ModernMom Focus Vol.2 No.12 Chapter 1 January 2016

Page 1

Kid’s Toys Story Chapter

1

Vol.2 No.1 / Chapter 1 January 2016


Chapter 1 >>

2


Vol.2 No.1 / Chapter 1 January 2016

Chapter 1 :

Kid’s Toys Story เรื่องเล่าจากของเล่น ● สถิติเด็กกับของเล่น ● Toy Story, True Story เรื่องเล่าสุดเศร้า เมื่อหนูเล่น ● อันตรายจากการเล่นและของเล่น ● พ�ษจากของเล่น

สวัสดีค ะคุณแม ModernMom ทุกท าน ModernMom Focus ฉบับมกราคม 2559 ป ใหม นี้ เจ า หนู ค งได ข องเล น ถู ก อกถู ก ใจกั น มาไม น อ ยเลยที เดียว เชื่อว าคงกําลังเบิกบานและใช เวลาเกือบทั้งวัน ทั้งคืนกับของเล นชิ้นโปรด… แต ช าก อนค ะ เพื่อนสนิทเจ าของเล นชิ้นใหม ในมือ ของลูกน อย สร างทั้งความสุข และเป นตัวต นเหตุของ อุบัติเหตุได ง ายๆ ModernMom จึงชวนคุณพ อคุณแม มาสํารวจของเล นในบ าน ไปดูกันว าชิ้นไหนผ าน…ไม ผ าน และต องระมัดระวังตรงไหนอย างไรบ าง เพราะ ของเล นสุดรักนี้เองที่เป นต นเหตุของอุบัติเหตุที่มักจะ เกิดขึ้นกับเด็กค ะ ModernMom Focus

● ภัยจากการเล่น ● อันดับของเล่นอันตราย

Next On Chapter 2 :

เรื่องเล่นไม่ ใช่เล่นๆ

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

เจ าของ : กลุ มบร�ษัท อาร แอลจ� สร างสรรค โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม บริษทั อาร แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ สว าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ โทรศัพท 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล : rungladda@rlg.co.th

3


Chapter 1 >>

เรื่องเล่าจากของเล่น

Kid’s Toys Story

แต่ละปี มีเด็กเสียชีวิตจากการเล่นของเล่น

ประมาณ 100 ราย

18% ของของเล่นในตลาดทั่วไป ไม่ผ่านมาตรฐานก�าหนด

ตั้งแต่ปี 2552-2556 มีผู้ผลิต และผู้น�าเข้าของเล่นไม่ได้มาตรฐาน

โดนปรับและดำาเนินคดีรวม 227 ราย 4


Chapter 1 >>

สถิติเด็กกับของเล่น สถิติเด็กบาดเจ็บจากของเล่น ปีละไม่ต�่ำกว่า 10,000 รายต่อปี มากที่สุด 70,000 รายต่อปี เด็กผู้ชายได้รับอันตราย จากของเล่น มากกว่าเด็กผู้หญิง

89.7%

10.3%

การได้รับอันตรายจากของเล่น แบ่งตามอายุ อายุ 10-14 ปี อายุ 0-4 ปี อายุ 5-9 ปี

7.4%

89.7%

42.3%

ผลวิจัยในปี 2552 มีเด็กเข้ารับการรักษาตัวฉุกเฉิน ปีละ

1,597,500

เด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี บาดเจ็บจากปืนอัดลม ประมาณ 4,792 รายต่อปี หรือร้อยละ 0.4 จากผู้บาดเจ็บทั้งหมด

ราย

เด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี บาดเจ็บที่ดวงตาจากอุบัติเหตุของเล่น 22,572 ราย หรือร้อยละ 0.3

ข้อมูลจาก ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย / ข่าวผู้จัดการออนไลน์

5


Chapter 1 >>

Toy Story, True Story

เรื่องเล่าสุดเศร้า เมื่อหนูเล่น

7.5%

คือของเล่น ที่มีสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน (ค่ามาตรฐานก�ำหนด คือ 600 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)

17%

ของจ�ำนวนของเล่นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในกรุงเทพฯ พบสารตะกั่วในสูงกว่าค่ามาตรฐานก�ำหนด 6


Chapter 1 >>

Case 1 :

เด็ก 2 ขวบ กลืนแบตกระดุม กระอักเลือดก่อนเสียชีวิต เหตุเกิดในประเทศอังกฤษ เมื่อเด็กหญิงไบรอันน่า ฟลอเรอร์ วัย 2 ขวบ กลืน แบตเตอรี่ชนิดกระดุมซึ่งพบมากในอุปกรณ์ของเล่นเด็กเข้าไปในวันที่ 26 ธันวาคม หรือช่วงฉลองคริสมาสต์ จากนั้นไม่กี่ชั่วโมง ผิวหนังของเด็กเริ่มเปลี่ยนเป็นสีนำ้าเงิน อาเจียนเป็นเลือด เพราะกรดแบตเตอรี่ทำาปฏิกริยากับหลอดเลือดแดงทางหลอดอาหาร เมื่อนำาส่งโรงพยาบาล แพทย์พยายามช่วยชีวิตเป็นเวลา 2 ชั่วโมงครึ่ง แต่ไม่สำาเร็จ เพราะไม่สามารถห้ามเลือดได้ จนไบรอันเสียชีวิตในที่สุด ที่มา www.khaosod.co.th

