ModernMom Focus Vol.1 No.6 Chapter 2 July 2015

Page 1

Vol.1 No.6 / Chapter 2 July 2015

Chapter

2

พบทางออก

ของเด็กยุคเจนอัลฟา

ทักษะสำ�คัญ

รหัสความสำ�เร็จ



Vol.1 No.6 / Chapter 2 July 2015

Generation Alpha Chapter 1 : รู้จัก เข้าใจ เด็ก Generation Alpha Chapter 2 : เลี้ยงดูลูก Generation Alpha อย่างไรให้ได้ดี

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

สวัสดีค่ะคุณแม่ ModernMom ทุกท่าน

ModernMom Focus กับ Hot Issue เรื่องใกล้ตัวนั่น คือลูกน้อย มีการคาดการณ์ว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เด็กใน ยุค Generation Alpha หรือ เด็กเจน อัลฟา ก�ำลังจะเติบโต มาเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยบุคลิกลักษณะที่แตกต่าง จากเด็กรุ่นก่อนๆ ไม่ว่าจะเป็นความเฉลียวฉลาด ความ เข้าใจในเทคโนโลยีตามมา ซึ่งการยึดติดเอาอุปกรณ์ ดิจิตอลเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต อันส่งผลให้เด็กส่วนใหญ่ มีความอดทนต�่ำลง รอคอยไม่ค่อยได้ เป็นตัวของตัวเอง สูงและอีกหลายประการทีห่ ลายฝ่ายวิตกว่า เด็กเจน อัลฟา จะเกิดช่องว่างระหว่างคนรุน่ อืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในครอบครัว ท�ำให้เกิดปัญหาในแง่การเลี้ยงดู และการรู้เท่าทันระหว่าง เด็กกับพ่อแม่ จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นที่พ่อแม่ผู้ปกครองและส่วนอื่นๆ ของสังคมจะต้องเตรียมรับมือกับการเติบโตของพวกเขา เหล่านั้น โดยเฉพาะสถาบันครอบครัวคือที่แรกที่จะต้องรู้ เท่าทันการมาถึงของเด็กเจน อัลฟาอย่างรอบด้าน พบกับ ModernMom Focus 2 Chapter ที่จะท�ำให้เข้าใจเด็ก เจน อัลฟามากขึ้น ModernMom Focus

เจ้าของ : กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี สร้างสรรค์ โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม่ บริษทั อาร์แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล์ : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล์ : rungladda@rlg.co.th


Chapter 2 >>

อดทนต่�ำ รอคอยไม่คอ่ ยได้ เป็นตัวของตัวเองสูง เกิดช่องว่างระหว่างวัย

เลีย้ งดูลกู

Generation Alpha อย่างไรให้ได้ดี

จากการคาดการณ์ว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เด็กในยุค Generation Alpha หรือ

เด็กเจน อัลฟา กำ�ลังจะเติบโตมาเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม ด้วยบุคลิกลักษณะ ที่แตกต่างจากเด็กรุ่นก่อนๆ ไม่ว่าจะเป็นความเฉลียวฉลาด ความเข้าใจในเทคโนโลยี สมัยใหม่และขาดมันแทบไม่ได้ ตามมาซึง่ การยึดติดเอาอุปกรณ์ดจิ ติ อลเป็นส่วนหนึง่ ของชีวิต อันจะส่งผลให้เด็กส่วนใหญ่มีความอดทนต่ำ�ลง รอคอยไม่ค่อยได้ เป็นตัว ของตัวเองสูง และอีกหลายประการที่หลายฝ่ายวิตกว่า เด็กเจน อัลฟา จะเกิด ช่องว่างระหว่างคนรุน่ อืน่ ๆ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในครอบครัว ทำ�ให้เกิดปัญหาในแง่การเลีย้ งดู และการรู้เท่าทันระหว่างเด็กกับพ่อแม่ จึงเป็นเรือ่ งจำ�เป็นทีพ ่ อ่ แม่ผปู้ กครองและส่วนอืน่ ๆ ของสังคมจะต้องเตรียมรับมือ กับการเติบโตของพวกเขาเหล่านั้น โดยเฉพาะสถาบันครอบครัวคือที่แรกที่จะต้อง รู้เท่าทันการมาถึงของเด็กเจน อัลฟาอย่างรอบด้าน 4


