ModernMom Focus Vol.1 No.8 Chapter 1 September 2015

Page 1

Vol.1 No.8 / Chapter 1 September 2015

Chapter

1

อุ้มบุญ

ทางเลือกใหม่ ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน?



Vol.1 No.8 / Chapter 1 September 2015

Chapter 1 : อุ้มบุญ ทางเลือกใหม่ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน? Chapter 2 : มองรอบด้านก่อนเลือก “อุ้มบุญ”

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

สวัสดีค่ะคุณแม่ ModernMom ทุกท่าน

ModernMom Focus กับ Hot Issue เรื่องที่เราได้ยิน กันมาไม่นานนีเ้ อง คือเรือ่ งอุม้ บุญ จะว่าไปแล้วเรือ่ งนีเ้ ป็น เรือ่ งของคาดหวัง ความสวยงามของการเป็นครอบครัว... แต่ เ มื่ อ การอุ ้ ม บุ ญ กลั บ กลายเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ผิ ด กฎหมาย โดยใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายเข้ามาเอื้อผลประโยชน์ ชีวิต ของเด็กคนหนึ่งที่ก�ำลังจะเกิดมากลับกลายเป็นสินค้า และเป็ น เรื่ อ งที่ ถ กเถี ย งกั น ในสั ง คมว่ า แบบไหนผิ ด แบบไหนถูก ฉบับนี้จึงน�ำเสนอทุกมุมมองของเรื่องการ อุ้มบุญ ทั้ง 2 Chapter… Chapter 1 : อุ้มบุญทางเลือกใหม่ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน? ข่าว และสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่อง อุ้มบุญทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้เข้าใจถึ เรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ และพ.ร.บ.การตัง้ ครรภ์ทเี่ กีย่ วกับ การอุ้มบุญ Chapter 2 : มองรอบด้านก่อนเลือก “อุ้มบุญ” หาก ตัดสินใจเลือกอุม้ บุญ ต้องรูก้ ฎหมายและขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้อง และตัวอย่างครอบครัวคนดังที่เลือกมีลูกด้วยการอุ้มบุญ พบกับ 2 Chapter ที่จะท�ำให้เข้าใจเรื่องอุ้มบุญมาก ยิ่งขึ้น ModernMom Focus

เจ้าของ : กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี สร้างสรรค์ โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม่ บริษทั อาร์แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล์ : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล์ : rungladda@rlg.co.th


Chapter 1 >>

อุ้มบุญ

ทางเลือกใหม่ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน?

4


อุ้มบุญ คือ? ทางสว่างของคนมีบุตรยาก ที่จะมีลูกไว้สืบสกุล เต็มเติมฝัน ของอีกหลายครอบครัว ให้เป็นจริง ทางเลือกใหม่สำ�หรับคู่สมรสทางเลือก และกลุ่มที่มีความหลากหลายทางเพศ

การกระทำ� ที่ผิดต่อศีลธรรม อย่างร้ายแรง

ธุรกิจใหม่ ทีท่ �ำ รายได้มหาศาล รูปแบบหนึ่งของ กระบวนการค้ามนุษย์ นี่คือหลากหลายมุมมองความเห็นที่เรามักได้ยิน ได้เห็นตามสื่อต่างๆ ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา ในประเด็นการ “อุ้มบุญ” ที่ถือว่าสังคมกำ�ลังให้ความสนใจอย่างต่อเนื่อง เพราะธุรกิจการอุ้มบุญ กำ�ลังเติบโตอย่างไม่เคยมีมาก่อน อีกทัง้ ยังเป็นเรือ่ งใหม่ในสังคมไทย การอุม้ บุญจึงไม่ใช่ประเด็นพูดคุยแค่ เรือ่ งความก้าวหน้าทางการแพทย์เท่านัน้ แต่เชือ่ มโยงไปยังเรือ่ งจริยธรรมทางการแพทย์และวิถคี วามเชือ่ ของสังคมไทยอีกด้วย 5


การอุ้มบุญคืออะไร?

