เจาหญิงนินทา
เรื่องจริง (ไมอิงนิยาย) จากประวัติศาสตรอันยาวนาน
PRINCESSES BEHAVING BADLY Real Stories from History – Without the Fairy-Tale Endings
LINDA RODRIGUEZ McROBBIE เขียน อลิสา สันตสมบัติ แปล
Text copyright © 2013 by Linda Rodriguez McRobbie. Illustration by Douglas Smith. Thai language translation copyright © 2014 Siamparidasna Publishing Co., Ltd. First published in English by Quirk Books, Philadelphia, Pennsylvania. This Thai language translation is arranged with Quirk Productions, Inc. 215 Church Street, Philadelphia, PA 19106, USA through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd., Thailand All rights reserved.
เจาหญิงนินทา
เรื่องจริง (ไมอิงนิยาย) จากประวัติศาสตรอันยาวนาน
PRINCESSES BEHAVING BADLY
Real Stories from History – Without the Fairy-Tale Endings
LINDA RODRIGUEZ McROBBIE เขียน อลิสา สันตสมบัติ แปล
ISBN: 978-974-315-897-1 พิมพครั้งแรก มีนาคม 2558 บรรณาธิการประจำ�ฉบับ: อนรรฆ พิทักษธานิน บรรณาธิการแปล: อรจิรา โกลากุล พิสูจนอักษร: ปภาณิน เกษตรทัต แบบปก: นํ้าส้ม สุภานันท์ รูปเลมและภาพประกอบ: นริศรา สายสงวนสัตย์ ราคา 350 บาท • ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแหงชาติ
รอดริเกซ แมครอบบี, ลินดา. เจาหญิงนินทา. -- กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน, 2558. 432 หนา. 1. เจาหญิง--ชีวประวัติ. I. อลิสา สันตสมบัติ, ผูแปล. II. ชื่อเรื่อง. 920.72 ISBN 978-974-315-897-1
จัดพิมพโดย สำ�นักพิมพเอสไอเดีย ในเครือบริษัทสำ�นักพิมพสยามปริทัศน จำ�กัด 113 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2225-9536 ถึง 9 โทรสาร 0-2222-5188 www.kledthai.com เจาของ: บริษัทสำ�นักพิมพสยามปริทัศน จำ�กัด ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์: สุลักษณ ศิวรักษ คณะกรรมการบริหาร: สัจจา รัตนโฉมศรี, อนันต วิริยะพินิจ, วินัย ชาติอนันต, ทิชากร ชาติอนันต, อาสา นาถไตรภพ บรรณาธิการสำ�นักพิมพ: ชานน จงประสพมงคล ประชาสัมพันธ: มนตรี คงเนียม จัดจำ�หน่าย: สายส่งศึกษิต บริษัทเคล็ดไทย จำ�กัด 117-119 ถนนเฟองนคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2225-9536 ถึง 9 โทรสาร 0-2222-5188
คำ�นำ�สำ�นักพิมพ์ 7 กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว 9
นักรบ
เจ้าหญิงผู้ต่อสู้ในศึกของพระนางเอง อัลฟ์ฮิลด์ เจ้าหญิงผู้กลายเป็นโจรสลัด 17 ผิงหยาง องค์หญิงผู้นำ�กองทัพ 25 ราชินีนักรบทั้งเจ็ดแห่งโลกยุคโบราณ 31
โอลกาแห่งเคียฟ เจ้าหญิงผู้สังหารจนได้เป็นนักบุญ 41 คูทูลุน เจ้าหญิงผู้เป็นเจ้าสังเวียนมวยปลํ้า 49 ลักษมีไพ เจ้าหญิงผู้นำ�การกบฏ (โดยมีทารกผูกอยู่บนหลัง) 55
นักช่วงชิง
เจ้าหญิงผู้ฉวยอำ�นาจในโลกของบุรุษ ฮัตเชปซุต เจ้าหญิงผู้ปกครองอียิปต์ในฐานะกษัตริย์ 67 สัมพันธ์ ในครอบครัว ว่าด้วยการมีเพศสัมพันธ์ ร่วมสายพระโลหิตของเหล่าเชื้อพระวงศ์ 74
อู่เจ๋อเทียน หรือ บูเช็กเทียน เจ้าหญิงผู้กลายเป็นจักรพรรดิจีน 77 วิถีแห่งเว่ย 86
เอนจิงกาแห่งเอนดองโก เจ้าหญิงผู้สั่งให้สนมชายแต่งกายเป็นหญิง 89
นักออกอุบาย
เจ้าหญิงผู้คบคิดและวางแผน จุสตา กราตา ฮอนอเรีย เจ้าหญิงผู้เกือบทำ�ให้จักรวรรดิโรมันล่มสลาย 101 อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส เจ้าหญิง “นางหมาป่า” 107 เจ้าหญิงแม่มด 115
ร็อกโซลานา เจ้าหญิงผู้เขยิบจากทาสทางเพศ มาเป็นชายาของสุลต่าน 125 แคทเธอรีน ราดซีวิล เจ้าหญิงผู้แอบติดตาม 133 สเตฟานี ฟอน โฮเฮนโลห์ เจ้าหญิงผู้จัดงานเลี้ยงให้ฮิตเลอร์ 147
ผู้อยู่รอด
เจ้าหญิงผู้ทรงเลือกสิ่งซึ่งเป็นที่โต้เถียงและน่าตั้งคำ�ถาม ลูเครเซีย เจ้าหญิงมาเฟียยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 157 มาลินเช เจ้าหญิงผู้รับใช้เหล่าผู้พิชิตประเทศของนาง 169 เจ้าหญิงเชลยสงคราม 178
โซเฟีย โดโรเทีย เจ้าหญิงนักโทษ 181
ชีวิตแต่งงานหรือโรงพยาบาลบ้า 191
ซาราห์ วินเนอมุกกา เจ้าหญิงผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นหนอนบ่อนไส้ 195 ซอฟกา โดลโกรอกี เจ้าหญิงผู้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ 207
นักปาร์ตี้
เจ้าหญิงผู้รักงานรื่นเริง คริสตินา เจ้าหญิงผู้แต่งกายข้ามเพศ 223 คาราบู (หรือ แมรี เบคเกอร์) เจ้าหญิงจอมปลิ้นปล้อน ที่ตบตาประเทศอังกฤษ 235 หกวิธีปลอมตัวเป็นเจ้าหญิง 245
ชาร์ล็อตต์แห่งปรัสเซีย เจ้าหญิงผู้จัดปาร์ตี้เซ็กส์ 261 คลารา วอร์ด เจ้าหญิงผู้หนีตามคนยิปซี...และบริกร ...และผู้จัดการสถานี 271 เจ้าหญิงดอลลาร์ 282
กลอเรีย ฟอน เทิร์น อุนด์ แทกซิส เจ้าหญิงพังก์ผู้หันไปทำ�บริษัท 289 เจ้าหญิงผู้ฟุ้งเฟ้อ 297
หญิงเริงรัก
เจ้าหญิงผู้ฉาวโฉ่เรื่องวีรกรรมเซ็กซี่ แคโรไลน์แห่งบรุนสวิก-วูลเฟนบุทเทล เจ้าหญิงผู้ไม่อาบนํ้า 305 ความตายกับยุควิคตอเรียน 317
พอลีน โบนาปาร์ต เจ้าหญิงผู้ชอบอวด 319 มาร์กาเร็ต เจ้าหญิงผู้เป็นสาเหตุของ การปล้นธนาคาร 333 เจ้าหญิงผู้ทิ้งมงกุฎเพื่อความรัก 346
หญิงบ้า
เจ้าหญิงผู้น่าจะเป็นบ้าหรือไม่ก็ใกล้เคียง แอนนาแห่งแซกซอนี เจ้าหญิงผู้มีนํ้าลายฟูมปาก 351 เจ้าหญิงบ้าสามพระองค์ (และหนึ่งพระองค์ที่อาจไม่ได้บ้า) 358
เอลิซาเบธแห่งออสเตรีย เจ้าหญิงผู้สวมหน้ากากเนื้อ 369 ระวังคนแคระดำ� 378
ชาร์ล็อตต์แห่งเบลเยียม เจ้าหญิงผู้ทำ�ให้พระสันตะปาปาหวาดกลัว 381 สายด่วนถึงสวรรค์ของราชนิกุล 389
ฟรานซิสกา หญิงความจำ�เสื่อมผู้กลายมาเป็น เจ้าหญิงราชวงศ์โรมานอฟผู้สาบสูญ 391 คำ�สุดท้ายอันโด่งดัง 404
บรรณานุกรม 409 กิตติกรรมประกาศ 429
คำ�นำ�สำ�นักพิมพ์
‘เจา
หญิ ง ’ เป น ความฝ น ของหลายคนตั้ ง แต เ ด็ ก จนเติ บ โต มาเปนผูใหญ ชีวิตของเจาหญิงถูกใหภาพวาสวยงามประดุจ วิมานบนอากาศ มีทุกสิ่งพรอมสรรพ และแทบไมตองคำ�นึง ถึงอนาคตหรือปจจุบัน ทวา เรื่องราวทางประวัติศาสตรจำ�นวนหนึ่ง ไดทำ�ใหเราเห็นวา ภาพของ ‘เจาหญิง’ นั้นมีหลายเฉด ทั้งสุขสมหวัง และเศราสรอย เปนผูนำ� ในสงครามและการคา ผูตามที่ลุมหลงในลาภยศและความทะเยอทะยาน ผูที่พลิกชะตาชีวิตใหกลับมาดั่งฝน เจาหญิงนินทา ผลงานแปลจาก Princesses Behaving Badly งานเขียนชิ้นเยี่ยมของ ลินดา รอดริเกซ แมครอบบี (Linda Rodriguez McRobbie) ที่ทานถืออยูในมือเลมนี้ เปนหนังสือที่ให ‘เฉด’ ของ ‘เจาหญิง’ ไวอยางครบครัน จากการคนควาอันละเอียดออนของผูเขียน รอยเรียงเปนเรื่องราวอันชวนอาน ระทึกใจ และชวนติดตาม ทำ�ใหเราเห็น ชีวิตของ ‘เจาหญิง’ ที่ตางมีความ ‘ไมธรรมดา’ แฝงอยู
7
จากเกร็ดเล็กๆ นอยๆ ทางประวัติศาสตร ผูเขียนไดตอภาพ จนทำ�ใหเห็นเรื่องราวและแงมุมของชีวิตที่ผันแปรเหมือนดั่งคลื่นลมของ ‘เจาหญิง’ แตละองค ที่ดูเหมือนจะโรยดวยกลีบกุหลาบและมีชีวิตอัน รุมรวยอิสระ แตในความเปนจริงกลับตองถูกบีบใหเดินไปตามเสนทางแหง ความคาดหวังของสังคมและราชสำ�นัก หรือมีชะตากรรมพลิกผันจากการ เปลี่ยนแปลงในโลกเพียงชั่วขามคืน สำ�นักพิมพ SidEA มีความปติอยางยิ่งที่ทานหยิบหนังสือเลมนี้ ขึ้นมาเปดอาน และเราขอเชิญชวนทานใหลิ้มรส เจาหญิงนินทา ใน หนาตอๆ ไป อันรับรองไดวาจะเปนหนังสือที่ยากจะวางลงไดอยาง งายดาย เพราะเรื่องราวของ ‘เจาหญิง’ แตละองค ที่ผูเขียนไดคัดเลือก มาชางนาชวนติดตาม กอปรกับฝมือการแปลของ อลิสา สันตสมบัติ ยัง เยายวน เติมอรรถรสใหกับการอานอันวางไมลงมากยิ่งขึ้น ดวยรัก :) SidEA
8
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว บทนำ�
“เด็กสาวทุกคนเคยสมมติวาตัวเอง เปนเจาหญิงกันทั้งนั้น” ลินดี้ จากเรื่อง Beastly ของ อเล็กซ ฟนน
เด็ก
หญิงตัวนอยๆ ทุกคนเลยหรือ ไมใชเสียทีเดียวหรอก ตอนที่ฉันยังเปนเด็ก ฉันไมอยากเปนเจาหญิง ฉันไมได เปนเด็กทอมบอยหรืออะไรแบบนั้นหรอกนะ แตฉันแค ไมไดสนใจ ถาเปนเรื่องมาก็วาไปอยาง โดยเฉพาะยูนิคอรนหรือยูนิคอรน มีปกก็ยิ่งดี แตก็อีกนั่นแหละ ตอนที่ฉันเปนเด็กนอย เจาหญิงดิสนียไมได เปลงประกายในชุดสีออนหวานระยิบระยับอยางทุกวันนี้ สมัยนั้นเด็กหญิง ตัวนอยไมไดจำ�กัดตัวเลือกในการแตงตัวไวแคที่แบลล แอเรียล หรือ ซินเดอเรลลา (หรือมูหลาน หรือเมอริดา ถาคุณอยากรูสึกทะมัดทะแมง) ทุกวันนี้ความหมกมุนเกี่ยวกับเจาหญิงเปนสิ่งที่ถูกกำ�หนดไวแลว โดยปริยายสำ�หรับเด็กหญิงจำ�นวนมาก ในป 2000 ดิสนียตัดสินใจทำ� ตลาดตัวละครตาหวานซึ้งในภาพยนตรขนาดยาวดวยลักษณะบงบอก ตัวตนประการสำ�คัญ นั่นคือ ชื่อเรื่องที่ตั้งตามชื่อเจาหญิง และจากจุด นั้นโรคเจาหญิงก็ไดแพรระบาดไปทั่ว ตอนนี้บรรดาเจาหญิงเปนอุตสา หกรรมใหญที่สุดสำ�หรับกลุมเด็กกอนวัยรุน ในป 2012 บรรดาสื่อที่แตก
9
แขนงจากตัวละครเจาหญิงดิสนียกลายเปนสื่อขายดีที่สุดในกลุมประเภท เดียวกันในอเมริกาเหนือ ขายดีกวาสตารวอรสและเซซามีสตรีท ทำ�รายได จากทั่วโลกมากกวา 4.6 พันลานดอลลารสหรัฐ และเมื่อรวมสินคาเสริม นานาชนิด อยางตุกตาบารบี้รุนเจาหญิงและปอปสตาร ชุด “ตกแตงกระจก เจาหญิงดวยตัวคุณเอง” ของเมลิสซาและดั๊ก รวมถึงเสื้อยืดเจาหญิงสีชมพู วิบวับจำ�นวนนับไมถวน คุณก็จะไดเห็นสิ่งที่นักวิจารณสังคมและพอแม ผูหวงใยเรียกวา “ปมอุตสาหกรรมเจาหญิง” ในหนังสืออันนาสนใจชื่อ ซินเดอเรลลากินลูกสาวของฉัน (Cinderella Ate My Daughter สำ�นักพิมพฮารเปอร ป 2011) เพ็กกี้ โอเรนสไตน (Peggy Orenstein) สำ�รวจความหมกมุนของการจับเด็กหญิง มาแตงตัวในชุดเจาหญิง “สีชมพูแสนสวย” เชนเดียวกับอีกหลายคน โอเรนสไตนกังวลวาการเลนเปนเจาหญิงแสดงถึงความคาดหวังที่ไมคำ�นึง ถึงความเปนจริงเกี่ยวกับความงามของสตรี มีขอจำ�กัดมากเกินไป (ชุด ราตรียาวสีชมพูหรือไมก็สีมวง?) และกำ�ลังเปลี่ยนเด็กหญิงตัวนอยๆ ให เริ่มกลายเปนคนหลงตัวเอง ฉันก็คิดเชนกัน ถึงแมไมมีหลักฐานโดยตรง มาสนับสนุนขออางตางๆ วาวัฒนธรรมเจาหญิงที่ปรากฏอยูทุกหนแหงนั้น ทำ�รายความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กผูหญิง สำ�หรับฉันแลวดูเหมือนวา ปรากฏการณนี้บงบอกนัยยะอันไมชอบธรรมของการมอบอำ�นาจ เปน อำ�นาจปลอมชนิดหนึ่งซึ่งไมไดมาจากความสามารถในการตัดสินใจ ความ เปน ผูนำ� หรือสติปญญา แตมาจากแรงดึงดูดของรูปลักษณภายนอก ความมั่งคั่ง และความสัมพันธกับตัวละครชายผูเขมแข็ง “เจาหญิง” เปน ตำ�แหนงที่สถาปนาความคาดหวังอันพิลึกพิลั่นวาคนคนหนึ่งควรไดรับการ ปฏิบัติอยางไร วาอะไรมีคา และอะไรที่ผูหญิงจะบรรลุไดหรือควรบรรลุ ในชีวิต