Chapter 2 >>

บทบาทครอบครัวกับการเลีย้ งดูลกู

Generation Alpha เด็กที่เกิดหลังปี พ.ศ.2553 เป็นต้นไปคือเด็กรุ่นเจน อัลฟา แต่ก่อนที่เด็กวัยนี้

จะเติบโตขึ้นมานั้น พ่อแม่หรือครอบครัว คือคนแรกที่ต้องก้าวไปล่วงหน้าเสียก่อน นั่นหมายถึง พ่อแม่คือคนที่ต้องรู้ล่วงหน้าว่าลูกต้องการอะไรบ้างในยุคที่พวกเขา จะเติบโตขึ้น

5


Chapter 2 >> iPad Generation คืออีกนิยาม หนึ่ ง ที่ มี ผู้ เ ชี่ ย วชาญใช้ เ ปรี ย บเที ย บ ให้ เ ห็ น ภาพของเด็ ก ยุ ค เจน อั ล ฟา ว่ า กั นว่ า เขาจะขาดอุ ป กรณ์ ป ระเภท แทปเล็ ต ไม่ ไ ด้ เ ลย ดั ง นั้ น พ่ อ แม่ จึ ง ควรเรียนรู้วิธีการใช้งานของ ไอแพด หรือว่า แท็บเล็ต เอาไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ เช่ น เดี ย วกั น กั บ อุ ป กรณ์ ไ อที อื่ น ๆ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ Smart Phone Computer, Notebook, Ipod, Mp Player รวมถึงการเปิดรับสื่อทาง internet ซึ่งการเรียนรู้เอาไว้ก็เพื่อ จะได้สอนพวกเขาในแง่การใช้งานที่ ถูกต้อง, การควบคุมพฤติกรรม, การ รู้ เ ท่ า ทั น กลไกป้ อ งกั น การใช้ ง านที่ เกินวัย เพื่อไม่ให้ลูกตกเป็นทาสของ เครื่องมือเหล่านี้นี่เอง นอกจากบทบาทผู้สอน ผู้ควบคุม แล้ว พ่อแม่ของเด็กเจน อัลฟา ต้อง เป็ น ที่ ป รึ ก ษาในด้ า นการรั บ สื่ อ ได้ ด้วย มีสติตั้งรับการอิทธิพลของสื่อที่ จะเข้าถึงเด็กทุกๆ คน อย่างหยุดยั้ง ได้ ย าก เนื้ อ หาของการโฆษณา ประชาสั ม พั น ธ์ ใ นเชิ ง ธุ ร กิ จ จะเป็ น สิ่ ง กระตุ้ น ยั่ ว ยุ ให้ พ วกเขาหลงใหล ในโลกวั ต ถุ นิ ย มได้ อ ย่ า งมาก สร้ า ง ภูมิต้านทานเพื่อแยกแยะข้อมูลจริง เท็ จ มี ส ติ เ ลื อ กบริ โ ภค เหล่ า นี้ เ ป็ น เรื่องสำ�คัญที่พ่อแม่ต้องสร้างให้เด็ก เจน อัลฟาอย่างเข้มข้นตั้งแต่ยังเล็ก

นอกจากนี้ แ นวทางการดู แ ลลู ก ยั ง ต้ อ งเติ ม เต็ ม ความเข้ ม แข็ ง ของ ครอบครั ว การปลู ก ฝั ง ให้ พ วกเขา รู้จักรากเหง้าของตัวเอง เพื่อไม่ ให้ หลงลื ม รากฐานของวั ฒ นธรรมเดิ ม ซึ่ ง แนวโน้ ม ของเด็ ก เจน อั ล ฟานั้ น สนใจแต่ ตั ว เอง ปฏิ เ สธคนรอบข้ า ง และละเลยความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง เพื่อนบ้านหรือคนอื่นๆ ในสังคม พ่อ แม่มีหน้าที่ปลูกฝังให้พวกเขาเข้าใจ วั ฒ นธรรมของตั ว เอง แม้ จ ะมี ก าร แลกเปลี่ยนอย่างไร้พรมแดน แต่ไม่ ให้ สิ่ ง ใหม่ เ ข้ า มาจนเบี ย ดบั ง สิ่ ง เก่ า และไม่ทำ�ให้พวกเขาเห็นแก่ตัว คิด แต่ตัวเองเป็นใหญ่ ความมีน้ำ�ใจต่อ เพื่ อ นบ้ า นและเพื่ อ นร่ ว มสั ง คมเป็ น สิ่ ง สำ�คั ญ ที่ ยั ง ต้ อ งคงไว้ ซึ่ ง สั ง คมที่ เกื้อกูลต่อกัน พ่ อ แม่ เ ด็ ก เจน อั ล ฟา ยั ง ต้ อ ง ละเอียดอ่อนเสมอ ในการรับรู้ความ รู้สึกของลูก รับรู้ความต้องการ แต่ ไม่ใช่เพื่อแก้ปัญหาให้พวกเขา หน้าที่ อั น เหมาะสมคื อ การชี้ แ นวทางให้ พวกเขาแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ด้ ว ยตั ว เอง เรียนรู้จักความผิดหวัง รอคอย ความ ผิดพลาด เพื่อให้พวกเขายังมีความ ฝัน มีความหวัง มีแรงผลักดันในเชิง สร้างสรรค์ มากกว่าจะใช้เทคโนโลยี แก้ปัญหาเพียงอย่างเดียว 6


แนวทางเลีย้ งดูของพ่อแม่ สร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ

พ่อแม่เท่าทันเทคโนโลยี ใช้งานเป็นและสอนลูกได้

ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อโฆษณาชวนเชื่อ และวัตถุนิยมได้ง่าย

รู้จักการควบคุมพฤติกรรม จ�ำกัดการใช้งานได้อย่างถูกวิธี

เป็นที่ปรึกษา ให้ค�ำแนะน�ำ

ในการรับมือกับสื่อสมัยใหม่ทุกชนิดที่เข้ามา

รับรู้ความต้องการของลูก

รับรู้ปัญหาความผิดพลาดของลูก และแนะแนวทางแก้ไขด้วยตัวของเด็กเอง อย่างถูกต้อง

รู้จักและรักษาวัฒนธรรม รากเหง้าเดิม

สร้างความเข้มแข็งในครอบครัว

ให้พลังสร้างสรรค์ แก่ลูกเสมอ

รู้จักความรัก ความห่วงใย เอาใจใส่คนรอบข้าง ไม่ละเลยคนในครอบครัว

7


Chapter 2 >>

7 ทักษะสำ�คัญต่อเด็ก

Generation Alpha ในยุคทีเ่ ทคโนโลยีมผี ลต่อเด็กมาก จนอาจเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ทำ�ให้เด็กมีเวลา น้อยลงสำ�หรับการศึกษาทักษะชีวิตในด้านอื่นๆ การขาดทักษะสำ�คัญบางประการ อาจทำ�ให้การเจริญเติบโตไม่เหมาะสมนัก พ่อแม่และผูป้ กครองควรตระหนักถึงทักษะ ทีจ่ �ำ เป็นต้องเติมเต็มตัง้ แต่ลกู ยังเล็กๆ เพือ่ ให้สามารถดำ�รงอยู่ได้โดยมีภมู ติ า้ นทานและ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ีได้ในอนาคต

8


Chapter 2 >>

Creative Thinking : คิดสร้างสรรค์

มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ มี จิ น ตนาการ เพราะจิ น ตนาการ เป็ น สิ่ ง ส�ำคั ญ ในการสร้ า งสรรค์ นวัตกรรม ซึ่งในอนาคตโลกจะต้อง การนวัตกรรม การทีเ่ ด็กมีจนิ ตนาการ เป็ น ทั ก ษะที่ ส�ำคั ญ และท�ำให้ เ ด็ ก อยูร่ อดได้อนาคต

