ModernMom Focus Vol.1 No.8 Chapter 2 September 2015

Page 1

Vol.1 No.8 / Chapter 2 September 2015

Chapter

2

มองรอบด้าน ก่อนเลือก "อุ้มบุญ"



Vol.1 No.8 / Chapter 2 September 2015

Chapter 1 : อุ้มบุญ ทางเลือกใหม่ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน? Chapter 2 : มองรอบด้านก่อนเลือก “อุ้มบุญ”

www.modernmommag.com www.booksmile.co.th www.issuu.com โดย search modernmom focus

สวัสดีค่ะคุณแม่ ModernMom ทุกท่าน

ModernMom Focus กับ Hot Issue เรื่องที่เราได้ยิน กันมาไม่นานนีเ้ อง คือเรือ่ งอุม้ บุญ จะว่าไปแล้วเรือ่ งนีเ้ ป็น เรือ่ งของคาดหวัง ความสวยงามของการเป็นครอบครัว... แต่ เ มื่ อ การอุ ้ ม บุ ญ กลั บ กลายเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ผิ ด กฎหมาย โดยใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายเข้ามาเอื้อผลประโยชน์ ชีวิต ของเด็กคนหนึ่งที่ก�ำลังจะเกิดมากลับกลายเป็นสินค้า และเป็ น เรื่ อ งที่ ถ กเถี ย งกั น ในสั ง คมว่ า แบบไหนผิ ด แบบไหนถูก ฉบับนี้จึงน�ำเสนอทุกมุมมองของเรื่องการ อุ้มบุญ ทั้ง 2 Chapter… Chapter 1 : อุ้มบุญทางเลือกใหม่ในการมีลูก ถูก ผิด ใครตัดสิน? ข่าว และสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่อง อุ้มบุญทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้เข้าใจถึง เรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ และพ.ร.บ.การตัง้ ครรภ์ทเี่ กีย่ วกับ การอุ้มบุญ Chapter 2 : มองรอบด้านก่อนเลือก “อุ้มบุญ” หาก ตัดสินใจเลือกอุม้ บุญ ต้องรูก้ ฎหมายและขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้อง และตัวอย่างครอบครัวคนดังที่เลือกมีลูกด้วยการอุ้มบุญ พบกับ 2 Chapter ที่จะท�ำให้เข้าใจเรื่องอุ้มบุญมาก ยิ่งขึ้น ModernMom Focus

เจ้าของ : กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี สร้างสรรค์ โดย : นิตยสาร ModernMom Contact Us กลุม่ บริษทั อาร์แอลจี 932 ถนนประชาชืน่ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 กองบรรณาธิการ การตลาดและประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 4420-4424, 3520, 3535 โทรสาร 0 2831 8499 อีเมล์ : mmm@rlg.co.th แผนกโฆษณา โทรศัพท์ 0 2831 8400, 0 2913 7555 ต่อ 3361, 3332, 3359, 3345, 4723 โทรสาร 0 2831 8477 อีเมล์ : rungladda@rlg.co.th


Chapter 2 >>

มองรอบด้านก่อนตัดสินใจ

อุ้มบุญ

ถึงแม้กระแสการ “อุ้มบุญ” หรือ “ตั้งครรภ์แทน” จะเป็นทางเลือกใหม่ ให้กับ ครอบครัวที่มีปัญหาในการตั้งครรภ์ และกำ�ลังได้รับความนิยมอย่างสูง แต่การขอรับ บริการอุ้มบุญนั้นมีรายละเอียดที่ต้องศึกษาให้รอบคอบ ไม่ว่าจะเป็นด้านกฎหมายของ แต่ละประเทศซึ่งมีปลีกย่อยของข้อกฎหมาย ข้อห้ามและบทลงโทษไม่เหมือนกัน และที่ สำ�คัญที่สุดคือความสอดคล้องของบริบทด้านวิถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนา ที่เกี่ยวพันกัน อยู่ ในแต่ละประเทศ

