Lawnews6

Page 1

ลอว์นิวส์

ลอว์นิวส์ หนังสือพิมพ์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ในฉบับ

แจกฟรี

มติเอกฉันท์ ควํ่าร่าง “สองล้านล้าน” เหตุเสียบบัตรแทน-ตรวจสอบไม่ ได้

นายกครวญ ขอให้มองที่เจตนา

ที่แห่งนี้

เนือ่ งในโอกาสวันน้�ำ โลก วันที่ 22 มีนาคมนี้ “ทีแ่ ห่ง นี้” ขอนำ�ทุกท่านร่วมเดินทางไปเรียนรู้ถึงสิ่งจำ�เป็น สำ�หรับชีวติ ประจำ�วันของเราทุกคน นัน่ คือ น้�ำ ประปา อ่านต่อหน้า 7

ไทม์ ไลน์

“น้ำ�ประปา” เป็นหนึ่งในสิ่งจำ�เป็นของชีวิต เพราะ เป็นแหล่งน้ำ�สะอาดที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึง ได้งา่ ย เนือ่ งจากน้�ำ ตามแหล่งน้�ำ ธรรมชาติไม่สะอาด พอต่อการอุปโภคบริโภค โดยเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะ เข้ามาดูแลผ่านหน่วยงานต่างๆ อ่านต่อหน้า 8

issn 2350-9848

ศาลรธน. มีมติ 9 ต่อ 0 ชี้ ร่าง พ.ร.บ. กู้เงิน 2 ล้านล้าน ขัดรธน. เนื่องจาก กระบวนการตรามิชอบ และไม่สามารถ ตรวจสอบการใช้เงินได้ “ยิ่งลักษณ์” น้ำ�ตาคลอ วอนขอให้มองที่เจตนารมณ์ มากกว่าข้อกฎหมาย เมื่ อ เวลา 16.15 น. วั น ที่ 12 มีนาคม สำ�นักงานศาลรัฐธรรมนูญได้เผย แพร่ เ อกสารข่ า วถึ ง ผลการประชุ ม คณะ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ว่าที่ประชุมคณะ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้พจิ ารณาคำ�ร้อง ของประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทน ราษฎร ส่งความเห็นของสมาชิก 2 คำ�ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา 154 วรรคหนึ่ง (1) ว่า ร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น คมนาคมขนส่ ง ของประเทศพ.ศ. … มี ข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 169 วรรคหนึ่ง และมาตรา 170 หรือตราขึ้น โ ด ย ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง รัฐธรรมนูญ หรือไม่ ทั้งนี้ คำ�ร้องทั้งสองมีข้อเท็จจริง สรุปได้วา่ ตามทีร่ ฐั สภาได้ให้ความเห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น คมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. … แล้ว และอยู่ในช่วงเวลาก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะ นำ�ร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อ พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยนั้น ผูร้ อ้ งเห็นว่าร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าวมีบทบัญญัติ ที่ ขั ด ห รื อ แ ย้ ง ต่ อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ล ะ กระบวนการตราไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ ในการพิจารณาร่าง พ.ร.บ. ของ สภาผูแ้ ทนราษฎรมีการกดบัตรแสดงตนและ ลงคะแนนแทนกัน

ศ า ล รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ พิจารณาคำ�ร้อง คำ�ชี้แจงเอกสาร ประกอบของผู้ ร้ อ ง และการ ไต่ ส วนพยานผู้ เชีย่ วชาญแล้ว ได้ กำ�หนดประเด็น วิ นิ จ ฉั ย รวม 2 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจ กระทรวงการคลั ง กู้ เ งิ น เพื่ อ การพั ฒ นา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของ ประเทศ พ.ศ. … ตราขึ้นโดยถูกต้องตาม บทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่ ประเด็นที่ 2 ร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจ กระทรวงการคลั ง กู้ เ งิ น เพื่ อ การพั ฒ นา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของ ประเทศ พ.ศ. … มีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ หมวด 8 ว่าด้วยการเงิน การ คลัง และงบประมาณ หรือไม่ ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา แล้วเห็นว่าสำ�หรับประเด็นที่ 1 ศาลพิจารณา จากพยานหลักฐานที่ได้จากการไต่สวนฟัง ข้อเท็จจริงเป็นที่ยุติได้ว่านายนริศร ทองธิ ราช สมาชิ ก สภาผู้ แ ทนราษฎร จั ง หวั ด สกลนคร พรรคเพื่อไทย (พท.) ได้ใช้บัตร แสดงตนและออกเสียงลงคะแนนในระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ทนสมาชิ ก สภาผู้ แ ทน ราษฎรรายอื่ น ในการประชุ ม สภาผู้ แ ทน ราษฎร เมื่อวันศุกร์ที่ 20 กันยายน 2556 พิจารณาร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจกระทรวงการ คลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. … ซึง่ เมื่ อ พิ จ ารณารั ฐ ธรรมนู ญ มาตรา 122 บัญญัติว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชิกวุฒิสภาย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาว ไทยโดยไม่อยูใ่ นความผูกมัดแห่งอาณัตมิ อบ หมายหรือความครอบงำ�ใด และต้องปฏิบัติ หน้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต เพือ่ ประโยชน์ ส่วนรวมของปวงชนชาวไทยโดยปราศจาก การขัดกันแห่งผลประโยชน์ และมาตรา 126 วรรคสามบัญญัติว่า สมาชิกคนหนึ่งย่อมมี เสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนนแล้ว เห็นว่าการลงคะแนนเสียงแทนกันในการ พิ จ ารณาร่ า ง พ.ร.บ. นี้ ไ ม่ ช อบด้ ว ย

รัฐธรรมนูญ มาตรา 122 และมาตรา 126 วรรคสาม ศาลรัฐธรรมนูญโดยมติเสียงข้าง มาก 6 ต่อ 2 เสียง เห็นว่า ร่าง พ.ร.บ. ให้ อำ � นาจกระทรวงการคลั ง กู้ เ งิ น เพื่ อ การ พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นคมนาคม ขนส่งของประเทศ พ.ศ. … ตราขึน้ โดยไม่ถกู ต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ส่ ว นประเด็ น ที่ ส อง ก่ อ นที่ จ ะ วินิจฉัยประเด็นนี้ มีปัญหาที่ต้องพิจารณา วินิจฉัยก่อนว่าเงินกู้ตามร่างพ.ร.บ. นี้ เป็น เงินแผ่นดินตามความหมายของรัฐธรรมนูญ หรือไม่ เห็นว่าคำ�ว่า "เงินแผ่นดิน" ไม่ได้มี การกำ�หนดความหมายไว้โดยรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายใด แต่เมือ่ พิจารณาจาก พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ประกอบกับ ความเห็ น ของพยานบุ ค คล ซึ่ ง เป็ น ผู้ มี ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญทางการ เงิ น การคลั ง และงบประมาณ ตลอดจน บรรดากฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เห็นว่าการกู้ เงินตามร่างพ.ร.บ. ให้อำ�นาจกระทรวงการ คลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. .... เป็ น เงิ น แผ่ น ดิ น ตามความหมายของ รัฐธรรมนูญ ประเด็นทีต่ อ้ งพิจารณาต่อไปว่า ร่าง พ.ร.บ. ให้อ�ำ นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น คมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. .... ขัดหรือ แย้งต่อรัฐธรรมนูญ หมวด 8 ว่าด้วยการเงิน การคลัง และงบประมาณ หรือไม่ พิจารณาแล้วเห็นว่าเมือ่ กูเ้ งินตาม ร่าง พ.ร.บ. นี้ มีลกั ษณะเป็นเงินแผ่นดินการ ใช้จ่ายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือ กฎหมายว่าด้วยการเงินการคลัง เว้นแต่ใน กรณี "จำ�เป็นเร่งด่วน" รัฐบาลจะจ่ายไปก่อน ก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่ ก ฎหมายบั ญ ญั ติ แ ละต้ อ งตั้ ง งบ ประมาณรายจ่าย เพื่อชดใช้เงินคงคลังใน พ.ร.บ. โอนเงินงบประมาณรายจ่าย พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม หรือ พ.ร.บ. งบ ประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณถัดไป แต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าการดำ�เนินการ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ขนส่งของประเทศตามที่ร่าง พ.ร.บ. นี้มุ่ง ประสงค์ ยังไม่มีความจำ�เป็นเร่งด่วน อ่านต่อหน้า 3


2

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

บทบรรณาธิการ

dailymail.co.uk

ไอเดียสนุกสนุกกับลูก

เว็บไซต์ viralnova.com ได้เสนอไอเดียสนุกสนุกกับลูก 20 ชิ้น โดยเป็นสิ่งของที่ใช้ในการ ดูแลลูกที่ทำ�ง่าย และคนเป็นพ่อแม่ก็สนุกด้วย เช่น รถเข็นเด็กสกู๊ตเตอร์ ที่พ่อแม่สามารถทำ� ให้ลูกๆ สนุกกับการนั่งรถเข็นเด็กชมวิวได้ ตัวการ์ตูนหุ้มยาสีฟันที่ให้เด็กสนุกกับการแปรง ฟันมากขึ้น และในภาพเป็นชุดเด็กคลานที่สามารถให้ลูกช่วยทำ�ความสะอาดบ้านไปในเวลา เดียวกัน อันนี้ดูออกแนวเกรียนมากกว่า

dailymail.co.uk

เริ่มเข้าหน้าแล้งกันแล้วนะคะ แต่ปนี ภี้ ยั แล้งมาเร็วกว่าทุกปี ถึงขัน้ ว่าจะไม่มนี �้ำ เพียงพอใช้ตลอดระยะเวลาหน้าแล้งนีก้ นั เลย จนมีขา่ ว ว่าเราคงต้องปล่อยน้ำ�จากเขื่อนซึ่งกักไว้ใช้ในปีข้างหน้ามาใช้กันก่อน แต่ก็จะเกิดปัญหาให้เราไม่มีน้ำ� ใช้ในปีขา้ งหน้าด้วย ชาวนาทีป่ กติจะเริม่ ปลูกนาปรังกันแล้ว ปีนกี้ ค็ งต้องงดปลูกกันไปเพราะคาดว่าจะ ไม่มนี �้ำ เพียงพอทีจ่ ะมาหล่อเลีย้ งต้นข้าวให้เติบโตกันได้ ในส่วนชาวนาทีไ่ ด้น�ำ ข้าวไปจำ�นำ�กับโครงการ รับจำ�นำ�ข้าว ก็มีข่าวออกมาบ้างว่าข้าวที่จำ�นำ�ไว้ที่โรงสีในจังหวัดพิษณุโลก เมื่อได้มีผู้ไปตรวจสอบ ปรากฎว่าข้าวที่เก็บไว้นั้นเน่าเสียเป็นจำ�นวนมาก แต่ในส่วนที่ท่านยรรยงค์ พวงราช ไปตรวจนั้น ข้าวยังอยู่ในสภาพที่ดี อันนี้ก็คงเป็นเรื่องของดวงกันแล้วนะคะว่าข้าวที่จำ�นำ�ไว้นั้น ปัจจุบันนี้จะยังคง เป็นข้าวทีใ่ ช้ได้อยูห่ รือเน่าเสียแล้ว แต่ทนี่ า่ เป็นห่วงมากกว่าในขณะนีก้ ค็ อื เราชาวไทย ซึง่ ปลูกข้าวเป็น หลัก อาจจะไม่มขี า้ วเพียงพอให้บริโภคกันเองในปีนแี้ ล้วค่ะ เพราะทัง้ ข้าวเก่าในบางแห่งก็เน่าเสีย ส่วน ข้าวนาปรังที่จะปลูกใหม่ ก็เกิดภาวะแล้งน้ำ� ทำ�ให้ปลูกไม่ได้ หรือหากปลูกได้ก็คงได้ผลผลิตไม่ดีพอ ยังไง เราคงต้องช่วยกันประหยัดน้ำ�กันเต็มที่นะคะในช่วงนี้ และในช่วงรายปักษ์นี้ก็ตรงกับวันอนุรักษ์ น้ำ�โลกซึ่งตรงกับวันที่ 22 มีนาคม ของทุกปีด้วยค่ะ ในส่วนข่าวบ้านการเมืองนั้น ขณะนี้ เวที กปปส. ก็ได้ยุบรวมเหลือเพียงเวทีเดียวแล้วคือที่ สวนลุมพินี แต่การประท้วงคัดค้านต้องการให้นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ออกจากตำ�แหน่งก็ยังคงมีต่อ ไป รวมทั้งยังมีเหตุการณ์การขว้างปาระเบิดแถวบริเวณดังกล่าว แต่ผู้ประท้วงก็ยังไม่หวั่นกลัว และปัก หลักกันต่อไป เนือ่ งจากมีทา่ นผูอ้ า่ นหลายท่านได้ให้ความเห็นมาว่าอยากให้หนังสือพิมพ์ลอว์นวิ ส์ของเรา มีเรื่องราวเกี่ยวกับ AEC บ้าง เพราะประเทศไทยเรากำ�ลังก้าวเข้าสู่ AEC ในปี 2015 ที่กำ�ลังจะถึงนี้ คณะบรรณาธิการจึงได้จัดทำ�คอลัมน์ใหม่ขึ้นชื่อว่า “Entering the AEC” เพื่อให้ความรู้แก่ท่านผู้อ่าน เกี่ยวกับ AEC นะคะ โดยในเบื้องต้นนี้ เราได้รับอภินันทนาการข้อมูลมาจากบริษัท เดชอุดม แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำ�กัด เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้นทั่วไปของประเทศต่างๆ ในอาเซียน ซึ่งนักกฎหมาย และประชาชนทั่วไปควรทราบนะคะ เพื่อว่าหากท่านต้องการไปลงทุนหรือทำ�ธุรกิจในประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนเมื่อได้มีการเปิด AEC แล้ว จะได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นค่ะ ในรายปักษ์นยี้ งั ตรงกับสัปดาห์หนังสือแห่งชาติดว้ ย กองบรรณาธิการได้จดั ทำ�คอลัมน์พเิ ศษ แนะนำ�หนังสือดี มีความรู้ และน่าอ่าน ซึง่ จะเป็นประโยชน์กบั นักกฎหมายและบุคคลทัว่ ไป ท่านผูอ้ า่ น สามารถดูรายละเอียดการสรุปเนื้อหาของหนังสือดีน่าอ่านได้ในคอลัมน์ The Book Review (หน้า 15) นะคะ อยากให้คนไทยรักการอ่านกันมากขึ้น เราต้องช่วยกันลบสถิตินะคะว่าประเทศไทย เราติดอันดับคนอ่านหนังสือน้อยมาก เรื่องนี้คงต้องฝากไปยังรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการแล้วล่ะค่ะ ว่าประเทศไทยเราสมควรถึงเวลาที่ต้องปฏิรูปทางการศึกษากันแล้ว อาจจะต้องมีการเปลี่ยนหลักสูตร การศึกษากันใหม่ให้เข้มข้นขึ้น รวมไปถึงการเน้นการเรียนและการใช้ภาษาอังกฤษกันให้มากขึ้น โดย เฉพาะอย่างยิ่ง เรากำ�ลังจะเข้าสู่อาเซียนในอีก 2 ปีข้างหน้านี้ ซึ่งเหลือเวลาไม่มากนัก ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนส่วนใหญ่พดู และใช้ภาษาอังกฤษกันได้อยูแ่ ล้ว หากเรายังไม่รบี พัฒนาทางด้านภาษาอังกฤษ คนไทยเราจะเสียเปรียบชาติอนื่ ๆ ในอาเซียนได้นะคะ อีกปัจจัยหนึง่ ทีอ่ าจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาก็ คือ การมีเทคโนโลยีที่นำ�สมัยเข้ามาช่วยในการศึกษา ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นสิ่งที่ดีหากเราควบคุมได้ แต่ ยังมีเด็กนักเรียนหลายคนทีส่ นใจจะเล่นเกมส์ออนไลน์ หรือเข้าเว็บไซต์ซงึ่ ไม่เหมาะสมต่างๆ ทำ�ให้เด็ก สมัยนี้ไม่ค่อยรักการอ่านหนังสือเท่าที่ควร ฝากผู้เกี่ยวข้องช่วยกันสอดส่องดูแล หาทางแก้ปัญหา และ สนับสนุนให้เด็กไทยรักการเรียนการอ่านกันให้มากขึ้นด้วยค่ะ ท้ายสุดนี้ ขอประชาสัมพันธ์นะคะว่า หนังสือพิมพ์ลอว์นิวส์ ได้เปิดรับลงประกาศโฆษณา ต่างๆ เช่น หนังสือบอกเลิกสัญญา การแจ้งให้ชำ�ระหนี้ แจ้งบังคับจำ�นอง เลิกห้างหุ้นส่วน เชิญประชุม ผูถ้ อื หุน้ ฯลฯ โฆษณาองค์กรธุรกิจและกิจกรรม รวมถึงการประชาสัมพันธ์รบั สมัครงานต่างๆ ในราคา ที่เป็นธรรมค่ะ โดยเต็มหน้าหนังสือพิมพ์ขนาด 24.75 X 33 ซม. สีราคา 2400 บาท และขาว-ดำ� ราคา 1200 บาท, หากเป็นครึ่งหน้าหนังสือพิมพ์ขนาด 24.75 X 16.5 ซม. สีราคา 1400 บาท และ ขาว-ดำ� ราคา 700 บาท และ หากเป็นขนาด 1 ใน 4 ของหนังสือพิมพ์ซึ่งเท่ากับขนาด 12.5 X 15.5 ซม. สีราคา 800 บาท และขาว-ดำ� ราคา 400 บาท ค่ะ หากท่านผู้ใดสนใจติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่ม เติมได้นะคะ ซึ่งหนังสือพิมพ์ลอว์นิวส์นั้น ได้แจกจ่ายไปยังศาล สำ�นักงานกฎหมาย บริษัท ห้างร้าน และสถานทีร่ าชการต่าง ๆ มากมายทัว่ ประเทศ กองบรรณาธิการมีความประสงค์อยากให้หนังสือพิมพ์ ลอว์นิวส์นี้เป็นสื่อเชื่อมโยงอีกด้านหนึ่งซึ่งส่งถึงกันในเครือข่ายของนักกฎหมายทั่วประเทศ รวมทั้งถึง บุคคลทั่วไปด้วยค่ะ แอน พลอยส่องแสง บรรณาธิการ

