ชวนถก
ชาติและชาติพันธุ นิติ ภวัครพันธุ์
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
1
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ นิติ ภวัครพันธุ
ISBN 978-974-315-904-6 พิมพครั้งแรก กุมภาพันธ 2558
ในเครือบริษัทสำ�นักพิมพสยามปริทัศน จำ�กัด 113 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2225-9536 ถึง 9 โทรสาร 0-2222-5188 เจาของ: บริษัทสำ�นักพิมพสยามปริทัศน จำ�กัด ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์: สุลักษณ ศิวรักษ คณะกรรมการบริหาร: สัจจา รัตนโฉมศรี, อนันต วิริยะพินิจ, วินัย ชาติอนันต, ทิชากร ชาติอนันต, อาสา นาถไตรภพ บรรณาธิการสำ�นักพิมพ: ชานน จงประสพมงคล บรรณาธิการประจำ�ฉบับ: อนรรฆ พิทักษธานิน แบบปก: นํ้าสม สุภานันท รูปเลม: นริศรา สายสงวนสัตย พิสูจนอักษร: วิราวรรณ นฤปิติ ประชาสัมพันธ: มนตรี คงเนียม
• ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแหงชาติ นิติ ภวัครพันธุ. ชวนถก ชาติและชาติพันธุ.-- กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน, 2558. 304 หนา.-- (ศยามปญญา). 1. ชาติพันธุ. I. ชื่อเรื่อง. 305.8 ISBN 978-974-315-904-6 จัดจำ�หนาย: สายสงศึกษิต บริษัทเคล็ดไทย จำ�กัด โทรศัพท 0-2225-9536 ถึง 9 โทรสาร 0-2222-5188 www.kledthai.com ราคา 240 บาท
ตำ�ราสังคมศาสตร์ เคล็ดไทย-สสมส. หนั ง สื อ ในชุ ด นี้ ตี พิ ม พ ภ ายใต ค วามร ว มมื อ ระหว า งสำ � นั ก พิมพศยาม บริษัทเคล็ดไทย จำ�กัด และสมาคมนักสังคมวิทยา และนักมานุษยวิทยาสยาม [สสมส. (SASA)] โดยมีเปาหมาย เพื่อผลิตหนังสือที่สามารถใชเปนตำ�ราดานสังคมศาสตรได ทั้งนี้ เนื่องจากสำ�นักพิมพศยาม บริษัทเคล็ดไทย จำ�กัด และ สสมส. เห็นวาในขณะที่การเรียนการสอนดานสังคมศาสตรในบานเรา ไดขยายตัวมากขึ้น แตหนังสือตำ�ราที่เปนภาษาไทยในดานนี้ยัง มีจำ�นวนนอย และบางครั้งเนื้อหาสาระก็กระจัดกระจาย หรือ อาจไมตรงกับสาขาวิชานั้นๆ นัก จุดประสงคของหนังสือชุดนี้ นอกจากตองการผลิต หนังสือตำ�ราภาษาไทยดานสังคมศาสตร ซึ่งจะมีประโยชนตอ นิสิตนักศึกษาที่ศึกษารํ่าเรียนในสาขาวิชานี้และบุคคลทั่วไป ที่ตองการหาความรูแลว ยังมุงหวังที่จะสรางบรรยากาศทาง วิชาการ สงเสริมใหเกิดวิวาทะ โดยเฉพาะดานทฤษฎีและ
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
3
แนวคิดใหมๆ ที่อภิปรายกันในวงวิชาการตางประเทศ และ สงเสริมใหนกั วิชาการไทย โดยเฉพาะคนรุน ใหม ผลิตผลงานดาน ตำ�รา ทั้งที่เปนตำ�ราพื้นฐานและตำ�ราแนวทฤษฎีใหมๆ หรือ ประเด็นที่เปนวิวาทะรวมสมัยดานสังคมศาสตร หนังสือในชุด “ตำ�ราสังคมศาสตรเคล็ดไทย-สสมส.” จึง มีกระบวนการผลิตตามมาตรฐานทางวิชาการที่มีการพิจารณา และตรวจสอบ กลาวคือหนังสือในชุดนี้เขียนโดยอาจารย มหาวิทยาลัย นักวิชาการ และผูท ีม่ คี วามรูค วามเชีย่ วชาญในดาน สังคมศาสตรในสาขาวิชาตางๆ และผานกระบวนการตรวจสอบ ทางวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิอานพิจารณาตนฉบับ (reader) ที่มีความรูในสาขาวิชาเหลานี้ มีการปรับปรุงแกไขตนฉบับ (revision) ตามความเห็นและคำ�แนะนำ�ของผูทรงคุณวุฒิฯ จึง เหมาะสมที่จะใชเปนตำ�ราในการเรียนการสอนดานสังคมศาสตรในระดับมหาวิทยาลัย
