จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร (ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2560)

Page 1

ะม นุ ษ ย์ศาส

ตร

คณ

วร

มห

า วิ ท

ย า ลั ย น เ ร ศ

สุวรรณภิงคาร

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560

สโมสรนิสิตคณะมนุษยศาสตร์ประดิษฐ์กระทงลอย ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทสวยงาม “วิจิตรบรรจงกระทงมนุษยศาสตร์” ๏ กระทงน้อยลอยเหนือน�้ำงามสง่า แสนล�้ำค่างามเลิศประเสริฐศิลป์ ถวายเป็นพุทธบูชาค่าระบิล แลโสภิณสวยกระจ่างช่างน่ายล มนุษยศาสตร์ประกาศกล้าค่าวิจิตร นิรมิตศิลปกรรมอ�ำนวยผล อนุรักษ์วัฒนธรรมด�ำรงตน แห่งมณฑลถิ่นไทยสืบไปเอย... ประพันธ์โดย นายชินภัทร หนูสงค์ นิสิตชั้นปีที่ ๓ ภาควิชาภาษาไทย คณะกรรมการสโมสรนิสิตคณะมนุษยศาสตร์ ขอขอบคุณภาพ องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร

สุวรรณภิ ง คารออนไลน์


คณะกรรมการที่ปรึกษา

๑. คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ๒. รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ๓. คณะกรรมการประจ�ำคณะมนุษยศาสตร์

บรรณาธิการ

อาจารย์ดวงพร

กองบรรณาธิการ

๑. ดร.สุวรรณี ๒. ดร.ภาคภูมิ ๓. ดร.จุฑามาศ ๔. อาจารย์อุบลวรรณ ๕. อาจารย์วราภรณ์ ๖. อาจารย์ธนัฏฐา

ทองน้อย ทองรอด สุขเจริญ บุญชู โตอวยพร ยูงหนู จันทร์เต็ม

ฝ่ายศิลปกรรม นายณัฐวุฒิ

เลขานุการ

นางสาวสุรีย์พร

นลินรัตนกุล

ชุมแสง

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

บทบรรณาธิการ เดือนพฤศจิกายนถือได้เป็นเดือนแห่งน�ำ้ ในประเทศไทยเรามีการบูชา พระแม่คงคาด้วยการลอยกระทงในคืนวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ วันที่บรรพบุรุษ เราได้สังเกตุว่าระดับน�้ำขึ้นสูงสุด แสดงถึงความใส่ใจและความระลึกถึง บุญคุณของสายน�้ำเราได้สืบสายวัฒนธรรมแห่งสายน�้ำที่มีมายาวนาน ไม่เพียงแต่ประเทศไทยและเพือ่ นบ้านเราในอาเซียน วัฒนธรรมแห่งสายน�ำ้ เป็นสิง่ ทีอ่ ยูค่ ทู่ กุ ชาติทกุ ภาษาไม่วา่ จะเป็นส�ำนวนภาษาน่ารู้ ความเชือ่ ต่างๆ ต�ำนานเทพเจ้าทั้งหลายเกี่ยวกับน�้ำพิธีกรรมต่างๆที่มีน�้ำเป็นส่วนประกอบ เช่นถือศีลจุ่มของศริสเตียนและชาวกรีก การรดน�้ำอวยพรในพิธีแต่งงาน การรดน�้ำมนต์เพื่อสิริมงคล ไปจนถึงการรดน�้ำศพในวันสุดท้ายของชีวิต น�้ำเป็นทั้งสัญญะในการน�ำสิ่งไม่ดีออกไปและน�ำสิ่งดีๆเข้ามา และเป็น ของเหลวที่ใช้ช�ำระความสกปรกได้จริงทางวิทยาศาสตร์ ในหนังสือเรื่อง message from water Dr. Masaru Emoto พบจากการท�ำการทดลอง ผลึกน�้ำว่า ความรู้สึกแง่บวก (ค�ำพูดที่ดี, การสวดมนต์, สมาธิ) ส่งผลที่ดี ความรู้สึกแง่ลบ (ค�ำพูดในแง่ลบ การด่าทอ) ส่งผลเสียกับผลึกน�้ำ อย่างเห็นได้ชัดองค์ประกอบของร่างกายเราก็ประกอบไปด้วยน�้ำมากกว่า 80 เปอร์เซ็น อะไรที่มีผลกระทบต่อน�้ำย่อมมีผลกระทบต่อเราเช่นกัน นี่อาจเป็นเหตุผลที่ทุกวัฒนธรรมมีการเฉลิมฉลองและสร้างความรู้สึกดี กับสายน�้ำ

เพราะน�้ำคือชีวิตค่ะ

ที่อยู่

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 05-596-2050, 2055 โทรสาร 0-5596-2000 เว็บไซต์ http://www.human.nu.ac.th E-mail humanadmission@nu.ac.th Facebook Faculty of Humanities NU

