Chan a b o u t
ฉบับที่ 40 ตุลาคม 2559
ศิลปวัฒนธรรม | ท่องเที่ยว | สิ่งแวดล้อม
FREE COPY
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “พระเจ้าอยู่หัว” “รัชกาลที่ 9” “ในหลวง” “พ่อ”
ผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดในโลก ผู้เป็นแบบอย่างของความพอเพียงที่สุดในโลก ผู้ทรงงานหนักที่สุดในโลก ผูท ้ รงเป็นทีร่ ก ั และเทิดทูนของชาวไทยมากทีส ่ ด ุ ในโลก
กว่า 4,000 โครงการจากพระราชด�ำริ ตลอดพระชนมายุ 89 พรรษาเพือ ่ ให้ ประชาชนอยูด ่ ก ี น ิ ดี คงไม่สามารถบรรยายได้หมดด้วยหน้ากระดาษอันน้อยนิดนี้ กองบรรณาธิการขออนุญาตบอกเล่าถึงพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ของพระองค์ผา่ น 9 เรือ่ งราวของโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ และการน้อมน�ำ แนวพระราชด�ำริมาปรับใช้ของชาวจันทบุรี “ธ สถิตกลางจันท์ นิรันดร” ข้าพระพุทธเจ้า บรรณาธิการและคณะท�ำงานนิตยสาร about Chan
ที่ปรึกษา นภา บุณยเกียรติ / อาจารย์อารีย์ ผลพฤกษา / อนงค์ศิริ หงส์ศิริธรรม / อุกฤษฏ์ วงษ์ทองสาลี / รศ. อร่าม อรรถเจดีย์ บรรณาธิการบริหาร นพรัตน์ โชติชัย กองบรรณาธิการ ปริญญา ชัยสิทธิ์ / กุสุมา เล้าเจริญ ศิลปกรรม ปรียาพรรณ สาริมาน / จิดาภา อินต๊ะคำ� นักเขียน อุรุ อุรุพงษ์ / ณัฐภัทน์ ซ้ายสุวรรณ / ธิรินทร นันทโรจนาพร ช่างภาพ นพดล โพธิโชติ / หทัยภัทร ศรีฉลวย การตลาดและโฆษณา วรรณภา นุ่มก่วน ขอขอบคุณภาพปก ทวีศักดิ์ ศรีทองดี (โลเล) ขอขอบคุณภาพจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติจันทบุรี / ถ่ายภาพทางอากาศจันทบุรี ขอขอบคุณข้อมูลจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติจันทบุรี
about Chan | 04
"เทิดไท้หทัยมั่นนิรันดร" ฤาสวรรค์สิ้นแก้วมณีศรีแดนสรวง เทพจึ่งทวงเสด็จรับกลับทิพย์สถาน อัญเชิญไท้ผ่านเผ้าเนาพิมาน ดุริยศัพท์ขับขานประโคมชัย แต่แผ่นดินสิ้นแล้วแก้วปกเกศ ทวีเทวษระทมระงมไห้ ทั้งแผ่นดินแผ่นฟ้าร�่ำอาลัย พสกไทยวิโยคย�้ำน�้ำตาพราย น�้ำตาฟ้าน�้ำตาดินรินรินหลั่ง น�้ำตาไทยถะถั่งพร่างพร่างสาย โอ้อาดูรราร้างแทบวางวาย ใจสลายพิลาปร�่ำเหลือร�ำพัน บุญแห่งไทยร่มบุญอบอุ่นหล้า บุญแห่งฟ้าร่มบุญอบอุ่นสวรรค์ เลิศราชกิจเลิศธรรมล�้ำคุณอนันต์ เลิศมิ่งขวัญเลิศหล้าเลิศฟ้าสราญ โอ้ว่าพระทูลกระหม่อมแก้ว ลาลับแล้วนิราศรักจ�ำหลักสาร จักเทิดไท้หทัยมั่นนิรันดร์กาล อธิษฐานเป็นข้ารองบาททุกชาติเทอญ ร้อยกรอง : อาจารย์อารีย์ ผลพฤกษา ภาพประกอบ : ศุภราช ปิยะธรรมวุฒิกุล
about Chan | 05
รอยพระบาทยาตรา ยังจารึก...