Critical Thinking and

Problem Solving : คิดอย่างมีวจิ ารณญาณและ คิดแก้ปญ ั หาเป็น

สามารถคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละแก้ ป ั ญ หาเป็ น สามารถฝึกให้เด็กมีความช่างสังเกต ช่างจดจ�ำ รู้จักตั้งค�ำถามกับสิ่งที่พบเจอว่าถูกหรือผิด ไม่เชื่อทุกอย่างตามที่คนบอก มีวิจารณญาณ เป็นของตัวเอง และรู้จักวิธีแสวงหาค�ำตอบ ด้วยตัวเองอย่างชาญฉลาด เมื่อเจอปัญหา ต้องฝึกแก้ไขได้ด้วยตัวเอง สร้างสถานการณ์ จ�ำลองเพื่อแก้ปัญหาให้เหมาะสม ให้เวลาเด็ก ในการคิดแสวงหาวิธีอย่างใจเย็น

Digital Wisdom : ฉลาดใช้ เท่าทันสื่อดิจิตอล ในโลกดิ จิ ต อลที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยสื่ อ และข้ อ มู ล ที่ ห ลากหลาย การที่ เ ด็ ก สามารถเลื อ กใช้ ข้ อ มู ล และสื่ อ อย่างเหมาะสม จะทำ�ให้เด็กไม่หลงทาง และติดกับดักเทคโนโลยี และเป็นผู้เลือกใช้สื่อดิจิตอลได้อย่างเป็นประโยชน์ 9


Chapter 2 >>

Resilience : อดทน จิตใจเข้มแข็งไม่ยอ่ ท้อต่ออุปสรรค

ด้ ว ยความรวดเร็ ว ของเทคโนโลยี ต่ า งๆ รวมถึ ง รู ป แบบ การเรียนรูท้ เี่ ปลีย่ นไป อาจจะทำ�ให้เด็กขาดความอดทน ไม่เข้มแข็ง และย่อท้อต่ออุปสรรค แต่คุณสมบัติเหล่านี้เป็นสิ่งสำ�คัญที่จะ ทำ�ให้เด็กสามารถอยู่รอดได้ ในสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง นี้ได้อย่างไม่เกิดปัญหา

Collaboration : ปรับตัวร่วมมือ รูจ้ กั ทำ�งานเป็นทีม

ทักษะการทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ของการทำ�งานและทีม รวมถึง มีน�้ำ ใจ แบ่งปัน ไม่เอาเปรียบ และไม่เห็นแก่ตวั เป็นคุณสมบัติ สำ�คัญที่จะทำ�ให้สามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้

Communication : สือ่ สารชัดเจน มีประสิทธิภาพ ไม่เฉพาะแต่ภาษาทีส่ องและภาษาทีส่ ามเท่านัน้ ความสามารถ ที่จะสื่อสารบอกความต้องการของตัวเองได้อย่างชัดเจน และเข้าใจสิง่ ทีผ่ อู้ น่ื สือ่ สารมาได้อย่างเข้าใจ จะทำ�ให้เด็กสามารถเรียน รู้และเป็นเข้าใจสิ่งรอบตัวได้ดีขึ้น

Compassion : เข้าใจ เห็นอกเห็นใจคนอืน่

การเข้าอกเข้าใจและเห็นใจผูอ้ นื่ จะทำ�ให้เด็กมีจติ ใจอ่อนโยน แบ่งปันความรักต่อผู้อื่นและและสิ่งอื่นๆ ที่อยู่รอบตัว รวมถึง การรับรูค้ วามรูส้ กึ ของตัวเองและคนอืน่ ได้งา่ ย และเรียนรูท้ จี่ ะ เข้าใจเป็นการสร้างความแข็งแรงให้กับจิตใจด้านในของเด็ก 10


Chapter 2 >>

การเรียนรูท้ ต่ี อบสนองต่อธรรมชาติเด็ก

Generation Alpha และเป้าหมายการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สังคมไทยในยุคศตวรรษที่ 21 นั้น จะเป็นโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีความซับซ้อนและแข่งขันกันสูง เด็กในยุคศตวรรษที่ 21 จึงมีแนวโน้มที่จะเจอ กับปัญหาสังคมมากขึ้น หากไม่เตรียมความพร้อมในด้านการเรียนรู้ อาจทำ�ให้เด็ก ไม่สามารถรับมือกับปัญหาต่างๆ ได้ดี และนำ�ไปสูก่ ารเป็นเด็กมีปญ ั หาชีวติ ได้งา่ ยมาก

