หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีที่ 46 ฉบับที่ 3 | กันยายน 2556
ตำ�รวจชี้ ความปลอดภัยจุฬาฯ
‘ยังไม่รัดกุม’ / หน้า 6
คิดอย่างไร เมื่อ ‘มหาวิทยาลัย’ ต้องออก นอกระบบ?
:กรณี ม.เกษตรศาสตร์ การนำ � สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ ออกนอกระบบราชการ โดยยั ง อยู่ ภ ายใต้ การกำ � กั บ ของรั ฐ เป็ น แนวคิ ด ที่ มี ม าตั้ ง แต่ พ.ศ. 2507 แต่ เ ริ่ ม ดำ � เนิ น การอย่ า งจริ ง จั ง หลังประเทศไทยเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 รัฐต้องการลดภาระค่าใช้จ่ายด้วยการ ให้อำ�นาจมหาวิทยาลัยในการบริหารจัดการ ตนเอง และจัดสรรงบประมาณเท่าที่พอจะ ประกันคุณภาพการศึกษา แม้จะมีความพยายามในการผลัก ดั น นโยบายดั ง กล่ า ว แต่ ปั จ จุ บั น มี ส ถาบั น อุดมศึกษาอีกกว่า 60 แห่ง ที่ยังไม่ได้เปลี่ยน สถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ กรณีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) อาจเป็น ตัวอย่างหนึง่ ทีท่ �ำ ให้เข้าใจถึงความไม่ราบรืน่ ใน การดำ�เนินการ ซึ่งมีสาเหตุมาจากทั้งภายนอก และภายในองค์กร / อ่านต่อหน้า 4
‘เรืผั่องขังดแย้เ งมืที่มอีทางยุง ต’ิ
จุฬ าฯ ชี้แจงเหตุปรับขึ้นค่าเทอม17% จุฬาฯ ชีแ้ จงรายละเอียดการจัดสรร ค่าเล่าเรียน หลังออกประกาศปรับขึน้ ค่าเทอม 17% สำ�หรับนิสติ เข้าใหม่ในปีการศึกษา 2556 ระบุเพือ่ สอดคล้องกับราคาตลาดแรงงานและ เพื่อคุณภาพการเรียนการสอน เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 จุฬาฯ มีประกาศเรื่องอัตราการเรียกเก็บเงินค่าเล่า เรียนสำ�หรับนิสิต พ.ศ.2556 ระบุขึ้นค่าเล่า เรียน โดยได้พิจารณาความเหมาะสมแล้ว
ทั้ ง นี้ ไ ด้ มี บ ทเฉพาะกาลสำ � หรั บ นิ สิ ต ที่ เ ข้ า ศึกษาก่อนปี 2556 ให้เสียค่าเล่าเรียนจำ�นวน เท่าเดิมจนกว่าจะจบการศึกษา ซึ่งที่ประชุม สภาจุฬาฯ มีมติปรับค่าเล่าเรียนขึน้ 17% จาก เดิม โดยคณะกลุ่มที่หนึ่งปรับเป็น 21,000 บาท จากเดิม 18,000 บาท คณะกลุ่มที่สอง ปรับเป็น 17,000 บาท จากเดิม 14,500 บาท
เจาะประเด็ น ปั ญ หาผั ง เมื อ งผ่ า น เสียงสะท้อนของแกนนำ�ชาวบ้านในประจวบฯ และฉะเชิงเทรา ตัง้ แต่การจัดทำ�ผังเมือง การมี ส่วนร่วม การรับฟังความคิดเห็น จนถึงปัญหา ช่องว่างผังเมือง พร้อมมุมมองจาก ‘ผู้มีอำ�นาจ / อ่านต่อหน้า 12 ตั ด สิ น ใจสุ ด ท้ า ย’ ในด้ า นการเคลื่ อ นไหว ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข พ.ร.บ.การผั ง เมื อ ง รวมถึ ง UN ชี้ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ผลพวงจากการเปิด AEC แนวทางยุติปัญหาดังกล่าว / หน้า 8 กรรมการสิทธิเด็ก UN หวั่น การเปิดอาเซียนจะทำ�ให้เด็กถูกทอดทิ้งมากขึ้น ชี้การ พัฒนาครอบครัวและชุมชนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันสำ�คัญที่สุด / หน้า 4
AECแรงงานไทย จะได้โฉบหรื อ ถู ก โฉบ?
แม้ ก ระแสการตื่ น ตั ว เกี่ ย วกั บ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะมา แรงแซงทางโค้ง แต่ รศ.ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) กล่าวว่า ไทยอยู่ในอันดับที่ 8 จาก 10 การตระหนัก รู้เกี่ยวกับอาเซียน ขณะที่ สปป.ลาว มาแรง / อ่านต่อหน้า 10 เป็นอันดับหนึ่ง
สวนหลวง-สามย่าน เส้นทางพัฒนาที่ดินในหมอกมัว
จุฬาฯ กับการพัฒนาทีด่ นิ สวนหลวง-สามย่าน เมือ่ ความคลุมเครือเชิงนโยบายส่งผล กระทบต่อผูเ้ ช่าในพืน้ ที่ หาบเร่-แผงลอยเก็บค่าเช่าไปเข้ากระเป๋าใคร?
ทางออกของชีวิตสัตว์เร่ร่อนในจุฬาฯ
เจาะปัญหาและแนวทางแก้ไขเยียวยา ประเด็นสุนัขและ แมวจรจัดในจุฬาฯ พร้อมแนะเทคนิครับมือสุนัขดุ รวมถึงวิธีรักสุนัข และแมวให้ถูกทางโดยรอง ผอ.โรงพยาบาลสัตว์เล็ก จุฬาฯ และ ทำ�ความรู้จัก ‘ฮีโร่’ ของเหล่าสุนัขและแมวจรจัด / หน้า 7
SupplementIInside!
2
inside chula
เมื่อพูดถึงสวนหลวง-สามย่าน เชื่อ ว่านิสิตและบุคลากรส่วนใหญ่ของจุฬาฯ รวม ถึ ง บุ ค คลทั่ ว ไปน่ า จะคุ้ น เคยกั น เป็ น อย่ า งดี บางครั้งเมื่อเอ่ยถึงสวนหลวง-สามย่าน หลาย คนคงจินตนาการไปไกลถึงอาหารหลากหลาย ที่สามารถฝากท้องได้ในราคาประหยัด แสง ไฟวั บ แวมเคล้ า เสี ย งหั ว เราะของการพบปะ สังสรรค์ในหมูค่ รอบครัวและเพือ่ นฝูง ท่ามกลาง บรรยากาศครึกครื้น ริมถนนที่ไม่ได้กว้างขวาง นักแต่การจราจรกลับหนาตา โดยเฉพาะแถบ สวนหลวงยามคํ่าคืนที่ร้านค้าต่าง ๆ เริ่มเปิด ไฟต้อนรับนักชิมและเหล่ามนุษย์ท้องว่างกัน อย่างคับคั่ง ไม่เว้นแม้แต่บนทางเท้าไปจนถึง ขอบทางริมถนน แต่ภาพชินตาเหล่านี้กำ�ลังจะ เปลี่ยน และส่วนหนึ่งได้เปลี่ยนไปแล้วโดยสิ้น เชิงพร้อมการมาถึงของโครงการพัฒนาที่ดิน เขตพาณิชย์สวนหลวง-สามย่าน โดยสำ�นักงาน จัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง-สามย่านบนเนือ้ ที่ ประมาณ 256 ไร่ 3 งาน 3.44 ตารางวา เป็น พื้นที่ส่วนหนึ่งจากสัดส่วนประมาณ 30% ของ จุฬาฯ ที่ถูกกำ�หนดให้เป็นเขตพาณิชย์ โดยมี โครงการที่แล้วเสร็จรวมทั้งกำ�ลังดำ�เนินการอยู่ ในปัจจุบนั ได้แก่ โครงการยู-เซ็นเตอร์ โครงการ จัตรุ สั จามจุรี และโครงการทีพ่ กั อาศัย หมอน 41 ระหว่างซอยจุฬาลงกรณ์ 7-9 ที่จะกลายเป็น หอพักสำ�หรับนิสิตต่างชาติ และบุคลากรของ มหาวิทยาลัยในอนาคต จากข้ อ มู ล ในเว็ บ ไซต์ สำ � นั ก งาน จัดการทรัพย์สิน จุฬาฯ แสดงให้เห็นว่าบริเวณ สวนหลวง-สามย่านจะถูกพัฒนาไปเป็นอาคาร ขนาดใหญ่ พิ เ ศษ ที่ ถู ก ใช้ สำ � หรั บ กิ จ กรรม พาณิชย์เชิงสร้างสรรค์ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ ต่อสังคม เช่น ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย ศูนย์ ประชุมและแหล่งเรียนรู้ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม จากการสอบถามไป ยังส่วนบริหารกิจการเขตพาณิชย์สวนหลวงสามย่ า น สำ � นั ก งานจั ด การทรั พ ย์ สิน จุ ฬ าฯ นายเอกพล ส่งเสริม เจ้าหน้าทีส่ ว่ นได้ให้ขอ้ มูลว่า พืน้ ทีบ่ ริเวณนีอ้ ยูร่ ะหว่างการปรับปรุงแผนพัฒนา ดูเหมือนว่าจะยังไม่มีความชัดเจน ในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ส่ ว นนี้ จ ากสำ � นั ก งาน จัดการทรัพย์สิน จุฬาฯ แต่ขณะเดียวกันกลับ มีการขอคืนพื้นที่จากผู้เช่าทั้งสองฝั่งของซอย จุฬาลงกรณ์ 5 ชว่ งตัดกับซอยจุฬาลงกรณ์ 12-14 ภายในสิ้นเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา นางอมรพรรณ์ ใจกล้าผูป้ ระกอบการ
รายหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการขอคืนพื้นที่ ของจุฬาฯ หลายครั้ง เล่าให้ฟังว่าตนเองขาย อาหารมาตั้งแต่ พ.ศ.2530 มีการย้ายสถานที่ ขายมาแล้ ว หลายครั้ ง ในพื้ น ที่ ส วนหลวงสามย่าน ส่วนการย้ายครั้งล่าสุดมีสาเหตุจาก จุฬาฯ ขอคืนพืน้ ทีด่ งั กล่าวข้างต้น โดยทีต่ ง้ั ร้าน ปัจจุบนั นีเ้ ดิมเป็นโกดังว่าง ตนก็ตอ้ งอยูท่ น่ี ไ่ี ปก่อน การไปเริม่ ต้นใหม่เลยเป็นไปได้ยาก ถ้าอยูต่ รงนี้ ยังพอเลี้ยงชีพเลี้ยงครอบครัวได้ แต่ไม่มีเงิน เหลือเก็บ เป็นหนีส้ นิ เหมือนเดิม เพราะค่าเช่าแพง นางอมรพรรณ์ ยั ง เปิ ด เผยถึ ง กระบวนการในการขอคื น พื้ น ที่ ข องจุ ฬ าฯ ด้ ว ยว่ า มี ก ารแจ้ ง ล่ ว งหน้ า มี ร ะยะเวลาให้ แต่ก็ไม่แน่นอน “ตอนนั้นของเราไปเช่าช่วง มันมี ปัญหาอยู่ที่เขาจะเอาคืนเขาก็บอกเราแค่เดือน เดียว เราเช่าช่วงเขาเราก็ได้ระยะเวลาแค่เดือน หนึ่งอย่างนี้ เขามาบอกเราว่าจุฬาฯ ไม่ให้ต่อ แล้วนะ เราก็ต้องย้าย ระยะเวลาแค่เดือนหนึ่ง ก็ต้องเริ่มใหม่เรื่อย ๆ แบบนี้สามเที่ยว” ผู้ได้รับ ผลกระทบเล่าย้อนถึงเหตุการณ์ในอดีต ผลจากการที่ ต้ อ งย้ า ยบ่ อ ยๆ นั้ น ส่ ง ผลถึ ง ยอดขายอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ นางอมรพรรณ์ ก ล่ า วว่ า กิ จ การมั น มี ขึ้ น มี ล ง ช่ ว งที่ ข ายดี อ ยู่ ร ะหว่ า ง พ.ศ.2547-2548 เนื่องจากยังมีคนอาศัยอยู่มาก ก่อนกิจการจะ มาซบเซาช่วงที่ต้องย้ายร้านบ่อยๆ คนที่เคย อยู่ก็ย้ายออกไปเรื่อย ๆ ปัจจุบันยอดขายลด ลงไปครึ่งต่อครึ่ง ผนวกกับค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น จากทีต่ กึ หนึง่ เคยมีหลายร้านค้า ช่วยกันแบ่งเบา ค่ า เช่ า ตอนนี้ อ ยู่ ค นเดี ย ว ต้ อ งแบกภาระ ค่าใช้จ่ายไว้ทั้งหมด ผู้ประกอบการรายนี้ แสดงความ คิดเห็นต่อนโยบายการพัฒนาที่ดินของจุฬาฯ เขตพาณิชย์สวนหลวง - สามย่าน ว่าอยากให้ เด็ดขาด มีโครงการที่แน่นอน ทำ�ให้สำ�เร็จเป็น จุด ๆ ไป แล้วค่อยขอคืนพื้นที่ “ทีเ่ ขาทำ�คือไล่กไ็ ล่หมด ทีไ่ ล่ไปก็ไม่ เสร็จสักอย่าง ยังไม่ท� ำ แล้วเป็นโครงการใหญ่ ๆ สำ�หรับคนที่เขามีเงินไง อย่างเราไม่มีสิทธิ์ไป ทำ�มาหากิน อย่างนี้มันไม่มีความหวัง” นาง อมรพรรณ์แสดงความคับข้องใจต่อโครงการ พั ฒ นาที่ ดิ น โดยมองว่ า โครงการของจุ ฬ าฯ ล้วนแต่เป็นโครงการขนาดใหญ่ ผู้เช่าอาศัย ปัจจุบันยากจะได้ประโยชน์เพราะน่าจะต้องมี ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นกว่าเดิม กระนั้ น ผู้ ป ระกอบการรายนี้ ก็
เห็นด้วยว่า ถ้าพื้นที่เสื่อมโทรม ไม่ดีแล้วจะ ปรับปรุงใหม่ก็สามารถทำ�ได้ ทุบทิ้งเริ่มใหม่ ให้เสร็จไปเลยโครงการหนึ่ง คนจะได้เข้าไป อยู่ก่อนแล้วค่อยขอคืนพื้นที่อีกจุด “แต่นไี่ ล่ดา้ นโน้นไปแล้วยังไม่ได้ท�ำ อะไรเลย (พื้นที่ระหว่างซอยจุฬาลงกรณ์ 5 - 9) เป็นปีแล้ว เพิง่ จะมีโครงการนีท้ ที่ �ำ อยูแ่ ต่กย็ งั ไม่ เสร็จ (โครงการเรือนวิรัชมิตร / ระเบียงจามจุรี, Zy Walk และ I’am Park) ไล่ฝั่งโน้นเป็นปีแล้ว ยังไม่ทำ�อะไรเลย ไปทุบออกจะทำ�เป็นตลาด นัด ให้คนเข้าไปขายในตลาดนัด ทุบทีค่ นอาศัย ทำ � มาหากิ น อยู่ ๆ จะไปทำ � เป็ น ตลาดนั ด มั น จะได้ เ หรอ ไม่ รู้ จ ะมาแบบไหนอี ก ” ผู้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบตัง้ ข้อสงสัยถึงนโยบายพัฒนาทีด่ นิ ที่ ยังไม่มีความชัดเจน เช่ น เดี ย วกั บ น.ส.กนกวรรณ ศรีกมลศิริศักดิ์ ผู้ประกอบการอีกรายในพื้นที่ สวนหลวง - สามย่าน ทีม่ คี วามกังขาในนโยบาย พัฒนาทีด่ นิ ของจุฬาฯ โดยอ้างเหตุผลใกล้เคียง กับนางอมรพรรณ์ “เพราะเขาไล่ ที่ แ บบตรงนั้ น ยั ง ไม่ เ สร็ จ คุ ณ มาไล่ ต รงนี้ แ ล้ ว ตรงโน้ น ก็ ยั ง ไม่เสร็จ อะไรก็ยังไม่เสร็จ ไปดูสิ สามย่านตรง ข้ามจามจุรสี แควร์ ไล่เขาไป ยังไม่ท�ำ อะไรเลย” น.ส.กนกวรรณชี้แจง ด้ า นนายจิ ร ะพงษ์ พุ่ ม ไสว นิ สิ ต ชั้นปีที่สี่ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ เห็นด้วยกับ นโยบายพัฒนาที่ดิน เพราะคิดว่าการพัฒนา น่าจะช่วยให้ดีขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แต่ต้อง มีการจัดการที่ดี เช่น ควรจะจัดหาที่ค้าขาย ชั่วคราวสำ�หรับผู้ประกอบการ และแจ้งเวลาที่ สามารถกลับไปขายได้อีกครั้งให้ชัดเจน จะได้ ไม่มปี ญ ั หาตามมา แต่โดยส่วนตัวอยากให้ดแู ล เรื่องความสะอาดและความปลอดภัย ทั้งเรื่อง ไฟริมทางและพนักงานรักษาความปลอดภัย เนื่ อ งจากมีการรวมกลุ่มของวั ยรุ่ น รวมถึ ง มี ปัญหาฉกชิงวิ่งราว “เพราะสวนหลวงไม่ ใ ช่ แ ค่ ที่ ข าย อาหารยามคาํ่ คืน แต่มนั เป็นเหมือนทีอ่ ยูข่ องคน ทำ�งาน” นายจิระพงษ์กล่าว นายกำ � ชั ย บุ ต ระมี นิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ สาม คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ แสดงความคิดเห็น ในทำ � นองเดี ย วกั น ว่ า การพั ฒ นาเป็ น สิ่ ง ที่ ดี แต่ ก็ ค วรคำ � นึ ง ถึ ง สิ่ ง รอบข้ า ง สภาพชุ ม ชน
บริเวณนั้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพค้าขาย หาเช้า กินคํ่า ถ้าพัฒนาแล้วพวกเขาเหล่านั้นไม่มีที่ อยูอ่ าศัยทีท่ �ำ มาหากินก็คงไม่ดี แต่สว่ นตัวแล้ว อยากเห็นสวนหลวงเป็นแบบเดิมมากกว่า “เราสงสารคนหาเช้ากินคํ่าไง ไหน เขาต้องเลี้ยงดูครอบครัวอีก ...แต่ในแง่ของ กฎหมาย มันก็ต้องว่าไปตามนั้นแหละ ที่ดิน ของใคร ใครก็ย่อมมีสิทธิ์นั้น” ว่าที่แม่พิมพ์ของ ชาติแสดงทัศนะเพิ่มเติม น อ ก จ า ก ค ว า ม ค ลุ ม เ ค รื อ ใ น ด้ า นแผนการพั ฒ นาที่ ดิ น แล้ ว ผู้ ป ระกอบ การหลายรายยั ง คงไม่ รู้ ข้ อ มู ล แน่ ชั ด เกี่ ย ว กับการเก็บค่าเช่ารถเข็น และร้านค้าหาบเร่ แผงลอยบริเวณซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ช่วงตัดกับ ซอยจุฬาลงกรณ์ 12-20 ในกรณี นี้ แ หล่ ง ข่ า วทั้ ง หมดต่ า ง ไม่ ป ระสงค์ เ ปิ ด เผยชื่ อ เนื่ อ งจากกั ง วลใน ความปลอดภัยของตน แต่ก็ได้ให้ข้อมูลตรง กันว่าในซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ช่วงตัดกับซอย จุฬาลงกรณ์ 14-20 มีการเรียกเก็บเงินจากร้าน ค้ารถเข็นและหาบเร่แผงลอยมานานแล้ว โดย ไม่มกี ารทำ�สัญญาหรือข้อตกลงเป็นลายลักษณ์ อักษรใด ๆ เพิ่งจะมีการออกใบเสร็จรับเงินเป็น หลักฐานในช่วงหลัง แต่ในใบเสร็จก็ไม่ได้แจ้ง ว่าหน่วยงานใดที่ดูแลหรือเป็นผู้รับเงิน มีเพียง ลายมือชื่อของผู้รับเงินเท่านั้น นอกจากนี้ยังมี การขอสำ�เนาบัตรประชาชนของผูป้ ระกอบการ ไปอีกด้วย โดยถ้าเป็นส่วนที่ตั้งยื่นออกมานอก อาคารหรือแผงลอยจะต้องจ่ายเดือนละ 2,300 บาท ในขณะทีร่ ถเข็นจ่ายเดือนละ 500 บาท ซึง่ เป็นราคาทีล่ ดลงมาตัง้ แต่มกี ารขอคืนพืน้ ที่ ทัง้ นี้ ผู้ประกอบการบางรายสามารถต่อรองขอลด ราคาได้ ในขณะที่ช่วงซอยจุฬาลงกรณ์ 12-14 เพิ่งเรียกเก็บในภายหลัง “ตอนที่ เ ราอยู่ ซ อย 5 ซอย 10 ซอย 12 เขาจะมี ค นมาเก็ บ เงิ น เป็ น บริ ษั ท รับเหมาเช่าช่วงอีกทีหนึ่ง รายได้เข้ากระเป๋า ใครเราก็ไม่รู้” ผู้ประกอบการรายหนึ่งตั้งข้อ สงสัย และยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า ตอนที่ มีการเรียกเก็บเงินเนื่องจากรถเข็นตั้งลํ้าออก ไปนอกร้ า นที่ ต นเช่ า อยู่ คนที่ ม าเก็ บ แจ้ ง ว่ า ด้านนอกอาคารไม่ใช่ของจุฬาฯ แต่เป็นของ บริษัทเจนก้องไกล การเรียกเก็บเงินเริ่มตั้งแต่
editorial
มีการก่อสร้าง ขอคืนพื้นที่ตลาดสวนหลวง “ครั้ ง แรกที่ เ ขาจะมาเก็ บ เขาบอก 2,300 ป้าบอกเขาไปว่าป้าขายมา 20 กว่าปีป้า ไม่เคยจ่ายนะ ขอ 1,500 ได้ไหม เพราะค่าเช่า บ้านนี่ก็แพงแล้ว ป้าจะไม่ยอม” แหล่งข่าวราย เดิมกล่าว “เขาก็เริ่มเก็บมาแต่เรายังไม่โดน แต่ ก่อนมันจะเก็บหน้าตลาด หลังจากนัน้ ก็ลามไป ทุกซอยเลยเพราะเป็นทีผ่ อ่ นผัน นอกตลาดเป็น ที่ผ่อนผัน จะมีตลาดที่ไม่ต้องเก็บค่าเช่า พอ หลังจากนัน้ ตลาดรือ้ ไปมันก็กระจาย พวกเขาก็ จะเก็บ ให้วางหน้าบ้านไม่ได้ เห็นว่าเป็นระเบียบ ของจุฬาฯ ที่ผู้เช่าไม่สามารถวางนอกพื้นที่ได้” ขณะที่ผู้ประกอบการอี กรายหนึ่ ง กล่าวว่า เมื่อก่อนขายอยู่ฝั่งตรงข้ามที่ขอคืน พื้นที่ไปแล้ว ย้ายมาอยู่ฝั่งนี้ได้ประมาณ 3-4 เดือน จ่ายค่าเช่าเดือนละ 2,300 บาท บริษัท ที่มาเก็บอ้างว่ามาจากจุฬาฯ และมาเก็บเป็น ประจำ�ทุกเดือน แต่จะขายต่อไปได้ถึงเมื่อไหร่ นั้นตนไม่ทราบ เช่น บางคนบอกว่าในอาคาร สามารถอยู่ต่อได้อีกสองเดือน อย่างไรก็ดีก่อน หน้าที่จะย้ายมา ตนวางของหน้าบ้านได้โดย ไม่ต้องเสียเงิน แต่เมื่อย้ายมาที่ขายอยู่ปัจจุบัน ถ้าไม่เสียเงินก็ไม่ได้ขาย “ถ้าเราไม่เสียเดือนเดียวเขาบอกว่า จะไม่ขายแล้วใช่ไหมป้า ถ้าเราไม่จา่ ยเขาก็ถาม ว่าจะขายไหม ถ้าจะขายก็ไปจ่ายตังค์ ของทีย่ นื่ ออกมาจากในอาคารเสียหมด คุณเช่าแต่ใน พื้นที่ คุณไม่ได้เช่านอกพื้นที่ หน้าบ้านไม่เกี่ยว เขาจะพูดอย่างนี้ คนที่เขามาเก็บเงินบอกว่า บริษทั นีเ้ ขาประมูลจากจุฬาฯ จุฬาฯ จะไม่มสี ทิ ธิ์ มายุ่ง จุฬาฯ แค่อยู่ในอาคาร ถ้านอกอาคารจะ เป็นของบริษัท” แหล่งข่าวรายเดิมกล่าวเสริม ขณะที่ผู้ประกอบการอีกรายกล่าว ว่า เคยมีคนที่อ้างว่าเป็นบุคลากรของจุฬาฯ แจ้งว่าทางจุฬาฯไม่อนุญาตให้ขายบนทางเท้า และริมถนน การเรียกเก็บเงินไปนั้นจุฬาฯ ไม่มี ส่วนรูเ้ ห็น และได้ขอให้ถา่ ยรูปคนทีม่ าเรียกเก็บ เงินไว้ด้วย แต่โทรศัพท์ของตนถ่ายรูปไม่ได้เลย ไม่รู้จะทำ�อย่างไร อย่างไรก็ดผี ปู้ ระกอบการหลายราย ต่างไม่ทราบแน่ชัด ว่าคนที่มาเรียกเก็บเงินนั้น มาจากหน่วยงานใด บางรายกล่าวว่าคนที่มา เก็บเงินอ้างว่ามาจากบริษัทเจนก้องไกล ที่ได้ ประมูลเก็บค่าเช่าจากร้านค้ารถเข็นและหาบเร่ แผงลอย ในขณะที่ผู้ประกอบการส่วนหนึ่งให้ ข้อมูลว่าคนทีม่ าเก็บเงินนัน้ อ้างว่ามาจากจุฬาฯ ทางด้านนายเอกพล ส่งเสริม ได้ ตอบข้อซักถามในกรณีดังกล่าว ว่าทางจุฬาฯ มีจดุ ผ่อนผันทีอ่ นุญาตให้เก็บค่าหาบเร่แผงลอย อยูเ่ พียงจุดเดียว คือช่วงซอยจุฬาลงกรณ์ 12-22 เฉพาะด้านที่ติดกับอาคารพาณิชย์ โดยแบ่ง รายได้กับบริษัทเอกชน ในขณะที่ฝั่งตรงข้าม จะมีการติดป้ายห้ามตัง้ แผงค้า หาบเร่-แผงลอย นายสั น ติ พ ล เจนวั ฒ นไพศาล กรรมการผู้จัดการบริษัทเจนก้องไกล บริษัท ที่ ถู ก อ้ า งถึ ง ก็ ใ ห้ ข้ อ มู ล ในทำ � นองเดี ย วกั บ นายเอกพล โดยยอมรับว่าบริษัทเป็นผู้ดูแล
เก็บค่าเช่าแผงค้า หาบเร่-แผงลอยจริง แต่ก็ เป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัยที่มีเขต ผ่อนผัน คือซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ช่วงตัดกับซอย จุฬาลงกรณ์ 12-20 ทางบริษัทมีหน้าที่ดูแลให้ มีการขายเฉพาะในเขตผ่อนผัน ถ้าออกนอก เขตไปจะต้องมีการผลักดันไม่ให้ขาย โดยทาง มหาวิทยาลัยเก็บค่าเช่าจากบริษัทในลักษณะ ของการให้สิทธิ์ดำ�เนินการ อย่างไรก็ดี แม้วา่ ทัง้ ทางส่วนบริหาร กิจการเขตพาณิชย์สวนหลวง-สามย่าน และ บริ ษั ท เอกชนจะให้ ข้ อ มู ล ตรงกั น แต่ เ มื่ อ ยั ง ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดในข้อตกลงที่เป็น ลายลักษณ์อกั ษรจากทัง้ สองหน่วยงาน ก็ยงั ไม่ สามารถยืนยันข้อเท็จจริงนี้ได้อย่างแน่ชัด เมื่ อ สอบถามความเห็ น ของนิ สิ ต จุฬาฯ ต่อกรณีของร้านค้ารถเข็นหาบเร่แผงลอย เหล่านี้ กลับมีความเห็นต่างกันไปสองทาง โดย นายจิระพงษ์คดิ ว่าสถานทีไ่ ม่เอือ้ อำ�นวยต่อการ ขาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเย็นที่การจราจร ค่อนข้างจะหนาแน่น ทำ�ให้เกิดปัญหาบ่อยครัง้ และโดยส่วนใหญ่ตนจะใช้บริการร้านค้าทีอ่ ยูใ่ น อาคารมากกว่า ขณะทีน่ ายกำ�ชัยมองในมุมกลับกัน ว่า ถ้าไม่มีร้านค้ารถเข็นหาบเร่แผงลอยเหล่านี้ ตนก็ไม่รู้ว่าจะหาซื้ออาหารราคาถูกแบบนี้ได้ ที่ไหน เพราะอาหารพวกนี้ราคาถูกมาก เช่น หมูปงิ้ ลูกชิน้ ต่างก็เป็นอาหารทีต่ นชืน่ ชอบ และ คงรู้สึกตกใจหากไม่มีร้านค้าเหล่านี้อีกต่อไป นี่ คื อ อี ก ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก นโยบายพัฒนาทีด่ นิ ทีจ่ ฬุ าฯ ได้ครอบครองตาม พ.ร.บ. โอนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ อันเป็นทรัพย์สนิ ส่วน พระมหากษัตริย์ ตำ�บลปทุมวัน อำ�เภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุ ท ธศั ก ราช 2482 นอกเหนื อ จากกรณี ก าร ขึ้นค่าเช่าสนามกีฬาแห่งชาติ และการขอคืน พื้นที่จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย โดยปรากฏ ตามสื่อต่าง ๆ ก่อนหน้านี้ แน่ น อนว่ า ในแง่ ค วามถู ก ต้ อ งที่ ว่ า กั น ด้ ว ยตั ว บทกฎหมายอาจไม่ มี ข้ อ กั ง ขา มากนัก แต่ในแง่ของความเป็นธรรมนั้น ทาง จุฬาฯ อาจจะต้องออกแรงตอบคำ�ถามต่อสังคม ที่เริ่มถาโถมเข้ามา ในฐานะที่ต้องการจะเป็น “เสาหลักของแผ่นดิน” ตามวิสัยทัศน์ที่มีคำ� อธิบายว่า
“ เมื่อใดก็ตามที่สังคมมีปัญหา ประเทศชาติต้องการความช่วยเหลือ จุฬาฯ ของเราจะสวมบทบาทเชิงรุก เพื่อร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆ ทุกคนจะนึกถึงจุฬาฯ เป็นอันดับแรก ๆ ...จุฬาฯ ต้องเป็น ‘เรือธง’ ของบ้านนี้เมืองนี้ มีบทบาทชี้นำ� รวมทั้งเตือนสติสังคม ให้เกิดความถูกต้องและเป็นธรรม ”
นับเป็นครั้งแรกในรอบ 3 ปี ที่ “นิสิตนักศึกษา” กลับมานำ�เสนอข่าวอีกครั้ง หลังจาก ที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเป็นแนวนิตยสารเมื่อปี 2554 สำ�หรับ “นิสิตนักศึกษา” ฉบับนี้ นอกจากจะรายงานข่าวในประเด็นที่เป็นประโยชน์ ต่อนิสิตนักศึกษาแล้ว ยังนำ�เสนอสาระเนื้อหาที่สะท้อนและเปิดมุมมองให้รอบด้านถึงความ หมายที่แท้จริงของ วัตถุนิยม หรือ Materialism อีกด้วย การเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ ถือเป็นก้าวที่สำ�คัญยิ่งของ “นิสิตนักศึกษา” เพราะถือ เป็นการก้าวออกจากพืน้ ทีป่ ลอดภัย มาเผชิญหน้ากับความเป็นจริงอันน่าขมขืน่ ของสังคม อาทิ การไม่ได้รบั ความเป็นธรรม การขาดความชัดเจนในการบริหารงาน ปัญหาอาชญากรรมในสังคม ปัญหาด้านสิทธิเด็ก และจริยธรรมของมนุษย์ที่สั่นคลอน ปัญหาดังกล่าวถูกถ่ายทอดผ่านสารคดีเชิงข่าวในพาดหัวต่าง ๆ อย่างครบถ้วนใน “นิสิตนักศึกษา” ฉบับนี้ เช่น ข่าว “ตำ�รวจชี้ ความปลอดภัยจุฬาฯ ‘หละหลวม’ ” ที่ได้เตือนสติ ผู้อ่านให้ไม่ประมาท และมองปัญหาอาชญากรรมในสังคมเป็นเรื่องไกลตัว หรือข่าว “ผังเมือง เรือ่ งขัดแย้งทีม่ ที างยุต”ิ ทีไ่ ด้น�ำ เสนอปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการวางผังเมืองและพ.ร.บ.การผังเมือง รวมถึงกรณีตัวอย่างของชาวบ้านที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมอย่างแท้จริง สือ่ มวลชนเป็นฐานันดรที่ 4 มีหน้าทีต่ รวจสอบการทำ�งานของผูม้ อี �ำ นาจ และรายงาน ข้อเท็จจริงสู่มวลชนในสังคมประชาธิปไตย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ นอกจากนี้ ยัง มีหน้าทีร่ ายงานปัญหาทีส่ ง่ ผลกระทบต่อความเป็นอยูข่ องสังคมโดยรวม เพือ่ เป็นจุดเริม่ ต้นของ การแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป ไม่ว่าสื่อจะถูกแทรกแซง ถูกกดดัน หรือถูกขัดขวางการทำ�งาน สื่อก็ยังจะยืนหยัด และทำ�หน้าที่ต่อไป เพื่อประโยชน์ของสังคมโดยรวม มิใช่ของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพราะหากสื่อไม่ทำ�หน้าที่ในเวลาที่สังคมมีปัญหาแล้ว ใครจะทำ�? กองบรรณาธิการ
เจ้าของ
ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณาธิการผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา
บรรณาธิการ
Supplement
เทพพิทักษ์ มณีพงษ์
กองบรรณาธิการ
Supplement
การะเกด นรเศรษฐาภรณ์ กุลนันทน์ ไตรเจริญวิวัฒน์ ผศ.ดร.ณรงค์ ขำ�วิจิตร์ จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์ จิตรินทร์ เลิศรัตนวิสุทธิ์ ที่ปรึกษา ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์ ผศ.ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ มนต์ทิพา วิโรจน์พันธุ์ ผศ.ดร.พิรงรอง รามสูต วรรษมน โฆษะวิวัฒน์ ผศ.พิจิตรา สึคาโมโต้ ศิลป์ศุภา โยคะกุล อ.พรรณพิมล นาคนาวา ษฎาวุฒิ อุปลกะลิน อ.ดร.พรรษาสิริ กุหลาบ อภิชชญา โตวิวิชญ์ อ.ศิริลักษณ์ พัฒนลีลาวงศ์ อรุณรัตน์ ใจกล้า
บรรณาธิการข่าว
ภาพปก Supplement
พรทิวา ไวยครุฑธา
จักรพงษ์ ตะเคียนงาม
กองบรรณาธิการข่าว
บรรณาธิการฝ่ายศิลป์
จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา ณัชชา อรวีระกุล ธนพร ธรรมกีรติวงศ์ ธารใส อัจฉริยบุตร พรสุรีย์ เฑียรบุญเลิศรัตน์ เมธี รัษฎานุกูล วรรณรัตน์ กล่ำ�สมบัติ วรัชยา คุ้มกลาง สราวรรณ ติยโรจน์เวคิน เหมือนแพร กุสสลานุภาพ
สถานที่ติดต่อ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร. 0-2218-2140
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ขอขอบคุณ ฟอนต์ Helvetica, ฟอนต์ PSLxDisplay, ฟอนต์ RSU และ ฟอนต์ Minion Pro
ษฎาวุฒิ อุปลกะลิน
กองบรรณาธิการฝ่ายศิลป์ จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์ ณัชชา อรวีระกุล เทพพิทักษ์ มณีพงษ์ พรทิวา ไวยครุฑธา
พิสูจน์อักษร
ศิลป์ศุภา โยคะกุล วรรณรัตน์ กลำ�่ สมบัติ อรุณรัตน์ ใจกล้า
facebook.com/nisitjournal
3
4
children’s rights รีย์ เฑียรบุญเลิศรัตน์ UN ชี้ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้ง . พรสุ วรัชยา คุ้มกลาง
ผลพวงจากการเปิด AEC .