4


ความสำ�เร็จในการตั้งครรภ์แบบอุ้มบุญ ปัจจุบนั การอุม้ บุญได้รบั ความนิยมไปทัว่ โลก แต่ไม่ได้มคี วามสำ�เร็จในทุกกรณี เพราะขึน้ อยูก่ บั สภาพร่างกายและความพร้อมของมดลูกหญิง อุ้มบุญด้วย มีการประเมินไว้ว่าความสำ�เร็จอยู่ที่

ช่วงอายุที่เหมาะสมคือ

โดยขัน้ ตอนทัว่ ไปนัน้ แม่อมุ้ บุญต้องได้รบั การตรวจสุขภาพโดยละเอียด

20-35 ปี

ไม่มีโรคประจำ�ตัว ความสมบูรณ์ของมดลูก ความหนาของผนังมดลูก ฮอร์โมนในร่างกาย เคยมีบุตรมาก่อน จากสถิติพบว่า แม่อุ้มบุญที่ร่างกาย เหมาะสมคือช่วงอายุ 20-35 ปี ทีเ่ รียกว่า วัยเจริญพันธุ์ และควรผ่านการมีบุตรมา แล้วอย่างน้อย 1 คน เพื่อลดความเสี่ยง ทีม่ กั เกิดขึน้ กับการตัง้ ครรภ์ทอ้ งแรก แต่ หากตัวอ่อนเกาะกับมดลูกได้สำ�เร็จแล้ว หลังจากนั้นการดูแลร่างกายก็จะไม่ ใช่ เรื่องยากอีกต่อไป 5


นานาประเทศ และเส้นทางการอุ้มบุญ จะว่าไปแล้ว "การอุม้ บุญ" ไม่ ใช่เรือ่ งใหม่ ในโลก แต่มมี านานแล้ว แต่ทเี่ ป็นรูปธรรมมากทีส่ ดุ นัน้ เกิดขึน้ เมื่อเกือบ 40 ปี ที่แล้ว โดยการสร้างเด็กหลอดแก้วคนแรกของโลกเมื่อปี ค.ศ.1978 เป็นทารกที่เกิดจาก การผสมเสปิร์มและไข่ ในหลอดแก้ว แล้วนำ�ไปใส่ ในมดลูกของผู้หญิง ซึ่งหลังจากทำ�ได้สำ�เร็จ กระบวนการ อุ้มบุญก็ ได้กลายเป็นทางเลือกใหม่ ให้กับครอบครัวที่ต้องการมีลูกแต่มี ไม่ได้

• อุ้มบุญราคา...แพง

สำ � หรั บ ประเทศในแถบแอฟริ ก าใต้ และสหรั ฐ นั้ น แม้ ส ามารถดำ � เนิ น การเรื่ อ ง ขออุม้ บุญได้ไม่ยากนัก เพราะบางรัฐอนุญาตให้ อุ้มบุญได้อย่างถูกกฎหมาย แต่ว่ามีค่าใช้จา่ ย ค่อนข้างสูง ราว 900,000 - 3 ล้านบาท และต้ อ งดู แ ลค่ า บริ ก ารพื้ น ฐานทั้ ง หมด ทั้ ง ค่าเครื่องบิน ที่พัก คนดูแล อาหาร รวมถึง ค่าคลอด และการดูแลหลังคลอดราว 2-3 สัปดาห์ จึงไม่เป็นที่นิยมมากนักที่จะไปทำ�ยัง ประเทศดังกล่าว

• อุม้ บุญเรือ่ งต้องห้าม

หลายประเทศในแถบเอเชี ย เช่น ไต้หวัน และจีน และญี่ปุ่น การ อุ้ ม บุ ญ นั้ น ผิ ด กฎหมายร้ า ยแรง แต่ ก็ พ บว่ า มี ตั ว เลขผู้ อุ้ ม บุ ญ ไม่ น้ อ ยกว่ า 1 หมื่ น รายต่ อ ปี ด้ ว ยการลั ก ลอบจ้ า งกั น อย่ า ง แพร่หลาย โดยมีคา่ ใช้จา่ ยประมาณ

