ประจักษ%เห็นวารางของอบูมะฮ ยานอยูในคุกนั้น ทั้งมือและเท&าสวมโซตรวนดังเดิม เขาก&มศีรษะให&แกนาง..ด&วยความ คารวะและขอบคุณจากหัวใจอยางลึกซึ้ง นางซัลมาก็กลาววา “ทานเกงกาจเหลือเกิน...อบูมะฮยาน ทานได&ดื่มเลือดที่ทานต&องการเพียงพอ ใชไหม”นางถาม 166


“ยังดอก...นายหญิงของข&าพเจ&า ข&าพเจ&าพร&อมที่จะทําการรบตอไปเมื่อเกิด การรบ และเมื่อการรบเสร็จสิ้นลงแตละวันโดยที่ข&าพเจ&ายังไมตายลง ข&าพเจ&าก็จะ กลับมาเปนนักโทษอบูมะฮยานเชนนี้ทุกคืนเชนกัน” จะให&เราเลาเรื่องของทานให&ทานแมทัพทราบไหม” “โปรดอยาเลาเลยพระนาง เพราะมันเปนการละเมิดกฎอัยการศึก ข&าพเจ&า ไมได&ออกรบเพื่อหวังจะให&ทานแมทัพอภัยโทษ แตข&าพเจ&าออกรบเพราะข&าพเจ&าเปน ทหารคนหนึ่ง ข&าพเจ&าออกรบเพื่อพิสูจน%วาแม&ทานแมทัพจะจองจําข&าพเจ&า ข&าพเจ&า ตระหนักในความผิดของตน การเลาเรื่องนี้ให&ทานแมทัพฟHง ทานแมทัพอาจะโกรธนาง ก็เปนได& ที่ปลอยให&คนคุกออกจากคุก” คืนนั้นนางซัลมานนอนไมหลับทั้งคืน เพราะคิดถึงถึงความกล&าหาญ น้ําใจอัน เด็ดเดี่ยว และการรักษาสัตย%สัญญาของอบูมะฮยาน รงเช&าในขณะที่นางบริโภคอาหารกับทานแมทัพสองตอสอง นางก็ตัดสินใจเลา เรื่องทั้งสิ้นให&ทานแมทัพทราบ ทานแมทัพวางช&อนส&อมทันทีด&วยอาการอันตกตะลึง “เราพยายามมองการรบของเขาด&วยความพิศวงตลอดวันวาน เรามองก็ไม เห็นและใครเลยจะคิดวาเขา เพราะเขาถูกโวตรวนจองจําอยูในคุก นางมั่นใจในตัวเขาอยางใด จึงตัดสินใจปลอยโวลามและปลอยให&เขาออกจาก คุกพร&อมดาบ นางไมคิดหรือวาเขาอาจจะแหกคุกหนีทัพ หรือนําดาบที่นางมอบให&เขา ไปจัดการแก&แค&นเรา” ทานแมทัพถาม “ข&าพเจ&าเชื่อในจิตใจอันลึกซึ้งของกวี เพราะอารมณ%ของกวีนั้น สูงและสะทือน ใจงายกวาคนธรรมดาสามัญ ภาพแหงการรบที่เขาเห็นทําให&เขาร&องไห& แล&วคนเชนนี้ นะหรือที่จะทรยศตอคํามั่นสัญญาที่เขาให&ไว&แกข&าพเจ&า”ภรรยาแมทัพตอบ ทานแมทัพเดินทางมาสูหน&าประตูคุกทันที และประกาศเสียงก&องวา “ทานเปนอิสระแล&ว อบูมะฮยาน เราขอสาบานด&วยพระนามของอัลอฮฺวาเรา ไมจําจองชายผู&ซึ่งมีความรักเพื่อนมุสลิมด&วยกันอยางยิ่งยวดไว&ในคุกตอไปได&” อบูมะฮฺยานร&องเสียงก&องเชนกัน

167


“ขอบใจทานยิ่งนัก...ทานแมทัพ และข&าขอสาบานด&วยพระนามของอัลลอฮฺ เชนกันวา ข&าพเจ&าจะไมขอแตะต&องสุราอีกตอไป” แมทัพสะอXาด สหายรัก บุคคลนัยน%ตาพิการที่ถือดาบอยูในมือ เขาสามารถที่จะฟาดฟHนใครได&หรือไม คชาธารที่กําลังรบกับม&าศึกของอรับ หากวามันกลายเปนคชาธารตาบอด มันจะสู&ม&า ศึกของเราได&ฉันใดก็ฉันนั้น ธรรมชาติของคชาธารนั้นมันยอมทําอะไรทํากันตามอยางจาโขลง ช&างฝูงหนึ่ง จะมีช&างที่เปนจาโขลงหนึ่งหรืออยางมากก็สองตัว จับตัวดูคชาธารสองเชือกนี้ไว& และ หาโอกาสทําให&นัยต%ตาของมันบอกเสีย เมื่อมันมองไมเห็นอะไรเลยช&างก็ช&างเถอะ จัก มีสภาพดังคนตาบอดที่ถือดาบอยูในมือ อันที่จิงทานก็ทราบวาเราเปนคนรักและสงสารสัตว% แตเมื่อสัตว%เปนศัตรูกับ เรา ยอมเปนสิทธิของเราที่จะฆามันเสีย หรือทําให&มันพิการเพื่อเปนการปLองกันตัวของ เราเอง ยิ่งการรบติดพันจนถึงยามกลางคืน สิ่งที่เรามองเห็นขณะนี้คือชัยชนะจะต&อง เปนของกองทัพมุสลิม จากเพื่อนรักของทาน เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ แมทัพสะอXาดรู&สึกดีใจเปนอยางยิ่งที่ได&รับจดหมายจากเคาะลิฟะฮฺผู&เปนจอม ทัพของเขา ทุกคนในกองทัพเห็นด&วยทันทีจะต&องทําลายกองทัพช&างด&วยวิธีนี้ การรบ ในวั นรุ งขึ้ นกองทั พ มุ ส ลิ มมิ ไ ด& แสดงออกซึ่ง ความห&า วหาญดุ จทุ ก วั น แสร&ง ทํ า เปน ออนแอจนทหารอิหรานพากันหัวเราะและนึกในใจวาทหานมุสลิมคงสิ้นกําลังใจที่จะ ทําการรบในครั้งนี้เสียแล&ว นักรบมุสลิมสองนายพยายามชักม&าวนเวียนไปมา และสังเกตดูตลอดเวลาวา ช&างเชือกไหนเปนจาโขลง เมื่อเขาพบช&างเชือกที่เปนจาโขง ทหารคนหนึ่งถือหอกไว&ถึง สิบสองเลมอยูในมือ ก็ใช&หอกในมือของเขาพุงเข&าสูดวงตาของช&างเชือกนั้น เลือดที่ไหล โชกเปนทางจากนัยน%ตาตาอันนองเลือดของมัน และเมื่อนัยน%ตาของมันมืดสนิทแล&ว งวงของมันถูกตัดขาดสะบั้นลง ช&างจาโขลงจึงเดินโซซัดโซเซกลับไปที่ฝHUงน้ํา ดังนั้นช&าง ที่เหลืออยูก็แตกรนไปเปนขบวน สะบัดรักรบอิหรานที่อยูบนหลังช&างลงสูดิน และวิ่ง 168


เข&าไปหาที่ตายริมฝHUงแมน้ําในที่สุดช&างทั้งกองทัพก็จมลงสูใต&กระแสน้ําของแมน้ํายูเฟร ติส การรบอันดุเดือดที่เต็มไปด&วยกําลังใจของทหารมุสลิม จึงเริ่มจัดการกับข&าศึก ตลอดวันตลอดคืน ภายใต&การนําของแมทัพสะอXาดซึ่งหายปQวยแล&ว การรบได&ดําเนิน ไปจนฟLาสางของวันใหม บรรดาหัวหน&าเผาตางๆของอรับซีเรียที่รวมตัวเปนกองทัพ มุสลิมก็ได&รับคําสั่งให&เผด็จศึกให&ราบคาบกอนที่ตะวันขึ้น โดยคําสั่งของแมทัพสะอXาด “ลงจากหลังม&าเถิด สู&กับมันแบบตัวตอตัว” กองทัพมุสลิมเริ่มได&รับชัยชนะจากกองทัพข&าศึก และในที่สุดกอนที่ตะวันจะ ขึ้นตามที่แมทัพสะอXาดสั่งบงการแกทหาร กองทัพมุสลิมก็บุกลุยไปจนถึงกลางกองทัพ อิหรานเสียงไชโยโหร&องดังลั่น จอมพลรุสตัมหัวเราะก&อง “พวกอรับมันแพ&ราบคาบ แล&ว ทหารของเราจึงไชโยโหร&อง เพื่อนําขาวดีมาแจ&งแกเรา” แตภาพที่กองทัพรุสตัมเห็นกลายเปนกองทัพอรับ จอมพลรุสตัมถึงกับตะลึง แตแล&วเขาก็ คุมสติไว&ได&และกระโดดจากบัลลังค%ทองซึ่งเขาประทับอยู ทําการตอสู& อยางราชสีห%จนตรอก แตในที่สุดพลทหารมุสลิมคนหนึ่งชือฮาลาล อัลกามา ได&ไปถึง ตั ว ทานแมทั พ และใช& ด าบพลทหารของเขาตั ด ศีร ษะรุ ส ตั ม แล& ว พลทหารมุ ส ลิ ม ก็ กระโจนขึ้นไปยืนบนบัลลังค%ทองของรุสตัม แลพร&องตะโกนระล่ําระลักด&วยความดีใจ วา “โอ&...อัลลอฮฺผู&ทรงคุ&มครองวิหารกะอฺบะฮฺ ขณะนี้ข&าพเจ&าประหารตัวรุสตัมแล&ว” การตายของรุสตัมทําให&ทหารอิหราน ซึ่งกําลังเสียเปรียบอยูแล&วพากันแตก พายอยางสิ้นเชิง ทิ้งธงไชยเฉลิมพลดุรหาอิควายาตีตกอยูในมือ ของมุส ลิม ในการ สงครามครั้งนี้กองทัพอิหรานสิ้นกําลังพลถึงสามหมื่นคน สวนมุสลิมสิ้นชีพไปเพียง แปดพันคนเทานั้น ทานแมทัพสะอXาดรีบสงขาวนี้ไปยังทานเคาะลิฟะฮฺทันที เพราะทานทราบดีวา ทานจอมทัพอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบนั้นเปนคนเชนใด ทานรักทหารและประชาชนยิ่งกวา ชีวิตของทาน ดังนั้นขาวดีเชนนี้บุคคลแรกที่ควรรับรู&จักต&องเปนประมุขแหงจอมจักร ภพอิสลามเทานั้น ทุกๆเช&าที่นครมะดีนะฮฺนั้น จะมีชายคนหนึ่งเดินทางออกจากเมืองมะดีพะฮฺเปน ประจํา ทาทางของชายผู&นี้ดูเราร&อนกังวลใจในบางสิ่งบางอยาง และดังจะรอคอยใคร 169


สักคน เขาจะเดินทางจากตัเมืองมายังชานเมืองซึ่งเปนทะเลทรายประมาณสามไมล% แล&วก็จะเดินทางกลับเข&าสูตัวเมือง ในวันที่แมทัพจากกอดีซียะฮฺให&ทหารควบม&าเร็วมาแจ&งขาวชนะข&าศึกที่นครกอ ดีซียะฮฺ ชายผู&นี้ก็ตะครุบบังเหียนม&าไว& ถามถึงผลการรบที่กอดีซียะฮฺ ทหารของแมทัพ สะอXาดก็ดุเขากลาววา “เจ&าจะมาถวงเวลาเราทําไม เราจะรีบไปรายงานขาวการรบที่ กอดีซียะฮฺให&ทานเคาะลิฟะฮฺซึ่งเปนประมุขของจักรพรรดิอิสลามให&ได&ทราบ” แตชาย คนนี้ก็ไมวากระไรเขาวิ่งตามม&าไปตะโกนถามทหารบนหลังม&าไปตลอดทาง ถามวาแม ทั พ สะอXา ดสุ ข ภาพดี แ ล&ว หรื อ ชายที่มี ชื่อ วาบาบู ตัก หลาบเปนอยางใด กองทั พ ม& า สามารถสู&กับกองทัพช&างได&หรือไม มีทหารมุสลิมตายทั้งสิ้นกี่ราย ทหารบนหลังม&าก็ ถามวาเจ&ารู&จักคนที่เจ&าเอSยชื่อทั้งหมดนี้หรือชายผู&วิ่งตามหลังม&าไมตอบวากระไร และ ในที่สุดชายผู&นี้ก็ถามทหารบนหลังม&าวา “ถ&าเชนนั้นตอบข&าพเจ&าเปนคําเดียวก็พอวา การรบครั้งสุดท&ายใครชนะ” ทหารบนหลังม&ากตอบวา “มุสลิม” ชายผู&นั้นกระโดดตัว ลอยด&วยความดีใจและอุทานออกมาวา “อัลลอฮุอักบัร..อัลฮัมดุลิลลาฮฺ...อัลลอฮฺผู& ทรงเกรียงไกร การสรรเสริญทั้งมวลเปนของอัลลอฮฺเทานั้น” แล&วทหารผู&นี้ก็กลาวแก ทหารวาทานขี่ม&าไปอยางสบายเถิด เพราะขาวชัยชนะของกองทัพมุสลิมนั้นทานเคาะ ลิฟ ะฮฺ ท ราบดีแล&ว ด&ว ยความโสมนั ส ทหารก็ ชะลอฝ7 เ ท&าม&าลงมาถามวา ทานเคาะ ลิฟะฮฺทราบได&อยางไรในเมื่อเราเปนคนแรกที่ออกมาจากทุงราบสมรภูมิแหงนั้น ชายผู& นั้นก็ตอบวาเราสนทนากันตามสบายเถิด ทานควบม&าไปดราวิ่งตามทานไปอยางนี้ เรา คงเปนลมล&มลงอยางแนนอน ทาทีของทานที่ควบม&าจากกอดีซียะฮฺก็ดูเหนื่อยออน ทั้ง ทานและม&าศึก ควรพัก ผอนเอาแรงบ&าง ทานจะไปแจ&งขาวให&ท านเคาะลิฟะฮฺ ด&ว ย สภาพเหนื่อยหอบเชนนี้กระนั้นหรือ ทหารบนหลังม&าก็ตอบวาจริงของเจ&า เราเองก็เหื่อ เหลือเกิน การสนทนากันเรื่องรบยังคงดําเนินตอไป จนกระทั้งเข&าสูตัวเมืองมะดีนะฮฺพอ ทั้งสองเข&าสูเมืองมะดีนะฮฺชาวเมืองตางแสดงความคารวะอยางนอบน&อม ทหารบน หลังม&าก็พยักหน&ารับการคารวะ แตเขารู&สึกผิดสังเกตอไรบางอยางในการแสดงความ คารวะของปวงชน แล&วเขาก็ งุนงงเปนอั นมากเมื่อเห็ นวาชาวมะดีนะฮฺ มิได&ก&มศีรษะ แสดงความคารวะเขาดอก แตกลั บ ก& ม ศี ร ษะแสดงความคารวะและเอามื อ แตะ 170


หน&าผากเปนการแสดงความเคารพผู&ที่วิ่งตามม&ามาที่เขานั่งมา ประชาชนตะโกนวา “จงเจริญเถิด...เคาะลิฟะฮฺ” ทหารบนหลังม&าถึงแกผงะหงายทันทีรีบกระโจนลงจาก หลังม&า ก&มศีรษะให&แกชายผู&วิ่งตามม&ามาของเขามาตลอดทาง แล&วก็ยกมือชายผู&นี้ขึ้น จูบแล&วถามวา “โอ&....ทานผู&เ ปนทั้งประมุ ข ของจั ก รภพอิส ลาม ทานผู&เ ปนจอมทั พ แหงทั พ มุสลิม เหตุใดในตอนแรกที่ทานพบข&าพเจ&า ทานจึงไมแจ&งให&ข&าพเจ&าทราบวาทานเปน ใคร” “เราไปคอยขาวการรบที่ชานเมืองทุกเช&า มิใช&ไปแสดงตนวาเราคือใคร เราเปน ทางของอัลลอฮฺเชนเดียวกับทาน และการที่วิ่งตามทานมาอยางเหน็ดเหนื่อยเราถือวา เราวิ่งตามทหารกล&าของกองทัพซึ่งมีโอกาสรบเพื่อปLองกันจักรภพและศาสนา เพื่อ เกียรติศักดิ์อิสลาม เพื่อความจงรักภักดีตออัลลอฮฺและความรักในทานนบี เราจึงเห็น วาสิ่งตางๆเหลานี้สําคัญกวาการที่จะบอกทานวาเราคืออุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบ บุคคลที่ ทานต&อ งการพบ ไปสู ลานมั ส ยิ ด อั นเปนท&อ งพระโรงของเราเถิด เพราะไมช&า จะมี ประชาชนจํานวนมากที่เปนหวงใยในการรบครั้งนี้ คงเดินทางมาฟHงขาว ทุกคนจะได& ทราบขาวนี้จากปากคําของทหารกล&าที่เพิ่งเดินทางมาจากกอดีซียะฮฺ เลารายละเอียด ให&ทุกคนฟHงด&วยตัวของเขาเอง” “ข&าพเจ&าหวั งวาทานคงจะประทานอภั ย ให&แกข&าพเจ&า ที่โ งถึงขนาดไมรู&จัก ประมุขและจอมทัพของเขา” “แนนอน” ทานเคาะลิฟะฮฺตอบ “เราจะประทานอภัยให&เจ&าแล&วตั้งแตเจ&ากลาว คําวามุสลิมชนะ และตอไปสิ่งที่เราประทานให&เจ&าคือเหรียญแหงความกล&าหาญยศที่ สูงขึ้นและบรรณาการที่เรามอบให&แกทหารทุกคนที่เดินทางกลับมาจากกอดีซียะฮฺ เมื่อสมัยที่ทานเทศนาแกเศาะหาบะฮฺในขณะที่ทานยังมีชีวิต อรับเปนเพียงแต ชาติ ที่ เ รรอนกลางทะเลทราย สวนจั ก รภพอิ ห รานนั้ น กํ า ลั ง รุ งโรจน% เ ชนเดี ย วกั บ จักรพรรดิ์โรมัน แตทานนบี กลับพยากรณ%ให&เศาะหาบะฮฺทราบวา “ตอไปบรรดา ชาวมุสลิมจักได&ครอบครองปราสาทของจักรพรรดิแหงอิหราน” เศาะหาบะฮฺก็ได&แต นั่งฟHงด&วยความสงบและนึกไมออกวาจักรภพอิหรานอันเกรียงไกรนั้น จักตกเปนของอ รับได&อยางไร 171


แตเพียงไมถึงหนึ่งร&อยป7นับตั้งแตทานนบี สิ้นชีวิต ยุคสมัยของทานเคาะ ลีฟ ะฮฺ ก็ ไ ด& พิ สู จ น% ใ ห& เ ห็ น วาคํ า พยากรณ% ข องทานนบี นั้ น เปนความจริ งและเมื่ อ กองทัพมุสลิมได&รับชัยชนะในการรบที่ทุงกอดิซียะฮฺแล&ว ทานอุมัรฺก็มีจดหมายถึงแม ทัพของทาน “แมทัพสะอัด สหายรัก” เราขอสรรเสริญตอพระผู&อภิบาล และขอเชยชมทาน ตลอดจนทวยทหารทั้ง กองทั พ ที่นําชั ยชนะมาให&แกจักรภพอิสลาม ทานและทวยทหารหาญได&ทําการรบ มาแล&วอยางเหนื่อยยาก ดังนั้นอยางเพิ่งรีบร&อนเดินทางไปโจมตีกรุ งมาดาอินนคร หลวงของอิหรานเลย ขอใหทานและกองทัพพักผอนกันยอางมีความสุข ทานเองก็เพิ่ง หายจากการล&มปQวยดังนั้นหน&าที่ของทานขณะนี้เพียงแตดูแลความยูดีกินดีของบรรดา ทุกคนในกองทัพก็เปนการเพียงพอแล&ว หรุงมาดาอิน อยูหางจากสนามรบของทานไมถึงห&าสิบไมล% และเราเชื่อวาเขา สิ้นทั้งเขี้ยวเล็บงาที่จะตอกรกับทหารของมุสลิมได&อีแล&ว กษัตริย%เยซเกิร%ตจะหนีจาก กรุงมาดาอินก็ชางเขาเถิด ชีวิตของเขาขณะนี้ไมได&ให&คุณหรือให&โทษแกเราตอไปได&อีก แล&ว และอีสิ่งหนึ่งที่เราของร&องตอทาน ชัยชนะครั้งนัขอให&ทหารทุกคนในกองทัพอยา ลืมวาเราชนะเพราะการชวยเหลือของอัลลอฮฺ ดังนั้นการถวายความจงรักภักดีตออัล ลอฮฺอยาได&ขาด ของให&ยึดมั่นในข&อนี้ และจงประกาศแกทหารทุกคนในกองทัพของทานวา ญาติพี่น&องของทหารที่ สิ้นชีวิตในการรบครั้งนี้ เราได&จัด พิธีท างศาสนาให&แล&ว ทุ ก คนที่สิ้นชีวิตอยางวีรชน ความเปนอยูในการครองชีพของทหารและครอบครัวทหาร เราได&เอาใจใสตลอดเวลา เดียวอยางใกล&ชิด ดังนั้นอยางหวงกังวลเรื่องของครอบครัวของตนที่มะดีนะฮฺ บอกแก เขาด&วยวาอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบจะคอยดูแลพอแมและญาติของทหารทุกคนอยางดี ที่สุด ขอให&ทุกคนพักผอนที่กอดีซียะฮฺตอไปอีสองเดือน ระยะเวลาสองเดือนนี้ทหาร ของเราคงมีความสดชื่นและเข&มแข็งเพียงพอแล&ว เมื่อถึงเวลานั้นก็จงกรีฑาทัพไปสู มาดาอินทันที จากเพื่อนรักของทาน เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ 172


แมทัพสะอXาดรู&สึกซาบซึ้งใจแหงจอมทัพของเขาเปนอยางยิ่ง เขาสั่งให&กองทัพ หยุดพักผอนถึงสองเดือนบริบูรณ% จนพลังกายและพลังใจของทหารทุกคนในกองทัพ เข&มแข็งและกระหายที่จะไหปเหยียบนครมะดาอิน แมทัพสะอXาดก็ยกกองทัพมุงหน&าสู นครมะดาอินทันที จากทุงราบกอดีซียะฮฺไปสูกรุงมะดาอินนั้น จะต&องผานบรรดาเมืองตางหลาย ตอหลายเมือง ซึ่งบรรดาผู&ครองนครนั้นเมื่อแลเห็นกองทัพมุสลิมเดินทัพผานเมืองของ ตน ตางก็พากันถวายสวามิภัก ดิ์ มีบางเมือ งที่แข็งเมืองตอสู&แตในเวลาไมนานปLอ ม ปราการของเมืองนั้นก็ทลายลง เพียงวันเดียวเทานนั้นกองทัพมุสลิมก็เดินทางมาจนถึง ฝHUงแมน้ําไทกริส และจากฝHUงแมน้ําก็สามารถและเห็นปราสาทสีขาวเจิดจ&าอยูทามกลาง แสงตะวันยังฝHUงตรงข&ามอีฟากฝHUงหนึ่ง เนื่องจากกองทัพอิหรานทราบดีวา ทัพมุสลิมจะต&องเดินทางมากรุงมะดาอิน แนนอนกองทัพอิหรานจึงทําลายสะพานขามแมน้ําไทกริสเสีนจนใช&การไมได& จอมทัพ สะอXาดสั่งให&ทหารจํานวนหนึ่งข&ามไปยังฝHUงตรงกันข&าม เพื่อสํารวจดูทางที่กองทัพจะ เดินทางเข&าสูใจกลางนคร ทหารม&าหกสิบคนบนหลังม&าศึกหกสิบตัวโดดลงแมน้ํา ข&าม ฝHUงที่ตั้งของปราสาทขาวทันที ฝQายทหารอิหรานซึ่งอยูบนปLอมปราสาทรวมทั้งชาวเมือง มะดาอินเห็ นภาพทหารมุส ลิมปากคาบดาบนั่ งบนหลั งม&าวายน้ําเข&าสูกรุงมะดาอิน พวกเขาก็ ตกตะลึงตะโกนร&องบอกกันทั่ว ไปวา “กองทั พป7 ศาจมาถึงมะดาอินแล&ว ” แล&วตางคนตางหนีเตลิดถอยรนไปอยางเสียขวัญอยางยากที่จะเรียกขวัญให&กลับคืน มาสูตน เมื่อทหารม&าข&ามไปดูเหตุการณ%ในกรุงเรียบร&อยแล&ว ก็เริ่มสร&างสะพานข&าม แมน้ําไทกริส สะพานสร&างเรียบร&อยแล&วกองทัพมุสลิมก็กรีฑาทัพเข&าสูนครมะดาอิน จนปราศจากทหารตอสู&แม&แตเพียงคนเดียว และเปนความจริงอยางที่ทนเคาะลิฟะฮฺ คาดไว&กษัตริย%แหงอิหรานและบรรดาขุนนางชั้นสูงพากันหลบหนีไปกอนหน&านี้แล&ว ในที่สุดกองทัพมุสลิมก็เข&าไปสูยังปราสาทขาว ที่นั่นเองมีเพชรนิลจินดามีคา มหาศาล แมทัพสะอXาดจึงนําเรื่องนี้ไปแจ&งแกเคาะลิฟะฮฺทราบ และอีกสองวันตอมา เขาก็ได&รับจดหมายตอบจากจอมทัพ 173


“แมทัพสะอXาด สหายรัก คําพยากรณ%แหงทานนบีของเราเปนความจริงแล&ว ขอให&เราและทานรําลึก พระคุ ณของอั ลลอฮฺ ที่บ รรดาทหารตางแสดงถึงความซื่อสั ตย%ใ นหน&าที่ และความ จงรักภักดีตอศาสนาตลอดระยะเวลาอันยาวนานแหงการสงคราม ทรัพย%สมบัติที่ทหารยึดได&จากข&าศึกนั้นขอให&ทานแบงมันออกเปนห&าสวน สวน หนึ่งสงมาเข&าคลังหลวงที่นครมะดีนะฮฺ เพื่อชวยเหลือการครองชีพของชาวเมืองมะดี นะฮฺ และชาวเมืองอื่นๆที่อยูในจักรภพอิสลาม ไมต&องจัดสิ่งใดเปนพิเศษมอบให&แกเรา เราขอย้ําอีกวาอยาได&สิ่งใดแม&แตชิ้นเดียวมาให&เรา มิฉะนั้นเราถือวาทานขัดคําสั่งของ เรา สวนของที่ยึดได&อีกสี่สวนที่เหลือนั้น ทานจงแบงปHนกันอยางยุติธรรมแกทหารทุก คน เขาเปนฝQายที่ควรได&รับผลตอบแทนจากการหลั่งเลือดโลมดินของเขา สําหรับคนที่ ชื่ออุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบนั้นเพียงขนมปHงและเนื้อแห&งที่ชาวเบดูอินทะเลทราย ก็เปน การเพียงพอสําหรับเขาเชนกัน จากเพื่อนรักของทาน เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ ปรากฏวาทรัพย%สมบัติที่ทหารมุสลิมยึดได&จากปราสาทขาวมีจํานวนมหาศาล เพราะทหารได&รับสวนแบงกันถ&วนหน&าถึงสี่ในห&าสวน เพียงสวนใดเทานั้นที่สงไปยัง คลังหลวงเพื่อสํารองไว&ใช&ในยามที่บ&านเมืองและประชาชนต&องการ สวนจอมทัพอุมัรฺ เคาะลิฟะฮฺผู&เกรียงไกรนั้นไมแตะต&องทรัพย%สมบัติใดๆเลยแม&แตชิ้นเดียว เมื่อลูกๆของทานมาของแบงทรัพย%สมบัติที่ยึดได&มาจากปราสาทขาว ทานก็ กลาวแกลูกวา “ไมได&ดอก ลูกๆทุกคนของพอ หากพอเปนพลทหารอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบและ ได&รวมทําการรบที่ทุงกอดีซียะฮฺกับบรรดาทหาร พอก็ยินดีที่จะรับทรัพย%สินที่ยึดได&แต หน&าที่ขณะนี้แบกบนบาของพอจนหนักอึ้งทั้งสองข&าง บาข&างหนึ่งพอต&องแบกความ รับผิดชอบทางศาสนาและบาอีข&างหนึ่งพอต&องแบกในฐานะประมุขจักรภพอิสลาม ทุก อยางบนบาของพอมันหนักอึ้งแตก็สุขใจที่อัลลอฮฺและดวงวิญญาณของทานนบีคงจะ โสมนัสที่คนที่ทานเคยรักได&ทําหน&าที่ของเขาแล&วอยางซื่อสัตย%ที่สุด”

174


“หากการครองชีพของลูกฝZดเคืองจงไปแจ&งแกบัยตุลมาลเถิด...ลูกเอSย บัย ตุลมาลคือสถานที่บําบัดทุกข%ขํารุงสุขแกประชาชน แตอยาไปบอกวาลูกมาของเสบียง อาหารในนามที่ลู ก เปนลูก เคาะลิฟ ะฮฺ ถ&าเจ&าหน&าที่ถ ามลู กวาลู ก เปนใคร ตอบเขา เพียงแตวาชื่อของลูกและชื่อของพอสั้นๆวาอุมัรฺเทานั้น มิใชอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ ทรัพย%สมบัติจากปราสาทขาวนั้นกองพะเนิน สูงทวมหลังคามัสยิดของทานนบี ทานอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบมองสมบัติเหลานั้น น้ําตาของทานไหลพรากออกมาด&วย เสียงสะอื้น เศาะหาบะฮฺกลาวแกทานวา “ข&าพเจ&าไมเห็นเหตุผลอันใดเลยที่ทานต&องร&องไห& ในเมื่อชัยชนะเปนของเราเชนนี้” ทานอุมัรฺหันมามองเศาะหาบะฮฺแล&วตอบวา “เราร&องไห&ด&วยความสลดใจ อันความมั่งคั่งนั้นยอมกอให&เกิดความคั่งแค&น และความขมขื่นซึ่งกันและกัน ชนชาติใดซึ่งป[ศาจเหลานี้สิงอยู จะสูญเสียความนับถือ ตนเองโดยสิ้นเชิง นามของขุนพลคอลิดนั้นเปนที่ทราบกันดีในกลุมอรับ นับแตสมัยทานนบียัง ทรงพระชนม%ชีพ รวมถึงสมัยทานเคาะลิฟะฮฺอบูบักร อัสซิดดิก เพราะในการสงคราม ทุกครั้งไมวาจะเกิดขึ้นที่ไหน ทานเคาะลิฟะฮฺอบูบักรจะต&องแตงตั้งให&ขุนพลทานนี้เปน แมทัพทุกครั้งไปและทุกครั้งของสงครามไมปรากฎวาทานนําความพายแพ&กลับมา ความศรัทธาในตัวทานคอลิดกําลังแรงมาก ถึงขนาดที่ชาวอรับเห็นต&นไม&ไหนที่ทานคอ ลิดยืนพิงอยูเขาก็จะแสดงความเคารพและบางรายถึงแกบนบานศาลกลาว อันเปน ภยันตรายอยางยิ่งเกี่ยวกับเรื่องศรัทธาตอพระเจ&า ครั้งหนึ่งในขณะที่สงครามประชิดติดพันอยู สงครามครั้งนี้ทานเคาะลิฟะฮฺอ บูบักรแตงตั้งทานคอลิดให&เปนแมทัพ แตไมนานนักทานเคาะลิฟะฮฺอุมัรฺ ทานมีความจํา เปนที่ จ ะต& อ งจั ด การให& ช าวอรั บ ทราบวา สงครามจะแพ& ห รื อ ชนะนั้ น อยู ในลิ ขิ ต ของอัลลอฮฺมิใชอยูได&ด&วยฝ7มือของทานคอลิดเพียงคนเดียว ทานอุมัรฺจึงสั่งปลดแมทัพ คอลิดออกจากตําแหนงแมทัพ และให&บุคคลอื่นทําหน&าที่แทนแมทัพ ทานคอลิดถึงแก ร&องไห&น้ําตามไหลพราก เพราะการรบคือลมหายใจของทาน แตด&วยระเบียบวินัยของ ทหารและการปฏิบัติตามคําสั่งของทานนบีที่ให&เชื่อฟHงคําสั่งอันชอบธรรมของประมุข 175


ทานคอลิดก็ถอดเครื่องแบบแมทัพออก ยื่นดาบอาญาสิทธิ์ให&แกแมทัพคนใหมโดย ดุษฎี ตัวทานเองกลับกลายเปนทหารธรรมดาคนหนึ่งเทานั้น นี่คือหัวใจของบุรุษเหล็ก เชนเขา เมื่ อ ทานอุ มั รฺ ท ราบวากองทั พ มุ ส ลิ ม ประสบชั ย ชนะ ทานก็ ก ลาวยกยอง วีรกรรมของทานคอลิดอยางสูง ทานกลาววา “โอ&...อัลลอฮฺ ขอพระองค%ทรงประทาน พรให&แกทานอบูบักรด&วยเถิด เพราะทานอบูบักรรู&จักเลือกใช&คนได&ดีกวาข&าพระองค% ทานอบูบักรได&รับชัยชนะในการสงครามด&วยฝ7มือของทหารผู&นี้ ทานอบูบักรแตงตั้งคอ ลิดให&เปนแมทัพที่เปนตําแหนงซึ่งเหมาะสมอยางยิ่ง ข&าพระองค%มิได&ปลดเขาออกจาก ความผิดอันใดของเขา แตข&าพระองค%เกรงวาชัยชนะครั้งแล&วครั้งเลาอันยิ่งใหญของเขา จะทําให&มุสลิมหันมายกยองสรรเสริญคอลิดจนเกินไป จนลืมนึกถึงอัลลอฮฺ...อยางไรก็ ตามการปฏิบัติของเขาครั้งนี้เขาสมควรตําแหนงแมทัพของมุสลิมแล&ว” วันหนึ่งทานอุมัรฺพบกับขุนพลคอลิด ทานกลาวถามวา “ขุ น พลผู& ก ล& า หาญ...ทานคงเสี ย ใจมิ ใ ชน& อ ย ที่ ข& า พเจ& า ปลดทานออกจาก ตําแหนงแมทัพครั้งกระนั้น” “แนนอน ข&าพเจ&าเสียใจอยางยิ่ง เพราะตําแหนงแมทัพซึ่งเคยนั่งบัญชาการรบ บนหลังม&าศึก ข&าพเจ&าต&องถอดเครื่องแบบแมทัพออกทั้งน้ําตา และต&องรบเคียงบา เคียงไหลแบบพลทหาร ข&าพเจ&าคิดเหมือนกันวาข&าพเจ&าควรหนีจากกองทัพ แตอัลกุรอานและโอวาท ของทานนบีก็ระบุไว&อยางชัดแจ&ง ถึงความผิดของทหารที่หนีสงคราม ข&าพเจ&าคิดอยู นานวาด&วยความผิดอันใดหรือ ทานจึงปลดข&าพเจ&าออกจากตําแหนงงายๆ ทั้งๆที่การ รบกําลังประสบชัยชนะอยูแล&ว ข&าพเจ&าสงสัยวาทานและข&าพเจ&ามิได&เคยเปนศัตรูกัน เลยแตทําไมทานจึงทําแกข&าพเจ&าได&ลงคอถึงขนาดนั้น แตแล&วข&าพเจ&าก็คิดขึ้นได&วาทานนบีเรียกสมญานามทานวาฟารุค คือผู&แยก ความจริงกับความเท็จ ทานยอมมีเหตุผลอยางเที่ยงธรรมในการปลดข&าพเจ&าออกจาก ตําแหนงแมทัพ ข&าพเจ&าจึงทําการรบตอไปโดยลืมความน&อยเนื้อต่ําใจนั้นเสีย”

176


ทานอุมัรฺบีบบาทานคอลิดแนน “ขอบใจทานมากที่ทานเข&าใจข&าพเจ&าและจาก การรบครั้งนี้เราขอเลื่อนตําแหนงของทาน และจะเพิ่มอํานาจในการรบให&แกทานเปน การตอบแทน” “ชีวิต ข&าพเจ&า เกิด มากั บ เขาทั้งที นับ วาบุ ญ นั ก เพราะได& เ จ&า นายที่ดีถึ งสาม เจ&านาย เจ&านายแรกข&าพเจ&าเคยรบกับทานมากอนคือ ทานนบีมุฮัมมัดของอัลลอฮฺแต แล&วเวลาตอมาพระเจ&าก็ทรงโปรดให&ข&าพเจ&าเปนทหารคูพระทัยของทาน เจ&าคนที่สอง เปนบุคคลที่เสียสละเพื่อศาสนาจนสิ้นเนื้อประดาตัว และเจ&านายคนที่สามคือทานอุมัรฺ ก็เปนนักรบและผู&เครงครัดตอศาสนา เรีย กได&วาข&าพเจ&าเกิดมาโดยไมเสียชาติเกิด หากการรบจะมีขึ้นอีกทานเคาะลิฟะฮฺที่รักของข&าพเจ&าจะต&องแตงตั้งให&ข&าพเจ&าเปนแม ทัพหรือพลทหาร ก็ขอให&มั่นใจเถิดวาคอลิดจะรบตัวตายเพื่อศาสนาของอัลลอฮฺ เพื่อ ดวงวิญญาณของทานนบีและทานอบูบักร และเพื่อปฏิบัติตามคําสั่งของทานซึ่งเปนแม ทัพ” คอลิดตอบ เมื่อ กรุ งดามั ส กั ส แตกนั้น จั ก รพรรดิ ฮีราคลีอั ส แหงจั ก รภพไบแซนติอั มซึ่ ง ประทับอยูที่นครอังติโอซ การพายแพ&ของทหารซีเรียทําให&พระองค%หมดหวังที่จะอาศัย อยูที่ซีเรียตอไป พระองค%จึงอําลาจากเมืองอังติโอซด&วยน้ําตา กอนจากเมืองทานตรัส อยางสิ้นอาลัยตายอยากวา “ลากอน อังติโอซนครยิ่งใหญ ตอไปเราคงจะได&มีโอกาส มายืนชมเจ&าได&อีกแล&ว” ฮีราคลีอัสมาถึงไบแซนติอัม ทานก็เรียกทหารคนหนึ่งซึ่งเคยถูกกองทัพมุสลิม จับตัวเปนเชลยมาสอบถาม ทานตรัสถามวา “เลาให&เราฟHงซิ.....วาพวกมุสลิมเปนคนชนิดไหนกัน มันจึงมีความสามรถถึง ขนาดนี้” “โอ&....จอมจักรพรรดิ” อดีตทหารเชลยตอบวา “พวกมุสลิมเปนประชาชาติที่ นาอัศจรรย%อยางยิ่ง ข&าพระองค%แยกเขาไมออกวาเขาเปนนักรบหรือนักบุญในเวลา กลางวันเขาจะรบอยางถวายชีวิต อยางไมหวั่นเกรงกําลังพลหรืออาวุธยุทโธปกรณ% ของเราเลย ตอมาในเวลากลางคืนแทนที่พวกเขาจะพักผอนเพื่อเอาแรงไว&ทําการรบใน วันรุงขึ้น พวกเขากลับได&ยืนสวดสรรเสริญพระเจ&าและก&มลงกราบ เขาทํากันเชนนี้ทั้ง กองทัพ 177