11


การเรียนรูข้ องเด็กในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 นั้นจึงต้องอาศัยความ รอบรู้ด้านต่างๆ ที่รอบด้าน เน้นการมีทักษะด้านอาชีพ ความตระหนั ก ในสภาวะโลก มี ค วามรู ้ ทั้ ง ด้ า นธุ ร กิ จ เศรษฐศาสตร์ การเงิน และการเป็นผูป้ ระกอบการ สนใจ สิ่งแวดล้อม รู้วิธีจัดการข้อมูลมหาศาล รู้เรื่องสื่อและ เทคโนโลยี และยังต้องมีทักษะชีวิตที่ดีด้วย ส�ำหรับเด็กเจน อัลฟา ซึง่ มีบคุ ลิกเฉพาะตัว จึงจ�ำเป็น ต้องได้รับการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติ ซึ่งผู้ เชีย่ วชาญด้านการศึกษา ได้ให้ขอ้ สรุปเกีย่ วกับการเรียน รู้ที่เหมาะสมกับเด็กเจน อัลฟา เอาไว้ดังนี้คือ

Visual

การเรียนรู้ที่อาศัย การมองเห็นภาพ ทั้งภาพนิ่งและภาพ วิดีโอ

ชืน่ ชอบนวัตกรรม

เปิดโอกาส ให้พวกเขาเป็นนักคิด

เป็นยุคที่เด็กจะไม่ท�ำตามผู้ใหญ่ โดย ไม่เข้าใจเหตุผล พวกเขามีความเป็น ตัวของตัวเองสูง ชอบการคิด แสวงหา ด้วยตัวเอง ทุกอย่างที่ท�ำจะผ่านการคิด เสียก่อน หากถูกบังคับจะต่อต้าน และไม่ท�ำตาม

เด็กเจน อัลฟา เรียนรู้ได้ดผี า่ นภาพ

ด้วยการที่สามารถเข้าถึงข้อมูลมหาศาล และรวดเร็ว จึงท�ำให้เขาเคยชินกับความรวดเร็ว ในการรับข้อมูล เป็น Multitasking อยู่กับหลาย หน้าจอได้ และเชื่อมต่อข้อมูลที่ตัวเองต้องการได้ ตลอดเวลา การเรียนรู้ที่เหมาะสมคือ

Walk the talk Culture

หมายถึง วัฒนธรรมการพิสูจน์ ให้เห็น ด้วยการกระท�ำ ประกอบด้วย 3 ลักษณะคือ

พวกเขามีความสุขกับสิ่ง แปลกใหม่ ชอบเทคโนโลยีใหม่ๆ ชอบการคิดค้น การแข่งขันกันทาง Hand on methods ไอเดีย และต่อยอดสิ่งเดิมให้ เรียนรู้จากการลงมือท�ำ 3 เกิดสิ่งใหม่ๆ ให้เพิ่มขึ้นได้ ลักษณะการเรียนรู้เพื่อเป็น เรื่อยๆ พื้นฐานในการต่อยอดและ พัฒนาทักษะด้านอื่นๆ ต่อไป 12

Multimodal

สื่อสารกับสื่อที่มี ทั้งภาพ เสียง วิดีโอ และเป็นการสื่อสาร สองทาง

ฝึกให้เป็นนักปฏิบัติ

เด็กเจน อัลฟาจะสร้างข้อสรุปกับ ตัวเองโดยผ่านการปฏิบัติก่อน พวกเขา จะไม่ฟังเฉยๆ แล้วท�ำตาม หรือเชื่อเพียง แค่เพราะสื่อบอกมา พวกเขาชอบ การทดลอง ท�ำสิ่งใหม่ๆ เชื่อมั่นมากขึ้น หากมีการวิจัยรองรับ และผ่าน การปฏิบัติมาแล้ว


Chapter 2 >>

บทบาทครูควรเป็นอย่างไรในยุค

Generation Alpha การเรียนรู้ท่ีสำ�คัญต่อเด็กเกิดขึ้นทั้งในบ้านและในโรงเรียน ครูคือผู้มีบทบาท