วันเสาร์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๙
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงประกอบพิธีเปิดอาคารผ่าตัด “ประชาธิปก” และทรงเปิ ด ป้ า ยนาม “โรงพยาบาลพระปกเกล้ า ” ซึ่งได้สร้างและจัดตั้งเป็นอนุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
about Chan | 06
วันเสาร์ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๓
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปยั ง บ้ า นโป่ ง น�้ ำ ร้ อ น ต� ำ บลโป่ ง น�้ ำ ร้ อ น อ� ำ เภอ โป่งน�ำ้ ร้อน จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานถุงของขวัญแก่นาวิกโยธิน และต�ำรวจ ตระเวนชายแดน สิ่ ง ของ เครื่ อ งอุ ป โภคแก่ ร าษฎร และเครือ ่ งเรียนให้แก่นก ั เรียน แล้วเสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงเยีย่ มราษฎรทีม ่ าเฝ้าทูลละอองธุลพ ี ระบาทรับเสด็จ
about Chan | 07
วันพฤหัสบดีท่ ี ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๔ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปยังโรงเรียนบ้านตาเรือง ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอ โป่ ง น�้ ำ ร้ อ น จ.จั น ทบุ รี ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานเครือ ่ งเรียน และเครือ ่ งแต่งกายนักเรียนชาย หญิ ง และเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงเยี่ ย มราษฎร ที่มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ
about Chan | 08
วันอาทิตย์ที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๐ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วย สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ ไปทรงเททองหล่อพระประธาน วัดเขาสุกม ิ พระราชทานธงลูกเสือชาวบ้าน และทรงเยี่ยมราษฎร ณ วั ด เขาสุ กิ ม ต� ำ บลเขาบายศรี อ� ำ เภอท่ า ใหม่ จังหวัดจันทบุรี
about Chan | 09
วันจันทร์ที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๔ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถ เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุ ม ารี ทรงเปิ ด พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ส มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ สวนสาธารณะทุง่ นาเชย อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด จั น ทบุ รี และทรงเยี่ ย มราษฎร จังหวัดจันทบุรี
about Chan | 10
วันอังคารที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดเขือ ่ นและโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ “คิรธี าร” อ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี
about Chan | 11
“ธ สถิตกลางจันท์ นิรันดร” พระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทาน ให้ แ ก่ ช าวจั น ทบุ รี นั้ น มี น านั ป การ เฉกเช่ น เดี ย วกั น กั บ ทุ ก ผื น ดิ น ที่ ร อยพระบาทได้ ย าตรา “ธ สถิ ต กลางจั น ท์ นิ รั น ดร” ได้ ร วบรวม 9 เรื่ อ งราวของโครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริและเรื่องราวของประชาชนชาวจันทบุรีส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการน้อมน�ำแนวคิด ของ “พ่ อ ” มาปรั บ ใช้ ใ นชี วิ ต ให้ ล มหายใจนี้ ไ ด้ อ ยู ่ ดี กิ น ดี พึ่ ง พาตนเองได้ อ ย่ า งพอเพี ย ง และยั่งยืน
about Chan | 12
ศูนย์ศึกษาพัฒนาฯ อนันต์ผล ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาอ่ า วคุ ้ ง กระเบนอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2524 ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินมาประกอบพิธีเปิด พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยศูนย์ศกึ ษาฯแห่งนี้ ปฏิบตั หิ น้าทีบ่ �ำรุง รักษา ฟืน้ ฟูพนื้ ทีท่ งั้ หมดนับตัง้ แต่ยอดเขาจรดทะเล รวมถึงพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ อีกทัง้ ยังเผยแพร่ความรูใ้ นเรือ่ งของป่าชายเลน สัตว์นำ�้ ในทะเล การท�ำนากุง้ ธนาคารปู ปะการังเทียม การท�ำเกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ฯลฯ เพือ่ คงไว้ซงึ่ ความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ นับเป็นภารกิจทีย่ ง่ิ ใหญ่ของเหล่าผูป้ ดิ ทองหลังพระอย่างแท้จริง พบกับเรือ่ งราวของศูนย์ฯ แห่งนีผ้ า่ นสายตาของ “ผอ.ประจวบ ลีรกั ษาเกียรติ” ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ
