นิสิตนักศึกษา ปีที่ 49 (พ.ศ.2559) ฉบับที่ 1

Page 1



หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ฉบั บ ประจ� ำ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2559

9

ตรงสูอ่ นิ ชอน เยือนเมืองใหม่แห่งเกาหลีใต้ ที่ถูกออกแบบให้ “ฉลาด” ด้วยเทคโนโลยี ล�้ำสมัย และ “ยั่งยืน” อย่างเป็นมิตรต่อ สิ่ ง แวดล้ อ ม จนคนทั่ ว โลกจั บ ตามอง “ซงโด ยูโทเปียสีเขียวแห่งอนาคต”

10

ปัญหาในระบบการศึกษา ใครจะบอกได้ ดี ที่ สุ ด หากไม่ ใ ช่ “ผู ้ เ รี ย น” ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบโดยตรง มาร่วมขบคิดกันได้ใน “เสี ย งของผู ้ เ รี ย น ควรอยู ่ ต รงไหนใน ระบบการศึกษา ?”

12

เปิดโลก VR Sex Toy ของเล่นที่ไม่ใช่ สำ�หรับเด็ก เทคโนโลยีทจี่ ะเปิดมิตใิ หม่ของ การดูหนังโป๊ให้ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

14

ชวนมองข้ อ ความแทะโลมสามี แ ห่ ง ชาติ บนโลกออนไลน์ วิเคราะห์แง่มุมทางเพศที่ อยู ่ เ บื้ อ งหลั ง และฟั ง ความในใจของ เบสท์-ณัฐสิทธิ์ และอัพ-ภูมพ ิ ฒ ั น์ เป้าหมาย ของการโลมเลีย






TRAVEL

8

เรื่อง-ภาพ : ภนัษฐา ชมภูผล

1 วัน สัมผัสวิถีไทยในโคราช

แต่ละคนมีวิถีการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน ออกไป บางคนรักธรรมชาติ บางคนชอบ ความหรู ห รา แต่ ใ นปี นี้ รู ป แบบการ ท่องเที่ยวที่ก�ำลังเป็นที่นิยม คือการท่อง เที่ ย วแบบสั ม ผั ส ประสบการณ์ ท้ อ งถิ่ น (Local Experience) ที่นักท่องเที่ยวจะได้ เข้ า ไปคลุ ก คลี แ ละเรี ย นรู้ วิ ถี ดั ้ง เดิ ม ของ คนในท้องถิ่น เพื่อซึ มซับกับสีสันแห่งชีวิต ของท้องถิ่นนัน้ ๆ ไม่ใช่ การเดินทางที่เห็น แก่ความสนุก หรือถ่ายรู ปสวยๆ เพื่อ เรียกยอดไลก์ในสื่อสังคมออนไลน์เท่านัน้ การท่องเที่ยวแนวนีจ้ ึงเหมาะกับชาวต่าง ชาติและคนรุ ่นใหม่ท่ีรักอิสระ และพร้อมจะ ออกเดินทางไปค้นหาประสบการณ์ใหม่ๆ อยู ่ทุกเมื่อ ในการเดิ น ทางครั้ ง นี้ พวกเราเลื อ ก จังหวัดนครราชสีมา หรือ “โคราช” ประตูสู่ ภาคอีสานทีม่ เี สน่หท์ งั้ ด้านประวัตศิ าสตร์และ วิถชี าวบ้านดัง้ เดิม เพียงแค่วนั เดียวก็สามารถ สัมผัสกับประสบการณ์ทอ้ งถิน่ ทีอ่ ยูห่ ลังประตู บานนี้ได้แบบจุใจ หากพร้อมแล้ว ไปลุยกัน เลย! สถานี แ รกที่ เ ราจะไปเยื อ นคื อ ชุ ม ชน ด่านจะโปะ ใน อ.ปักธงชัย ชุมชนนี้ยังคง อนุรักษ์การทอผ้าไหมไทยแบบภูมิปัญญา ดั้งเดิมเอาไว้ ด้วยจุดเด่นของผ้าไหมไทยคือ เนือ้ ทีเ่ บาและนุม่ ฟู เมือ่ แสงตกกระทบลงบน ผ้ า แล้ ว จะท� ำ ให้ ตั ว ผ้ า เกิ ด เฉดสี ที่ ต ่ า งกั น ส่วนที่โดนแสงจะเงางามดูแล้วเหมือนผืนน�้ำ ทีก่ ำ� ลังส่องประกายวิบวับ ชาวต่างชาติจงึ ให้ ความสนใจ เพราะเป็นผ้าที่มีเอกลักษณ์ไม่ เหมือนผ้าชนิดใดในโลก ชาวบ้านชุมชนด่านจะโปะคนหนึง่ เล่าว่า เมื่อก่อนที่นี่เต็มไปด้วยเสียง “เครื่องกี่” ที่ใช้ ทอผ้า แต่น่าเสียดายที่ปัจจุบันผู้ท�ำอาชีพ

