ModernMom Focus Vol.1 No.5 Chapter 2 June 2015

Page 1

Vol.1 No.5 / Chapter 2 June 2015

Chapter

2

• ฝึก EF ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำ�เร็จ

ส่งเสริมทั้ง 9 ด้านด้วยสองมือพ่อแม่ • หลากงานวิจัย เพื่อเข้าใจและตอกย้ำ�ความสำ�คัญของ EF



Vol.1 No.5 / Chapter 1 June 2015

Executive Functions

Chapter 1 : รู้จัก เข้าใจ EF = Executive Functions เพื่อความสำ�เร็จของชีวิต Chapter 2 : CEO of Brain พัฒนาทักษะ 9 ด้าน เพื่อความสำ�เร็จในชีวิต

สวัสดีค่ะคุณแม่ ModernMom ทุกท่าน

ModernMom Focus กับ Hot Issue เรื่องใกล้ตัว นั่นคือ “สมอง” ของลูกน้อย ชวนมาท�ำความรู้จักกับ EF = Executive Functions การท�ำงานของสมองส่วนหน้า ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับทักษะการคิดเพื่อให้ชีวิตส�ำเร็จ ประกอบ ด้วยทักษะ 9 ด้านที่เป็นคีย์เวิร์ดส�ำคัญเพื่อความส�ำเร็จ ในชีวิตของลูก EF = Executive Functions จ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการ ก�ำหนดชีวิตลูกในอนาคต และต้องได้รับการส่งเสริมให้ใช้ ทักษะนี้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะช่วงอายุแรกเกิด-6 ขวบ เป็นช่วงทองที่ EF จะพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเป็นหน้าที่ของคุณพ่อคุณแม่ที่จะส่งเสริมลูกด้วยวิธีการ ถูกต้องและเหมาะสม ModernMom Focus

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

เจ้าของ : กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี สร้างสรรค์ โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม่ บริษทั อาร์แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล์ : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล์ : rungladda@rlg.co.th


Chapter 2 >>

ทางเลือก

ทางรอด

ของไทย ในยุคสังคมอ่อนแอ

4


Chapter 2 >>

ทางรอดของเด็กไทย ในสถานการณ์ขาดทักษะ EF ตั ว อย่ า งสถานการณ์ ป ั ญ หาที่ ไ ด้ หยิบยกมาข้างบนนั้น ดูจะไม่ใช่เรื่อง ใหม่ ในสังคมไทย ที่เด็กและเยาวชน ถูกมองว่าเต็มไปด้วยความบกพร่องทั้ง ทางจิตใจ ทางสังคม และการเรียนรู้ แต่ สิ่ ง ที่ ก� ำ ลั ง จะเป็ น เรื่ อ งใหม่ ใ น สังคมไทยก็คือ เราไม่สามารถปล่อย ให้ ป ั ญ หาเหล่ า นี้ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ ไปอย่ า ง เรื้ อ รั ง ได้ อี ก แล้ ว เพราะนั่ น คื อ การ

ท� ำ ให้ สั ง คมไทยอ่ อ นแอลงเรื่ อ ยๆ และอยู่ในจุดวิฤตได้ หนทางหนึ่ ง ที่ ก� ำ ลั ง เป็ น ที่ จั บ ตา และเชื่ อ ว่ า เป็ น ทางเลื อ กทางรอด แก่ สั ง คมไทยก็ คื อ การฟื ้ น ฟู ทั ก ษะ เพื่ อ พั ฒ นาสมองให้ แ ก่ เ ด็ ก อั น เป็ น อนาคตของชาติ ด้ ว ยทั ก ษะการคิ ด เ พื่ อ ชี วิ ต ที่ ส� ำ เ ร็ จ E x e c u t i v e Functions หรือ EF นั่นเอง 5