กระบวนการอุ้มบุญ มี 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ แม่อุ้มบุญจะมีความเกี่ยวโยง ทางพันธุกรรมกับลูกที่ออกมา

1.การอุ้มบุญแท้ Full (Surrogacy หรือ Traditional Surrogacy)

คือการนำ�น้ำ�เชื้อของผู้ชายและไข่ของหญิงรับอุ้มบุญ มาผสมกันภายนอก เช่นเดียวกับการทำ� เด็กหลอดแก้ว ทีเ่ รียกว่า IVF จากนัน้ ฉีดเข้าไปฝังตัวในมดลูกผูร้ บั ฝากครรภ์แทน กระทัง่ ครรภ์เจริญเติบโต ตามระยะเวลาเหมาะสม จึงทำ�การคลอด กรณีนี้ แม่อมุ้ บุญจะมีความเกีย่ วโยงทางพันธุกรรมกับลูกทีอ่ อกมา เพราะถือเป็นผู้บริจาคไข่ ให้ด้วย 6


การอุ้มบุญ หรือ Surrogacy คือ พัฒนาการทางการแพทย์ที่เพิ่มโอกาสให้หญิงที่มีบุตรยาก ช่วยให้ มีทายาทได้โดยการ "อาศัยมดลูกของผู้หญิงอื่นเพื่อตั้งครรภ์แทน” ด้วยเหตุผลที่ ไม่สามารถมีลูกได้เอง เช่น มีปัญหาเรื่องไม่มีมดลูก มี ไข่ที่ ไม่สมบูรณ์พอ มดลูกมีความผิดปกติที่ ไม่เหมาะสมให้มีตัวอ่อนทารก ได้ เจ็บป่วยร้ายแรงจนไม่สามารถมีบุตรได้ หรือเป็นโรคที่มีความเสี่ยงในการมีบุตร เป็นต้น

ทารกจะไม่มีความเกี่ยวข้อง ทางพันธุกรรมกับแม่อุ้มบุญเลย เป็นแค่การให้ยืมมดลูกเท่านั้น

2.อุ้มบุญเทียม (Patial Surrogacy หรือ Gestational Carrier)

คือการนำ�น้ำ�เชื้อและไข่จากคุณพ่อคุณแม่ที่แท้จริง แล้วผสมกันเรียบร้อยเข้าไปในตัวแม่อุ้มบุญ ทำ�หน้าที่เป็นผู้ตั้งครรภ์แทนจนกว่าทารกจะคลอด ดังนั้น ทารกจะไม่มีความเกี่ยวข้องทางพันธุกรรม กับแม่อุ้มบุญเลย เป็นแค่การให้ยืมมดลูกเท่านั้น ซึ่งแบบที่ 2 หรืออุ้มบุญเทียมนี้กำ�ลังเป็นที่นิยมมากกว่า แบบแรก เพราะผู้เป็นแม่มีการเชื่อมโยงกับลูกทางพันธุกรรมอย่างชัดเจน 7


การอุ้มบุญในประเทศไทย อุ้มบุญครั้งแรกในไทย เมื่อ 25 ปีก่อน

ประเทศไทยมีการอุม้ บุญเกิดขึน้ ครัง้ แรก จากการทำ�เด็กหลอดแก้ว

ได้ส�ำ เร็จรายแรกที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

ความสำ�เร็จในครั้งนั้น ได้ส่งผลให้ชื่อเสียงของวงการแพทย์ ไทยเป็นที่รู้จักว่า

ทำ�ได้ “สำ�เร็จ” และงดงาม จนนำ�พาวงการแพทย์ ไทยไปอยู่ ในจุดแถวหน้าของโลก ไม่เพียงแต่ชาวไทยเท่านัน้ ชาวต่างประเทศจำ�นวนมากพากันหลัง่ ไหลเข้ามาเพือ่ ขอ ใช้บริการอุ้มบุญจนมีชื่อเสียงกระจายไปทั่วโลก

เงินสะพัดในแวดวงการอุ้มบุญ

4,000 ล้านบาท และมีตัวเลขแม่อุ้มบุญมีประมาณ 6,000-8,000 รายต่อปี จากกรณีถึงปีละ

ด้วยความที่เมื่อ 25 ปีก่อน ยังไม่มีข้อ กฎหมายใดๆ มาเกีย่ วข้องกับการตัง้ ครรภ์ แทน ทำ�ให้ประเทศไทย ได้ชอื่ ว่าเป็นประเทศ เสรี ในการตั้งครรภ์แทนไปโดยปริยาย $$

$

$$

$

$

$

$

$

$

$$

$

$

$

$$

$

$

$

$

$

$

$

$ $

$

$

$

$

$

$

$$

$

$

$

$

$

$$

$

$

$$

$

$

พ.ศ.2540 เริ่มมีระเบียบของแพทยสภา มาควบคุมการอุ้มบุญ คือ...