ทอผ้าไหมในชุมชนเริ่มน้อยลง เพราะสภาพ ทีช่ าวต่างชาติตงั้ ให้วา่ “แพนเค้ก” รสชาติของ สังคมทีเ่ ปลีย่ นไป ท�ำให้ลกู หลานในชุมชนหัน ขนมดาดคล้ายกับขนมบ้าบิ่น แต่มีความ ไปท�ำนาและหางานในเมืองกรุงมากขึ้น จึง บางกรอบและแผ่นใหญ่กว่า มีส่วนผสมจาก ไม่ได้สานต่ออาชีพนี้อย่างจริงจัง เหลือเพียง แป้งข้าวเจ้าและแป้งข้าวเหนียว คลุกเคล้า ชาวบ้านคนเก่าคนแก่เท่านั้นที่ยังประกอบ กั บ น�้ ำ กะทิ ส ดที่ ป รุ ง รสหวานเค็ ม พร้ อ มใส่ อาชีพนี้อยู่ มะพร้าวอ่อน แล้วน�ำมาทอดบนกระทะที่ทา เสียงหูกทอผ้าที่ น�้ ำ มั น พื ช บางๆ ไว้ เบาลง ผลั ก ดั น ให้ เมือ่ สุกแล้วก็ปดิ ท้าย คนในชุ ม ชนด่ า น- า งสวยงามด้ ว ย ไก่ย่างที่หมักด้วยสูตรลับ อย่ จะโปะพยายามต่ อ การโรยงาด้ า นบน ซึ ม เข้ า ไปถึ ง เนื้ อ ด้ า นใน บอกเลยว่ า รสชาติ ลมหายใจของการ ทอผ้ า ไหมไทยด้ ว ย ก่ อ นน� ำ ไปย่ า งเตาถ่ า น เด็ ด และอร่ อ ยจน มือ โดยการเปิดเป็น แบบโบราณ หนังที่ย่าง หยุดไม่อยู่แน่นอน! สถานที่เชิงเรียนรู้ ให้ หลั ง จาก ้ จนกรอบสี น � ำ ตาล เมื อ ่ ได้ นักท่องเที่ยวทั้งไทย ตระเวนชื่ น ชมกั บ ท า น คู่ กั บ ส้ ม ต� ำ ร ส ค ว า ม ง า ม ข อ ง และต่างชาติได้สมั ผัส กั บ ความงามของ จัดจ้านแล้ว ถึงกับต้อง ผ ้ า ไ ห ม แ ล ะ ไ ด ้ ผ้าไหมโคราช ชื่นชม รั บ ประทานอาหาร ร้ อ งดั ง ๆ ว่ า แซ่ บ อี ห ลี เ ด้ อ ! ความละเอียดอ่อนใน กลางวั น รสเด็ ด ไป การทอผ้าจากมือของ แล้ ว ในยามคล้ อ ย ชาวบ้ า น รวมถึ ง บ ่ า ย พ ว ก เ ร า ก็ สามารถทดลองทอ เดิ น ทางต่ อ ไปยั ง ผ้าไหมกับชาวบ้านได้อีกด้วย ชุมชนบ้านปราสาท ซึ่งมีบริการบ้านพักแบบ หลังจากได้ยลโฉมของงามประจ�ำจังหวัด โฮมสเตย์ให้กับนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่าง เรียบร้อย ก็ถึงเวลาที่หมู่เฮารอคอย นั่นคือ ประเทศ เวลาอาหารกลางวั น มาภาคอี ส านทั้ ง ที ่ คืนนี้เราจะพักกันที่บ้านของนางส�ำราญ เป็นไปไม่ได้เลยทีจ่ ะไม่เอ่ยถึงอาหารพืน้ บ้าน ข�ำโพธิ์ หรือแม่ราญ หญิงวัยกลางคนที่มี สุดแซ่บอย่างส้มต�ำและไก่ย่างที่หมักด้วย สีหน้ายิ้มแย้มเดินเข้ามาทักทายพร้อมคล้อง สูตรลับ ซึมเข้าไปถึงเนื้อด้านใน ก่อนน�ำไป มาลัยดอกกล้วยไม้ทมี่ กี ลิน่ หอมอ่อนๆ ให้กบั ย่างเตาถ่านแบบโบราณ หนังที่ย่างจนกรอบ ผู้เข้าพัก เหตุที่เรียกว่า “แม่” เพราะเจ้าบ้าน สีน�้ำตาล เมื่อได้ทานคู่กับส้มต�ำรสจัดจ้าน จะดู แ ลผู ้ เ ข้ า พั ก เหมื อ นกั บ เป็ น สมาชิ ก ใน แล้ว ถึงกับต้องร้องดังๆ ว่าแซ่บอีหลีเด้อ! ครอบครัวเลยทีเดียว เมื่อจบของคาว ก็ต้องล้างปากด้วยของ ตกเย็ น เรานั่ ง ล้ อ มวงทานอาหารกั บ หวานอย่าง “ขนมดาด” ซึ่งเป็นขนมท้องถิ่น สมาชิ ก ในครอบครั ว ของแม่ ร าญกั น ทีห่ าทานได้ยากในปัจจุบนั แถมมีชอื่ อินเตอร์ อย่างอบอุ่น และปิดท้ายกิจกรรมของวันนี้

ด้วยพิธีบายศรีสู่ขวัญ ซึ่งเป็นความเชื่อของ การต้ อ นรั บ แขกบ้ า นแขกเมื อ งที่ ม า เยี่ยมเยียน หรือต้อนรับลูกหลานเมื่อกลับ มาบ้าน บายศรีถูกตกแต่งด้วยใบตองสามชั้น ด้ า นบนมี เ ที ย นเล่ ม เล็ ก ประดั บ อยู ่ เมื่ อ จุ ด เที ย นก็ เ ป็ น สั ญ ญานของการเริ่ ม พิ ธ ี พร้อมกับเสียงสวดมนต์ของ “หมอขวัญ” ซึ่ง เป็นชื่อเรียกของผู้อาวุโสที่มาเป็นประธาน ใ น พิ ธี ห ลั ง จ า ก ที่ ทุ ก ค น ไ ด ้ พ น ม มื อ ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานด้ ว ยความสงบ แม่ ร าญ เจ้าบ้านที่แสนอบอุ่นในค�่ำคืนนี้ก็เดินเข้ามา พร้อมใบหน้าเปื้อนยิ้ม ในมือถือสายสิญจน์ เส้นเล็กสีขาวสะอาดตา แล้วเข้ามาผูกข้อมือ ให้ กั บ เรา พร้ อ มเอ่ ย ค� ำ อวยพรขอให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครองลูกคนนี้ตามความเชื่อ แม่ราญจับมือฉันและฟังเสียงสวดมนต์จาก หมอขวัญไปพร้อมๆ กัน เมื่อจบพิธี ทุกคนจึง แยกย้ายกันเข้านอน ค�่ำคืนนั้นฉันหลับตาลง นอนบนเตียงด้วยความอบอุ่นใจ และรู้สึก เหมือนกลายเป็นส่วนหนึ่งของบ้านหลังนี้ไป เสียแล้ว การเดินทางมาโคราชครัง้ นีอ้ าจไม่หรูหรา หรือไม่ได้นอนโรงแรมระดับห้าดาว แต่สิ่งที่ ท�ำให้รู้สึกอยากกลับมาโคราชอีกครั้งอย่าง ไม่รู้เบื่อ คือมิตรไมตรีของชาวบ้านที่อบอุ่น และการต้อนรับนักท่องเที่ยวที่ดีราวกับเป็น คนในครอบครัวเดียวกัน แล้วคุณล่ะ อยาก หนีความวุน่ วายในเมือง แล้วไปชาร์จแบตรับ ความรู้สึกดีๆ ที่โคราชด้วยกันบ้างไหม?



MAIN COURSE

10

เสียงของผู้เรียน ควรอยู่ตรงไหนในระบบการศึกษา ?

