ModernMom Focus Vol.1 No.5 Chapter 1 June 2015

Page 1

Chapter

1

Vol.1 No.5 / Chapter 1 June 2015



Vol.1 No.5 / Chapter 1 June 2015

Executive Functions

Chapter 1 : รู้จัก เข้าใจ EF = Executive Functions เพื่อความสำ�เร็จของชีวิต Chapter 2 : CEO of Brain พัฒนาทักษะ 9 ด้าน เพื่อความสำ�เร็จในชีวิต

สวัสดีค่ะคุณแม่ ModernMom ทุกท่าน

ModernMom Focus กับ Hot Issue เรื่องใกล้ตัว นั่นคือ “สมอง” ของลูกน้อย ชวนมาท�ำความรู้จักกับ EF = Executive Functions การท�ำงานของสมองส่วนหน้า ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับทักษะการคิดเพื่อให้ชีวิตส�ำเร็จ ประกอบ ด้วยทักษะ 9 ด้านที่เป็นคีย์เวิร์ดส�ำคัญเพื่อความส�ำเร็จ ในชีวิตของลูก EF = Executive Functions จ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการ ก�ำหนดชีวิตลูกในอนาคต และต้องได้รับการส่งเสริมให้ใช้ ทักษะนี้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะช่วงอายุแรกเกิด-6 ปี เป็นช่วงทองที่ EF จะพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเป็นหน้าที่ของคุณพ่อคุณแม่ที่จะส่งเสริมลูกด้วยวิธีการ ถูกต้องและเหมาะสม ModernMom Focus

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

เจ้าของ : กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี สร้างสรรค์ โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม่ บริษทั อาร์แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล์ : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล์ : rungladda@rlg.co.th


สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน เด็กต่ำ�กว่า 15 ปี

เด็กไทยอายุต่ำ�กว่า 15 ปี

คลอดลูก

7.4 ใน 1,000 คน วัย 16-20

เฉลี่ยวันละ

32.8 ใน 1,000 คน

ติดยา

10 คน

(มาตรฐานคือ 3 ใน 1,000)

เด็กไทยใช้เวลาเรียน

แต่ละวันมีเด็กไทย

เริ่มสูบบุหรี่

600-800

1,200 ชั่วโมงต่อปี

ขณะที่เด็กเกาหลี ญี่ปุ่น ฮ่องกง เรียนต่ำ�กว่า 1,000 ชั่วโมง

UNESCO กำ�หนด 800 ชั่วโมงต่อปี

คนต่อวัน

(คะแนน O-NET เด็กไทยเฉลี่ยแค่คาบเส้น)

วัยรุ่นไทยอายุต่ำ�กว่า 19 ปี สูบเป็นครั้งคราว 78,000 คน ติดบุหรี่แล้ว 375,900 คน

เด็กไทย

75.1%

มีไม่ตป่ำ�กว่ญ ัา 1 ปัญหาพฤติ ก รรม หา และมีปัญหามากที่สุด 8 เรื่อง

เด็กก่อนวัยเรียน

20% 10% เป็นโรคอ้วน

เด็กวัยเรียน

1. สูบบุหรี่ 2. ดื่มแอลกออฮอล์ 3. เที่ยวสถานบันเทิง 4. ใช้ยาเสพติด 5. ปัญหาเพศสัมพันธ์ 6. ทะเลาะวิวาท 7. ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 8. ฆ่าตัวตาย

(ข้อมูลจากวารสารสาธารณสุขและการพัฒนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2) 4


Chapter 1 >>

ตัวเลขและสถานการณ์ของปัญหาเกี่ยวกับเด็กเยาวชนในสังคมไทย กำ�ลังเป็นทีว่ ติ กของทุกฝ่าย ด้วยว่า ปัจจุบนั ปัญหาวัยรุน่ นัน้ มีรปู แบบ ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะปัญหายาเสพติดที่กำ�ลัง จะแซงหน้าประเทศเพื่อนบ้านและท้าทายกับกฎหมายอย่างเข้มข้น

