ลอว์นิวส์
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 16 - วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557
รวมข่าว เล่ากฏหมาย ให้สาระประชาชน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 16 - วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557
ศาลรัฐธรรมนูญ ชี้ แก้ ม.190 มิชอบ ปิดปากเสียงข้างน้อย “วิรัตน์” เตรียมดาบสอง ยื่น ป.ป.ช. – ศาลฎีกา
“จีทูจี” ไม่มีจริง เตรียมฟัน “จำ�นำ�ข้าว”
นายกฯ โดนไต่สวน ไม่ยับยั้งเสียหาย
ป.ป.ช.ชี้คดีจำ�นำ�ข้าว ไม่มีการ ซือ้ ขายแบบ ‘จีทจู ’ี แจ้งข้อหา 'บุญ ทรง-ภูม'ิ กับพวก เตรียมไต่สวน'ยิง่ ลักษณ์' เหตุไม่ยับยั้งความเสียหาย เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 นายวิ ช า มหาคุ ณ คณะ กรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ประธาน คณะกรรมการไต่ ส วนการทุ จ ริ ต โครงการจำ � นำ � ข้ า ว แถลงกรณี ไต่สวนข้อเท็จจริงกล่าวหา นายบุญ ทรง เตริยาภิรมย์ อดีต รมว.พาณิชย์ กับพวก เกี่ยวกับการทุจริตโครงการ จำ�นำ�ข้าวและการระบายข้าว พบว่า
จากพยานหลั ก ฐานรั บ ฟั ง ได้ ว่ า การเข้าทำ�สัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐ ต่ อ รั ฐ หรื อ จี ทู จี กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน ยังไม่มขี อ้ เท็จจริงใดๆ สนับสนุนว่าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ทัง้ สองแห่งทีเ่ ข้าทำ�สัญญาได้รบั มอบ หมายจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และไม่ มี ก ารส่ ง ข้ า วออกนอกราช อาณาจักรจริง ดั ง นั้ น คณะกรรมการ ป.ป.ช.จึ ง มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ แ จ้ ง ข้อกล่าวหาแก่นายบุญทรง และนาย ภูมิ สาระผล อดีต รมช.พาณิชย์ และ ผู้ดำ�เนินการเจรจาทั้งสองฝ่าย รวม
ถึ ง ผู้ รั บ มอบอำ � นาจของหน่ ว ย งานรัฐวิสาหกิจที่เข้ามาเจรจา ด้ ว ย รวมจำ � นวน 15 ราย ประกอบด้วย นายมนัส สร้อย พลอย เมื่อครั้งดำ�รงตำ�แหน่ง อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ นายทิฆมั พร นาทวรทัต เมือ่ ครัง้ ดำ�รงตำ�แหน่ง ผอ.สำ�นักบริหาร การค้าข้าว นายอัครพงศ์ ทีป วั ช ระ เมื่ อ ครั้ ง ดำ � รงตำ � แหน่ ง เลขานุ ก ารกรมการค้ า ต่ า ง ประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ บ ริ ษั ท จี เ อ ส เ อ ส จี บ ริ ษั ท ไห่หนาน อ่านต่อหน้า 2
เมื่อเวลา 16.30 น. วันที่ 8 มกราคม คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ออกนั่ง บัลลังก์อา่ นคำ�วินจิ ฉัยคำ�ร้องทีน่ ายวิรตั น์ กัลยาศิริ อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ยืน่ ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินจิ ฉัย ว่า นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อดีต ประธานรัฐสภา นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุ ฒิ ส ภาและสมาชิ ก รั ฐ สภา รวม 383 คน ที่ร่วมกันดำ�เนินการแก้ไข รัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ที่จำ�กัดอำ�นาจ รัฐสภาในการให้ความเห็นชอบการทำ� หนังสือสัญญาระหว่างประเทศของฝ่าย บริหาร เข้าข่ายเป็นการกระทำ�ที่ล้มล้าง การปกครองและกระทำ�การให้ได้มาซึ่ง อำ�นาจในการปกครอง โดยวิถีทางที่ไม่ ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญมาตรา 68 หรือไม่ นายทวี เ กี ย รติ มี น ะกนิ ษ ฐ ตุ ล าการรั ฐ ธรรมนู ญ กล่ า วว่ า ศาล ตุลาการรัฐธรรมนูญ แบ่งการพิจารณา ออกเป็น 2 ประเด็น คือ กระบวนการ