เคยถู ก อาจารย์ บั งคั บเรื่องทรงผม ไหม ? เชื่ อว่าหลายคนคงเคยเจออาจารย์ ที่ ม าจ� ้ำ จี้ จ� ้ำ ไชว่ า ทรงผมต้ อ งเป็ น แบบไหน เช่ น ต้ อ งผมสั ้น เท่ า ติ่ ง หู รองทรงสู ง หรื อ รวบผมผู กโบว์ ใ ห้ เรี ย บร้ อ ย กฎเกณฑ์ เ หล่ า นี้ ถู ก ก� ำ หนดโดยกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร และแต่ละโรงเรียนต้องน�ำมาปรับใช้

ไม่เพียงแต่ระเบียบทรงผม แต่แทบทุก อณู ข องระบบการศึ ก ษามี ก ฎเกณฑ์ ห รื อ นโยบายต่ า งๆ ที่ ถู ก ก� ำ หนดมาโดยภาครั ฐ เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตามทั้งสิ้น ตั้งแต่เรื่อง เล็ ก ๆ อย่ า งเครื่ อ งแต่ ง กาย ไปจนถึ ง เรื่ อ ง ใหญ่ๆ อย่างก�ำหนดเปิด-ปิดภาคการศึกษา หรือการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ซึ่งการก�ำหนด กฎเกณฑ์หรือนโยบายใดๆ ล้วนส่งผลกระทบ ต่อผู้เรียนเสมอ ภู – ภูวน ชมภูผล นักเรียนชั้น ม.ห้า โ ร ง เ รี ย น ก รุ ง เ ท พ ค ริ ส เ ตี ย น วิ ท ย า ลั ย เป็ น หนึ่ ง ในผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ ภูเล่าว่าเขา อ่านหนังสือเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ขึ้นม.สี่ แต่กลับต้องเป็นรุ่นแรกที่ถูก เปลี่ยนระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2561 “ขอแบบเก่าคืนได้ไหม (หัวเราะ) ยังไม่ พร้อมส�ำหรับของใหม่ เพราะตอนนี้ตะลุยท�ำ GAT กับ PAT เตรียมสอบแบบระบบเก่าลูก เดียว ยังไม่รู้ว่าระบบใหม่จะเพิ่มอะไรเข้าไป อีก” ภูยังบอกอีกว่า เขาต้องยอมรับในการ เปลี่ ย นแปลง แม้ ว ่ า จะไม่ เ คยได้ เ ข้ า ไปมี ส่วนร่วมในการเปลีย่ นแปลงก็ตาม และคงจะ ดีกว่านี้ถ้าการศึกษาให้โอกาสกับทุกคนได้มี ส่วนร่วมและออกความเห็นในทุกๆ เรื่อง

เรื่อง : พนัสดา อุ ทัยพิพัฒนากุล , ภนัษฐา ชมภูผล ภาพ : พนัสดา อุ ทัยพิพัฒนากุล

ด้ า น กระติ๊ บ - วริ ษ า สุ ข ก� ำ เนิ ด นั ก เรี ย นชั้ น ม.ห้ า และเลขาธิ ก ารกลุ ่ ม “การศึ ก ษาเพื่ อ ความเป็ น ไท” เล่ า ถึ ง ผลกระทบทีผ่ เู้ รียนเจอเมือ่ มีการเปลี่ยนแปลง เชิ ง นโยบาย โดยยกตั ว อย่ า งนโยบาย “ ล ด เ ว ล า เ รี ย น เ พิ่ ม เ ว ล า รู ้ ” ที่ ท� ำ ใ ห ้ ผู้เรียนต้องใช้เวลาอยู่ในโรงเรียนเพิ่ม และ เสียเวลาที่จะได้ออกไปท�ำสิ่งที่ตนอยากเรียน รู ้ น อกโรงเรี ย น รวมไปถึ ง เนื้ อ หาวิ ช าหน้ า ที่ พลเมืองที่สร้างภาระให้ผู้เรียนต้องนั่งท่อง ค่ า นิ ย มตามที่ รั ฐ ก� ำ หนด ซึ่ ง ไม่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความคิดเชิงวิพากษ์หรือความคิดที่เป็นเหตุ เป็นผล แม้ ว ่ า กระติ๊ บ จะสนใจปั ญ หาด้ า น การศึกษามาตั้งแต่ ม.ต้น แต่รัฐแทบไม่มีช่อง ทางให้ เ ธอได้ แ สดงความคิ ด เห็ น หรื อ มี ส่ ว นร่ ว มก� ำ หนดนโยบาย เธอจึ ง ตั ด สิ น ใจ เข้าร่วมกลุ่มการศึกษาเพื่อความเป็นไท กลุ่ม นั ก เรี ย นที่ ม ารวมตั ว กั น เพื่ อ เคลื่ อ นไหวใน ประเด็นด้านการศึกษา เช่น การขอเปลี่ยน ระเบียบทรงผม หรือการเรียกร้องให้รัฐบรรจุ ส วั ส ดิ ก า ร เ รี ย น ฟ รี ชั้ น ม . ป ล า ย ไ ว ้ ใ น รัฐธรรมนูญ เป็นต้น “เราเข้ า เครื อ ข่ า ยการศึ ก ษาที่ เ ป็ น การ จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเอง ท� ำ ในภาคส่ ว นของการ เคลื่อนไหว มากกว่าที่รัฐบาลจะมาเปิดให้เรา ได้แสดงความคิดเห็น” กระติ๊บกล่าว

ท�ำไมต้องฟั ง?

จ า ก ส ถิ ติ “ จ� ำ น ว น ส ถ า น ศึ ก ษ า ครู/อาจารย์ และนักเรียน นิสิต นักศึกษาใน ระบบโรงเรียน ปีการศึกษา 2535-2558” ของ ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ระบุ ว ่ า ในปี การศึ ก ษา 2558 มี นั ก เรี ย น นิ สิ ต และ นักศึกษา จ�ำนวนกว่า 13 ล้านคน ในขณะที่ ครูอาจารย์มีเพียงหกแสนกว่าคน ผู้เรียนจึง เป็ น คนกลุ ่ ม ใหญ่ ที่ สุ ด ในระบบการศึ ก ษา แม้แต่รัฐธรรมนูญของประเทศที่กระทบต่อ ประชาชนทุกคนก็ยังต้องผ่านความเห็นชอบ จากประชาชนก่อนประกาศใช้ แล้วกฎเกณฑ์ หรื อ นโยบายของระบบการศึ ก ษาเล่ า ? สมควรจะต้องผ่านความเห็นชอบหรือการมี ส่วนร่วมของผู้เรียนหรือไม่? ในความเห็ น ของกระติ๊ บ เธอมองว่ า ผู ้ เ รี ย นควรเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม เพราะเป็ น ผู ้ ได้รับผลกระทบจากการศึกษา และรู้ว่าการ ศึกษาแบบไหนที่เหมาะกับพวกเขา “ผูเ้ รียนได้รบั ทัง้ ผลดีและผลกระทบจากการ ศึกษาอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นเขาควรมีสิทธิที่จะ เรียกร้องการศึกษาทีท่ ำ� ให้เขาได้ประโยชน์และ เป็นการศึกษาที่ไม่ท�ำร้ายเขา ผู้เรียนควรจะมี โอกาสได้รบั รูเ้ หตุผลว่าท�ำไมถึงได้สร้างสิง่ นีข้ นึ้ มา และเขาก็มสี ทิ ธิทจี่ ะแสดงเหตุผลว่าท�ำไมเขา ถึงเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับนโยบายนี”้