กรรมการสิ ท ธิ เ ด็ ก แห่ ง สหประชาชาติเผย อนาคตเด็กใน AEC น่าเป็น ห่วง เนือ่ งจากการเคลือ่ นย้ายแรงงานเสรีจะ ทำ�ให้เกิดปัญหาเด็กพลัดถิน่ ถูกทอดทิง้ และ ขาดการเอาใจใส่ดูแล ส่งผลให้พัฒนาการ ไม่เป็นไปตามวัย พร้อมแนะให้ครอบครัว ชุมชน และโรงเรียน เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่าง ใกล้ชิด เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว นายสรรพสิ ท ธิ์ คุ ม พ์ ป ระพั น ธ์ กรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ ให้ สั ม ภาษณ์ ล งในเว็ บ ไซต์ ข องมู ล นิ ธิ ศู น ย์ พิทกั ษ์สทิ ธิเด็กว่า การก่อกำ�เนิดของอาเซียน อาจไม่สง่ ผลดีตอ่ เด็กและเยาวชนอย่างทีค่ ดิ การรวมเขตเศรษฐกิ จ ในกลุ่ ม ประเทศอาเซียน (AEC) ที่จะมีการเคลื่อน ย้ายประชากร การลงทุน และการผลิต จาก ประเทศหนึง่ ไปสูอ่ กี ประเทศหนึง่ ภายในกลุม่ ประเทศอาเซียน จะทำ�ให้เกิดผลกระทบทั้ง ทางบวกและทางลบตามมา ในส่ ว นของผลกระทบทางลบ กรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติได้ชี้ให้ เห็นว่า ปัญหาแรกที่จะเกิดขึ้นคือจำ�นวน เด็ ก พลั ด ถิ่ น จะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น มาก เนื่ อ งจาก แรงกดดันของกลุ่มอิทธิพลทางเศรษฐกิจ จะทำ�ให้ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มอาเซียนลด การปิดกั้นการเข้าออกในประเทศ ส่งผล ให้ประชากรจากประเทศที่ขาดโอกาสทาง เศรษฐกิจและสังคม เคลื่อนย้ายเข้าไปอยู่ ในประเทศที่มีโอกาสดีกว่า เด็กที่ย้ายถิ่นไป ด้วยตนเองหรือตามผูป้ กครองไป จะมีโอกาส เข้าถึงบริการต่าง ๆ จากรัฐน้อยลง หรือไม่มี โอกาสเข้าถึงได้เลย รวมทัง้ จะถูกใช้แรงงาน เป็นเครื่องมือในการขอทาน หรืออาจถูก แสวงผลประโยชน์ทางเพศได้โดยง่าย นายสรรพสิ ท ธิ์ ก ล่ า วต่ อ ไปว่ า นอกจากไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง บริ ก ารต่ า ง ๆ ของรัฐแล้ว โอกาสที่จะได้รับการพัฒนาจน สามารถพึง่ ตนเอง และพัฒนาความสามารถ อื่นๆได้ตามวัยอย่างเต็มศักยภาพ ก็ไม่อาจ เกิดขึ้นได้ เพราะมีแต่ตัวผู้ปกครองเท่านั้นที่ จะพัฒนาเด็ก ไม่มเี ครือญาติ ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานรัฐสามารถเข้าถึงตัวเด็กหรือ ให้บริการแก่เด็กกลุ่มนี้ได้ จากการรายงานของรัฐภาคีทส่ ี ง่ ให้คณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ พบว่ า ประเทศที่ มี ส ถานการณ์เช่น นี้ เช่น ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ไม่ ไ ด้ มี แ ผนงานในการแก้ ไ ข ป้องกันปัญหาแต่อย่างใด ดำ�เนินการเพียง ให้การช่วยเหลือเฉพาะหน้า และเป็นการ ช่วยเหลือที่ไม่ทั่วถึง ทั้งนี้ประเทศต้นทาง ดังกล่าวมักมีปัญหาเศรษฐกิจและสังคม อยู่แล้ว ประกอบกับความต้องการเงินตรา ต่างประเทศเข้าไปคํา้ จุนระบบเศรษฐกิจของ ตน จึงมักจะส่งเสริมกลาย ๆ ให้บรรดาพ่อ แม่ผปู้ กครองออกไปทำ�งานนอกประเทศ ยัง
ไม่รวมถึงประเด็นของการค้าเด็กข้ามชาติที่ จะเพิม่ มากขึน้ เป็นเงาตามตัวในกรณีรฐั บาล ที่เกี่ยวข้องไม่ติดตามดูแล กรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ กล่าวต่อไปว่า ปัญหาประการถัดมาคือ การ เปลี่ยนแปลงด้านภูมิอากาศโลก ที่จะส่ง ผลกระทบที่รุนแรงต่อเด็ก ไม่ว่าจะอยู่ใน รูปของภัยทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ พายุไต้ฝุ่น หรืออื่น ๆ ที่ทำ�ให้เกิด ปั ญ หาขาดแคลนนํ้ า ดื่ ม ที่ ส ะอาด หรื อ ทุ พ ภิ ก ขภั ย ถึ ง ขั้ น อดตาย ซึ่ ง ปั ญ หาที่ จ ะ ตามมาคื อ การค้ า เด็ ก ข้ า มชาติ เ พื่ อ เป็ น บุ ต รบุ ญ ธรรมอย่ า งผิ ด กฎหมาย หรื อ Illegal Adoption โดยแทรกซึมเข้าไปพร้อม กับการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม สำ�หรับผลกระทบต่อเด็กจากการ เปิด AEC ประการถัดมา กรรมการสิทธิเด็ก แห่งสหประชาชาติกล่าวว่า เด็กจะถูกเลีย้ งดู โดยมิชอบมากยิง่ ขึน้ เพราะพ่อแม่ผปู้ กครอง มีแนวโน้มที่จะใส่ใจเฉพาะเรื่องของตนเอง เนื่องจากต้องแข่ง ขันแก่งแย่งกับคนจาก ประเทศอื่นเพื่อให้ตนอยู่รอด เห็นได้จาก กรณีทเี่ ด็กอายุเพียงสองสามขวบหายตัวไป บาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต จากการถูก ปล่อยให้อยู่ตามลำ�พัง นอกจากนี้ พ่อแม่ อาจใช้ความรุนแรงต่อกันหรือมีเพศสัมพันธ์ กัน โดยไม่สนใจว่ามีเด็กอยู่ในความดูแล หรืออยู่ใกล้ ๆ ขณะนั้น นายสรรพสิ ท ธิ์ ก ล่ า วต่ อ ไปว่ า เทคโนโลยี ไม่ ว่ า จะเป็ น คอมพิ ว เตอร์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ที่มีความสามารถหรือ Function หลากหลาย จะดึงความสนใจของ พ่อแม่ผปู้ กครองไปอยูท่ จี่ ดุ อืน่ ๆ ไม่ใช่เด็ก ๆ อีกต่อไป รวมทั้งตัวเด็กเองก็กระโดดเข้าหา เทคโนโลยีเพราะพ่อแม่ไม่ได้ใส่ใจตนเช่นกัน แนวโน้มคือความรักผูกพันระหว่างสมาชิก ครอบครั ว จะลดลงแบบต่ า งคนต่ า งอยู่ แม้ จ ะอยู่ ใ นบ้ า นหลั ง เดี ย วกั น และจะมี ลักษณะอยู่ด้วยกันเพราะความผูกพันทาง เศรษฐกิจหรือการอยูร่ อดมากกว่า เด็กๆก็จะ มีปัญหาด้านพัฒนาการทางอารมณ์ สังคม และสติปัญญามากขึ้น สำ�หรับทางแก้ไขและป้องกันไม่ ให้เกิดสถานการณ์ดังกล่าว นายสรรพสิทธิ์ กล่าวว่า จะต้องพัฒนาให้ครอบครัว ชุมชนและ โรงเรียนปกป้องเลีย้ งดูเด็กตามความต้องการ รับการพัฒนาของเด็กให้ได้ รวมทัง้ ประชากร โลกรุ่ น ต่ อ ไปจะต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ทางสังคมและศีลธรรมมากยิง่ ขึน้ สร้างสภาพ แวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก และเยาวชน เพือ่ ให้พวกเขาเป็นผูใ้ หญ่ทจ่ี ะไม่ คิดหรือทำ�การเอารัดเอาเปรียบคนอืน่ ไม่เผา ผลาญทรัพยากรของโลกเพือ่ ชีวติ ทีฟ่ มุ่ เฟือย ของตน อีกทัง้ ยังช่วยเหลือเกือ้ กูลคนอืน่ ทีอ่ ยู่ ในสภาพเลวร้ายกว่าตน
คิ ด อย่ า งไรเม : กรณี ม.เกษตรศาสตร์
/ ต่อจากหน้า 1 รศ.ดร.ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางค์กูร รองอธิการบดีฝา่ ยวิจยั มก. เล่าถึงความคืบหน้า ในการออกนอกระบบของ มก. ว่า ตอนนี้เข้าสู่ กระบวนการบัญญัติกฎหมาย รัฐบาลส่งร่าง พ.ร.บ. ของ มก. ไปทีส่ ภาผูแ้ ทนราษฎรตัง้ แต่วนั ที่ 2 เม.ย. ตอนนี้มีการประชุมคณะกรรมาธิการ พิจารณาร่าง พ.ร.บ. ทุกวันพุธตอนเช้า ล่าสุด คือวันที่ 17 ก.ค. เพิ่งพิจารณาไป 22 มาตราจาก ทั้งหมด 79 มาตรา ในระหว่างนี้ ทาง มก. ได้เริ่ม จัดทำ�กฎหมายลูกประกอบร่าง พ.ร.บ.ไว้ด้วย ร่าง พ.ร.บ.ของ มก. ตกไปสามครั้ง เนื่องจากสาเหตุภายนอกอย่างความผันผวน ทางการเมืองและนโยบายที่ต่างกันของแต่ละ รั ฐ บาล ครั้ ง นี้ จึ ง เป็ น ครั้ ง ที่ สี่ ใ นการเสนอร่ า ง เข้ า สู่ ก ระบวนการพิ จ ารณา นั บ แต่ มี ก ารทำ � ประชาพิจารณ์เมื่อ พ.ศ.2545 นอกจากนี้ยังมี สาเหตุภายใน คือความกังวลของบุคลากรและ นิสิต ในเรื่องการมีส่วนร่วม และความชัดเจน ของหลักเกณฑ์ต่าง ๆ การมีส่วนร่วม “แน่ น อนว่ า ระหว่ า งทางอาจจะมี นิสิตรุ่นใหม่ หรือใครก็แล้วแต่ที่อาจจะไม่เข้าใจ ถึงกระบวนการก่อนหน้านี้ ถ้าได้ติดตามใกล้ ชิด ศึกษาจากข้อมูลที่เราเวียนทางอีเมลหรือ บนเว็บไซต์ ก็น่าจะเข้าใจ แต่มักจะมีบางคน ออกมาบอกว่ายังไม่ได้มีส่วนร่วมในการดำ�เนิน การ ซึ่งควรจะต้องกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วม มากขึ้นโดยตัวเขาเองด้วย” รองอธิการบดีฝ่าย วิจัยกล่าว และเสริมว่า แม้จะไม่ได้มีการทำ� ประชาพิจารณ์ใหม่ แต่มีการเปิดรับฟังความ คิดเห็นก่อนส่งเรื่องเข้าสู่สภาฯ เพราะบุคลากร และนิ สิ ต เป็ น คนละกลุ่ ม กั บ สมั ย ก่ อ น และมี พัฒนาการของกฎหมายเพิ่มขึ้น จึงต้องปรับร่าง พ.ร.บ. ให้สอดคล้องกัน อาจารย์ ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ มก. รายหนึ่ ง กล่ า วว่ า “นิ สิ ต เขาอยู่ สั้ น เรื่ อ งนี้ มั น ดำ�เนินการยาว ต้องเข้าใจว่าคนทำ�งานเขาเห็น อะไรมาเยอะตั้งแต่เริ่มต้น นิสิตเข้ามาอาจเป็น จังหวะที่จะเริ่มใหม่ แล้วก็ขึ้นอยู่กับความสนใจ ความใส่ใจ” ด้านประธานสภาผู้แทนนิสิต มก. กล่าวถึงการมีส่วนร่วมของนิสิตว่า ที่ผ่านมามี การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับขั้นตอนการเสนอ เรื่องเข้าสู่ ครม. และระเบียบว่าออกนอกระบบ แล้วจะเป็นลักษณะไหน แต่ไม่มากและชัดเจน
เท่ากรณีคดั ค้านการสร้างทางด่วน ขณะทีน่ ายก องค์ ก ารบริ ห าร องค์ ก ารนิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ (อบ.ก.) กล่าวว่า การชี้แจงที่ผ่าน มายังได้รับความสนใจไม่มากนัก และสถานที่ จัดการประชุมก็จุคนได้น้อย “ถ้ า ตี เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ใ ห้ ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์เองเวลามีการเรียกประชุมต่าง ๆ จะเข้า ไปแค่รบั ฟังและแสดงความคิดเห็น แต่ถามว่ามี สิทธิมีเสียงในการที่จะเห็นด้วยไม่เห็นด้วยไหม มันไม่ได้มีขนาดนั้น” นายก อบ.ก. กล่าว “เราไม่ รู้ ด้ ว ยซํ้ า ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น หรื อ ไม่เกิดขึ้น จริง ๆ ออกไปแล้วค่าเทอมอาจจะไม่ แพงขึน้ ก็ได้ สวัสดิการอาจจะดีขนึ้ ก็ได้ เราก็ไม่ร”ู้ ประธานสภาผู้แทนนิสิต มก. เสริม ขณะที่ บุ ค ลากรส่ ว นหนึ่ ง กล่ า วไป ในทิศทางเดียวกันว่า มีการประชาสัมพันธ์มา เป็นระยะ ส่วนใหญ่ผ่านทางอีเมลและเว็บไซต์ “เขาก็มีตัวแทนนะ ฟังความคิดเห็นเขาก็จัด แต่ จัดในกรณีแบบเร่งด่วน แจ้งมาแล้วให้ไปฟังกัน เลยมีส่วนน้อยที่ไป เพราะว่าบางคนติดงาน” เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารงานทั่ ว ไปซึ่ ง มี ส ถานะเป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยกล่าว หลักประกันคุณภาพการศึกษา อาจารย์ ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ มก. อี ก รายหนึ่ ง ให้ ค วามเห็ น เรื่ อ งคุ ณ ภาพการ ศึ ก ษาว่ า ม.ที่ อ อกนอกระบบแล้ ว บุ ค ลากร ต้ อ งทำ � งานหนั ก ขึ้ น สายวิ ช าการต้ อ งเน้ น การวิจัย ในแง่นี้ถือว่ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ขณะที่ ข้ า ราชการฝ่ า ยทรั พ ย์ สิ น รายหนึ่ ง ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า ปั จ จุ บั น ปริ ญ ญาตรี ภาคปกติ เ ริ่ ม น้ อ ยลง เปิ ด ภาคพิ เ ศษมากขึ้ น และค่าตอบแทนแต่ละโครงการสูงขึ้นเรื่อย ๆ ด้านรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยชี้แจงว่า โครงการ พิ เ ศษต้ อ งมี ก ารบริ ห ารจั ด การให้ เ หมาะสม ไม่ใช่หาเงินเพียงอย่างเดียว “เท่าที่ผ่านมา ม.ที่เปลี่ยนไปเป็น ในกำ�กับ คุณภาพเลวลงหรือเปล่า จุฬาฯ มหิดล เชียงใหม่ ไปดูผลการศึกษาวิจยั เขาชีใ้ ห้เห็นเลย ว่า หนึ่ง ค่าธรรมเนียม มันไม่ได้มีการขึ้นจริง อย่างที่เป็นข้อกังวล ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่ตรวจ สอบได้ สอง ทำ �ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการทำ � งาน ดีขึ้นใช่ไหม วัดจากจำ�นวนการตีพิมพ์ผลงาน ทางวิชาการในต่างประเทศ และ การจัดอันดับ ของโลก” รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยกล่าวเสริม รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยยังกล่าวถึง เรื่องเสรีภาพทางวิชาการอีกว่า แม้ในหลักการ จะกำ�หนดไว้ แต่อาจจะมีได้ไม่เต็มที่ เพราะ
scoop
มื ่ อมหาวิทยาลัยต้ องออกนอกระบบ? วรรณรัตน์ กล่ำ�สมบัติ / ธนพร ธรรมกีรติวงศ์ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กำ�ลังร่าง พ.ร.บ.การอุดมศึกษาขึ้นใหม่ หาก สภาเห็นชอบ ม.ต่าง ๆ จะถูกติดตามดูแลซ้อน เข้าไปอีก
คงเปลี่ยน ส่วนอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มก. กล่าวว่าตนพอใจกับการเป็นข้าราชการ เพราะมี ความมัน่ คง และให้ความสำ�คัญกับการปรับปรุง การสอนมากกว่า ด้านรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยกล่าวว่า ความพร้อมด้านรายได้ เรื อ ่ งนี ย ้ ง ั ไม่ มีระเบียบออกมาชัดเจน รายได้ ข อง มก. ส่ ว นใหญ่ ม าจาก ค่าธรรมเนียมการศึกษา โดยเฉพาะภาคพิเศษ ระบบประเมินการทำ�งาน และหลักสูตรนานาชาติ นอกนั้นได้จากการวิจัย ข้าราชการฝ่ายทรัพย์สินกล่าวว่า ใน ผลผลิตทางการเกษตร และเกษตรแฟร์ “ยังไม่รู้ ระบบราชการ คนทำ�งานอาจจะได้ค่าตอบแทน จะเป็ น แบบม.อื่ น ไหม ที่ ต อนแรกคิ ด ว่ า มี เ งิ น น้อยกว่าคนที่ไม่ทำ� จึงเป็นที่น่าสงสัยว่าระบบ อุดหนุน มีรายได้เพียงพอ แต่สรุปว่าไม่ไหว ไปไม่ ธรรมาภิ บ าลและความเป็ น ธรรมในเรื่ อ งการ รอด กลายเป็นมาลงทีน่ สิ ติ แทน ต้องจ่ายค่าเทอม ประเมินมีอยู่จริงหรือไม่ ขณะที่หนึ่งในอาจารย์ แพงขึน้ เพือ่ อุดหนุนมหาวิทยาลัย ... มีการอ้างอิง คณะวิ ท ยาศาสตร์ ก ล่ า วว่ า “การประเมิ น ไม่ ถึงจุฬาฯ เหมือนกันว่า ที่ของเขาเป็นทองนะ ของ น่ า กลั ว แต่ น่ า กลั ว ตรงที่ ว่ า ใครประเมิ น ถ้ า เรามีอะไรบ้างล่ะ” ประธานสภาผูแ้ ทนนิสติ กล่าว ประเมินโดยมีทีมที่ดี ระบบที่ดี คนที่ดี เชื่อว่า อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มก. ราย ใครก็ไม่กลัว” หนึ่งกล่าวว่า “การศึกษาไม่ควรทำ�ความลำ�บาก ทางด้านรองอธิการบดีฝา่ ยวิจยั กล่าว ใจให้ผู้เรียน ไม่ต้องมาบอกว่ามีทุน ทั่วถึงหรือ ว่า “การประเมินต้องประเมินบนกฎกติกาที่เป็น เปล่า เราต้องการ 100 เปอร์เซ็นต์” ที่ยอมรับกันอยู่แล้ว ต้องมีหลักมีเกณฑ์ เพราะ ข้าราชการฝ่ายทรัพย์สินให้ข้อมูลว่า ฉะนัน้ ข้ออ้างทีบ่ อกว่าไปวิพากษ์วจิ ารณ์ผบู้ ริหาร ต่อไปรัฐจะสนับสนุนน้อยลง แหล่งรายได้เก็บ ไม่ได้ เดี๋ยวโดนลงโทษ ไม่ต่อสัญญาอะไรต่าง ๆ จากค่าธรรมเนียมการศึกษาเป็นหลัก ถึงไม่ออก ถ้าไม่เป็นธรรม ฟ้องร้องได้ทันที นอกระบบก็มกี ารปรับขึน้ ค่าเทอมอยูแ่ ล้ว ทัง้ ภาค ปกติ และภาคพิเศษ และถึงอย่างไรมหาวิทยาลัย ก็ต้องถูกกดดันให้ออกนอกระบบ แต่เมื่อออก ที่ ม. จะมุ่งสู่ตลาดได้ แล้วควรมีระเบียบที่ชัดเจน โดยเฉพาะเรื่องการ เงิน มิฉะนั้นการทุจริตจะแนบเนียนขึ้น ไม่อยากให้คิดกังวล “แหล่งรายได้นง่ี า่ ยมากเลย ไปตรวจ มุ่งหน้าแต่จะหาเรื่องรายได้ สอบบัญชีได้เลยว่า หนึ่ง มาจากค่าธรรมเนียม ทางการศึ ก ษา สอง ถ้ า เป็ น ม.ในกำ � กั บ เรา สามารถเอาเงิ น ไปลงทุ น ทำ � บริ ษั ท ทางด้ า น การเกษตร หรือเอาข้อมูล เอาความรู้ไปใช้ใน เพราะปกติแล้วระบบราชการไม่ใช่เชิงธุรกิจ การบริการวิชาการได้ง่ายขึ้น โดยไม่ติดระเบียบ กระทรวงการคลั ง แล้ ว ก็ ต้ อ งแสวงหาโดยใช้ ความรู้ ไม่ใช่ไปขึ้นค่าหน่วยกิต” รองอธิการบดี ความคาดหวัง ฝ่ายวิจัยกล่าว พร้อมทั้งชี้แจงว่า ม.ในกำ�กับใช้ เมื่อถามถึงความคาดหวังที่มีต่อการ งบประมาณส่วนหนึง่ จากรัฐ ยังต้องถูกตรวจสอบ ออกนอกระบบของ มก. หนึ่งในอาจารย์คณะ โดยสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) และ วิทยาศาสตร์กล่าวว่า มก. เป็นสถาบันเก่าแก่ กลไกอื่น ๆ ของทางราชการอยู่ดี ข้าราชการเยอะ ทำ�ให้การเคลื่อนตัวช้า แต่ขึ้น
สิ่งสำ�คัญ คือการผลิตบัณฑิต
เรื่องการให้ทางด้านวิชาการ โดยไม่หวังผลตอบแทน คงจะต้องรักษาไว้
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เรื่องค่าตอบแทนและสวัสดิการของ บุคลากร เป็นข้อมูลสำ�คัญที่ข้าราชการใช้เพื่อ ประกอบการตัดสินใจ ว่าตนจะเปลี่ยนสถานะ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยหรือไม่ หัวหน้างาน แผนและประกันคุณภาพ คณะมนุษยศาสตร์ มก. ให้ความเห็นว่า ต้องรอดูรายละเอียดก่อน หากไม่ น้อยไปกว่าสิทธิเดิมและได้คา่ ตอบแทนมากขึน้ ก็
อยู่กับระเบียบวิธีในการบริหารจัดการด้วย ด้ า นเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารงานทั่ ว ไปซึ่ ง มี ส ถานะเป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย กล่ า วว่ า ค่าตอบแทนและสวัสดิการควรสอดคล้องกับ ระบบใหม่ ไม่ใช่ต้องการผลงานมากขึ้น แต่ยัง ให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการแบบราชการ รวม ถึงต้องจัดสรรภาระงานให้ตรงตามตำ�แหน่ง เพือ่ ให้บุคลากรมีเวลาสำ�หรับพัฒนาผลงานตามที่
ระบุในสัญญาจ้าง “สิ่งสำ�คัญที่ ม.จะมุ่งสู่ตลาดได้คือ การผลิตบัณฑิต ไม่อยากให้คิดกังวลมุ่งหน้าแต่ จะหาเรื่องรายได้ เรื่องการให้ทางด้านวิชาการ โดยไม่หวังผลตอบแทนคงจะต้องรักษาไว้ เพราะ ปกติแล้วระบบราชการไม่ใช่เชิงธุรกิจ แต่ต่อ ไปมันจะเน้นด้านธุรกิจซะมาก สงสารเด็กที่เขา ไม่ค่อยมีฐานะ” หัวหน้างานแผนและประกัน คุณภาพ คณะมนุษยศาสตร์ กล่าว หนึ่ ง ในกรรมการ อบ.ก. กล่ า วว่ า การออกนอกระบบเป็นสิ่งที่ดี ทำ�ให้ ม.ใช้เงิน ได้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เกิดการพัฒนาทั้ง สถานที่และคุณภาพการศึกษา แต่ถ้านิสิตต้อง จ่ายเงินเพิ่ม ก็ควรมีหลักประกันว่าจะได้เรียน ใน ม.ที่ดีขึ้นจริง ๆ ทั้งยังเสริมว่า “ม.ไม่เคย บอกว่าเงินมาจากไหนอะไรยังไง ซึ่งเป็นข้อเสีย มาก ๆ แต่เด็กส่วนใหญ่ไม่ท้วง เด็กที่ท้วงก็โดน อาจารย์กด การพัฒนาอะไรบางอย่างต้องให้ คนทุกภาคส่วนเข้าไปร่วมกัน มุมมองแต่ละมุม มองมีประโยชน์ในแบบของมันเอง นิสติ ผูบ้ ริหาร คณาจารย์ ควรจะทำ�งานร่วมกัน ไม่ใช่ให้ผบู้ ริหาร ทำ�งานกับอาจารย์ แล้วทิ้งนิสิตให้ลอยแพรับ
อะไรก็ได้ที่ต้องรับ” ข ณ ะ ที่ ผู้ ช่ ว ย ฝ่ า ย ผ ลิ ต สื่ อ แ ล ะ ประชาสัมพันธ์ อบ.ก. ให้ความเห็นว่า แม้การ เพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายจะเป็นเรื่องที่ยอมรับและ เข้าใจได้ แต่ต้องคำ�นึงถึงผู้ที่ขาดโอกาสทางการ ศึกษาด้วย บางคณะอาจมีรายได้เพียงพอที่จะ สร้างตึกและมีทุนของคณะให้นิสิตที่ขาดแคลน โดยไม่ต้องพึ่งงบประมาณจาก ม. แต่หลาย ๆ คณะไม่สามารถทำ�ได้ ด้านประธานสภาผูแ้ ทนนิสติ ให้ความ เห็นว่า “ถ้าออกไปแล้ว ก็อยากให้เงินทุกบาทที่ ใช้ในการบริหาร กลับมาสู่นิสิตเต็ม ๆ จริง ๆครับ แล้วก็อยากให้หลาย ๆ อย่าง เรื่องสวัสดิการ สาธารณูปโภค สวัสดิภาพนิสิตดีขึ้นด้วย” “ถึ ง ม.จะออกนอกระบบหรื อ ไม่ออกนะครับ ให้คำ�นึงว่านิสิตคือหัวใจสำ�คัญ ของมหาวิ ท ยาลั ย เพราะฉะนั้ น ทำ � อะไร ให้ นึกถึงนิสิตเป็นสำ�คัญ แค่น้ันเอง” นายก อบ.ก. กล่าวทิ้งท้าย
humour
5
inside chula
6
บ่ายวันหนึง่ กลางเดือนมิถนุ ายน บริเวณ หอพักยูเซ็นเตอร์ นิสติ หญิงมอบเงินกว่า 2,000 บาท พร้อมไอโฟนให้ชายแปลกหน้าวัยกลางคน ซึ่งทำ�ที เข้ามาถามทางและอ้างว่าต้องการค่าเดินทางเพื่อ กลับบ้านที่สงขลา ฤทธิ์ของยาป้ายทำ�ให้เธอเกิด อาการมึนงงและทำ�ตามคำ�สัง่ ทุกอย่าง แม้วา่ เธอจะ จำ�บทสนทนาในวันนัน้ ได้ แต่กลับไม่สามารถจดจำ� ใบหน้าของคนร้ายได้เลย เหตุการณ์นี้เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งของ นิสิตจุฬาฯ ซึ่งตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมใน บริเวณมหาวิทยาลัย ยังไม่รวมอี กหลายกรณี ที่ สร้างความกังวลใจให้ทั้งบุคลากรและนิสิต ตั้งแต่ การโจรกรรมโน้ตบุ๊กที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะครุศาสตร์ การกระชากกระเป๋าบริเวณ พระบรมรูปสองรัชกาล การจีช้ งิ ทรัพย์บริเวณอุโมงค์ หน้าคณะนิเทศศาสตร์ คดีแก๊งเจ็ดปีศาจ ไปจนถึง การถูกก่อกวนโดยผู้มีอาการทางจิต เหตุใดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ เหล่านี้ จึงเกิดขึน้ ในพืน้ ทีข่ องมหาวิทยาลัย ชั้นนำ�ของประเทศ? “ถามว่าจุฬาฯ ปลอดภัยไหม ถ้าเทียบ แล้ว จุฬาฯ ไม่ได้ปลอดภัย เทียบกับช่างกลปทุมวัน อุเทนถวาย ... จุฬาฯ นีง่ า่ ยสุด เข้าออกได้ทกุ ทาง ทุก ที่ ตลอดเวลา” ร.ต.ต.สุทธิศักดิ์ มณเฑียรทอง รอง สวป. สน.ปทุมวัน กล่าว
“เคสใหญ่ ๆ ที่ เคยเจอ ส่ ว น มากจะเป็นพวกวิ่งราวทรัพย์ ทำ�ร้าย ร่างกาย ทีเ่ กิดบ่อยก็หน้านิเทศฯ อุโมงค์ แล้วก็คณะวิศวฯ” นายรัศมี ขันธ์โพธิ์น้อย หัวหน้าเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้ข้อมูล
ขณะที่ รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ ผอ.ศูนย์ รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ กล่าวเกี่ยวกับความปลอดภัยภายในจุฬาฯ ว่า “ไม่ เคยเจอเรื่องใหญ่ ๆ มีแต่เรี่องเล็ก ๆ ขโมยของ” มาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณ จุฬาฯ แบ่งเป็นการรักษาความปลอดภัยภายใน และภายนอก ส่วนของภายในมีการจัดเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย (รปภ.) ประจำ�จุดต่าง ๆ มีทั้ง ประเภทดูแลประจำ�คณะหรือหอพัก และประเภท ดูแลบริเวณประตูทางเข้า-ออกรวมถึงลานจอดรถ โดยจะมีการหมุนเวียนจุดกันทุกหนึ่งเดือน เพื่อให้ รปภ. เข้าใจความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ ไม่เกิด ความจำ�เจ และเป็นการเฉลี่ยความหนักเบาของ งาน “แต่ถ้าบางคนเหมาะสม หรือทำ�งานแล้วผู้ใช้ บริการอย่างอาจารย์พึงพอใจ ก็เอาไว้จุดนั้นนาน หน่อย” หัวหน้า รปภ. กล่าว และเสริมว่ามักจะมี การประเมินประสิทธิภาพการทำ�งานของ รปภ. โดย กรรมการของมหาวิทยาลัยทุก ๆ หกเดือน หน้าที่หลักของ รปภ. ได้แก่ การดูแล ความปลอดภัยทั่วไป สังเกตคนเข้า-ออก รับแจ้ง ของหายโดยจดรายละเอียดและประสานกับศูนย์ รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ สิ่งที่แตกต่างกันในแต่ละจุด คือ รปภ. ประจำ�คณะ จะถือกุญแจทุกตึก ส่วน รปภ. บริเวณประตู-ลาน จอดรถ จะจัดการเรื่องการจราจร แจกบัตร รับบัตร และยังมีหน้าที่อื่น ๆ เช่น เป็นประชาสัมพันธ์ให้ผู้ มาติดต่อ ไกล่เกลีย่ และแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าอย่าง การทะเลาะวิวาท รวมถึงการขับรถหวอแดงลาด ตระเวนในเวลากลางคืน เพื่อลดความเสี่ยงในการ
เกิดอาชญากรรม ปัจจุบันมีทั้ง รปภ. ที่สังกัดศูนย์รักษา ความปลอดภั ย ฯ และ รปภ. ที่ ขึ้ น ตรงกั บ คณะ ต่าง ๆ จากการสอบถาม รปภ. รายหนึ่ง ได้ข้อมูล ว่า รปภ. ซึ่งเข้าทำ�งานก่อนมหาวิทยาลัยออกนอก ระบบ จะทำ�งานกะละแปดชั่วโมง ได้รับเงินเดือน และสวัสดิการจากกรมบัญชีกลาง เมื่อสมัครเข้า ทำ � งานจะมี ก ารคั ด เลื อ ก ทั้ ง สอบข้ อ เขี ย นและ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย รวมถึงต้องมีการสืบ ประวัติ พิมพ์ลายนิว้ มือทีส่ ถานีต�ำ รวจ ขณะที่ รปภ. ชุดใหม่ซึ่งเข้าทำ�งานหลังมหาวิทยาลัยออกนอก ระบบจะทำ�งานกะละ 12 ชั่วโมง ได้รับเงินเดือน จากมหาวิทยาลัยโดยตรง (ระบบเหมาจ่าย) และ ไม่มีการสืบประวัติก่อนรับเข้าทำ�งาน หัวหน้า รปภ. เล่าให้ฟงั ว่า “เดีย๋ วนีม้ นั ไม่มสี อบ มาสมัครก็ดบู คุ ลิก สัมภาษณ์นิดหน่อยเกี่ยวกับประวัติ เดือดร้อนไหม ทำ�ไหวไหม แล้วก็มาลองงาน ถ้าไม่ดีก็ไม่ให้ต่อ” ในส่ ว นของการสื บ ประวั ติ รปภ. ชุ ด ใหม่ ผอ.ศู น ย์ รั ก ษาความปลอดภั ย ฯ กล่ า วว่ า “มีสิ ต้องสืบ สืบจับได้หลายคนแล้ว ให้ออกไปก็ หลายคน มีคดีขโมยของอะไรก็ให้ออก เขาไม่รู้เอง ว่าเรามีการสืบ เอาประวัติไปให้ตำ�รวจเช็คจาก ทะเบี ย นประวั ติ อ าชญากรรม บางคนมี ป ระวั ติ ยาเสพติดเราก็ให้ออก” นอกจาก รปภ. ที่พบเห็นได้ทั่วไปแล้ว ยั ง มี รปภ. นอกเครื่ อ งแบบซึ่ ง ประสานงานกั บ เจ้าหน้าทีต่ �ำ รวจด้วย “นอกเครือ่ งแบบตอนนีม้ แี ค่สี่ คนทั้งมหาวิทยาลัย เป็นเจ้าหน้าที่ที่ขึ้นตรงกับพวก ผม เลือกโดยดูว่าใครเหมาะ ชำ�นาญพื้นที่ หน้าที่ หลัก ๆ คือสังเกตคน ดูพฤติกรรมคนร้าย ไม่มีการ หมุนเวียนตำ�แหน่ง แต่ไม่ใช่ตำ�แหน่งประจำ� ถ้า ทำ�งานไม่ดีก็เปลี่ยน” หัวหน้า รปภ. กล่าว ด้าน ผอ.ศูนย์รกั ษาความปลอดภัยฯ ให้ ข้อมูลว่า ปัจจุบันมีผู้มาสมัครเป็น รปภ. น้อยกว่า อัตราที่ตั้งไว้ คือ 300 คน เนื่องจากผลตอบแทน ไม่จูงใจ ต้องทำ�งานกะละ 12 ชั่วโมง แต่ได้ค่าจ้าง ประมาณ 9,900 บาท และทางจุฬาฯไม่สามารถ จัดบ้านพักให้เพียงพอกับความต้องการของ รปภ. ได้ โดยทางจุฬาฯ กำ�ลังร่างระเบียบใหม่ เกี่ยวกับ ชั่วโมงการทำ�งานของ รปภ. ซึ่งต้องใช้เวลามากใน การพิจารณา สำ�หรับนโยบายอื่น ๆ ของทางจุฬาฯ ผอ.ศูนย์รักษาความปลอดภัยฯ กล่าวว่า มีการติด ป้ายประชาสัมพันธ์ให้ระมัดระวังทรัพย์สนิ โดยเฉพาะ บริเวณโรงอาหาร เพิ่มไฟส่องสว่างบริเวณทางเดิน รอบรัว้ มหาวิทยาลัย โครงการเบอร์อนุ่ ใจ โทร. 02- 218 0000