ระบุแบบกว้างๆ ถึงแนวทางการใช้เทคโนโลยีการ

เจริ ญ พั น ธุ์ ใ นประเทศไทยว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งจริ ย ธรรม จน กระทั่งได้มีการตรวจพบว่ามีการใช้เทคโนโลยี ในทางที่ผิด คือ ทำ�เพื่อการค้าและผิดกฎหมาย

พ.ศ.2545 จึงได้มีการแก้ ไขเพิ่มเติม ข้อบังคับที่ว่า “ไม่ ให้มีการว่าจ้าง ซื้อ ขาย เซลล์ สื บ พั น ธุ์ อุ้ ม บุ ญ และต้ อ งเป็ น ไปเพื่ อ การช่วยเหลือผู้มีบุตรยากเท่านั้น ผู้ที่จะมารับ อุ้มบุญต้องเป็นญาติ โดยสายเลือด แต่ต้อง ไม่ ใช่บุพการี” แต่ ถึ ง แม้ ป ระกาศของแพทยสภาจะมี ข้ อ กำ � หนด

ชั ด เจนถึ ง ข้ อ บั ง คั บ ในการอุ้ ม บุ ญ แต่ ใ นเวลาต่ อ มา กลั บ พบว่ า เป็ น ข้ อ กฎหมายที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ เ ฉพาะ แพทย์ แ ละสถานพยาบาลเท่ า นั้ น บทลงโทษจึ ง เน้ น ไปที่ โ ทษทางวิ ช าชี พ ของแพทย์ และเป็ น โทษอย่ า งต่ำ � เช่น การว่ากล่าวตักเตือน การภาคทัณฑ์ ยกเลิกหรือ เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ในขณะที่ ช่องโหว่กฎหมายยังคงเปิดโอกาสให้ธุรกิจการอุ้มบุญ เจริญเติบโตขึ้นทุกขณะ และไม่มีทีท่าว่าจะลดความนิยม ลงแต่อย่างใด

8


Chapter 1 >>

เมื่อประเทศไทยเริ่มเป็นศูนย์กลางการอุ้มบุญของเอเชีย จึงมีชาวต่างชาติหลั่งไหลกันเข้ามาเพื่อใช้บริการ อย่างคับคั่ง โดยไม่มีกฎหมายเอาผิดบุคคลได้ ทั้งยังมีกลุ่มนายหน้าจัดหาบริการและหาผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น ทุกขณะกรณีศึกษา และปัญหาการอุ้มบุญในประเทศไทย ในขณะทีก่ ฎหมายการอุม้ บุญในประเทศไทยยังไม่ชดั เจนนัก เหมือนประเทศอืน่ ๆ ธุรกิจการอุม้ บุญก็แพร่หลาย และเจริญก้าวหน้าอยู่อย่างเงียบๆ ทั้งแบบถูกกฎหมายมีการลงทะเบียน และแบบลักลอบไม่ลงทะเบียน กระทั่ง ใน ปี พ.ศ.2557 ได้เกิดกรณีของ “น้องแกมมี”่ ซึง่ ทำ�ให้วงการอุม้ บุญสัน่ สะเทือน และตามมาอีกหลายกรณีทผี่ ลักดัน ให้การอุ้มบุญกลายเป็นข้อถกเถียงทั้งทางกฎหมายและจริยธรรมมากขึ้น กรณีนอ้ งแกมมี่ เมือ่ ผลลัพธ์ ไม่เป็นไปตามทีต่ อ้ งการ

น้องแกมมี่ คือชือ่ ของ 1 ในเด็กฝาแฝด ซึง่ เกิด จากการผสมเทียมระหว่างคู่สามีชาวออสเตรเลีย และภรรยาชาวจีน โดยจ้างหญิงชาวไทยวัย 21 ปี ชือ่ น.ส.ภัทรมล จันทร์บวั ให้อมุ้ บุญให้ โดยมีคลินคิ เฉพาะทางเอกชนชื่อ S.A.R.T ย่านถนนเพชรบุรี ตัดใหม่ เป็นผู้ดำ�เนินการให้ ภัทรมล หรือแม่อุ้มบุญ นั้นได้รับการติดต่อ จากนายหน้า ที่ต้องการหาแม่อุ้มบุญโดยแลกกับ ค่าใช้จ่าย และทำ�การตกลงดำ�เนินการตั้งครรภ์ 9 เดือนตามสัญญา กระทัง่ เมือ่ คลอดเด็กออกมาเป็น ฝาแฝดที่มีความผิดปกติ 1 ราย นั่นคือน้องแกมมี่ คือมีภาวะดาวน์ซินโดรม แต่พ่อแม่เด็กกลับนำ� เฉพาะเด็กที่ปกติดีกลับไปยังประเทศออสเตรเลีย น้องแกมมี่จึงถูกทอดทิ้งให้แม่อุ้มบุญเป็นผู้ดูแล โดยหลอกให้เซ็นเอกสารรับรองเด็กเพียง 1 คน