10
เห็นไดชัดวาเด็กหญิงตัวนอยๆ สวนใหญไมไดเติบโตมาโดยเชื่อวา ชีวิตมีแตการใสรองเทาสนสูงกรีดกราย นางฟาแมทูนหัว และเจาชาย รูปงาม แตความเพอฝนเกี่ยวกับเจาหญิงเปนสิ่งหนึ่งที่เราไมเคยหลงลืม ไปโดยสิ้นเชิง เห็นไดจากความหลงใหลตอเคท มิดเดิลตัน (Kate Middleton) หญิงสาวสามัญชนผูเลอโฉมที่ไดสมรสกับเจาชายวิลเลียมผูทรงเสนห แหงอังกฤษในเดือนเมษายน ป 2011 แมทางเทคนิคแลวพระนางจะไมได เปนเจาหญิง ดวยตำ�แหนงทางการของพระนางคือดัชเชสแหงเคมบริดจ แตเรื่องราวของเจาหญิงแคทเธอรีนก็มีลักษณะเดนทุกประการของ เทพนิยาย แมกระทั่งพระราชพิธีเสกสมรสก็ยังดูเหมือนการตูน ฉันเกือบ หวังวาจะไดเห็นนกสีฟาสงเสียงรองจิ๊บๆ มายกชายกระโปรงยาวเฟอย ของเจาหญิงเคทดวยซ้ำ�ไป “เจาหญิงเคท” ผูออนหวานในภาพลักษณอันแบนราบกลายเปน สินคาของหนังสือพิมพแทบลอยดทั่วโลก แมมีความจริงอันโหดราย เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับเจาหญิงอังกฤษองคลาสุดที่ไดรับการปฏิบัติแบบ เทพนิยาย เจาหญิงไดอานาผูมีพระเกศาสีบลอนดและพระเนตรสีฟาคือ ซินเดอเรลลา เปนความละมายคลายคลึงซึ่งไมไดเลือนหายไปจากสื่อ ทั้งในเวลานั้นและในบัดนี้ อยางไรก็ตาม เรื่องราวที่แทจริงของเจาหญิง ไดอานา ไมวาจะเปนการเสกสมรสเพื่อความเหมาะสม ความไมซื่อสัตย ของพระสวามี ขาวลือเกี่ยวกับการนอกพระทัยของพระนางเอง การตอสู กับชื่อเสียงและความผิดปกติดานพฤติกรรมการกิน การเลนกับสื่อของ อังกฤษ และการสิ้นพระชนมหลังจากพระนางถูกชางภาพปาปารัสซี่ ไลตาม เห็นไดชัดวานี่ไมใชเทพนิยายอันแสนสุขดังที่ทุกคนหวังไว บางทีทางที่ดีที่สุดเพื่อใหแนใจวาเทพนิยายไมไดกลายมาเปน ความคาดหวังคือการพูดถึงบรรดาเจาหญิงจริงๆ และเลิกทำ�ใหชีวิตของ พวกนางกลายเปนเทพนิยาย เจาหญิงจริงๆ บางองคเปนผูหญิงที่ตกอยู 11
ในสถานการณซึ่งไมอาจควบคุมได ตัวอยางเชน เจาหญิงโซเฟย โดโรเทีย แหงแควนเซลลถูกบังคับใหเสกสมรสกับชายที่พระนางเรียกวา “จมูกหมู” ชายผูใชความรุนแรงทำ�รายพระนาง นอกใจ และหลังจากพระนางทรง ตอบโตดวยการมีสัมพันธฉันชูสาว เขาก็ขังพระนางไวในปราสาทนานกวา สามทศวรรษจนกระทั่งพระนางสิ้นพระชนม เจาหญิงองคอื่นๆ อยาง แอนนาแหงแซ็กซอนีก็ทรงมีสภาพจิตไมมั่นคง ดวยกลุมยีนที่มีจำ�กัดนั้น อาจสรางความดางพรอยไดไมแพการครองอำ�นาจเบ็ดเสร็จ ชางนาเศรา ไมแพเทพนิยายกริมมเลยทีเดียว แตเจาหญิงบางองคทรงพบหนทางที่จะกำ�หนดชะตาชีวิตของ พระนางเอง จักรพรรดินีอูแหงจีนแสดงใหเห็นวาเจาหญิงอาจเจาเลห เพทุบายไดพอๆ กับเจาชาย บางองค เชน ซาราห วินเนอมุกกา ทรงใช ตำ�แหนงของพระนาง (ทั้งที่เปนเรื่องจริงและปนแตงขึ้น) เพื่อดึงความ สนใจไปยังเปาหมายที่ยิ่งใหญกวา สวนบางองคก็แคอยากออกไปมีชวง เวลาอันนาตื่นเตน เชน คลารา วอรด ชาวอเมริกัน ผูถูกขนานนามวา เจาหญิงดอลลาร ทอดทิ้งเจาชายผูไมคอยทรงเสนหแลวหนีตามนัก ไวโอลินยิปซีไป และมีไมนอยที่ไมใชเจาหญิงดวยซ้ำ� เชน คาราบูหรือ ฟรานซิสกา กรรมกรโรงงานชาวโปแลนดที่อางตนวาเปนเจาหญิงอนาสตาเซียผูสาบสูญแหงราชวงศโรมานอฟ บรรดาเจาหญิงในประวัติศาสตรทรงพระปรีชาสามารถในเรื่อง ยิ่งใหญเชนเดียวกับในเรื่องเลวราย พวกนางตัดสินพระทัยอยางโงเขลา และทรงทำ�สิ่งผิดพลาดมากมาย รักคนผิดหรือรักคนหลายคนเกินไปหรือ รักคนไมมากพอ พวกนางเปนสตรีที่โปปด กระทำ�การฆาตกรรม ใชเซ็กส เปนอาวุธ หรือแตงกายเปนชายเพื่อยึดกุมอำ�นาจ พวกนางไมเกรงกลัว หากพระหัตถจะเปรอะดินหรือเปอนโลหิต สตรีเหลานี้เปนมนุษย แต
12
คำ�วาเจาหญิง รวมถึงความหมายโดยนัยอันมากมายเหลือคณานับของคำ� คำ�นี้ มักบดบังอำ�พรางความเปนมนุษยนั้น สำ�หรับสตรีแตละนางที่จะบรรยายถึงในหนาตอๆ ไป ฉันได พยายามนำ�เอาตำ�นานออกไปและเสนอสิ่งที่ใกลเคียงกับบุคคลจริงมาก ที่สุด แตประวัติศาสตรนั้นเที่ยงตรงไดมากเทาตัวผูบันทึกเทานั้น และ ความจริงขอนี้ยิ่งสำ�คัญเปนเทาตัวเมื่อผูที่กลาวถึงเปนสตรี ฉันไดพยายาม ทุกวิถีทางที่จะสืบคนเรื่องราวจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือไดมากที่สุด แตเชน เดียวกับการสรางอดีตใดๆ ก็ตามขึ้นมาใหม เรื่องเลาบางเรื่องก็ตองถูก จดจำ�ไวในฐานะขาวลือ เรื่องซุบซิบนินทา และสมมติฐาน ไมวาอยางไร นี่คือเรื่องราวของเจาหญิงจริงๆ และสตรีจริงๆ เรื่องราวเหลานี้อาจเริ่มขึ้นเมื่อกาลครั้งหนึ่งนานมาแลว แตไมไดจบลงแบบ มีความสุขตลอดกาลเสมอไป
13
นักรบ เจ้าหญิงผู้ต่อสู้ ในศึกของพระนางเอง
15
อัลฟ์ฮิลด์ (Alfhild)
เจ้าหญิงผู้กลายเป็นโจรสลัด ราวศตวรรษที่ 5 ณ ท้องน้ำ�เย็นเยือกแห่งทะเลบอลติก
เจ้า
หญิงอัลฟ์ฮิลด์ต้องตัดสินพระทัย ทางหนึ่ ง คื อ ชายผู้ ดี เ ลิ ศ ซึ่ ง ผ่า นปราการอั น ตรายถึ ง ชี วิ ต ที่ พระบิดาของพระนางทรงตั้งไว้มาได้ แล้วมาหาพระนางโดย ไม่ถูกบั่นศีรษะหรือวางยาพิษ พระนางอาจเสกสมรสกับชายผู้กล้าหาญนี้ และใช้ชีวิตครอบครัวอันผาสุกดังที่ผู้หญิงในยุคของพระนางควรปรารถนา หรือพระนางอาจทรงบอกลาชีวิตราชนิกุลแล้วไปเป็นโจรสลัด เดาได้ไหมว่าพระนางเลือกทางไหน
17
เด็กนอยของพอ อัลฟฮิลดเปนพระธิดาองคเดียวของกษัตริยซิวอรด (Siward) ชาวกอธในศตวรรษที่ 5 ผูคอยปกปองพระนางราวไขในหิน เจาหญิง องคนอยไดรับการเลี้ยงดูใหเปนคนสงบเสงี่ยมเรียบรอยจนเกือบเปนนิสัย คาดวาพระนางคงสงบเสงี่ยมเสียจน “ซอนพระพักตรไวใตผาคลุม” เพื่อ ไมใหความงามล้ำ�ของพระนางปลุกเราบุรุษที่อยูใกลใหหลงใหลคลั่งไคล ไปดวยตัณหา อัลฟฮิลดทรงมีเหตุผลอันสมควรที่อุทิศพระองคใหการรักษา พรหมจรรย เรื่องราวของพระนางปรากฏใน เกสตา ดานอรุม (วีรกรรม ของชาวเดนส) งานเขียนภาษาละตินในศตวรรษที่ 12 ความยาวหลายเลม โดยนักประวัติศาสตรชื่อ แซ็กโซ กรัมมาติคัส (Saxo Grammaticus) หาก แซ็กโซเชื่อถือไดละก็ พรหมจรรยแทบจะเปนสิ่งแลกเปลี่ยนเดียวที่สตรีมี แตการปกปดพระพักตรเปนเพียงมาตรการหนึ่งเพื่อไมใหพระนางถูกบุรุษ แตะตอง แซ็กโซกลาววากษัตริยซิวอรดทรงกระทำ�สิ่งที่บิดาคนใดก็ตามที่มี บุตรสาววัยรุนหนาตาสะสวยนาจะทำ�หากทำ�ได นั่นคือ [พระองค] ทรงเนรเทศพระนางใหไปอยูในที่มิดชิด ใหพระนาง เลี้ยงงูเล็กและงูใหญ ดวยทรงหวังวาเมื่อสัตวเลื้อยคลานเหลานี้ เติบใหญแลวมันจะปกปองพรหมจรรยของพระนาง เนื่องจาก คงยากที่จะบุกเขาไปในหองบรรทมที่ถูกปดลอมดวยขื่อกลอน ที่อันตรายเยี่ยงนี้ พระองคยังทรงออกกฎดวยวาหากชายใด พยายามเขาไปแลวลมเหลว เขาผูนั้นจะตองถูกบั่นศีรษะแลว เสียบประจานโดยทันที ความหวาดกลัวที่ผูกติดอยูกับตัณหา ราคะจึงระงับจิตใจอันเรารอนของบรรดาชายหนุมทั้งหลาย 18
ถึงกระนั้น กลับมีชายหนุมผูหนึ่งซึ่ง “จิตใจอันเรารอน” ถูกกระพือ โหมดว ยขอ บังคับเหลานี้ และคิดวา “ภยันตรายมีแตจะทำ�ใหความพยายาม นั้นสูงสงขึ้น” พระนามของพระองคคืออัลฟ (Alf) โอรสแหงกษัตริยซิการ (Sigar) ชาวเดนมารก วันหนึ่งอัลฟบุกเขาไปในหองบรรทมของอัลฟฮิลด สวมหนังสัตวเปรอะเลือด (เห็นไดชัดวาเพื่อทำ�ใหพวกงูคลั่ง) แลวสังหาร งูเล็กโดยโยนเหล็กรอนจนเปนสีแดงเขาไปในคอของมัน และกำ�จัดงูใหญ ดวยวิธีการแบบดั้งเดิมมากกวาคือการแทงหอกเขาไปที่คอหอย แมพระราชาซิวอรดจะทรงประทับใจวิธีที่ชายหนุมชาวเดนส เลือดรอนผูนี้สังหารปราการงู แตพระองคจะยอมรับเขาหากอัลฟฮิลดทรง เลือกชายผูนี้ดวย “การตัดสินใจอยางเด็ดขาดโดยเสรี” แนนอนวาอัลฟฮิลด หลงเสนหผูสูขอผูกลาหาญนี้ที่เพิ่งสังหารสัตวเลี้ยงแสนรักของพระนางไป อยางไรก็ตาม พระชนนีของพระนางไมเห็นดวย พระนางตรัสแกอัลฟฮิลด ให “คนหาจิตใจ” และไม “หลงใหลรูปลักษณเปยมเสนห” หรือหลงลืมที่จะ “ตัดสินคุณความดีของเขา” อัลฟฮิลดทรงลังเลเพราะคำ�แนะนำ�อันชาญฉลาดของพระชนนี และตัดสินพระทัยวาอัลฟไมใชชายที่ทรงตองการ พระนางตัดสินพระทัย แลกความสงบเสงี่ยมกับเสื้อผาของบุรุษ แลวออกทะเลไปเปนโจรสลัดที่ ออกอาละวาดไปทั่วและนำ�เหลาลูกเรือโจรสลัดหญิง ก็ไมเห็นจะแปลก ตรงไหนนี่นา
วาไง กะลาสี เหตุผลที่อัลฟฮิลดตัดสินพระทัยเปนโจรสลัดนั้นไมชัดเจน แซ็กโซ ไมพยายามอธิบายเหตุผลของพระนาง อีกทั้งไมบอกวาทำ�ไม “หญิงสาว บริสุทธิ์หลายคนผูมีความคิดแบบเดียวกับพระนาง” และติดตามพระนาง 19
ไปนั้นถึงไดมีความคิดแบบเดียวกัน ทั้งๆ ที่อัลฟฮิลดตัดสินพระทัยแบบ ไมตามขนบ แตเรื่องราวของพระนางก็เปนแบบฉบับของตำ�นานประวัติศาสตรของยุคสมัยนั้นในแงมุมสำ�คัญประการหนึ่ง นั่นคือ การปกปอง รักษาพรหมจรรยมากจนถึงขั้นกีดกันความสนุกและความปลอดภัยออกไป ซึ่งสะทอนถึงความเปนจริงและคุณคาตางๆ ของสแกนดิเนเวียยุคโบราณ และแนนอนวามันสอดคลองกับเรื่องราวอื่นๆ วาดวยหญิงพรหมจรรยสวม เกราะ อันเปนนิทานโรแมนติกวาดวยสตรีนักรบพรหมจรรยที่วางงาน ปกผาแลวหันมาจับอาวุธ ถึงแมวาแซ็กโซจะพยายามอธิบายแรงจูงใจของพระนางเพียง เล็กนอย แตเขาก็อุตสาหบันทึกวาแมการที่อัลฟฮิลดเลือกใช “ชีวิตของ คนพเนจรชอบสูรบ” เปนเรื่องไมธรรมดา แตก็ไมไดเปนลักษณะเฉพาะ เสียทีเดียว เขาอางวาสตรีอื่นๆ “ชิงชังชีวิตที่ประณีตออนหวาน” และแลก “ความนุมนวลและความเหลาะแหละ” ตามธรรมชาติของพวกนางกับดาบ และอาวุธ พวกนาง “ปลดเพศ” ตนเอง “อุทิศมือเหลานั้นใหแกหลาว ทั้งที่ พวกนางควรใชเครื่องทอผามากกวา พวกนางโจมตีบุรุษดวยหอก ทั้งที่ พวกนางสามารถหลอมละลายพวกเขาไดดวยรูปลักษณ พวกนางนึกถึง ความตาย ไมใชการเกี้ยวพาราสี” แซ็กโซกลาววาสตรีควรทำ�เรื่องของ ผูหญิงและแอบซอนใบหนาสวยๆ ไวเพื่อไมใหไปกระตุนราคะของบุรุษ ผูไมรูเรื่องรูราว ดูเหมือนเขาไมไดฉุกคิดเลยวาตัณหาที่ไมถูกควบคุมของ บุรุษนั้นอันตรายเพียงพอที่จะผลักดันใหสตรีจับอาวุธ ไมวาอยางไรก็ตาม อัลฟฮิลดประสบความสำ�เร็จเกินพิกัดในการ เปนโจรสลัด ดวยความที่การเปนโจรสลัดนั้นไมใชแคการหยิบดาบสั้นแลว สวมผาปดตา เรือ่ งทีว่ า เธอประสบความสำ�เร็จไดอยางไรและดวยเหตุใดนัน้ สูญหายไปตามยุคสมัย แซ็กโซคอนขางขี้เหนียวรายละเอียด แตทั้งๆ ที่ เขาเคลือบแคลงมากกับประเด็นเรื่องนักรบสตรี เขาก็ยอมรับวาอัลฟฮิลด 20