เซลฟี่ในตำ�นาน

ล้มแชมป์เก่าภาพของบารัคโอบาม่าไปได้ ในงานออสการ์ครั้งที่ 86 ในปี 2014 นี้เอง โดย มีภาพที่ถูกรีทวิตมากที่สุดเป็นภาพจากทวิตเตอร์ของ เอลเลน ดีเจนเนอเรส พิธีกรรายการ โทรทัศน์ และนักแสดงชาวอังกฤษ ที่เป็นภาพ selfie หรือภาพถ่ายตัวเองกับนักแสดงใน งาน ซึ่งหลังจากทวิตออกไปไม่นาน ก็มีผู้รีทวิตสูงมากกว่า 1 ล้านรีทวิต และในตอนนี้ยังมี คนรีวิตกันอย่างต่อเนื่องจนเกิน 3 ล้านไปแล้ว กลายเป็นภาพ selfie ในตำ�นานไปเลย

จากผู้อ่าน สวัสดีครับ ผมได้รับ Law News เมื่อ วันที่ 8 มีนาคม ในโอกาสที่รับการ อบรม NSA ที่เชียงราย ผมเห็นว่า เนื้อหาน่าสนใจ จึงอยากสมัครเป็น สมาชิก กรุณาจัดส่งตามที่อยู่นี้ หาก มีค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง ผมยินดีให้ ความร่วมมือ -ชัยยศ

คุณชัยยศได้รับรางวัลเป็น หนังสือ ดิอันอินไวเท็ด นักข่าวผู้ไม่ได้รับเชิญใน ปักกิ่งยุคเงินคือพระเจ้า จาก สำ�นักพิมพ์ แสงแดด

ส่งความคิดเห็น คำ�ติ-ชม ที่มีต่อ นสพ. ลอว์นิวส์ ได้ที่ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวง บวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 หรือทาง lawnewslct@gmail.com


ลอว์นิวส์ ต่อจากหน้า 1 : มติเอกฉันท์ สองล้านล้าน

รัฐบาลใหม่จะรับฟังความต้องการและนำ�เรื่อง พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศไปสานต่อ เพราะเรื่ อ งนี้ เ ป็ น โอกาสของทุ ก คนไม่ ใช่ เ ป็ น โครงการของรัฐบาลคนใดคนหนึง่ แต่เป็นโอกาส ของประเทศที่ขาดความต่อเนื่อง เพราะจากการ ลงพื้นที่จะพบว่าเรื่องโครงสร้างพื้นฐานหากจะ รองบประมาณในแต่ละปีกแ็ บ่งเป็นเรือ่ งของการ พัฒนาทางด้านสังคม การศึกษาและการพัฒนา ด้านอืน่ ๆอีก และยังไม่รวมถึงถนนหนทางทีเ่ สีย หายสึกหรอ หรือผุพงั ไปเนือ่ งจากอายุการใช้งาน ที่เกิดอุทกภัยอะไรต่างๆ ตรงนี้ก็ยังมีปัญหาใน เรื่องของงบประมาณ "ดังนั้นการที่เราจะคิดว่าเราจะใช้งบ ประมาณปกติในการที่จะเชื่อมโยงโครงสร้าง ต่างๆให้เสร็จทันก็อาจจะต้องล่าช้าไป ก็คงต้อง อยู่ ที่ รั ฐ บาลใหม่ ที่ จ ะนำ � ไปพิ จ ารณาค่ ะ ว่ า จะ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาความเจริญให้ กับชุมชนอย่างไร การลดความเหลื่อมล้ำ�ก็เป็น โจทย์ในเรือ่ งของโครงสร้างพืน้ ฐานทีต่ อ้ งช่วยลด วันนีท่ เี่ รามาทีจ่ งั หวัดชัยภูมกิ ย็ งั มีพนื้ ทีท่ ตี่ อ้ งการ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอีกมากมาย" เมือ่ ถามถึงความรับผิดชอบของรัฐบาล ที่ไม่สามารถดำ�เนินโครงการตาม พ.ร.บ. ฉบับ นี้ได้ นางสาวยิ่งลักษณ์ กล่าวว่า ก็เรียนว่าเรื่อง ร่าง พ.ร.บ. นี้ในส่วนของรัฐบาลก็เสนอไปยัง รัฐสภาและมีกาารพิจารณาตามขั้นตอนต่างๆ อย่ า งไรก็ ต ามคงต้ อ งรอคำ � วิ นิ จ ฉั ย อย่ า งเป็ น ทางการก่อน ก็คงจะหารือกับคณะกรรมการ กฤษฎีกาต่อไปในการที่จะดำ�เนินการอะไร เมื่อถามว่าพรรคประชาธิปัตย์เตรียม จะยื่นถอดถอนออกจากตำ�แหน่งนายกฯจาก กรณีนี้ นายกฯ ยิ้มแห้งๆ ก่อนกล่าวว่า "วันนี้ ดิฉันก็เจอทุกรูปแบบแล้วล่ะค่ะ ก็ไม่รู้ว่ากลไก ต่างๆ นั้น ก็อยากขอว่าอย่างน้อยให้เรามีความ ยุตธิ รรมอยูใ่ นสังคม เรามีหลักเมตตาธรรมทีใ่ ห้ กั บ ทุ ก คนที่ เราต้ อ งการที่ จ ะคิ ด ว่ า เราทำ � เพื่ อ ประเทศ ก็อยากให้มองทีเ่ จตนา ก็อย่ามองใช้ขอ้ กฎหมายเป็นข้อที่จะลิดรอนหรือเป็นข้อที่จะตัด สิทธิ์ทุกคนเลย แล้วอย่างนี้เราจะไปกันลำ�บาก การพัฒนาประเทศก็ลำ�บาก เพราะถ้าเรามุ่งแต่ บอกว่าทำ�ทุกอย่างใช้ขอ้ กฎหมายในการตัดสิทธิ์ โดยที่ไม่ฟังเจตนารมณ์เบื้องต้น อันนี้ต่างหากที่ เราหวังว่าเราจะได้รบั ความเข้าใจและได้รบั ความ ยุติธรรมและความเห็นใจ" นางสาวยิ่งลักษณ์ กล่าว ด้วยเสียงสั่นเครือและน้ำ�ตาคลอ เมื่อถามถึงจี้เครื่องหมายสันติภาพที่ สวมทีค่ อต้องการจะสือ่ ถึงอะไร นางสาวยิง่ ลักษณ์ กล่าวว่า "คำ�ว่าสันติภาพในความหมายของดิฉนั ไม่ได้มองความหมายแค่ว่าสันติภาพนั้นคือการ ที่เราอยู่กันอย่างสงบโดยไม่ใช้กำ�ลังรุนแรง แต่ สันติภาพนี้อยากให้สื่อไปถึงความที่เราต้องให้ ความยุติธรรมอย่างเสมอภาค การดูแลทุกคน อย่างเท่าเทียมกันให้หลักการดูแล หลักเมตตา ธรรมเอือ้ อาทรนัน้ เป็นจุดโยงในการยึดใยความ สันติความสงบในใจของคนไทยทุกคน ขอบคุณ ค่ะ" เมื่อผู้สื่อข่าวพยายามถามว่าวันนี้รู้สึก ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมเลยใช่หรือไม่ แต่ นางสาวยิ่งลักษณ์ไม่ตอบคำ�ถามและเดินออก จากวงสัมภาษณ์ไปเดินทักทายพบปะประชาชน ทีม่ ารอต้อนรับอยูท่ วี่ า่ การอำ�เภอบ้านแท่นทันที ทั้งนี้ในระหว่างที่นางสาวยิ่งลักษณ์เดินทักทาย นั้นประชาชนก็ได้พากันตะโกนให้นายกฯ สู้ ยิ่ง ลักษณ์สู้ๆ เป็นระยะ

3

ศาลปกครองสั่งคืนตำ�แหน่ง “ถวิล”

เหตุโยกย้ายมิชอบ “ภราดร” รอคำ�สั่งนายกฯ อ้างไม่ใช่คู่กรณี

oknation.net

การใช้จา่ ยเงินแผ่นดินต้องไปตาม กรอบวินัยการเงินการคลังตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคสองเพื่ อ การรั ก ษา เสถียรภาพ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน และความเป็นธรรมในสังคมดังนั้น การที่ ร่าง พ.ร.บ.ให้อ�ำ นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น คมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. .... บัญญัติ ให้กู้เงินตามร่าง พ.ร.บ. บัญญัตินี้ นำ�ไปใช้ จ่ายตามวัตถุประสงค์ โดยไม่ต้องนำ�ส่งคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธกี ารงบประมาณและ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและบัญญัติให้ คณะรัฐมนตรี รายงานการกู้เงิน ผลการ ดำ�เนินงานและการประเมินผลการดำ�เนิน การตามแผนงานในแต่ละยุทธศาสตร์ต่อ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ เท่านั้นซึ่งแตกต่างจากที่ พ.ร.บ. วิธีการงบ ประมาณ พ.ศ. 2502 อันเป็นกฎหมายเกีย่ ว กับการจ่ายเงินแผ่นดินบัญญัติไว้ทำ�ให้การ ควบคุมตรวจสอบการใช้จ่ายเงินดังกล่าวไม่ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องว่าด้วยกรอบวินัยการเงินการคลัง ทีร่ ะบุไว้ในรัฐธรรมนูญ หมวด 8 ร่าง พ.ร.บ. ใ น ส่ ว น ดั ง ก ล่ า ว จึ ง ขั ด ห รื อ แ ย้ ง ต่ อ รัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญจึงมีมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 ว่า ร่าง พ.ร.บ. ให้อำ�นาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ พ.ศ. .... ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหมวด 8 ว่า ด้วยการเงินการคลัง และงบประมาณ ด้วย เหตุผลดังกล่าว ศาลจึงมีคำ�วินิจฉัยว่าร่าง พ.ร.บ. นี้ ต ราขึ้ น โดยไม่ ถู ก ต้ อ งตาม บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญนีแ้ ละมีขอ้ ความ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญซึ่งข้อความดัง กล่าวเป็นสาระสำ�คัญของร่าง พ.ร.บ. นี้ จึง มีผลให้ร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าวนี้เป็นอันตกไป ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 154 วรรคสามที่ ระบุ ว่ า ในระหว่ า งที่ ศ าลรั ฐ ธรรมนู ญ พิจารณาวินจิ ฉัยให้นายกรัฐมนตรีระงับการ ดำ � เนิ น งานเพื่ อ ประกาศใช้ ร่ า ง พ.ร.บ. จนกว่าศาลจะมีคำ�วินิจฉัยถ้าศาลวินิจฉัยว่า ร่าง พ.ร.บ. นั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราโดยไม่ถูกต้องให้ร่าง พ.ร.บ. นั้น เป็นการตกไป นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีดังกล่าวว่า "เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคำ�วินิจจฉัยออกมา เราก็เสียดายกับสิ่งที่เราควรจะได้พัฒนาให้ เราได้ ก้ า วนำ � ในการเชื่ อ มโยงต่ อ ภู มิ ภ าค อาเซี ย นและเป็ น ศู น ย์ ก ลางอาเซี ย นที่ นอกจากเรื่องการลงทุนที่ประเทศไทยแล้ว ยั ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการที่ จ ะลงทุ น ใน ภูมิภาค อันนี้ก็ถือว่าเป็นโอกาสที่เราได้ทำ� อย่างเต็มที่แล้ว" เมื่อถามว่าจะเดินหน้าต่อในครั้ง หน้าต่อหรือไม่ด้วยการทำ�ให้ถูกต้องกว่านี้ นางสาวยิ่งลักษณ์ กล่าวว่า ก็คงต้องดูที่คำ� วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญก่อนว่ายังไง ว่า จะมีทางออกให้อย่างไรบ้าง แต่ทั้งนี้ก็เป็น ในส่ ว นที่ รั ฐ บาลต่ อ ไปจะรั บ ไป ก็ ห วั ง ว่ า

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ศาลปกครองสูงสุดสัง่ คืนตำ�แหน่งเลขา สมช. แก่ “ถวิ ล ” ภายใน 45 วั น เนื่องจากถูกสั่งย้ายโดยใช้ดุลยพินิจมิ ชอบ ด้าน “ภราดร” ยังนิ่ง อ้างต้องรอ คำ�สั่งจากนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 มีนาคม เวลา 13.00 น. ที่ ห้ อ งพิ จ ารณาคดี ที่ 3 ชั้ น 3 ศาล ปกครองกลาง ได้ อ่ า นคำ � พิ พ ากษาศาล ปกครองสู ง สุ ด ในคดี ห มายเลขดำ � ที่ 635/2555 กรณีที่นายถวิล เปลี่ยนศรี ที่ ปรึ ก ษานายกรั ฐ มนตรี ฝ่ า ยข้ า ราชการ ประจำ� และอดีตเลขาธิการสภาความมั่นคง แห่งชาติ (สมช.) ยื่นฟ้อง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชิน วัตร นายกรัฐมนตรี และ รมว. กลาโหม เป็น ผู้ถูกร้องที่ 1 และคณะกรรมการการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) เป็นผู้ถูกฟ้องที่ 2 ว่ า ออกคำ � สั่ ง สำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ที่ 152/2554 ย้ายจากเลขาธิการ สมช. มา ดำ�รงตำ�แหน่งทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่าย ข้าราชการประจำ�โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และไม่เป็นธรรม ทำ�ให้ได้รับความเสียหาย ทัง้ นีน้ ายถวิลได้มาฟังคำ�พิพากษา ด้วยตัวเอง โดยศาลปกครองกลางได้ใช้เวลา อ่านคำ�พิพากษากว่า 1 ชั่วโมง ซึ่งคำ�สั่งศาล ปกครองสูงสุดเห็นว่าประกาศสำ�นักนายกฯ ทีส่ งั่ ให้นายถวิลพ้นจากตำ�แหน่งเลขาธิการฯ สมช.นั้น เป็นการใช้ดุลยพินิจไม่ชอบ แม้ว่า การโอนย้ า ยเป็ น อำ � นาจหน้ า ที่ ข องฝ่ า ย บริหาร แต่ไม่มีเหตุผลอธิบายว่าผู้ถูกฟ้อง บกพร่องอย่างไร และไม่มีประสิทธิภาพใน การทำ�หน้าทีอ่ ย่างไร ทัง้ นีผ้ ลคำ�วินจิ ฉัยของ ศาลปกครองสูงสุด เห็นว่าประกาศสำ�นักนา ยกฯ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2554 ที่ให้นาย ถวิ ล พ้ น จากตำ � แหน่ งเลขาธิ ก าร ไม่ มี ผล บังคับใช้ และให้นายกรัฐมนตรี รวมทั้ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ไปดำ � เนิ น การคื น