MAIN COURSE

เช่นเดียวกับ ปกรณ์ ปัญโญ นักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ หนึ่ ง ในกลุ ่ ม “พลเรี ย น” ที่ เ คลื่ อ นไหวเรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ ด ้ า น การศึกษา มองว่าผู้เรียนต้องเข้ า มามี ส่ ว น ร่วมอย่างมาก เพราะการศึกษาเป็นเรื่องของ ทุกคน และผู้เรียนก็เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มากที่สุด “การศึกษามันไม่ได้เป็นเรื่องของรัฐ ของ ครู หรือของโรงเรียนอย่างเดียว การศึกษามัน เป็ น เรื่ อ งของผู ้ เ รี ย นด้ ว ย เวลาที่ เ ราจะจั ด การศึกษา เราควรจะสร้างให้มันมีส่วนร่วม กั น ทุ ก คน โดยเฉพาะนั ก เรี ย นก็ เ ป็ น ผู ้ ที่ ม ี ส่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย เราก็ ค วรจะให้ ผู ้ เ รี ย นมี บทบาทมากขึ้น ว่าต้องการจะเรียนรู้ในเรื่อง ไหน หรือต้องการจะให้การศึกษาไทยเป็นใน ทิศทางใด” ส่ ว น ครู โ อ – ปราศรั ย เจตสั น ติ์ อาจารย์ จ ากโรงเรี ย นบางปะกอกวิ ท ยาคม มองว่ า การให้ ผู ้ เ รี ย นเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มจะ ท�ำให้พวกเขาตระหนักรู้ในสิทธิของตน และ รู้ว่าตนมีศักยภาพในการท�ำอะไรได้บ้าง ซึ่ง ถือเป็นการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพให้กับ ประเทศ “เขา (ผู้เรียน) จะรู้สึกว่าเสียงของเขามี ความหมายเวลาที่ พู ด ออกมาแล้ ว มี คน รับฟัง เพราะฉะนั้นการมีส่วนร่วมมันเป็นการ สร้างให้เด็กเป็นพลเมืองที่ตื่นรู้ เข้าใจว่าอะไร ที่ เ ขาต้ อ งท� ำ และเขาจะมี ส ่ ว นร่ ว มในการ แก้ไขได้อย่างไร ถ้าเราให้เด็กมีบทบาทหรือ มีส่วนร่วมมากๆ เด็กก็จะรู้ถึงพลังว่าเขาท�ำ อะไรได้”

หลายวิธีฟังเสียงผู ้เรียน

หากอยากฟั ง ความคิ ด เห็ น ของคนอื่ น คุณจะเลือกวิธีไหน? ระหว่างถามเขาโดยตรง ว่าคิดเห็นอย่างไร หรือบอกความคิดของคุณ ไปและรอเขาตอบกลับมา ไม่ ว ่ า คุ ณ จะเลื อ กวิ ธี ใ ด กระทรวง ศึกษาธิการเลือกอย่างหลัง รศ.นพ.ก� ำ จร ตติ ย กวี อดี ต ปลั ด กระทรวงศึกษาธิการ พูดถึงการเปลี่ยนระบบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2561 ว่า ไม่ได้เปิดประชาพิจารณ์หรือรับฟังเสียงของ ผู้เรียนโดยตรง แต่เน้นการ “ฟังเสียงสะท้อน” ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ “ทั่ ว ไปทุ ก ครั้ ง ก็ จ ะมี สื่ อ สาธารณะเป็ น เสียงสะท้อนครับ ครั้งนี้ก็มีส่ือออนไลน์ซึ่งเข้า มามีบทบาท อย่างเฟซบุ๊กหรือในสื่อสังคม ออนไลน์ ที่ เ ขาแชร์ กั น ท่ า นรั ฐ มนตรี ก็ ไ ด้ ติดตามทั้งหมดเลย ไม่ว่าจะเฟซบุ๊กไหนหรือ ส่วนใดที่เสนอ ก็เห็นด้วย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ สิบรายมีเก้ารายที่เห็นด้วย” เขายังบอกอีกว่า ผูเ้ รียนควรจะมีสว่ นร่วม แบบผลสะท้อนกลับ (Feedback) มีสิทธิที่จะ