เพือ่ ให้ผทู้ ต่ี อ้ งการความช่วยเหลือติดต่อได้ตลอด 24 ชัว่ โมง และโครงการพีส่ ง่ น้องกลับบ้าน เพือ่ อำ�นวย ความสะดวกให้ผทู้ ต่ี อ้ งเดินทางในเวลากลางคืน โดย มีเจ้าหน้าทีข่ ร่ี ถจักรยานยนต์ไปส่งตามจุดขึ้นรถ แต่
ยังได้รับความสนใจน้อย เมือ่ ถามถึงสิง่ ทีค่ วรปรับปรุง หัวหน้า รปภ. เสนอว่า “ทางผูบ้ ริหารก็มกี ารรับฟังความคิดเห็นของ ทางเรา โดยเราส่งเรือ่ งไป เขาก็จะออกนโยบายมาให้ แก้ไขปรับปรุง ปญ ั หาทีอ่ ยากให้ผบู้ ริหารแก้มากทีส่ ดุ คืออยากให้ตดิ กล้องวงจรปิด เพราะขณะนีก้ ล้องที่ ติดอยูเ่ สียเกือบหมด ... ถ้ามีกล้องนีด่ ที ส่ี ดุ อยากให้ มหาวิทยาลัยติดให้หมด เวลามีเหตุปบุ๊ เรามาเปิดดู ตรงมุมไหน ๆ นะ มันเห็นหมดแหละ” ขณะนีก้ ารติดตัง้ กล้องวงจรปิดยังไม่เป็น ระบบและไม่มสี ว่ นกลางดูแล โดยเป็นกล้องทีแ่ ต่ละ หน่วยงานติดตัง้ เองและขาดการซ่อมบำ�รุง ผอ.ศูนย์ รักษาความปลอดภัยฯ ให้ข้อมูล ทั้งยังเสริมว่า “มัน ใช้งบประมาณเยอะ เคยขอไปแล้วสภามหาวิทยาลัย ไม่เห็นด้วย เลยต้องชะลอไป จริง ๆ อยากติดเพราะมัน เป็นเครือ่ งมือในการจับกุมคนร้าย แล้วจะได้ถอนคน เราไปทำ�โน่นทำ�นี่ได้” หัวหน้า รปภ. ได้แสดงความคิดเห็นเพิม่ เติมเรื่องการแจกบัตรจอดรถว่า “ทีแรกบอกจะเลิก แจกบัตร ติดกล้อง ติดไม้กระดก ก็ยังไม่เห็นทำ�... อยากให้ทำ�เร็ว ๆ รปภ. จะได้ขยับเดินตรวจได้ ... คน (โจร) มาเราก็วิ่งทัน นี่แจกบัตร คนมาก็ไม่กล้า วิ่งเพราะรอแจกบัตรรถอย่างเดียว” ผอ.ศูนย์รักษาความปลอดภัยฯ ชี้แจง เรื่องนโยบายแจกบัตรจอดรถว่า เดิมมีจุดประสงค์ เพื่อจำ�กัดปริมาณรถที่เข้า-ออกในมหาวิทยาลัย โดยให้รถทีเ่ ข้ามาต้องออกประตูเดิม แต่ตอ่ มามีการ ผ่อนผันเพราะทาง กทม. ขอความร่วมมือให้เปิดเป็น ทางผ่านเพือ่ แก้ปญ ั หาการจราจร ขณะนีจ้ งึ อยูใ่ นขัน้ ตอนการทบทวนว่าจะคงนโยบายเดิมไว้หรือไม่ นอกจากนี้ ผอ.ศู น ย์ รั ก ษาความ ปลอดภัยฯ ยังเล่าถึงปัญหาในการดำ�เนินงานอืน่ ๆ เช่น เมื่อกรรมการนิสิตต้องการจัดกิจกรรมต่าง ๆ อย่างลอยกระทงและกีฬาเฟรชชี่ โดยมีการประสาน กับทางศูนย์ให้ไปช่วยรักษาความปลอดภัยในงาน เหล่านั้น ทางศูนย์ชี้แจงว่าต้องมีค่าใช้จ่ายสำ�หรับ จ้าง รปภ. มาปฏิบตั งิ านนอกเวลา ทำ�ให้ไม่สามารถ ตกลงกันได้ เพราะไม่มีงบในส่วนนี้ และบางครั้ง เกิ ด กรณี ที่ ท างมหาวิ ท ยาลั ย จั ด กิ จ กรรมโดยไม่ ได้ประสานงานกับทางศูนย์ ทางศูนย์จึงไม่ได้ส่ง เจ้าหน้าที่ไปช่วยดูแล “ความจริงก็มีหลายเรื่องที่คนมองเรา ไม่ค่อยสำ�คัญ แต่พอมีเรื่องทีไรก็จะเรียกเราทุกที” ผอ.ศูนย์รักษาความปลอดภัยฯ กล่าว ในส่ ว นการรั ก ษาความปลอดภั ย ภายนอก อยู่ ภ ายใต้ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ สน.ปทุ ม วั น พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบทั้ ง หมดของโรงพั ก คื อ 4.88 ตารางกิ โ ลเมตร โดยมี ก ารนำ � แต่ ล ะ พื้นที่มาวิเคราะห์ ถ้าพื้นที่ไหนเข้าหลักสามข้อ คือ มีประชาชนจำ�นวนมาก มีพื้นที่พอสมควร และมี
สถิติคดีอาญา ก็จะจัดเป็นพื้นที่ปลอดภัย (Safety Zone) ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ จี่ ะเกิดเหตุไม่ได้ นอกจากนีย้ งั มี การขอความร่วมมือกับทางหน่วยงานต่าง ๆ ให้เพิม่ ความเข้มงวดในการรักษาความปลอดภัย พ.ต.ต.เจษฎาภรณ์ อ่อนทองคำ� สวป. สน.ปทุ ม วั น กล่ า วถึ ง นโยบายการรั ก ษาความ ปลอดภัยบริเวณจุฬาฯ ว่า “ทางเจ้าหน้าที่ตำ�รวจ ดูแลความปลอดภัยรอบนอก ออกตรวจรอบนอก สนั บ สนุ น กั น ในช่ ว งที่ อ าจจะมี ก ารตรวจพบการ กระทำ�ความผิดหรือจับผู้ต้องหาได้ ก็จะประสาน ตำ�รวจเข้าไปจับกุม ช่วงที่ผ่านมาก็จะมีเรื่องของ การชิงทรัพย์นกั ศึกษาจุฬาฯ ทีเ่ ป็นข่าว ก็อาจจะต้อง มีการขี่รถเข้าไปตรวจด้านใน และเปิดสัญญาณไฟ ด้านนอกเพื่อป้องกันเหตุ” ด้าน ร.ต.ต.สุทธิศักดิ์ ให้ข้อมูลเพิ่มเติม ว่า ทาง สน.ปทุมวันมีการให้ความรู้กับ รปภ. ใน เรื่องการดูแลพื้นที่ และเทคนิคการสังเกตสอดส่อง ประชาชน โดยให้จับตาดูบุคคลห้าประเภท ได้แก่ หนึง่ คนทีอ่ ยูใ่ นทีไ่ ม่เหมาะสม ด้วยสภาพไม่เหมาะสม เช่น มีทรัพย์สินเยอะ แต่ยืนอยู่ในที่เปลี่ยว สอง คนที่ยืนอยู่ที่เดียวนาน ๆ ทั้งที่ไม่มีเหตุจำ�เป็น สาม คนที่หิ้วของเข้าหรือออกนอกสถานที่ เพราะไม่รู้ ว่าของนั้นเป็นของเขาเองหรือไม่ สี่ คนที่มีกริยา ท่าทางแปลก ๆ และห้า คนที่อยู่นิ่งในที่ที่มีคนเดิน ไปมาพลุกพล่าน หรือหยุดคนที่เดินผ่านไปมา ซึ่ง อาจจะเป็นพวกต้มตุ๋น ร.ต.ต. สุทธิศักดิ์ กล่าวว่า “รปภ. ชุดใหม่ ๆ เขายังไม่เชิญไปให้ความรู้ ในเมื่อ ไม่เชิญตำ�รวจก็ต้องไปหาเป้าหมายอื่นที่สำ�คัญ อย่ า งพารากอน มาบุ ญ ครอง เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เพราะคนมันเยอะ” ขณะเดี ย วกั น ทางจุ ฬ าฯ ได้ เ ชิ ญ เจ้าหน้าทีต่ �ำ รวจจาก สน.ปทุมวัน มาอบรมเกีย่ วกับ ความรู้ทั่วไปเรื่องการป้องกันอาชญากรรมแก่นิสิต โดยจัดขึน้ ทุกเดือนทีศ่ นู ย์การศึกษาทัว่ ไป ชัน้ 4 อาคาร วิทยพัฒนา ร.ต.ต.สุทธิศกั ดิไ์ ด้ยกตัวอย่างเรือ่ งองค์ ประกอบที่ก่อให้เกิดอาชญากรรม ซึ่งเป็นเนื้อหา ส่ ว นหนึ่ ง ในการอบรมว่ า มี ส ามประการ ได้ แ ก่ คนร้าย เหยื่อ และโอกาส หากขาดองค์ประกอบ ใดองค์ ป ระกอบหนึ่ ง ก็ จ ะไม่ เ กิ ด อาชญากรรม การตัดโอกาสจึงเป็นสิ่งที่ควรทำ�เพื่อป้องกันเหตุ “นิสิตเรียนเก่งแต่ไม่มีความรู้เรื่องนี้... ไม่มีทักษะด้านการระมัดระวังตัว” ร.ต.ต สุทธิศักดิ์ ตั้งข้อสังเกต สิ่งที่สำ�คัญมากอย่างหนึ่งในการรักษา ความปลอดภัย คือ ‘การระมัดระวังตนเอง’ โดยนาย ณัฐชัย เฉิดโฉม นิสติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ชัน้ ปีทสี่ ามซึง่ เคยประสบเหตุถกู ขโมยโน้ตบุก๊ กล่าวว่า “อย่าวางของมีคา่ ทิง้ ไว้ คณะเราคือบ่อยมาก คิดว่า คนอยู่เยอะแยะไม่เป็นไร แต่ไอ้คนอยู่เยอะแยะนี่ แหละ มั่วเข้ามาง่ายมาก” “ของหายมันโทษโจรไม่ได้ ต้องโทษนิสติ พูดตรง ๆ เพราะวางของเกะกะระรานกันหมดเลย” หนึ่งใน รปภ.กล่าว เจ้าหน้าที่ตำ�รวจ สน.ปทุมวันยังได้ฝาก คำ�แนะนำ�ถึงบุคลากรและนิสติ จุฬาฯ เกีย่ วกับเรื่อง การปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุว่า “ดีที่สุดคือเราตั้งสติ ตัง้ สติอย่างเดียวเลย ห้ามสูห้ า้ มอะไรเด็ดขาด รักษา ชีวิตไว้ก่อน มันอยากได้ให้มันเอาไปก่อน ขณะ เดียวกันถ้าเรามีสติเราก็สามารถที่จะจำ�ตำ�หนิรูป พรรณมันได้ แต่งเนื้อแต่งกายเป็นอย่างนั้น พูดจา เสียงแบบนั้น มีตำ�หนิอะไรพวกนี้ เราสามารถที่จะ เห็นรูปหน้าแล้วสเก็ตช์ภาพได้”
Content
E d i t o r ‘s N o t e
When Books become a Materialistic Product B2 Materialinstragramism
B10
ค
วามเคยชินเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์มา เนิ่นนาน เรามักใช้ความเคยชินเป็นข้ออ้างในการ ปฏิเสธที่จะรับสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาในชีวิต ด้วยเชื่อว่า มันจะทำ�ให้การดำ�รงอยู่ในความคิดและการกระทำ�ที่ เรามีเปลี่ยนแปลงไป จนเราไม่อาจตั้งตัวได้ทัน และ อาจสูญเสียบางสิ่งบางอย่างไปตลอดกาล ในขณะเดียวกัน มนุษย์ต่างมีอีกความรู้สึก หนึ่ง นั่นคือความเบื่อหน่าย ซึ่งเป็นสิ่งที่มักเกิดขึ้นเมื่อ ได้พบเจอสิ่งต่าง ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ทั้งที่ แต่แรก สิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเพิ่งจะเป็นสิ่งใหม่ที่เราเคย ตื่นตาตื่นใจ และปรารถนาที่จะพบเห็นมันไปตลอด เรามั ก เคยชิ น กั บ สิ่ ง ที่ เ ราชอบ, แต่ เ บื่ อ หน่ายกับสิ่งที่เราไม่ชอบ หากเราเบื่ อ หน่ า ยในสิ่ ง ที่ เ ราเคยชิ น เราจะทำ � อย่ า งไรต่ อ ไป เราจะยอมเปลี่ ย นแปลง มั น ไหม หรื อ เราจะฝื น ทนกั บ ความรู้ สึ ก เบื่ อ หน่ า ย เพื่อให้เราใช้ชีวิตอยู่โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงอะไร มาตรวั ด ระหว่ า งสองสิ่ ง นี้ อ าจต่ า งกั น ไปในใจของ แต่ละคน อยู่ที่จุดยืนของเราอยู่ที่ใด และเราพร้อม ไหมที่จะรับมือความท้าทายนี้
่ พัฒนาการวัตถุนิยม ตั้งแต่ยุคโบราณจนถึง ปัจจุบนั ไม่วา่ กาลเวลาจะผ่านมากีย่ คุ กีส่ มัย วัตถุยงั คงอยูค่ กู่ บั มนุษย์ ต่างกันแต่เพียงรูป ร่างหน้าตาเท่านั้น
แต่ ท้ า ยที่ สุ ด ทุ ก สรรพสิ่ ง ต่ า งอยู่ ภ ายใต้ การเคลื่อนไหวของเวลา การเปลี่ยนแปลงของทุกสิ่ง ย่อมมาถึงในไม่ช้าก็เร็ว แม้เราไม่อาจฝืนการไหลไป ของเวลาได้ แต่สิ่งหนึ่งที่เราอาจฝืนได้คือความคิด ของเรา ว่าเรากล้าพอหรือไม่ที่จะละทิ้งความเคยชิน เปลี่ยนเป็นสิ่งแปลกใหม่ หรือเปลี่ยนความเบื่อหน่าย โดยมองสิ่งเดิมนั้นในมุมมองที่ต่างออกไป หรือหากให้ได้ผลที่สุด จงเลิกเคยชินและ เลิ ก เบื่ อ หน่ า ย, ใช้ ชี วิ ต ของเราทุ ก วั น ให้ พ ร้ อ มรั บ กั บ ความเปลี่ ย นแปลง ฟั ง ดู เ หมื อ นการเลิ ก ทำ � บางอย่ า งเป็ น เรื่ อ งที่ ย ากและไม่ อ าจทำ � ได้ แต่ การฝึ ก ฝนการคิ ด และการใช้ ชี วิ ต ของเราให้ พ ร้ อ ม กับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นก็ไม่ใช่เรื่อง ยากเกินไป ไม่ยึดติดกับบางสิ่ง เพื่อจะไม่เบื่อหน่าย กับสิ่งนั้น, และเพื่ อ ให้ เ ราว่ า ยไปตามกระแสแห่ ง กาลเวลาที่ ไ หลเชี่ ย วกรากโดยไม่ จ มหายไป, ตลอดกาล .
The real meaning of ศึกษา, ค้นหา, เปิดใจ และเข้าใจให้มากขึ้น ผ่ า นบทความที่ ค้ น หารากเหง้าของคำ�ว่า ‘วัตถุนยิ ม’ ซึง่ แอบซ่อนตัวอยูใ่ นทุกด้านของ ชีวิต และอยู่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด
เหล่ า ตั ว การ์ ตู น ดิ ส นี ย์ ที่ อ ยู่ ใ นดวงใจ หลาย ๆ คน รู้ ห รื อ ไม่ ว่ า เป็ น ยากระตุ้ น สั ญ ชาตญาณวั ต ถุ นิ ย มชั้ น ดี โ ดยที่ เ รา ไม่รู้ตัว!
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 1 .
เทพพิทักษ์ มณีพงษ์ บรรณาธิการ Supplement
C o m m e n t a r y
แ
ม้จะมีประโยคล้อเลียนว่า “คนไทยอ่านหนังสือแค่ ปีละ 8 บรรทัด” แต่กระนั้นงานสัปดาห์หนังสือครั้งที่ผ่านมา ก็ มี ย อดเงิ น สะพั ด มากถึ ง 600 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากเมื่ อ เดือนตุลาคม 2555 กว่า 100 ล้านบาทเลยทีเดียว ตัวเลขเหล่านี้บอกอะไรเราได้บ้าง? ในสมัยก่อน หนังสือถูกมองว่าเป็นสินค้าทางปัญญา ทีถ่ กู จำ�กัดไว้เฉพาะชนชัน้ หนึง่ ๆ เท่านัน้ เนือ่ งด้วยหนังสือมีราคา แพง จึงทำ�ให้หนังสือมีภาพลักษณ์การเป็น “สินค้าฟุ่มเฟือย” ควบคู่กันมาด้วย บุคคลที่อยู่ชั้นล่าง ๆ ของโครงสร้างทางสังคม จึงไม่มีโอกาสได้อ่านหนังสือมากนัก นอกเหนือจากปัจจัยเรื่อง ราคาแล้ว อาชีพของพวกเขาก็ไม่ได้มีเวลามากพอจะอำ�นวยให้ เช่นกัน ต่ อ มาเมื่ อ เศรษฐกิ จ เริ่ ม ดี ขึ้ น มี ก ารขยายตั ว ของ ชนชั้นกลาง และการศึกษาเข้าถึงทุกพื้นที่ หนังสือจึงกลายเป็น สินค้าประเภทหนึ่งซึ่งถูกมองว่าคุ้มค่าที่จะลงทุน ยิ่งหลังการ เหตุการณ์ “14 ตุลา” หนังสือก็ยิ่งเป็นที่ต้องการมากขึ้น เพราะ ประชาชนต้ อ งการรู้ ค วามจริ ง ที่ ถู ก ปิ ด บั ง บิ ด เบื อ น ครั้ น เมื่ อ วิทยาการต่าง ๆ ในโลกเจริญขึ้น เทคโนโลยีการพิมพ์ก็พัฒนา ขึ้นตาม ทำ�ให้หลายคนที่หลงในมนต์นํ้าหมึกพากันเปิดสำ�นัก พิมพ์เป็นของตัวเอง มีทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล กวี การ์ตูน สารคดี และหนังสืออีกหลายประเภทออกมาจัดจำ�หน่าย ซึ่งใน ปี 2556 มีสำ�นักพิมพ์ที่เป็นสมาชิกของสมาคมผู้จัดพิมพ์ฯ ทั้ง สิ้นกว่า 400 สำ�นักพิมพ์ แบ่งออกเป็นกลุ่มผู้นำ�ตลาด 9 ราย ขนาดใหญ่ 29 ราย ขนาดกลาง 41 และขนาดเล็กอีก 319 ราย ทว่าก็มสี �ำ นักพิมพ์อกี จำ�นวนไม่นอ้ ยทีท่ ยอยปิดตัวลงเพราะสูค้ า่ กระบวนการผลิตไม่ไหว ทุ น นิ ย มกำ � ลั ง ทำ � ให้ ห นั ง สื อ กลายเป็ น สิ น ค้ า ที่ต้องทำ�กำ�ไร! ปัจจุบันนี้ต้นทุนการผลิตหนังสือหนึ่งเล่ม นอกจาก จะเป็นค่าลิขสิทธิ์คนเขียน ค่าพิมพ์ ค่ากระดาษ ค่าพนักงานจัด รูปเล่ม ค่าออกแบบหน้าปก ฯลฯ แล้ว สิ่งหนึ่งที่ทุกสำ�นักพิมพ์ ต้องแบกภาระเอาไว้ดว้ ยก็คอื เปอร์เซ็นต์ทตี่ อ้ งแบ่งให้สายส่งและ ร้านหนังสือที่ฝากวางจำ�หน่าย โดยทั่วไปแล้วสำ�นักพิมพ์จะให้ ส่วนลดกับสายส่งอยูป่ ระมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ กล่าวคือ ถ้าหนังสือ ราคา 100 บาท สายส่งก็จะได้ในราคา 60 บาท และสายส่งก็ จะส่งให้ตามร้านหนังสือในราคาประมาณ 30-35 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 70-75 บาท โดยสำ�นักพิมพ์และสายส่งจะได้เงิน ก็ต่อเมื่อหนังสือเล่มนั้นขายออก แต่ถ้าขายไม่ออกสำ�นักพิมพ์ ก็ต้องแบกรับต้นทุนในกระบวนการผลิตทั้งหมดเอาไว้เอง นี่จึง เป็นเหตุผลว่าทำ�ไมสำ�นักพิมพ์รายเล็กจึงปิดกิจการกันไปแล้ว หลายราย กอปรกับร้านหนังสือในเมืองไทยที่เป็น Chain store เช่น SE-ED และนายอินทร์ ก็เปิดพื้นที่ให้หนังสือทางเลือก อย่างจำ�กัด งานสัปดาห์หนังสือจึงเป็นเวทีทดี่ ที สี่ ดุ ในการพบกัน ระหว่างนักอ่านและนักเขียนโดยไม่ต้องผ่านตัวแปรใด ๆ ทั้งสิ้น
ที่ ผ่ า นมามี ก ารนำ � หลั ก การตลาดและการสร้ า ง Branding มาใช้กับหนังสือแล้วในวงกว้างซึ่งผู้ผลิตหลายคนก็ ยอมรับว่ายังเป็นเรื่องที่พวกเขาไม่ค่อยถนัดนัก ตลาดหนังสือ จำ�พวกนิยาย, หนังสือแนวให้กำ�ลังใจ และ How to ประเภท ต่าง ๆ ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะแข่งขันกัน รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ผลิตแต่ละรายจึงจำ�เป็นต้องงัดกลเม็ด ในการขายออกมาเรียกลูกค้า เชือ่ หรือไม่วา่ หนังสือทีข่ ายดีทสี่ ดุ ในงานสัปดาห์หนังสือครั้งที่แล้วตกเป็นของกลุ่มหนังสือการ์ตูน ซึ่งเมื่อพิจารณาจากความจงรักภักดี (loyalty) ของผู้อ่านที่มีต่อ หนังสือ (หรืออีกนัยคือสินค้า) เรื่องดังกล่าวก็ไม่น่าแปลกใจนัก นอกจากการ์ตูนแล้วตลาดของนิยายยังขยายตัวเพิ่มขึ้นด้วย ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่า ส่ ว นหนึ่ งมาจากความสำ � เร็ จ ของสำ � นั ก พิ มพ์ “แจ่มใส” ที่เน้นเจาะกลุ่มตลาดวัยรุ่น ความนิยมของแจ่มใส วัดได้จากปีก่อน ๆ ที่ผู้อ่านต้องส่งรายการหนังสือที่ต้องการไว้ที่ บูธแล้วกลับมาเอาในชั่วโมงต่อ ๆ มา และจากความสำ�เร็จของ ละครชุ ด “สี่ หั ว ใจแห่ ง ขุ น เขา” ก็ ก ลายเป็ น ใบเบิ ก ทางให้ “พิ ม พ์ คำ � ” กลายเป็ น สำ � นั ก พิ ม พ์ ที่ มี แ ฟนละครเข้ า ไปเยี่ ย ม ชมเป็ น จำ � นวนมาก เป็ น ขยายตลาดจากคนดู ล ะครให้ ม า อ่านหนังสือด้วย ในปีนี้พิมพ์คำ�ก็ชูซีรีส์ชุด “สุภาพบุรุษจุฑา เทพ” เป็นหนังสือแนะนำ� จากละครที่เพิ่งลาจอไป ขายกันเป็น Box set สวยงาม การทำ�หนังสือเป็นชุดแบบนีก้ เ็ ป็นการกระตุน้ การขายอย่างหนึ่ง เพราะเมื่อตัดสินใจอ่านเล่มใดเล่มหนึ่งแล้ว ก็ย่อมอยากรู้ในส่วนต่อไป จะเห็นได้ว่าในช่วงหลายปีหลังมานี้ มีบทประพันธ์จำ�นวนมากที่ถูกนำ�ไปทำ�เป็นละคร ทั้งจากนัก เขียนชั้นครูอย่าง “กฤษณา อโศกสิน” หรือจะเป็นนักเขียนหน้า ใหม่เช่น “ณารา” เองก็ตาม ในเรือ่ งของ Branding กรณีของ “ณารา” เป็นตัวอย่าง ที่ ชั ด เจนมากอี ก อั น หนึ่ ง สั ง เกตได้ จ ากหน้ า ปกหนั ง สื อ ที่ ชื่ อ ของเธอจะเด่นกว่าชื่อเรื่องเสมอ เหมือนว่าแค่เป็นณาราหนังสือ ก็ขายได้แล้ว นักเขียนอีกท่านหนึ่งที่ชื่อกลายเป็น Brand ไป แล้วก็คือ “นิ้วกลม” ความโด่งดังของนิ้วกลมส่วนหนึ่งเป็นเพราะ ทัศนคติการมองโลกและถ่ายทอดออกมาในเชิงให้กำ�ลังใจผู้ อ่าน แต่อกี สิง่ หนึง่ ทีป่ ฏิเสธไม่ได้เลยก็คอื social network อย่าง facebook ก็เป็นอีกปัจจัยทีท่ �ำ ให้ผอู้ า่ นรูส้ กึ ใกล้ชดิ นักเขียนมาก ขึ้นกว่าแต่เดิม การรับรู้ผลงานเป็นไปได้ง่ายกว่า หนังสือของนิ้ว
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 2 .
กลมกลายเป็นกระแสนิยมสำ�หรับคนในยุคนี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ วัยรุ่น เพราะคนวัยนี้เป็นกลุ่มที่พร้อมจะ “แชร์” ทุกสิ่งลงในโลก ออนไลน์ซึ่งถือเป็นการบอกต่อแบบปากต่อปากที่ดีที่สุดอย่าง หนึง่ ความดังของนิว้ กลมเป็นทีป่ ระจักษ์จากยอดขายทีต่ ดิ อันดับ Best seller ของทุกร้าน และจำ�นวนแฟนคลับที่มารอต่อคิวเพื่อ ให้นักเขียนในดวงใจเซ็นหนังสือให้ในงานสัปดาห์หนังสือ หนังสือเป็นสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะยิ่งเวลาผ่านไป นานเท่าไรคุณค่าในตัวเองก็ยงิ่ เพิม่ ขึน้ เพราะสิง่ ทีถ่ กู เขียนเอาไว้ ล้วนแต่เป็นบันทึกประวัตศิ าสตร์ของแต่ละยุค บางเล่มก็เป็นแรง ขับเคลือ่ นทีย่ งิ่ ใหญ่ นำ�มาสูก่ ารเปลีย่ นแปลงทีใ่ หญ่ยงิ่ ของมนุษย์ การอ่านหนังสือเป็นเรื่องสำ�คัญมากสำ�หรับการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน และเมื่อวันที่ 23 เมษายน ที่ผ่านมา กรุงเทพฯ ได้รับ มอบตำ�แหน่ง “เมืองหนังสือโลก” อย่างเป็นทางการจากยูเนสโก้ (UNESCO) รฐั ออกกฎทีเ่ อือ้ ประโยชน์ให้แก่ส�ำ นักพิมพ์หลายข้อ เพือ่ เป็นการกระตุน้ การอ่านหนังสือของคนไทย แต่เมือ่ พิจารณา ดูดี ๆ แล้วก็จะพบว่าผลประโยชน์ส่วนมากก็ตกอยู่ที่สำ�นักพิมพ์ รายใหญ่อยู่ดี เป็นที่น่าสนใจว่ากรณีที่ยกตัวอย่างมาทั้งหมดล้วน สังกัดอยู่ที่สำ�นักพิมพ์ใหญ่ ๆ ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดเกือบ ครึ่งหนึ่ง ในขณะที่สำ�นักพิมพ์เล็ก ๆ ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ที่เห็นได้ชัดเจนนัก แต่อย่างน้อยเราก็ได้เห็นวิวัฒนาการของ หนังสือและปัจจัยที่เป็นตัวกำ�หนดทิศทางของหนังสืออย่าง คร่าว ๆ ผ่านตัวเลขการสะพัดของเงินข้างต้น เราใช้จ่ายกับ หนังสือมากขึ้น แต่สถิติการอ่านหนังสือเรายังคงลดลงทุกปี คำ�ถามที่น่าสนใจกว่าหนังสือเล่มหนึ่งขายได้กำ�ไรเท่าไรก็คือ เราอ่านหนังสือกันจริง ๆ ใช่ไหม หรือเราเพียง แค่ซื้อหนังสือเพราะโดนชักจูงโดยการตลาดเท่านั้น
The real meaning of
วัตถุนิยม (Materialism) ดูจะเป็นคำ�ที่ แสลงหูสำ�หรับใครหลาย ๆ คน และเป็นคำ�ที่ถูกนำ�มาใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายตามพาดหั ว ข่ า วหนั ง สื อ พิ ม พ์ ไม่ ว่ า จะมีปัญหาทางสังคมเรื่องใดที่เกิดขึ้น คำ�คำ�นี้มักจะเป็น จำ�เลยในสังคมที่ถูกซัดทอดให้เป็นต้นเหตุของสาเหตุต่าง ๆ อยู่รํ่าไป
คำ�ตอบที่วัตถุนิยมให้คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นบนโลกใบ นี้แม้กระทั่งความคิดของคนเราก็มีจุดเริ่มต้นมาจากวัตถุทั้ง สิ้น ไม่ว่าจะเป็นกำ�เนิดของจักรวาล, การกระทำ�ทุกอย่าง ของมนุษย์, ปัญหาสภาพสังคม ฯลฯ ทุกสิ่งล้วนมีที่มาจาก สสารและวัตถุ
ความสำ�เร็จในชีวิตจากการถือครองวัตถุต่าง ๆ และวัด คุณค่าจากจำ�นวนและคุณภาพของสิ่งนั้น ๆ , ด้านการเป็น ศูนย์กลาง (Centrality) คือบุคคลนัน้ จะมองว่าการครอบครอง และการได้มาเป็นศูนย์กลางของชีวิตของตน และสุดท้าย คือ ด้านความสุข (Happiness) คือการที่บุคคลมองว่าการ ครอบครองและได้มา มีความจำ�เป็นต่อชีวิตที่ทำ�ให้เกิด ความสุขและความเป็นอยู่ที่ดี
หากเราลองย้ อ นออกมาพิ จ ารณาและทำ � ความเข้ า ใจถึ ง ความเป็ น มาและสาเหตุ ที่ ทำ � ให้ ส ภาพ สั ง คมในปั จ จุ บั น ที่ เ รามองว่ า เป็ น สั ง คมที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย ความเป็นวัตถุนิยม ซึ่งเป็นสิ่งที่กัดกร่อนทำ�ลายความดีงาม ของการใช้ชีวิต สังคมที่เรามองว่ากำ�ลังเสียหายจากความ นับหน้าถือตากันในวัตถุอย่างที่เราชอบให้คำ�นิยามกับมัน บางทีเราอาจจะเข้าใจมันมากขึ้น, เรียนรู้ที่จะอยู่กับมัน และเข้าใจว่าทำ�ไมคำ�คำ�นี้จึงเกิดขึ้นมา
วัตถุนิยมเป็นตัวแทนของวิทยาศาสตร์ เป็นการ ไม่ใช่เรื่องแปลกหากเราและใครหลาย ๆ คน ศึ ก ษาหาที่ ม าของสิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแง่ ข องคำ � ตอบ จะรู้ สึ ก ไปในทางลบต่ อ คำ � ว่ า วั ต ถุ นิ ย ม นั่ น เป็ น เพราะ ที่จับต้องได้ มิใช่โยนให้ในสิ่งที่เป็นนามธรรมเช่นความดี, ในบางครั้ง เราอาจไม่ทันได้นึกถึงความเป็นมาและสาเหตุ พระเจ้า และวิญญาณ ซึง่ เป็นแนวคิดของปรัชญาขัว้ ตรงข้าม แห่ ง การเกิ ด มาของคำ � คำ � นี้ กั น มากนั ก ในความคิ ด ของ คือ แนวคิดจิตนิยม ทีใ่ ห้สาเหตุแห่งการเกิดขึน้ ของสิง่ ต่าง ๆ หลายคน วั ต ถุ นิ ย มเป็ น คำ � ที่ ใ ช้ เ พื่ อ เรี ย กคนที่ ฟุ้ ง เฟ้ อ ว่าอยูท่ คี่ วามคิดทีม่ ใี นจิตใจ ความคิดก่อให้เกิดภาพสะท้อน ใช้เงินเกินตัว ไม่พอใจกันสิ่งที่ตนเองมี รวมไปถึงการตัดสิน ของสิ่งต่าง ๆ และวัตถุที่เราเห็นบางครั้งอาจไม่มีอยู่จริง คนอื่นจากวัตถุที่อยู่นอกกาย ซึ่งตรงกับการให้ความหมาย รากฐานของความคิดและการให้ความหมาย ของคำ�คำ�นี้ในทางจริยธรรมที่ว่า ของคำ�ว่าวัตถุนิยมในสังคมของเราอาจมีที่มาความเชื่อ “วั ต ถุ นิ ย ม หมายถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะทาง ทางปรั ช ญาที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ค วามคิ ด ของคนแต่ ล ะคนซึ่ ง บุคลิกภาพรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นแบบแผนการใช้ชีวิตของ ไม่ เ หมื อ นกั น แก่ น ความคิ ด สู ง สุ ด ทางปรั ช ญาทั้ ง สอง คนในสังคม ที่ปรารถนาเพียงความสุขทางอารมณ์ ต้องการ เป็นสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความคิด ความเชือ่ และค่านิยมทางสังคม ที่จะครอบครองเป็นเจ้าของวัตถุสิ่งของ หรือความสะดวก จนประกอบหลอมรวมกันเป็นสถาบันต่าง ๆ ทางการเมือง, สบายทางกายภาพ โดยมองข้ามคุณค่าทางศีลธรรมและ การปกครอง, เศรษฐกิจและสังคม และสะท้อนออกมาผ่าน จิตใจ และไม่ใส่ใจและให้ความสำ�คัญกับสิ่งที่ตนเองมีอยู่ ” ทางความคิดของผู้ที่ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมนั้น ๆ ถึงแม้บางครั้ง Marsha L. Richins และ Scott Dawson การใช้ชีวิตภายใต้สังคมที่อาศัยกับความเชื่อภายในจิตใจ ได้ ม องวั ต ถุ นิ ย มเป็ น สิ่ ง ที่ ใ ห้ คุ ณ ค่ า ต่ อ ตั ว บุ ค คลที่ ใ ห้ จะแตกต่างกัน จนบางครั้งเราอาจมองข้ามและเลือกที่จะ ความสำ � คั ญ ต่ อ วั ต ถุ ส่ิ ง ของออกเป็ น 3 ด้ า น คื อ ไม่คิดค้นหาถึงที่มาซึ่งก่อให้เกิดสิ่งต่าง ๆ อย่างที่มันเป็น ด้ า นความสำ � เร็ จ (Success) คื อ บุ ค คลนั้ น จะให้ ค่ า อยู่ก็ตามที
นัน่ คือความหมายของคำ�คำ�นีใ้ นแง่ของจริยธรรม เมือ่ เราย้อนมองกลับมา ไม่แน่วา่ เราอาจกำ�ลังใช้ แต่ในอีกมุมหนึ่ง วัตถุนิยมเป็นขั้วหนึ่งทางหลักการของ ปรัชญา เป็นการตอบคำ�ถามพื้นฐานที่สุดของปรัชญาที่ว่า ชีวิตในแบบที่เรากำ�ลังกล่าวหาอยู่โดยที่ไม่รู้ตัวก็เป็นได้. ‘อะไรคือความสัมพันธ์ระหว่างจิตสำ�นึกและความเป็นจริง?’