“ประกอบวีรกรรมที่ไปไกลเกินกวาความกลาหาญของผูหญิง” (ฮึ่มมม) พระนางทรงนำ�พามิตรสหายหญิงใหพบความร่ำ�รวย และตอมาก็ทรง เปนกัปตันของลูกเรืออีกกลุมหนึ่ง ซึ่งคราวนี้เปนโจรสลัดชายที่หลงใหล ความงามและอุทิศตนใหความเกงกาจของพระนาง ในที่สุดอัลฟฮิลดก็ได ทรงรวบรวมกองเรือที่โจมตีเรือเดินสมุทรแถบนานน้ำ�นอกชายฝงฟนแลนด แตชวงเวลาดีๆ กำ�ลังจะสิ้นสุดลง อัลฟฮิลดไมไดพิจารณาเรื่อง หนึ่ง นั่นคือ ความดื้อดานของนักสังหารงูผูมาสูขอพระนางและถูกปฏิเสธ ไป อัลฟไมเคยตัดพระทัยจากหญิงผูบริสุทธิ์งดงามและสงบเสงี่ยมและ ติดตามพระนางไปใน “การเดินทางอันยากลำ�บากหลายครั้ง” ผานทอง ทะเลที่เปนน้ำ�แข็งและผจญการตอสูกับโจรสลัดหลายคราว ขณะเดินเรือ เลียบชายฝงของฟนแลนด วันหนึ่งเจาชายและลูกเรือบังเอิญพบกองเรือรบ ของโจรสลัด ลูกเรือของพระองคไมเห็นดวยกับการโจมตีกองเรือขนาด ใหญเชนนี้ดวยเรือเดินสมุทรเพียงไมกี่ลำ� แตอัลฟไมทรงรับฟงโดยอางวา “คงนาละอายเหลือเกิน หากมีใครไปรายงานอัลฟฮิลดวาความปรารถนา ของเจาชายที่จะเดินหนาถูกยับยั้งดวยเรือที่ขวางทางอยูไมกี่ลำ�” พูดอีกก็ ถูกอีกจริงไหมละ ขณะที่การสูรบทางทะเลดำ�เนินไปอยางดุเดือด พวกเดนสที่กำ�ลัง ถูกสังหารหมูสงสัยวา “ศัตรูของพวกตนไปไดเรือนรางอันงามระหงและ แขนขาออนชอยเชนนั้นมาจากไหน” อัลฟและบอรการ (Borgar) สหาย รวมรบของพระองคจูโจมเรือศัตรูลำ�หนึ่งแลวมุงหนาไปยังทายเรือพลาง “สังหารทุกผูที่ขัดขวาง” แตเมื่อบอรการปดหมวกหลุดจากศีรษะของโจร สลัดคนที่ใกลที่สุด อัลฟก็ทอดพระเนตรดวยความตกพระทัยวาโจรสลัด นั้นไมใชใครอื่นนอกจากอัลฟฮิลดผูเลอโฉม “สตรีที่เขาตามหาทั้งเหนือ ผืนดินและทองน้ำ�ทามกลางอันตรายนานัปการ”
21
ขณะนั้นเองอัลฟก็ตระหนัก “วาพระองคตองตอสูดวยจุมพิต มิใชดวยอาวุธ วาตองเก็บหอกอันโหดรายเสีย และรับมือกับศัตรูดวยวิธีที่ ออนโยนกวา” วิธีที่ออนโยนที่วาเหลานั้นรวมถึงการปลดเปลื้องอัลฟฮิลด จากชุดกะลาสีเหงื่อโชกแลวพาพระนางไปสูแทนบรรทมอันอบอุนของอัลฟ แลววันแหงการปลนสะดมก็จบสิ้นลง อยางนอยสำ�หรับอัลฟฮิลด ภาษาที่แซ็กโซใชบรรยายการกลับไปสูชีวิตเจาหญิงของอัลฟฮิลด นั้นสำ�คัญเปนพิเศษ เขาเขียนวาอัลฟ “ควาตัวพระนางมาอยางกระตือรือรน” “ใหพระนางเปลี่ยนจากชุดของบุรุษ” และ “จากนั้นก็ทำ�ใหพระนาง ใหกำ�เนิดธิดา” ไมมีใครรูสิ่งที่อัลฟฮิลดประสงค หรือวาทรงรูสึกอยางไร กับการละทิ้งการผจญภัยพเนจร นาจะเปนเพราะแซ็กโซไมไดสนใจจริงๆ ถอยคำ�ที่เขาเลือกใชแสดงใหเห็นชัดเจนวาอัลฟฮิลดไมมีทางเลือก หลังจาก นัน้ ประวัตศิ าสตร (หรืออยางนอยก็แซ็กโซ) ก็ไมมอี ะไรใหพ ดู ถึงพระนางอีก
กาลครั้งหนึ่งมีเจาหญิงโจรสลัดอยูองคหนึ่ง นิ ท านของแซ็ ก โซเกี่ ยวกั บ เจ า หญิ ง ผู ส งบเสงี่ ย มที่ ผั น ตนเอง ไปเปนโจรสลัดนี้อาจเปนเรื่องจริงหรือไมก็ได ถึงอยางไร เกสตา ดานอรุม ก็เปน “ประวัติศาสตร” ที่มีทั้งยักษ แมมด และมังกรควบคูไปกับวีรบุรุษ และผูปกครองที่มีตัวตนจริงอยูแลว กระนั้น ชีวิตของอัลฟฮิลดในฐานะ นักรบสตรีก็นาจะมาจากธรรมเนียมปฏิบัติจริง และไมวาจะเปนความจริง หรือไม เรื่องราวของพระนาง (และเหตุการณอื่นๆ ในเรื่องเลาเชิงประวัติศาสตรอันวิจิตรพิสดารของแซ็กโซ) ก็ถูกอางโดยนักวิชาการและนักประวัติศาสตรวาชวยใหขอมูลในการทำ�ความเขาใจวัฒนธรรมสแกนดิเนเวียยุคตน และยุคกลาง
22
แตมันสอนอะไรแกชนรุนหลัง แกเด็กๆ ที่จะไดฟงเรื่องราวนี้ขณะ นั่งลอมวงรอบกองไฟในค่ำ�คืนฤดูหนาวอันไมรูจบของสแกนดิเนเวีย บอก ไดยาก สำ�หรับนักอานสมัยใหมแลวมันนาผิดหวังที่ไดเห็นวีรกรรมอัน กลาหาญของอัลฟฮิลดถูกปราบโดยบุรุษและการแตงงาน ทำ�ไมพระนาง ถึงเปนภรรยาและแมและโจรสลัดไมไดละ แตกอนที่จะตัดสินเรื่องราวนี้ ดวยมาตรฐานของคุณคาแบบสตรีนิยมในศตวรรษที่ 21 ใหเราระลึกวา แซ็กโซบันทึกประวัติศาสตรเดนมารกฉบับของเขาสำ�หรับผูอานชาวคริสต ที่มีชีวิตอยูหลังจากชวงชีวิตของอัลฟฮิลดเปนเวลา 700 ป ในมือของแซ็กโซ ตำ�นานวีรชนของอัลฟฮิลดที่มาจากธรรมเนียม มุขปาฐะนอกรีตเกาแกหลายศตวรรษนั้นเสริมความแข็งแกรงใหบรรทัดฐานทางเพศของชาวคริสต อัลฟฮิลดเปนคนสงบเสงี่ยมเรียบรอยและ ถือพรหมจรรยแตก็ใชขวานและดาบไดอยางคลองแคลว สอดคลองกับ คติชาวบานของหญิงพรหมจรรยสวมเกราะ อัลฟตองพิชิตความดุรายของ พระนางไมทางใดก็ทางหนึ่งเพื่อใหคูควรกับพระนาง และแนนอนวา ทุกอยางคลี่คลายในตอนทาย เพราะอัลฟฮิลดละทิ้งชีวิตของ “นักรบ พเนจร” มาลงหลักปกฐานในบทบาทภรรยาและแม แซ็กโซกลาวไวอยาง ชัดเจนวาเขารูสึกอยางไรตอผูหญิงที่พกอาวุธเชนนี้ ที่จริงแลวเขาใชเวลา คร่ำ�ครวญกับเรื่องนี้มากกวาจะพรรณนาชีวิตของอัลฟฮิลดเสียอีก ดังนั้น เรื่องราวของอัลฟฮิลดจึงเปนเทพนิยายที่มีลักษณะสั่งสอน เชนเดียวกับซินเดอเรลลาหรือสโนวไวท เพียงแตมีการผจญภัยสูรบและ...งู เยอะกวาก็เทานั้นเอง
23
ผิงหยาง (Pingyang)
องค์หญิงผู้นำ�กองทัพ ราวปี 600 - 623 จีนสมัยราชวงศ์ถัง
คุณ
ไมโคนอำ�นาจฮองเตผูทุจริตดวยตัวคนเดียวหรอก ในฐานะ ลูกสาวนายพล ผิงหยาง (Pingyang) รูเรื่องนี้ดี ดังนั้นเมื่อ บิดาและพี่ชายของเธอกำ�ลังดิ้นรนตอสูกับกองทัพของพระ จักรพรรดิ เธอจึงไมไดรอดูเพื่อถูกจับในสงคราม เธอจัดตั้งและบัญชาการ กองทัพที่มีกำ�ลังพลกวา 70,000 นายดวยตนเอง ดวยความชวยเหลือ ของผิงหยาง บิดาของเธอจึงสามารถยึดบัลลังกฮองเตแลวสถาปนา ราชวงศที่ถือวาเปนยุคทองของจักรวรรดิจีน และเราไดกลาวไปแลวหรือยังวาเธอทำ�ทั้งหมดนี้เมื่ออายุยังไมถึง 20 ป 25
ลูกไมหลนไมไกลตน ผิงหยางเปนธิดาของนายพลหลี่หยวน (Li Yuan) ผูบังคับบัญชา กองทหารรักษาการในจีนศตวรรษที่ 7 ซึ่งควบคุมกองทัพขนาดใหญ หลี่หยวนไมไดตองการเปนผูนำ�กบฏเสียทีเดียว เขาเปนพระญาติหางๆ ของฮองเตองคที่ปกครองอยู แตเขาเปนคนมีอิทธิพล ทรงอำ�นาจ และ ทะเยอทะยาน และดวยเหตุนี้เองในที่สุดเขาจึงตกเปนเปาสายพระเนตร ของสมเด็จพระจักรพรรดิหยางตี้ผูหวาดระแวงแหงราชวงศสุย กระทั่งทุกวันนี้ฮองเตหยางตี้ก็ยังเปนตัวรายหนวดโงงผูยิ่งใหญ แหงประวัติศาสตรจีน พระองคสังหารพระชนกเพื่อความมั่นคงของ บัลลังก และเมื่อขึ้นครองราชยแลวก็ผลาญเงินและกองกำ�ลังทหารของ ประเทศไปกับความพยายามที่ลมเหลวในการสงทหารออกไปพิชิตดินแดน ตางชาติ พระองคยังใชเงินที่เหลือในทองพระคลังไปเปนทุนสำ�หรับ โครงการกอสรางราคาแพงเพื่อความยิ่งใหญของพระองคเอง เมื่อเงิน หมดพระองคก็ขึ้นภาษี แตไมมีใครจายได เนื่องจากหยางตี้เกณฑทุกคนที่ แข็งแรงมาเปนทหาร จนเหลือคนเพียงนอยนิดที่ยังคงเพาะปลูกและหา รายได ในระหวางป 613-14 พสกนิกรผูแบกรับภาระมากเกินไปเริ่ม กอกบฏ แรกเริ่มนั้นเปนพวกชาวนาที่อดอยาก แตไมชาการลุกฮือก็ลาม ไปสูขุนนางชั้นสูงและเจาหนาที่รัฐบาลผูฉวยโอกาส ดวยความหวาดกลัว หยางตี้เริ่มมีพระราชโองการใหขังหรือประหารชีวิตใครก็ตามที่พระองค ทรงสงสัย หยางตี้ทรงระแวดระวังหลี่หยวนมานาน ซึ่งก็สมควรอยู แนละวา การที่หลี่หยวนเปนนายพลผูทะเยอทะยานและมีกองทัพที่เขมแข็งเปน เรื่องนากังวล แตที่นากังวลกวานั้นคือ มีสมมติฐานวาหลี่หยวนมีปานรูป มังกรใตวงแขนขางซายอันเปนสัญญาณชัดเจนวาเขาถูกกำ�หนดใหเปน 26
จักรพรรดิ ความระแวงของหยางตี้ไดรับการยืนยันในป 615 เมื่อลำ�นำ�ขาง ถนนที่รองกันแพรหลายทำ�นายวาจักรพรรดิองคตอไปจะมีพระนามวาหลี่ เนื่องจากหลี่เปนนามสกุลหนึ่งซึ่งพบไดทั่วไปในจีน คำ�ทำ�นายนี้จึงอาจ หมายถึงใครก็ได แตหยางตี้คอนขางมั่นพระทัยวาพระองคทราบวาหลี่ คนไหนเปนภัยคุกคามที่สุด ในป 617 หยางตี้มีรับสั่งใหขังหลี่หยวนดวยขออางวานายพลผูนี้ ถูกจับไดขณะมีสัมพันธกับพระสนมของหยางตี้ ไมเพียงคนเดียว แตถึง สองคนดวยกัน ซึ่งเปนการกระทำ�ผิดขั้นอุกฤษฏ แตหยางตี้ถูกบีบใหยกเลิก คำ�สั่งเมื่อพระองคถูกพวกกบฏคุกคามและตองการความชวยเหลือ แนนอนวาหลี่หยวนเห็นวาลมกำ�ลังพัดไปทางไหน และตระหนักวาเขามี ทางเลือกสองทางคือ ฉวยโอกาสนี้เปนกบฏอยางเปดเผยหรือถูกบดขยี้ ทามกลางความตื่นตระหนกของพระจักรพรรดิ เขาเลือกเปนกบฏ หลี่หยวนไดรับความชวยเหลือจากเพื่อนบานชาวเติรกตะวันออก เขารวบรวมกองทัพไดมากกวา 30,000 นาย เขาสงขอความลับถึงหลี่ ซื่อหมิน (Li Shimin) ผูเปนบุตรชาย และลูกเขยชื่อฉายส้าว (Cai Shao สามีของผิงหยาง) เพื่อบอกแผนการ นั่นทำ�ใหผิงหยางและสามีตองเผชิญ สถานการณที่ลำ�บากยิ่งขึ้น ทั้งคูอาศัยอยูในราชสำ�นักของพระจักรพรรดิ ที่ฉายสาวทำ�งานเปนหัวหนาราชองครักษ ฉายสาวบอกภรรยาเกี่ยวกับ แผนการหลบหนีไปเขารวมกับกองกำ�ลังกบฏของหลี่หยวน แตเขากังวลวา เธอจะไดรบั อันตรายหลังจากทีเ่ ขาจากไปแลว ไมตอ งสงสัยเลยวามีอนั ตราย แน หยางตี้สามารถจับผิงหยางเปนตัวประกันหรือทำ�รายเธอเพื่อเอาคืน บิดาและสามีของเธอไดสบายๆ แตผิงหยางไมใชคนประเภทที่จะหมดสติ หรือคร่ำ�ครวญหรือมานั่งรอใหถูกจับโยนเขาคุกใตดิน เธอบอกสามีวาจะ ดูแลตนเอง และไมกี่วันที่เต็มไปดวยอันตรายหลังสามีออกจากพระราชวัง ไป เธอก็ทำ�อยางที่วานั้น 27
ผิงหยางหาทางกลับไปถึงบานของตระกูลในจังหวัดหู เธอพบวา ผูคนที่นั่นอดอยาก ไมเพียงแตกำ�ลังมีสงครามเทานั้น แตยังมีภัยแลง รุนแรงที่นำ�มาซึ่งภาวะขาวยากหมากแพงไปทั่ว ผิงหยางจึงเปดคลังอาหาร ใหแกฝูงชนผูหิวโหย ทำ�ใหเธอเปนที่รักของผูคนนับแตนั้น และยังทำ�ให ผูคนเปนหนี้บุญคุณเธอดวย นับเปนการเคลื่อนไหวอันชาญฉลาดสำ�หรับ สตรีซึ่งจะตองจัดตั้งกองทัพของตนในอีกไมชา