กว่า 35 ปีของการด�ำเนินงานศูนย์ศึกษาการพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ “ผมอยู่ที่ศูนย์ฯ นี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2529 จนถึงปี พ.ศ.2552 ท�ำตัง้ แต่ทนี่ ยี่ งั ไม่มอี ะไรจนพัฒนามาถึงระดับนี้ ต่อมา พ.ศ.2552 ผมก็ ย้ายไปเป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯที่ตราด ประมาณสัก 2 ปีครึ่ง ก็ย้ายไป ช่วยงานทีโ่ ครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างตามพระราชด�ำริทจี่ งั หวัดเพชรบุรี อีกประมาณ 2 ปีครึง่ จากนัน้ ก็ยา้ ยกลับมาทีน่ อี่ กี ครัง้ คงเป็นบุญบารมี ทีเ่ ราได้มาจากการสนองพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ”
about Chan | 13
“ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอ่าวคุง้ กระเบนอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ เราด�ำเนินงานสนองตามพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก็เนื่องจากว่าในอดีตที่ผ่านมา จังหวัดจันทบุรี มีปญั หาทีส่ ง่ ผลกระทบกับชาวบ้าน ในเรือ่ งทรัพยากรธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็น ป่าไม้หรือป่าชายเลน ทรัพยากรประมงเสือ่ มโทรมไปตามกาลเวลา ตลอดจน น�้ำทะเลรุกเข้าไปในพื้นที่การเกษตร นี่คือปัญหาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ท่านทรงทราบและท่านก็ให้ศนู ย์ฯ ด�ำเนินการแก้ไขปัญหา” “เราด�ำเนินการร่วมกับหลาย ๆ หน่วยงาน พัฒนาจากยอดเขา ลงสูท่ อ้ งทะเล เพราะว่าในการท�ำงาน มันมีความเกีย่ วเนือ่ งกัน บนภูเขา ก็เป็นเรื่องการอนุรักษ์ดิน น�้ำ ป่า แล้วก็ฟื้นฟูให้เกิดความสมบูรณ์ จนปัจจุบันนี้เราสามารถอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าได้ 11,370 ไร่ เป็นป่าที่ เขียวขจีตลอดทั้งปี” “เมือ่ มีปา่ ไม้แล้วก็มนี ำ�้ นำ�้ ก็จะไหลซึมมาทางด้านล่าง ซึง่ ข้างล่าง ก็คอื การพัฒนาอาชีพทางด้านการเกษตรให้กบั ชาวบ้าน ไม่เฉพาะในพืน้ ที่ แต่รวมถึงชาวบ้านทีอ่ ยูใ่ นจังหวัดใกล้เคียงด้วย เช่น การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ การปลูกมะนาว การปลูกหม่อน หรือในด้านปศุสตั ว์ ท�ำให้คณ ุ ภาพชีวติ เขาดีขนึ้ แล้วเราก็มเี รือ่ งการแปรรูปผลผลิตทางด้านการเกษตร อันนีค้ อื
พื้นที่แนวราบเสร็จแล้ว ก็มีการดูเรื่องการฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน ปัจจุบันนี้ป่าชายเลนรอบอ่าวคุ้งกระเบนกับพื้นที่ใกล้เคียง เราสามารถ ฟืน้ ฟูขนึ้ มาได้ 1,300 ไร่ จากเดิมทีม่ แี ค่ 610 ไร่ เป็นความร่วมมือระหว่าง ชาวบ้านกับหน่วยงานราชการ ท�ำการปลูกป่าให้เราหรือผูท้ มี่ าศึกษาดูงาน มีสว่ นร่วมในการปลูก ฉะนัน้ ตรงนีก้ จ็ ะเป็นแหล่งแพร่ขยายพันธุส์ ตั ว์นำ�้ ที่ส�ำคัญ ซึ่งเป็นประโยชน์กับชาวประมงในพื้นที่อ่าวคุ้งกระเบนด้วย” “พืน้ ทีท่ ม่ี นั เสือ่ มโทรมแล้วและไม่สามารถฟืน้ ฟูปา่ ได้ เราเอามา พัฒนาด้วยการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล หรือภายในอ่าวคุ้งกระเบน เราก็มี การอนุรกั ษ์หญ้าทะเล เพราะว่าหญ้าทะเลในสมัยทีผ่ า่ นมาเสือ่ มโทรมมาก มีพื้นที่อยู่ประมาณ 600 กว่าไร่ ปัจจุบันนี้เรามีหญ้าทะเล 1,245 ไร่ แหล่งหญ้าทะเลจะมีความสำ�คัญ 3 ประการ 1.เป็นตัวดูดซับธาตุอาหาร ทีเ่ กิดจากการเลีย้ งกุง้ 2.เป็นแหล่งวางไข่หรืออนุบาลของสัตว์นำ�้ วัยอ่อน 3.แหล่ ง หญ้ า ทะเลนี้ คื อ อาหารของพะยู น สั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม ที่ใกล้สูญพันธุ์ในอดีตในอ่าวคุ้งกระเบน ซึ่งหายไปเกือบ 30 กว่าปี ปัจจุบนั นีก้ ม็ ชี าวประมงพบพะยูนเข้ามาหากินในอ่าวคุง้ กระเบน แล้วก็ อพยพออกไป เพราะพะยูนไม่ใช่สตั ว์ประจ�ำถิน่ เขาจะเคลือ่ นทีไ่ ปเรือ่ ย ๆ แล้วเรายังมีการท�ำบ้านปลา ธนาคารปูมา้ เพือ่ เพิม่ ปริมาณสัตว์นำ�้ ด้วย”
about Chan | 14