ในขณะที่ ภ าครั ฐ พยายามค้ น หา แนวทางแก้ ปั ญ หาด้ ว ยนโยบายด้าน ต่ า งๆ ภาคเอกชนก� ำ ลั ง ดึ ง เอาพลั ง สั ง คมเข้ า มามี ส ่ ว นมากขึ้ น ในการ ป้องกันปัญหาวัยรุ่น มีบทสรุปหนึ่งที่ ได้จากการท�ำงานของนักวิชาการด้าน ยาเสพติด อันตีแผ่ในสมาคมเวชศาสตร์ การเสพติดอเมริกนั (American Society of Addiction Medicine : ASAM) ทีว่ า่ “การติดยาเสพติด และการเสพติด สิ่งอื่นๆ เกิดจากความบกพร่องของ Executive Functions” บทสรุ ป นี้ ก� ำ ลั ง สร้ า งความตื่ น ตั ว ให้ กั บ นานาประเทศ ด้ว ยชุดความรู้ ใหม่ที่ว่า การป้องกันปัญหายาเสพติด และปัญหาอื่นๆ ในเด็กและวัยรุ่นด้วย

การปราบปรามแม้จะเข้มข้นแค่ไหน ก็ไม่เพียงพอ แต่ทิศทางที่ถูกต้องคือ การป้องกันไม่ ให้เยาวชนท�ำสิ่งต่างๆ เหล่านั้น ด้วยการเติมภูมิคุ้มกันที่ว่า “เมื่อ Executive Functions ดี คุณภาพ เด็กและสังคมก็จะดีขึ้นไปด้วย” ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ เราจึง มักจะพบกับแนวคิดเรื่อง Executive Functions หรือ EF มากขึ้นเรื่อยๆ พร้ อ มการยื น ยั น จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้านการศึกษาที่ว่า “การป้องกันและ การปราบปรามยาเสพติดและปัญหา เยาวชนจะไม่ มี ท างประสบความ ส� ำ เร็ จ ได้ เ ลย ถ้าเรายังไม่เข้าใจเรื่อง Executive Functions” 5


Chapter 1 >>

สัในศตวรรษที งคมไทย ่ 21

นั กวิ ช าการด้ า นสั ง คมส่ ว นใหญ่ ได้ทำ�นายเอาไว้ว่า โลกในศตวรรษที่ 21 นั้นจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมี ความซั บ ซ้ อ นขึ้ น มาก มี ก าร แข่งขันที่สูงมากในทุกด้าน ผู้คนใน สังคมตกเป็นทาสของสิ่งเร้าได้อย่าง ง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็น ยาเสพติด การ พนัน แอลกอฮอล์ เป็นต้น และเชื่อ อย่างยิ่งว่า หากมีทักษะ EF ไม่ดีพอ การตกเป็ น เหยื่ อ สิ่ ง เร้ า และนำ� ความเสี ย หายมาสู่ ตั ว เองและสั ง คม จะมี ม ากยิ่ ง ขึ้ น เพราะปั ญ หาของ การขาดทั ก ษะ EF คื อ การที่ ค น ไม่สามารถวิเคราะห์ ไตร่ตรอง ตัดสิน ใจสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งหรื อ เหมาะสมได้ ใช้อารมณ์เป็นตัวนำ�ทางชีวิต มีการ กระทำ�โดยขาดการยั้งคิด จึงเกิดความ ผิดพลาดอยู่เสมอในการดำ�เนินชีวิต

Executive Functions หรือ EF นั้น ไม่ เ พี ย งแต่ จ ะสำ�คั ญ กั บ โลกปั จ จุ บั น เท่านั้น แต่ถ้าหากมองไปยังอนาคต ข้ า งหน้ า เช่ น ในศตวรรษที่ 21 EF ถือว่าเป็นกุญแจสำ�คัญที่จะช่วย ให้อนาคตอันน่าห่วงใย ได้กลับมาเป็น สั ง คมในอุ ด มคติ ไ ด้ ใ นความเชื่ อ ของ นักวิชาการด้านเด็กและการศึกษา ก่ อ นที่ เ ราจะไปทำ�ความรู้ จั ก กั บ EF อย่างละเอียด ขอให้เราได้ลอง จิ น ตนาการถึ ง โลกในศตวรรษที่ 21 ที่เรารู้กันดีว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง 6