กองทัพของแมนาง เพียงไมกี่เดือนตอมากองกำ�ลังของบิดาและพี่ชายของผิงหยาง ก็เขาไปพัวพันในความขัดแยงนองเลือดกับกองทัพของพระจักรพรรดิ ผิงหยางตระหนักวาการเอาชีวิตรอดขึ้นอยูกับจำ�นวนที่มากกวา จึง ตองการเพิ่มจำ�นวนทหารดวยกองกำ�ลังของเธอ เธอเริ่มเกณฑไพรพลทหารจากประชาชนที่เธอเพิ่งชวยเหลือจาก ความอดอยาก เกณฑคนที่แข็งแรงและสามารถที่สุดมาเขารวมกองทัพ ของแมนาง จากนั้นเธอก็เหวี่ยงแหกวางกวาเดิม วากันวาเธอสั่งคนรับใช ใหพยายามหวานลอมโจรตามทางหลวงทองถิ่นและสมุนใหมาเขารวมดวย จากนั้นเธอก็สงคนรับใชคนอื่นๆ ไปแกะรอยหัวขโมยเพิ่มและขอใหมา เขารวมกับเธอเชนกัน ไมเปนที่แนชัดวาทำ�ไมโจรพวกนี้จึงตอบตกลง แต ผิงหยางไดประโยชนจากการอยูในฝายที่นาจะชนะ เธอเปนพันธมิตรกับ กลุมกบฏตางๆ ซึ่งแตกตางกันอยางสิ้นเชิงที่ใหญที่สุดและมีความสามารถ ที่ สุ ด โดยปฏิ บั ติ ก ารอยู ใ นจั ง หวั ด หู เธอยั ง หว า นล อ มพั น ธมิ ต รของ อาณาจักรใหเอาใจออกหางหยางตี้อีกดวย รวมถึงเสนาบดีใหญของ พระจักรพรรดิและนายพลที่ควบคุมกองกำ�ลังกวา 10,000 นาย ภายใน
28
ไมกี่เดือนผิงหยางก็รวบรวมกองกำ�ลังไดมากกวา 70,000 นาย ภายใตชื่อ กองทัพของแมนาง กองกำ�ลังนี้เคลื่อนผานชนบทและมุงหนาไปยึดเมืองหลวงของจังหวัดหู สัญชาตญาณอันเฉียบแหลมในการประชาสัมพันธของผิงหยาง มีประโยชนมากสำ�หรับการเปนนายพล เธอใหเหลาทหารสาบานวาจะ ไมปลนสะดมหมูบานที่ยึดได ที่นาประหลาดใจกวานั้นคือหลังจากไดรับ ชัยชนะแลว กองทหารไดแจกจายอาหารใหแกผูอยูอาศัยในดินแดนนั้น เรื่องราวเลาวาผูคนมองกองทัพของแมนางวาเปนผูปลดปลอยแทนที่จะ เปนฝูงตั๊กแตนจอมตะกละ จำ�นวนไพรพลของเธอเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ วี ร กรรมของกองทั พ ของแม น างในจั ง หวั ด หู บี บ ให ฮ อ งเต ส ง กองทหารมาจัดการกับนักรบหญิงผูกลาหาญนางนี้ เธอเอาชนะกองทัพ เหลานั้นอยางราบคาบ ชวยใหกองกำ�ลังของบิดาและพี่ชายตีกองทัพขนาด ใหญของฮองเตได ไมถึงหนึ่งปหลังจากผิงหยางหนีออกจากราชสำ�นัก มาเขารวมกับพวกกบฏ เธอกับบิดา พี่ชาย และสามีก็นำ�กองทัพมาถึง พระราชวังในเมืองตาสิงเฉิง ฮองเตไมมีโอกาสตอกร ทรงทอดพระเนตร คันฉองขณะที่ประเทศกำ�ลังลุกเปนไฟอยูโดยรอบ กลาวกันวาทรงตรัสกับ ฮองเฮาวา “ศีรษะอันงดงามเชนนี้ ใครเลาจะเปนผูตัดมัน” หยางตี้เสด็จ หนีลงใตกอนหนากองทัพที่กำ�ลังใกลเขามา ทรงทิ้งพระราชวังและราชบัลลังก สุดทายพระองคไมไดถูกบั่นพระเศียร แตถูกบรรดาที่ปรึกษาของ พระองคเองรัดพระศอในโรงอาบน้ำ�เมื่อป 618 หลี่หยวนยาตราเขามาในพระราชวังแลวปราบดาภิเษกเปนฮองเต องคใหม ทรงสถาปนาพระองคเองเปน ผูนำ�องคแรกแหงราชวงศถัง ซึ่ง จนปจจุบันก็ยังคงถือเปนยุคทองของจักรวรรดิจีน และทรงพระนามวา จักรพรรดิเกาจู หรือ “ปฐมวงศ” สิ่งแรกๆ ที่กระทำ�คือทรงอวยยศผิงหยาง
29
เปนองคหญิงและแตงตัง้ พระนางใหดำ�รงตำ�แหนงจอมพลซึง่ มีราชองครักษ และเสนาธิการของพระองคเอง ไมถึงหาปตอมาองคหญิงผิงหยางก็สิ้นพระชนม รายละเอียดยัง ไมมีผูใดทราบ ทรงมีพระชนมายุเพียง 23 พรรษา ที่เปนไปไดที่สุดคือทรง พระประชวร สิ้นพระชนมขณะมีพระประสูติการ หรือหากพิจารณาวานี่ คือจักรวรรดิจีน พระองคอาจถูกลอบปลงพระชนมก็เปนได เมื่อพระชนก ทรงวางแผนพระราชพิธีศพที่พรั่งพรอมดวยพิธีเกียรติยศทางทหารสำ�หรับ พระธิดาผูเกงกลาสามารถที่ชวยใหพระองคไดอาณาจักรนี้มา ราชสำ�นัก ทูลถามพระองควาเหตุใดจึงพระราชทานเกียรติยศเชนนี้แกสตรี หลี่หยวน ตรัสตอบวา “นางไมใชสตรีธรรมดา” ในสมัยที่ผิงหยางมีชีวิตอยูนั้น ผูหญิงจีนทุกชนชั้นไดรับการ ยกยองและมีอิสรภาพมากกวาผูหญิงในสังคมอื่นๆ ในยุคเดียวกันเล็กนอย ตัวอยางเชน พระมเหสีของฮองเตมักเปนที่ปรึกษาทางการเมืองที่ไดรับ การยอมรับจากพระสวามี แตองคหญิงผิงหยางทรงมีเอกลักษณ ในสมัย ของพระนาง สตรีอาจใชอำ�นาจบงการจากหลังมาน แตการโดดขึ้นหลังมา และนำ�กองทัพนั้นไมใชเรื่องปกติ หากพระนางยังมีพระชนมชีพอยู สักวัน หนึ่งก็คงไดเปนจักรพรรดินีดวยพระปรีชาสามารถของพระนางเอง สิ่งที่เกิดขึ้นคือพระชนกของพระนางสละราชสมบัติในป 626 เพียงสามปหลังจากที่องคหญิงผิงหยางสิ้นพระชนม พระเชษฐาของ พระนางขึ้นครองราชยทรงพระนามวาจักรพรรดิถังไทจง ถึงแมจะถูกการ กบฏและความขัดแยงในบานเมืองขัดจังหวะหลายครั้ง แตราชวงศถังก็ ถือวาเปนราชวงศจีนที่ยิ่งใหญราชวงศสุดทาย เปนยุคทองของแสนยานุภาพทางทหารและกวีนิพนธอันไพเราะงดงาม องคหญิงผิงหยางคือ เจาหญิงนักรบที่มีความรูดานการประชาสัมพันธผูชวยใหสิ่งเหลานี้เกิดขึ้น
30
ราชินีนักรบทั้งเจ็ดแห่งโลกยุคโบราณ บรรดาสตรีสวมเกราะที่ควบตะบึงมา จิบไวนจากหัวกะโหลกของ ศัตรูที่ถูกพิชิต และขี่มาที่กลาวขานกันวาพนไฟไดเหลานี้ ลวนแข็งแกรง และมุงมั่น พวกนางคือสตรีที่คุณไมอยากตอแยดวย
ฟู่ห่าว (Fu Hao) ในป 1976 นักโบราณคดีชาวจีนขุดพบหลุมพระศพในสภาพดี และไมเคยถูกปลนของฟูหาว พระมเหสีของพระจักรพรรดิอูติง (Wu Ding) แหงราชวงศซาง พระนางสิ้นพระชนมราวป 1200 กอนคริสตกาล เรื่องราวสวนใหญที่รูเกี่ยวกับพระนางฟูหาวมาจากกระดูกเสี่ยงทายที่พบในหลุมพระศพของพระนาง หมอดูไดจารึกคำ�ถามตอเทพเจา บนชิ้นสวนเหลานี้ กระดูกจะถูกใหความรอนจนแตก หมอดูจะตีความ รอยแตกเพื่อหาคำ�ตอบแลวจารึกสิ่งที่อานไดลงบนกระดูกชิ้นเดียวกันนั้น นี่นาจะเปนรูปแบบการทำ�นายที่แมนยำ�พอๆ กับการพยากรณจากปรากฏการณตามธรรมชาติ (เชน การอานเครื่องในของนก) แตมันก็ไดชวยให นักโบราณคดีสมัยใหมแลเห็นวาผูคนในยุคแรกเริ่มนั้นกังวลเรื่องอะไร คำ�ถามจำ�นวนมากเกี่ยวกับฟูหาวเปนเรื่องพื้นฐาน เชน พระประสูติการ ที่กำ�ลังจะมาถึงนั้นจะราบรื่นหรือไม หรืออาการปวดพระทนตจะหาย หรือไม (คำ�ตอบสำ�หรับทั้งสองคำ�ถามคือ นาจะไม) แตคำ�ถามอื่นๆ นั้น ไมธรรมดา แมแตสำ�หรับหนึ่งในพระชายาทั้งสามพระองคของพระ31
จักรพรรดิก็ตาม เชน พระนางจะทรงมีชัยชนะในการรบหรือไม หรือเวลา ใดเหมาะที่สุดสำ�หรับการบูชายัญครั้งหนึ่งๆ ฟูหาวมิไดเปนเพียงพระมเหสี ของอูติงเทานั้น ทวายังเปนคนทรงและผูบัญชาการกองทหารของพระองค ดวย ทรงประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่สำ�คัญตางๆ รวมถึงการบูชายัญ มนุษยและสัตว และนำ�ทัพซางไปรบชนะเผาเพื่อนบาน ฟูหาวไดรับการ ยกยองมากขนาดไหนนั้นดูไดจากความยิ่งใหญในการสงพระนางไปยัง ปรโลก พระนางถูกฝงพรอมรูปปนสำ�ริด 468 ชิ้น รวมถึงอาวุธจำ�นวนมาก หยก 755 ชิ้น และหอยเบี้ยจำ�นวนมหาศาลถึง 6,900 ชิ้น อันเปนรูปแบบ สกุลเงินที่มักฝงพรอมผูตายเพื่อใหมีใชในโลกหนา พระนางยังมีเพื่อนรวม ทางเปนมนุษยที่ถูกบูชายัญ 16 คน รวมถึงชายพรอมอาวุธหนึ่งคนและ สุนัข 6 ตัว ตัวหนึ่งถูกฝงอยูใตโลงพระศพของพระนางพอดี
อาราคิดาเมีย (Arachidamia) สตรีในสปารตาสมัยศตวรรษที่สามกอนคริสตกาลลวนเปนสาว แสบกันทั้งนั้น แตราชินีอาราคิดาเมีย มเหสีของยูดามิดาสที่ 1 (Eudamidas I) ทรงเปนผูแข็งแกรงที่สุดองคหนึ่ง ราวป 272 กอนคริสตกาล ไพรัสแหงเอพิรัส (Pyrrhus of Epirus) อัจฉริยะทางการทหารผูรวนเร ถูกหวานลอมโดยขุนนางจอมริษยาที่ชวด บัลลังกใหยกทัพไปปดลอมสปารตา กองทัพของไพรัสมีอาวุธพรอ มกวา และมีจำ�นวนมากกวาเยอะ บรรดาวุฒิสมาชิกของสปารตาจึงตัดสินใจ รวบรวมผูหญิงและเด็กแลวสงไปอยูในที่ปลอดภัยที่เมืองครีตซึ่งอยูไมไกล ออกไป พลูทารค (Plutarch) นักประวัติศาสตรคลาสสิก บันทึกไววา อาราคิดาเมียทรงไมเห็นดวยกับการตัดสินใจนี้ พระนางเสด็จเขาไปใน
32
วุฒิสภา ชูดาบและประกาศวาผูหญิงจะอยูเผชิญหนากับพวกเอพิรัสใน สปารตาเคียงขางบุรุษ แผนการปองกันสวนหนึ่งของพวกสปารตาคือการขุดสนามเพลาะ ขนานไปกับคายของไพรัส อาราคิดาเมียจัดการใหผหู ญิงและเด็กชวยขุด สนามเพลาะสำ�เร็จไปถึงหนึ่งในสาม เมื่อสงครามเริ่มขึ้น เหลาหญิงผูเจน สนามรบอยูสูรบและพยาบาลคนเจ็บ ไพรัสถูกบีบใหหนีกอนที่เสียงคำ�ราม อยางเดือดดาลของพวกสปารตาจะมาถึง (และตองกลาววาพรอมดวยการ เสริมกำ�ลังใหมจากมาซิโดเนียดวย)
โบดิกกา (Boudicca) โบดิกกาเปนภรรยาหัวหนาเผาอิเซนี (Iceni) แหงอีสตอิงแลนด เมื่อสามีของเธอยังมีชีวิตอยู พวกโรมันพยายามรักษาการยึดครองอัน หละหลวมเหนือดินแดนบริตทาเนียไวตลอดราว 40 ปที่ผานมา พวก โรมันมองวาเขาเปนพันธมิตรและปลอยดินแดนนี้ไวตามลำ�พัง แตหลังจาก เขาเสียชีวิต พวกโรมันก็พิจารณาขอตกลงนี้ใหม พวกเขายึดครองอังกฤษ ใตไดแลว แลวทำ�ไมจึงไมยึดทั้งหมดเสียเลยเลา อันดับแรก พวกโรมันพยายามอางสิทธิ์เหนือดินแดนของโบดิกกา เมื่อไมได พวกเขาก็จับเธอเปลื้องผาจนเปลือยเปลา เฆี่ยน และขมขืน ลูกสาววัยแรกรุนสองคนของเธอ ดวยความเดือดดาล โบดิกกาจัดตั้ง กองทัพอิเซนีและเผาที่เปนพันธมิตรใน ค.ศ. 60 ณ จุดรุงเรืองสูงสุดของ กองทัพซึ่งอางกันวามีนักรบทั้งชายและหญิง 120,000 นาย เธอตอ งดู นาครามเกรงทีเดียว แคสซิอัส ไดโอ (Cassius Dio) นักเขียนพงศาวดาร ชาวโรมันในสมัยศตวรรษที่สองกลาววา เธอตัวสูงอยางไมนาเชื่อ และ
33
ดูสงางามดวยผมสีแดงเปนลอนยาวถึงเอว ดวงตาคมกริบ และน้ำ�เสียง “แหบหาว” โบดิกกาเปนผูนำ�ที่โหดเหี้ยมและ “มีสติปญญายิ่งใหญกวาที่สตรี มักครอบครอง” เธอนำ�ทัพกองกำ�ลังกบฏไปตามเสนทางแหงการทำ�ลายลางผานเขตชนบท พวกเขาบดขยี้กองทหารที่เกาของโรมันและปลน สะดมเมืองหลวงที่โคลเชสเตอร (Colchester) และเมื่อไปถึงลอนดิเนียม (Londinium) ชุมชนการคาซึ่งตอมาคือลอนดอน พวกเขาก็เผามันเสียจน ราบเปนหนากลอง ตลอดชวงการกบฏมีผูเสียชีวิตหลายพันคน ในการสูรบครั้งสุดทาย โบดิกกากลาวสุนทรพจนสรางขวัญกำ�ลังใจกอนออกศึก ซึ่งนับไดวาสูสีกับพระเจาเฮนรี่ที่ 4 ที่เอจินคอรท (Agincourt) วิลเลียม วอลเลซ ในเรื่องเบรฟฮารท หรือตัวละครในเรื่องวารซิตี้ บลูส เธอเรียกระดมไพรพลจากบนรถมา ประกาศวาเหลาทวยเทพอยูขาง พวกเขา และเธอซึ่งเปนเพียงสตรีก็พรอมแลวที่จะสละชีพเพื่ออิสรภาพ “แสดงใหพวกมันเห็นวาพวกมันก็แคกระตายและหมาจิ้งจอกที่เหิมเกริม อยากปกครองสุนัขและหมาปา!” เธอปาวรอง จากนั้นกองทัพของเธอก็ถูกทำ�ลาย เปนจุดจบของความรุนแรง อันมโหฬารและการกบฏอันชอบธรรม โบดิกกาผูเหี้ยมโหดไดพักกายลง ในหลุมฝงศพหลังเสียชีวิตเพราะปวยหรือวางยาพิษตนเองเพื่อหลีกเลี่ยง การถูกจับกุม
โทมีริส (Tomyris) ราชินีโทมีริสทรงเปนผูปกครองพวกมาสซาเกไต (Massagetai) ชนเผาเรรอนในศตวรรษที่สี่ ณ บริเวณที่เปนประเทศอิหรานในปจจุบัน
34