: เทพพิทักษ์ มณีพงษ์
นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 3
ห
ากเราจะเริ่ ม ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ข องวั ต ถุ นิ ย ม และแง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรม มิติที่ง่ายที่สุดที่เราควร รู้คือความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นวัตถุนิยมกับเศรษฐกิจ เมื่อคำ�ว่าวัตถุนิยมหมายความถึงการให้คุณค่ากับวัตถุสิ่งของ จึงปฏิเสธไม่ได้วา่ แหล่งทีม่ าของวัตถุทกุ สิง่ นัน้ มีทมี่ าจากตัวเรา และสังคมที่ก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งเอกชนที่เป็นเจ้าของปัจจัย การผลิต มีอิสระเสรีในการผลิตและกำ�หนดราคาสินค้าและ บริการ เพือ่ ออกมาตอบสนองความต้องการของผูค้ นในสังคมที่ ไม่มที สี่ นิ้ สุด ความต้องการเหล่านีเ้ ป็นสิง่ ทีท่ �ำ ให้เกิดกำ�ไร ซึง่ เป็น เป้าหมายสูงสุดในการลงทุนและการผลิต วนเวียนไปเรื่อยมา ทำ�ให้เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจและเงินตราในระบบ จะเห็นได้ว่า รากฐานที่สำ�คัญของทุกสิ่งทุกอย่าง ในระบบเศรษฐกิจทุนนิยม คือความต้องการของคนในสังคมที่ มีต่อสินค้าหรือวัตถุต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นราคาสูงหรือตํ่า เพื่อก่อ ให้เกิดความสุขทั้งทางกายและทางใจที่เกิดจากการได้ครอบ ครอง นี่เองจึงเป็นที่มาของคำ�ว่า วัตถุนิยม --- ความเชื่อที่ว่า วัตถุเป็นที่มาซึ่งความสุขในชีวิต และเพือ่ ให้ได้มาซึง่ กำ�ไร บริษทั ผูผ้ ลิตต่าง ๆ จึงต้อง สรรหากลวิธีเพื่อดึงดูดใจให้พวกเราอยากซื้อสินค้าเหล่านั้น แม้โดยปกติแล้วการซื้อสินค้าจะเกิดจากความต้องการของ ตัวเราเอง แต่การกระตุน้ ความต้องการในสิง่ ทีเ่ ราอาจไม่เคยคิด ว่าจำ�เป็นก็เป็นสิ่งหนึ่งที่เหล่าผู้ผลิตใช้ เพื่อสร้างกำ�ไรให้กับตน นั่นเองจึงเป็นที่มาให้เกิดแนวคิดในเรื่องของหลักการตลาด ขึ้นมาบนโลกใบนี้ การตลาดในความหมายอย่างคร่าว ๆ หมายถึงการ วางแผนและการกระทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ของผูผ้ ลิต เพือ่ ก่อให้เกิด การเคลื่อนที่ของสินค้าและบริการให้ไปถึงมือของผู้บริโภค ก่อ ให้เกิดความพึงพอใจของทัง้ ผูซ้ อื้ สินค้า (ความสุขจากการใช้และ ครอบครอง) และผูผ้ ลิต (รายได้และกำ�ไรจากการซือ้ สินค้าของ ผู้บริโภค) ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการพัฒนาสินค้า, การวางแผน การวางขายสินค้า, วิธกี ารตัง้ ราคา, และการสือ่ สารเพือ่ ส่งเสริม ยอดขายสินค้า ซึง่ เราเรียกรวมๆ ว่า 4P (Product, Price, Place, Promotion) ในทั้งสี่ขั้นตอนนี้ บริษัทต่างๆ ล้วนให้ความสำ�คัญ กั บ การส่ ง เสริ ม การตลาดหรื อ Promotion เป็ น อย่ า งมาก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในส่ ว นของการโฆษณาเพื่ อ กระตุ้ น ความต้องการของผู้บริโภค หน้าทีท่ สี่ �ำ คัญทีส่ ดุ ของสือ่ โฆษณาและการส่งเสริม การขายอื่นๆ ซึ่งบริษัทได้ลงทุนไปนั่นคือ การกระตุ้นให้เกิด ความต้องการซื้อภายในจิตใจของผู้บริโภค หากจะยกตัวอย่าง ให้เข้ากับประเด็นนี้ เมื่อกล่าวถึงวัตถุนิยม จำ�เลยที่มักจะถูก ยกขึ้นมากล่าวถึงนั่นคือสินค้าจำ�พวกสินค้าแฟชั่นและสินค้า แบรนด์เนมต่าง ๆ สินค้าประเภทนีม้ กั นำ�เสนอโฆษณาในแง่ของ การสร้างภาพลักษณ์และทำ�ให้ผู้ที่ใช้สินค้าเหล่านี้เป็นคนดูดี มี ร ะดั บ เมื่ อ ผู้ บ ริ โ ภคเกิ ด ความต้ อ งการความอยากเป็ น คนที่ดูดีมีระดับ ต้องการเติมเต็มความต้องการทางด้านจิตใจ จึงก่อให้เกิดการซือ้ สินค้าตามมา แต่ใช่วา่ แค่สนิ ค้าแบรนด์เนม จะใช้วธิ กี ารนีเ้ ท่านัน้ ทุกสินค้าและบริการในตลาดล้วนแล้วแต่ ใช้วธิ กี ารจูงใจผูบ้ ริโภคแบบนีท้ งั้ สิน้ เพียงแต่อาจไม่ใช่ในแง่ของ ภาพลักษณ์ แต่อาจเป็นแง่ของคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ฯลฯ จากข้อมูลในปีที่ผ่านมา บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการ สื่อสารของสหรัฐอเมริกาอย่าง AT&T ใช้งบประมาณไปกับ การโฆษณาถึง 1.5 พันล้านเหรียญสหรัฐหรือประมาณ 46,000 ล้านบาท ซึง่ ผลที่ AT&T ได้กลับมานัน่ คือรายได้ทงั้ ปีเป็นมูลค่า ถึง 126.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 3.9 ล้านล้านบาท จะเห็นได้ว่าบริษัทได้รายรับกลับมาถึง 84 เท่าของค่าโฆษณา ที่เสียไป ทั้งนี้ แม้ว่าจะมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อรายได้ของ
บริษัทบ้าง แต่เราก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าการกระตุ้นให้เกิดแรง จูงใจในการบริโภคด้วยการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย ก็มีผลอย่างมากเช่นกัน ดังนัน้ หากย้อนถอยออกมามองภาพรวม เราจะเห็น ได้วา่ ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจและความเป็นวัตถุนยิ มเกิดขึน้ อย่างเป็นวัฏจักร นั่นคือ ความอยากได้และถือครองวัตถุที่ก่อ ให้เกิดความสุข (ไม่ว่าจะเป็นวัตถุประเภทใดก็ตาม) ก่อให้เกิด การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการเกิดการผลิตสินค้าเพื่อสนอง ความต้องการต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ นัน้ โดยการขับเคลือ่ นนีก้ อ่ ให้เกิด แนวคิดเรื่องการตลาด เพื่อกระตุ้นให้เกิดความต้องการในการ ซื้อสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น วนไปเรื่อย ๆ ไม่มีจุดสิ้นสุด เราจะเห็นได้ว่าคำ�ว่าวัตถุนิยมไม่อาจแยกออกจาก ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เราอาศัยอยู่ได้ ในเมื่อเราทุกคน ต่ า งเป็ น ฟั น เฟื อ งที่ ขั บ เคลื่ อ นระบบเศรษฐกิ จ ที่ เ น้ น ไปที่ ความต้องการสูงสุดจากเราเอง ในที่นี้ เราไม่ได้มองวัตถุนิยม ในแง่ของมิติทางสังคมหรืออื่น ๆ ที่ให้ความสำ�คัญกับคำ�ว่า วัตถุนิยมในแง่คุณธรรมและจริยธรรม แต่ในมิติทางเศรษฐกิจ เรามองวัตถุนิยมเป็นสิ่งที่เสริมสร้างระบบ ส่งเสริมการผลิต ก่อให้เกิดการจ้างงานในหน่วยย่อยและการพัฒนาทางสังคม อย่างเป็นวัฏจักร แต่ ใ ช่ ว่ า วั ต ถุ นิ ย มจะมี คุ ณ ค่ า ต่ อ เศรษฐกิ จ เพี ย ง อย่างเดียวเท่านั้น โทษของวัตถุนิยมอาจร้ายแรงกว่าที่เราคิด จากที่ เ ราได้ รั บ รู้ ถึ ง การกระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความต้ อ งการซื้ อ โดยการโฆษณาหรือการส่งเสริมการขายต่าง ๆ กิจกรรมทางการ ตลาดเหล่านีอ้ าจก่อให้เกิดผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจได้เช่นกัน หากผู้ ที่ ไ ด้ รั บ การกระตุ้ น ไม่ ไ ด้ มี กำ � ลั ง ซื้ อ มากพอกั บ ราคา และระดับของสินค้านั้น ซึ่งจะทำ�ให้เกิดปัญหา “หนี้สิน” ได้ โดยส่วนหนึ่งมาจากการใช้เงินอย่างเกินตัวเพื่อนำ�ไปจับจ่าย ซื้อสิ่งของที่ต้องการโดยมิได้ตระหนักถึงฐานะทางเศรษฐกิจ ของตน จากข้ อ มู ล ของหอการค้ า ไทยพบว่ า ประชาชน ที่มีรายได้เกิน 15,000 บาทต่อเดือน เป็นหนี้บัตรเครดิตสูงกว่า รายได้ประมาณ 2-4 เท่า ซึ่ง 8.9% เกิดจากการผ่อนสินค้า มากจนเกินไป ส่งผลให้หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเรา อาจอนุมานได้ว่า ความเป็นวัตถุนิยมอย่างไม่ประมาณตน น่าจะเป็นสาเหตุของปัญหานี้ และหากจำ�นวนหนี้ที่ไม่ได้ชำ�ระ มีมากจนเกินไป ระบบเศรษฐกิจอาจจะได้รับผลกระทบทำ�ให้ การกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ แม้ ว่ า วั ต ถุ นิ ย มจะเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจอย่างที่ได้กล่าวมาแล้ว คำ�ถามคือ มันได้ขับเคลื่อน เศรษฐกิจทั้งระบบหรือไม่ กล่าวคือ มีคนทุกคน ทุกชนชั้นใน ระบบหรือไม่ที่ได้รับประโยชน์จากความเป็นวัตถุนิยม แน่นอน ว่าเราไม่อาจปฏิเสธได้วา่ ความเป็นวัตถุนยิ มมักเกิดในคนชนชัน้ ที่มีรายได้สูงและชนชั้นกลาง ด้วยความที่สินค้าหลายอย่าง ที่ก่อให้เกิดความสุขจากการถือครองมักเป็นสินค้าระดับสูง และมีราคาแพง แต่ทว่าสำ�หรับผู้ที่มีรายได้น้อยหรือชนชั้น ล่างนั้น เขาได้รับประโยชน์จากความเป็นวัตถุนิยมจริงหรือ? เนื่องจากคนเหล่านี้ไม่ได้มีเงินเพียงพอที่จะซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย มากนั ก แต่ แ น่ น อนว่ า ประโยชน์ ข้ อ หนึ่ ง ที่ พ วกเขาได้ รั บ คือการจ้างงานจากผูผ้ ลิต เพือ่ ทำ�งานตอบสนองความต้องการ ของคนที่อยู่ในระดับที่สูงกว่า คำ�ถามคือ ทุกคนหรือไม่ที่ได้รับ ประโยชน์ดังกล่าว และปริมาณของคนชนชั้นล่างที่เพิ่มสูงขึ้น นั้นสามารถเข้าไปอยู่ในระบบการผลิตได้เต็มจำ�นวนหรือไม่? คำ�ถามเหล่านีย้ งั คงเป็นข้อสนับสนุนคำ�กล่าวโจมตี ของผู้ ต่ อ ต้ า นความเป็ น วั ต ถุ นิ ย ม แต่ แ น่ น อนว่ า ในมิ ติ ท าง เศรษฐกิจ เราทุกคนต่างใช้ชีวิตอยู่ภายใต้ความเป็นวัตถุนิยม ที่ มี อ ยู่ ใ นตั ว ของเราทุ ก คน ไม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ ค นที่ ต่ อ ต้ า นมั น ตราบใดที่ เ รายั ง อาศั ย อยู่ ใ นระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม และยังคงใช้ชีวิตด้วยการซื้อสิ่งของเพื่อเติมเต็มความต้องการ ของตนเอง.
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 4 .
วัตถุนิยม : ฟันเฟือง ขับเคลื่อน เศรษฐกิจ
: ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์ เทพพิทักษ์ มณีพงษ์
¥
$
M a i n c o u r s e
เมื่อ “วัตถุนิยม” สร้าง “ประวัติศาสตร์” : วรรษมน โฆษะวิวัฒน์
ห
ากจะกล่าวว่า “วัตถุนิยม” คือความเชื่อว่าวัตถุ เป็ น เสมื อ นตั ว แทนแห่ ง อำ � นาจ บั น ดาลซึ่ ง ความสุ ข ความ มั่ ง คั่ ง เราคงจะสามารถย้ อ นกลั บ ไปได้ ถึ ง 4,000 ปี ก่ อ น คริสตศักราชเลยทีเดียว ปรากฏหลักฐานที่เกี่ยวข้องอยู่ทั่วทุก มุมโลกว่ามนุษย์มีการใช้วัตถุเป็นสัญลักษณ์แทนพลังอำ�นาจ มาเป็ น เวลาช้ า นาน โดยเฉพาะหลั ง การค้ น พบ ทองคำ � ในครั้งแรก ทองคำ�ได้กลายเป็ น สั ญ ลั กษณ์ แ ทนอำ � นาจและ ความรุ่งเรืองมาแทบทุกยุคทุกสมัย ตั้งแต่อารยธรรมโบราณ ของอียิปต์หลายพันปีก่อนคริ สตกาล ไปจนถึ ง ยุ ค ตื่ น ทองใน สหรัฐอเมริกาศตวรรษที่ 19 ทองคำ�จึงเป็นตัวแทนภาพวัตถุนิยม ในประวัติศาสตร์โลกที่ชัดเจนที่สุดอย่างหนึ่ง ที่ ก ล่ า วว่ า ทองคำ � เป็ น ตั ว แทนความเป็ น วั ต ถุ นิ ย ม ในประวั ติ ศ าสตร์ ไ ด้ อ ย่ า งชั ด เจนนั้ น เป็ น เพราะหากเรามอง ภาพรวมของวัตถุนิยมในประวัติศาสตร์แล้ว จะเห็นได้ว่าในอดีต ความเป็นวัตถุนิยมมักจำ�กัดอยู่เฉพาะในหมู่ราชวงศ์ ชนชั้นสูง และสถาบันศาสนาเท่านั้น ตรงตามทฤษฎีความต้องการของ มาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Need Theory) ที่ ว่ า ความต้องการของคนเรามักเริ่มจากความต้องการด้านร่างกาย ความต้องการด้านความปลอดภัย ความต้องการด้านสังคม ความต้องการด้านเกียรติยศชื่อเสียง และความต้องการด้าน การเข้าใจตัวเองอย่างแท้จริง และจะไม่มีความต้องการข้ามขั้น หากขัน้ ก่อนหน้ายังไม่ถกู เติมเต็ม ลำ�พังชาวบ้านธรรมดามีกนิ มีใช้ มีคนคุม้ ครอง มีสงั คมทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์กน็ บั ว่ายากแล้ว หาคนที่ สามารถข้ามไปยังความต้องการลำ�ดับสีห่ รือห้าแทบไม่มี หรือถ้า สามารถข้ามไปได้ บุคคลนัน้ ก็ได้กลายเป็นชนชัน้ สูงไปโดยปริยาย ในอดี ต ผู้ ที่ ส ามารถครอบครองอำ � นาจและชื่ อ เสี ย งเงิ น ทอง จึ ง จำ � กั ด อยู่ ใ นหมู่ ช นชั้ น สู ง และสถาบั น ศาสนาที่ ผู้ ค นเคารพ เท่านั้น เช่นเดียวกันกับทองคำ�ที่เป็นตัวแทนแห่งอำ�นาจ และ ความรุง่ เรือง ทองคำ�จึงเป็นสิง่ ต้องห้ามสำ�หรับราษฎรในบางแห่ง และถึงจะได้รับอนุญาตให้ครอบครองทองคำ� ก็แทบจะไม่มี ราษฏรคนใดมีบารมีพอที่จะครอบครองทองคำ�ได้เท่ากับเหล่า เศรษฐีหรือชนชั้นสูงต่าง ๆ หากจะให้ ย กตั ว อย่ า งให้ เ ห็ น ภาพ ตั้ ง แต่ ใ นยุ ค อารยธรรมแห่งลุ่มแม่นํ้าไนล์ยังรุ่งเรือง ชาวอียิปต์สามารถทำ� เหมืองทองได้จำ�นวนมาก นำ�มาซึ่งความรุ่งเรืองของอาณาจักร ชาวอียิปต์เชื่อกันว่าทองคำ�เป็นร่างกายของเทพเจ้าอาเมนรา เทพแห่งพระอาทิตย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นอมตะ ทองคำ�จึงมีราคาสูงและมีเพียงกษัตริย์เท่านั้นที่มีสิทธิสวมใส่ ก่อนที่จะขยายสิทธินั้นลงมายังนักบวชและสมาชิกคนอื่น ๆ ในราชวงศ์ในภายหลัง การสร้างพีระมิดเพื่อเก็บพระศพและ ทรัพย์สมบัตเิ พือ่ รอการฟืน้ คืนชีพก็ถกู จำ�กัดเฉพาะสมาชิกราชวงศ์ และครอบครัวของนักบวช และเรายังพบว่ามีการใช้ทองคำ�เป็น หน้ากากให้มัมมี่ หรือทำ�เป็นโลงศพหรือเครื่องประดับต่าง ๆ ตามที่พบที่สุสานมัมมี่ทองคำ � หรื อสุ สานฟาโรห์ ตุ ตั น คาเมน ที่มีชื่อเสียง ถั ด มาทางตะวั น ออก อารยธรรมจี น ที่ มี ป ระเพณี และวั ฒ นธรรมสื บ ทอดกั น มายาวนานมี ค วามเชื่ อ ว่ า ทอง เป็นสัญลักษณ์แห่งโชคลาภ ชาวจีนผู้รักการค้าขายมีความเป็น วัตถุนิยมให้เห็นอย่างชัดเจน อีกอย่างหนึ่งคือต้องกราบไหว้เทพ ไฉ่ซิงเอี๊ยหรือไฉเฉินเหย่แห่งโชคลาภเป็นองค์แรกในวันปีใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้ค้าขายดี ให้มั่งคั่งร่ำ�รวย มีโชคลาภ รวมไปถึงให้ตาม เก็บหนี้ได้ง่าย
ในด้านสัญลักษณ์แห่งอำ�นาจชาวจีนมีสสุ านจิน๋ ซีทพ่ี อ จะสู้กับสุสานตุตันคาเมนของอียิปต์ได้สูสีทีเดียว สุสานจิ๋นซีนอก จากความยิง่ ใหญ่แล้วยังมีการฝังคนเป็น ม้าเป็น พร้อมทัง้ ทรัพย์สนิ เงินทองไปพร้อมกับร่างขององค์ฮอ่ งเต้ทส่ี วรรคต เพือ่ ให้น�ำ ไปใช้ใน ภพหน้า และเมือ่ ทองคำ�สำ�หรับชาวจีนไม่ได้ถกู จำ�กัดเฉพาะในหมู่ ชนชัน้ สูง ความเชือ่ เรือ่ งทองคำ�จึงถูกกระจายมายังประชาชนทีฝ่ งั กระดาษเงินกระดาษทอง และเผาตามไปให้กบั คนตายตัง้ แต่สมัย ราชวงศ์ฮน่ั และสืบทอดความเชือ่ เหล่านีม้ าจนปัจจุบนั สำ�หรับไทยเราก็ไม่น้อยหน้าไปกว่ากันเลย พื้นที่แถบ พม่า ไทย มลายูถูกขนานนามว่า “สุวรรณภูมิ” มาแต่โบราณ พระพุ ท ธรู ป ทองคำ � ตั้ ง แต่ ส มั ย เชี ย งแสนอายุ ก ว่ า 2,000 ปี เป็นหลักฐานชิ้นสำ�คัญว่าไทยเรามีความรุ่งเรืองด้านศาสนา มากทีเดียว ความเชื่อว่าทองคำ�คือความรุ่งเรืองและอำ�นาจ เป็นสมบัติที่ใครๆ ต่างอยากครอบครองในแถบสุวรรณภูมินี้ เราจะเห็ น ได้ จ ากประวั ติ ศ าสตร์ เ มื่ อ ครั้ ง เสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ครั้งที่ 2 นอกจากพม่าจะได้ยึดครองกรุงแล้ว ยังได้นำ�สัญลักษณ์ แห่งความรุ่งเรืองกลับบ้านเมืองตนอีก นั่นคือทองคำ�ที่ถูกเผาเอา จากวัดและพระราชวังแห่งกรุงศรีอยุธยานัน่ เอง เมือ่ ทองคำ�ถูกเผา เอาไปหมด ความสวยงามและความรุ่งโรจน์ของอดีตเมืองหลวง ก็เหมือนจะถูกนำ�ไปด้วย จนกระทัง่ พระเจ้าตากสินมหาราชเห็นว่า อยุธยายากที่จะฟื้นฟูกลับมาเป็นเมืองหลวงอีกต่อไป ช่ ว งเปลี่ ย นผ่ า นที่ ค วามเป็ น วั ต ถุ นิ ย มขยายตั ว มายังชนชั้นอื่น ๆ เห็นจะเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่ก่อให้ เกิดชนชั้นกลางขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมทำ�ให้การขยายตัว ของรายได้มวลรวมและประชากรเติบโตขึ้นมากในระยะเวลา อันรวดเร็ว และอาจเรียกได้วา่ เป็นการขยายความเป็น “วัตถุนยิ ม” จากแค่ในหมู่ราชวงศ์ นักบวช ชนชั้นสูง และคนตาย ไปสู่ชน ชั้นที่ตํ่าลงมา ประกอบกับช่วงนั้นเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง สู ง ทั่ ว โลก ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ และด้ า นการเมื อ งการปกครอง ทำ�ให้คนในยุคนั้นพร้อมที่จะเสี่ยงกับสิ่งใหม่ ๆ จึงไม่น่าแปลกใจ ว่า เมื่อมีข่าวการค้นพบทองที่รัฐแคลิฟอร์เนียแพร่สะพัดออกไป เมือ่ ปี ค.ศ.1848 จะทำ�ให้มคี นอพยพมาหาความหวังจำ�นวนมาก จนกลายเป็นยุคตื่นทอง บางคนที่เดินทางมาไม่ถึงได้ตั้งรกราก อยู่ระหว่างทางเกิดเป็นชุมชน ทำ�ให้เส้นทางที่ทุรกันดารเจริญ รุ่งเรืองขึ้น ก่อให้เกิดการเปิดเส้นทางคมนาคมจากตะวันออกสู่ ตะวันตก เหตุการณ์นี้ได้แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของทองคำ� และ อิทธิพลของมันที่ทำ�ให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางตรงและ ทางอ้ อ ม เพราะการให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ วั ต ถุ ข องมนุ ษ ย์ ที่ เ ริ่ ม แพร่ขยายมายังประชาชนทั่วไปมากขึ้น ศตวรรษที่ 19 มาตรฐานทองคำ�เริ่มมีบทบาทกับ ระบบการเงินหลายประเทศ ก่อนกลายเป็นอีกหนึ่งหน่วยใน เศรษฐกิจโลก บทบาทของทองก็กว้างขึ้น นอกจากจะเป็นเครื่อง ประดับหรือเป็นเครื่องหมายแสดงอำ�นาจตามความเชื่อเดิม ยังกลายเป็นสื่อกลางการลงทุนซึ่งทำ�ให้การเข้าถึงทองเป็นไป ได้ง่ายขึ้น คนทั่วไปสามารถซื้อหาทองคำ�ได้ตามท้องตลาดและ อิงราคาจากตลาดโลก เช่นกันกับวัตถุนยิ มทีแ่ พร่ไปกว้างขึน้ และมี ความเป็นโลกาภิวตั น์มากขึน้ อย่างรวดเร็ว เราใช้มอื ถือรุน่ เดียวกัน ใช้เครื่องสำ�อางยี่ห้อเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อยู่กันคนละมุมโลก แท้จริงแล้ว วัตถุเป็นสิ่งสร้างอำ�นาจ มนุษย์ทั้งหลาย จึงต้องแย่งกันไขว่คว้า หรือเพราะมนุษย์แย่งกันไขว่คว้ามัน จึงสร้างอำ�นาจให้กบั ผูค้ รอบครอง? คำ�ถามนีอ้ าจไม่จ�ำ เป็นต้องหา คำ�ตอบหากเราทำ�ความเข้าใจและยอมปรับตัวให้เป็นกลาง เข้ากับวัตถุนิยมแต่ละยุคสมัยเฉกเช่นที่บรรพบุรุษของพวกเรา ทำ�กันมาช้านาน เพราะเมื่อถึงจุดหนึ่งคำ�ตอบที่เราได้ในวันนี้ อาจไม่ใช่คำ�ตอบสำ�หรับอนาคตก็เป็นได้
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 5 .
ข้างหลังภาพ : การะเกด นรเศรษฐาภรณ์
เ
มื่อหลายปีก่อนหน้านี้ มีสารคดีเรื่องหนึ่งซึ่งนำ�เสนอ เรื่องราวเกี่ยวกับผ้าพันคอ Hermès เล่าถึงขั้นตอนในการทำ� ผ้าพันคอที่จัดว่าสวยงามที่สุด ทั้งความละเอียดของลวดลาย ความสดใสของสีที่ไม่มีจืดจางลง หรือความเรียบลื่นของเนื้อผ้า ที่ใส่แล้วก็อุ่นสบาย สารคดีสั้น ๆ นี้เล่าเกี่ยวกับ 40 กว่าขั้นตอน ในการผลิตผ้าพันคอผืนหนึง่ ได้อย่างน่าสนใจ ทัง้ การเริม่ ออกแบบ ลวดลายโดยดีไซน์เนอร์ฝมี อื ดี การออกแบบสี โดยปกติผา้ พันคอ ผืนหนึง่ จะมีสเี ฉลีย่ ประมาณ 30 สี โดยวาดลงบนแผ่นฟิลม์ 1 แผ่น ต่อ 1 สี แล้วค่อย ๆ ลงสีจากสีเข้มสุดไปอ่อนสุด ค่อย ๆ สกรีนลง บนผ้าทีละสี ๆ ค่อย ๆ ตรวจสีว่าคมชัดไหมในการรีดแต่ละครั้ง ขั้ น ตอนซั บ ซ้ อ นมาก จนมี ค นกล่ า วว่ า ผ้ า พั น คอแอร์ เ มสนี้ เทียบเท่ากับศิลปะงานภาพพิมพ์เลยทีเดียว มี สิ่ ง ที่ น่ า สนใจอย่ า งหนึ่ ง คื อ ความสวยงาม ละเอียดอ่อนที่ว่า แลกมากับกระบวนการซับซ้อน อันนำ�ไปสู่ “ราคา” ที่น่าตกใจ สังเกตได้ว่าทุกกระบวนการล้วนมีค่าใช้จ่าย สูงทั้งนั้น ตั้งแต่การเลือกคนวาดลาย การใช้ผ้า การใช้สีต่างๆ และเป็นราคาจ่ายจำ�นวนมากเสียด้วย น่าคิดไปถึงศิลปะแขนง อื่นๆ ที่ความละเอียดอ่อน ประณีตบรรจงเท่ากับความสวยงาม จะมีราคาจ่ายสูงเท่าใด ลองนึกถึงสถาปัตยกรรม ภาพวาด ปูน ปั้น แกะสลักต่างๆ ทีเ่ ห็นกันมากมายมาตั้งแต่อดีต ทัง้ ทัชมาฮาล ที่ยิ่งใหญ่ กระจกสีที่ละเอียด หรือรูปปั้นที่ประณีต เมือ่ ศิลปะต้องใช้เงินมากมายขนาดนี้ แล้วเงินทีศ่ ลิ ปิน ใช้สร้างสรรค์มาจากไหน? การสร้างอะไรสักหนึ่งอย่างนั้น เงิน ย่อมเป็นปัจจัย หลักๆ ที่ต้องใช้ ทุกอย่างล้วนมีราคาค่างวด ศิลปินเองก็เช่นกัน จะสร้างผลงานได้ ต้องมี “ทุน” ซึ่งทุนดังกล่าวศิลปินไม่สามารถ สร้างได้เอง ถ้าไม่ได้มาจากครอบครัวที่มีฐานะ ก็ต้องหาเอาจาก ผูอ้ ปุ ถัมภ์ ผูอ้ ปุ ถัมภ์นเี่ อง คือคนทีจ่ ะรับศิลปินเข้าสูส่ งั กัดของตัวเอง ให้เงินและโอกาสกับศิลปินเหล่านัน้ ในการสร้างผลงาน และเสพ ศิลป์จากผลงานเหล่านั้น เป็นเสมือนการแลกเปลี่ยนระหว่าง ความสุนทรีย์ทางศิลปะและการอวดฝีมือให้โลดแล่น การอุ ป ถั ม ภ์ ศิ ล ปะนั้ น มี ม าเนิ่ น นาน เรี ย กว่ า มี ม า ตลอดเลยก็ว่าได้ ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ กวีณี นักเขียน และนักวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม ปัจจุบันเป็นภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดลำ�พูน ได้แบ่งการอุปถัมภ์ทาง ศิลปะเป็นสามแบบ คือ อำ�นาจ, ศรัทธา และทุน หลั ง จากศิ ล ปะยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ไ ม่ มี ก าร อุปถัมภ์ ก็จะเข้าสู่การอุปถัมภ์ด้วยอำ�นาจ ในลักษณะของผู้นำ� กั บ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา งานโดยมากจะแสดงถึ ง ความยิ่ ง ใหญ่ ไม่ค่อยสวยงาม เช่น โคลอสเซียม, พีระมิด, วิหารของสุเมเรียน ฯลฯ การอุปถัมภ์อย่างที่สอง คือ การอุปถัมภ์ด้วยศรัทธา คือ ใช้ศาสนามาแทนที่ กษัตริย์ก็สร้างให้เป็นสมมติเทพ เป็นต้น งานจะมีหลายรูปแบบตามแต่ความเชื่อ แต่โดยหลักคือเน้น ไปที่ความศรัทธาต่อสิ่งหนึ่ง ๆ อาจทำ�เพื่อบูชา เพื่อให้ได้นิพพาน หรือเพื่อพระเจ้าก็ตามแต่ สุดท้าย คือการอุปถัมภ์ด้วยทุน เมื่อศาสนาเริ่มถูก พิสูจน์ด้วยความจริง ศิลปะจึงเป็นไปเพื่อการอื่น เริ่มมีคนสะสม งานเหล่านี้ โดยดร.เพ็ญสุภาได้กล่าวถึงความสัมพันธ์รูปแบบนี้ ไว้วา่ “...ศิลปะเป็นเครือ่ งย้อมใจให้ดดู มี รี สนิยม เพือ่ ความศิวไิ ลซ์ เริ่มข้ามชาติไร้พรมแดน เมื่อยุคทุนเป็นใหญ่ ทุนคือการจ้าง
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 6 .