Credit : Thai PBS News

เท่านั้น จึงต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายจำ�นวนมาก ในการเลี้ยงดูน้องแกมมี่แทน กรณีของน้องแกมมี่ เป็นผลจากการทำ�ธุรกิจ รับจ้างอุ้มบุญที่ขัดต่อกฎของแพทยสภาซึ่งไม่ใช่ การอุ้มบุญให้แก่ญาติ พ่อแม่ของเด็กซึง่ ขาดความ รับผิดชอบและไม่มจี ริยธรรมใช้ชอ่ งโหว่กฎหมายนี้ ทอดทิ้งเด็กไว้จนกลายเป็นภาระในที่สุด สำ�หรับแพทย์ที่ดำ�เนินการจะมีความผิดฐาน กระทำ�ผิดข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยมาตรฐานให้ บริการอุ้มบุญแก่หญิงที่ไม่ใช่ญาติโดยตรงของคู่ สมรสและมีการจ่ายค่าตอบแทน 9


Chapter 1 >>

Credit : Thai PBS News

Credit : Thai PBS News

กรณีทารก 9 รายจากพ่อชาวญี่ปุ่น

กรณีน้องคาร์เมน เด็กที่แม่อุ้มบุญไม่ยอมยกลูกให้ พ่อแม่

ราวๆ เดือนสิงหาคม 2557 มีการตรวจพบชาย ชาวญี่ปุ่นวัย 24 ปี นายมิตสึโตกิ ชิเกตะ มีลักษณะ ต้องสงสัยที่เชื่อมโยงเข้ากับกระบวนการค้ามนุษย์ เพราะมีการเดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อจ้าง หญิงไทย 3 คน ให้ทำ�การอุ้มบุญ โดยหญิงคนแรก ได้คลอดลูกแก่นายมิตสึโตกิ จำ�นวน 2 คน ต่อมา ในปี 2013 หญิงคนที่สองอุ้มบุญคลอดลูกให้อีก 2 คน และในปี 2004 หญิงอุม้ บุญคนที่ 3 ได้คลอดลูก แก่นายมิตสึโตกิอีก 3 คน เป็นฝาแฝด 1 คู่ รวม ทั้งหมดเป็นทารก 9 ราย พฤติกรรมของนายมิตสึโตกิ นำ�ไปสูก่ ารสืบสวน เพือ่ ตามหาว่าเป็นการอุม้ บุญไปเพือ่ จุดประสงค์ใด กระทัง่ พบข้อเท็จจริงทีว่ า่ เขาเป็นผูด้ ำ�เนินการธุรกิจ อุ้มบุญระหว่างประเทศ โดยมีขั้นตอนคือ 1.หาลูกค้าชาวญี่ปุ่นที่ต้องการมีลูก 2.สรรหาแม่อุ้มบุญ 3.ทำ�การผลิ ต เด็ ก หลอดแก้ ว และตั้ ง ครรภ์ กระทั่งเด็กคลอด แล้วนำ�ไปส่งให้กับผู้ว่าจ้างเพื่อ รับค่าจ้างในราคาแพง กรณีนี้ถือว่ามีความผิดชัดเจนในข้อกฎหมาย การค้ามนุษย์และข้อบังคับแพทยสภา โดยกอง บัญชาการตำ�รวจนครบาลของไทยได้ออกหมายจับ นายมิตสึโตกิ ข้อหาทำ�ผิดกฎหมาย และยังค้นพบ ว่าใช้เอกสารปลอม แจ้งความเท็จว่าเป็นบิดาของ เด็กอีกด้วย

ในเดือนกรกฎาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา เกิดกรณี ที่ คุ ณ ออย แม่ อุ้ ม บุ ญ รายหนึ่ ง ซึ่ ง ได้ ทำ�สั ญ ญา ว่าจ้างตั้งครรภ์แทนแก่คู่สมรสที่เป็นชายรักชาย ชาวอเมริกัน ได้ลุกขึ้นมาเปิดเผยต่อสื่อมวลชน ถึงความต้องการขอรับเด็กคืน เนื่องจากพบความ ผิดปกติบางอย่างเกีย่ วกับพ่อแม่เด็ก "ออย" หรือแม่อมุ้ บุญ เล่าว่าเดิมทีได้ตดั สินใจ รับจ้างอุ้มบุญให้ค่สู มรสชาวเกย์ในราคา 400,000 บาท ด้วยความเห็นใจทีค่ สู่ มรสไม่สามารถมีบตุ รได้ แต่ตอ่ มาระหว่างการตัง้ ครรภ์ตลอด 9 เดือน รวม ถึงการได้ปฏิสมั พันธ์กบั คูส่ มรสทัง้ สองคนแล้วจึงเกิด ความคลางแคลงใจว่า ตนกำ�ลังตกเป็นเครือ่ งมือของ กระบวนการค้ามนุษย์ โดยอ้างว่าคูส่ มรสไม่เคยไปมา หาสูก่ บั ผูอ้ มุ้ บุญ และไม่มพี ฤติกรรมแบบคนทีอ่ ยากมี ลูก จึงขอรับเลีย้ งดูเด็กแทน และยืน่ ข้อเสนอคืนเงิน ค่าจ้างทัง้ หมดให้ โดยตัดสินใจทีจ่ ะไม่เซ็นรับรองบุตร ให้แต่อย่างใด หลังจากสือ่ มวลชนได้ตดิ ต่อไปยังคูส่ มรสชาวเกย์ เบื้องต้นทั้งคู่ยืนยันว่าบริสุทธิ์ใจและต้องการเลี้ยงดู เด็กเป็นลูกจริงๆ โดยปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการค้ามนุษย์ อีกทัง้ โต้กลับเรียกร้องทีจ่ ะ ขอเด็กไปเลีย้ งตามข้อตกลงเดิม โดยมีความเห็นว่า เกิดจากการเปลีย่ นใจทีเ่ ห็นพวกเขาเป็นชาวเกย์ และ มีทศั นติคดิ ว่าเกย์ไม่สามารถเลีย้ งดูเด็กให้ดไี ด้ 10


Chapter 1 >> อย่างไรก็ตาม ได้มกี ารถกเถียงมากขึน้ ในวงกว้าง ถึงกรณีของน้องคาเมน สำ�หรับในข้อกฎหมายแล้ว การอุม้ บุญนีเ้ ป็นกรณีท่ไี ม่มกี ฎหมายรับรอง เพราะ ไม่ใช่ญาติและมีการว่าจ้างเป็นเงิน ซึง่ ขัดต่อกฎของ แพทยสภา และตามกฎหมายไทยยังไม่ได้คมุ้ ครอง เจ้าของเซลล์ ให้ถือเป็นบิดามารดา แต่ตีความให้ มารดาคือผู้อุ้มท้องเท่านั้น แต่อาจมีข้อยกเว้น ทีจ่ ะไม่ดำ�เนินคดีตามกฎหมาย ด้วยเงือ่ นไขเป็นการ อุม้ บุญเพือ่ มนุษยธรรมของผูม้ บี ตุ รไม่ได้ โดยขณะนี้ ยังเป็นเรื่องราวที่คู่สมรสได้จัดแคมเปญรณรงค์ ให้สามารถพาคาร์เมนกลับประเทศได้ ในขณะที่ แม่อมุ้ บุญยังยืนกรานทีจ่ ะไม่ยกลูกให้

สู่การแก้ไขกฎหมายซึ่งกำ�ลังมีการร่างเพื่อเสนอ ผ่านสภานิตบิ ญั ญัตแห่งชาติ​ิ (สนช.) โดยมีประเด็น การแก้ไขกฎหมายที่สำ�คัญ 2 ประเด็นใหญ่ๆ คือ 1. นำ�เสนอกฎหมายให้เอาโทษแก่การอุ้มบุญ ที่ไม่ปฏิบัติไปตามหลักการแพทยสภา โดยลงโทษ ทั้งแพทย์ นายหน้า ผู้ว่าจ้าง ทั้งหมด 2. แก้ ไ ขกฎหมายให้ ส ตรี ที่ เ ป็ น เจ้ า ของไข่ ได้ สิ ท ธิ์ เ ป็ น บิ ด ามารดาที่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย จากเดิมที่ตีความว่าผู้อุ้มท้องเท่านั้นที่จะได้สิทธิ์ ของการเป็นมารดาตามกฎหมายแพ่ง มาตรา 15 หมายถึง กฎหมายเดิมใครอุม้ ท้องคนนัน้ คือแม่ ไม่ ว่าตัวอ่อนเกิดจากเซลล์ผู้ใดก็ตาม เพื่อให้เจ้าของ เซลล์ทผี่ า่ นกระบวนการถูกต้องมาสิทธิ์ในตัวทารก นอกจากนี้ จะมีการเพิ่มเติมรายละเอียดเพื่อ การคุ้ ม ครองเด็ ก มากขึ้ น ได้ แ ก่ "ระหว่ า งการ ตั้งครรภ์ ผู้อุ้มบุญที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น คลอด ก่อนกำ�หนด เด็กป่วย หรือไม่สบายต้องรักษา ผูเ้ ป็นบิดามารดา หรือเจ้าของไข่และอสุจิ ต้องร่วม รับผิดชอบ จ่ายค่ารักษาพยาบาล ทัง้ ผูอ้ มุ้ ท้องและ บุตรที่จะเกิด จะเลือกดูแลแค่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ไม่ได้" หากย้อนไปอ่านกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณีจะพบ ว่าการแก้ไขกฎหมายครั้งนี้ได้เป็นไปเพื่อให้ความ คุ้มครองกับผู้หญิงผู้รับอุ้มบุญ เพื่อมิให้ตกอยู่ใน กระบวนการค้ามนุษย์ คุ้มครองเด็กที่จะเกิดมา และคุ้มครองเจ้าของเซลล์ ไปพร้อมๆ กัน