นายถวิล เปลี่ยนศรี ตำ�แหน่งให้นายถวิลภายใน 45 วันนับแต่วนั ทีม่ ี คำ�พิพากษา ด้านนายถวิล ให้สมั ภาษณ์ภายหลังว่า ศาลปกครองได้ ใ ห้ เ หตุ ผ ลว่ า การบริ ห ารงาน บุคคลนั้นแม้จะเป็นอำ�นาจของนายก รัฐมนตรี แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบกฎหมายและระบอบ คุ ณ ธรรมด้ ว ย การย้ า ยตนครั้ ง นี้ ไ ม่ ช อบด้ ว ย กฎหมาย เนื่องจากศาลเห็นว่าเลขาธิการ สมช. เป็ น ตำ � แหน่ ง ที่ ขึ้ น ตรงกั บ นายกรั ฐ มนตรี สามารถให้ คำ � ปรึ ก ษากั บ นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ โดยตรง แต่ต�ำ แหน่งทีป่ รึกษานายกฯ นัน้ ขึน้ ตรง ต่อเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำ�ให้ไม่สามารถ ให้ค�ำ ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีดา้ นความมัน่ คง เหมือนกับตำ�แหน่งเลขาธิการ สมช.ได้ "เรือ่ งการใช้ดลุ ยพินจิ ฝ่ายการเมืองจะ เข้ามา แล้วทำ�อย่างไรก็ได้นั้น ถือว่าไม่ชอบ ผม ต่อสู้มา 2 ปี 6 เดือน ไม่ได้ต้องการตำ�แหน่ง แต่ มุ่งหวังความยุติธรรม ไม่ต้องการลาภยศ แต่ ต้องการเกียรติยศ และศักดิศ์ รี หากฝ่ายการเมือง เข้ามา แล้วเคารพเกียรติยศและศักดิ์ศรีของ ข้าราชการประจำ� ก็สามารถทำ�งานร่วมกันได้" นายถวิล กล่าว วันเดียวกัน พล.ท.ภราดร พัฒนถา บุตร เลขาธิการ สมช. เปิดเผยว่าพร้อมน้อม รั บ คำ � สั่ ง ศาลปกครองสู ง สุ ด ที่ มี คำ � สั่ ง ให้ คื น ตำ�แหน่งเลขาธิการ สมช. แต่เนือ่ งด้วยตัวเองมิใช่ คู่กรณีดังกล่าวระหว่างนายถวิล เปลี่ยนศรี ที่ ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการ สมช. เป็น โจทก์ยื่นฟ้อง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รักษาการ นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ดังนั้นตนเอง ในฐานะผู้ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขาธิการ สมช. จึงขอรอรับคำ�สั่งจากนายกรัฐมนตรีก่อนว่าจะ ดำ�เนินการอย่างไรต่อไปหลังจากนี้ ซึ่งโดยส่วน ตัวพร้อมปฏิบัติตามหน้าที่ทุกตำ�แหน่งไม่ว่าจะ โยกหรือย้ายไปตำ�แหน่งใด ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้สั่งการ


4

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ศาลฟลอริดามึน ประหารนักโทษไอคิวก้ำ�กึ่ง ได้คะแนนเกินเกณฑ์แต้มเดียว ศาลสูงในรัฐฟลอริดาลังเลการประหาร 7 เดือนและเจ้าหน้าที่ของรัฐรายหนึ่ง แต่ศาล ชีวติ นักโทษรายหนึง่ เนือ่ งจากได้ กำ�ลังพิจารณาว่าเขาสติฟนั่ คะแนนวัดไอคิวเกินเกณฑ์คนสติ เฟือนหรือไม่เนื่องจากเขา ไม่สมประกอบเพียง 1 คะแนน ทำ � แบบทดสอบไอคิ ว ได้ ซึ่งสามารถเป็นผู้ถูกประหารชีวิต คะแนนครั้ ง ล่ า สุ ด 71 ได้ คะแนน โดยในระหว่างปี เมื่อวันที่ 4 มีนาคม มี 2511-2551 เขาได้คะแนน รายงานว่าศาลสูงในรัฐฟลอริดา ต่ำ�สุดคือ 60 คะแนนและ สหรั ฐ อเมริ ก า กำ � ลั ง ลั ง เลที่ จ ะ สู ง สุ ด คื อ 80 คะแนน ประหารชีวติ นายเฟรดดี ลี ฮอลล์ นอกจากนี้ ก ารทำ � แบบ วัย 68 ปี นักโทษชายที่ถูกตัดสิน ทดสอบในช่ ว งที่ ผ่ า นมา จำ�คุก 35 ปี และอาจได้รับการ ของเขามี ค ะแนนอยู่ ที่ นายเฟรดดี ลี ฮอลล์ พิพากษาให้ต้องรับโทษประหาร ระหว่าง 69-74 คะแนน ในข้อหาฆาตกรรม เนื่องจากเขาก่อเหตุลงมือ ทำ�ให้ศาลลังเลว่าจะพิจารณาอย่างไร แต่ครั้ง สังหารนางแครอล เฮิรส์ ต์ วัย 21 ปี หญิงตัง้ ครรภ์ ล่าสุดนีเ้ ขาได้ระดับไอคิวที่ 71 คะแนนถือว่าเกิน

เกณฑ์การเป็นคนสติไม่สมประกอบมาเพียง 1 คะแนน จึ ง อาจถู ก ตั ด สิ น ประหารชี วิ ต เนื่ อ งจากยั ง เป็ น ผู้ ที่ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะอยู่ อย่างไรก็ตาม ทนายของนายฮอลล์กล่าว ว่าการวัดระดับไอคิวไม่ได้เป็นเครื่องมือที่จะ บ่ ง ชี้ สิ่ ง ใดได้ ทั้ ง นี้ ศาลยั ง คงอยู่ ใ นช่ ว ง พิจารณาปัจจัยรอบด้านอื่นๆ ก่ อ นหน้ า นี้ ศาลสู ง ในรั ฐ นี้ เ คย ชี้ขาดในปี 2545 ไว้ว่าจะไม่มีการตัดสินโทษ ประหารชีวิตบุคคลที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า สติ ไ ม่ ส มประกอบ โดยปั จ จั ย ของการทำ � ข้ อ สอบวั ด ระดั บ ไอคิ ว ก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในปั จ จั ย ชี้ขาด หากบุคคลใดที่ได้คะแนนไอคิวน้อย กว่า 70 คะแนนจะถือว่าเป็นบุคคลที่มีสติไม่ สมประกอบและไม่ต้องถูกประหารชีวิต

หนังสือน่าอ่าน

กฎหมาย ความรู้ฉบับพกพา

เมื่อศาสตราจารย์ด้านกฎหมาย พาผู้อ่านไปท่องโลกของกฎหมายตั้งแต่ ประวัติศาสตร์ ประเภทและ สาขา จนถึง ประเด็นด้านศีลธรรมด้วยสำ�นวนที่เข้าใจ ง่ายและสนุกสนาน เหมาะแก่นักกฎหมาย มือใหม่และผู้สนใจในวิชากฎหมาย หนังสือ กฎหมาย ความรู้ฉบับพกพา เรย์มอนด์ แวคส์ เขียน ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล แปล สำ�นักพิมพ์ Open Worlds ราคา 250.- บาท

สิแอนทพลอยส่ ธิสอตรี งแสง และ ยศกร ศรีอมร

กฎหมายครอบครัว กับสิทธิและหน้าที่ของหญิงไทย: การหมั้น (ตอนที่ 3) บทความทีแ่ ล้วได้กล่าวถึงเรือ่ ง “ค่าทดแทน” ทีฝ่ า่ ยชาย หญิงสามารถเรียกได้หากมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา หมั้น ยิ่งไปกว่านั้น กรณีเรียกค่าทดแทนจากบุคคลอื่นถ้ามี พฤติการณ์พิเศษเกิดขึ้น ได้มีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติมสิทธิ แก่หญิงให้ทำ�การเรียกค่าทดแทนได้เช่นเดียวกับชาย ซึ่ง กฎหมายที่ แ ก้ ไขเพิ่ ม เติ ม นี้ คื อ ป.พ.พ. มาตรา 1445 และ 1446 มาตรา 1445 เดิม บัญญัติไว้ว่า “ชายคู่หมั้นอาจ เรียกค่าทดแทนจากชายอื่นซึ่งได้ร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้น โดยรูห้ รือควรจะรูว้ า่ หญิงได้หมัน้ กับชายคูห่ มัน้ แล้วได้เมือ่ ชาย คู่หมั้นได้บอกเลิกสัญญาหมั้นตามมาตรา 1442 แล้ว” เมื่อ เปรียเทียบ มาตรา 1445 ที่แก้ไขแล้ว คือ “ชายหรือหญิงคู่ หมัน้ อาจเรียกค่าทดแทนจากผูซ้ งึ่ ได้รว่ มประเวณีกบั คูห่ มัน้ ของ ตน โดยรู้หรือควรจะรู้ถึงการหมั้นนั้น เมื่อได้บอกเลิกสัญญา หมั้นแล้วตามมาตรา 1442 หรือ มาตรา 1443 แล้วแต่กรณี” จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ก ฎ ห ม า ย ที่ เ พิ่ ม เ ติ ม นั้ น ทำ � ใ ห้ เ กิ ด ความเสมอภาคระหว่างชายหญิง ถ้ามีหญิงอืน่ มาร่วมประเวณี กับชายคูห่ มัน้ ตน ก็จะสามารถเรียกค่าทดแทนจากหญิงอืน่ นัน้ ได้ดว้ ย แต่จะเรียกค่าทดแทนได้ตอ่ เมือ่ ทำ�การบอกเลิกสัญญา หมั้นแล้วโดยที่ไม่ต้องคืนของหมั้นแก่ชาย ส่วนมาตรา 1446 เป็นกรณีที่มีบุคคลข่มขืนกระทำ� ชำ�เราคูห่ มัน้ ซึง่ เดิมนัน้ บัญญัตไิ ว้แต่กรณีชายเรียกค่าทดแทน ได้ฝ่ายเดียว แต่ มาตรา 1446 ที่แก้ไขบัญญัติให้หญิงคู่หมั้น เรียกค่าทดแทนจากบุคคลที่ทำ�การข่มขืนกระทำ�ชำ�เราชายคู่ หมั้นได้ด้วยเช่นกัน โดยกรณีข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา ที่เกิดกับคู่

หมั้นมิได้เกิดจากเจตนา กฎหมายจึงบัญญัติไว้ให้เรียกค่า ทดแทนได้โดยไม่ต้องบอกเลิกสัญญาหมั้นแต่อย่างใด โดยหลักของการเรียกค่าทดแทน สิทธิเรียกร้องดัง กล่าวไม่อาจโอนให้กนั หรือตกแก่ทายาท นอกจากจะได้มกี าร ทำ�หนังสือรับสภาพกันไว้หรือฟ้องคดีไว้แล้ว เว้นแต่สิทธิเรียก ร้องตาม มาตรา 1440 (2) ซึ่งแม้จะไม่ได้ทำ�หนังสือรับสภาพ กันไว้ก็ตกทอดแก่ทายาทได้ (มาตรา 1447) โดยสิทธิเรียกค่า ทดแทนจากการผิดสัญญาหมั้น สิทธิเรียกค่าทดแทนจากการ บอกเลิกสัญญาหมั้น หรือ สิทธิเรียกค่าทดแทนตาม มาตรา 1445 และ มาตรา 1446 นั้น กฎหมายกำ�หนดให้มีอายุความ 6 เดือนนับแต่วนั ทีผ่ ดิ สัญญา หรือวันทีร่ วู้ า่ มีการกระทำ�อันเป็น เหตุให้บอกเลิกสัญญาหมั้นได้ แล้วแต่กรณี แต่กรณีการกระ ทำ�ชัว่ หรือการร่วมประเวณี และการข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา ถ้ามา รู้ภายหลังจากที่มีการกระทำ�ไปแล้วเกินกว่า 6 เดือน ก็ยัง สามารถเรียกร้องค่าทดแทนได้ แต่ต้องไม่เกิน 5 ปี นับแต่วัน ทีม่ กี ารกระทำ�แล้วแต่กรณี (มาตรา 1447/1) สิทธิเรียกคืนของ หมั้นก็เช่นกัน กฎหมายกำ�หนดให้มีอายุความ 6 เดือนนับแต่ วั น ที่ มี ก ารผิ ด สั ญ ญาหมั้ น หรื อ มี ก ารบอกเลิ ก สั ญ ญาหมั้ น (มาตรา 1447/2) นอกจากนี้ ถ้าสังเกตกันให้ดี กฎหมายทีไ่ ด้แก้ไขใหม่ นั้นใช้คำ�ว่า “ผู้ซึ่ง” ในเรื่องหมั้น และคำ�ว่า “บุคคล” ในเรื่อง การข่มขืน ซึ่งไม่ได้มีการแบ่งแยกว่าเป็นชายหรือหญิงเหมือน เช่นกฎหมายเดิม ดังนัน้ ตามกฎหมายใหม่นี้ จึงมิได้มกี ารระบุ เพศไว้ ดังนั้น การที่ชายร่วมประเวณีกับชาย หรือหญิงร่วม ประเวณีกับหญิง ก็สามารถเข้าข่ายตามกฎหมายใหม่ได้เช่น

กั น คงต้ อ งยอมรั บ กั น ว่ า ปั จ จุ บั น โลกเรานี้ เ ปลี่ ย นไปมาก อะไรๆ ก็เกิดขึ้นได้ ซึ่งเราจะได้กล่าวถึงต่อไปในเรื่องของการ สมรสในฉบับหน้า โดยในบางประเทศได้มีการประกาศใช้ กฎหมายซึง่ ยินยอมให้บคุ คลเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้ แล้ว เช่นประเทศเนเธอร์แลนด์ แต่กย็ งั มีบางประเทศทีไ่ ม่เห็น ด้วยและออกกฎหมายลงโทษอย่างเข้มงวดในเรื่องนี้ สำ�หรับ ประเทศไทยนัน้ ขณะนีม้ รี า่ งพระราชบัญญัตคิ ชู่ วี ติ เปิดโอกาส ให้ ค นเพศเดี ย วกั น จดทะเบี ย นสมรสกั น ได้ ถู ก ต้ อ งตาม กฎหมายและใช้ชีวิตร่วมกันได้ และในขณะนี้มูลนิธิเพื่อสิทธิ และความเป็นธรรมทางเพศ บอกถึงความคืบหน้าในการจัด ทำ�ร่าง พ.ร.บ.คูช่ วี ติ ฉบับภาคประชาชนว่า ประมาณสิน้ เดือน มีนาคมนี้เนื้อหาของหลักการในเบื้องต้นน่าจะแล้วเสร็จ จาก นั้นจะเข้าสู่ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน โดย จะจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น 4 ภาคทั่วประเทศ หลังจากนั้น คณะทำ�งานจะทำ�การปรับแก้ร่างให้สมบูรณ์ ก่อนนำ�เข้าสู่ขั้น ตอนการรวบรวมรายชื่อผู้สนับสนุนให้ได้จำ�นวน 1 หมื่นราย ชื่อ เพื่อนำ�เสนอร่างกฎหมายให้สภาพิจารณาต่อไป เราได้ทราบถึงขัน้ ตอน สิทธิและหน้าทีข่ องฝ่ายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการหมัน้ ไปเรียบร้อยแล้ว ซึง่ บทความเรือ่ งการ หมัน้ ทีผ่ เู้ ขียนนำ�เสนอนีน้ า่ จะเป็นประโยชน์ส�ำ หรับหญิงทีก่ �ำ ลัง จะทำ�การหมั้นกับชายหนุ่มบ้าง โดยในบทความนี้จะถือเป็น บทสุดท้ายที่จะเขียนเรื่องการหมั้น และในครั้งหน้าเราจะเริ่ม เรื่องที่จะเกิดต่อจากการหมั้น นั่นคือ “การสมรส”


