ลอว์นิวส์
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ในฉบับ
ที่แห่งนี้ อ่านต่อหน้า 7
2522 ไทม์ ไลน์ อ่านต่อหน้า 8
BINGE-WATCH อ่านต่อหน้า 10
2350-9848 แจกฟรี
ปิดฉากรถคันแรก ทิง ้ ใบจองกว่าแสน เอกชนวอนรัฐบาล อย่าทำ�แบบนีอ ้ ีก
ปิดโครงการรถคันแรกแล้ว พบประชา ชน ทิ้งใบจองรถกว่าหนึ่งแสนคัน ด้าน ภาคเอกชนวอนรัฐบาลชุดใหม่ อย่าใช้ โครงการเพียงเพื่อหาเสียงอีก นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒน์พงษ์ รอง ประธานกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมยานยนต์ แ ละ โฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิด เผยว่า จำ�นวนของประชาชนที่เข้าร่วมโครง การรถยนต์คันแรก ที่ล่าสุดมาขอรับรถยนต์ จากผู้ผลิตรถยนต์ไปแล้วรวม 1.13 ล้านคัน และมียอดตกค้างล่าสุด 100,000 คัน ซึ่ง ตัวเลขดังกล่าวค่ายรถยนต์ได้แจ้งให้ทราบ ว่ า ขอยุ ติ ก ารเข้ า ร่ ว มโครงการกั บ ภาครั ฐ
แล้ว รวมทั้งผู้ที่ถือใบจอง บางรายแจ้งยืนยัน ว่ า ขอทิ้ ง ใบจองและทิ้ ง เงิ น มั ด จำ � และบาง รายแจ้ ง ว่ า ได้ ซื้ อ รถยนต์ รุ่ น อื่ น และยี่ ห้ อ ใหม่ แ ล้ ว เพราะมี แ คมเปญตอบแทนผล ประโยชน์ ม ากกว่ า โครงการรถคั น แรก ทำ�ให้ไม่มีปัญหาการฟ้องร้องของลูกค้าที่ เข้าร่วมโครงการแต่อย่างใด นายสุรพงษ์กล่าวว่า ภาคเอกชน ขอวิงวอนว่า ไม่ว่ารัฐบาลใหม่จะเป็นพรรค การเมืองใด หรือในการหาเสียงเลือกตั้งใน อนาคต ขออย่าให้พรรคการเมืองนำ�โครง การดั ง กล่ า วมาใช้ ห าเสี ย งอี ก เพื่ อ หวั ง คะแนนเสียงจากประชาชน เพราะผลที่เกิด ขึ้น แม้กระทรวงการคลัง สามารถจัดสรรงบ
ประมาณมาจ่ายคืนภาษีรถยนต์ให้แก่ผู้เข้า ร่วมโครงการได้ แต่ในข้อเท็จจริงปรากฏว่า โครงการนี้ทำ�ให้แผนการผลิตรถยนต์ของ ประเทศไทยผิดเพีย้ นไปจากปกติ เพราะก่อน หน้ า นี้ ค่ า ยรถยนต์ ก็ เ ร่ ง กำ � ลั ง การผลิ ต รถยนต์คนแรก เพื่อส่งมอบให้เอเยนต์หรือ ผู้แทนจำ�หน่าย แต่เมื่อมีการทิ้งใบจองได้ทำ� ให้รถยนต์ในโครงการ 130,000 คันไป ตกค้างในสต๊อกที่โชว์รูมรถยนต์ และบาง โชว์รูมต้องเสียค่าเช่าที่จอดรถยนต์เพิ่มขึ้น และเสียดอกเบี้ยให้ไฟแนนซ์ ทำ�ให้ค่ายรถยนต์ ต้ อ งเปลี่ ย นแผนเพื่ อ หั น ไปผลิ ต เพื่ อ การส่งออกเพิ่มขึ้น
สทศ. ชุ่ย พิมพ์นามสกุลผิด
เด็กเฮ! แจกคะแนนฟรี ยันผิดพลาดเล็กน้อย
เด็กม.3เป็นงงเจอข้อสอบพิมพ์นามสกุล ผิด เกรงไม่มคี �ำ ตอบ ด้าน สทศ. ชี้ แค่ผดิ พลาดเล็กน้อย สัง่ แจกคะแนนคน ละ 2.5 คะแนน ด้าน “จาตุรนต์” รับได้ เป็นธรรมดาของการสอบ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ ส นามสอบโรงเรี ย นสามเสนวิ ท ยาลั ย นายสัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำ�นวยการ สถาบั น ทดสอบทางการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (สทศ.) เปิดเผยว่า ตามที่ สทศ. ได้จัดสอบ แบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้น ฐานหรือโอเน็ต ปีการศึกษา 2556 ของ นักเรียน ป.6 ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 และ ม.3 ในวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2557 ผล ปรากฏว่า การจัดสอบของนักเรียนชั้น ป.6 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ส่วนของนักเรียน
ม.3 ซึ่งจัดสอบสองวัน คือ วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ ในภาพรวมการจัดสอบเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย ยังไม่พบความผิดพลาด ทั้งในส่วนของข้อสอบ กระดาษคำ�ตอบ และ ยังไม่ได้รับรายงานการทุจริต นายสัมพันธ์ กล่าวอีกว่า ส่วน กรณีที่โรงเรียนต่างๆ กังวลว่า การประกาศ ผลในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จะกระชั้นชิดกับ วันรับสมัครเข้าศึกษาต่อชั้น ม.1 และ ม.4 ของนักเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ซึ่งจะมีในวัน ที่ 20-24 มีนาคม 2557 ทั้งนี้ ทาง สทศ. มั่ น ใจว่ า โรงเรี ย นจะสามารถดาวน์ โ หลด ผลคะแนนได้อย่างไม่ปัญหา เพราะปีนี้ได้ ปรั บ ปรุ ง ระบบให้ ส ามารถรองรั บ การเข้ า ดาวน์โหลดข้อมูลได้มากขึน้ แล้ว อีกทัง้ สทศ.
จะส่งผลคะแนนไปที่โรงเรียนด้วย อย่างไรก็ตาม มีรายงานว่า หลัง จากการสอบโอเน็ต ของนักเรียนชั้น ม.3 เสร็จสิ้นลง ได้มีการโพสต์ข้อความผ่านโซ เชียลมีเดีย ระบุว่า ข้อสอบในวิชาศิลปะ ซึ่ง ถามว่าข้อใดเป็นชื่อศิลปินแห่งชาติ สาขา นาฏศิลป์ โดยคำ�ตอบข้อ 2-4 4 เป็นราย ชื่อศิลปินแห่งชาติสาขาดนตรีไทย และสาขา เกี่ยวกับการทอผ้า ซึ่งในคำ�ตอบข้อที่ 1 มี การระบุชื่อของ “น.ส.จำ�เรียง พรประดับ” เป็นศิลปินแห่งชาติด้านนาฏศิลป์ โดยแท้ ที่จริงแล้ว นามสกุลของศิลปินแห่งชาติใน สาขาดังกล่าว คือ “น.ส.จำ�เรียง พุธประดับ” ทำ�ให้นักเรียนโวยวายว่า ทั้งที่ สทศ. เป็น องค์กร จัดสอบระดับประเทศ แต่กลับพิมพ์ อ่านต่อหน้า 3
2
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
บทบรรณาธิการ
แอน พลอยส่องแสง บรรณาธิการ
ลังโคมแจกกุหลาบวันสตรีสากล
เนื่องจากวันที่ 8 มีนาคม ที่กำ�ลังจะมาถึง เป็นวัน สตรีสากล แบรนด์ ลังโคม จึงร่วมยกย่องผู้หญิง ด้วยการ “มอบดอกกุหลาบ” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ แบรนด์ ให้แก่ “ผู้หญิงทุกคน” ที่แวะไปที่เคาน์เตอร์ ลังโคม *เฉพาะสาขาพารากอน, เซ็นทรัลชิดลม และเซ็นทรัล ลาดพร้าว
สภาทนายความฯ ให้ความช่วยเหลือ
เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 11.30 น. ตัวแทนจากเครือข่ายปฏิรูประบบพลังงาน และ กองทัพประชาชนโค่นล้มระบอบทักษิณ (กปท.) เข้ามาติดต่อขอความช่วยเหลือในการดำ�เนิน คดี สั ง หารนายสุ ทิ น ธราทิ น แกนนำ � กปท. เสี ย ชี วิ ต ที่ ห น้ า วั ด ศรี เ อี่ ย ม โดยมี คุ ณ นิวตั ิ แก้วล้วน เลขาธิการสภาทนายความ และคุณอุทยั ไสยสาลี หัวหน้าสำ�นักงานทนายความ ให้คำ�แนะนำ�และให้ตัวแทน กปท. เข้าชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับคดี ณ ห้องรับรอง ชั้น 2
packagingoftheworld.com
ภาพ : วีรวัฒน์ จิตต์ปรุง
สวัสดีค่ะ มาพบกันอีกแล้วนะคะกับหนังสือพิมพ์รายปักษ์ของ สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมถ์ หนังสือพิมพ์ที่ให้ทั้ง ข่าวสารบ้านเมืองทั่วไป ข่าวบันเทิง กีฬา และข่าวเกี่ยวกับ กฎหมายทัง้ ในประเทศไทยและในต่างประเทศนะคะ ซึง่ เราได้ จัดทำ�เป็นทัง้ ในรูปหนังสือพิมพ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษค่ะ ที่แจ้งให้ทราบเผื่อว่าจะมีบางท่านอาจจะเพิ่งรับทราบว่าทาง สภาทนายความได้มีการจัดทำ�หนังสือพิมพ์รายปักษ์เพื่อให้ ข่าวสารแก่ท่านแล้วนะคะ สำ�หรับรายปักษ์นี้ก็เป็นเล่มที่ 4 แล้วนะคะ ซึ่งก็ใกล้ จะถึ ง “วั น สตรี ส ากล” คื อ ในวั น ที่ 8 มี น าคม ของทุ ก ปี ในโลกปัจจุบัน เราคงจะปฏิเสธไม่ได้นะคะว่าผู้หญิงมีบทบาท ในสังคมและการเมืองมากยิง่ ขึน้ กว่าแต่กอ่ นเก่า ดังทีจ่ ะเห็นได้ชดั เจนว่าประเทศไทยก็เพิง่ จะ มีนายกรัฐมนตรีทเี่ ป็นผูห้ ญิงเป็นครัง้ แรก และถ้าเรามองในประเทศอืน่ ๆ ทัว่ โลกก็เช่นกัน จะ มีหลายประเทศที่มีผู้นำ�ประเทศเป็นผู้หญิง ในคอลัมน์ “ไทม์ไลน์” ของเราในฉบับนี้ จึงได้ นำ�ประวัติของผู้นำ�หญิงในหลายๆ ประเทศมาเรียบเรียงกันให้ทราบนะคะ สิง่ หนึง่ ทีท่ �ำ ให้ผหู้ ญิงมีบทบาทมากยิง่ ขึน้ ในสังคมและการเมืองทัว่ ไป นอกจากการ ทีส่ งั คมยอมเปิดกว้างรับผูห้ ญิงแล้ว การศึกษาก็เป็นเรือ่ งหนึง่ ทีส่ ง่ เสริมให้เรามีความรูม้ ากยิง่ ขึน้ เมือ่ ผูห้ ญิงเริม่ มีโอกาสได้ศกึ ษามากขึน้ อย่างเช่นผูช้ าย ผูห้ ญิงจึงเริม่ มีความรูค้ วามสามารถ มากยิ่งขึ้นและสามารถทำ�งานได้ทัดเทียมกับผู้ชายแล้ว แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ประเทศไทย เราตอนนีย้ งั คงประสบกับปัญหาในเรือ่ งการให้การศึกษาแก่เด็กอยูม่ าก รัฐบาลคงต้องยอมรับ ว่าการจัดงบประมาณทีส่ งู ไม่ได้จะตอบสนองว่าจะช่วยทำ�ให้คณ ุ ภาพการศึกษาดี ดังเช่นโครง การแจกแท็บเล็ตให้แก่เด็ก หากเด็กนั้นสนใจศึกษาหาความรู้จากแท็บเล็ตก็คงดีไป แต่หาก เด็กกลับติดเล่นเกมส์มากกว่า ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเช่นนั้น จะยิ่งเป็นการสร้างวัฒนธรรม ไม่ให้เด็กรักการอ่านหนังสือ แต่จะติดแต่เล่นเกมส์ การศึกษาบ้านเราคงพัฒนาไปได้ยาก เพราะเด็กในวันนีจ้ ะเป็นอนาคตของชาติ หรืออีกตัวอย่างหนึง่ ในเรือ่ งของการสอบโอเน็ต ซึง่ ดูจะมีปญ ั หาอยูท่ กุ ปี โดยเฉพาะในปีนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม. 3 ต้องแจกคะแนนให้เด็กคนละ 2.5 คะแนน รัฐบาลชุดต่อไปคงต้องรีบแก้ปัญหาในส่วนของการศึกษาอย่างจริงจังและเป็นการ ด่วนแล้วนะคะ สำ�หรับเหตุการณ์บ้านเมือง ต่างฝ่ายต่างยังคงยึดมั่นในเจตนารมณ์ของตนต่อไป ผลของการเลือกตัง้ ส.ส. ทีผ่ า่ นมาดูจะชุลมุนวุน่ วายอย่างทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อน มีเสียงโนโหวต เกินครึง่ และยังมีโหวตโนอีกกว่า 3 ล้านเสียง เราคงต้องดูการเลือกตัง้ ส.ว. ในวันที่ 30 มีนาคม 2557 ที่จะถึงนี้ว่าผลออกมาจะเป็นอย่างไร รวมถึงการเลือกตั้ง ส.ส. ในหลายเขตที่ยังไม่ สามารถเลือกตั้งได้อีกด้วย ในส่วนเรื่องการจำ�นำ�ข้าวก็ยังไม่สิ้นสุดเช่นกัน ยังมีชาวนาผูกคอตายกันหลายราย เพราะเกิดอาการเครียดทีไ่ ม่มเี งินไปใช้คนื หนีส้ นิ อีกทัง้ ยังมีชาวนาอีกจำ�นวนมากได้มาร้องขอ ทีส่ ภาทนายความให้ชว่ ยดำ�เนินคดีทางศาลให้กบั ตนด้วย ณ ปัจจุบนั นี้ มีชาวนามาขอให้สภา ทนายความช่วยดำ�เนินคดีให้กว่า 8,000 รายแล้วค่ะ ซึ่งทางท่านกำ�นันสุเทพก็ได้เดินขบวน ไปตามถนนสายต่าง ๆ เพื่อขอรับบริจาคเงินจากพ่อแม่พี่น้องที่เห็นใจชาวนา เพื่อนำ�เงินมา มอบให้แก่สภาทนายความเป็นค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องร้องคดีของชาวนา ไม่นา่ เชือ่ นะ คะว่าการเดินขบวนของท่านกำ�นันสุเทพไปยังถนนสายต่างๆ ได้เงินมากว่า 20 ล้านบาท และ กำ�นันสุเทพจะมอบเงินจำ�นวน 25 ล้านบาทให้แก่สภาทนายความเพือ่ เป็นค่าธรรมเนียมศาล ฟ้องคดีให้แก่ชาวนาต่อไป ยังไงก็ขอให้ชาวนาทุกท่านใจเย็น ๆ ทุกปัญหาต้องมีทางออกค่ะ
ร้อน เย็น เห็นจากแก้ว
เป็นไอเดียของ Tiago Pinto ชาวเนเธอร์แลนด์ เพื่อแก้ปัญหาแก้วกาแฟร้อนลวกมือลูกค้า โดยแก้วนี้จะเปลี่ยนเป็นสีส้มหากใส่กาแฟร้อนลงไป อุณหภูมิประมาณ 70 องศาเซลเซียสขึ้น ไป และจะค่อยๆ กลับเป็นสีขาวเมื่อกาแฟเย็นตัวลง เห็นแล้วอยากให้ไอเดียถูกนำ�มาใช้จริง
จากผู้อ่าน หลังจากที่ได้อ่าน นสพ. ลอว์นิวส์ ทั้ง 2 ฉบับแล้ว รู้สึกประทับใจครับ ถ้า เทียบว่า นสพ. ปกติ เป็นการทาน ผลไม้แล้ว นสพ. ลอว์นิวส์ ก็เปรียบ เหมือนการดื่มน้ำ�ผลไม้ เพราะว่ามี ประโยชน์และทานง่าย อีกทั้งยังมี ข่าวเมืองนอกด้วย ซึ่งหาได้ยากใน นสพ. ปกติทั่วไป สุดท้ายนี้ ขอเป็นกำ�ลังใจให้ทีมงาน ทุกท่านนะครับ -สุวชัช
คุณสุวชัช ได้รับรางวัล เป็นหนังสือ I like Like You จาก สำ�นักพิมพ์ Salmon Books
ส่งความคิดเห็น คำ�ติ-ชม ที่มีต่อ นสพ. ลอว์นิวส์ ได้ที่ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวง บวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 หรือทาง lawnewslct@gmail.com
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ต่อจากหน้า 1 : สทช. ชุ่ย นามสกุลของศิลปินแห่งชาติไม่ถูกต้อง จึงไม่แน่ใจว่า ข้อนี้จะให้คะแนนฟรีนี้อีกหรือไม่ หรือจะปฏิเสธว่า เป็นแค่การพิมพ์ผิดเท่านั้น ต่อมา ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 รศ.ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำ�นวยการ สทศ. กล่าวถึง กรณีที่มีนักเรียนโพสต์ข้อความผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก ว่า ข้อสอบแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (โอเน็ต) ปีการศึกษา 2556 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา (ม.) ปีที่ 3 วิชาศิลปะ เกิดความผิด พลาด โดยไม่มีคำ�ตอบที่ถูกต้อง ในข้อที่ถามเกี่ยวกับ ชื่อศิลปินแห่งชาติด้านนาฏศิลป์ ซึ่งตัวเลือกที่ 2-4 เป็นชื่อของศิลปินแห่งชาติด้านดนตรี และการทอผ้า แต่ตัวเลือกที่ 1 เป็นชื่อ น.ส.จำ�เรียง พรประดับ ทำ�ให้ นักเรียนเกิดความสับสน เนื่องจากชื่อศิลปินแห่งชาติ ด้านนาฏศิลป์ที่ถูกต้อง คือ น.ส.จำ�เรียง พุธประดับ จึ ง เกิ ด กระแสวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ถึ ง มาตรฐานการออก ข้อสอบของ สทศ.และลุ้นว่าจะได้รับคะแนนฟรีจาก ข้อนี้หรือไม่ ว่า ได้มอบให้คณะกรรมการออกข้อสอบ ได้ไปตรวจสอบข้อสอบในรายวิชาดังกล่าวแล้วว่าผิด พลาดจริงหรือไม่ รวมถึงผิดพลาดในขั้นตอนใดและ ให้รายงานกลับมาโดยเร็วที่สุด แต่ยืนยันว่า สทศ. ยัง คงยึดหลักความยุติธรรม และนึกถึงผลประโยชน์ของ เด็กเป็นหลักจึงไม่อยากให้เด็กต้องกังวล ทั้งนี้ หาก คณะกรรมการฯ ตรวจสอบแล้วพบว่าข้อสอบข้อดัง กล่าวผิดพลาดจริง ทาง สทศ.ก็จะให้คะแนนฟรีแก่ เด็ก ทั้งนี้ จากการตรวจสอบ คณะกรรมการออก ข้อสอบได้ชี้แจงว่า ข้อสอบดังกล่าวมีความผิดพลาด ในกระบวนการพิสูจน์อักษร ชื่อที่ถูกต้องคือ นางสาว จำ�เรียง พุธประดับ แต่ในข้อสอบเป็น นางสาวจำ�เรียง พรประดับ ดังนั้น ข้อดังกล่าวจึงไม่มีคำ�ตอบที่ถูก ต้อง คณะกรรมการออกข้อสอบและสทศ.จึงมีมติให้ คะแนนฟรีในข้อนั้น 2.5 คะแนน “ที่ผ่านมา สทศ.พยายามพัฒนาข้อสอบให้ เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด จนกระทั่งไม่ให้มีความ ผิดพลาดเลย ซึ่งข้อสอบโอเน็ตชั้น ป.6 และ ม.3 ปีนี้ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาก็จะเห็นว่าแทบจะไม่มีข้อผิด พลาดเลย” รศ.ดร.สัมพันธ์กล่าว และว่า สทศ.เตรียม จัดสอบโอเน็ตรอบพิเศษ กรณีเกิดเหตุสุดวิสัยให้แก่ นักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 ที่ไม่ได้เข้าสอบเมื่อวันที่ 8-9 ก.พ.ที่ผ่านมา โดยเปิดรับสมัครในวันที่ 10-17 ก.พ.นี้ ซึ่ง ป.6 จะสอบวันที่ 5 มี.ค. ส่วน ม.3 สอบ วันที่ 5-6 มี.ค. โดยเด็กต้องสมัครด้วยตนเองที่ สทศ. หรือทางไปรษณีย์โดยใช้วิธีอีเอ็มเอส ทั้งนี้เด็กที่มีสิทธิ์ สมัครสอบในรอบนี้นั้น จะต้องมีเหตุสุดวิสัยจริงๆ ได้แก่ เจ็บป่วย ประสบอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการรักษา ประสบภัยธรรมชาติ โรคระบาด เหตุฉุกเฉินอันเกิด แก่บิดา-มารดาแล้วทำ�ให้ไม่สามารถเข้าสอบได้ หรือ เหตุฉุกเฉินที่ส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถเข้าสอบได้ ด้านนายจาตุรนต์ ฉายแสง รักษาการ รมว. ศึกษาธิการ กล่าวว่า การออกข้อสอบก็ต้องมีความผิด พลาดบ้างเล็กๆ น้อยๆ ซึ่งก็เป็นเรื่องที่พอจะรับได้ แต่ ก็ต้องพยายามปรับปรุง และพัฒนาไม่ให้เกิดข้อผิด พลาดอีก โดยขณะนี้ สทศ. อยู่ระหว่างการปรับปรุง เพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่จะนำ�ผลมาใช้ในการพัฒนาการ ศึกษาของประเทศ ทั้งนี้แม้ที่ผ่านมาจะมีปัญหา ข้อสอบผิดพลาดอยู่บ้างแต่ก็ยังดีกว่าให้โรงเรียนวัดผล เอง เพราะการสอบโอเน็ตเป็นการทดสอบระดับชาติ ที่ใช้ข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศ ทำ�ให้รู้คุณภาพที่แท้ จริงของเด็ก และสถานศึกษาแต่ละแห่งได้
เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 ตัวแทนนักศึกษาจากคณะ รัฐศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ เข้าศึกษาดูงานเพื่อรับฟังและรับทราบหลักเกณฑ์แนวทางการ รับรองหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โดยมีคุณนิวัติ แก้วล้วน เลขาธิการสภาทนายความ และคุณอุทัย ไสยสาลี หัวหน้า สำ�นักงานทนายความให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุมประธาน ดวงรัตน์ ชั้น 3
3
เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 นักศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำ�แพงเพชร เข้าเยี่ยมศึกษาดูงานด้าน การเรี ย นการสอบของสำ � นั ก ฝึ ก อบรมวิ ช าว่ า ความแห่ ง สภา ทนายความ ณ ห้องประชุมชั้น 4 โดยมีคุณนิวัติ แก้วล้วน เลขาธิการสภาทนายความ ให้การต้อนรับ
ชุลมุนเลือกตัง้ ส.ส. โนโหวตเกินครึง่ คิวต่อไป เลือก ส.ว. หย่อนบัตร 30 มีนา
กกต. แถลงยอดผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. อึ้ง! โนโหวต เกินครึ่ง โหวตโนอีกกว่า 3 ล้าน เชียงใหม่แชมป์มา หย่อนบัตร เตรียมจัดเลือกตั้ง ส.ว. ต่อ 30 มี.ค. นี้ นายภุชงค์ นุตราวงค์ เลขาธิการคณะกรรมการการ เลือกตั้ง หรือ กกต. แถลงจำ�นวนผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 อย่างเป็นทางการ ว่า จากจำ�นวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้ง สิ้น 43,024,786 คน มีผู้มาใช้สิทธิ์ 20,530,359 คน คิดเป็น ร้อยละ 47.72 บัตรดี 14,645,812 บัตร คิดเป็นร้อยละ 71.34 บัตรเสีย 2,458,461 บัตร คิดเป็นร้อยละ 11.97 / จำ�นวนผู้ ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,426,080 บัตร คิดเป็นร้อยละ 16.69 กรุงเทพมหานคร มีผู้มาใช้สิทธิ์ 1,133,296 คน คิดเป็นร้อยละ 25.94 จากจำ�นวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 4,369,120 คน เป็น บัตรดี 775,821 บัตร คิดเป็นร้อยละ 68.46 / บัตรเสีย 90,923 บัตร คิดเป็นร้อยละ 8.02 / จำ�นวนบัตรไม่ประสงค์ลงคะแนน 266,552 บัตร คิดเป็นร้อยละ 23.52 จั ง หวั ด ที่ มี ผู้ ม าใช้ สิ ท ธิ์ เ ลื อ กตั้ ง มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ เชียงใหม่ มีผู้ออกมาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 827,808 คน จากจำ�นวน ผู้มีสิทธิ์ 1,103,069 คน คิดเป็นร้อยละ 75.05 ส่วนจังหวัดที่มีผู้ ใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุด ได้แก่ นครศรีธรรมราช มีผู้มาใช้สิทธิ เลือกตั้ง 1,302 คน เฉพาะในเขตเลือกตั้ง ที่สามารถเปิดให้ลง คะแนนได้ 14,825 คน คิดเป็นร้อยละ 8.78 ทัง้ นีข้ อ้ มูลดังกล่าว นับรวมเฉพาะจังหวัดทีจ่ ดั ให้มกี าร เลือกตั้งได้ 68 จังหวัด แม้บางหน่วยเลือกตั้งต้องปิดหีบก่อน เวลา 15.00 น. แต่ไม่มีการนับรวม 9 จังหวัดภาคใต้ ที่ไม่ สามารถจัดการเลือกตั้งได้ คือ กระบี่ ชุมพร ตรัง พังงา ภูเก็ต ระนอง สงขลา และสุราษฎร์ธานี และไม่มีการนับรวมจำ�นวนผู้ ลงคะแนนเลือกตั้งล่วงหน้า เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2557 กกต. ชง เลือกตั้ง ส.ว. 30 มี.ค. เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 นายภุชงค์ นุตราวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดเผยถึงการเตรียม ความพร้อมในการจัดการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นการทั่วไป ซึ่งจะครบวาระในวันที่ 1 มีนาคม 2557 ว่า ที่ประชุม กกต. ได้มีมติเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกาให้มี
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ... ซึ่งกำ�หนดให้วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม 2557 เป็นวันเลือกตั้ง โดยจะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 4-8 มีนาคม 2557 และลงคะแนนเลือกตั้งล่วงหน้า ในวันอาทิตย์ที่ 23 มีนาคม 2557 นายภุชงค์ กล่าวต่อว่า ทั้งนี้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มีความ ประสงค์จะลงคะแนนเลือกตั้งล่วงหน้านอกเขตจังหวัด สามารถยื่น คำ�ขอลงทะเบียนใช้สิทธิเลือกตั้ง ได้ตั้งแต่วันที่ 17-28 กุมภาพันธ์ 2557 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เคยลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า นอกเขตจังหวัดไว้แล้ว ในการเลือกตั้ง ส.ส. ที่ผ่านมา ไม่ต้องยื่น คำ�ขอใหม่ แต่หากต้องการกลับไปใช้สิทธิที่หน่วยเลือกตั้งที่มีชื่อ อยู่ในทะเบียนบ้าน จะต้องยื่นคำ�ขอยกเลิกการลงทะเบียน โดย ขอรั บ แบบคำ � ขอลงทะเบียนและยื่นต่อนายทะเบียนอำ�เภอหรือ นายทะเบียนท้องถิ่นในจังหวัดที่ท่านอาศัยอยู่ด้วยตนเอง หรือส่ง ทางไปรษณีย์ หรือมอบหมายผู้อื่นไปยื่นแทนซึ่งจะต้อง แนบหลัก ฐาน เช่น สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน หรือบัตรที่มีรูปถ่าย ที่ทางราชการออกให้ ซึ่งสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ สำ�นักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง www.ect.go.th มติครม.เห็นชอบ พ.ร.ฎ. เลือกตั้ง ส.ว. ต่อมา ร้อยโทหญิงสุณิสา เลิศภควัต รองโฆษกประจำ� สำ�นักนายกรัฐมนตรี แถลงภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี ว่า คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการการ เลือกตั้ง (กกต.) ขอให้พิจารณาเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาให้มี การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นการทั่วไปพ.ศ. ... เนื่องจากสมาชิก วุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งทั่วไป จะครบวาระ 6 ปี ในวันที่ 1 มีนาคม 2557 ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 118 บัญญัติให้ต้องกำ�หนดวันเลือกตั้งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วัน ที่วาระของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง คือ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2557 ดังนั้นจึงมีมติกำ�หนดให้วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม 2557 เป็นวันเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา โดยกำ�หนดวันรับสมัครเลือกตั้ง สมาชิกวุฒิสภาระหว่างวันอังคารที่ 4 ถึง วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม 2557 ทั้งนี้ภายหลังจากที่สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบ รายละเอียดเรียบร้อแล้ว จะต้องนำ�ร่างพ.ร.ฎ.ดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 2 มีนาคม 2557
4
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
เตือนน้ำ�ประปา กทม. เค็ม ป่วยโรคไตห้ามดื่ม! เค็มกว่าปกติเกิน 10 เท่า เหตุภัยแล้งคุกคาม กปน.เตื อ นคนกรุ ง ที่ เ ป็ น โรคไตห้ า ม ดื่มน้ำ�ประปาโดยเด็ดขาด เหตุภัยแล้ง คุกคามในรอบ 100 ปี กระทบต่อการ ผลิตน้ำ�ประปา ต้องนำ�น้ำ�ดิบที่ค่าความ เค็มสูงมาใช้ ชี้มีรสเค็มแม้ผ่านการต้ม ยืนยันคนทั่วไปดื่มได้ไม่มีปัญหา เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 ที่การประปานครหลวง (กปน.) สำ�นักงาน ใหญ่ นายวิสุทธิ์ นพคุณทอง รองผู้ว่าการ กปน. ฝ่ายผลิตและส่งน้ำ�ในฐานะประธาน กรรมการศูนย์อำ�นวยการเพื่อแก้ไขปัญหา วิกฤติการณ์น้ำ�และคุณภาพน้ำ� เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ ภั ย แล้ ง ในลุ่ ม แม่ น้ำ � เจ้าพระยาที่เริ่มส่งผลต่อพื้นที่ภาคกลางมา ตั้งแต่ ช่วงเดื อนมกราคมจนถึ ง ปัจจุบัน ได้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การผลิ ต น้ำ � ประปาในฝั่ ง ตะวันออกที่ใช้น้ำ�ดิบจากแม่น้ำ�เจ้าพระยา แล้ว เริ่มตั้งแต่ช่วงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ที่
ผ่านมา หลังจากที่กรมชลประทานลดการ ปล่ อ ยน้ำ � ผ่ า นลุ่ ม แม่ น้ำ � เจ้ า พระยาเหลื อ เพียง 50 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ประกอบ กั บ ปรากฏการณ์ น้ำ � ทะเลยกตั ว สู ง มาเร็ ว กว่าทุกปี ส่งผลให้มีน้ำ�ทะเลหนุนเข้าแม่น้ำ� เจ้าพระยามาก จนเลยสถานีสูบน้ำ�สำ�แล จังหวัดปทุมธานี ไปถึงอำ�เภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน นายวิสทุ ธิ์ กล่าวต่อว่าขณะนีน้ �ำ้ ดิบ ที่ สู บ จากสถานี สำ � แลจะมี ค่ า ความเค็ ม (คลอไรด์) สูงถึง 250-260 มิลลิกรัม/ ลิตร จากภาวะปกติจะมีค่าคลอไรด์เพียง 20 มิลลิกรัม/ลิตร แม้จะมีการประสานกับ กรมชลประทานในการเพิ่มการปล่อยน้ำ� จากเขื่อนเป็น 70 ลูกบาศก์เมตร/วินาที รวมกับน้ำ�ที่ผันจากแม่น้ำ�แม่กลอง ผ่าน ทางคลองพระยาบรรลือมาช่วยอีกประมาณ 1.5 ล้านลูกบาศก์เมตร/วัน แต่จุดรับน้ำ�
ของกปน.อยู่ ท้ า ยสุ ด ผ่ า นการใช้ น้ำ � จาก 22 จังหวัดภาคกลาง ซึ่งเป็นพื้นที่เพาะ ปลูกทำ�ให้มีน้ำ�เหลือไปผลักดันน้ำ�เค็มไม่ มาก ส่งผลให้ กปน.ต้องสูบน้ำ�เค็มมาใช้ ผลิตน้ำ�ประปา เพื่อให้ประชาชน 10 ล้าน คน ไม่ให้ขาดแคลนน้ำ�ประปา ซึ่งในการ อุปโภคประชาชนยังใช้น้ำ�ได้ตามปกติ แต่ ถ้าใช้บริโภคแม้จะผ่านการต้ม น้ำ�จะยังมี รสกร่อยและยังมีค่าคลอไรด์สูงอยู่ ซึ่งในคน ปกติ ส ามารถดื่ ม ได้ ไ ม่ มี ผ ลกระทบต่ อ สุขภาพ แต่จะรู้สึกว่าดื่มน้ำ�แล้วยังกระหาย น้ำ�อยู่ ส่วนผู้ป่วยโรคไต จะได้รับผลกระ ทบโดยต้องซื้อน้ำ�ดื่มที่มีค่าคลอไรด์ปกติมา ดื่มแทน โดยต้องเป็นน้ำ�ที่ผ่านเครื่องกรอง ระบบอาร์โอ นายวิสุทธิ์ กล่าวอีกว่า ค่าความ เค็มในน้ำ�ดิบที่พบขณะนี้ไม่เคยเจอมาก่อน ถือว่าเกิดขึ้นในรอบ 100 ปี ที่เคยพบเมื่อ
ปี 2553 ก็น้อยกว่านี้มากมีลิ่มความเค็มจ่อ ที่สถานีสูบน้ำ�สำ�แลแค่ 2-3 ชั่วโมง ก็ลด ลงไป ซึ่งสามารถแก้ปัญหาได้ ไม่กระทบ กับการผลิตน้ำ�ประปา แต่ปีนี้เราไม่มั่นใจ เลย ที่ผ่านมาปัญหาน้ำ�เค็มเกิดช่วงเดือน เมษายน พอถึงเดือนพฤษภาคมฝนก็ตก จึงเป็นปัญหาแค่ช่วงสั้นๆ แต่ปีนี้เกิดขึ้น เร็ว ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ อีกทั้งปีนี้ยังมี การคาดการณ์ว่าฝนจะตกช้าอาจเป็นเดือน มิถุนายน จึงอยากบอกประชาชนว่าจาก นี้ไปอีก 2-3 เดือน รสชาติของน้ำ�ประปา อาจเปลี่ยนไป แต่คุณภาพของน้ำ�ยังเป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานขององค์การอนามัย โลก ยกเว้นรสชาติที่อาจเปลี่ยนไป ทั้งนี้ จะเป็นเฉพาะพื้นที่ให้บริการด้านฝั่งตะวัน ออกของแม่น้ำ�เจ้าพระยา หรือกรุงเทพฯ ฝั่ง พระนคร ส่วนพื้นที่ฝั่งธนบุรีที่รับน้ำ�จากโรง ผลิตน้ำ�มหาสวัสดิ์จะไม่ได้รับผลกระทบนี้
สิแอนทพลอยส่ ธิสอตรี งแสง และ ยศกร ศรีอมร