Cr.WASAWAT LUKHARANG/BBC THAI

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560 2


ความเชื่อและต�ำนาน เกี่ยวกับสายน�้ำของชนชาติไท http://www.dek-d.com

อาจารย์ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ1 หากกล่าวถึงความเชื่อและต�ำนานเกี่ยวกับสายน�้ำที่อยู่ในการรับรู้ของชนชาติไท “แม่น�้ำของ” หรือแม่น�้ำโขง นับเป็นสายน�้ำที่มีเรื่องเล่าและ มีการกล่าวถึงในต�ำนานของกลุ่มชนมากที่สุดสายหนึ่งก็ว่าได้ ทั้งนี้เพราะเป็นแม่น�้ำที่เป็นแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตของผู้คนโดยเฉพาะในกลุ่มชาติพันธุ์ไท มาอย่างยาวนาน มีจดุ ก�ำเนิดในทีร่ าบสูงของประเทศทิเบต ไหลผ่านมายังมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน แล้วไหลเรือ่ ยลงมาทางประเทศเมียนมา ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และมีปลายทางอยู่ที่ทะเลจีนใต้ของประเทศเวียดนามด้วยขนาดและความยาวของสายน�้ำที่ไหลผ่านไปยัง ประเทศต่างๆ นี้เอง จึงอาจสรุปได้ว่า แม่น�้ำโขง เป็นสายน�้ำแห่งชีวิตของชนชาติไท ดังที่ ยศ สันตสมบัติ และคณะ (2552. ปกหลัง) ได้กล่าวไว้ว่า “น�้ำโขง” คือสายน�้ำหลอเลี้ยงสรรพชีวิตในอุษาคเนยมาเนิ่นนานนับพันปจากตนกําเนิดในทิเบต น�้ำโขงไหลสูมณฑลยูนนานทางตอนใตของจีน ผานพมา ลาว สยาม เขมร จนลงสูทะเลทางเวียดนามใต้ น�้ำโขงนับเป็นบานของปลา 1,700 กวาชนิด ไกหรือสาหรายน�้ำจืด กุง หอย ปูและสัตวน�้ำ อีกมากมาย ทีเ่ ปนอาหารหลอเลีย้ งความอุดมสมบูรณใหผคู นหลายรอยลานในลุม แมนำ�้ โขง อารยธรรมหลากหลายพัฒนาเติบใหญขนึ้ ภายใตก ารโอบอุม ของ “สายน�้ำแหงชีวิต” ส�ำหรับความเชื่อและต�ำนานเกี่ยวกับแม่น�้ำโขงที่ส�ำคัญ มีดังต่อไปนี้ 1

นายภาณุวัฒน์ สกุลสืบ นิสิตระดับปริญญาเอก หลักสูตรคติชนวิทยา ภาควิชาคติชนวิทยา ปรัชญา และศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Cr.WASAWAT LUKHARANG/BBC THAI

3 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560


ความเชื่อเรื่องฟ้าหรือแถน

ความเชื่อนี้สะท้อนให้เห็นได้จากต�ำนานที่เกี่ยวกับการก�ำเนิดของแม่น�้ำโขงของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ เช่น

ต�ำนานเรื่องปู่สังกะสาย่าสังกะสี ของชาวไทยอีสาน (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. 2542. หน้า 2697-2698) ที่เล่าว่า หลังจากสร้างโลกและจักรวาลแล้ว ปู่สังกะสา-ย่าสังกะสีก็ได้สร้าง มนุษย์ชายหญิงสร้างเขาพระสุเมรุให้เป็นแกนของจักรวาล อันมีทวีป ทัง้ 4 อยู่ประจ�ำทิศต่างๆ ของเขาพระสุเมรุ หลังจากนั้นก็สร้าง เขาสัตภัณฑ์คีรี 7 เทือกเขาล้อมรอบ เขาพระสุเมรุอีกทีหนึ่ง ต่อจากนั้น ก็สร้างพระอาทิตย์ พระจันทร์ซึ่งท�ำให้เกิดจักรราศี ฤดูกาล ข้างขึ้น ข้างแรม ในส่วนของชมพูทวีปที่เชิงเขา พระสุเมรุนั้นมีทางน�้ำไหลออกมา 4 ทาง จากปากของสัตว์ สีช่ นิด คือ ราชสีห์ ช้างแก้ว ม้า และวัวอุสภุ ราช โดยน�ำ้ นัน้ เมื่อออกมาแล้วจะไหลรอบเขาพระสุเมรุแล้วผ่านโขดหิน และภูผาต่างๆ มีสระอโนดาตที่น�้ำใสสะอาดพื้นเป็นทรายเงิน ทรายทอง ที่ริมท่าน�้ำนั้นปู่ย่าทั้งสองได้ตกแต่งให้เป็นที่ บ�ำเพ็ญเพียรขอพระพุทธเจ้าทีจ่ ะเสด็จมาในอนาคตแลแม่นำ�้ นี้ http://petmaya.com/how-to-earth-born-thai-legend ได้แผ่สาขาลงมาในชมพูทวีปเกิดเป็นแม่น�้ำของ (โขง) ซึ่ง เป็นเค้าในภาคพื้นทวีป นั่นเอง ต�ำนานปู่เฒ่าตัดเส้นสายน�้ำ ของชาวไทด�ำ (ปฐม หงษ์สุวรรณ. 2554. หน้า 53) ที่เล่าว่า เมื่อก่อนฟ้าและดินอยู่ใกล้กันมาก จนกบยังกระโดดขึน้ ไปเมืองฟ้าได้ ต่อมาผูค้ นเดินทางไปเมืองฟ้ามากมายจนแถนเกิดความร�ำคาญจึงบันดาลให้ฟา้ กับดินแยกออกจากกัน แต่ถงึ อย่างนัน้ แถนก็ยังบันดาลให้มีเส้นสายน�้ำไว้เป็นตัวเชื่อมระหว่างเมืองฟ้าและโลกมนุษย์ ทั้งนี้เพื่อจะได้ใช้เป็นเส้นทางน�ำน�้ำไปเลี้ยงสรรพชีวิตบนพื้นโลก ต่อมา ปูแ่ ถนเฒ่าได้ตดั เส้นสายน�ำ้ ให้แยกออกจากกัน โดยทิง้ เส้นสายน�ำ้ นัน้ ลงไปยังโลกมนุษย์จนกลายเป็นแม่นำ�้ ต่างๆมากมายหลายสาย (รวมถึงแม่นำ�้ โขงด้วย) และจะต้องมีการเซ่นไหว้พลีผีฟ้าผีแถนเพื่อบูชาขอน�้ำฝน