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ขบข่ าวเอามากัด ABC นิรนาม

5

listdd.com

“ขนส่ ง ทางบก” เตรี ย มปรั บ เกณฑ์ คะแนนสอบผ่านเป็น 90% เพือ่ ยกระดับ มาตรฐานผู้สอบและให้ผู้ขับขี่ตระหนัก ถึงกฎกติกามารยาทบนท้องถนน เริ่ม ภายในปีนี้ นายวัฒนา พัทรชนม์ รองอธิบดี กรมการขนส่งทางบก (ขบ.) เปิดเผยว่า ขบ. มีแผนปรับหลักเกณฑ์การทดสอบใบอนุญาต ขับขี่รถยนต์ใหม่ทั้งประเภทใบขับขี่รถยนต์ ส่วนบุคคลและรถโดยสารสาธารณะทั่วไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผู้ที่ทดสอบขอรับใบ อนุญาตขับขี่ โดยจะกำ�หนดเกณฑ์ข้อสอบ ใหม่ และเกณฑ์ของคะแนนสอบวัดผลจาก เดิมที่ผู้เข้าสอบจะต้องผ่านเกณฑ์ที่ 75% จะ เพิ่มเป็น 90% เพื่อยกระดับมาตรฐานของผู้ สอบใบขับขี่ให้สูงขึ้นให้ผู้ขับขี่มีความรู้เรื่อง กฎหมายจราจรและตระหนักถึงกฎกติกา มารยาทในการขั บ ขี่ อ ย่ า งเข้ ม งวด ซึ่ ง ใน ปัจจุบันเป็นปัญหามากทั้งเรื่องของอุบัติเหตุ และปัญหาการจราจรติดขัดทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้รถ ใช้ถนนไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร โดยขณะนี้ ผลการศึกษาในการปรับเปลี่ยนเกณฑ์การ สอบใบขับขี่เสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่าง เสนอให้กระทรวงคมนาคมรับทราบ คาดว่า ภายในปี 2557จะเริ่มใช้เกณฑ์ข้อกำ�หนด ใหม่ได้ นอกจากนี้ ขบ. ยังมีแผนที่จะตั้ง ศูนย์บันทึกพฤติกรรมการขับขี่รถยนต์เบื้อง ต้นจะนำ�ร่องใช้กับรถโดยสารสาธารณะและ รถบรรทุกวัตถุอันตราย ก่อนบังคับใช้กับผู้ ขับขี่รถยนต์ทั่วไป มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ลด การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนลง จะทำ�ให้ผู้ ขับขี่ไม่กล้าทำ�พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ทัง้ นีค้ าดว่าศูนย์ดงั กล่าวจะตัง้ เสร็จช่วงเดือน เมษายนนี้

presstv.ir

“ขนส่ง” เขี้ยว ปรับเพิ่มคะแนน ใบขับขี่ อ้างยกมาตรฐาน ให้ตระหนักกฎกติกา

เพราะเราคู่กัน สวัสดีครับคุณผู้อ่านทุกท่าน หลังจากคราวที่แล้วเราพาทุก ท่านไป “เฉียด” นรกกันมา ก็เริ่มรู้สึกอากาศช่วงนี้จะร้อนๆ ขึ้น แล้ว ฉบับนี้จึงขอพาท่านผู้อ่านไปคลายร้อนจากอากาศ ด้วยการพา ไปเที่ยวต่างประเทศที่มีอุณภูมิการเมืองทะลุจุดเดือดไปหลายสิบ องศา แต่ยังเย็นกว่าพระอาทิตย์ที่พี่คิม จอง อึน ส่งคนไปเหยียบมา แล้ว และเป็นประเทศที่มี “ไทม์ไลน์” เหตุการณ์ประท้วงทางการ เมืองที่ไล่เลี่ยและใกล้เคียงกับเหตุการณ์ทางการเมืองในบ้านเรา ราวกับลอกกันมา นั่นคือประเทศยูเครน ซึ่งมีเหตุการณ์สำ�คัญที่ สามารถนำ�มาเปรียบเทียบได้ดังนี้ - ไทยเริ่มชุมนุมมาตั้งแต่ราวกลางเดือนตุลาคม ส่วน ยูเครนเริม่ ชุมนุมกันในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน (ยูเครนใช้เวลาดู งานจากไทยประมาณ 1 เดือน) - ไทยเริ่มออกมาชุมนุมกันเยอะแยะยัวะเยี้ยะเนื่องจาก ต้องการคัดค้านร่างกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับสุดซอย (ที่ดิฉันถอย จนสุดแล้วค่ะ ก่อนจะบีบน้ำ�ตา สะบัดกระบัง แล้วหันมายิ้มเยาะ) ส่วนที่ยูเครนออกมาประท้วงกันเนื่องจากประธานาธิบดีพยายามตี ตัวออกห่างจากสหภาพยุโรป (อีย)ู และหันไปมีใจให้รสั เซียแทน ทัง้ ๆ ทีค่ นส่วนใหญ่กไ็ ม่ได้ใจให้รสั เซียเลย (ฟังดูคล้ายละครหลังข่าวพิกล) - ที่เหมือนกันคือ “การเรียกแขก” ของทั้งสองประเทศมี ที่มาจาก “ร่างกฎหมาย” เหมือนกัน โดยไทยเรียกแขกจากการที่ สภาผูแ้ ทนราษฎร “ลักหลับ” คนไทยทัง้ ประเทศด้วยการลงมติผา่ น ร่างกฎหมายนิรโทษกรรมสุดซอยกันตอนตี่สี่ ก่อนที่ร่างกฎหมาย ฉบับนี้จะพบกับจุดจบโดยการโหวตคว่ำ�ร่างจากสภาสูง(วัย) ส่วนที่ ยูเครน รัฐบาลเรี ย กแขกด้ วยการออกกฎหมายห้ า มชุ ม นุ ม ในที่ สาธารณะ แต่กลับทำ�ให้คนออกมาชุมนุมกันมากขึ้น จนในที่สุด ก็ ต้องยกเลิกกฎหมายฉบับนี้ไป (จริงๆ ตอนนั้นก็ดีอยู่แล้วนะ จะออก มาเพื่อ?) - แกนนำ�ในการชุมนุมของทั้งสองประเทศ ล้วนมาจาก “ฝ่ายค้าน” ด้วยกันทั้งสิ้น โดยไทยมีนักการเมืองจาก “ค่ายสะตอ” เป็นหัวเรือใหญ่ ก่อนจะประกาศลาออกจาก ส.ส. มาเป็นแกนนำ�และ กำ�นันอย่างเต็มตัว ส่วนที่ยูเครนก็มี ส.ส. จากพรรคฝ่ายค้านเป็น แกนนำ� รวมถึงนางทีโมเชนโก อดีตนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรค ฝ่ายค้านที่ถูกจำ�คุกอยู่เมื่อเริ่มชุมนุม ทันทีที่พ้นโทษออกมาก็ได้ ปรากฏตัวบนเวทีผู้ชุมนุม พร้อมทั้งปลุกระดมให้ประชาชนสู้ต่อไป อย่าได้ถอย...

- วันชุมนุมใหญ่ครั้งแรกของทั้งสองประเทศ จัดขึ้นในวัน เดียวกัน คือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2556 โดยของไทยนัดชุมนุมใหญ่ ที่บริเวณถนนราชดำ�เนิน ส่วนที่ยูเครนก็นัดชุมนุมใหญ่ที่จัตุรัส เอกราช (Independence Square) โดยมีผมู้ าร่วมชุมนุมเป็นจำ�นวน มากเป็นประวัติการณ์ทั้งสองแห่ง - วันปราบปรามการชุมนุมทีน่ องเลือดของทัง้ สองประเทศ ก็เกิดขึ้นในวันเดียวกัน คือ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ซึ่งที่ไทยมีการ “ขอ คืนพืน้ ที”่ บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ทำ�ให้มผี เู้ สียชีวติ ทัง้ สิน้ 6 คน ทั้งฝั่งผู้ชุมนุมและตำ�รวจ โดยหนึ่งในนั้น มีหนึ่งรายที่ถูกยิงเสียชีวิต ใกล้ๆ กับที่ทำ�การสภาทนายความด้วย (โชคดีที่ผมไม่ต้องกลับบ้าน ดึก) ส่วนที่ยูเครนก็มีการปราบปรามอย่างรุนแรงและนองเลือดยิ่ง กว่าไทยหลายเท่า เพราะผู้ชุมนุมใช้ทั้งระเบิดเพลิง ปืน และอาวุธ ชนิดอื่นๆ อีกทั้งเจ้าหน้าที่ก็ได้ปราบปรามผู้ชุมนุมด้วยความรุนแรง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตไปกว่า 80 คน พร้อมทั้งเปลี่ยนจัตุรัสเอกราชให้ กลายเป็นทะเลเพลิงในพริบตา - เหตุผลในการ “เกาะเก้าอี้” ผู้นำ�ประเทศของทั้งสอง ประเทศ ก็เป็นเหตุผลเดียวกันโดยมิได้นัดหมาย (แต่ยูเครนอาจจะ ลอกไทยมา เพราะประกาศทีหลัง) นั่นก็คือ “ดิฉัน/ผมมาจากการ เลือกตั้ง” เรียนมาตั้งแต่เด็ก เพิ่งรู้ว่าการเลือกตั้งเป็นกาวใช้สำ�หรับ ติดก้นกับเก้าอี้ได้ดีที่สุดก็คราวนี้แหละ แต่ในที่สุด การเลือกตั้งที่ว่า แน่ ก็ยังแพ้เสียงโหวตในสภา เมื่อทั้งสภาลงมติคว่ำ�นายยานูโควิช พ้นจากเก้าอี้ประธานาธิบดี พร้อมแต่งตั้งประธานรัฐสภาเป็นรักษา การประธานาธิบดีแทน - ข้อสุดท้าย เพิ่งเกิดขึ้นมาไม่นาน นั่นคือประเด็น “แบ่ง แยกดินแดน” ที่ของไทยมีการปิดป้ายขอแบ่งแยกดินแดน ตั้งเป็น ประเทศล้านนาบ้าง สปป.ล้านนาบ้าง ซึ่งภายหลังก็ได้มีการแถ(ลง) ว่า “สปป.ล้านนา” ย่อมาจาก “สมัชชาปกป้องประชาธิปไตยล้าน นา” มิใช่ “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนล้านนา” อย่างทีเ่ ข้าใจ ผิดกันแต่อย่างใด ทัง้ ๆ ทีส่ มัชชาดังกล่าวใช้อกั ษรย่อว่า “สปล.” มิใช่ “สปป.ล้านนา” ส่วนที่ยูเครน ภายหลังจากที่(อดีต)ประธานาธิบดี ได้หลบหนีลี้ภัยไปอยู่ในแคว้นไครเมียร์ (ไม่ใช่เมียใคร) ก็เกิดการ ปลุกระดมให้เกิดการลงประชามติแยกแคว้นปกครองตนเองแห่งนี้ ไปซบอกกับพี่หมีขาวรัสเซีย แทนที่จะอยู่กับยูเครนต่อไป (ณ ขณะที่ เขียนบทความนี้ ยังมิได้มีการลงมติแต่อย่างใด) ช่างเป็นสองประเทศที่เกิดมาคู่กันโดยแท้...


6

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

bryancaveseminar.com

การเปลี่ยนแปลงที่จะเห็นได้ชัดๆใน AEC

AEC หรือ Asean Economics Community คือ การรวมตัวของชาติใน Asean 10 ประเทศ โดยมี ไทย, พม่า, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, กัมพูชา, บรูไน เพื่อที่จะให้มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน จะมีรูปแบบ คล้ายๆ กลุ่ม Euro Zone จะทำ�ให้มีผลประโยชน์, อำ�นาจต่อรองต่างๆ กับคู่ค้าได้มากขึ้น และการนำ�เข้า ส่งออกของชาติใน อาเซียนก็จะเสรี ยกเว้นสินค้าบางชนิดที่แต่ละประเทศอาจจะขอไว้ไม่ลดภาษีนำ�เข้า (เรียกว่าสินค้าอ่อนไหว) Asean จะรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลเป็นรูปธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ณ วันนั้นจะ ทำ�ให้ภูมิภาคนี้เปลี่ยนไปอย่างมากอย่างที่คุณคิดไม่ถึงทีเดียว - การลงทุนจะเสรีมากๆ คือ ใครจะ ชายแดนอาจมีบทบาทน้อยลงมาก แต่ ส่งออก ซึ่งก็ถือเป็นธุรกิจของคนไทยที่ ลงทุนที่ไหนก็ได้ ประเทศที่การศึกษา จะมีปัญหาเรื่องยาเสพติด และปัญหา ชำ�นาญอยู่แล้ว ระบบดีๆ ก็จะมาเปิดโรงเรียนในบ้านเรา สังคมตามมาด้วย - ไทยจะเป็นศูนย์การการท่องเที่ยว อาจทำ�ให้โรงเรียนแพงๆ แต่คุณภาพไม่ - เมืองไทยจะไม่ขาดแรงงานที่ไร้ฝีมืออีก และคมนาคมอย่างไม่ต้องสงสัย หากผู้ ดีต้องปรับตัว ไม่เช่นนั้นอาจจะสู้ไม่ได้ ต่อไปเพราะแรงงานจะเคลื่อนย้ายเสรี ประกอบธุรกิจในไทยที่เกี่ยวเนื่องกับ - ไทยจะเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว จะมี ชาวพม่า, ลาว, กัมพูชา เข้ามา ธุรกิจนี้ปรับตัวและเตรียมพร้อมดีก็จะได้ และการบินอย่างไม่ต้องสงสัย เพราะว่า ทำ�งานในไทยมากขึ้น แต่คนเหล่านี้ก็จะ ประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางการท่อง อยู่กลาง Asean และไทยอาจจะเด่นใน มาแย่งงานคนไทยบางส่วนด้วยเช่นกัน เที่ยวและคมนาคม เรื่อง การจัดการประชุมต่างๆ, การแสดง และยังมีปัญหาสังคม, อาชญากรรม จะ - ปัญหาสังคมจะรุนแรงถ้าไม่ได้รับการ นิทรรศการ, ศูนย์กระจายสินค้า และยัง เพิ่มขึ้นอีกด้วย อันนี้รัฐบาลควรต้อง วางแผนที่ดี เนื่องจาก จะมีขยะจำ�นวน เด่นเรื่องการคมนาคมอีกด้วยเนื่องจาก วางแผนรับมือ มากมากขึ้น, ปัญหาการแบ่งชนชั้น ถ้า อยู่ตรงกลางอาเซียน และการบริการ - คนไทยที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ บางส่วน คนไทยทำ�งานกับคนต่างชาติที่ด้อยกว่า ด้านการแพทย์และสุขภาพจะเติบโต จะสมองไหลไปทำ�งานเมืองนอก โดย อาจมีการแบ่งชนชั้นกันได้, จะมีชุมชน อย่างมากเช่นกันเพราะ จะผสมผสานส่ง เฉพาะอุตสาหกรรมซอร์ฟแวร์ (ที่จะให้ สลัมเกิดขึ้น และอาจมี พม่าทาวน์, ลาว เสริมกันกับอุตสาหกรรรมการท่องเที่ยว สิงคโปร์เป็นหัวหอกหลัก) เพราะชาว ทาวน์, กัมพูชาทาวน์, ปัญหา (ค่าบริการทางการแพทย์ของประเทศ ไทยเก่ง แต่ปัจจุบันได้ค่าแรงถูกมาก อัน อาชญากรรมจะรุนแรง สถิติการก่อ ต่างชาติจะมีราคาสูงมากหากเทียบกับ นี้สมองจะไหลไปสิงคโปร์เยอะมาก แต่ อาชญากรรมจะเพิ่มขึ้นอย่างมากจากชน ประเทศไทย) พวกชาวต่างชาติก็จะมาทำ�งานในไทย นั้นที่มีปัญหา, คนจะทำ�ผิดกฎหมายมาก - การค้าขายจะขยายตัวอย่างน้อย 25% มากขึ้นเช่นกัน อาจมีชาว พม่า, กัมพูชา ขึ้นเนื่องจากไม่รู้กฎหมาย ในส่วนของอุตสาหกรรมบางอย่าง เช่น เก่งๆ มาทำ�งานกับเราก็ได้ โดยจะใช้ รถยนต์, การท่องเที่ยว, การคมนาคม, ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลาง บริษัท แต่อุตสาหกรรมที่น่าห่วงของไทยคือ ที่ software ในไทยอาจต้องปรับค่าจ้างให้ ใช้แรงงานเป็นหลักเช่น ภาคการเกษตร, สู้กับ บริษัทต่างชาติให้ได้ ไม่เช่นนั้นจะ ก่อสร้าง, อุตสาหกรรรมสิ่งทอจะได้รับ เกิดภาวะสมองไหล ผลกระทบ เนื่องจากฐานการผลิตอาจ - อุตสาหกรรมโรงแรม, การท่องเที่ยว, ย้ายไปประเทศที่ผลิตสินค้าทดแทนได้ ร้านอาหาร, รถเช่า บริเวณชายแดนจะ เช่นอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยผู้ลงทุนอาจ คึกคักมากขึ้น เนื่องจากจะมีการสัญจร ย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยัง มากขึ้น และเมืองตามชายแดนจะพัฒนา AEC Blueprint (แบบพิมพ์เขียว) หรือ ประเทศที่มีค่าแรงถูกกว่า เนื่องด้วยบาง มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเป็นจุดขนส่ง แนวทางที่จะให้ AEC เป็นไปคือ ธุรกิจไม่จำ�เป็นต้องใช้ทักษะมากนัก - สาธารณูปโภคในประเทศไทย หาก 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2.การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถใน ค่าแรงจึงถูก เตรียมพร้อมไม่ดีอาจขาดแคลนได้ เช่น การแข่งขันสูง - เรื่องภาษาอังกฤษจะเป็นสิ่งที่สำ�คัญ ชาวพม่า มาคลอดลูกในไทย ก็ต้องใช้ 3. การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทาง อย่างมาก เนื่องจากจะมีคนอาเซียน เข้า โรงพยาบาลในไทยเป็นต้น เศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน มาอยู่ในไทยมากมายไปหมด และมักจะ - กรุงเทพฯ จะแออัดอย่างหนัก 4. การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับ พูดภาษาไทยไม่ค่อยได้ แต่จะใช้ภาษา เนื่องจากมีตำ�แหน่งเป็นตรงกลางของ เศรษฐกิจโลก อังกฤษ (AEC มีมาตรฐานว่าจะใช้ภาษา อาเซียนและเป็นเมืองหลวงของไทย โดย โดยให้แต่ละประเทศใน AEC ให้มีจุดเด่น อังกฤษเป็นภาษากลางเพื่อสื่อสารใน เมืองหลวงอาจมีสำ�นักงานของต่างชาติ ต่างๆ ดังนี้ AEC) บางทีเรานึกว่าคนไทยไปทักพูด มาตั้งมากขึ้น รถจะติดอย่างมาก สนาม พม่า : สาขาเกษตรและประมง มาเลเซีย : สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่ง คุยด้วย แต่เค้าพูดภาษาอังกฤษกลับมา บินสุวรรณภูมิจะแออัดมากขึ้น (ปัจจุบัน ทอ เราอาจเสียความมั่นใจได้ ส่วนสิ่ง มีโครงการที่จะขยายสนามบินแล้ว) อินโดนีเซีย : สาขาภาพยนตร์และสาขา แวดล้อมนั้น ป้ายต่างๆ หนังสือพิมพ์, - ไทยจะเป็นศูนย์กลางอาหารโลกใน ผลิตภัณฑ์ไม้ สื่อต่างๆ จะมีภาษาอังกฤษมากขึ้น (ให้ดู การผลิตอาหาร เพราะ knowhow ใน ฟิลิปปินส์ : สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ป้ายที่สนามบินสุวรรณภูมิเป็นตัวอย่าง) ไทยมีเยอะประสบการณ์สูง และบริษัท สิงคโปร์ : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ และจะมีโรงเรียนสอนภาษามากมาย อาหารในไทยก็แข็งแกร่ง ประกอบทำ�เล สาขาสุขภาพ หลากหลายหลักสูตร ที่ตั้งเหมาะสมอย่างมาก แม้จะให้พม่า ไทย : สาขาการท่องเที่ยว และสาขาการบิน - การค้าขายบริเวณชายแดนจะคึกคัก เน้นการเกษตร แต่ทางประเทศไทยเอง (ประเทศไทยอยู่ตรงกลาง ASEAN) อย่างมากมาย เนื่องจาก ด่านศุลกากร คงไปลงทุนในพม่าเรื่องการเกษตรแล้ว