อีกอยางกหนึ่งก็คือเมื่อเขาได&รับชัยชนะบ&านเมืองใด เขามีจิตวิทยาอยางสูง มากที่นํามาใช&แกชาวเมือง เขาไมเคยยึดทรัพย%จากชาวเมืองในฐานะที่เขาเปนผผู&ชนะ พวกเขาจะซื้อ เสบั ย งอาหารตามร&า นค& าโดยให&ค าตอบแทนเต็ ม ตามมู ล คา ไมเคย อวดอ&างหรือแสดงความทรนงวาข&าคือผู&ชนะศึก เขาจะสนทนากับชาวเมืองอยางเปน มิตร อยางที่แทบไมนึกถึงเลยวาพวกเขาและชาวเมืองเคยเปนศัตรูกันมา เขาคบหากับ ชาวเมืองด&วยความจริงใจและเอาใจใสชาวเมืองจริงจัง ไมวาเขาจะไปที่ใดก็ตามเขาจะ นําความสงบไป ณ ที่แหงนั่น หากปวงชนในเมืองที่พวกเขาปกครองอยูมีกรณีวิวาทบาดหมางกัน ไมวาด&วย เรื่องใดก็ดี เขาจะแตงตั้งคณะตุลาการคณะหนึ่งขึ้นมาตัดสินคดีอยางยุติธรรม ด&วย หลักนิติศาสตร%และภราดรภาพ ข&าพเจ&าเองก็แปลกใจวานี่หรือคือพวกที่เคยนั่งเรรอน บนหลังอูฐกลางทะเลทราย นี่นะหรือคือพวกที่จับเด็กหญิงเอาไปฆาแล&วฝHUงเสียทั้งเปน นี่นะหรือคือพวกที่โงเขลางมงายปQาเถื่อนจนกิติศัพท%ทราบกันดีทุกจักรวรรดิ แตแล&ว เขากลับกลายมาเปนทั้งนักบุญนักรบและตุลาการได& เขาไมมีทาทีอันแสดงความปQา เถื่อนเหลืออยูอีกเลย ตลอดระยะเวลาที่ข&าพเจ&าตกเปนเชลยศึก...เขากินอาหารอยางเดียวกับที่ให& ข&าพเจ&า เขาถามวาข&าพเจ&าจะยอมรับนับถือศาสนาของเขาไหม เมื่อข&าพเจ&าปฏิเสธเขา ก็ถามข&าพเจ&าวามีเงินพอที่จะไถตัวเองหรือไม ข&าพเจ&าก็ตอบไปตามตรงวามีแตดาบ ติดตัว เขากลาววา ถ&าเชนนั้นจงวางดาบเสีย หยิบปากกาขึ้นมาสอนเด็กที่อานออก เขียนได&สิบสองคนแล&วจะปลอยให&ข&าพเจ&าเปนอิสระ แตถ&ามีคนใดตอต&านเขา พวกเขาก็รบโดยไมหยุดยั้ง จนกวาอีกฝQายหนึ่งจะ ยอมพายแพ& จอมพลจักรพรรดิฮิราคลีอัสได&ฟHงเชนนั้นก็ตรัสขึ้นวา “ถ&าพวกมุสลิมมีพลังอันมหัศจรรย%เชนนี้ แนนอนเหลือเกินวาภายในเงลาไมช&า นัก พวกเขาจักจ&องพิชิตพื้นแผนดินภายฝQาเท&าของเรานี้ได&” เมื่อทัพมุสลิมตีเมืองแอลเลปโปแตกยับเยินแล&ว จึงเลื่อนพลตอไปยังเมืองอังติ โอซ เมืองนี้เปรียบดังกุญแจไขทางไปสูเมืองหลวงทางด&านเอเชีย ของจักรวรรดิไบแซน ติอัม และมุสลิมสามารถยึดเมืองนี้ไว&ได&โดยไมต&องตอสู&มากนัก 178


ปราการอันแข็งแกรงแหงนครอัชนาเคนทลายลง ชะตากรรมของเยรูซาเล็ม กําลังจักได&พบบทเรียนอันสูงคา กองทัพมุสลิมเพียงกองทัพหนึ่งล&อมรอบเมืองสําคัญ นี้ไว& เยรูซาเล็มมีทีวาจะประณีประนอมมากกวาสงคราม “อยาให&เลือดเปZ\อนเยรูซาเล็ม...หากมีโอกาสที่จะทําได&เพราะเยรูซาเล็มเปน กิบลัดแรกของอิสลาม และมัสยิดเยรูซาเล็มมีความสําคัญเปนอันดับสามรองจากมัก กะฮฺและมาดีนะฮฺ” นี่เ ปนคํ าสั่งจากทานเคาะลิฟะฮฺอุมัรฺ อิบ นุค็อ ฏฏอบ เมืองนี้เปน เมืองที่ทานนบีมิอฺรอจ]ฺไปพบกับพระผู&อภิบาล ให&อัมรฺ อิบนุลอาศซึ่งกําลังป[ดล&อม เยรูซาเล็มอยูวาอยาเพิ่งบุกโจมตีเยรูซาเล็ม คอยจนกวาทานอบูอุบัยดฺ ทานคอลิด และขุนพลอื่นๆ ที่ยกกําลังมาสมทบ โดยเชื่อวาเยรูซาเล็มกําลังคอยความชวยเหลือ จากอาณาจักรไบแซนติอัม แตมันเปนความหวังที่แสนเลื่อนลอยเหลือเกิน มันเปนความจริงอยางที่จอมทัพอุมัรฺคาดสถานการณ%ไว& ชาวคริสเตียนในนคร เยรู ซาเล็ มหวั่นเกรงในฝ7 มือ ของกองทั พมุ สลิมอยางมาก อีก ประการหนึ่ง ชาวคริส เตียนได&ทราบวาซึ่งยอมแพ&แกมุสลิมนั้น ได&รับการปฏิบัติอยางดีเลิศจากกองทัพมุสลิม พวกมุสลิมที่ชนะศึกไมเคยกระทําทารุณกรรมตอเชลยศึกเลย ตรงกันข&าม กลับให& ความคุ&มครองชีวิตและทรัพย%สินแกเมืองที่ยอมสงบศึกหรือพายแพ& สถานที่สําคัญทาง ศาสนาของชาวเมือ งไมถู ก รบกวนจากกองทั พ มุ ส ลิมเลย ยิ่ง นครเยรู ซ าเล็ มแหงนี้ มุสลิมถือวาเปนนครอันศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิมด&วยเชนกัน กองทัพมุสลิมคงไมทําลาย เยรูซาเล็มให&เหลือแตทรากอยางแนนอน ด& ว ยเหตุ ผ ลตางๆ เหลานี้ ผู& ค รองนครและปวงชนคริ ส เตี ย นทั้ ง สิ้ น จึ ง ยื่ น ข&อเสนอตอแมทัพอบูอุบัยดฺ แตมีข&อแม&วา “เยรูซาเล็มพร&อมแล&วที่ยอมแพ&แกกองทัพมุสลิมขอเพียงประการเดียวเทานั้น คือ ให&ทานเคาะลีฟะฮฺของทานเดินทางมาลงนามที่มี่ในสนธิสัญญาที่เราเตรียมไว&แล&ว สําหรับบุคคลสําคัญอยางทานเคาะลีฟะฮฺจะลงนาม” บรรดานายพลทั้งหลายคิด กั นอยางรอบคอบวา มั นจะเสียศั ก ดิ์ศรีอิส ลาม หรื อ ไมที่ เ คาะลี ฟ ะฮฺ ต& อ งเดิ น ทางมาลงนามสั ญ ญาสั น ติ ภ าพถึ ง ที่ นี่ ทั้ ง ที่ ฝ7 มื อ ของ ทานอบูอุบัยดฺและขุนพลคอลิดก็เปนการเพียงพอแล&วสําหรับให&การสั่งสอนแกชาวค ริสเตียนที่นี่ แตเมื่อทานอัมรฺ อิบนุลอาศอ&างถึงคําสั่งจากประมุขแหงจักรภพอิสลามที่ 179


ไมปรารถนาจะให&หยดเลือดเปZ\อนเยรูซาเล็ม ขุนพลทุกคนก็เห็นวาควรนําเรื่องนี้แจ&ง ให&ทานอุมัรฺทราบโดยตรง ทานอุมัรฺยิ้มอยางพึงพอใจ เพราะทานเองก็ปรารถนามานานแล&วที่จะเยือน สถานที่อั นศัก ดิ์สิทธิ์ที่เคยมีความเกี่ย วพันกับชีวิตของทานนบี ทานอุมัรฺเดินทางไป เยรู ซ าเล็ ม อยางชายชาติ ท หาร ทานใช& อู ฐ เพี ย งตั ว เดี ย วเปนพาหนะเดิ น ทางไป เยรูซาเล็ม และทหารอีกเพียงหนึ่งคนเปนผู&ติดตาม เมื่ออูฐมีเพียงตัวเดียว ทานอุมัรฺ และทหารประจําตัวของทานก็ต&องผลัดกันขี่ โดยที่ทหารเองขอเดินตามแตทานอุมัรฺไม ยอม ทานกลาววา “เรากินนอนด&วยกันตลอดกลางทะเลทราย แล&วทําไมทานจึงไมมี สิทธิขขี่อูฐเชนเดียวกับเรา” “โอ&... ทานผู&เปนประมุขแหงจักรภพอิสลาม ข&าพเจ&าขอสละสิทธิ์อันนี้ เพราะ มันไมเปนการสมควรในสายตาของคนทั่วไป ถ&าเขาเห็นข&าพเจ&าซึ่งเปนพลทหารนั่งบน หลังอูฐโดยที่ทานจอมทัพต&องเดินนําหน&าอูฐไป” “เจ&าจงนึกเสียวาเจ&าเดินทางมากับเพื่อนที่ชื่อวาอุมัรฺก็แล&วกัน มิใชเดินทางมา กับประมุขของอิสลามและจอมทัพมุสลิม ทุกคนที่มีความศรัทธาในศาสนาอิสลามมี เกียรติเทากันในฐานะทาสของพระเจ&า” ในวันที่ทานอุมัรฺจะเดินทางเข&าสูประตูเยรูซาเล็มนั้น เปนเวรของทานที่ต&อ ง เดิ น ทางนํ า หน& า อู ฐ โดยมี พ ลทหารนั่ ง อยางตระหนกบนหลั ง อู ฐ นั้ น ที่ ป ระตู เ มื อ ง เยรูซาเล็ม ทานอุมัรฺได&แลเห็นทานอบูอุบัยดฺ ทานขุนพลคอลิด ทานขุนพลยะซีดและ บรรดานายทหารมายืนคอยต&อนรับทานอยูแล&ว ทุกคนตางตะลึงที่แลเห็นภาพผู&นําของ ตนเดินนําหน&าอูฐโดยที่บนหลังอูฐเปนที่นั่งของพลทหาร ทานอุมัรฺยิ้มให&แกทุกคนที่มาคอยต&อนรับทาน แตเมื่อทานเห็นทุกคนแตงกาย ด&วยอาภรณ%อันสวยงาม โดยสวมเสื้อคลุมที่ทอด&วยไหม ทานมีดวงหน&าผิดปกติทันที ทานก&มลงหยิบก&อนกรวดบนพื้นทรายขว&างไปยังบรรดาขุนพลเหลานั้น และอุทานด&วย เสียงเครือ ซึ่งแสดงถึงความร&าวรานทางใจอยางสาหัส พลันกลาววา “นี่มันอะไรกัน สหายรักของอุมัรฺ ภายในเวลาสองป7เทานั้นที่พวกทานจากนคร มะดีนะฮฺ พวกทานมีความเปนอยูที่เปลี่ยนแปลงถึงขนาดนี้เชียวหรือ นี่มันเครื่องแตง

180


กายอะไรกัน แม&วาอีกสองร&อยป7ข&างหน&าทานจะสวมอาภรณ%อันโออาเชนนี้ เราก็จะ ปลดพวกทานออกจากหน&าที่ทุกคน” “โอ&... ทานผู&เปนประมุขแหงจักรภพอิสลาม ... ขอให&ข&าพเจ&าได&พูดบ&าง” ขุนพลคอลิด ตอบ “พวกเราสวมเสื้อ คลุ มเชนนี้เ พราะมั นปLอ งกั นอาวุ ธ จาก ข&าศึก และอีก ประการหนึ่งเพื่อ เกียรติย ศของทานในสายตาของชาวคริสเตีย นตาง ศาสนา จักได&แลเห็นวาบรรดาขุนพลของมุสลิมทุกคนให&เกียรติและความคารวะแก ประมุขของเขาเพียงใด” “เกียรติข องเราไมได&อ ยู ที่สายตาของใคร เกีย รติข องเราอยู ที่หัวใจของเรา หัวใจแหงทาสของพระเจ&าและหัวใจของผู&เคยรับใช&ทานนบี ผู&ครองนครแหงนี้จะแตง กายอยางไรก็ชางเขาเถิด แตลูก ผู&ชายที่ชื่อวาอุ มัรฺ อิบ นุลค็ อฏฏอบจะพบกั บเขาใน สภาพเสื้อผ&าฝLายเชนนี้” ตอมาทานอุมัรฺก็ได&พบกับผู&ครองนครเยรูซาเล็ม ทานอุมัรฺในชุดชาวเบดูอินได& ลงนามในสัญญาสันติภาพ ซึ่งมีข&อความสวนหนึ่งวา “จากอุมัรฺ ทาสของอัลลอฮฺ ประมุขแหงจักรภพอิสลาม ประชากรเยรูซาเล็ม ยอมได&รับประกั นนความมั่ นคงแหงชีวิตและทรั พย%สิน บรรดาโบสถ%ทุ ก แหงและไม& กางเขนทุกอันจักได&รับความปลอดภัย สนธิสัญญาฉบับนี้ครอบคลุมถึงประชาชนทั้ง มวลของเมื อ งนี้ สถานที่ สํ า หรั บ ประกอบศาสนกิจ ทุ ก แหงของชาวคริ ส เตี ย นหรื อ ศรัทธาชนในศาสนาอื่นทุกศาสนาจักได&รับความปลอดภัยคงอยูเหมือนสภาพเดิมทุก ประการ แตสถานที่เหลานี้จะต&องไมถูกเชิดชูหรือตกต่ําโดยอํานาจของรัฐ เสรีภาพใน การนับถือศาสนาของปวงชนทั้งมวลจะถูกละเมิดมิได& ปวงชนทั้งมวลจะต&องไมได&รับ การกดขี่ใดๆ จากผู&ปกครองหรืออํานาจแหงรัฐ” หลังจากนั้นทานผู&เปนประมุขของอิสลามก็เดินตรงไปยังสถานที่ที่ชาวเมือ ง เรียกกันวา “โบสถ%ของดาวูด” หรือนัยหนึ่งคือ มัสญิดอัล-อักศอของอิสลามนั่นเอง ทานทําการนมัสการขอบคุณพระเจ&าอยูใต&ซุ&มซึ่งสร&างด&วยหินโดยฝ7มือของนบีดาวูด ตอมาทานก็ไปเยือนโบสถ%คริสเตียนที่ใหญที่สุดซึ่งตั้งอยูมนเมืองนั้น ทานนั่ง พักอยูในโบสถ%คริสเตียนจนถึงเวลาที่ทานต&องนมัสการตอพระเจ&าในตอนบาย “ขอเชิญทานนมัสการในโบสถ%นี้ก็ได&” สังฆนายกของคริสเตียนกลาวเชิญ 181


“อยาดีกวา ทานสังฆนายก ถ&าข&าพเจ&าทําเชนนี้ ในวันหนึ่งมุสลิมอาจจะถือเอา การกระทําของข&าพเจ&านี้เปนข&ออ&างสําหรับยึดโบสถ%นี้ไปจากทานก็ได&” ทานอุ มั รฺ ไ ด& น มั ส การที่ ขั้ น บั น ไดของโบสถ% แม& ก ระนั้ น ทานยั ง เขี ย นหนั ง สื อ คุ&มครองให&กับสังฆนายกอีกด&วยวา ณ บันใดแหงนี้จะต&องไมถูกใช&สําหรับการนมัสการ ของมุสลิม แม&แตการยืนประกาศอาซานก็ตามที” สังฆนายกนิ่งอึ้ง ในที่สุดก็ยกมือทานอุมัรฺขึ้นจูบ พร&อมกับกลาวให&พรวา “ขอพระเจ&าจงทรงดลบันดาลให&ทานจําเริญตลอดไป” *** นครญะซีเราะฮฺนั้นเปนดินแดนทางภาคเหนือของอิรัก นครแหงนี้ไมเคยได&รับ การรบกวนอยางใดจากกองทั พ มุ ส ลิม เลย แตผู& ค รองนครญะซีเ ราะฮฺ แตผู&ค รอง นครญะซีเราะฮฺมุงที่จะขับกองทัพมุสลิมให&พ&นจากดินแดนซีเรีย จึงขอความรวมมือไป ยั ง จั ก รพรรดิ์ แ หงไบแซนติ อั ม ให& ส งกองทั พ ชวยด& ว ยซึ่ ง กษั ต ริ ย% ไ บแซนติ อั ม ก็ ท รง เห็นชอบ ทั้งสองกองทัพเข&าล&อมกองทัพมุสลิมที่อยูในการบัญชาของทานอบูอุบัยดฺที่ นครซึ่งมีชื่อวา เมืองหิมศฺ ศัตรูจากสองจักรวรรดิก็ได&ถูกกองทัพของทานอบูอุบัยดฺ ปราบเสียราบคาบแล&ว ทานอุ มัรฺ เ ห็ นวายั ง มีเ สี้ ย นหนามอยู อี ก แหงหนึ่ ง ซึ่ ง จ&อ งที่ จ ะกํ า จั ด กองทั พ มุสลิมอยู เสี้ยนหนามแหงนี้คือนครญะซีรา ทานอุมัรฺจึงมอบให&อิยาส อิบนุเฆาะนัมคุม ทัพ ไปปราบ ซึ่งอิยาสแมทั พ หน&าใหมก็ส ามารถปราบนครแหงนี้เ สียอยางราบคาบ เชนกัน เปรีย บชีวิตทานอุ มัรฺไ ด&ดั งเหล็ ก กล&า ที่ต&อ งเผชิญ กั บ เหตุ ก ารณ%อั นร&ายแรง ตลอดชีวิต การทํ าสงครามกั บ อาณาจั ก รใหญๆ ก็ ยั งมีเ หลือ อยู อีก แตสงครามที่ ร&ายแรงไมแพ&การนองเลือด สงครามนั้นก็คือสงครามกับโรคภัยไข&เจ็บ และโรคภัยที่ ร&ายแรงนี้คือกาฬโรค โรคนี้ได&แผขยายไปหลายอาณาจักรเชน อิรัก ซีเรียและอียิปต% คราชีวิตมนุษย%ไปเปนจํานวนมหาศาลอยางนาสพึงกลัวเปนอยางยิ่ง กองทั พ มุ ส ลิมในซีเ รีย ก็ ต&อ งเผชิญ กั บ โรคร&ายนี้เ ชนกั น ขาวการล&มตายอั น มากมายของทหาร ทําให&จอมทัพมุสลิมทนฟHงขาวคราวตอไปไมไหว ทานควบม&าคูชีพ 182


เดินทางไปยังซีเรียด&วยตนเอง บรรดาขุนพลที่ทราบขาวรีบมาสกัดกั้นที่เมือ งซารา ทานอุมัรฺกลาววา “เราจะนั่งอยางเปนสุขอยูในนครหลวงกระไรได& เมื่อกองทัพมุสลิมที่รบเพื่อ ศาสนากําลังเผชิญชะตากรรมอันร&ายแรงเชนนี้” “แตทานจอมทั พ ก็ ไ มควรลื ม อี ก หน& า ที่ ห นึ่ ง ของทานคื อ หน& า ที่ เ คาะลี ฟ ะฮฺ ผู&ปกครองจักรภพอิสลามทั้งจักรภพ กองทัพทหารนับแสนคนและปวงชนอีกนับล&าน ขวัญของงพวกเขามิได&อยูที่ทานเคาะลีฟะฮฺดอกหรือ หากเกิดเหตุการณ%อันร&ายแรง จากที่นั่นและที่นี่พร&อมกันในขณะที่ทานไมได&อยูที่นครมะดีนะฮฺ ใครจะเปนผู&ตัดสินใจ กั บ ปH ญ หาเหลานั้ น เรื่ อ งของโรคภั ย ของทหารในกองทั พ พวกขุ น พลของเราตางก็ พยายามชวยเหลือเขาจนสุดความสามารถอยูแล&ว ดังนั้นขอให&ทานเดินทางกลับไป นครมะดีนะฮฺเถิด ทานเองเปนคนรักของทานนบี ทานนั่งอยูใกล&ที่ฝHงศพของทานนบีทุก วัน ทานคอยสนใจตอเรื่อ งทุกเรื่องที่จะทํ าลายศาสนาอิส ลาม ทําไมทานจึงมาหวง กังวลพวกเรา ... เราทราบดีวาทานมีเลือดทหาร เราทราบดีวาทานเปนคนรักทหาร หาญทุกคนในกองทัพ ความตายเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได& การตายด&วยโรคอันร&ายกาจ นี้ก็ถือได&วาทหารของเราตายในสภาพชะฮีดหรือญิฮาดอยูแล&ว ทุกคนยอมได&รับการ ตอบแทนด&วยสรวงสวรรค%ดังที่ทานนบีเคยกลาวไว& เราอาจจะเปนสุขที่ได&อยูใกล&ทานที่ เปนประมุข แตพอแมลูก เมีย พี่น&องของเราในนครมะดีนะฮฺและที่ตางๆ เลา ใครจะ ชวยเหลือเขาได&ทันทวงทีเหมือนกับทาน หากเกิดภัยอันร&ายแรงที่ทหารในกองทัพทุก คนตางเปนหวงครอบครัวของตน หากเขาทราบวา ทานยังอยูที่มะดีนะฮฺ ตอให&โรค ร&ายแรงกวานี้เขาก็ไมวิตก เพราะเขามีหลักประกันอยูแล&ว คือตัวทานที่จะไมทอดทิ้ง พอแมพี่น&องลูกเมียของเขา ขอให&ทานรีบเดินทางกลับนครมะดีนะฮฺโดยดวนเถิด” ทานอุมัรฺเห็นด&วยกับถ&อยคําของคอลิด ในที่สุดทานก็ตัดสินใจเดินทางกลับ แต ผู&ที่ทักท&วงทานวา “ทานอุมัรฺ ทานจะหนีไปจากลิขิตของพระเจ&ากระนั้นหรือ” “ถูกแล&ว ... เรากํ าลังหนีจากลิขิตของอัลลอฮฺ เพื่อไปทําหน&าที่ตออัล ลอฮฺ ” ทานอุมัรฺตอบ ทั นใดนั้น ทานอั บ ดุ รเราะหฺ มาน อิบ นุ เ อาฟฺ ซึ่งเปนเศาะหาบะฮฺ ผู&ใ กล&ชิด กั บ ทานนบีมาถึง เมื่อเขาทราบถึงคําพูดของแมทัพอบูอุบัยดฺ เขาก็กลาววา “ข&าพเจ&าขอ 183


ยืนยันในนามของผู&ติดตามรับใช&ทานนบีมาตลอดชีวิต ทานนบีเคยรับสั่งวา จงอยาไป ยังที่ที่มีโรคระบาด” ดังนั้นการกลับของทานอุมัรฺจึงมิใชการหนีลิขิตของพระเจ&าดังที่ ทานแมทัพอบูอุบัยดฺทักท&วง ใครเลาที่จักหนีไปจากลิขิตของอัลลอฮฺพ&น ทานจอมทัพ จงกลับไปมะดีนะฮฺโดยดวนเถิด” เมื่อทานอุมัรฺกลับถึงนครมะดีนะฮฺไมกี่วัน ทานก็ทราบวาแมทัพมุสลิมได&วาย ชนม%ลงด&วยกาฬโรค มะอาซ อิบนุญะบัลซึ่งรักษาการแทนแมทัพก็ล&มตายลงไปอีกคน หนึ่ง ตําแหนงแมทัพจึงตกอยูกับทานอัมรฺ อิบนุลอาศ ทานอัมรฺ อิบนุลอาศสั่งเคลื่อนทัพจากที่เดิมขึ้นไปสูยสอดเขาทันที ซึ่งก็เปน ผลดี เพราะโรคอันร&ายแรงนี้ไมสามารถติดตามกองทัพมุสลิมไปได& แตแม&กระนั้น กวา กองทัพมุสลิมจะถอยไปอยูบนยอดเขา ทหารมุสลิมไมวาจะเปนนายพลหรือพลทหารก็ สิ้นชีวิตลงแล&วถึงสองหมื่นคน ในจํานวนนี้มีทหารเอกของกองทัพรวมอยูด&วยหลาย ทาน บรรดาขุนพล ทหารเอกเหลานี้หากยังมีชีวิตกลาวได&วา เขาสามารถจะพิชิตโลก ทั้งโลกให&อยูในจักรภพอิสลามจนได& ทานอุมัรฺเดินทางมาซีเรียอีกครั้ง โดยคนรับใช&ของทานขี่ม&าตัวโปรดของจอม ทัพ สวนทานอุมัรฺเองนั่งอยูบนหลังอูฐ “เจ&านายของทานมิได&มาด&วยหรือ” ชาวซีเรียถามคนรับใช& คนรับใช&ของทานอุมัรฺจจึงชี้ให&ปวงชนดูบุคคลที่นั่งอยางสงบบนหลังอูฐ ใบหน&า ของทานเศร&าสลดในเมื่อคิดถึงคนเกาๆ ที่จากไปด&วยกาฬโรค ภาพของคนรับใช&ที่นั่ง อยูบนหลังม&าศึกและภาพของจอมทัพที่นั่งอยางลําบากบนหลังอูฐเปนภาพที่ชาวซีเรีย ตลึ ง งั น เขาได&พ บความจริ ง ด& ว ยสายตาของเขาเองแล& ว วา อิ ส ลามนั้ น มิ ไ ด& มี ก าร แบงแยกชนชั้นเลยระหวางเจ&านายและผู&รับใช& สงครามผานพ&นไปแล&ว หลายตอหลายครั้งเปนภัย อั นร&ายแรงประการหนึ่ง กาฬโรคอันเปนโรคร&ายก็ผานพ&นไปแล&วนับเปนภัยอีกประการหนึ่ง แตคนอยางอุมัรฺ ต&องเผชิญกับภัยอันร&ายแรงอีกภัยหนึ่ง คือ ฉาตกภัยซึ่งทําให&ปวงชนอดอยากมาก เกิด การขาดแคลนอาหารอยางที่สุดในแคว&นหิญาซ ทานอุมัรฺต&องนําอาหารสํารองมาจาก ซีเรียและอียิปต% ในขณะเดียวกัน ความยากลําบากก็ขยายตัวไปจนทั่ว

184


ทานอุมัรฺนั้นถึงแกกินไมได&นอนไมหลับ ทานถึงแกสาบานกับตนเองวา ทานจะ ไมบริโภคนมเนยหรือน้ําผึ้งอีกตอไป ตราบเทาที่อาณาจักรอิสลามยังขากแคลนอาหาร อยูเชนนี้ ทําให&รางกายที่เคยบึกบึนของทานต&องซูบผอมลงอยางนาสมเพศ คนรับใช&จึง หาอุบายเอาน้ําผึ้งและเนยออนผสมกับอาหารอื่นให&ทานบริโภค แตพอทานอุมัรฺไ ด& กลิ่ น ทานล& า งมื อ ทั น ที “ถ& า เราไม& ลิ้ ม รสความทุ ก ข% ย ากเสี ย บ& า งแล& ว เราในฐานะ ผู&ปกครองปวงชนจะทราบได&อยางไรวาความอดอยาก ทุกข%ยากของปวงชนนั้นเปน อยางใด” ผานความทุกขืยากมาแล&วมากมาย ก็ทราบขาวร&ายจากเยรูซาเล็มวา ชาวยิว อ&างสิทธิวาดินแดนนั้นเปนดินแดนที่พระเจ&าประทานให&แกมูซา ทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบรีบเดินทางไปเยรูซาเล็มทั้นที “ข&าพเจ&าได&พยายามอธิบายให&ปวงชนทราบครั้งแล&วครั้งเลา วาขณะนี้ดินแดน แหงนี้ตกอยูในจั กรวรรดิของทานแล&ว แตชาวยิว ยังดื้อรั้นวา ดินแดนแหงนี้พระเจ&า ประทานให&แกนบีมูซา ข&าพเจ&าก็บอกชาวยิววา พวกทานก็นับถือมูซาวาเปนนบีทาน หนึ่งของพระเจ&าและกองทัพมุสลิมก็ไมเคยขัดขวางหรือยุงเกี่ยวกับการปฏิบัติศาสนกิจ ของพวกเราสุด แล&ว แตใจทานจะคิดแก&ไขประการใดก็ เ ชิญ เถิด” สั งฆนายกของ เยรูซาเล็มรายงานให&ทานทราบ ทานอุมัรฺก็ปรึกษากับสังฆนายกวามีที่ใดในเยรูซาเล็มบ&างที่พอจะสร&างมัสญิด ขึ้นสักหลังหนึ่ง สังฆนายกก็พาทานอุมัรฺไปดูสถานที่ที่เรียกกันวา” ซัคฮรา “อันเปน สถานที่ตั้งของก&อนหินซึ่งอัลลอฮฺทรงประทานให&แกนบียูซุฟ แตที่นั่นเปนสถานที่ทิ้ง ขยะของพวกคริ ส เตี ย นที่ รั ง เกี ย จชาวยิ ว ซึ่ ง คอยเอารั ด เอาเปรี ย บพวกคริ ส เตี ย น ตลอดเวลา ทานเปนประมุขของจักรภพอิสลามอันกว&างใหญไพศาลก็กลาวแกสังฆนายก วา” ขอไม&กวาดให&ฉันสักอันเถิด แล&วสังฆานายกก็ต&องตะลึงงันเมื่อเห็นประมุขแหง กองทัพอิสลามปHดกวาดสถานที่นั้นเสียจนเตียน ทานทํางานแบบเดียวกับกรรมกร หรือทาส ในที่สุ ดกองทัพ มุส ลิมก็ไ ด&ส ร&าง มั สญิดหลังหนึ่ง ณ สถานที่แหงนั้น มั ส ญิ ด แหงนั้ น ยั ง คงอยู จนทุ ก วั น นี้ โ ดยปวงชนทั่ ว ไป เรี ย กนามมั ส ญิ ด แหงนี้ ว า ”มัสญิดอุมัรฺ“ 185


และนี่แหละคือชีวิตของลูกผู&ชายที่เกิดมาชื่ออุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ

ตอมาในป7 ที่ สิ บ แปดแหงฮิ จ ญเราะฮฺ ศั ก ราช ขุ น พลอั ม ร อิ บ นุ อ าซได& ข อ อนุญาตตอทานอุมัรฺเพื่อเคลื่อนพอไปยังอียิปต% ทานอุมัรฺนั้นไมปรารถนาที่จะรุกราน ใครเลยแตเมื่อแมทัพอัมร อิบนุอาซจะเดินทางไปอียิปต% ทานก็อนุญาตให&คุมทัพไปได& สี่พันคน แตยังมิทันที่ทานแมทัพจะเดินทางไปอียิปต% เขาก็ถูกทานอุมัรฺเรียกตัวกลับมา เนื่องจากทานเห็นวาไมสมควรที่จะต&องเสียเลือดเนื้อมุสลิมโดยไมจําเปน แตแมทัพ อัมรเดินทางเข&าสูนครอียิปต%เสียแล&ว อียิ ป ต% ข ณะนั้ น อยู ภายใต& ก ารปกครองของกองทั บ ไบแซมติอั ม การสู& รบได& ดําเนินไปจนถึงหนึ่งเดือน แมทัพอัมรก็สามารถเอาชัยชนะได& เมื่อได&รับชัยชนะจาก อียิปต%ตอมากองทัพ ไบแซนติอั มก็ย อมจํ านน ทําให&เ ส&นทางของแมทัพอั มรสะดวก ยิ่งขึ้นในการเดินทัพไปข&างหน&า เมื่อทานแมทัพเดินทางตอไปถึงนครบาลกิลและสามารถยึเมืองไว&ได& บาลกิส เปนนครที่ประทับของพระราชธิดาแหงกษัตริย%อียิปต% ซึ่งอภิเษกสมรสกับโอรสของ กษัตริย%ไบแซนติอัม แตขณะนั้นพระสวามีของนางอยูที่ไบแซนติอัม และนางก็กําลัง จะเดินทางไปหาพระสวามีพร&อมด&วยทรัพย%สินอันมากมาย แตพระนางก็ถูกควบคุม ตัวไว&กอนโดยกองทัพมุสลิม แมทัพอัมรสงพระนางกลับไปหาพระราชบิดาของพระ นางที่อิยิปต% พร&อมด&วยทรัพย%สมบัติทั้งมวลของพระนาง กษัตริย%อียิปต%ทรงตื้นตันใน น้ําใจของแมทัพมุสลิมอยางยิ่งนัก แล&วแมทัพผู&มีทหารเพียงสี่พันคนก็รุดหน&าไปพิชิตจักรวรรดิไบแซนติอัมปLอม ปราการอันแข็งแกรงตั้งอยูทางตะวันออกของแมน้ําไนล% เปนปราการอันเหนียวแนน สําหรับพระราชวังของกษัตริย%อียิปต% ซึ่งตั้งอยูบนฝHUงตรงข&ามอีกฟากหนึ่งของแมน้ํา ไนล%

186


จอมจักรพรรดิแหงอียิปต%นั้นขังตัวเองอยูในปLอม แมทัพอัมรจึงล&อมปLอมนี้ไว& แมทัพเห็นวาการล&อมปLอมนี้คงต&องใช&เวลานาน เสบียงอาหารในกองทัพก็นับวันจะ รอยหรอลงแมทัพจึงมีสารถึงทานอุมัรฺขอกําลังเสริม ทานอุมัรฺก็สงทหารมาเสริมให& อีกหนึ่งหมื่นสองพันคน พร&อมด&วยขุนพลผู&เจนศึกคือทานสุบัยรฺผู&ทรงพลัง ทานสุบัยรฺ นํากองทัพจํานวนมากป7นขึ้นไปบนกําแพงปLอม แล&วกองทัพมุสลิมก็ร&องพร&อม ๆ กัน ด&วยเสียงอันดังวา “อัลลอฮฺอักบัร...อัลลอฮฺผู&เกรียงไกร” ซึ่งเปนการเขยาขวัญศัตรู อยางรุ นแรง จอมจั ก รภพขั งตั ว เองอยู ภายในปLอ มพระองค% เ สีย ขวั ญ จนไมมีกํ าลั ง พระทัยที่จะตอสู& จึงพาบรรดาเหลาทหารคูใจลงเรือซึ่งจอดซอนไว&ทางหลังปLอม ออกแลนหนีไปตามแมน้ําไนล%โดยทันที เมื่อสิ้นโลกําบังองค% ,กษัตริย%อียิปต%ก็สงทูตเข&าเจรจากับแมทัพอัมร แมทัพ อัมรให&ทูตพักอยูกับทานสองวัน เพื่อให&ทูตได&ศึกษาการดําเนินชีวิตตามแบบฉบับของ มุสลิมแล&วจึงสงความหวังฝากไปให&กับทูตถึงกษัตริย% เมื่อทูตเดินทางกลับถึงอียิปต% กษัตริย%ก็ตรัสถามวา “พวกมุสลิมเปนคนอยางไร” ทูตก็ทูลตอบวา “โอ& ...ทานผู&เปนกษัตริย% ชาวมุสลิมนั้นเปนประชาชาติ ซึ่งเราไมเคยนึกฝHน มากแตกอน เขาเปนประชาชาติที่รักความตายในวิถีทางของพระเจ&า ยิ่งกวาชีวิตของ เขาเอง เขารักการนอบน&อมถอมตนแทนการโอ&อวด เมื่อเราถามเขาถึงชัยชนะแตละ ครั้ง แตละที่แหงการรบคําตอบของเขาตรงกันหมดคือคําวา “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ...การ สรรเสริญเปนสิทธิอันชอบธรรมของพระเจ&า พวกเขาไมละโมภดังที่พระองค%ก็ทรง ทราบแล&วตอนที่เขานําพระราชธิดาและทรัพย%สมบัติที่เขาจับกุมไว&ได&ทั้งหมดคืนพระ ราชธิด า หากพวกเขามีน้ําใจเยี่ย งสั ตว%ปQาพระราชธิด าก็ ค งยอยยั บ ด&ว ยน้ํามือของ ทหารมุ ส ลิม จนสิ้น ใจ ทรั พ ย% ส มบั ติ อั น มหาศาลทหารมุ ส ลิม ก็ ค งยึ ดได&แ บงปH น กั น อยางปรีเปรม แตเขาไมกระทําเชนนั้นเพราะนบีของเขามีคําสั่งห&ามมิให&มุสลิมมีความ ละโมบ พวกเขาดูไมออกวาใครเปนขุนพลหรือพลทหาร เพราะเขานอนราบกระโจม เดียวกัน แตงกายเชนเดียวกันกับชาวเบดูอินบนหลังอูฐ เขาบริโภคอาหารรวมกับเรา 187