ต�ำนานแม่น�้ำโขงกับแม่น�้ำน่านทะเลาะกัน

ของชาวลาว (บัวริน วังคีรี. 2551. หน้า 441) ที่เล่าว่า แต่เดิมแม่น�้ำโขงและ แม่นำ�้ น่านอยูบ่ นสวรรค์วนั หนึง่ ได้รบั ค�ำสัง่ จากพญาแถนให้ไหลลงมายังโลกมนุษย์และหากแม่นำ�้ ใดไหลลงสูท่ ะเลได้กอ่ นก็จะบันดาลให้มปี ลาใหญ่อยูใ่ น แม่นำ้� สายนัน้ และด้วยเหตุทแี่ ม่นำ้� โขงไหลมาถึงทะเลก่อน จึงท�ำให้มปี ลาบึก และท�ำให้ในแม่นำ�้ น่านทีเ่ ป็นฝ่ายพ่ายแพ้มแี ต่ปลาตัวเล็กๆ เช่น ปลาซิว ปลาแขยง เป็นต้น และนับจากนั้นแม่น�้ำทั้งสองก็เป็นปฏิปักษ์ต่อกัน หากน�ำน�้ำน่านกับน�้ำโขงมาใส่ขวดเกียวกันก็จะท�ำให้ขวดนั้นแตก

Cr.WASAWAT LUKHARANG/BBC THAI

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560 4


อภิปราย

สิ่งที่ยึดโยงกลุ่มชาติพันธุ์ไทเข้าไว้ด้วยกัน นอกจากภาษาและวัฒนธรรมแล้ว ความเชื่อเกี่ยวกับ “ฟ้า” ว่าคือพระผู้สร้างสรรพสิ่ง ก็เป็นลักษณะร่วมที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง โดยทัศนะดังกล่าวนี้ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ได้กล่าวว่า ข้อค้นพบส�ำคัญจากการศึกษาเทพปกรณัมไทอาหม ก็คือ ชนชาติไทมีวัฒนธรรมระดับสูงเป็นสังคมขนาดใหญ่ที่มีพัฒนาการสูงกว่าระดับชนเผ่า เป็นสมาพันธรัฐที่สามารถรักษาลักษณะชุมชนแบบบุพกาล ซึ่งแต่ละชุมชนแม้มีอิสระต่อกัน แต่ก็มีภาษาและวัฒนธรรมกลางร่วมกัน โดยมีมโนทัศน์เรื่องฟ้า และเทพแห่งฟ้าองค์ต่างๆ เช่น ฟ้าสาง แสงก่อฟ้า เจ้าฟ้าแผด แถนค�ำ ฯลฯ ร่วมกัน (อ้างถึงใน รณี เลิศเลือ่ มใส. 2541. ค�ำน�ำ) ฉะนัน้ ในการศึกษาเรือ่ งเล่าหรือต�ำนานของชนชาติไทจึงมักจะพบเรือ่ งราว เกี่ยวกับผู้ที่อาศัยอยู่บนฟ้า หรือผู้ที่มาจากฟ้าอยู่เสมอดังเช่นต�ำนานที่ได้ยกตัวอย่างทั้ง 3 เรื่อง ก็ปรากฏตัวละครที่อยู่บนฟ้า คือ ปู่สังกะสา-ย่าสังกะสี ในฐานะผูส้ ร้างสรรพสิง่ และแถนทีส่ ามารถตัดเส้นสายแม่นำ�้ หรือสัง่ ให้แม่นำ�้ ลงมาจากสวรรค์ เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดใี นต�ำนานเรือ่ งแรกนัน้ ได้สะท้อนให้ เห็นถึงการผสมกลมกลืนกันระหว่างความเชือ่ ดัง้ เดิมของชนชาติไท (ปูส่ งั กะสา - ย่าสังกะสีสร้างโลก) กับความเชือ่ ใหม่ คือ พระพุทธศาสนา เข้าไว้ดว้ ยกัน กล่าวคือ ต�ำนานเล่าถึงการสร้างสรรพสิ่งของปู่สังกะสา-ย่าสังกะสีตามคติจักรวาลในไตรภูมิกถา (เขาพระสุเมรุ ทวีปทั้งสี่ และน�้ำในสระอโนดาตที่ไหล ออกมาจากปากสัตว์ทั้งสี่) และจัดเตรียมสถานที่ไว้ส�ำหรับเป็นที่พ�ำนักให้กับพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นนัยถึงการยอมรับ (ยอมแพ้) ต่อพุทธศาสนา แต่กระนั้น ความเชือ่ ดัง้ เดิมก็มไิ ด้หายไป หากแต่ยงั แฝงอยูด่ ว้ ยกันอย่างแนบแน่น ดังจะเห็นได้จากประเพณีพธิ กี รรมของชาวไทยอีสานทีป่ รากฏทัง้ คติทไี่ ด้รบั อิทธิพล จากพุทธศาสนา เช่น ประเพณีไหลเรือไฟในแม่น�้ำโขง ที่เชื่อว่าเป็นการสักการะพระธาตุจุฬามณีหรือรอยพระพุทธบาท และความเชื่อที่เนื่องมาจาก การนับถือแถนหรือฟ้า เช่น ประเพณีแห่บุญบั้งไฟ เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

บัวริน วังคีรี. 2551. วรรณกรรมพื้นบ้านในชุมชนลาวหลวงพระบางกับบทบาทการสืบสานความเป็นลาว หลวงพระบางในบริบทสังคมไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดี เปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. 2547. ราชอาณาจักรลาว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศยาม. ปฐม หงส์สุวรรณ. 2554. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “แม่น�้ำโขง : ต�ำนานปรัมปราและ ความสัมพันธ์กับชนชาติไท”. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทันสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.). ยศ สันตสมบัติ และคณะ. 2552. แม่น�้ำแห่งชีวิต : การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและผลกระทบต่อความ หลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแถบอนุภาคลุ่มน�้ำโขง. เชียงใหม่ : คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รณี เลิศเลื่อมใส. 2541. ผลงานการวิจัยเรื่อง ฟ้า-ขวัญ-เมือง จักรวาลทัศน์ดั้งเดิมของไท : ศึกษาจากคัมภีร์ โบราณไทอาหม. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทันสนับสนุนการวิจัย. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. 2542. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด.