11

เ ส น อ ห รื อ เ รี ย ก ร ้ อ ง ห า ก เ ห็ น สิ่ ง ใ ด ไม่ชอบมาพากล แต่ต้องไม่ใช่การเรียกร้อง เพื่อประโยชน์ของตนเอง ทว่ า การฟั ง เสี ย งของผู ้ เ รี ย นก็ ยั ง มี อี ก หลากหลายวิธี ขณะที่กระทรวงศึกษาใช้วิธี การฟั ง เสี ย งสะท้ อ น แต่ นั ก ศึ ก ษาอย่ า ง ปกรณ์ กลับมองว่าต้องเปิดพื้นที่ให้ผู้เรียนได้ เข้าไปมีส่วนร่วมโดยตรง ถึงแม้ว่าการเข้าไป มีส่วนร่วมในเชิ งนโยบายอาจจะยังเป็นไป ไม่ ไ ด้ แต่ ก็ ค วรเริ่ ม จากในโรงเรี ย นหรื อ ห้องเรียนก่อน เพื่อเป็นการฝึกให้ผู้เรียนได้ ทดลองมีส่วนร่วมในเบื้องต้น “อาจให้ นั ก เรี ย นได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในพื้ น ที่ เล็กๆ ก่อน เช่น พื้นที่ในห้องเรียนของเขา มา ออกแบบกฎการเรี ย นรู ้ ร ่ ว มกั น ออกแบบ กฎกติการ่วมกัน อยากให้ครูสอนแบบไหน เรามาถกเถียงกันดีกว่าว่าอยากให้ครูสอน แบบนี้เพราะอะไร” ด้ า น ผศ.อรรถพล อนั น ตวรสกุ ล อาจารย์ จ ากคณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย และผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ประสานงานเครื อ ข่ า ยการศึ ก ษาเพื่ อ สร้ า ง พลเมืองประชาธิปไตย เห็นตรงกันว่าการมี ส่ ว นร่ ว มอาจเริ่ ม ง่ า ยๆ จากในห้ อ งเรี ย น โดยยกตัวอย่างประเทศฝรั่งเศส ที่แม้แต่การ ตั ด เกรดประจ� ำ ปี แต่ ล ะห้ อ งยั ง ต้ อ งส่ ง ตัวแทนผู้เรียนชาย-หญิงมามีส่วนร่วมพูดคุย กั บ อาจารย์ นอกจากนั้ น เขายั ง บอกว่ า การเปิดวงสนทนาหลายๆ ที่ ให้เด็กทุกกลุ่ม เข้ามาแสดงความเห็นก่อนจะออกนโยบาย ก็ยังเป็นอีกหนึ่งวิธีที่เป็นไปได้ “ในเชิงนโยบาย ทุกเรื่องต้องมีวงคุยให้ มากขึ้น และวงคุยเหล่านี้ต้องยอมให้ทุกคน ที่เกี่ยวข้องเข้ามาอยู่ในวงคุยด้วย ไม่ใช่แค่ คนท�ำงานคิดและตัดสินใจกันเอง” นอกเหนือจากวิธีการข้างต้น อีกหนึ่งวิธี ที่คงจะขาดไปไม่ได้ในสังคมประชาธิปไตยก็ คือ “ระบบตัวแทน” ครูโอเล่าถึงระบบตัวแทนในโรงเรียนบาง ปะกอกวิ ท ยาคมว่ า ทางโรงเรี ย นได้ จั ด ตั้ ง “สภานั ก เรี ย น” แยกออกมาจาก คณะกรรมการนั ก เรี ย น โดยท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนของนั ก เรี ย นทุ ก คน ถึ ง แม้ ส ภา นั ก เรี ย นจะจั ด ตั้ ง ได้ เ พี ย ง 3 เดื อ น แต่ ก็ ม ี ผลงานห ล า ย ชิ้ น อ อ ก ม า อ ย ่ า ง เ ป ็ น รู ป ธรรม เช่ น การจัดงานเสวนาร่วมกันระหว่าง นักเรียนและครู หรือการออกแบบ “ธรรมนูญ สภานักเรียน” ซึ่งเป็นกฎข้อบังคับที่น�ำมาใช้ ควบคุ ม คณะกรรมการนั ก เรี ย นและสภาฯ โดยผ่านประชามติจากนักเรียนทั้งโรงเรียน ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น สภานั ก เรี ย นฯ ยั ง เคย รับฟังความคิดเห็นจากนักเรียนเพื่อรวบรวม ข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับหลักสูตรระดับชั้น มัธยมปลาย ก่อนจะยื่นหนังสือแถลงการณ์

และเข้ า พู ด คุ ย กั บ ผู ้ บ ริ ห าร จนท้ า ยที่ สุ ด ผู้บริหารและฝ่ายวิชาการก็ตกลงปรับเปลี่ยน ตามข้อเสนอบางส่วนของสภาฯ ครูโอบอกว่า เหตุที่สภานักเรียนโรงเรียน บางปะกอกมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งมาจาก สี่ปัจจัย หนึ่งคือกระบวนการฝึกผู้เรียนให้คิด โดยให้แนวคิดว่าสภาฯ ต้องเป็นตัวแทนและ ท�ำเพื่อเสียงของผู้เรียน สองคือแกนน�ำของ สภาฯ ที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง สามคื อ อาจารย์ ผู ้ ดู แ ลสภาฯ ที่ ค อยผลั ก ดั น และสนั บ สนุ น แนวคิดของสภาฯ และสุดท้ายคือผู้บริหารที่ เปิดใจรับฟังเสียงผู้เรียน

ขนาดเราเป็นประชาชน เป็นผู ้ใหญ่ เรายังไม่มี สิทธิส่งเสียงเลย แล้วนับประสาอะไรกับเด็ก ถึงแม้ว่าการฟังเสียงผู้เรียนจะเป็นเรื่อง จ� ำ เป็ น แต่ ครู โ อก็ มองว่ า ความคิ ดเห็ นของ ผู้เรียนไม่จ�ำเป็นต้องถูกต้องเสมอไป เพราะ ฉะนั้ น รู ป แบบของการมี ส ่ ว นร่ ว มจึ ง ต้ อ ง เป็ น การตั ด สิ น ใจร่ ว มกั น ระหว่ า งเด็ ก และ ผู้ใหญ่ที่สามารถแสดงความเห็นกันได้อย่าง เท่าเทียมกัน “เราฝึกเด็กขึน้ มา ในกรณีนี้ มันไม่ได้แปล ว่ า ให้ เ ด็ ก เป็ น คนตั ด สิ น ใจทุ ก อย่ า งใน โรงเรียน และปล่อยให้ผู้ใหญ่เป็นคนนั่งฟัง ความเห็นเด็ก เพราะว่าสิ่งที่เด็กมีคือกรอบ ของเด็ก มุมมองของเด็ก ซึ่งจะขาดมุมมอง ของผู้ใหญ่ และขาดมุมมองที่เป็นตามหลัก วิ ช าการ ที นี้ วิ ธี ก ารที่ เ ราท� ำ ให้ เ ด็ ก ขึ้ น มามี เสี ย งมากขึ้ น มั น เป็ น การท� ำ ให้ เ ขาขึ้ น มา เท่าเทียม มีความเห็นที่พูดได้พร้อมๆ กัน นั่ง โต๊ะระดับเดียวกันกับผู้ใหญ่” ครูโอกล่าว