อยางให&เกียรติ ชีวิตของเขากินและนอนอยูบนดิน ตัวแมทัพนั้นไมมีเครื่องหมายอันใด ประดับอกเลยวาเขาคือแมทัพ พวกเขาไมมีความแตกตางกันระหวางนายกับบาว และเมื่อถึงเวลานมัสการซึ่งในวันและคืนหนึ่งเขาต&องนมัสการตอพระเจ&าห&าครั้ง เขา จะยืนแถวเรีย งหน&ากระดานเรี ย งหนึ่งโดยบาทุ ก บาเบีย ดกั นอยางเสมอภาค เพื่ อ นมัสการตอพระเจ&าพระองค%เดียวที่เขาเคารพภักดีรวมกัน” กษัตริย%ตรัสวา “หากการใช&ชีวิตของชาวมุสลิมเปนไปตามแบบฉบับนี้ เขาจึงสามรถกําชั ย ชนะได& ทุ ก ครั้ง ในการรบ ดั งนั้ น จึ งเปนการสมควรแล& ว ที่เ ราจะตกลงทํ า สั ญ ญา สันติภาพกับเขา” ดังนั้น กษัตริย%จึงทรงลงพระนามในสัญญาสันติภาพ ในสนธิสัญญานี้ชาว มุสลิมรับรองวาจักให&ความคุ&มครองแกชีวิตและทรัพย%สินของชาวเมือง ตลอดจนให& เสรีภาพในการนับถือศาสนาแกทุกคนตามที่ต&องการ และทางฝQายอียิปต%นั้นให&สัญญา วาจะรวมมือกับกองทัพมุสลิม ในการตอสู&กับจอมจักรพรรดิ์ไบแซนติอัม แนนอนที่สนธิสัญญาฉบับนี้จุดเพลิงพิโรธให&แกจักรพรรดิ์ไบแซนติอัมอยาง ที่สุด แตกษัตริย%อียิปต%ก็หาหวั่นเกรงแม&แตประการใด ปวงชนตางพากันพูดวา “เรา เคยถูกพวกไบแซนติอัมปกครองมาแล&ว สายตาที่พวกเขามองเรามองเราดังมองทาส กดขี่และปล&นสะดมประชาชน ขมขืนสตรีที่ปราศจากการตอสู& แตเมื่อรับมาปกครอง เรา เขาคบกับเราอยางมิตรอยางพี่น&อง เขารักษาสัญญาที่เขาทําทุกข&อโดยเครงครัด แล&วพวกเราจะกลับหรือไปกลัวไบแซนติอัมทําไมให&เสียเวลา” แตที่อียิปต%เองยังมีนครอีกนครหนึ่งคือนครอาเล็กซานเดรีย ซึ่งยังอยูในการ ปกครองของไบแซนติ อั ม เนื่ อ งจากอาเล็ ก ซานเตรี ย เปนเมื อ งทาที่ ง ดงาม มี กองทัพเรือไบแซนติอัมให&ความคุ&มครองอยางเหนียวแนน การที่จะเอาชัยชนะเมืองนี้ จึงเปนสิ่งที่ยากเย็นยิ่งนัก กองทัพมุสลิมล&อมเมืองนี้ถึงครึ่งป7ก็ไมสามารถนําชัยชนะได& แล&ววันหนึ่งแมทัพอัมรก็ได&รับสาส%นจากองค%ประมุขแหงจักรภพอิสลาม แมทัพยินดีเปนอยางยิ่ง ,เพราะสารทุกฉบับที่สงมาจากจอมทัพนั้นเปนการให& ทั้งกําลังความคิดกําลังใจในการตอสู& เขาเรียกทานสุบัยรฺมาอานด&วย กอนที่ทั้งสอง คนจะฉีก สาส%นของทานเคาะลีฟ ะฮฺ อ อกอาน ทานสุ บั ย รฺ ก ลาววา “ด&ว ยพระนาม 188


ของอัลลอฮฺผู&ทรงไว&ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณ ผู&ทรงไว&ซึ่งพระมหาเมตตาธิคุณ ข&าพเจ&า เชื่อเหลือเกินวาข&อความในสาส%นของทานเคาะลีฟะฮฺจักชี้ทางแหงชัยชนะมาสูพวกเรา” ข&อความในสาส%นนั้นมีวา สหายรัก กองทัพมุสลิมไมเคยใช&เวลานานถึงเพียงนี้ในการรบทุกครั้ง แตเรามิได&ลงโทษ ทาน เรายั งขอบใจทานและทหารทุก คนที่อุ ตสาห%ล&อมนครอเล็ กซานเดรียไว&อยาง ทรหดอดทน แตมีสิ่งหนึ่งที่เราสังหรณ%ใจอยู สิ่งสังหรณ%ใจนั้นก็คือเราเกรงวา กองทัพมุสลิมของเราคงจักมิได&ปฏิบัติตาม คําสั่งของพระเจ&า ไมได&ปฏิบัติตามแบบฉบับอันเลิศยิ่งของทานนบีโดยเครงครัดดังนั้น ขอให&ทานจงประกาศเรื่องนี้แกบรรดาทหารทุกคนให&พึงสังวรในข&อบกพรองข&อนี้ ทานจงตักเตือนเขาให&อยูในความซื่อสัตย% ปลุกใจเขาให&อยูในความเข&มแข็ง อบรมเขา ให&ยึดมั่นอยูในความอดทน และแนะแนวทางให&เขาเปนนักรบที่ดี จงทําการโจมตีเปน ครั้งสุดท&ายตอข&าศึกด&วยการรวมกันระหวางนายทัพทุกคนและพลทหาร ทั้งนี้ให&ลง มือปฏิบัติการรบโดยพร&อมเพรียงกัน จากสหายของทาน / เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ

ทันทีที่ทานสุบัยรฺได&อานสาส%นจากทานอุมัรฺจบลง ทานก็กลาววา “ทานเคาะลีฟะฮฺอยูถึงนครมาดีนะฮฺ ทานนึกสังหรณ%ในอยางใดวากองทัพของ เรา คงจะหยอนวินัยตามที่ได&บัญญัติไว&ทางศาสนา ทหารของเราบางกลุมบางเหลาที่ กางกระโจมอยูสุดสายตาเหลานั้น อาจจะขาดการนมัสการตอพระเจ&าตรงตามเวลา เพราะแม& แ ตกํ า ลั ง ประชิ ด ติ ด พั น กั บ ข& า ศึ ก กลางสมรภู มิ ทหารทุ ก คนยั ง ต& อ ง ผลัดเปลี่ยนเวรกันนมัสการแตเมื่อตั้งกองทัพไว&กับที่เชนนี้โดยปราศจากการรบทุกวัน จะหาเหตุผลอันใดมาอ&างวาเขาไมสามารถที่จะนมัสการตอพระเจ&าตรงตามเวลาได& แมทัพสหายรัก ข&าพเจ&าคิดวาทานควรรีบอานสาส%นของเคาะลีฟะฮฺให&ทหารทุกคนฟHง ในขณะเดียวกันกับที่เราเริ่มระดมพลได&แล&ว” 189


ทานแมทัพเห็นด&วยกับความคิดของทานสุบัยรฺ ทานแมทัพจึงเรียกทหารมา ชุมนุมแล&วอานสารจากทานอุมัรฺให&ทหารฟHง ทหารหลายร&อยคนก&มหน&าลงยังพื้นดิน ด&วยความสงบและสํานึกผิด หลังจากนั้นทานก็สั่งทหารให&ลงมือโจมตีอาเล็กซานเด รียในวันรุงขึ้นทันที เพียงชั่วเวลาไมนานนัก อาเล็กซานเดรียก็แตกพายยับเยิน ทานแมทัพสั่งให& ทหารของทานรีบนําขาวชัยชนะครั้งนี้ไปแจ&งตอทานอุมัรฺ ทหารสงขาวเดินทางไปถึง นครมาดีนะฮฺในเวลากลางวัน ซึ่งตรงกับเวลาเที่ยงวันพอดี ทหารไมกล&ารบกวนทาน อุมัรฺในขณะนั้น จึงนั่งเฝLาคอยทานอุมัรฺอยูภายในมัสญิดดิลนบี แตทหารคนหนึ่งไป แจ&งแกทานอุมัรฺวามีทหารเพิ่งเดินทางมาจากอาเล็กซานเดรีย ทานก็รีบวิ่งออกมาพบ กับทหารผู&นั้นและดุวา ทําไมทานจึงไมดวงไปฟาโรโดยรีบดวน ทหารนําสารก็ตอบวา “ข&าพเจ&าคิดวาทานอาจจะพักผอนและงีบหลับไป” ทานอุมัรฺหัวเราะเสียงกร&าว “ความคิดของทานเปนความคิดที่นาสงสารและ นาเวทนา คนอยางอุมัรฺจะหลับตานอนในเวลากลางวันได&อยางไร เพราะหากวาเรา นอนหลับในเวลากลางวัน แล&วใครเลาจะคอยดูกิจการตาง ๆ ของรัฐ” บัดนี้กองทัพมุสลิมก็ได&รับชัยชนะอียิปต%โดยสมบูรณ%แล&ว แมทัพอัมร อิบนุ อาซได&จัดการสร&างนครขึ้นนครหนึ่งริมฝHUงแมน้ําไนล% เพื่อเถลิงชัยชนะอันยิ่งใหญนี้ และเขาได&ส ร&างมั ส ญิด หลังใหญขึ้นกลางใจเมือง และให&นามเมืองนั้นวา “นครฟุ สตอส” อีกหลายป7ตอมากรุงไคโรก็ได&ถูกสร&างขึ้นเคียงข&างกับกรุงฟุสตอสนี้และกอนป7 ที่ยี่ สิ บ สามแหงฮิ จ ญเราะฮฺ ศั ก ราช แมทั พ อั ม ร อิ บ นุ อ าซ ก็ นํ า ทั พ พุ งไปทางทิ ศ ตะวันออกจนถึงชานนครตริโปลีแหงอาณาจักรโรมันของอิตาลีในทวีปยุโรป ชาวเมืองคริสเตียนในสมัยนั้นยังนับถือศาสนาคริสเตียน แตบางกลุมก็ยังมี พิธีกรรมอันปQาเถื่อนเหลืออยู พวกชาวเมืองจะจัดงานฉลองประจําป7ครั้งยิ่งใหญในทุก ฤดูร&อน ในวันงานจะมีการเฉลิมฉลองครั้งยิ่งใหญ และงานนี้จะสิ้นสุดลงดวยพิธีการ ที่น าสยองขวั ญ โดยการบู ชายั ญ พิ ธี บู ชายั ญ นี้ จ ะคั ด เลื อ กหญิ ง สาวที่ ง ดงามและ บริสุทธิ์ในชุดวิวาห%อันสวยหรูแล&วหญิงคนนี้ก็จะถูกโยนลงไปในกระแสน้ําไนล%อันไหล เชี่ยวกราก การที่ชาวเมืองมีพิธีการเชนนี้เพราะพวกเขามีความเชื่อถือกันวา การ 190


บวงสรวงเชนนี้เปนที่ปรารถนาของแมน้ําไนล%ทุกป7เพื่อมิให&แมน้ําไนล%กริ้วโกรธ มิฉะนั้น แล&วแมน้ําไนล%ก็จะไมไหลสงกระแสน้ํามาเลี้ยงชีวิตชาวอียิปต%อีกตอไป ดังนั้น เมื่อเทศกาลดังกลาวมาถึง ชาวเมืองอียิปต%ก็ขออนุญาตอขุนพลอัมร อิบนุอาซเพื่อกระทําการพิธีบูชายัญตามประเพณี แตแมทัพอัมรไมอนุญาตให&มีพิธี การอันทารุณและโหดร&ายเชนนี้ และบังเอิญในป7นั้นสายน้ําไนล%ก็มีน้ําไหลน&อยที่สุด กวาทุกป7 พืชผลตางในไรอับเฉาและเหี่ยวแห&งตามลง เกษตรกรเปนจํานวนมากต&อง อพยพละทิ้งถิ่นฐานไปอยูเมืองอื่นผู&แทนชาวเมืองจึงขอเข&าพบทานแมทัพอัมร “ทานแมทัพ...ขณะนี้ทานก็แลเห็นแกสายตาของทานเองแล&ววาหลังจากที่ทาน ห&ามมิให&เรามีพิธีการบูชายัญ สายน้ําไนล%ก็ได&หยุดไหลลงแล&วเพราะทานขัดขวางพิธี การบูชายัญ ทานลืมข&อตกลงในสนธิสัญญาแล&วหรือในข&อที่วา กองทัพของทานจะ ให&สิทธิเสรีภาพแกชาวอียิปต%ทุกคนในการนับถือศาสนา แตการสั่งห&ามพิธีบูชายัญก็ เทากับทานขัดขวางความเชื่อมั่นและขัดขวางพิธีการที่บรรพบุรุษของพวกเราเคยทํามา ทุกป7จนมาถึงสมัยของเรา” “ถูกต&องของทาน...ตามสนธิสัญญาเราระบุวาจะให&สิทธิเสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เพราะอิสลามห&ามมิให&มีการบังคับให&ใครต&องมาน&อมรับศาสนาอิสลาม พิธี การที่ท านวาเรายอมให&ทุ ก อยาง แตในสนธิสั ญ ญาฉบั บ เดีย วกั นก็ ระบุ ว ากองทั พ มุสลิมจักต&องให&ความคุ&มครองชีวิตและทรัพย%สินของชาวอียิปต%ทุกคน พวกทานนึก ถึงหญิงสาวที่ถูกโยนลงไปในสายน้ําหรือไม เธอพอใจหรือที่พวกทานจับเธอโยนลงไป ให& จ มน้ํ า ตายโดยที่ เ ธอไมมีค วามผิ ด อั น ใดเลย เธอยั ง มี ชี วิ ต มี ล มหายใจอยู อยาง เดียวกับพวกทาน เราทราบวาทุกป7เธอเหลานั้นร&องไห&ด&วยน้ําตาอาบหน&าที่ถูกบังคับ ให& ก ระทํ า เชนนั้ น เธอก็ เ ปนชี วิ ต ที่ เ ราต& อ งให& ค วามคุ& ม ครองตามสนธิ สั ญ ญา เชนเดียวกัน” แล&วแมทัพอัมรก็มีสารนําเรื่องนี้ไปปรึกษากับประมุขแหงจักรภพอิสลามทาน อุมัรฺยอมรับวาการกระทําของแมทัพอัมรเปนสิ่งถูกต&อง พิธีบูชายัญสมควรที่จะใช&กัน ระหวางชาวปQามิใชชาวเมือง และไมควรนํามาใช&ในดินแดนที่อิสลามปกครองอยู เพราะมันขัดตอหลักการศาสนาและเปนการกระทําที่ปราศจากคุณธรรม

191


ตกดึกทานอุมัรฺก็ได&รางสาส%นขึ้นฉบับหนึ่ง และในวันรุงขึ้นทานอุมัรฺก็สั่งให& ทหารนําสาส%นฉบับนี้ไปให&แมทัพอัมร แมทัพอัมรและแมทัพสุบัยรฺรับสาส%นฉบับนั้นมา จากทหาร โดยซองจดหมายนั้นป[ดผนึกไมมีการจาหน&าซองถึงแมทัพคนใดทั้งสิ้น มี เพียงคําสั่งที่จอมทัพสั่งมากับทหารเทานั้นวาให&อัมร อิบนุอาซนําจดหมายฉบับนี้ไป วางเหนือสายน้ําไนล% “จอมทัพของเรานี่ชางมีความแปลกประหลาดโดยแท& ทานสงสาส%นมาให&เรา วางบนสายน้ํ า ไนล% ทานปรารถนาให& จั ก รพรรดิ์ อ งค% ใ ดได& รั บ หรื อ ทุ ก วั น นี้ ก็ ไ มมี จักรพรรดิคนใดอีกแล&วนอกจากทาน เราอยากทราบนักหนาวาข&อความในสาส%นนั้นมี ประการใด” “ทานจอมทัพของเราไมใชผู&เสียสติ…การกระทําทุกอยางของทานมีสัจธรรม เสมอ ทานแมทัพ...คอยดูสิวาอะไรจะบังเกิดขึ้นเมื่อเราได&ทําตามคําบัญชาของจอม ทัพอยางเรียบร&อยแล&ว” ทานสุบัยรกลาวแกแมทัพ หลังจากสารฉบับนั้นวางลงเหนือแมน้ําไนล%ได&เพียงวันเดียว ในวันรุงขึ้นแมน้ํา ไนล%ก็ไหลเชี่ยวกรากมาจนล&นฝHUง อันเปนประวัติการที่ไมเคยปรากฏมาแตกอนในชั่ว ชีวิตของชานเมือง ดินแดนอียิปต%กลับเขียวชอุมไปด&วยพืชพรรณนานาพันธุ% บรรดา เกษตรกรทั้งสิ้นตางก็เอิบอิ่มใจกันถ&วนหน&า ผู&แทนชาวเมืองขอพบแมทับอัมรอีกครั้ง ถามแมทัพอัมรวา “โอ&ทานแมทัพมุสลิม จอมทัพของทานเปนผู&เชี่ยวชาญคาถาอาคมด&วยหรือ” “ตรงกันข&าม...ศาสนาอิสลามห&ามอยางยิ่งในเรื่องการใช&เวทมนต%หรือการใช& อาคม จอมทัพของเรามิใชเปนเพียงจอมทัพอยางเดียว ทานยังเปนผู&นําทางศาสนา ของเราด&วยเราเชื่อวาทานอุมัรฺคงวิงวอนขอพรตอพระเจ&ามากกวา และตอไปนี้ทาน เชื่อหรือยังวาแมน้ําไนล%ไมปรารถนาชีวิตของหญิงสาวบริสุทธิ์อีกตอไป เราขอรับรอง ด&วยพระนามของอัลลอฮฺวาพิธีการบูชายัญของพวกทานควรเลิกได&แล&ว พอแมของ หญิงสาวที่ต&องสูญเสียลูกรักในการบูชายัญจะไมมีการเสียน้ําตาอีกตอไป” ผู&แทน ชาวเมือ งตางก็ รับ คํ า พิธี ก รรมอั นปQาเถื่อ นที่ก ระทํ า กั นทุ ก ป7 มานานนั บ ศตวรรษก็ สิ้นสุดลงตั้งแตนั้นตราบจนเทาทุกวันนี้

192


ข&อความในสารที่ทานจอมทัพอุมัรฺสั่งให&แมทัพอัมรวางลงบนสายน้ําไนล%นั้นมี ข&อความดังนี้ “สารนี้เขียนขึ้นด&วยมือของผู&เปนทาสแหงอัลลอฮฺพระผู&เปนเจ&า เขียนขึ้นด&วย มือของผู&ที่ทําหน&าที่เปนประมุขแหงมุสลิม โอ&...สายน้ําไนล%อันขึ้นชื่อลือชาเอSย ถ&าการไหลหรือหยุดไหลเปนไปตามความ ตั้งใจของทานแล&ว ก็จงหยุดไหลตอไปเถิด แตหากการไหลมาของทานนั้ น เปนไปตามบั ญ ชาของพระผู& เ ปนเจ& า ผู& ท รง อํานาจเหนือสรรพสิ่งทั้งปวงแล&ว ข&าพระองค% อุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบขอวิงวอนตอ พระเจ&าได&ทรงโปรดให&แมน้ําไนล%ไหลมาเชนเดิม จากเรา...ทาสของอัลลอฮฺ อุมัรฺ อิบนุล คอฎฎอบ

ภายในห&องพิพากษาของศาลสถิตยุติธรรมแหงนคร จําเลยคนหนึ่งได&ก&าวเดิน เข&าสูคอกให&การด&วยความนอบน&อมถอมตน หลังจากนั้นไมนานนักบรรดาผู&พิพากษา ผู&ทรงไว&ซึ่งความยุ ติธรรม ก็ได&ก&าวเดินออกจากห&องผู&พิพากษามานั่ งบนบัลลั งก% กอนที่ทุกคนในห&องจะต&องยืนให&ความเคารพตอทานผู&พิพากษาตามขนบธรรมเนียม ประเพณี บรรดาผู& พิพ ากษาทั้ งคณะกลั บ รี บ ก&ม ศีรษะให&ค วามคารวะตอจํ าเลย จําเลยซึ่งแตงกายแบบชาวอารเบียสามัญชนทั่วไป มองหน&าคณะผู&พิพากษาทุกทาน เปนเชิงตําหนิและตักเตือน กลาวถามคณะผู&พิพากษาวา “เราเปนสามัญชนธรรมดาคนหนึ่งเชนเดียวกันกับโจทย% เราจะต&องให&การคา ระแกทานกอนตามขนบธรรมเนียม แล&วเหตุไฉนเลาทานจึงมาแสดงความคารวะแก เรากอนเชนนี้” “แตทานเปนทั้งองค%เคาะลีฟะฮฺผู&นําแหงนคร และผู&นําทางศาสนาแกปวงชน พวกเราจึงต&องให&เกียรติแกทาน อีกประการหนึ่งแทนที่พวกเราจะไปไตสวนคดีนี้ใน 193


ท&องระโรงของทานในฐานะที่ทานเปนผู&ปกครองสูงสุดของชาติและจักรภพอรับ ทาน เองกลับมายังศาลเองตามแบบสามัญชนทั่วไป” “เราจะเปนใครก็ตาม...แตในสถานที่ที่ทุกคนหวังพึ่งในความยุติธรรมเชนนี้ ทานควรให&ความยุติธรรมแกทั้งฝQายโจทก%และจําเลยโดยเทาเทียมกั น โดยเฉพาะ อยางยิ่งวันนี้เราตกเปนผู&ต&องหาในฐานะจําเลยอีกด&วย การแสดงออกของทานซึ่งมี ตอเราเชนนี้ยอมไมเปนการยุติธรรมแกฝQายโจทก% โปรดลืมเสียวาขณะนี้เราเปนใคร จงถามเราถึงทุกสิ่งทุกอยางที่โจทก%กลาวหา เราขอเอาเกียรติยศของชายธรรมดาคน หนึ่งที่มีชื่อวาอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ จะให&การแกทานด&วยความสัตย%จริงทุกประการ และหากวาเรามีความผิดจริงตามคําฟLองร&องของโจทก% ขอให&ทานตัดสินพิพากษาใน สถานหนักที่สุด โดยที่เราจักไมขออุทธรณ%หรือฎีกาแตอยางใด” ภายในห&องเงียบกริบเมื่อได&ฟHงคํากลาวของประมุขของเขา เพราะตางก็คาด ไมถึงวามหาราชผู&ครองอาณาจักรหลายอาณาจักร จะแสดงความนอบน&อมถอมตน ตอความยุติธรรมถึงเพียงนี้ ทานเคาะลีฟะฮฺกลาวตอไปอีกวา “การที่เราเดินทางมา ศาลด&วยตนเองก็เชนกัน เพราะเราอดที่จะคิดภาพพจน%ไมได&วา ในขณะที่คณะของ ทานไปซักถามเราในขณะที่เรานั่งบนบัลลังก%ในฐานะผู&นําจักรภพ แตโจทก%กลับต&อง มายืนให&การฟLองร&องเรา สิ่งหนึ่งที่เราชิงชังอยางยิ่งในชีวิต สิ่งนั้นก็คือการทะนงตน และการไมธํารงความเปนธรรม” นี่เปนอีกเสี้ยวหนึ่งแหงชีวิตของทานเคาะลีฟะฮฺผู&เกรียงไกร ซึ่งในสมัยที่ทุก ประเทศกําลั งเรียกตนเองวาเปนประเทศประชาธิป ไตย แตศาลยั งไมอาจเรีย กตั ว ประมุขของรัฐมายังศาลได&โดยหมายศาลธรรมดา เมื่อการสอบสวนคดีนี้เสร็จสิ้นโดย บรรดาคณะผู&พิพากษาและทุกคนในห&องพิพากษามีความเห็นต&องกันเปนเอกฉันท%วา ทานเคาะลีฟะฮฺมิได&เปนฝQายผิด และแม&แตโจทก%เองก็ยอมรับวาตนเองเข&าใจผิดในการ ยื่นฟLองร&องทานผู&เปนประมุขของชาติและศาสนา โจทก%เองถึงแกตัวสั่นด&วยความหวั่น กลัววาคนจริงอยางทานอุมัรฺจะต&องตอบแทนตนด&วยความแค&น ทานอุมัรฺกลับเดิน ตรงไปหาโจทก% วางมือ ของทานบนบาของโจทก%และกลาววา “อัล ลอฮฺ จะทรงให& ความปราณี แ กทุ ก คน ซึ่ ง บอกให& ข& า พเจ& า ทราบถึ ง ความผิ ด พลาดทั้ ง หลายของ ข&าพเจ&า” 194


ความปรารถนาอันสูงสุดในชีวิตของทานนั้น ทานปรารถนาที่จะแลเห็นพระ ธรรมของศาสนาอิสลามอันพิสุทธิ์ หลั่งไหลไปสูชนทุกชั้นและทุกชุมชน ประชาชนจะ พบทานได&ทุกเวลาที่เขาต&องการ แม&คนที่มาขอพบทานนั้นเปนคนยากจนอนาถาหรือ ต่ําต&อยทางสังคมขณะที่ทานเดินอยูตามท&องถนนคนขอทานก็สามารถเรียกให&ทาน หยุดพูดกับตนได& เขาสามารถที่จะถามทานวาทําไมทานจึงใช&เขาทําสิ่งนั้นสิ่งนี้ หรือ สามารถแม&แตจะถามวาทําไมทานอุมัรฺจึงไมทําสิ่งนั้นสิ่งนี้ ทานเองก็จะหยุดยืนฟHง อยางสงบและให&คําอธิบายจนผู&นั้นพอใจในคําตอบของทาน วันหนึ่งขณะที่ทานนั่งอยู ในท&องพระโรง ทามกลางบรรดาข&าราชบริพารผู&สูงศักดิ์ มีเสียงหญิงเดินถนนคนหนึ่ง ตะโกนข&ามกําแพงวังด&วยเสียงดังวา “โอ&...อุมัรฺ จงเกรงกลัวตอพระเจ&า” มหาดเล็ก รีบปราดออกมาเพื่อจับกุมหญิงนั้น แตทานอุมัรฺกลับยิ้มอยางอารมณ%เย็นและกลาว วา “ชางนางเถิด ดีแล&วที่นางจะได&เปนคนคอยเตือนสติฉัน” ทานมีความปราถรนาที่จะให&ประชาชนรักและหวงแหนระบบประชาธิปไตย สิ่งที่ทานเปนหวงที่สุดก็คือการปกครองของจักรวรรดิอิหรานและไบแซนติอุมในสมัย นั้น ซึ่งปกครองโดยระบบเผด็จการหรือคณาธิปไตย ทานอาทรวาลัทธินี้จะแทรกซึม เข&าสูจิตใจประชากรที่ทานทําหน&าที่ปกครอง ทานจึงออกคําสั่งอยางเฉียบขาดที่สุด ห&ามมิให&เจ&าเมืองใด ๆ ปลีกตัวออกหางจากประชาชน ครั้งหนึ่งทานเรียกเจ&าเมืองทุก เมืองมาประชุม ทานกลาววา “หากเมืองที่ทานทําหน&าที่ปกครองอยูปราศจากประชากร พวกทานจะได&รับ การแตงตั้งเปนเจ&าเมืองไหม ?ดังนั้น ทานจะต&องนึกถึงพระคุณของประชาชน เราสง พวกทานไปปกครองประชาชน ทานจะต& อ งทํ า หน& า ที่ ทั้ ง ปกปL อ งและครองน้ํ า ใจ ประชาชนเอาไว&ให&ได&ถึงแม&ทานจะเปนเจ&าเมืองแตในความเปนจริงทานก็เปนสามัญชน เชนเดียวกับพลเมืองทั้งหลายจงบริโภคอาหารดังเชนชาวเมืองบริโภคอยาให&ดีไปกวา นั้น จงสวมเสื้อผ&าธรรมดา ๆ เหมือนอยางเราสวมใสอยูอยางที่ทุกทานก็เห็นแล&ว อยาตบแตงที่พํานักของทานให&เปนแบบคฤหาสน% เพราะนั่นเปนการกีดกันประชาชนที่ จะไปร&องทุกข%ตอทาน จงทําตัวของทานให&สมกับที่เราไว&วางใจ และจงจําคําพูดของ เราให&จงดี เราจะถอดยศทุกทานทันทีหากเราทราบแนนอนวาทานรังแกประชาชน”

195


“ลูก ของเราก็ มีอ ยู คือ อั บดุ ล เลาะฮฺ ทํ าไมเราจึงไมยกตํ าแหนงเจ&าเมือ งสั ก เมืองหนึ่งให&แกลูก ทั้ง ๆ ที่ลูกของเราก็ตอสู&เพื่อศาสนารวมกับทานนบีเมื่อทานนบียัง มีชีวิตอยู ทั้งนี้เพราะเราเกรงวาเราอาจจะต&องแบกบาปของลูก หากลูก ของเราไป ปกครองบ&านเมืองโดยขมเหงประชาชน” บรรดาเจ&าเมืองตาง ๆ เงียบกริบเพราะทราบดีวาคนอยางทานอุมัรฺนั้นได&รับ สมญานามจากทานนบีวา “ฟารุค” คือผู&สามารถแยกความจริงกับความเท็จ เจ&า เมืองทุกคนจึงน&อมรับคําบัญชาของทานไปปฏิบัติตามโดยเครงครัด แม&กระนั้นด&วยความเปนหวงเปนใยตอประชาชน ทานจะสงตัวแทนของทาน แอบไปสังเกตการณ%พฤติกรรมของเจ&าเมืองทุกคนบนจักรภพอิสลามอันไพศาล และ ให&รายงานเหตุการณ%ตาง ๆ ให&ทานทราบทุกระยะโดยไมต&องหวั่นเกรงใคร และวัน หนึ่งทานก็ได&ทราบขาวที่ทําให&คนเชนทานถึงแกตลึงงง เมื่อทราบวาเจ&าเมืองคนหนึ่งที่ ทานรักทุจริตตอหน&าที่ราชการใช&อํานาจปกครองกดขี่ประชาชน ทานเรียกเจ&าเมืองผู& นั้นมาพบทานทันที เจ&าเมืองในเครื่องแบบเต็มยศมาเฝLาทานที่นครมาดีนะฮฺ โดยที่ ทานผู&มีอํานจสูงสุดของจักรภพแตงกายด&วยเสื้อผ&าธรรมดา ทานเรียกเจ&าเมืองมา สอบสวนอยางละเอียดและให&ความเปนธรรม จนที่สุดเจ&าเมืองนั้นถึงแกหน&าซีดสลด ด&วยจํานนตอหลัก ฐานที่ทานอุมัรฺมีอ ยูในมือ ทานเคาะลีฟะฮฺ ยิ้มอยางเศร&า ๆ และ เยือกเย็นถามเจ&าเมืองวา “เราทราบข&อเท็จจริงในเรื่องนี้ตั้งแตทานเดินทางมาหาเรา ทานสวมเสื้อแพร อันงดงามในฐานะเจ&าเมือง มาพบเราซึ่งเปนทั้งเคาะลีฟะฮฺและผู&นําจักรภพ ซึ่งสวม เสื้อผ&าด&วยฝLายหยาบ ๆ ดังนั้น จงคิดถึงคําพูดของเราที่เคยกลาวในที่ประชุมบรรดา เจ&าเมือง ถอดเสื้อแพรที่ทานสวมอยูออกเสีย คืนเหรียญตราประดับอกอันแพรวราว ของทานสงเข&าท&องพระคลัง และหน&าที่ปกครองของทานตอไปก็คือทานจงไปเปนคน เลี้ยงแกะกลางทะเลทราย”

196


ตลอดระยะเวลาหนึ่งศตวรรษที่ทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺครองราชย% ยุคนี้คือยุค ทองในหน& าประวั ติ ศ าสตร% อิ ส ลามโดยแท& หากจะเปรี ย บถึ ง การวิ วั ฒนาการของ ศาสนาอิสลามทานนบีมูฮัมมัด ) ซ็อลฯ (เปนมือแรกที่สุดที่พรวนดินตลอดจนหวาน เมล็ ด พืชด&ว ยการเสีย สละอั นสู งสงจนตนเองเกือ บวายชนม%ใ นสนามรบ ทานเคาะ ลีฟะฮฺอบูบกัรเปนมือที่สองที่พยายามรดน้ําและทะนุบํารุงรักษาพฤกษาชาติที่ทานนบี ปลูกไว& และในยุค ของทานเคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺทานเปนผู&ที่ขยายแพรพันธุ%พฤกษชาติที่ ทานนบี ป ลู ก ไว& และในยุ ค ของทานเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ มั รฺ ท านเปนผู& ที่ ข ยายแพรพั น ธุ% พฤกษชาตินี้อยางกว&างใหญไพศาล จนประวัติศาสตร%สากลยอมอุทิศยุคนี้ให&เปนภาค หนึ่งในหน&าประวัติศาสตร% เรียกกันวา “ยุคทองของอิสลาม” ความสําเร็จในชีวิตของทานมหาราชทานนี้ขึ้นอยูกับสิ่งสูงสุดสองประการ ประการแรกคือ ความนอบน&อมถอมตนตออัลลอฮฺ ประการที่สองคือความรักและ ผูกพันอันลึกซึ้งที่ทานมีตอทานนบี ทานปฏิบัติตามโอวาทและจริยวัตรของทานนบีทุก อยางด&วยความหวังที่จะเทิดทูนพระนามของพระเจ&าและทานนบี สวนตัวทานเองนั้น ทานเองมิได&หวังอันใดเลย ทรัพย%สินจากอาณาจักรตาง ๆ ที่ทานได&รับชัยชนะในการสู& รบ ทรัพย%สินทุกชิ้นนั้นจะถูกนําไปรักษาไว&ยัง ณ ท&องพระคลังหลวง โดยทานไมเคย สัมผัส แตะต&องหรือ แม&แตจะให&ลูก เมีย ได&สั มผัส แตะต&อง ทานขอรับเพียงเงินเดือ น เพีย งน& อ ยนิด เพื่ อ ยั งชีพ ลู ก และภรรยาของทานต& อ งทํ า งานหาเลี้ ย งชีพ ชวยเหลื อ ตนเองและครอบครัว ทานมีชีวิตอยางสมถะที่สุดแทบจะเรียกได&วานอนกับดินกินกับ ทราย พระราชวั ง ของทานคือ กระทอมและท& อ งพระโรงของทานคื อ ลานระเบี ย ง มัสญิดิลนบีอยางที่ทานนบีเคยใช& ทานสวมเสื้อผ&าอาภรณ%แบบเดียวกับทานนบีสวมใส มีอยูครั้งหนึ่งกษัตริย%ฮุรมุซานแหงเมืองหะหวัสได&เดินทางมาเฝLาทาน เมื่อเขาก&าวเข&า มายั งลานมัส ญิด เขาไมทราบเลยวาทานผู&เปนเคาะลีฟะฮฺนั่งอยู ที่ไ หนฮุรมุซ านสวม มงกุฎเพชรและอาภรณ%อันแพรวพราววาววับ มองไปที่แทนหินซึ่งสูงกวาพื้นทราย เพียงครึ่งศอก เขาก็พบแตรางของชายคนหนึ่งที่สวมเสื้อผ&าทออยางหยาบ ๆ และมี รอยปะหลายรอย เขาจึงถามทุกคนวา “เคาะลีฟะฮฺของทานอยูที่ไหน” แล&วเขาก็ ต&องงงงันเมื่อชายในเสื้อผ&าที่เกาและมีรอยปะนั้นกลาวแกเขาวา “เรานั่งรอทานอยูที่นี่ แล&ว ...ฮุรมุซาน ,เชิญมานั่งบนแทนหินแทนเดียวกับเราเถิด เพราะเราไมมีพระราช 197


อาสน%ไว&คอยรับแขก” กษัตริย%ฮุรมุซานถึงแกต&องถอนใจเมื่อทรุดตัวลงนั่งบนแทนหิน อันแข็งกระด&าง ทานอุมัรฺกลาววา “แม&แทนหินนี้จะเปนเพียงแทนหินที่แข็งมิใชหิน ออน แตก็เปนบังลังก%ที่ทานนบีมุฮัมมัดได&ใช&มันจนวาระสุดท&าย รวมทั้งเปนบัลลังก%ที่ ทานเคาะลี ฟ ะฮฺ ค นแรกคื อ ทานอบู บั ก รอั ส ซิ ด ดิ ค เคยนั่ ง วาราชการจนทาน สิ้นพระชนม% ทานแรกเปนนบีของพระเจ&า ทานที่สองเปนมิตรรักของทานนบี แล&วเรา เปนใครกันเลา เราเปนเพยงทาสของพระเจ&าเปนเศาะหาบะฮฺผู&สัตย%ซื่อตอนบี เปนผู& คอยให&ค วามชวยเหลือ ทานอบู บ กั รบางครั้งบางคราวเทานั้น เราจะนั่ งสู งกวาที่ที่ ทานนบีและมิตรรักของทานเคยนั่งได&อยางไร” กษัตริย%ฮุรมุซานกลาววา “ตอนนั้นอิสลามแพรขยายอยูในคาบสมุทรอารเบีย แตขณะนี้อิสลามก&าวเท&าไปเหยียบยุโรปแล&ว ทานมีสิทธิที่จะวางตนให&สมศักดิ์ศรี” ทานอุมัรฺตอบวา “ศักดิ์ศรีของเรานั้นสูงสงจนเกินพอแล&ว ศักดิ์ศรีที่เรากลาวนี้คือ การเปนทาสของอัลลอฮฺ” เมื่อทานสงทูตไปเจริญ พระราชไมตรีกับ ผู&ค รองอาณาจั กรตาง ๆ ครั้งหนึ่ง ภรรยาของทานได&มอบน้ําหอมขวดเล็ก ๆ ขวดหนึ่งฝากให&แกทูตไปถวายมเหสีจอม จักรพรรดิ์ไบแซนตินจอมจักรพรรดิ์ไบแซนตินเปนจักรพรรดิผู&ยิ่งใหญพอพอกับทาน อุมัรฺ ดังนั้น ของขวัญที่มเหสีของจักพรรดิ์ไบแซนตินสงมาถวายภรรยาทานอุมัรฺเปน การตอบแทนคือสร&อยไขมุกอันล้ําคา ทานสั่งให&เก็บสร&อยไขมุกนั้นไว&ในท&องพระคลัง ทันที โดยทานกลาวแกภรรยาของทานวา “ทู ตเดินทางไปโดยคาใช&จายของรั ฐ ดังนั้น ทุกสิ่งที่ทูตได&มายอมต&องเปนของรัฐโดยชอบธรรม” ทานจะหมั่นไปเยี่ยมเยียนของเบดูอินที่เรรอนกลางทะเลทรายอยูทุกวัน จริง อยูแม&คนเหลานี้จะเปนคนที่มีฐานะต่ําต&อยทางสังคม แตทุกคนก็เปนประชากรของ ทาน คืนหนึ่งทานเดินทางไปตรวจตามกระโจมตาง ๆ ที่กางอยูกลางทะเลทราย ทาน ได&เ ดินผานกระโจมแหงหนึ่งก็ ได&ยินเสียงผู&หญิงและเด็ กร&อ งไห& ทานคอย ๆ แหวก กระโจมออกและถามวา “นางร&องไห&ทําไมหรือ” “เรากําลังน&อยใจและแค&นใจตอเคาะลีฟะฮฺ ผู&ซึ่งหมั่นเอาใจใสเฉพาะปวงชน ในนคร โดยละลืมชีวิตที่พเนจรอยูกลางทะเลทราย ดูสิแม&แตขนมปHงหรือข&าวสาลีสัก กํามือหนึ่งในกระโจมของเรายังไมมี แล&วเราจะนําน้ํานมที่ไหนมาให&ลูกดื่มได&” 198