4
นิติ ภวัครพันธุ
เกี่ยวกับหนังสือ หนังสือเลมที่ทานกำ�ลังอานอยูในขณะนี้เปนฉบับปฐมฤกษของ “ตำ�ราสังคมศาสตรเคล็ดไทย-สสมส.” จึงนับเปนโอกาสอันดี ในการเปดตัวหนังสือชุดนี้ดวย ชวนถก ชาติและชาติพันธุ ซึ่งแตงโดย นิติ ภวัครพันธุ เปนงานเขียนเกี่ยวกับแนวคิดและวิวาทะเรื่อง “ชาติพันธุ” (ethnicity) ในแวดวงมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา โดยใช กรณีศึกษาในสังคมหลายแหงเปนตัวอยางในการอภิปราย นอกจากนี้ยังกลาวถึงความสัมพันธชาติพันธุในเอเชียตะวันออก เฉียงใตในอดีต โดยพาดพิงถึงกรณีตางๆ ทั้งในบริเวณภาคพื้น ทวีปและภาคพื้นสมุทรของภูมิภาคนี้อีกดวย จุดเดนของหนังสือเลมนี้ ตามความเห็นของผูทรง คุณวุฒิอานพิจารณาตนฉบับ (reader) ซึ่งระบุวา มีลักษณะ พิเศษอยางนอย 4 ประการดวยกัน
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
5
1. เปนตำ�ราที่รวบรวมทั้งแนวคิดและขอถกเถียง ที่เปน พื้นฐานและทันสมัย ตำ�รานี้ไดแนะนำ�ใหผูอานรูจัก กับขอถกเถียงดั้งเดิมของการศึกษาดานนี้ ไลมาจน กระทัง่ แนวคิดรวมสมัยตางๆ ผูอ า นจะไดรบั การแนะนำ� ใหรูจักกับนักคิดนักวิชาการดานชาติพันธุศึกษาที่ สำ�คัญๆ อยางไมตกหลน นับไดวาใชเปนตำ�ราสำ�หรับ ผูเริ่มตนศึกษาดานนี้ไดเปนอยางดี 2. อยางไรก็ดี ตำ�รานี้เลือกที่จะชี้ใหเห็นความเลื่อนไหล ความสัมพันธเชิงอำ�นาจ ลักษณะเชิงการเมือง และ ความยอกยอนไมเปนสารัตถะแนชัดตายตัวของความ เปนชาติพันธุ ซึ่งนับวาเปนแนวคิดที่กาวหนาสำ�หรับ การศึกษาดานนี้ในปจจุบัน 3. หนังสือนี้เปนตำ�ราที่เสนอตัวอยางดานชาติพันธุศึกษา ในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเชื่อมโยง และเปรียบเทียบกับตัวอยางจากที่อื่นๆ ทั่วโลก โดย เฉพาะอยางยิง่ มีจดุ เดนทีก่ ารรวบรวมและทดลองสราง ขอถกเถียงดานชาติพันธุศึกษาจากกลุมชาติพันธุใหญ 2 กลุมคือ มลายู และไท/ไต 4. หนังสือนี้เปนตำ�ราที่นาติดตาม ทั้งๆ ที่มีการเรียบเรียง มีการอางอิงอยางรัดกุมในฐานะงานเขียนทางวิชาการ แตอาจารยนิติก็เขียนเลาเรื่องราวอยางสนุกสนาน ชวนใหติดตาม ในแงนี้จึงสามารถใชไดทั้งเปนตำ�รา ในวิชาเรียน เปนตำ�ราอางอิงทางวิชาการ และเปน หนังสืออานสำ�หรับบุคคลทั่วไปที่ตองการศึกษาดานนี้
6
นิติ ภวัครพันธุ
ตำ�ราสังคมศาสตรเคล็ดไทย-สสมส. จึงรูสึกยินดีเปน อยางยิ่ง ที่หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูอานที่สนใจในเรื่อง ชาติพันธุ และหวังวาจะมีคุณูปการตอการอภิปรายและถกเถียง ในวงการสังคมศาสตรไทยอีกดวย สำ�นักพิมพ์ศยาม
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
7
เกี่ยวกับหนังสือ
5
บทนำ�: ในความแตกต่าง
13
บทที่ 1: ที่มาและความหมาย
27
บทที่ 2: แนวคิดและวิวาทะชาติพันธุ์
49
บทที่ 3: วิวาทะเรื่องชาติ ชาตินิยม และชาติพันธุ์นิยม 95 บทที่ 4: ชาติพันธุ์สัมพันธ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 135 บทที่ 5: สองวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
189
บทที่ 6: ชาติพันธุ์ท่ามกลางการเคลื่อนไหว
225
บทที่ 7: ปัจฉิมกถา
259
บรรณานุกรม
274
กิตติกรรมประกาศ
295
ประวัติผู้เขียน
297
ด ัชนี
298