อย่างมาก ทีจ่ ะต้องรับมือ ฝึกสอน อบรม เด็กเจน อัลฟา ให้เติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ และรูเ้ ท่าทันสังคม บทบาทของครูในยุคเจน อัลฟาจึงอาจต้องปรับเปลี่ยนไปไม่มากก็น้อย ครูไม่ ใช่ แค่ผู้สอนตามตำ�ราเท่านั้น ไม่ ใช่ผู้ท่ีคอยชี้แนะเท่านั้น แต่ครูยุคใหม่ควรมีบทบาท ที่จะออกแบบการเรียนรู้ได้ด้วย เพื่อให้วิธีการเรียนการสอนสอดคล้องกับความคิด ทีฉ่ บั ไวของเด็กเจน อัลฟา

13


Chapter 2 >>

ครูที่ใช้เทคโนโลยีเป็น และใช้มัน เป็นสื่อการสอนได้ดี จะทำ�ให้เด็กเจน อัลฟาสนใจมากขึ้น กว่าครูที่ยืนพูด อยู่เฉยๆ หน้าห้องเรียน ในยุคที่เด็ก ชืน่ ชอบเทคโนโลยี สามารถใช้เพือ่ ทำ�ให้ การเรียนรู้น่าสนใจได้มากขึ้น เพียงแต่ ต้องวางบทบาทของเทคโนโลยีในการ เป็นเครื่องมือ ไม่ใช่เป็นครูแทนแล้ว ปล่อยให้เด็กเรียนรู้กันเอง การสร้างกฎ กติการ่วมกันกับเด็ก เป็นเคล็ดลับอย่างหนึ่งที่จะทำ�ให้เด็ก เกิ ด การยอมรั บ เงื่ อ นไขและทำ�ตาม เพราะเด็กไม่ชอบถูกบังคับ โดยไม่มี ส่วนร่วมกับข้อตกลงเหล่านั้น เด็กเจน อัลฟาเชื่อมั่นในตัวเองสูง และจะไม่ฝืน ใจตัวเองหากพวกเขารูส้ กึ ว่ามันไม่ใช่สงิ่ ที่พวกเขาต้องการ

นำ�การเรี ย นการสอนที่ พ่ ว งมา กับการฝึกปฏิบัติเสมอ ไม่ใช่ยุคที่เด็ก จะนั่งเรียนแล้วหอบเอาความเชื่อกลับ ไปบ้านเพื่อนำ�ไปใช้ในอนาคต แต่พวก เขาจะเชื่ อ ก็ ต่ อ เมื่ อ ได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ เพื่ อ พิ สู จ น์ ท ฤษฎี ข องครู ว่ า เป็ น จริ ง แล้วเท่านั้น เป็นผู้สร้างการเรียนรู้ทั้งภายนอก และภายในจิ ต ใจแก่ เ ด็ ก ที่ จ ริ ง แล้ ว เทคโนโลยี จ ะมี ส่ ว นช่ ว ยให้ พ วกเขา เรี ย นรู้ ไ ด้ ดี ขึ้ น แต่ การเรี ย นรู้ ที่ เ ต็ ม ไปด้วยความมั่นใจ ภาคภูมิใจ เด็กๆ ยั ง ต้ อ งอาศั ย แรงบั น ดาลใจจากครู ทั้งสิ้น ที่จะเป็นผู้ผลักดันให้พวกเขา ก้าวต่อไปข้างหน้าอย่างมั่นคงต่อไป 14


เคล็ดลับสอนลูก พาเด็กก้าวทันสังคมในยุค

Generation Alpha

แนวทางการดูแลเด็ก ไม่วา่ จะเป็นพ่อแม่ ผูป้ กครอง หรือญาติ สามารถมีบทบาทช่วยกันสร้างพฤติกรรม ทีเ่ หมาะสมในยุคของเจน อัลฟาได้ ดังต่อไปนี้

อยู่กับเทคโนโลยี ให้พอดี ก�ำหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมในแต่ละ

วัน ส�ำหรับการใช้เทคโนโลยีทุกประเภท เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ กิ ด อั น ตรายต่อ เด็ก ทั้ง ด้าน สุขภาพ พัฒนาการเด็ก และการเรียนรู้ ด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไป

บริหารให้เป็น

ฝึ ก การใช้ เ งิ น ตั้ ง แต่ เ ด็ ก การจั ด สรรทรัพยาการที่มี ให้คุ้มค่า เห็นคุณค่าของเงิน จ�ำนวนน้อย รู้จักเปรียบเทียบ และเลือกของที่คุ้มค่าที่สุด

รู้จักแบ่งปัน

ชวนลูกไปมอบของเล่นเก่า ของใช้เก่าแก่คนทีข่ าดแคลน ชวนลู ก ปลู ก ต้ น ไม้ เ พื่ อ ประโยชน์ ใ น ระยะยาว รู้จักให้ของผู้อื่นยืมใช้ หรือ แบ่งขนมให้เพื่อนกิน ช่วยน�ำจิตใจให้ เขาห่างจากการเห็นแก่ตัวได้ดี

อธิบายสื่อที่ลูกรับ

ไม่ ว ่ า จะโฆษณาทางที วี ข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต ช่วย ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง รอบด้าน แก่ลูก ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อโฆษณาได้ง่าย

ปล่อยให้เรียนรู้ความผิดหวัง

ปล่อยลูกผจญความผิดหวังบ้าง รู้จักอดทนรอคอยที่ จะได้ของที่ต้องการ เช่น การเก็บเงินหยอดกระปุกซื้อ ของเล่นเอง การให้ของพิเศษในวันพิเศษ การให้ของขวัญ เพื่อสร้างแรงจูงใจ ไม่ได้ให้ทุกอย่างที่ลูกต้องการ จะท�ำให้ ลูกขาดความฝัน และผิดหวังไม่เป็น

ให้ความส�ำคัญกับคนรอบข้าง

สนใจความรู้สึกของคนใกล้ตัว เช่น พ่อแม่ พี่น้อง ญาติ เห็นคุณค่าของสิ่งที่ผู้อื่นมอบให้ รู้จักขอบคุณเมื่อมีคนให้ของ ขอโทษเป็น เมื่ อ ท� ำ ผิ ด ชื่ น ชมเมื่ อ ผู ้ อื่ น ท� ำ ความดี รู ้ จั ก ผู ก มิ ต ร กับคนรอบตัว

ให้เวลากับลูกเสมอ

ในเวลาที่ เ ขาต้ อ งการค� ำ แนะน� ำ ที่ ป รึ ก ษา เวลาที่มีปัญหา หรือเวลาที่ต้องการเล่น ปลูกฝัง ให้เห็นว่าเพื่อนมีความหมายมากกว่าวัตถุ และ คนในครอบครัวรักพวกเขาเสมอ 15


Chapter 2 >> เบบี้บูมเมอร์

(Baby Boomers)

เจเนอเรชั่น อัลฟ่า

(Generation Alpha)

เจเนอเรชั่น เอ็กซ์ (Generation X)

เจเนอเรชั่น ซี

(Generation Z)

เจเนอเรชั่น วาย (Generation Y)

อยูร่ ว่ มกันอย่างไร ในหลาย

Generation

ในยุคหน้าอันไม่ ไกลจากนี้ แต่ละสังคมจะประกอบด้วยคนหลายวัย ทั้งคนชรา ผู้สูงอายุ คนรุ่นพ่อ แม่ หนุ่มสาว วัยทำ�งาน และเด็กในรุ่นเจน อัลฟา ซึ่งหมายถึง การอยู่ร่วมกันของคนหลายเจเนอเรชั่น ที่มีบุคลิกต่างกัน ความรู้ความสามารถ ต่างกัน เป้าหมายชีวิต การดำ�เนินชีวิต และไลฟ์สไตล์ท่ีต่างกัน การอยู่ร่วมกัน เพื่อไม่ ให้เกิดความขัดแย้ง จำ�เป็นต้องมีการวางแผน การเรียนรู้ท่ีจะเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ รวมถึงการระมัดระวังที่จะไม่ ให้มีช่องว่างมากจนเกินไป ซึ่งแนวทาง การอยูร่ ว่ มกันของคนหลายเจเนอเรชัน่ ได้แก่