ทานอุ มั รฺรี บ เดิน ทางกลั บ บ& านทั น ที ทานแบกถุ งข&า วสาลี พ าดบาและชวน ภรรยาไปด&วย เมื่อเดินทางมาตามถนนมีผู&ขออาสาแบกถุงข&าวสาลีนั้นแทนทาน ทาน ตอบวา “ขอบใจ ,ในโลกนี้ทานอาจแบกภาระนี้แทนฉันได& แตในวันปรภพใครจะแบก ภาระนี้แทนฉัน” เมื่อทานเดินไปถึงกระโจมหญิงหม&ายทานก็สงข&าวสาลีทั้งถุงให&แก หญิงหม&ายนั้น และสั่งภรรยาของทานให&นมแกทารกน&อย หญิงหม&ายกลาววา “ทาน เปนใครกันนะ ,ชางมีน้ําใจดีตอเรากับลูกเสียยิ่งกวาเคาะลีฟะฮฺ” ทานอุมัรฺนั้นยิ้มน&อย ๆ และกลาววา “เราไมใชคนดีไปกวาเคาะลีฟะฮฺดอก เพราะทั้งเราและเคาะลีฟะฮฺ ตางก็ อ ยู ในสภาพเชนเดีย วกั บ ทานคือ สภาพทาสของพระเจ& า และขอนางจงปQา ว ประกาศไปให&ทั่ววาประตูบ&านของเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺนั้นไมมีบ&านของอุมัรฺจะคอยต&อนรับ ประชาชนทุกคน ยิ่งคนที่นาสงสารเชนทาน ,อุมัรฺจะรีบต&อนรับทานกอนที่จะต&อนรับ ราชอาคันตุกะเสียอีก” เมื่ อ ทานกลั บ มาบ&า นทานและภรรยาก็ ต& อ งมั่ งพั ก ด& ว ยความเหนื่อ ยหอบ ภรรยาของทานเดินไปจุดตะเกียง ทานสั่ งวา “อยาเลย ,น้ํามันในตะเกียงนั้นเปน น้ํามันของหลวงเรามีสิทธิ์ที่จะจุดตะเกียงนี้ได&ก็ตอเมื่อดูหนังสือราชการเทานั้น” บ&าน ของมหาราชทานนี้จึงปราศจากโคมไฟ ทานจะนอนดึกมากและในตอนกลางวันทาน จะออกไปทํางานหนักอยางสภาพกรรมกร เรียกวาตลอดชีวิตของทานทานพยายาม ทําตนตามแบบฉบับที่ทานนบีกระทํา ทานเปนมหาราชที่ปราศจากราชองครักษ% ทาน กลาววา “เมื่อภัยพิบัติจะประสบแกเรา เมื่อพระเจ&าลิขิตให&เรามีชีวิตอยูเพียงไหน เมื่อ ถึ งยามที่พ ระเจ& าเรี ย กร&อ งเราคืน กลั บ ไปสู พระองค% องครั ก ษ% ค นไหนเลาที่จ ะ ชวยชีวิตเราได&” ทานสั่ ง ภรรยาและลู ก ของทานเสมอวา “จริ ง อยู ...แม& ว าทานนบี จ ะ สิ้นพระชนม%ล งแล& ว และเคาะลีฟ ะฮฺ อ บู บ กั รก็ เ ชนกั น แตภรรยาของทานนบี และ ภรรยาของทานอบูบกัรยังมีชีวิตอยู จงพยายามหมั่นไปเยี่ยมเยียนแสดงความคารวะ ตอทุกพระนางอยาถือวาตัวเองเปนภรรยาและลูกของเคาะลีฟะฮฺ นึกเสียวาเจ&าเปน ภรรยาและลูกของชายที่มีชื่อวาอุมัรฺ อิบนุคอฎฎอบก็เปนการพอเพียงแล&ว” และแล&วเมื่อทานมีอายุครบหกสิบสามป7บริบูรณ% ทานก็ร&องไห& ,มีคนถาม ทานวาทานร&องไห&ทําไม ทานตอบวา “เราคิดถึงทานนบีเหลือเกิน และขณะนี้เราก็มี 199


อายุเทากับพระชนม%มายุของทานนบีแล&ว เราปรารถนาที่จะพบทานนบีเพื่อรายงานให& ทานทราบวา เราได&เดินตามรอยยุคลบาทของทานนบีแล&วจนถึงที่สุด และนบีที่ทานน บีประกาศนั้นขณะนี้ยิ่งใหญไมแพ&จักรภพในในโลกนี้ ทานนบีคงจะทรงป[ติและโสมนัส ในน้ําพระทัยยิ่งนัก

การสงครามแตละครั้งแม&จะทําให&จักรภพอิสลามขยายตัวออกไปอยางกว&าง ใหญไพศาล แตเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ มิได&มีการบังคับให&ปวงชนฝQายแพ& สงครามต&องน&อมรับศาสนาอิสลาม เพราะพระมหาคัมภีร%อัลกุรอานระบุได&วา “ไมมี การบังคับในการนับถือศาสนา” ตรงกันข&ามฝQายปราชัยนอกจากไมจําต&องน&อมรับนับถือศาสนาอิสลามแล&ว และฝQายปราชั ยมิยอมตนนับ ถือศาสนาอิสลาม ก็ ยั งมีสิท ธิในการปกครองอยางมี อิส ระและเสรีภ าพชนกลุ มน& อ ยเหลานี้มี สิ ท ธิ เ ลือ กตั้ง สมาชิ ก ผู&แ ทนของตนรวมใน รัฐสภา เพื่อให&เปนหนวยงานกลางทําหน&าที่เปฯปากเสียงเสนอความต&องการของพวก ตนตอรัฐสภา การเปนสมาชิกและสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาดังกลาว ชนกลุมน&อยเหลานี้มีโอกาสและเสรีภาพอยางเต็มที่ ผู&แทนของพวกเขามีสิทธิแสดง บทบาทตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๑ (เสนอรางกฎหมายเกี่ยวกับกฎหมายที่วาด&วยบุคคลของตน รวมทั้งการ ปรับปรุงแก&ไขกฎหมายดังกลาว เมื่อรางกฎหมายและข&อแก&ไขได&รับความเห็นชอบ จากประมุขของรัฐแล&ว ก็สามารถประกาศใช&ในราชกิจจานุเบกษา ๒ (เสนอเรื่องราวข&อเท็จจริง คําคัดค&านข&อเสนอแนะนําตาง ๆ เปนต&น วาใน เรื่อ งที่เ กี่ย วกั บ การบริหารรั ฐบาล หรือมติข องรั ฐ สภาและรั ฐ บาลอิสลามมีหน&าที่ จะต&องพิจารณาข&อเสนอทุกประการด&วยความเห็นใจและเปนธรรม ๓ (ทํ า การซั ก ถามในเรื่อ งตาง ๆ ที่ เ กี่ย วข& อ งกั บ กลุ มของตนโดยเฉพาะ รวมทั้งปHญหาที่มีผลถึงรัฐโดยสวนรวม และตัวแทนของรัฐบาลมุสลิมก็ต&องพร&อมที่จะ ตอบคําถามเหลานั้น 200


เสรีภาพในรัฐอิสลามนั้น ผู&ที่มิใชมุสลิมมีเสรีภาพทางด&านความเชื่อถือ ความ คิดเห็นและการแสดงออก รวมทั้งการพูดและการเขียน อีกทั้งยังมีเสรีภาพในการ ติดตอสัมพันธ%กันในขอบเขตเกี่ยวกับกฎหมายที่กําหนดสําหรับมุสลิม ภายในขอบเขต ดั ง กลาวนี้ พ วกชนกลุ มน& อ ยยั ง ได& รั บ เสรี ภ าพในการที่ จ ะวิ พ ากษ% วิ จ ารณ% รั ฐ บาล เจ&าหน&าที่รวมทั้งผู&ปกครองรัฐด&วย ชนกลุ ม&อยที่มิใชมุสลิมเหลานี้เคยวิพ ากษ%วิจารณ%การบริหารบ&านเมือ งของ ทานอุมัรฺ บรรดามุสลิมนําเรื่องที่ชนพวกนี้กลาววิจารณ%ทานไปเลาให&ทานฟHง และให& ทานออกกฎหมายห&ามมิให&ผู&ที่เปนชนตางศาสนาวิพากษ%วิจารณ%ผู&ปกครองรัฐที่เปน มุสลิม ห&ามมิให&ผู&ที่มิใชมุสลิมมีสิทธิวิพากษ%วิจารณ%ศาสนาอิสลาม ทานอุมัรฺกลาวแก ผู&ที่หวังดีตอทานวา “คําวาปกครองนั้น ขอให&พวกเราพิจารณาให&ดี มันมีทั้งคําวาปก และคําวาครองรวมกัน หากเราจะตัดสิทธิอันนี้แกพวกเขา เราก็ทําหน&าที่ครองโดย ปราศจากการปกปLองรักษาเขา ดังนั้น เขาจะวิพากษ%วิจารณ%เราอยางใดก็จงปลอยให& เขาวิพากษ%วิจารณ%ตอไปเถิด เราจะได&ทราบวาตัวเราเองทําหน&าที่ปกครองประชาชน อยางใด สวนเรื่องการวิพ ากษ%วิจารณ%ศาสนาก็เชนกัน ตราบใดที่เขายังไมก&าวร&าว วิพากษ%วิจารณ%พระผู&เปนเจ&าและนบีของเรา เราก็จะให&สิทธินั้นแกเขา” “แล&วพวกเราจะไมเปนฝQายเสียเปรียบเขาดอกหรือ” ขุนนางคนหนึ่งของทาน อุมัรฺถาม “พวกเราก็ใช&สิทธิวิพากษ%วิจารณ%ผู&นําของเขาบ&างก็ได&” ทานผู&เปนประมุขของ จักรภพอิสลามตอบ “ยิ่งกวานั้นเรายังให&สิทธิแกพวกเขาที่จะเผยแพรศาสนาของเขา ถ&าเขาเผยแพรศาสนาของเขาในกลุมชนที่มิใชมุสลิมให&คล&อยตาม แตอยาใช&สิทธิข&อนี้ หรือกลอุบายอันชั่วร&ายทําให&มุสลิมคนหนึ่งคนใดเปลี่ยนศาสนา มุสลิมที่จะเปลี่ยน ศาสนาจะต&องเปลี่ยนคนตางศาสนา พวกเขาจะไมถูกบังคับให&ยอมรับนับถือศาสนา ใด พวกเขามีสิทธิเสรีภาพอยางสมบูรณ%ที่จะประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อถือทาง ศาสนาของเขา ตราบเทาที่การกระทําของเขามิได&ละเมิดกฎหมายของรัฐ” “ทานชางใจกว&างเหลือเกิน ...หากพวกเขาเปนผู&มีชัย เหนือมุสลิมทานคิดวา พวกเขาจะโอนออนให&แกพวกเขาขนาดนี้หรือ” เศาะหาบะฮฺอีกคนหนึ่งถามขึ้น

201


“สิทธิเสรีภาพเปนสิ่งที่ทุกคนต&องการ” ทานอุมัรฺตอบ “เราไมคํานึงวาหาก เราเปนฝQายแพ& พวกเขาจะทําอยางใดกับเรา แตตราบใดที่พวกเขายังเปนประชาชน คนหนึ่งของรัฐที่อยูในการปกครองของอุมัรฺ อุมัรฺก็จะแสดงให&เขาเห็นวาแม&คมดาบ ของเราจะคมก็ตอเมื่อตอสู&กับศัตรู คมดาบของเราจะไมใช&แกผู&ที่มีความคิดเห็นตรง ข&ามกับเรา เรายังให&สิทธิแกพวกเขาในการศึกษาที่รัฐบาลกําหนดให&ระบบเดียวกันทั่วจักร ภพ แตในสวนที่เ กี่ย วกั บ การศึกษาทางศาสนานั้น พวกเขาจะไมถูก บั งคั บให&ต&อ ง ศึกษาศาสนาอิสลาม ตรงกันข&ามพวกเขามีสิทธิอยางสมบูรณ%ที่จะถายทอดความรู& เกี่ยวแกศาสนาของพวกเขาให&แกลูกหลายภายในโรงเรียนหรือแม&แตในวิทยาลัยของ พวกเขาเอง หรือแม&แตวิทยาลัยระดับมหาวิทยาลัยของชาติก็ตาม” “มันไมเปนการเสี่ยงไปสักหนอยหรือ...ทานอุมัรฺ” “พระเจ&าจะทรงเป[ด หั วอกของศรั ทธาชนมุส ลิมยึดมั่ นอยู ในศาสนาอิสลาม ตราบจนลมหายใจสุดท&าย และพระองค%ทรงปกป[ดหัวอกของผู&ที่หน&าไหว&หลังหลอก ชนประเภทหลั ง นี้ เ ราเองไมคํ า นึ ง ถึ ง เพราะเขาเปนกลุ มชนมุ ส ลิ ม ประเภทที่ เ ราไม ต&องการ มุสลิมที่มีความเชื่อมั่นอยางคลอนแคลน มุ สลิมประเภทนี้เองที่จะสร&าง ภาพพจน%ของอิสลามให&เสื่อมลง เราต&องการศรั ทธาชนที่มีคุณ ภาพมิใชศรั ทธาชน ปริมาณแตสร&างภาพพจน%อันดีงามของศาสนาให&เสื่อมโทรมลง” “นอกจากนั้น” ทานอุมัรฺกลาวตอไป “ผู&ที่มิใชมุสลิมก็มีสิทธิอันชอบธรรมใน การเข&ารั บ ราชการ การคั ด เลือ กคนเข&ารั บ ราชการเรายึด ถือ ที่ค วามสามารถเปน เกณฑ% คนที่มีความสามารถที่สุดไมวาจะเปนมุสลิมหรือมิใชก็ตาม ผู&นั้นจะได&รับการ คัดเลือกโดยไมมีการลําเอียงแม&แตประการใด ยกเว&นแตตําแหนงสําคัญที่เกี่ยวกับ ความมั่นคงทางศาสนา ความมั่นคงในทางครองรัฐ ตําแหนงตาง ๆ เหลานี้เราจะเปน ผู&คัดเลือกด&วยมือของเราเองเทานั้นทุกคนก็แลเห็นแล&ววาอับดุลลอฮฺลูกชายของอุมัรฺ เอง สร&างคุณประโยชน%อันมากมายให&แกศาสนาอิสลามตลอดชีวิตของเขา แตเรา มอบตําแหนงสูงสุดอันใดให&เขาบ&าง...ไมมีเลย ,และเขาก็เข&าใจวาการที่พอของเขาต&อง ทําเชนนี้ก็เพราะพอของเขาจะไมมอบอภิสิทธิ์ให&แกเขาในฐานะที่เขาเปนลูกชายของ เคาะลีฟะฮฺ” 202


ทุกคนแทบไมเชื่อกับหูของตนเองวาทานอุมัรฺจะกลาวเชนนี้ แตทุกด&วยคงที่ ทานอุมัรฺกลาวนั้นเปนสิ่งที่ไมมีผู&ใดปฏิเสธวาไมเปนความจริง ทานอุมัรฺกลาวตอไปวา “รัฐอิสลามนั้นเป[ดกว&างสําหรับทุกคนที่ประกอบธุรกิจ พวกเขาคงเห็นแล&ววา การเกษตรก็ดี การอุตสาหกรรมก็ดี การพาณิชยกรรมก็ดี และอาชีพตาง ๆ ก็ดีชาว มุสลิมเองไมได&รับอภิสิทธิ์เหนือคนตางศาสนาเลย ผู&ที่มิใชมุสลิมก็ไมเคยถูกกีดกัน จากสิ่ ง ที่ ช าวมุ ส ลิ ม ได& รั บ การอนุ ญ าตให& ก ระทํ า เราถื อ วาประชาชนภายใต& ก าร ปกครองของเรามีสิทธิเทาเทียมกันทางด&านเศรษฐกิจ เราไมคํานึงถึงวาจักรวรรดิตาง ๆ ที่มิใชจักรวรรดิอิสลามจะให&หรือจะจํากัดสิทธิมุสลิมที่อยูในจักรวรรดิของเขา พวก ทานอยาน&อยใจหรือประหลาดใจอันใดในการปฏิบัติหน&าที่ของอุมัรฺ เมื่อเราเรียกเก็บ ภาษีแกพวกเขา ภาษีที่เราเรียกเก็บยอมตกเปนของรัฐ ดังนั้น ทุกคนในรัฐควรจัก ได&รับสิทธิอันชอบธรรมจากเรา นี่แหละคือหลักการที่ศาสนาอิสลามวางไว& เรายึดมั่น ในศาสนามากกวาความโลภจากอารมณ%ปรารถนาของเขา ขอให&ท านนึ ก ถึง หั ว อกของเราบ& าง ...เราต& อ งปกครองรั ฐ หลายรั ฐ เรายอม ต&องการความสงบสุขมากกวาการสงคราม แม&ขณะนี้กองทัพมุสลิมเปนกองทัพที่ทุก จักรวรรดิยอมสยบแล&ว แตศีรษะของอุมัรฺก็จะไมสวมมงกุฎ บัลลังก%ของอุมัรฺก็คือที่นี่ ...ลานหินที่นบีที่อุมัรฺเคารพเคยนั่ง เสื้อคลุมของอุมัรฺก็เปนเสื้อคลุมแบบเบดูอิน เรา ต&องการที่จะแลเห็นผู&ปกครองจักรภพอิสลามในรุนหลัง ได&รําลึกถึงความประพฤติ ของคนที่ เ ขาเรี ย กวาเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ มั รฺ ได& รํ า ลึ ก ถึ ง ความประพฤติ ข องทานเคาะ ลีฟะฮฺอบูบกัร และหวนคํานึงถึงสภาพแหงการครองชีวิตของทานนบี”

ทามกลางความดึกดื่นของราตรีหนึ่ง ทานอุมัรฺและคนสนิทได&ออกเวรไปตาม ชานนคร ทานเดินทางไปจนถึงตําบลที่มีนามวา ฮาเราะตฺ ทานก็แลเห็นกองไฟริบหรี่ กลางทะเลทราย ทานจึงชวนคนสนิทเดินทางไปที่กระโจมนั้น

203


“คงจะมีคนอยูในกระโจมนั้นแนนอน อาจเปนกองคาราวานที่เข&าเมืองไมทันก็ ได& เพราะเวลานี้ก็เปนเวลายามดึกมากแล&ว เราลองไปดูกันสิวาเราอาจจะชวยเหลือ อะไรเขาได&บ&าง” และเมื่อไปถึงกระโจมที่พักหลังนั้น ภาพที่ทานอุมัรฺแลเห็นคือภาพของหญิง หนึ่งกําลังติดไฟต&มน้ําในกา ข&างรางของหญิงคนนี้มีเด็กเล็ก ๆ สองสามคนกําลังก&อง ไห&ทานจึงถามหญิงนั้นวา “เด็ก ๆ ไมสบายหรือ...เขาจึงพากันร&องไห&” “ใช ,เด็กทุกคนไมสบาย เพราะเขาหิว” “แล&วนางกําลังต&มอะไรให&เด็กกิน” หญิงนั้นมองดูกาแล&วก็ถอนใจ เป[ดฝากาน้ําให&ทานอุมัรฺดู “ในการน้ํานี้มีแตน้ําเพื่อบรรเทาความหิวโหย เราตั้งกาไว&เพื่อให&เขาหลับด&วย ความหวั งวา เมื่อ เขาตื่นขึ้นมาเขาจะได&มีอ าหารกิน โอ ...อัล ลอฮฺ ...พระผู&เปนเจ&า พระองค%คงจะทรงพิพากษาเรื่องนี้ระหวางฉันกับเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ ใน วันปรภพอยางแนนอนในฐานะที่เขาเปนประมุขมีอาหารการกินอยางมั่งมีศรีสุข แต เขาปลอยปละละเลยสตรีอยางฉันและเด็ก ๆ ให&ต&องทนทุกข%ทรมานอยางนี้” ดวงหน&าของทานอุมัรฺสลดและซีด น้ําตาไหลรินจากดวงตาของเขาในที่สุด ทานอุมัรฺก็ถามนางวา “ขออัลลอฮฺจงปราณีแกนางเกิด อุ มัรฺจะทราบได&อยางไรวานางกําลังทุก ข% ร&อนขนาดนี้” “ที่ ท านกลาวมานั้ น ก็ ถู ก ,แตไมใชความถู ก ต& อ งทั้ ง หมด อุ มั รฺ ไ มมี ข& อ แก& ตัวอยางใดทั้งสิ้น ในเมื่อเขาทําหน&าที่เปนผู&ปกครองประชาชน หน&าที่สําคัญที่สุดของ นักปกครองคือความพยายามที่จะให&ประชาชนถ&วนหน&าได&รับคามสุขใชหรือไม” ทานอุมัรฺพยักหน&ารีบชวนคนสนิทกลับสูนครทันที และเมื่อถึงนครมาดีนะฮฺ ทานก็รีบตรงไปยังคลังหลวงบัยตุลมาล ซึ่งเปนที่เก็บอาหารสํารองไว&ให&แกชาวเมืองที่ ยากจนทานจั ด แจงนํ าแปLงบรรจุ จนเต็ มถุ ง รวมทั้งไขมั นและผลอินทผลั ม อีก ทั้ ง เสื้อผ&า และเงินอีกจํานวนหนึ่งในสวนของผู&เดินทาง แล&วทานก็สั่งคนสนิทวา “ชวยยกถุงนี้ขึ้นบนหลังเราด&วย...อัสลาม” 204


อัสลามร&องเสียหลง “อะไรกัน...ทานเคาะลีฟะฮฺ ทานเปนถึงเคาะลีฟะฮฺและ ผู&ปกครองจักรภพอิสลาม ข&าพเจ&าเปนผู&รับใช&ทาน ดังนั้น ข&าพเจ&าจะแบกถุงนี้เอง” “เวลาเราแบกของหนักครั้งใด ก็จะมีคนอาสาแบกแทนเราเสมอ อัสลามเอSย , ทานจะแบกภาระของฉันในวันที่ฉันจะต&องถูกไตสวนในปรภพด&วยหรือ เราจะต&อง แบกถุงนี้บนหลังของเราเอง เพราะในวันพิพากษานั้นหญิงผู&นั้นกลาวถูกต&องแล&ววา เราจะต&อ งแบกถุ งนี้ บ นหลั ง ของเราเอง เพราะในวั นพิ พ ากษานั้น หญิง ผู&นั้ น กลาว ถูกต&องแล&ววา เราจะต&องถูกสอบถามเรื่องของความยากแค&นของนาง กับหน&าที่การ ปกครองของเรา” ทานแบกถุงหนักอึ้งนี้กลับไปจนถึงกระโจมหลังเดิม หญิงผู&นั้นมองทานอุมัรฺ อยางประหลาดใจ ทานจัดแจงกอไฟให&มีความร&อนมากขึ้นอีก แล&วนําเอาข&าวสาลี หัวน้ํานมและลูกอินทผลัมสวนหนึ่งใสลงไปในกาน้ํา ทานนั่งพัดกาน้ําจนน้ําในกาเดือด แล&วทานก็ตักอาหารในกาแบงให&หญิงนั้นและบรรดาลูก ๆ ของนาง และมอบเสื้อผ&า และเงินที่เตรียมมาให&แกนาง หญิงนั้นน้ําตาคลอกลาววา “ขอองค%อัลลอฮฺพระผู&เปนเจ&า ได&ทรงโปรดตอบ แทนความมีน้ําใจอั น สู งสงของทานด&ว ยความหวั ง วา เมื่อ เขาตื่นขึ้ นมาเขาจะได& มี อาหารกิน โอ...อัลลอฮฺ...พระผู&เปนเจ&าพระองค%คงจะทรงพิพากษาเรื่องนี้ระหวางฉัน กั บ เคาะลีฟ ะฮฺ อุ มัรฺ อิบ นุ ล คอฎฎอบ ในวั น ปรภพอยางแนนอนในฐานที่เ ขาเปน ประมุขมีอาหารการกินอยางมั่งมีศรีสุข แตเขาปลอยปละละเลยสตรีอยางฉันและเด็ก ๆ ให&ต&องทนทุกข%ทรมานอยางนี้” ดวงหน&าของทานอุมัรฺสลดและซีด น้ําตาไหลรินจากดวงตาของเขาในที่สุด ทานอุมัรฺก็ถามนางวา “ขออัลลอฮฺจงปราณีแกนางเถิด อุ มัรฺจะทราบได&อยางไรวานางกําลังทุก ข% ร&อนขนาดนี้” “ที่ ท านกลาวมานั้ น ก็ ถู ก ,แตไมใชความถู ก ต& อ งทั้ ง หมด อุ มั รฺ ไ มมี ข& อ แก& ตัวอยางใดทั้งสิ้น ในเมื่อเขาทําหน&าที่เปนผู&ปกครองประชาชน หน&าที่สําคัญที่สุดของ นักปกครองคือความพยายามที่จะให&ประชาชนถ&วนหน&าได&รับความสุขใชหรือไม”

205


ทานอุมัรฺพยักหน&ารีบชวนคนสนิทกลับสูนครทันที และเมื่อถึงนครมาดีนะฮฺ ทานก็รับตรงไปยังคลังหลวงบัยตุลมาล ซึ่งเปนที่เก็บอาหารสํารองไว&ให&แกชาวเมืองที่ ยากจน ทานจัดแจงนําแปLงบรรจุจนเต็มถุง รวมทังไขมันและผลอินทผลัม อีกทั้ง เสื้อผ&า และเงินอีกจํานวนหนึ่งในสวนของผู&เดินทาง แล&วทานก็สั่งคนสนิทวา “ชวยยกถุงนี้ขึ้นบนหลังเราด&วย...อัสลาม” อัสลามร&องเสียงหลง “อะไรกัน...ทานเคาะลีฟะฮฺ ทานเปนถึงเคาะลีฟะฮฺและ ผู&ปกครองจักรภพอิสลาม ข&าพเจ&าเปนผู&รับใช&ทาน ดังนั้นข&าพเจ&าจะแบกถุงนี้เอง” “เวลาเราแบกของหนักครั้งใด ก็จะมีคนอาสาแบกแทนเราเสมอ อัสลามเอSย , ทานจะแบกภาระของฉันในวันที่ฉันจะต&องถูกไตสวนในปรภพด&วยหรือ เราจะต&อง แบกถุงนี้บนหลังของเราเอง เพราะในวันพิพากษานั้นหญิงผู&นั้นกลาวถูกต&องแล&ววา เราจะต&องถูกสอบถามเรื่องของความยากแค&นของนาง กับหน&าที่การปกครองของ เรา” ทานแบกถุงหนักอึ้งนี้กลับไปจนถึงกระโจมหลังเดิม หญิงผู&นั้นมองทานอุมัรฺ อยางประหลาดใจ ทานจัดแจงกอไฟให&มีความร&อนมากขึ้นอีก แล&วนําเอาข&าวสาลี หัวน้ํานมและลูกอินผลัมสวนหนึ่งใสลงไปในกาน้ํา ทานนั่งพัดกาน้ําจนน้ําในกาเดือด แล&วทานก็ตักอาหารในกาแบงให&หญิงนั้นและบรรดาลูก ๆ ของนาง และมอบเสื้อผ&า และเงินที่เตรียมมาให&แกนาง หญิงนั้นน้ําตาลคลอกลาววา “ขอองค%อัลลอฮฺ พระผู&เ ปนเจ&า ได&ท รงโปรด ตอบแทนความมีน้ําใจอันสูงสงของทานด&วย ที่ทานมีแกหญิงหม&ายและเด็กกําพร&าผู& เรรอนอยางเรา บุคคลเชนทานสมควรที่จะเปนเคาะลีฟะฮฺยิ่งเสีย กวาอุมัรฺ อิบนุ ล คอฎฎอบ พรุงนี้เราจะเข&าไปในเมืองมาดีนะฮฺ จะไปหาอุมัรฺสักครั้ง เราทราบวา คน อยางเขาจะชั่วดีอยางไรก็ไม “ทานจะไปหาเขาทําไมกันเลา” “ไปเลาเรื่องทั้งหมดที่เกิดขึ้นในคืนนี้ให&เขาฟHง และจะถามเขาวาเขานอนหลับ เปนสุขดีหรอกหรือ ที่ปลอยให&หญิงหม&ายและเด็กกําพร&าต&องทนทุกข%ทรมานเชนเรา เราจะเลาให&เขาฟHงถึงการชวยเหลือของทาน ซึ่งเปนคนแปลกหน&าแท& ๆ ที่กรุณาแก เรา บอกชื่อของทานให&เราทราบได&ไหมวาทานชื่ออะไร” 206


“เอาเถิด...เมื่อนางไปพบอุมัรฺ นางจะแลเห็นข&าพเจ&าคอยอยู” ทานอุมัรฺมองดูเด็กเลนกันอยางเพลิดเพลิน ทานได&แลเห็นรอยยิ้มและเสียง หัวเราะของหญิงหม&าย หลังจากนั้นทานจึงชวนอัสลามกลับ กอนจะกลับทานได&ให& พรแกนาง” หญิงนั้นกลาววา “อยาลืมนะ...พรุงนี้ทานจะต&องไปอยูที่นั่นด&วย เราจะชี้ให& คนอยางอุมัรฺดูทาน และจะตะโกนบอกเขาวาทานนาจะเปนเคาะลีฟะฮฺเสียยิ่งกวาคนที่ ชื่ออุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ” ทานอุมัรฺพยักหน&า “นางจะทําเชนนั้นแกคนอยางอุมัรฺลงคอหรือ” “มีอะไรหรือที่จะห&ามหญิงหม&ายที่เปนมุสลิม ประท&วงการละเลยหน&าที่ของ ผู&ปกครองปวงชน” “เอาเถิด...เราจะคอย” ทานอุมัรฺกลาวด&วยเสียงหัวเราะ เมื่อทานเดินทางกลับเข&าเมืองพร&อมคนรับใช& ทานถามอัสลามวา “ทานทราบไหมวาทําไมเราจึงไมรับกลับ ,การที่เราไมรีบกลับนั้นก็เพราะเรา พบนางตอนที่นางร&องไห& แตขณะนี้นางยิ้มและหัวเราะได&แล&วเราจึงชวนทานคืนเมือง” “ปQานฉะนี้นางและลูกคงหลับสนิทแล&ว แตคนที่นางประณามเขายังเดินอยู กลางทะเลทราย” อัสลามรําพึง “ดีสี ,นึกวาเราสองคนเดินชมดาวบนฟLาเหนือนครมาดีนะฮฺก็แล&วกัน” บายวั นรุ งขึ้นหญิงหม&ายผู&พ เนจรก็ เ ดิ นทางมาถึงมั ส ญิดิ ล นบี นางพบชาย แปลกหน&าคนเดียวกันกับที่นางพบเมื่อคืนวาน นางถามวา “ทานคงบอกอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบแล&วสิ...เขาจึงไมกล&าเผชิญหน&าหญิงอยาง เรา” ทานอุมัรฺหัวเราะ “ถ&าเราจะบอกความจริงนางวาเราเองคือ อุมัรฺ อิบนุคอฎฎ อบ ทานจะวาอยางไร” หญิงนั้นร&องไห&ด&วยความกลัว “โอ&...ทานผู&เปนเคาะลีฟะฮฺของอัลลอฮฺ โปรด อภัยโทษให&แกหญิงต่ําต&อยอยางเราด&วยเถิด ที่ได&กลาวประณามทานอยางเสียหาย เราพร&อมแล&วที่จะรับโทษจากทาน”

207


“เราเสียอีกที่ค วรขอบใจทาน ,คํ าประณามของทานจะชวยเตือนสติให&เรา ทํางานหนักยิ่งกวานี้ เมื่อคืนเรานอนหลับด&วยความเปนสุขอยางแท&จริง ที่อยางน&อย พระเจ&าทรงโปรดให&เราได&ไปยังสถานที่ที่นางกางกระโจมอยู” ทานอุมัรฺนั้นแม&จะเปนบุรุษเหล็ก แตหัวใจของทานนั้นเต็มไปด&วยความนอบ น&อมถอมตนตอพระเจ&า ทานนมาศฟHจญ%กอนแสงอรุณขึ้น ทานชอบอานซ]ูเราะฮฺ กอฟและซูเราะฮฺฎอฮา อัลกุรอานซูเราะฮฺฮานี้เองที่ทําให&ทานกลายสภาพจากศัตรูมา เปนมิตรผู&ใกล&ชิดทานนบี และได&รับใช&ทานนบีและเคาะลีฟะฮฺอบูบกัร ทานอานอัลกุ รอานโดยมักจะร&องไห& เสียงร&องให&ของทานนั้นดังไปถึงผู&ที่ยืนนมาศแถวสุดท&าย มีอยู คืนหนึ่งทานอางมาถึงซูเราะฮฺยูซุฟ พออานมาถึงโครงการที่สิบที่มีความหมายวา “ข&าพระองค%ขอสารภาพความทุกข% และขอความคุ&มครองจากอัลลอฮฺเดียวเทานั้น” ทานอานมาถึงตอนนี้ทานก็ร&องไห&ไปพร&อมถอนสะอื้นทานโศกเศร&ามากจนไมสามารถ อานวรรคตอไปได&อีก ในการนมาศตะฮัจ]ุจก็เชนกัน มีหลายครั้งที่บุรุษเหล็กคนนี้ก&มลงกราบและ ไมยอมเงยศีรษะขึ้น การที่ทานไมสามารถเงยศีรษะขึ้นได&นั้น เพราะบุรุษเหล็กคนนี้มี น้ําตาไหลพรากตา

ธรรมเนี ย มการรบของกองทั พ มุ ส ลิ ม ในครั้ ง นั้ น พวกที่ เ ปนฝQ า ยพายแพ& สงครามและปรารถนาที่จะนับถือศาสนาเดิมของตน ฝQายที่พายแพ&สงครามต&องเสีย เบี้ยสงครามที่เรียกกันในภาษาอรับวา “ญิซญะฮฺ” ชาวยิวผู&หนึ่งถามทานอุมัรฺวา “โอ&...ทานอุมัรฺ ,การที่เราเสียเบี้ยสงครามให&ทานเราจะได&รับอะไรบ&างที่สิ่ง ตอบแทน” “ทานไมได&เสียเบี้ยสงครามให&แกอุมัรฺดอก แตมันเปนการเสียภาษีอากรให&แก รัฐ เพื่อรัฐจักได&นําเงินนั้นมาสร&างความกินดีอยูดีให&แกมวลชน ทานจะได&รับความ คุ&มครองจากรัฐอยางสิทธิมนุษยชนจักพึงมี ทานไมต&องถูกเกณฑ%ไปในกองทัพมุสลิม 208


เพื่อรับกับข&าศึกเบี้ยสงครามนี้เราจะเก็บเฉพาะผู&ที่มีความสามารถจะเสียได&เทานั้น สวนบุคคลหนึ่งบุคคลใดในพวกทานซึ่งปQวยไข&หรือพิการ คนยากจนหรือขัดสนไมมี รายได&เพียงพอตอการยังชีพบุคคลใด ในหมูของพวกทานที่อายุน&อยกวายี่สิบป7หรือ เปนสตรีเพศ จักได&รับการยกเว&นเบี้ยสงครามดังกลาวนี้ พี่น&องมุสลิมของเราเองยังต&องเสียศาสนกรมากกวาพวกทาน มุสลิมทุกคนที่ มีความสามารถจักต&องบริจาคทานให&แกบุคคลหลายประเภทและสาธารณกุศล เปน อัตราสวนถึงร&อยละสองครึ่ง ซึ่งมากกวาเบี้ยสงครามที่รัฐของเราได&รับจากพวกทาน มากมายนักการเรียกเก็บเบี้ยสงครามจากพวกทาน จะไมมีการบีบบังคับโดยวิธีการ อันรุ นแรง แตเราจะเรีย กเก็ บ จากพวกทานด&ว ยความปราณีและออนโยน เราสั่ ง ทหารห&ามเก็บเบี้ยสงครามจากพวกทานให&แกเราไมมีการเฆี่ยนตีหรือทรมานอยางใด แกพวกทานที่ไมสามารถเสียภาษีนี้ เราจะปฏิบัติแกพวกทานด&วยความนุมนวลตาม แบบชวยกันสร&างความเจริญให&แกรัฐซึ่งพวกทานและมุสลิมรวมกันอยู เราเคยลงโทษ เจ&าหน&า ที่ข องเราที่เ รีย กเก็ บ เบี้ย สงครามโดยการเสีย เบี้ย สงคราม เราเคยตํ าหนิ เจ&าหน&าที่ของเราที่ลงโทษชาวอียิปต%ผู&พายแพ&สงครามและไมยอมเสียเบี้ยสงครามโดย ให&ยื นกลางแดด นบีที่ เ รารั ก และเคารพเคยสอนเราวา ในปรภพพระเจ& าจั ก ทรง ลงโทษกับบุคคลผู&ซึ่งลงโทษมนุษย%ด&วยกันในภพนี้ ยิ่งกวานั้นในกรณีที่พวกทานล&มละลาย เขาไมเพียงแตได&รับการยกเว&นการไม ต&องเสียเบี้ยสงครามเทานั้น เราเองยังต&องนําเสบียงอาหารและทรัพย%สินไปให&พวก ทานเราจะเลาเรื่องเรื่องหนึ่งในพวกทานฟHง เราเคยเห็นพวกทานเดินขอทานไปตาม ท&องถนน ชายคนนั้นชราภาพแล&วเราจึงเดินไปหาเขา แล&วถามชายชราผู&นั้นวาเหตุใด จึงต&องมาขอทาน ในเมื่อรางกายก็ชราภาพแล&วและคนยากจนจริง ๆ ไมวาจะเปนใคร ก็ตาม สามารถที่จะไปขอความชวยเหลือได&จากคลังหลวง ชายชราพวกทานเองไม รู&จักเราก็ตอบรับเราวา การที่แกต&องเที่ยวเดินขอทาน ก็เพราะเพื่อหาเบี้ยสงครามมา เสียให&แกอุมัรฺ เรารีบออกคําสั่งให&รัฐของเรายกเว&นการเรียกเก็บเบี้ยสงครามจากผู& ชราภาพผู&นั้นโดยทันที ยิ่งกวานั้นเรายังได&สั่งให&คลังหลวงจายเงินบํานาญแกผู&ชราคน นั้นตราจนวั นตายของแก เราเองยั งสาบานด&ว ยพระนามของพระเจ&าวามันไมเปน