“สิ่งเหล่านี้ก็เป็นการดำ�เนินงานของศูนย์ฯ แห่งนี้ ที่เรียกว่า การดำ�เนินการจากยอดเขาลงสูท่ อ้ งทะเล แล้วเราไม่ได้ท�ำ เฉพาะในพืน้ ที่ คือบางอย่างที่เราทำ�แล้ว แล้วมีคนที่มาดูงานของเราแล้วเขาอยากจะ ให้เราไปช่วย ให้เราไปให้ความรู้กับเขา เช่น การสร้างบ้านปลา ตอนนี้ เราไปทำ�ทีป่ ราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ไปทำ�ทีช่ มุ พร ไปทำ�ทีภ่ เู ก็ต เราไปให้ความรูแ้ ละสอนเขาเสร็จแล้ว เราก็หารือกับภาคเอกชนทีอ่ ยูใ่ น พื้นที่จังหวัดนั้น ร่วมเป็นเจ้าภาพ” “ทางศูนย์เราทำ�รายงานเสนอไปทุกปี พระองค์ทา่ นก็ยงั ไม่ถงึ กับ พระราชทานคำ�แนะนำ�อะไรมา แต่วา่ มีอยูป่ หี นึง่ ทรงพระราชดำ�ริเกีย่ วกับ การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ� สมัยที่เรานิยมเลี้ยงกุ้งกุลาดำ�กัน เพราะว่าในอ่าว ก็มีโครงการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ�มาตั้งแต่ปี 2530 พระองค์ท่านตรัสถึง การเลีย้ งกุง้ กุลาดำ�ทีบ่ อกว่าทำ�ไม่เป็น ทำ�ให้เกิดมลพิษ แต่ถา้ เลีย้ งให้ถกู วิธี สามารถเลีย้ งได้ไม่กอ่ มลพิษ อันนีค้ อื สิง่ ทีพ่ ระองค์ทา่ นพระราชทานมาให้ เราก็นอ้ มนำ�แนวพระราชดำ�ริของพระองค์ทา่ นมาดูแล้วก็ปรับประยุกต์ เป็นการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ�แบบยั่งยืนอย่างทุกวันนี้”
แบ่งปันและยืนได้ด้วยตนเอง “อย่างที่ได้เรียนไปแล้วว่ามันมีความต่อเนื่องกัน เช่นนั้น ก็ตอ้ งดำ�เนินการตัง้ แต่ยอดเขาลงสูท่ อ้ งทะเล ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการเกษตร เรือ่ งข้าว เรือ่ งปลูกพืชผักปลอดสารพิษ หรือทีเ่ ราไปส่งเสริมการปลูกหม่อน เมือ่ เกษตรกรมาอบรม เราจะสนับสนุนกิง่ ให้เขา 30 กิง่ ต่อคน แต่มขี อ้ แม้ ว่าถ้าคุณเอาไปปลูกแล้ว ต้นหม่อนทีใ่ ห้ผลแล้วสามารถชำ�กิง่ ได้ ให้ช�ำ กิง่ คืนเรา 30 กิง่ แล้วเราก็จะเอากิง่ นีไ้ ปให้คนอืน่ ต่อ เพราะว่าเป็นการสอน ให้เขามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือคนอื่น หรือการเลี้ยงไก่ไข่ เราก็จะ สนับสนุนให้เขาเรียนรูก้ อ่ น อาจจะเป็นไก่ 5 – 10 ตัว แต่วา่ คุณต้องคืนไข่ ให้เรา 1 แผง ก็คือ 30 ฟอง เราก็จะเอาไปขายบ้างหรือให้ที่ศูนย์ เด็กเล็กบ้าง” “เกษตรกรต้องเรียนรู้ แล้วยืนบนขาตัวเอง เพราะว่าทางศูนย์ คงไม่ได้สนับสนุนทุกสิ่งทุกอย่าง อันนี้คือสิ่งที่เราไปทำ� แล้วพยายาม จะต่อยอด จนกระทัง่ ปัจจุบนั ก็มพี ่ี ๆ น้อง ๆ เกษตรกรทีเ่ ป็นศูนย์เรียนรู้ 13 ศูนย์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องผึ้งชันโรง เห็ด ประมงการเลี้ยงกุ้ง พืชผัก ปลอดสารพิษ หรือการแปรรูปอืน่ ๆ เช่น มังคุด ข้าวเกรียบ หอยนางรม”
about Chan | 15
พระราชด�ำริ “การท่องเที่ยวเชิงพัฒนา”
ศูนย์ฯ แห่งนี้คือสมบัติส่วนรวมของประชาชน
“ในขณะเดียวกันเราก็ไม่ลืมในเรื่องการท่องเที่ยว เพราะ เป็นรายได้หลักของประเทศไทยในปัจจุบนั นี้ คือพระองค์ทา่ นมองการณ์ไกล ไว้แล้ว ท่านบอกว่าศูนย์ศึกษาฯ ไม่ใช่โรงเรียน ไม่ใช่มหาวิทยาลัย ท่านได้ให้ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริทง้ั หมด 6 ศูนย์ ปรับกิจกรรมทัง้ หมดให้เป็นเรือ่ งการท่องเทีย่ ว เราเรียกว่า “การท่องเทีย่ ว เชิงพัฒนา” ฉะนั้นทุกสิ่งทุกอย่างที่ทำ�ไป นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาดู เข้ามาเรียนรู้ได้ ได้ความรู้ทางวิชาการเอาไปใช้ประโยชน์ได้ เอาไป ประกอบอาชีพได้ ในขณะเดียวกันเขาก็มีความสุข ความสบายใจ ความเพลิดเพลินในการเรียนรูด้ ว้ ย เฉพาะปีนก้ี ม็ ผี ทู้ เ่ี ข้ามาศึกษามาดูงาน มาท่องเทีย่ วทีศ่ นู ย์ศกึ ษาพัฒนาอ่าวคุง้ กระเบน ประมาณ 1,009,000 คน”
“เมื่อศูนย์ฯมาอยู่ตรงนี้ เราก็พัฒนาสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา ฉะนั้น จะเห็นว่าทางด้านสาธารณูปโภคเจริญมากถ้าเราเปรียบเทียบในอดีต กลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ทุกคนก็ได้ประโยชน์จากสิง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่านพระราชทานไว้ให้ ซึ่งมันก็จะเป็นประโยชน์ของเขา แต่เราก็อยากจะให้ผู้ที่ได้รับประโยชน์ช่วยกันดูแล ช่วยกันบริหาร เพราะอันนี้คือสมบัติส่วนรวม เป็นสมบัติของชุมชน คือก็ต้องช่วยกัน คิดว่านีค่ อื สิง่ ทีพ่ ระองค์ทา่ นพระราชทานให้เกิดประโยชน์กบั พืน้ ที่ ดังนัน้ ควรจะช่วยกันดูแล อย่าหวังแต่ว่าใช้ประโยชน์ตัวเองอย่างเดียว”
about Chan | 16
about Chan | 17
about Chan | 18
แนวพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกีย ่ วกับโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรอ ี ันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระราชวโรกาสให้ คณะมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ และ มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเข้าเฝ้าฯ ณ พระราชวังไกลกังวล ทรงมีพระราชด�ำริโดยสรุปได้วา่ จังหวัดจันทบุรี ประสบปัญหาอุทกภัย เนือ่ งจากมีถนน 3 สายขวางกัน้ เส้นทางน�ำ้ วิธแี ก้ไขคือต้องไปส�ำรวจดู ว่าน�้ำมันผันมาจากทางไหนแล้วหาช่องระบายน�้ำให้สอดคล้องกัน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2546 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานพระราชด�ำริแก่คณะมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ความ ตามหนึ่งว่า “และมีแห่งหนึ่งที่ยังไม่ได้ท�ำโครงการ และก็เคยได้มี ภัยพิบตั แิ ล้ว ก็คอื จังหวัดจันทบุรี นีบ่ อกเอาไว้ปนี กี้ ย็ งั มีทา่ จะนำ�้ ท่วม ถ้าทางจังหวัดเดีย๋ วนีก้ ส็ ามารถถามเขาได้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดมีอ�ำนาจ ทางจังหวัดพิจารณาวิธีที่จะป้องกันไม่ให้น�้ำท่วมที่จันทบุรี ก็เชื่อว่า ป้องกันไม่ให้นำ�้ ท่วมได้ตลอดกาล เพราะว่าทีจ่ นั ทบุรนี นั้ มีการสร้างถนน กั้นน�้ำคือไม่ใช่เขื่อนกั้นน�้ำ เขื่อนกั้นน�้ำนี่เขาก็เอะอะเอ็ดตะโรแล้ว แต่ถนนกัน้ น�ำ้ นีน่ า่ จะเอ็ดตะโรมากกว่า มีถนน 3 สายขนานกันทีก่ นั้ น�ำ้ วิธีท่ีจะท�ำก็ต้องดูว่าน�้ำมันลงมาที่ไหนก็ดูได้ถ้าผู้ว่าราชการจังหวัด ไปดูกจ็ ะเห็นได้ ไปส�ำรวจดูวา่ นำ�้ จะลงทางไหน แล้วก็ได้ท�ำการระบายน�ำ้ คือช่องระบายทีส่ อดคล้องกัน และถึงเวลาฝนลงมา น�ำ้ ลงมา ก็สามารถ ที่จะระบายออกไปได้ ไม่มีปัญหา สามารถที่จะระบายน�้ำออกไป ไม่ให้ประชาชนเดือดร้อน ถ้าถึงเวลาต้องการนำ�้ เก็บเอาไว้ ก็มที �ำเป็น ประตูนำ�้ กักเอาไว้ไม่ให้นำ�้ ไหลไปโดยไร้ประโยชน์ แต่ถงึ เวลาก็ปล่อยน�ำ้ ออกไปได้ ทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ ก็คอื ทีเ่ พชรบุรี ปีหน้าถ้าท�ำโครงการให้ส�ำเร็จ เรียบร้อยแล้ว ปีหน้าน�้ำไม่ท่วม ที่ชุมพรผ่านมาแล้ว ท�ำโครงการ และอาจจะต้องเพิ่มเติมอีกหน่อย น�้ำก็จะไม่ท่วมที่จันทบุรีถ้าท�ำ น�้ำก็ไม่ท่วม ฉะนั้นราชประชานุเคราะห์ อาจจะไปช่วยดูได้ว่าน่าจะ เป็นอย่างไร ไม่ใช่วา่ ราชประชานุเคราะห์เป็นช่างชลประทาน แต่วา่ ไปกระตุ้นช่างชลประทานและไปกระตุ้นช่างกรมทาง ไปกระตุ้น ขอให้ มี ง บประมาณ เพื่ อ ที่ จ ะท�ำโครงการป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ น�้ ำ ท่ ว ม ก็น่าจะท�ำได้”
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2551 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริกับนายสุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการ บริหารสถาบันสารสนเทศทรัพยากรนำ�้ และการเกษตร ณ พระต�ำหนัก เปี่ยมสุข วังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สรุปบางส่วนได้ดังนี้ - จากภาพนำ�้ ท่วมบ่าข้ามถนนสาย 42 หาดใหญ่ - ปัตตานี นัน้ ทรงรับสัง่ ว่า “ให้กรมชลประทานกับกรมทางหลวงร่วมท�ำงานแก้ไข” และทรงรับสัง่ ถึงนำ�้ ท่วมบ่าถนนในพืน้ ทีอ่ �ำเภอแกลง จังหวัดระยอง และทุ่งสระบาป จังหวัดจันทบุรีด้วย - “พืน้ ทีจ่ งั หวัดจันทบุรี ระยอง และชลบุรี ว่า พืน้ ทีเ่ ป็นเขา อยูใ่ กล้ชายหาด ฝนก็พอ แต่การจัดเก็บท�ำได้ยาก เนือ่ งจากพืน้ ทีจ่ ากเขา ทีล่ าดลงมาถึงชายฝัง่ นัน้ ท�ำให้นำ�้ ไหลได้เร็วเก็บไว้ล�ำบาก นำ�้ มานอง ท่วมตามแนวถนน หากช่วงฤดูฝนระบายน�ำ้ ทิง้ ทะเลแก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วม ก็จะขาดน�้ำในช่วงฤดูแล้ง” ทรงรับสั่ง “ให้ศึกษาหาแนวทางแก้ไข จัดการนำ�้ ให้พอดี” และทรงยำ�้ เรือ่ ง “เรือ่ งการประสานความร่วมมือกัน” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่ อ คลองผั น น�้ ำ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด�ำริ ว ่ า “คลองภักดีร�ำไพ” มีความหมายคือ คลองที่แสดงความจงรักใน สมเด็ จ พระนางเจ้ า ร�ำไพพรรณี พระบรมราชิ นี ในรั ช กาลที่ 7 (หนังสือเลขที่ รล 0008.2/5448 ส�ำนักราชเลขาธิการ วันที่ 3 มีนาคม 2559) และต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ เป็นภาษาอังกฤษว่า “Bhakti Rambhai Canal”
ที่ตั้งโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี (คลองภักดีร�ำไพ) โครงการบรรเทาอุ ท กภั ย เมื อ งจั น ทบุ รี ตั้ ง อยู ่ ใ นลุ ่ ม น�้ ำ แม่นำ�้ จันทบุรตี อนล่าง บริเวณอ�ำเภอเมืองจันทบุรี ซึง่ คลองผันน�ำ้ สายใหม่ และอาคารประกอบต่าง ๆ จะครอบคลุมพืน้ ทีบ่ างส่วนในเขตเทศบาล ต�ำบลจันทนิมิต เทศบาลต�ำบลเกาะขวาง ต�ำบลคลองนารายณ์ ต�ำบลหนองบัว เทศบาลต�ำบลหนองบัว เทศบาลต�ำบลพลับพลานารายณ์ และต�ำบลท่ า ช้ า งในเขตอ�ำเภอเมื อ งจั น ทบุ รี พิ กั ด แผนที่ 1 : 50,000 พิกัด 48 PSU 882 – 976 ระวาง 5434 III
about Chan | 19
“ภักดีร�ำไพ” ผันธารผ่านกังวล กว่ า จะเป็ น คลองภั ก ดี ร� ำ ไพ...