Cr.WASAWAT LUKHARANG/BBC THAI

5 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560


China

ชาวจีนเชื่อว่าแม่น�้ำล�ำคลองหรือทะเลมีเทพเจ้าคอยคุ้มครองปกปักรักษาอยู่ แต่เนื่องด้วยประเทศจีนมีพื้นที่ที่กว้างใหญ่ ไพศาลจึงท�ำให้ในแต่ละท้องทีม่ กี ารเรียกขานชือ่ หรือมีการบอกเล่าเรือ่ งราวของเทพเจ้าเกีย่ วกับสายน�ำ้ ทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น พืน้ ที่ ที่ติดทะเลด้านทิศตะวันออกของจีนจะนับเจ้าแม่หม่าโจ้หรือหม่าจู่ (媽祖) ซึ่งจะเป็นเทพเจ้าแห่งท้องทะเลที่เป็นที่เคารพ ของชาวจีน ฮกเกี้ยนและชาวจีนแต่จิ๋วเป็นอย่างมาก ส่วนชาวจีนไหหล�ำนิยมกราบไหว้บูชาเจ้าแม่จุ้ยบ้วยเนี้ย (水尾聖娘) หรือที่คนไทยเรียกว่า “เจ้าแม่ทับทิม” โดยเจ้าแม่หม่าโจ้ และเจ้าแม่ทับทิมต่างก็มีเครื่องทรง สีแดงเฉกเช่นเดียวกัน ท�ำให้คนไทยหลายคนเกิดความสับสนและเข้าใจผิดว่าเป็นเทพเจ้าองค์เดียวกัน นอกเหนือจากนี้ยังมีเทพเจ้าแห่งสายน�้ำอีกพระองค์ที่คนไทยรู้จักเป็นอย่างดีนั่นก็คือ เจ้าแม่กวนอิมหรือ “พระพุทธแห่งทะเลใต้ (南海古佛)” และจีนยังมีนิทานปรัมปราที่พูดถึงเทพเจ้าแห่งสายน�้ำไว้มากมาย เช่น เจ้าแม่แห่งสายน�้ำสองพระองค์ของทะเลสาบต้งถิงแห่งเหมือนหูหนาน ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสนม ของพระเจ้าซุ่นในนิทานปรัมปราจีนสมัยโบราณเรื่องสามพญาห้ากษัตริย์ (三皇五帝) ดร.จิรานุวัฒน์ สวัสดิ์พิชญสกุล

Myanmar

ชาวเมียนมาเรียกน�้ำว่า “เหย่” ( ) น�้ำถือเป็นสื่อแห่งกุศล ดังมีค�ำกล่าวว่า “หมากหนึ่งค�ำ น�้ำหนึ่งถ้วย ชาหนึ่งก้าน อ้อยหนึ่งท่อน เป็นทานอันประเสริฐ” ชาวเมียนมาจึงนิยมบริจาคน�้ำเป็นทาน ดังพบตามละแวกบ้านหรือริมทางเดินวิ่งมักมีการตั้งร้านน�้ำที่เรียกในภาษาเมียนมาว่า “เหย่ ชาง สี่ง” ( ) ส�ำหรับให้ผทู้ เี่ ดินผ่านไปมได้ดมื่ ส�ำหรับความเชือ่ เกีย่ วกับน�ำ้ ของชาวเมียนมาในทางสุขภาพนัน้ ต�ำรายากลางบ้านของเมียนมากล่าวว่า “ตาคู่กับน�้ำ ฟันคู่กับเหลือ หูกับน�้ำมันงา” หลังล้างหน้าจึงให้เอา น�ำ้ สะอาดประพรมทีต่ าด้วยเชือ่ ว่าจะท�ำให้ดวงตาแจ่มใส ส่วนในเวลาเช้าหลังล้างหน้าให้ดมื่ น�ำ้ เพือ่ จะช่วย ให้การขับถ่ายเป็นปกติ ชาวเมียนมามักจะห้ามล้างหน้าหรืออาบน�ำ้ ในทันทีหลังจากเดินผ่านแดดจัดกลับมา และมักจะก�ำชับให้อาบน�ำ้ เฉพาะเวลาแดดอ่อนเท่านัน้ นอกจากนี้ การอาบน�ำ้ จากบ่อบาดาลทีเ่ ย็นยะเยือก อาจท�ำให้เจ็บไข้ได้ง่าย (วิรัช- อรนุช นิยมธรรม 2551 หน้า 126-128) อ.สุนันทา เทศสุข