209


ความยุติธรรมที่เจ&าหน&าที่จะเรียกเก็บเบี้ยสงครามตอบุคคลที่ยังหนุมแนน แล&วปลอย ให&เขาเที่ยวเดินขอทานไปในยามที่เขาชรา พี่น&องมุสลิมของเราเองแท& ๆ เมื่อตายลงไปโดยค&างศาสนกรที่เขาจักพึงจาย แกรัฐ รัฐยังสามารถเรียกเงินค&างจายนั้นจากทายาทหรือกองมรดกของผู&ตายได& แต สําหรับพวกทานที่จําจะต&องเสียเบี้ยสงคราม แตเขาได&ตายลงไปกอนที่จะชําระเบี้ย สงครามนั้นเราไมเคยที่จะเรียกเก็บเบี้ยสงครามจากทายาทหรือกองมรดกของพวก ทานแม&แตสักนิดเดียว ขอให&ทานเข&าใจวาเบี้ยสงครามที่ทานเสียให&แกรัฐนั้น เปนการ เสียให&แกรัฐเพื่อปกครองทานให&มีชีวิตที่รมเย็นเปนสุข เปนเบี้ยสงครามที่รัฐมุสลิม หรือกองทัพมุสลิมนําสํารองไว&เพื่อดูแลทุกข%สุขของพวกทานเอง เงินนี้จะคืนให&แก พวกทานทันทีที่มุสลิมไมได&ทําหน&าที่ดูแลความทุกข%สุขของทานในการสงครามที่เมือง ยาริมุดนั้น กองทัพโรมันได&ยกพลมหาศาลเพื่อเข&าโจมตีพวกเรา พวกเราต&องถอน กําลังออกจากที่มั่นในเมืองตาง ๆ ทุกเมืองในซีเรีย พวกทานรู&ไหมวาทัพมุสลิมทํากับ พวกทานอยางใด สิ่งแรกที่กองทัพมุสลิมปฏิบัติแกพวกทานก็คือ เราคืนเบี้ยสงครามทั้งสิ้นที่ได& เรียกเก็บจากพวกทานมา เพราะวาเราไมสามารถที่จะให&ความคุ&มครองพวกทานได& อีกตอไป กองทัพมุสลิมโดยทานอบูอุบัยดฺรีบทําสิ่งนี้เปนเรื่องแรกกอนที่จะถอนทัพ นี่ คือหน&าที่ที่เราได&พิสูจน%ให&พวกทานประจักษ%แล&ว ทานยังมีความสงสัยในตัวอุมัรฺ อิบ นุลคอฎฎอลประการใดหรือไม” ชาวยิวผู&นั้นนั่งฟHงถ&อยคําของทานอุมัรฺอยางสงบ กลาววา “เราเคยแตได&รับฟHงถึงเรื่องความห&าวหาญอยางไมกลัวตายของทาน เราเคย นึกแตวาพวกทานเคยยากจนอยางแสนสาหัสกลางทะเลทราย เราคิดวาทานจะนําเงิน หรือทรัพย%สินที่ทานยึดได&ไปใช&จายกันอยางปรีเปรม แตสิ่งที่เราได&เห็นแกสายตาของ เราในวันนี้ ที่จักรภพอิสลามมีผู&ปกครองที่ปราศจากมงกุฎ เราได&ยินแกหูของเราเอง วาทานได&ปฏิบัติแกศัตรูของทานอยางไร เรากลาวได&เพียงคําเดียววาเราเสียใจ ที่เคย คิดผิดตอทานตลอดมาเราเองก็เคยใสร&ายทานตามปากคําที่พวกเราพูดกันมา แต ครั้นมาเผชิญหน&ากับจักรพรรดิอยางทาน เหตุการณ%กลับเปนไปตรงกันข&ามทุกอยาง เราขอประทานอภัยทานด&วยทานจักรพรรดิ” 210


“เรามิใชจักรพรรดิ...เกียรติยศที่เรามีมันมากกวาคําวาจักรพรรดิที่ทานเรียก มากมายนัก” “เกียรติยิ่งกวาจักรพรรดิในโลกนี้ยังมีอีกหรือ...” “มีสิ ,เราพอใจกับเกียรตินั้นยิ่งกวาเกียรติจักพรรดิ์ที่ทานเรียก” “ทานจะให&เราเรียกทานอยางใดทานจึงจะพอใจ” “เรียกเราวาอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ ทาสของอัลลอฮฺ เราจะภูมิใจอยางยิ่ง หากทานจะชมเชยการทํ า หน&า ที่ ข องเราก็ จ งพึ ง สรรเสริญ พระเจ& า ของเราเถิ ด ที่ พระองค%ทรงโปรดรับเราไว&ให&เปนทาสคนหนึ่งของพระองค% มุสลิมทุกคนนั่งอยูกับเรา ขณะนี้มีคาและเกียรติยศเทาเทียมกันหมด เราจะยืนนําหน&าเขาก็เฉยเฉพาะยามเวลา ที่เรานมัสการตอพระเจ&า แตบางครั้งเคาะลีฟะฮฺอยางเราก็เคยยืนนมัสการพระเจ&าใน แถวหลังโดยที่คนอื่นเปนผู&นําในการนมัสการก็ยังเคย ทานนบีท่ฝี Hงรางของพระองค%อยู ภายในมัสญิดแหงนี้ก็ยังนมัสการตอพระเจ&าหลังชายตาบอด เกียรติของพวกเรานั้น อยูที่วาใครจะเปนผู&นอบน&อมถอมตนตอพระเจ&ามากกวาใคร” “คนอยางทานคงปราศจากบาปแนนอน พระเจ&าคงต&อนรับทานเคาะลีฟะฮฺ ด&วยเกียรติอันสูงสงในสวรรค%” “มนุษย%ทุกคนยอมมีบาป ,เราเองเคยทําบาปอันยิ่งใหญกวาใครเสียด&วยซ้ํา บาปนั้นก็คือการไปฆาตกรรมทานนบี แตพระเจ&าได&ทรงโปรดให&เรากลับมาเปนผู&รับใช& ทาน เราหวังในการพระราชทานอภัยจากอัลลอฮฺ นบีสอนเราวามนุษย%ทุกคนยอมมี บาป ผู& ที่ ป ระเสริ ฐ ที่ สุ ด คื อ ผู& ที่ ทํ า บาปแล& ว สารภาพผิ ด ใครก็ ต ามที่ ทํ า บาปแล& ว สารภาพผิดกอนที่เขาจะตายตอพระเจ&า พระเจ&าก็จะทรงรับการสารภาพผิดของเขา อยางแนนอน เราทราบดีวาพวกทานใสร&ายเราอยางใด แตเราให&อภัยเพราะการให&อภัยนั้น ยอมดีกวาการแก&แค&น และเราให&แกพวกทานยิ่งกวาการให&อภัย การให&ของเราก็คือ การลืมทุกสิ่งทุกอยางที่เราได&รับความชอกช้ําใจจากพวกทาน กลับไปบอกแกพวก ทานเถิดวาตราบใดที่อัลลอฮฺยังทรงโปรดให&ลูกผู&ชายที่ชื่อวาอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ มี โอกาสทําหน&าที่เปนทาสผู&รับใช&พระเจ&าไมวาจะอยูในสถานะสามัญชนหรือเคาะลีฟะฮฺ เราไมเคยคิดที่จะชําระหนี้แค&นที่พวกเราได&รับจากพวกทานแตกาลกอนที่ผานมา 211


ทานยกยองนบี โ มเสส ,นบี ข องทานไมใชใครอื่ น ทานโมเสสเราก็ นั บ ถื อ วาเปนนบีของเรา แม&ทานจะปฏิเสธในการเปนนบีของนบีมุฮัมมัดที่เราเคารพ แต มุสลิมทุกคนนั้นเรียกนามนบีของทานอยางยกยองวานบีมูซา การที่เราไมทําลายพวก ทานเสียให&สิ้นซาก เพราะวาเราไมปรารถนาที่จะเห็นเลือดของผู&ที่จงรักตอโมเสสหรือ ทานนบีมูซาของเราเอง”

วันหนึ่งทาสชาวอิหรานคนหนึ่งที่พํานักอยูในนครมักกะฮฺ ได&ขอเข&าพบทาน อุมัรฺประมุขแหงจักรภพอิสลามก็เชิญให&ทาสผู&นั้นนั่งอยูเบื้องหน&าทาน ทานถามทาสผู& นั้นวา “ทานมีกิจธุระอันใดกับเราหรือ” “แนนอน เคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ ทานจะไมต&อนรับเรากระนั้นหรือ” “สาเหตุอันใดกันเลาที่ทานคิดวาเราจะไมต&อนรับทาน เราทําหน&าที่ผู&ปกครอง ปวงชน ผู&ปกครองปวงชนมีทั้งหน&าที่ผู&นําและผู&รับใช&ประชาชน ทานเคยทราบขาวมา จากไหนวาเราเคยปฏิเสธไมต&อนรับคนบางคนที่มาขอพบ” “แตเราเปนทาส” “เราเองก็เปนทาส...ทาสของพระผู&เปนเจ&า ทานเลาเปนใครมาจากไหน” “เราชื่ออบูลัวะลัวะ พิรอส” “ทานเปนชาวเปอร% เ ซี ย นใชไหม เพราะชื่ อ ของทานแสดงวาทานเปนชาว เปอร%เซียน แตทานจะเปนชนชาติใดก็ตาม เมื่อทานพากับเราอาณาจักรอิสลาม ทุก สิ่งทุกอยางที่ประชาชาติคนใดคนหนึ่งของเราเดือดร&อน ความเดือดร&อนนั้นยอมเปน หน&าที่ที่เราจักต&องหาหนทางแก&ไขความเดือดร&อนนั้นให&แกทาน” “แตเรามิใชมุสลิม” “ศาสนาอิสลามมิได&มีคําสอนที่ห&ามมิให&เราชวยเหลือเพื่อนมนุษย%ตรงกันข&าม ในคัมภีร% อัลกุรอานของเราระบุไว&วา มนุษยชาติทุกคนตางเปนพี่น&องกัน ดังนั้น

212


ทานก็เปนพี่น&องคนหนึ่งของเรา เรารับรองวาจะชวยเหลือทาน หากสิ่งที่ทานขอร&อง นั้นไมผิดตอศีลธรรมและไมขัดตอกฎหมายของบ&านเมืองที่ทุกคนในนครแหงนี้ยอมรับ” “ทานคิดวากฎหมายบ&านเมืองนั้นเปนธรรมสําหรับทุกคนหรืออาทิการเรียก เก็บภาษีอากร” “ทานคงจะเดือดร&อนในเรื่องการเสียภาษีอากรอยางแนนอนเลาให&เราฟHงสิวา เจ&าเดือดร&อนเพียงไหน” “มันทั้งเดือดทั้งร&อนจนต&องมาขอพบทานเชนนี้แหละ ,เจ&านายของเราหักภาษี จากเรามากเกินไป มันเปนการอยุติธรรมที่เราได&รับ เราเปนชางไม& ชางทาสี และ ชางตีเหล็ก แตเราเสียภาษีวันละสองดิรฮัม” “ทานมีความชํานาญหลายด&านที่เราขอชมเชย แตอาชีพเพียงการเสียภาษีวัน ละสองดิรฮัมนั้นอยูในวิสัยที่ทานสามารถจะเสียได&” ทานอุมัรฺกลาว “ทานเปนชนชั้นศักดินาก็ยอมเห็นควรกับชนชั้นศักดินา” ทานอุ มัรฺหัว เราะ “เรานะหรือ คือ ศั ก ดินา ,เราเปนจั ก รพรรดิที่ไ มมีแม&แต บัลลังก%จะนั่ง ไมมีเสื้อคลุมและมงกุฎ เรานอนบนเสื่อหยาบ ๆ ผืนเดียวบนทรายเรา ให&การต&อนรับแกทุกคนที่มาหาเราโดยเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนจักรพรรดิ์จากจักร ภพใดเราก็ให&การต&อนรับบุคคลเหลานั้นเชนเดียวกับกับที่ต&อนรับทานขณะนี้ คํากลาว ของทานรุนแรงเกินไปแล&ว แตเราไมถือสาหาความอันใดออกจากปวงชนของเรา ใน เมื่อทานไมได&ทําผิดกฎหมายอันใดเราคิดวาวันนี้ทานมาหาเราด&วยอารมณ%ร&อนเกินไป ดังนั้น จงมาหาเราอีกสักครั้งเถิดเพื่อเราจะได&ตกลงกันในวันหลัง” “แนนอน ,เราจะตกลงกับทานในวันหลังไมช&านี้อยางแนนอนที่สุด” ทานอุมัรฺยิ้มและพึมพําออกมาวา “เจ&าทาสคนนี้มันกลาวคําอาฆาตเรา” เมื่อทานนําเรื่องนี้ไปเลาให&บรรดาผู&ใกล&ชิดทราบ ทุกคนตางเปนเดือดเปน แค&นที่ทาสผู&นี้บังอาจพูดจาเปนเชิงก&าวร&าวประมุขของปวงชน “ทําไมทานไมคุมขังมันเสียกอนเลา” คอลิดกลาว “มันมีแตทางเสียเปรียบเทานั้นสําหรับเรา...คอลิดสหายรัก หากเราจับกุม มันมันก็จะตะโกนวาเคาะลีฟะฮฺรังแกประชาชนผู&เปนทาส หากเราจับกุมมันมันก็คง ตะโกนอีกวาเรารังแกคนตางศาสนาที่เปนประชาชาติของเรา เรามีแตทางเสียเปรียบ 213


ทุกประการ หน&าที่ที่เราทําเราทําเพื่อศาสนาเพื่อพระเจ&าและเพื่อนบีของเรา ในเรื่อง ภาษีอ ากรนั้นทานเคาะลีฟ ะฮฺ ทานกอนถือ วาเปนสิ่งสํ าคั ญที่สุด ทานอบูบ กัรจะไม ยินยอมเด็ก ขาดหากประชาชนคนใดหลบเลี่ยงภาษีที่เขามีหน&าที่ต&องเสีย ให&แกรั ฐ เพราะภาษีอากรที่รัฐเก็บก็ยอมนํามาสร&างความสุขความสบายให&แกทุกคนโดยถ&วน หน&า แบบฉบับของทานอบูบกัรเปนแบบฉบับที่เราต&องปฏิบัติตามทาน คิดดูเถิด คน อยางทานเคาะลีฟะฮฺอบูบกัรนั้นเปนคนนอบน&อมสุภาพและออนโยนยิ่งนัก เรียกวา อุ ป นิสั ย ของทานกั บ อุ ป นิสั ย ของเรานั้นอยู กั นชนิด แบบตรงกั นข&าม ทานอบู บ กั ร ผู& สุภาพยังไมยินยอมให&บุคคลใดหลีกเลี่ยงหน&าที่เขามีตอรัฐ แล&วอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ หรือจะบังอาจไมกระทําสิ่งที่ดีงามที่ทานอบูบกรีทําไว&“ “ทานควรจะระวังตัวไว&บ&าง “คอลิดเตือน “ทุกคนตางมีสัญชาติญาณแหงการระวังตัวเองอยูแล&วมิใชหรือคอลิด แตเมื่อ ลิขิตของพระเจ&ากําหนดไว&เปนอยางใด ใครจะฝQาฝZนกับกฎของพระเจ&าได& พระเจ&า อาจจะกําหนดให&อุมัรฺตายแบบชะฮีดอยางนักรบที่ตายในสมรภู มิก็เปนได& ซึ่งเราก็ พร&อมแล&วทุกประการที่จะยอมรับชะตาชีวิตของเราเอง“ “ทานอยากลาวทํานองนี้...พวกเราใจไมดีเลย “เศาะหาบะฮฺกลาว “แตสิ่งที่เรากลาวนี้เปนสัจธรรมใชหรือไม ,อยางไรก็ตามเรามั่นใจวาแม&เราจะ ตาย ก็คงไมตายอยูข&างถนน“ ทานอุมัรฺนั่งนิ่งด&วยสายตาอันแสดงถึงความเด็ดเดี่ยวในหัวใจของทาน” ชีวิต ของเราอยูมานานพอสมควรแล&ว อยูมาถึงหนึ่งนบีและอีกหนึ่งเคาะลีฟะฮฺ เราได&ทํา หน&า ที่ข องเรามาแล&ว อยางสุ ด ความสามารถ เราอาจจะกระทํ าการสิ่ง หนึ่ งสิ่ งใด ผิดพลาดไปบ&างก็ด&วยความประมาทหรือรู&เทาไมถึงการณ% แตเราไมเคยทําสิ่งที่ขัดตอ บทบัญ ญัติข องศาสนาพระมหากรุณาธิคุณ ของอั ลลอฮฺที่มีเ หนือ เราล&นพ&นนัก เรา เกือ บจะฆายอดบุ รุษ คนหนึ่ง ด&ว ยดาบในมือ ของเรา แตพระเจ&าก็ ท รงดลใจให&เ รา กลับมาเปนทั้งสหายและผู&รับใช&มหาบุรุษทานนั้น นี่เปนสิ่งที่เรารําลึกถึงตลอดชีวิต ในสมรภคูมิอุหุทหากทานนบีลิ้นพระชนม%ในวันนั้น อุมัรฺจะยื่นคอของมันให&ข&าศึกฆา เราเสียอีกคนหนึ่ง ในฐานะที่มือของอุมัรฺไมได&ปกปLองทานนบีที่รักอยางถึงที่สุด แต พระเจ&าทรงโปรดให&เราได&รับใช&ทานนบีอีกตอไป พระเจ&าทรงโปรดเราเปนเพื่อนคูใจ 214


ของทานเคาะลีฟะฮฺอบูบกัรผู&ทรงไว&ด&วยคุณธรรมอันสูงสง อาณาจักรอิสลามได&ขยาย ไปแล&วทุกทิศซึ่งตอไปไมวาจะอีกสิบอีกร&อยศตวรรษ จะไมมีมืออันแข็งแกรงของใคร มาทําลายศาสนาอิสลามได& นี่คือความภาคภูมิใจอยางที่สุดของเราแล&วที่รับใช&ศาสนา ได&ถึงเพียงนี้“

ทุกยามสายัณห%หลังจากนมัสการอัสรฺแล&ว ผู&เปนทั้งเคาะลีฟะฮฺและจอมทัพ มุสลิมจะมานั่งอยูเปนประจําที่ลานหน&ามัสยิดดิลนบี เปนเวลาที่ทานจะรับเรื่องราว ร&องทุกข%ของมวลชน ทานจะให&ความเสมอภาคเทาเทียมกันหมดไมวาผู&ที่ขอเข&าพบ ทานนั้นจะเปนใครทานเคาะลีฟะฮฺนั่งอยูบนลานหิน อาคันตุกะหรือราชอาคันตุกะก็ ต&องนั่งบนลานหินเบื้องหน&าทานเชนกัน การที่ทานปฏิบัติตนเชนนี้เปนการก&าวตาม รอยยุ ค ลบาททานนบี เศาะหาบะฮฺ ทู ล ทานวาจั ก รภพอิส ลามปH จจุ บั นนี้ ก ว&างใหญ ไพศาลนัก สมควรอยางยิ่งที่ผู&เปนประมุขของจักรภพควรประทับบนบัลลังก% ทานยิ้ม ด&วยดวงหน&าที่สลดเศร&าและตอบวา “ถูกต&องของทานที่จักรภพอิสลามขณะนี้กว&างใหญไพศาลนัก แตประมุขของ จักรภพเลาเปนใคร ,เขาคืออุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบทาสของพระเจ&า และผู&ติดตามรับ ใช&นบีที่ที่ฝHงพระบรมศพของทานอยูที่นี่ เกียรติของอุมัรฺนั้นไมได&แม&แตเพียงเทาละออง ฝุQนที่พระบาททานนบีออก ทานนบีเปนตําแหนงที่ใกล&ชิดของอัลลอฮฺเปนตําแหนงที่ ได&รับการแตงตั้งจากพระเจ&า สวนตําแหนงเคาะลีฟ ะฮฺนั้นเปนตําแหนงที่สามัญชน เชนเดียวกันกับอุมัรฺมอบหมายความไว&วางใจให&แล&วเราจะนั่งเหนือกวาที่ที่ทานนบีที่รัก ของเราเคยนั่งได&อยางใดทานนบีสิ้นพระชนม%แล&วก็ตามแตดวงวิญญาณของทานคงอยู ไมไกลจากเราเกินไปนัก ดังนั้นที่ที่เรานั่งอยูที่มันสูงคาเสียยิ่งกวาชีวิตของเราอีก บัลลังก%เปนของกษัตริย%หรือจักรพรรดิ ไมใชที่นั่งของทาสแหงพระเจ&าสมควรนั่ง ทาส ของอั ล ลอฮฺ ทุ ก คนจะต& อ งนอบน&อ มถอมตนไมวาเขาจะเปนใคร สิ่ง สํ า คั ญ ยิ่ง กวา บัลลังก%นั้นคือหน&าที่ที่เราตัดสินใจกระทําลงไปนั้นถูกต&องตามหลักการศาสนาหรือไม เรื่องการสรรเสริญนั้นอัลลอฮฺเทานั้นที่ทรงสิทธิตอคําสรรเสริญชีวิตของอุมัรฺ อิบนุล 215


คอฎฎอบก&าวมาถึงเพียงนี้ เปนเกียรติอันสูงยิ่งแล&วสําหรับคนอยางอุมัรฺ ดังนั้นอยา นําความโลภ ความหลงใหลให&แกเราเราจักมีชีวิตอยูในนามทาสของพระเจ&าและผู&ที่ เคยรับใช&ทานนบีมาแล&วเทานั้น“ เย็นวันหนึ่งขณะที่ทานอุมัรฺนั่งอยูที่ลานหน&ามั สยิด ทานแลเห็นลูก ชายของ ทานเดินผานมา ดวงหน&าของทานแสดงความโกรธอยางชัดแจ&ง ทานเรียกลูกไปนั่ง อยูตรงหน&าทานแล&วถามวา “การเปนลูกของเคาะลีฟะฮฺกับสามัญชนธรรมดาแตกตางกันใชไหมลูก“ “แนนอน เพราะเคาะลีฟะฮฺคือประมุขของมุสลิม“ “หากเคาะลีฟะฮฺอยางพอกระทําผิด จักได&รับโทษสถานใด“ “การกระทําผิดของเคาะลีฟะฮฺคงจะได&รับการอภัยจากพระเจ&าเพราะชีวิตของ เคาะลีฟะฮฺสละทุกสิ่งทุกอยางรับใช&พระองค%“ “เจ&าเข&าใจผิด ,นบีเทานั้นที่จักได&รับการอภัยจากอัลลอฮฺ แตพอเองเปนเพียง เคาะลีฟะฮฺธรรมดาคนหนึ่ง พอต&องได&รับโทษจากการกระทําความผิดของพอ และ เมื่ อ คนอยางพอกระทํ า ผิ ด เสี ย เอง โทษที่ พ อควรได& รั บ ควรหนั ก กวาสามั ญ ชน ธรรมดา“ “ลูกแลเห็นแตความดีงามของพอที่อุทิศชีวิตรับใช&นบี ลูกไมยอมเชื่อวาคน อยางพอจะเปนผู&มีความผิด“ “ทานนบีที่พอทั้งรักและเคารพเคยตรัสวา มุสลิมทุกคนต&องรับผิดชอบในสิ่งที่ เขาปกครองอยู ทุกคนตางเปนผู&ปกครองทั้งนั้น ผู&นําครอบครัวต&องรับผิดชอบตอ ความผิดที่บุคคลในครัวเรือนของเขากระทํา ตําแหนงของพอนอกจากจะเปนเคาะ ลีฟะฮฺแล&วยังมีตําแหนงเปนหัวหน&าครอบครัวด&วยใชไหมลูก“ “ใช“ “พอเสียใจเหลือเกิน...ลูกเอSย ลูกของเคาะลีฟะฮฺควรทําตนให&เปนแบบฉบับที่ดี แกคนทั่วไป แตขณะนี้ลูกรักของพอเองกลับทําลายหัวใจของพอ“ “ใครกันที่ทําลายหัวใจของพอ“ “เจ&าเองนะสิ ,ที่ทําให&หัวใจของพอร&าวฉาน“ “ลูกทําอะไรผิดหรือ“ 216


“พอได&กลิ่นเหล&าจากปากของลูก ,มันเปนพยานอยางเพียงพอแล&วโดยที่ไม ต&องอ&างใครใครเปนพยานไปซื้อของให&พอสักหนอยได&ไหม “พอจะให&ลูกซื้ออะไร“ “หวายที่เหนียวและทนทานสักอันหนึ่งมาให&พอ พอจะเก็บเอาไว&ใช&ปHดแมลง หรือฟาดอสรพิษหากมันมี ชวยไปซื้อให&พอสักอันเถิดลูก เงินในมือของพอไมมีดอก ไปขอเบิกจากคลังหลวงก็แล&วกันวาเคาะลีฟะฮฺต&องการเงินเพื่อซื้อหวาย เมื่อซื้อหวาย ได&แล&วไมต&องรีบเอามาให&พอดอก เอามาให&พอพรุงนี้เช&าซึ่งเปนเช&าวันศุกร%ก็ได& กลับ จากซื้อ หวายที่ตลาดแล&ว ก็ จงกลั บ บ&านเสีย นมั ส การมั ฆ ริบ ที่บ&าน ...ไมต&อ งมานั ส การมัฆริบและอิซาที่มัสยิดแหงนี้ ซึ่งเปนสถานที่ฝHงพระบรมศพของทานนบี ไปเถิด ลูกไปทําตามที่พอต&องการ“ รุงขึ้นหลังจากนมัสการซุบฮฺแล&ว ลูกชายของทานอุมัรฺก็มาพบทานพร&อมกับ หวาย ทานกลาวตอหน&าปวงชน” วาไมอภิสิทธิ์ชนคนใดในนครมาดีนะฮฺ แม&วาคนคน นั้นจะเปนลูกของเคาะลีฟะฮฺ หันหลังของเจ&าให&พอและถอดเสื้อของลูกออก“ เมื่อลูกของทานถอดเสื้อออกแล&วเหลือแตแผนเนื้อด&านหลัง ทานอุมัรฺก็กํา หวายไว&ในมืออยางเหนียวแนน “ทุกทานคงไมปฏิเสธวาความเจ็บปวดที่ลูกของทุกทานได&รับ มันคือความ เจ็บปวดของผู&เปนพอของเขาด&วย ศรัทธาชนทั้งหลาย ,เมื่อเย็นวานนี้เราได&กลิ่นเหล&า จากปากของลูก แม&วาจะเปนความผิดครั้งแรก แตความผิดก็ยอมเปนความคิด เปรียบได&ดังเส&นสายมือบนฝามือ อันที่จริงเราควรนําเรื่องนี้ขึ้นศาลเพื่อพิพากษา แต เพื่อมิให&สะเทือนใจตุลาการมีความเกรงใจในตําแหนงของข&าพเจ&า ข&าพเจ&าในฐานะ เคาะลีฟะฮฺก็มีสิทธิ์ที่จะลงโทษผู&กระทําความผิดตอศาสนาด&วยเหมือนกัน ลูกชายของ เคาะลีฟะฮฺดื่มสุรา ดังนั้นมือที่ควรโบยหวายบนหลังเขาจึงควรเปนมือพอของเขาเอง “ เศาะหาบะฮฺคนหนึ่งวิงวอนวา” แตลูกของทานคนนี้สร&างความดีให&กับศาสนา มากมาย ทานอภัยให&เขาสักครั้งหนึ่งไมได&เชียวหรือ “ “นั้นนะสิ ,หากเขาเปนลูกคนอื่น ความดีที่เขาทํามาเราอาจจะลดหยอนผอน ปรนโทษให& เ ขาได& อั น ที่ จ ริ ง เราควรจะโบยหลั ง เขาให& ม ากกวาคนอื่ น เสี ย ด& ว ยซ้ํ า 217


เพราะวาเขาเปนลู ก ของเรา แตเมื่ อ เขาเคยทํ า ความดี ม ามากเราก็ จ ะลงโทษเขา เพียงแตระบุไว&ในพระมหาคัมภีร%อัลกุรอานเทานั้น“ แล&วมือของทานก็ยกหวายอันเหนียวแนนฟาดลงไปบนแผนหลังของลูกอยาง ไมยั้งมือ เศาะหาบะฮฺตางพากันน้ําตาคลอที่แลเห็นความยึดมั่นตอศาสนาในตัวเคาะ ลีฟะฮฺของเขา ทุกคนเดินออกจากมัสยิดและร่ําไห& ตางพากันกลาววา” ทานอุมัรฺเปน เคาะลีฟะฮฺที่ชื่อเสียงของทานจักไมมีวันตาย“ เมื่อลงโทษลูกตามศาสนาบัญญัติแล&วทานก็โอบรางลูกมากอดไว&กลาววา “ทุกครั้งที่หวายฟาดลงบนหลังลูก ความเจ็บปวดในหัวใจพอนั้นบอบช้ํายิ่ง กวา โกรธพอไหมลูก ,รับโทษทัณฑ%จากมือของพอนั้นดีกวาไปยืนรับการลงโทษตอ พระพักตร%พระเจ&าในวันตัดสินพิพากษาในปรภพ“

ตลอดชวงชีวิตแหงการทําหน&าที่เคาะลีฟะฮฺของทานอุมัรฺนั้น เรียกได&วาทํางาน หนักยิ่งกวาทาสหรือกรรมกร เพราะตลอดเวลาของทุกวันและทุกคืนนั้น ทานต&อง เตรียมตัวไว&ให&พร&อมเพื่อแก&ไขปHญหาของประเทศชาติ แก&ไขปHญหาความคิดเห็นทาง ศาสนาที่ขัดแย&งกันของประชาชน รวมทั้งการรับใช&ประชาชาติที่ทานปกครองทั่วจักร ภพอิสลาม บางครั้งบุรุษเหล็กเชนทานก็รู&สึกเหนื่อยออนเชนกัน ยกตัวอยางวันหนึ่ง ทานหยิบใบหญ&าขึ้นมาถือไว&ในมือ เพื่อมองดูใบหญ&านั้นอยางพินิจ แล&วทานก็รําพึง ออกมาวา “เราอยากเปนใบหญ&านี้เหลือเกิน“ “ทําไมทานพูดเชนนี้เลา ,ทานผู&เปนประมุขแหงจักรภพอิสลาม“ “ใบหญ&าหรือกิ่งไม&เมื่อรวงจากต&นไม&ไมนานนักก็กลายเปนธุลีดินชีวิตของเราก็ เชนกันวันหนึ่งก็ต&องกลายเปนสวนหนึ่งของธุลบีดิน แตทวากิ่งไม&ใบหญ&าไมต&องได&รับ การสอบสวนในวันที่พระผู&เปนเจ&าทรงพิพากษา สวนตัวเรานั้นตําแหนงทุกตําแหนงที่ เรามีอยูและเปนอยูไมวาจะเปนเคาะลีฟะฮฺผู&นําศาสนา ไมวาจะเปนประมุขของจักร ภพ และไมวาจะเปนสามัญชน เราต&องได&รับการพิพากษาจากพระเจ&า ยิ่งหน&าที่ที่ 218


เรามีอยูผูกพันกับสังคมมากขึ้นเทาใด ความรับผิดชอบที่เราจะต&องรายงานตอพระ เจ&าก็ยอมหนักอึ้งเปนพันทวี และใครจะชวยเราได&ในวันนั้น วันที่ทุกคนต&องยืนอยาง เดียวเพื่อรับฟHงคําพิพากษาอันเที่ยงธรรมจากพระผู&อภิบาล“ วันหนึ่งทานมีปHญหาร&อยแปดพันประการมาให&ขบคิด ทําให&อารมณ%ของทาน ไมสู& จะราบรื่ นหนั ก เราไมควรลื มวาทานเปนผู&ที่มี นิสั ย รั ก การกวี อารมณ%ก วีนั้ น สะเทือนใจได&งายเหลือเกิน และในวันหนึ่งขณะที่ทานกําลังขบคิดปHญหาหลายปHญหา ที่ระดมกันมาหลายด&านมีชาวเบดูอินคนหนึ่งเข&าพบทานแล&วถามปHญหาอันไร&สาระ ขณะนั้นทานถือแส&ปHดแมลงอยูในมือทานจึงใช&แส&หวดไปที่บาชาวทะเลทรายคนนั้น และกลาววา” ทําไมเวลาที่เราวางทานจึงไมมา แตในขณะที่เรามีธุระอันสําคัญ ทาน กลับมาขัดจังหวะของเรา “ชาวเบดูอินผู&นั้นก็จากทานมา แตเมื่อตกเวลาเย็นปHญหาที่ทาขบคิดได&คลี่คลาย ทานรู&สึกเสียใจอยางสุดซึ้งที่ ใช&แส&ฟาดบาชายเบดูอินคนนั้น ทานสั่งทหารให&ไปตามชาวเบดูอินกลับมาที่มัสยิดแล&ว ทานก็ยื่นแส&ให&แกชาวทะเลทรายคนนั้นพร&อมกับกลาววา” จงเฆี่ยนเราเถิด“ “จงเฆี่ยนทานได&อยางไร ทานเคาะลีฟะฮฺ ข&าพเจ&าเองก็เปนผู&ผิดเชนกันที่ไม ทราบวาทานกําลังมีปHญหาที่ต&องขบคิดอยางหนัก ด&วยพระนามของพระเจ&าข&าพเจ&า ขอสาบานวาข&าพเจ&าให&อภั ยแกทานแล&ว เพื่อเห็นแกอัลลอฮฺและเห็นแกผู&ที่ทํางาน หนักเพื่อรับใช&พระองค% “ชาวเบดูอินตอบ “ทําไมทานจะเฆี่ยนข&าพเจ&าไมได& ตําแหนงเคาะลีฟะฮฺไมใชตําแหนงที่อยูเหนือ กฎหมาย กอนที่นบีที่รักของเราจะสิ้นพระชนม%นั้น เคยมีคนที่ถือแส&จะเฆี่ยนทานนบี เชนกัน แล&วเราเปนใคร ,เราเปนเพียงอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ ทาสของพระเจ&าเชนกัน กับทาน เกียรติศักดิ์ของเราและทานนั้นเสมอกัน ในเมื่อเราเฆี่ยนทานด&วยแส&ได& ทานก็มีสิทธิ์ที่จะเฆี่ยนเราด&วยแส&อันเดียวกันเชนกัน“ “เราอยากทราบเรื่องตอนที่นบีใกล&จะสิ้นพระชนม% และมีคนถือแส&ที่จะเฆี่ยน ทานนบี“ “เมื่อทานนบีที่รักของเราใกล&จะสิ้นพระชนม%นั้น ทานก็ได&กลาวถึงหนี้สินวามี หนี้สินที่ค&างอยูกับใครบ&างไหม ปรากฏวาไมมีใครเปนเจ&าหนี้ของทาน ทานนบีจึงถาม ตอไปอีกวาถ&าเชนนั้นเราเคยทําให&ใครเจ็บช้ําบ&างไหม ชายคนหนึ่งชื่ออะกาซะฮฺก็ยก 219