เฮโรโดตัส (Herodotus) กลาววาชนเผานี้เปนเชื้อชาตินักรบที่ชำ�่ ชองการ ใชธนูและลูกศรและขี่มาเกง เฮโรโดตัสใหรายละเอียดที่นาสนใจไวอีก เล็กนอยวา พวกเขาใชอาวุธที่ทำ�จากทองคำ� (ซึ่งฟงดูแลวไมนาเชื่อในเชิง ปฏิบัติ) ชนเผาชายมีภรรยารวมกัน และเมื่อชายผูหนึ่งชราภาพ ญาติๆ ของเขาจะทำ�พิธีกรรมบูชายัญและกินเขา โทมีริสขึ้นเปนราชินีภายหลังการสิ้นพระชนมของพระสวามีผูเปน ราชาปกครองเผา กษัตริยไซรัสมหาราช (Cyrus the Great) ผูปกครอง พวกเปอรเชียคิดวาชวงเวลาไวทุกขนี้เปนโอกาสอันดียิ่งที่จะยึดครอง อาณาจักรของพระนาง พระองคทรงสงทูตไปยังราชสำ�นักของพระนาง โดยแสรงทำ�เปนกำ�ลังมองหาพระชายา แตโทมีริสผูหลักแหลมทราบวา นั่นไมใชสิ่งที่พระองคตองการจริงๆ หลังจากที่พระนางตรัสถามเรื่องนี้ พระเจาไซรัสก็พักเรื่องกลอุบายไวแลวเริ่มรุกราน ในตอนแรก การณตางๆ ไมไดดำ�เนินไปดวยดี สำ�หรับโทมีริส ไซรัสผูชาญฉลาดแบงกองทัพโดยทิ้งกองทหารบางสวน ไวเบื้องหลังเปนเหยื่อลอ พวกมาสซาเกไตนำ�โดยโอรสของโทมีริสเขาโจมตี คาย สังหารเหลาทหาร และดื่มเหลาไวนทั้งหมดของศัตรูอยางไมรั้งรอ จากนั้นทหารของไซรัสก็ยอนกลับมาสังหารเหลาทหารมาสซาเกไตที่ เมามายและจับโอรสของโทมีริสเปนเชลย โทมีริสยื่นคำ�ขาดแกไซรัสใหเลือกวาจะสงตัวโอรสของพระนางคืน และจากไปอยางสงบ หรือเผชิญหนากับความพิโรธของชาวมาสซาเกไต โทมีริสเขียนวา หากไซรัสทรงปฏิเสธ “ขาขอสาบานตอดวงอาทิตย ผูทรง เปนพระเจาสูงสุดของมาสซาเกไต วาทานผูกระหายเลือดจะไดลิ้มรส โลหิตของทานเอง” แนนอนวาไซรัสไมไดมีทีทาวาจะเลิกรา โทมีริสจึงรวบรวมกำ�ลัง พลจากทั่วราชอาณาจักรแลวนำ�ทัพไปตอสูกับพวกเปอรเซีย การรบครั้งนี้ 35
ดุเดือดและอำ�มหิต แตทายที่สุดแลวพวกเปอรเซียเปนฝายปราชัย รวมถึง ไซรัสดวย เมื่อพระนางพบรางของพระองคทามกลางเหลาผูวายชนม โทมีริสตัดพระเศียรของพระองคออกแลวจุมลงในเลือดตามคำ�ที่ได ประกาศไว ตำ�นานยังเลาขานดวยวาพระนางเก็บกะโหลกของพระองค ไวใชเปนจอกดื่มเหลา
ซิเคลไกตา (Sikelgaita) ในป 1058 เมื่อชาวนอรมันบุกพิชิตถึงอิตาลีตอนเหนือ เจาหญิง ซิเคลไกตาแหงแควนลอมบารดอภิเษกสมรสกับหัวหนาผูพิชิต รอเบิรต “วีเซิล” กีสการด (Robert “Weasel” Guiscard) การสมรสคอนขางเปน ธรรมเนียมปฏิบัติทั่วไป การพิชิตอาจไดมาดวยปลายดาบ แตบอยครั้ง ก็เปนปกแผนไดที่เบื้องหนาแทนบูชา แมวาซิเคลไกตาอาจกลายเปนเพียงเบี้ยตัวหนึ่งในแผนการทาง การเมืองของครอบครัวและของสามีในเวลาตอมา แตพระนางก็ไมไดเปน เชนนั้น ที่จริงแลวพระนางนาครามเกรงมากพอที่จะไดรับการกลาวขาน ถึงในอีกรอยปตอมาในงานเขียนของพระราชวงศองคหนึ่งของอาณาจักร คูแขง อันนา คอมเนนา (Anna Komnena) เจาหญิงและนักประวัติศาสตร ชาวไบแซนไทนในศตวรรษที่ 12 กลาววา ซิเคลไกตาไมเห็นดวยกับการศึก ระหวางชาวนอรมันกับชาวไบแซนไทนในป 1081 รอเบิรตยึดครอง อิตาลีตอนใตสวนใหญไดแลว รวมถึงเมืองซาเลรโน ซิเคลไกตาพยายาม หวานลอมพระองคไมใหเสี่ยงดวงกับอาณาจักรเพื่อนบานซึ่งเปนมหาอำ�นาจ แตหลังจากรอเบิรตตัดสินพระทัยไมฟงคำ�แนะนำ�ของพระนาง ซิเคลไกตาก็ตกลงพระทัยที่จะทำ�เกินหนาที่ของศรีภรรยา พระนางสวม
36
เสื้อเกราะ (“พระนางมีรูปรางนาเกรงขาม”) และเดินทัพรวมกับพระสวามี ไปยังบรินดิซี เมืองชายฝงของอิตาลี แลวขามทะเลอาเดรียติกพรอมกับ พระองคไปเผชิญหนากับพวกไบแซนไทนในดินแดนของพวกนั้น รอเบิรตและชาวนอรมันไมใชคูตอสูของพวกไบแซนไทน ทหาร ของพระองคซึ่งหวาดกลัวความตายเริ่มลาถอย ทำ�ใหซิเคลไกตากริ้วมาก พระนางจองพวกเขา “อยางดุราย” และตะโกนวา “พวกเจาจะหนีไปได ไกลแคไหนกัน หยุดนะ! ทำ�ตัวใหสมเปนชายหนอย!” (อาจไมใชดวยถอยคำ� ยิ่งใหญเชนนี้เสียทีเดียว แตก็ใกลเคียงกันในภาษาถิ่นของพระนางตามที่ คอมเนนากลาว) เรื่องราวเลาตอไปวา “ขณะที่พวกเขายังวิ่งหนีตอ พระนางควาหอกยาวเลมหนึ่งขึ้นมาและควบมาเต็มฝเทาไปยังพวกเขา ทำ�ใหคนเหลานั้นไดสติและกลับมาสูรบตอ” และพวกเขาก็ชนะ อยางนอยก็ในระยะสั้นๆ สองปตอมารอเบิรต ถูกบีบใหกลับอิตาลีและปกปองพระสันตะปาปาผูเปนพันธมิตรจาก จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จอมละโมบ แตสองปหลังจากนั้นซิเคลไกตา กลับไปยังไบแซนไทนพรอมพระสวามี ทรงพรอมแลวที่จะระดมไพรพล คราวนี้ถอยคำ�ปลุกใจของพระนางไมเพียงพอ และที่รายไปกวานั้นคือ พระสวามีของพระนางสิ้นพระชนมดวยพิษไขในระหวางเตรียมการ หวนคืน พวกนอรมันไมเคยไดดินแดนที่เสียใหแกพวกไบแซนไทนกลับคืน มา ขณะที่รอเบิรตทรงนอนรอความตายในป 1085 ซิเคลไกตาทรง กระทำ�การอันหาวหาญอีกครั้ง คราวนี้ในลักษณะที่นากังขากวา สันนิษฐานกันวาพระนางวางยาพิษโอรสของรอเบิรตที่เกิดกับพระชายาองคแรก เพื่อกรุยทางใหโอรสของพระนางไดครองบัลลังก พระสวามีที่กำ�ลังจะ สิ้นพระชนมเกิดลวงรูแผนการของพระนางเขา และพระนางถูกบังคับ
37
ใหถวายยาถอนพิษ (สันนิษฐานวาตอนนั้นพระนางวางยาพิษรอเบิรตเพื่อ ใหพระองคสิ้นพระชนมเร็วขึ้นดวย) ซิเคลไกตาตกลงกันไดกับโอรสองคโตของรอเบิรตและโอรสของ พระนางก็ไดรับการยินยอมใหเปนดยุค พระนางใชเวลาที่เหลือในตำ�แหนง ดัชเชสอันทรงอำ�นาจจนกระทั่งวาระสุดทายของชีวิตในป 1090
ราชินีทุรคาวาตี (Durgavati) การที่ราชินีทุรคาวาตีตานทานพวกโมกุลที่มาพิชิตดินแดนของ พระนางนั้นเปนเรื่องนาประทับใจพออยูแลว แตยิ่งนาประทับใจเขาไปอีก เมื่อทรงกระทำ�โดยมีธนูปกคาพระเนตรอยู พระนางประสูติเมื่อป 1524 บริเวณตอนกลางทางเหนือของ อินเดียในปจจุบัน ทุรคาวาตีเปน ผูสืบสายโลหิตของกษัตริยราชวงศ จันเทละ (Chandela) ที่ปกครองมากวา 300 ป การอภิเษกสมรสของ พระนางกับอาณาจักรคนธวนา (Gondwana) ไดรวมสองราชวงศที่เปน เอกเทศนี้ใหเปนหนึ่งเดียวกัน เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนมในป 1545 โอรส ของทุรคาวาตีซึ่งยังเปนทารกนั้นเยาววัยเกินกวาจะครองราชย พระนาง จึงขึ้นเปนผูสำ�เร็จราชการเชนเดียวกับราชินีหลายพระองคกอนหนาและ นับจากนั้น เปนเวลาสองทศวรรษที่การครองราชยของทุรคาวาตีโดดเดน ทั้งดานความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและการที่พระนางสามารถตานทานรัฐ มัลวะและรัฐเบงกอลเพื่อนบานที่ขูวาจะรุกรานเอาไวไดอยางกลาหาญ แตในป 1564 ทุรคาวาตีตองเผชิญหนากับศัตรูที่ยิ่งใหญและ ไรความปรานีกวา นั่นคือ พระเจาอักบาร (Akbar) แหงราชวงศโมกุล ผูตองการรวมดินแดนคนธวนาเขามาในอาณาจักรของพระองค ในตอน
38
แรก พระเจาอักบารสงสาสนมาวาหากทุรคาวาตียินยอมเปนเมืองขึ้นและ สงเครื่องบรรณาการให พระองคก็จะไมแตะตองอาณาจักรของพระนาง ทุรคาวาตีปฏิเสธ ทรงประกาศวาการตายอยางมีอิสรภาพดีกวาอยูเปน ทาสของกษัตริยตางแดนพระองคนี้ อักบารจึงสงกองทัพมาดวยหวังผล ประการหลังหรือไมก็เรงใหเกิดผลประการแรก ทุรคาวาตีทรงโตตอบดวยกองทัพที่พระนางทรงนำ�ทัพเองดวยธนู และลูกศร หลังจากความสูญเสียอยางหนักหลายครั้งและพระโอรสไดรับ บาดเจ็บ ทุกอยางก็ดูสิ้นหวัง และราวกับวาเทานั้นยังไมพอ ทุรคาวาตีถูก ลูกธนูปกเขาที่พระเนตร ดวยความแกรงกลาและถูกโหมดวยเชื้อไฟแหง สงคราม พระนางทรงหักกานธนูแลวสูรบตอ ทุรคาวาตีโดนยิงอีกครั้งเขา ที่พระศอ พระนางเกรงวาจะถูกจับกุมจึงสั่งใหพลชางสังหารพระนางเสีย เขาปฏิเสธ พระนางจึงควากริชของเขามาปลิดชีพพระองคเอง สงครามครั้งนั้นปราชัย เชนเดียวกับอาณาจักรของพระนาง
อามินาแหงซาเรีย (Amina of Zaria) อามินาแหงซาเรียเปนพระธิดาองคโตสุดของราชินีผูปกครอง ทรง เปนนักขี่มาและนักธนูผูเกงกาจที่สุดของเฮาซาแลนดในศตวรรษที่สิบหก ดินแดนอันอุดมสมบูรณระหวางทะเลสาบชาดและแมนำ�้ ไนเจอรซึ่ง ปจจุบันนี้คือภาคกลางตอนเหนือของไนจีเรีย ในตำ�นานไดบรรยายวา เจาหญิง “สนเทาสีชมพู” พระองคนี้ปกปองแผนดินจากการรุกรานของชาว แอฟริกันเผาอื่นๆ ที่เพิ่งเขารีตศาสนาอิสลามกอนหนานั้นไมนาน อามินาทรงเปนนักธนูมือฉมังที่จับเปาไดแมจะอยูบนเนินเขาที่ ไกลที่สุด ทรงมานามวา อสูร (Demon) ที่กลาวกันวาพนไฟได อามินา
39
พรอมกองทัพชายหญิงกวา 20,000 นายยึดดินแดนคืนมาไดและยังเลยไป ยึดครองดินแดนไกลถึงตนสายของแมน้ำ�ไนเจอร พระนางสรางปอม ปราการหลายชุดเพื่อปกปองแควน ซึ่งซากปรักหักพังของมันยังหลงเหลือ มาจนถึงทุกวันนี้ พระนางทรงมีคูรักในแตละหมูบานที่พิชิตได แลวทิ้งเขา เมื่อเคลื่อนพลสูเมืองถัดไป เมื่อไมไดทำ�ศึกสงครามหรือมีคูรัก อามินาสรางเสนทางคาขาย ผานทะเลทรายซาฮารา พระนางปกครองในฐานะราชินีนาน 34 ป และ ยังเปนที่จดจำ�ในทุกวันนี้ตามโรงเรียนและสถาบันตางๆ ของไนจีเรียที่ ใชชื่อตามพระนาง
40
โอลกาแห่งเคียฟ (Olga of Kiev)
เจ้าหญิงผู้สังหารจนได้เป็นนักบุญ ราวปี 890 - 969 เคียแวน รัส (ยูเครนในปัจจุบัน)
เจา
หญิงโอลกาแหงเคียฟทรงสมรสกับชายผูละโมบ ทั้งละโมบ แถมยังดูไมคอยฉลาดนักเสียดวย ชายผูนั้นชื่ออิกอร (Igor) และเปน ผูปกครองที่ไมเปนที่นิยมแหงเคียแวน รัส (Kievan Rus) อาณาจักรรัสเซียเดิมในศตวรรษที่ 10 ซึ่งไดชื่อนี้มาจากเมืองหลวง เคียฟ พสกนิกรของอิกอรไมพอใจที่เขาทำ�ศึกสงครามกับเผาเดเรฟเลียน (Derevlian) อาณาจักรสลาฟทางตะวันตก จนทำ�ใหทรัพยากรรอยหรอ ลงในเวลาตอมา และหากอิกอรไมเปนที่นิยมในหมูประชาชนของพระองค เองแลว ลองจินตนาการดูวาพวกเดเรฟเลียนจะรูสึกกับพระองคเชนไร 41
โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากพระองคปราบปรามพวกเขาอยางทารุณและ บังคับใหพวกเขาจายบรรณาการรายป ไมใชเพียงครั้งเดียวตามธรรมเนียม (และตามความหมายของคำ�วารายป) แตถึงสองครั้ง ในป 945 อิกอรทรงเรียกรองจากพวกเดเรฟเลียนมากขึ้นอีก ทั้ง เงิน ขนสัตว และน้ำ�ผึ้งเปนปริมาณมากกวาเดิม เจาชายมาล (Mal) ผูนำ� ชาวเดเรฟเลียน ทรงเตือนเหลาพระสหายวา “ถาหมาปาเขามาในหมูฝูง แกะ มันจะฆาแกะทั้งฝูงไปทีละตัว จนกวาตัวมันเองจะถูกฆา ฉะนั้น ถา เราไมฆาเขาเสียตั้งแตตอนนี้ เขาจะทำ�ลายพวกเราทั้งหมด” พวกเขาจึง ฆาอิกอรอยางนาสยดสยอง พวกเขาจับพระองคมัดไวระหวางตนไม สองตนแลวฉีกตัวใหขาดเปนสองซีก การสิ้นพระชนมของอิกอรทำ�ให โอลกาตกพุมมาย พระโอรสวัยสามพรรษานามวาเสวียโทสลาฟ (Sviatoslav) สูงแคเอื้อมถึงบัลลังกเทานั้น อยาวาแตจะขึ้นนั่งบนนั้น จากนั้นชาวเดเรฟเลียนก็กลับกลายเปนฝายละโมบเสียเอง การ ประหารชีวิตทรราชทำ�ใหพวกเขาอาจหาญขึ้น และคิดวา “เห็นไหม เราฆา เจาชายแหงรัสเซียเชียวนะ จับตัวเจาหญิงโอลกาพระชายามาถวายเจาชาย มาลกันเถอะ จากนั้นก็ยึดตัวเสวียโทสลาฟมาเปนสมบัติของเราเสีย แลวใช เขาตามความประสงคของเรา” มันเปนแผนการที่ดีและอาจจะไดผล เวนแตวาพวกเขาไมได พิจารณาไปอยางหนึ่ง นั่นคือ โอลกา