“สั ง คมย่ อ ส่ ว น” โลกภายนอกเป็ น เช่ นไร โลกภายในเป็นเช่ นนัน้

“อาบน�้ำร้อนมาก่อน” ปกรณ์ ยกส� ำ นวนนี้ ม าพู ด ย�้ ำ หลายต่ อ หลายรอบ เขาบอกว่ า ส� ำ นวนก็ คื อ ภาพ สะท้ อ นที่ ชั ด เจนว่ า สั ง คมไทยยั ง ยึ ด ติ ด กั บ ชนชั้ น และระบบอาวุ โ ส ที่ ค นอายุ ม ากกว่ า แปลว่ า เก่ ง มากกว่ า เข้ า ใจโลกมากกว่ า ฉะนั้นหากระบบการศึกษาหรือสังคมไทยยัง คงมีความคิดความเชื่อแบบนี้ ผู้ใหญ่จึงไม่ จ�ำเป็นต้องฟังเสียงของผู้ที่เด็กกว่า “จริงอยูว่ า่ ผูใ้ หญ่อาจจะอายุเยอะกว่าหรือ อาบน�้ำร้อนมาก่อน แต่ความจริงแล้วบริบทที่ ผูใ้ หญ่เคยเป็นเด็กกับบริบทเด็กในปัจจุบนั มันไม่ เหมื อ นกั น เวลาที่ เ ราจะเปรี ย บเที ย บ

ประสบการณ์หรือชุดความรู้ อาจไม่สามารถ เปรียบเทียบได้ เพราะบริบทมันเปลีย่ นแปลงไป มาก เขาจึงควรต้องฟังเสียงของพวกเราบ้าง” เช่ น เดี ย วกั บ กระติ๊ บ ที่ ม องว่ า แนวคิ ด อาวุโสท�ำให้ผู้ใหญ่มีอ�ำนาจเหนือกว่า และใช้ อ�ำนาจห้ามไม่ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือโต้เถียง เพราะอาจคิดว่าผู้เรียนใช้เหตุผล ไม่เป็นและไม่มีวุฒิภาวะ “ก่อนที่จะก�ำหนดนโยบายอะไรขึ้นมาก็ อยากให้รับฟังเสียงของเด็กให้มากขึ้น เพราะ เด็กก็มีเหตุผลเหมือนกัน และเด็กเป็นคนที่ ได้รับผลกระทบจากการศึกษาอยู่แล้ว เพราะ ฉะนั้ น เขารู ้ ว ่ า สิ่ ง ไหนเหมาะสมกั บ ตั ว เขา เป็นสิ่งที่เขาได้ใช้ประโยชน์ หรือสิ่งไหนมีโทษ กับเขา” ด้าน ผศ.อรรถพล โยงไปถึงวัฒนธรรม ข้ า ราชการที่ ค อยแต่ รั บ ค� ำ สั่ ง จากเบื้ อ งบน เขาบอกว่าโรงเรียนก็คือหน่วยงานราชการที่ ไ ม ่ ไ ด ้ มี อิ ส ร ะ เ ต็ ม ร ้ อ ย แ ม ้ แ ต ่ ค รู ห รื อ ผู้ปกครองก็ไม่ค่อยมีโอกาสได้ตัดสินใจ ไม่ต่างจากผู้เรียน “จริงๆ ไม่ใช่แค่เด็ก ขนาดผู้ปกครองยัง ไม่มีสิทธิส่งเสียงเลย อย่างเรื่องจะมีเรียนฟรี 15 ปีหรือเปล่า มันกระทบผู้ปกครองเด็ก เมื่อ คนที่จ่ายตังค์คือพ่อแม่เด็ก คุณจะตัดสินใจ แทนได้ อ ย่ า งไร ขนาดเราเป็ น ประชาชน เป็นผู้ใหญ่เรายังไม่มีสิทธิส่งเสียงเลย แล้ว นับประสาอะไรกับเด็ก” เขายั ง กล่ า วว่ า สั ง คมไทยก็ ยั ง เป็ น สังคม “อ�ำนาจนิยม” มีชนชั้น มีผู้ใหญ่-ผู้น้อย และระบบการศึ ก ษาก็ คื อ ภาพสะท้ อ นของ ภาพใหญ่ ดังนั้นสังคมภายนอกเป็นเช่นไร ระบบการศึกษาก็เป็นเช่นนั้น “โรงเรี ย นหรื อ มหาวิ ท ยาลั ย มั น ก็ คื อ ‘สั ง คมย่ อ ส่ ว น’ มั น ไม่ ใ ช่ ไ ก่ กั บ ไข่ อ ะไรเกิ ด ก่ อ นกั น มั น มาด้ ว ยกั น เพราะฉะนั้ น เมื่ อ สังคมนอกโรงเรียนยังเป็นสังคมที่เน้นอ�ำนาจ นิยม โรงเรียนก็สะท้อนภาพนั้นอยู่ดี” อย่ า งไรก็ ต าม ผศ.อรรถพลยั ง เชื่ อ ว่ า สั ง คมอ� ำ นาจนิ ย มจะเปลี่ ย นเป็ น สั ง คม ประชาธิปไตยที่เปิดพื้นที่และรับฟังเสียงของ ทุกคนได้ แต่ต้องใช้ระยะเวลา ต้องอาศัยการ เรียนรู้ รวมถึงต้องอาศัยพลังของคนรุ่นใหม่ที่ ตระหนักในบทบาทของพลเมือง และบทบาท ของผู้มีส่วนร่วมให้มากยิ่งขึ้น “การเปลี่ยนสังคมที่เป็นสังคมโครงสร้าง อ� ำ นาจนิ ย มชั ด ๆ ให้ มั น กลายเป็ น สั ง คม ประชาธิปไตย มันไม่ได้เปลี่ยนกันในเวลาอัน รวดเร็วหรอก มันต้องอาศัยการเรียนรู้ แล้ว ค่อยๆ เติบโตไปด้วยกัน และต้องอาศัยพลัง คนรุ่นใหม่ที่ตระหนักในบทบาทของตนเองใน การเข้ า มาสร้ า งการเปลี่ ย นแปลงทาง สังคม” ผศ.อรรถพลกล่าว