กฎหมายครอบครัว กับสิทธิและหน้าที่ของหญิงไทย: การหมั้น (ตอนที่ 1) ผู้เขียนได้เคยนำ�เสนอเรื่องการใช้คำ�นำ�หน้านาม และการ ใช้นามสกุล ของหญิงภายหลังการสมรสไปแล้ว ในคราวนี้ จะกล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ของหญิงตามกฎหมายครอบครัว ของไทย ซึ่งในตอนแรกนี้ จะขอเริ่มด้วย “การหมั้น” ชีวิตคู่ของชายหญิงจะเริ่มต้นด้วยการคบหาดูใจ กันจนเป็นทีพ่ อใจในระดับหนึง่ บางคูน่ น้ั อาจจะเข้าพิธสี มรส กันเลย แต่บางคู่อาจจะเพียงขอหมั้นหมายกันไว้ก่อน เพื่อ ดูใจกันไปอีกพักหนึ่งหรือบางคู่อาจจะถือเรื่องฤกษ์ยาม อาจ จะทำ�การหมั้นหมายกันไว้ก่อน เพื่อเอาฤกษ์เอายาม แล้ว จึงค่อยเข้าพิธีสมรสกันในภายหลัง เมือ่ ชายหญิงได้ท�ำ การหมัน้ กันแล้ว สิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมายได้เกิดขึ้นทันที ซึ่งจะปรากฎอยู่ในประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) ตั้งแต่มาตรา 1435 ถึง 1447/2 หลักสำ�คัญคือ การหมั้นระหว่างชายหญิงจะ ทำ�ได้ต่อเมื่อทั้งคู่มีอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว ถ้าฝ่าฝืน การหมั้นนั้นจะตกเป็นโมฆะเสมือนไม่เคยมีการหมั้นมา ก่อนเลย แต่ถ้าชายหญิงมีอายุเกิน 17 ปีแล้ว แต่ยังไม่ถึง 20 ปี ซึ่งถือว่ายังเป็นผู้เยาว์อยู่ ได้ทำ�การหมั้นกันโดยไม่ได้ รับความยินยอมจากบิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ ปกครอง แล้วแต่กรณี การหมั้นนั้นก็จะตกเป็นโมฆียะ คือ ผู้ที่สามารถให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ จะยอมรับ หรือบอก ล้างการหมั้นนั้นก็ได้
เมื่อชายหญิงมีความสามารถทำ�การหมั้นได้แล้ว มาดูความหมายของ “ของหมั้น” กันบ้าง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1437 บัญญัติไว้ว่า “การหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อฝ่าย ชายได้ ส่ ง มอบหรื อ โอนทรั พ ย์ สิ น อั น เป็ น ของหมั้ น ให้ แ ก่ หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้ว ให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง” จะเห็นว่ากฎหมายมิได้กำ�หนดอัตราขั้นสูงหรือ ขั้นต่ำ�ของของหมั้น แต่กำ�หนดไว้ว่าการหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อ “ส่งมอบ” หรือ “โอน” ของหมั้น ทำ�ให้เราทราบได้ว่าของ หมั้นนั้นเป็นได้ตั้งแต่ แก้ว แหวน เงิน ทอง จนถึงที่ดินที่ มีโฉนดและสามารถโอนให้กันได้ เมื่อการหมั้นสมบูรณ์ แล้วของหมั้นก็ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของหญิงทันทีโดยที่การ หมั้นเป็นเพียงหลักฐานว่าชายจะสมรสกับหญิงเท่านั้น ไม่ สามารถร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรส หรือจะเรียกเบี้ยปรับ จากการผิดสัญญาหมั้นมิได้ (ป.พ.พ. มาตรา 1438) เพราะ การสมรสเป็นเรื่องของการสมัครใจของทั้งสองฝ่าย อนึ่ง ถ้าสังเกตกันให้ดี จะเห็นได้ว่า ในการส่งมอบของหมั้นนั้น กฎหมายบังคับแต่เพียงให้ฝ่ายชายส่งมอบของหมั้นให้แก่ หญิง แต่ไม่ได้กำ�หนดให้ฝ่ายหญิงต้องส่งมอบให้ชายนะ เมื่อกล่าวถึงของหมั้น สิ่งหนึ่งที่มักจะมีควบคู่กัน นั่นคือ “สินสอด” คนเราส่วนใหญ่มักจะได้ยินกันติดหูว่า “สินสอดทองหมั้น” แต่จริง ๆ แล้ว สองสิ่งนี้มีความแตก
ต่างกัน คือ “สินสอด” เป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดา มารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง แล้วแต่ กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส (ป.พ.พ. มาตรา 1437 วรรค 2) ดังนั้น สินสอดเปรียบเสมือนค่าน้ำ�นม ค่า เลี้ยงดูปกป้อง อบรมบ่มเพาะหญิงขึ้นมาจนมีชายหมายปอง มาสูข่ อโดยสาระสำ�คัญอยูท่ ท่ี รัพย์สนิ นัน้ ต้องให้ “ฝ่ายหญิง” เพื่อเป็นการตอบแทนที่ “หญิงยอมสมรส” ถ้าเป็นการให้ ทรัพย์สินแก่หญิง หรือ ให้ฝ่ายหญิงแต่ไม่เกี่ยวกับการที่หญิง ยอมสมรสด้วย ทรัพย์สินนั้นไม่ได้ชื่อว่าเป็น สินสอด และ เมื่อสินสอดเป็นการให้เพื่อตอบแทนที่มีการสมรส แสดงว่า สิ น สอดสามารถมอบให้ ห ลั ง จากสมรสเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ก็ ไ ด้ ฉะนั้น ชายหญิงคู่ใดที่จะทำ�การสมรสกันก็ควรเข้าใจความ หมายของสินสอดว่าเป็นส่วนหนึ่งของการตอบแทนบุญคุณ บุพการี ส่วนของหมั้นเป็นเหมือนเพียงคำ�มั่นว่าจะสมรสกัน จะมากน้อยเล็กใหญ่คงไม่สำ�คัญ แต่ถ้าเล็กน้อยเกินไป ฝ่ายชายอาจจะต้องมีงานเพิ่มขึ้นหลังจากสมรสแล้ว การหมั้น หรือการให้สินสอด ก่อให้เกิดสัญญา ทำ � ให้ ฝ่ า ยชายและฝ่ า ยหญิ ง มี ห น้ า ที่ ที่ ต้ อ งปฎิ บั ติ ต่ อ กั น ดังนั้นจึงอาจเกิดการไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือกระทำ�ผิด หน้าที่ ซึ่งอาจทำ�ให้อีกฝ่ายมีสิทธิเรียก“ค่าทดแทน” หรือ เรียกของหมั้นและสินสอดคืนได้ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไปใน ฉบับหน้า
ลอว์นิวส์
รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน
เจ้าของ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ปรึกษา นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายพูลศักดิ์ บุญชู ผศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรพล สินธุนาวา นายชวน คงเพชร ดร. สุธรรม วลัยเสถียร นายสุมิตร มาศรังสรรค์ นายนิวัติ แก้วล้วน ดร. เกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล บรรณาธิการ, ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา นางแอน พลอยส่องแสง กองบรรณาธิการ นายสุวิทย์ เชยอุบล นายสุนทร พยัคฆ์ นายวิเชียร ชุบไธสง นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ นายสุชาติ ชมกุล นายชลิต ขวัญแก้ว ร้อยตรีสุรศักดิ์ รอนใหม่ นายพิเชฐ คูหาทอง นายอาสา เม่นแย้ม นายผาติ หอกิิตติกุล นายวิทยา แก้วไทรหงวน นายวันรัฐ นาคสุวรรณ นายโอฬาร กุลวิจิตร นายวีรวัฒน์ จิตต์ปรุง ศิลปกรรม นายฉัตรชัย ทองศักดิ์ หนังสือพิมพ์ลอว์นิวส์ จัดทำ�โดยสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567 แฟกซ์ 0-2282-9908 E-mail : lawnewslct@gmail.com พิมพ์ที่ 96 หมู่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
ขบข่ าวเอามากัด ABC นิรนาม
5
kroothaiban.com
5 ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
การศึกษาแบบไทยไทย
ช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถงึ ช่วงต้นเดือนมีนาคมนี้ เป็นอีกช่วงเวลา ที่เด็กไทยจะหวาดกลัวกันเป็นพิเศษ หลังจากที่หยุดยาวกันตั้งแต่ คริสต์มาส ปีใหม่ฝรั่ง ปีใหม่จีน จนเกือบจะถึงปีใหม่ไทย เนื่องจาก ช่วงนีเ้ ป็นช่วงเวลาของการสอบปลายภาค (เรียกอย่างฝรัง่ แบบไทยๆ ว่า “สอบไฟนอล”) ซึ่งเด็กไทยส่วนใหญ่ก็จะมีวิธีรับมือกับการสอบ อยู่ 2 วิธี นั่นก็คือ 1. กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธ์ทั่วทุกสารทิศ ไม่ว่าจะเป็นของ พุทธ คริสต์ อิสลาม พราหมณ์ ฮินดู ซิกข์ เต๋า ขงจือ๊ ต้นกล้วย ต้นตาล หมาสองหัว วัวสี่เขา เต่าแปดขา ฯลฯ (อันหลังๆ นี่ ออกแนวผู้ ปกครองพาไปหาโชคลาภช่วงต้นเดือนกับกลางเดือน) ซึ่งบางครั้ง ก็ ไปกราบไหว้กันทั้งๆ ที่ไม่ได้นึกถึงความหมาย ที่มา หรือความเป็น ไปได้เลยว่าจะเทพเจ้าทั้งหลายนั้นจะช่วยได้หรือไม่? เช่นครั้งหนึ่ง ผมเคยเจอเด็กนักเรียนมัธยมคนหนึง่ กำ�ลังบนบานต่อเทวรูปองค์หนึง่ ขอให้สอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์! คุณพระ! บนสวรรค์บรรดาเทพทั้ง หลายต้องคำ�นวณตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น ล็อกการิทึ่ม (ที่เรียนแล้วรู้สึก ทึ่ม) ด้วยรึ? มิใช่ว่าจะสร้างอะไรก็เนรมิตเสกขึ้นมาได้เหรอ? ถึงได้ ไปขอให้ท่านไปช่วยแบบนั้นน่ะ? ถ้าสอบวิชาภาษาบาลีสันสกฤตก็ ว่าไปอย่าง 2. สำ�นักติวทั่วฟ้าเมืองไทย ที่เดี๋ยวนี้มีเปิดให้ติวกันตั้งแต่ เมือ่ คลอดแล้วอยูร่ อดเป็นทารก และสิน้ สุดลงเมือ่ ตาย (ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 วรรคแรก เป๊ะ!) มีตั้งแต่ระดับ ติวเข้ามหา’ลัย เข้าม.ปลาย เข้าม.ต้น เข้าชั้นประถม ยันเข้าโรงเรียน อนุบาล มิหนำ�ซ้ำ� บางที่ยังมีรับติว “เตรียมอนุบาล” ด้วย เรียกได้ ว่า พอหย่านมปุ๊บ ก็จับติวปั๊บ แล้วก็เข้าสู่วัฏจักรวงจรแห่งการติวที่ ไม่มีที่สิ้นสุด แล้วก็อย่านึกว่าเข้ารั้วมหาวิทยาลัยได้แล้วจะหยุดวงจร อุบาทว์นี้ได้นะครับ เพราะสำ�นักติวหลายแห่งก็เปิดติววิชาทั้งหลาย ทั้งปวงในมหาวิทยาลัย ไล่ไปตั้งแต่ระดับปริญญาตรียันปริญญาเอก เลย (มีโอกาส จะจัดเต็มให้กับวงการติวสัก 1 ตอน) อันที่จริงแล้ว ประเทศไทยของเราก็ได้เน้นนโยบายด้าน การศึกษาเป็นสำ�คัญ ดังจะเห็นได้จากสัดส่วนของงบประมาณแผ่น ดินกินพุงกาง ทีท่ มุ่ ให้แก่การศึกษาอย่างเต็มที่ มียอดงบประมาณสูง เป็นอันดับต้นๆ ของอาเซียน ซึง่ ก็นา่ ภาคภูมใิ จว่าผลสัมฤทธิท์ ไี่ ด้กไ็ ด้ ในอันดับต้นๆ (ถ้านับจากท้ายขึ้นมา) เช่นกัน ทั้งๆ ที่ เมื่อมีการแข่ง โอลิมปิกวิชาการเมื่อไหร่ เด็กไทยก็ไปคว้ารางวัลมาได้ไม่น้อยหน้า ประเทศอื่น บางที ปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจะมาจากโครงการต่างๆ ที่ รัฐบาลเป็นคนวางแผนจัดทำ� โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการแจก “แท็บเล็ต” ที่ผลาญงบประมาณจนน้ำ�ตา “แทบเล็ด” ซึ่งไม่ว่าจะมี แพทย์ นักวิชาการ หรือใครต่อใครออกมาเตือนถึงปัญหาที่อาจเกิด ขึ้นตามมาหลายๆ ประการ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของปัญหาทางสายตา ที่อาจทำ�ให้สายตาเสื่อมก่อนวัยอันควร การใช้แต่นิ้วจิ้มไปสไลด์มา จนเด็กอาจขาดพัฒนาการด้านการหยิบจับสิง่ ของและการเขียน รวม
ถึงปัญหาสำ�คัญคือปัญหาด้านพลังงานและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ นอกจากสัญญาณคลื่นความถี่สามจี (ที่อาจจะมาจากจีทูจี G2G, G+2G =3G) จะไม่ครอบคลุมแล้ว ปัญหาเรื่องไฟฟ้ายิ่งแล้วใหญ่ เพราะบางโรงเรียนก็ยังขาดแคลนไฟฟ้า ปลั๊กไฟไม่เพียงพอต่อการ ใช้ รวมถึงความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากความซุกซนตามวัยของเด็ก การปรับตัวของคุณครู ฯลฯ เหล่านีก้ ย็ งั เป็นปัญหาอยู่ แต่ปญ ั หาใหญ่ ที่สุดก็คือ บริษัทจากแผ่นดินใหญ่ที่ชนะการประมูลได้ปิดบริษัทหนี ไปแล้ว พร้อมกับเชิดเงินไปไม่น้อย ทำ�ให้รัฐบาลต้องตามไปไล่ฟ้อง เอาเอง เพราะยังส่งมอบเครื่อง “แทบเล็ด” ไม่ครบตามสัญญาอีก บานตะไท (ซึ่งเชื่อกินขนมได้เลยว่า จะได้มาแค่เพียงคำ�พิพากษา เปล่าๆ แต่ไม่อาจจะเอาทรัพย์สินมาใช้หนี้ได้) ส่วนเด็ก ม.ต้น ล่าสุดก็เพิ่งเจอกับ “ข้อผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ” ที่ทำ�เอาเด็กๆ หลายคนต้องมาบ่นแกมโวยวายถึง “ข้อผิด พลาดเล็กๆ น้อยๆ” ว่าไม่มคี �ำ ตอบทีถ่ กู ต้อง แล้วจะได้คะแนนในข้อ นั้นหรือไม่ ซึ่งในที่สุด ก็มีผู้ใหญ่ใจดี เป็นซานต้า (หรือซาตาน) แจก คะแนนให้คนละสองคะแนนครึ่ง ให้แก่เด็กๆ ทุกคน สำ�หรับเด็ก ม.ปลาย โดยเฉพาะนักเรียนที่กำ�ลังจะกลาย เป็นนักศึกษา ก็ล้วนแต่หวาดหวั่นกับการสอบสารพัดสอบ มีตั้งแต่ การสอบจากหน่วยงานภาครัฐ สมศ. สทศ. สพฐ. ศรส. (ไม่เกี่ยว!) ภาคเอกชนที่มีจัดติวเตรียมสอบเข้าหลายๆ ที่ ทั้งแบบที่มีและไม่มี โฆษณาสินค้าแอบแฝง ไล่ไปจนถึงการสอบตรงทั่วราชอาณาจักร มี กีท่ กี่ ไ็ ปหมด เพือ่ เปิดโอกาสและเผือ่ ฟลุค บางรายหมดค่าสมัครสอบ อย่ า งเดี ย วเป็ น หมื่ น ก็ มี ชี วิ ต วั ย รุ่ น ที่ ค วรจะได้ มี ค วามสุ ข ก็ ก ลั บ หมกมุ่นอยู่กับตำ�รา เตรียมสอบ ที่สำ�คัญ บางหน่วยงานกำ�หนดวัน สอบเสียดิบดี พอใกล้จะถึงวันสอบในอีกไม่กี่วัน กลับประกาศเลื่อน การสอบแบบไม่ทนั ให้ได้ตงั้ ตัว เด็กหลายคนทีอ่ ตุ ส่าห์เคลียร์ควิ จาก การสอบที่อื่นๆ หรือมีนัดสำ�คัญก็ได้แต่ “แห้ว” กันไป โดยไม่มี อำ�นาจต่อรองใดๆ นอกจากเสียงบ่นและคำ�ก่นด่าทีส่ ามารถหาได้ใน โลกโซเชียลมีเดียทัว่ ไป (ถ้าผูใ้ หญ่เหล่านัน้ อยากจะหาไว้อา่ นเล่นตอน คุมสอบก็ตามใจ) นอกจากเรื่องการจัดสอบแล้ว ตัวข้อสอบเองก็เป็นปัญหา สำ�คัญ โดยเฉพาะปีกอ่ นๆ ทีม่ ขี อ้ สอบในตำ�นานหลายๆ ข้อเช่น “เตะ ฟุตบอล” “ผ้าปูโต๊ะ” หรือแม้กระทัง่ ข้อทีก่ ล่าวถึงนักกีฬาคนหนึง่ ใน สถานการณ์จำ�ลอง ซึ่งเมื่อเจ้าตัวมาตอบเองก็ยังตอบผิด! งงกันทั้งผู้ เข้าสอบและนักกีฬาว่าต้องการอะไรจากข้อสอบเหล่านี้ เพื่อ? ยังดีที่ ท่านชัชชาติไม่เดินหิ้วถุงกับข้าวมาชี้หน้าว่า “อ่อนหัด! มีความตั้งใจ แต่กย็ งั อ่อนหัด!” ให้บรรดาเด็กๆ ได้ทดสอบความแข็งแกร่งทีส่ ดุ ใน ปฐพีกันเล่นๆ ถ้าผู้ใหญ่ยังปล่อยให้ลูกหลานเราต้องเผชิญกับสิ่งเหล่านี้ ต่อไป เราก็จะกลายเป็นเป็นประเทศอนุรักษ์นิยมแบบสุดโต่ง ที่ สามารถรักษาสถานะ “กำ�ลังพัฒนา” ไว้ได้อย่างเหนียวแน่น จนไม่มี ชาติใด (ในชาตินี้และชาติหน้า) คิดจะแย่งตำ�แหน่งนี้ไปจากเราเลย
6
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
สภาเบลเยียมผ่านฉลุย “การุณยฆาตเด็ก” เด็ก 4 ขวบวอน “คิง” ช่วยยับยั้งกฎหมาย