จึงมีการจ้างงานให้จดั แสดงในแกลเลอรี” ข้อดีของความสัมพันธ์ รู ป แบบนี้ คื อ ผู้ อุ ป ถั ม ภ์ แ ละศิ ล ปิ น เป็ น ไปในลั ก ษณะพึ่ ง พา กั นและกั น ศิ ล ปิ นก็ ไ ด้ ส ร้ า งสรรค์ ผ ลงานโดยมี เ งิ น สนั บ สนุ น และผู้อุปถัมป์ก็ได้เชิดหน้าชูตาจากบรรดาศิลปินในสังกัดที่จะ สร้างผลงานเพื่อตอบสนองรสนิยม การที่ศิลปะเป็นตัวแสดงถึง รสนิยมของผู้ครอบครองอาจจะเริ่มตั้งแต่ตอนนี้ก็เป็นได้ เมือ่ ยุคกลางหมดไป ทุกคนต่างมีโอกาสทีจ่ ะยกระดับ ชีวิตความเป็นอยู่ ฐานะทางสังคมเริ่มมีความสำ�คัญมากขึ้น เรื่อย ๆ แต่ละคนจึงพยายามจะแสดงความเป็นตัวตนของตัวเอง หรือสิ่งที่อยากจะให้คนเห็นออกมา วัตถุกลายเป็นสัญญะถึง อะไรบางอย่าง ศิลปะก็เช่นกัน ศิลปะอาจจะหมายถึงอำ�นาจ ยิ่งใหญ่ หมายถึงความมั่งคั่ง หมายถึงรสนิยม หมายถึงจิตใจ อุ ป ถั ม ภ์ หรื อ อาจจะหมายถึ ง ความคิ ด ความเชื่ อ แต่ ไ ม่ ว่ า จะหมายถึงอะไรก็ตามแต่ ศิลปะได้รับความเชื่อนี้มา จนทำ�ให้ เกิดวัฒนธรรมการอุปถัมภ์ศิลปินขึ้น ความเชื่อในเรื่องที่ว่าวัตถุแสดงถึงอะไรบางอย่าง มีผลต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน กลายเป็นค่านิยม เป็นเปลือกที่ จะใช้ตัดสินคน คนที่ฟังเพลงแบบนี้จะต้องชอบชีวิตอย่างหนึ่ง คนอ่านหนังสือประเภทนีจ้ ะมีความคิดอีกอย่างหนึง่ ของภายนอก กลายเป็นเครื่องตัดสินคนไปเสียสิ้น ศิลปะเองก็ด้วย คนอินดี้ จะต้องวาดรูปแบบนี้ สาวกุก๊ กิก๊ ทำ� DIY จะวาดรูปแบบนัน้ ศิลปะ ที่ยิ่งใหญ่ต้องเข้าใจยาก รูปสวยคือรูปเหมือน ทุกอย่างเป็นวัตถุ แสดงตัวตนไปเสียหมด อาจจะเป็นตัวตน หรือตัวตนทีอ่ ยากจะเป็น โดยเฉพาะในเรือ่ งของราคา เพราะเมือ่ ศิลปะแขนงต่างๆ ทีส่ วยทีด่ ี คือเป็นงานที่ละเอียดอ่อน มีขั้นตอนมากมาย มีเรื่องราว หรือ สามารถตีความได้ อย่างที่ได้กล่าวไปว่าสิ่งเหล่านี้แลกมากับ ราคาต้นทุนที่สูง เมื่อมาเป็นชิ้นงานย่อมมีราคาสูงไปด้วย ทำ�ให้ ผู้ครอบครองดูเป็นผู้มีอันจะกิน สามารถจ่ายราคางานเหล่านี้ได้ ตามความคิดเห็นของคนภายนอก ราคาและเรื่องราวเบื้องหลังของชิ้นงานนี้เองที่เพิ่ม มูลค่า ทัง้ ทีเ่ ป็นเม็ดเงิน และทางจิตใจ ของสิง่ หนึง่ อาจมีมลู ค่ามาก เพิม่ ขึน้ เพราะเรือ่ งราว เช่น แจกันปัน้ ดินของญีป่ นุ่ หากเทียบตาม มูลค่าของแล้วอาจจะราคาเป็น 1 แต่เมือ่ พบว่าแจกันนีเ้ คยตกอยู่ ในการครอบครองของโชกุนคนหนึ่ง ราคาอาจจะเพิ่มมากถึง 10 นี่คือการที่ชิ้นงานถูกเพิ่มมูลค่าด้วยเรื่องราว หรือหมวกสาน ธรรมดา อาจเพิม่ ค่าได้ส�ำ หรับแฟนคลับ เมือ่ ศิลปินเกาหลีได้สวม มันไปแล้ว ก็เป็นการเพิ่มคุณค่าทางจิตใจ เป็นต้น เหล่านี้ล้วนแต่เป็นการให้ความสำ�คัญกับวัตถุทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการเห็นคุณค่าของชิ้นงานแบบไหน แต่สุดท้ายแล้ว ก็ลว้ นแต่เป็นการยึดติดในวัตถุนนั้ ๆ การให้ความสำ�คัญกับวัตถุที่ แสดงถึงอะไรบางอย่าง มากกว่าการแสดงสิง่ เหล่านัน้ ออกมาด้วย ตัวเอง เราต่างให้ความสนใจกับปัจจัยภายนอก ในรูปลักษณะที่ ประสาทสัมผัสทั้งห้าจะรับรู้ได้ มันอาจจะเป็นการดีในบางแง่มุม แต่ก็มีบางจุดที่เราอาจจะต้องพิจารณาถึงผลเสียของมันด้วย เราอาจจะต้องลองคิดถึงตัวตนของเราทีย่ ดึ ไว้กบั วัตถุ เหล่านี้ มันจะยัง่ ยืนไปกับเราได้นานแค่ไหน และเมือ่ ใดทีว่ ตั ถุนนั้ สลายไป เราจะเหลือความเป็นตัวเองอยูอ่ กี หรือเปล่า อำ�นาจทีต่ ดิ อยูก่ บั สถาปัตยกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ เมือ่ มันถูกทำ�ลายไป จะทำ�อย่างไร เมื่ออำ�นาจที่เคยมีก็มาพร้อมความรับผิดชอบ แต่เมื่ออำ�นาจ หายไปแล้ ว ความรั บ ผิ ด ชอบยั ง อยู่ ทางแก้ จ ะอยู่ ที่ ต รงไหน เบื้องหลังสัญญะต่าง ๆ มีอะไรแฝงอยู่เสมอ นัน่ คือสิง่ ทีจ่ ะต้องคิด และหาคำ�ตอบ ก่อนทีต่ วั ตนของ เราจะกลืนไปกับวัตถุเสียจนแยกไม่ออก
M a i n c o u r s e
ใ
เราไมเคยนึกแปลกใจกับสิ่งเหลานี้เลย เรากลับทํา : ศิลป์ศุภา โยคะกุล ตัวเปนสวนหนึ่งของมันดวยซํ้า เพราะวิถีชีวิตของเราที่เปลี่ยนไป ษฎาวุฒิ อุปลกะลิน เราอาจไมตองการเวลาเพื่อนั่งสมาธิเงียบ ๆ ในลานวัด หรือใช เวลาวางชวงเชาวันหยุดในการฟงพระเทศน เราเพียงตองการ ใชเวลาเล็กนอยไปกับการทําบุญเพื่อความสบายใจ และวัด ก็พยายามตอบโจทยของเราดวยการหยิบยื่นความสะดวกสบาย ในการเขาถึงการทําบุญ และ จับตอง บุญไดมากขึ้น ซึ่งนั่น อาจเพียงพอกับการทําให ‘วัด’ ดํารงอยู แตเพียงพอกับการ ธํารง ‘ศาสนา’ หรือไม ? ทุกวันนี้ทําบุญครั้งหนึ่งเหมือนการเขารานสะดวกซื้อ หยิบจับสินคาที่ชอบใจแลวจายเงิน ใชเวลาไมถึงสิบนาที และ ที่สําคัญคือเราซื้อแลวกินไดทันที ไมตองรอใหถึงชาติหนา เผลอ ๆ อาจมีพนักงานถามเราวา ‘รับซองผา ปา ทาํ บุญ เพิ่มมั้ยคะ’ จากที่ศาสนาเคยดึงเอาวัตถุนิยมมาเปนเครื่องมือ ในการเผยแผศาสนา แตทุกวันนี้กลับถูกกลืนกินดวยเครื่องมือ ของตนเอง นัยหนึ่งศาสนาไมอาจดํารงอยูไดโดยขาดเครื่องมือ ชิ้ น นี้ แต วั ต ถุ นิ ย มเองก็ บ ดบั ง ไม ใ ห เ ห็ น แก น ที่ แ ท จ ริ ง ของ พุทธศาสนา หากเปนเชนนั้นเราจะสามารถแยกวัตถุนิยมออก จากศาสนาไดหรือไม เป น คํ า ถามที่ ต อบยาก หากศาสนาเป น เรื่ อ งของ นามธรรมลวน ๆ เรารูวาศาสนาเกิดขึ้นโดยศาสดาผูเลื่อมใส เราสามารถปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ธรรมคํ า สอนได อ ย า งเคร ง ครั ด เรามีจติ ใจทีบ่ ริสทุ ธิ์ ไมต ดิ อยูใ นบว งทุกขข องกิเลส แตเ ราจะแนใ จ ไดอยางไรวาคําสอนเหลานั้นจะตกทอดไปสูลูกหลานไดทั้งหมด สักวันมันอาจจะถูกบดบังดวยเงาดําแหงทุนนิยม แลวเมื่อถึง วันนั้นศาสนาจะยังคงอยูไดจริง ๆ หรือ ในอีกดานหนึ่งหาก ศาสนาเปน เรือ่ งของวัตถุเสียทัง้ หมด เรามีกเิ ลสเปน ศาสดา และมี ทรัพยส นิ สูงคา เปน พระธรรมคาํ สอน เปา หมายสูงสุดไมใ ชน พิ พาน หากแตเปนการไดครอบครอง เราตางสรรหาสิ่งของฟุงเฟอมา ปรนเปรอความสุขของตนและใหคาความสําเร็จเปนเม็ดเงิน สนใจแตวัตถุนอกกายจนลืมสิ่งที่อยูในใจ เมื่อดานใดดานหนึ่งไมใชคําตอบที่ดีที่สุด เราอาจ ต อ งใช ท างสายกลางหรื อ มั ช ฌิ ม าปฏิ ป ทา ในการถ ว งดุ ล ไมใหตาชั่งเอียงไปทางใดทางหนึ่งมากเกินไป โลกเปลี่ ย น สั ง คมเปลี่ ย น วั ด เปลี่ ย น แต สิ่ ง ที่ ไมเคยเปลี่ยน คือใจความสําคัญของศาสนา พระพุทธรูปปูนปน ตัง้ อยูข องมันอยา งนัน้ ผูค นทีผ่ า นไปผา นมาตา งบรรจงติดทองคาํ เปลวบนองคพระ บางฝงแนน บางหลุดรอน บางถูกกลืนหายไป แตทายที่สุดแลวองคพระพุทธรูปก็ยังเปนองคเดิม เพียงแคเรา อาจจะจํามันไมไดแลว หรื อ บางที เ ราเองนี่ แ หละ ที่ เ ป็ น คนติ ด
นยุคที่ประชากรโลกตางเรงจังหวะการเดินของตัว เองเพื่อกาวใหทันกระแสของสังคม ความสะดวกและรวดเร็ว กลายมาเปนบรรทัดฐานหลักในการดําเนินชีวิต แนนอนเมื่อการ เปลี่ยนแปลงเขามาเขยาชั้นบรรยากาศของโลก ทุกสิ่งทุกอยางก็ ยอมหาทางปรับตัวเพือ่ ใหอ ยูร อดในระบบนิเวศแบบสะดวกนิยมนี้ พุทธศาสนาเองก็เชนกัน โลกที่เม็ดเงินหมุนเร็วกวา ใจคน แก น หลั ก ของศาสนาที่ เ คยยึ ด ตามหลั ก จิ ต นิ ย มก็ ถู ก แทรกซึ ม ด ว ยความนิ ย มในวั ต ถุ จึ ง ไม น า แปลกใจที่ ทุ ก วั น นี้ เรามีภาพของความศรัทธาเปนองคพระเลี่ยมทอง และอุโบสถ ที่ประดับประดาอยางงดงาม เราคงปฏิเสธไมไ ดว า เจดียเ นือ้ ทองทีส่ งู ชะลูด ยอ มเห็น ไดงายกวาความบริสุทธิ์ทางใจ -- เพราะนั่นคือขอดีของวัตถุ พุทธศาสนาดึงเอาขอดีนี้มาใชในการเผยแผศาสนา ตั้ ง แต รั ช สมั ย ของพระเจ า อโศกมหาราชที่ ใ ช ธ รรมจั ก รและ กวางหมอบเปน ธงรบในการประกาศพระธรรมคาํ สอน และตอ มา ในสมัยแมทัพกรีกเมนันเดอร หรือพระเจามิลินท ตนเรื่องแหง ‘มิลินทปญหา’ ไดนําการนับถือรูปเคารพแบบกรีกเขามาผสม จนกําเนิดเปนพุทธปฏิมากรรมรุนแรกที่ดูจะมีเชื้อ ‘อพอลโล’ อยูในตัวสูงลิ่ว ถึงแมวาภายหลังพระพุทธรูปจะถูกดัดแปลงไป ตามยุคสมัย เปลี่ยนเชื้อสายไปตามถิ่นฐาน แตก็ยังถูกใชเปน เครือ่ งมือสาํ คัญในการ ‘ยึดเหนีย่ วจิตใจ’ ใหก บั ผูค น กอ นจะนาํ ทาง พวกเขาไปถึงแกน จริง ๆ ทีไ่ มใ ชเ พียงเปลือกทองคาํ เปลวรอบนอก แตห ลายครัง้ ทองคาํ เปลวก็เหนียวและหนาเกินกวา จะ ทะลุไปถึงเนื้อใน ไมใชเพียงพระพุทธรูปเทานั้นที่สรางความศรัทธา ใหกับปวงชน แตยังหมายรวมถึง ‘วัด’ สิ่งปลูกสรางที่มาพรอม กับความมั่งคั่งและวิจิตรงดงาม เพื่อเปนศูนยรวมของจิตใจ (?) วั ด และที่ ดิ น ของวั ด จึ ง เป น อี ก หนึ่ ง สิ่ ง ที่ เ รี ย กคะแนนศรั ท ธา ไดมากทีเดียว ความสวยงามและกวางใหญนี่เองที่สรางความ แตกตางใหกับแตละวัด แมเนื้อในของวัดจะไมตางกันเลยก็ตาม จนนาสงสัยวาทุกวันนี้เราไปวัดเพื่อสงบจิตใจ หรือไปวัดเพราะ มันเปน ‘สถานที่ทองเที่ยว’ กันแน ครั้งหนึ่งพระพุทธเจาเคยสอนเรื่องความไมเที่ยง การ ไมยึดติดกับสิ่งใด การหลุดพนจากความทุกข พุทธองคสอน แมกระทั่งวาเงินทอง เครื่องประดับ และของมีคานั้นเปนดั่ง “อสรพิษ” จะยอนกลับมาฉกเราเมื่อใดก็ได เพราะสิ่งเหลานี้ กระตุนใหเกิดกิเลสไดงาย ความอยากไดอยากมีนี่เองที่เปน บอเกิดแหงความทุกข อยากนําเอาวัตถุเหลานั้นมาปรนเปรอ ความสุขจอมปลอมของตนเอง มนุษยจึงลุกขึ้นมาทํารายกันเพื่อ แกงแยงเอาวัตถุมาไวในครอบครอง แลวเหตุใดวัดจึงกลายเปน ศูนยรวมของกิเลสเหลานั้น ทองคำ�เปลวนั้นลงไป . เมื่ อ โลกกระเถิ บ ตั ว เองสู ยุ ค ทุ น นิ ย ม ศาสนาจึ ง ตองพาตัวเองเขาสูกลไกทางเศรษฐกิ จอย า งหลี กเลี่ ยงไม ได เงินกลายเปน ปจ จัยทีส่ าํ คัญกวา จตุปจั จัย หรือปจ จัยสีใ่ นทางพุทธ (จีวร, บิณฑบาต, เสนาสนะ, คิลานเภสัช) ความศรัทธาจึงตอง ผันตัวเองไปเปน ‘สินคาที่ขายได’ เพื่อใหวัดดํารงอยู รูปเคารพ บูชาจึงผุดขึ้นมากมาย แปะยี่หอเปนชื่อวัดหรือหลวงปู ธูปเทียน และดอกบัวตองจัดไวขางตูบริจาค จะถวายสังฆทานก็มีรานขาย บางที่มีพิธีกรรมเพื่อดึงดูดคนใหศรัทธา ซํ้ารายบางที่แปะปาย ไวชัดเจนวา ‘บริจาคมากไดบุญมาก’ ไมแปลกที่วัดตาง ๆ จะ พยายามหาวิธีการทางการตลาดมาดึงดูดใหคนเขาวัดทําบุญ เพื่ อ การหมุ น เวี ย นของป จ จั ย แต วั ด วั ด หนึ่ ง จะต อ งระดมทุ น มากมายขนาดนั้นไปทําไมกัน
นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 7
: กุลนันทน์ ไตรเจริญวิวัฒน์
เ
ราพบพาดหัวข่าวเหล่านี้ได้แทบจะทุกวันบนหน้า หนังสือพิมพ์ และเราปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเป็นภาพสะท้อนปัญหา ของสังคมไทยในปัจจุบัน หากเราพิจารณาดี ๆ เราจะเห็นได้ว่า ปั ญ หาส่ ว นใหญ่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เนื่ อ งมาจากองค์ ป ระกอบหลาย ด้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น วั ฒ นธรรมทางสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป การเติบโตของระบบทุนนิยม นวัตกรรมใหม่ ๆ ทางสุนทรียศาสตร์ การโฆษณาชวนเชือ่ เมือ่ สิง่ เหล่านีร้ วมเข้ากับเทคโนโลยี ทำ�ให้ วัฒนธรรมลวงใหม่ ๆ เผยแพร่อย่างรวดเร็วไปทั่วโลก
สั ง คมไทยได้ เ ปลี่ ย นจากสั ง คม “ในนํ้ า มี ป ลา ในนามีข้าว” ที่เน้นการกินดีอยู่ดี มาเป็นสังคมที่เน้นการมี เอกลักษณ์ของกลุ่ม การอวดความเป็นตัวตน และเมื่อชุด ความเชื่อที่ว่า “เรียนจบ ทำ�งาน ซื้อบ้าน ซื้อรถ” กลายเป็นสิ่งที่ บ่งบอกความเป็นคนเมือง ก็หมายความว่า เมื่อเราเรียนจบ แล้วเราเริ่มทำ�งาน เก็บเงินไปได้สักระยะหนึ่ง ก็จะเริ่มซื้อรถ ต่อมาจะเริม่ ขยับขยายไปซือ้ บ้านหรือคอนโดของตนเอง ทัง้ ๆ ที่ ในความเป็นจริงแล้ว คนที่เพิ่งเริ่มจะทำ�งาน ฐานะทางการเงิน อาจจะไม่มนั่ คงเท่าไหร่นกั แต่แรงจูงใจของโฆษณา “รถคันแรก” “คอนโดใจกลางเมืองเริ่มผ่อนเพียงเดือนละหลักพัน” ฯลฯ ก็ ล้ ว นกระตุ้ น ต่ อ มความอยากที่ จ ะซื้ อ จนทำ � ให้ ข้ อ เท็ จ จริ ง ของเงินในกระเป๋ากลายเป็นสิ่งที่ถูกชะลอไปก่อน คิดไปเอง ว่าเดี๋ยวก็หาวิธีได้ นอกจากนี้ ความพยายามจะขายสินค้า ในสังคมปัจจุบันกับการแข่งขันทางการตลาด ทำ�ให้ผู้บริโภค ถูกล่อใจเต็มที่โดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว ผู้บริโภคได้รับการหยิบยื่น ข้อเสนอว่า เราควรจะละทิ้งโลกใบเก่า เปิดรับโลกใบใหม่ รับสิ่งใหม่ คุณค่าใหม่ แล้วชีวิตของคุณก็จะสะดวกสบายขึ้น ดังนัน้ การขับรถมาทำ�งานหรือมีคอนโดเป็นของตัวเอง จึงนำ�มา ซึ่ ง ความสะดวกสบายและความโก้ ห รู สิ่ ง เหล่ า นี้ ทำ � ให้ คนทำ � งานบางคนประเมิ น ฐานะทางการเงิ น ของตนผิ ด ไป คิดว่าตนสามารถที่จะแบกรับภาระผ่อนในแต่ละเดือนได้ คน ที่มีกำ�ลังผ่อนไปได้ตลอดรอดฝั่งก็ถือว่าโชคดีกว่าคนที่ไม่มี ปัญญาผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน จนท้ายที่สุดก็โดนยึดบ้าน ยึ ด รถยนต์ อย่ า งที่ เ ราเห็ น ในข่ า วว่ า ไฟแนนซ์ เ ริ่ ม ที่ จ ะยึ ด รถยนต์จากลูกหนี้ที่ไม่สามารถผ่อนจ่ายได้ ประกอบกับสภาพ เศรษฐกิ จ ที่ ไ ม่ สู้ ดี นั ก ทำ � ให้ มี ก ารคาดการณ์ กั น ว่ า น่ า จะมี ปริมาณรถที่ถูกยึดมากขึ้นเรื่อย ๆ วัยรุ่นก็ยิ่งเป็นกลุ่มคนที่ถูกครอบงำ�โดยวัตถุนิยม ได้ง่าย เนื่องจากวัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องการการยอมรับจากสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเพื่อน จึงทำ�ให้วัยรุ่นไทยถูกครอบงำ� โดยกระแสวัตถุนยิ มได้ไม่ยาก วัยรุน่ บางกลุม่ นิยมการแต่งกาย แบบแปลกแหวกแนวเพื่อให้ดูมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง บางคนแต่ ง ตั ว ตามดาราที่ ต นชื่ น ชอบ บางคนนิ ย มใช้ ข อง แบรนด์เนมตามกลุ่มเพื่อนของตน หรือใช้เพื่อเป็นการโอ้อวด ฐานะ นำ�มาซึ่งการใช้จ่ายอย่างเกินตัวจนลืมคำ�นึงถึงฐานะ ของตน เนื่ อ งจากแต่ ล ะคนนั้ น มาจากครอบครั ว ที่ มี พื้ น เพ แตกต่างกัน บางครอบครัวมีฐานะดี สามารถซือ้ ของแบรนด์เนม ฟุม่ เฟือยต่าง ๆ ให้ได้ แต่เพือ่ นบางคนในกลุม่ อาจไม่ได้มกี �ำ ลัง ซือ้ แบบนัน้ แต่ดว้ ยความทีต่ อ้ งการการยอมรับว่าเป็นส่วนหนึง่ และกลัวว่าจะน้อยหน้าเพือ่ น ๆ จึงพยายามทำ�ทุกวิถที างเพือ่ ให้ มีเงินไปซื้อของแบรนด์เนม วัยรุ่นไทยจำ�นวนไม่น้อยจึงหาเงิน เพื่อมาเติมเต็มค่านิยมเรื่องการบริโภคด้วยการขายบริการ ทางเพศ เพราะเป็นวิธหี าเงินที่ง่าย ใช้เพียงแค่ร่างกายเข้าแลก โดยไม่ได้คำ�นึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตน ที่น่าตกใจ คือปัจจุบันไม่ได้มีเพียงแค่วัยรุ่นหญิงเท่านั้น แต่วัยรุ่นชาย ก็เริม่ ทีจ่ ะขายบริการเพือ่ หาเงินมาจับจ่ายใช้สอยของฟุม่ เฟือย เช่นเดียวกัน กระแสคลั่งวัตถุนิยมยังทำ�ให้เกิดปัญหาด้านการ ใช้สินค้าเลียนแบบ วัยรุ่นไทยบางคนไม่ได้สนใจว่าสินค้านั้น จะเป็นของจริงหรือของปลอม ขอแค่ตนได้มีใช้เหมือนเพื่อน หรือดูดีในสายตาคนอื่นก็ถือว่าเพียงพอแล้ว ส่งผลให้การใช้ สินค้าเลียนแบบเป็นเรือ่ งปกติในสังคมไทย แต่เมือ่ เราอยูใ่ นยุค โลกาภิวตั น์ เราต้องยอมรับกฏเกณฑ์ของประชาคมโลกในเรือ่ ง ลิขสิทธิ์ จึงทำ�ให้สินค้าลอกเลียนแบบถูกประนาม ภาพลักษณ์ ของประเทศที่ใช้สินค้าลอกเลียนแบบเสื่อมเสีย เห็นได้จาก ข่าวนักร้องดัง เลดี้กาก้า เมื่อครั้งที่เธอได้มีโอกาสมาจัดแสดง คอนเสิร์ตที่เมืองไทย เธอได้ทวีตข้อความทางทวิตเตอร์ว่า
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 8 .
“ต้องการไปช็อปปิง้ เทีย่ วกลางคืนและซือ้ นาฬิกาโรเล็กซ์ปลอม ระหว่ างมาเล่ นคอนเสิ ร์ ต ในกรุ ง เทพฯ” ซึ่ ง ได้ กลายมาเป็ น ประเด็นร้อนอยู่ช่วงหนึ่ง รัฐบาลไทยได้ตอบโต้กลับว่าการ กระทำ�ของเลดี้กาก้าจะทำ�ให้ภาพพจน์ไทยเสื่อมเสีย แต่ก็ไม่ วายโดนสื่อต่างชาติตอกกลับว่า สิ่งที่นักร้องชาวอเมริกันกล่าว ถึงล้วนเป็นความจริงทั้งสิ้น นักท่องเที่ยวสามารถหาซื้อของ ลอกเลียนแบบแบรนด์เนมหรูได้งา่ ยในไทย อีกทัง้ ยังเป็นปัญหา ที่รัฐบาลควรให้ความใส่ใจเนื่องจากจะเป็นบ่อเกิดของโสเภณี การค้ามนุษย์ เพื่อหารายได้มาสนองความต้องการ นอกจากนีค้ นไทยยังสร้างความเชือ่ ผิด ๆ ว่า คนรวย เป็นอภิสิทธิ์ชนสามารถทำ�ได้ทุกอย่าง นำ�มาซึ่งการตัดสินคน จากเปลือกนอก เช่น คนไทยจะมองคนที่ขับรถยุโรปว่าเป็น คนรวย หากขับรถยุโรปไปที่ไหน รปภ.ก็มักจะหาที่จอดรถดี ๆ และบริการดีกว่ารถญีป่ นุ่ ธรรมดาทัว่ ไป บางทีรถยุโรปทีม่ รี าคา แพง ขับรถฝ่าไฟแดงตำ�รวจก็ไม่กล้าจับ เนือ่ งจากกลัวว่าจะเป็น ผู้มีอิทธิพลแล้วตนจะเดือดร้อน หรือแม้กระทั่งเรื่องเล็กน้อย อย่างโทรศัพท์มือถือ ที่สำ�หรับคนไทยแล้ว ไม่ใช่แค่เครื่องมือ สื่อสารเท่านั้น แต่เป็นเครื่องบ่งบอกสถานะทางสังคม คนไทย มักเปลี่ยนรุ่นโทรศัพท์เพื่อเป็นการโอ้อวดฐานะว่าตนเป็นคน ทันสมัย และเป็นคนมีฐานะดีเปลี่ยนโทรศัพท์ได้ทันทีที่มีรุ่น ใหม่ออกมา เห็นได้จากไอโฟน โทรศัพท์ยอดฮิตของสังคมไทย เมื่อไอโฟนออกรุ่นใหม่เรามักเห็นคนไปต่อคิวยาวกันแต่เช้าตรู่ เสมอ ทั้ง ๆ ที่รุ่นเก่าก็ยังใช้ได้ดีอยู่ ดังนั้นการบริโภคสินค้า ในปัจจุบันจึงไม่ใช่การตอบสนองความต้องการเพียงพื้นฐาน เท่านั้น แต่เป็นการบริโภคที่บ่งบอกสถานะทางสังคมอีกด้วย ถึงกระนั้นก็มีหลายฝ่ายออกมาพูดแก้ต่างว่าการ นิยมใช้ของแบรนด์เนม หรือการขับรถหรูนนั้ เปรียบเสมือนภาษี ทางสังคมอย่างหนึ่ง เพราะถ้าหากเขาเป็นผู้บริหารระดับสูง แล้วต้องมาใช้บริการรถสาธารณะหรือใช้ย่ามใบละไม่กี่ร้อย ก็ดูจะไม่เหมาะ หรือวัยรุ่นบางคนที่ฐานะทางบ้านสามารถ เกื้อหนุนให้เขาใช้ชีวิตได้อย่างฟุ่มเฟือย และยังมีคนอีกหลาย คนที่ออกมาบอกว่าเขาใช้ของแบรนด์เนมเพราะของเหล่านี้ มักมีคุณภาพดีกว่า สามารถใช้งานได้นานกว่าสินค้าทั่วไป ซึ่งเหตุผลเหล่านี้ฟังดูมีนํ้าหนัก เพราะด้วยฐานะทางการเงิน และฐานะทางสังคมแล้ว เขาก็สามารถที่จะมีกำ�ลังซื้อของ แบรนด์เนมหรือใช้ชีวิตอย่างหรูหราได้ แต่ในขณะเดียวกัน ผู้ที่ไม่ได้มีความจำ�เป็น เช่น วัยรุ่นทั่วไปที่ยังไม่มีรายได้เป็น ของตนเอง ประกอบกับฐานะทางบ้านไม่ได้อยู่ในระดับที่จะ สามารถฟุม่ เฟือยได้ การใช้แบรนด์เนมหรือใช้ชวี ติ อย่างฟุง้ เฟ้อ อาจก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมดังที่กล่าวมาข้างต้น ดังนั้นมายาคติกับการบริโภคนิยมจึงเป็นปัญหา ที่ ส่ งผลกระทบในวงกว้ า ง ทั้ ง ในด้ า นภาพลั ก ษณ์ อั น ดี ง าม ของประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ด้านอาชญากรรมและปัญหา การขายบริการทางเพศ สาเหตุของปัญหานั้นไม่ใช่เป็นเพราะ คนที่ใช้เงินฟุ่มเฟือย แต่รวมถึงสภาพทางสังคมที่สนับสนุน ให้คนซื้อบ้าน ซื้อรถยนต์ คำ�ถามคือ เราจะต่อสู้กับวัฒนธรรม ลวงเหล่านี้อย่างไร ดูเหมือนว่าปัญหาทั้งปวงก็ต้องแก้ที่การ ปลูกฝังของครอบครัว การฉีดวัคซีนป้องกันโรคย่อมดีกว่า การรักษาโรคทีหลัง พ่อแม่จึงควรเลี้ยงดูลูกให้เรียนรู้คุณค่า ทางด้ า นจิ ต ใจมากกว่ า วั ต ถุ ทำ � ให้ ลู ก รู้ สึ ก ว่ า ตนมี คุ ณ ค่ า เพราะการใช้เงินอย่างฟุง้ เฟ้อของวัยรุน่ ส่วนหนึง่ มีสาเหตุมาจาก การขาดความเชื่อมั่นในตนเอง อีกทั้งยังควรสอนให้ลูกเข้าใจ สถานการณ์ของครอบครัว รู้จักฝึกฝนให้เด็กรู้จักการใช้จ่าย เงินทองอย่างเหมาะสมกับฐานะ หากผูป้ กครองรูจ้ กั ทีจ่ ะปลูกฝัง เด็กดังที่กล่าวมาข้างต้น ก็จะทำ�ให้เขาได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่มีความคิดไตร่ตรอง สามารถลดความเสี่ยงจากการถูกการ บริโภคแบบวัตถุนิยมครอบงำ�ได้
M a i n c o u r s e
ประชา(ธิปไตย+ทุน)นิยม M a i n c o u r s e
เ
มื่อคราวที่ประชาธิปไตยก้าวเข้ามาในบ้านเราเป็น ครั้งแรก สิ่งที่มันนำ�ติดตัวเข้ามาด้วยไม่ใช่แค่การเปลี่ยนแปลง ที่ดูคล้ายจะยิ่งใหญ่แต่น่ากังขาอยู่ในทีเท่านัั้น ลิ่วล้อที่ตามมา ติด ๆ ไม่ห่างกันคือระบบทุนนิยมที่ก่อร่างสร้างตัวขึ้นมาอย่าง เงียบงันโดยที่เราไม่ทันสังเกต ในระยะแรกมันคงเป็นเพียงต้นกล้าที่ดูอ่อนแรง แต่ เมื่อลมฝนแห่งความโลภและการช่วงชิงหล่อเลี้ยงให้เติบโต ไม้ ใหญ่ที่ผงาดงํ้าในวันนี้แทนที่จะคอยให้ร่มเงา กลับแผ่กิ่งก้าน สาขาบดบังแสงตะวันจนมืดมิด ทุนนิยม ตามความหมายที่เราถูกยัดเยียดให้ทราบ มาตลอดนั้น จะมีวลีหนึ่งที่อ่านดูแล้วเห็นแก่ตัวอย่างไรชอบกล สอดแทรกอยู่เสมอว่า ‘..โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ผลกำ�ไรสูงสุด โดย ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด..’ พอทุนนิยมเกิดขึ้นพร้อมการมาถึง ของประชาธิ ป ไตย ความหมายของมั น จึ ง หลอมรวมกลาย เป็นการเปิดโอกาสให้เหล่านักธุรกิจเข้ามาลงทุนได้อย่างเสรี สร้างพื้นที่ตลาดการค้าให้นายทุนแข่งขันกันอย่างถูกต้องและ เท่าเทียมเพื่อแย่งชิงผลประโยชน์ได้อย่างเป็นอิสระ จำ�นวนนายทุนเกิดใหม่พงุ่ ขึน้ สูงตามอัตราการเติบโต ของทุนนิยมที่ผนวกตัวเข้ากับประชาธิปไตย ถึงตอนนี้จำ�นวน ผู้ผลิตจึงเพิ่มขึ้นจนเกือบจะเท่ากับจำ�นวนผู้บริโภค การแข่งขัน ระหว่างผู้ค้าเลยเกิดขึ้นอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงและหลายวิธีการ ก็มุ่งหวังแต่ผลกำ�ไรโดยไม่ดูผลกระทบร้ายแรงมหาศาลที่เกิด ขึ้นกับสังคม ความเสียหายที่ไม่ใช่แค่เรื่องของทรัพย์สินและ จำ�นวนเงิน แต่เป็นฐานรากของโครงสร้างที่เริ่มสั่นคลอนแคลน ใครเผลอสะกิดนิดเดียวคงล้มครืนพังทลายทับคนไทยตายราบ เป็นหน้ากลอง ทุนนิยมกระตุ้นให้เกิดการบริโภคนิยมอย่างไม่รู้จัก พอ สินค้าและบริการมากมายจึงได้โอกาสแสดงตัวตนหลอกล่อ เย้ายวนสายตาเราไม่รจู้ บ หลักการโฆษณาทำ�ให้เรารูส้ กึ ขาด ไม่ พอ ไม่เต็ม ไม่สมบูรณ์ เราจึงไขว่คว้าและหาหนทางเติมเต็มด้วย สิ่งของที่ถูกนำ�มาเสนออยู่ตรงหน้าอย่างต่อเนื่อง จนเราชินชา และคุ้นเคย รับมือกับความอยากด้วยการสนองตอบแทนที่จะ ระงับหรือกำ�จัดให้หายไป วัตถุนิยมมีชัยเหนือเราโดยเบ็ดเสร็จ สมบูรณ์ในที่สุด ครรลองดังกล่าวดำ�เนินเรือ่ ยไปไม่หยุดยัง้ ในปัจจุบนั รูปแบบของทุนนิยมนั้นเรียกร้องให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิต และจำ�เป็นต้องหลอกล่อผู้บริโภคอยู่เสมอ ๆ กิเลสมนุษย์ถูกนำ� มาใช้เป็นเครื่องมือในทุกรายละเอียดของกระบวนการในระบบ ตั้งแต่ต้นตอจนถึงผลลัพธ์ ไม่ช้าก็กลายเป็นเรื่องที่ช่วยไม่ได้ถ้า สังคมเราจะถูกวัตถุนยิ มครอบงำ� พร้อมกันกับการทีพ่ รมแดนของ โลกหายไปโดยสิ้นเชิง อิทธิพลของวัฒนธรรมก็ได้เข้ามาเปลี่ยน รสนิยมในการใช้ชีวิตของพวกเราอย่างรวดเร็ว ม่านหมอกแห่ง วัตถุนยิ มทีด่ บู างเบา ค่อย ๆ เคลือบตัวแฝงรวมเข้ากับค่านิยมใน การเสพสือ่ การซือ้ สินค้าแบรนด์เนม การบริโภคทัง้ สินค้า อาหาร และบริการ มาตรฐานการมีชวี ติ อยูข่ องพวกเราถูกทำ�ให้สงู ขึน้ โดย ไม่รู้ตัวอีกครั้งหนึ่ง
เรือ่ งของเรือ่ งก็คอื สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มาจากการรวมตัวของ ประชาธิปไตยและทุนนิยมนั้น ดันไปตอบโจทย์โครงสร้างทาง สังคมแขนงใหญ่อีกแขนง คือแขนงของการเมือง ด้วยโครงสร้าง ที่อ่อนแออยู่แล้วของมัน จึงไม่ยากที่นายทุนหัวใสบางคนจะหา ลู่ทางในการขยายอำ�นาจทางธุรกิจด้วยการลงสนามเล่นเกม การเมือง ทุนนิยมนั้นสิ่งหนึ่งที่จำ�เป็นคือฐานลูกค้าและอำ�นาจ ที่กว้างขวาง เกมการเมืองตอบโจทย์ได้ดีพอสมควรในปัจจัยนี้ ส่วนอีกปัจจัยหนึ่งที่เกมนี้มอบให้ได้ (แต่เราจะไม่พูดถึงกัน) คือ การปรับเปลี่ยนฟันเฟืองบางตัวในระบบให้มือไม้ของตน ‘คล่อง ตัว’ ขึ้นมามากพอที่จะหยิบจับอะไรได้ง่ายขึ้น แน่นอน เกมสนามนี้ลงมาเล่นแล้วใช่ว่าใครจะเป็น ที่หนึ่งกันได้ง่าย ๆ ถ้าไม่มีฝีมืออยู่พอตัวบวกกับฝีไม้ลายมืออีก เล็กน้อยคงตกเป็นผู้แพ้ตั้งแต่ยังไม่เห็นหน้าคู่แข่งเสียด้วยซํ้า ผู้ เ ล่ น แต่ ล ะคนจึ ง หาสารพั ด กลยุ ท ธวิ ธี ม าหํ้ า หั่ น กั น และกั น แล้วถ้าเราตรวจสอบประวัติศาสตร์ให้ดี จะเห็นได้ว่าตั้งแต่แรก เริ่มอาวุธที่ถูกใช้ในเกมการเมืองนั้นความจริงแล้วมีอยู่ไม่กี่รูป แบบ เพียงแต่ถูกนำ�มาใช้โดยผลัดเปลี่ยนมือผู้เล่นแต่ละคนกัน ไปตามยุคสมัยซํ้าแล้วซํ้าเล่า แต่เมือ่ ประมาณทศวรรษที่ 2540 ‘ประชานิยม’ อาวุธ ชิ้นใหม่ที่ตอบโจทย์สอดรับอย่างดีกับโครงสร้างทางสังคมของ ประเทศไทยในขณะนัน้ ได้ถกู หยิบขึน้ มาใช้โดยผูเ้ ล่นหน้าใหม่คน หนึ่ง จุดเด่นของประชานิยมคือการเล่นกับความต้องการขั้นพื้น ฐานของประชาชนทั่วไป ตอบสนองและยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือ ในจุดที่ประชาชนคิดว่าตัวเองมีสิทธิควรจะได้รับการช่วยเหลือ ทำ�ในสิ่งที่ไม่เคยมีใครคิดจะทำ�มาก่อน คือการรับฟังและทำ�ให้ เสียงของประชาชนมีความหมายขึ้นมา (บ้าง) ไม่ยากเลยที่จะตกเป็นเหยื่อในเมื่อเราอยู่ในสังคม ที่ทุนนิยมกับประชาธิปไตยถูกนำ�มาใช้ด้วยกันอย่างผิดวิธีและ ไม่มีการวางแผนล่วงหน้า ดูท่าว่าสิ่งที่ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ 1 เคยบอกเอาไว้ว่าประชานิยมที่ดีและเป็นไปได้นั้น ต้องไม่เกิด ในสังคมที่มีความเป็นเกษตรกรรมและมีความเหลื่อมลํ้ากันสูง อย่างประเทศไทย เห็นจะจริงเสียแล้วเพราะตอนนี้เราติดนิสัยที่ ระบบทุนนิยมสร้างให้เราเป็น เมื่อถูกล่อด้วยนโยบายสวยหรูก็ เลยติดกับ ระบบสังคมที่หล่อหลอมเราขึ้นมาทำ�ให้ใจเราถูกซื้อ ได้ง่ายดายเหลือเกิน ไม่ น านผู้ ช นะก็ ป รากฎตั ว เสี ย งเกิ น ครึ่ ง ยิ น ยอม พร้ อ มใจให้ ผู้ นำ � มอบหนทางที่ ง่ า ยดายกว่ า ในชี วิ ต ให้ แ ก่ ต น ยุทธการต่อไปคือการรักษาฐานเสียงนัน้ ไว้โดยการทำ�สิง่ ทีเ่ คยพูด ให้เป็นจริง ตัวอย่างหลาย ๆ โครงการก็มใี ห้เห็นกันอยู่ ทัง้ สามสิบ บาทรักษาทุกโรค (ทีก่ �ำ ลังสร้างหายนะให้กบั วงการการแพทย์อยู่ ตอนนี)้ หรือนโยบายรถคันแรก (ทีท่ �ำ ลายโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ไปเป็นปี) หรือแม้แต่โครงการรถเมล์ฟรี (ทีก่ �ำ ลังแย่เช่นกันเพราะ ตกอยูใ่ นสภาวะชักหน้าไม่ถงึ หลัง) และโครงการอีกมากมายทีถ่ กู นำ�มาใช้เป็นเครือ่ งมือเรียกคะแนนนิยมโดยไม่ค�ำ นึงถึงผลลัพธ์ที่ อาจตามมา ให้เปรียบก็คงเหมือนปูพื้นกระเบื้องลวดลายวิจิตร งดงาม แต่ขาดการวางแผนจากช่างที่เชี่ยวชาญและรู้จริง ส่วน ผสมหรือคุณภาพของปูนที่ใช้จึงไม่ได้มาตรฐาน ไม่ช้าไม่นาน พื้นกระเบื้องก็เริ่มหลุดลอกล่อนส่อให้เห็นถึงการทำ�งานของคน ทำ�ว่าขาดการพินิจพิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วนก่อนลงมือ ค่า ใช้จ่ายเลยบานปลายเพราะต้องตามซ่อมแซมอยู่รํ่าไป
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 9 .