GENDER

14

เรื่อง-ภาพ : น�ำ้ ปาย ไชยฤทธิ์

อยากจะกินกลืนเธอทั้งตัวไม่อยากเหลือไว้ให้ใครได้กลิ่น

เชื่อว่าประชากรไทยจำ�นวนไม่น้อยเติบโต มากั บ ภาพที่ ผู ้ ห ญิ ง เป็ น รองผู ้ ช ายอยู ่ เสมอ ทัง้ กับเรือ่ งนอกบ้านอย่างตำ�แหน่ง การงาน เรื่องในบ้านที่ต้องดูแลความ เป็ น อยู ่ ข องครอบครั ว ไปจนถึ ง เรื่ อ ง “บนเตียง” ที่เพศชายสามารถพูดถึงได้ ง่ า ยๆ แต่ ก ลั บ เป็ น เรื่ อ งต้ อ งห้ า มของ กุลสตรีไปเสียอย่างนั้น แต่ ภ าพของหญิ ง สาวที่ เ ขิ น อายจน หน้าแดงยามได้ยินเรื่องทะลึ่งตึงตังอาจเป็น เรื่องล้าสมัยไปแล้ว เมื่อในยุคนี้ ดาราชาย หรือนายแบบคนไหนทีก่ ำ� ลังอยูใ่ นกระแสจน ถูกยกให้เป็น “สามีแห่งชาติ” ต่างต้องเคยเจอ ข้อความชวนหวิวจากผูห้ ญิงบนโลกออนไลน์ จนเป็นเรือ่ งปกติ ไม่วา่ จะเป็นการเปรียบด้วย อาการ “เห็ น แล้ ว น�้ ำ เดิ น ” การบรรยาย กิจกรรมเสียว “จะเลียตั้งแต่ลูกบิดประตูไป จนถึงเตียงนอน” หรือการท้าทาย “บอกมา คืนนีอ้ ยากได้กที่ ”ี และอืน่ ๆ ทีต่ อ้ งเซ็นเซอร์อกี มากมาย “โอ๊ย ในเฟซบุ๊กเวลาเราไลฟ์ (ถ่ายทอด สด) นะ บ่อยจะตาย เคยเจออารมณ์ว่า ‘มา XXX หนูที’ อะไรพวกนี้ เออมันก็โหดอยู่นะ” เบสท์ — ณั ฐ สิ ท ธิ์ โกฏิ ม นั ส วนิ ช ย์ นักแสดงทีก่ ำ� ลังตกเป็นเป้าของความเห็นเชิง แทะโลม (และโลมเลี ย ) เล่ า พร้ อ มเสี ย ง หัวเราะ ก่อนบอกว่าความเห็นประมาณนีเ้ ริม่ ก่ อ ตั ว ตั้ ง แต่ ช ่ ว งที่ เ ริ่ ม ถ่ า ยทอดสดทาง เฟซบุ๊กของตัวเองด้วยซ�้ำ “แรกๆ ก็เริม่ มีแล้ว แต่หลังๆ มันเริม่ เยอะ ขึ้น เราก็รู้สึกว่าท�ำไมคอมเมนต์ (แสดงความ เห็น) กันโหดจังเลยวะ แต่เราก็เฉยๆ แหละ เราไม่ค่อยใส่ใจอ่านอะไรพวกนี้ หมายถึง เวลาเราไลฟ์ (ถ่ายทอดสด) อยู่ เราเห็นเราก็ จะข้ามคอมเมนต์พวกนี้ทิ้งไป” เบสท์กล่าว

อย่างอารมณ์ดี อาจเพราะไม่ใช่แค่เขาที่ไม่ ใส่ใจค�ำพูดเหล่านี้ แต่คนรอบตัวทัง้ เพือ่ นและ แฟนก็ไม่ได้รู้สึกเดือดร้อนใจเหมือนกัน เช่ น เดี ย วกั บ อั พ — ภู มิ พั ฒ น์ เอีย่ มส�ำอาง นายแบบผูเ้ คยเป็นพรีเซนเตอร์ ให้กบั ไอศกรีมยีห่ อ้ ดังจนเป็นเหตุให้โดนถล่ม ด้วยความเห็นอย่าง “เดี๋ยวเถอะ จะเลียให้ ล้ม” หรือ “อยากให้ลองมาเลียพี่แทนไอติม บ้าง” ทีร่ สู้ กึ เฉยๆ กับแฟนคลับทีก่ รีด๊ กันอยูใ่ น ช่องแสดงความคิดเห็น แม้วา่ ความเห็นเหล่า นั้นจะเต็มไปด้วยข้อความที่ส่อถึงเรื่องเพศ ก็ตาม “ความจริงก็ไม่ได้รู้สึกอะไร เพราะว่าเรา ก็ไม่ได้จะตอบเขาอยูแ่ ล้ว” อัพเล่าด้วยท่าทาง สบายๆ สมกับที่บอกว่าชินกับเรื่องนี้ไปแล้ว “คื อ เห็ น ก็ แ ค่ เ ห็ น แค่ ป ล่ อ ยผ่ า น ไม่ ไ ด้ คิดอะไร เพราะเดี๋ยวนี้โซเชียล (สื่อสังคม ออนไลน์) มันก็เร็วเนอะ คนจะพูด จะคิด จะ ท�ำอะไร มันก็เร็วไปหมด ก็เหมือนค�ำพูดของ คน บางทีเขาก็เหมือนพูดก่อน ไม่ได้คิด” คนยุ ค เก่ า อาจตกใจกั บ ปรากฏการณ์ “สามีแห่งชาติ” ของหญิงไทย แต่สิ่งที่น่า สนใจคือ ปรากฏการณ์ทผี่ หู้ ญิงยุคใหม่ลกุ ขึน้ มากรีด๊ ผูช้ าย หรือพูดให้ชดั คือกรีด๊ ในหน้าตา และเรือนร่างอันเย้ายวนของผูช้ ายอย่างออก นอกหน้านั้นไม่ได้เกิดขึ้นแค่บนโลกออนไลน์ ของไทยเพี ย งที่ เ ดี ย ว หากแต่ ก� ำ ลั ง เป็ น ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทัว่ โลกอย่างหยุดยัง้ ไม่ อยู่เช่นกัน การที่ ห ญิ ง สาวนั บ พั น จะร่ ว มแบ่ ง ปั น “สามี ” กั น เช่ น นี้ เ ป็ น เรื่ อ งใหญ่ ข นาดที่ หนังสือพิมพ์ The Telegraph ของอังกฤษ ตี พิ ม พ์ บ ทความเรื่ อ ง Men Are Now Objectified More Than Women ซึ่งกล่าว ว่ า ผู ้ ช ายสมั ย นี้ ถู ก ท� ำ ให้ ก ลายเป็ น “วั ต ถุ