England

http://weili.ooopic.com/weili_15002641.html

เทพธิดาแห่งน�ำ้ ทีม่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ ในวัฒนธรรมอังกฤษคงหนีไม่พน้ Lady of the lake ทีห่ ลายๆคนคุน้ เคยกันดี ถือก�ำเนิดมาจากความเชื่อเรื่องเทพธิดาแห่งทะเลสาบในต�ำนานของชาว Celtic โบราณมีรูปลักษณ์เป็นหญิงสาวที่มี คาถาอาคมแกร่งกล้า ปรากฏตัวในทั้งวรรณกรรมอันโด่งดัง อย่างต�ำนานพระเจ้าอาเธอร์และอัศวินโต๊ะกลม ในฐานะ ของผู้ที่มอบดาบ Excalibur ให้แก่อาเธอร์ เป็นผู้เลี้ยงดู sir Lancelot อัศวินคนส�ำคัญ และเป็นผู้ใช้มนต์สะกดสยบ เมอร์ลิน พ่อมดคนสนิทที่ถือว่าเก่งกาจที่สุดในต�ำนาน พฤติกรรมของนางในเรื่องก็ยากจะบ่งบอกว่าเป็นฝ่ายดีหรือร้าย ถึงแม้เธอจะมอบดาบวิเศษให้อาเธอร์ และเลีย้ งดูจนถึงช่วยรักษาแลนสลอท แต่เธอก็คอื คนทีข่ โมยเขามาจากครอบครัว และล่อลวงเมอร์ลินไปสะกดไว้ในถ�้ำเพื่อให้เขาเป็นของเธอผู้เดียวตลอดกาล อ.ดวงพร ทองน้อย

https://www.pinterest.com/pin/456763587179127910/

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560 6


เทพแห่งสายน�ำ้ แต่ละประเทศล้วนมีวัฒนธรรมที่ผูกพันกับสายน�้ำอย่างมาก เพราะน�้ำถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการหล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ ทั้งใช้ในการอุปโภค บริโภค กสิกรรม รวมถึงเป็นเส้นทางการคมนาคม ชื่อว่าแต่ละประเทศต้องมีการแสดงความกตัญญู ความเชื่อ ความเคารพนับถือ และการบูชาต่อสายน�้ำ เหมือนเช่นประเทศไทยที่มีประเพณีลอยกระทงเพื่อขอขมาพรแม่คงคา ขอขมาธรรมชาติ ที่หล่อเลี้ยงชุมชนทั้งสุวรรณภูมิ หรือภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ที่มีมาแต่ยุคดึกด�ำบรรพ์ อันเป็นคุณธรรมที่เป็นคุณลักษณะเฉพาะของคนไทยโดยแท้ สุวรรณภิงคารฉบับนี้จึงขอน�ำสาระความรู้ในการบูชาเทพ สายน�้ำแต่ละประทศว่ามีความเชื่อเช่นไรกันบ้าง

Indonesian

Hindu Religion in Indonesia have Gods of water. Waruna is god of water, sea and ocean. The other god is Wisnu, God of water and protecting. Some of belief in Indonesian ethnic also has God of water. People of Sulawesi has God of water who live in the river, lake and sea, The name is Dewata Uwae. People of Dayak belief that there is spirit who live in the water the name is ngaju ganan. The people of Manggarai and timor also belief there is spirit who live in the water. Mr. Robertus Pujo Leksono

Japan

suijin(水神)หรือ mizukami(水神)คือ “เทพเจ้าแห่งน�้ำ” ตามความเชื่อของชาวญี่ปุ่น suijin หรือ mizukami ถือเป็นเทพเจ้า ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่ออาชีพเกษตรกร เนื่องมาจากความส�ำคัญของน�้ำที่จ�ำเป็นต่อการท�ำการเกษตร โดยเทพเจ้าแห่งน�้ำนี้มีความผูกพันกับ เทพเจ้าแห่งท้องนา(田の神)และ เทพเจ้าแห่งขุนเขา(山の神) ด้วย ด้วยเหตุนี้ suijin จึงมักถูกประดิษฐานบริเวณข้างท้องนา หรือข้าง แหล่งน�ำ้ ทีใ่ ช้เชื่อกันว่า ตัวกัปปะ(河童)มังกร(龍)และงู (蛇) ล้วนเป็นบริวารของ suijin ในช่วงราวเดือนมิถุนายนจะมีการจัดเทศกาล suijinsai (水神祭) “เทศกาลเทพเจ้าแห่งน�้ำ” โดยในเทศกาลนี้จะมีการแข่งขันแข่งเรือ มีการกระโดดลงแม่น�้ำ เป็นต้น นอกจาก suijin แล้ว ชาวญี่ปุ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับ เทพเจ้าที่มีความเกี่ยวข้องกับน�้ำอื่นๆ อีกด้วย ดร.อัจฉรา อึ้งตระกูล Việt Nam

เทพเจ้าสายน�ำ้ ในประเทศเวียดนาม มีความเชือ่ มาจากจีน มีชอ่ื ว่า ลอง เวือง “Long Vương” หรือ กว๋าง เหล่ย เวือง “Quảng Lợi Vương” เป็นเทพเจ้าที่ปกครองไปทั่วถึงทะเล แม่น�้ำ บ่อน�้ำ สระน�้ำ เทพเจ้าสายน�้ำเป็นมังกรที่ทรงพลังและใหญ่โต มีรูปร่างที่ใหญ่โต มีฤทธิ์เดชอ�ำนาจมาก สามารถแปลงร่างเป็นคนขึ้นมาปะปนกับมนุษย์ มีบางครั้งที่ลูกหลานของเทพเจ้าสายน�้ำได้ แต่งงานอยู่กินกับมนุษย์ เทพลองเวืองมีวัง ราชส�ำนัก ลูกเมียและทหารรับใช้ครบถ้วน ลูกน้องของเทพเจ้าสายน�้ำคือบรรดาเผ่า พันธุ์ที่มีฤทธิ์เดช เช่น นาค จระเข้ งู ปลา เป็นต้น เทพลองเวืองได้รับราชโองการจากเง็กเซียนฮ่องเต้ ท�ำหน้าที่ให้ฝน ตกตามฤดูกาล ดังนั้นเมื่อมนุษย์เจอภัยแล้งมักจะเรียกขอฝนจากเทพลองเวือง ในตรงกันข้ามหากเกิดน�้ำหลากท่วม มีพายุหนัก มนุษย์ก็จะเรียกขอให้หยุดฝนเช่นเดียวกัน อ.ธนัฏฐา จันทร์เต็ม

https://www.pinterest.com

7 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560


ส�ำนวนเกีย ่ วกับน�ำ้ ชนทุกชาติทุกภาษาล้วนมีการน�ำส�ำนวนมาใช้ในการติดต่อสื่อสาร ส�ำนวนเหล่านั้นมักจะมีการน�ำสิ่งต่างๆ รอบตัว อาทิ ธรรมชาติ วิถีชีวิต ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆ มาเปรียบให้เห็นภาพ เราลองมาศึกษากันว่าส�ำนวนเรื่องน�้ำแต่ละชนชาติ นั้นบัญญัติไว้อย่างไรกันบ้าง