ลางแคนดวยเลือด เรื่องราวของเจาหญิงโอลกาเกี่ยวกับการรับมือกับปญหาพวก เดเรฟเลียนปรากฏอยูในนิทานแหงปที่ลวงผาน (The Tales of Bygone
42
Years) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “พงศาวดารปฐมบทรัสเซีย” ซึ่งไดรวบรวม ตำ�นานและเรื่องราวตั้งแตการสถาปนารัฐรัสเซียเดิม เรื่องราวมีอยูวา หลังจากพวกเดเรฟเลียนสังหารพระสวามีของพระนางแลวสง บุคคลระดับสูง 20 คนไปเจรจากับโอลกา พระนางก็ตอนรับขับสูพวกเขา เปนอยางดีแลวตรัสถามวาพวกเขามาทำ�ไม คำ�ตอบคือ เมื่อพระสวามีของ พระนางสิ้นพระชนมแลว ทรงคิดอยางไรเรื่องการสมรสกับเจาชายมาล โอลกาทรงวาไปตามเหตุผล “เราพอใจขอเสนอของพวกทาน แนนอนวา สวามีของเราไมอาจฟนคืนจากความตายได” พระนางตรัสตอบ จากนั้น ก็ทรงขอใหพวกเขากลับมาในวันรุงขึ้นเพื่อพระนางจะไดใหเกียรติตอนรับ พวกเขาทีร่ าชสำ�นัก คืนนัน้ โอลกามีรบั สัง่ ใหข ดุ หลุมขนาดใหญหนา ปราสาท เมื่อพวกทูตมาถึงก็รวงลงไปในหลุมนั้นและถูกฝงทั้งเปน กอนที่คนของ พระนางจะตักดินกลบ เจาหญิงโอลกาชะโงกไปตรัสถามวาการใหเกียรติ เชนนี้ถูกใจพวกเขาหรือไม แตพระนางยังไมเสร็จธุระเพียงเทานี้ จากนั้นพระนางสงสาสนไปถึงพวกเดเรฟเลียนขอใหเหลาขุนนาง และบุคคลสำ�คัญสูงสุดมาที่ราชสำ�นักและพาพระนางไปยังอาณาจักรของ พวกเขาเพื่อที่พระนางจะไดพบกับเจาชาย พระนางเตือนวาหากพวกเขา ไมใหเกียรติเชนนี้ พสกนิกรจะไมยอมใหพระนางไป ชาวเดเรฟเลียนที่เสียรู ยอมทำ�ตาม โอลกาตอนรับขุนนางชั้นสูงเหลานั้นอยางเมตตาอารี ทรง นำ�พวกเขาไปยังโรงอาบน้ำ�เพื่อชำ�ระรางกายหลังการเดินทางอันยาวนาน เมื่อราชอาคันตุกะเขาไปขางในแลว พระนางก็มีรับสั่งใหลงกลอนประตู และเผาอาคารนั้น หมดยกที่สอง ดูเหมือนวาไมมีใครบอกพวกเดเรฟเลียนวาทุกคนที่ถูกสงไปนั้น ถูกฆา พวกเขาจึงไมเอะใจเมื่อโอลกาสงสาสนมาอีก ครั้งนี้บอกวาพระนาง จะเสด็จมาและสั่งใหพวกเดเรฟเลียน “เตรียมเหลาน้ำ�ผึ้งหมักไวมากๆ” ในเมืองที่ฝงรางพระสวามีของพระนางไว เพื่อใหพระนางได “คร่ำ�ครวญ 43
เหนือหลุมพระศพและจัดพิธีศพใหพระองค” พระนางเสด็จมาถึงพรอม ทหารติดตามกองเล็กๆ เมื่อพวกเดเรฟเลียนถามถึงเหลาชนชั้นสูงและ บุคคลสำ�คัญทั้งหลาย พระนางทรงปดวาพวกเขากำ�ลังเดินทางมา ใน ระหวางนั้น พระนางแนะใหพวกเดเรฟเลียนดื่มกินสังสรรค พวกเขาก็ ทำ�ตามดวยความเพลิดเพลินใจ เมื่อเมาไดที่แลว โอลกาก็ออกคำ�สั่ง ทหาร ของพระนางโจมตีชาวเดเรฟเลียนที่เมามายและสังหารคนไป 5,000 คน แตพระนางยังไมจบ โอลกาเสด็จกลับเคียฟและเตรียม “กองทัพขนาดใหญอันหาวหาญ” เพื่อโจมตีพวกเดเรฟเลียนที่ยังรอดชีวิต ทหารของพระนางทำ�ลาย ลางเขตชนบทเสียราบคาบ ภายหลังจากที่เมืองตางๆ ของพวกเดเรฟเลียน พายแพตอเหลาทหารกระหายเลือดของพระนาง ฝายผูถ ูกพิชิตก็ถอยรน ไปเบื้องหลังกำ�แพงเมืองหลวงอิสโครอสเทน (Izkorosten) โอลกาและ กองทัพของพระนางพยายามใชกำ�ลังยึดเมืองนี้เปนเวลาหนึ่งปแตไมสำ�เร็จ ทายที่สุดพระนางก็คิดแผนการอีกแผนหนึ่งขึ้นมา โอลกาทรงสงสาสนไปยังประชาชนผูถูกลอม ถามวา “ทำ�ไมพวก ทานยังคงยืนกรานที่จะตานทานอยูอีกเลา เมืองตางๆ ของพวกทานยอม แพเราหมดแลวและยอมสงเครื่องบรรณาการ บัดนี้ราษฎรตางก็เพาะปลูก กันอยางสงบสุข แตพวกทานกลับเลือกที่จะตาย แทนที่จะยอมสงเครื่อง บรรณาการ” ชาวเดเรฟเลียนตอบวาพวกเขายินดีถวายเครื่องบรรณาการ แดพระนาง แตรูดีวาพระนางยังคงแนวแนกับการแกแคน ไมใช โอลกาทรงตอบ “เนื่องจากขาไดลางแคนใหแกเคราะหราย ของพระสวามีไปแลวถึงสองครั้งในโอกาสที่ผูสงสาสนของพวกทานมา เยือนเคียฟ และครั้งที่สามเมื่อขาจัดพิธีศพใหพระองค ขาไมตองการ ลางแคนมากไปกวานี้แตรอนใจที่จะไดรับบรรณาการเล็กๆ นอยๆ หลังจากสงบศึกกับพวกทานแลวขาจะกลับบาน” พระนางทรงเรียกรอง 44
เครื่องบรรณาการเล็กนอยจริงคือนกกระจอกสามตัวและนกเขาสามตัว จากชาวเมืองแตละคน ผูคนสงมอบนกดวยความดีใจจากนั้นก็ยินดีปรีดา แตโอลกาก็ยังไมจบ ตกค่ำ�โอลกามีรับสั่งใหทหารพันผาชุบกำ�มะถันที่เทานกแตละตัว เมื่อถูกปลอย ผูวางเพลิงติดปกเหลานี้ก็บินกลับบานและทำ�ใหบานทุกหลัง ติดไฟ พระนางมีรับสั่งใหทหารฆาหรือจับตัวทุกคนที่หนีออกมา มาตอนนี้โอลกาถึงไดจบงาน
นักบุญนอกรีต นิทานแหงปที่ลวงผานเขียนขึ้นหลังจากโอลกาสิ้นพระชนมแลว หลายศตวรรษ และไมชัดเจนวาเรื่องราวเกี่ยวกับการลางแคนอันนองเลือด ของพระนางเปนขอเท็จจริงหรือไม เรื่องราวของพระนางสะทอนตำ�นาน ของพวกไวกิ้งหลายเรื่องซึ่งดูเหมือนจะหลงใหลการลางแคนอันนาสยดสยองของแมมายผูโกรธเกรี้ยวเปนพิเศษ ยิ่งไปกวานั้น โอลกานาจะเปน พระชนนีวัยกลางคนพระชนมายุ 55 พรรษาขณะเสด็จออกรบ แหลงขอมูล อื่นๆ สอดคลองกับเรื่องราวนี้บางสวน โดยเฉพาะสวนการฆาตกรรมอิกอร อยางนาสยดสยอง ตามมาดวยการแกแคนดวยกำ�ลังทหารอันนาขนลุก ขนพองไมแพกัน แตโอลกามีตัวตนอยูจริง ทวาเรารูเกี่ยวกับชีวิตของพระนางกอน เหตุการณแกแคนในเรื่องนอยมาก ที่แนชัดคือพระนางทรงเปนสมาชิก ราชวงศริวริคิด (Rurikids) จากการสมรส ราชวงศนี้สถาปนาขึ้นเมื่อป 862 โดยริวริค (Rurik) ขุนศึกชาวไวกิ้ง และปกครองเคียแวน รัสจนกระทั่ง ศตวรรษ 1500 ตอนที่โอลกาขึ้นมามีอำ�นาจ เคียแวน รัสยังเปนเพียง
45
สหพันธรัฐอยางหลวมๆ ของพวกไวกิ้ง สลาฟ และเผานอกรีตอื่นๆ หลังจากแกแคนสำ�เร็จแลว พระนางทรงดำ�รงตำ�แหนงผูสำ�เร็จราชการแทน พระโอรสดวยความสามารถและความแข็งแกรงเปนเวลาอยางนอยสอง ทศวรรษ ทรงเปน ผูปกครองชาวเคียฟคนแรกที่นำ�เงินตรามาใช และ นวัตกรรมในการบริหารของพระนางทำ�ใหชาติเปนหนึ่งเดียวกันยิ่งขึ้น โดย มีคณะทูตและเอกอัครราชทูตอยูทั่วยุโรปและแถบเมดิเตอรเรเนียน พระนางยังทรงเปน ผูปกครองพระองคแรกของราชวงศที่เขารีต มานับถือศาสนาคริสตนิกายออรทอด็อกสตะวันออกซึ่งชวยเปดโอกาส ใหมทางการคาและการทูตกับอาณาจักรไบแซนไทน โมราเวีย และ บัลแกเรียซึ่งเปนดินแดนเพื่อนบานที่นับถือศาสนาคริสต การเขาพิธีรับศีล ลางบาปที่เมืองคอนสแตนติโนเปลในป 954/55 เปนอีกตัวอยางหนึ่งอัน เปนตำ�นานของความฉลาดแกมโกงของพระนาง เรื่องราวมีอยูวาพระเจา คอนสแตนตินที่ 7 (Constantin VII) ทรงหลงรักพระนางจนขอสมรสดวย แตโอลกาตองการเพียงคาขายกับไบแซนไทนเทานั้น ไมใชใหคอนสแตนติน มีขออางในการปกครองเคียแวน รัส พระนางทรงชี้วาการสมรสนั้นเปนไป ไมไดเนื่องจากพระนางไมใชชาวคริสต แตหากพระองคทรงเปนผูทำ�พิธี ศีลลางใหดวยพระองคเอง พระนางก็อาจพิจารณาใหม พิธีถูกจัดขึ้น หลัง จากนั้น เมื่อคอนสแตนตินทรงถามซ้ำ�อีกครั้ง โอลกาตรัสตอบวา “ทานจะ สมรสกับขาฯ ไดอยางไรหลังจากที่ทานโปรดศีลใหขาฯ และเรียกขาฯ วา ธิดา สำ�หรับชาวคริสตแลวมันไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งทานเองก็ทราบดี” การเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสตทำ�ใหโอลกาทรงกลายเปน ชนกลุมนอยทางศาสนาในประเทศของพระนาง และทายที่สุดก็ทำ�ให พระนางเปนนักบุญ แมวาความพยายามที่จะสถาปนาศาสนจักรออรทอด็อกสใหเปนศาสนาประจำ�อาณาจักรเคียแวน รัสจะไมสัมฤทธิ์ผลใน
46
ชั่วชีวิตของพระนาง พระนางก็ยังทรงไดรับยกยองวาเปนยาแหงศาสนจักร นี้ในรัสเซียและยูเครน เรื่องราวการลางแคนอันโหดเหี้ยมของโอลกาหยั่งรากอยูในอดีต นอกรีตของพระนาง หลายปหลังจากสิ้นพระชนม พระนางไดรับยกยอง จากผูจงรักภักดีวาทรงมีศรัทธาอันแกกลา ตอมา ผูเขียนชีวประวัติของ ศาสนจักรอางวา “แมพระวรกายของพระนางจะเปนสตรี แตพระนางมี ความกลาหาญเฉกเชนบุรุษ” และมอบ “คำ�ชม” วาพระนาง “ทรงเปลง ประกายทามกลางเหลาคนนอกรีตเหมือนไขมุกในกองมูลสัตว” การ อำ�พรางประวัติของพระนางประสบความสำ�เร็จ ทุกวันนี้ชาวยูเครน จดจำ�พระนางในฐานะนักบุญโอลกา ในป 1977 ไดมีการจัดตั้งคณะ สงฆออรทอด็อกซตะวันออก ในชื่อคณะเจาหญิงโอลกา (Order of Princess Olga) เพื่ออุทิศแดนักบุญผูกระหายเลือดแหงเคียแวน รัส
47
คูทูลุน
(Khutulun)
เจ้าหญิงผู้เป็นเจ้าสังเวียนมวยปลํ้า ราว ค.ศ. 1260 - 1306 เอเชียกลาง
พระ
ชนกและพระชนนีของเจาหญิงคูทูลุนกำ�ลังรอนพระทัย ไมใชเพียงเพราะพระธิดาตัวนอยติดจะหาว ผูหญิงสวน ใหญในเผามองโกลยุคศตวรรษที่ 13 เลนอะไรโหดๆ ได แตสิ่งที่นากังวลคือคูทูลุนพระชนมายุยาง 20 พรรษา ใกลจะเปนสาว ทึนทึกอยูรอมรอแลว และยังไมไดแตงงาน พระนางปฏิเสธที่จะแตงงาน กับใครก็ตามที่ไมสามารถเอาชนะพระนางในกีฬาโปรด ซึ่งก็คือมวยปล้ำ� และจนปานนี้ก็ยังไมมีใครทำ�ได ซ้ำ�รายยังมีขาวลือนารังเกียจถึงสาเหตุที่ พระนางยังคงเปนโสดซึ่งเริ่มทำ�ใหชื่อเสียงของพระชนกดางพรอยอีกดวย 49
เจาชายผูกลาหาญและมีคุณสมบัติครบถวนรายหนึ่งเสนอตัว รับคำ�ทาของคูทูลุน พระองคทรงมั่นใจจนถึงกับวางมา 1,000 ตัวเปน เดิมพัน บุพการีผูวิตกกังวลกดดันคูทูลุนใหยอมใหเขาชนะ แตพระนางจะ ยอมลมตัวลงสูพื้นสังเวียนหรือไม แมเพื่อประโยชนของอาณาจักร
ไดเวลาลุย คูทูลุนมีการตอสูอยูในสายเลือด พระนางประสูติเมื่อราวป 1260 เปนธิดาคนโปรดของไคดู ขาน (Qaidu Khan) ผูครองแควนอันแข็งแกรง ในเอเชียกลาง พระนางเปนหลานอาของกุบไล ขาน (Khubilai Khan) เปนลูกของเหลนของเจงกิส ขาน (Genghis Khan) และเปนเด็กสาว คนเดียวในครอบครัวที่มีโอรส 14 องค ไมนาแปลกที่พระนางจะเลนกีฬา มวยปล้ำ� แตพระนางเกงเสียจนไมมีชายคนใดในอาณาจักรนี้ที่เอาชนะ พระนางไดอยางนั้นเลยเชียวหรือ นั่นละคือปญหา นั ก พงศาวดารบางคนบรรยายถึ ง คู ทู ลุ นว า เป น หญิ ง สาวที่ “งดงาม” แมอาจเปนการเสริมแตงตามใจผูบันทึกอยูบาง พระนางทรง มีกระดูกใหญ ไหลกวาง เรียนขี่มาและยิงธนูตั้งแตอายุยังนอย ในเผา มองโกล ทั้งชายและหญิงเรียนการปกปองฝูงแกะ และธนูคืออาวุธที่วิเศษ สำ�หรับเด็กและสตรีเพราะตองใชความแมนยำ�มากกวาความแข็งแกรง ในการใชงาน กระนั้น คูทูลุนก็ไมเหมือนเด็กสาวมองโกลทั่วไป พระนาง ไดเรียนมวยปล้ำ�ดวย พระนางทรงพิสูจนใหเห็นวามีความเชี่ยวชาญเปน เลิศในทักษะเหลานี้ทุกประการ ซึ่งทำ�ใหพระนางทรงเปนที่รักใครเอ็นดู ของพระชนก เมื่อโตขึ้น พระชนกก็ไดพึ่งความแข็งแกรง การสนับสนุน คำ�แนะนำ� และความสามารถในการรบของพระนางดวย