500,000-700,000 บาท ต่อราย

• อุม้ บุญเรือ่ งปกติ

หลายประเทศ ได้จัดให้การอุ้มบุญเป็นเรื่องปกติที่จะช่วยเหลือ ครอบครัวที่ ไม่มีบุตร เช่น ในประเทศอินเดียและรัสเซีย เป็นประเทศ ที่มีการอุ้มบุญจำ�นวนมากเพราะเป็นเรื่องถูกกฎหมายและยอมรับใน สังคม ทัง้ ยังมีราคาถูกกว่าประเทศอังกฤษถึง 3 เท่า แต่ให้ความสำ�คัญ กับการเลือกผู้หญิงที่จะเป็นแม่อุ้มบุญ ซึ่งมีเงื่อนไขว่าต้องไม่ดื่มเหล้า ไม่เสพยาเสพติด ไม่มีโรคร้ายแรง โดยผู้จ้างจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ให้ทงั้ หมด ด้วยเหตุนี้ ผูค้ นทัว่ โลกต่างหลัง่ ไหลไปใช้บริการอุม้ บุญกัน อย่างคับคั่ง ด้วยค่าใช้จา่ ยประมาณ 200,000-800,000 บาท

ต่อราย

6

ในประเทศญี่ปุ่น การอุ้มบุญ ถือว่าผิดกฎหมายเช่นกัน ธุรกิจ แม่ อุ้ ม บุ ญ จึ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ แ พร่ ห ลาย มากนัก แต่ชายชาวญีป่ นุ่ ทีต่ อ้ งการ มีบตุ รจำ�นวนมาก ได้เลือกใช้บริการ ประเทศจอร์ เ จี ย และอี ก หลาย ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย โดยมี ทั้ ง การจ้ า งอุ้ ม บุ ญ เพื่ อ ต้องการทายาท และจ้างเพื่อเป็น ธุรกิจจัดหาเด็กให้กับผู้ต้องการ เลี้ยงดู


ค่าใช้จ่ายในการตั้งครรภ์แทน การอุ้มบุญนั้นแต่ละประเทศมี ไม่เท่ากัน ด้วยข้อกฎหมายที่แตกต่างกัน เช่น ประเทศที่มีการอุ้มบุญ อย่างถูกกฎหมายอย่างอินเดียและรัสเซียจะมีค่าใช้จ่ายที่ต่ำ�มาก รวมถึงประเทศไทย หากแต่บางประเทศ กลับมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก รวมไปถึงช่องโหว่ทางกฎหมายที่อนุญาตให้มีการอุ้มบุญได้ ในบางกรณี เช่น บางประเทศที่มีข้อห้าม แต่ก็มีการลักลอบรับจ้างอุ้มบุญแบบผิดกฎหมายก็อาจมีค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก โดยแม่อุ้มบุญต้องรับความเสี่ยงด้านสุขภาพเอาเอง เป็นต้น

โดยทั่วๆ ไป ในประเทศที่การอุ้มบุญถูกกฎหมายนั้น

จะมีค่าใช้จ่ายใน 3 ส่วนใหญ่ๆ โดยแต่ละประเทศมี ได้แก่

ค่าประกันชีวิต

+ อาจต้องจ่ายเงินเพิ่มอีก

หากเป็นการอุ้มบุญเด็กแฝด

ผู้ว่าจ้าง หรือพ่อแม่

ค่าเบี้ยเลี้ยง

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรับจ้างอุ้มบุญ

ค่าธรรมเนียมเพิม่ เติมด้านการแพทย์

ค่าธรรมเนียมการอุม้ บุญ

7


ตัวอย่างค่าใช้จ่ายในการอุ้มบุญบางประเทศ

800,000 –3,000,000 บาท 300,000 – 800,000 บาท 400,000-700,000 บาท

400,000-700,000 บาท

200,000 – 800,000 บาท 280,000 – 400,000 บาท

800,000 - 960,000 บาท 500,000 – 700,000 บาท ถูกกฎหมาย

ถูกกฎหมาย บางรัฐ ***ราคาค่าใช้จ่ายคิดเป็นเงินบาทต่อราย

ถูกกฎหมาย บางกรณี 8

ผิดกฎหมาย (ลักลอบ)