เมื่อกรณีศึกษา น�ำพาขยายผล แก้กฎหมายและ ไล่ล่าค้ามนุษย์ จากทั้ง 3 กรณีตัวอย่างที่ยกมา เป็นจุดเปลี่ยน

ส�ำคัญของประเทศไทย ที่ผลักดันให้มีสอบสวน ธุรกิจการอุ้มบุญครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ โดย เข้าตรวจค้นสถานบริการพยาบาล คลินิก จ�ำนวน ไม่น้อยในประเทศไทย และพบว่ามีธุรกิจมืดที่ท�ำ รายได้แก่ประเทศจ�ำนวนนับหมื่นล้านบาท ธุ ร กิ จ มื ด ที่ ก ล่ า วมานั้ น ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ การ ค้าขายตัวอ่อนอย่างผิดกฎหมาย โดยเกิดจากแม่ อุ้มบุญเถื่อนที่มีทั้งหญิงชาวไทย และชาวต่างด้าว ทั้งโดยสมัครใจและวิธีการบังคับ โดยมีการตรวจ พบสถานที่บางแห่งที่เต็มไปด้วยผู้หญิงตั้งครรภ์ จำ�นวนหลายสิบราย อาศัยแออัดยัดเยียด และถูก บังคับให้ตั้งครรภ์เพื่อขายทารกโดยไม่ได้สมัครใจ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ ประเทศไทยได้มีการ การทบทวนกฎหมายอุ้มบุญครั้งใหม่ และนำ�ไป

Credit : ไทยรัฐ TV

11


สาระสำ�คัญของ ร่าง พ.ร.บ.การตั้งครรภ์ สาระสำ�คัญของ ร่าง พ.ร.บ.การตัง้ ครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ ยการเจริญพันธุท์ างการแพทย์ มีหลักการสำ�คัญดังนี้

สามีภรรยาที่ต้องการมีบุตร

โดยให้ หญิงอื่นซึ่งมิ ใช่ภรรยา ตั้งครรภ์แทน ต้องเป็นสามีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมาย

หญิงที่รับตั้งครรภ์แทน จะต้องเป็นญาติ

กับคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ต้องมิใช่ผู้บุพการี หรือผู้สืบสันดานของคู่สมรสนั้น

หญิงที่รับตั้งครรภ์แทน

จะต้องเป็นหญิงที่เคยมีบุตรมาก่อนแล้วเท่านั้น • ถ้าหญิงนัน้ มีสามี จะต้องได้รบั ความยินยอมจากสามีของหญิงทีม่ ารับ ตั้งครรภ์แทนนั้นด้วย

• แต่ ในกรณี ไม่เข้าหลักเกณฑ์ ให้ผู้ประสงค์จะให้มีการตั้งครรภ์แทน

เสนอเรื่องขออนุญาตต่อ "คณะกรรมการควบคุมการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุท์ างการแพทย์" หากคณะกรรมการฯ พิจารณาเห็นสมควร จะอนุญาตเป็นการเฉพาะรายก็ ได้ คำ�สั่งของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด

ห้ามมิ ให้ผู้ใดกระทำ�การเป็นคนกลาง นายหน้า

โดยเรียกรับหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ในลักษณะที่เป็นการค้าหรือหากำ�ไรเพื่อตอบแทนในการ จัดการ หรือชี้ช่องให้มีการรับตั้งครรภ์แทน