แด่ Peter J. Wilson และ Gohan Wijeyewardene ครูผู้มีเมตตาและปัญญาอันเฉียบแหลม
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
11
บทนำ�
ในความแตกต่าง เรื่องที่ผมจะอภิปรายในหนังสือเลมนี้คือแนวคิดและขอ ถกเถียงบางประการเกี่ยวกับ “ชาติพันธุ” (ethnicity) ซึ่งเปน เรื่องที่มีความซับซอนอยางยิ่งและบางครั้งก็ยากที่จะหาคำ� อธิบายไดอยางแจมชัด ทัง้ ๆ ทีเ่ ปนเรือ่ งทีเ่ ราพบเห็นกันอยูท กุ วัน โดยเฉพาะในมหานครเยี่ยงกรุงเทพฯ ที่พลุกพลานไปดวยผูคน หลากชาติหลายภาษา ไมวาจะเปนแบ็กแพ็กเกอรชาวตะวันตก นักทองเที่ยวชาวฮองกงที่มาไหวศาลพระพรหม ครอบครัวของ นักธุรกิจชาวญีป่ นุ แถวสุขมุ วิท คนเชือ้ สายอินเดีย เจาของกิจการ เชื้อสายจีน หรือลูกจางคนงานชาวพมา ฯลฯ ซึ่งอาจเดินเบียด เสียดกันบนถนน ตอรองราคาสินคา ซื้อขายอาหาร ใชบริการ รถโดยสารรับจาง และปฏิสัมพันธอื่นๆ ทวาความเคยชิน ความ รวดเร็ว และความจอแจของชีวิตประจำ�วันของมหานครแหงนี้ ไมสนับสนุนใหผูคนสวนใหญสนใจซึ่งกันและกัน ไมกระตุนให เรา “ไดยนิ ” นานาภาษาทีใ่ ชสนทนากัน ไมชวนใหเรา “เห็น” ความ
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
13
แตกตางที่อาจซอนไวในความคลายคลึง ไมเปดโอกาสใหเกิด คำ�ถามเกี่ยวกับชีวิตและตัวตนของคนเหลานี้ ดวยความเคยชิน เราจึงไมรูสึกวาชีวิตถูกลอมรอบดวยความแตกตาง
ประสบการณชีวิต แต ค วามหลากหลายเหล า นี้ ไ ม ใ ช ข องใหม สำ � หรั บ ชี วิ ต ใน มหานคร ชีวิตในวัยเด็กของผมที่เติบโตในชุมชน “ผูอพยพ” ทีม่ ที ัง้ คนจีน คนเชือ้ สายอินเดียทัง้ นับถือศาสนาฮินดูและอิสลาม เพื่อนบานมุสลิมที่บรรพบุรุษอพยพมาจากประเทศปากีสถาน เพื่อนมุสลิมในโรงเรียนมัธยมซึ่งถูกตั้งฉายาวา “มุสลิมหมูเขี่ย” เนื่องจากกินเกือบทุกอยาง โดยไมสนใจวาอาหารจานนั้นมีเนื้อ หมูปะปน ประกอบ หรือทำ�ตามหลักศาสนาหรือไม รวมไปถึง เพื่ อ นสมั ย เรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย บางคนที่ เ ล า ว า ตนมี เ ชื้ อ สาย โปรตุเกส หรือมอญ บางคนพูดภาษาเขมร บางคนมีเชื้อสายจีน แตทีบ่ า นพูดภาษาอีสาน ฯลฯ ประสบการณวยั เด็กทีผ่ มแวดลอม ดวยความหลากหลายที่ “เรา” คุนเคย จึงมิไดใสใจวาแปลก หรือไม ที่รานขายพริกแกงเครื่องเทศเปนของคนมุสลิม สวน คนไทยพุทธขายขนมหวาน รานขายยาเปนของคนจีน รานขาย เนื้อวัวเปนของคนมุสลิม หรือคนอินเดียขายอาหารมุสลิม สวน คนซิกขมักจะขายผา ชาวบานในยานนี้ซื้อขายสินคาของกัน และกัน อยูและทำ�มาหากินรวมกันจนรูจักมักคุนกัน หลายคนมี ลูกหลานที่เลนดวยกันหรือเรียนโรงเรียนเดียวกัน คนเฒาคนแก หลายคนเปนที่นับถือทั้งๆ ที่มิใชญาติพี่นองกัน เด็กอยางผมจึง
14
นิติ ภวัครพันธุ
ไมสงสัยวาใครเปนคนจีนหรือไทย เปนคนพุทธ มุสลิม หรือคริสต หรือทำ�ไมจึงมีมสั ยิดอยูห ลังตลาดสด มีสสุ านคนจีนทีเ่ ปนคริสตศาสนิกชน หรือคนจีนนิยมไปทำ�บุญที่วัดไทย หรือทำ�ไมจึงมีคน ขายอาหารมุสลิมในโรงเรียนมัธยมที่ผมเรียน ทั้งๆ ที่นักเรียน สวนใหญเปนคนพุทธ ฯลฯ ประสบการณเหลานี้ลวนเปนความ คุนเคยที่ผมเคยเห็นอยูทุกวัน ไมใชเรื่องแปลกที่นำ�ไปสูการตั้ง คำ�ถามใดๆ ความสงสั ย ของผมถู ก กระตุ น ขึ้ น เมื่ อ ผมเริ่ ม เรี ย น ศาสตรที่เรียกวา “มานุษยวิทยา” ในระดับปริญญาตรี เมื่อความ แตกตางของผูคนในที่ตางๆ เปนหัวขอสำ�คัญของการเรียนรูและ การหาคำ�อธิบาย เมื่อคนถูกพิจารณาวาตองอยูรวมกันเปนหมู เปนกลุม ซึ่งนิยามวา “สังคม” และสามารถดำ�รงชีวิตอยูไดดวย สิ่งที่นิยามกันวา “วัฒนธรรม” แลวความแตกตางของผูคน ทั้งหลายก็ถูกจัดหมวดหมูใหอยูในกรอบของวัฒนธรรม ซึ่ง เราคิดวามีอยางหลากหลายและมหาศาล แตก็มีหัวขออื่นๆ ที่ นักเรียนหนาใหมอยางผมตองศึกษา หนึง่ ในนัน้ คือเรือ่ งชาติพนั ธุ ซึ่งผมไมไดสนใจมากมายนักจนกระทั่งผมเริ่มทำ�วิจัยในเมือง การคาแหงหนึ่งทางภาคเหนือ ไมไกลนักจากพรมแดนไทย-พมา ในชวงกลางทศวรรษ 25301 ชาวเมืองสวนใหญที่นั่นเปนคนไทย ใหญ แตพวกเขาเรียกตนเองวา “ไต” และคนที่พูดภาษาเหนือ
ผมกลับไปทีเ่ มืองนีอ้ กี หลายครัง้ เพือ่ ศึกษาเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงของเมืองนี้ ซึง่ ไดตพี มิ พเ์ ปนหนังสือชือ่ เรือ่ งเลา เมืองไต ดู นิติ ภวัครพันธุ, เรือ่ งเลา เมืองไต (เชียงใหม: ศูนยอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2558). 1
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
15
หรือ “กำ�เมือง”2 เมืองเล็กๆ แหงนี้มีอะไรหลายอยางที่นาสนใจ คำ�ถามหนึ่งของผมเกิดขึ้นจากหนุมใหญรางสันทัดชาวกะเหรี่ยง ผูมีความคลองแคลวในภาษากะเหรี่ยง กำ�เมือง และไทยกลาง และมีความสามารถหลายดาน รอบรูสารพัด อีกทั้งยังเปน คนกวางขวางและมีอารมณขันที่สรางความเบิกบานใหแกทุกคน ที่พบปะ ครั้งหนึ่งผมถามเขาวานับถือศาสนาอะไร หนุมใหญ หัวเราะแลวบอกผมวาถาวันไหนเปนวันพระ เขาก็นับถือศาสนา พุทธ ไปทำ�บุญที่วัดหรือรับของแจก (ถาบังเอิญมีพระสงฆหรือ คนจากกรุงเทพฯ หรือที่อื่นเดินทางมาทำ�บุญและแจกอาหาร/ ของใชแกชาวบาน) ถาวันไหนมีงานที่โบสถคริสตเขาจะไปชวย งานที่โบสถ รวมสวดมนตกับชาวคริสต บางครั้งเมื่อเขาขึ้นดอย กลับไปเยี่ยมหมูบานของเขาหากบังเอิญมีการเซนไหวผีใน หมูบาน เขาจะเขารวมงานไหวผีดวย เพื่อนชาวพุทธของเขาใน ตลาดบอกผมวาหนุมใหญชาวกะเหรี่ยงเปนพุทธศาสนิกชน แต บางคนแยงวาเขาเปนชาวคริสตเพราะเคยเห็นเขาไปชวยงานที่ โบสถ ในขณะที่ชายกะเหรี่ยงไมเคยยืนยันกับผมวาเขานับถือ ศาสนาใดหรือมีความเชื่ออะไรแน หรือเขาเปนคนในวัฒนธรรม ใด (ทวาไมมีใครปฏิเสธวาชายอารมณดีผูนี้มิใชคนกะเหรี่ยง ซึ่ง ก็ไมชว ยใหผมหายสงสัยหรือหายสับสน เพราะคำ�ถามทีม่ ตี ามมา
ออกเสียงตามภาษาของคนทองถิ่นภาคเหนือซึ่งเรียกตนเองวา “กนเมือง” แต ในภาษาไทยกลางคือ “คนเมือง” เมื่อพาดพิงถึงผูคนกลุมนี้ และ “คำ�เมือง” เมื่อกลาวถึงภาษาของพวกเขา 2
16
นิติ ภวัครพันธุ
คือ ใครคือคนกะเหรี่ยง? จะรูไดอยางไร? มีอะไรเปนเครื่อง ชี้วัด?) อีกกรณีหนึ่งเกิดขึ้นในกรุงเทพฯ ปลายทศวรรษ 2530 ผมอาศัยอยูในบานในซอยสะพาน 99 ซึ่งไมไกลจากตลาด เตาปูนนัก ชาวบานในซอยนี้สวนใหญอาศัยอยูมานานหลายชั่ว อายุคน จะเรียกวาเปนชุมชนที่ผูคนรูจักมักคุนกันมาตั้งแตเกิด ก็คงได สุดซอยดานในมีศาลเจาเล็กๆ ตั้งอยู ถาเลี้ยวซายจะเจอ ศาลเจาจี้กง ซึ่งเปนที่นับถือของชาวบานในยานนี้จรดเตาปูน บางซอน บางซื่อ เรื่องที่ทำ�ใหผมฉงนคือคนที่อยูในซอยนี้จำ�นวน มากยอมรับวาตนมีเชื้อสายจีน แตจะบอกไดอยางไรวาที่แท พวกเขาคือใคร (ตามคำ�นิยามในวิชามานุษยวิทยา) คำ�ถามนี้ เกี่ยวของกับหญิงสูงอายุ 2 คน คนหนึ่งเปนแมของแมคาขาย อาหารตามสัง่ ปาคนนี้ – ซึง่ เสียชีวติ ไปแลว – ชวยลูกสาวตักขาว ใสจาน เสิรฟอาหาร เก็บจานเปลา และงานจิปาถะอื่นๆ ชวง มื้อเที่ยงซึ่งมีลูกคาแนนราน ปานุงผาถุงทุกวัน พูดภาษาไทย ชัดเจนแตบอยครั้งก็สนทนากับคนรูจักบางคนดวยภาษาจีน แตจิ๋ว อีกคนเปนแมของแมคาขายผักที่ตั้งอยูขางรานขายของชำ� ปาคนนี้เหมือนปาคนแรกที่ชวยลูกสาวทำ�งานสารพัด แตแกใส กางเกงทรงจีนขากวางสีด�ำ บางครัง้ ก็ใสเสือ้ คอกระเชา แตไมเคย นุงผาถุง และผมไมเคยไดยินแกพูดภาษาจีนเลย ถามสั้นๆ วา ปาสองคนนี้เปนคนจีนหรือไม? ถาใช ทำ�ไมจึงมีความแตกตาง ระหวางคนทั้งสอง? ถาไมใช คนไหนเปนคนจีน? คนไหนเปน คนไทย? และจะใชอะไรเปนหลักการหรือมาตรฐานในการจัด ประเภทคุณปาทั้งสอง?
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
17
นี่เปนกรณีเล็กๆ อีกหนึ่งกรณีที่ทำ�ใหนักเรียนมานุษยวิทยาอยางผมตองปวดเศียรเวียนเกลา ไมแนใจวาคำ�ตอบคือ อะไร?!
ประสบการณตางที่ตางกลุม แตประสบการณในสังคมไทย ซึ่งมีคนตางภาษาตางธรรมเนียม ปฏิบัติ ดำ�เนินชีวิตอยูปะปนกัน อาจมิไดผิดแผกจากชีวิตใน สังคมอื่นๆ มากนัก ในบทนำ�ของหนังสือดานชาติพันธุของ คริสเตียน คารเนอร (Christian Karner) แหงมหาวิทยาลัย น็อตติงแฮม กลาวถึงความคิดในการเขียนหนังสือเลมนี้วา เริ่ม ขึ้นจากขอความที่ตัวเขาเองจดไวในกระดาษเช็ดปากแผนหนึ่ง วา ระหวางที่เขากำ�ลังนั่งรับประทานอาหาร ซึ่งรูจักกันอยาง กวางขวางวาเป็นร้านอาหารอิตาเลียนในภัตตาคารแหงหนึ่งใน นครมิวนิค โดยมีบริกรหนุมผูโอบออมเชื้อสายตุรกีคอยให บริการ บริกรผูนี้พูดภาษาตุรกีเมื่อตองสนทนากับลูกคาประจำ� กลุมหนึ่ง แลวก็เปลี่ยนเปนภาษาเยอรมันสำ�เนียงบาวาเรียน ในขณะที่ดนตรีสวนใหญที่ทางรานเปดใหลูกคาฟงเปนเพลงฮิต ยอดนิยมภาษาอังกฤษ คารเนอรระบุวาเขาเปนคนออสเตรียแต อาศัยอยูในประเทศอังกฤษ กำ�ลังสนทนากับบริกรเชื้อสายตุรกีเยอรมันดวยภาษาถิ่นเยอรมัน ซึ่งเปนภาษาที่คารเนอรเองพูดได แตก็เปนภาษาที่ผูคนในบริเวณภาคใตของประเทศเยอรมันยังใช กันอยู เขาจึงตั้งคำ�ถามวา ชาติพันธุเปนเรื่องที่อยูรอบตัวเราและ ในตัวเขาเอง? หากกลาวเชนนั้นแลวอาจทำ�ใหเราละเลยเรื่อง
18
นิติ ภวัครพันธุ
อื่นๆ ที่มีความสำ�คัญเทากัน (หรืออาจมากกวา) เชน เรื่องการ เปนพลเมือง (citizenship) และชนชั้น (class) เรือ่ งการบริโภคนิยม (consumerism) และอัตลักษณหลังสมัยใหม (postmodern identities) ฯลฯ3 คารเนอรพยายามชี้ใหเราเห็นถึงปฏิสัมพันธที่ซับซอน และมีพลวัตในสังคมที่หลากหลายดวยชนชาติพันธุตางกลุม ซึ่ง สังเกตไดจากการดำ�รงชีวิตประจำ�วัน และในกรณีของเขาคือ ประเทศเยอรมัน ทวาในความเปนจริงลักษณะที่เขากลาวถึงนี้ ดูจะมีอยูทั่วโลก รวมทั้งในบานเราและประเทศใกลเคียง มีงาน วิจัยและการศึกษามากมายที่ระบุวาดินแดนในแถบนี้มีความ แตกตางทางวัฒนธรรม แตนั่นก็มิไดหมายความวาผูคนตาง กลุมวัฒนธรรมจะไมเขาใจกัน ไมคบคาสมาคมกัน หรืออยูรวม กันไมได หรือแมแตหลงรักแตงงานกันไมได ตรงกันขาม มี ตัวอยางมหาศาลที่แสดงวาชนตางกลุมชาติพันธุอยูรวมกัน นานนับศตวรรษ ยาวนานจนทำ�ใหการแตงงานขามกลุม ชาติพนั ธุ และการพูดไดสองภาษา (bilingual) หรือมากกวานัน้ ในครอบครัว หรือชุมชนเดียวกันเปนเรื่องสามัญ ตางคนตางรูธรรมเนียม ปฏิบตั ขิ องกันและกัน รูว า อะไรทำ�ไดอะไรทำ�ไมได เพราะสมาชิก ของชุมชนเดียวกันมีความรู ความเขาอกเขาใจ และทักษะในการ อยูรวมกันทามกลางความแตกตางได