Chapter 1 >> ไม่ว่าจะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง แทนที่จะเกิดการเรียนรู้ สามัคคี และ ช่ ว ยกั น แก้ ปั ญ หา กลั บ กลายเป็ น ทะเลาะเบาะแว้ ง กั น อย่ า งไม่ สิ้ น สุ ด แก้ปัญหาแบบผิดๆ ตลอดเวลา และ รั บ ไม่ ไ ด้ กั บ ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตาม ที่คิด เด็กและเยาวชนในศตวรรษที่ 21 นั้ น มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะติ ด ยาเสพติ ด มากขึ้ น มี แ นวโน้ ม ฆ่ า ตั ว ตายสู ง ในขณะที่คุณภาพการศึกษาของไทย อาจต่ำ� ลงกว่ า เดิ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ของผู้คนในการทำ�งานน้อยลง ขาด ความผู ก พั น หวั ง ดี ต่ อ กั น รวมถึ ง มีวุฒิภาวะในกาจัดการปัญหารอบตัว ได้น้อยลงไปด้วย พู ด กั น อย่ า งง่ า ยที่ สุ ด คื อ สั ง คม ในศตวรรษที่ 21 นั้นเป็นสังคมที่น่า เป็นห่วงมาก และท้าทายต่อการดำ�รง ชีวิตให้อยู่ได้โดยปกติสุข ตราบใดที่ ไม่ มี ก ารวางแผนเพื่ อ เปลี่ ย นแปลง สังคมนับตั้งแต่วันนี้ อย่ า งไรก็ ต าม ปั ญ หาที่ ก ล่ า ว มานั้ น คื อ การคาดการณ์ ใ นอนาคต ที่ยังมาไม่ถึง ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมองว่า ในสถานการณ์ ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยสิ่ ง เร้ า มากมาย สิ่งที่จะพาเราออกจากสิ่งที่ กลัวมาได้นั้น คือเครื่องมือฝึกทักษะ อย่าง Executive Functions หรือ EF นั่นเอง

เด็กและเยาวชน ในศตวรรษที่ 21 นั้น มีแนวโน้มที่จะติดยาเสพติด มากขึ้น มีแนวโน้ม ฆ่าตัวตายสูง ในขณะที่ คุณภาพการศึกษาของไทย อาจต่ำ�ลงกว่าเดิม ประสิทธิภาพของผู้คน ในการทำ�งานน้อยลง ขาดความผูกพัน หวังดีตอ่ กัน รวมถึงมีวุฒิภาวะ ในการจัดการปัญหารอบตัว ได้น้อยลงไปด้วย

ตั ว อย่ า งการกระทำ�โดยไม่ยั้ง คิด เช่ น การใช้ ความรุ น แรงในการแก้ ปั ญ หา การทำ�ร้ า ยร่ า งกายกั น ด้ ว ย เหตุ ผ ลเพี ย งเล็ ก น้ อ ย การไม่ รั บ ฟั ง คนในสังคม การไม่เห็นอกเห็นใจกัน สั ง คมจึ ง เต็ ม ไปด้ ว ยความผั น ผวน แทบทุกด้าน เมื่อสังคมประสบปัญหา 7


ทักษะจำ�เป็นมนุษย์ยุคศตวรรษที่ 21 ความตระหนักในสภาวะของโลก (Global Awareness) ความรู้ด้านการเป็นพลเมือง (Civil Literacy) ความรู้ ในการดูแลสุขภาพ (Health Literacy)

ทักษะด้านอาชีพ

ความรู้ ในการจัดการข้อมูล (Information Literacy)

(Career Skills)

ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Literacy) ความรูด้ า้ นธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การเงิน และการเป็นผูป้ ระกอบการ (Business, Finance, Economy & Entrepreneurial Literacy) ความรู้ ในเรื่องสื่อ (Media Literacy) ความรู้ ในการดูแลสิ่งแวดล้อม (Environment Literacy) 8