ห้ามมิ ให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม

กระทำ�การด้วยวิธีเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เพื่อให้หญิงใดตั้งครรภ์ โดยรู้หรือมีเหตุควรรู้ว่าหญิงนั้นรับตั้งครรภ์ แทนผู้อื่นเพื่อความประสงค์แห่งการค้า 12


ต้องรู้!!ก่อนตัดสินใจเลือกใช้บริการอุ้มบุญ ในกรณีเด็กทีเ่ กิดโดยการผสมเทียม

หรือโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการ เจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ซึ่งใช้เซลล์

สื บ พั น ธุ์ จ ากผู้ บ ริ จ าคเพื่ อ การปฏิ ส นธิ ให้ ห ญิ ง ที่เ ป็ น

ผู้ต้ังครรภ์เป็นมารดาโดยชอบด้วยกฎหมายของ เด็ ก นั้ น และให้ ส ามี โ ดยชอบด้ ว ยกฎหมายของหญิ ง

ผู้ ตั้ ง ครรภ์ ซึ่ ง ได้ ใ ห้ ค วามยิ น ยอมให้ มี ก ารตั้ ง ครรภ์ นั้ น เป็นบิดาโดยชอบด้วยกฎหมายของเด็กนั้น ชายหรือหญิงทีเ่ ป็นเจ้าของเซลล์สบื พันธุท์ นี่ �ำ มาใช้ปฏิสนธิ เป็นตัวอ่อนเพื่อการตั้งครรภ์ ไม่มีสิทธิ ใดๆ ในตัวเด็ก

ในกรณีทเ่ี ด็กได้รบั การอุปการะเลีย้ งดู โดยมิชอบ หรือตกอยู่ในสภาวะยาก ลำ�บาก ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก

ให้ผรู้ บั ตัง้ ครรภ์แทนมีอ�ำ นาจฟ้องหรือร้องขอเกีย่ วกับอำ�นาจ ปกครองเด็กที่เกิดจากการรับตั้งครรภ์แทนได้ โดยให้ศาล คำ�นึกถึงความผาสุกและประโยชน์ของเด็กนั้นเป็นสำ�คัญ

ในกรณีท่เี กิดข้อพิพาทในการเกี่ยงกันซึ่ง หน้าที่ในการอุปการะเลีย้ งดูเด็ก ระหว่างสามีภรรยา

ที่ประสงค์ ให้มีการตั้งครรภ์แทนกับหญิงที่เป็นผู้รับตั้งครรภ์ แทน ให้ทงั้ สองฝ่ายมีหน้าที่ ในการอุปการะเลีย้ งดูเด็กร่วมกัน ทั้งนี้หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งปฏิเสธไม่ยอมร่วมอุปการะเลี้ยงดู ให้อีกฝ่ายหนึ่งร้องขอต่อศาลเพื่อมีคำ�สั่งให้ฝ่ายที่ปฏิเสธ ไม่ยอมร่วมกันอุปการะเลีย้ งดูเด็ก ร่วมอุปการะเลีย้ งดูเด็กได้

ในกรณีเด็กทีเ่ กิดจากการตัง้ ครรภ์แทน

ไม่ว่าจะใช้เซลล์สืบพันธุ์ของสามีภรรยาที่ประสงค์ จะให้มกี ารตัง้ ครรภ์แทน หรือบุคคลอืน่ ก็ตาม ให้สามีภรรยา

ซึง่ ประสงค์ ให้มกี ารตัง้ ครรภ์แทนเป็นบิดามารดาโดย ชอบด้วยกฎหมายของเด็กนัน้

แต่ต้องให้โอกาสเด็กได้รับน้ำ�นมจากหญิงผู้รับตั้งครรภ์ แทนเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามเดือน

พ.ร.บ. 'อุม้ บุญ' ตัง้ ครรภ์แทนโดยชอบด้วยกฏหมายในประเทศไทย ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การตัง้ ครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ ยการเจริญพันธุท์ างการแพทย์ โดยเจ้าของ ร่างกฎหมายดังกล่าว คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ มีความคืบหน้าไปมาก เนื่องจากทาง พม.ได้เสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) และ ครม.ได้อนุมัติหลักการ แล้วส่ง ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา ขั้นตอนต่อไปคือเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 13