ทักษะบริหารจัดการชีวิต

Chapter 2 >>

3-6 ปี สำ�คัญที่สุด ในการพัฒนา

EF

อายุ

Executive Functions หรือ EF นั้ น มี ความส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาเด็ ก เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในเด็กเล็ก ตั้ ง แต่ วั ย 3 ขวบเป็ น ต้ น ไปจนถึ ง วัย 6 ขวบ EF คือเครื่องมือที่จะท�ำให้ เด็ ก น้ อ ยตั ว เล็ ก ๆ ของเราได้ เ ติ บ โต เป็นมนุษย์ผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ ถึงแม้ว่า เด็กๆ จะไม่ได้เกิดมาพร้อมกับทักษะ EF ตั้งแต่เกิด แต่พวกเขาก็เกิดมา พร้ อ มศั ก ยภาพที่ จ ะเรี ย นรู ้ EF ได้ เป็นอย่างดี ในทางวิ ท ยาศาสตร์ นั้ น มี ความ เชื่ อ มโยงให้ เ ห็ น ระหว่ า งสมองของ เด็กวัย 3 ขวบกับการพัฒนาด้าน EF ด้วยว่า สมองของเด็กวัย 3 ขวบเป็น

สมองที่พร้อมส�ำหรับการเรียนรู้อย่าง มี ร ะบบทุ ก ด้ า น เป็ นวั ย ที่ เ หมาะสม ส�ำหรับการพัฒนาสมอง ไม่ว่าจะเป็น การพั ฒ นาพื้ น ฐานทางด้ า นอารมณ์ พั ฒ นาประสาทสั ม ผั ส และการ เคลื่ อ นไหว พั ฒ นาการรั บ รู ้ ต นเอง พั ฒ นาการรั บ รู ้ ผู ้ อื่ น และพั ฒ นา กระบวนการรู้คิด ซึ่งใช้เทคนิคการสอน แตกต่างกันออกไปตามช่วงวัยของเด็ก เด็กวัย 3-6 ขวบจึงถือว่าเป็นวัย ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด เป็ น โอกาสดี ม ากที่ จ ะ ปลู ก ฝั ง ทั ก ษะ EF และเมื่ อ ปลู ก ฝั ง ไว้ แ ล้ ว ทั ก ษะนี้ จ ะอยู ่ ไ ปกั บ เด็ ก จน เติบโต กระทั่งไปเป็นวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ตอนต้น แต่หลังจากพ้นวัย 6 ขวบ 6


Chapter 2 >>

ช่วงอายุกับการพัฒนา 36 weeks

gestation

Newborn

3 months

6 months

2 years

EF 4 years

6 years

Synapse Pruning

Synapse Formation

ไปแล้ว อัตราการเรียนรู้ก็จะลดลง ภาพแสดงเส้นใยสมองนั้น แสดง ให้เห็นว่า โดยปกติแล้ว สิ่งที่เด็กควร ได้รับการพัฒนาในช่วงวัย 3-6 ขวบ เ ป ็ น อย่ า งแรกคื อ อาหารที่ อุ ด ม ไปด้วยโภชนาการที่ดี และการกระตุ้น พั ฒ นาการเพื่ อ พั ฒ นาสมอง ไม่ ว ่ า จากพ่ อ แม่ ครู หรือ โรงเรีย น หาก ไม่มีการส่งเสริมศักยภาพของเด็กใน ช่ ว งนี้ สมองจะพั ฒ นาไม่ ไ ด้ เ ต็ ม ที่ ข้ อ มู ล ที่ เ คยจดจ� ำ เก็ บ ไว้ ก ่ อ นหน้ า นี้ จะหายไปอย่างสิน้ เชิง ดังนั้นในช่วงวัย 3-6 ขวบหากเด็ก ไม่ ไ ด้ รั บ การฝึ ก ฝนเท่ า ที่ ควร ไม่ ว ่ า จะจากสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ จากการ