50
ทักษะความสามารถของคูทูลุนโดดเดนพอที่จะดึงดูดความสนใจ ของคนนอกอยางมารโค โปโล (Marco Polo) พอคาเรชาวเวนิซซึ่งบันทึก การเดินทางของเขาทำ�ใหชาวตะวันตกหลงใหลโลกตะวันออก แตตาม ธรรมเนียมของชาวมองโกลแลว พระนางไมไดผิดธรรมดาถึงขนาดนั้น นอกจากฝมือการยิงธนูแลว สตรีในราชวงศชาวมองโกลยังนำ�กองทัพ ขี่มา และปกครองอาณาเขตอันไพศาล เจงกิส ขานมองวาพระธิดาของพระองค เปนนักปกครองที่ดีกวาเมื่อเทียบกับพระโอรส พระองคตบรางวัลพวกนาง เปนอาณาจักรซึ่งพวกนางคอยปกปองทุกวิถีทาง (บอยครั้งจากพระเชษฐา และพระอนุชาของพวกนางเอง) เห็นไดชัดวาคูทูลุนเปนผูสืบทอดโครโมโซมความแข็งแกรงในการ สูรบของชาวมองโกล พระนางนาสะพรึงกลัวขณะอยูเคียงขางพระชนก ในสนามรบ ซึ่งมีบอยครั้งเพราะไคดูทรงทำ�สงครามกับกองทัพของ กุบไลขานอยางไมหยุดหยอน มารโค โปโลรายงานวาเมื่อถึงชั่วขณะที่ เหมาะ พระนางจะ “กระโจนเขาใสกองทัพของศัตรู และควาใครคนหนึ่ง อยางคลองแคลวเหมือนเหยี่ยวโผลงจับนก แลวพาเขากลับไปหาบิดา” เรื่องราวตางๆ เกี่ยวกับความกลาหาญในสนามรบของคูทูลุน ไดรับการสงตอไปยังบรรดานักพงศาวดารยุคนั้นในฐานะนิทานอันนา ตื่นตกใจและเยายวนเกี่ยวกับชาวมองโกลผูกระหายสงคราม แตในบรรดา เผาดวยกันเองแลว ความสามารถดานมวยปล้ำ�ของคูทูลุนตางหากที่ ทำ�ใหพระนางเปนตำ�นาน ไมมีใครปราบพระนางได ชาวมองโกลมักวาง มาเปนเดิมพันในการแขงมวยปล้ำ� และมีรายงานวาพระนางรวบรวมมา ไดกวา 10,000 ตัวจากการชนะรวด มารโค โปโลบันทึกวาคูทูลุนเปน “นางยักษ” อยางแทจริงผูปฏิเสธการแตงงานนอกเสียจากวาที่เจาบาวจะ แขงมวยปล้ำ�ชนะพระนางได
51
คูแขงที่สมนํ้าสมเนื้อ เมื่อถึงป 1280 ศัตรูของราชวงศของคูทูลุนคาดการณวาสาเหตุ ที่พระนางปฏิเสธการแตงงานคือ พระนางไมเพียงเปนลูกคนโปรดของ พระชนกเทานั้น แตยังเปนคนรักของพระองคอีกดวย จากนั้นเจาชายหนุม ผูมีคุณสมบัติเหมาะสม (พรอมเดิมพันมา 1,000 ตัว) ก็มาลองเสี่ยงดวง เจาชายคอนขางเขาตา ตามที่มารโค โปโลกลาววาเปน “ชายหนุมสูงศักดิ์ ผูกลาหาญ โอรสแหงกษัตริยผูร่ำ�รวยและทรงอำ�นาจ ชายผูสามารถและ หาวหาญ มีรางกายเต็มไปดวยพละกำ�ลัง” ยิ่งไปกวานั้นยัง “หลอเหลา ไมเกรงกลัว และแข็งแกรงทุกดาน” พระชนกและพระชนนีของคูทูลุนทรง เล็งเห็นทางออกจากสถานการณอันนาอึดอัดคับของใจนี้จึงกดดันพระนาง ใหลมเกม ตอนแรกดูเหมือนวาพระนางจะทำ�เชนนั้น มารโค โปโล นักทองเที่ยวคนโปรดของแวดวงประวัติศาสตร เปนพยานเหตุการณนี้และ ยืนยันวา “ทั้งสองคนควาแขนและกอดปล้ำ�กันทางนั้นทีทางนี้ที แตนาน เขาก็ไมมีฝายหนึ่งฝายใดเอาชนะอีกฝายได” แตการแขงขันจบลงเมื่อ คูทูลุนทุมฝายตรงขาม “อยางหาวหาญลงบนพื้นพระราชวัง...และเมื่อ พระองคพบวาตนถูกทุมลงเชนนั้น และพระนางทรงยืนค้ำ�พระองคอยู ก็ทรงอับอายและกระอักกระอวนพระทัยเปนอยางมาก” บัดนี้คูทูลุน ไมมีเจาชาย และมีมาอีกหนึ่งพันตัวใหเลี้ยง ทายที่สุดแลว คูทูลุนก็แตงงาน และนาจะยังความโลงพระทัยแก บุพการีอยางยิ่ง แตพระนางไมไดแตงงานกับชายที่เอาชนะพระนางบน สังเวียนมวยปล้ำ� มีเสียงลือเสียงเลาอางวาเปนเพราะรักแท เราแทบไมรู เกี่ยวกับชายผูชนะใจพระนางได รูแตเพียงวาพระนางเลือกเขาดวยความ เต็มใจ แตกระทั่งการแตงงานก็ไมอาจปราบพระนางจนอยูมือได พระนาง 52
ยังออกไปรบเคียงขางพระชนก รุกคืบเขาไปในมองโกเลียและจีนในการศึก อันแสนสาหัส เมื่อไคดูสิ้นพระชนมเพราะบาดแผลจากสงครามในป 1301 มีเสียงพูดคุยกันใหคูทูลุนขึ้นดำ�รงตำ�แหนงขานตอจากพระองค ความคิดนี้ไมไดรับการยอมรับจากคนอื่นๆ ในครอบครัว โดย เฉพาะอยางยิ่งพวกพระเชษฐาและพระอนุชา “สนใจกรรไกรกับเข็มเย็บผา ของเธอไปเถอะ!” พีน่ อ งคนหนึง่ กลาวตามคำ�บอกเลาของนักประวัตศิ าสตร ชาวเปอรเซียในยุคนั้น สิ่งที่เกิดขึ้นกับพระนางตอไปนั้นไมชัดเจน ผูใสราย พระนางอางวาหลายปหลังจากที่พระชนกสิ้นพระชนม พระนางได “ปลุกปนมวลชนใหกอกบฏ” เพื่อสนับสนุนการชิงตำ�แหนงขานของพระเชษฐา พระนางสิ้นพระชนมในป 1306 จากการถูกสังหารในสนามรบหรือไมก็ ถูกลอบฆาโดยพี่นองที่เปนอริกัน การสิ้นพระชนมของคูทูลุนบงบอกความเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญ ในมองโกเลียและอาณาจักรที่เจงกิส ขานสรางขึ้นมา พระนางเปนผูนำ� สตรีนักรบคนสุดทายของเผาตางๆ ทฤษฎีหนึ่งกลาววาเมื่อสตรีเริ่มมี บทบาทในการเปนผูนำ�นอยลง การปกครองจักรวรรดิก็ถูกปลอยใหเปน ของบุรุษผูเกียจครานมากขึ้น ผลก็คืออาณาจักรมองโกลไมมีการพัฒนา และเสื่อมถอย ก็อาจเปนไปได ตำ�นานของคูทูลุนอาจถูกลืมเลือนไปแลวหากไมเปนเพราะนิทาน ชื่อแปลกหูจากตางแดนวา “ทูแรนโดต” (Turandot) หนังสือรวมนิทานที่ ตีพิมพโดยนักวิชาการชาวฝรั่งเศส ฟรองซัวส เปตีส เดอ ลา ครัวส (François Pétis de la Croix) ในป 1710 เปตีส เดอ ลา ครัวส พบ เรื่องราวของพระนางโดยบังเอิญขณะคนควาชีวประวัติของเจงกิส ขาน เขาไดแปลงโฉมเจาหญิงนักมวยปล้ำ�ผูเหี้ยมหาญใหกลายมาเปนพระธิดา วัย 19 พรรษาผูทรงสิริโฉมของจักรพรรดิจีนในเรื่องแตง พระนางปฏิเสธ ที่จะอภิเษกนอกเสียจากผูมาสูขอจะพิสูจนตนเองวามีสติปญญาเทียบเทา 53
พระนาง ในป 1761 นิทานเรื่องนี้กลายมาเปนบทละครเรื่องทูรานดอตต (Turandotte) ที่ประพันธโดยการโล กอสซี (Carlo Gozzi) นักเขียนบท ละครชาวอิตาเลียน ประกอบดวย “แมเสือสาว” ซึ่งความหยิ่งทะนงนำ�มา ซึ่งหายนะของตัวเธอเอง ทูรานดอตตกลายมาเปนผลงานเรื่อง ทูแรนโดต (Turandot) ของ จาโคโม พุชชินี (Giacomo Puccini) โดยเขาประพันธ อุปรากรเรื่องนี้จนกระทั่งเสียชีวิตเมื่อป 1924 (เพื่อนรวมงานของเขา ประพันธตอจนจบ) ในวัฒนธรรมมองโกเลีย คูทูลุนเปนที่จดจำ�จากกีฬาที่พระนาง ทรงพระปรีชาสามารถเปนเลิศ ทุกวันนี้เมื่อชายชาวมองโกเลียเลนมวยปล้ำ� พวกเขาจะสวมเสื้อแขนยาวเปดหนาอกเพื่อเผยใหฝายตรงขามเห็น วาตนไมมีหนาอก เปนการอุทิศแดนักมวยปล้ำ�หญิงผูไมเคยพายแพ
54
ลักษมีไพ
(Lakshmibai)
เจ้าหญิงผู้นำ�การกบฏ (โดยมีทารกผูกอยู่บนหลัง) 1834 - 17 มิถุนายน 1858 จานซี ภาคกลางตอนเหนือของอินเดีย
รานี
ลักษมีไพแหงจานซีสิ้นพระชนมทามกลางสมรภูมิอันคุกรุน ขณะทรงคาบบังเหียนมาและพระหัตถทั้งสองขางถือดาบอยู หรือบางทีพระนางอาจกำ�ลังเอี้ยวตัวไปฟนทหารที่เพิ่งยิงธนู ใสหลังพระนาง หรืออาจเพียงบาดเจ็บและมีชีวิตรอดตอไปอีกนานพอ ที่จะแบงเพชรนิลจินดาตางๆ แกเหลาทหารและสั่งใหพวกเขาสราง เชิงตะกอนเผาพระศพของพระนาง บันทึกแตกตางหลากหลายกันไป จะอยางไรความตายก็มาถึง ลักษมีไพกลายเปนตำ�นาน เปนสัญลักษณ ของการตอสูของอินเดียตอการกดขี่ของอาณานิคม 55
ความจริงก็คือ พระนางไมไดทรงคิดที่จะเปนกบฏตั้งแตแรก พระนางเปนภริยามายของมหาราชาแหงรัฐจานซีเมื่อชาวอินเดียลุกขึ้น ตอตานบริษัทบริติช อีสต อินเดียในป 1857 และพระนางมีเจตนาที่จะ รอดูจนกวาชาวอังกฤษจะควบคุมอำ�นาจไดอีกครั้ง แตเมื่อฝายอังกฤษแปะ ปายพระนางวาอยางดีก็เปนผูฝกใฝ อยางแยก็เปนคณิกาขบถ รานีลักษมีไพจึงตัดสินพระทัยแสดงใหคนเหลานั้นเห็นวาพระนางขบถไดขนาดไหน
สูการเปนรานี กอนที่พระนางจะเปนรานีลักษมีไพ (รานี แปลวา “เจาหญิง” หรือ “ราชินี” ในภาษาฮินดี) พระนางคือ บิทูร มานู (Bithur Manu) เด็กหญิง วรรณะพราหมณตัวนอยผูสูญเสียมารดาตั้งแตยังเล็ก เธอเติบโตขึ้นใน ราชสำ�นักอันหรูหราของเสนาบดีใหญผูถูกปลดแหงอาณาจักรมารทา (Maratha) ซึ่งไมมีอยูแลว มานูเลนแตกับเด็กผูชาย และทำ�ทุกอยางแบบที่ เด็กพวกนั้นทำ� เธอเรียนอานเขียน ไดรับการฝกใหขี่มาและชาง ใชดาบ และเลนวาว กลาวกันวาเธอกลาหาญผิดธรรมดา ครั้งหนึ่งมีชางตกมัน หลุดเขามาในเมือง มานูกระโดดขึ้นเหยียบงวงชางแลวทำ�ใหมันสงบลง กอนที่จะกอความเสียหายไปมากกวานี้ ไมเปนที่แนชัดวานิทานแบบเด็ก ทอมบอยนี้เปนจริงสักแคไหน แตนอกจากเรื่องชางตกมันแลว เปนที่ชัดเจน วามานูนอยถูกกำ�หนดมาใหเปนผูยิ่งใหญ ในป 1842 เธอสมรสกับพอมายที่ไมมีลูก เขาคือมหาราชาแหง นครรัฐในภาคกลางตอนเหนือของอินเดียที่สวามิภักดิ์ตอบริษัทบริติช อีสต อินเดีย (EIC – East India Company) แหลงขอมูลโบราณอางวาขณะนั้น พระนางเพิ่งมีพระชนมายุ 8 พรรษาเทานั้น ซึ่งไมใชวัยแตงงานที่ผิดปกติ
56
สำ�หรับราชนิกุลอินเดียในศตวรรษที่ 19 พระนางมีพระนามใหมจากการ สมรสครั้งนี้วาลักษมีไพ วัยเด็กอันไรความกังวลสิ้นสุดลง พระนางถูก ผูกมัดกับจานซี สถานที่รอนแลงที่ซึ่งพายุฝุนอันโหดรายถูกขนานนามวา “ลมหายใจของปศาจ” เมื่อทรงมีพระชนมายุได 14 พรรษา การสมรสของลักษมีไพก็ เปนอันสมบูรณ เมื่อพระชนมายุ 17 พรรษา พระนางก็ทรงพระครรภ แต การประสูติของพระโอรสและทายาทของมหาราชานำ�ความสุขมาใหเพียง ระยะเวลาสั้นๆ ทารกนอยสิ้นพระชนมเมื่อมีพระชนมายุเพียง 3 เดือน ไมนานพระสวามีผูหัวใจสลายก็สิ้นพระชนมตาม ในเดือนพฤศจิกายน 1853 ลักษมีไพจึงตกพุมมายตั้งแตยังเปน วัยรุน พวกคนอังกฤษอาจคิดวาพระนางเปนแมมายผูออนแอ กอน สิ้นพระชนม มหาราชาพยายามปองกันไมใหพวกบริษัทบริติช อีสต อินเดีย ยึดครองดินแดนจานซีดวยการอุปการะเด็กชายวัย 5 ขวบคนหนึ่งและ แตงตั้งเขาเปนรัชทายาท การบริหารรัฐเปนหนาที่ของลักษมีไพจนกวา เด็กคนนี้จะบรรลุนิติภาวะ แตลอรดดาลเฮาซี (Dalhousie) ขาหลวงใหญ แหงบริติช อีสต อินเดีย ปฏิเสธที่จะยอมรับลักษมีไพและเด็กคนนี้ในฐานะ ผูปกครองที่ชอบธรรม ตนป 1854 บริษัทบริติช อีสต อินเดีย เขายึดจานซี โดยอางวาจะเปนการดีกวาสำ�หรับพลเมืองถาพวกเขาอยูภายใตการ ปกครองของบริษัทโดยตรง รานีลักษมีไพไดรับเงินบำ�นาญและไดรับ อนุญาตใหอยูในพระราชวัง พระนางเรียกรองใหผูสำ�เร็จราชการแทน พระองคพิจารณาใหม ทรงเขียนจดหมายชี้ใหเห็นแงมุมนานาประการ ตามกฎหมายอังกฤษและกฎหมายอินเดียที่สนับสนุนการกลาวอางของ พระนาง ดาลเฮาซีปฏิเสธ และจานซีก็ถูกลบลางอำ�นาจโดยบริษัทบริติช อีสต อินเดีย