ทักษะในการเรียนรู้ (Critical Thinking Collaboration) การสร้างนวัตกรรม (Communication Creativity) ทักษะด้านคณิตศาสตร์ (Arithmetic)

ทักษะชีวิต

ทักษะการอ่าน (Read)

(Career Skills) การเขียน (Write)

ทักษะต่างๆ เหล่านี้ จะเกิดขึน้ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ก็ตอ่ เมือ่ มีการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอน คือ

1. การพัฒนาไอคิวเพื่อการจดจำ�ที่ดี 2. การรู้จักยับยั้งชั่งใจ 3. การรูเ้ วลาและหน้าที่สามารถเปลี่ยนกิจกรรมหนึ่ง ไปอีกกิจกรรมหนึ่งโดยไม่ติดขัด 4. มีความตั้งใจจดจ่อในสิ่งที่ทำ� 5. รู้จักวางและมีการจัดการ

ทั้ง 5 ข้อนี้คือส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ทักษะ Executive Functions หรือ EF 9


Chapter 1 >> ความคิ ด (Mental Process) ของ สมองส่วนหน้า ที่เกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระท�ำ อันส่งผล ไปยังรูปแบบพฤติกรรม เช่น การยั้ง ใจคิ ด ไตร่ ต รอง การรู ้ จั ก ควบคุ ม อารมณ์ การยืดหยุ่นทางด้านความคิด การตั้งเป้าหมาย วางแผน ความมุ่งมั่น การจดจ� ำ และเรี ย กใช้ ข ้ อ มู ล อย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ การจั ด ล� ำ ดั บ ความ ส�ำคัญของเรื่องต่างๆ และการท�ำสิ่ง ต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน จนบรรลุ ความส�ำเร็จ สรุปอย่างง่ายๆ แล้ว EF คือทักษะ ที่ ม นุ ษ ย์ เ ราทุ ก คนจะต้ อ งใช้ ซึ่ ง มี ความส�ำคัญยิ่งต่อความส�ำเร็จในการ เรียนของเด็ก การท�ำงานของหนุ่มสาว การมี ชี วิ ต ครอบครั ว ของผู ้ ใ หญ่ EF จึ ง อยู ่ กั บ มนุ ษ ย์ ตั้ ง แต่ เ กิ ด ไปจนโต ซึ่ ง นั ก วิ ช าการมากมายชี้ ต รงกั นว่ า EF นั้นส�ำคัญกว่า IQ ด้วยซ�้ำ การศึกษาวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ในสาขาประสาทวิทยาศาสตร์ ในรอบ 3 ทศวรรษทีผ่ า่ นมา ได้ทำ� ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจใหม่ๆ เกี่ยวกับการท�ำงาน ของสมองขึ้นในหลายมิติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเข้าใจของสมองที่ควบคุม การคิด การตัดสินใจ ความรู้สึกและ การกระท�ำของมนุษย์ อันเป็นหน้าที่ สมองในการคิ ด ขั้ น สู ง ที่ เ รี ย กว่ า Executive Functions

Executive Functions

คำ�ตอบของสังคม ยุคหน้า Executive Functions (EF) นั้น หมายถึ ง ทั ก ษะการคิ ด เพื่ อ ให้ ชี วิ ต ส�ำเร็จ คือ การท�ำงานของสมองด้าน การจั ด การ ที่ มี ผ ลต่ อ ความส� ำ เร็ จ ในชี วิ ต ไม่ ว ่ า จะในเรื่ อ งการเรี ย น การท�ำงาน การด�ำรงชีวิต การสร้าง ครอบครัวและสังคมที่เป็นสุข ดังนั้น หากคนในสังคมบกพร่องในเรื่อง EF จึ ง หมายถึ ง สั ง คมที่ ด ้ อ ยคุ ณ ภาพ ไม่สามารถจัดการชีวิตในด้านต่างๆ ได้ ทั้ ง ในระดั บ ปั จ เจกและในระดั บ ที่เกี่ยวข้องกับสังคม นักวิชาการได้อธิบายถึงเรื่องของ EF อย่ า งละเอี ย ดว่ า Executive Functions นั้นเป็นกระบวนการทาง 10