กฎหมายเกี่ยวกับการอุ้มบุญ กฎหมายการอุ้มบุญนั้นแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ซึ่งทำ�ให้แต่ละประเทศ ในโลกมีนโยบายและกฎหมายควบคุมการอุ้มบุญแตกต่างกันออกไป ได้แก่ ประเทศทีก่ ฎหมาย ห้ามอุม้ บุญทุกกรณี ในข้อนีค้ อื กฎหมายทีม่ ปี ระเทศ

ต่างๆ บังคับใช้มากทีส่ ดุ ในโลก ดว้ ยเหตุผล ที่ ไ ม่ ต้ อ งการให้ เ กิ ด การตั้ ง ครรภ์ แ ทน ไม่ว่ากรณี ใดทั้งสิ้น เช่น ประเทศ จีน ญี่ปุ่น ฝรั่ ง เศส อิ ต าลี ไต้ ห วั น ฯลฯ เป็ น ต้ น เพื่อป้องกันธุรกิจการค้ามนุษย์อย่างผิด กฎหมาย แต่ก็พบว่ามีการลักลอบทำ�ใน บางประเทศ

ประเทศทีอ่ นุญาตอุม้ บุญ ได้ตามเงื่อนไขบังคับของ แต่ละประเทศ

ประเทศที่ให้อนุญาต อุม้ บุญได้เพือ่ มนุษยธรรม

มี ห ลายประเทศในโลกที่ อ นุ ญ าตให้ อุ้มบุญได้อย่างถูกกฎหมาย เช่น อินเดีย เนปาล รัสเซีย และไทย แต่กรณี ไทยนั้นจะ มีข้อกฎหมายบังคับบางประเด็น เช่น แม่ อุม้ บุญต้องเป็นญาติกบั คูส่ มรส หากแม่อมุ้ บุญมีสามีต้องได้รับความยินยอมจากสามี ก่อน และห้ามใช้ ไข่ของแม่อุ้มบุญ เป็นต้น ซึ่งหลายประเทศนั้นอนุญาตให้อุ้มบุญได้ เพือ่ คนในครอบครัว แต่ ไม่สามารถทำ�เป็น ธุรกิจได้ แต่ดว้ ยช่องโหว่ทางกฎหมายทำ�ให้ พบการอุม้ บุญเชิงพาณิชย์มากขึน้ ทุกขณะ

หมายถึ ง ประเทศที่ พิ จ ารณา เป็นกรณี ไป ว่าให้อมุ้ บุญได้หรือไม่ อาจเป็น การอุ้ ม บุ ญ แทนคนในครอบครั ว เพื่ อ น ญาติพี่น้อง คนรู้จัก หรือเป็นในลักษณะ ว่ า จ้ า ง แต่ ต้ อ งมี เ หตุ ผ ลเพื่ อ การสร้ า ง ครอบครัว หรือเพื่อเห็นแก่มนุษยธรรม ผู้ที่มีทายาทเองไม่ ได้ เช่น กลุ่มคนรักเพศ เดียวกัน กลุ่มแม่ผู้ไม่สามารถมีบุตรได้เอง ผู้มีความบกพร่อง พิการด้านเจริญพันธ์ุ เป็นต้น

9


กฎหมายเกี่ยวกับการอุ้มบุญ ประเทศที่มีกฎหมาย อนุญาตเพื่อมนุษยธรรม และเพื่อการพาณิชย์

ประเทศที่มีกฎหมาย ห้ามทำ�เพื่อการพาณิชย์ แต่อนุญาตเพื่อมนุษยธรรม

ประเทศที่มีกฎหมาย ห้ามทุกกรณี

รัสเซีย

ออสเตรเลีย

ผู้หญิงที่รับตั้งครรภ์ต้องอายุไม่ต่ำ�กว่า 25 ปีและต้องไม่เป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก ในภาคตะวันตกและภาคใต้มีกฎหมายคนรัก เพศเดียวกันและคนโสดใช้บริการนี้ ได้ แต่ ไม่ อนุญาตให้ ใช้ไข่ของผู้หญิงที่รับตั้งครรภ์แทน

หากเปลี่ ย นใจภายหลั ง หญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แทนมี สิ ท ธิ์ ไ ม่ ย กเด็ ก ให้ กั บ ผู้ ข อ และชาย ที่เป็นเจ้าของอสุจิอาจเรียกร้องสิทธิ ในการ เป็นพ่อเด็กได้