เชิญพระราชกระแสรับสั่งมาว่า การแก้ไขปัญหาของจันทบุรีนี้ ให้จัดท�ำ รายงานความก้าวหน้าของโครงการ ดังนัน้ ผอ.เองทีอ่ ยูใ่ นหน้าทีข่ องวิศวกร ปัจจุบนั โครงการคลองภักดีร�ำไพด�ำเนินการแล้วเสร็จ เป็นโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริของกรมชลประทาน ก็เป็นคนท�ำ บรรเทาอุ ท กภั ย โครงการสุ ด ท้ า ยที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร- รายงานถวายไป ก็ยังคิดว่า พระองค์ท่านอยู่ถึงวังไกลกังวล ท�ำไมท่าน มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชได้ ท รงพระราชทานให้ กั บ ชาวจั น ทบุ รี โดย ตรัสถึงจันทบุรี” ความรับผิดชอบด้านการก่อสร้างของโครงการชลประทานจันทบุรี “เนือ่ งจากโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี เป็นโครงการ ท�ำงานบู ร ณาการร่ ว มกั บ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี และหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ขนาดใหญ่ ที่ ต ้ อ งใช้ ง บประมาณจ�ำนวนสู ง เราจ�ำเป็ น ต้ อ งศึ ก ษา “ผอ.ไพฑูรย์ เก่งการช่าง” ผู้อ�ำนวยการโครงการชลประทานจันทบุรี เรื่องสิ่งแวดล้อมก่อน จากนั้นก็เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อเปิดโครงการ เมือ่ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2552 ถึงปัจจุบนั ก็ด�ำเนินการแล้วเสร็จ เราได้รบั ได้ให้เกียรติมาถ่ายทอดเรื่องราวตลอดการท�ำงานให้เราฟัง “กรมชลประทานในระยะเร่งด่วน เราก็ด�ำเนินการ ขุดลอกคลอง พระราชทานชื่อคลองว่า “ภักดีร�ำไพ” หมายถึงว่าคลองที่แสดงความ ขุ ด ลอกแม่ น�้ ำ จั น ท์ บ างส่ ว น ได้ รั บ งบประมาณจากส�ำนั ก งาน จงรักภักดีตอ่ สมเด็จนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระราชินใี นรัชกาลที่ 7 เนือ่ งจาก คณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณีได้เสด็จมาพ�ำนักทีจ่ นั ทบุรอี ย่างยาวนาน (กปร.) ในการขุดลอกแม่น�้ำจันท์และสร้างอาคารต่าง ๆ ประมาณปี ถึง 17 ปี ท่านรักเมืองจันทบุรมี าก เหตุทจี่ �ำเป็นต้องเป็นขายวังสวนบ้านแก้ว พ.ศ.2547 ก็จะมีฝนตกหนักอีก ท่านก็ทรงห่วงใย ทัง้ ๆ ทีพ่ ระองค์ทา่ น เพราะเศรษฐกิจของประเทศก�ำลังล�ำบาก ช่วงนัน้ เป็นช่วงเปลีย่ นแปลง อยู ่ ที่ พ ระราชวั ง ไกลกั ง วล แล้ ว ยั ง ให้ ท ่ า นพลตรี พ ยงค์ สุ ข มา การปกครอง แล้วก็เรื่องสุขภาพของท่านด้วย ท�ำให้ท่านต้องเสด็จ นิวัติพระนคร” about Chan | 20
“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เอง ท่านมีความผูกพันกับสมเด็จ พระนางเจ้าร�ำไพพรรณี เนื่องจากทรงเป็นพระญาติกัน ท่านก็อยากให้ คนจันทบุรไี ด้ระลึกนึกถึงคุณงามความดีของสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี ทีไ่ ด้ท�ำความดีให้กบั ชาวจันทบุรี ทีเ่ ราจะเห็นอยู่ ก็มโี รงพยาบาลพระปกเกล้า การทอเสือ่ จันทบูร การท�ำสวนตัวอย่างเหมือนเป็นชาวสวนคนหนึง่ รวมถึง พระราชจริยวัตรที่เรียบง่ายของพระองค์ท่าน”
สายพระเนตรอั น ยาวไกล สู ่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หา อย่างยั่งยืน
“การท�ำงานตามแนวทางพระราชด�ำริคือ ต้องไม่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนต่อชาวบ้าน ต้องเยียวยาอย่างสุดความสามารถ เราใช้ แนวคลองเดิมให้มากทีส่ ดุ ในส่วนทีต่ อ้ งผ่านเมืองหรือบ้านชาวบ้านเราก็ใช้ การก่อสร้างก�ำแพงแนวตั้งตรง เพื่อที่จะกินพื้นที่ของชาวบ้านน้อยลง” “ในปี พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา เราเห็นน�้ำท่วมมาตั้งแต่พัทยา ชลบุรี ระยอง แต่ที่จันทบุรีไม่ท่วมเลย คนก็แปลกใจ เพราะก็ไม่รู้ว่า คลองภักดีร�ำไพได้ก่อสร้างแล้วเสร็จ ตรงสะพานวัดจันทนารามที่เคยมี ธงปัก แดง เหลือง เขียว อีกหน่อยอาจจะไม่ได้ใช้อีกแล้ว”