Chapter 1 >> ความเหงาได้ มีอารมณ์มั่นคง และ แสดงออกแบบที่ไม่รบกวนผู้อื่น 6.Planning and Organizing การวางแผนและจัดระบบดำ�เนินการ เริ่มตั้งแต่การตั้งเป้าหมาย การเห็น ภาพรวม การจั ด ลำ�ดั บ ความสำ�คั ญ การจัดระบบโครงสร้าง จนถึงการแตก เป้าหมายให้เป็นขั้นตอน 7.Self-Monitoring การรู้ จั ก ประเมินตนเอง รวมถึงการตรวจสอบ การงานเพื่อหาจุดบกพร่อง และรู้ตัว ว่ากำ�ลังทำ�อะไร ได้ผลอย่างไร 8.Initiating การริเริ่มและลงมือ ทำ�งานตามที่คิด เมื่อคิดแล้วก็ล งมือ ทำ� ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง 9.Goal-Directed Persistence ความพากเพียรมุ่งสู่เป้าหมาย เมื่อได้ ตั้งใจและลงมือทำ�แล้ว มีความมุ่งมั่น บากบัน่ ไม่วา่ จะมีอปุ สรรคใดๆ ก็พร้อม ฝ่าฟันจนถึงความสำ�เร็จ เราจะเห็นได้ชัดว่า ทักษะทั้ง 9 ข้อ ที่ ก ล่ า วมา คื อ คุ ณ สมบั ติ สำ�คั ญ ที่ ช่ ว ยให้ เ ป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง มี ความสุ ข และยั ง ร่ ว มกั น พั ฒ นาโลก และสังคมให้ดีขึ้นไปได้อีกด้วย สังคม ที่ ก ล่ า วถึ ง เรี ย กว่ า “สั ง คมเชิ ง บวก” ที่ เ กิ ด จากพฤติ ก รรมเชิ ง บวกของ คนในสังคมนั่นเอง

หากเรามองดู ภ าพจำ�ลองการ ทำ�งานของสมองส่ ว นหน้ า เราจะ พบรู ป แบบพฤติ กรรมที่ สำ�คั ญ มาก 9 เรื่อง ซึ่งช่วยตอบคำ�ถามที่ว่าทำ�ไม EF ดีจึงช่วยสร้างสังคมที่มีคุณภาพ ได้ ได้แก่ 1.Working Memory ความจำ� ที่นำ�มาใช้งาน ความสามารถในการ เก็ บ ข้ อ มู ล ประมวล และดึ ง ข้ อ มู ล ที่เก็บในคลังสมองของเราออกมาใช้ ตามสถานการณ์ที่ต้องการ 2.Inhibitory Control การยั้งคิด และควบคุ ม แรงปรารถนาของตนให้ อยู่ ในระดับที่เหมาะสม จนสามารถ หยุ ด ยั้ ง พฤติ กรรมได้ ใ นกาลเทศะที่ สมควร เด็กที่ขาดความยับยั้งชั่งใจ ก็เหมือน “รถที่ขาดเบรก” 3.Shift หรือ Cognitive Flexibility การยื ด หยุ่ น ทางความคิ ด สามารถ ปรั บ เปลี่ ย นความคิ ด ให้ เ หมาะสม กั บ สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นไปยื ด หยุ่ น พลิ ก แพลงเป็ น เห็ น ทางออกใหม่ ๆ และคิดนอกกรอบได้ 4.Focus / Attention การใส่ ใจ จดจ่ อ มุ่ ง ความสนใจอยู่ กั บ สิ่ ง ที่ ทำ� อย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดย ไม่วอกแวก 5.Emotional Control การ ควบคุ ม อารมณ์ ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เหมาะสม จั ด การกั บ ความเครี ย ด 11