ยูเครน

สหราชอาณาจักรอังกฤษ

ให้ ห ญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แ ทนเป็ น แม่ โ ดยชอบ ด้ ว ยกฎหมายจนกว่ า กระบวนการรั บ บั ต ร จะเสร็ จสิ ้ น

ฝรั่งเศส

ไม่คมุ้ ครองสิทธ์ขิ องพ่อแม่ทมี่ พ ี นั ธุกรรม เกาะเกี่ ย วกั บ เด็ ก ที่ เ กิ ด จากเทคโนโลยี ก าร ตั้งครรภ์แทนกันและไม่อนุญาตให้รับเด็กเป็น บุตรบุญธรรม

แอฟริกาใต้

แคนาดา

แคว้นควิแบค ของแคนาดา

คนทุ ก กลุ่ ม เข้ า ถึ ง เทคโนโลยี นี้ ไ ด้ อ ย่ า ง เท่าเทียม ทั้งคู่สามี-ภรรยา คนโสดคนรักเพศ เดียวกั น หรื อ คนต่างชาติ โ ดยเน้น ไม่ความ เชื่อมโยงทางพันธุกรรม (จะใช้ ไข่หรืออสุจิ ของคนที่ ไม่ ใช่ญาติก็ ได้) และคุ้มครองผู้ขอให้ ตั้งครรภ์เป็นหลัก

คุ้ม ครองสิ ท ธิ ข องผู้ข อให้ ต้ัง ครรภ์ เ ป็ น หลักและสนับสนุนสิทธิการเจริญพันธุ์เต็มที่ ให้สิทธิหญิง-ชายโสด หรือคนรักเพศเดียว ที่มีสถานภาพโสดใช้บริการได้

สวีเดน

คุ้ ม ครองข้ อ ตกลงการตั้ ง ครรภ์ ที่ ไ ม่ ใ ช่ การจ้ า งอนุ ญ าตให้ ค นโสดและคนรั ก เพศ เดี ย วกั น ใช้ บ ริ ก ารได้ ซ่ึ ง คนโสดที่ ใ ช้ บ ริ ก าร ต้องมีความเชื่อมโยงทางพันธุกรรมและผู้รับ ตั้ ง ครรภ์ ต้ อ งเคยตั้ ง ครรภ์ ม าแล้ ว และยั ง มีลูกที่ยังมีชีวิตอยู่อย่างน้อย 1 คน หญิงผู้ ตั้งครรภ์แทนมีสิทธิตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบก่อน แต่ถ้าไม่ ใช่เพราะ เหตุผลทางการแพทย์ หญิงผูร้ บั ตัง้ ครรภ์ตอ้ ง จ่ายค่าชดเชย

(ยกเว้นแคว้นควิแบค)

ไม่ ใ ห้ สิ ท ธิ์ ก ารเป็ น แม่ ต ามกฎหมายแก่ ผู้บริจาคไข่

สหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกา

(อาร์คันซอ, แคลิฟอร์เนีย, ฟลอริดา, อิลลินอยส์, แมสซาชูเซตส์, เวอร์มอนต์)

(นิวยอร์ก, นิวเจอร์ซยี ,์ นิวเม็กซิโก, เนบราสก้า เวอร์จเิ นีย, โอเรกอน, วอชิงตัน)

(แอริโซนา, มิชิแกน, อินเดียน่า, นอร์ท ดาโกด้า)

อินเดีย

อิสราเอล

สเปน

ยังไม่อนุญาตให้คนที่ ไม่แต่งงานกันตาม กฎหมาย คนโสด และคนรั ก เพศเดี ย วกั น จ้างตั้งครรภ์แทนแต่คุ้มครองสิทธิของพ่อแม่ ที่จ้างตั้งครรภ์แทนในการเป็นพ่อแม่ชอบด้วย กฎหมาย