Christian Karner, Ethnicity and Everyday Life (London and New York: Routledge, 2007), p. 1. 3
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
19
ประเด็นถกเถียง แนนอนผูคนสวนใหญรับรูและ/หรือตระหนักถึงความแตกตาง ระหวางตนเองกับคนอื่น แมวาจะอยูในชุมชนเดียวกัน หรือ ตางชุมชนที่ตั้งอยูใกลชิดกันมานานหลายชั่วอายุคนก็ตาม สิ่งที่ นาสนใจคือผูคนเหลานี้แบงแยกความแตกตางระหวางตนและ คนอื่นอยางไร พวกเขามีกระบวนการอะไรในการจำ�แนกหรือจัด ประเภทของคน ซึ่งรวมถึงตนเองดวย พวกเขาเรียนรูไดอยางไร ในการอยูปะปนรวมกับคนอื่น มีปจจัยหรือเงื่อนไขอะไรที่ชวย สนับสนุน ทักษะและความสามารถเหลานี้มาจากไหน และ ประเด็นอื่นๆ ที่นาสนใจอีกมากมายที่นักมานุษยวิทยาตองการ คำ�ตอบหรือคำ�อธิบาย จึงเสนอแนวคิดหรือมโนทัศน (concept) และสมมติฐาน (hypothesis) ขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อชวยในการ พัฒนาคำ�อธิบายทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ชิงภววิสยั (objective) ทีส่ ามารถ ใชวิเคราะหความซับซอนของชีวิตและพฤติกรรมของผูคนตาง ภาษาหลากธรรมเนียมได และนี่เปนเหตุผลประการแรกที่ทำ�ให ผมเห็นวามีความจำ�เปนอยางยิ่งในการผลิตงานเขียนชิ้นนี้ ซึ่งจะ กลาวถึงแนวคิดและวิวาทะ (debate) เรื่องชาติพันธุ ใน พ.ศ. 2541 ผมเขียนบทความชิ้นหนึ่งเกี่ยวกับการ อภิปรายเรือ่ งชาติพนั ธุใ นวงการมานุษยวิทยา โดยเนนทีข่ อ เสนอ และสมมติฐานเรื่องชาติพันธุของนักมานุษยวิทยาตะวันตก และ พัฒนาการของการถกเถียงในเรือ่ งนีซ้ ึง่ เริม่ ขึน้ ในทศวรรษ 19604 ดู นิติ ภวัครพันธุ, “บางครัง้ เปนคนไทย บางครัง้ ไมใช”: อัตลักษณแหงตัวตน ที่ผันแปรได,” รัฐศาสตรสาร ปที่ 20 ฉบับที่ 3 (2541), หนา 215-251. 4
20
นิติ ภวัครพันธุ
ตั้งแตนั้นมาผมก็คนควาเรื่องชาติพันธุอยางจริงจัง เพราะคิดวา ชาติพันธุเปนประเด็นสำ�คัญที่มีความซับซอน ละเอียดออน และ ผันแปรไปตามกาลเวลา จึงจำ�เปนตองเขาใจประเด็นรวมสมัย ตางๆ ที่เขามาสัมพันธกับวิวาทะเรื่องชาติพันธุเชนกัน ดังนั้นการอภิปรายในงานเขียนชิ้นนี้จึงมิไดเนนเพียง แนวคิดและวิวาทะเรื่องชาติพันธุที่ปรากฏในงานเขียนดาน มานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ทั้งที่เปนภาษาไทยและอังกฤษ เทานั้น หากยังพาดพิงถึงประเด็นอื่นๆ ที่ผมคิดวาสัมพันธกับ เรื่องชาติพันธุ เชน • แนวคิดเรื่องเชื้อชาติ (race) ชาติ (nation) ชาตินิยม (nationalism) ชาติพันธุนิยม (ethnonationalism) • ความสัมพันธชาติพันธุในเอเชียตะวันออกเฉียงใตใน อดีต โดยพาดพิงถึงกรณีตางๆ ซึ่งแสดงใหเห็นปฏิสัมพันธอันซับซอนระหวางชนตางชาติพันธุกลุมตางๆ ในบริเวณภาคพื้นทวีปและภาคพื้นสมุทรของภูมิภาคนี้ • วัฒนธรรมไตและมลายู อันเปนวัฒนธรรมของผูคน จำ�นวนมหาศาลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต • อัตลักษณ (identity) และการตอสูเรียกรองสิทธิของ ชนพื้นเมือง เชน กรณีของชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือและนิวซีแลนด ที่ใชอัตลักษณและวัฒนธรรมของ พวกตนในการตอสูเพื่อสิทธิทางการเมือง ซึ่งนอกจาก มีนัยของการเปนชนพื้นเมืองแลว ยังสะทอนถึงพลวัต และความผันแปรของอัตลักษณของพวกเขาที่สวนหนึ่ง เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรม
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
21
ในความเห็นของผม ประเด็นขางตนเหลานี้ทำ�ใหงาน เขียนชิ้นนี้มีมุมมองและความสนใจในบางประเด็นแตกตาง ไปจากบทความ หนังสือ และ/หรือตำ�ราภาษาไทยที่นาสนใจ และมีความสำ�คัญในเรื่องชาติพันธุจำ�นวนหนึ่ง เชน ผลงานของ สุเทพ สุนทรเภสัช5 ยศ สันตสมบัติ6 ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ7 วีระ สมบูรณ8 เปนตน
สุเทพ สุนทรเภสัช, ชาติพันธุสัมพันธ: แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาใน การศึกษาอัตลักษณ กลุมชาติพันธุ ประชาชาติ และการจัดองคกรความสัม พันธทางชาติพันธุ (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2548); สุเทพ สุนทรเภสัช, ทฤษฎีชาติพันธุสัมพันธุ: รวมบทความทางทฤษฎีเกี่ยวกับอัตลักษณ เชื้อชาติ กลุมชาติพันธุ การจัดองคกรความสัมพันธทางชาติพันธุ และรัฐประชาชาติ (เชียงใหม: ศูนยศึกษาชาติพันธุและการพัฒนา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2555). ซึ่งเปนการแปลงานเขียนในภาษาอังกฤษเปนไทย 6 ยศ สันตสมบัติ, อำ�นาจ พื้นที่ และอัตลักษณทางชาติพันธุ: การเมือง วัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร, 2551). ซึ่งเปนการสำ�รวจและสรุปงานเขียนเรื่องชาติพันธุที่ดีมากเลมหนึ่ง 7 ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ, “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพันธุขามยุคสมัย กับการศึกษาในสังคมไทย,” ใน วาดวยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ (หนังสือ รวมบทความจากการประชุมประจำ�ปทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติและ ชาติพันธุ วิถีชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุในโลกปจจุบัน, เอกสาร วิชาการลำ�ดับที่ 36) (กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร, 2547), หนา 1-125. 8 วีระ สมบูรณ, รัฐ-ชาติ ชาติพันธุ ขอสังเกตบางประการวาดวยความเปนชาติ ความเปนรัฐ และปญหาชาติพันธุ (กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพสมมุติ, 2553). 5
22
นิติ ภวัครพันธุ
เนื้อหาของหนังสือ เนื้อหาที่จะอภิปรายตอไปแบงออกเปน 7 บท มีรายละเอียด ดังนี้ • บทที่ 1 “ที่มาและความหมาย” จะกลาวถึงที่มาและ ความหมายของคำ�วา “ชาติพันธุ” (ethnicity) ในโลก วิชาการภาษาอังกฤษและพัฒนาการของศัพทคำ�นี้ ซึ่ง สงผลใหความหมายในปจจุบันของคำ�นี้ไมเหมือนเดิม และลั ก ษณะบางประการของสั ง คมเอเชี ย ที่ ทำ � ให แนวคิดเรื่องชาติพันธุกลายเปนที่สนใจ • บทที่ 2 “แนวคิดและวิวาทะชาติพันธุ” อภิปรายเรื่อง แนวคิดหรือสมมติฐาน ขอโตแยง และวิวาทะเรื่อง ชาติพันธุ ยกกรณีชนชาติพันธุบางกลุมในประเทศไทย เปนตัวอยางในการอภิปราย • บทที่ 3 “วิวาทะเรื่องชาติ ชาตินิยม และชาติพันธุนิยม” ซึ่งจะเนนที่แนวคิดและวิวาทะเรื่องชาติ (nation) และ ชาตินิยม (nationalism) ความสัมพันธระหวางชาติ ชาตินิยม และชาติพันธุ โดยจะพาดพิงถึงนักคิดคน สำ�คัญบางคนทีม่ อี ทิ ธิพลทางความคิดในประเด็นเหลานี้ • บทที่ 4 “ชาติพันธุสัมพันธในเอเชียตะวันออกเฉียงใต” กลาวถึงชาติพันธุสัมพันธหรือความสัมพันธระหวางชน ตางกลุมชาติพันธุในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในอดีต โดยมีกลุมชาติพันธุทั้งในบริเวณภาคพื้นทวีป และภาคพื้นสมุทรของภูมิภาคนี้เปนตัวอยาง เพื่อให
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
23
ผูอานไดเห็นมุมมองเชิงประวัติศาสตรของเรื่องนี้ และ เขาใจเกี่ยวกับพัฒนาการของปฏิสัมพันธของชนตาง กลุมชาติพันธุในดินแดนนี้ดวย • บทที่ 5 “สองวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต” ประเด็นหลักในบทนี้คือวัฒนธรรมที่สำ�คัญสองวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันไดแก วัฒนธรรม ไตและวัฒนธรรมมลายู โดยจะกลาวถึงลักษณะของ วัฒนธรรมทั้งสอง การปฏิบัติของวัฒนธรรมทั้งสอง ตลอดจนปฏิสัมพันธระหวางคนสองกลุมนี้ ซึ่งนำ�ไป สูการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางทั้งสอง • บทที่ 6 “ชาติพันธุทามกลางการเคลื่อนไหว” เริ่มดวย การอภิปรายเรือ่ งการเมืองอัตลักษณ (identity politics) ซึ่งในแงหนึ่งไดนำ�ไปสูการโตแยงและแนวคิดเรื่อง อัตลักษณ (identity) และสมมติฐานที่วาอัตลักษณมี ลักษณะลื่นไหลและผันแปรไปตามเงื่อนไขตางๆ โดย เฉพาะอยางยิ่งในโลกปจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงเกิด ขึ้นอยางกวางขวาง นอกจากนี้จะกลาวถึงกรณีของชน พื้ น เมื อ งในบางประเทศที่ ใ ช อั ต ลั ก ษณ แ ละจารี ต ประเพณีของตนในการตอสูเพื่อสิทธิทางการเมือง • ปจฉิมกถา จะกลาวถึงประเด็นที่มิไดถกเถียง/อภิปราย ในงานเขียนชิ้นนี้ ซึ่งผมคิดวานาสนใจแตไมอาจนำ�มา อภิปรายหรือถกเถียงในงานเขียนชิ้นนี้ไดเนื่องจาก ขอจำ�กัดบางประการ
24
นิติ ภวัครพันธุ
จุดมุงหมายของการอภิปรายหัวขอทั้งหลายขางตน เพื่อ ใหผูอานไดเขาใจถึงที่มาของแนวคิดเรื่องชาติพันธุ พัฒนาการ ของการถกเถียงในเรื่องนี้ ซึ่งในดานหนึ่งสงผลใหเกิดแนวคิด และสมมติ ฐ านอี ก มากมายที่ ไ ม เ พี ย งแต เ กี่ ย วข อ งกั บ เรื่ อ ง ชาติพันธุเทานั้น หากยังมีประเด็นเรื่องชาติ ชาตินิยม และ ชาติพันธุนิยมเขามาอีกดวย และเพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจ ยิ่งขึ้น นอกจากผมจะกลาวถึงความสัมพันธชาติพันธุระหวาง กลุมชนตางๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีต เพื่อ ใหเห็นมุมมองทางประวัติศาสตรในเรื่องชาติพันธุสัมพันธ ยังจะ อภิปรายถึงวัฒนธรรมไตและวัฒนธรรมมลายู อันเปนวัฒนธรรม ที่สำ�คัญสองวัฒนธรรมในภูมิภาคนี้ เพื่อใหเขาใจถึงปฏิสัมพันธ อันซับซอนระหวางผูคนทั้งสองวัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยน/ ผสมผสานระหวางสองวัฒนธรรมนี้ ในตอนทายจะจบดวยการ อภิปรายเรื่องการเมืองอัตลักษณและการตอสูเรียกรองเพื่อ สิทธิทางการเมือง เพื่อใหเห็นวา บอยครั้งและในหลายสังคม ชาติพันธุมีความสัมพันธที่ลึกซึ้งกับเรื่องสิทธิและการตอสูเพื่อ สิทธิของกลุมชาติพันธุ
ชวนถก ชาติและชาติพันธุ
25