16


Chapter 2 >>

ยอมรับการมีอยู่ของคนทุก เจเนอเรชั่ น เพราะไม่ มี ค นรุ ่ น ใด

ดีกว่า หรือส�ำคัญกว่ากัน ทุกคนล้วน มี ความหมายต่ อ สั ง คมและโลกใบนี้ การอยู่ร่วมกันต้องเข้าใจธรรมชาติกัน และกัน ศึกษาข้อดีข้อเสียของทุกคน ในบ้ า น ยอมรั บ สิ่ ง ที่ เ ป็ น ตั ว ตนของ กันและกัน ไม่บังคับให้เปลี่ยนแปลงมาก เกินไป ไม่มีประโยชน์ที่จะบังคับให้ เด็กเจน อัลฟา เติบโตแบบเดียวกับ คนในยุคเบบีบ้ มู เพราะพวกเขาย่อมท�ำ ไม่ได้ และไม่บงั คับผูส้ งู วัยให้ทำ� ตามเด็ก เจน อัลฟา เช่นกัน ควรมีพื้นที่ส่วนตัว ในการให้แต่ละคนนัน้ เป็นตัวของตัวเอง บนพื้นฐานที่เคารพสิทธิของกันและกัน

ยินดีกบั ความส�ำเร็จทีแ่ ตกต่าง

คนทุกวัยและทุกเจเนอเรชั่นมีตัวชี้วัด ความส�ำเร็จไม่เหมือนกัน เช่น คนรุ่น ปู่ย่าภูมิใจที่ได้บุกเบิกธุรกิจครอบครัว แต่คนรุ่นพ่อแม่ภูมิ ใจในการสานต่อ คนรุ ่ น ลู ก อาจภู มิ ใ จที่ ไ ด้ ป รั บ เปลี่ ย น แนวทางการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และเด็ ก เจน อั ล ฟา อาจภู มิ ใ จที่ พ วกเขาได้ สร้างสิ่งใหม่ๆ ที่ ไม่เคยมี ใครในบ้าน ท�ำได้มาก่อน ทุกความส�ำเร็จเป็นเรื่อง น่าชื่นชม อย่าเปรียบเทียบด้วยวิธีการ แต่ จ งเปรี ย บเที ย บมั น จากความสุ ข จากสิ่งที่พวกเขาได้ลงมือท�ำ

รู้จักให้อภัยกันเสมอ การอดทน รอคอย เป้าหมายชีวิต

แนวทางการท�ำงานของคนแต่ละรุ่นล้วนแตกต่างกัน หากคนใด คนหนึ่งในบ้านท�ำสิ่งที่แตกต่างออกไป และไม่ถูกต้องมากนัก ขอให้รู้จักอภัยกัน ให้โอกาสการเรียนรู้และแก้ไขอย่างใจเย็น

แบ่งปันประสบการณ์ อาจมีเรื่องน่าตื่นเต้นที่สุดของ คนในแต่ละยุค เช่น การค้นพบนวัตกรรมสมัยเก่า ที่เด็กเจน อัลฟาไม่เคยรู้มาก่อน พวกเขาสามารถสนุกกับเรื่องเล่าเหล่านั้น ได้ ในขณะที่เด็กเจน อัลฟา อาจมาพร้อมกับข่าวสารน่าตื่นเต้น ในโลกใหม่ ทีจ่ ะสร้างความตืน่ เต้นสุดๆ แก่ผสู้ งู วัย สร้างวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนให้เกิดขึ้นในบ้าน จะท�ำให้ทุกคนมีคุณค่ามากขึ้น ในโลกยุคใหม่ที่กำ�ลังหมุนไปอย่างรวดเร็ว แต่ก็ไม่ยากเกินไปที่จะตามให้ทัน ขอเพียง ตั้งหลักรับมือ ให้เวลากับการเรียนรู้ และเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง เด็กในยุคเจน อัลฟา สามารถเติบโต เป็นบุคลากรที่มีค่าของสังคมได้ ด้วยการเลี้ยงดูของพ่อแม่ ไม่ว่าจะอยู่ต่างเจเนอเรชั่น สักแค่ไหนก็ตาม การใส่ใจ และเข้าใจ คือหนทางที่จะทำ�ให้ โลกยุคใหม่ยังเป็นโลกที่มีคุณภาพ ได้เช่นเดิมค่ะ

17


ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 1 และ 15 ของทุกเดือน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.