Case 2 :

เด็กเสียชีวิตในเก้าอี้ยัดเม็ดโฟม เหตุเกิดในสหรัฐอเมริกา เมื่อเด็กสองพี่น้องเล่นซ่อนหา และเป ดซิปเก้าอี้บีนแบค ที่มีเม็ดโฟมเล็กๆ ด้านใน โดยแอบเข้าไปอยู่ในเก้าอี้จนขาด อากาศหายใจ กระทั่งสหรัฐเรียกเก็บคืนเก้าอี้โฟมนี้ จำานวนกว่า 2 ล้านชิ้นทั่วประเทศ เป็นตัวอย่างของ การเล่นจากของใช้ในบ้านที่คาดไม่ถึง ที่มา momypedia.com

Case 3 :

นักเรียนไทยตายจากเครื่องเล่นสนาม เด็กนักเรียนชั้น ป.6 ในจังหวัดนครสวรรค์ ถูกชิงช้าสนามเด็กเล่น สาธารณะล้มทับเสียชีวิต และนักเรียนชั้น ป.1 ป นป ายเครื่องเล่นแล้ว กระแทกหน้าอกบาดเจ็บสาหัสที่จังหวัดจันทบุรี เกิดจากอุปกรณ์ ไม่ได้ มาตรฐาน และพื้นสนามแข็งไม่มีการบำารุงรักษาและตรวจเช็กสภาพ สม่ำาเสมอ ข้อมูลจาก ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป องกันการบาดเจ็บในเด็ก

7


Chapter 1 >>

จากการเล่นและของเล่น

ปัจจุบันเรามักได้ยินได้ฟังข่าวเกี่ยวกับอุบัติเหตุของเด็กจากของเล่นอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็น การพลัดตกหกล้มจากของเล่นประเภทสนาม การถูกทิ่มแทงจากของเล่นมีคม การอมของเล่นจนส�ำลักติดคอ อันเนื่องมาจากการไม่ระมัดระวังในการเล่น การเลือกของเล่นที่ ไม่เหมาะกับวัย และที่ส�ำคัญที่สุดคืออันตรายที่แฝงมากับของเล่น คือของเล่นที่ ไม่ควรเล่น และของเล่นที่ ไม่ได้มาตรฐานในการผลิต 8


Chapter 1 >>

พ�ษจากของเล่น สารเคมีจากกระบวนการผลิต ซึง่ มักพบการปนเปือ นมากในของเล่น ได้แก่

REJEC

1. โลหะหนัก มักมาจากสีที่ใช้เคลือบเงาวัสดุ มีพิษ ต่อผิวหนัง สมอง และระบบประสาท บางชนิดเป็นสาร ก่อมะเร็ง เช่น สารหนู แคดเมียม ทำาให้ไตวายได้

TED

2. สารตัวทำาละลาย เช่น กาว แล็กเกอร์ มีกลิ่นฉุน มีพิษทำาให้ตาระคายเคือง พิษต่อระบบประสาท มีผลให้ โลหิตจาง ก่อมะเร็งได้

ของเล่นที่ ไม่ ได้มาตรฐาน

หมายถึง ของเล่นที่ ไม่ได้ผ่านการตรวจสอบการผลิต หรือควบคุมวัสดุที่ ใช้ ในการผลิต ส่งผลให้ปนเปื อนสารอันตราย สะสมในร่างกายเด็ก รวมถึง ความไม่เรียบร้อยในกระบวนการผลิต ท�าให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน

3. สารเคมีกำาจัดเชื้อรา พบในของเล่นประเภทที่ ทำาจากไม้ มีผลต่อการทำาลายสมอง ระบบประสาท มี ผลต่อการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ 4. พาทาเลต ส่วนประกอบพลาสติกชนิดอ่อน สารนี้ ทำาลายระบบสืบพันธุ์ สมอง และระบบประสาท