usatoday.com
สภาเบลเยียมอนุมัติร่างกฎหมาย ทำ � การุ ณ ยฆาตไม่ จำ � กั ด อายุ เ ป็ น ประเทศแรกในโลก ท่ามกลาง ความกั ง วลของนั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ชนและผู้นำ�ทางศาสนา ด้านโลก ออนไลน์ เ ผยแพร่ ค ลิ ป เด็ ก หญิ ง วัย 4 ขวบ วอนพระราชาธิบดี แห่ ง เบลเยี่ ย มมิ ใ ห้ ท รงลงพระ ปรมาภิไธย สำ � นั ก ข่ า ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ รายงานจากกรุงบรัสเซลส์ ประเทศ เบลเยียม ว่าสภาผูแ้ ทนราษฎรเบลเยียม มีมติเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 อ นุ มั ติ ร่ า ง ก ฎ ห ม า ย ก า รุ ณ ย ฆ า ต (Euthanasia law) สำ�หรับเด็กที่ป่วย หนักโดยไม่จำ�กัดอายุ ด้วยคะแนนเสียง เห็นด้วย 86 เสียง คัดค้าน 44 เสียง และงดออกเสียงอีก 12 เสียง ร่ า งกฎหมายการุ ณ ยฆาต ฉบับปรับปรุงใหม่นี้ระบุว่า เด็กจะต้อง ตกอยู่ ใ นสถานการณ์ ที่ ก ารรั ก ษา ทางการแพทย์ไม่อาจช่วยชีวิตได้แล้ว และสภาพของผู้ ป่ ว ยไม่ ส ามารถทน ทรมานจากการเจ็บป่วยได้ และจะต้อง เป็ น การป่ ว ยหนั ก ที่ อ าจต้ อ งจบชี วิ ต ลงในเวลาอันสั้น ทั้งนี้ สามารถขอให้ แพทย์ฉีดยาให้ตายได้ แต่จะต้องผ่าน ความเห็นชอบจากพ่อแม่ก่อน และผ่าน การตรวจสภาพจิตใจจากนักจิตวิทยา หรือจิตแพทย์แล้วว่า เด็กเข้าใจว่าการุณยฆาตคืออะไร และได้ตัดสินใจอย่าง มีสติสัมปชัญญะ โดยทั้งแพทย์ บิดา และมารดาของเด็กต้องลงนามเห็นชอบ ในเอกสารร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ฝ่ายค้าน นัก สิทธิมนุษยชนและผู้นำ�ทางศาสนาต่าง ออกมาแสดงความกังวลว่า ตัวเด็กเอง จะมีความเข้าใจในการทำ�การุณยฆาต มากเพียงใด และจะสามารถร่วมตัดสิน ใจได้เองจริงหรือ โดยกลุ่มที่ต่อต้านการ ให้ สิ ท ธิ ก ารุ ณ ยฆาตในเด็ ก ระบุ ว่ า
“ไม่มีระบบที่แน่นอนที่จะพิสูจน์ได้ว่า เด็กที่ป่วยหนักและกำ�ลังตัดสินใจใช้วิธี การุณยฆาตนั้น มีค วามสามารถเพี ย ง พอในการเข้ า ใจสิ่ ง ที่ ต นเองเลื อ กได้ อย่างแท้จริง” ซึ่งเอเธียน ดูยาดิน วัย 29 ปีหนึ่งในกลุ่มผู้ประท้วงกฎหมาย ฉบับนี้ได้กล่าว่า “หากคุณได้คุยกับนัก จิตวิทยา 3 คน หนึ่งใน 3 ต้องจบลง ที่มีความเห็นอนุญาตให้คุณสามารถทำ� การุณยฆาตได้ ในการสนับสนุน เสรีภาพของเด็ก เรากำ�ลังปล่อยให้คน อื่นตัดสินชะตาของเด็ก” นอกจากนี้ กลุ่มต่อต้านยัง กล่ า วอี ก ว่ า การแพทย์ ส มั ย ใหม่ นั้ น สามารถช่ ว ยเหลื อ คนไข้ ป่ ว ยหนั ก ที่ ทรมานจากการอาการเจ็บป่วย หรือ ความรู้สึกกระวนกระวายใจเนื่องจาก อาการขั้ น วิ ก ฤตและการอนุ ญ าต การุ ณ ยฆาตในเด็ ก จะส่ ง ผลความ เครียดอย่างมากไปสู่ผู้ดูแลที่แต่เดิมก็มี ความเครียดเป็นทุนอยู่แล้วที่ต้องดูแล เด็กเล็กที่ป่วยหนัก ในขณะที่ผลสำ�รวจ สาธารณะชี้ว่าประชาชนเบลเยียมส่วน ใหญ่ ส นั บ สนุ น กฎหมายการุ ณ ยฆาต ไม่จำ�กัดถึง 2 ใน 3 ของประชากรทั้ง ประเทศ แต่กลุ่มต่อต้านกลับต้องการ ให้รัฐสภาเบลเยียมเลื่อนการลงมติออก ไป และจัดให้มีการอภิปรายยาวนาน ขึ้น ซึ่ง Le Soir หนังสือพิมพ์ภาษา ฝรั่งเศสที่ทรงอิทธิพลของเบลเยียมได้ ลงความเห็นไว้ว่า การมีกฎหมายฉบับ นี้ออกมาก็เพื่อป้องกันการประพฤติผิด ต่อหน้าที่ ด้ า น ก ลุ่ ม ผู้ ส นั บ ส นุ น กฎหมายการุณยฆาตในสายการแพทย์ ชี้ว่า การุณยฆาตนี้เกิดขึ้นได้น้อยมาก ในแต่ละปี และยังช่วยให้มีความชัดเจน ในเรื่องจริยธรรม เช่น แพทย์ทำ�การ การุณยฆาตในคนไข้เด็กตามคำ�ร้องขอ แต่กลับต้องถูกดำ�เนินคดี ซึ่งจากตัวเลข ของทางการเบลเยียม ระบุว่ามีการทำ�
การุณยฆาตจำ�นวน 1,432 รายในปี 2555 หลังจากนี้ นายกรัฐมนตรี เอลิโอ ดิ รูโป จะนำ�ร่างกฎหมายดัง กล่าวทูลเกล้าฯ ให้สมเด็จพระราชาธิบดี ฟิ ลิ ป ทรงลงพระปรมาภิ ไ ธยต่ อ ไป ซึ่งหากพระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธย เบลเยียมจะเป็นประเทศที่ 2 ในโลกต่อ จากเนเธอร์แลนด์ ที่อนุญาตให้มีการ ทำ�การุณยฆาตสำ�หรับเด็ก แต่ถือเป็น ประเทศแรกในโลกที่ไม่จำ�กัดอายุผู้ป่วย ที่จะเข้ารับกระบวนการทำ�ให้เสียชีวิต ด้วยวิธีดังกล่าว เนื่องจากกฎหมายของ เนเธอร์แลนด์อนุญาตการทำ�การุณยาต ฆาตสำ�หรับผู้มีอายุเกิน 12 ปีเท่านั้น เบลเยียมมีกฎหมายการุณย ฆาตมาตั้งแต่ปี 2002 ถือเป็น 1 ใน 3 ประเทศที่ มี ก ฏหมายการุ ณ ยฆาตใช้ นอกจากเนเธอร์แลนด์ และลักเซมเบิร์ก แต่ก่อนหน้านี้ ใช้เฉพาะผู้ใหญ่เท่านั้น เด็กน้อยวอน “คิง” ยับยั้งกฎหมาย ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เด็กหญิงเจสสิกา ซาบา วัย 4 ขวบ จากเมืองลาชีน รัฐ ควิเบก ประเทศแคนาดา ได้ร้องขอให้ กษั ต ริ ย์ แ ห่ งเบลเยี ย มอย่ า ทรงลงพระ ปรมาภิไธยบังคับใช้เป็นกฎหมาย ผ่าน คลิปที่ใช้ชื่อว่า “Plea from a child to a King : Stop Child Euthanasia by @CoalitionMD” (http://www.youtube.com/watch?v=ESQljzA3GB8) โดยเจสสิกากล่าวว่า "ได้โปรดทรงเห็น แก่เด็กๆ ขอพระองค์อย่าทรงลงพระ ปรมาภิไธย” เจสสิกาเกิดที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ในเดือนพฤษภาคม 2552 พร้อมกับความผิดปกติของหัวใจ ขั้นรุนแรง โดยมีอาการลิ้นหัวใจตีบตัน และหัวใจห้องล่างพัฒนาไม่เต็มที่ เธอ น่าจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงหรือ ไม่กี่วันเท่านั้น แต่ด้วยความช่วยเหลือ ทางการแพทย์ที่โรงพยาบาลเด็กมอน ทรีออล ทำ�ให้ในระยะเวลาเพียง 6 วัน ลิ้นหัวใจของเธอเปิด-ปิดได้ และหัวใจ ห้องล่างก็เริ่มพัฒนาขึ้นทีละน้อย ทั้งนี้ หากเจสสิกาเกิดในประเทศที่อนุญาต ให้ทำ�การุณยฆาตเด็กได้ เธอก็อาจ กลายเป็นหนึ่งในนั้น และเรื่องราวของ เธอคงแตกต่ า งไปจากที่ เ ห็ น ในวิ ดี โ อ มาก ดร.พอล ซาบา ซึ่งเป็นแพทย์
เวชศาสตร์ครอบครัวในเมืองลาชีน รัฐ ควิเบก และเป็นบิดาของเจสสิกา ได้ ร้ อ งขอกษั ต ริ ย์ เ บลเยี ย มด้ ว ยตนเอง เช่ น กั น เพื่ อ ไม่ ใ ห้ พ ระองค์ ท รงลงพระ ปรมาภิ ไ ธยในกฎหมายการุ ณ ยฆาต ที่ จ ะมี ผ ลครอบคลุ ม ถึ ง เด็ ก ๆชาว เบลเยียม เขาระบุว่าการทำ�การุณยฆาต ได้เริ่ มต้ นขึ้นในเบลเยียมเพื่อให้ผู้ที่มี ความเจ็บป่วยทางกายพ้นทุกข์ และ ปัจจุบันการุณยฆาตได้ขยายครอบคลุม ไปถึงผู้ป่วยทางจิต การทำ�การุณฆาต เริ่มต้นกับผู้ใหญ่ และขณะนี้กำ�ลังจะถูก ขยายให้ครอบคลุมถึงเด็กๆ ด้วย เขายังได้ให้เหตุผลด้วยว่า ผู้ป่วย ที่ ไ ด้ รั บ การดู แ ลรั ก ษาทางการแพทย์ อย่างดีเยี่ยมนั้นแทบจะไม่ต้องทนทุกข์ ทรมานเลย และสำ�หรับผู้ป่วยที่อยู่ใน ช่วงบั้นปลายชีวิต การดูแลแบบประคับ ประคองอาการเป็นอย่างดีจะช่วยยับยั้ง ความเจ็บปวดทางกายทั้งหมด ส่วนผู้ ที่อ้างว่าสมาชิกในครอบครัวของพวก เขาต้องทนทุกข์ทรมานในช่วงบั้นปลาย ของชีวิตนั้น เป็นเพราะผู้ป่วยไม่ได้รับ การดูแลแบบประคับประคองที่ดีพอ ด้านนางมาริสาผู้เป็นมารดา ได้ ร่ ว มแบ่ ง ปั น เรื่ อ งราวการต่ อ สู้ กั บ ความเจ็บป่วยและความสุขของเจสสิกา พร้ อ มเตื อ นว่ า กฎหมายการุ ณ ยฆาต เด็ ก อาจส่ ง ผลให้ บ รรดาผู้ ป กครอง ของเด็กที่ป่วย หรือพิการ "ถอดใจเร็ว เกินไป” โดยสิ่งที่ผู้ปกครองและเด็กๆ ต้องการคือความรักและกำ�ลังใจ ไม่ใช่ การุณยฆาต นอกจากนี้ เอลิอานา และ จอห์น-แอนโธนี พี่สาวและพี่ชายของ เจสสิกา ยังได้เล่าถึงชีวิตของน้องสาว อีกด้วย มีรายงานว่า ในแต่ละปีมีเด็ก หลายล้านคนที่เกิดมาพร้อมกับความ พิการแต่กำ�เนิดชนิดรุนแรง เช่นเดียว กับเจสสิกา เด็กหลายคนในจำ�นวนนี้ อาจถูกกระทำ�การุณยฆาต และหาก การุ ณ ยฆาตเด็ ก เป็ น สิ่ ง ถู ก กฎหมาย ในเบลเยียม สิ่งนี้ก็อาจกลายเป็นแบบ อย่ า งไปทั่ ว โลกซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ อันตราย สำ�หรับในควิเบก ปัจจุบัน รัฐบาลกำ�ลังพยายามที่จะผ่านกฎหมาย การุณยฆาต ซึ่งคล้ายกันมากกับกฎ หมายที่ ผ่ า นการลงมติ ใ นเบลเยี ย ม เมื่อประมาณ 10 ปีก่อน ขณะที่คณะ กรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนควิ เ บกก็ กำ�ลังเสนอแนะให้การทำ�การุณยฆาต ครอบคลุมถึงเด็กเช่นกัน
"เราคงไม่ต้องมา ถกเถียงกันว่า การุณยฆาตเป็น เรื่องถูกต้องหรือ ไม่...เรารู้ได้อย่างไร ว่า แพทย์ทำ�ไปด้วย ความบริสุทธิ์ใจ ทำ� ไปด้วยเจตนาดีจริง ไม่ใช่ขี้เกียจทำ�งาน และเกณฑ์วัดว่า บุคคลนั้นเป็นผู้ป่วย ที่สิ้นหวังแล้วอยู่ตรง ไหน รู้ได้อย่างไรว่า คนไข้ไม่มีโอกาส รอดแล้วจริง ๆ หมอวินิจฉัยถูกหรือ เปล่า พยายามเต็ม ที่แล้วหรือยัง มีทาง รักษาอื่นอีกหรือ ไม่ แพทยสภาต้อง ให้คำ�จำ�กัดความ ของคำ�ว่า "สิ้นหวัง" ให้ชัด ๆ สิ้นหวัง เพราะแพทย์หมด ทางรักษาจริง หรือ สิ้นหวังเพราะแพทย์ ทำ�งานไม่เต็มที่ หรือเป็นเพราะญาติ ไม่เหลียวแล" -แพทย์หญิง คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์, ผู้ตรวจราชการ และที่ปรึกษา คณะกรรมการขับ เคลื่อนนโยบายและ ยุทธศาสตร์การ แก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ทีว. ราชดำ ่แห่�เนิงนนี้
บ้านมนังคศิลา ท่ามกลางความวุ่นวายของการ คมนาคมบนท้องถนนในย่านสะพาน ขาว บ้านเก่าแก่หลังหนึ่งกลับตั้งอยู่ อย่างเงียบสงบ บ้านหลังนี้เป็นสถาน ที่ที่เก็บรวบรวมความภาคภูมิใจอัน ยิ่งใหญ่ของชาวไทยทุกคน และเป็น สถานที่ที่มีส่วนสำ�คัญในการส่งเสริม บทบาทสตรีไทย บ้านหลังนี้ผ่านเรื่อง ราวต่างๆ มามากมาย นับแต่จุด สูงสุดจนถึงจุดตำ�่สุด แต่ก็ยังคงยืน อยู่ได้มาจนถึงทุกวันนี้ ที่แห่งนี้... บ้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลา (หรือ “บ้าน มนังคสิลา” ตามที่ปรากฏในป้ายชื่อ หน้าบ้าน) สร้างขึ้นบนที่ดินซึ่งพระบาท สมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ พระราชทาน แก่พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) อดีตอธิบดีกรมชาวที่ ผู้ มี ห น้ า ที่ ดู แ ลพระราชฐานที่ ป ระทั บ ทัง้ หมด มีเนือ้ ที่ 29 ไร่ 3 งาน 56 ตาราง วา และพระราชทานเงินสำ�หรับสร้าง บ้านพร้อมทัง้ ทรงออกแบบแปลนและตัง้ ชื่อบ้านให้ว่า “บ้านมนังคศิลา” ซึ่งมา จากชื่ อ พระแท่ น มนั ง คศิ ล าบาตร พระแท่นทีป่ ระทับของพ่อขุนรามคำ�แหง มหาราช แต่ยงั ไม่ทนั จะสร้างก็สนิ้ รัชกาล เสียก่อน บ้านหลังนี้จึงก่อสร้างต่อโดย นายเอ็ดวาร์ด ฮีลี (Edward Healey) นายช่ า งออกแบบสั ง กั ด กระทรวง ธรรมการ และสถาปนิ ก ที่ ป รึ ก ษา
กระทรวงกลาโหม เป็นผู้ออกแบบ โดย ใช้ รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมแบบอิ ง ลิ ช ทิวดอร์ (English Tudor) ซึง่ เป็นลักษณะ สถาปั ต ยกรรมที่ นิ ย มแพร่ ห ลายใน ประเทศอังกฤษสมัยศตวรรษที่ 16 โดย เน้ น รู ป แบบลวดลายบนผนั ง อาคาร ภายนอก ใช้ผนังขัดแตะถือปูนในโครง ไม้เป็นลักษณะเด่น ต่อมา เจ้าของบ้านมนังคศิลา นำ�บ้านหลังนี้ไปจำ�นองไว้กับธนาคาร เอเชีย จนกระทั่ง พ.ศ. 2495 จึงได้โอน กรรมสิทธิ์ให้แก่ธนาคารเอเชีย ซึ่งใน ขณะนั้นรัฐบาลถือหุ้นอยู่โดยมีข้อตกลง ว่า รัฐบาลขอยืมใช้เป็นบ้านพักรับรอง ในความดู แ ลรั ก ษาของสำ � นั ก นายก รัฐมนตรี และใช้เป็นทีป่ ระชุมของสมาชิก สภาผูแ้ ทนราษฎร ฝ่ายสนับสนุนรัฐบาล ใน พ.ศ. 2498 รัฐบาลในสมัยนั้นได้ใช้ เป็ น สำ � นั ก งานใหญ่ ข องพรรคเสรี มนังคศิลา ซึง่ มีจอมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นหัวหน้าพรรค จนถึง พ.ศ. 2501 เกิด การรัฐประหาร ซึง่ มีการยกเลิกพรรคการ เมือง ทำ�ให้พรรคเสรีมนังคศิลาเป็นอัน ต้องเลิกไป ธนาคารเอเชียจึงได้ขอบ้าน มนังคศิลาคืนไปดูแลรักษา แต่รัฐบาลก็ ขอยืมใช้บ้านไว้สำ�หรับรับรองแขกเมือง เป็นครั้งคราว เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. 2503 กระทรวงการคลั ง ได้ ข อคื น วั ง บางขุ น
พรหม ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ตั้ ง สำ � นั ก งาน ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่ง ประเทศไทยจึ ง ทำ � ความตกลงกั บ กระทรวงการคลังโดยขอซือ้ บ้านมนังคศิลาจากธนาคารเอเชียให้กับกระทรวง การคลัง เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับวัง บางขุนพรหม บ้านมนังคศิลาจึงตกเป็น ที่ราชพัสดุของกระทรวงการคลัง โดย กรมธนารั ก ษ์ เ ป็ น ผู้ ดู แ ล ตั้ ง แต่ นั้ น เป็นต้นมา ต่อจากนัน้ รัฐบาลขอรับมอบ บ้ า นหลั ง นี้ ม าใช้ เ ป็ น บ้ า นรั บ รองของ สำ�นักนายกรัฐมนตรีจนถึงปัจจุบัน โดย มีเงือ่ นไขยินยอมให้กระทรวงการคลังใช้ เป็นที่รับรองด้วยตามความจำ�เป็น พ.ศ. 2518 สภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ขอใช้อาคาร ทางทิ ศ ตะวั น ออกของอาคารหลั ก จำ � นวน 2 หลั ง และอาคารศู น ย์ หัตถกรรมพืน้ บ้านซึง่ ตัง้ อยูท่ างด้านหน้า ตรงประตู ท างเข้ า บ้ า นมนั ง คศิ ล าเป็ น ทีท่ �ำ การ และยังคงใช้เป็นทีท่ �ำ การจนถึง ปัจจุบัน ต่อมาใน พ.ศ. 2528 กรม ศิ ล ปากรได้ ป ระกาศขึ้ น ทะเบี ย นบ้ า น มนังคศิลาเป็นโบราณสถานสำ�คัญของ ชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ ม 102 ตอนที่ 180 ลงวั น ที่ 29 พฤศจิกายน 2528 กำ�หนดพื้นที่เขต โบราณสถาน 13 ไร่ 25 ตารางวา เอกลักษณ์ของอาคารในการ