AEC BLUEPRINT

5 ลอว์นิวส์

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน

เจ้าของ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ปรึกษา นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายพูลศักดิ์ บุญชู ผศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรพล สินธุนาวา นายชวน คงเพชร ดร. สุธรรม วลัยเสถียร นายสุมิตร มาศรังสรรค์ นายนิวัติ แก้วล้วน ดร. เกียรติศักดิ์ วรวิทย์รัตนกุล บรรณาธิการ, ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา นางแอน พลอยส่องแสง กองบรรณาธิการ นายสุวิทย์ เชยอุบล นายสุนทร พยัคฆ์ นายวิเชียร ชุบไธสง นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ นายสุชาติ ชมกุล นายชลิต ขวัญแก้ว ร้อยตรีสุรศักดิ์ รอนใหม่ นายพิเชฐ คูหาทอง นายอาสา เม่นแย้ม นายผาติ หอกิ​ิตติกุล นายวิทยา แก้วไทรหงวน นายวันรัฐ นาคสุวรรณ นายโอฬาร กุลวิจิตร นายวีรวัฒน์ จิตต์ปรุง ศิลปกรรม นายฉัตรชัย ทองศักดิ์ หนังสือพิมพ์ลอว์นิวส์ จัดทำ�โดยสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567 แฟกซ์ 0-2282-9908 E-mail : lawnewslct@gmail.com พิมพ์ที่ 96 หมู่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ทีว. ราชดำ ่แห่�เนิงนนี้

พิพิธภัณฑ์แห่งการเรียนรู้ การประปาไทย เนื่องในโอกาสวันนำ�้โลก วันที่ 22 มีนาคมนี้ “ที่แห่งนี้” ขอนำ�ทุกท่านร่วมเดินทางไป เรียนรู้ถึงสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับชีวิตประจำ�วันของเราทุกคน นั่นคือ นำ�้ประปา ผ่านสถานที่ สำ�คัญที่ยังคงอนุรักษ์ ไว้ได้เป็นอย่างดี แม้จะมีอายุเก่าแก่นับร้อยปีก็ตาม ที่แห่งนี้... “พิพิธภัณฑ์แห่งการเรียนรู้ การประปาไทย” ท่ามกลางความวุ่นวายบนถนนพระราม 6 วันที่ 17 กรกฎาคม 2556 รวมถึงเอกสาร พิพิธภัณฑ์แห่งนี้กลับตั้งอยู่อย่างเงียบสงบ เก่าแก่หลายชิ้น เช่น สมุดทะเบียนผู้ใช้น้ำ� บนพื้นที่ของการประปานครหลวงริมคลอง พ.ศ. 2468 หนังสือร้องเรียนเรื่องน้ำ�ประปา สามเสน สิง่ แรกทีโ่ ดดเด่นก็คอื บรรดาอาคาร ที่สวนจิตรลดาไม่ขึ้นถึงชั้นบน เมื่อ พ.ศ. อนุรักษ์ทั้งหลายที่ทาสีเหลืองหมากสุกได้ 2493 ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำ�ประปา พ.ศ. อย่างสะอาดและสะดุดตา เหมือนเป็นการ 2518 รวมถึงรูปของเจ้าพระยายมราช (ปั้น ปลุกชีวติ อาคารหลังเก่าให้กลับมามีชวี ติ ชีวา สุขุม) ผู้เป็นที่มาของชื่ออาคารด้วย อี ก ครั้ ง ซึ่ ง เมื่ อ เข้ า มาในบริ เวณของการ ใกล้กับเรือนรับรอง มีหอที่รวม ประปานครหลวงแล้ว ก็จะพบอาคาร 2 แห่ง กุญแจไฟฟ้า หรือที่เรียกกันว่า “หอกุญแจ” ที่ ข นาบข้ า งทางเข้ า คื อ เรื อ นรั บ รอง ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของเบรกเกอร์ของโรงกรอง เจ้าพระยายมราชและเรือนรับรองพระรามที่ น้ำ � สามเสน โดดเด่ น ด้ ว ยพระบรมรู ป 6 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรือนรับรองเจ้าพระยายมราช เดิม (รัชกาลที่ 5) ซึ่งมีประกาศการสร้างประปา เคยเป็ น อาคารที่ ใช้ สำ � หรั บ การวิ เ คราะห์ ประดับไว้มีข้อความว่า คุณภาพน้ำ� เปรียบเสมือนห้องแล็บก็ว่าได้ “ มี พ ร ะ บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร ใน ภายในอาคารรับรองแห่งนี้ จัดแสดงห้อง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า รับรองซึง่ ครัง้ หนึง่ เคยเป็นห้องรับรองสมเด็จ จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ฯ เ มื่ อ ค ร า ว ที่ เ ส ด็ จ ประกาศทราบโดยทั่วกันว่า ทรงพระกรุณา พระราชดำ�เนินมาเป็นองค์ประธานในการ โปรดเกล้าฯ ให้กรมศุขาภิบาลจัดการนำ�น้ำ� เปิดพิพิธภัณฑ์แห่งนี้อย่างเป็นทางการเมื่อ มาใช้ในพระนคร ให้เรียกกิจการนีต้ ามภาษา

สันสกฤตเป็นคำ�สั้นว่า “การประปา” “ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ กรกฎาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๕๒)” ด้ า นหลั ง หอกุ ญ แจ จะพบกั บ อาคารหลังใหญ่หลังแรก คืออาคารที่สูบน้ำ� พ.ศ. 2457 ซึง่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นโรงสูบน้�ำ ดิบจาก แม่ น้ำ � เจ้ า พระยาที่ ส่ ง ผ่ า นมาตามคลอง ประปา ประกอบด้วยเครื่องสูบน้ำ� 7 เครื่อง เป็นเครือ่ งสูบน้�ำ ดิบ 3 เครือ่ ง คอยสูบน้�ำ เข้า ระบบการผลิตน้ำ�ประปา และเครื่องสูบน้ำ� ประปาอีก 4 เครื่อง สูบจ่ายน้ำ�ประปาไปสู่ ประชาชน ถัดจากอาคารทีส่ บู น้� ำ เป็นอาคาร โรงเกรอะน้ำ� สูง 3 ชั้น ซึ่งชั้นแรกและชั้นที่ สองเป็นพื้นที่สำ�หรับการเก็บสารส้ม ซึ่งมี การนำ�เข้าจากประเทศเบลเยี่ยม ชั้น 3 เป็น ที่ตั้งของเครื่องกวนสารส้มในถังไม้ใหญ่ 3 ถัง เข้าใจว่าถังไม้ทั้ง 3 ถังเคยเป็นถังไวน์มา ก่อน โดยมีอายุเก่าแก่ย้อนไปถึง ค.ศ. 1851 (พ.ศ. 2394) และมีเครื่องจำ�กัดการไหลของ สารส้ม 1 ชุด เพื่อจำ�กัดปริมาณการไหลของ สารส้ม เพือ่ จ่ายไปยังท่อน้�ำ ดิบก่อนเข้าถังตก ตะกอน (ถังพักน้ำ�) ซึ่งตั้งอยู่ด้านข้างของ อาคารโรงเกรอะน้ำ� ก่อนที่น้ำ�ดิบเหล่านี้จะ ถูกส่งต่อไปยังโรงกรองน้ำ� อาคารหลังถัดมา คืออาคารโรง กรองน้ำ� สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2455 ภายในมี ถังน้ำ�ทรงกระบอกขนาดใหญ่ทั้งสิ้น 12 ถัง แต่ละถังจะบรรจุทรายหนา 90 เซนติเมตร และกรวดหนา 10 เซนติเมตร เพื่อกรองเอา เศษตะกอนที่อาจถูกพัดมาพร้อมกับน้ำ�ให้ แยกออกจากน้�ำ ประปา ก่อนจะส่งน้�ำ ประปา ที่ ผ่ า นการกรองแล้ ว ไปยั ง อาคารที่ ขั ง น้ำ � บริสุทธิ์ (ถังเก็บน้ำ�ใส) ภายในโรงกรองน้�ำ แห่งนีม้ จี ดุ เด่น อยู่ที่ประตูน้ำ�หลากสีสัน ได้แก่ สีฟ้า เหลือง เขียว ชมพู เทา และแดง ซึ่งจะทำ�หน้าที่แตก ต่างกันไป เช่น สีชมพูใช้ส�ำ หรับการส่งน้�ำ ไป ยังถังเก็บน้ำ�ใส สีฟ้าใช้สำ�หรับการทำ�ความ สะอาดถังกรองน้ำ� ซึ่งสีสันต่างๆ เหล่านี้มี ที่มาจากการที่นายช่างผู้ควบคุมงานสมัย ก่อนมักเป็นชาวต่างชาติ ทำ�ให้ยากต่อการ สือ่ สารกัน จึงให้โค้ดสีในการปฏิบตั งิ านแทน การใช้คำ�พูด ทำ�ให้การปฏิบัติงานเป็นไป โดยสะดวก ต่ อ มา เมื่ อ มี ค วามต้ อ งการใช้ ปริมาณน้�ำ เพิม่ มากขึน้ จึงได้สร้างอาคารโรง กรองน้ำ�หลังที่ 2 ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2473 ซึ่ง ภายในจะมีลกั ษณะคล้ายกับโรงกรองน้�ำ หลัง แรกและยังคงใช้ประตูน�้ำ หลากสีเหมือนเดิม

7

แต่มีการใช้ถังกรองน้ำ�เป็นทรงสี่เหลี่ยมแทน อาคารหลังสุดท้ายที่เปรียบเสมือน ประตู ด่ า นสุ ด ท้ า ยก่ อ นการจ่ า ยน้ำ � ไปสู่ ประชาชน คืออาคารที่ขังน้ำ�บริสุทธิ์ (ถังเก็บ น้�ำ ใส) มีบอ่ ขนาดใหญ่ลกึ ลงไปใต้ดนิ 3 เมตร ด้านบนมีการถมดินและปลูกหญ้าไว้ มีปล่อง ระบายอากาศติ ด มุ้ ง ลวดกั น แมลง และมี อาคารเติมคลอรีนซึง่ นำ�เข้ามาจากอังกฤษ เพือ่ ฆ่ า เชื้ อ โรคในน้ำ � ที่ อ าจจะหลงเหลื อ อยู่ จ าก การกรอง ก่อนจะจ่ายน้ำ�ไปยังถังสูงสองใบที่ ตั้งอยู่ที่การประปานครหลวง สี่แยกแม้นศรี เพื่อจ่ายน้ำ�ไปตามบ้านเรือนของประชาชน และจุดที่ตั้งของ “โซดาดึง” ซึ่งเป็นจุดจ่ายน้ำ� สาธารณะ เพือ่ ให้ประชาชนได้ใช้น�้ำ สะอาดกัน อย่างทั่วถึง โรงผลิตน้ำ�ประปาแห่งนี้ พระบาท สมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ พระราชดำ�เนินมาเป็นองค์ประธานในการเดิน เครื่ อ งสู บ น้ำ � ดิ บ เครื่ อ งแรกเมื่ อ วั น ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 ภายหลังเมื่อความ ต้องการใช้น้ำ�ประปามีเพิ่มมากขึ้น ประกอบ กับเครื่องมืออุปกรณ์ที่ชำ�รุดไปตามกาลเวลา ทำ�ให้การผลิตน้ำ�ประปาจากที่แห่งนี้ไม่เพียง พอต่อความต้องการ จึงได้มีการสร้างโรงผลิต น้ำ�ประปาเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่ง และได้ปิดโรง ผลิตน้�ำ แห่งนีล้ ง ก่อนทีจ่ ะมีการบูรณะและเปิด ให้เข้าชมได้เมื่อปีที่ผ่านมา เนื่องในโอกาส ครบรอบ 100 ปีการประปาไทย พ.ศ. 2557 นี้ ซึ่งการประปานครหลวงก็จะได้จัดกิจกรรม พิเศษขึ้นในโอกาสนี้ด้วย น้�ำ ประปาจึงมิใช่เป็นเพียงน้�ำ สะอาด สำ�หรับการอุปโภคบริโภคเท่านั้น หากแต่ยัง เป็ น น้ำ � พระทั ย ของพระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รง วางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใน ราชอาณาจักรของพระองค์ให้มีความเจริญ เทียบเท่านานาอารยะประเทศ

ผู้สนใจเข้าชมพิพิธภัณฑ์แห่งการเรียนรู้ การประปาไทย เลขที่ 220 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 สามารถติดต่อ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2279-2120 ต่อ 131 ในวันและเวลาราชการ


8

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ไทม์ ไลน์ วีรจิตต วัฒนบำ�รุง

การประปาไทย

“นำ�้ประปา” เป็นหนึ่งในสิ่งจำ�เป็นของชีวิต เพราะเป็นแหล่งนำ�้สะอาดที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากนำ�้ตามแหล่งน้ำ�ธรรมชาติ ไม่สะอาดพอต่อการอุปโภคบริโภค โดยเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะเข้ามาดูแล ผ่านหน่วยงานต่างๆ ทั้งการประปาส่วนภูมิภาคและการประปานครหลวง ซึ่งจะได้พาย้อนกลับไปหาจุดเริ่ม ต้นของ “การประปา” แต่แรกเริ่มมี ในประวัติศาสตร์ ไทย