หญิ ง ที่ ต้ั ง ครรภ์ แ ทนต้ อ งเป็ น หญิ ง โสด หญิงหม้าย หรือหญิงหย่าร้างและอนุญาต ให้ทำ�ได้เฉพาะคู่สามี-ภรรยาต่างเพศที่นับถือ ศาสนาอิลามและเป็นพลเมืองของอิสราเอล เท่านั้น

แต่ไม่ปิดกั้นคนที ไปรับจ้างตั้งครรภ์นอก ประเทศ

ข้อมูลจากวิกิพีเดีย https://en.wikipedia.org/wiki/Surrogacy_laws_by_country 10


ขั้นตอนการขอใช้บริการอุ้มบุญ ในประเทศที่ถูกกฎหมาย สำ�หรับประเทศที่อนุญาตให้มีการอุ้มบุญหรือตั้งครรภ์แทน ขั้นตอนในการขอใช้บริการ มีดังต่อไปนี้ ผู้ต้องการใช้บริการอุ้มบุญ

ต้องเป็นคู่สมรสที่ถูกต้องตามกฎหมาย

และมีข้อพิสูจน์ ได้ว่าภรรยาไม่สามารถตั้งครรภ์ ได้

การจดทะเบียนสมรส ต้องจดมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี จึงจะขอใช้บริการอุ้มบุญได้

หญิงที่ตั้งครรภ์แทน ต้องพิสูจน์ ได้ว่า

เป็นญาติฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

กับสามีหรือภรรยาของผู้ ใช้บริการ

หญิงที่ตั้งครรภ์แทน

ต้องเคยมีบุตรมาแล้ว อย่างน้อย 1 คน

หญิงที่ตั้งครรภ์แทน หากมีสามี ต้องได้รับความยินยอมจากสามี

ห้าม

ใช้ ไข่ของหญิง ที่รับตั้งครรภ์แทน

เด็กที่เกิดจากการอุ้มบุญ

ได้รับสิทธ์ิเป็นบุตรโดยชอบธรรมของสามีภรรยาตามกฎหมาย

ไม่ ใช่บุตรของแม่อุ้มบุญ เด็กที่เกิดจากการอุ้มบุญอย่างถูกกฎหมาย จะได้รับสูจิบัตรรับรองการเกิด ที่ถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ

11


Chapter 2 >>

คนดังกับกระแส

การอุ้มบุญ

ธัญญาเรศ เองตระกูล

นิโคล คิดแมน

ซาราห์ เจสสิกา พาร์กเกอร์

มณฑ์ลัชชา สกุลไทย เซอร์เอลตัน จอห์น

ริกกี้ มาร์ติน ไมเคิล แจ็คสัน

12


Chapter 2 >>

กลุ่มนักร้องนักแสดง ทั้งในประเทศไทยและในระดับโลก เป็นกลุ่มหนึ่งที่มีส่วนให้กระแสการอุ้มบุญ เป็นที่นิยมมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้สูงและมีกำ�ลังมากพอที่จะเสียค่าใช้จ่ายราคาแพงให้กับการ เติมเต็มฝันของครอบครัวให้เป็นจริง