ผสมผสานรูปแบบสถาปัตยกรรมของ ยุ โ รปและไทยได้ อ ย่ า งเหมาะสม กลมกลืนซึ่งเกิดจากภูมิปัญญาของช่าง โดยแท้ ดังนั้น ใน พ.ศ. 2545 บ้าน มนังคศิลาจึงได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลป สถาปัตยกรรมดีเด่น ประเภทอาคาร สถาบั น และอาคารสาธารณะ จาก สมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรม ราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2551 รั ฐ บาลของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้ใช้ส่วนหนึ่ง ของบ้ า นมนั ง คศิ ล าเป็ น หอเกี ย รติ ภู มิ นายกรัฐมนตรี เพื่อแสดงภาพ ประวัติ และผลงานเด่นของนายกรัฐมนตรีตงั้ แต่ คนแรกจนถึงปัจจุบนั โดยมุง่ หวังให้เป็น ศูนย์การเรียนรูก้ ารพัฒนาทางการเมือง ในระบอบประชาธิปไตย บ้านหลังนี้จึงเป็นที่รวบรวม และบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้ลูกหลาน ได้ รั บ ทราบถึ ง ประวั ติ ศ าสตร์ และ บทบาทที่สำ�คัญของสตรีไทย ให้ได้ภาค ภูมิใจกันตลอดไป
บ้านมนังคศิลา ตั้งอยู่เลขที่ 514 ถนน หลานหลวง เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันบ้านมนังคศิลาอยู่ในความดูแลของ สำ�นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำ�นักนายก รัฐมนตรี
7
8
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ไทม์ ไลน์ วีรจิตต วัฒนบำ�รุง
ผู้นำ�หญิง เหล่�สตรีผู้ทรงอิทธิพล จากผลในประวัติศาสตร์โลกที่ผ่านมา อาณาจักรแว่นแคว้นต่างๆ ก็ ล้วนแต่มผี นู้ ำาหรือผูป้ กครองทีเ่ ป็นสตรีมาไม่นอ้ ย เช่น คลีโอพัตราแห่งอียปิ ต์ พระราชินเี อลิซาเบธแห่งอังกฤษ พระราชินอี สิ เบลล่าแห่งสเปน บูเช็คเทียนแห่ง จีน พระนางจามเทวีแห่งแคว้นหริภุญไชย ซึ่งล้วนแล้วแต่ทรงคุณูปการแก่ แผ่นดินเป็นอย่างยิง่ ตราบจนยุคปัจจุบนั หลายชาติหลายประเทศก็เคยมีผนู้ าำ เป็นสตรี รวมถึงไทยเช่นกัน จุดเริ่มต้นของประเทศที่มีผู้นำาเป็นสตรีนั้นจะเริ่ม ต้น ณ จุดใด 2503 สิริม�โว บันด�ร�ไนย�เก (Sirimavo Bandaranaike) ได้รับก�รเลือกตั้งเป็นผู้นำ� ประเทศซีลอน (ประเทศศรีลังก�ในปัจจุบัน) เป็นผู้นำ�หญิงคนแรกของโลก โดยสืบต่อ ตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรีจ�กน�ยโซโลมอน บันด�ร�ไนย�เก ส�มีของน�งสิริม�โว ซึ่งถูก ลอบสังห�รในปี 2502 ระหว่�งก�รห�เสียง เมื่อน�ยสิริม�โวพูดถึงนโยบ�ยพรรคของส�มี ครั้งใด ก็ร้องไห้ทุกครั้ง จึงได้ฉ�ย�ว่� “หญิง ม่�ยเจ้�น้ำ�ต�” น�งสิริม�โวยังได้รับตำ�แหน่ง เป็นน�ยกรัฐมนตรีศรีลังก�อีก 2 สมัย ในปี 2513 และ 2537 ก่อนจะเกษียณจ�กก�รเมือง ด้วยวัย 84 ปี ในเดือนสิงห�คม 2543 ก่อน จะเสียชีวิตด้วยอ�ก�รหัวใจว�ยเมื่อวันที่ 10 ตุล�คม 2543
สซ� ภ�ยหลังเกิดคว�มขัดแย้งกับน�ยโบกัส ซ�จนนำ�ไปสู่ก�รปลดน�งเอลิซ�เบธพร้อม คณะรัฐมนตรีออกจ�กตำ�แหน่งในวันที่ 7 เมษ�ยน 2519 น�งเอลิซ�เบธถึงแก่กรรมใน วันที่ 26 เมษ�ยน 2548 ด้วยวัย 80 ปี 2522 ม�ร์ก�เร็ต แธตเชอร์ (Margaret Thatcher) “น�งสิงห์แห่งอังกฤษ” ขึ้นดำ�รงตำ�แหน่ง น�ยกรัฐมนตรีของอังกฤษ ในวันที่ 4 พฤษภ�คม 2522 รัฐบ�ลของน�งแธตเชอร์ได้ ใช้นโยบ�ยปฏิรูปประเทศค่อนข้�งรุนแรงโดย ก�รแปรรูปรัฐวิส�หกิจโดยก�รกระจ�ยหุ้นให้ แก่เอกชน เหตุก�รณ์ที่สำ�คัญคือสงคร�มหมู่ เก�ะฟอล์กแลนด์ (Falklands) ซึ่ง อ�ร์เจนติน�ได้อ้�งสิทธิเหนือเก�ะดังกล่�ว เป็นเหตุให้น�งแธตเชอร์ส่งกองทัพไปยึดเก�ะ ฟอล์กแลนด์คืนเป็นผลสำ�เร็จ ทำ�ให้น�งแธต เชอร์ได้รับคว�มนิยมเพิ่มม�กขึ้น และได้รับ เลือกตั้งเป็นน�ยกรัฐมนตรีในอีก 2 สมัยถัด ม�ติดต่อกันในปี 2526 และ 2530 แต่ในช่วง ปล�ยของก�รดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมตรี เกิด คว�มขัดแย้งภ�ยในพรรค และคว�มไม่พอใจ ที่น�งแธตเชอร์ไม่เห็นด้วยกับนโยบ�ยผู้มีสิทธิ์ ออกเสียง (Poll tax) นำ�ไปสู่ก�รล�ออกในวัน ที่ 28 พฤศจิก�ยน 2533 น�งแธตเชอร์จึง กล�ยเป็นน�ยกรัฐมนตรีที่ดำ�รงตำ�แหน่ง ย�วน�นที่สุดนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 น�งแธตเชอร์ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 8 เมษ�ยน 2556 ด้วยอ�ก�รเส้นเลือดในสมอง อุดตัน ด้วยวัย 87 ปี
2531 2524 โกร ฮ�ร์เลม บรุนด์แลนด์ (Gro Harlem Brundland) ขึ้นดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรี แห่งนอร์เวย์ในวันที่ 4 กุมภ�พันธ์ ถึง 14 ตุล�คม 2524 และได้รับเลือกให้ดำ�รง ตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรีอีกสองสมัย ระหว่�ง วันที่ 9 พฤษภ�คม 2529 ถึงวันที่ 16 ตุล�คม 2532 และระหว่�งวันที่ 3 พฤศจิก�ยน 2533 ถึงวันที่ 25 ตุล�คม 2539 ซึ่งก�รดำ�รง ตำ�แหน่งในสมัยที่สองนี้ รัฐบ�ลของน�งบรุน ด์แลนด์เป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลกในฐ�นะที่เป็น คณะรัฐมนตรีที่มีผู้หญิงดำ�รงตำ�แหน่ง รัฐมนตรีม�กที่สุด 8 ตำ�แหน่งจ�ก 18 ตำ�แหน่ง ภ�ยหลังก�รล�ออกจ�กตำ�แหน่งใน สมัยที่ส�ม น�งบรุนด์แลนด์ก็ได้ประก�ศ ว�งมือจ�กก�รเมืองอย่�งเป็นท�งก�ร
2522 ออกจ�กตำ�แหน่งเนื่องจ�กคว�มขัดแย้งกับ ประธ�น�ธิบดีกูลั่ม อิซช�ค ข่�น น�งเบน�ซีร์ ดำ�รงตำ�แหน่งในสมัยที่สองจนถึงวันที่ 5 พฤศจิก�ยน 2539 จ�กนั้นจึงได้ลี้ภัยท�งก�ร เมืองไปยังดูไบในปี 2541 ก่อนจะเดินท�ง กลับม�ในปี 2549 เพื่อลงเลือกตั้งเป็นน�ยก รัฐมนตรีสมัยที่ 3 และถูกลอบสังห�รระหว่�ง ก�รห�เสียงในวันที่ 27 ธันว�คม 2550 ด้วย วัย 54 ปี
มิถุน�ยน 2536 ถึงวันที่ 6 มีน�คม ภ�ยหลังก�รพ่�ยแพ้ในก�รเลือกต เลอร์ได้ประก�ศว�งมือจ�กก�รเม 2545
ซิลวี คินีกี (Sylvie Kinigi) น�ยกร แห่งบุรุนดี ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วัน กรกฎ�คม 2536 หลังจ�กนั้นไม่น ประธ�น�ธิบดีและรัฐมนตรีอีก 6 ลักพ�ตัวและสังห�รโดยกลุ่มเชื้อช� มีคว�มขัดแย้งกับกลุ่มเชื้อช�ติฮูตู 2533 ค�ไซมีร่� ปรุนสคีน (Kazimira Prunskiene) สงคร�มกล�งเมืองบุรุนดี น�งคินีก ได้รับเลือกตั้งเป็นน�ยกรัฐมนตรีคนแรกแห่ง ภัยอยู่ในสถ�นทูตฝรั่งเศส น�งคิน 2509 ล�ออกจ�กตำ�แหน่งประธ�น�ธิบด ลิธัวเนียในวันที่ 11 มีน�คม 2533 และพ้น อินทิร� ค�นธี (Indira Priyadasini Gandhi) กุมภ�พันธ์ 2537 และล�ออกจ�ก จ�กตำ � แหน่ ง ในวั น ที ่ 10 มกร�คม 2534 ดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรีแห่งอินเดีย อิน วิโอเลตต้� ช�มอร์โร (Violetta Chamorro) น�ยกรัฐมนตรีในอีก 2 วันต่อม� ทิร�ดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรีอินเดีย 2 ได้รับเลือกตั้งเป็นประธ�น�ธิบดีหญิงคนแรก สมัย ตั้งแต่วันที่ 19 มกร�คม 2509 - 24 อ�ก�เธ่ อูวิลิงกิยีม�น� (Agathe U ของนิก�ร�กัว ในวันที่ 25 เมษ�ยน 2533 2525 มีน�คม 2520 และ 14 มกร�คม 2523 –31 มิลก� พล�นินค์ (Milka Planinc) ได้รับเลือก และเป็นผู้นำ�หญิงคนแรกที่ม�จ�กก�รเลือกตั้ง mana) น�ยกรัฐมนตรีแห่งรวันด� ตุล�คม 2527 อินทิร�ได้แสดงให้พวกเข�เห็น ในทวีปอเมริก� พ้นจ�กตำ�แหน่งในวันที่ 10 ตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎ�คม เป็นน�ยกรัฐมนตรีแห่งยูโกสล�เวีย ในวันที่ ถึงทักษะท�งก�รเมืองที่เธอได้รับมรดกม� หลังถูกลอบสังห�รพร้อมส�มีโดยก มกร�คม 2540 16 พฤษภ�คม 2525 ผลง�นที ส ่ � ำ คั ญ คื อ ก�ร จ�กผู้เป็นพ่อด้วยก�รพย�ย�มปกครองอินเดีย ประธ�น�ธิบดีระหว่�งก�รปร�ศรัย ชำ�ระหนี้เงินกู้ให้แก่ บรรด�เจ้�หนี้ของ ด้วยอำ�น�จเบ็ดเสร็จ และน�งอินทิร�ก็ขึ้น ฆ่�ล้�งเผ่�พันธุ์ในรวันด� เมื่อวันท 2534 ประเทศ และดำ � เนิ น ก�รม�ตรก�รท�ง แท่นเป็นน�ยก ฯ ที่ได้รับคว�มนิยมสูงสุดเมื่อ เมษ�ยน 2537 ค�เลด้ � เซี ย (Khaleda Zia) ได้ ร บ ั เลื อ กตั ง ้ เศรษฐกิ จ ที เ ่ ข้ ม งวดน�งพล�นิ น ค์ ล �ออกจ�ก อินเดียชนะสงคร�มต่อต้�นป�กีสถ�นในปี เป็นน�ยกรัฐมนตรีของบังกล�เทศในวันที่ 20 ตำ�แหน่งในวันที่ 15 พฤษภ�คม 2529 และ พ.ศ. 2514 และก�รระเบิดอ�วุธนิวเคลียร์ใน 2537 มีน�คม 2534 ถึงวันที่ 30 มีน�คม 2539 ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 7 ตุล�คม 2553 ปี 2517 น�งอินทิร�ถูกลอบสังห�รโดยบอดี้ จันทริก� กุม�รตุงคะ (Chandrika และได้ ร บ ั ตำ � แหน่ ง ในสมั ย ที ส ่ องในวั น ที ่ 10 ด้ ว ยวั ย 85 ปี ก�ร์ดสองคนของเธอเองในวันที่ 31 ตุล�คม tunga) บุตรส�วของน�งสิริม�โว ไ ตุล�คม 2544 จนครบว�ระในวันที่ 28 ม�เรีย ปินท�ซิลโก (Maria de Lourdes 2527 ขณะที่อ�ยุได้ 62 ปี เลือกตั้งเป็นประธ�น�ธิบดีของศรีล ตุ ล �คม 2550 2529 Ruivo da Silva de Matos Pintasilgo) ขึ้น ที่ 12 พฤศจิก�ยน 2537 และได้แ คอร�ซอน อ�ควิ โ น (Corazon Aquino) ได้ ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นน�ยกรัฐมนตรีของ 2512 อิดิธ เครซซอง (Edith Cresson) ได้รับเลือก สิริม�โวเป็นน�ยกรัฐมนตรีสมัยที่ โกลด้� เมียร์ (Golda Meir) ดำ�รงตำ�แหน่ง โปรตุเกส ในวันที่ 1 สิงห�คม 2522 รัฐบ�ล รับเลือกตั้งเป็นประธ�น�ธิบดีของฟิลิปปินส์ กุม�รตุงคะพ้นจ�กตำ�แหน่งประธ� เป็นน�ยกรัฐมนตรีของฝรั่งเศสในวันที่ 15 ของน�งปินท�ซิลโกได้พย�ย�มแก้ไขนโยบ�ย ในวันที่ 25 กุมภ�พันธ์ 2529 น�งอ�ควิโน่ น�ยกรัฐมนตรีแห่งอิสร�เอล ในวันที่ 17 บ ดี ห ญิ ง คนแรกของเอเชี ย ได้ วันที่ 19 พฤศจิก�ยน 2548 ปัจจุบ พฤษภ�คม 2534 และล�ออกจ�กตำ � แหน่ ง ใน เป็ น ประธ�น�ธิ มีน�คม 2512 ซึ่งในขณะนั้น ช�วยิวกำ�ลังถูก ท�งด้�นสวัสดิก�รของโปรตุเกสให้ทันสมัยยิ่ง กุม�รตุงคะเป็นสม�ชิกของสม�คม รับฉ�ย�ว่�เป็นสัญลักษณ์ของประช�ธิปไตย วันที่ 12 เมษ�ยน 2535 คุกค�มจ�กรอบด้�น โดยเฉพ�ะช�ติอ�หรับ ขึ้น โดยเฉพ�ะก�รประกันสังคม ก�ร (Club of Madrid) ซึ่งเป็นสม�คม ในฟิ ล ป ิ ปิ น ส์ (Icon of Philippines ส�ธ�รณสุข และก�รศึกษ� ก่อนจะพ้นจ�ก และกลุ่มพีแอลโอ (ขบวนก�รปล่อยปล่อย ผู้นำ�ในประเทศประช�ธิปไตยเพื่อ Democracy) ผลง�นที ส ่ � ำ คั ญ ของน�งอ�ควิ โ น่ 2535 ป�เลสไตน์ เหตุก�รณ์ที่สำ�คัญที่เกิดขึ้นในช่วง ตำ�แหน่งไปในวันที่ 3 มกร�คม 2523 น�งปิ คือก�รเป็นหนึ่งในแกนนำ�โค่นล้มรัฐบ�ล ฮันน่� ซูโชกก้� (Hanna Suchocka) ได้รับ เผยแพร่ประช�ธิปไตย นท�ซิลโกถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 10 ที่น�งโกลด้�เป็นน�ยกฯ ก็คือ ก�รจับตัว ประกันในก�รแข่งขันกีฬ�โอลิมปิก ที่มิวนิค กรกฎ�คม 2547 จ�กอ�ก�รหัวใจหยุดเต้น เผด็จก�รของเฟอร์ดิน�นด์ ม�ร์กอส และก�ร ตำ�แหน่งเป็นน�ยกรัฐมนตรีแห่งโปแลนด์ใน เรเนต้� อินด์โชร่� (Reneta Indzh ประก�ศใช้รัฐธรรมนูญในปี 2529 ซึ่งจำ�กัด วันที่ 11 กรกฎ�คม 2535 และล�ออกจ�ก เฉียบพลันด้วยวัย 74 ปี ประเทศเยอรมันตะวันตก ในปี 2515 ซึ่งมี อำ�น�จประธ�น�ธิบดีให้ดำ�รงตำ�แหน่งได้ ตำ�แหน่งในวันที่ 26 ตุล�คม 2536 ปัจจุบัน น�ยกรัฐมนตรีแห่งบัลแกเรีย ดำ�ร นักกีฬ�ช�วอิสร�เอลและเจ้�หน้�ที่เสียชีวิต เพียงสองสมัยติดต่อกัน น�งอ�ควิโน่พ้นจ�ก น�งซูโชกก้�ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเอกอัคร�ชทูต ระหว่�งวันที่ 17 ตุล�คม 2537 ถึง 2523 11 คน ภ�ยหลังเหตุก�รณ์ดังกล่�ว น�งโก มกร�คม 2538 ตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 30 มิถุน�ยน 2535 และ โปแลนด์ประจำ�กรุงว�ติกัน ลด้�ได้สั่งให้มีก�รตอบโต้โดยก�รใช้กองกำ�ลัง แมรี่ ยูจีเนีย ช�ร์ลส์ (Mary Eugenia Charles) ได้รับเลือกตั้งเป็นน�ยกรัฐมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 1 สิงห�คม 2552 ลับเข้�จู่โจม เกิดเป็นสงคร�มระหว่�ง 2538 ด้วยโรคมะเร็งลำ�ไส้ในวัย 76 ปี น�งอ�ควิโน่ 2536 อิสร�เอลและอ�หรับ (Yom Kippur War) ซึ่ง ของส�ธ�รณรัฐโดมินิกันในวันที่ 21 คลอเดตต์ เวไรต์ (Claudette We เป็ น ม�รด�ของประธ�น�ธิ บ ดี ฟ ล ิ ป ิ ปิ น ส์ ค น คิ ม แคมป์ เ บลล์ (Kim Campbell) ได้ ร บ ั เลื อ ก กรกฎ�คม 2523 ระหว่�งก�รดำ�รงตำ�แหน่ง จบลงด้วยชัยชนะของอิสร�เอล ทำ�ให้ เป็นน�ยกรัฐมนตรีแห่งแคน�ด�ในวันที่ 25 น�ยกรัฐมนตรีแห่งเฮติ ดำ�รงตำ�แห อิสร�เอลได้ดินแดนเพิ่มขึ้น ภ�ยหลังสงคร�ม น�งช�ร์ลส์ต้องประสบกับคว�มพย�ย�มก่อ ปัจจุบัน (น�ยเบนนิโย อ�ควิโน่) วันที่ 7 พฤศจิก�ยน 2538 ถึงวันท มิถุน�ยน 2536 น�งแคมป์เบลล์เป็นน�ยก สิ้นสุดลง น�งโกลด้�ล�ออกจ�กตำ�แหน่งใน รัฐประห�รถึงสองครั้งในปี 2524 ซึ่งน�ง กุมภ�พันธ์ 2539 2531 รั ฐ มนตรี ท ไ ่ ี ด้ ร บ ั คว�มนิ ม สู ง สุ ด ถึ ง ร้ อ ยละ 51 ช�ร์ลส์ก็ส�ม�รถจะควบคุมสถ�นก�รณ์ไว้ได้ วันที่ 3 มิถุน�ยน 2517 ก่อนจะถึงแก่ เบน�ซีร์ บุตโต (Benazir Bhutto) ได้รับเลือก ซึ่งถือเป็นน�ยกรัฐมนตรีที่ได้รับคว�มนิยม อสัญกรรมจ�กโรคมะเร็งต่อมน้ำ�เหลืองในวัน ทันก่อนที่จะเกิดก�รรัฐประห�รขึ้น น�ง 2539 สูงสุดในรอบ 30 ปีและเป็นน�ยกรัฐมนตรี ช�ร์ลส์ประก�ศล�ออกจ�กตำ�แหน่งในวันที่ ตั้งเป็นน�ยกรัฐมนตรีแห่งป�กีสถ�น และ ที่ 8 ธันว�คม 2521 ด้วยวัย 80 ปี เชค ฮ�ซีน่� ว�เจด (Sheikh Hasi น�ยกรั ฐ มนตรี ห ญิ ง คนแรกของโลกมุ ส ลิ ม ใน เพี ย งคนเดี ย วที ม ่ ไ ิ ด้ พ � ำ นั ก ณ บ้ � นพั ก ประจำ � 14 มิถุน�ยน 2538 ทำ�ให้น�งช�ร์ลส์กล�ย ตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรี น�งแคมป์เบลล์พ้น น�ยกรัฐมนตรีแห่งบังกล�เทศ เป เป็นน�ยกรัฐมนตรีที่ดำ�รงตำ�แหน่งย�วน�น วันที่ 2 ธันว�คม 2531 ก่อนจะถูกถอดถอน 2518 ของผู้ก่อตั้งและประธ�น�ธิบดีคนแ ด้วยข้อห�คอร์รัปชั่นในวันที่ 6 สิงห�คม จ�กตำ�แหน่งในวันที่ 4 พฤศจิก�ยน 2536 เอลิซ�เบธ โดมิเทียน (Elisabeth Domitien) ที่สุดของส�ธ�รณรัฐโดมินิกัน น�งช�ร์ลส์ บังกล�เทศ ดำ�รงตำ�แหน่งสมัยแรก 2533 แต่ ก ก ็ ลั บ ม�เป็ น �ยกรั ฐ มนตรี อ ก ี สมั ย ดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรีแห่งส�ธ�รณรัฐ ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 6 กันย�ยน 2548 ในวันที่ 19 ตุล�คม 2536 เมื่อน�ยน�ว�ส ช� ทันซู ซิลเลอร์ (Tansu Ciller) น�ยกรัฐมนตรี ที่ 23 มิถุน�ยน 2539 ถึงวันที่ 15 ด้วยวัย 86 ปี แอฟริก�กล�ง ในวันที่ 2 มกร�คม 2518 2544 และได้รับเลือกตั้งให้เป้นน� รีฟ น�ยกรัฐมนตรีในขณะนั้น ถูกบังคับให้ล� แห่งตุรกี ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 25 ภ�ยใต้รัฐบ�ลเผด็จก�รของฌอง บีเดล โบกั