สำ�นักงานใหญ่การประปา นครหลวงที่ สี่ แ ยกแม้ น ศรี ในอดีตและปัจจุบัน (บน) ซากท่อประปาดินเผา ต้น กำ � เนิ ด การประปาไทย ปั จ จุ บั น ตั้ ง อ ยู่ ที่ พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์ จั ง ห วั ด ล พ บุ รี (ล่าง)


ลอว์นิวส์

2209

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองลพบุรี และพระราชวังนารายณ์นิเวศน์ ขึ้น ซึ่งภายในพระราชวังดังกล่าว มีการขุดค้นพบท่อประปาทำ�จาก ดินเผาเคลือบเป็นจำ�นวนมาก และมีบันทึกไว้ว่ามีการวางระบบ ประปาและน้ำ�พุทั่วทั้งพระราชวัง

2440

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จฯ กลับจากการ ประพาสยุโรปครั้งแรก โปรด เกล้าฯ ให้ตั้งกรมสุขาภิบาล สังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อ ดูแลด้านสาธารณูปโภคแก่ ประชาชน เนื่องจากแต่เดิมเมื่อ ถึงฤดูแล้ง น้ำ�สะอาดตามแหล่ง น้ำ�ธรรมชาติมีน้อยลง ทำ�ให้เกิด โรคระบาดไปทั่วพระนคร

2452

- มีการซื้อที่ดินและเริ่มขุดคลอง ส่งน้ำ�จากคลองเชียงรากที่ ปทุมธานีลงมายังสามเสน (ภาย หลังเรียกกันว่า “คลองประปา”) พร้อมตั้งโรงสูบน้ำ�ชื่อ “โรงสูบน้ำ� สำ�แล” เพื่อสูบน้ำ�เข้าสู่คลองส่ง น้ำ� - เริม่ ก่อสร้างถังสูงสำ�หรับเพิม่ แรง ดั น ส่ ง น้ำ � ไปให้ แ ก่ ป ระชาชน ที่ บริเวณสี่แยกแม้นศรี (ปัจจุบัน ถัง สูงสองใบนีย้ งั คงตัง้ ตระหง่านอยูท่ ี่ เดิม)

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

2454

เริ่มฝังท่อจ่ายน้ำ�ประปากระจาย ไปทั่วทั้งพระนคร

2456

การขุดคลองส่งน้ำ�จากคลองเชียง รากแล้วเสร็จ

2457

- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงเปิดกิจการ “การ ประปากรุงเทพ” ซึ่งเป็นหน่วย งานในสังกัดกรมสุขาภิบาล กระทรวงนครบาล เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2457 - มีผู้ใช้น้ำ�ประปาทั้งสิ้นราว 400 คน จากประชากรในกรุ ง เทพฯ กว่า 330,000 คน

2464

เริ่มมีการตรวจคุณภาพน้ำ�ประปา ซึ่งข้อเขียนของนายเฟอร์นันด์ ดิดิเย่ (Mr. Fernand Didier) วิศวกรชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้ บริหารกิจการการประปา กรุงเทพฯ เขียนไว้ในหนังสือ The Bangkok Water Supply Description of the Works for Supplying the Siamese Capitol with Portable Water ว่า “น้ำ�ประปาในกรุงเทพเป็นน้ำ� สะอาดไม่แพ้เมืองใดๆ ในโลก”

2465

มีผู้ใช้น้ำ�ประปาเพิ่มขึ้นเป็นราว 3,000 คน และจัดเก็บค่าน้ำ� ประปาในอัตราลูกบาศก์เมตรละ 25 สตางค์

2487

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการ ทิ้งระเบิดหลายแห่งในเขต กรุงเทพมหานคร ทำ�ให้ท่อ ประปาได้รับความเสียหาย โดย เฉพาะอย่างยิ่ง การทิ้งระเบิดใน บริเวณใกล้ๆ กับสะพานพระพุทธ ยอดฟ้า ทำ�ให้ท่อประปาเสียหาย อย่างหนัก ส่งผลให้การจ่ายน้ำ�ป ฝั่งธนบุรีต้องชะงักลง เทศบาล นครธนบุรีจึงได้เริ่มกิจการการ ประปาของตนโดยการขุดบ่อ บาดาล

2489

สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แต่การผลิตน้ำ�ประปาก็ยังไม่พอ ต่อความต้องการ ฐบาลจึงได้ตั้ง คณะกรรมการพัฒนาปรับปรุง กิจการไฟฟ้าและประปาเพื่อดูแล และมีนโยบายระงับการขอติดตั้ง ไฟฟ้าและประปาชั่วคราว

2496

- เกิดการขาดแคลนน้ำ�ประปา ครั้งใหญ่ ทำ�ให้ต้องขุดบ่อบาดาล ในพระนคร ธนบุรี สมุทรปราการ นนทบุรี - กรมโยธาธิการ ก่อสร้างการ ประปา ณ ศูนย์การทหารปืนใหญ่ โคกกระเที ย ม ใช้ ชื่ อ ว่ า “การ ประปาพิบูลสงคราม” เพื่อผลิต และจ่ายน้ำ�ให้แก่ประชาชน

9

2522

จัดตั้งการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2522 เพื่อดูแลกิจการด้ารการ ประปาในพื้นที่นอกเขตดูแลของ การประปานครหลวง

2530

2497

ขยายการให้บรการน้ำ�ประปาไป ยังขอนแก่น ราชบุรี อุดรธานี เชียงใหม่ ปากพนัง ภูเก็ต

- จัดทำ�โครงการประปาฝั่งตะวัน ตก เพื่อรองรับการใช้น้ำ�ของ ประชาชนในเขตธนบุรีและ นนทบุรี - สร้างโรงกรองน้ำ�มหาสวัสดิ์และ ขุดคลองประปาสายใหม่ แล้วเสร็จ ในปี 2542

2504

2533

2510

2549

รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้จ้างบริษัท เดอเกรมองค์ จาก ประเทศฝรั่งเศส ในการก่อสร้าง ปรับปรุงโรงกรองน้ำ�สามเสนและ ธนบุรี จนแล้วเสร็จในปี 2506

มีการรวมการประปากรุงเทพ การประปาธนบุรี การประปา นนทบุรี และการประปา สมุทรปราการ เป็นรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานใหม่ ชื่อ “การประปา นครหลวง” เป็นหน่วยงานใน สังกัดกระทรวงมหาดไทย

การประปานครหลวงย้าย สำ�นักงานใหญ่จากสี่แยกแม้นศรี มายังบางเขน

มีการค้นพบระบบประปาโบราณ ขณะขุดค้นโบราณสถานที่ พระราชวังจันทน์ จังหวัด พิษณุโลก คาดว่ามีอายุราว 500 ปี

จึงเห็นได้ว่า การประปาของไทยนี้มีการเริ่มต้นและได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ให้มีความทันสมัยเทียบ เท่าชาติตะวันตกมาโดยตลอด นับตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน และเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีการ ประปาไทยในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 การประปานครหลวงก็ ได้จัดกิจกรรมต่างๆ มากมาย ผู้สนใจ สามารถเข้าชมรายละเอียดได้ที่ www.mwa.co.th


10

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

BINGE-WATCH BINGBING

abc.com

ผลรางวัลออสการ์ครั้งที่ 86

Brtiney Spear ในเพลง Toxic ซึ่งตอนแรกจะ ต้องเป็นเพลงของ Kylie Minogue

ก่อนจะมาเป็นเพลงของฉัน

ก่อนจะออกมาเป็นเพลงให้เราได้ฟังกัน เพลงหลายเพลงจริงๆ แต่งไว้ ให้นักร้องคนหนึ่งร้อง แต่ถูกปฏิเสธ ด้วยความที่เพลงแรงไป ไม่ ใช่สไตล์ หรืออาจจะไม่ถูกชะตากัน เราหยิบยกบางส่วนมาจาก 65 Songs You Will Never Be Able To Listen To The Same Way Again โดย Matt Stopera ใน เว็บบันเทิง อย่าง Buzzfeed.com 1. จริงๆ แล้วเพลงของวง Aerosmith ที่ดังเปรี้ยงปร้างอยู่พักใหญ่อย่าง I don’t want to miss a thing จริงๆ แล้วถูกเขียนเพื่อให้ Celine Dion เอามาร้องนะ 2. Rock your body ซิงเกิลดังจากอัลบั้มแรกของ Justin Timbalake นั่นถูกเขียนโดย Pharell William สำ�หรับอัลบั้ม Invincible อัลบั้มสุดท้ายของ Michael Jackson 3. เพลง Baby one more time ที่เป็นเพลงเปิดตัว Britney Spears ครั้งนึงเคยถูกปฏิเสธ จากวงเกิร์ลกรุ๊ปในตำ�นานอย่าง TLC 4. ส่วน Umbrella ที่ทำ�ให้ Rihanna กลับมาดังเปรี้ยงในอัลบั้มที่สาม จริงๆ ก็เป็นเพลงของ Britney Spears 5. ส่วนเพลง We found love ของ Rihanna ตอนแรกตั้งใจจะให้เป็นเพลงของ Leona Lewis 6. Toxic ของ Britney Spears ตอนแรกก็เกือบจะเป็นของ Kylie Minogue 7. I’m slave 4 u ของ Britney จริงๆ ก็แต่งไว้ ให้ Janet Jackson (แต่เนื้อเพลงน่าจะมีการ ปรับปรุงล่ะ เพราะอย่าง Janet ไม่น่าจะพูดเปิดต้นเพลงด้วยประโยคอย่าง I know I maybe young) 8. Since You’ve been gone เพลงดังของ Kelly Clarkson เคยถูกปฏิเสธโดย Pink และ Hilary Duff 9. Shania Twain และ Faith Hill ก็เกือบจะได้เป็นเจ้าของเพลง Irreplaceable ของ Beyonce

นับเป็นอีกปีที่ไม่ผลิกโผ สำ�หรับผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 ส่วนภาพยนตร์เรื่องที่ได้รับรางวัลมากที่สุดถึง 7 รางวัล ได้แก่ Gravity สาขาผู้กำ�กับ, ตัดต่อยอดเยี่ยม และรางวัลเทคนิคด้านภาพอีกหลายรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม : 12 Years a Slave ผู้กำ�กับยอดเยี่ยม : อัลฟองโซ คัวรอน - Gravity นักแสดงนำ�ชายยอดเยี่ยม : แมทธิว แม็คคอนนาเฮย์ - Dallas Buyer’s Club นักแสดงนำ�หญิงยอดเยี่ยม : เคต แบลนเชตต์ - Blue Jasmine นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม : จาเรต เลโต - Dallas Buyer’s Club นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม : ลูปิตา ยองโก - 12 Years a Slave ภาพยนตร์อนิเมชั่นยอดเยี่ยม : Frozen เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม Let it go จาก Frozen ดนตรีและเนื้อร้องโดยโรเบิร์ต โลเปซและ คริสเทน แอนเดอร์สัน-โลเปซ ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม : Gravity โดย สตีเวน ไพรซ์ กำ�กับภาพยอดเยี่ยม : Gravity เอ็มมานูเอล ลูบีซกี้ ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม : The Great Gatsby ตัดต่อยอดเยี่ยม : Gravity แต่งหน้าและออกแบบทรงผมยอดเยี่ยม : Dallas Buyer’s Club ออกแบบงานสร้างยอดเยี่ยม : The Great Gatsby ตัดต่อเสียงยอดเยี่ยม : Gravity ผสมเสียงยอดเยี่ยม : Gravity เทคนิคภาพยอดเยี่ยม : Gravity บทดัดแปลงยอดเยี่ยม : 12 Years a Slave โดยจอห์น ไรลี่ บทดั้งเดิมยอดเยี่ยม : Her เขียนโดยสไปค์ โจนซ์ การ์ตูนสั้นยอดเยี่ยม : Mr. Hublot ภาพยนตร์สั้นยอดเยี่ยม : Helium สารคดีสั้นยอดเยี่ยม : The Lady in Number 6 ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม : 20 Feet from Stardom ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม : The Great Beauty - อิตาลี

แผงหนังสือ

นอกจากจะขึ้นปกหนังสือแฟชั่นรายใหญ่ทั้งแอลและโว้กแล้ว ใหม่-ดาวิกายังได้ไปขึ้นปกอีกสองเล่ม แค่เดือนเดียวลงปกถึงสี่เล่ม ดูแค่นี้ก็รู้ แล้วว่าเป็นที่ต้องการแค่ไหน แต่ยังไม่มี ใครลบสถิติขึ้นปกเยอะสุดในเวลาไล่เลี่ยกัน ของ เจมส์-จิรายุไปได้ มีนาคมเป็นเดือนครบรอบนิตยสารอยู่หลายเล่ม แอดติจูดที่อยู่คู่แผงหนังสือเป็นขวัญใจเพศทางเลือกมาครบสามปี ได้อาร์ต-พศุตม์ที่มา เปลือยท่อนบนเรียกความสนใจจากเก้งกวางทั่วไทย ฟากนิตยสาร Herworld จากเครือเดียวกัน ก็อยู่มาครบ 10 ปีแล้ว Harper’s Bazaar ก็ ฉลอง 9 ปีกับเล่มปกเลดี้กาก้าอย่างหนาและหนัก โดยในเล่มมีแฟชั่นเซต 9 นางแบบตัวแม่อย่าง ม้า-อรนภา, ลูกเกด-เมทินี, ซอนย่า คูลลิ่ง, เยลหลี, คาร่า พลสิทธิ์มาถ่ายแฟชั่นคอลเลคชั่นล่าสุดของแบรนด์ดังหลายแบรนด์ สุดสัปดาห์ที่ฉลองขึ้นปีที่ 32 พาคนหล่อไปขอทำ�ดีเป็นครั้งที่ 7 แล้ว เล่มนี้เลยขนหนุ่มๆ นักแสดงทั้ง 21 คนขึ้นปกกันแน่น ทั้งขาประจำ� ที่มาแทบทุกปีอย่าง บอย-ปกรณ์ อาเล็ก โป๊ป แกงส้ม ฮั่น แล้วหน้าใหม่เหล่านักแสดงจากเอ็กแซทท์ ส่วนแอล ฉลองครบรอบปีที่ 20 ด้วยการทำ�เล่มเดือนมีนาคมเป็นรายปักษ์ ปักษ์แรกปกใหม่-ดาวิกา ปักษ์หลังรอดูวันที่ 18 มีนาคม เล่มที่ขายดีจนหายากในเดือนนี้คือ แพรว ปกณเดชน์ ที่แม่ค้าร้านหนังสือบอกว่าต้องสั่งเพิ่ม มีคนสั่งจองเยอะมาก อีกเล่มที่ขายดีเกินคาดคือ ดิฉันปกตั้น จิตภัสร์ และอีกเล่มที่ ใกล้จะออกแต่ไม่ออกสักทีอย่าง ลิปส์ ฉบับ กปปส. ที่มี คุณลุงกำ�นันสุเทพมาขึ้นปก ก็น่าจะมียอดซื้อ ยอดจองไม่แพ้ กัน แถมยังมีหนึ่งในแกนนำ�อย่างอัญชลี ไพรีรักษ์มาแปลงโฉมชึ้นปกแบบสวยๆ อีก ด้านอิมเมจส่งญาญ่าญิ๋งมาใส่บิกินี่ลงปกต้อนรับซัมเมอร์ เดือนนี้ทำ�ไมมีหนังสือให้ซื้อเยอะจัง


ลอว์นิวส์

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

ภาพยนตร์

บัชมผกานเทิ งหน้าสิบเอ็ด จำ�ปา จำ�ปี

11

คิดถึงวิทยา

เป็นเรื่องราวของ สอง อดีตนัก มวยปลำ�้ผู้ผันตัวมาเป็นครูแห่ง โรงเรียนบ้านแก่งวิทยา โรงเรียน แห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เด็กๆลูก ชาวประมงที่ไม่มีโอกาสออกไปนอก เขื่อนได้มีโอกาสเรียนหนังสือ ที่ โรงเรียนไม่มีทั้งนำ�้ประปา ไฟฟ้า หรือสัญญาณโทรศัพท์ สิ่งเดียวที่ ทำ�ให้สองคลายเหงาได้คือไดอารี่ของ ครูแอน ครูคนเก่าที่เพิ่งลาออกไป นำ�แสดงโดย สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ (เข้าฉาย 20 มีนาคม 2557)