จิตรินทร์ เลิศรัตนวิสุทธิ์ จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์ ในความหมายที่ควรจะเป็น ประชานิยมจริง ๆ แล้ว โดยสรุปคือ ‘การให้ความสำ�คัญหรือให้คุณค่าแก่ประชาชน เป็นอันดับหนึ่ง เป็นการบริหารประเทศที่เน้นการให้คุณค่าแก่ ประชาชนโดยเฉพาะประชาชนทัว่ ไป การเมืองทีเ่ ห็นความสำ�คัญ ของประชาชนทัว่ ไปจึงเป็นประชานิยมเสมอ’ แต่บริบทของสังคม ไทยได้เปลีย่ นประชานิยมในความหมายสากลให้กลายเป็นในอีก รูปแบบหนึ่ง นักการเมืองที่ควรจะทำ�งานตามจรรยาบรรณกลับ ทำ�ตัวเป็นนักธุรกิจ ใช้วิธีการของนายทุนมาบริหารบ้านเมือง นั ก การเมื อ งคื อ คนที่ ต้ อ งเห็ น ผลประโยชน์ ข อง ประชาชนและส่วนรวมมาเป็นอันดับหนึ่ง แต่นายทุนคือคนที่ ถือผลประโยชน์ของตัวเองมาก่อนเสมอ การใช้อำ�นาจรัฐในการ ผูกขาดธุรกิจบางส่วนที่ให้ผลประโยชน์สูงสุดในระบบเศรษฐกิจ ของประเทศอาจถือได้วา่ อำ�นวยประโยชน์ให้แก่ตวั เองและผูท้ มี่ ี ส่วนได้สว่ นเสีย หรือแม้แต่อ�ำ นาจในการกำ�หนดนโยบายให้เกิด ช่องว่างเว้นให้ตนได้เข้าไปกอบโกยได้อย่างเต็มที่ นายทุนใหญ่ กลายเป็นนักการเมืองที่เข้ายึดกุมอำ�นาจรัฐโดยตรง ใช้อำ�นาจ รัฐผูกขาดและแสวงหากำ�ไรทางธุรกิจที่มีผลประโยชน์สูง เรียก ง่าย ๆ ว่า ‘นายทุนใหญ่ผูกขาดสามานย์’ การเมืองใช้อำ�นาจที่ตัวมันและผู้ครอบครองมีอยู่มา บริหารจัดการองค์การ ตลอดจนการวางระบบ วางหลักเกณฑ์ และมาตรฐานในการทำ�งานให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำ�หนด ไว้ ทำ�ให้ฐานตำ�แหน่งที่ยืนอยู่นั้นแข็งแกร่ง ยิ่งได้คนมาเป็น พวกกว้างขวางมากเท่าใด ยิ่งเอื้ออำ�นวยและเสริมกำ�ลังมาก ขึ้นเท่านั้น คงหลีกเลีย่ งไม่ได้ในเมือ่ ประชานิยมเกิดขึน้ มาเพราะ การมีอยูข่ องทุนนิยมและประชาธิปไตย ทีส่ �ำ คัญคือเราจะใช้มนั อย่างไรให้เกิดผลดีมากกว่าผลเสีย ประชาชนอย่างพวกเราก็คง ทำ�ได้แค่ตงั้ สติให้มน่ั และรับมือไปตามยถากรรม แต่ในฐานะผูน้ �ำ บ้านเมือง ขอความกรุณาพึงระมัดระวังให้จงดี นักแสดงเล่นเป็น ตัวประกอบน้อยครัง้ ไม่อาจเลือ่ นขึน้ เป็นตัวเอกได้ฉนั ใด ของบาง อย่างไม่ผา่ นการลองผิดลองถูกมามากพอก็ไม่อาจไว้วางใจให้ใช้ จริงได้ฉันนั้น
ประชานิยมก็เช่นกัน.
1 นิธิ เอียวศรีวงศ์: นักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์, งานเสวนาสาธารณะ “คิดใหม่ประชานิยม: จากรัฐบาลทักษิณถึงยิ่งลักษณ์ เราเรี ย นรู้ อ ะไรบ้ า ง”, สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (TDRI), 30 พฤษภาคม 2556, http://thaipublica.org/2013/06/tdri-seminarpopulist-policies/
มนต์ทิพา_วิโรจน์พันธุ์
ฉันร้องห้ามเพื่อนที่จะ ใช้ส้อมจิ้มเชอร์รี่ชีสเค้กที่สุดแสนจะน่ารับประทาน ตรงหน้า “ถ่ายรูปก่อน” เพื่อนมองฉันด้วยสายตา เอือมระอา ในใจคงบ่นว่าทำ�ไมจะกินแต่ละทีมันต้องถ่ายรูปลง Instagram ตลอด นี่คงจะเป็นคำ�ถามที่หลาย ๆ คนสงสัย และ เพราะอะไร การถ่ายภาพอาหารหรือขนมแล้วแชร์ตามพืน้ ทีส่ ว่ น ตัวบนโลกออนไลน์จึงกลายมาเป็นวัฒนธรรมของคนบางกลุ่ม พร้อมกับใจที่ลึก ๆ ก็อยากจะแขวะคนพวกนี้ว่าขนมมันมีไว้กิน นะยะ ไม่ได้มีไว้ถ่ายอวดชาวบ้าน! คงปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า โซเชี ย ลมี เ ดี ย เข้ า มามี บ ทบาท ในชีวิตของคนยุคใหม่อย่างมาก อย่างน้อย ๆ คนหนึ่งคนจะต้อง มีแอคเคาท์โซเชียลมีเดียไว้อย่างน้อย 1 เจ้าในครอบครอง ไม่ว่า จะเป็น Facebook, Twitter, Tumblr, Pinterest และทีฮ่ ติ สุดๆคง หนีไม่พน้ Instagram ทีว่ า่ กันว่า ยิง่ มี Follower มากเท่าไหร่ ยิง่ ดี Instagram ถือเป็นแอพพลิเคชันแรก ๆ ที่ทำ�ออก มาเพื่อให้ผู้ใช้ได้แบ่งปันภาพกับผู้ติดต่อคนอื่น ๆ รวมไปถึง คนแปลกหน้าเมือ่ ไม่ได้ตงั้ ค่าความเป็นส่วนตัว เขาก็จะมากดไลค์ ได้ตามใจ ช่วงแรก ๆ คนก็ถ่ายรูปสัพเพเหระด้วยมือถือของตัว ยํ้าอีกทีว่าถ่ายรูปอะไรก็ได้ไม่จำ�กัด แล้วจัดการอัพโหลดทันที ที่ถ่าย หลัง ๆ ก็เริ่มเอารูปมาจากที่นู่นที่นี่ ไม่ก็ถ่ายฟิล์มแล้ว สแกนไฟล์มาลงก็มี Instagram ถือเป็นพื้นที่หนึ่งที่ใช้แสดง ตั ว ตนหรื อ ความสนใจของผู้ ใ ช้ ไม่ ก็ เ ป็ น ที่ ร ะบายอารมณ์ เรี ย กร้ อ งความสนใจ แม้ แ ต่ เ ป็ น ช่ อ งทางทำ � เงิ น (รวยกั น มาหลายร้านแล้วเหมือนกัน!) แต่ที่ฮิตสุด ๆ น่าจะเป็นการ ถ่ า ยภาพอาหาร ขนม เครื่ อ งดื่ ม ที่ ห น้ า ตาดู น่ า อร่ อ ย คน ยิ่ ง เห็ น ก็ ยิ่ ง หิ ว ยิ่ ง ชอบ ยิ่ ง ไลค์ ก็ มี ห ลายคนเริ่ ม ทำ � ตาม ๆ กั น เชื่ อ กั น ว่ า คนเล่ น Instagram หรื อ โซเชี ย ลมี เ ดี ย ที่ ต้ อ งมี ค นฟอลโลว์ พอมี ค นไลค์ เ ยอะแล้ ว สบายใจ กิ น อิ่ ม นอนหลับ จริงหรือ? งานของบล็อกเกอร์ที่ใช้ชื่อว่า “Cultural Omnivore” ได้ยกคำ�กล่าวของบุคคลทีเ่ ขาเรียกว่า “นักปราชญ์” มาเป็นบทนำ�
LIFESTYLE & IT
ในบทความ เรื่ อ ง “The Instagram Phenomenon – Evolving Materialism” โดยมี ใจความที่แปลได้ว่า นักจิตวิทยามวลชนเชื่อว่า ความนิยมของ Instagram เป็นผลที่มาจากแรงกระตุ้นเดียวกันกับเกมที่คน ทั่วโลกติดมากที่สุดอย่าง World of Warcraft จากแต่ก่อนคน เราพยายามทำ�ตนเองให้เป็นที่นิยมชมชอบจากคนใกล้ตัว ใน ปัจจุบันได้กลายเป็นการเรียกร้องความสนใจและการยอมรับ จากคนอื่น ๆ ในสังคมแทน และพลังของ Instagram นั้นมีผล เป็นวงกว้าง ที่ว่าคนสิบล้านคนที่ติดตามผลงานของเรานั้นยัง น้อยไป เพราะทุกคนสามารถเข้าถึงมันได้! ก็ดว้ ยเหตุนเี้ อง การรูม้ าก เห็นมาก ทำ�ให้ขอบเขตของ สังคมความเป็นอยู่นั้นสะบั้นลงเพราะการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย จากชนชั้นสูง สู่ชนชั้นกลาง และชนชั้นล่างบางส่วน หากคุณ มีอินเตอร์เน็ตคุณก็สามารถเข้าถึงสิ่งเหล่านี้ได้เพียงปลายนิ้ว สัมผัส และความไม่มีขอบเขตนี้เองที่ได้สร้างความเชื่อเกี่ยวกับ ความเท่าเทียมกันในสังคม รวมไปถึงการเข้าถึง หรือบริโภคสิ่ง ต่างๆ ได้ใกล้เคียงกันมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ส่งผลไปถึงรูปแบบการ ใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป คนสมัยใหม่เสพไลฟ์สไตล์ มากกว่าการ สนองตอบต่อความต้องการของร่างกายขั้นพื้นฐาน ปัจจัยสี่ไม่ เพียงพอ ต้องมีปัจจัยห้า หก เจ็ด ตามมาอีกมากมาย สำ�หรับเรื่องอาหาร นับว่าเป็นผลกระทบที่ชัดเจน เรื่องหนึ่งของปรากฏการณ์นี้ คนบางกลุ่มที่กลายเป็นพวกติด แชร์โพสท์ เรื่องราวส่วนตัวลงในหน้าโซเชียลมีเดีย พยายาม ที่จะเสาะหาร้านแปลก ๆ ที่มีอาหารหน้าตาน่ารับประทาน โดยมองข้ามรสชาติอาหารและความอิ่มท้องไป แต่คนเหล่า นี้ ส่ ว นใหญ่ ก็ เ ป็ น มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นชนชั้ น กลางที่ ข ยั น จะขยั บ บรรทัดฐานทางสังคมของตัวเองขึ้นไปเทียบกับคนที่มีเงินใช้ไม่ ขาดมือ ขยันจะไปใช้เงิน ไปเสพความโก้เก๋อยู่บ่อยครั้ง แลก กับการได้ไลค์ และให้ผู้คนมาตามฟอลโลว์ ภาพถ่ายอาหาร สุดชิคที่ใส่ฟิลเตอร์และสติกเกอร์ไปประมาณ 10 ชั้น และช่วง กลางเดือนก็จะบ่นโอดโอยว่า “ต้องกินแกลบอีกแล้ว” พร้อม อีโมติคอนสามสี่ตัว อยู่รํ่าไป
นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 1 0
ค่ า นิ ย มนี้ ทำ � ให้ เ กิ ด ดราม่ า บนโลกไอที เ มื่ อ หลาย เดือนก่อน ช่วงที่ Instagram ยังเป็นแอพพลิเคชันที่เดิมที่ให้ บริการเฉพาะสมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการ iOS แต่ภายหลังก็ได้ ขยายกลุ่มตลาดมายังผู้ใช้ Android น่าตกใจที่โปรแกรมเพียง โปรแกรมเดียวกลายเป็นการแบ่งแยกชนชั้นของผู้ใช้เครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์ไปได้ ผู้ใช้ที่เคารพที่ชื่อ m0nster ได้ก่อดราม่า จากแสดงความคิดเห็นผ่านทวิตเตอร์แบบแปลแล้วได้ใจความ เริ่ดเชิดหยิ่งว่า “โอ้ว แจ่มจ้ะ ตอนนี้คนใช้โทรศัพท์แอนดรอยด์ เล่น Instagram กันได้แล้วนะ ต่อไปนี้คงจะได้รู้แล้วล่ะว่าคนจน เขากินอะไรเป็นอาหาร” พวกสาวกตัวเขียวก็โกรธเป็นฟืนเป็นไฟ กันสิงานนี้ มือถือแอนดรอยด์ราคาครึง่ แสนดอลลาร์กม็ นี ะโหวย รู้จักไหม Ulysse Nardin Chairman น่ะ อย่าเอาเรื่องระบบ ปฏิบัติการมาโยงกับคุณภาพชีวิตสิ มันเป็นเรื่องของรสนิยมนะ คุณ! เอ้อ! อย่างไรก็ดี จากเหตุการณ์น้ีทำ�ให้อาหารยกระดับ กลายเป็นสิ่งของในหมวด Materialism และ Consumerism ไปเป็นที่เรียบร้อย นอกจากอาหารแล้วก็ยังมีข้าวของ เครื่องใช้ ที่พอเห็นราคาก็ต้องซับเหงื่อ ซึ่งต่างคนต่างขุดกันมาอวดต่อ สาธารณชน มีบล็อกใน Tumblr ที่จิกกัดเด็กพวกนี้อย่างแสบๆ คันๆ ที่ชื่อ “Rich Kids of Instagram” ซึ่งมีคำ�โปรยว่า “เด็กพวก นีร้ วยกว่าเอ็งนะ เรามาดูสงิ่ ทีพ่ วกนีท้ �ำ กันเถอะ” โดยเขารวบรวม ภาพของวัยรุ่นบ้านรวยอเมริกันที่ถลุงเงินพ่อแม่กันอย่างสนุก มือ พร้อมกับคำ�บรรยายใต้ภาพที่สุดจะน่าหมั่นไส้ เช่น “ดูชีวิต ประจำ�วันของพวกเราสิ บางทีมนั อาจจะดีกว่าวันทีด่ ที สี่ ดุ ในชีวติ ของพวกคุณอีกนะ คริ” หรือ “นายมีม้าอยู่ที่สวนหลังบ้านของ ตัวเองไหม ฉันว่าไม่น่าจะมีนะ” คน Like ก็เห็นดีเห็นงามปน อิจฉากันไป แต่หารู้ไม่ว่า ตนตกเป็นเหยื่อบริโภคนิยมเกินความ จำ�เป็นไปเสียแล้ว เพราะความอิจฉาอยากมีเหมือนเขาเนีย่ แหละ โถ เด็กหนอเด็ก คงพู ด อะไรมากไม่ ไ ด้ เพราะอย่ า งไรก็ ดี การใช้ Instagram ถื อ เป็ น สิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คลของผู้ ใ ช้ แ ต่ ล ะรายว่ า มี จุดประสงค์จะโพสท์อะไร แบ่งปันอะไร ถ้าไม่ชอบก็ไม่ต้อง ฟอลโลว์สคิ ะ! ถ้าแน่ใจว่าเงินเดือนของคุณครอบคลุมค่าใช้จา่ ยที่ คุณพร้อมจะเสียไป ไม่ท�ำ ให้เดือดร้อนลุกลามไปต้นเดือนหน้า ๆ หรือเป็นหนี้บัตรเครดิตบานตะไทก็เป็นอันโอเค ฉันเองก็เป็นคน หนึ่งที่ชอบถ่ายภาพอาหารก่อนรับประทาน แต่เพราะฉันเห็นว่า การทำ�รีวิวอาหารเป็นความสุขของฉัน และไม่เดือดร้อนใคร ตราบใดที่ฉันหาเงินเองได้ แถมคนอื่น ๆ ที่ติดตามผลงานของ ฉันก็ได้ประโยชน์เวลานึกไม่ออกว่าจะกินอะไร แต่ฉันเลือกร้าน เลือกรสชาติ บรรยากาศ และความคุ้มค่าเหมือนกันนะ
สุดท้ายนี้ ขอให้มคี วามสุขกับชีวติ โลดโผน บนโลกออนไลน์ค่ะ
A r t & C u l t u r e
: อภิชชญา โตวิวิชญ์
“...แล้วเทพนิยายก็จบลง อย่างมีความสุขชั่วนิรันดร์” เทพนิยายชวนฝันที่เหล่าเด็กน้อยทั่วทั้ง โลกต่ า งหลงใหล บทสรุ ป ที่ แ ต่ ง แต้ ม จิ น ตนาการ ให้เฝ้าฝันถึงความสุขอันเป็นนิรันดร์ อีกทั้งเหล่าผู้ ปกครองต่ า งก็ ว างใจว่ า มั น ปราศจากพิ ษ ภั ย ใด ๆ หารู้ไม่ว่าภายใต้ความสวยงามของเรื่องราวนี้ จะ ปลูกฝังค่านิยมอันน่ากลัวให้กับเหล่าเด็กน้อยแสน บริสุทธิ์ และแอบแฝงไปด้วยกลยุทธ์ทางการตลาด ของบริษัทผู้สร้าง สโนว์ ไ วท์ ซิ น เดอเรลลา ออโรรา เจ้าหญิงนิทรา เงือกน้อยแอเรียล เบลล์จากบิวตี้ แอนด์ เ ดอะบี ส ต์ เจ้ า หญิ ง จั ส มิ น จากอาละดิ น โพคาฮอนทัส มู่หลาน เทียนาจากพรินซ์เซสแอนด์ เดอะฟรอก ราพันเซล เหล่านางเอกในเทพนิยาย อมตะทีแ่ ทบทุกคนรูจ้ กั ต่างถูกวางภาพลักษณ์ให้เป็น เจ้าหญิงและได้ครองคูก่ บั เจ้าชายรูปงามในท้ายทีส่ ดุ หลังฝ่าฟันอุปสรรค ทำ�ไมต้องเป็นเจ้าหญิง? แม้ในบางเรื่องนางเอกอาจไม่ได้เกิดมา มีสายเลือดกษัตริย์กล่าวคือไม่ได้มีฐานันดรเป็นเจ้า หญิงจริง ๆ ตามท้องเรื่องแต่ด้วยการวางภาพลักษณ์ ของผู้ ส ร้ า งทำ � ให้ พ วกเธอได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ‘เจ้ า หญิ ง แห่งดิสนีย์’ ในโลกความเป็นจริง สถานะความเป็น เจ้ า หญิ ง ความสวยงามของภาพวาด เสื้ อ ผ้ า ที่ พวกเธอใส่ กิ ริ ย าท่ า ทางที่ ต อบโจทย์ ‘เจ้ า หญิ ง ในอุ ด มคติ ’ ของเด็ ก ผู้ ห ญิ ง ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย และ ทุ ก ภู มิ ภ าคซึ่ ง แตกต่ า งกั น ไป สิ่ ง เหล่ า นี้ ช่ ว ยให้ พวกเธอกลายเป็ น ต้ น แบบที่ น่ า ใฝ่ ฝั น ถึ ง ของ เด็กผู้หญิงทั่วโลกอย่างง่ายดาย ‘Princess Syndrome’ กลายเป็นหัวข้อ ที่นักจิตวิทยาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เมื่อเด็ก ผู้ ห ญิ ง ถู ก ปลู ก ฝั ง ความคิ ด ที่ ว่ า ถ้ า พวกเธอสวย มี เสื้อผ้ารองเท้าที่งดงามเหมือนในเทพนิยายเหล่านั้น พวกเธอจะได้พบกับความรักและได้รับการชื่นชม เฉกเช่นเดียวกัน ความคิดนี้ส่งผลต่อรูปแบบความ เชือ่ มัน่ ในตัวเองของเด็ก ๆ ทีต่ ดิ อยูเ่ พียงแค่รปู ลักษณ์ ภายนอกและข้าวของที่พวกเธอมีเท่านั้น และนั้นก่อ ให้เกิดค่านิยมความเชื่อด้านวัตถุนิยมในเด็ก ๆ วัตถุนิยมคืออะไร? หากกล่ า วอย่ า งง่ า ยแล้ ว มั น คื อ การ ยึ ด ถื อ เอาวั ต ถุ สิ่ ง ของนอกกายเป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ ใน ชีวิตและเป็นที่ตั้งความสุขของเรา ดังเช่นเด็กสาว
(และหญิ ง สาว?) ต้ อ งมี เ สื้ อ ผ้ า แบรนด์ เ นมที่ ดู ดี กระเป๋า รองเท้า เครื่องสำ�อาง และเครื่องประดับ มากมายมาตบแต่งเพื่อยกระดับตัวเองให้มีคุณค่า และเป็ น ที่ ย อมรั บ ในสั ง คม ซึ่ ง นั่ น จะไม่ เ กิ ด ขึ้ น เลยหากพวกเธอมี ค วามมั่ น ใจในคุ ณ ค่ า ของ ตัวเองในสิ่งที่เธอเป็น ไม่ใช่สิ่งที่เธอใฝ่ฝันที่จะเป็น และมันจะไม่เกิดขึน้ เลยหากพวกเธอไม่มคี วามคิดว่า สิ่งเหล่านี้จะทำ�ให้พวกเธอได้รับการยอมรับมากกว่า คุณค่าภายในของตัวเธอเอง ผู้ ใ หญ่ ห ลายคนอาจคิ ด ว่ า เด็ ก ๆ จะ สามารถเข้าใจกับความคิดที่แฝงมาในการ์ตูนเหล่า นั้ น และไม่ ถู ก มั น ครอบงำ � ได้ แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว มั น ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยเมื่อพวกเขาถูกตอกยํ้าความเชื่อ ทางวัตถุอยู่เสมอ ๆ ว่าวัตถุมีคุณค่าจากทุกเรื่องที่ พวกเขาดู (ไม่ใช่เฉพาะการ์ตูนแนวเจ้าหญิงเจ้าชาย เท่ านั้น) จนเกิ ดความเคยชินในการมี อ ยู่ของวั ตถุ เหล่านั้น บางเรือ่ งตัวเอกสามารถแก้ปมปัญหาของ เรือ่ งได้เพราะได้วตั ถุชว่ ย (ไม่วา่ จะเป็นวัตถุทเี่ ป็นของ ทีเ่ ห็นได้ในชีวติ จริงหรือวัตถุทเี่ ป็นของวิเศษ) ฉากของ บางเรือ่ งก็มวี ตั ถุเพือ่ แสดงความหมายและบริบทของ สถานที่ บางเรื่องเนื้อหาก็ผูกติดอยู่กับสิ่งของบาง อย่างที่มีความสำ�คัญ และบางเรื่องวัตถุก็ถูกแทนค่า ถึงสิ่งอื่นที่มีคุณค่า เช่น อำ�นาจ สถานะ หรือความรัก ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น นอกจากผลกระทบทาง ความคิดและความเชื่อที่ทำ�ให้เด็ก ๆ รู้สึก ‘อยาก เป็น’ อย่างตัวละครแล้ว เรื่องราวเหล่านี้ยังกระตุ้น ให้เด็ก ๆ เกิดความรู้สึก ‘อยากได้’ สิ่งที่พวกเขามี หรื อ สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พวกเขาด้ ว ย เมื่ อ ชอบ และหลงใหลย่ อ มอยากได้ ม าครอบครองซึ่ ง นั่ น กลายเป็ น ช่ อ งทางทางการตลาดให้ บ ริ ษั ท ผู้ ส ร้ า ง
สามารถขายของอย่างอืน่ นอกเหนือจากตัวเรือ่ งราวได้ ทั้งตุ๊กตา โปสเตอร์ ของเล่น หรือสินค้าอื่น ๆ ที่อาจมี รูปตัวละครนั้น ๆ สินค้าพวกนี้หากไม่ใช่บริษัทผู้สร้างผลิต เอง ก็ เ ป็ น บริ ษั ท อื่ น ที่ ม าซื้ อ ลิ ข สิ ท ธิ์ ตั ว ละครเพื่ อ นำ�ไปผลิตเป็นสินค้า ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับ สินค้านั้นได้อย่างมหาศาล กล่องดินสอธรรมดาหาก สกรีนด้วยลาย ‘เจ้าหญิงดิสนีย์’ ‘มิคกีเมาส์’ หรือ ‘วิ น นี เดอะ พู ห์ ’ ก็ จ ะสามารถขายในราคาแพง และวางบนห้ า งหรู ไ ด้ อ ย่ า งสบาย ๆ ด้ ว ยความที่ ตัวละครเหล่านี้กลายเป็น ‘บุคคล’ ที่มี ‘แฟนคลับ’ คลั่งไคล้ไม่ต่างอะไรกับดาราฮอลลีวูด (หรือยิ่งกว่า?) จนแทบจะรั บ ประกั น ได้ เ ลยว่ า ผลิ ต ออกมาแล้ ว จะขายได้แน่เพราะนอกจากกลุ่มแฟนคลับที่นิยม ในตั ว ละครแล้ ว ด้ ว ยตำ � แหน่ ง ทางการตลาดของ พวกเขาทำ�ให้แม้จะราคาแพงกว่าแต่ผู้ซื้อก็ไม่รู้สึก ตะขิ ด ตะขวงใจด้ ว ยมองว่ า มั น มี คุ ณ ค่ า และ ดูดีกว่ามากหากจะซื้อให้เป็นของขวัญ ไม่วา่ แรกสุดนัน้ ผูส้ ร้างจะคิดการณ์ไกลถึง ช่องทางการตลาดนีห้ รือไม่ แต่ปจั จุบนั ไม่อาจปฏิเสธ ได้ว่าผู้สร้างการ์ตูนที่สามารถผลิต ‘ตัวการ์ตูน’ ให้ กลายเป็น ‘บุคคล’ ที่รักของเด็ก ๆ ได้ก็จะได้กำ�ไร จากมันอย่างมหาศาล ทั้งจากตัวเรื่องราวที่สามารถ แตกออกเป็นหลายสือ่ ถ้าภาคแรกติดตลาดก็สามารถ ผลิตภาคสองออกมาขายต่อได้อกี ทัง้ จากของทีร่ ะลึก ที่ออกคู่ตามกันมา จากค่าลิขสิทธิ์ที่ผู้ผลิตสินค้าราย อื่นมาขอซื้อ และจากค่าโฆษณาชื่อแบรนด์ต่าง ๆ ซึ่ง ถูก Tie-in เข้ามาในเนื้อเรื่องที่แม้แค่ฉากเล็ก ๆ ฉาก เดียวก็มีมูลค่ามหาศาล ผลประโยชน์มากมายเช่นนี้ทำ�ให้วงการ อุตสาหกรรมการ์ตูนเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีบริษัท ที่ใช้กลยุทธ์เดียวกันเกิดขึ้นมากมายเพื่อกอบโกยผล กำ�ไร บางบริษัทที่แต่เดิมขายของเล่นหรือตุ๊กตาก็ หันมาสร้างแอนิเมชันเพื่อเพิ่มความนิยมและขยาย ช่องทางการตลาด โดยไม่คำ�นึงถึงเด็ก ๆ ที่ต้องมา ตกเป็ น เหยื่ อ ทางธุ ร กิ จ ถู ก ยั่ ว ยุ ใ ห้ เ กิ ด ความโลภ อยากได้อยากครอบครองสินค้าที่มีแบรนด์ตัวละคร หลงใหลในรูปลักษณ์ภายนอก ต้องการให้ตัวเอง ได้รับการยอมรับจากสิ่งผิวเผินนอกกาย และตกอยู่ ภายใต้คา่ นิยมทางความคิดอย่างวัตถุนยิ มทีม่ องวัตถุ เป็นสิ่งสำ�คัญ ซึ่งยิ่งสนับสนุนให้สังคมขับเคลื่อนไป แบบทุนนิยมต่อไป “...แล้ววัตถุนิยมก็จะยังคงอยู่ชั่วนิรันดร์”
. นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า - B 1 1 .