วัสดุที่ห้ามใช้ผลิตของเล่นเด็ก 1. สารที่เมื่อถูกน�้าแล้วขยายตัวเพิ่มผิดปกติ เช่น โซเดียมโพลิอะคริเลต (โพลีเมอร์ที่ ใช้ ในการดูดซับความชื้น) 2. วัสดุไวไฟ 3. เซลลูลอยด์ (เซลลูโลสไนเทรต) หรือวัสดุอื่น ที่มีคุณสมบัติการติดไฟเหมือนเซลลูลอยด์ ยกเว้นที่เป็นส่วนประกอบในสีและวาร์นิช 4. วัสดุที่ผิวหน้าเรียบเงา เมื่อติดไฟจะลุกเป็นไฟวาบ 5. ก าซติดไฟได้ 6. สารที่รวมตัวกับสารอื่น แล้วเกิดเป็นสารใหม่ที่ติดไฟได้ 9


Chapter 1 >>

ภัยจากการเล่น เด็กกลุ่มอายุน้อยกว่า 5 ขวบ ที่เข้าตรวจในห้องฉุกเฉิน มีสาเหตุเกิดจากการเล่นมากที่สุด

23%

55%

เกิดบนถนน

เกิดขึ้นที่บ้าน

50%

18%

เกิดที่โรงเรียน

ของเด็กที่บาดเจ็บในแต่ละปี เกิดจากเครื่องเล่นในสนามเด็กเล่นที่ ไม่ปลอดภัย

> ติดตั้งฐานรากที่ ไม่มั่นคง > ไม่เตรียมความพร้อมของสนาม ไม่ดูดซับแรงกระแทกเวลาเด็กล้ม > มีก้อนหินแหลมเป็นอันตรายต่อการวิ่ง > อุปกรณ์ขึ้นสนิม > การจัดวางที่แน่นเกินไป ท�ำให้เด็กชนกันง่าย > ผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ ใช่ของเล่น แต่นยิ มให้เด็กเล่น จากการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี

10


Chapter 1 >>

อันดับของเล่นอันตราย จากการสำ�รวจของศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บ ในเด็ก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ของเล่น ที่ถูกจัดอันดับให้เป็นของเล่นอันตราย ได้แก่ ของเล่นมีสายยาวมากกว่า 20 ซม. อาจรัดคอเด็กได้ เช่น สายกีตาร์ สายโทรศัพท์ หูฟัง เชือก ผ้าพันคอตุ๊กตา เป็นต้น

ของเล่นที่เป็นชิ้นเล็กกว่า 3.2 x 6 ซม. มีโอกาสทำ�ให้เด็กสำ�ลักกับ ทางเดินหายใจได้มาก เช่น ตุ๊กตาพลาสติกตัวเล็กๆ โดยเฉพาะส่วนหัวที่ถอดได้

ของเล่นมีคม เช่น ดินสอสี ไม้คทาวิเศษ จรวด หุ่นยนต์ปลายแหลม เป็นต้น

ของเล่นที่มีเสียงดังเกินไป ทำ�ลายเซลล์การรับเสียง ของลูกได้ มักมาจาก รถและตุ๊กตามีเสียง ดังเกินกว่า 110 เดซิเบล เมื่อดังเพียงครั้งเดียว และไม่เกิน 80 เดซิเบล เมื่อดังอย่างต่อเนื่อง

ของเล่นที่เคลื่อนที่รวดเร็ว เช่น รถสองล้อ รถหัดเดิน เพราะเสี่ยงต่อการพลิกคว่ำ� ทำ�ให้เด็กเกิดอุบัติเหตุหัวแตกได้

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ ใช่ของเล่นสำ�หรับเด็ก (ตามที่กฎหมายกำ�หนด) ได้แก่ ● จักรยาน 2 ล้อ ที่มีอานนั่งสูงเกิน 635 มิลลิเมตร ● ตัวต่อภาพเกิน 500 ชิ้น ● ● ลูกดอก ง่ามยิง หนังสติ๊ก ปืนยาวและปืนสั้นอัดลม ปืนฉีดน�้ำ ● ● พลุ ประทัด และดอกไม้ไฟ ● หัวนมยางดูดเล่น หรือจุกหลอก ● ● เครื่องประดับเลียนแบบอัญมณีส�ำหรับเด็ก ● ตัวพองน�้ำหรือ ตัวดูดน�้ำ ● ● ลูกโป่งสวรรค์หรือลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ● ลวดดัดฟันแฟชั่น ● ข้อมูลจากงานวิจัยพิษและอันตรายในของเล่นเด็ก และมาตรฐานความปลอดภัย กรมควบคุมโรค ปี 2551

11


Chapter 1 >>

ฉบับนี้ ทำ�ความรู้จักกับของเล่น และรู้เท่าทันอันตรายจาก ของเล่นกันแล้ว ฉบับหน้าใน Chapter 2 เราจะมาค้นหาแนวทาง ป้ อ งกั น เด็ ก ๆ จากการเล่ น และวิ ธี เ ลื อ กของเล่ น ที่ ป ลอดภั ย ได้ประโยชน์ ตอบโจทย์การพัฒนาเด็กได้อย่างสบายใจกันนะคะ

12


ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.