The Divergent คนแยกโลก

ถูกมองว่าเป็น The Next Hunger Games เพราะเป็นภาพยนตร์ที่มีเรื่องราวเกิดขึ้นในโลก หลังยุคล่มสลาย โดยโลกในยุคนั้นจะแบ่งมนุษย์ เป็น 5 กลุ่มเพื่อความสงบสุข ได้แก่ กลุ่มผู้ ปกครอง กลุ่มสันติ กลุ่มทรงปัญญา กลุ่มผู้ คุมกฎ และกลุ่มผู้กล้า โดยแต่ละกลุ่มจะมีความ สำ�คัญและบทบาททางสังคมแตกต่างกันไป และ ใครเมื่ออายุครบ 16 ปี จะต้องเข้ารับการ ทดสอบว่าแท้จริงแล้วตนเองเหมาะสมที่จะอยู่ กับกลุ่มไหน ทริส นางเอกของเราเข้ารับการ ทดสอบและพบว่า เธอไม่สามารถเข้ากลุ่มไหนได้ เลย กลุ่มนี้เรียกว่า Divergent ต้องถูกกำ�จัด เพราะอาจนำ�เอาความวุ่นวายมาสู่บ้านเมืองได้ (เข้าฉาย 20 มีนาคม 2557)

กสทช.ผุดเบอร์กันข้อความขยะ

เหตุผู้บริโภคเดือดร้อน ลั่นฝ่าฝืนเจอแบล็กลิสต์

กอซซิปเกิร์ลไทยแลนด์เวอร์ชั่น

หลังจากจบซีซั่นที่หกซึ่งเป็นซีซั่น สุดท้าย เราก็ไม่ได้ข่าวของกอซซิปเกิร์ลอีกเลย จนกระทั่ง บริษัท กันตนา ออกมาจัดงานแถลง ข่าวโครงการใหญ่ โดยได้ซื้อลิขสิทธิ์ซี่รี่ยส์ดัง เรื่องนี้มาทำ�ในเวอร์ชั่นไทย ซี่รี่ยส์เรื่องนี้เกี่ยว กับชีวิตของกลุ่มวัยรุ่นในแวดวงสังคมชั้นสูง การหักหลัง เซ็กส์ ยาเสพติด อยากรู้ว่ากันตนา จะทำ�ออกมาในรูปแบบอย่างไร โดยเฉพาะ ใจความสำ�คัญของเรื่องที่ทุกคนรู้หมดแล้วอย่าง “กอซซิปเกิร์ลคิือใคร?” นอกจากนั้น กันตนายังได้ลิขสิทธิ์ ของซี่รี่ยส์ Ugly Betty และรายการเรียลิตี้โชว์ ค้นหานางแบบ The Face ที่มีนาโอมิ แคม ป์เบลล์เป็นผู้จัดและดำ�เนินรายการ ต้องรอดูกันต่อไปว่า กันตนา จะ สามารถทำ�ผลงานให้ประทับใจผู้ชมชาวไทย หรือไม่ สิ่งหนึ่งที่ไม่อยากให้เกิดขึ้น คือ เอา คนในบ้านตัวเองมาเล่น ขอเถอะเราไม่อยาก เห็นตัวละครเท่ๆ อย่างชัค แบส มาถูกทำ�ลาย ด้วยการแสดงของ Mr. D!!

nbtc.go.th

กสทช. จั บ มื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ มือถือ เปิดช่องยกเลิก-บล็อกเอสเอ็ม เอสกวนใจฟรี เตรียมแบล็กลิสต์ผู้ให้ บริการฝ่าฝืนเงื่อนไข เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ที่สำ�นักงาน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

(กสทช.) พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธาน กสทช. ในฐานะประธานคณะ กรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าว ว่า กทค. และผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้ง 5 ราย คือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำ � กั ด (มหาชน) บริ ษั ท ที โ อที จำ � กั ด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิ

เคชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เรียล มูฟ จำ�กัด บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จำ�กัด และ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) ร่วมเปิดช่องทางยกเลิกบริการเอส เอ็มเอส (SMS) เพื่อหยุดข้อความเอสเอ็ม เอสกวนใจและไม่ตงั้ ใจสมัคร และสร้างค่าใช้ จ่ายให้กับผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือสูงถึง 3,000 บาทต่อราย สำ�หรับบริการดังกล่าว ผู้ใช้งาน สามารถยกเลิกบริการเอสเอ็มเอสหมายเลข เดียวกันทุกเครือข่าย คือ *137 โดยไม่เสีย ค่าบริการ ยกเว้น ทีโอที 3 จี ที่ยังมีข้อจำ�กัด ในเรื่องของระบบ แต่ก็ได้จัดทำ�ระบบการ ยกเลิกผ่าน เอสเอ็มเอส โดยผู้ที่ต้องการ ยกเลิกสามารถพิมพ์ ชื่อผู้ส่งที่ไม่ต้องการ เว้นวรรค B ส่ง เอสเอ็มเอส ไปที่ 1777 โดย ไม่เสียค่าบริการ สำ�หรับบริการ *137 ถือ เป็ น ความร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ต่ อ จากเลขหมายโทรฟรี *106# เพื่อให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือสามารถ โทรไปปิดบริการการใช้งานอินเทอร์เน็ตเมือ่ เดินทางไปต่างประเทศ (ดาต้า โรมมิ่ง)

(บน) กอซซิปเกิร์ล เวอร์ชั่นต้นฉบับ (ขวา) กอซซิปเกิร์ล เวอร์ชั่นรีเมคของ เม็กซิโก

กิ๊บซี่ ไม่ต่อสัญญาอาร์เอส

หลังจากมีข่าวออกมาเรื่อยๆ ว่าจะยุบหรือ ไม่ยุบวงเกิร์ลกรุ๊ปที่ทำ�กับเพื่อนๆ ยาวนานมาสิบ กว่าปีอย่าง Girly Berry วันนี้ก็ได้ข้อสรุป กิ๊บซี่กล่าวว่าจะไม่ต่อสัญญากับค่ายอาร์เอสที่จะ หมดลงในเดือนธันวาคม (ก็อีกนานนะ) สาเหตุ เพราะอยู่ในวงการเพลงมานานอิ่มตัว ก่อนจะถึงวันนั้นเราคงได้เห็นอัลบั้มพิเศษ ของวง ไม่ก็คอนเสิร์ตส่งท้ายตามธรรมเนียมค่าย อาร์เอสแน่นอน “กทค.ได้กำ�หนดมาตรการลงโทษสำ�หรับ ผู้ส่งเอสเอ็มเอสที่ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข และยังส่งไป ยังผู้ใช้บริการอีก จะถูกขึ้นบัญชีดำ� (แบล็กลิสต์) ห้าม ให้บริการ ยกเลิกสัญญา หรือปรับ ซึ่งหลังจากนี้จะมี การตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างผู้ให้บริการเนื้อหา ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือ และ กสทช. เพือ่ แก้ปญ ั หา ในระยะยาวด้วย” พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ กล่าว พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ กล่าวว่า จากสถิติการ ร้ อ งเรี ย นบริ ก ารโทรคมนาคม ระหว่ า งวั น ที่ 1 มกราคม 2552 - 23 มกราคม 2557 มีทงั้ สิน้ 19,849 เรื่อง ซึ่งเป็นบริการเอสเอ็มเอสถึง 2,215 เรื่อง แบ่ง เป็นโฆษณารบกวน 456 เรื่อง และการถูกคิดค่า บริการจากการได้รับข้อความต่างๆ โดยไม่ต้องการ 1,759 เรื่อง รวมมูลค่าเกือบ 1.4 แสนบาท ค่าบริการ จากทำ�นายดวงรายวัน การโหลดคลิปวิดีโอ และการ ทายผลฟุตบอล ที่ถูกเรียกเก็บค่าใช้จ่าย 2,000 บาท สำ�หรับ ปัญหาที่ผู้ใช้มักจะได้รับข้อความ โฆษณาทางธุรกิจที่ส่งทางโทรศัพท์เคลื่อนที่จำ�นวน มาก ทั้งข้อความประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้า ชวน สมัครใช้บริการต่างๆ ชวนดาวน์โหลดคลิป โหลดเกม ดูดวง เสี่ยงโชค ทายผลฟุตบอล เป็นต้น


12

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

Key Changes in the New Hong Kong Companies Ordinance.

The new Ordinance is divided into 21 parts, more than 900 sections and 11 schedules. For now, the provisions relating to the winding up and insolvency regime and the public offer/prospectus regime will remain with the current ordinance (Cap.32), which will be re-titled as the Companies (Winding up and Miscellaneous Provisions) Ordinance. Cap 32 will be subject to a further rewrite at a later stage. This bulletin highlights some of the key changes under the new Ordinance regime.

liability insurance The general prohibition against indemnifying directors for liability will be extended to situations where the indemnity is provided by an associated company, although express permission to take out insurance is provided for and an exception is made in respect of liability to third parties, provided certain conditions are met.

Amending the regime prohibiting loans to directors The general prohibition on loans to directors has been extendDirectors, Corporate directorship ed to a wider category of connected All companies will have to have at persons. least one director who is a natural To facilitate business, the person. Public companies, compafollowing new exemptions and nies limited by guarantee and exceptions are introduced: private companies that are mem - small loans – value of bers of a group of companies of which not exceeding 5% of net which a listed company is a member assets or called-up share capital of are not permitted to have any the company making the loans; and corporate directors. Existing - expenditures on defending companies with no natural persons proceedings or in connection with as directors will have six months to investigation or regulatory action, comply with this requirement after subject to requirements as to the new Ordinance comes into repayment. operation. The criminal penalties have been removed for breach of the Codifying director’s duty of care, provisions prohibiting loans to skill and diligence directors and replaced by civil The modern common law penalties. dual subjective and objective test in relation to directors’ duties of care, Expanding prohibition on payskill and diligence has been clarified ments for loss of office and codified in the new Ordinance. Under the new Ordinance, the prohibition of making payments Replacing “officer in default” with to directors or former directors for “responsible person” loss of office or as retirement The concept of an “officer in payments without members’ apdefault” will be replaced with that of proval is extended to payments to a “responsible person”. The new entities connected with a director or definition of ‘responsible person’ for former director and to payment by a a company or a non-Hong Kong company to a director of its holding company, includes officers or company. There is a new exception shadow directors of the company for small payments, not exceeding who authorize or permit, or particiHKD 100,000. pate in the contravention or failure to comply with an existing provision Long-term employment contracts of law. This definition also extends to be approved by members in the case of corporate officers, to Directors’ employment their own officers and shadow contracts exceeding three years will directors. The new test covers require shareholder approval. reckless acts and omissions, as well as intentional contraventions, Ratification of conduct by direcfailures and willful blindness. tors However, the intention is not to Disinterested members’ include mere negligence. approval is required to ratify miscon This change is intended to duct of directors. make it easier to bring prosecutions against directors for misconduct. Widening the scope of disclosure of director’s material interests Extending the scope of director’s Under the new Ordinance, indemnification and permitted the disclosure of director’s interests

ลอว์นิวส

covers “transaction” and “arrangement”, instead of just “contract”. In addition, the directors are required to disclose the “nature and extent” of the interest, instead of just “nature”. For a public company, the ambit of disclosure is widened to include disclosure of material interest of entities connected with director, except interest that the director is not aware of. Such duty to declare an interest also applies to shadow directors.

share capital via the court-free procedure.

Company formation and related matters: Types of companies There will be five types of companies under the new Ordinance in contrast with the current Ordinance which provides for eight types of companies.

Accounts and audit: Accounting standard and terminology The new Ordinance requires financial statements of a company to comply with the accounting standards applicable to the financial statements, which means the statements of standard of accounting practice issued by the Hong Kong Institute of Certified Public Accountants. Terminology for financial statements under the new Ordinance is brought in line with accounting terminology.

Abolishing par value of shares and authorized share capital A mandatory system of no-par value for shares is introduced and relevant concepts such as authorized share capital and share premium will be retired. Abolition of memorandum of association A company will have a single constitutional document – the articles of association. The concept of memorandum of association will be retired. An existing company’s memorandum of association will be deemed to form part of its articles of association, except that any such condition setting out authorized share capital and the par value of shares are to be regarded as deleted due to the abolishment of par value of shares.

Financial assistance The whitewash procedure has been removed and three new provisions authorizing financial assistance with a solvency statement made by the directors are introduced. The contravention of the financial assistance prohibition is expressly stated not to invalidate the financial assistance transaction.

“Simplified accounts” The requirements for financial statements are relaxed to enable more private companies to prepare “simplified accounts” based on the Small and Medium-size Entity Financial Reporting Standard. A company which does not qualify for production of “simplified accounts” must prepare an analytical and forward-looking business review of the company.

Optional use of common seal It will no longer be compulsory for companies to have a common seal. Companies may seal a document by authorized signatories.

Reporting exemption The reporting exemption will be extended to small guarantee companies and a guarantee company which is the holding company of a group of small companies. In all seven types of company will be allowed to prepare simplified financial and directors’ reports.

Transactions in relation to share capital: Uniform solvency test A uniform solvency test is introduced for the statutory provisions under the new Ordinance governing: - financial assistance on acquisition of a company’s own shares; - re-purchase/redemption of a company’s own shares; and - reduction of a company’s

Auditors Auditors will have power to compel production of information or explanations reasonably required for the performance of the auditor’s duties. A new statutory offence is introduced in respect of a person (widely defined) knowingly or recklessly failing to include in an audit report one of the statements (b) or (c) below that are required to be included in the audit report under


ลอว์นิวส์

the new Ordinance. An audit report must state where the auditor is of the opinion that: (a) adequate accounting records have not been kept by the company; or (b) the financial statements of a company are not in agreement with its accounting records in any material respect; or (c) the auditor has failed to obtain all information or explanations that, to the best of the auditor’s knowledge and belief, are necessary and material for the purposes of the audit. Furthermore, where they have not done so an auditor must include in the audit report, so far as the auditor is reasonably able to do so, a statement giving the particulars that are required to be, but have not been, contained in the financial statements. Charges The new Ordinance revises the list of registrable charges to include aircraft and shares in aircraft

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 and installments due not yet paid on shares issues price. The full charge instrument will now be filed and available for public inspection, rather than the M1 particulars. Furthermore, the period for delivery to the Registrar of the charge instrument is shortened from five weeks to one month. Another major change is that a certified copy of any instrument evidencing release of a charge is required in lieu of the current requirement for a statement certifying the same.

In addition to the permission of not holding the AGM under the Cap 32, the new Ordinance also provides that a company is not required to hold an AGM if it has only one member or the AGM is dispensed with by unanimous members’ consent. An AGM may be dispensed with by passing a written resolution or a resolution at a general meeting passed by all members. The minimum notice period for annual general meetings remains at 21 days while that for all other general meetings is 14 days.

Shareholder meetings and written resolutions The new Ordinance sets out statutory rules on procedures for proposing and circulating written resolutions of members. If the procedures are not followed, the written resolution will not be effective.

Other important issues: Removal of headcount test The headcount test for certain types of scheme of arrangement is removed. Updated procedure to deregister companies Three new conditions for

13

the de-registration of dormant companies will be imposed, namely confirmation that the company is not a party to any legal proceedings, and that neither the company nor its subsidiaries (if any) own any immovable property in Hong Kong. Protection of personal data The new Ordinance intended to make directors’ residential addresses and full ID/passport numbers withheld from public inspection. However, due to controversy over this proposal, its implementation has been postponed. New amalgamation process Wholly-owned companies in the same group can benefit from a new court-free amalgamation process. (As published by Clyde and Co., Hong Kong)

Paperless Arbitrations – Where Do We Stand? continued from page 16 Are there any facilities, rules or guidelines on the subject? Some institutions offer electronic case facilities (e.g., NetCase at the ICC, WebFile at the AAA and Electronic Case Facility (ECAF) at WIPO) which are platforms that allow certain case-related activities to be conducted on line, such as filing documents. In their article “Lists, Checklists, Guidelines, Principles, Techniques, Protocols, Best Practices : Are They Useful?”, Karen Mills, Mirèze Philippe and Ileana M. Smeureanu (Kluwer Arbitration Blog, posted 16 January 2014) refer to several documents published by the International Chamber of Commerce in relation to technology in arbitration. The “ICC Techniques for Controlling Time and Costs in Arbitration” include a recommendation to consider minimizing the creation of hard copies (ICC Publication 843, 2007, revised 2012, Report from the ICC Commission on Arbitration, recommendation 58). The ICC Commission’s Task Force on IT in Arbitration set out a wealth of issues to be considered in “Issues to be Considered When Using IT in International Arbitration” and “Operating Standards for Using IT in International Arbitration” (“Using Technology to Resolve Business Disputes”, ICC Special Supplement 2004, pages 63-98). The Issues to be Considered include a helpful Q&A section on electronic exchange of documents at p. 68. The Standards are “boilerplate” standard IT procedures and their use is voluntary. They include a useful set of Standards for paperless files on pages 79-82.