ฝรั่งเศส

Avoir l’eau à la bouche » หรือ มีน�้ำอยู่ที่ปาก : น�้ำลายสอ Battre l’eau » หรือ ตีน�้ำ : ท�ำสิ่งที่ไร้ประโยชน์ Il y a de l’eau dans le gaz » หรือ มีน�้ำในอยู่ในก๊าซ : บรรยากาศ ชวนทะเลาะ การทะเลาะเบาะแว้งก่อเค้า” (อาจารย์ศรีสุดา พุ่มชม)

อินโดนีเซีย

Air susu dibalas air tuba (อแร สุสุ ดีบาลาส อแร ทุบา) น�้ำนม ถูกทดแทนด้วยยาพิษ : ตอบแทนความดีด้วยความชั่ว Bagai air di daun keladi (บากายี อแร ดี ดาอุน เกลาดี) ดั่ง น�้ำ ใน ใบ เผือก : ข้อแนะน�ำไม่มีประโยชน์กับคนที่ไม่ต้องการรับ หรือความรู้ จะไม่เป็นประโยชน์แก่คนไม่จ�ำเป็น Ada air ada ikan (อะดา อแร อะดา อีกาน ) มีน�้ำ มีปลา : ที่ไหนที่เราอยู่ที่นั้นเรามีโชค (Mr. Robertus Pujo Leksono)

ประเทศเวียดนาม

Nước đổ đầuvịt (เนื๊อก โด๋ เดิ่ว หวิด) น�้ำ ไหล หัว เป็ด : เวลา น�ำ้ ไหลลงหัวเป็ดจะไม่เปียก เช่นเดียวกันกับความรู้ที่คนสอนคอยพร�่ำ สอนแต่ความรู้นั้นไม่ได้เข้าไปในหัว Uống nước nhớ nguồn (อ๋วง เนื๊อก เญ๋อ หง่วน) ดื่ม น�้ำ นึกถึง ต้นน�้ำ : ให้ระลึกถึงต้นก�ำเนิดของตน ไม่ให้ลืมบุญคุณ บรรพบุรุษ Nước đến chân mới nhảy (เนือ๊ ก เด๋นเชิน เหมย ใหญ๋) น�ำ้ ถึง ขา ค่อย วิ่ง : เปรียบน�้ำกับการงาน หากไม่คิดวางแผนก่อนท�ำการสิ่งใด ก็จะเจอแต่ความรีบร้อน ลนลาน (อาจารย์ธนัฏฐา จันทร์เต็ม)

เกาหลี

[มู-รี คี-พอ-ยา โค-กี-กา โม-อิน-ดา] น�้ำลึก ปลาถึงว่าย ต้องท�ำตัวให้น่าเคารพก่อน คนอื่นถึงจะเคารพ 윗물이 맑아야 아랫물이 맑다 [วิน-มู-รี มัล-กา-ยา อา-แรน-มู-รี มัก-ตา] น�้ำบนจะต้องใส น�้ำล่างจึงจะใส หมายถึง ผู้น�ำจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดี 물이 깊어야 고기가 모인다

열 길 물 속은 알아도 한 길 사람 속은 모른다

[ยอล คิล มุล โซ-กึน อา-รา-โด ฮัน คิล ซา-รัม โซ-กึน โม-รึน-ดา] แม้จะรู้สิบทางน�้ำ แต่ไม่รู้หนึ่งใจคน หมายถึง จิตใจคนเราไม่สามารถ คาดเดาได้ ไม่สามารถรู้ได้ว่าคิดอะไรอยู่ (อาจารย์ศศิวรรณ นาคคง)

ญี่ปุ่น

(Chiwa mizuyorimo koi) เลือดข้นกว่าน�้ำ หมายถึง ญาติพี่น้องย่อมดีกว่าคนอื่น 水と油 (Mizuto abura) น�ำ้ กับน�ำ้ มัน หมายถึง คนสองคนแม้อยู่ ใกล้กนั แต่ไม่ถกู กัน เจอหน้ากันทีไ่ หนก็มกั จะขัดคอกัน 焼け石に水 การณ์ทรี่ า้ ยแรงให้ดขี นึ้ แต่สามารถช่วยเหลือได้นอ้ ยมาก (อาจารย์สุวพรรณ ครุฑเมือง) 血は水よりも濃い

พม่า

(โม หยัว่ โดง เหย่ ข่าน) รองน�ำ้ ขณะฝนลง (ไทย : น�ำ้ ขึน้ ให้รบี ตัก) หมายถึง เมือ่ มีโอกาสดี จงรีบท�ำ (ขุ เหย่ ตวีง ตู ขุ เหย่ จี่ เต้าก์) เพิง่ จะขุดบ่อ แต่หวังดืม่ น�ำ้ ใสหมายถึง เพิง่ จะกระท�ำแต่หวังประโยชน์ในทันที (เหย่ มยิง่ จ่า ติง้ ) น�ำ้ สูง บัวสวย หมายถึง ชีวติ คนเรา จะก้าวหน้า เมือ่ อยูใ่ นสภาวะทีส่ มบูรณ์ (อาจารย์สนุ นั ทา เทศสุข)