ปฏิสัมพันธ์กับผู้ ใหญ่ก็ตาม จะกลาย เป็นข้อ เสีย อย่างมากต่อเด็ก เพราะ หลัง จากวัย 6 ขวบไปแล้ว เด็ก จะไม่ สามารถรั บ การเรี ย นรู ้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ศักยภาพเท่าเดิมได้อีก นอกจากนี้ ในวั ย 3-6 ปี หาก พ่อ แม่ละเลย ทอดทิ้งเด็ก ใช้ความ รุ น แรง หรื อ ละเมิ ด สิ ท ธิ ข องเด็ ก ก็ จ ะยิ่ ง เป็ น การปิ ด กั้ น การพั ฒ นา ของศั ก ยภาพสมอง ซึ่ ง ท� ำ ให้ ก าร พัฒนา EF ด้อยลงไปอย่างเห็นได้ชัด และยั ง กระทบกั บ โครงสร้ า งการ ท�ำงานของสมองและการพัฒนา EF ที่มีอยู่แล้วให้เสียหายมากขึ้นไปด้วย 7


ทำ�อย่างไรให้เด็กไทยมี EF แข็งแรง

หลักการสร้างนั่งร้านที่ดี 3 ข้อ

กระบวนการสร้างทักษะ Executive Functions หรือ EF ให้แข็งแรงนัน้ มีการเปรียบเทียบไว้วา่ เป็นเสมือนการ “สร้างนัง่ ร้าน” ให้เด็ก อันหมายถึง การเริ่มต้นสร้างรากฐานอันมั่นคงแข็งแรงก่อนที่พวกเขาจะสามารถ ใช้ทกั ษะเหล่านี้ได้ตามลำ�พังเมือ่ โตขึน้

1

การดูแล สุขภาพสมอง

2

การสร้าง ประสบการณ์ที่ดี แก่เด็ก

3

การจัดการสิ่งแวดล้อม 8


Chapter 2 >>

วิธีการสร้างเสริมทักษะการคิด

เพื่อชีวิตที่สำ�เร็จ

E xecutive Function

5.สอนเด็ ก ให้ เ ข้ า ใจความรู้ สึ ก ของตนเอง และเพื่อนๆ รวมทั้งเข้าใจ ความรู้สึกของคนอื่นๆ 6.ส่งเสริมกิจกรรมที่ฝึกความจำ� และฝึกสมาธิอยู่เสมอๆ เช่น กิจกรรม เล่นดนตรี วาดรูป ระบายสี หรือทำ�งาน ศิลปะอื่นๆ การฟังเพลง อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ 7.ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมสร้ า งเสริ ม จินตนาการ เช่น การเล่นบทบาทสมมุติ การเล่านิทาน เล่าเรื่องประสบการณ์ สอดแทรกคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมผ่ า น ตัวละครในนิทาน 8.เปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก ได้ เ รี ย นรู้ สิ่งแวดล้อม ได้ท่องเที่ยวสำ�รวจโลก กว้าง ได้พบเจอคนใหม่ๆ 9.หลี ก เลี่ ย งของเล่ น สำ � เร็ จ รู ป ที่ เ ด็ ก ไม่ ไ ด้ ฝึ ก แก้ ปั ญ หา ส่ ง เสริ ม กิจกรรมหลากหลายที่เด็กได้ลงมือทำ� ด้วยตนเอง (Leaning by Doing) ซึ่งมี กระบวนการ วางเป้าหมาย จัดลำ�ดับ ก่อนหลัง อดทน ช่างสังเกต และเรียนรู้ ขั้นตอน เมื่อเจอปัญหาให้คิดทางออก ใหม่ๆ และเมือ่ เสร็จแล้วควรประเมินผล ที่ได้ว่าดีพอหรือไม่ 10. ให้ก�ำ ลังใจเด็กๆ เสมอเมือ่ ทำ� สิ่งต่างๆ ได้สำ�เร็จ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง เล็กหรือใหญ่ก็ตาม

หรือ EF ที่ถูกต้อง

1.สร้ า งกิ จ วั ต รประจำ � วั น ที่ เ ป็ น แบบอย่างพฤติกรรมทางบวก เช่น การสร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ ส นั บ สนุ น ต่อการเจริญเติบโตทีด่ ี บนความสัมพันธ์ ที่ไว้วางใจกัน

2.เน้ น ความสำ � คั ญ และฝึ ก ฝน 5 ด้าน อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะโดย

พ่อแม่ ครู หรือโรงเรียน คือ • การสร้างพื้นฐานอารมณ์ • ส่งเสริมประสาทและการเคลือ่ นไหว • การเรียนรู้ตัวเอง • การเรียนรู้ผู้อื่น • การส่งเสริมกระบวนการรู้คิดเพิ่ม ศักยภาพสติปัญญาและการคิดวิเคราะห์ 3.การสร้ า งวิ นั ย ให้ เ ด็ ก ในชี วิ ต ประจำ�วัน ให้รู้จักรอคอย ให้รู้จักการ เข้าคิว 4. ฝึกเด็กให้รู้จักควบคุมอารมณ์ ตัวเอง และสามารถแสดงออกได้อย่าง เหมาะสม 9


Chapter 2 >>

กับบทบาทในการพัฒนา EF

พ่อแม่นน้ั มีหน้าที่โดยตรงทีจ่ ะส่งเสริม สนับสนุน ให้ลกู เกิดการเรียนรู้ ทักษะ EF ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะจุดเริ่มต้นของการพัฒนาสมอง จากโภชนาการที่ดี เช่นอาหารปลอดภัยและครบ 5 หมู่ นมที่มีคุณภาพ ควรส่งเสริมให้ลูกดื่มนมทุกวัน และไม่ละเลยที่จะทำ�กิจกรรมกับลูกเสมอ ไม่วา่ จะในบ้านหรือนอกบ้าน

10


Chapter 2 >>

พ่ อ แม่ ยุ ค ใหม่ นั้ น ต้ อ งส่ ง เสริ ม อุ ป นิ สั ย ของเด็ ก ให้ ส ามารถจั ด การ อารมณ์ ต นเองได้ เป็ น แบบอย่ า ง ที่ ดี สำ�หรั บ เด็ ก พ่ อ แม่ คื อ ตั ว อย่ า ง แห่งการเลียนแบบของลูก เป็นแรง กระตุ้ น ที่ ท รงพลั ง ที่ สุ ด หากพ่ อ แม่ ใส่ ใจที่จะสร้างพฤติกรรมเชิงบวกให้ เกิดขึ้นในบ้าน จะทำ�ให้เด็กๆ สามารถ มีทักษะ EF ได้โดยไม่ยากเลย ในทาง กลับกัน หากพ่อแม่เองทอดทิ้งเด็ก ไม่ ใส่ ใจฝึกฝนทักษะใดๆ ไม่เพียงแต่ ทักษะจะไม่เพิ่มพูนแล้ว ยังจะลดทอน ความสามารถอื่นๆ ของเด็กให้ลดลง อีกด้วย

กิ จ กรรมที่ พ่ อ แม่ ส ามารถมี ส่ ว น ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะ EF แก่ ลู ก ได้ ดี และทำ�ได้ ใ นครอบครั ว ยกตั ว อย่ า ง เช่น กิจกรรมการฝึกสมาธิ การเดิน จงกลม การออกกำ�ลังกาย การเต้น แอโรบิก การเล่นดนตรี การอ่านนิทาน หรือหนังสืออืน่ ๆ การเล่นประกอบเพลง หรือเกมง่ายๆ เช่น การให้เด็กลองทำ� สิง่ ทีต่ รงข้ามกับคำ�สั่ง เช่น ถ้าให้เด็ก จับหัว เด็กต้องจับที่เท้าแทน แต่ถ้า บอกให้เด็กจับที่เท้า ก็บอกเด็กจับหัว เป็ น ต้ น การใช้ คำ�สั่ ง หลอกล่ อ เป็ น กลวิธีหลอกให้เด็กสับสน แต่หากเด็ก ตั้งใจฟังมากพอจะสามารถยับยั้งตัว เองไม่ให้ทำ�ตามคำ�สั่งหลอกได้

11


Chapter 2 >>

กับงานวิจัยสำ�คัญ

สำ�หรับเด็ก

การออกกำ�ลังกายเป็นกิจกรรมที่ มี ป ระโยชน์ ต่ อ สุ ข ภาพกายและจิ ต ซึง่ ช่วยให้อารมณ์ดขี นึ้ มีสมรรถนะของ การรู้ คิ ด ซึ่ ง รวมถึ ง ความจำ� สมาธิ การรั บ รู้ ที่ ทำ�ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมการ แสดงออก รวมถึงการทำ�งานของสมอง ระดั บ สู ง (Executive Functions) ได้ดีขึ้น กลุ่ ม วิ จั ย และพั ฒ นาทางแพทย์ ท าง