inside chula
ช่วงกลางเดือนพฤษภาคมทีผ่ า่ นมา เวลา ประมาณเที่ยงคืนเศษ นิสิตคณะนิเทศศาสตร์คน หนึง่ ถูกสุนขั จรจัดทีค่ ณะกัด ทำ�ให้ตอ้ งเสียค่ารักษา พยาบาลร่วมสองหมื่นกว่าบาท ยังไม่รวมค่าวัคซีน ป้องกันพิษสุนัขบ้าเข็มอื่น ๆ ที่ต้องฉีดต่อเนื่องอีก “หลังจากนัน้ ก็มคี นโดนกัดอีก ทัง้ รุน่ พีร่ นุ่ น้องทีค่ ณะ แล้วมารูท้ หี ลังว่า ก่อนหน้าเราก็เหมือน มีคนโดนกัดไปแล้ว 2-3 คน รวมกันทั้งหมดก็มีคน โดนมันกัดประมาณเจ็ดคน” นิสติ ผูป้ ระสบเหตุกล่าว ประกอบกับเมือ่ ไม่นานมานี้ มีขา่ วเกีย่ ว กับแมวจรจัดฝูงใหญ่ ประมาณ 50-60 ตัว ถูกทิ้งไว้ บริเวณที่ดินเวนคืนบริเวณซอยจุฬาลงกรณ์ 2-14 ทำ�ให้เกิดความกังวลเกีย่ วกับความปลอดภัยทัง้ ต่อ ผู้ที่อาศัยอยู่โดยรอบ และต่อตัวแมวจรจัดเหล่านั้น เป็นอย่างมาก ทั้ ง สองเหตุ ก ารณ์ ข้ า งต้ น เป็ น เพี ย ง ตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดจากสัตว์ เร่รอ่ น ไม่วา่ จะเป็นสุนขั หรือแมวทีอ่ ยูภ่ ายในบริเวณ จุฬาฯ และก่อให้เกิดข้อสงสัยเกีย่ วกับมาตรการการ จัดการเรื่องสัตว์เร่ร่อนของทางมหาวิทยาลัย อาจารย์ชยั ยศ ธารรัตนะ รองผูอ้ �ำ นวยการ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า ทางจุฬาฯ ยัง ไม่มีหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการปัญหาสัตว์ จรจัดในมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ ดังนั้นทางคณะ สัตวแพทยศาสตร์ก็คงทำ�อะไรได้ไม่มาก ทำ�ได้ เฉพาะตอนที่มีหน่วยงานต่างๆมาร้องขอให้ไปช่วย เรื่องฉีดวัคซีนหรือทำ�หมัน ก็จะทำ�ให้เป็นรายๆไป อาจารย์ชัยยศกล่าวต่อไปว่า หากเป็น เรื่องการจัดการอย่างเป็นรูปธรรมสำ�หรับในพื้นที่ จุฬาฯ ยังไม่สามารถทำ�อะไรได้มากนัก ทำ�ให้เมือ่ เกิด ปัญหา อย่างเช่น นิสิตถูกสุนัขกัด หรือปัญหาเรื่อง ความสะอาด ก็ไม่สามารถแจ้งไปที่ใครได้ เพราะ ไม่ มี ห น่ ว ยงานใดรั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งชั ด เจน “มันก็จะเป็นเรื่องของแต่ละคณะที่จะ ต้องแก้ปญ ั หากันเอาเอง เพราะไม่ได้อยูใ่ นขอบเขต ความรับผิดชอบของทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกเสี ย จากว่ า จะมี น โยบายประกาศจากทาง จุฬาฯ” อาจารย์ชัยยศกล่าวเสริม ทั้งนี้ อาจารย์ชัยยศยังได้ให้สัมภาษณ์ ถึงกรณีแมวจรจัดดังกล่าวว่า ทางจุฬาฯ ร่วมกับ ทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และกลุ่มเอส โอเอส (SOS) ได้ มี ก ารประสานงานกั น ในการ แก้ปัญหาตรงนี้ โดยขั้นแรกคือการเข้าไปในพื้นที่
และช่วยกันจับแมวเหล่านั้นมาไว้ที่พื้นที่ของทาง กลุม่ SOS ก่อน เพือ่ ให้แมวผ่อนคลายและหายเครียด จากนัน้ ทางคณะสัตวแพทยศาสตร์กจ็ ะเข้าไปฉีดยา กันโรคพิษสุนัขบ้า และกำ�จัดหมัดแมวที่อาจเป็น พาหะของโรคอื่น ๆ ในแมว รวมถึงมีการตรวจ สุขภาพ และทำ�หมันทั้งในแมวเพศผู้และเพศเมีย เพื่อเป็นการควบคุมประชากรแมวในอนาคต ในเวลาต่ อ มาทางสำ � นั ก งานจั ด การ ทรั พ ย์ สิ น จุ ฬ าฯ ได้ มี ก ารสร้ า งกรงขนาดใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งห้องแถวบริเวณพื้นที่เวนคืนที่ เกิดเหตุ เพื่อให้เป็นที่อยู่ของแมวจรจัดเหล่านั้น ชั่ ว คราวระหว่ า งหาผู้ ม าอุ ป การะเลี้ ย งดู โดยที่ ผ่านมาได้มีการไปเปิดบูธในงาน “13th Thailand Cat show 2013” ซึ่งจัดขึ้นที่เอ็มซีซีฮอลล์ ชั้น 4 เดอะมอลล์บางกะปิ เมื่อวันที่ 27-28 กรกฎาคมที่ ผ่านมา มีผู้รับแมวไปอุปการะแล้วประมาณ 10 ตัว จากทั้งหมดที่จับได้ 60 ตัว ซึ่งขณะนี้แมวจำ�นวนที่ เหลือถูกปล่อยให้อยู่ในกรงที่ทางสำ�นักงานจัดการ ทรัพย์สินจุฬาฯ สร้างไว้ “ในกรณีที่แมวเหล่านี้หลุดออกไปจาก กรง เราก็จะถือว่าเราได้ลดปัญหาที่แมวเหล่านั้น จะก่อให้กับสังคมได้ส่วนหนึ่ง และมั่นใจได้ว่ามัน จะไม่ แ พร่ พั น ธุ์ อ อกไปอี ก จนยากที่ จ ะควบคุ ม ” อาจารย์ชัยยศกล่าวเสริม ทว่าในส่วนของการแก้ปญ ั หาระยะยาว อาจารย์ ชั ยยศกล่ า วว่ า อาจจะต้ อ งนำ � แมวเหล่ า นี้ไปฝากให้ทางกลุ่ม SOS ช่วยดูแล เพราะทาง โครงการมีสถานทีส่ �ำ หรับเลีย้ งสัตว์จ�ำ พวกนีอ้ ยูแ่ ล้ว แต่จะให้ทางโครงการเลีย้ งอย่างเดียวก็ดจู ะเป็นการ สร้างความลำ�บากมากเกินไป ทางจุฬาฯ จึงต้อง จ่ายค่าเลี้ยงดูให้ทางโครงการด้วยพอสมควร จากการแก้ปัญหาเรื่องแมวจรจัดข้าง ต้นจะเห็นได้ว่า ในการจัดการเรื่องสัตว์เร่รอนใน จุฬาฯ นอกจากหน่วยงานในจุฬาฯแล้ว ก็ยังมีกลุ่ม หน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาช่วยเหลือในเรื่องดังกล่าว ด้วย กลุ่มหลัก ๆ ที่ทำ�หน้าที่รับผิดชอบเรื่องนี้ก็คือ กลุ่ม SOS “SOS” ย่อมาจาก “Save Our Stray” อันหมายถึง การช่วยกันดำ�รงให้คงอยู่ หรือช่วยกัน สานสายใยชีวิตด้วยหลักของมนุษยธรรม เกิดจาก การรวมตัวกันของบุคลากรอาชีพต่าง ๆ ที่มีใจรัก สัตว์ ภายใต้การนำ�ของ นางนิดา นิกรพันธุ์ ซึง่ เป็นก ลุ่มที่ช่วยพัฒนาแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดจากสัตว์ จรจัด โดยทำ�หน้าที่เป็นตัวกลางประสานงานไปยัง
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเพื่อให้เกิดผลในการแก้ไข ปัญหาอย่างรับผิดชอบร่วมกัน นางนิดา นิกรพันธุ์ ตัวแทนกลุ่ม SOS กล่าวว่า การจัดระเบียบสัตว์เร่รอ่ นในบริเวณจุฬาฯ เริ่ ม มาแล้ ว ประมาณเก้ า ปี เนื่ อ งจากมี อ าจารย์ จุฬาฯ หลายท่านที่เมตตาสัตว์ รวมตัวกันนำ�ข้อมูล การดูแลสัตว์อย่างถูกวิธีไปเรียน ศ.กิตติคุณ ดร. คุ ณ หญิ ง สุ ช าดา กี ร ะนั น ทน์ อดี ต อธิ ก ารบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมือ่ พ.ศ. 2547-2551 ท่าน ก็เห็นด้วย จึงเสนอให้กลุ่ม SOS เข้ามาดำ�เนินการ ในส่วนของการ ดำ�เนินงาน นางนิดากล่าว ว่า มีการทำ�หมันสัตว์ ฟื้นฟู สุขภาพ ฉีดวัคซีนป้องกัน พิษสุนัขบ้าและวัคซีนรวม ป้ อ งกั น โรคประจำ � ทุ ก ปี คอยแยกสั ต ว์ ที่ ดุ ร้ า ยหรื อ ทำ�ร้ายคนไปเลี้ยงที่อื่น ส่วนตัวที่ทำ�หมันแล้วก็ พยายามสร้างความคุ้นเคยและให้อาศัยอยู่ที่ถิ่น เดิม เป็นการจัดระเบียบสัตว์แต่ไม่ทำ�ทารุณกรรม นางนิดายังกล่าวต่อไปอีกว่า ทางด้าน เงินสนับสนุน ส่วนหนึ่งมาจากทางมหาวิทยาลัย อีกส่วนมาจากเงินส่วนตัวในการทำ�กิจกรรม และ มีที่ประชาชนร่วมใจจ่ายค่าบริการตามสมควรเมื่อ ต้องส่งพาหนะรับส่งสัตว์ด้วยอีกส่วนหนึ่ง การดูแล ทำ�หมันหรือสัตว์ป่วยที่ต้องนำ�ส่งโรงพยาบาล ทาง กลุ่มไม่มีนโยบายในการขอรับบริจาค แต่จะเน้น การทำ�งานเก็บค่าบริการในอัตราช่วยเหลือ “เพราะต้องการให้เป็นตัวอย่างที่ดีของ สังคมและมีความคิดสร้างสรรค์ ให้ทุกคนช่วยกัน ดูแลและเอื้ออาทรต่อชีวิต และเป็นการช่วยทำ�ให้ สังคมรอบตัวสะอาดขึ้น” นางนิดากล่าวทิ้งท้าย ทั้งนี้นอกจากหน่วยงานทั้งในและนอก จุฬาฯ แล้ว ผู้ที่มีส่วนสำ�คัญในการกำ�หนดทิศทาง ของปัญหาการจัดการสัตว์เร่รอ่ นก็คอื เหล่านิสติ และ บุคลากรในจุฬาฯ “ในเรื่องเกี่ยวกับการจัดการสัตว์จรจัด ในจุ ฬ าฯ ต้ อ งแก้ ปั ญ หาแบบบู ร ณาการ คื อ ทุ ก คณะต้องให้ความร่วมมือกับทางส่วนกลาง แล้วก็ ประสานกับทางเรา (โรงพยาบาลสัตว์เล็ก จุฬาฯ) เพราะทางเรามีความพร้อมที่จะช่วยในส่วนนี้อยู่ แล้ว ทางจุฬาฯ ควรให้ความสำ�คัญ และจัดทำ� โครงการให้ เ ป็ นรู ป ธรรม ออกมาเป็ นนโยบายที่ ชัดเจน” อาจารย์ชัยยศกล่าว พร้อมทั้งยังได้ระบุ
สาเหตุที่ทำ�ให้เกิดปัญหาสุนัขและแมวจรจัดขึ้นว่า เกิดจากบุคคลสองประเภท หนึ่งคือผู้เลี้ยงที่ขาด ความรับผิดชอบ คือ เอาสัตว์มาเลี้ยงโดยไม่ได้ ศึกษามาก่อนว่านิสัยของสัตว์เหล่านั้นเป็นอย่างไร มีโรคอะไร และควรมีวิธีดูแลอย่างไร เมื่อเลี้ยงไป แล้วไม่ได้ดั่งใจก็เอาไปปล่อยตามวัด ตามโรงเรียน ทำ�ให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา สอง ผู้ที่ให้อาหารสัตว์จรจัดด้วยความ สงสารเพียงอย่างเดียว โดยทีไ่ ม่ได้เอากลับไปเลีย้ งที่ บ้าน พาไปฉีดวัคซีน หรือเอาไปทำ�หมันเพือ่ ควบคุม ประชากร แต่ปล่อยให้สัตว์เหล่านั้นวิ่งเล่นได้อย่าง อิสระ จึงเกิดปัญหาที่สัตว์ดังกล่าวไปทำ�ร้ายคน หรือเกิดปัญหาเรื่องการขับถ่ายเรี่ยราด พอมีผู้ร้อง เรียนเรื่องสุนัขหรือแมวจรจัด แล้วให้ทาง กทม. ไปจัดการจับมา ผู้รักสัตว์เหล่านี้ก็จะออกมาอ้างว่า เป็นสุนัขของตัว และไม่ให้ทาง กทม. จับไป แต่เมื่อ ไม่จบั ก็ปล่อยให้สนุ ขั และแมวเหล่านัน้ เดินเพ่นพ่าน เหมือนเดิมอีก “อย่างนี้เป็นการรักสัตว์ที่ก่อให้เกิด ปัญหามากกว่า” อาจารย์ชัยยศเสริม โดยวิ ธี แ ก้ สำ � หรั บ ผู้ ที่ รั ก สั ต ว์ แต่ ไ ม่ สามารถเอาไปเลี้ยงได้ คือ เมื่อให้อาหารสุนัขหรือ แมวจรจัดเหล่านั้นจนคุ้นเคยดีแล้ว ก็ควรจะพา ไปฉี ด วั ค ซี น ป้ อ งกั น โรคพิ ษ สุ นั ข บ้ า และทำ �หมั น เพื่ อ ควบคุ ม ประชากร ไม่ ป ล่ อ ยให้ แ พร่ พั น ธุ์ จ น ยากแก่ ก ารควบคุ ม และหาปลอกคอให้ ใ ส่ เ พื่ อ ให้ รู้ ว่ า มี เ จ้ า ของแล้ ว อย่ า งนี้ เ วลามั น ไปกั ด ใคร จะได้ไม่เป็นอันตราย ทั้ ง นี้ อาจารย์ ชั ย ยศยั ง ได้ ฝ ากถึ ง วิ ธี ป้องกันสุนขั หรือแมวจรจัด กัด โดยกล่าวว่าสามารถ แบ่ ง สถานการณ์ ไ ด้ ส อง ประเภท ประเภทแรก คือ เราเข้าไปให้อาหาร แล้ว พอจะสัมผัสก็ทำ�ท่าจะแว้งกัด สำ�หรับประเภทนี้ ควรให้ อ าหารไปสั ก พั ก หนึ่ ง ก่ อ น ให้ แ น่ ใ จว่ า เขาคุ้ น เคยกั บ เราพอสมควรแล้ ว จึ ง ค่ อ ยสั ม ผั ส จับต้อง แต่หากจะให้ดีก็พยายามอย่าไปสัมผัสกับ สุนัขหรือแมวที่ไม่คุ้นเคย เพราะเราไม่มั่นใจว่าเขา จะมีโรคหรือไม่ อีกประเภทหนึ่ง คือ ประเภทที่เราเดิน อยู่ดี ๆ มันก็เข้ามากัด วิธีป้องกันคือต้องสบตากับ มันไว้ เพราะสัตว์เหล่านี้จะรู้สึกว่าเราไม่ได้เผลอ และเรากำ�ลังสังเกตมันอยู่ แล้วค่อย ๆ ถอยออกมา ในขณะทีส่ บตาอยู่ ถ้าจะให้มนั่ ใจว่ามันจะไม่มากัด ก็ควรทำ�ท่าก้มลงโดยที่ยังสบตาอยู่ เพื่อหาอะไรมา ป้องกันตัวไว้กอ่ น มันจะได้กลัวและไม่กล้ามากัดเรา “เมื่อโดนกัด ประการแรกที่ต้องทำ�คือ ล้างแผลให้สะอาดเสียก่อน ไม่ว่าแผลจะลึกยังไง เราก็ต้องล้างให้สะอาด อย่าไปกลัวเจ็บ โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง แผลที่ ลึ ก มาก ๆ ยิ่ ง ต้ อ งล้ า งให้ ส ะอาด เพราะส่วนที่ลึกที่สุดของแผล มักจะเป็นส่วนที่ตัว เชื้อมันฝังอยู่” อาจารย์ชัยยศให้คำ�แนะนำ� อาจารย์ชัยยศกล่าวเสริมว่า เมื่อล้าง แผลเสร็ จ แล้ ว ก็ ค วรไปพบแพทย์ ทั น ที เพื่ อ ให้ แพทย์ฉีดยาให้ ระหว่างนั้นก็ควรติดต่อกับเจ้าของ สุนัข หรือหากสุนัขตัวที่กัดเป็นสุนัขจรจัด ก็ควร จับมันขังไว้เพื่อรอดูว่ามันมีอาการของโรคพิษสุนัข บ้าหรือไม่ โดยอาการจะปรากฏในช่วงประมาณ สองอาทิตย์ถึงหนึ่งเดือน
7
8
environment ประเด็นเรือ่ งสิง่ แวดล้อมกำ�ลังอยูใ่ นความ สนใจของผูค้ นในวงกว้างมากขึน้ เนือ่ งจากสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายกว่าในอดีต สังคมจึงได้ รับรู้ปรากฏการณ์ความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับ โรงงานอุตสาหกรรมในหลายพื้นที่ อันเนื่องมาจาก ความต้องการที่สวนทางกัน โดยทั้งสองฝ่ายต่างมี พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง พ.ศ. 2518 , (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 เป็นเครือ่ งมือ สำ�คัญในการต่อสูเ้ พือ่ ยือ้ แย่งการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ให้ เป็นไปตามความต้องการของตนเองให้ได้มากทีส่ ดุ ตั ว อย่ า งหนึ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ กรณี ผังเมืองรวมชุมชนบางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ที่หมดอายุไปตั้งแต่ พ.ศ. 2551 และยังไม่สามารถ ประกาศใช้ฉบับใหม่ได้จนถึงปัจจุบัน เนื่องจาก กำ � หนดการใช้ ป ระโยชน์ ท่ี ดิ น ขั ด แย้ ง กั บ ความ ต้องการของชุมชน เป็นเหตุให้ชาวบ้านต้องออกมา เคลื่อนไหวปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิต เกษตรกรรม-ประมง ทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบจากการ กำ�หนดให้ที่ดินบริเวณติดกับป่าสงวนแห่งชาติเป็น พื้นที่อุตสาหกรรม โดยชาวบ้านเข้าไปมีส่วนร่วม ในการวางผังเมือง และติดตามกระบวนการจัดทำ� ผังเมืองอย่างใกล้ชิด เช่ น เดี ย วกั น กั บ ผั ง เมื อ งรวมชุ ม ชน
พนมสารคาม-เกาะขนุน จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ชาว บ้านส่งเสียงร้องเรียนถึงความเดือดร้อนจากการมี โรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่สีม่วงตามผังเมือง อัน เป็นผลมาจากการที่ภาคประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม อย่างแท้จริงในการวางและจัดทำ�ผังเมือง กรณีเหล่านี้ทำ�ให้เกิดคำ�ถามตามมา ว่า คณะกรรมการผังเมืองมีเกณฑ์ในการกำ�หนด นโยบายผังเมืองอย่างไร และมีมาตรการจัดการ กับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผังเมืองหรือไม่ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาที่เกิดจากการอาศัยช่องว่าง ทางกฎหมายผังเมือง นางศันสนีย์ ศรีศุกรี ผู้เชี่ยวชาญด้าน วิเคราะห์ผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง ให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ หลั ก เกณฑ์ ใ นการกำ � หนดการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ว่าหน้าที่หลักของกรมโยธาธิการ และผังเมืองคือการวิเคราะห์พื้นที่ เช่น การกำ�หนด พื้นที่เกษตรกรรมจะต้องพิจารณาความเหมาะสม ของดินต่อการเพาะปลูก ซึ่งเป็นการนำ�ข้อมูลมา จากหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่เก็บข้อมูลด้านนี้โดยตรง คือ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิจารณาโครงสร้างพื้นฐานของรัฐเกี่ยวกับระบบ ชลประทาน และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิต การเกษตรในแต่ละพื้นที่ ด้านอุตสาหกรรม นางศันสนีย์มองว่า ไม่ว่าอย่างไรก็จะต้องส่งผลเสียอยู่บ้าง ทำ�ให้ต้อง
ตัง้ ห่างจากชุมชนเป็นอันดับแรกถ้าทำ�ได้ ต่อจากนัน้ จะต้องดูทศิ ทางลม กรณีมกี ลิน่ เหม็นควรจะกำ�หนด ที่ตั้งอย่างไร เป็นเรื่องหลักที่พิจารณา ส่วนภาพรวมไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้าง อะไรก็ตาม โดยหลักเกณฑ์กลาง ๆ จะพิจารณา เรื่องของภูมิประเทศ ถ้าเป็นพื้นที่สูงชัน ไม่ควร เข้าไปเปิดพื้นที่ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองในการ การสร้างสาธารณูปโภค ในกรณีที่มีพื้นที่ให้เลือก ก็จะเลือกพื้นที่แบนก่อน ถ้าทั้งประเทศมีแต่ภูเขา ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ด้านการวางและจัดทำ�ผังเมือง ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านวิเคราะห์ผังเมืองกล่าวว่า ในอดีตที่ยังไม่มี เรื่องของการกระจายอำ�นาจ กรมโยธาธิการและ ผั ง เมื อ งเป็ น ผู้ ว างผั ง เองจะต้ อ งเข้ า ไปดู พื้ น ที่ ทุ ก ครั้ง แต่เมื่อมีการกระจายอำ�นาจจึงได้ถ่ายโอน เรื่องผังเมืองให้เป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นคนทำ�เอง ซึ่งมีทั้งดีและข้อเสีย ในสมัย ก่อนทีท่ �ำ โดยส่วนกลางก็มกั จะถูกต่อว่าว่ามาอย่าง ประเดีย๋ วประด๋าว ไม่รสู้ ภาพจริง แต่เมือ่ มีการกระจาย อำ�นาจกลับพบปัญหาอีกแบบ คือไม่มีเจ้าหน้าที่ ที่เรียนด้านผังเมืองโดยตรงในองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ เนือ่ งจากอัตรากำ�ลังมีจ�ำ กัด เช่น กองช่างมี เจ้าหน้าทีไ่ ด้สบิ คน อาจจะต้องเลือกนายช่าง วิศวกร ก่อนนักผังเมือง เพราะจำ�เป็นต่อการออก ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร อย่างไรก็ดแี ม้จะมีเกณฑ์ก�ำ หนด การใช้ พื้ น ที่ มี ก ารลงพื้ น ที่ จ ริ ง ในการ วางและจั ดทำ � ผั งเมื อ ง รวมถึ ง กระจาย อำ � นาจให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู้ ว างและจั ด ทำ � ผั ง เมื อ งเอง แต่ ข้ อ เรี ย กร้ อ งเรื่ อ งผั ง เมื อ งไม่ ต รงกั บ ความต้ อ งการจากประชาชนยั ง หนาหู นางศั น สนี ย์ ชี้ แ จงในเรื่ อ งดั ง กล่ า วว่ า ปั จจุ บัน มี ก ารเรี ย กร้ อ งมากกว่ า ในอดี ต ที่คนยังไม่เห็นความสำ�คัญของผังเมือง มาก โดยมีทงั้ สองกรณีคอื ต้องการอนุรกั ษ์ เช่น อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ และ ต้องการให้พฒ ั นาการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ใน การสร้างสิ่งปลูกสร้างจำ�นวนมาก ๆ ส่วนใหญ่เป็น เมืองท่องเทีย่ ว เช่น พัทยา ภูเก็ต แต่ทงั้ นีจ้ ะพิจารณา จากการใช้งานพื้นฐานของแต่ละพื้นที่ ถ้าเป็นเขต เมืองก็จะมีย่านพาณิชยกรรม ย่านที่อยู่อาศัย ย่าน อุตสาหกรรม ตามธรรมชาติที่เมื่อคนมาอยู่รวมกัน จะต้องทำ�มาหาเลีย้ งชีพ คนทีท่ �ำ งานภาคบริการและ ภาคอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะอยู่ในเมือง ส่วนภาค เกษตรมักจะอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ กษตรทีส่ ว่ นใหญ่เป็นชนบท นายสมหวัง พิมสอ ตัวแทนเครือข่าย อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มบางสะพาน แสดงทรรศนะต่อการพัฒนาว่า “ถ้าดูจากพื้นที่เนี่ย อุตสาหกรรมเราไม่ปฏิเสธ แต่ตอ้ งเป็นอุตสาหกรรม ทีม่ าต่อยอดอาชีพของชาวบ้าน มีวตั ถุดบิ ในพืน้ ที่ ซึง่ การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม ต้องมีการรับฟังความ คิดเห็นของชาวบ้านก่อน” สำ � หรั บ เรื่ อ งการมี ส่ ว นร่ ว มของภาค ประชาชนในระหว่างการจัดทำ�ผังเมือง พ.ร.บ. การ ผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 มาตรา 19 วรรค สอง บัญญัติว่า “ในการวางและจัดทำ�ผังเมืองรวม ใด ให้ส�ำ นักผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิน่ แล้วแต่ กรณี จัดให้มีการโฆษณาให้ประชาชนทราบ แล้ว จัดการประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง เพื่อรับฟังข้อ คิดเห็นของประชาชนในท้องทีท่ จี่ ะมีการวางและจัด ทำ�ผังเมืองรวมนัน้ ในการรับฟังข้อคิดเห็นนีจ้ ะกำ�หนด เฉพาะให้ผู้แทนของประชาชนเข้าร่วมการประชุม
ตามความเหมาะสมก็ได้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการโฆษณา การประชุมและการแสดง ข้อคิดเห็น ให้กำ�หนดโดยกฎกระทรวง” “เป็ น พระราชบั ญ ญั ติ อั น แรก และ เกือบจะเป็นอันเดียวเลยมั้ง (ในสมัยนั้น) ที่มีเรื่อง ของการมีส่วนร่วมของประชาชนอยู่ในกฎหมาย” นางศันสนีย์กล่าว ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวิเคราะห์ผงั เมืองยังกล่าว ต่อไปอีกว่า ในอดีต การทีส่ ว่ นกลางลงพืน้ ทีไ่ ปจัดให้ มีการประชุมประชาชนมักเกิดปัญหาในทางปฏิบตั ิ ทั้งเรื่องการคมนาคมที่ไม่สะดวก และการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ที่อาจเข้าไม่ถึงประชาชนผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย แต่ในปัจจุบนั มีหน่วยงานภูมภิ าค ทำ�ให้การ จัดการประชุมมีความสะดวกยิง่ ขึน้ ซึง่ การประชุมจะ ประกอบด้วยผูท้ เี่ กีย่ วข้องหลายฝ่าย เช่น ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านผังเมือง วิศวกร นักกฎหมาย ผูว้ า่ ราชการจังหวัด หรือรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด และประชาชนในท้องที่ ที่จะมีการวางผังเมือง “ตอนนี้ ก ารตื่ น ตั ว ของภาคประชาชน มีมากขึ้น เพราะเรามีการประชาสัมพันธ์ และเรา ก็สนใจที่จะไปติดตามมันด้วย มีการประชุมเรื่อง ผังเมือง ทำ�เวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น อะไรอย่าง นี้ เราก็จะติดตาม” นายโยธิน มาลัย ตัวแทนเครือ ข่ายเกษตรทางเลือกจังหวัดฉะเชิงเทรา กล่าว “ถ้าชุมชนนั้นร้อนแรงหน่อยก็ยกมือยก ไม้เยอะ ถ้าชุมชนเขาไม่คอ่ ยร้อนแรงก็ตอ้ งไปหาทาง เกณฑ์มาด้วยเหมือนกัน เพราะว่าไม่งนั้ คนน้อยเกิน ไป” นางศันสนีย์กล่าว ขณะทีน่ ายโยธินกล่าวว่า สำ�หรับผังเมือง รวม จ.ฉะเชิงเทราทีป่ ระกาศใช้ลา่ สุดนัน้ ประชาชน ได้เข้าไปมีส่วนร่วมน้อยมาก ส่วนใหญ่ผู้ที่เข้าร่วม ประชุมคือหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ เช่น อบต. ผูใ้ หญ่ บ้าน กำ�นัน ซึ่งเป็นตัวแทนของชาวบ้าน “แต่ว่าตัวแทนเหล่านี้ก็ถูกครอบงำ�...” นายโยธินกล่าวเสริม “เขาถือว่าเป็นตัวแทนจากภาค ประชาชน แต่กระบวนการที่มาจากภาคประชาชน โดยแท้จริงเนี่ยมันไม่ได้เกิดขึ้น” ด้านนางจินตนา แก้วขาว ตัวแทนเครือ ข่ายอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบางสะพาน ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง กระบวนการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ที่ มี ปัญหาว่า ผังเมืองที่มีการรับฟังความคิดเห็นจาก ประชาชนซึ่งตกลงปรับลดพื้นที่อุตสาหกรรมถูก ทิ้ง แล้วนำ�ผังเมืองที่มีการรับฟังความคิดเห็นครั้ง แรกกลับมา รอบที่ดินของชาวบ้านในพื้นที่กลาย
เป็นเขตอุตสาหกรรม ทำ�ให้เกิดการร้องเรียนขอให้ เจ้าหน้าที่ลงมาดูพื้นที่ และมีการเสนอข้อมูลโดย เฉพาะเรือ่ งแหล่งวางไข่ของปลาทูใหม่อกี ครัง้ จนถึง วันนีเ้ รือ่ งเพิง่ ถึงมือผูเ้ ชีย่ วชาญ ซึง่ ยังต้องรอเอกสาร จากกรมประมงเพื่อยืนยันว่าบางสะพานเป็นแหล่ง วางไข่ของปลาทู ทว่าชาวบ้านยังต้องติดตามอย่าง ใกล้ชิด เพราะเรื่องจากผู้เชี่ยวชาญที่ส่งไปถึงกรม โยธาธิการและผังเมืองแล้ว อาจจะกลับมาเป็น ผังเมืองแบบแรกอีก “ทั้ ง ที่ ก ฎหมายบอกให้ ช าวบ้ า นมี ส่วนร่วมก็ให้รว่ มแค่รบั รู้ แต่ไม่ได้รว่ มในการวางแผน” นางจินตนากล่าว ทั้งนี้ ในกรณีที่การวางผังเมืองมีปัญหา มาก จะมีการประชุมรอบอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ กำ�หนดไว้ในกฎระเบียบด้วย “อย่างบางสะพาน ก็หลาย ๆ รอบ ไปคุยกับโรงงานทีหนึ่ง ไปคุยกับ ประชาชนทีหนึง่ ...” ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวิเคราะห์ผงั เมือง กล่าว “เราทำ�อะไรก็ต้องแฟร์ ๆ ด้วย ไม่อย่างนั้น เดี๋ยวจะหาว่าเอนเอียง ซึ่งก็ไม่ได้มีเจตนาอะไร” หลังจัดทำ�ผังเมือง จะมีการรับฟังความ คิดเห็นก่อนการประกาศใช้ผังเมือง ตามมาตรา 23 และมาตรา 24 ใน พ.ร.บ. การผังเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 โดยจะมีการปิดประกาศผังเมืองไว้เป็น เวลาอย่างน้อย 90 วัน มีค�ำ เชิญชวนผูม้ สี ว่ นได้สว่ น เสียให้ไปตรวจดู พร้อมเปิดโอกาสให้มกี ารส่งคำ�ร้อง ขอเปลีย่ นแปลงแก้ไขผังเมืองผ่านทางเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ก่อนส่งไปยังคณะกรรมการผังเมือง ทั้งนี้ อำ�นาจการตัดสินใจสุดท้ายจะอยู่ที่คณะกรรมการ ผังเมือง ดังนัน้ แม้จะเปิดโอกาสให้ประชาชนคัดค้าน แต่หากคณะกรรมการผังเมืองไม่เห็นชอบ ผังเมือง รวมที่บังคับใช้ก็จะเป็นไปตามความเห็นของคณะ กรรมการผังเมือง “ถ้ามองว่าผังเมืองรวมคือ คุณกำ�หนด นโยบายการใช้ที่ดิน เพราะฉะนั้นมันก็เป็นอำ�นาจ ของผู้ที่เป็นส่วนกลางสิ เพราะเป็นผู้คุมนโยบาย...” นางศันสนีย์กล่าว “แต่ผังเมืองเฉพาะเป็นโครงการ ซึ่งเป็นการพัฒนาในพื้นที่ ซึ่งในกฎหมายเองก็พูด ว่าให้ท้องถิ่นเป็นคนทำ�เอง ในกฎหมายมันมีความ ชัดเจนของเขาอยู่แบบนี้” สำ�หรับช่องว่างของการบังคับใช้ผงั เมือง ซึง่ เกิดขึน้ ในช่วงทีผ่ งั เมืองหมดอายุ และอยูร่ ะหว่าง ดำ�เนินการจัดทำ�ผังเมืองฉบับใหม่ นายโยธินกล่าว ถึงกรณีดังกล่าวว่า กระบวนการจัดทำ�ผังเมืองใช้ เวลานานมาก สำ�หรับผังเมืองรวม จ.ฉะเชิงเทรา ครัง้
9
ล่าสุดใช้เวลาแปดปี คือเริม่ ร่างตัง้ แต่ พ.ศ. 2548 เพิง่ จะประกาศใช้เมือ่ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2556 และมี ผลบังคับใช้หา้ ปีกอ่ นทีจ่ ะหมดอายุ และจากมาตรา 27 ใน พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 กฎหมายผังเมือง ไม่มีผลบังคับใช้ย้อนหลัง ตั ว อย่ า งหนึ่ ง ของการอาศั ย ช่ อ งว่ า ง ในการบั ง คั บ ใช้ ผั ง เมื อ งเกิ ด ขึ้ น ที่ จ.ฉะเชิ ง เทรา นางนันทวัน หาญดี ตัวแทนคณะวิจยั เอชไอเอชุมชน จ.ฉะเชิงเทรา ให้ข้อมูลว่า โรงงานอุตสาหกรรมได้ สร้างบนพื้นที่สีเขียวซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มี ชุมชนกระจายตัวอยู่โดยรอบ แม้โดยปกติจะมีการ แบ่งโซนที่อยู่อาศัยกับอุตสาหกรรมตามกฎหมาย ผังเมือง แต่โรงงานอุตสาหกรรมนั้นตั้งโดยอาศัย ช่องว่างระหว่างที่ผังเมืองยังไม่ประกาศใช้
“โรงงานอุตสาหกรรมที่สร้างไปแล้วก็ ต้องยอมรับ...” นางนันทวันกล่าว “กฎหมายผังเมือง ต้องออกตามเจตนารมณ์เพื่อกำ�หนดทิศทางการ พัฒนาที่ดิน แต่ปัจจัยที่ทำ�ให้การใช้ประโยชน์ที่ดิน ไม่เป็นไปตามกฎหมายผังเมืองก็คือ นโยบายการ พัฒนาของรัฐ เพราะฉะนั้น ภายใต้แผนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งนโยบายของ รัฐบาลแต่ละชุด ก็จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ ใช้ที่ดิน แล้วระหว่างแปดปี อุตสาหกรรมเหล่านี้ก็มี การกว้านซื้อที่ดิน” “ทุนเขารู้แผนว่า แผนพัฒนาประเทศ จังหวัด จะเป็นไปในแนวทางไหน แต่ประชาชนเรา ไม่รู้เรื่องของผังเมือง จะรู้และสนใจก็ต่อเมื่อตัวเอง
ได้รบั ผลกระทบ” น.ส.คำ�พัน สุพรม ตัวแทนเครือข่าย เกษตรทางเลือก จ.ฉะเชิงเทรา กล่าวเสริม ขณะทีน่ างศันสนีย์กล่าวถึงการทีก่ ฎหมาย ผังเมืองไม่มีผลบังคับใช้ย้อนหลังว่า งานผังเมือง เป็นงานที่วางแผนไปข้างหน้า จึงต้องมีมาตรการ ในการจั ด การกั บ ปั ญ หาที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น ด้ ว ย “คือจริง ๆ แล้ว โดยหลักคิด มันไม่มี พื้นที่ไหนเป็นดาวอังคาร ยังไงก็ต้องมีคนขัดแย้ง” ผู้เชี่ยวชาญด้านวิเคราะห์ผังเมืองกล่าว “แต่พอมัน ไม่ย้อนหลัง มันก็ต้องเป็นไปตามนั้น เพียงแต่ว่าใน อนาคต ต้องไม่ให้มันมากไปกว่านี้หรือแย่ไปกว่านี้ เท่านั้นเอง” อย่างไรก็ดี หากเกิดกรณีทมี่ กี ารสร้างสิง่ ปลูกสร้างทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสวัสดิภาพของประชาชน และความปลอดภัยของชุมชน (General Welfare) พ.ร.บ.การผังเมืองฉบับที่บังคับ ใช้อยู่ในปัจจุบัน ให้อำ�นาจคณะกรรมการ ผังเมืองในการเปลี่ยนแปลงหรือระงับการ ใช้ประโยชน์จากที่ดินนั้นได้ ตามมาตรา 27 “เขาจะมีกลไกชดเชย ไม่ใช่อยู่ดี ๆ ไป ทำ�ให้เขาเสียประโยชน์” ผู้เชี่ยวชาญด้าน วิเคราะห์ผังเมืองกล่าว และแสดงความเห็น เพิ่มเติมอีกว่าในประเทศไทยอาจเป็นไปได้ ยาก เนื่องจากกลไกทางกฎหมายไม่เอื้อ สำ�หรับผู้ที่ใช้ประโยชน์ที่ดินไม่ตรงตาม นโยบายผังเมือง จะมีความผิดต้องระวาง โทษจำ�คุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึง่ หมืน่ บาท หรือทัง้ จำ�ทัง้ ปรับ ตาม พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 มาตรา 83 ส่ ว นปั ญ หาช่ อ งว่ า งของผั ง เมื อ ง นางศันสนีย์กล่าวว่า ทางท้องถิ่นจะทำ�การ บรรเทาปัญหาทีม่ โี อกาสเกิดจากช่องว่างตรงนี้ โดย ออกเทศบัญญัติ หรือกฎหมายควบคุมอาคารที่มี ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับตัวอาคาร พื้นที่รอบ ๆ อาคาร และกิจกรรมของอาคาร แต่อาจให้ผลได้ไม่เต็มที่ และบางท้องถิ่นอาจไม่ยินดีทำ� เพราะเป็นการออก กฎหมายควบคุมประชาชนของเขาเอง ขณะเดียวกัน นายโยธินให้ความเห็นว่า ข้อบัญญัตขิ องท้องถิน่ เป็น ช่องทางไม่ให้เกิดการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมได้ “แต่ว่ามันก็ไม่ได้ถูกใช้ เพราะมีการฮั้ว กันระหว่างกลุ่มทุนกับ อบต.” นายโยธินกล่าวเสริม นอกจากนี้ อี ก ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ พ บ คื อ ข้อมูลจากประชาชนส่งไปไม่ถงึ กรมโยธาธิการและ ผังเมือง นายสมหวัง พิมสอ ตัวแทนเครือข่ายอนุรกั ษ์
ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมบางสะพาน กล่าวว่าเมือ่ วันที่ 17 กรกฎาคม 2556 ได้เดินทางไปที่กรมโยธาธิการ และผังเมืองเพือ่ เสนอเจ็ดประเด็น เรือ่ งพืน้ ทีแ่ ก้มลิง พื้นที่รับนํ้า ทว่าทางกรมโยธาธิการและผังเมืองไม่ ทราบข้อมูลมาก่อน โดยนายสมหวังตัง้ ข้อสังเกตว่า ทัง้ ๆ ทีส่ ง่ เรือ่ งผ่านทางจังหวัดแต่ท�ำ ไมเรือ่ งกลับไป ไม่ถึงกรมโยธาธิการและผังเมือง นายสมหวังยังกล่าวเพิม่ เติมอีกว่าจะต้อง คอยติดตามกระบวนการวางและจัดทำ�ผังเมืองตลอด ปล่อยไม่ได้ โดยเฉพาะกระบวนการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการ พิจารณาของคณะกรรมการผังเมือง ถือเป็นขั้นที่ อันตรายที่สุด “ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี ป ลั ด ะ ท ร ว ง กระทรวง (กระทรวงมหาดไทย กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม และกระทรวงอุตสาหกรรม) มีอตุ สาหกรรม มี เ กษตร ที่ สำ � คั ญ มี บ ริ ษั ท เอกชนสอง ตำ�แหน่งอยู่ในนั้นด้วย มีทหาร (คนหนึ่ง) ด้วย แล้ววันที่เราไปบอกให้ยกเลิกเนี่ย ทหารบอกว่ า เราต้ อ งเสี ย สละ โดย ใ ช้ คำ � โ ฆ ษ ณ า ว่ า เ ห ล็ ก สำ � คั ญ ก ว่ า ช า ติ เ ร า ก็ ถ า ม ก ลั บ ว่ า เ อ๊ ะ เ ร า ต้ อ งเสี ย แหล่ ง วางไข่ ป ลาทู ข องประเทศให้ โรงงานเหล็ ก โรงงานเดี ย วเหรอ” ตั ว แทน เครื อ ข่ า ยอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม บางสะพานตั้งคำ�ถามทิ้งท้าย ส่วนเรื่องการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. การ ผังเมืองที่บังคับใช้มากว่า 20 ปีให้สอดคล้องกับ สภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป นางศันสนีย์กล่าวว่า ได้ มีการยกร่าง พ.ร.บ. ฉบับใหม่เป็นที่เรียบร้อย และ ได้เสนอต่อหน่วยงานในสำ�นักนายกรัฐมนตรี แต่ เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลชุดใหม่ในขณะที่เรื่องยัง ดำ�เนินการไม่แล้วเสร็จ โดยกลไกการทำ�งานแล้วทาง สำ�นักนายกฯจะส่งเรื่องกลับมาให้ยืนยันการแก้ไข และต้องเสนอใหม่ตามขั้นตอนอีกครั้ง “เสนอทุ ก ครั้ ง หลายรั ฐ บาล...” นางศันสนีย์กล่าว “พอดีคราวนี้โชคไม่ดีอยู่อย่าง หนึ่ง จะเสนอกลับเข้าไปไปเจอเรื่องนํ้าท่วม แล้ว เขาก็เลยบอกว่าให้เอาร่างอันนี้ไปให้ทาง กบอ. (คณะกรรมการบริหารจัดการนํ้าและอุทกภัย) กับ สนอช. (สำ�นักงานนโยบายและบริหารจัดการนาํ้ และ อุทกภัยแห่งชาติ) ดูกอ่ น เรือ่ งก็เลยยังอยูท่ ตี่ รงนี้ และ จากนีเ้ สร็จต้องเอาเข้า ครม. ครม.ต้องเอาเข้าสภาฯ เพราะของเราเป็นพระราชบัญญัติ ไม่ใช่กฎกระทรวง มันต้องผ่านช่องทาง ต้องไปดีเบทกันในสภาอีกเมือ่ ไหร่ก็ไม่รู้ พี่อาจจะเกษียณไปก่อน” สำ�หรับร่าง พ.ร.บ. การผังเมืองทีไ่ ด้เสนอ ไป นางศันสนีย์ให้สัมภาษณ์ว่า ได้มีการปรับปรุง แก้ไขจาก พ.ร.บ. ฉบับเดิม อาทิ เรื่องความหลาก หลายของระดับชั้น (Tier) ของผังเมือง เช่น ให้มี ผังเมืองระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ จากเดิมทีม่ เี พียงผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ การ เพิม่ จำ�นวนคณะกรรมการผังเมืองในระดับชาติ การ เพิ่มรูปแบบของท้องถิ่น เนื่องจากปัจจุบันมีท้องถิน่ หลากหลายรูปแบบมากขึน้ นอกจากนีย้ งั มีการแก้ไข อายุบังคับใช้ผังเมืองให้ยาวขึ้น จากเดิมที่ผังเมือง มีอายุห้าปี ด้านตัวแทนเครือข่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมบางสะพาน ได้แสดงความคิดเห็น ต่อความขัดแย้งกับโรงงานอุตสาหกรรมว่า “คนไทย มัวไปตื่นตัวกับจีดีพีประเทศ โดยไม่เอาจีดีพีตัวเอง มาบอกว่าแล้วในอนาคตเราจะอยู่ยังไง บังเอิญคน ที่นี่ตั้งคำ�ถามกับตัวเองว่าแล้วเราจะได้อะไรเหรอ?