In “Information Technology and Arbitration: A Practitioner’s Guide” (Thomas Schultz with Foreword by Gabrielle KaufmannKohler, Kluwer Law International, 2006), a valuable set of “Checklists, Reminders, and Charts” is provided as a reminder to practitioners of important questions that should be considered when planning for the use of technology in an arbitration, including exchange of electronic documents. It is hard to know to what extent the available advice is being followed or at least considered. There are reasons why paper reduction or elimination may not be desirable or possible. Whilst in many cases it will be cost-effective to reduce or eliminate paper, this will not be true for all cases. In The Lawyer article already mentioned, interviewees were asked whether using technology in the run-up to trial and at the hearing brings cost benefits. Their answers revealed, for example, that cost benefit may not be as great if technology is not used by all participants in a case, and it must be borne in mind that preparation of an electronic trial bundle is a “formidable” exercise. Probably the most important reason given for not systematically using technology is the need to preserve the fundamental principles of the process, including equality of treatment. 1 If parties are not on an equal footing as regards technology (a simple example being that they may use different hardware and software), the differences between them could prejudice due process. Thomas D. Halket explores this and many other issues related to the use of technol-

ogy in arbitration in his excellent and thorough article “The Use of Technology in Arbitration: Ensuring the Future is Available to Both Parties” (Thomas D. Halket, St. John’s Law Review, Vol. 81:269, 2007). As for the way forward: - It does not seem beneficial to impose overly specific or complicated rules or guidelines, as they would most likely quickly be overtaken by technology: case by case consideration of the use of technology appears preferable. - Notwithstanding this, tribunals should ensure that the use of technology is at least considered at the outset of a case. There should also be greater collaboration between counsel on the subject. In addition, more sharing of experiences (good and bad) among practitioners would be worthwhile. - As regards hearings, where the types of case management facilities mentioned above are not used, it should be straightforward to put in place a simple system to populate a common hearing bundle from the start of a case. Documents which parties and the Tribunal would normally want to have available at the hearing, including procedural orders, pleadings, exhibits, witness statements, experts’ reports and procedural correspondence, could be added on an ongoing basis. At the relevant time before a hearing counsel could add items such as agreed (or not) chronological or key document bundles and any individual party presentations. Although this may seem obvious, the extent to which a single hearing can involve multiple methods of document management

and little effort to streamline hearing documents is remarkable. - Whilst it is comfortable to use paper, should we not ask ourselves whether we could increase our efforts to turn and mark up pages on a computer? After all, many of us have easily adapted to reading e-books. At the very least, we could make an effort to print only the most important and frequently-used documents. If any reader stops to think about his or her own approach to paper, then this necessarily limited article will have served its purpose. ICC Special Supplement 2004, p.5, Foreword by Robert Briner, former Chairman, ICC International Court of Arbitration: “In the field of dispute resolution, as in any other field, it is important that this adaptation should be undertaken with due care and reflection so as not to undermine the fundamental principles of the process. The use of new technology brings risks as well as opportunities. Parties may not be equally well equipped or experienced, resulting in a disparity that could be detrimental to due process. The ease and speed with which communications take place could lead to misunderstandings, omissions or even errors. Also, attention should be paid to preventing automation from overriding party autonomy in international arbitration” and “Although the advantages offered by modern technology are strongly persuasive, there is no suggestion that they should be imposed against a participant’s will.” (As published by By Gillian Lemaire, for ArbitralWomen)


14

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

LEGAL TERMS & CONCEPTS MADE EASY Ann & Edward Thiravej Ploysongsang

In this issue we discuss the concept of Comity, which is another topic that falls under the subject of conflict of laws. •That the ‘foreign’ court had jurisdiction over the matter in question. Of course, the receiving court could have had jurisdiction as well. •That the ‘foreign’ court used fair procedures in arriving at its decision.

COMITY

•That there was no fraud involved. •That the enforcement of a ‘foreign’ court judgment would not violate the public policies of the receiving court’s jurisdiction. These public policy considerations typically involve protecting and promoting the health, safety, welfare and morals of the receiving jurisdiction.

Comity (noun). It is a court’s voluntary recognition of a court judgment from another jurisdiction. A receiving court may choose to recognize a ‘foreign’ court judgment assuming that several conditions are all met :

Example 1 : As Thailand has not signed any treaties acknowledging comity between its courts and the courts of other nations, Thai courts will not enforce foreign court judgments. As a result, the parties will have to re-litigate their matter in Thailand though the Thai court may consider the foreign court judgment as persuasive evidence.

Example 2 : The court refused comity to the extent that part of the foreign judgment violated the receiving country’s public policy. Example 3 : As a signatory of the Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards (i.e., the “New York Convention”), Thai courts will recognize and enforce foreign arbitral awards. Arguably such recognition is not true comity since arbitral tribunals are technically not the same things as courts though they serve a similar function. Example 4 : The court refused to use the principle of comity because it felt the foreign court’s procedures were unfair and because it felt fraud was involved in securing the foreign judgment. Example 5 : The court refused to use the principle of comity because it felt the foreign court had no jurisdiction over the matter and that the parties’ selection of the foreign court was simply to circumvent the receiving country’s public policy concerns.

Comparison to Thai Law US law accepts the concept of Comity and a US court will generally enforce a foreign judgment if the foreign court used fair procedures in arriving at its decision, there was no fraud involved and the enforcement of the foreign court judgment would not violate the public policies of the receiving court’s jurisdiction. However, since Thailand has not signed any treaties involving enforcement of foreign judgment, Thai courts will not accept or enforce foreign court judgments. A plaintiff who obtains a judgment from a foreign court will not be able to enforce the judgment immediately in Thailand, but will instead have to file a new case with a Thai court, and the foreign judgment will only be presented as evidence in the new Thai case. If the Thai court considers that the foreign judgment has sufficient weight as evidence, it may render its judgment according to the foreign judgment. However, it is up to the Thai court’s discretion whether it will render its judgment according to the foreign judgment or not. Thai courts have no comity with other nations. Nevertheless, Thailand is a signatory of the 1958 Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards, or so called the “New York Convention”. Therefore, for the arbitral awards, Thai courts will recognize and enforce foreign arbitral awards.

Consequently, before you sign any contracts containing Choice-ofForum Clause, you may have to consider the pros and cons of each relevant country’s court. For example, if you (as a Thai national) have agreed to go before a Singaporean court and have been sued as a defendant before the Singaporean court, the plaintiff will not be able to enforce any judgment it obtains from the Singaporean court against your property in Thailand. The plaintiff would have to file another case in a Thai court and obtain a judgment from a Thai court before he/she will be able to enforce the judgment against your properties in Thailand. In contrast, if you are a foreigner and would like to enforce a judgment against a person or company in Thailand, instead of commencing the case in foreign court, the plaintiff should file a lawsuit in a Thai court. The plaintiff may cite that the defendant has a domicile in Thailand according to the Thai Civil Procedure Code. Of course, you can side-step this matter by specifying arbitration in your contract(s). In conclusion, Thailand still has no comity concept with other countries. This fact may be one reason for why foreigners lack confidence in investing or doing business in Thailand. Furthermore, foreigners may feel that the enforcement mechanism of Thai law is not particularly strong enough. If Thailand wishes to remain a strong and competitive jurisdiction with which to invest especially in light of the proposed regional market of the ASEAN Economic Community, the kingdom may have to consider accepting the concept of comity as other countries have.


ลอว์นิวส์

Entering the AEC

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

THE BOOK REVIEW

Courtesy by Dej-Udom & Associates

asean-bac.org

BRUNEI

Since the ASEAN Economic Community (AEC) integration is approaching in 2015, we should be alert and prepare ourselves to know about other ASEAN members in various matters including their laws. There are 10 ASEAN member countries which are Brunei, Cambodia, Indonesia, Lao PDR, Malaysia, Myanmar, the Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam. The AEC’s four primary objectives are becoming a single market and production base; creating a stable, prosperous competitive economic region; allowing for equitable economic development; and facilitating integration into the global economy. We would like to introduce you to basically know about the legal system of each ASEAN’s country. In this issue, we will begin alphabetically with BRUNEI. Brunei has a dual legal system. One part is based on based on English common law and the other on Islamic law. In the common law courts, there is no jury system and a higher court’s decisions are binding on the lower courts, and decisions from higher courts in the British Commonwealth, especially those from Singapore and the UK, have persuasive authority and are often used by the Brunei courts in statutory interpretations. Also, all judges and magistrates are appointed by the Sultan. In the Syariah Courts, Islamic law supersedes civil law in a number of areas, but mostly deals with divorce and Islamic family laws. The Supreme Court of Brunei is made up of the Court of Appeal and the High Court. It has jurisdiction over the High Court’s original and appellate criminal and civil cases and appellate criminal and civil jurisdiction by the Court of Appeal. Under the Supreme Court is the intermediate Court and its criminal jurisdiction runs concurrent with the High Court for original criminal jurisdiction is mostly for cases with claims or valued amounts that don’t exceed USD 80,000. The Intermediate Court also has registrars and deputy registrars responsible for the administering oaths and notary public functions. Under the Intermediate Court are the Magistrate Courts, the first tier of Brunei’s common law courts, where Magistrates try, determine and dispose of summary prosecutions or inquire into offences that must be sent to the High Court. Its civil jurisdiction is mostly for cases with claims or valued amounts below USD 25,000. Brunei’s Islamic law system is made up of the Syariah High Court, the Syariah Subordinate Courts, and the Syariah Appeal Court, and all judges are appointed by the Sultan and different religious bodies. The Syariah Courts’ civil jurisdiction revolves around Islamic family law and includes betrothal, marriage, divorce, and the disposition of property arising from these, and wills, and inheritances and division of property. The Syariah Court of Appeal is the final court of appeal for Islamic law matters. Visas & Work Permits Most foreigners enjoy living in Brunei as housing, health care, foreign schools, foods, sports and recreation facilities are of high quality, and there is no personal income tax. All foreigners wishing to live or work in Brunei must comply with the country’s immigration and work-permit regulations.

15

a) Visas - All foreign nationals need a valid visa to enter Brunei; however, some are exempted from visa requirements for social, business or professional visits for certain time periods. To work in Brunei, foreigners must obtain an Employment Visa from the Department of Immigration and National Registration which is valid for 2-3 years. Malaysia and Singapore nationals are exempt. b) Work Permits – After receiving an Employment Visa, a foreigner must then apply with the Department of Immigration and National Registration for an Employment Pass. A Pass is valid for 2 to 3 years and can be renewed. Investment Environment In order to rely less on its oil and gas sector, Brunei encourages foreign investment into the country. The Brunei Economic Development Board and the Ministry of Industry and Primary Resources are the leading economic development agencies for Brunei. They work with foreign and domestic investors to develop new economic opportunities where Brunei has competitive advantage. Brunei grants incentives for foreign investment which include tax incentives, tax breads, pioneer status, and 100% foreign ownership except for natural resources and national food security which can be up to 70% foreign owned. Intellectual Property Protection The Intellectual Property Division of the Attorney General’s Chambers (AGC) governs Brunei’s IP rights system and offers IP protection for trademarks, copyrights, industrial designs and layout designs. The Patent Registry Office at the Brunei Economic Development Board oversees all patents. Brunei is a member of WTO’s TRIPS agreement and a part of the Berne Convention since 2006, the Paris Convention since February 2012, and the Patent Cooperation Treaty since July 2012. Brunei opened its Patent Registry Office in January 2012 and began processing applications. In the past, there was not much enforcement and no specialized court. Currently, Brunei is improving its intellectual property rights protection through political commitment and legislative reform. In the next issue, we will continue on Labour Law, Type of Business Organizations and Taxation in Brunei.

‘Lawyers are like rhinoceroses: thick skinned, short-sighted, and always ready to charge.’ By David Mellor This little book is all about alternative thinking- in the sense that conflict avoidance and resolution is all about alternative thinking. Well, not quite, alternative dispute resolution has been in vogue since the days when King Solomon arbitrated a dispute over a baby by suggesting it should be cut in half. Bourdrez, copyright lawyer and negotiator by profession, is the proprietor of his own law firm, Bourdrez Law in Amsterdam, having worked with the likes of Allen & Overy, and Höcker Advocaten prior to 2003. His book contains 75 rules, or lessons as Bourdrez likes to describe them. He shares with us his experience, which he claims to apply in practice. His last averment in the preface is particularly quote-worthy, ‘Once you have read this book, you will be able to solve almost any conflict in a simple manner.’ This should not be mistaken for hubris; he uses the words ‘almost any’. Disputes have patterns. In the business of dispute resolution, recognizing these patterns is crucial in the sense that it empowers us with the knowledge of when to act, and when not to. As Will Rogers so tritely put it, good judgment comes from experience and a lot of that comes from bad judgment. Experience is more often than not, an investment-sometimes even an expensive one, but it is an investment all of us will make by the time we get to the end of the road, be it professionally, or in life itself. For $15, Bourdrez discloses some priceless insights derived quite obviously from close run situations, such as Freddy Heineken’s kidnapping to a witty account of how Yoshiro Nakao bested Heath Herring with a kiss at a kickboxing match. Mr. Wolf from Tarantino’s Pulp Fiction also makes an appearance. Bourdrez’s overall lesson is one of maintaining composure and staying in control; knowing the difference between diffusing a situation as opposed to when it is necessary to escalate an issue. True to what he preaches, he KEEPS IT SHORT and SIMPLE.


LAWNEWS

ลอว์นิวส

ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 วันอาทิตย์ที่ 16 - วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

BULLETINS

Sunday - Monday , March 16 - 31 , 2014

Free!!

Paperless Arbitrations – Where Do We Stand?

legalweek.com

Technology in arbitration is of course a vast subject which has been addressed extensively by a number of writers. This article focuses briefly on the issue of reducing paper in arbitrations. It considers: How are practitioners currently dealing with paper reduction at the various stages of an arbitration, especially the hearing? (Although discovery can consume significant amounts of paper, it merits its own consideration and is not therefore addressed in this article.) Are any facilities, rules or guidance available on the subject? Are there any drawbacks to using technology to cut down on paper? What is the way forward? Most of us like to think that we at least try to keep paper to a reasonable minimum in arbitration. As well as being conscious of the need to protect the environment and prevent

ลอว์นิวส์

unnecessary destruction of trees and forests, we seek to cut costs and are keen to render the arbitral process more efficient. However, is an across-the-board effort really being made? Or are some practitioners sticking their heads in the sand when it comes to using technology? In a recent case in which the writer was involved, which is hopefully an exceptional example, a huge number of paper copies were generated at the Statement of Claim stage at significant cost. These included voluminous printouts of electronic files prepared by technical experts: it was not possible to read the paper versions in any meaningful way nor would experts for the opposing party have been able to verify certain data on paper. An application was made to the arbitral tribunal to allow the experts’ documents to be filed only by

สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2280-1567

รวมข่าว เล่ากฎหมาย ให้สาระประชาชน

electronic means (at least in the first instance, which would have given participants an opportunity to work out which documents, if any, were truly required in paper form). Information was given to the tribunal about the number of binders that were about to be produced and the cost consequences. The application was refused, most likely because the opposing party insisted on receiving a hard copy of every document in the arbitration. It is probably safe to say that no one was going to read every sheet of paper. A truck was required to transport the documents and significant storage space was needed to accommodate them. And that was only the start of the case. Recent interviews on paperless courts (“Paperless courts: Screen savings”, The Lawyer, 14 October 2013) provide some up-to-date insights from counsel and judges on their experiences of paperless court hearings. The advantages are well-known. Being able to work from any location, not having to transport files to and from a hearing, easy cross-reference between documents using hyperlinks, full-text search, more effective preparation and presentation by being able to organize and annotate documents, and easier updating of documents are some of the benefits cited in those interviews. continued on page 13

Inside Key Changes in the New Hong Kong Companies Ordinance. Page 12

Legal Terms & Concepts made easy : COMITY Page 14

Entering the AEC : BRUNEI Page 15

ชำ�ระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ พ.211/2547 ปณ.ราชดำ�เนิน เหตุขัดข้องที่นำ�จ่ายผู้รับไม่ได้ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้า 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า 5. ไม่มารับภายในกำ�หนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ ลงชื่อ.........................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.