Chapter 1 >>

นานาทัศนะเรื่องอุ้มบุญ

ถึงแม้ประเทศไทยจะมีทางเลือกในการอุ้มบุญมากกว่าอีกหลายๆ ประเทศในเอเชีย แต่จากกรณีศึกษา ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงปัญหามากมายที่ซ้อนอยู่ในกระบวนการอุ้มบุญ ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อเรือ่ งบาปบุญ คุณโทษตามแบบคนไทยที่ถือว่าการนำ�เอาชีวิตน้อยๆ ของทารกไปสู่การซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนด้วยเงิน นั้นถือว่าเป็นบาป การให้ผู้อื่นอุ้มท้องแทนถือว่าตนไม่ใช่แม่ที่แท้จริง สำ�หรั บ มุ ม มองในแง่ ข องสิ ท ธิ มนุษยชนนั้น จากงานสัมมนาเรื่อง "กฎหมายอุม้ บุญ : เทคโนโลยีชว่ ยการ เจริญพันธุก์ บั ความเป็นธรรมทางเพศ" ซึ่ ง จั ด โดยสำ�นั ก งานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) นั้น ตั ว แทนจากสถาบั นวิ จั ย ประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิ กุ ล ได้ ใ ห้ ความเห็นว่า “ควรมีกฎหมายที่คิดถึง ผู้หญิงตั้งครรภ์เป็นหลัก เพราะได้รับ ผลกระทบโดยตรง จากตัวเลขแต่ละปี ทีม่ ผี อู้ มุ้ บุญนับหมืน่ คน ไม่ได้เปิดเผย ถึ ง สุ ข ภาพและความสำ�เร็ จ ของแม่ อุม้ บุญ ซึง่ พบว่าสถิตทิ ท่ี ำ�สำ�เร็จอยูร่ าว 50% จึงควรมีหน่วยงานทีด่ แู ลคุม้ ครอง ผูห้ ญิงอุม้ บุญอย่างเหมาะสมด้วย” สำ�หรับ อ.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ความเห็นว่า “การตัดสินใจตัง้ ครรภ์ และอุ้มท้องด้วยการอุ้มบุญยังมีความ เหลื่ อ มล้ำ� ทางเศรษฐกิ จ มาเป็ น ตั ว กำ�หนดผู้ว่าจ้างและผู้ตั้งครรภ์ นำ�มา ซึ่งความไม่เป็นธรรมในการว่าจ้างได้ เช่นกัน”

ส่วนในมุมของสูตินรีแพทย์อย่าง ศ.นพ.สุพร เกิดสว่าง เห็นว่า “การแก้ไขเรื่องมีบุตรยากนั้นหากทำ�ได้ควรทำ� แต่การ อุม้ บุญมีคา่ ใช้จา่ ยหลายเรือ่ ง ทัง้ การให้คำ�ปรึกษา การดูแลรักษา ตัวอ่อนหลังปฏิสนธิ การใช้เทคโนโลยี ทั้งหมดมีความละเอียด อ่อน เพราะเป็นการสร้างครอบครัว จึงไม่ควรมองในเชิงพาณิชย์ เป็นหลักแต่ควรมองในแง่น้ำ�ใจเป็นหลักด้วย” ที่สำ�คัญที่สุด สำ�หรับครอบครัวที่ต้องการใช้บริการอุ้มบุญ จึงควรถามตัวเองให้ดีเสียก่อนว่าจะสามารถรับผิดชอบเด็ก ที่เกิดจากการอุ้มบุญได้ดีพอหรือไม่ ไม่ว่าจะในแง่ค่าใช้จ่าย ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการอุ้มบุญ ไปจนถึงหลังคลอด และการ รั บ ผิ ด ชอบในสุ ข ภาพของแม่ อุ้ ม บุ ญ และเด็ ก ทั้ ง ในกรณี ที่ สำ�เร็จและไม่สำ�เร็จก็ตาม รวมไปถึงการให้ความรัก การเลี้ยงดู ส่งเสียให้โอกาสทางการศึกษา จนเติบใหญ่ เช่นเดียวกับบุตรทีต่ น ได้ตั้งครรภ์เอง ซึ่งนี่คือความท้าทายของการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อ ตอบสนองความต้องการสร้างครอบครัวของมนุษย์ที่ต้องคิดให้ ลึกซึ้งมากกว่าการซื้อขายเซลล์เท่านั้น

ข้อมูลอ้างอิง • http://ilaw.or.th/node/3250 • http://th.theasianparent.com • http://mcot-web.mcot.net/fm965/site/content/ id/53f1a926be0470ef1e8b457f#.VeUfgvntmko • http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/597740 14


ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.