อังกฤษ

Troubled waters : สายน�้ำแห่งปัญหา หมายถึง สถานการณ์ที่ ยากล�ำบากหรือเหตุการณขัดแย้ง Like water off a duck’s back : หมายถึงไม่รสู้ กึ หรือไม่มผี ลกระทบ เหมือนหยดน�้ำบนหลังเป็ดอย่างไรเป็ดก็ไม่เปียก Still waters run deep : น�้ำนิ่งไหลลึก หมายถึง คนที่พูดน้อยแต่มี ความรู้มาก หรือคนนิ่งๆแต่มีสิ่งที่อยู่ในใจมากก็ได้ (อาจารย์ดวงพร ทองน้อย

http://cdn.playbuzz.com

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560

8


Hall of fame

า ้ ฟ น บ ว า ด น ่ ช เ ก ฉ เ ม ช น ่ ื ช ่ า น ่ า ค บ ิ น ่ ย ะ ร ด า ร เ ี า ด ด ี ง ่ ดร.ภาคภูมิ สุขเจริญ* ห ร แ ง ต ส ส ระยับแ ว า เย

Hall of fame ฉบับนีย้ งั คงยินดีและภาคภูมใิ จเป็นอย่างยิง่ ที่ นิสติ คณะมนุษยศาสตร์ของเรา สร้างชื่อเสียงและเกียรติประวัติให้กับครอบครัว “ดอกแก้ว” อย่างต่อเนื่องฉบับนี้ทางกองบรรณาธิการขอกล่าวถึง “สาวเก่ง” ที่ชื่อ นางสาวชุติมันต์ พิสิษฐ์ธนาดุล หรือน้องพิม นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาพม่าศึกษา เยาวสตรีไทยดีเด่น ด้านศิลปวัฒนธรรม ประจ�ำปี 2560 เข้ารับพระราชทานโล่เชิดชูเกียรติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีและเกียรติบัตรจากสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ ณ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ เก่งขนาดนีย้ งั ไม่พอ น้องพิมยังพกความสดใสน่ารักและความเก่งสมกับสาวสมัยใหม่กับต�ำแหน่งดาวประจ�ำคณะฯ และดาวมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ�ำปี 2559 ด้วย เรียกว่า ‘ดาวจรัสแสง’ ที่แท้จริง กองบรรณาธิการเห็นความงามปละความเก่งกาจของดาวดวงนีต้ อ้ งขอเคล็ดลับกันเสียหน่อย เพือ่ เป็นแบบอย่างให้กบั คนอืน่ ๆ น้องพิมกล่าวกับเราด้วยรอยยิม้ ถึงเคล็ดลับและการวางอนาคตของเธอ ไว้ว่า “หน้าที่ที่ส�ำคัญที่สุดตอนนี้คือการตั้งใจเรียนและเรียนอย่างมีความสุข ซึ่งความสุขในการเรียน ของพิม คือการได้เรียนในสิง่ ทีร่ กั และรักในสิง่ ทีเ่ รียน พยายามให้เต็มทีแ่ ละไม่กดดันตนเอง นอกจากนัน้ การท�ำกิจกรรมต่างๆตามความสนใจเพือ่ เป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ในการท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ และ พัฒนาศักยภาพตนเอง เพราะการเรียนท�ำให้คนมีงานท�ำ กิจกรรมท�ำให้คนท�ำงานเป็น” ในอนาคต อยากเป็นล่ามช่วยแปลภาษาพม่าตามที่ได้เรียนมา แต่ก่อนจะถึงวันแห่งอนาคตพิมจะท�ำทุกวัน ให้เป็นวันทีด่ ที สี่ ดุ และมีความสุขทีส่ ดุ ถึงแม้บางวันจะเหนือ่ ยบ้าง ท้อบ้างแต่พมิ จะบอกตัวเองเสมอ ว่า “ยิ้มเข้าไว้ แล้วทุกอย่างจะผ่านไปด้วยดี” รอยยิ้ม นี่เองที่ท�ำให้โลกสดใสและท�ำให้เธอ เป็นที่รักและชื่นชมส�ำหรับบุคคลทุกเพศทุกวัย กองบรรณาธิการขอเชิญชวนทุกๆท่าร่วม แสดงความยินดีและชืน่ ชมน้องพิมอีกครัง้ และน�ำแบบอย่างทีด่ ขี องสาวเก่งคนนีไ้ ปปรับใช้ ในการเรียน การปฏิบัติงานและการใช้ชีวิตประจ�ำวัน แต่อย่าลืมนะครับ

‘ยิ้มเข้าไว้ แล้วทุกอย่างจะผ่านไปด้วยดี’ 9 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560


วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ พร้อมคณะผู้บริการและ บุคลากรสายสนับสนุนคณะมนุษยศาสตร์ ให้การต้อนรับ คณะศึกษาดูงานจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมที่เดินทาง มาศึกษาดูงานด้านระบบงานส�ำนักงานเลขานุการสนับสนุนการบริหารคณะ พร้อมทั้งน�ำ สโมสรนักศึกษา จ�ำนวน 20 คน เดินทางมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการท�ำงานและการด�ำเนินโครงการของฝ่ายพัฒนา นักศึกษากับสโมสรนิสิตคณะมนุษยศาสตร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพสโมสรนักศึกษาในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ต่อไป ณ ห้องประชุม HU 1307 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 16-17 พฤศจิกายน 2560 รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ คณบดี คณะมนุษยศาสตร์ ให้เกียรติกล่าวเปิดโครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ ด้านการจัดการเรียนการสอน/การวัดและ ประเมินผล ส�ำหรับอาจารย์ชาวต่างชาติ ในหัวข้อ “ Problem based Learning on Language Teaching ” โดยได้รับเกียรติจาก Dr. Elizabeth M. Anthony, Deputy Dean and Dr. Zulida binti Abdul Kadir, senior lecturer from Department of English Language & Linguistics, Centre for Language Studies University Tun Hussein Onn Malaysia, JOHOR, Malaysia เป็นวิทยากรให้ความรู้ ณ ห้อง HU 6109 และ HU 1307 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560 รองศาสตราจารย์ ดร.รัตติมา จีนาพงษา รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ให้เกียรติกล่าวเปิดโครงการ "การประกวดสือ่ สร้างสรรค์ และ บทบาทสมมติเชิงวัฒนธรรมเกาหลี ครั้งที่ 2" (The 1st Creative Play Contest for Korean Culture) ในหัวข้อ “หากเปลีย่ นตัวเอกในเพลงเกาหลี” จัดขึน้ โดยความร่วมมือ ระหว่าง Korean Education Center in Thailand, สถานทูตเกาหลีประจ�ำประเทศไทย และสาขาวิชาภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์ โดยมี รองศาสตรจารย์ ดร. วัฒนา พัดเกตุ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการ ทั้งนี้ยังได้รับเกียรติจากสถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐเกาหลี ประจ�ำประเทศไทย และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านภาษาเกาหลีเข้าร่วมตัดสินการประกวด ณ ห้องสัมมนาเอกาทศรถ 301 อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา พัดเกตุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทิมา ซิมป์สันและ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาอังกฤษ ลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามผลอาจารย์ทมี่ าเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “ครูเก่ง นักเรียนฉลาด: พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษครูระดับประถมศึกษา” ซึ่งเป็นหลักสูตรส่วนหนึ่ง ของโครงการคูปอง พัฒนาครูของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ทีโ่ รงเรียนวัดศรีวสิ ทุ ธาราม (วิไลราษฎร์อุปถัมภ์) และ โรงเรียนบ้านคลองเตย จ.พิษณุโลก โดยเข้าสังเกตการณ์ (ในฐานะวิทยากร) การท�ำ PLC (Professional Learning Community) ของอาจารย์ทงั้ 2 โรงเรียน ในการพัฒนา การเรียนรู้ โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ไปที่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านการวางแผน การมีวสิ ยั ทัศน์รว่ มกัน การแลกเปลีย่ นเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560 10


ภาพข่าวกิจกรรม วันที่ 26 ตุลาคม 2560 ภาควิชาดนตรี และภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมจัดชุด การแสดงมหรสพในพิธถี วายดอกไม้จนั ทน์ของภาคประชาชน ในส่วนภูมภิ าค จังหวัดพิษณุโลก ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลเดช โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตพิษณุโลก และภาคประชาชนจัดชุดการแสดงมหรสพสมโภชน พระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ ตามธรรมเนียมโบราณซึง่ เป็นแบบแผนสืบทอดกันมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แสดงความยิง่ ใหญ่สมพระเกียรติขององค์พระมหากษัตริย์ ประกอบไปด้วยการบรรเลงเพลงมหาดุรยิ างค์ และการขับร้องประสานเสียง การประโคม ปพ่ี าทย์มอญและการแสดงโขน เรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทุก ณ ลานทรงพล ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก หน่วยประกันคุณภาพการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ด�ำเนินโครงการประเมินคุณภาพภายใน คณะมนุษยศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 เพือ่ รายงานผลการด�ำเนินงานในรอบปีการศึกษา 2559 และรับการตรวจประเมิน จากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ เมื่อวันที่ 13 - 14 กันยายน 2560 โดยมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ ผศ.ดร.พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ (คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ผศ.ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม (กรรมการ) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ผศ.ร.อ.หญิงวชิรา พันธุ์ไพโรจน์ (กรรมการ) คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ผศ.ดร.ปาจรีย์ ทองสนิท (กรรมการ) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีประเมินผลคุณภาพในระดับดี (คะแนนเฉลี่ย 3.99) วันที่ 24 ตุลาคม 2560 ดร.สุชาติ เมืองแก้ว รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.รสริน ว่องวิไลรัตน์ รองอธิการบดี พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา พัดเกตุ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทิมา ซิมป์สัน รองคณบดีฝ่ายวิชาการและกิจการต่างประเทศ ร่วมให้การต้อนรับ Professor Dr.Choi Hyung-Yong Director of Korean Language and Culture Center, Ewha Womans University, South Korea ที่เดินทาง มาร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MoA) ระหว่างคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และ Korean Language and Culture Center, Ewha Womans University ประเทศเกาหลี เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการ วิจัย การประชุมวิชาการ การแลกเปลี่ยนคณาจารย์นักวิจัย นิสิตนักศึกษา โดยมีระยะเวลา ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเป็นเวลา 5 ปี วันที่ 2 พฤศจิกายน 2560 ผศ.วิรชั นิยมธรรม รักษาการ ผอ.สถานพัฒนาการเรียนรูภ้ าษาเมียนมา พร้อมด้วย ผศ. ดร.โสภา มะสึนาริ หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก ร่วมให้การต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศย่างกุง้ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (YUFL) ทีเ่ ดินทางมาเข้าร่วมโครงการ “ฝึกอบรมภาษาและวัฒนธรรมไทยแก่นักศึกษาเมียนมา” โดยความร่วมมือระหว่างสถานพัฒนาการเรียนรู้ ภาษาเมียนมา คณะมนุษยศาสตร์ กับกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-20 พฤศจิกายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร กรุงเทพและ ปริมณฑล ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก ดร.สุชาติ เมืองแก้ว และ รศ. ดร.รสริล ว่องวิไลรัตน์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษา ณ ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

11 จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560


ะม นุ ษ ย์ ศา ส

ตร

า วิ ท

วร

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

มห

สุวรรณภิงคาร

คณ

ย าลั ย น เ ร ศ

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 85/2521 พิษณุโลก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.