แม่อุ๊-มณฑ์ลัชชา สกุลไทย เซเลบริตี้ชื่อดัง ซึง่ ได้ทายาทคือ น้องพะเพือ่ น-ชุตมิ ณฑน์ สกุลไทย ที่ ใช้บริการอุม้ บุญ จากญาติสนิทท่านหนึ่ง ที่ไม่ใช่ ใครที่ไหน คือ คุณดวงใจ หทัยกาญจน์ ดาราชื่อดัง นั่นเอง อย่างไรก็ตาม แม้การอุ้มบุญจะเป็นทางเลือก หนึง่ ทีช่ ว่ ยเติมเต็มความหมายของการมีครอบครัว ได้จริง แต่บนเส้นทางของการอุ้มบุญนั้นไม่ได้ ราบรื่นเสมอไป เพราะการตั้งครรภ์แทนนำ�มาซึ่ง ค่าตอบแทนมหาศาล และแฝงไว้ด้วยธุรกิจมืด ของการค้ามนุษย์ ซึ่งก่อให้เกิดคำ�ถามมากมาย ตามมา ทั้งในแง่ศีลธรรม ความเชื่อ ศาสนา และ การคุ้มครองสิทธิ์ของแม่อุ้มบุญ ที่สำ�คัญที่สุด สำ�หรับครอบครัวที่ต้องการใช้ บริการอุ้มบุญจึงควรถามตัวเองให้ดีเสียก่อนว่า จะสามารถรับผิดชอบเด็กที่เกิดจากการอุ้มบุญ ได้ดีพอหรือไม่ ไม่ว่าจะในแง่ค่าใช้จ่ายที่จะเกิด ขึ้นระหว่างการอุ้มบุญ ไปจนถึงหลังคลอด และ การรับผิดชอบในสุขภาพของแม่อุ้มบุญและเด็ก ทั้งในกรณีที่สำ�เร็จและไม่สำ�เร็จก็ตาม รวมไปถึง การให้ความรัก การเลีย้ งดู ส่งเสียให้โอกาสทางการ ศึ ก ษา จนเติ บ ใหญ่ เช่ น เดี ย วกั บ บุ ต รที่ ต นได้ ตั้งครรภ์เอง ซึง่ นีค่ อื ความท้าทายของการใช้เทคโนโลยีสมัย ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการสร้างครอบครัว ของมนุษย์ที่ต้องคิดให้ลึกซึ้งมากกว่าการซื้อขาย เซลล์เท่านั้น

ในวงการภาพยนตร์ ฮ อลลี วู้ ด ดาราชั้ น นำ� จำ�นวนไม่น้อยที่ ใช้บริการอุ้มบุญ ไม่ว่าจะเป็น ไมเคิล แจ็คสัน ซึ่งมีเด็บบี้ โรว์ เป็นแม่อุ้มบุญ ให้เขาถึง 2 ครัง้ ด้วยการผสมเทียมและรับค่าเลีย้ งดู จำ�นวนมากสำ�หรับการอุ้มบุญครั้งนี้ ถัดมาคือ เซอร์เอลตัน จอห์น ซึ่งสมรสกับคู่ เกย์ชาวแคนาดา ชือ่ เดวิด เฟอร์นชิ ทัง้ คู่ใช้บริการ แม่อมุ้ บุญถึง 2 ครัง้ เพือ่ สร้างทายาททีช่ อื่ แซคคารีน และอิลิจาห์ ที่คลอดออกมาแข็งแรงปลอดภัยดี ริกกี้ มาร์ตนิ นักร้องชือ่ ดังทีส่ มรสกับคนรักเพศ เดียวกัน ได้ใช้สเปิรม์ ของตัวเองและคูร่ กั ผสมเทียม กับแม่อุ้มบุญคนเดียวกัน จนได้เป็นลูกแฝดสมใจ ซาราห์ เจสสิกา พาร์กเกอร์ ดาราดังจากซีรีส์ เรื่อง Sex and the City กับสามี แม็ทธิว โบรเดริก ได้รับลูกแฝดหญิง จากการอุ้มบุญ โดยตั้งชื่อว่า มาเรียน ลอเร็ตตา เอลเวลล์ และทาธิธา ฮอดจ์ ซึ่งแม่อุ้มบุญคือ มิเชล รอสส์ นิโคล คิดแมน กับสามี คีธ เออบัน ซึ่งประสบ ภาวะมี บุ ต รยากและผิ ด หวั ง กั บ การทำ�กิ ฟ ท์ ม า หลายปี กว่าจะมีลกู ได้สมใจจากการใช้บริการอุม้ บุญ เช่นกัน ในปี 2010 สำ�หรับในประเทศไทย ดาราที่มีชื่อเสียงหลาย รายเลือกใช้บริการอุม้ บุญเพือ่ เติมเต็มการมีทายาท ให้ครอบครัวเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น ธัญญ่า-ธัญญาเรศ เองตระกูล ซึ่งมีปญั หาด้าน มดลูกไม่สามารถอุ้มท้องได้ จึงเลือกการอุ้มบุญ โดยพีส่ าว ซึง่ เป็นญาติโดยสายเลือด ใช้ไข่ของตัวเอง และสเปิร์มของสามี 13


ดาวน์ โหลดฉบับย้อนหลัง

ดาวน์ โหลดทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.