“ในแต่ละปีที่น�้ำท่วมเราเสียหายเป็นพันล้าน 5 ปีก็ 5,000 ล้านบาท ในขณะทีโ่ ครงการนีใ้ ช้งบประมาณ 3,500 ล้านบาท พระเจ้าอยูห่ วั ท่านจึงตรัสว่า “ขาดทุนของฉัน คือก�ำไรของประชาชน” พวกเราในฐานะ ชาวจันทบุรีก็ควรที่จะหวงแหนและรักษาสมบัติที่พระองค์ท่านได้ พระราชทานให้ไว้ อยากจะขอความร่วมมือทุกคนให้ช่วยกันรักษา ความสะอาด ช่วยกันรักษาความมัน่ คงของคลอง อยากให้เป็นปอดหรือ สวนสาธารณะของจังหวัดจันทบุรี มองให้เห็นคุณค่าในหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่างที่ปรากฏจากคลองแห่งนี้” “วันนีท้ พี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีไ่ ด้ พระราชทานชือ่ คลองว่า “คลองภักดีร�ำไพ” ก็ถอื ว่าเป็นของขวัญชิน้ สุดท้าย ทีไ่ ด้มอบให้กบั ชาวจันทบุรี เป็นตัวแทนของพระมหากรุณาธิคณ ุ ซึง่ ก่อให้เกิด ประโยชน์ทั้งช่วงน�้ำหลากและช่วงน�้ำแล้ง ก็จะมีน�้ำตรงนี้ประมาณ 2,000,000 ลูกบาศก์เมตร ในการอุปโภคบริโภค ซึ่งพระองค์ท่านได้ แก้ไขปัญหาให้ชาวจันทบุรีอย่างยั่งยืน”
about Chan | 21
“ฉันขอโทษ ฉันเข้าใจผิด” เรื่องเล่าจากการถวายรายงาน “ก่อนที่จะลาออกมาท�ำงานที่นี่ ผมท�ำงานเป็นหัวหน้ากลุ่ม งานโครงการพระราชด�ำริ กรมชลประทาน มีหน้าที่รับเสด็จที่ต่าง ๆ ที่ ท ่ า นเสด็ จ พระราชด�ำเนิ น ไปทั้ ง พระบาทสมเด็ จ เจ้ า อยู ่ หั ว และ พระบรมวงศานุวงศ์ แล้วก็ถวายงานด้านวิศวกรรม รวมถึงท�ำรายงาน ถวายท่ า นและเสนอความเห็ น ท่ า นจะโปรดงานที่ เ ป็ น แผนที่ แ ละ รูปภาพครับ พระองค์ท่านทรงมีพระปรีชาสามารถด้านแผนที่มาก เขียนไม่ต้องมาก 1-2 หน้าก็พอ” “ครัง้ หนึง่ ผมเคยเขียนรายงานถวายท่านไป เราเขียนในนัน้ ว่า “นำ�้ หลากไหล” พระองค์ทา่ นแก้มาเป็น “นำ�้ หลักไหล” ทางเจ้าหน้าที่ ส�ำนักราชเลขาธิการก็เขียนถวายไปว่า “ปริมาณน�้ำหลากไหล” แล้ว พระองค์ท่านเขียนมาว่า “ฉันขอโทษ ฉันเข้าใจผิด” ดูสิ พระองค์ท่าน เป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้วเขียนค�ำว่า “ขอโทษ” คือพระองค์ทา่ นเป็นคนที่ รับฟังความคิดเห็น ไม่อย่างนัน้ พระองค์ทา่ นจะนัง่ ลงกับพืน้ เพือ่ จะถาม ความเห็นจากชาวบ้านหรือ” “ทั่วโลกยกย่องท่านทุกวันนี้ เพราะ “เศรษฐกิจพอเพียง” ถ้าเราไม่อยากได้อยากมีมาก ทุกอย่างมันอยูไ่ ด้ สิง่ ทีจ่ ะต้องท�ำโดยเฉพาะ
ชาวบ้านทั่วไป คือการปลูกผักกินเอง ท�ำเอง อย่างที่ท่านลงมือท�ำเอง ในพระต�ำหนักจิตรลดา ถ้าจะท�ำความดีตอบแทนในหลวงนะครับ ง่าย ๆ เลยก็คอื หาผักกินเอง ท�ำตัวเองให้เป็นคนดี แล้วสังคมก็จะอยูไ่ ด้ครับ”
แนวทางการพัฒนาโครงการ คลองภักดีร�ำไพต่อจากนี้ “เราอยากเน้นเรื่องของการจัดภูมิทัศน์ การมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน ประชาชน เราอยากจะเน้นย�้ำที่สุดในเรื่องของการรักษา ความสะอาด ความเรียบร้อย และความมัน่ คงของคลอง ซึง่ เราไม่อยากให้ คนใดคนหนึ่งมาใช้ประโยชน์ในสิ่งที่ไม่ถูกต้องกับสมบัติของส่วนรวม” “ก่อนที่พระองค์จะเสด็จสวรรคต ทางกรมชลประทานได้ กราบบังคมทูลเมือ่ ปี พ.ศ.2558 เพือ่ เชิญเสด็จเปิดโครงการคลองภักดีร�ำไพ เราก็ได้รับประสานจากส�ำนักราชเลขาธิการ พระองค์ท่านทรงมอบให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิดโครงการ คลองภักดีร�ำไพในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2560 ซึง่ โครงการชลประทาน ก�ำลังเตรียมสถานทีเ่ พือ่ ให้สมพระเกียรติ ทีน่ เี่ ป็นโครงการบรรเทาอุทกภัย โครงการสุดท้ายที่พระองค์ท่านได้พระราชทานและก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปัจจุบัน”
about Chan | 22