57
โจมตี การปรากฏตัวของชาวอังกฤษในอินเดียคงเปนเรื่องนาขัน หาก ไมเปนเพราะเงินทีพ่ วกเขานำ�เขา มาและซือ้ หาการอา งสิทธิเ์ หนืออาณาจักร บริษัทอีสต อินเดียปกครองมาตั้งแตป 1773 ผานการเปนเจาของที่ดิน โดยตรงซึ่งสวนใหญแลวไดมาจากสงครามและการผนวกดินแดน บวกกับ การใชพระราชวงศที่มีอยูเปน ผูปกครองหุนเชิด แตอินเดียมีอากาศรอน และเต็มไปดวยโรคที่ชาวอาณานิคมไมคุนเคย ประชากรพื้นเมืองหมด ความอดทนภายใตขอบังคับที่วางอยูเหนืออำ�นาจในการปกครองตนเอง สวนผูอยูอาศัยชาวอังกฤษก็ไมสนใจสถาบันทางศาสนา กฎหมาย และ ประเพณีทองถิ่น ไมชาก็เร็วเรื่องราวตางๆ ก็ยากที่จะรับมือ เดือนพฤษภาคม 1857 กองทหารซีปอยของอินเดีย (กองทหาร พื้นถิ่นที่เกณฑมาโดยบริษัทอีสต อินเดีย) ตัดสินใจวาพวกเขาจะไมทนอีก ตอไปแลว ชนวนมาจากการตัดสินใจของผูบัญชาการกองทัพของบริษัท อีสต อินเดียใหใชปนยาวที่ลูกกระสุนทาไขมัน เนื่องจากทหารมักกัดปลอก กระสุนเพื่อเทดินปนออกมา จึงหมายความวาทหารมีโอกาสที่จะกินไขมัน บางสวนเขาไปหากไมระวัง ดวยความละเลยอันนาขัน ไขที่วานั้นมาจาก ไขมันวัวหรือหมู ทำ�ใหชาวฮินดูโกรธเคืองเนื่องจากศาสนาฮินดูนับถือวัว เปนสัตวศักดิ์สิทธิ์และถือวาหมูเปนสัตวที่นารังเกียจ เชนเดียวกับชาว มุสลิมซึ่งศาสนาระบุอยางชัดเจนวาไมอนุญาตใหบริโภคผลิตภัณฑจาก หมู ไขมันนั้นถูกเปลี่ยน แตความเสียหายก็ไดเกิดขึ้นไปแลว ทหารซีปอย หลายนายปฏิเสธไมยอมใชกระสุนปนนั้น วันที่ 10 พฤษภาคม หลังจากทหารซีปอยที่ทำ�การประทวงถูก จับขึ้นศาลทหารและตัดสินลงโทษใหทำ�งานหนัก ไดเกิดการลุกฮือที่เมือง เมียรุต (Meerut) ชาวอังกฤษถูกสังหารหมูขณะออกจากโบสถ การปลน 58
สะดม ขมขืน ฆาตกรรม และวางเพลิงลุกลามไปทั่วเมือง เสียงการจลาจล ดั ง ไปถึ ง เมื อ งเดลี ที่ อ ยู ใ กล เ คี ย งซึ่ ง จั ก รพรรดิ โ มกุ ล องค สุ ด ท า ยทรง สนับสนุนการกบฏและเสนอชื่อพระโอรส (ผูไรประสบการณ) ใหเปน ผู สั่งการกองทัพ ภายในหนึ่งเดือน ไฟแหงการปฏิวัติก็ลามไปยังจานซีที่บรรดา ผูปกครองชาวอังกฤษไมไดทำ�ตัวใหเปนที่รักใครของประชากรทองถิ่น เทาไรนักหลังจากยึดครองมาไดสี่ป ประการแรก พวกเขายกเลิกขอหาม ฆาวัวซึ่งทำ�ใหประชากรชาวฮินดูโกรธเคือง ตอมาพวกเขาสั่งใหกันรายได สวนหนึ่งของวัดฮินดูใหแกบริษัทอีสต อินเดีย สุดทาย พวกเขาสั่งลักษมีไพ ใหจายหนี้บางสวนของรัฐของพระสวามีดวยเงินบำ�นาญสวนพระองคของ พระนาง และตัดพระนางออกจากกองทุนที่มหาราชาผูลวงลับทรงทิ้งไว ใหพระโอรสบุญธรรมของทั้งสองพระองค คำ�อุทธรณขององครานีในนาม ประชาชนของพระนางไมไดรับคำ�ตอบ และเมื่อการกบฏมาถึงจานซี ความ โกรธแคนก็กอตัวมานานแลว ความเกลียดชังที่คุกรุนระเบิดออกเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 1857 ในการสังหารหมูชายหญิงและเด็กชาวอังกฤษ 61 รายที่หลบซอนตัว อยูในปอมของเมืองจานซีกอนที่จะยอมจำ�นนตอกองกำ�ลังกบฏ ดูเหมือน ลักษมีไพจะไมไดมีสวนในการลุกฮือครั้งนั้น ซึ่งตรงขามกับรายงานในเวลา ตอมา ขณะนั้นพระนางติดอยูในพระราชวังทามกลางวงลอมของพวก กอการกบฏ ตอมาเมื่อพวกกบฏออกจากจานซีในเดือนเดียวกันนั้น ซากที่ เหลืออยูของทางการอังกฤษก็จากไปดวย องครานีทรงเขาจัดการและ ดูแลการปองกันดินแดนโดยจัดตั้งกองทหาร หลอปนใหญ และสรางอาวุธ ตำ�นานที่แพรหลายอางวาลักษมีไพฝกหนวยทหารหญิงของพระนางเอง ไมวาจะเปนเรื่องจริงหรือไม (นาจะไมจริง) กองทหารนี้ไมไดจัดตั้งมาเพื่อ 59
รบกับพวกอังกฤษ แตเพื่อปองกันจานซีจากบรรดาราชาผูครองนครรัฐ เพื่อนบานที่หาทางใชประโยชนจากสุญญากาศทางอำ�นาจและสราง อาณาจักรของตนเอง ในเดือนกันยายนและตุลาคม 1857 รานีก็ทรงขจัด การรุกรานจากผูที่อยากตั้งตนเปนจักรพรรดิสองรายไปได ที่จริงแลวถึงแมรานีลักษมีไพจะทรงมีเหตุผลเหลือเฟอที่จะเขา รวมกับพวกกบฏ ตลอดฤดูรอนจนกระทั่งเขาฤดูใบไมรวงพระนางก็ยัง ยืนยันครั้งแลวครั้งเลาวาทรงสวามิภักดิ์ตอทางการอังกฤษซึ่งไมมีอยูแลว อาทิ เมื่อพวกกบฏที่ลอมชาวอังกฤษที่ปอมเรียกรองใหพระนางจัดหา อาวุธและเงินใหพวกเขา ลักษมีไพตกลงแตทรงเขียนจดหมายถึงฝาย อังกฤษอธิบายการกระทำ�ของพระนาง รวมทั้งขอความชวยเหลือและการ ปกปองรัฐของพระนางจากรัฐเพื่อนบาน ขอเรียกรองนี้ไมเคยไดรับคำ�ตอบ แมแตตอนที่ผูคุมเรือนจำ�ทองถิ่นถามวาพระนางจะตอสูกับชาวอังกฤษ หรือไม ลักษมีไพตอบวาพระนางจะสงจานซีคืนสูการปกครองของอังกฤษ ทันทีที่พวกเขากลับมา อยางไรก็ตาม พวกอังกฤษไมเชื่อพระนาง หลายเดือนตอมาภายหลังการกบฏ กองกำ�ลังอังกฤษประกาศวา ลักษมีไพเปนกบฏ อันเปนการใหรายที่ปรากฏตามหนาหนังสือพิมพและ เอกสารทางการของบริษัท พระนางถูกตีตราวาเปนสตรี “แพศยา” “นาง บาป” และโสเภณีที่ตองรับผิดชอบการสังหารหมูอันนาสยดสยองที่ปอม พวกอังกฤษตองการโทษใครสักคนและรานีลักษมีไพก็เปนแพะรับบาปที่ เหมาะเจาะ เมื่อถึงฤดูหนาวป 1858 การกบฏที่ไรการจัดตั้งก็ออนกำ�ลังลง เมื่อเผชิญหนากับการปราบปรามการกอกบฏของฝายอังกฤษ ตอนเหนือ ของอินเดียสวนใหญกลับมาอยูภายใตการปกครองของอาณานิคม สิ้น เดือนกุมภาพันธ กองกำ�ลังอังกฤษก็รุกคืบไปยึดจานซีคืน โดยมีเจตนาที่ จะใชกำ�ลัง หลังจากออนวอนขอความชวยเหลืออยูนานหลายเดือนและ 60
ประกาศตนวาเปนมิตรผูภักดี ลักษมีไพตระหนักวาหากพระนางถูกพวก อังกฤษจับตัวไดก็เปนไปไดวาจะถูกไตสวนวาเปนกบฏและถูกแขวนคอ แตถาพระนางทรงเขารวมกับพวกกบฏ อยางนอยพระนางก็สามารถสูจน ชีวิตจะหาไม ดังนั้นเมื่อกองทัพยาตราใกลเขามา สุดทายแลวรานีลักษมีไพ ก็กลายเปนสิ่งที่พวกอังกฤษอางวาพระนางเปน
การขบถที่มีสาเหตุ วันที่ 23 มีนาคม อังกฤษเริ่มบุกยึดจานซี ลักษมีไพดูแลการ ปองกันเมืองของพระนางจากลูกปนใหญ เมื่อกำ�แพงพังลง พระนางก็มี รับสั่งใหสรางขึ้นมาใหม วันที่ 30 มีนาคม ผูนำ�กบฏอีกคนหนึ่ง (และ พระสหายในวัยเยาวของรานี) นำ�กองทหาร 20,000 นายมาปกปอง พระนาง อยางไรก็ตาม ความหวังดับสูญลงเมื่อกองทัพที่เกณฑไพรพลมา สดๆ รอนๆ นั้นพายแพและพวกอังกฤษพังกำ�แพงเมืองเขามาได บันทึก ในสมัยนั้นกลาววาทองถนนมี “เลือดไหลเจิ่งนอง” ขณะที่กองกำ�ลังจานซี สูรบแบบประชิดตัว พระราชวังถูกยึด แตขณะที่พวกอังกฤษเตรียมพรอม โจมตีครั้งสุดทาย นายพลก็ไดรับรายงานวาลักษมีไพหลบหนีไป และไป พรอมกองทหารดวย การโจมตีของพวกอังกฤษทำ�ลายการปองกันของจานซี แตที่เปน ปญหามากกวาคือแหลงน้ำ�ของปอมไดเหือดแหงลง การหนีเปนทางเลือก เดียวของลักษมีไพ พระนางแตงกายเปนทหารและพาพระโอรสบุญธรรม (ผูกไวบนหลังหรือไมก็ซุกไวบนตัก) หลบหนีไปบนหลังมาในยามค่ำ�คืน ทหารมาอังกฤษตามพระนางไปติดๆ นายทหารคนหนึ่งเขามาใกลพอ เอื้อมถึง แตลักษมีไพใชดาบฟนเขาลมลง (นี่นาจะเปนตนกำ�เนิดงานศิลปะ
61
พื้นบานที่เปนรูปลักษมีไพกระโจนเขาสูสนามรบโดยผูกพระโอรสไวบน หลัง ซึ่งหากเปนเรื่องจริงแลวก็คงเปนการตัดสินใจของบุพการีที่นาตั้ง คำ�ถามอยูไมนอย) บัดนี้ ลักษมีไพมีคาหัว พระนางเขารวมกับกองกบฏที่เมืองคัลพี ซึ่งอยูหางจากจานซีไปทางตะวันออกราว 90 ไมล แตพระนางไมไดเปน ผูบัญชาการกองทัพ ซึ่งยังความผิดหวังมาใหพระนางอยางยิ่งและยังความ โศกเศราอันไมจบสิ้นมาสูผูคนในแควนนั้น เกียรตินี้ตกเปนของพระสหาย ในวัยเยาวผูไมอาจปกปกรักษาจานซีไวไดแมกองทัพของเขาจะมากกวา พวกอังกฤษถึงหาเทา เมืองคุนชตกเปนของอังกฤษ จากนั้นคัลพีก็ยอมแพ รานีลักษมีไพ หนีรอดไปไดอยางหวุดหวิด กองกำ�ลังกบฏตัดสินใจยืนหยัดเปนครั้ง สุดทายที่กวาลิออรซึ่งเดิมเปนถิ่นที่สนับสนุนอังกฤษแตกองทหารกลับมา เห็นชอบกับแนวทางของกองกำ�ลังกบฏ เหลาผูนำ�กบฏเชื่อมั่นวากวาลิออร จะเปนสถานที่ประกาศชัยชนะและเริ่มเฉลิมฉลองกันกอนการสูรบจะเริ่ม ดวยซ้ำ� แตลักษมีไพไมทำ�เชนนั้น ขณะที่เพื่อนรวมชาติกินดื่ม สวดภาวนา และรองเพลง พระนางทรงตรวจตรากองทหารจากบนหลังมาโดยคาดดาบ และปนสั้น เมื่อพวกอังกฤษมาถึงในวันที่ 17 มิถุนายน 1858 ลักษมีไพ และกองกำ�ลังของพระนางรอพวกเขาอยูที่ประตูเมือง พระนางทรงชุดศึก เต็มยศพรอมดาบที่ชักออกจากฝก รานีแหงจานซีกระโจนเขาสูสนามรบ และบั น ทึ ก ทุ ก ฉบั บ ระบุ ต รงกั นว า ทรงเผชิ ญ หน า กั บ ความตายอย า ง กลาหาญ เหตุการณการสิ้นพระชนมที่แทจริงของพระนางไมเปนที่แนชัด เรื่องหนึ่งกลาววาพระนางถูกฟนขณะกำ�ลังตอสูดวยดาบในพระหัตถทั้ง สองขางและคาบบังเหียนมา อีกเรื่องหนึ่งกลาววาพระนางถูกยิงเขาที่หลัง 62
และขณะที่หันกลับไปยิงผูสังหารนั้นก็ถูกดาบแทงทะลุ แตก็ยังมีบันทึก อื่นๆ อางวาพระนางบาดเจ็บสาหัสแตก็รอดชีวิตอยูนานพอที่จะสั่งทหาร ใหสรางเชิงตะกอนเผาพระศพของพระนาง ทรงแจกจายเครื่องทองใหแก เหลาทหารกอนพารางตนเองขึ้นไปบนเชิงตะกอนเพื่อเผาพระองคทั้งเปน ไมวาอยางไร การสิ้นพระชนมของรานีลักษมีไพก็เปนสัญญาณของจุด สิ้นสุดการกบฏ ถนนสูกวาลิออรถูกพวกอังกฤษยึด และในไมชาเมืองก็ แตกพาย การปฏิวัติจบลงแลว แมจะแพ แตการกบฏก็อางชัยชนะครั้งสำ�คัญไดประการหนึ่ง นั่น คือจุดจบของการปกครองโดยบริษัทอีสต อินเดีย เมื่อถึงเดือนสิงหาคม 1858 ฝุนจางหายไปแลวและบริษัทอีสต อินเดียก็เลิกกิจการอยางเปน ทางการ แตการทดลองของอังกฤษในอินเดียยังอีกนานกวาจะจบ สมเด็จ พระราชินีนาถวิกตอเรียทรงดำ�รงตำ�แหนงจักรพรรดินีแหงอินเดีย และ รัฐบาลของพระนางก็ปกครองประเทศนี้ในฐานะบริติชราช (British Raj) จนกระทั่งอินเดียไดรับเอกราชในป 1947 และเปนประเทศในเครือจักรภพ อังกฤษ (dominion) จนถึงป 1950 ตลอดการตอสูเพื่อเอกราชของอินเดีย ตำ�นานของรานีลักษมีไพ คือแรงบันดาลใจ เรื่องราวของพระนางยังคงไดรับการสอนอยูตามโรงเรียน และพระนางยังเปนดาราในหนังสือการตูนชุดที่ตั้งชื่อตามพระนางดวย พระนางทรงเปนวีรสตรี เปนสัญลักษณทางการเมือง เปนโจนออฟอารค แหงอินเดีย แมแตเซอรฮิวจ โรส (Sir Hugh Rose) ผูเผชิญหนากับ “ผูนำ� กบฏที่กลาหาญที่สุด” พระองคนี้ในสมรภูมิยังตองยอมรับวา “รานีแหง จานซีคือทหารที่เกงที่สุดของฝายศัตรู”
63