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
9
วันที่ 31 มีน�คม 2551 ถึงวันที่ 14 กันย�ยน 2552 เป็นผู้นำ�หญิงจ�ก พรรคคอมมิวนิสต์คนที่สองของโลกที่ได้ดำ�รงตำ�แหน่งน�ยกรัฐมนตรี
2503
ม 2539 ตั้ง น�งซิล มืองในปี
รัฐมนตรีสมัยที่สองด้วยคะแนนม�กถึงสองใน ส�ม ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 6 มกร�คม 2552 จนถึงปัจจุบัน (เพิ่งชนะก�รเลือกตั้งครั้ง ล่�สุดในวันที่ 14 มกร�คม 2557 ที่ผ่�นม�)
2540 เจนนี่ ชิปลีย์ (Jenny Shipley) น�ยก รัฐมนตรีของนิวซีแลนด์ ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 8 ธันว�คม 2540 เป็นผู้นำ�นิวซีแลนด์ คนแรกที่เปิดโอก�สให้สิทธิเสรีภ�พแก่ช�วรัก ร่วมเพศม�กขึ้น น�งชิปลีย์พ้นจ�กตำ�แหน่ง เมื่อวันที่ 5 ธันว�คม 2542 เจเนต จ�แกน (Janet Jagan) ประธ�น�ธิบดีแห่งก�ย�น� ดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 19 ธันว�คม 2540 และล�ออก จ�กตำ�แหน่งในวันที่ 11 สิงห�คม 2542 เนื่องจ�กปัญห�สุขภ�พ น�งจ�แกนถึงแก่ Uwilingiyi- อสัญกรรมเมื่อวันที่ 28 มีน�คม 2552 ด้วย � ดำ�รง วัย 88 ปี ม 2536 ภ�ย ก�ร์ดของ 2542 ยเรื่องก�ร ไอรีน่� เดกุทีน (Irena Degutiene) น�ยก ที่ 7 รัฐมนตรีของลิทัวเนีย ดำ�รงตำ�แหน่งสมัยแรก ระหว่�งวันที่ 4 ถึง 18 พฤษภ�คม 2542 และ สมัยที่สองตั้งแต่วันที่ 27 ตุล�คม ถึง 3 พฤศจิก�ยน ปีเดียวกัน ปัจจุบัน น�งเดกุทีน a Kumara- ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นโฆษกประจำ�สภ�ซีมัสแห่งลิ ได้รับก�ร ทัวเนีย ลังก�ในวัน ไมเรย่� มอสโคโซ (Mireya Moscoso) แต่งตั้งน�ง ประธ�น�ธิบดีแห่งป�น�ม� ดำ�รงตำ�แหน่ง 3 น�ง ตั้งแต่วันที่ 1 กันย�ยน 2542 ถึงวันที่ 1 �น�ธิบดีใน กันย�ยน 2547 บัน น�ง มแห่งม�ดริด เนียม-โอโซริน ตูย่� (Nyam-Osoryn มของอดีต Tuyaa) น�ยกรัฐมนตรีแห่งมองโกเลีย ดำ�รง อส่งเสริมและ ตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 22 ถึง 30 กรกฎ�คม 2542 ต่อม�ได้รับตำ�แหน่งเป็นรัฐมนตรี ว่�ก�รกระทรวงก�รต่�งประเทศจนถึงปี 2543 hora) รงตำ�แหน่ง 2543 งวันที่ 25 ท�ร์จ ฮ�โลเนน (Tarja Halonen) ประธ�น�ธิบดีของฟินแลนด์ ดำ�รงตำ�แหน่ง สองสมัยตั้งแต่วันที่ 1 มีน�คม 2543 ถึงวันที่ 1 มีน�คม 2555 ปัจจุบัน น�งฮ�โลเนนเป็น erieigh) บุคคลที่มีชื่อเสียงในง�นด้�นสิทธิมนุษยชน หน่งระหว่�ง ที่ 7 2544 เมก�ว�ตี ซูก�ร์โน่บุตรี (Megawati Sukarnoputri) ประธ�น�ธิบดีแห่งอินโดนีเซีย ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎ�คม ina Wajed) 2544 จนถึงวันที่ 20 ตุล�คม 2547 หลังพ่�ย ป็นบุตรส�ว แพ้ก�รเลือกตั้งให้แก่ประธ�น�ธิบดีซุนซิโล แรกของ บัมบัง ยุดโดโยโน่ กระหว่�งวัน 5 กรกฎ�คม ม�ม เมดิออร์ บอย (Mame Madior Boye) �ยก น�ยกรัฐมนตรีแห่งเซเนกัล ดำ�รงตำ�แหน่ง
รัฐมนตรี นที่ 10 น�น คนถูก �ติทุสซี ซึ่ง จึงเกิดเป็น กีจึงต้องลี้ นีกีประก�ศ ดีในวันที่ 5 กตำ�แหน่ง
2512
2552 โจฮันน� ซิกูร�โดเทียร์ (Johanna Siguraardottir) น�ยกรัฐมนตรี แห่งไอซ์แลนด์ ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 1 กุมภ�พันธ์ 2552 ถึงวันที่ 23 พฤษภ�คม 2555 เป็นผู้นำ�คนแรกที่เปิดตัวต่อส�ธ�ณะว่�ตนเป็น เลสเบี้ยน ปัจจุบันประก�ศว�งมือจ�กก�รเมืองแล้ว
2509
ด�เลีย กริบูสเกต (Dalia Grybauskaite) ประธ�น�ธิบดีแห่งลิทัวเนีย ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎ�คม 2552 จนถึงปัจจุบัน จ�ดร�ก� โคซอฟ (Jadrahka Kosov) น�ยกรัฐมนตรีแห่งโครเอเชีย ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎ�คม 2552 จนถึงวันที่ 23 ธันว�คม 2554 ซีซิล ม�โนโรฮันต้� (Cecile Manorohanta) น�ยกรัฐมนตรีแห่ง ม�ด�กัสก�ร์ ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 18 ถึง 20 ธันว�คม 2552
ตั้งแต่วันที่ 3 มีน�คม 2544 ในขณะดำ�รง ตำ�แหน่ง เกิดเหตุก�รณ์เรือเฟอร์รี่ของรัฐบ�ล MV Le Joola อัปป�ง เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ม�กถึง 1,863 คน ซึ่งเป็นเหตุก�รณ์ที่มีผู้เสีย ชีวิตท�งทะเลม�กที่สุดเป็นอันดับ 2 น�งบอย จึงต้องล�ออกเพื่อแสดงคว�มรับผิดชอบในวัน ที่ 4 พฤศจิก�ยน 2545 2545 ช�ง ซ�ง (Chang Sang) น�ยกรัฐมนตรีแห่ง เก�หลีใต้ ดำ�รงตำ�แหน่งระหว่�งวันที่ 11 ถึง 31 กรกฎ�คม 2545 ม�เรีย เดอ ซูซ่� (Maria das Nives Ceita Baptista de Sousa) น�ยกรัฐมนตรีแห่งเซ� ตูเมและปรินซิพี ดำ�รงตำ�แหน่งระหว่�งวันที่ 3 ตุล�คม 2545 ถึงวันที่ 18 กันย�ยน 2547 2546 แอนน�ลี จ�ทีนม�กี (Anneli Jaatteenmaki) น�ยกรัฐมนตรีแห่งฟินแลนด์ ดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 17 เมษ�ยน ถึงวันที่ 24 มิถุน�ยน 2546 ซึ่งในขณะนั้น ฟินแลนด์มี ประธ�น�ธิบดีเป็นผู้หญิงเช่นกัน เบียทริกซ์ เมอริโน่ ลูเซอโร่ (Beatrix Merino Lucero) น�ยกรัฐมนตรีแห่งเปรู ดำ�รง ตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 23 มิถุน�ยน ถึงวันที่ 14 ธันว�คม เป็นสตรีช�วเปรูคนแรกที่สำ�เร็จก�ร ศึกษ�ด้�นกฎหม�ยจ�กมห�วิทย�ลัยฮ�ว�ร์ด ปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้ตรวจก�รแห่ง ช�ติของเปรู 2547 ลุยซ� ดิแอส ดิโอโก (Luisa Dias Diogo) น�ยกรัฐมนตรีของโมซัมบิก ดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่ 17 กุมภ�พันธ์ 2547 ถึงวันที่ 16 มกร�คม 2553 รัดมิล� เซเคอรินสก� (Radmila Sekerinska) น�ยกรัฐมนตรีแห่งม�ซิโดเนีย ดำ�รง ตำ�แหน่งสมัยแรกระหว่�งวันที่ 12 พฤษภ�คม ถึงวันที่ 2 มิถุน�ยน 2547 และสมัยที่สอง ตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิก�ยน ถึงวันที่ 17 ธันว�คม 2547 2548 แองเกล� แมร์เคิล (Angela Merkel) น�ยก รัฐมนตรีแห่งเยอรมนี ดำ�รงตำ�แหน่งถึงส�ม สมัยติดต่อกันตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิก�ยน 2548 จนถึงปัจจุบัน เคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็น ประธ�นกลุ่มสหภ�พยุโรปในปี 2550 และได้ รับก�รจัดอันดับให้เป็นบุคคลผู้ทรงอิทธิพล เป็นอันดับ 2 ของโลก จ�กนิตยส�รฟอร์บ ใน ปี 2555 ซึ่งเป็นอันดับที่สูงท่สุดที่สตรีเคยได้ รับก�รจัดอันดับไว้ ซึ่งผลก�รจัดอันดับบุคคล
ผู้ทรงอิทธิพลของโลกในปีที่ผ่�นม� น�งแมร์ เคิลอยู่ในอันดับที่ 5
2553 คัมล� เพอร์เซิล-บิสเซสซ�ร์ (Kamla Persal-Bissessar) น�ยก รัฐมนตรีแห่งตรินิแดดและโตแบกโก ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 26 ยูเลีย ทีโมเชนโก (Yulia Tymoshenko) น�ยกรัฐมนตรีหญิงของยูเครน ดำ�รงตำ�แหน่ง พฤษภ�คม 2553 จนถึงปัจจุบัน สมัยแรกตั้งแต่วันที่ 24 มกร�คม ถึงวันที่ 8 ย กิลล�ร์ด (Julia Gillard) น�ยกรัฐมนตรีแห่งออสเตรเลีย เข้� กันย�ยน 2548 ในครั้งนั้น น�งทีโมเชนโกได้ จูดำเ�ลีรงตำ �แหน่งเมื่อวันที่ 24 มิถุน�ยน 2553 ถึง 27 มิถุน�ยน 2556 รับก�รจัดอันดับให้เป็นสตรีผู้ทรงอิทธิพล เป็ น ผู ห ้ ่ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้�พรรคแรงง�นออสเตรเลีย อันดับ 3 ในปี 2548 และสมัยที่สอง ตั้งแต่วัน ภ�ยหลัญิงพ่ง�คนแรกที ยแพ้ ก �รเลื อกหัวหน้�พรรคให้แก่น�ยเควิน รัดด์ อดีต ที่ 18 ธันว�คม 2550 ถึงวันที่ 11 มีน�คม น�ยกรั ฐ มนตรี จึ ง ต้ อ งยอมล�ออกต�มที ่ได้ให้สัญญ�ไว้ 2553 ต่อม� น�งทีโมเชนโกได้ลงชิงตำ�แหน่ง ประธ�น�ธิบดีในปี 2553 แต่แพ้ก�รเลือกตั้ง ลอร่� ชินชิลล่� (Laura Chinchilla) ประธ�น�ธิบดีแห่งคอสต�ริก� ปัจจุบัน น�งทีโมเชนโกได้รับก�รเสนอชื่อให้ ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 8 พฤษภ�คม 2553 จนถึงปัจจุบัน ชิงตำ�แหน่งประธ�น�ธิบดีซึ่งจะมีก�รเลือกตั้ง ในปี 2558 น�งทีโมเชนโกมีเอกลักษณ์ที่ทรง โรซ� โอตุนบ�เยียร์ (Roza Otunbayere) น�ยกรัฐมนตรีแห่งคีร์กี ผมถักที่ค�ดบนศีรษะคล้�ยมงกุฎของเจ้�หญิง สถ�น ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 7 เมษ�ยน 2553 ถึงวันที่ 1 ธันว�คม จนเป็นที่กล่�วข�นกันว่� เป็นนักก�รเมือง 2554 เป็นกำ�ลังสำ�คัญในก�รปฏิวัติทิวลิป (Tulip revolution) หญิงที่สวยที่สุดในโลก ไอเวต้� ร�ดิคอฟ (Iveta Radicov) น�ยกรัฐมนตรีแห่งส�ธ�รณรัฐ 2549 สโลวัก เข้�ดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 8 กรกฎ�คม 2553 ถึง 4 เมษ�ยน เวโรนิก� มิเชลล์ บ�ชเลต (Veronica 2555 Michelle Bachelet) ประธ�น�ธิบดีแห่ง ประเทศชิลี ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 11 2554 มีน�คม 2549 ถึงวันที่ 11 มีน�คม 2553 น�งส�วยิ่งลักษณ์ ชินวัตร น�ยกรัฐมนตรีแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย และล่�สุด เพิ่งได้รับชัยชนะในก�รเลือกตั้ง ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 8 สิงห�คม 2554 จนถึงปัจจุบัน เมื่อเดือนธันว�คม 2556 ที่ผ่�นม� ด้วย คะแนนเสียงท่วมท้นกว่�ร้อยละ 62 ซึ่งจะ เฮลล์ ธอร์นิ่ง ชมิดต์ (Helle Thorning-Schmidt) น�ยกรัฐมนตรีแห่ง ทำ�ให้น�งบ�ชเลตจะกลับม�ดำ�รงตำ�แหน่ง ร�ชอ�ณ�จักรเดนม�ร์ก เข้�ดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 3 ตุล�คม 2554 ประธ�น�ธิบดีสมัยที่สองตั้งแต่วันที่ 11 จนถึงปัจจุบัน นอกจ�กนี้ เธอยังเป็นผู้หญิงคนแรกที่ดำ�รงตำ�แหน่ง มีน�คม 2557 เป็นต้นไป หัวหน้�พรรคโซเชียลเดโมแครตด้วย เอลเลน จอห์นสัน เซอรีฟ (Ellen Johnson ซิสส์ ม�เรียม ไคด�ม่� ซีดิบ (Cisse Marium Kaidama Sidibe) แห่ง Sirleaf) ประธ�น�ธิบดีหญิงคนแรกที่ม�จ�ก ส�ธ�รณรัฐม�ลี เข้�ดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 3 เมษ�ยน 2554 ถึง 22 ก�รเลือกตั้งของประเทศไลบีเรีย และเป็น มีน�คม 2555 ประธ�น�ธิบดีหญิงคนแรกของทวีปแอฟริก� ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 16 มกร�คม 2549 2556 จนถึงปัจจุบัน ป�ร์ก กึน เฮ (Park Geun-Hye) ประธ�น�ธิบดีแห่งเก�หลีใต้ ดำ�รง ตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 25 กุมภ�พันธ์ 2556 จนถึงปัจจุบัน พอร์เทีย ซิมป์สัน-มิลเลอร์ (Portia Simpson-Miller) น�ยกรัฐมนตรีหญิงคนแรก อเลนก้� บร�ตูเซค (Alenka Bratusek) น�ยกรัฐมนตรีแห่งส�ธ�รณ แห่งจ�ไมก้� ดำ�รงตำ�แหน่งสมัยแรกตั้งแต่ 30 รัฐสโลวีเนีย เข้�ดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 20 มีน�คม 2556 จนถึง มีน�คม 2549 ถึง 11 กันย�ยน 2550 และ ปัจจุบัน สมัยที่สองตั้งแต่ 5 มกร�คม 2555 จนถึง ปัจจุบัน
จึงเห็นได้ว่า ในระยะแรกนั้น กว่าที่จะมีผู้นำาเป็นสตรีได้ ใน แต่ละประเทศ อาจจะต้องรอคอยเป็นเวลานาน แต่ ในช่วง ยุคหลังราวสิบกว่าปีที่ผ่านมา เมื่อความเท่าเทียบทางเพศ ได้รับการยอมรับมากขึ้น ผู้หญิงจึงมีที่ยืนและโอกาสทาง สังคมมากขึ้น ทำาให้ได้รับโอกาสในตำาแหน่งใหม่ๆ มากขึ้น เช่นกัน การยอมรับและการให้เกียรติแก่เพศหญิงจึงเป็น สิ่งสำาคัญในการเปิดโอกาสให้พวกเธอได้มีโอกาสเข้ามาใช้ 2551 ซีไนด� กรีเซียนี (Zinaida Greceanii) น�ยก ความรู้ ค วามสามารถในการบริ ห ารบ้ า นเมื องให้ เ จริ ญ รัฐมนตรีแห่งมอลโดว� ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ ก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป 2550 คริสติน่� เคิร์ชเนอร์ (Cristina Fernandez de Kirchner) เป็นภรรย�ม่�ยของ ประธ�น�ธิบดีเนสเตอร์ เคิร์ชเชอร์ และเป็น ประธ�น�ธิบดีหญิงคนแรกที่ม�จ�กก�รเลือก ตั้งของอ�ร์เจนติน่� ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 10 ธันว�คม 2550 จนถึงปัจจุบัน