หนึ่ง ทะเลไม่มี เราออกเรือไม่ได้ ใครจะ รับผิดชอบ สอง ถ้าพืชผลทางการเกษตรเราไปไม่ได้ ความร้อนมันมาก แล้วเราจะอยู่ยังไง ใครจะซื้อเรา เขาบอกว่าให้สนับสนุนชาวบ้านโดยการเลีย้ งกล้วย ไข่ จะมีบริษัทรับซื้อให้ แล้วถามว่าเขาจะรับซื้อเรา ได้กปี่ ี แล้วถามว่านีเ่ รายืนได้อยู่ ทำ�ไมต้องไปพึง่ เขา เราได้ตั้งคำ�ถามสังคมว่าวันนี้เรายืนได้ อย่างมัน่ คง อยู่ ๆ จะตัดขาเราทิง้ เลย แล้วก็ให้บริษทั ใส่ขาเทียมให้ จำ�เป็นหรือ? วันนี้เรามีขาของเราเอง ถูกไหม? เขาจะเอาขาเทียมคืนไหมล่ะ? ขาเทียม ชำ�รุดเขาจะซ่อมให้ไหมล่ะ?”
เช่นเดียวกับตัวแทนคณะวิจัยเอชไอเอ ชุมชน จ.ฉะเชิงเทรา ทีเ่ ห็นว่า จ.ฉะเชิงเทรามีศกั ยภาพ เป็ น อู่ ข้ า วอู่ นํ้ า มี ร ะบบนิ เ วศอุ ด มสมบู ร ณ์ ม าก และเป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีชื่อเสียงระดับโลก ตั้งแต่ข้าว พืชผัก ผลไม้ รวมทั้งปศุสัตว์ ไก่ ไข่ สัตว์นํ้า กุ้ง ปลากะพง แต่การเข้ามาของโรงงาน อุ ต สาหกรรมทำ � ให้ เ กิ ด การแย่ ง ชิ ง ทรั พ ยากร โดยเฉพาะนํ้าที่เริ่มขาดแคลน รวมไปถึงของเสียที่ ถูกปล่อยออกมาปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม กลาย เป็นปัญหาที่กินระยะเวลายาวนานยากจะแก้ไข ในขณะที่ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นวิ เ คราะห์ ผังเมืองมองอีกมุมหนึง่ ว่า ภาคอุตสาหกรรมก็มคี วาม จำ�เป็น เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่เป็นพื้นฐานใน การผลิตพลาสติก แต่ปัญหาเกิดจากการขาดการ ดูแลที่ดี และนำ�ไปสู่ปัญหาความขัดแย้งกับชุมชน เนื่องจากชาวบ้านไม่ไว้วางใจ ซึ่งช่วงแรก ๆ อาจ จะไม่หวาดระแวง แต่ตอนนี้ระแวงกันไปหมดแล้ว โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับโรงงาน “เคยไปร่ ว มกั บ เยอรมั น วิ ธี ก าร ทำ � ผั ง ของเขาคื อ จะเอาผั ง ไปเสนอแล้ ว ก็ มี ทางเลื อ ก เสนอข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ให้ เ ขาเห็ น ว่ า ทำ � แบบนี้ จ ะมี อ ะไรดี จะมี อ ะไรเสี ย คื อ ทุ ก อย่ า ง มั น จะมี ดี มี เ สี ย ของแต่ ล ะทางเลื อ ก ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ หมายความว่าเราทำ�ทางเลือกหนึ่งไม่ดีไว้หลอก ๆ แต่ตอ้ งให้ขอ้ เท็จจริงทีม่ ดี มี เี สียทัง้ คู.่ ..” นางศันสนีย์ เล่ า ประสบการณ์ จ ากการดู ง านเมื่ อ ครั้ ง อดี ต “แล้วค่อยฟังความเห็นเขาว่าเขาอยูใ่ นพืน้ ที่ เขามอง แบบไหน จะเอาแบบไหน แต่ละแบบนีไ่ ม่ใช่ให้เลือก หน้าตาแบบนีแ้ ล้วจบ มันก็จะมีวธิ แี ก้ไข มีมาตรการ อะไรเป็นชุดของมัน” นางศันสนียก์ ล่าวเพิม่ เติมว่า วิธดี งั กล่าว ต้องอาศัยคนกลางทีม่ คี วามรูร้ อบด้านในการชีแ้ จง ข้อมูล เช่น ข้อเสียและวิธจี ดั การกับข้อเสียของแต่ละ ทางเลือก ซึง่ อาจเป็นเรือ่ งทีเ่ ป็นอุดมคติเกินไป และ ต้องใช้เวลาหลายปีในการทำ� แต่ถา้ หากทำ�สำ�เร็จจะ สามารถสร้างความไว้วางใจ และในเมือ่ ยอมรับร่วม กัน ทุกฝ่ายก็จะช่วยกันดูแล ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมืองยังได้ทิ้งท้าย เกี่ ย วกั บ แนวความคิ ด นี้ ว่ า “ฝากให้ ค นรุ่ น หลั ง ด้วยแล้วกัน”
10
ASEAN
AEC แรงงานไทยจะได้ โ ฉบหรื อ ถู ก โฉบ? โอกาสของแรงงานไทยเมื่อเปิด AEC ณัชชา อรวีระกุล / เมธี รัษฎานุกูล ภาพประกอบ: http://www.zerochan.net/830804
/ ต่อจากหน้า 1 ดังนั้น หากปรารถนาจะลงสนาม แรงงาน ไทยทัง้ สายวิทย์และสายศิลป์คงต้องทำ�การ บ้ า นหนั ก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เรื่ อ งการ ใช้ภาษาอังกฤษ “เพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ดังที่องค์กร ต่าง ๆ มักตั้งเป็นวิสัยทัศน์ สำ � หรั บ ผู้ ที่ มี เ ป้ า หมายจะไป ทำ�งานในประเทศอาเซียน หากไม่ได้รบั การ รับรองจากองค์กรวิชาชีพแล้ว โอกาสการได้ งานในประเทศอื่นในอาเซียนคงมีน้อยมาก ดั ง นั้ น คุ ณ สมบั ติ เ บื้ อ งต้ น คื อ ต้ อ งจบการ ศึกษาจากสถาบันที่องค์กรวิชาชีพนั้น ๆ ให้ การรั บ รองอาชีพที่จะมีการเปิด เสรีใน พ.ศ. 2558 ตามข้อตกลง Mutual Recognition Arrangements (MRAs) สมาชิก อาเซียนทั้ง 10 ประเทศเห็นพ้องต้องกันว่า จะให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรี โดยจำ�กัดให้เจ็ดสาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นักสำ�รวจหรือขุดเจาะ นักบัญชี ทันตแพทย์ และแพทย์ ทัง้ นีย้ งั รวม ถึงวิชาชีพประเภทธุรกิจโรงแรม สปา อีกด้วย โดยข้ อ ตกลง MRAs จะไม่ ไ ด้ ครอบคลุมอาชีพทางสายศิลป์ เนื่องจาก ทั้ ง เจ็ ด อาชี พ ดั ง กล่ า วเป็ น อาชี พ ที่ ห ลาย ประเทศในอาเซียนขาดแคลน จึงจำ�เป็นต้อง เปิดโอกาสให้แรงงานอาชีพเหล่านีส้ ามารถ เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี เพื่อให้เกิดความ สมดุลในประเทศอาเซียน ส่วนผู้ที่เรียนจบ สายศิลป์เองก็สามารถประกอบอาชีพได้ หลากหลาย เพราะไม่ถูกกำ�หนดด้วยกรอบ ของวิชาชีพ เมือ่ เปิดอาเซียนจึงสามารถเดิน ทางไปประกอบอาชีพที่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้ตามความถนัดของตนเอง อย่ า งไรก็ ต าม เมื่ อ เปิ ด เสรี อาเซียนแล้ว แรงงานวิชาชีพก็ยงั ไม่สามารถ หิ้วกระเป๋าไปทำ�งานในอาเซียนได้ในทันที เพราะแต่ละประเทศมีเงื่อนไขของตัวเอง ด้วยอีกชัน้ หนึง่ นายเทพชัย หย่อง กรรมการ
บริหารเครือเนชั่น กล่าวว่า แต่ละประเทศ มีเงื่อนไขแตกต่างกัน เพราะส่วนหนึ่งต้อง ปกป้ อ งแรงงานของประเทศตั ว เองและ ประเทศสมาชิกเช่นกัน สำ � ห รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร เคลื่อนย้ายแรงงานเสรี รายงานวิจัยการ เตรี ย มการรองรั บ การเคลื่ อ นย้ า ยของ แรงงานสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของ รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ ช รประเสริ ฐ อาจารย์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุ ฬ าฯ รายงานว่ า การเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรีมีข้อดีคือ คนเก่งที่มีทักษะจะมีโอกาสไปทำ�งานนอก ประเทศของตัวเอง ทำ�ให้ตลาดแรงงานมี ความยืดหยุ่นมากขึ้น แรงงานที่ขาดแคลน ก็จะลดลง เพราะแรงงานได้ใช้ศักยภาพ ของตนเองอย่างเต็มที่ เป็นการกระตุ้นการ แข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะคนไทย ที่มีเสน่ห์ตรงที่มีอัธยาศัยดี ปรับตัวเข้ากับ ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว แต่ยังมี จุดอ่อนด้านทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และมี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะถู ก แย่ ง งานจาก ประเทศที่มีค่าแรงตํ่ากว่า ดังนั้น กระทรวง แรงงานควรจั ด ให้ แ รงงานไทยเตรี ย ม ความพร้อมด้านภาษาต่างประเทศ ไอที และวัฒนธรรม ด้ า นการเคลื่ อ นย้ า ยแรงงาน ในปัจจุบัน รศ.ดร.มนธิรา ราโท อาจารย์ ผู้ ส อนภาษาเวี ย ดนาม ภาควิ ช าภาษา ตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ให้ สั ม ภาษณ์ ว่ า แรงงานในอาเซี ย นที่ มี ศักยภาพมากที่สุด คือฟิลิปปินส์ เพราะ ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ มี ก ารผลั ก ดั น ให้ อ อก ไปทำ�งานนอกประเทศ ส่งผลให้แรงงาน มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ยมาก ขณะที่ สิ ง คโปร์ มี เสถียรภาพภายในประเทศที่มั่นคงอยู่แล้ว คนจึงพอใจที่จะทำ�งานในประเทศมากกว่า สำ�หรับภาษาทีจ่ �ำ เป็นในอาเซียน รศ.ดร.มนธิ ร าแนะนำ � ว่ า แรงงานต้ อ ง สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ เนื่ อ งจากเป็ น ภาษาราชการ ส่ ว นภาษา
อาเซียนอื่น ๆ สามารถเลือกเรียนได้ตาม ความสนใจเพื่อนำ�ไปต่อยอด เช่น ภาษา เวียดนาม ลาว กัมพูชา โดยเฉพาะภาษา พม่า เพราะพม่าเป็นประเทศทีน่ า่ ลงทุน และ เหมาะแก่การขยายฐานการผลิต นอกจากนี้ ภาษาตระกูลมลายู ยั ง เป็ น อี ก ตระกู ล ภาษาหนึ่ ง ที่ มี ผู้ พู ด ห ล า ก ห ล า ย ที่ สุ ด ใ น อ า เ ซี ย น เ ช่ น อินโดนิเซีย บรูไน สิงคโปร์ และบางส่วน ของมาเลเซีย หรือหากจะเรียนให้ตรงกับ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เช่น ASEAN +3, +6, +11 ภาษาทีน่ า่ เรียนคือ ภาษาจีน ญีป่ นุ่ เกาหลี เป็นต้น ขณะนี้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ มีการเปิดสอนภาษาอาเซียนครบทุกภาษา เช่ น ภาษาเวี ย ดนาม ประกอบด้ ว ยวิ ช า เวียดนาม1 เวียดนาม2 ไปจนถึงเวียดนาม5 ซึ่ง รศ.ดร.มนธิ ร าเปิ ด เผยว่ า เรี ย นจบ เวียดนาม 3 ก็สามารถนำ�ไปใช้ได้แล้ว ส่วน ภาษามลายูซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในประเทศ มาเลเซียและอินโดนีเซียก็มกี ารเปิดรับนิสติ จำ�นวนมากเช่นกัน นอกจากนี้คณะอักษร ศาสตร์ยังเปิดวิชาโทสาขาใหม่ คือวิชาโท อาเซียนศึกษา “ควรเริ่มจากงานที่เราสนใจก่อน ต่อมาก็หาข้อมูล ดูประกาศของบริษัทว่ามี การขยายการลงทุนในประเทศต่าง ๆ อะไร บ้าง คุณสมบัตทิ รี่ องรับว่าตรงกับเราหรือไม่ โดยเฉพาะที่เวียดนามซึ่งยอมรับในทักษะ ด้านการบริการของคนไทยมาก เช่น ธุรกิจ โรงแรม สปา เขาจึงต้องการให้คนไทยไป แลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ทเี่ วียดนาม ด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.มนธิรากล่าวเสริม สำ � หรั บ เรื่ อ งการตระหนั ก รู้ อาเซี ย นของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา นายภาคภู มิ พงษ์ พั น ธ์ เ ดชา นิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ ส าม คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมสำ�รวจ จุฬาฯ มองว่า สิ่งแรกที่นึกถึงเกี่ยวกับ AEC คื อ ความเสี ย เปรี ย บของคนไทยเมื่ อ เปิ ด ประชาคมอาเซียน เนื่องจากเกรงว่าจะสู้
ประเทศอื่น ๆ ไม่ได้ โดยเฉพาะเรื่องภาษา อังกฤษเป็นอันดับแรก นายภาคภู มิ ก ล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า นิสติ มักจะมีปญ ั หาการสือ่ สารภาษาอังกฤษ กว่ า จะพู ด จนจบประโยคต้ อ งใช้ เ วลาคิ ด นานมาก สาเหตุส่วนหนึ่งอาจมาจากการ เรียนการสอนในโรงเรียน เพราะมีเพียงบาง โรงเรียนทีส่ อนภาษาอังกฤษเสริมในวิชาอืน่ ๆ เช่น โรงเรียนเดิมของตนมีการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ทงั้ ในภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ส่ ว นความเคลื่ อ นไหวเกี่ ย วกั บ อาเซี ย นครั้ ง สำ � คั ญ ล่ า สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 21-25 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา จุฬาฯ เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ASEAN Student Leaders Forum (ASLF) ซึง่ เป็นการ ประชุมประจำ�ปีของผูน้ �ำ นิสติ นักศึกษาจาก 26 มหาวิทยาลัยทั่วภูมิภาคอาเซียน เพื่อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ กระชั บ ความ สัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายผูน้ �ำ นิสติ นักศึกษา ในส่ ว นของการแลกเปลี่ ย น นั ก ศึ ก ษาภายในกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย น สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารทีศ่ นู ย์อาเซียน ศึกษา อาคารวิทยพัฒนา จุฬาฯ ทัง้ นีภ้ ายใน พ.ศ. 2557ศูนย์อาเซียนศึกษาจะย้ายทีท่ �ำ การ ไปทีอ่ าคารจามจุรี10 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงวั ง ใหม่ เขตปทุ ม วั น กรุ ง เทพฯ 10330 หมายเลขโทรศัพท์ 0-2218-3929 อีเมล aseanstudiescu@gmail.com ท้ายที่สุดแล้วเมื่อเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในปี 2559 คนทีไ่ ด้เปรียบ คือ คนที่มีความพร้อมที่สุด ทั้งข้อมูล ทั้ง ทักษะด้านแรงงาน ไม่วา่ จะทำ�งานสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรืออาชีพบริการทีเ่ ป็นจุดเด่น ของคนไทย ทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ เป็นสิ่งสำ�คัญที่สุด มิฉะนั้นไทยอาจถูกแย่ง งานจากเพื่อนบ้านได้ และเสียโอกาสดี ๆ ที่ จะได้พัฒนาความรู้ความสามารถจากนอก ประเทศไป
infographic 11
inside chula
12
จุฬาฯ ชี้แจงเหตุปรับขึ้นค่าเทอม 17% สราวรรณ ติยโรจน์เวคิน / ต่อจากหน้า 1
คคาาเล เลาาเรียน (บาท)
การจัดดสรรค สรรคาาเลเลาาเรีเรียยนของจุ นของจุฬฬาฯาฯ การจั
25,000 25,000
เปรียยบเที บเที ยบ:กอกนปรั อนปรั และหลั งปรั บครั ลาดสุ(2556) ด (2556) เปรี ยบ: บ บและหลั งปรั บครั ้งล้งาสุ
21,000 150 21,000 150
ตอาสา จิตจิอาสา ไอทีไอที
950 950
20,000 20,000
พัฒ นาคุ ภาพการศึ กษา พัฒ นาคุ ณณ ภาพการศึ กษา
18,000 800
15,000 15,000
17,000 17,000
6,350 6,350
950 950
14,500 14,500
5,600
800 800
950 950
800
10,000 10,000
2,000 2,000
2,520 2,520
2,600 2,600
โครงการพิ เศษ/กิ จกรรม โครงการพิ เศษ/กิ จกรรม คณะเจ าของรายวิ คณะเจ าของรายวิ ชา,ชา, คณะเจ าของนิ คณะเจ าของนิ สิตส, ิต, และคณะเจ าของสถานที และคณะเจ าของสถานที ่ ่
700 700 2,520 2,520
600 600
เปรี เปรียยบเที บเทียยบบ
2,220 2,220
2,160
150 150
ดหนุ นการศึ กษานิ ทุนทุอุนดอุหนุ นการศึ กษานิ สิตสิต
อัตอัราค าเลาาเลเรีายเรีนป จจุจบจุน ั บน ตราค ยนป ั คณะวิทท ยาศาสตร (จุฬาฯ),(จุฬาฯ), คณะวิ ยาศาสตร อักษรศาสตร อักษรศาสตร ศิลปศาสตร (มธ.), (มธ.), ศิลปศาสตร มนุษย ศาสตร มนุ ษยศ(มก./มศว,) าสตร(มก./มศว,)
5,000 5,000
8,640
10,080 10,080
8,880 8,880
10,080 10,080
21,000 21,000 17,000 17,000
จุฬจุาฯ ฬาฯ
17,300 17,300 ธรรมศาสตร (มธ.) ธรรมศาสตร (มธ.) 15,300 15,300 16,300 16,300 เกษตรศาสตร (มก.)(มก.) เกษตรศาสตร 14,300 14,300 16,000 16,000 12,000 12,000
มศว. มศว.
คาเลาคเรีายเลนาเรียน (บาท) (บาท)
20,000
20,000 15,000
กลุมที่1
15,000 10,000
อัอัตตราเดิ ใหม ราเดิมม ปรั ปรับบ ใหม
อัตราเดิม ปรั ปรับบใหม ใหม
10,000
0
5,000 5,000
0 0
คณะกลุ่มที่หนึ่ง เช่น คณะแพทยศาสตร์ คณะ เภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะจิตวิทยา คณะนิเทศศาสตร์ เป็นต้น ส่วนคณะกลุ่มที่สอง เช่น คณะครุศาสตร์ คณะ นิ ติ ศ าสตร์ คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี คณะ รัฐศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะ อักษรศาสตร์ เป็นต้น สำ�หรับการจัดสรรค่าเล่าเรียนหลังมีการปรับขึ้น ทางจุฬาฯ มีประกาศลงวันที่ 28 มีนาคม 2556 ชี้แจงว่า ค่าเล่าเรียนในส่วนที่คณะทั้งสองกลุ่มจ่ายเท่ากัน ได้แก่ ค่าเล่าเรียนส่วนที่จัดสรรไปให้คณะเจ้าของรายวิชา คณะ เจ้ า ของนิ สิ ต และคณะเจ้ า ของสถานที่ 10,080 บาท โครงการพิเศษและกิจกรรม ได้แก่ สโมสรนิสิต กิจการนิสิต คณะ อนามัย กีฬา ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ทะเบียนประวัติ นิสติ และประกันอุบตั เิ หตุ 2,520 บาท การพัฒนาและบำ�รุง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 950 บาท การพัฒนานิสิตด้าน คุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และสำ�นึกสาธารณะ 150 บาท ส่วนที่ทำ�ให้นิสิตทั้งสองกลุ่มจ่ายต่างกัน 4,000 บาท ได้แก่ ค่าเล่าเรียนด้านทุนอุดหนุนการศึกษานิสติ กลุม่ ที่หนึ่งจ่าย 950 บาท กลุ่มที่สองจ่าย 700 บาท และค่าเล่า เรียนด้านพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีผลโดยตรงต่อนิสิต และจัดสรรเป็นทุนการศึกษาให้คณะเจ้าของนิสิต กลุ่มที่ หนึ่งจ่าย 6,350 บาท ในขณะที่กลุ่มที่สองจ่าย 2,600 บาท แต่ เ ดิ ม นั้ น ค่ า เล่ า เรี ย นคณะกลุ่ ม ที่ ห นึ่ ง จ่ า ย 18,000 บาท และคณะกลุ่มที่สองจ่าย 14,500 บาท มีการ จัดสรรไปยังคณะเจ้าของรายวิชา คณะเจ้าของนิสิต และ คณะเจ้าของสถานที่ โดยคณะกลุ่มที่หนึ่งจ่าย 8,640 บาท ส่วนคณะกลุ่มที่สองจ่าย 8,880 บาท โครงการพิเศษและ กิจกรรม ได้แก่ สโมสรนิสิต กิจการนิสิตคณะ อนามัย กีฬา ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ทะเบียนประวัตินิสิต และประกัน อุบตั เิ หตุ คณะกลุม่ ทีห่ นึง่ จ่าย 2,160 บาท ขณะทีค่ ณะกลุม่ ทีส่ องจ่าย 2,220 บาท ค่าเล่าเรียนด้านทุนอุดหนุนการศึกษา นิสติ กลุม่ ทีห่ นึง่ จ่าย 800 บาท ส่วนกลุม่ ทีส่ องจ่าย 600 บาท ค่าเล่าเรียนด้านพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีผลโดยตรง ต่อนิสิตและจัดสรรเป็นทุนการศึกษาให้คณะเจ้าของนิสิต กลุม่ ทีห่ นึง่ จ่าย 5,600 บาท ในขณะทีก่ ลุม่ ทีส่ องจ่าย 2,000 บาท และในส่วนที่คณะกลุ่มที่หนึ่งและกลุ่มที่สองจ่ายเท่า กันคือ การพัฒนาและบำ�รุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จำ�นวน 800 บาท ตามประกาศแนบท้ายของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยเรื่องการจัดสรรค่าเล่าเรียน พ.ศ. 2550 ทัง้ นีใ้ นการปรับขึน้ ค่าเล่าเรียน ทางมหาวิทยาลัย มองว่าควรปรับให้สอดคล้องกับกลไกที่เชื่อมโยงกับราคา ของตลาดแรงงาน ขณะเดียวกันก็ยืนยันว่าจะแสดงให้ เห็ น ถึ ง ระบบการเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพ ให้ นิ สิ ต มี ความรู้ความสามารถและสามารถออกไปหางานทำ�ได้ มากขึ้ น อี ก ทั้ ง จะไม่ ใ ห้ ก ารขาดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ม า
กลุ กลุมมทีที่2่2
คณะแพทยศาสตร คณะเภสั เชเชนน คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชชศาสตร ศาสตร คณะทันนตแพทยศาสตร ตแพทยศาสตร คณะวิททยาศาสตร คณะทั ยาศาสตร คณะวิททยาศาสตร ยาศาสตรการกีฬา คณะจิ คณะวิ คณะจิตตวิวิททยา ยา คณะวิศศวกรรมศาสตร วกรรมศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิ ทศศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร ยกรรมศาสตร ฯลฯ คณะสถาป ฯลฯ
เชเชนนคณะครุ าสตร ติศตาสตร คณะครุศศ าสตรคณะนิ คณะนิ ิศาสตร คณะอั คณะอักกษรศาสตร ษรศาสตรคณะเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะศิ ฐศาสตร คณะศิลลปกรรมศาสตร ปกรรมศาสตรคณะรั คณะรั ฐศาสตร คณะพาณิ ช ยศาสตร แ ละการบั ญ ชี ฯลฯ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ฯลฯ
จัจัดดทำโดย:นิ ฬาฯ เรื่อเรืงการจั ดสรรค าเลาเรี ทำโดย:นิสสิติตนันักกศึศึกกษาษา----ขอขมูอลมูจากประกาศจุ ลจากประกาศจุ ฬาฯ ่องการจั ดสรรค เลยานเรียน
เป็ น อุ ป สรรคในการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นของนิ สิ ต ทั้ ง นี้ ท าง จุ ฬ าฯได้ จั ด สรรทุ น การศึ ก ษาไว้ ห ลากหลายประเภท ตามความขาดแคลนและความต้ อ งการของนิ สิ ต แต่ละราย ซึ่งสามารถเข้าไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.sa.chula.ac.th น.ส.กมลทิพย์ มีชูคุณ ให้สัมภาษณ์ว่าตนเป็น นิเทศศาสตร์ จุฬาฯ รุน่ ที่ 39 โดยช่วงนัน้ ค่าเทอมอยูท่ ี่ 12,000 บาท แต่เมื่อถึงรุ่นที่ 41 ค่าเทอมเพิ่มขึ้นเป็น 16,000 บาท “ตอนนัน้ ราคานีก้ ถ็ อื ว่าโอเคนะ คุม้ ค่า ไม่ได้แพง อะไรมาก เพราะเราก็ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ส่วนพวกคณะอีกกลุ่มหนึ่งเช่น อักษรฯ ก็จ่าย 8,000 บาท” น.ส.กมลทิพย์กล่าว อย่างไรก็ตามในการปรับขึ้นค่าเล่าเรียน มติการ ประชุมสภามหาวิทยาลัยครัง้ ที่ 752 เมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2555 ระบุวา่ จุฬาฯ ได้ปรับขึน้ ค่าเล่าเรียนเป็นจังหวะโดยเริม่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2540 ถึง 2542 แต่หยุดไปในช่วง พ.ศ. 2543 ถึง 2547 และ พ.ศ. 2551 ถึง 2555 แล้วมาปรับขึ้นอีกทีในปีนี้ 17% หลังจากที่เว้นช่วงมานาน ทั้งนี้ที่ประชุมเสนอว่าควรมีการ กำ�หนดเป็นนโยบายให้ชัดเจนว่าจะมีการปรับขึ้นค่าเล่า เรียนอย่างไร เช่น ให้มีการปรับค่าเล่าเรียนทุก ๆ สองปี โดย ใช้เฉพาะตัวเงินเฟ้อถัวเฉลี่ย เป็นต้น
นางวีนัส ชมพูผล ผู้ปกครองของ น.ส.ภนัษฐา ชมพูผล นิสิตคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ได้ให้สัมภาษณ์ว่า ค่าเทอมที่เพิ่มจาก 18,000 บาท เป็น 21,000 บาท สำ�หรับ ตนนั้นไม่มีความแตกต่างกันมากนัก แต่ยังถือว่าแพงอยู่ และเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ที่จุฬาฯ จะไม่ขึ้นค่าเทอมเพราะค่า ครองชีพมีการปรับขึ้น “หากจะถามหาความคุ้มค่าก็ตอบไม่ถูกเหมือน กัน มันต้องดูในแง่ของสถานที่เรียน อุปกรณ์ ผลลัพธ์ที่ลูก เราได้ แต่แปลกใจอยู่อย่างหนึ่งคือการจัดสายนิเทศฯ มา อยู่กลุ่มเดียวกับแพทย์ฯแล้วคิดเงินในอัตราเดียวกัน ใน ความเห็นดิฉันไม่คิดว่าจะต้องจ่ายแพงเท่าการเรียนหมอ หรือวิศวะฯ ทุกวันนี้แม่เห็นลูกหนักกิจกรรมและกลับดึก เลยถามลูกว่าเข้าแล็บเรียนหนักเหมือนหมอใช่ไหมลูก” นางวีนัสกล่าว ทางด้าน น.ส.จิตตานันท์ อ้นทิม นิสิตชั้นปีที่หนึ่ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่าค่าเทอม 17,000 บาท สำ�หรับตนนั้นมองว่าแพงพอสมควร แต่การศึกษาคือการ ลงทุนที่คุ้มค่า “ดิฉนั มองว่าจุฬาฯ น่าจะให้อะไรได้มากกว่าการ ศึกษา และคิดว่าระบบการศึกษาที่ดีที่สุดและถูกที่สุดใน ประเทศก็คือที่นี่” น.ส.จิตตานันท์กล่าวทิ้งท้าย