มือขึ้นตอบวาแส&ของทานนบีเคยฟาดหลังของเขา ในขณะที่ทานควบม&าอยูในสนามรบ ทานนบีก็ยื่นแส&ให&ชายคนนั้น แล&วกลาววาดังนั้นทานจงเฆี่ยนเราด&วยแส& เปนการ ชดใช&หนี้จากผู&นําของทานชายคนนั้นก็กลาววาแส&ที่ทานฟาดเรานั้นฟาดบนแผนหลัง ของเรา โดยที่เราไมได&สวมเสื้อ ทานนบีก็ถอดเสื้อของทานออกจนแลเห็นแผนหลัง และทานก็หันหลังให&ชายคนนั้นตีหลังทานด&วยแส&อยางแรงที่สุดแตอะกาซะฮฺกลับโอบ รางทานนบีไว&และกลาววา ข&าพเจ&าขออภัยตอทานที่ทําให&ทานต&องถอดเสื้อ ข&าพเจ&า จะขอเฆี่ยนทานด&วยจมูกของข&าพเจ&าแทนแส&แล&วอะกาซะฮฺก็ก&มลงจูบที่ผิวเนื้อของ ทานนบี นี่คื อ เรื่ อ งจริ งที่ เ ราเห็ น แกสายตา การที่นํ าเรื่ อ งนี้ม าเลาให&ท านฟH งโดย ละเอียดเพราะเห็นวาทานปรารถนาที่จะรู& และไมใชวาเลาเรื่องนี้มามิให&ทานต&องเฆี่ยน เราด&วยแส& เราและนบีนั้นเกียรติผิดกันลิบลับนัก ดังนั้นเฆี่ยนเราเถิดในวันนี้ มันชวย ให&เราคลายความทุกข%ทางใจที่เราทําแกชาวทะเลทรายเยี่ยงทานประการหนึ่ง และ เปนการชดใช&บาปกรรมที่เราจะต&องเผชิญในปรภพอีกประการหนึ่ง จริงอยูเราเปน ผู&ปกครองประชาชน แตผู&ปกครองนั้นก็คือผู&รับใช&ประชาชนด&วยมิใชหรือดังนั้นเมื่อ ผู&รับใช&ประชาชนทําผิด ประชาชนก็มีสิทธิ์อยางสมบูรณ%ที่จะใช&แส&เฆี่ยนผู&ปกครองของ เขาได&เชนกัน ชาวเบดูอินผู&นั้นกลาวตอบวา “ทะเลทรายอันกว&างใหญไพศาลและสวางจ&าในยามกลางวัน ทะเลทรายที่มี ท&องฟLานับพันนับหมื่นดวงดาว รวมทั้งกองไฟที่เรากอไว&หน&ากระโจม ทานอยานึกวา ชาวทะเลทรายผู&เรรอนจะไมรักการอานบทกกวี มีบทกกวีบทหนึ่งที่จับใจเรามาก..... ทานพอจํามันได&ไหมวาใครเปนผู&แตงบทกวีบทนี้“ ทานอุมัรฺตกตะลึงเมื่อได&ทราบวาชาวทะเลทรายก็ยังนิยมบทกวี “ลองทองบทกวีนั้นให&เราฟHงสักทอนหนึ่ง บางทีเราอาจจะให&คําตอบแกทาน ได&วาบทกวีนั้นเปนบทกวีของกวีเอกทานใด“ “บทกวีบทนั้นมีอยูวา ความแค&นมีสิทธิ์ที่ล&างความแค&นโดยไมเกินขอบเขตที่ผู& ได&รับ แตสิ่งที่ประเสริฐกวาความแค&นนั้นก็คือการให&อภัย และสิ่งที่ประเสริญยิ่งกวา การให&อภัยสิ่งนั้นก็คือลืมมันเสีย“ “เรานึกไมออกวาใครแตง“ 220


“ถ&าเชนนั้นเราจะบอกให&....คนแตงบทกวีนี้มีชื่อวาอุมัรฺ อิบนุคอฎฎอบ“ ทานเคาะลีฟะฮฺอดที่จะยิ้มไมได&เมื่อกลาววา” เราเองดอกหรือ“ “ถ&านครมาดีนะฮฺมีชายชื่ออุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบทเพียงคนเดียวผู&เขียนกวีบทนี้ ก็คือทาน เรารักกวีบทนี้มากเพราะคนเราหากลืมความแค&นความเจ็บปวดเสียได& จิตใจของเขาก็ยอมมีแคความสุข ข&าพเจ&ามีความเพราะใช&กวีบทนี้เปนอาจารย% แล&ว ทานจะให&เราเฆี่ยนอาจารย%ของเราด&วยแส& ให&เราเฆี่ยนประมุขของเราที่ทํางานตลอด วันและบางครั้งก็ตลอดคืนด&วยที่ถืออยูในมือของข&าพเจ&าได&อยางใด" ทานอุมัรฺโ อบรางชาวเบดู อินผู&นั้นไว&แนบอก กลาววา ” ทานนั้นมีชีวิตและ หัวใจเชนกันกับที่ข&าพเจ&ามี แตอยางไรก็ตามคืนนี้ทั้งคืนเราจะขออภัยตอพระเจ&าในสิ่ง ที่ล วงเกินผาน เราทานเสีย แล&วที่มีเวลาอานบทกวีย ามตะวันร&อ นและยามราตรี ในขณะที่เราเองมีแตคําวาปHญหาเต็มหัวใจ...เราขอถือวาทานเปนมิตรสนิท ผานมาดี นะฮฺวันใดมาแวะหาเราให&ได&...เราจะคอย“ คืนนั้นเองทานเคาะลีฟะฮฺกลับบ&านด&วยความสํานึกผิด ทานนึกตําหนิตนเอง ไปด&วยในวาระเดียวกัน ทานนมัสการตอพระเจ&า และกลาววิงวอนตอพระเจ&าด&วยบท ขอพรดังนี้ “โอ&...อุมัรฺ ,เจ&าเปนคนที่ต่ําช&า แตทวาพระผู&เปนเจ&าได&ทรงยกยองเจ&าไว& ณ ที่สูง ให&ได&มีเกียรติมีอํานาจเหนือประชาชน แตเมื่อประชาชนซึ่งเปนทาสของพระเจ&า มาหาเจ&า แตเจ&ากลับตีเขาด&วยแส& เชนนี้เมื่อถึงวันพิพากษาเจ&าจะตอบกับพระองค%วา อยางใด“ ทานนมัสการไปรําพันไปเชนนี้เกือบตลอดคืน

รุงอรุณของวันรุงขึ้นอันเปนเวลาที่ทานเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺจะต&องไปทําหน&าที่นํา ปวงชนนมัสการซุบฮฺที่มัสญิดิลนบี ทานก็ได&เดินทางไปยังมัสยิดสถานและเมื่อมุอัซ ซินประกาศเรียกร&องให&ทุกคนเข&าแถวยืนนมัสการซุบฮฺแล&ว รางของบุรุษเหล็กผู&สร&าง จักรภพอิสลามก็ไปยืนอยูตรงสถานที่ที่ทานจะยืนนําปวงชนนมัสการ เมื่อทานเห็นวา 221


การเข&าแถวของปวงชนเปนไปอยางมีระเบีย บเรีย บร& อ ยแล&ว ทานก็ หันหน&ามุ งสู ทิ ศ กิบลัตเพื่อนําปวงชนนมัสการ ทันใดนั้นเอง....เหตุการณ%ที่ไมมีใครคาดฝHนวาจะเกิดขึ้นได&ก็บังเกิดขึ้นอบูลัวะ ลัวะซึ่งคงมาซอนตัวอยูภายในมัสญิดนานแล&ว ก็กระโดดไปยังที่ทานอุมัรฺยืนอยูโดยใน มือของมันกํากริชด&ามหนึ่งแนน มันจ&วงแทงทานอุมัรฺด&วยกริชซ้ําแล&วซ้ําเลาถึงหกครั้ง จนรางของทานผู&เปนประมุขแหงจักรภพอิสลามทรุดฮวบลงกับพื้น โลหิตแดงฉานไป ทั่วผ&าปูนมาศผู&ที่อยูใกล& ๆ หายตกตะลึงแล&วก็จับตัวทาสทมิฬคนนี้ไว&ทันที แตทาส ทมิฬก็รีบฆาตัวของมันเองด&วยกริชที่ยังกําแนนอยูในมือ การนมาซศุ บ หฺ ยุ ติ ล งอยางฉั บ พลั น เศาะหาบะฮฺ พ ยุ ง รางของทานไปเพื่ อ พยาบาล ทานกลาววา “อยาให&ชีวิตของลูกชายที่ชื่ออุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ ทาสของอัลลอฮฺต&องทํา ให&พวกทานพลาดเวลาแหงการนมัสการซุบฮฺ ยกรางของเราไปที่หน&าฝHงพระบรมศพ ของทานนบีเถิด ลากรางของคนที่ฆาเราออกไปข&างนอก จัดการปูผ&านมาศเสียใหม ใครก็ ไ ด& รี บ ไปทํ า หน& า ที่ อิ ม ามแทนเรา ความตายของอุ มั รฺ นั้ น มี ค าน& อ ยกวาการ นมัสการตอพระเจ&าหลายตอหลายเทานัก“ ทุกคนจึงกลับไปนมัสการตามที่ทานอุมัรฺสั่ง เพราะทุกคนทราบดีวาทานอุมัรฺ จะกริ้วและทรมานอยางที่สุดหากมีใครสักคนไมยอมไปนมาศซุบฮฺตามเวลา เมื่อทุก คนนมาศเรียบร&อยแล&วทุกคนก็แบกรางของทานไปยังบ&านพัก ทานถามวา” ใครกัน แนที่เปนผู&แทงเรา“ “มันคืออบูลัวะลัวะ “ใครคนหนึ่งตอบ “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ...ข&าพระองค%ขอขอบพระคุณตออัลลอฮฺ ที่ผู&ซึ่งทําให&ข&าพเจ&า ต&องหลั่งเลือดครั้งเปนคนอื่นซึ่งมิใชมุสลิม“ เมื่อรางของทานถูกนําไปยังบ&านพัก แพทย%ก็มาทําการรักษาแตแล&วแพทย%ก็ ต&องร&องไห& แพทย%นั้นทราบได&ดีกวามหาบุรุษอยางทานอุมัรฺนั้นใจแข็งแกรงยิ่งกวา เหล็กกล&าเขาก็กลาวแกทานวา “โอ&...ทานผู&เปนที่เคารพของปวงชน บาดแผลแตละแหงของทานนั้นลึกเกินไป สุดความสามารถที่จะทําการรักษาได&แล&ว“ 222


ทานอุ มัรฺรีบ กลาวคํ ากลีมะฮฺ ซ ฮาดะหรือ คํ า ปฏิญ าณตนทั นที แตทานก็ ไ ม แสดงความทรมานให&ทุก คนเห็ น ตรงกั นข&ามเมื่อ ทานได&ยินเสีย งปวงชนร&องไห&กั น ระงมทานยังมีสติเตือนทุกคนวา “ปวงชนที่รัก ของอุ มัรฺเ อS ย ,พวกทานลืม คํ าตรั ส ของนบีแ ล&ว หรือ คํ าตรั ส ของนบีที่รักและเคารพของอุมัรฺ ทานนบีตรัสวาการร&องไห&ของญาติพี่น&องนั้น จักนํา ความทุกข%ทรมานมาสูผู&ตาย อยาร&องไห&...ปวงชนทั้งหลายอยางร&องไห& เราต&องการ สมาธิอยางยิ่งในการที่จะกลับไปสูพระเจ&าด&วยความสงบ ปวงชนที่รักของเราเอSย ,หากเรามีหนี้สินติดค&างอยูกับผู&ใด จงแจ&งเรื่องนี้กับ อับดุลลอฮฺบุตรชายของเราเถิด ให&จัดการหาเงินมาใช&หนี้แทนพอให&ได& กอนที่จะมี การนมาศญะนาซะฮฺ เพราะทานนบีไมเคยนํานมาศญะนาซะฮฺให&แกผู&ตายที่เปนหนี้ ผู&อื่นอยูแตตลอดชีวิตของเราเราไมเคยเปนหนี้ใคร เรากินเราอยูแบบชาวทะเลทราย ทั้งหลายอดมื้ออิ่มมือตามยถากรรม หากในชีวิตของเราเคยลวงเกินผู&ใดไมวาจะเปนการกระทํา ถ&อยคําวาจาหรือ แม&เพียงความรู&สึกนึกคิด ขอทุกทานจงอโหสิกรรมแกเราด&วยเถิด“ ทานกลาวตอไปด&วยเสียงเครือ ” หากเราจะมีหวง....สิ่งสําคัญที่สุดที่เราเปน หวง สิ่งนั้นก็คือการรักษาศาสนาอิสลามของพวกทาน ดังนั้นหากทานปรารถนาจะ ให&ดวงวิญญาณของเราเปนสุข ขอพวกทานจงพยายามนึกถึงและขออภัยตอพระเจ&า จงอยาทอดทิ้งการนมัสการเพราะการนมาศนั้นคือหัวใจของศาสนา และจงบริจาคซะ กาตและซอดาเกาะฮฺจงถือศีลอดอยางเครงครัดในเดือนรอมฎอน และสําหรับผู&ที่มี ความสามารถจงเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ%อยางน&อยสักครั้งหนึ่งในชวงชีวิตของเขา การทําดีนั้นต&องรับทําที่นี่ที่เมื่อถึงเวลาและมีโอกาส เพราะมีพวกเราไมน&อยที่ เมินเฉยตอการนมาศ การถือศีลอด ผู&ที่มีฐานะดีพยายามหลีกเลี่ยงการบริจาคซะ กาตและการเดินทางไปฮัจญ% ในที่สุดเขาก็ต&องตายลงกอนที่จะได&กระทําความดีนั้น อีกสิ่งหนึ่งพึงจําไว&เถิดวาศาสนาอิสลามนั้นจักอยูได&ด&วยการตอสู& จักอยูได&ด&วยความ สามัคคี อีกสิ่งหนึ่งพึงจําไว&เถิดวาศาสนาอิสลามนั้นจักอยูได&ด&วยการตอสู& จักอยกูได& ด&วยความสามัคคี และจักอยูได&ด&วยความเสียสละ เราเคยเลาให&ปวงชนทราบแล&ว ถึงเศาะหาบะฮฺของทานนบี ในอดีตที่อยูรวมกันด&วยความดิ้นรนตอสู&เพื่อศาสนา 223


อยู รวมกั นด& ว ยความสามั ค คีไ มเลือ กเชื้ อ ชาติ หรื อ ชั้ นวรรณะอยู รวมกั นด& ว ยความ เสียสละอยางใด จงนําเรื่องที่เราเลาให&พวกทานฟHงเลาตอ ๆ กันไปจนถึงลูกหลานเพื่อ มุสลิมในยุคหลังจักได&ทราบวามุสลิมในสมัยทานนบี ในสมัยทานเคาะลีฟะฮฺอบูบักร และในสมัยของอุมัรฺ อิบนุลค็อฏฏอบนั้นอยูกันอยางไร“ เศาะหาบะฮฺคนหนึ่งถามทานด&วยเสียงเครือวา “โอ&....ทานเคาะลีฟะฮฺ สิ้นทานแล&วทานจะแตงตั้งผู&ใดให&เปนเคาะลีฟะฮฺเลา“ เศาะหาบะฮฺอีกคนก็กลาววา” ทานควรแตงตั้งทานอับดุลลอฮฺ บุตรชายของ ทานเถิด เพราะเขาเปนทั้งสายเลือดของทาน เปนทั้งผู&ท่มี ีความรู&ดีทางศาสนา อีกทั้ง มีน้ําใจอันเผื่อแผการุณกรรม“ ทานอุมัรฺเสียงเครือเมื่อตอบวา” ลูกผู&ชายคนหนึ่งในตระกูลคอฏฏอบคือตัว ข&าพเจ&าเอง เพียงพอแล&วที่จักก&มกราบบังคมทูลตออัลลอฮฺ ถึงกิจการที่เขาได&กระทํา ลงไปเพื่อศาสนา ถ&าอุมัรฺสามารถชี้แจงเหตุผลได&ทั้งหมดเขาก็จะรู&สึกเปนสุขอยางยิ่ง ที่สุด ข&าพเจ&าได&แบกภาระอันหนักยิ่งนี้มาตลอดชีวิตข&าพเจ&า ข&าพเจ&าได&ปรารถนาที่ จะแบกภาระนี้ไว&บนบาอีกตอไปเมื่อข&าพเจ&าตายไปแล&ว“ “ทําไมการที่เคาะลีฟะฮฺคนใหมเปนอับดุลเลาะฮฺบุตรชายของทาน ทานยังต&อง แบกภาระอันหนักหนวงไว&อีกด&วยหรือ“ “แนนอนที่สุดเพราะอับดุลเลาะฮฺเปนบุตรของอุมัรฺ หากวันข&างหน&าลูกของเรา ประพฤติผิด มีหรือที่ดวงวิญญาณของเราจะไมทนทุกข%ทรมาน“ “ถ&าเชนนั้นขอให&ทานแตงตั้งใครขึ้นสักคน “เศาะหาบะฮฺกลาว “ถ&าข&าพเจ&าจะกระทําเชนนั้นก็ยอมกระทําได& เพราะทานคอละฟ[ฮฺอบูบกัรเคย แตงตั้งข&าพเจ&ามาแล&ว เพราสถานการณ%ตอนนั้นกําลังอยูในขั้นวิกฤติ แตข&าพเจ&าจะ ไมกระทํ าตามนั้น ถ&าอบู อุ บัย ดฺ ญั รรอฮฺยั งมีชีวิตอยู ข&าพเจ&าก็ จะเลือกทานผู&นั้น เพราะทานนบีเคยเรียกทานอบูอุบัยดฺวาผู&แทนแหงปวงชน หรือหากวาซาลิมผู&เปน ทาสของฮาซีฟะฮฺยังมีชีวิต ข&าพเจ&าก็จะแตงตั้งเขา เพราะนบีเคยกลาวถึงเขาผู&นี้วา เปนบุคคลที่รักอัลลอฮฺอยางสุดซึ้ง แตถ&าทานคาดคั้นจะให&ข&าพเจ&าให&คําแนะนํา ข&าพเจ&าก็จะบอกทานวายรังมี ชายอีกหกคนที่พวกทานควรพิจารณาเขา เพราะทานนบีของอัลลอฮฺเคยรับสั่งวาพวก 224


เขาจักได&เข&าสูสรวงสวรรค%อันสถาพร ทั้งหกทานนี้คือทานอุสมาน ทานอาลี ทานมุ อาวิยะฮฺ ทานอับดุ ลเราะฮฺมาน อิบ นุเอาพฺ ทานละอาต อิบ นุอาบีรักกัล ปW ทาน ลุบัยรฺ อิบนุอาราม และทานตอฮษ อิบนุอุบัยดุลลอฮฺ ข&าพเจ&าขอร&องให&ทานเหลานี้ มาประชุมกัน และเลือกคนใดคนหนึ่งทําหน&าที่สืบตอข&าพเจ&า หากไมสามารถตกลง กันได& ก็จงถือเอาคะแนนเสียงสวนใหญตัดสินปHญหานี้เถิด ด&วยความเห็นชอบของ ปวงชน“ รางของบุรุษเหล็กนอนหลับตาพริ้มอยางสงบบนที่นอน ลมหายใจดังหนึ่งสุด สิ้นแล&ว อําลาจากตําแหนงอันยิ่งใหญเพื่อกลับไปตามคําเรียกร&องของพระผู&อภิบาล ทุกคนไมกล&าร&อ งไห&ระงมเพราะกอนที่ทานจะสิ้นใจนั้น ทานได&สั่งไว&แล&ววาทุ กคน อยางร&องไห&เพราะการร&องไห&นั้นนําความทรมานสูดวงวิญญาณของผู&ตาย ทุกคนจึง ได&แตถอนสะอื้นด&วยดวงหน&าที่อาบด&วยน้ําตาทุกดวงหน&า เพราะการสูญเสียบุคคล เชนทานเพียงคนเดียว มันหมายความถึงการสูญเสียที่ยิ่งใหญสุดที่ทุกคนจะพรรณนา ทานอับดุลลอฮฺบุตรชายของทานเพียงคนเดียวเทานั้น ที่ยังเชื่อวาพอของตน ยังไมตาย “พอของเรายังไมตายดอก ,แตวาระสุดท&ายของทานนั้นจักต&องสุดสิ้นลงใน วันนี้ไมช&านัก เราจะลองปลุกทานให&ทานตื่น เพราะเราเชื่อดีวาหากทานได&ยินเสียง เสียงหนึ่ง....ทานจะต&องลืมตาขึ้นมาทันที“ “เสียงอะไรของใครกัน “มารดาของอับดุลลอฮฺเอยถาม ทานอับดุลลอฮฺไมยอมตอบ แล&วทานเองก็ก&มลงโดยแนบหน&าไปที่ริมใบหูพอ ของตน แล&วทานอับดุลลอฮฺก็กลาวเสียงอะซาน อัลลอฮุอักบัร....อัลลอฮุอักบัร อัลลอฮฺผู&เกรียงไกร อัลลอฮฺผู&เกรียงไกร อัลลอฮุอักบัร....อัลลอฮุอักบัร อัลลอฮฺผู&เกรียงไกร อัลลอฮฺผู&เกรียงไกร อัชหะดุอัลลาอิลลัลลอฮฺ อัชหะดุอันนะมุฮัมมะดัรรอซุลุลลอฮฺ ข&าพระองค%ขอ ปฏิญาณวาไมมีพระเจ&าองค%ใดนอกจากอัลลอฮฺเพียงพระองค%เดียว ข&าพระองค%ขอ ปฏิญาณวาโดยแนแท&นบีมุฮัมมัดนั้นเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ ฮัจญญะอลัซซอลาตฺ ฮัยยะอลัซซอลาตฺ จงเข&าสูการนมัสการเถิด จงเข&าสู ความดีงามเถิด จงเข&าสูความดีงามเถิด 225


อั ล ลอฮุ อั ก บั ร อั ล ลอฮุ อั ก บั ร ลาอิ ล าฮะอิ ล ลั ล ลอฮฺ อั ล ลอฮฺ ผู& เ กรี ย ง ไกรอัลลอฮฺผู&เกรียงไกร ไมมีพระเจ&าองค%ใดนอกจากอัลลอฮฺ ดังหนึ่งปาฏิหาริย%รางที่นอนหลังตาพริ้มด&วยลมหายใจที่ใกล&จักสิ้นสุดนั้นลืม ตาขึ้นมาทันที รางอันออนระทวยด&วยพิษของบาดแผลฉกรรจ%ทําทาถลันขึ้นลุกนั่งเพื่อ จักยืนนมัสการ แตพอยกศีรษะขึ้นมาจากหมอนหนอยหนึ่งเทานั้น ศีรษะของทานก็ ล&มฟุบลงกับหมอนอีก ทานกัดฟHนพยุงรางขึ้นมาอีกครั้งแตก็ปราศจากผล ในที่สุด ทานก็ใช&มือทั้งสองข&างของทานยกขึ้นในแบบตักบีร กลาวคําอัลลอฮฺอักบักรด&วยเสียง เครือและแผวเบา ตอจากนั้นมือทั้งสองข&างของทานก็วางประสานกันที่ทรวงอก ลืมตาขึ้นมา ด&วยน้ําตาและมีเสียงอันแผวเบาอานซูเราะฮฺฟาติฮะ และอีกซูเราะฮฺหนึ่ง หลังจากนั้น ทานก็ป[ดดวงตาหลังจากยกมือตักบีร และลืมตาขึ้นมาอีกครั้งแล&วป[ดตาลงพร&อมกับ ยกมือตักบีรทานกระทําเชนนี้ก็คือเปนการนมัสการซุบฮฺโดยเสร็จสิ้นสมบูรณ% ไมนา เชื่อเลยวาด&วยอิทธิพลของเสียงอะซานเทานั้น รางของบุรุษเหล็กที่กําลังจะสิ้นลม หายใจอยูแล&ว สามารถลืมตาขึ้นมาทันทีและนมั ส การตอพระเจ&าได&โ ดยครบถ&ว น สมบูรณ% ทั้งที่รางกายของทานยังนอนอยูบนที่นอนรอคอยการหายใจครั้งสุดท&าย แล&วทานก็เรียกลูกชายเข&ามาใกล& กระซิบบอกลูกชายวา “อับดุลลอฮฺ....ไปที่พํานักกของพระนางอาอิชะฮฺให&พอได&ไหมลูก“ “พอจะให&ลูกเชิญพระนางมาที่นี่กระนั้นหรือ“ “พอจะทําเชนนี้ได&อยางไร....พระนางเปนถึงภรรยาของทานนบีที่พอเคารพ ไปหาพระนางเถิดแล&วจงนําคําฝากสลามอําลาของพอตอพระนาง“ “เทานั้นเองหรือพอ“ “ตั้งใจฟHงคําสั่งของพอให&จงดี....ลูกรัก ,เมื่อพระนางอนุญาตให&ลูกได&พบจง กลาวแกพระนางวาอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบขอฝากสลามอําลาพระนางด&วยความเคารพ อยาลืมนะลูกเวลาสนทนากับพระนางอยาเอยอ&างตําแหนงเคาะลีฟะฮฺของพอเปนอัน ขาด เพราะพอไมได&ดํารงตําแหนงนั้นอีกแล&ว ไมช&านี้ เรีย กพระนางวาทานอุ มมุ ล มุสลิมมารดาของมุสลิมทั้งมวล และเรียกตัวพอวาอุมัรฺ อิลนุลฎฎอบเทานั้น มิใช เคาะลีฟะฮฺ อุมัรฺอิบนุลคอฏฏอบ 226


ลูกจงกลาวแกพระนางด&วยความสุภาพและออนโยนกวา หากพอสามารถ คลานมาอําลาพระนางได& พอก็จะคลานมาอําลาพระนางด&วยตนเอง แตสภาพที่พอ เปนอยูขณะนี้ไมสามารถที่จะให&พอมาอําลาพระนางด&วยตนเองได& จึงให&ลูกมาแทนตน และเมื่อพระนางมีทีทาวาสงสารตอการจากไปของพอลูกจงวิงวอน พอขอย้ํา อีกครั้งวาลูกจงวิงวอนของตอพระนาง วาตลอดชีวิตของพอสิ่งที่พอปรารถนาอยาง ที่สุดในชีวิตก็คือการรับใช&ทานนบี พอได&จงรักภักดีตอทานนบีจนตราบวาระสุดท&าย แหงลมหายใจ ดั งนั้นเมื่ อ พอตายพอก็ ข อวิงวอนตอพระนาง ขอพระนางให&สิ่งที่ พ อขอได& เปนไปตามที่ปรารถนา เมื่อยามที่พอมีชีวิตอยูพอเคยยืนเคยนั่งรับใช&ทานนบีเมื่อยาม พอตายพอก็ปรารถนาที่จะฝHงรางของพอเคียงใกล&ที่ฝHงรางทานนบี มันเปนความฝHน อันสูงสุดที่พอต&องการ รางอันเต็มไปด&วยบาดแผลอันฉกรรจ%ของพอ จะได&เปนพยาน ให&ทานนบีทราบให&ทานนบีเห็น วาผู&รับใช&คนหนึ่งของทานนบีคืออุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ นั้นได&มาคอยรับใช&ทานนบีในโลกแหงวิญญาณ หากนางไมเต็มใจที่จะให& ลูกก็จงขอ อภัยตอพระนางแทนพอวาอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบขอพระราชทานอภัยตอพระนาง ที่ อาจเอื้อมขอสิ่งนี้ตอพระนาง แตถ&าหากพระนางให&ความเมตตาตอพอให&ในสิ่งที่พอ วิงวอนขอ ลูกจงกลาววาอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบ ผู&รับใช&ของทานนบีขอบใจพระนาง อยางที่สุด แม&ชีวิตจะสิ้นสุดลงแล&ว แตดวงวิญญาณของพอก็จะขอรําลึกถึงพระคุณ ของพระนางตลอดไป“ อั บ ดุ ล ลอฮฺ รีบ ตรงไปยั งที่ พํ า นั ก ของพระนาง เขาได&ยิ นเสีย พระนางกํ าลั ง ร&องไห&สะอึกสะอื้นอยูหลังมาน แสดงวาพระนางทราบแล&ววาพอของอับดุลลอฮฺกําลัง จะตาย ทานอั บ ดุ ล ลอฮฺ ไ มกล& า กลาวถ& อ ยคํ า อั น ใด เพราะอารมณ% ข องพระนาง ขณะนั้นกําลังสะเทือนใจ “มาหาเราหรือ....หลานรัก “พระนางถาม ทานอับดุลลอฮฺผงกศีรษะรับและกลาววา” พอของข&าพเจ&าที่ชื่อวาอุมัรฺ อิบ นุลคอฏฏอบให&ข&าพเจ&าซึ่งเปนลูก มาฝากสลามของอําลาพระนางผู&ซึ่งเปนภรรยาที่รัก ยิ่งของทานนบี“ “โอ&...ทานเคาะลีฟะฮฺ จะสิ้นใจอยูแล&วยังมีแกใจนึกถึงเราอีกหรือ “ 227


“พอสั่งข&าพเจ&าอยางเด็ดขาดวาพอของอําลาพระนางในนามของอุมัรฺ อิบนุล คอฏฏอบ มิใชมาอําลาในฐานะเคาะลีฟะฮฺเพราะพอกลาววาตําแหนงนั้นพอไมมีสิทธิ์ ที่จ ะใช&มั น แล& ว การมาพบพระนางมาพบในนามผู& รั บ ใช& ท านนบี นั้ น และพอรู& สึ ก เกรงใจอยางสุดซึ้งที่จะขอวิงวอนตอพระนาง“ “ทานเคาะลีฟะฮฺจะขออะไรจากเราหรือ“ “พอขออนุญาตพระนาง ให&พระนางอนุญาตให&พอได&ฝHงรางของพออยูเคียง ข&างทานนบี เพื่อที่จะได&รับใช&ทานนบีในโลกแหงวิญญาณตลอดไป“ พระนางอาอิชะฮฺถึงแกสะอึกแล&วก็ร&องไห&โฮออกมา “อัลดุลลอฮฺ.....เราต&องการที่จะสงวนที่ตรงนี้ไว&สําหรับฝHงรางของเราเอง แต ระหวางความต&องการของเรากับความรักตอทานเคาะลีฟะฮฺ ความรักที่เรามีตอทาน เคาะลีฟ ะฮฺ สู งคากวาความปรารถนาของเรา ดังนั้นจงรีบ ไปบอกพอของทานเถิด กอนที่ทานจะสิ้นใจวาอาอิชะฮฺภรรยาของทานนบี ขอยกที่ตรงนี้ให&ทานเคาะลีฟะฮฺได& ฝHงรางของทานตามที่ทานเคาะลีฟะฮฺต&องการ“

ฉากสุดท&ายแหงชีวิตของเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลฏฏอบ หรือโอมาร%มหาราชนี้ ประทับใจยิ่งนัก ทานนอนเคยฟHงขาวจากทานอับดุลลอฮฺ ในการเดินทางไปพบกับพระนางอาอิ ชะฮฺ เมื่อทานอับดุลลอฮฺนําขาวมาบอกแกทานอุมัรฺ บุรุษเหล็กคนนี้ถึงแกน้ําตาคลอ “พอทราบดี.....ลูกเอSย ,วาสถานที่ที่พอต&องการฝHงรางของพอนั้น เปนที่หวง แหนยิ่ง กวาชี วิ ต ของพระนาง พระนางสมกั บ เปนนางแก& ว ของทานนบีโ ดยแท& ที่ ยินยอมให&พอได&ฝHงรางของพอยังที่ที่พอขอร&องตอพระนาง“ ทานอุมัรฺกลาวตอไปวา” ในฐานะที่ลูกเปนลูกของพอ พอมั่นใจวาลูกคงจะไม โกรธพอ ที่พ อมิไ ด&มอบหมายตํ าแหนงอั นใดให&แกลู ก เลย การที่ พ อกระทํ าเชนนี้ เพราะพอรักลูกยิ่งกวาสิ่งอื่น การรับหน&าที่อันยิ่งใหญนั้นมิใชความสุขนักดอก ...ลูก เอSย ,ลูกจะต&องแบกภาระอันหนักอึ้งไว&บนบาทั้งสองข&าง และแม&ชีวิตของลูกจะจบลง 228


ในตําแหนงอันสูงสุดเพียงไหน ในวันปรภพลูกก็จักต&องถูกไตสวนถึงทุกสิ่งทุกอยางที่ ลูกกระทําหน&าที่อยู ขอให&ลูกภูมิใจในฐานะที่ลูกเกิดมาในสภาพของทาสแหงอัลลอฮฺ มันเปนเกียรติอยางยิ่งแล&วสําหรับลูกชื่อของลูกที่พอตั้งให&ตั้งแตวันที่ลูกเกิด พอก็ระบุ ไว& แ ล& ว วาชื่ อ ของลู ก จะต& อ งชื่ อ วาอั บ ดุ ล ลอฮฺ ซึ่ ง มี ค วามหมายแหงการเปนทาส ของอัลลอฮฺ ตําแหนงนี้ลูกไมต&องแบกภาระอันใดมากมายนักหากลูกประพฤติตนอยู ในรองรอยของศาสนา ดวงวิญญาณของพอเองก็มีความสุขในสุสานที่ไมต&องเปนหวง ตอการครองชีวิตของลูก พอเองไมมีมรดกอันใดเหลืออยูให&ลูกเลย แตมรดกแหงการที่ลูกเปนมุสลิม อุทิศชีวิตเลือดเนื้อให&แกศาสนาตลอดมาในชีวิตของลูก มรดกอันนี้จักยืนยงอยูตราบ ชั่วชีวิตและแม&แตเมื่อยามที่พอตายไปแล&ว ลูกจงอยูอยางสามัญชนธรรมดา อยาไป ชวงชิงตําแหนงอันใดกับคนอื่นเขา ใครเขาจะเปนผู&ยิ่งใหญอยางใดก็จงให&เขาทําหน&าที่ ของเขาเถิด หน&าที่ของลูกที่สําคัญอยางที่สุดคือลูกจะต&องยึดมั่นในพระเจ&า ปฏิบัติ ตนตามรอยยุคลบาทของทานนบี พอจะมีความสุขอยางที่สุดหากดวงวิญญาณของ พอได&ทราบวาลูกรักของพอปฏิบัติตนตามที่พอขอร&องเอาไว&กอนที่พอจะตาย“ ทานอับดุลลอฮฺกลาววา “ลูกขอสาบานด&วยพระนามของอัลลอฮฺ และขอสาบานในนามแหงลูกของ เคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุลคอฏฏอบวา ลูกจะปฏิบัติตามทุกอยางที่พอสั่งเสีย ลูกเข&าใจ พอ ,เข&าใจตั้งแตวันแรกที่มีผู&เสนอให&พอแตงตั้งลูกเปนเคาะลีฟะฮฺ แตพอเองกลับ ปฏิเ สธ ทั้ง ๆ ที่พ อสามารถจะแตงตั้งลู ก ได&ทั นทีใ นวั นนั้น มั นทํ าให&ลู ก ยิ่งรั ก และ เคารพในน้ําใจของพออยางสุดซึ้ง ลูกภูมิใจวาตลอดชีพแหงการเปนเคาะลีฟะฮฺของ พอ พอของลูกได&วางตนอยางดีที่สุดจนวาระสุดท&ายของชีวิต“ รางกายของทานอุมัรฺเริ่มเหนื่อยออนลง แสดงวาทานกําลังจะต&องจากทุกสิ่ง ทุกอยางไปแล&ว ทานโอบกอดลูกไว&กับอก กลาววา” เมื่อพอตายไปแล&วชื่อของลูกก็ ต&องเปลี่ยนเปนอับดุลลอฮฺ ออิบนุอุมัรฺ อยาลืมนะลูกวาดราบใดที่ลูกมีนามสกุลออิบ นุอุมัรฺจะทําอะไรก็จงนึกอุมัรฺคือพอของลูกเอาไว& พอมีข&อที่สั่งเสียลูกเพียงเทานี้"” ทานอุมัรฺเริ่มหายใจแผวเบาและแผวเบาลง ดวงตาทั้งสองข&ามหาราชนั้นนอง ไปด&วยน้ําตา แนนอน ,ไมใชน้ําตาแหงความกลัวตาย และไมใชน้ําตาแหงความเจ็บ 229


ปวดร&าวทรมาน แตทานร&องไห&ด&วยความเกรงกลัวตอพระเจ&า ทานเรียกลูกชายเข&า มาใกล& และสั่งวา “ลูกรักของพอ ,การก&มกราบตอพระเจ&านั้น เปนการถวายความเคารพอยาง สูงสุ ดที่เ รามีตอพระองค% การก&มกราบพระเจ&าทํ าให&เรารู&สึกวาเราอยู กับ พระองค% เพียงสองตอสอง เพราะการก&มกราบเชนนี้มุส ลิมจะพึงกระทําได&เฉพาะการถวาย ความจงรักภักดีตอพระองค%เทานั้น และพอจะขอสิ้นสุดลมหายใจของพอด&วยความ เคารพยําเกรงตอพรเจ&าอยางนอบน&อมที่สุด พยุงรางของพอสักหนอยเถิด....ลูกรัก พยุงรางของพอเพื่อให&หน&าผากของพอ อยูกับพื้นดิน พอจะได&มีโอกาสก&มกราบพระเจ&ากอนชีวิตพอจะสิ้นลง พอจะใช&เวลา แหงการก&มกราบนั้นขอพระราชทานอภัยตอพระเจ&า ในทุกสิ่งทุกอยางที่พอกระทํา ผิด“ ทานอับดุลลอฮฺรีบทําตามที่ทานอุมัรฺสั่ง รางของทานอุมัรฺก&มลงกราบตอพระเจ&าด&วยความนอบน&อม ทานอับดุลลอฮฺ ได&ยินเสียงอันแผวเบาและสั่นเครือของทานอุมัรฺกลาว ในขณะที่ทานอุมัรฺก&มลงกราบ ตอพระเจ&าวา “โอ& ....ข&า แตพระองค%อั ล ลอฮฺ พระผู&ท รงมหากรุ ณ าและเมตตาธิคุ ณ ขอ พระองค%ได&ทรงยกโทษานุโทษทั้งสิ้นที่อุมัรฺเคยกระทํามาในชีวิต แม&พระองค%ไมทรง พระราชทานอภัยให&แกข&าพระองค% ชีวิตของข&าพระองค%จะต&องตกอยูในความทุกข% ระทมและตรอมตรมตลอดกาล และมารดาบังเกิดเกล&าของข&าพระองค%ก็ยอมต&อง พลอยทุกข%ระทมไปกับข&าพระองค%ด&วย“ หลังจากนั้นทานก็เริ่มอานดุอาหรือคําขอพรอยางยาวนานยาวเสียยิ่งกวาการ นมัส การที่ท านกระทําเปนประจํ า เพราะการก&มกราบครั้งนี้เปนการก&มกราบครั้ง สุดท&ายในชีวิตของทานตอพระเจ&า รางของทานสงบนิ่งอยูเชนนั้นเปนเวลาอันยาวนาน และเมื่อทานอับดุลลอฮฺผิดสังเกตในการก&มกราบอันยาวนานของทาน ทานอับดุลลอ ฮฺก็พยุงรางของทานอุมัรฺวางลงบนที่นอน แตทานอุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบได&จากภพนี้ ไปสูความปราณีของพระเจ&าเสียแล&ว