ทางเพศ” อย่างที่เพศหญิงเผชิญมาตลอด สังเกตได้จากสือ่ ทีใ่ ช้เรือนร่างของบุรษุ เพศมา เป็นจุดขายเพื่อดึงดูดแฟนคลับสาวๆ เช่น ภาพยนตร์เรือ่ ง Magic Mike ซึง่ ถ่ายทอดเรือ่ ง ราวของนักเต้นเปลื้องผ้าชายหุ่นล�่ำบึ้ก หรือ นิยายอย่าง Fifty Shades of Grey ที่ขาย พระเอกรูปร่างหน้าตากระชากใจ ฐานะมัง่ คัง่ แถมยังช�ำ่ ชองเรือ่ งอย่างว่าจนหญิงสาวหลาย คนถึงกับประกาศหามิสเตอร์เกรย์ในชีวติ จริง ของตัวเองบ้างเลยทีเดียว แน่นอนว่าถ้าเป้าของข้อความโลมเลีย เปลีย่ นจากเบสท์หรืออัพเป็นดาราหญิงสักคน เราคงมองว่ามันคือการคุกคามทางเพศไป แล้ว แต่น่าแปลกที่เมื่อเป้าหมายเป็นผู้ชาย กลับไม่คอ่ ยมีใครรูส้ กึ ถึงการคุกคาม ไม่วา่ จะ เป็นตัวนักกรีด๊ เองหรือเป้าหมายทีถ่ กู โลมเลีย ก็ตาม ค� ำ ถามคื อ ท� ำ ไมเราถึ ง ไม่ ค ่ อ ยรู ้ สึ ก เดือดร้อนกับปรากฏการณ์นี้เท่าใดนัก? แชนนอน ริดจ์เวย์ (Shannon Ridgeway) นักเขียนสายสตรีนยิ มพูดถึงเรือ่ งนีไ้ ว้ใน บทความ Can Men Be Objectified by Women? บนเว็บไซต์ everydayfeminism ว่าสังคมมักให้ค่าการแทะโลมเพศหญิงเป็น “การเหยียดเพศ” (Sexism) เพราะแต่ไหนแต่ ไรมาเพศชายก็มีสถานะในสังคมเหนือกว่า เพศหญิงอยู่แล้ว การที่เพศหญิงถูกโลมเลีย ผ่านข้อความจึงถือเป็นความรุนแรงเพราะ เหมือนเป็นการกดทับและตอกย�ำ้ สถานะทีต่ ำ�่ กว่าตั้งแต่ในยุคประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ให้มากยิง่ ขึน้ ไปอีก และผลทีต่ ามมาคือคนใน สังคมจะเลือกปฏิบตั กิ บั เพศหญิงต่างไปจาก เพศชาย ในทางกลับกัน การที่เพศหญิง “หื่น” ใส่ ผู้ชายผ่านตัวอักษรนั้น ริดจ์เวย์มองว่าไม่ใช่

การเหยี ย ดเพศในมุ ม กลั บ (Reverse Sexism) เพราะการทีเ่ พศชายถูกแทะโลมนัน้ เกิดขึน้ เพียงชัว่ คราว เรากรีด๊ หน้าท้องของคน นั้น สันกรามของคนนี้ ยกให้ผู้ชายสักคนเป็น “สามีแห่งชาติ” จนเป็นปรากฏการณ์ แต่มัน ก็จะผ่านไป คงเหลือไว้เพียงสถานะทางสังคม ที่เหนือกว่าของเพศชาย เพศชายจึงถือว่าไม่ ได้ รั บ แรงกดทั บ จากข้ อ ความหื่ น ๆ แต่ อย่างใด อีกหนึ่งแนวคิดที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่อง วัตถุทางเพศคือ “การมองเพศหญิงผ่านสื่อ ด้ ว ยสายตาของเพศชาย” (Male Gaze) ซึ่งอเล็กเซีย ลาฟาตา (Alexia LaFata) เขี ย นอธิ บ ายไว้ ใ นบทความ Why It’s Completely Okay To Objectify Men… No Really, It Is ว่าสือ่ มักท�ำให้เพศหญิงเป็นวัตถุ ทางเพศด้วยการน�ำเสนอภาพเพศหญิงผ่าน สายตาที่เพศชายใช้มอง เราจึงจะเห็นภาพ เรือนร่างของเพศหญิงทีเ่ ป็นทีด่ งึ ดูดใจจนเพศ ชายเกิด “อารมณ์” อย่างนางแบบรูปร่าง อวบอั๋นในโฆษณาสินค้าต่างๆ หรือตัวละคร หญิงทีแ่ ต่งตัวด้วยชุดทีร่ ดั รูปแม้จะก�ำลังสวม บทบาทวิ ช าชี พ ที่ จ ริ ง จั ง อย่ า งหมอหรื อ ทนายความก็ตาม การน� ำ เสนอภาพของผู ้ ห ญิ ง ที่ ก ระตุ ้ น อารมณ์ของเพศชายนีเ้ องทีช่ ว่ ยหนุนความคิด ในสังคมให้มองเพศหญิงเป็นวัตถุทางเพศ ดั ง นั้ น การพู ด จาแทะโลมร่ า งกายของ เพศหญิงจึงยิ่งตอกย�้ำว่าคุณค่าของเธอถูก จ�ำกัดอยู่แค่รูปร่างหน้าตาเท่านั้น ในขณะที่ การวิจารณ์รปู ร่างของเพศชายไม่ใช่เรือ่ งใหญ่ เพราะนอกจากรูปร่างหน้าตา เพศชายยังถูก ตัดสินด้วยคุณค่าอื่นด้วย เช่น ความฉลาด หรื อ ความสามารถด้ า นการงานอี ก ด้ ว ย ลาฟาตาจึงสรุปว่าการกรี๊ดรูปร่างของผู้ชาย นั้นเป็นเรื่องที่ “โอเค” อย่ า งไรก็ ต าม แม้ แ นวคิ ด ปั จ จุ บั น จะ โน้มเอียงไปในทางที่สนับสนุนให้ผู้หญิงกรี๊ด ร่างกายของผู้ชายได้อย่างเปิดเผย แต่ระดับ ความรุนแรงของภาษาที่ใช้กรี๊ดนั้นมีตั้งแต่ การพูดหยอกไปจนถึงการพูดจาลามกอย่าง โจ๋งครึ่มแบบที่เบสท์เคยเผชิญ ดังนั้นสิ่งที่ น่ า ตั้ ง ค� ำ ถามต่ อ ไปคื อ เส้ น แบ่ ง ของการ “หยอก” กับการ “คุกคาม” นั้นอยู่ตรงไหน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า การกรี๊ ด นั้ น จะไม่ ไ ป ล่วงละเมิดใคร และเพื่อไม่ให้ “สามีแห่งชาติ” คนไหน ต้องสะดุ้งตกใจเมื่อเห็นข้อความชวน XXX ในช่องแสดงความคิดเห็นอีกนั่นเอง




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.