9 ทักษะสำ�คัญจากสมองส่วนหน้า การมีสมาธิจดจ่อ

ความรู้สึกพึงพอใจ

มีสมาธิจดจ่อ กับสิ่งที่ทำ�จนเสร็จ การตัดสินใจเมื่อข้อมูล ขัดแย้งหรือไม่คุ้นเคย

Coronal lfh

การควบคุมอารมณ์ การประเมินตนเอง ทักษะทางสังคม

Anterior Cingulate Cortex

Medial Prefrontal Cortex

Orbitofrontal Cortex

Lateral Prefrontal Cortex

การยับยั้งความคิด และพฤติกรรม

การตัดสินใจถูกผิด

การคิดไตร่ตรองก่อนทำ� ไม่หุนหันพลันแล่น การควบคุมอารมณ์ ความจำ�ขณะทำ�งาน

ความรู้สึกพึงพอใจ การตัดสินใจแบบที่เกี่ยว กับอารมณ์ความรู้สึก 12


Executive Functions

13


Chapter 1 >>

นำ � สิ่ ง ที่ เ คยเรี ย นรู้ ม าก่ อ นใน ประสบการณ์มาใช้ในการทำ�งาน หรือ กิจกรรมใหม่ได้ สามารถปรั บ เปลี่ ย นความคิ ด ได้ เมื่อเงื่อนไขหรือสถานการณ์เปลี่ยน ไป ไม่ยึดติดตายตัว จนถึงขั้นมีความ คิดสร้างสรรค์ หรือคิดนอกกรอบได้ รูจ้ กั ประเมินตนเอง นำ�จุดบกพร่อง มาปรับปรุงการทำ�งานให้ดีขึ้นได้ รู้จักยับยั้งควบคุมตัวเองไม่ ให้ทำ� ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แม้จะมีสิ่งยั่วยวน รู้ จั ก แสด งออกใ น คร อบครั ว ในห้องเรียน กับเพื่อน และสังคมได้ อย่างเหมาะสม ซึ่งจะนำ�ไปสู่การรู้จัก เคารพผู้ อื่ น การอยู่ กั บ คนอื่ น ได้ ดี โดยไม่ มี ปั ญ หา เป็ น คนที่ อ ดทนได้ รอคอยเป็ น มี ค วามมุ่ ง มั่ น พร้ อ ม ความรับผิดชอบที่จะไปสู่ความสำ�เร็จ ปัจจุบันก�ำลังเป็นที่ตระหนักมาก ขึ้นว่า การพูดถึงเฉพาะ IQ ถือเป็น ประเด็ น ที่ ไ ม่ ค รอบคลุ ม นั ก ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของมนุ ษ ย์ โดยเฉพาะเด็ ก แต่ จ ะมี ก ารพู ด ถึ ง Executive Functions หรื อ EF กันมากขึ้น เพราะมีการพิสูจน์ ได้ว่า IQ ไม่ได้เป็นหลักประกันว่าจะท�ำให้ คนเราประสบความส�ำเร็จได้ แต่ EF ต่างหาก ที่จะท�ำให้คนประสบความ ส�ำเร็จและสังคมมีคุณภาพได้

Executive Functions หรือ EF คือทักษะของมนุษย์ ที่ช่วยให้พื้นฐานของสังคม มีความแข็งแกร่ง และสำ�คัญ ยิ่งกว่าการรู้จักตัวเลข หรือตัวหนังสือ

เมื่ อ คนในสั ง คมได้ รั บ การพั ฒ นา EF ตั้งแต่เด็ก เชื่อว่าจะท�ำให้ทั้งเด็ก และสังคมได้รับประโยชน์ ไปพร้อมกัน โดยเด็กจะมีความสามารถในการคิด เชิงบวกได้แก่ มีความจำ�ดี มีสมาธิจดจ่อ สามารถ ทำ�งานต่อเนื่องได้สำ�เร็จ รู้จักวิเคราะห์ มีการวางแผนงาน อย่างเป็นระบบ ลงมือทำ�งานได้ และ จัดการกับกระบวนการทำ�งานจนเสร็จ ทันตามกำ�หนด 14