230


มีใครบ&างที่ถึงแกความตายด&วยสภาพอันนาประทับใจเชนนี้ได& ทานสิ้นชีพใน วั นพุ ธ ที่ยี่ สิบ แปด แหงเดือ นซุ ล ฮิจ ญะฮฺ ในป7 ฮิจเราะฮฺ ศั ก ราชที่ ยี่สิบ สามป7 ที่ ท าน สิ้นชีวิตนั้นทานมีอายุ ครบหกสิบ สามป7 พอดี เทากั บ จํานวนพระชนม%ของทานนบีที่ สิ้นพระชนม%เมื่ออายุหกสิบสามป7เชนกัน ทานปฏิบัติหน&าที่ด&วยความเสียสละ ด&วยความสามารถในการปกครอง ด&วย ความซื่อสัตย%สุจริตในหน&าที่ เปนระยะเวลากวาสิบป7 สิ้นชีวิตของทานแล&วจักรภพ อิสลามก็เริ่มสั่นคลอน ยุคทองยุคแรกได&ป[ดฉากลงพร&อมกับการวายชนม%ของทานผู&นี้ ลูกผู&ชายที่ชอบให&ทุกคนเรียกทานวา อุมัรฺ อิบนุลคอฎฎอบ ประชาชนทั้งนครมาดีนะฮฺและทั่วจักรภพอิสลาม ตางสลดใจอยางสุดซึ้งใน การจากไปของทาน ทุกคนทราบดีวาไมมีใครอีกแล&วที่จะมีความสามารถและเที่ยง ธรรมเทียบเทาทานอุมัรฺได& แม&แตจักรวรรดิที่เคยเปนศัตรูตอพระองค% ก็ยังสะเทือน ใจตอการจากไปของทาน ทุกจักรวรรดิไมเคยลืมความห&าวหาญของทานที่มีความ ปรานีอยางเต็มเป7Uยมตอผู&แพ&หรือผู&ปราชัย ดวงตะวันได&ดังลงแล&วสําหรับชีวิตทุกชีวิต ในนครมาดีนะฮฺ รางของทานถูกฝHงไว& ณ เบื้องซ&ายแหงสถานที่ฝHงพระบรมศพของทานนบี โดยมีรางอันไร&ชีวิตของทานเคาะลีฟะฮฺอบูบักร อัสสิดดิค ฝHงอยูทางเบื้องขวา ทุกคน มองดูภาพนี้ด&วยความตื้นตันใจ เพราะตลอดระยะเวลาที่ทานนบีทรงมีพระชนม%ชีพอยู นั้นสองสหายของทานที่ฝHงรางอยูใกล&เคียงนี้แหละที่คอยปกปLองและเสียสละให&แก ทานนบีตลอดชีวิตที่ฝHงรางของมุขบุรุษทั้งสามทานปHจจุบันนี้ยังอยูเปนอนุสรณ%แกคน เบื้องหลัง เปนสถานที่ที่ตั้งอยูในมัสญิดิลนบี ซึ่งในสุสานแหงนี้มีเพียงสามบรมศพ เทานั้น กาลเวลาได&ผานไปแล&วนับพันป7 แตเกียรติคุณของทานนบีในฐานะนบีเกียรติ คุณของทานเคาะลีฟะฮฺอบูบกัรในฐานเคาะลีฟะฮฺองค%แรก เกียรติคุณของทานอุมัรฺใน ฐานะเคาะลีฟ ะฮฺอ งค%ที่สองแหงจักรภพอิสลาม เกียรติศัก ดิ์อันนี้จัก ยั่งยืนอยู อยาง มั่นคงตราบวาระที่ภพนี้ถึงกาลอวสาน และแม&แตในปรภพ ....แนนอนสถานที่ทานทั้ง สามนี้สถิตย%อยูสถานที่นั้นคือสรวงสวรรค%อันสภาพรตราบนิรันดรกาล

231


232


9 วรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม ความนํา โลกมลายู เปนเขตภู มิ ศ าสตรที่ ค รอบคลุ ม ทั่ ว บริ เ วณที่ อ ยู อาศั ย ของคนที่ สื่อสารกันโดยใช%ภาษาในกลุมภาษามลายูทั้งภูมิภาคเอเชียอาคเนย โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริ เ วณเกาะแกงซึ่ ง ป. จ จุ บั น กลายเปนหนวยยอยทางภู มิ รั ฐ ศาสตร ประกอบด% ว ย ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟ3ลิปป3นส ภาคใต%ของไทย กลุมตางๆ ในกัมพูชาและ เวียดนามรวมทั้งไต%หวัน (ซูฮัยมีย อาแว. 2552: 2:753) ป.จจัยทางภาษาเปนสิ่งหนึ่งเดียวที่ประวัติศาสตรโบราณทิ้งไว%ให%สืบทอดจนถึง ป.จจุบัน ภาษามลายูจัดอยูในตระกูลภาษาออสตรอนีเซีย จากกลุมครอบครัวภาษาออ สตริ ส หลั ง จากได% แ ยกออกไปจากกลุ มนู ซั น ตาราตะวั น ตกอื่ น ๆ ภาษามลายู ประกอบด%วยวัฒนธรรมของภาษาที่เปนเอกลักษณของตนเอง ความโดดเดนนี้ทําให% แยกออกมาจากกลุมภาษานูซันตาราอื่นๆ ภาษามลายูได%ระบุวัฒนธรรมของภาษาที่ใช% ในวังและนอกวังให%ปฏิบัติได%ถูกต%องชัดเจน (ซูฮัยมีย อาแว. 2552: 2:766) วรรณคดี ม ลายู ที่ มี รู ป แบบอิ ส ลามนั้ น เปนหั ว ข% อ ที่ แ สดงออกถึ ง ความ รับผิดชอบในการนําสังคมไปสูความเข%าใจที่ถูกต%อง หัวข%อตางๆ เหลานั้นจะต%องไม หางไกลจากความเปนจริงในประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม ลักษณะเดนอันนี้ จะปรากฏออกมาให% เ ห็ น ชั ด เจนในตั ว ของนั ก วรรณคดี ที่ ยึ ด หลั ก การอิ ส ลาม อั น หมายถึง อัลกุรฺอาน อัลหะดีษ และการดําเนินตามจริยวัติของทานเราะสูลพร%อมทั้ง 233


เจริญ รอยตามแนวทางของบรรดาเคาะลีฟ ะฮฺ ผู%ท รงธรรมและบรรดาเศาะหาบะฮฺ ทั้งหลายด%วย เราทราบมาแล% ว วา อิ ส ลามได% แ พรขยายในโลกมลายู โ ดยนนั ก ดาอี ย ชาว อาหรับและเปอรเซีย มีความสัมพันธทางการค%าระหวางอาหรับและเปอรเซียกับชน ชาวมลายูมาเนิ่นนานแล%ว ปรากฏการณจะเห็นได%ชัด อยางน%อย ทาเรือมะละกาเปน ทางผานทางการค%าระหวางอาหรับและเปอรเซียกั บประเทศจีน หลัก ฐานที่บงชี้ถึง อิทธิพลของอาหรับ และเปอรเซีย ในโลกมลายูมีมากมาย จะออกมาในรูป แบบของ คําศัพทอาหรับที่มีการใช%ในชีวิตประจําวัน เชน เราะสูล กิตาบ อะมานะฮฺ หุรฺมัต (อิหฺติ รอม) เปนต%น สวนคําในภาษาเปอรเซีย เชน ชะฮฺบันดัรฺ (เจ%าเมือง หรือ มหาเศรษฐี) กันดุม (แปIงสาลี) บะฮฺละวาน (พระเอกหรือวีรชน) บัง (อะซานหรือการเรียกร%อง) เปน ต%น อิทธิพลของอาหรับและเปอรเซียที่มีตอโลกมลายูมิใชเพียงในภาษาเทานั้น แต ยั ง ครอบคลุ ม ถึ ง วรรณคดี อี ก ด% ว ย วรรณกรรมอาหรั บ และเปอรเซี ย ได% ถู ก นํ า มา ดัดแปลงและประยุก ตใช%โดยนั กวรรณคดีท%องถิ่น เชน เรื่อ งราวเกี่ยวกับ บรรดานบี เรื่องราวของบรรดาเศาะหาบะฮฺ วีรบุรุษมุสลิม และเรื่องราวอื่นๆ (Ismail Hamid, 1982: 72) อิทธิพลนี้จะเห็นได%ชัดในคําศัพทเชิงวิชาการที่มีการใช%อยูเสมอ แนวคิดหรือ ป.จจัยอื่นๆ ในด%านรูปแบบและความหมาย จากจุดนี้ วรรณกรรมอาหรับเปอรเซียก็ เริ่มมีความสัมพันธกับวรรณกรรมมลายูที่มีเค%าโครงรูปแบบของอิสลามและแผขยาย ออกไปในรูปแบบวรรณกรรมท%องถิ่น

วรรณกรรมอิสลามชวงแรกๆ ในแหลมมลายู นาย R.O Winstedt ในขณะบรรยายเกี่ยวกับประวัติวรรณกรรมมลายูคลาสิ กได%กลาวสรุปวา แหลมมลายูเคยอยูใต%การปกครองของฮินดูมาประมาณ ๙ ศตวรรษ (R.O Winstedt, 1969: 30-46) ศาสตราจารย Syed Muhammad Naguib al-Attas ได% ขยายความตอไปวา นอกจากอิท ธิพ ลฮินดูแล%ว สังคมในแหลมมลายู เคยรับ นับ ถือ ศาสนาพุทธในยุคกอนอิสลาม จะอยางไรก็ตาม การปฏิบัติตามความเชื่อของกลุมชน 234


เหลานั้นมีอยูไมมากในสังคมมลายู ซึ่งหมายความวา ความเชื่อทางพุทธศาสนาและ ทางฮินดูจะปรากฎอยูในกลุมกษัตรยและบุคคลชั้นสูงเทานั้น สวนประชาชนธรรมดาก็ ไมได%ให%ความสนใจตอคําสั่งสอนของศาสนาเหลานั้น (Syed Muhammad Naguib alAttas,1972: 12) อยางไรก็ตาม ต%องยอมรับวาอิทธิพลศาสนาฮินดูนั้นมีบทบาทในสังคมแหลม มลายูเปนเวลาหลายศตวรรษ แม%จนป.จจุบันนี้ก็ยังมีรองรอยศาสนาฮินดูอยูในสังคม มลายู สิ่งที่นาสนใจคือ อิทธิพลของฮินดูมิได%นําความโดดเดนมาสูวรรณกรรมมลายู มันมิได%สะท%อนทางด%านแนวความคิด แตเน%นทางศิลปะโดยที่ไมได%คํานึงถึงปรัชญาชีวิต (Mana Sikana, 1976: 508) ในชวงนั้นสังคมมลายูยังถูกครอบงําโดยความเชื่อที่แคบๆ ลักษณะดังกลาวไมแตกตางจากลักษณะของสังคมในคาบสมุทรอาหรับกอนอิสลาม (Ismail Hamid, 1976: 424) นายชะฮฺนูน อะหฺมัด (Shahnon Ahmad) ได%อธิบายลักษณะของวรรณกรรม มลายูในยุคกอนอิสลามวา “วรรณกรรมมลายูในยุคกอนที่ศาสนาอิสลามเข%ามาสูใน แหลมมลายูนั้นเปนวรรณกรรมเพ%อฝ.น เต็มไปด%วยเรื่องราวที่หลงไหลในรูปแบบนิยาย ปรัมปราที่ชักนําไปสูการบูชามนุษย นับวาสิ่งนี้เปนสาเหตุให%เกิดวรรณกรรมพื้นบ%านที่ ผสมผสานกับความเชื่อผีสางนางไม% เชื่อมั่นในวัตถุแปลกประหลาดและสิ่งตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการจินตนาการของพวกเขาเองอันทําให%พวกเขาลืมพระผู%สร%าง” (Shahnon Ahmad, 1981: 50-51)

ลักษณะของวรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม วรรณคดีมลายูจะมีลักษณะเดนด%านรูปแบบ ดังตอไปนี้ (Ala Husni, 2010 :12) 1. กลอนสวนใหญจะออกมาในรูปแบบ Sajak รูปแบบนี้เริ่มเกิดขึ้นใน ประเทศอินโดนีเ ซีย ในยุ คแรกของศตวรรษที่ 20 แล%วขยายเข%ามาใน ประเทศมาเลเซียในชวง 30 ปoในศตวรรษนี้ หลังจากนั้นประมาณ 20 235


กวาปo รุปแบบนี้ก็ขยายอยางกว%างขวาง จนเปนที่ยอมรับในบรรดานักกวี ชาวมาเลเซีย ทั้งๆ ที่บริบทนี้ยังถือประเพณีดั้งเดิมอยางเครงครัดมาก 2. รองรอยมรดกบทกวีม ลายู ที่ชัด เจน นั ก กวีชั้นแนวหน%ามองวาการ ขับเคลื่อนคลื่นใหมของบทกลอนควรอิงถึงมรดกบทกลอนมลายูที่อุดม ด%วยคุณคาทางศิล ปะ หากรุสรั ม อะพันดี เปนผู%ที่เริ่มทอดทางในการ ขับเคลื่อนเรื่องนี้ ประกฎการณนี้เห็นชัดมากขึ้นในวรรณกรรมของอะมีรฺ หัมซะฮฺ นั ก กวีจากสุ มาตรา ประเทศอินโดนีเ ซีย ในชวงประมาณ 30 กวาปoของศตวรรษที่ 20 และ การขับเคลื่อนเรื่องนี้ ในปoที่ 50 กวาปoที่ มาเลเซีย ซึ่งได%เกิดในชวงแรก นักกวีรุนใหม (Pujangga Baru) แล%วเกิด นักวรรณคดีรุนใหม (ASAS 50) ในชวงปoที่ 50 ของศตวรรษ สวนในด%าน ที่ 2 ซึ่ ง ได% รั บ อิ ท ธิ พ ลจากมรดกบทกลอนมลายู คื อ การใช% คํ า และ สัญลักษณที่ย%อนกลับไปสูมรดกตกทอดข%างต%น เราจะสังเกตเห็นได%วา ในบทกลอนของนักกวีรุนใหมจะมีปรากฏคําและสัญลั กษณกลับสูยุ ค กอนๆ และสวนที่ 3 เปนการได%รับอิทธิพลจากรูปแบบป.นตุนเปนการ เฉพาะ หากเปรียบเทียบกับรูปแบบของกลอนในรูปแบบทั่วไป 3. ความชัดเจนและตรงๆ ในทางตรงกันข%ามกันกับที่กลอนมลายูมรดกใน รูปป. นตุ นซึ่งจะมีก ารใช%สั ญลั กษณถึงขั้นคลุมเครือและปริศนา กลอน มลายูใหมก%ให%ความเน%นหนักกับภาษาการสื่อสารและเปนที่รับทราบกัน ในบริบททางภาษา 4. การโน&มเอียงสูการรวบรัด ศิลปะของป.นตุนนับเปนสวนหนึ่งของกลอน มลายูเกาแกที่มีใช%อยางกว%างขวาง จะใช%ประโยคสั้นๆ รวบรัด และจะใช% สัญลักษณมาก รูปแบบที่ใช%กัน คือ รุบาอียะฮฺ ที่ออกมาเปนกลอนแบบ ๔ บทที่มีลักษณะอิสระจากรูปแบบเกาและใหม มันเปนปรากฏการณ เหมือนบทกลอนเดียวในกรอบของกลอนอาหรับยุคกอน 236


5. มีจังหวะที่นุม และรื่นหู กลอนมลายูสวนใหญจะมีจังหวะการออกเสียง ทั่ ว ไปแบงออกเปน ๒ จั ง หวะ จั ง หวะแรก เปนจั ง หวะครึ ก ครื้ น เชน กลอนเสริ ม ขวั ญ กํ า ลั ง ใจ สวนจั ง หวะที่ ๒ จะเปนจั ง หวะทั่ ว ไปและ แพรหลายในบรรดานัก กวี คือ จั งหวะที่นุม ซึ่งจะใกล%เ คียงกับจั งหวะ แหงการไตรตรองเชิงศูฟoยมากกวา ในบางครั้งจะปรากฏในรูปแบบโร แมนติค เหมือนกับกลอนที่ปรากฏในตะวันตก การอธิบายนี้อาจจะไม เหมาะกับปรากฏการณที่เกิดขึ้นกับกลอนมลายู ถึงแม%วาบรรดานักกวี มลายู รุนกอนได%รับ อิท ธิ พ ลจากบรรดานั ก กวีอิ นโดนีเ ซีย ซึ่งใช%ชีวิตใน สภาพที่โศกเศร%า โดยเฉพาะ นีกกวี ค็อยรุนอันวารฺ เปนต%น อยางไรก็ ตาม กลอนมลายู ที่อ อกมาในจั งหวะที่นุมนี้ เปนเพราะธรรมชาติข อง บุคลิกของคนมลายูเองซึ่งเปนคนที่นุมนวลและเรียบงาย และอาจจะเปน เพราะอยูในภาวะถูกยึดครองโดยมหาอํานาจ ถูกทรราชในแผนดิน และ ขังในความรู%สึกที่ท%อแท%และหมดหวัง ดังนั้น จังหวะของกลอนที่ออกมา นุมนวลเปนผลจากประสบการณชีวิตที่สะท%อนออกมาสูประสบการณ ภายนอก จังหวะดังกลางจึงถูกระบายออกมาในกลอนมลายู

ประเภทของวรรณคดีมลายูรูปแบบอิสลาม วรรณคดีมลายู แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ นั่ นคือ ร%อ ยแก%ว และร%อ ย กรอง จากจุ ด นี้ เราพยายามที่ จ ะกลาวถึ ง ร% อ ยกรองมลายู ที่ มี ค วามเกี่ ย วข% อ งกั บ อิสลาม ในความหลากหลายในประเด็นที่เราได%กลาวถึงนี้ เราพยายามที่จะพูดถึงเรื่อง ที่เปนปลีกยอยที่เกี่ยวข%อง เชน บทกวี และนุซุม เปนต%น

บทกวี Puisi คํานี้ในภาษาอาหรับ คือ ชิอฺรฺ "‫" ِﺷ ْﻌﺮ‬คํานี้ถูกนํามาใช%ทับศัพทในภาษามลายู แตมีการผันที่กลมกลืนกับการออกเสียงในภาษามลายู นั่นคือ “ชิอิรฺ” "‫ " ِﺷﻌِﺮ‬อยางไรก็ 237


ตามมี ก ารผั น คํ า นี้ต อไปวา "‫" َﺷﻌِﺮ‬ ความหมายวา “นักกวี”

Syair ซึ่ ง ภาษาอาหรั บ เดิ ม คื อ "‫ " ﺷﺎﻋﺮ‬ที่ ใ ห%

ประเภทของบทกวีในวรรณกรรมมลายูมีหลายประเภทด%วยกัน เชน กลอน ประวัติศาสตร กลอนโรแมนติก กลอนสั ญลักษณ กลอนศาสนา กลอนปริศนา ใน ตํ า ราเกี่ ย วกั บ กลอนมลายู ใ นยุ ค กอนที่ มี รู ป แบบอิ ส ลาม (2000, 3:392) ของ (Wahyunah Haji Abdul Ghani) และ (Mohamad Shaidan) ได%กลาวถึงบทกวี 4 ประเภท คือ 1. 2. 3. 4.

บทกวีที่กลาวถึงบรรดานบีและศาสนา บทกวีเกี่ยวกับหลักศรัทธา บทกวีเกี่ยวกับการตักเตือนและการตัรฺบียะฮฺ บทกวีเกี่ยวกับประวัติศาสตรอิสลาม

บนพื้นฐานของรูปแบบและเนื้อของบทกลอน ในบทกลอนอาหรับจะมี 39 ชนิด ถ%าเปรียบเทียบกับกลอนมลายูแล%วจะพบวามีรูปแบบที่คล%ายกันในบางชนิด เชน บทกลอนเชิงจริยธรรม (puisi akhlak) บทกลอนรําพึงพระเจ%า (puisi ketuhanan) บท กลอนเชิงอบรม (puisi didaktik) บทกลอนเชิงวิทยป.ญญา (puisi kata-kata hikmat) บท กลอนศาสนา (puisi keagamaan) และบทกลอนเชิงความรู% (puisi ilmu) วิธีการแตงกลอนอาหรับที่ดําเนินไปตามรูปแบบเฉพาะนับวาเปนสิ่งสําคัญ มาก ปกติแล%วมักจะใช% 16 รูปแบบ ดังนี้

.‫ ﲝﺮ اﳌﺪﻳﺪ‬َ ِ .‫ ﲝﺮ اﻟﻮاﻓﺮ‬-

.‫ ﲝﺮ اﻟﻄَﻮﻳﻞ‬.‫ ﲝﺮ اﻟﺒَﺴﻴﻂ‬-

.‫ ﲝﺮ اﳍَْﺰج‬-

ِ ‫ ﲝﺮ‬.‫اﻟﻜﺎﻣﻞ‬

.‫اﻟﺮْﻣﻞ‬ َ ‫ ﲝﺮ‬-

.‫اﻟﺮ ْﺟﺰ‬ َ ‫ ﲝﺮ‬238


.‫ ﲝﺮ اﳌْﻨ َﺴﺮِح‬ُ .‫ﻀﺎرع‬ َ ُ‫ ﲝﺮ اﳌ‬.‫ ﲝﺮ اﳌ ْﺠﺘَﺚ‬ُ .‫ﺪارك‬ َ َ‫ ﲝﺮ اﳌُﺘ‬-

.‫اﻟﺴﺮﻳﻊ‬ َ ‫ ﲝﺮ‬.‫ ﲝﺮ اﳋَﻔﻴﻒ‬.‫ﻀﺐ‬ َ َ‫ ﲝﺮ اﳌ ْﻘﺘ‬ُ .‫ ﲝﺮ اﳌﺘَﻘﺎ ِرب‬ُ

(อัต-ตุนญี 1993/1413: 163-171)

รูป แบบทํ านองตางๆ ข%างต%น ในภาษาอาหรับ เรีย กวา “บะหฺ รุน” ได%มีก าร แพรหลายในวรรณคดี เ ปอรเซี ย ตุ ร กี และอุ ร ดู สาเหตุ ข องการแพรหลายอยาง กว%างขวาง อันเนื่องมาจากภาษาตางๆ ข%างต%นมีโครงสร%างทางภาษาที่ใกล%เคียงกัน ใน กรณีนี้จะไมเกิดขึ้นกับภาษามลายู อยางน%อยเราจะพบวาภาษามลายูไมมีการอานยาว ในพยั ญชนะหรือ บางสวนของคําเหมือนภาษาตางๆ ข%างต%น อยางไรก็ตาม มีความ พยายามที่จะแตงกลอนในรูปแบบอาหรับ มีการอ%างวา ชัยคฺ อะหฺมัด อัล-ฟะฏอนียมี ความเชี่ยวชาญในการแตงกลอนภาษามลายูและอาหรับ (Muhammad Bukhari Lubis, 2000 : 130-143) สวนใหญแล%วทานจะแตงกลอนมลายูในบทโคลงทํานอง อัรเราะญัซ (‫ )ﲝﺮ اﻟﺮﺟﺰ‬ดังนี้ ‫ﻣﺴـﺘﻔﻌﻞ ﻣﺴـﺘﻔﻌﻞ ﻣﺴـﺘﻔﻌﻞ ُﻣ ْﺴـﺘَـ ْﻔﻌِ ٌﻞ ﻣﺴـﺘﻔﻌﻞ ﻣﺴـﺘﻔﻌﻞ‬

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/

‫ﳏﻤ ـﺪ ﻫـﻮ اﺑﻦ ﻣﺎﻟـﻚ‬ ّ ‫ﻗﺎل‬ ‫ب ُن ﻣﺎﻟِ ِﻜ ْﻦ‬ ْ ‫ﻗﺎل ُﳏَ ْﻢ َﻣـ ُﺪ ْن ُﻫ َﻮ‬

‫ه‬// ‫ه‬/ ×/

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/ ‫ه‬// ×/ ‫ه‬

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/

‫ه‬// ‫ه‬/ ‫ه‬/

‫أﲪـﺪ رﰊ اﷲ ﺧ ـﲑ ﻣﺎﻟـﻚ‬ ‫ب ِﰊ اﷲ ﺧﻲ ُر ﻣﺎﻟِ ِﻜ ْﻦ‬ ْ ‫أﲪَ ُﺪ َر‬ ‫ه‬// ‫ه‬/ ×/

‫ه‬// ‫ه‬/ ×/ ‫ه‬// ×/ ‫ه‬/

หมายเหตุ เครื องหมาย (×) หมายถึงการตัดจากรู ปเดิ ม ซึ งเป็ นการผ่อนปรนและอนุญาตในการ ประพันธ์ บทกวีอาหรับ

239


ในบทกลอนมลายูมีลักษณะเฉพาะที่บงชี้วาได%รับอิทธิพลมาจากภาษาอาหรับ และเปอรเซีย เชน บทกลอน “อัล-มุลัมมะอฺ” ซึ่งแตงโดยหัมซะฮฺ ฟ.นสูรีย เปนตัวอยาง ของบทกลอนผสมผสานระหวางภาษามลายูและภาษาอาหรับ ทานกลาววา Mutu qabla an tamutu

‫ﻣﻮﺗﻮا ﻗﺒﻞ أن ﲤﻮﺗﻮا‬

Pada La ilaha illa Hu

"‫ﰲ "ﻻ إﻟﻪ إﻻ ﻫﻮ‬

Laut dan ombak sedia satu

‫داﺋﻤﺎ اﻻﺷﱰ ْاك‬ َ ‫إ ّن اﻟﺒﺤﺮ واﳌﻮج‬

Itulah arif daim bertemu

‫ﺪرك‬ ْ ُ‫ﻋﺎرف داﺋﻤﺎً ﻳ‬ ٌ ‫ذﻟﻚ‬

สวนบทกลอนผสมผสานระหวางภาษามลายูและภาษาเปอรเซียนั้น ทานกลาว วา ‫ﻋﻠﻰ اﻟﺮﻏﻢ إﻧﻜﻢ ﻫﻨﺎك ُﺧﻠﻘﺘﻢ‬

Sungguhpun sekalian di sana jadi Pada ombak qahhar jangan kauradi

‫اﻟﻘﻬﺎر ﻻ‬ ّ ‫(ﰲ ﻣﻮج‬kauradi)

Sabda Muhammad sekalian kami

‫وﻗﺎل ﳏﻤﺪ ﻟﻜﻞ ﻣﻨّﺎ‬

Ba ruy-i khwaja bi-kun kar-i ghulami

Ba ruy-i khwaja bi-kun kar-i ghulami.

รูปแบบของกลอนมลายูมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้ 1. ในแตละบทมี 4 บรรทัด หรือมีจํานวนบรรทัดที่แนนอน 2. การนับวาเปนกลอนมลายูได% อยางน%อยหนวยมาตรฐานที่มีขึ้นอยูกับคํา กลาวคือ จํานวนคําในแตละบรรทัด 3. มี 4 คําที่เปนฐานหลักในแตละบรรทัด สวนหนวยเสียงของมันจะมี ประมาณ 8 และ 10 หนวยเสียงในแตละบรรทัด 4. มีสัมผัสสุดท%ายเดียวกันของหนวยเสียงในแตละบรรทัด เชน a - a - a –a 240


5. ในแตละบทจะมีทํานองและการแบงคําในรูปแบบของ “ซะญะอฺ” เพราะ เหตุนี้เราจะเห็นรูปแบบนี้คล%ายกันหมดเลย

ชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนีย กับบทบาททางวรรณกรรม ชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนีย นับเปนอุละมาอคนที่ ๒ รองจากชัยคฺวันดา วูด อัล-ฟะฏอนีย ที่ได%รับขานวาเปนนักปราชญด%านการศึกษาที่มีความรู%รอบด%าน มี คุณสมบัติพิเศษรอบรู%ใน 47 สาขาวิชา ทั้งวิชาการทางศาสนาและวิชาทางโลก (Ismail Che Damud, 1988: 61, ใน อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ . 2552: 2: 652) หัจญีมุหัมมัดเศาะฆีรฺ บินอับดุลลอฮฺ (1998: 131, ใน อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ . 2552: 2: 645-646) เกิดเมื่อวันที่ 5 เดือนชะอฺบาน ปo ฮ.ศ. 1272 ตรงกับวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2399 ณ บ%านริมน้ํายามู อําเภอยะหริ่ง จังหวัดป.ตตานี เมื่ออายุ 4 ปo ทานได%เริ่มเดินทางกับบิดาและมารดาไปพํานัก ณ มหานครมักกะฮฺ และได%ศึกษาที่นั่น หลั งจากนั้น ก็ ไ ด%เ ดินทางไปศึก ษาตอที่ป ระเทศปาเลสไตน ที่ เ มือ งเยรู ซ าเล็ ม ด%า น วิชาการแพทย ทานได%รับการบันทึกว%าวาเปนชาวมลายูคนแรกที่เรียนวิชาการแพทย ครั้นเมื่อชัยคฺวันอะหฺมัดเดินทางกลับถึงมหานครมักกะฮฺ ฝ•ายบิดามารดาก็รู%สึกแปลก ใจที่เห็นบุตรชายมุงแตสนใจวิชาการแพทยและการผลิตยา ไมปรากฏวี่แวววาชัย คฺ วันอะหฺมัดจะปฏิบัติตนเปนอุละมาอในอดีต เชน ชัยคฺดาวูด อัลฟะฏอนีย บิดามารดา จึงตัดสินใจสงไปเรียนที่มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรฺซึ่งเปนศูนยกลางความรู%ด%านอิสลามที่ ยิ่งใหญ ภายหลังจบการศึกษาจากประเทศอียิปต ชัยคฺวันอะหฺมัดมีอายุไมถึง ๓๐ ปo คนมลายูในมหานครมักกะฮฺเรียกขนานนามทานวาชัยคฺอะหฺมัด อัซ-ซะกียเมอซีรฺ มหา นครมักกะฮิขณะนั้นปกครองโดยราชาชะรีฟ หุซัยนิ ในปoเดียวกันนี้ราชาชะรีฟ หุซัยนิ ได%จัดงานประกวดบทกวีและกลาวสุนทรพจนเปนภาษาอาหรับในบริเวณมัสญิดอัลหะ รอม การแขงขันครั้งนี้มีจุดสนใจในความไพเราะ คุณคา และความหมายด%านภาษา วรรณกรรมชั้นสูงของภาษาอาหรับ จึงเปนแรงจูงใจให%บรรดาอุละมาอชาวอาหรับใน มหานครมักกะฮฺเสนอชื่อเข%าประกวดมากมาย และในงานนี้ชัยคฺวันอะหฺมัดได%เสนอตัว 241


เข%าประชันการอานกวีนิพนธและการเขียนโคลงสุภาพภาษาอาหรับด%วย จนกระทั่งถึง เวลาของชัยคฺวันอะหฺมัดกลาวสุนทรพจนและรายบทกวีในภาษาอาหรับ ทวงทํานอง และสําเนียงของทานไพเราะยิ่งนัก ลีลาการกลาวสุนทรพจนืสามารถดึงดูดผู%ฟ.ง สร%าง ความประทับใจให%กับผู%ชมเปนอยางมาก เมื่อจบการประกวด ราชาชะรีฟ หุซัยนฺได% กลาวถามคณะกรรมการการตัดสินวา “หนุมคนนั้นเปนใคร” คณะกรรมการทูลตอบ วาเขาคือชัยคอะหฺมัด อัลฟะฏอนีย ราชาชะรีฟ หุซัยนฺกลาวเสริมด%วยความพอพระทัย วา “อัลฟพฏอนีย ชื่อชางเหมาะสมเสียจริง” (รากศัพทเดิมของคําวาฟะฏอนียแปลวา เฉลียดฉลาด) ความเชี่ยวชาญของชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนียดานการเขียนรอยกรองมลายูและอาหรับ มุหัมมัดเศาะฆีรฺ บินอับดุลลอฮฺ (2005: 3-4, ใน อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ . 2552: 2: 654) ได%กลาวถึงความสามารถของชัยคฺวันอะหฺมัด อัล-ฟะฏอนียด%านการ เขียนร%อ ยกรองวา ทานไมได%เ ปนรองใครเมื่อเทียบกับร%อยกรองที่อุ ละมาอของโลก มลายูรุนกอนๆ ได%เขียนไว% เชน ฮัมซะฮฺ อันฟ.นซูรีย ผู%แตงร%อยกรองภาษามลายูคนแรก ของโลกมลายูในศตวรรษที่ 16 และ 17 และรายา อาลี ฮัจญี ได%ประพันธร%อยกรองใน ศตวรรษที่ 18 สําหรั บชั ยคฺ วั นอะหฺ มัด อั ล ฟะฏอนีย นั้น ทานเปนผู%เ ริ่มประพันธร%อ ย กรองมลายู ใ นศตวรรษที่ 19 บทร% อ ยกรองมลายู ที่ ป ระพั น ธโดยชั ย คฺ วั น อะหฺ มั ด อัลฟะฏอนียเปนครั้งแรกในภาษามลายูนั้น ทานประพันธในลักษณะ Nazam (กวี นิพ นธ) เมื่ อ ปo ฮ.ศ. 1287/ ค.ศ. 1870 ขณะนั้ น ทานอายุ เ พี ย ง 15 ปo และประพั น ธ ในมัสญิดอัลหะรอม มหานครมักกะฮฺ โดยทานให%ชื่อบทร%อยกรองภาษามลายูนั้นวา “Tranliterasi Nazam Nuril Aman”

242


ชัยคฺหัมซะฮฺ ฟนซูรีย กับการปฏิรูปกลอนมลายู สิ่งใหมที่ได%เพิ่มในกลอนรูปแบบนี้ ทานได%เสริม “กอฟยะฮฺ (การสัมผัสและ คล%องจองที่พยางคสุดท%ายของแตละบท)” ในกลอนมลายู ซึ่งสิ่งนี้ไมมีประกฏในกลอน มลายูในยุคกอน ชัย คฺ หัมซะฮฺ ฟ. นซู รียและนัก กวีที่มาหลั งจากยุค ของทานได%แตงกลอนใน หัวข%อตางๆ กัน เชน กลอนศาสนา กลอนศูฟoย กลอนเชิงประวัติศาสตร และกลอน สัญลักษณ

ลักษณะเดนกลอนของชัยคฺหัมซะฮฺ ฟนซูรีย กลอนของชัยคฺหัมซะฮฺ ฟ.นซูรียจะออกมาในลักษณะความเปนอิสลามที่เห็น ได%ชัด ไมวาจะเปนการใช%คํา หรือความหมาย ๑. คํา - ทานมักใช%คําที่เกี่ยวกับอิสลามอยางมาก - ใช%อายะฮฺอัลกุรฺอานและอัลหะดีษอยางมาก ซึ่งเรียกวา “อิกติ บาส” - ใช%ลักษณะบางสวนของวาทศิลป…อาหรับ เชน ญินาส 1 และเตาริ ยะฮฺ เปนต%น ๒. ความหมาย เราจะพบวา กลอนของชัยคฺหัมซะฮฺ ฟ.นซูรีย จะกลาวถึงนัยที่เปนอิสลาม โดยเฉพาะนัยในทางศูฟoย เพราะทานก็เปนคนหนึ่งจากบรรดานักศูฟoย เรามาสังเกต คําพูดของทานในกลอนข%างลางนี้ 1

คําสองคํา มีรูปแบบการเขียนเหมือนกันหรือใกลFเคียงกัน แตGความหมายตGางกัน ถFามีรูปแบบการเขียน เหมือนกัน เรียกวGา “ญินาสตาม (ที่สมบูรณO)” และถFาหากมีการเขียนใกลFเคียงกันหรือตGางกันเพียง ๑ อักษร จะ เรียกวGา “ญินาสนากิศ (ที่ไมGสมบูรณO)

243


Allah al-mawjud terlalu baqi Dari enam jihad kunhinya khali Wahuwa al-awwal sempurna ali Wahuwa al-akhir daim nurani Nurani itu hakikat khatam Pertama terang di laut dalam Menjadi makhluq sekalian `alam Itulah bangsa Hawwa dan Adam เราจะพบวา ในกลอนนี้มีการใช%ระบบ “กอฟยะฮฺ” มีการใช%คําอาหรับ อิสลาม และใช%คําที่สอถึงนัยเชิงศูฟoย ฟ.นศูรีย ได%กลาววา Ketahuilah ma‘na tsalatsat ’illa huwa rabi‘uhum Wa-la khamsat illa huwa sadusuhum Wa-la adna min dzalika wa-la aktsara illa Huwa ma‘ahum Inilah ma‘na huwa ma‘akum aynama kuntum บางสวนจากความหมายในกลอนข%างต%นได%นํามาจากความหมายของอา ยะฮฺ ที่ 7 จากสูเราะฮฺอัล-มุญาดะละฮฺ อัลลอฮฺ ได%ตรัสวา

‫ﻻ ُﻫ َﻮ َﺳ ِﺎد ُﺳ ُﻬ ْﻢ َوَﻻ‬ِ‫ﻻ ُﻫ َﻮ َراﺑِﻌُ ُﻬ ْﻢ َوَﻻ ﲬَْ َﺴ ٍﺔ إ‬ِ‫ْﳒ َﻮى ﺛَ​َﻼﺛٍَﺔ إ‬ ‫﴿ َﻣﺎ ﻳَ ُﻜﻮ ُن ِﻣﻦ‬ ِ (٧ :‫ﺎدﻟﺔ‬‫ﻻ ُﻫ َﻮ َﻣ َﻌ ُﻬ ْﻢ﴾ )ا‬ِ‫ﻚ َوَﻻ أَ ْﻛﺜَـ َﺮ إ‬ َ ‫أ َْد َﱏ ِﻣﻦ ذَﻟ‬ ฟ.นศูรีย ได%กลาวอีกวา

Firman Allah kepada Nabi alayh al-shalat Ya ayyuh-a al-rasul-u kul min al-thayyibat Wa ‘malu shalihan pada sekhalian awqat Supaya kau peroleh najat 244


บางสวนจากความหมายในกลอนข%างต%นได%มีการ “อิกติบาส” ความหมายของอายะฮฺ ที่ 51 จากสูเราะฮฺอัล-มุอมินูน อัลลอฮฺ ได%ตรัสวา

จาก

Ω⇐ΣΤ∏Ω∧⊕ΤΩ †Ω∧ΨŠ ΨΤΠ ⇓ΜΞ… ∃†[™Ψ∏ΤΗ Ω″ Ν…ΣΤ∏Ω∧∅≅…Ω Œ γ ΤΗ ΤΩ γ‰Θ∼Τϑð≠√≅… ⇑ Ω Ψ∨ Ν…ΣΤ∏Ρ 〉Σ♠Σ≤Θ √≅… †ΩΣΤΘ ÿΚς†;ΤΗ ΤΩÿ﴿

(٥١ :‫(﴾ )اﳌﺆﻣﻨﻮن‬51) χ¬∼Ψ∏Ω∅

Maraja al-bahrayn yaltaqiyan Bayna-huma barzakhun la yabghiyan Ma‘rifat itulah dalamnya ‘iyan Pada sekalian ‘arif yang beroleh iman มีการ “อิกติบาส” จากความหมายของอายะฮฺ ที่ 51 จากสูเราะฮฺอัล-มุอOมินูน อัลลอฮฺ ไดFตรัสวGา (٢٠-١٩ :‫( ﴾ )اﻟﺮﲪﻦ‬20) γ⇐†Ω∼⊕Ψ ‰ΤΩÿ ‚Πς β—ƒΩ ≤⌠ ΤΩŠ †Ω∧ΣΤΩ ⇒∼ΤΩŠ (19) Ξ⇐†Ω∼Ψ⊆Ω Τ<∏ÿΩ ⇑ Ξ ΤÿΩ≤Τ™Ω‰Τ<√≅… Ω“≤Ω Ω∨﴿

Hadis masyhur terlalu bayyinah Mengatakan dunya kesudahan sayyi’ah Hubb al-dunya ra’s khathi’ah Tark al-dunya ra’s kull ‘ibadah มีการ “ตัฎมีน (การนําความหมาย)” จากอัล-หะดีษของทGานนบี

ที่ไดFกลGาววGา

."‫ﻛﻞ ﻋﺒﺎدة‬  "  ‫أس‬  ‫ﻧﻴﺎ رأس‬‫ﺣﺐ اﻟﺪ‬ ُ ‫ﻧﻴﺎ ر‬‫ وﺗَﺮك اﻟﺪ‬،‫ﻛﻞ ﺧﻄﻴﺌﺔ‬ จากตัวอยางกลอนตางๆ ข%างต%น เราจะพบวา เปนกลอนที่ใช% “อิกติบาส” และ “ตัฎมีน” ซึ่งล%วนแล%วบงชี้วา นักกวีมลายู โดยเฉพาะนักกวีเชิงศูฟoยจะถนอมการ ใช%คําอาหรับที่มีนัยทางศาสนาเปนสวนใหญ 245


ในด%านการประยุ ก ตใช% เราก็ ส ามารถที่จะนํ าแนวทางนี้ม าใช%ใ นกลอนใน รูปแบบตางๆ ได%เชน

Kalimat / Lirik : aalsyareef

Di mana saja kita berada tanamkan perasaan taqwa Hadirkan Allah di dalam hati keranaNya amat mendengar dan mengtahwi * * * Jika terjerumus dalam dosa dan noda Ikutilah segera dengan pahala Amal kebaikan menghapuskan dosa Hati murni … bersih dan bahagia * * * Bergaulah sesama manusia dengan akhlak yang amat mulia Ikhlas hati benar dan setia Agar kasih sayang berbunga di alam nyata * * * Itulah sabda rasul junjungan Buat ummatnya sepanjang zaman Semoga hidup sejahtera dalam masyarakat Selamat di Dunia dan akhirat

246


สามสิ่งสําคัญ เขียนโดย เอ็ม จารง

ทGานศาสดา สอนไวF ใหFปฏิบัติ หนึ่งเกรงกลัว มีตักวา อยGารั้งรอ แมFจะอยูG แหGงหน ตําบลไหน เพราะอัลลอฮฺ รอบรูF สุดปsดบัง สองทําดี เพื่อไถGบาป ที่ผิดพลาด เมื่อกGอบาป ทํากรรม สรFางราคี สามรักษา มารยาทงาม ตามคําสอน อยากคบหา เปwนมิตร ใกลFชิดกัน

อยGางเครGงครัด ในสามสิ่ง ดียิ่งหนอ อยGาขัดขFอ ตGอเจFา เฝqาระวัง จงใฝrใจ ในตักวา อยGาใหFหลัง พึงยับยั้ง ชั่งใจ และใฝrดี อยGาคิดอาจ ปลGอยไวF ในวิถี จงทําดี ตามหลัง ชGวยฝvงกัน อยGานิ่งนอน แมFผูFใด ก็ใฝrฝvน และสิ่งนั้น คือกุศล ผลบุญเอย.