10
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
BINGE-WATCH BINGBING
เมอรีล สตรีป กับ 18 ครั้งในการเข้าชิงรางวัลออสการ์ งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 ในปีนี้ จะจัดขึ้นในวันที่ 2 มีนาคม ที่กำ�ลังจะมาถึง ในทุกปีที่มีการจัดงานประกาศรางวัล ก็จะมีสถิติ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยก็ถูกนำ�มาถ่ายทอด ให้ได้อ่านได้ชมกันทุกครั้ง เช่น นักแสดงที่เคยได้รับรางวัลออสการ์มากที่สุด ได้แก่ Audrey Hepburn โดยเธอมีรางวัลในครอบครองถึง 4 รางวัล หรือแม้กระทั่งนักแสดงที่ได้รับรางวัลออสการ์ เมื่อตอนอายุน้อยที่สุดอย่าง Shirley Temple ที่ได้รับเมื่อตอนหกขวบ อีกสถิติที่น่าสนใจ คือ นักแสดงที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลบ่อยที่สุด ทั้งหมด 18 ครั้ง!! ได้แก่ นักแสดงเจ้าบทบาทที่อยู่คู่วงการ และรายชื่อผู้เข้าชิงรางวัลทางการแสดงอยู่ตลอด อย่าง เมอรีล สตรีป โดยการเข้าชิงทั้งหมด 18 ครั้ง มี 3 ครั้งที่เธอได้รับ รางวัล ในครั้งแรก เธอได้รับในสาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จาก ภาพยนตร์เรื่อง Kramer VS Kramer ครั้งที่สอง ในสาขานักแสดงนำ�หญิง จาก Sophie’s Choice ครั้งที่สาม ได้รับรางวัลในสาขานักแสดงนำ�หญิงเช่น กันจาก The Iron Lady ครั้งล่าสุดนี้เธอได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขา นักแสดงนำ�หญิงยอด เยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง August : Osage County ต้องมาติดตามกันว่า ในวันที่ 2 มีนาคมนี้ เธอจะได้รับรางวัลเป็นครั้งที่ 4 หรือไม่ The Deer Hunter (1978)
Kramer VS Kramer (1979)
The French Lieutenant’s Woman (1981)
การประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งที่ 86 ถ่ายทอดสด! ที่ทรูวิชั่นส์ เช้าวันจันทร์ 3 มีนาคม 2557 ตั้งแต่เวลา 07.30 น. เป็นต้นไป (ตามเวลาประเทศไทย) ทางช่อง True Film HD (ทรูวิชั่นส์ช่อง 112)
Sophie’s Choice (1982)
Silkwood (1983)
Out of Africa (1985)
Ironweed (1987)
A Cry in the Dark (1988)
Postcards from the Edge (1990)
The Bridges of Madison County (1995)
One True Thing (1998)
Music of the Heart (1999)
Adaptation (2002)
The Devil Wears Prada (2006)
Doubt (2008)
Julie & Julia (2009)
The Iron Lady (2012)
August: Osage County (2013)
ลอว์นิวส์
11
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
บัชมผกานเทิ งหน้าสิบเอ็ด จำ�ปา จำ�ปี
สัฉัตรชยา มภาษณ์
ละครสามีตีตราออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัส เวลา 20.30 น. ทางช่อง 3
เรียมเหลือทนแล้วนั่น ขวัญของเรียม หวนคิด คิดแล้วขมขื่น ฝืนใจเจียม ข่าวดีสำ�หรับแฟนเพลงชาวไทยของเทย์เลอร์ พอพูดถึง แผลเก่า เพลงประกอบก็ดังขึ้นมาในหัว สวิฟต์ เธอกำ�ลังจะมีคอนเสิร์ตครั้งแรกในไทย แผลเก่านั้น เดิมที่เป็นบทประพันธ์ของไม้ เมืองเดิม เล่าเรื่องราว วันที่ 9 มิถุนายน 2557 นี้ โดยบัตรจำ�หน่ายใน ความรักของหนุ่มสาวคู่หนึ่งที่โดนครอบครัวกีดกัน หากฝรั่งเขามีโรมิโอ-จูเลียต ราคา 2,000 / 3,000 / 4,000 / 5,500 ไทยเราก็มีขวัญ-เรียมนี่ละที่เป็นตัวแทนของความรักที่ไม่สมหวัง และจบด้วย และ 6,500 บาท และเปิดจำ�หน่ายบัตรวันที่ โศกนาฏกรรม แผลเก่า ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรก ตั้งแต่ปี 2483 แล้วก็ถูก 1 มีนาคม 2557 ที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ทุก สร้างเป็นละคร สลับภาพยนตร์มาถึง 7 ครั้ง สาขา หรือ ซื้อบัตรออนไลน์ที่ ครั้งล่าสุดนี้ได้ หม่อมน้อย มล.พันธุ์เทวนพ เทวกุลมากำ�กับการแสดง www.thaiticketmajor.com หลังจากที่เจ้าตัวได้ประสบความสำ�เร็จจาก ภาพยนตร์ย้อนยุคแบบเดียวกันอย่าง จัน ดารา, อุโมงค์ผาเมือง และชั่วฟ้าดินสลาย มีการเปิดตัวผู้มารับบทพระ-นาง ของเรื่องนี้ ฝ่ายชายได้แก่ นิว ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต ที่ผ่านงานแสดงของหม่อมน้อยมาหลายต่อ หลายเรื่อง ฟากนางเอกได้นางเอกพันล้านอย่าง ใหม่ ดาวิกา โฮร์เน่มาเล่น (คน หลังนี่ฮอตจริง เดือนมีนาคมที่จะถึง เธอจะเป็นปกให้กับนิตยสารแฟชั่นชั้นนำ�ทั้ง สองฉบับพร้อมกัน!!) “ใหม่ ดาวิกา มีคุณสมบัติหลายประการที่เหมาะสมกับบท ‘เรียม’ ใน เวอร์ชั่นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกผ่านแววตาได้ อย่างลึกซึ้ง และมีบุคลิกที่โดนเด่นถึงสองบุคลิก คือมีทั้งความเป็นหญิงไทยแบบ โบราณ และมีความเป็นหญิงสมัยใหม่ที่เชื่อมั่นในตัวเองอยู่ในตัวคนเดียวกัน ซึ่ง ตรงกับคาแร็กเตอร์ของเรียมในบทประพันธ์” ผู้กำ�กับได้กล่าวไว้ ภาพยนตร์เรื่อง แผลเก่า อยู่ในขั้นตอนการถ่ายทำ� คาดว่าจะแล้วเสร็จพร้อมฉายภายในปีนี้
มุคุณนายแมงมุ มแม่บม ้าน
หนังสือที่ซื้อจากงานสัปดาห์หนังสือแห่ง ชาติครั้งที่แล้วยังอ่านไม่หมด งานสัปดาห์ หนังสือแห่งชาติครั้งที่ 42 และสัปดาห์หนังสือ นานาชาติครั้งที่ 12 กำ�ลังจะจัดขึ้นอีกครั้ง ใน วันที่ 28 มีนาคม - 7 เมษายน 2557 ในธีม โลกคือนิยาย ผู้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียด เพิ่มเติม รายชื่อสำ�นักพิมพ์ที่เข้าร่วมและเลขที่ บูธได้ที่ www.pubat.or.th
ไข่ขาว
kaobanghoey.com
นับเป็นครั้งแรกในการย้ายมาเล่นละครให้ กับช่องสาม พร้อมกับรับบทร้ายเป็น ครั้งแรก ในละครรีเมค ‘สามีตีตรา’ จุ๋ย-วรัทยา นิลคูหา รู้สึกอย่างไรกับที่ ทำ�งานและบทบาทการแสดงครั้งนี้ “เป็นครั้งแรกที่ได้มาทำ�งานกับ ช่องสาม ก็ดีใจมากๆ ค่ะ เพราะว่า เหมือน ก็ได้รับโอกาสที่ดีด้วย ในการเล่นบทที่ตัวเอง คิดว่าจะได้พัฒนามากขึ้น ต้องขอบคุณพี่แอน (แอน ทองประสม) ที่มองเห็นว่า จุ๋ยสามารถ เล่นบทแบบนี้ได้ “มาเล่นกับช่องสามก็รู้สึกถึงงาน ที่มีคุณภาพ ทุกคนตั้งใจหมด ดังนั้นก็เลย ทำ�ให้ผลงานที่เราทำ�ออกมาแล้วก็เล่นมาใน กอง ค่อนข้างสมบูรณ์ ส่วนบทที่ได้รับ บท สายน้ำ�ผึ้ง ถือว่าเป็นการร้ายครั้งแรก อันนี้ เป็นการชักชวนของพี่แอนโดยตรงเลยค่ะ พี่ แอนบอกว่าถ้าจุ๋ยมาเล่นกับช่องสามแล้วเป็น บทเดิมๆ มันก็อาจจะไม่น่าสนใจ ดังนั้นบท นี้มันเป็นบทที่พลิกคาแรคเตอร์ และพี่แอนก็ เห็นบางอย่างในตัวจุ๋ยแล้วคิดว่าจุ๋ยจะทำ�ได้ มันก็เลยรู้สึกกดดัน “นอกจากกดดันว่าเรามาช่องสาม ครั้งแรกแล้ว มาเป็นตัวร้ายครั้งแรกแล้ว แล้ว ยังกดดันว่าพี่แอนเชื่อในฝีมือเราอีกว่าเราจะ ทำ�ได้ มันก็เลยรู้สึกว่ามีความกดดันหลายๆ รูปแบบคละเคล้ากันไปสำ�หรับบทสายน้ำ�ผึ้ง ที่ได้มาทำ�ในเรื่องของสามีตีตราค่ะ “ทำ�งานกับทีมของพี่แอน ทีมของ ช่องสาม ทุกคนเป็นโปรเฟสชั่นนอลมากค่ะ มันเร็ว เป็นเรื่องแรกที่ถ่ายได้เหนื่อยที่สุด เท่าที่เคยเล่นละครมา แต่เป็นเรื่องแรกอีก เหมือนกันที่ทำ�งานเร็วที่สุด นั่นก็คือ หก เดือน แม้จะเป็นบทหิน บทยาก บทสาหัส แต่ว่าเราก็ทำ�งานได้อย่างรวดเร็ว “พี่พลอย (พลอย-เฌอมาลย์ ) ก็ ไม่ได้มีปัญหาอะไร แล้วพี่พลอยเองถ้าเวลา เค้าเต็มที่ เค้าจะส่งอารมณ์ได้อย่างเต็มที่มาก เราก็ฟาดฟันกันอย่างเต็มที่เหมือนกัน ดังนั้น เมื่อไหร่ที่เจอพี่พลอยจะเหนื่อย เพราะมีแต่ ฉากที่ทะเลาะกัน ตบกัน แสดงอารมณ์กัน ก็ จะไม่มีฉากชิลล์ๆ เลยถ้าเจอกับพี่พลอย “กับบทสายน้ำ�ผึ้งก็อยากให้คนดู ฝากติดตามด้วยค่ะ”
ไปอ่านหนังสือเจอมาค่ะ ว่าประโยชน์ของไข่ขาว นอกจากมีโปรตีนสูง คลอเรสเตอรอลน้อยกว่าไข่แดง เอามาพอกหน้าให้ ใส หนุ่มๆ กินเพิ่ม กล้ามเนื้อแล้ว ไข่ขาวยังสามารถรักษาแผลนำ�้ร้อนลวกได้ โดยเอามา ทาบริเวณที่นำ�้ร้อนลวก ทิ้งไว้จนแห้งแล้วล้างออก อย่าใช้ยาสีฟันนะ คะ เพราะจะทำ�ให้ระคายเคืองและแผลหายช้าไปกว่าเดิมเสียอีก เดี๋ยวนี้ไข่ขาวมีคนมาบรรจุขวดพาสเจอไรซ์ขายโดยเฉพาะแล้วนะคะ ขวดละ 80 บาท
12
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
AN EXCERPT250 YEARS AFTER THE CONTRACT THAT CHANGED AMERICAN HISTORY As the roots of the Second World War can be found in the Versailles Peace Settlement of 1918, so in the 1763 Peace of Paris can be found the roots of the American Revolution, the Peace of Paris in 1783, and the American national empire that followed. Looking back, the road from victory in 1763 to revolution in 1775 seems clear, and the British government’s missteps and misjudgments with regard to taxing the colonists seem obvious. But Britons, on whichever side of the Atlantic they lived, did not see things so clearly in 1763. They were entering uncharted territory, sometimes literally. Never before had Britons enjoyed such power, imagined such possibilities, or confronted such challenges. The path to revolution was only one of many stories unfolding that year. At the Peace of Paris in 1763, France handed over to Great Britain all its North American territories east of the Mississippi. It transferred Louisiana to Spain, and Spain transferred Florida to Britain. Twenty years later, at another Peace of Paris, Britain recognized the independence of thirteen former colonies and transferred to the new United States all its territory south of the Great Lakes, north of the Floridas, and east of the Mississippi. It returned Florida to Spain, and the British inhabitants of St. Augustine packed up and left, just as the Spanish inhabitants had done in 1763. In 1783 as in 1763, the ministry that concluded the Peace of Paris was not the same ministry that had conducted the war. During the debates in England over whether to give up Canada or Guadeloupe at the 1763 peace settlement, William Burke, a relative of the renowned statesman Edmund Burke, had argued that Canada should be left in French hands as a way of binding the North American colonies to Britain: “A neighbor that keeps us in some awe is not always the worst of neighbors,” he explained; removing French Canada would free the original thirteen colonies
to separate from the mother country. “By eagerly grasping at extensive territory,” he warned, “we may run the risque, and that perhaps in no very distant period, of losing what we now possess.” As Canadian historian William Eccles pointed out, the Duc de Choiseul not only predicted the American Revolution, but “was counting on it.” For Choiseul, 1763 gave France the peace it needed to rebuild for war. He started rebuilding the navy even before the treaty was signed, and the ink was barely dry before the French were surveying the English coasts to formulate revised invasion plans. France restored its overseas trade, implemented reforms in its army and navy, and strengthened its economy, while at the same time keeping Britain diplomatically isolated in Europe. When, as Choiseul knew they would, the American colonies revolted, France had the power to make the difference. During the War of Independence Britain found itself in the same position France had been during the Seven Years’ War—bogged down in a protracted land war while the enemy took full advantage of its renewed sea power. The British navy momentarily lost command of the seas to France, and Lord Cornwallis lost his army. Louis-Antoine de Bougainville, who had carried the articles of Montreal’s surrender to the British in 1760, was present when the British surrendered at Yorktown in 1781. Looking back over the course of events from 1763 to 1783, Henry Ellis explained the connection between the two treaties. “What did Britain gain by the most glorious and successful war on which she ever engaged?” he asked. “A height of Glory which excited the Envy of the surrounding nations and united them in the late unnatural contest with our revolted colonies—an extent of empire we were equally unable
A map of the new governments, of East & West Florida, 1763.Cartographer John Gibson.Public domain via Wikimedia Commons.