Chapter 1 >> ยั ง ไม่ เ ติ บ โตเต็ ม ที่ มี กิ่ ง ใบที่ ไ ม่ สมบูรณ์นัก และยังพร้อมที่จะล้มลง เมื่ อ เจอพายุ รุ น แรง นั่ น เป็ น เพราะ ลึกๆ แล้วเรารับรู้ว่าสังคมไทยมีปัญหา มากมายหลายด้ า นที่เ รื้อ รั ง ที่ฝัง ราก มานานแสนนาน ปัญหาการขาดทักษะ Executive Functions หรื อ EF เป็ น หนึ่ ง ใน ปัญหาที่สะท้อนได้จากความอ่อนแอ หลายประการของคนในสั ง คมไทย เป็ น ต้ น ว่ า คนในสั ง คมขาดการ ควบคุมตนเอง สร้างปัญหาต่อผู้อื่น และทำ�ให้ สั ง คมเกิ ด ความวุ่ น วาย การไม่สามารถยับยั้งชั่งใจได้ หาก EF อ่อนแอ เด็กและเยาวชน จะเกิ ด การเสพติ ด สิ่ ง ต่ า งๆ มากขึ้ น และยั ง เสพติ ด วั ต ถุ ห รื อ สิ่ ง ต่ า งๆ ในสังคมได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็น การเสพติ ด เซ็ ก ซ์ เสพติ ด การเที่ ย ว เสพติดการใช้เงิน เป็นต้น หาก EF อ่อนแอ เราจะเต็มไป ด้วยหนุ่มสาวที่การมองอนาคตไม่ออก ไม่ ส ามารถคิ ด ไปข้ า งหน้ า ได้ ไ กล การจัดการสิ่งต่างๆ และคิดเป็นระบบ ไม่ได้ การจัดการกับความเครียดได้ ไม่ ดี นั ก การทำ�งานโดยขาดการ วางแผนระยะยาว การจั ด การเวลา ไม่ได้ ขาดความมุ่งมั่นให้งานสำ�เร็จ และขาดการริ เ ริ่ ม ลงมื อ ทำ�สิ่ ง ใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์

ทั้งหมดที่กล่าวมา เราอาจสรุปได้ ว่า ถ้าคนในสังคมมีทักษะ Executive Functions หรือ EF มีความเข้มแข็ง เราจะสามารถฝ่าวิกฤตต่างๆ ที่เกิด ขึ้นกับสังคมได้ทุกระดับ หากเราเปรี ย บเที ย บสั ง คมไทย เหมือนต้นไม้ต้นหนึ่ง การปลูกฝัง EF แก่คนในสังคมตั้งแต่ยังเล็ก จะทำ�ให้ ต้นไม้ที่มีรากฐานแข็งแรง และยั่งยืน ได้ตลอดไป แต่ ในปัจจุบัน ต้นไม้ของเรานั้น 15


Chapter 1 >>

จึงเป็นคำ�ถามที่น่าท้าทายอย่างยิ่งว่า เราจะปล่อยให้โลกและสังคมไทย เป็นเหมือนต้นไม้ที่รากผุพังไม่แข็งแรงต่อไปหรือไม่? และภาพของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ถูกคาดการณ์เอาไว้นั้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ด้วยสองมือของผู้อ่าน

16


ในฉบับหน้า Focus Magazine Chapter 2 ของฉบับมิถนุ ายน เราจะเจาะลึกถึง ทางเลือกทางรอดของสังคมไทย ทั้งในปัจจุบัน และในศตวรรษหน้า ว่าจะเดินออกจากความอ่อนแอเหล่านี้ได้อย่างไร และแนวทางที่ถูกต้องควรจะเป็นไรอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะการสร้าง ภูมคิ มุ้ กันให้กบั เด็กๆ และเยาวชนของชาติ ตัง้ แต่พวกเขาลืมตาดูโลก ไปจนกระทัง่ เติบโต แล้วมาแสวงหาเครื่องมือเพื่อทำ�ให้สังคมแข็งแรงด้วยกันค่ะ

ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.