247


นะซัม (Nazam) นะซั ม ในวรรณคดีอ าหรับ จะออกมารู ป แบบของการสร%างสรรคที่มีสั มผั ส คล%องจองในจํานวนคําที่จํากัด และจะถูกเรียงตามคําสัมผัสและกอฟยะฮฺ (การเปน หนึ่งเดียวของพยัญชนะสุดท%ายของคําในแตละบรรทัด) (อัต-ตุนญี 1993/1413: 862) เรา สามารถจะกลาวได% ว า ความหมายของ “นะซั ม ” จะมี ค วามคล% า ยคลึ ง กั น กั บ ความหมายของ “ชิอฺรฺ” ในภาษาอาหรับ ซึ่งใช%คํานี้เพื่อบงชี้ให%เห็นข%อแตกตางระหวาง ร%อยกรองและร%อยแก%ว ตัวอยางจากบทกลอนของอิมามอัช-ชาฟ3อีย ทานได%กลาววา

ِ َ ‫ـﺐ ﻧَـ ْﻔ ًﺴﺎ إذا َﺣ َﻜ َﻢ اﻟ َﻘ‬ ْ ‫وﻃ‬ ُ‫ﻀـ ــﺎء‬ ِ​ِ ِ ُ‫ﺪﻧْـﻴَﺎ ﺑَـ َﻘـ ـ ــﺎء‬ ‫ﻓَ َﻤﺎ ﳊَـﻮادث اﻟ‬ ِ َ ُ‫وﺷـ ْـﻴ َﻤﺘ‬ ُ‫اﻟﺴــﻤﺎﺣﺔُ واﻟﻮﻓــﺎء‬ َ ‫ﻚ‬ ِ َ ُ‫ﺮَك أن ﻳﻜﻮ َن ﳍﺎ ﻏــﻄﺎء‬‫وﺳ ـ ـ‬ ِ ٍ ُ‫ﻴﻪ اﻟﺴ ــﺨﺎء‬‫وَﻛ ْـﻢ َﻋ ْـﻴﺐ ﻳـُﻐَﻄـ‬ َ ‫س َﻋ ـﻠَْﻴ‬ ٌ ‫وﻻ ﺑـُ ْﺆ‬ ُ‫ﻚ وﻻ َرﺧـ ــﺎء‬ ِ ُ‫ن ﺷــﻤﺎﺗﺔَ اﻷَﻋ ــﺪاء ﺑــﻼء‬ ‫ﻓﺈ‬ ِ ِ ُ‫ــﺎر ﻟﻠﻈَـ ْـﻤﺂن ﻣ ــﺎء‬‫وﻣﺎ ﰲ اﻟﻨ‬ َ ‫إذا ﻧـَ​َﺰَل اﻟ َﻘﻀــﺎءُ ﺿ‬ ُ‫ـﺎق اﻟ َﻔﻀــﺎء‬

َ ‫َد ِع اﻷﻳـ‬ ُ‫ـﺎم ﺗَـ ْﻔ َﻌـ ُـﻞ ﻣﺎ ﺗﺸـ ــﺎء‬ ِ ‫ﻻﲡ ــﺰع ِﳊـ‬ ‫ﻴَ ــﺎﱄ‬‫ـﺎدﺛَِﺔ اﻟﻠ‬ ْ َ َْ ‫َو‬ ‫ـﻠﺪا‬ ً ‫وُﻛ ْـﻦ َر ُﺟ ـﻼً ﻋﻠﻰ اﻷ َْﻫـﻮ ِال َﺟ‬ ‫ﻚ ﰲ اﻟﺒَـﺮاﻳﺎ‬ َ ُ‫ت ﻋُــﻴﻮﺑ‬ ْ ‫وإِ ْن َﻛـ ـﺜُـَﺮ‬ ِ ‫ـﻰ ﺑﺎﻟﺴ ـ‬‫ﻳـﻐَﻄ‬ ٍ ‫ـﻞ َﻋـ ْـﻴ‬ ‫ـﻤﺎﺣﺔ ُﻛ‬ ‫ﺐ‬ ُ ‫ـﺮور‬ ُ َ‫وﻻ ُﺣ ـ ْـﺰ ٌن ﻳ‬ ٌ ‫ـﺪوم وﻻ ُﺳ ـ‬ ‫ـ ـﻮا ذُﻻ‬‫وﻻ ﺗُِﺮِد اﻷﻋ ــﺎدي َﻏﻄ‬ ٍ ‫ـﻤﺎﺣﺔَ ِﻣ ْﻦ َِﲞـ‬ ‫ـﻴﻞ‬ َ ‫ﺴـ‬ ‫وﻻ ﺗَـ ْﺮ ُﺟــﻮ اﻟ‬ ِ ‫وأَرض اﷲِ و ِاﺳ ـ ـ ــﻌﺔٌ وﻟ‬ ‫ـﻜ ْﻦ‬ ُ ْ َ

คําวา “นะซัม” เมื่อเข%ามามีบทบาทในวรรณคดีมลายูแล%วจะให%ความหมาย เฉพาะ หรือนับได%วาเปนคํานิยามที่บงชี้ถึงประเภทหนึ่งในบรรดาประเภทของบทกลอน ในภาษามลายู บทกลอน “นะซัม” นี้จะประกอบด%วย ๑๒ บรรทัด ในแตละ ๒ บรรทัด หรือ ๔ บรรทัด จะมีอักษรเดียวกันที่เปน กอฟยะฮฺเชน 248


(A.H. Adruss 1960: 260-261)

‫إن ﲨﻴﻊ اﻷﻣﺮاء‬ ‫ﻳﻨﺒﻐﻲ أن ﻳﻜﻮن ﳍﻢ وزراء‬ ‫ﻟﻜﻞ واﺣﺪ ﻣﻨﻬﻢ أﻋﻤﺎل‬ ٍ ‫ﺎ ﺣﻜﻮﻣﺔ ﻋﻠﻰ‬ ‫ﺗﺘﻢ‬ ‫وﺟﻪ أﻛﻤﻞ‬ ّ ‫وﱄ اﻷﻣﲑ‬  ‫وﻫﺬا اﻟﻮزﻳﺮ‬ ‫ﻛﺘﻤﺎﻧﻪ أﺳﺮارﻩ ﻳﺴﲑ‬ ‫ﻗﻮل اﻷﻣ ِﲑ ﻗﻮﻟﻪ‬ َ ‫ﻷن‬ ‫ﺛﻨﺎﺋﻴﺔ اﻟﻮﺟﻮد ووﺣﺪة ﻣﻌﻨﺎﻩ‬ ‫وﻫﻜﺬا اﻟﻮزﻳﺮ ﺻﻔﺘﻪ‬ ‫ﺷﺨﺼﻴﺔ اﻷﻣﲑ ﺷﺨﺼﻴﺘﻪ‬ ‫ﻟﻮ ﻛﺎن اﻷﻣﲑ ﳛﻮزﻩ‬ ‫ﳛﺼﻞ ﻋﻠﻰ ﺣﺮٍز ﻋﻨﺪﻩ‬

(aalsyareef 2003)

รูปแบบของ “นะซัม” จะออกมาคล%าย “อนาชีด” แตเปนการนําเสนอลําพังคน เดียวหรือเปนกลุมโดยไมมีการเตรียมบทมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมสตรีใน ขณะที่กําลังสานเสื่ออยู ทํากะตูป.ต (ketupat) กลอมลูกนอน เปนต%น สวนใหญแล%ว ทํานองบรรเลงเพลงจะออกมาในรูปของกลอนในยุคกอนที่มี การตักเตือน และสั่งสอน ปกติแล%วจะเกี่ยวกับความรู%ด%านหลักศรัทธา ฟ.รฎ‡อัยนฺ ศิฟะฮฺของเราะสูล ศิฟะฮฺดุวอปุโละฮฺ เปนต%น สวนที่มีการขับร%องเปนกลุมจะมี ๕-๘ คน ในประวัติศาสตรมีกลาววา ดั้งเดิมของ “นะซัม” มาจากเปอรเซีย ในศตวรรษ ที่ ๑๖ “นะซัม” ถูกนํามาสูโลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต%โดยนักธุรกิจและบรรดาอุ ละมาอ เชน

249


Aku mula nazam ini dengan nama, Allah yang memberi fahaman agama, Puji itu bagi Allah yang mulia, Lagi kekal ia lagi yang sedia. จากตัวอยางข%างต%น นะซัมนี้ถูกแตงขึ้นมาโดยผู%รู%ทางศาสนา วิธีการนําเสนอ นั้น ขึ้นอยูกับการหัวข%อหรือสาสนที่มีการนําเสนอ รูปแบบที่เราได%กลาวมาข%างต%น ขอยกตัวอยางจากบทกลอน “ความ ประเสริฐของความรู% ความรู%เปนเสบียงแหงชีวิต”

(aalsyareef 2003)

،‫ﻗﺎل اﻟﻌﻠﻢ أﻧﺎ ﺳﻠﻄﺎ ْن‬ ،‫وﺟﻮا ﻳﺴﻮﻳﺎ ْن‬ ً ً‫ﺳﻠﻄﺎﱏ ﲝﺮا‬ ،‫ﺟﺎﻫﻞ أﻧﺎ ﺷﻴﻄﺎ ْن‬ ‫وﻧﺎدى‬ ٌ .‫اﺗﺒﻌﲎ ﰲ ﻛﻞ ﻏﺎﺑﺔ وﺑﺮﻛﺎ ْن‬ ْ ...... ،‫اﻟﻌﻠﻢ ﻗﺎﺋﺪ ﻟﻪ أﺛﺮ ﺳﺤﺮى‬ ،‫ﺿﻮءﻩ ﻧﻮر ﺣﻘﻴﻘﻰ‬ ،‫ﻃﺮﻓﻪ اﻷﺻﻠﻲ‬ َ ‫ﻗﻠّﻤﺎ ُﳛ‬ ْ ‫ﺼﻞ‬ .‫ﺣﱴ اﳌﻮت ﻓِﺮاﻗﻪ اﻷﺑﺪي‬ ....... ،‫)ﻫﻮ( آﻟﺔ ﻛﺜﲑةُ اﻟﻔﺎﺋﺪة‬ ،‫آﻣﺎل َذوي اﳊﻜﻤﺔ‬ ُ ،‫ﻗﺮﺑُﻪ ﻣﺪى اﻟﻨﻈﺮة‬ .‫ﻠﻜﺔ‬ ‫أﺟ ٌﻞ وﺣﺪودﻩ‬ َ ‫ﺷﺎﻃﺌُﻪ‬

250


บทกวี “เรือ” (Syair Perahu) ของหัมซะฮฺ ฟ.นซูรีย

Inilah gerangan suatu madah Mengarangkan syair terlalu indah Membetuli jalan tempat berpindah Di sanalah i'tikad diperbetuli sudah Wahai muda kenali dirimu Ialah perahu tamsil tubuhmu Tiadalah berapa lama hidupmu Ke akhirat jua kekal diammu Hai muda arif budiman Hasilkan kemudi dengan pedoman Alat perahumu jua kerjakan Itulah jalan membetuli insan การใช%ภาษาที่สละสลวยในรูปแบบการอุปมาอุปมัยที่พอเหมาะ บทกวี “เรือ” (Syair Perahu) นี้เปนที่เลื่องลือกันในสมัยหนึ่ง บิดามารดาได%นําบทกลอนนี้เพื่อตักเตือน ลูกๆ ให%เชื่อฟ.งคําสอนของอิสลาม

251


หนังสืออัล-บุรฺดะฮฺของอัล-บูศิรีย3 หนังสือเลมนี้เปนที่รู%จักกันในกลุมมุสลิมในแหลมมลายู สังคมไทยใช%หนังสือ เลมนี้อานกันในโอกาสตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในวันคล%ายวันประสูติของทานเราะสูล มุหัมมัด แตกอนที่นายอัล-บูศิรียจะเริ่มประพันธบทโคลงกลาวสดุดีทานเราะสูล เขาได%กลาวรําพึงรําพรรณถึงชีวิตของตนเองในวัยหนุมวา ด%วยดวงจิต คิดคํานึง ถึงเพื่อนบ%าน หยาดน้ําตา ไหลริน สิ้นจะครวญ หรือเพราะพระ พายพัด รําเพยผิน แล%วฟIาแลบ แถบ “อิฏอน” หุบเขาไกล อะไรหนอ จะเกิดแก ดวงเนตรเจ%า อะไรหนอ จะเกิดแก ดนูมาน ธรรมดา คนที่มี ความรักนั้น ทั้งที่มี น้ําตาพรู อยูไมวาย ถ%าแม%นมาตร ปราศจาก รตีผอง ยามค่ําคืน ตื่นเตลิด เพริดไปไกล เจ%านั้นหรือ จะคื้อด%าน วาไมรัก น้ําเนตรทวม สองแก%ม อันเตงตึง

เมืองสําราญ “ซีสะลัม” พลันนาศรวล ให%หมางนวล ดุจสายเลือด เชือดเฉือนใจ จากแถวถิ่น “กาซิมะฮฺ” ยังสงสัย ยังไฉง ในความมืด อนธกาล ถ%าพี่เร%า ให%หยุดร%อง คนึงขาน ถ%าจะวาน ให%ตื่น จากงมงาย ยากจะกั้น ปกป3ด มิตรสหาย แทบจะตาย ดั่งไฟเผา เราร%อนใจ คงไมหมอง นองถิ่นเกา น้ําเนตรไหล ลําเนาไพร และขุนเขา เนาวคํานึง เมื่อประจักษ แนชัด ถนัดถึง รางรัดรึง กลับผายผอม ไปทันที

มุหัมมัด บดินทร ทวิภพ วีรชน แหงอาหรับ อันบวร เปนนบี ผู%ประกาศ ปกาศิต ไมมีใคร นุมนวลเทา เราได%ยิน เปนที่รัก ของทุกคน ที่เรรวน ทานเรียกร%อง ขอพร จากพระเจ%า ประหนึ่งยึด สายเชือก มิรู%คลาย

ตางน%อมนบ ทุกชีวิต สิ้นสลอน แดนิกร ถ%วนทุกแคว%น และแดนดิน มุงประดิษฐ สั่งใช%ห%าม อยางมีศิลป… เมื่อจงจินต กลาวห%าม หรือเห็นควร ยามเซซวน ต%องพิบัติ ขจัดจาย และยึดเอา เปนสรณะ ไมเสื่อมสลาย จะไมคลาย ขาดจากกัน แสนมั่นคง

252


ทานประเสริฐ เลิศกวา ศาสดาผอง ไมมีใคร เทียบเทา ในพระองค เปนที่พึ่ง ทางวิชา ศาสดาอื่น ณ วิทยา มหาสมุทร สุดนที 2

รูปตระกอง และมารยาท อันประสงค ผู%ดํารง วิทยา และอารี เพียงแตยื่น ตักเอา จากราศี หรือบ%างมี เพียงหยาดฝน ไมเทียมทัน

บทกลอนข%างต%นเปนบทกลอนเกี่ยวกับการกลาวสดุดีทานเราะสูล ซึ่งสามารถหาคํ าแปลมาอานได%ในทุกภาษา สํ าหรับในแหลมมลายูก็มักจะใช% ภาษามลายูเปนคํ าแปล แตในกลุมสังคมมุสลิมที่พูด ภาษาไทยโดยทั่ว ไปแล%ว มักจะใช%ภาษาอาหรับในการสดุดี และจะถอดความออกมาเปนภาษาไทยผาน การแปลเปนภาษามลายู

2

บทกลอนอัล-บุรดะฮฺ รFอยกรองเปwนภาษาไทยโดย ประยูรศักดิ์ ชลายนเดชา (พิทสามัคคีสมาคม) เมษายน 2516

253


ตัวอยางบทกลอน (นะซัม) เพื่อใชในการตักเตือน ในรูปแบบกลอนในภาษาไทย

ลมหายใจมีไว%ให%ความหวัง

สร%างพลัง ด%วยจิต อยาคิดถอย

อยาอยูอยาง ชีวิต ที่เลื่อนลอย

โหยและห%อย ออนเพลีย จะเสียกาล

อุปสรรค เข%าเผชิญ จงเดินสู%

ยอมรับรู% ด%วยใจ ที่อาจหาญ

ตริและตรอง แก%ไข อยางนิ่งนาน

รีบประสาน อยางเข%มแข็ง ด%วยแรงใจ

แม%จะพลาด พลั้งบ%าง ในบางหน

จงอดทน สู%ฝ.น อยาหวั่นไหว

ชีวิตนี้ มีความหมาย จงก%าวไป

เก็บอดีต ที่พลั้งไว% สอนใจคน

ในวันใหม นั้นสดใส กวาวันเกา

อยามัวเฝIา หมองใจ จะไร%ผล

ต%องมานะ กอบกู% สู%ผจญ

มุงสูหน ทางแหง ศักดิ์ศรีกาย

ดอกไม้ เหล็ก

254


เสี้ยวเดือนมุ หัรฺร็อม เยือนอีกครา แหงนมองสู คาราวาน ที่ผานไป ในงานเลี้ยง ฮิจ‹ฺเราะฮฺ ที่เคยคุ%น ผู%ที่พา ทางนํา มอบความรัก คิดวาได% เต%าไต ขั้นตักวา เปนมุสลิม ที่แท% อยางตรองไตร ทันใดเสียง แผวขึ้น จากทรวงลึก ในความฟุIง ซานเจ%า ยังเมามัว เมื่อเจ%าไม สามารถ จะทําตาม อาจประดับ ประดาด%วย คําพูดได% จะทําอยาง ไรละ ให%เห็นวา อิบาดะฮฺ ในความรัก นั้นซึ้งยิ่ง เขาวาอิ บาดะฮฺใน รักนบี แล%ววาดตาม รอยก%าว ของทางนํา หากแตพูด การกระทํา คอยขัดแย%ง อิสลามเลย ต%องถูก เขาย่ํายี ดูซิ “กุดส” ต%องสูญเสีย อยางงายดาย อาจละทิ้ง ก%อนหิน ในกํามือ ยุติธรรม เริ่มเบื่อ จากวาจา จากความจริง มองเห็น เพียงแคซีก ความบริสุทธ เบื่อแล%ว ที่จะทน ตออิสลาม ดูหมิ่น ไร%ปรานี โอ% หยุดเถิด กรุณา หยุดได%ไหม แม%วาคํา พูดเจ%าไม ควรรีรอ 255

ความสงา ของโลก ก็สดใส มักกะฮฺ คง ร%องให% สะอื้นนัก กระตุ%นเตือน ความคิด ที่ประจักษ กลิ่นหอมแหง อพยพ ไมขาดสาย แตทวา ในความรัก หามิใช ความเปนมา ของอิสลาม ยังสลัว จงสํานึก โอ%ผู% ที่หลงตัว ยอมอยูใน เงาสลัว ถึงเมื่อไร กับความจริง ที่นบี ได%วาดไว% การเคลื่อนไหว เผยกลับ ธาตุแท%จริง ผมนี่หนา รักนบี เหนือทุกสิ่ง มุสลิมรอด เพราะรัก ผมตอบย้ํา คนที่รัก ตามคนรัก ทุกถ%อยคํา จะนับวา เปนอุมมะฮฺ ทานนบี ไมแสดง วี่แวว ของความดี ไมใชเพียง เพราะการ พูดดอกหรือ ความเบื่อหนาย จากเด็กๆ ตางลุกฮือ แล%วใครละ จะขว%างปา “ยะฮูด” อีก สังเกตวา ตางคน ตางเลี่ยงหลีก แตเบื้องหลัง โหดเหี้ยม ไร%อารี ความหมนไหม% ของชน ไร%ศักดิ์ศรี จงลุกขึ้น ตอสู% อยารีรอ เธอทําให% เสียหน%า มามากพอ จะขื่นขม แคไหน ต%องกลาวมา


เจ%าหมายความ วา “มุหัรฺร็อม” เยือนมา จะจากลา เหมือนวา ไมมีคา ไมมีใคร สักคน ที่หวงหา ไมแลเหลียว กับบทเรียน ที่สอนสั่ง อันฮิจ‹ฺเราะฮฺ ล%วนซอน ถ%อยคําสอน ชวยย%อนหลัง สูอดีต ที่จีรัง บทเรียนแหง “ตะวักกัล” คงยืนยั่ง เพราะอัลลอฮฺ พร%อมเรา ทรงคูเคียง ความเปรื่องปราด ถูกวาดด%วย นามพระองค อาลีจะ ยังคงนอน นิ่งบนเตียง เพื่อสอนประ ชาชาติ ให%กล%าเสี่ยง “ตัฎหิยะฮฺ” จะได% แทรกทุกกาย “ดําเนินไป ตามเหตุ” อีกบทเรียน ที่ฮิจ‹ฺเราะฮฺ เขียนใน ตอนตอไป นั่น อัสมาอ และน%องชาย ชางหัวใส นําเสบียง แม%นต%องลํา บากกายา ทานนบี ได%ฮิจ‹ฺเราะฮฺ อยางเหนื่อยยาก ยอมพลัดพราก เมืองรัก เพื่อรักษา อัล-อิสลาม จะเติบใหญ ในไมช%า ประชาชาติ จะได%ยิ้ม อยางสดใส อัล-อิสลาม จะยืนหยัด ขึ้นมาใหม ไมใชเรื่อง งายดาย สุขสบาย เด็ดกุหลาบ ไมงาย ดั่งใจหมาย เลือดอาจหยด เนื่องจากหนาม ที่ล%อมไว% อนิจจา กับเวลา ที่ผานไป ชางเสียดาย กับชีวิต ไร%ความหมาย บทเรียนของ ฮิจ‹ฺเราะฮฺ ขอใสใจ กอนที่ไฟ โชกชวง ยังไมดับ กลับไปสู ฮิจ‹ฺเราะฮฺอัน บะเราะกะฮฺ เล็ง “หิกมะฮฺ” คําสอน ล%วนนานับ มุสลิมจะ คงอยู ในความลับ กับเยาวชน ลูกหลาน “มุอฺญีซะฮฺ”

อาลชะรี ฟ / ๑๔๒๐ ฮ.

256


‫”‪ตัวอยางวรรณกรรม “สัญลักษณ$‬‬

‫أَﻳ‪‬ﻬﺎ اﻟﻐَﺪ !‬ ‫ِ‬ ‫ٍ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ﺣﺴﺎن‪،‬‬ ‫ﻐﺎرا‪ ،‬وأﻣﺎﱐ َﺣ ّﺴﺎﻧﺎً و َﻏﲑ‬ ‫إ ‪‬ن ﻟَﻨﺎ آﻣﺎﻻً ﻛﺒﺎراً وﺻ ً‬ ‫ﺻﻨﻌﺖ‬ ‫ﻋﻦ أﻣﺎﻧﻴﻨﺎ ﻣﺎذا‬ ‫َ‬ ‫أﻳﻦ ﻣﻜﺎ‪‬ﺎ ﻣﻨﻚ‪َ ،‬‬ ‫وﺧﺒ‪‬ـ ْﺮﻧﺎ ْ‬ ‫ﻓَ َﺤﺪ‪‬ﺛﻨﺎ ﻋﻦ آﻣﺎﻟﻨﺎ َ‬ ‫ﺖ َﳍﺎ ِﻣ َﻦ اﳌﻜَْﺮِﻣﲔ‪.‬‬ ‫اﺣﺘَـ َﻘ ْﺮَ‪‬ﺎ أ َْم ُﻛْﻨ‬ ‫ِ‪‬ﺎ‪ ،‬أَأَ َذﻟْﺘَﻬﺎ و‬ ‫َ‬ ‫ْ‬ ‫ُ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ِ‬ ‫ﺜﺎﻣﻚ ﻋﻠﻰ َو ْﺟﻬﻚ‪ ،‬وﻻ‬ ‫ﻻ‪ ،‬ﻻ‪ُ ،‬‬ ‫ﺻ ْﻦ ﺳ‪‬ﺮك ﰲ ﺻﺪرك‪ ،‬وأﺑﻖ ﻟ َ‬ ‫اﺣﺪاً ﻋﻦ آﻣﺎﻟِﻨﺎ وأﻣﺎﻧﻴﻨﺎ‪ ،‬ﺣ ‪‬ﱴ ﻻ ﺗُـ ْﻔ ِﺠﻌﻨﺎ ﰲ أرو ِ‬ ‫ُﲢ ‪‬ﺪﺛْﻨﺎ ﺣﺪﻳﺜًﺎ و ِ‬ ‫اﺣﻨﺎ‬ ‫َ‬ ‫ُ‬ ‫َ‬ ‫َ َ‬ ‫ِ‬ ‫وﻧُ ِ‬ ‫ﻔﻮﺳﻨﺎ‪ ،‬ﻓَِﺈ‪‬ﳕﺎ َْﳓﻦ أَﺣﻴﺎء ﺑِ ِ‬ ‫وﺳﻌﺪاء‬ ‫ﺎﻵﻣﺎل وإ ْن ﻛﺎﻧَ ْ‬ ‫ﺖ ﺑﺎﻃﻠَﺔً‪ُ ،‬‬ ‫ُ ْ ٌ‬ ‫ﺑِﺎﻷﻣﺎﱐ وإ ْن ﻛﺎﻧَﺖ ِ‬ ‫ﻛﺎذﺑَﺔ‪.‬‬ ‫ْ‬ ‫اﻟﻤﻨﻔـﻠﻮﻃﻲ‬

‫‪257‬‬


รุงอรุณ ของพรุงนี้ สําหรับเรามีความฝ.น อันน%อยใหญ มิสําคัญ ล%วนเสกสรรค สร%างเสรี ความหวังที่งดงาม ถึงไมงาม เราก็มี จงกระซิบ บอกเราที เกี่ยวกับความ หวังของเรา บอกเราซิ วาอยูไหน จากทรวงใน ใจของเจ%า อยาได%ทุกข อยาได%เศร%า กับความหวังของวันวาน ความฝ.นเรา เจ%าจงบอก อยาได%หลอก แล%วเลยผาน เราอาจหลง ตลอดกาล หากเจ%าไม บอกความจริง จะหวงแหน และสรรเสริญ หรือเจ%าเมิน เจ%าเฉยนิ่ง หรือเหยียดหยาม และทอดทิ้ง ไมแยแส ไมเยื่อใย ....................... 258


โอ%พรุงนี้ ถ%าเจ%ามา อยากระซิบ บอกใครๆ เก็บความลับในอกเจ%า เราจะบินไปเก็บเกี่ยว วันพรุงนี้ ของวันใหม จะแบกบา มาใสหาม ผ%าคลุมหน%า อยาได%เผย ความฝ.นเรา เจ%าจงฝ.ง อาจทําให% เราสลด เมื่อได%รู% ถึงความจริง ความทรวงใน จะปรวนปราน จึงยอมทน ยอมเหวว%า แท%จริงเรา มีชีวิต แม%อาจจะ เปนความฝ.น อันความสุข ที่แสวง ถึงแม%จะ เปนความหวัง

จงรักษา ความลับไว% อยาได%กลาว แม%คําเดียว ปลอยให%เรา อยูดายเดียว อนาคต ที่งดงาม ไกลแคไหน ไมอาจห%าม แม%ต%องดิ้น ตามลําพัง อยาได%เอย ถึงความหลัง กับวันวาน ที่ถูกทิ้ง ตระหนกตก ใจอยางยิ่ง ที่จะต%อง ประสบมา วิญญานเรา จะปวดปรา กับความลับ สรรพัน ถูกลิขิต ด%วย ความฝ.น ที่จอมปลอม ไมจีรัง ล%วนแอบแฝง ในความหวัง ที่มดเท็จ ก็ตามเอย อาลชะรีฟ 8/12/1418 – 5/4/1998

259


หนังสืออ)างอิง ภาษาอาหรับ ‘Abd al-Mun’im Khafaji, 1949, Al-Hayat al-Adabiyah fi al-‘Asr al-Jahily. Cairo: Dar al-Muhammadiyah. ---------------------------------, 1973, Al-Shi’r al-Jahily . Beirut: Dar al-Kitab . Ahmad Amin, 1963, Fajr al-Islam, Cairo: Maktabat al-Nahdah. Amr bin Bahr al-Jahiz, 1961, Al-bayan wa al-Tabyin . 4, Cairo: Maktabat alKanji Hanna al-Fakhuri, 1953, Tarikh al-Adab al-Arabi, Beirut: Maktabat alBulisiyah. Ibnu Kathïr, nd, Tafsïr al-Qur’än al-‘Azïm, Cairo: Dar Ihya’ al-Kutub alArabiyah. Ibnu Manzur, Jamaluddin, nd, Lisan al-Arab, Cairo: Dar al-Ma’arif. Jawad Ali, 1972, Tarikh al-Adab Qabla al-Arab, Beirut: Dar al-‘ilm al-Malayin. Muhammad Abu Zahrah, n.d, al-Qur’an, Cairo : dar al-Fikr al-‘Arabi. Muhammad Ahmad Al-Rashid, 1993, Al-Muntolaq, Beirut: Muassasat alRisalah. Muhammad Jabir al-Fayyath, 1995, Al-Amthal fi al-Qur’an al-Karim, 2nd, Riyadh: Al-Dar al-‘Alamiyat li al-Kitab al-Islami. Najib Muhammad al-Bahiti, 1963, al-Syi’r al-Araby, Cairo: Dar al-Ma’arif. Al-Qattan, Mana’ Khalil, 2000, Mabahith fi ‘Ulum al-Qur’an, 11st, Cairo: Maktabah Wahbah. Saiyid Qutb, 1985, Fi Zilal al-Qur’an, 11st, Cairo: Dar al-Shark. Taha Husain, 1969, Fi al-Adab al-Jahili, Qahirah : Dar al-Maarif. Al-Tobary, Abu Ja’far Muhammad Ibnu Juraij, 1991, Tarikh al-Tobary. Beirut: Dar al-Kutub al-Ilmiyah. Al-Zarqany, Muhammad Abd al-‘Azim, 1997, Manahil al-‘Irfan fi Ulum alQur’an, Beirut: Dar al-Kutub al-‘Ilmiyah.

260


ภาษาอังกฤษ Afzal Iqbal, 1967, Culture of Islam, Lahore: Institute of Islamic Culture. Ignace Goldziher, 1966, A Short Story of Classical Arabic Literature, Hildesheim: Gorg Olms. Martin Seymour Smith, 1973, Guide to Modern Word Literature, London: Morrison and Gibb Ltd. R.O Winstedt, 1969, A History of Malay Literature, Kuala Lumpur: Oxford University Press ภาษามลายู Ahmad Shalaby, 1975, Sejarah dan Kebudayaan Islam, Singapore: Pustaka Nasional. Ismail Hamid, Julie 1976, Pendekatan Kesusasteraan Islam, Kuala lumpur: Dewan Bahasa Ismail Hamid, (Mac, 1982), Hubungan Kesusasteraan Arab dan Parsi dengan Kesusasteraan Melayu Lama, Kuala lumpur: Dewan Bahasa ___________, 1982, Pengantar Kesusasteraan Arab Klasik, Kuala lumpur: Utusan Melayu. Ismail Ibrahim, 1977, Foram Sastra Islam, dewan Sastera. Mana Sikana, 1976, Sastera Islam dan Hubungan dengan Sastera Melayu, Dewan Sastera. ___________, 1987, Kesusasteraan Arab Zaman Jahiliyah dan Zaman Islam; Satu Pertumbungan Kreativiti, (Bahagian Dua), Dewan Sastera. Mohd. Kamal Hasan, Ogos, 1977, Foram Sastera Islam, Dewan Sastera. Muhammad Uthman El-Muhammady, 1977, Kearah Melahirkan Tradisi Persajakan Islam, dalam: Memahami Islam, (Kota Bharu, Pustaka Aman Press Nurazmi Kuntum, 1991, Teori dan Pemikiran Sastera Islam di Malaysia, Kuala lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka Shahnon Ahmad, 1977, Sastera Islam, Dewan Bahasa, (Jilid 21, Bil. 7, Julai). 261


Shahnon Ahmad, 1981, Kesusasteraan dan Etika Islam, Kuala Lumpur : Fajar Bakti Syed Muhammad Naguib al-Attas, 1972, Islam Dalam Sejarah Kebudayaan Melayu, Kuala Lumpur : Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia Utusan Zaman, (18 Ogos 1974), quoted in “Kesusasteraan Melayu dan Islam: Satu Pertumbungan Pemikiran”, Syed Huusen al-Atas, et al., Kuala Lumpur: Sarjana Enterprise, 1984), np ภาษาไทย สิทธา พินิจภูวดล นิตยา กาญจนะวรรณ . ๒๕๒๐ . ความรู)ทั่วไปทางวรรรณกรรมไทย (กรุงเทพฯ กรุงสยามการพิมพO) อาลี เสือสมิง . ๒๕๔๘ . ๑๐๐๐ สุภาษิตอาหรับ . กรุงเทพฯ ศูนยOหนังสืออิสลาม อิบรอฮิม ณรงคOรักษาเขต . ๒๕๕๖ . ประวัติการศึกษาอิสลาม . ปvตตานี: ศูนยOหนังสือบัยตุลฮิกมะฮฺ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรO วิทยาเขตปvตตานี มุฮัมมัด อิบาล . ๑๙๗๗ . (แปลโดย ไรนGาน อรุณรังสี) รหัสย$แหงอาตมัน . กรุงเทพฯ

Abdullah Bin Mohamed, Dec. 1972, Ghazal dalam Kesusasreraan Arab dan Muzik Melayu, Majalah Persatuan Sejarah Melayu. Robithot al-Adab al-Islāmī Al-‘Ālamīyah, 2010, Al-Adab al-Islāmī, Riyadh, Vol: 68. W.E. Maxwell, 1883, Malay Proverbs, JMBRAS, Vol: 11. ซูฮัยมียO อาแว . 2552 . ภาษามลายูปาตานีเปiนมรดกตกทอดทางอารยธรรมอันภาคภูมิใจ แหงโลกมลายู . ใน International Conference Proceeding: The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World . 11-12 December 2009, Chulalongkhon University, Bangkok, Thailand อิส มาอี ล เบญจสมิ ทธิ์ . 2552 . ชั ยคฺ วัน อะหฺ มัด อัล-ฟะฏอนี ย$ นั ก ปรั ชญาเมธี ด) า น การศึกษาและการเมืองของโลกมลายู (พ.ศ. 2399-2451) . ใน International 262


Conference Proceeding: The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World . 11-12 December 2009, Chulalongkhon University, Bangkok, Thailand

อณัส อมาตยกุล . วรรณคดีอาหรับ . คFนในเว็บไซดO http://www.dranas.net

263


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.