ปั จ จุ บัน มี ง านวิ จัย มากมาย ทั้ ง ในระดั บ ประเทศและระดั บ สากลโลก ทีช่ ว่ ยสนับสนุนแนวคิด ในเรื่อง Executive Functions หรือ EF อย่างเห็นความสำ�คัญ และเป็นความหวังช่วยให้สังคม ไทยได้รับการแก้ ไขได้ ในอนาคต อย่างจริงจัง

เลือกแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Integrative Complementary Alternative Medicine) 12


Chapter 2 >>

จากความบกพร่ อ งของ EF เป็นสาเหตุหนึ่งของการติดสารเสพติด ในการวิจัยนี้ ได้ถ่ายภาพสมองที่มี อาการ แล้วพบความบกพร่องของสมอง ส่วนหน้าในผู้ที่ติดยาเสพติด ซึ่งความ บกพร่ อ งของสมองส่ ว นหน้ า นี้ ทำ�ให้ ไม่ ส ามารถยั บ ยั้ ง ความคิ ด และการ กระทำ�ที่เกี่ยวข้องกับทุกขั้นตอนของ ยาเสพติ ด ได้ ตั้ ง แต่ ก ารเข้ า ไปอยู่ ในสถานการณ์เสี่ยง การทดลองใช้ยา รศ.ดร.นวลจั น ทร์ จุ ฑ าภั ก ดี กุ ล

เด็ ก ที่ เ ล่ น ดนตรี มี ก ารทำ�งาน

ประสานระหว่ า งมื อ และตาได้ ดี มีความคล่องทางภาษาได้ดีกว่า โดย สามารถลากเส้ น เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง วงกลมกั บ ตั ว เลขสลั บ กั น ได้ ดี ทั้ ง ยังคิดคำ�ศัพท์แยกตามประเภท การ วาดรู ป สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละรู ป ทรงต่ า งๆ การจำ�ตัวเลขได้ดี แม้จะยังต้องการ ผลการวิ จั ย แบบระยะยาวมารองรั บ แต่ ก็ ป ระเมิ น เบื้ อ งต้ น ได้ ว่ า ดนตรี เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้ EF พัฒนาขึ้น ได้ด้วย จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นั กวิ จั ย จ า ก

ผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน EF ของไทย จากศูนย์วจิ ยั ประสาทวิ ทยาศาสตร์ สถาบั น ชี ววิ ท ยา ศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

Laboratories of Cognitive Neuroscience จาก Boston Children’s Hospital ในรัฐ Massachusetts ประเทศ สหรัฐอเมริกา 13


Chapter 2 >>

กับการปฏิรูปการศึกษา

อย่างที่เรากำ�ลังนึกห่วงถึงโลกในศตวรรษที่ 21 ว่า จะเต็มไปด้วย ความซับซ้อน เปลี่ยนแปลงรวดเร็วและมีปัญหารอบด้าน และหนทาง ที่จะแก้ปัญหาได้คือการทำ�ให้เด็กมีทักษะ EF ที่ดีมากพอที่จะช่วยกัน สร้างสังคมคุณภาพในภายภาคหน้า จดแล้วท่อง ท่องแล้วจำ� จำ�แล้วสอบ สอบแล้วลืม อนุบาลก็เน้นแต่เร่งเรียน เขี ย นอ่ า นเพื่ อ สอบเข้ า ป.1 หาก เป็ น แบบนี้ ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ ความหวัง ที่เด็กไทยจะช่วยทำ�ให้สังคมมีคุณภาพ ขึ้นก็คงยิ่งริบหรี่ลง การศึ ก ษาไทยจำ�เป็ น ต้ อ งปฏิ รู ป และต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นกระบวนการ เรียนการสอนอย่างจริงจัง เด็กอนุบาล ควรได้ รั บ การเรี ย นรู้ แ บบ Active Learning โดยการเล่นและลงมือทำ�

จึงเกิดคำ�ถามที่ว่า การเรียนการ สอนของไทยในปั จ จุ บั น นั้ น สามารถ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งทั ก ษะ EF ได้ ม าก น้อยแค่ไหน ระบบการเรียนการสอน ของไทย สร้างให้นักเรียนเป็นอย่างไร ในปัจจุบัน และสามารถนำ�พาเด็กไทย ไปสู่ศตวรรษที่ 21 ได้ดีหรือไม่ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการศึ ก ษาได้ มี คำ�แนะนำ�ที่ ค วรนำ�ไปครุ่ น คิ ด ใน ทุกภาคส่วนที่ว่า หากการศึกษาของ ไทยยั ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง เน้ น แต่ IQ 14


Chapter 2 >> ได้เรียนรู้ผ่านการทำ�โครงการที่ช่วย ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะการคิ ด ให้ เ ด็ ก เช่ น เป็น Problem Based Learning หรือ Project Based Learning การนำ� EF ไปใช้ ใ นการเพิ่ ม บทเรี ย นหรื อ ทฤษฏี ใ หม่ ไม่ จำ�เป็ น ต้ อ งมี อุ ป กรณ์ ร าคาแพง แต่ ต้ อ ง ทำ�ความเข้าใจกับหลักการเพื่อพัฒนา ทักษะ EF โดยสังเกตว่าเด็กแต่ละคน มี จุ ด แข็ ง และจุ ด อ่ อ นด้ า นใด แล้ ว ฝึ ก ฝนเสริ ม สร้ า งในด้ า นนั้ น ผ่ า น ประสบการณ์จริง นอกจากนี้ แนวทางการเรียนการ สอนแก่เด็กในศตวรรษที่ 21 จะมุ่งเน้น การหนุนหลังให้เยาวชนสามารถที่จะ ออกไปดำ�รงชีวิตในโลกอย่างมีทักษะ ที่ ดี มี การพั ฒ นาวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละกรอบ ความคิ ด เพื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ สำ�คั ญ โดยเฉพาะทั ก ษะการเรี ย นรู้ แ ละ นวัตกรรมหรือ 3R และ 4C ซึ่งมีองค์ ประกอบได้แก่ 3 R ได้แก่ การอ่าน (Reading), การเขียน (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, C o m m u n i c a t i o n - ก า ร สื่ อ ส า ร Collaboration-การร่ ว มมื อ และ Creativity ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง ทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่ อ และเทคโนโลยี และ การบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่

ที่สำ�คัญที่สุด แห่งการปฏิรูปการศึกษา ก็คือบทบาทของครู ซึ่งจะเป็นผู้ทำ�ให้เด็ก สามารถ "ลงมือทำ�" ได้เอง

ที่ สำ�คั ญ ที่ สุ ด แห่ ง การปฏิ รู ป การศึ ก ษาก็ คื อ บทบาทของครู ซึ่ ง จะเป็ น ผู้ ทำ�ให้ เ ด็ ก สามารถ "ลงมื อ ทำ�" ได้ เ อง ครู ต้ อ งเป็ น ผู้ ส ร้ า ง แรงจูงใจ (Motivation) และเป็นโค้ช (Coach) เป็ น ผู้ ฝึ ก ฝน (Trainer) เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ รู้ วิ ธี เ รี ย น หรื อ Learn How to Learn นั่นเอง แนวทางของครู แ ห่ ง ศตวรรษ ที่ 21 คื อ การออกแบบการสอน ทั้งทางวิชาการ ข้อมูล แหล่งความรู้ ปรั บ ปรุ ง เนื้ อ หาให้ ปั จ จุ บั น และตรง กั บ ความเป็ น จริ ง สร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ การเรี ย นที่ ดี มี การประเมิ น ตั ว เอง อยู่สม่ำ�เสมอ จึงจะช่วยให้การปฏิรูป การศึกษาเกิดขึ้นได้จริง 15