ไต่สวนมาราธอน เงินกู้ 2 ล้านล้าน
“นริศร”รับ เสียบแทนจริง “โต้ง-ชัชชาติ” ชี้จำ�เป็น
ศาลรัฐธรรมนูญไต่สวนร่างพ.ร.บ.กูเ้ งิน สองล้านล้านวันแรก “นริศร” ยอมรับ เสียบบัตรแทน อ้างทำ�มานานแล้ว ด้าน “กิตติรัตน์”-“ชัชชาติ” แจงศาลจำ�เป็นต้อง ใช้เงินเพื่อพัฒนาประเทศ ศาลชี้ขอให้คำ�นึง ถึงประเทศ เลื่อนนัดไต่สวนเพิ่มเติมไม่มี กำ�หนด เมื่ อ เวลา 11.00 น. วั น ที่ 8 มกราคม 2557 ทีส่ �ำ นักงานศาลรัฐธรรมนูญ องค์คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทั้ง 9 คน
นำ�โดยนายจรูญ อินทจาร ประธานศาล รัฐธรรมนูญ ออกนัง่ บัลลังก์ไต่สวนพยานใน คำ�ร้องที่ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของ สมาชิ ก พรรคประชาธิ ปั ต ย์ ขอให้ ศ าล รัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 154 วรรคหนึ่ง (1) ว่า ร่าง พ.ร.บ.ให้อำ�นาจ กระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ มี ข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 169 วรรคหนึ่ง และมาตรา 170 หรือตราขึ้น
โดยไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ โดยมีพยานบุคคลที่เข้าร่วมรับฟัง ประกอบด้ ว ย นายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ หัวหน้าพรรคประชาธิปตั ย์ (ปชป.) นายกรณ์ จาติกวนิช ประธาน ส.ส.กทม.พรรค ปชป. นายวิรัตน์ กัลยาศิริ นายราเมศ รัตนเชวง ทีมกฎหมายพรรค นายคำ�นูณ สิทธิสมาน ส.ว.สรรหา นางสุ ม ล สุ ต ะวิ ริ ย ะวั ฒ น์ ส.ว.เพชรบุ รี นายกิ ต ติ รั ต น์ ณ ระนอง ปฏิบัติหน้าที่ อ่านต่อหน้า 4
ร่ า งแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม รั ฐ ธรรมนู ญ มาตรา 190 ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ หรือไม่ และ การแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หาร่ า งแก้ ไ ข รัฐธรรมนูญ ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ หรือ ไม่ เข้าข่ายมาตรา 68 หรือไม่ โดย ประเด็นที่ 1. กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ ตามคำ�ร้องที่ร้องกรณีการ ปิดอภิปรายร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ และ การกำ�หนดวันแปร ญัตติไม่ชอบด้วย รัฐธรรมนูญนัน้ ศาลพิเคราะห์วา่ สมาชิก รั ฐ สภาต้ อ งคำ � นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข อง ประเทศชาติเป็นสำ�คัญไม่ใช่มุ่งแก้ให้ รัฐบาลสามารถบริหารจัดการด้วยความ สะดวกราบรื่น โดยไม่เปิดให้สมาชิก รั ฐ สภาได้ ค วามเห็ น ที่ ห ลากหลาย ซึ่งเสียงข้างมากต้องรับฟังเสียงข้างน้อย หากเสียงข้างมากอาศัยความได้เปรียบ เสี ย งข้ า งมากเอาเปรี ย บข้ า งน้ อ ย ไม่ เคารพความเห็นย่อมเป็นเผด็จรูปแบบ หนึ่ ง เป็ น เผด็ จ การเสี ย งข้ า งมาก เผด็จการรัฐสภา อ่านต่อหน้า 3
ใทม์ ไลน์
ความสัมพันธ์ ไทย-จีน
ย้อนอดีตตามรอยความสัมพันธ์สองประเทศ จากยุคสู่ยุค จากอดีตสู่ปัจจุบันในความสัมพันธ์ อันแน่นแฟ้น อ่านต่อหน้า 8