to maintain, defend or govern— the final independence of those colonies which the dispossession of the French from Canada necessarily tended to promote and accelerate, and the enormous debt of two hundred and fifty millions.” Faced with a huge new territorial empire in North America in 1763, the British tried to defend it, administer it, and finance it. Instead they lost it. They turned to the kind of empire they did best—an ocean-based commercial empire. France exacted revenge for the humiliation of 1763 but achieved little else. American negotiators signed the preliminary articles of peace with Britain in 1783 without informing the French. France did not replace Britain as America’s trading partner and was unable to shape the direction of American expansion. The French minister, Vergennes, wanted the old Proclamation Line of 1763 to mark the western territorial limits of the new United States, with the lands between the Appalachians and the Mississippi reserved as Indian country. The Earl of Shelburne, now Secretary of State, recognized that American settlements in the West would gravitate to British trade and envisaged joint British participation in the commercial development of the Mississippi Valley. Britain sold out its Indian allies and handed their lands to the United States. “It is rather ironic,” notes William Eccles, “that the British government here insisted on giving away what France had
once sought to deny to Britain but now desperately wanted Britain to retain.” Neither the Peace of 1763 nor the Peace of 1783 made any mention of the Indian peoples who inhabited the territories being transferred. In both cases, Indian interests were sacrificed to imperial agendas. As in 1763, Indians in 1783 were “thunderstruck” by the terms of a treaty that did not include them. As in 1763, they complained that a foreign king had no right to transfer lands and rights they had never given up, let alone breach treaties previously made in solemn council. No such cession could “be binding without their Express Concurrence & Consent.” A Cherokee chief, Little Turkey, said “the peacemakers and our Enemies have talked away our lands at a Rum Drinking.” As in 1763, the victors looked west across vast territories transferred to them in Paris and wondered how to make them into an empire. As in 1763, they believed for a time that they could dispense with the protocols of doing business in Indian country and could dictate to the Indians from a position of strength. As in 1763, they learned their mistake. Pontiac’s war was not the last Indian war for independence. States and nation encroached on Indian lands and life even more aggressively than had colonies and empire. Multi-tribal coalitions resisted American occupation of the lands ceded by Britain in 1763. During the 1780s and 1790s,
ลอว์นิวส์ and again in the first decade of the nineteenth century, multitribal coalitions stalled American advance into the West and mounted formidable opposition to American expansion that sought to gobble up tribal lands piecemeal. The United States learned from some of Britain’s mistakes. It bound its new territories to it by interest rather than by imperial administration. In the Northwest Ordinance of 1787, the Confederation Congress laid out the provisions by which western territories could enter the union as equal states. In so doing it established a blueprint for perpetual nationbuilding rather than eventual separation. In Jefferson’s “empire of liberty,” the citizens of the nation shared the fruits of its expansion. Napoleon Bonaparte had dreams of a revived French empire in America, certainly of a revived French sugar empire in the Caribbean. “I know the full value of Louisiana,” he said, “and I have been desirous of repairing the fault of the French negotiator who abandoned it in 1763.” On October 1, 1800, at the Treaty of San Ildefonso, Spain secretly ceded Louisiana back to France. Thomas Jefferson understood the value of Louisiana too. The threat of an aggressive (rather than a weak) European power having a stranglehold on New Orleans sent a chill down his spine. It looked as if France was to be the United States’ “natural enemy.” But a French Caribbean empire was not viable so long as British sea power remained intact and the slave revolt of Toussaint l’Ouverture remained defiant in Saint Domingue. Napoleon had to defeat them both. He could do neither. Yellow fever decimated his army in Saint Domingue and Horation Nelson destroyed his fleet at Trafalgar. The French emperor needed money to wage war against England. He decided to cut his American losses and unload Louisiana. Louisiana, ceded to Spain in 1763, was French again for less than three years. In the spring of 1803, Robert Livingston and James Monroe, special ministers to Paris, concluded negotiations with Charles Maurice de Talleyrand. For $15 million (80 million francs), the 900,000 square miles of Louisiana became
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
13
Map of the British colonies in North America, 1763 to 1775. Map from 1923, depicting 1763-1775 by William Robert Sheperd. Public domain via Wikimedia Commons.
American territory. Passed back and forth like an unwanted stepchild since the Peace of Paris in 1763, Louisiana changed hands one more time in Paris in 1803. The events initiated in 1763 finally played themselves out. The empire in the West would not be French, Spanish, or British; it would be American. Western lands—those between the Appalachians and the Mississippi that passed from French to British hands in 1763 and then from British to American hands in 1783, and those between the Mississippi and the Rockies that passed from French to Spanish hands in 1763, briefly back to France, and then to the United States in 1803—allowed an empire of slavery as well as an empire of liberty to expand. Should the western territories and the new states formed from them be slave or free? The question proved to be volatile and despite repeated attempts at compromise, defied resolution. The West split the British Empire after 1763. Less than a century later it split the United States. The Revolution severed the relationship between the people who were the citizens of the new nation and peoples who were not continued to contradict the ideals expressed to justify the nation’s birth. The Peace of 1763 transferred huge stretches of territory and transformed America. The contest for North American dominance that had
raged between France and Britain for close to 100 years was settled once and, with the exception of a brief Napoleonic dream, for all. But the Peace brought little peace and much turmoil to North America. In wrapping up one round of conflicts, it ushered in others. One peace led to another. Territories that had changed hands in Paris in 1763 changed hands again in Paris in 1783. Twenty years later Louisiana changed hands, again in Paris. A new American nation emerged and built a single empire on the lands of numerous Indian nations transferred among three European nations in 1763. Like King Midas, eighteenth-century Britons perhaps had wished for something too much in America. As happened in 1861, 1914, and 2003, people in 1763 responded to problems whose consequences they
could see but not accept by initiating actions whose consequences they could not clearly forsee. In doing so, they set in motion events that changed forever the America they had known. Colin G. Calloway is Professor of History and Samson Occom Professor of Native American Studies at Dartmouth College. His many books on early American history include The Scratch of a Pen: 1763 and the Transformation of North America; New Worlds for All: Indians, Europeans, and the Remaking of Early America; The American Revolution in Indian Country; and One Vast Winter Count: The Native American West Before Lewis and Clark (2003), which received the Ray Allen Billington Prize, the Merle Curti Award, and many other prizes and was named one of Publishers Weekly’s Best Books of the Year. (As published by the Oxford University Press at the OUPblog)
Advertise in
LAWNEWS Tel. 0-2280-1567
14
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
LEGAL TERMS & CONCEPTS MADE EASY
ลอว์นิวส
Ann & Edward Thiravej Ploysongsang
Choice of Forum
Last time we highlighted two related terms: Choice of Law and Choice-of-Law Clause. Of course, another aspect that we need to consider is Choice of Forum and Choice-of-Forum Clause. Related to these terms is the doctrine of Forum Non Conveniens. Choice of Forum (noun). This is also called Choice of Jurisdiction. An issue commonly presented to courts regarding which jurisdiction’s courts should apply to a given dispute. A court may decide that it does not have jurisdiction over a given dispute and may refer the matter to another court.
Conveniens should apply because its exercise of jurisdiction would be inconvenient to the defendant and the witnesses. Example 4: Choice of Forum disputes can generally be avoided by well conceived and drafted Choice-of-Forum Clauses. Example 5: The New York court ruled that Forum Non Conveniens did not apply in this case because the parties availed themselves of the New York market, and because of the strong public policy interest in this matter.
Choice-of-Forum Clause (noun). A contractual provision commonly seen in international transactions whereby the parties agree beforehand what jurisdiction’s courts will exercise authority over any disputes arising from the performance of their contract. Typically in modern international contracts, Choice-of-Forum Clauses will specify that the Choice of Forum will rest with an arbitral tribunal operating in a third-party jurisdiction.
Comparison to Thai Law The Concepts of Choice of Law and Choice of Law Clause in our previous issue’s article have similar concept with Choice of Forum and Choice of Forum Clause. Both concepts under the U.S. law are also quite similar to those under Thai law. If the parties have not agreed in the contract what court they will bring the case to, the Choice of Forum will rest to the court’s discretion. However, if the parties have agreed the Choice of Forum Clause, the disputed matters will have to be sued at that court’s jurisdiction. Then, the Forum Non Conveniens. This literally means “unsuitable court” court that the case has been sued will consider whether it has juin Latin. This concept can be invoked by a court or a party to a risdiction over the case. Nevertheless, the concept of Forum Non legal dispute and results in a court refusing jurisdiction over a dispute even though it has competent authority under the law. The Conveniens under the U.S. law is not yet accepted to Thai law. rationale behind this doctrine is that if the court exercises jurisdicUnder Thai law, both parties can agree the Choice of Forum tion, it may prove inconvenient to the litigants or witnesses. The assumption is that the action can then proceed to another, equally Clause in the contract and the parties will have to bring the case to the agreed Forum or Court jurisdiction. However, since Choice of competent and more convenient jurisdiction. Forum concerns with the jurisdiction of the country, Thai law does not forbid either party to bring the case to Thai court if it follows the Example 1: The parties failed to include a Choice-of-Forum rules under Thai Civil Procedure Code. For example, if the plainClause in their contract. As a result, the plaintiff alleges that Thai courts should have jurisdiction since the matter arose in Thailand. tiff is holding a Thai nationality or if the defendant has a domicile in Thailand or the ground of the case has arisen in Thailand, the case can be filed with Thai court even though the Choice of Forum Example 2: The defendant argues that Korean law and Korean Clause has specified the Forum in another country. In addition, courts should have jurisdiction over the current dispute since if the disputed matter related to an immovable property and such although there was no Choice-of-Forum Clause in the purchase immovable property is located in Thailand, the plaintiff can file the order, the terms of the defendant’s online store made it clear that Korean law and courts would be applicable to any overseas sales. case to Thai court. Example 3: The court ruled that although it had jurisdiction over the current dispute under Choice of Forum, that Forum Non
Africa wins again
Peace-keepers in Bangui have had to resort to deadly force to quell the lynch mobs that roam at will through one of the lowest ranked nations on the United Nations Human Development Sectarian violence had shifted into over-drive in Bangui, Central Afri- Index. The United States of America has shut down consular can Republic, with Interim President Catherine Samba-Panzavowing operations since December 2012 and strongly advises against to bring culprits to the book. travel to the region. According to the U.S State Department, “It is normal that massive human rights violations do not go unpunthe Lord’s Resistance Army continues its reign of terror in the ished. Without justice we can’t bring peace to the Central African Re- southeastern part of the country. public. Everyone must answer for their actions, that’s all. A number Meanwhile international media reports that the Embassy of of individuals have done terrible things. They will answer for these Eritrea continues to impose its colorable Diaspora tax on the acts, I won’t be protecting any bandits or crooked politicians or agita- expatriate community in the U.K-a flagrant violation of UN tors who have led the country to the situation we have now. I won’t Security Council resolution 2023, adopted at its 6674th meetbe protecting anyone, everyone will answer for their actions before ing on 5th December, 2011, besides constituting a breach of the international tribunal,” Samba-Panza said. the Vienna Convention on Diplomatic Relations. More often The International Criminal Court at The Hague has confirmed it will than not, extortion is the method of choice to compel overseas initiate a preliminary examination into crimes, including killings, acts citizens to pay the tax. Without the tax certificate, visas, homeof rape and sexual slavery allegedly committed during the conflict. ward remittances and passport renewals may be refused.
ลอว์นิวส์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
15
Declaration To, Professional Colleagues, Dignitaries, Distinguish UN Representatives and to all whom it may concern, The Lawyers Council of Thailand under Royal Patronage deems that it would be proper to elaborate on the exercise of people’s power within Article 3 and Article 7 of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (the “Constitution”). The concerned situation’s momentum has shifted since our prior Announcement (Thai Version) on the application of Article 7 of the Constitution, issued on 10 January, 2014, as follows. 1. Article 3, First Paragraph, of the Constitution clearly states that Sovereign Power belongs to the Thai people. The Government, the Assembly, or the judiciary body are merely Representatives, who are empowered to use and exercise the three-branches-powers on behalf of the people. In this context, when the people of Thailand had no longer consented to allow any of those individual branches to utilize, in this case, the executive-administrative and legislative powers, the people could amend their legitimate rights and exercise their lawful rights in accordance with Article 3 of the Constitution. In simple words, the Thai people are allowed and may request the formation of “the People’s Government and the People’s Parliament” through the provision of Article 7 of the Constitution accordingly. 2. There are several situations which could lead to a political power vacuum; a situation that may occur when no central administrative body is in operation to carry out the country’s functions. In Thailand’s current political situation, there are several possibilities which could create such so called “Political Power Vacuum”, for example, the interim Prime Minister resigns from the position. Or if the National Anti-Corruption Commission (hereinafter “NACC”) delivers its primary finding prompting legal proceedings against politicians or former MPs for restraining the decision of the Thai Constitutional Court and illegally changing and interfering with the due process of legislation enactment, or placing formal legal charges against the Prime Minister under the Anti-Corruption Laws. In any of such circumstances, the administrative body would automatically cease operation and create a Political Power Vacuum. Under such circumstances, Article 7 will be applied accordingly 3. If a Political Power Vacuum actually happens, it is Thailand’s customary practice under the Constitutional Monarchy with the King as the Head of State, to appoint the person who holds the sovereign power to form the government (executive) body and the legislative body. However, in order to establish “the People’s Parliament and the People Government,” the current Constitution must be abolished and a new Constitution must be drafted. Therefore, after the Political Power Vacuum takes place, the head of people uprising would have to abolish the current Constitution and establish a “People Parliament.” This Parliament would acquire temporary power in order to facilitate legislative power and to draft a new Constitution accordingly. 4. Article 3, second Paragraph of the Constitution states clearly as to the compulsory application of the Rule of Law, while Article 7 will take its role when no other provisions under the Constitution are applicable; e.g., a Political Power Vacuum occurs. It means that Article 7 shall then be applied for enforcement under such said circumstances. Article 7 is specifically designed to be applied and enforceable in accordance with and subject to the customaries and Rules of Law of the Constitutional Monarchy having the King as the Head of State. Therefore, the application of Article 7 does not contradict, undermine, nor prejudice the King’s authority under a Thai Constitution; whether applied by a Military’s Coup d’Etat or People Demonstration turned into a popular uprising. 5. Under the current circumstances, although there is an interim Government and interim Prime Minster acting as the main administrative body of the country, their powers, however, are being restricted by Article 181 of the Constitution preventing them from using “parting shots”, in exercising their administrative power. Thus, the question of who would be the one utilizing Sovereign Power still remains. If the Sovereign Power does actually lie with and can be utilized by People’s Democratic Reform Committee (“PDRC”), and if the people are able to decide and to exercise this power, then there can be a legitimate act of establishing “the People’s Parliament and People's Government” in the same manner as prior Military Coup d’Etat that took place in Thailand on several occasions throughout Thailand’s 82 years of Constitutional Monarchy. The only difference is that this on-going action will become the first peaceful and unarmed uprising, setting precedent of our political history and an important lesson to be taught worldwide following the bloodless dissolving of our slavery system during our Great King Rama the Fifth. Issued on this 16th days of January, 2014, Bangkok Metropolis, Kingdom of Thailand. Mr. Dej-Udom Krairit President of The Lawyers Council of Thailand Under Royal Patronage
LAWNEWS
ลอว์นิวส
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
BULLETINS
Sunday - Friday , February 16 - 28 , 2014
Free!!
IRS OVERREACHED WITH REGULATION OF TAX-RETURN PREPARERS, APPEALS COURT RULES
bloomberg.com
A federal appeals court struck down new licensing regulations imposed on hundreds of thousands of tax preparers, rolling back what judges described was a vast and illegal expansion of the Internal Revenue Service’s authority. In an unanimous ruling, a threejudge panel of the U.S. Court of Appeals for the District of Columbia Circuit said the rules — requiring tax-return preparers to pass an initial certification exam, pay annual fees, and complete at least 15 hours of continuing education courses each year — went far beyond what Congress had ever authorized. To crackdown on fraudulent
ลอว์นิวส์
claims against the government for dead and missing horses and other property lost during the Civil War, Congress passed what became known as the Horse Act of 1884. It authorized the Secretary of the Treasury to regulate “agents, attorneys, or other persons representing claimants before his Department.” Today, that statute is codified under Section 330 of Title 31 of the United States Code. Until recently, the government understood the law as applying to only certified public accountants, enrolled agents, and attorneys representing taxpayers in audits, appeals and other proceedings. But in 2011, the
IRS began imposing licensing regulations on anyone who prepares tax returns for money. The regulations would have covered an estimated 600,000 to 700,000 tax preparers. They were just starting to be phased in early last year when a U.S. district judge struck them down. “If we were to accept the IRS’s interpretation of Section 330, the IRS would be empowered for the first time to regulate hundreds of thousands of individuals in the multi-billion dollar taxpreparation industry,” wrote the circuit court panel in upholding the trial-court ruling. “Yet nothing in the statute’s text or the legislative record contemplates that vast expansion of the IRS’s authority.” The IRS, in a statement released through a spokesman, said it’s reviewing the decision. “The IRS continues to believe that it’s critical for taxpayers to be able to rely on quality work from tax preparers,” the IRS said. In a court brief, the government said the regulations were a reasonable attempt to fill a statutory gap. Dan Alban, an attorney for the Virginia-based Institute for Justice who argued the case,
สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567
รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน
cheered the decision. “This is great news for independent tax preparers and for taxpayers nationwide. Taxpayers — not the IRS — should be the ones to decide who prepares their tax returns,” he told Law Blog. The libertarian legal group represented three small, independent tax preparation companies — including an 81-year-old Korean War veteran from Wisconsin — who sued the IRS in 2012, claiming it acted outside its authority. The companies said the costs of complying with the licensing regulation would either force them to charge higher prices or shut down. (As posted by Jacob Gershman for The Wall Street Journal Law Blog)
Inside AN EXCERPT- 250 YEARS AFTER THE CONTRACT THAT CHANGED AMERICAN HISTORY Page 12
Africa wins again
Page 14
ชำ�ระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ พ.211/2547 ปณ.ราชดำ�เนิน เหตุขัดข้องที่นำ�จ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับภายในกำ�หนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ ลงชื่อ.........................................