Chapter 2 >>

ตัวชี้วัดความสำ�เร็จ แห่งการพัฒนาเด็ก ด้วยทักษะ EF การเสริมสร้างทักษะการคิดเพือ่ ให้ชวี ติ สำ�เร็จ Executive Functions หรือ EF นัน้ แม้จะเป็นเรือ่ งใหม่ในสังคมไทย แต่ก็ไม่ได้ยากเกินไปนักทีจ่ ะทำ�ให้ เกิดขึน้ ได้จริง ด้วยกุญแจทีว่ า่ “ปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปครูผ้สู อน ปฏิรูปการดูแลเด็กทั้งในบ้านและ นอกบ้าน ตัง้ จุดมุง่ หมายใหม่ให้กบั การพัฒนาการเด็ก คือเพือ่ เป็นมนุษย์ท่ี สมบูรณ์ มากกว่าจะเป็นแค่คนเก่งเท่านัน้ ” การมีความสามารถในการบริหาร การจั ด การชี วิ ต นั้ น มี ค วามสำ�คั ญ ต่อมนุษย์เราทุกคน และยังช่วยทำ�ให้ สั ง คมมี คุ ณ ภาพขึ้ น ได้ การเป็ น คน ที่คิดเป็น ทำ�งานเป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่ กั บ คนที่ เ ป็ น ผู้ มุ่ ง มั่ น ในการทำ� สิ่งต่างๆ อย่างลุล่วง และมีความสุข คื อ คนที่ มั ก ประสบผลสำ�เร็ จ ไม่ ว่ า ในการเรี ย น ชี วิ ต ส่ ว นตั ว ชี วิ ต ครอบครัว หรือในการทำ�งานประกอบ

อาชีพก็ตาม หากเราได้ ป ฏิ รู ป การเรี ย นรู้ ของเด็กได้ดีแล้ว ทั้งในปัจจุบันและ อนาคต เราจะมีบุคลากรที่มีคุณภาพ และเป็ น ผู้ ป ระสบความสำ�เร็ จ ซึ่ ง คนเหล่ า นั้ น จะเป็ น คนที่ มี เ หตุ ผ ล คิ ด เป็ น ระบบ สามารถคิ ดวิ เ คราะห์ เรื่องราวได้ดี มีการพิจารณาไตร่ตรอง ทีด่ ี สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม รู้จักวางแผนก่อนลงมือทำ� เมื่อลงมือ 16


Chapter 2 >>

EF= Executive Functions คิดเป็น ทำ�เป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับผู้อื่นเป็น มีความสุขเป็น

สิ่ ง เร้ า ทางเพศฯ จิ ต ใจที่ เ ข้ ม แข็ ง จะสามารถเอาชนะไม่ ใ ห้ เ สพติ ด สิ่ ง เหล่านี้ได้ง่าย สามารถควบคุมตนเอง ได้ ยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจได้ ไม่ ต กเป็ น เหยื่ อ ของสถานการณ์ ใดๆ นี่คือตัวอย่างของผู้ประสบความ สำ�เร็ จ ในชี วิ ต คื อ ภาพของคนใน สังคมที่เราฝันเอาไว้ ทั้งในศตวรรษ นี้และศตวรรษหน้า และนี่คือผลจาก การพัฒนา EF ที่ทรงพลังนั่นเอง

ก็สามารถทำ�ได้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ไม่ สั บ สน หากทำ�ไปแล้ ว มี อุ ป สรรค ก็ ส ามารถแก้ ไ ขได้ หรื อ คิ ด ค้ น ทาง ออกใหม่ๆ ได้ทั้งยังสามารถจัดการ สัมพันธภาพได้ดี เพราะรู้จักควบคุม อารมณ์ ควบคุ ม พฤติ กรรมตนเอง จนเป็นที่ยอมรับของคนรอบตัว ใ น โ ล ก ที่ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย สิ่ ง ยั่ ว ยุ ไม่ ว่ า จะเป็ น การพนั น เกมส์ ที่ ไม่สร้างสรรค์ ยาเสพติด แอลกอฮอล์ 17


ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.