สวนไม้ผลของพ่อ...พรชาวจันท์ สวนของพ่อ... สวนของชาวจันทบุรี ปี 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลดุลยเดช มีพระราชด�ำริว่า ในอนาคตจะมีการขยายการท�ำสวนผลไม้เพิ่มขึ้นอีก จ�ำนวนมาก ถึงแม้จงั หวัดจันทบุรจี ะมีปริมาณฝนมาก จ�ำนวนวันทีฝ่ นตก กว่าครึง่ ปีจนเกิดนำ�้ ไหลหลากท่วมจังหวัดจันทบุรเี ป็นประจ�ำ แต่ฤดูแล้ง จะขาดน�้ำ พระองค์ทรงวางแนวทางการช่วยเหลือราษฎรโดยการสร้าง แหล่งนำ�้ ขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ ในล�ำธาร ล�ำคลองตามร่องเนินในรูปอ่างพวง เพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ในการเกษตร ลดปริมาณน�้ำในแม่น�้ำจันทบุรี และ ป้องกันน�้ำท่วมในอนาคต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชกระแส ให้คณะท�ำงาน โครงการพั ฒ นาตามพระราชด�ำริ ส�ำรวจพื้ น ที่ และพระราชทาน พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์จดั ซือ้ ทีด่ นิ สวนไม้ผลซึง่ มีล�ำคลองพาดผ่าน
พื้นที่ในอ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี จ�ำนวน 109 ไร่ เพื่อเตรียมวาง โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดเล็กไว้เป็นตัวอย่าง แต่ราษฎรในพืน้ ที่ ยังไม่เข้าใจปัญหา เกรงว่าจะเกิดน�ำ้ ท่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จึงมีพระราชด�ำริให้ชะลอไว้กอ่ น โดยเปลีย่ นไปสร้างอ่างเก็บน�ำ้ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ที่ราษฎรมีความต้องการ ปี 2524 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริกับ คณะท�ำงานโครงการพัฒนาตามพระราชด�ำริ ให้ตงั้ ศูนย์พฒ ั นาไม้ผลฯ ไว้เป็นตัวอย่างในการประกอบอาชีพแก่ราษฎร และสร้างแหล่งนำ�้ ไว้ใช้ ในฤดูแล้ง โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็นสวนผลไม้ จ�ำนวน 60 ไร่ สระเก็บน�้ำ จ�ำนวน 12 ไร่ และพื้นที่ว่างเปล่า จ�ำนวน 37 ไร่ เพื่อท�ำการศึกษา ทดลองทางการเกษตร โดยอยู่ในการควบคุมดูแลของกรมทหารราบ ที่ 21 รักษาพระองค์ ฯ และได้รับการสนับสนุนจากกรมชลประทาน กรมวิชาการเกษตร โดยส�ำนักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จันทบุรี
about Chan | 23
กรมพัฒนาทีด่ นิ และส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องในจังหวัดจันทบุรี ด�ำเนินการ พัฒนาระบบการปรับปรุงดิน การส่งน�้ำ และการปลูกไม้ผลตามหลัก วิชาการ เพือ่ ให้เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดความรูท้ างการเกษตรให้แก่ ประชาชนอย่างต่อเนื่อง และมีความก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ ปี 2548 พลเอกนิพนธ์ ภารัญนิตย์ ที่ปรึกษาโครงการพัฒนา ตามพระราชด�ำริ ส�ำนักราชเลขาธิการ ได้ขอความร่วมมือกับปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี ขอให้หน่วยงาน ราชการต่าง ๆ ร่วมกันปรับปรุงศูนย์พัฒนาไม้ผลฯ ตามหลักบูรณาการ ปลายปี 2557 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมายให้ ส�ำนักวิจัยและพัฒนาเกษตรเขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร ปฏิบัติหน้าที่ ผู้จัดการศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชด�ำริ จังหวัดจันทบุรี โดยเป็น ผู้รับผิดชอบหลักในการด�ำเนินการประสานอ�ำนวยการและบูรณาการ ร่วมกับก�ำลังพลทหาร จากกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ฯ (ร.21 พัน.2 รอ.) และหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อพัฒนา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้านการเกษตร
“ปัจจุบนั ศูนย์พฒ ั นาไม้ผลฯ เป็นแหล่งเรียนรูใ้ ห้เกษตรกรและ ประชาชนทัว่ ไปได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ โดยจัดท�ำศาลาเรียนรูแ้ ละจุดเรียนรู้ ได้แก่ ศาลาเฉลิมพระเกียรติ ที่น�ำเสนอประวัติศูนย์และโฉนดที่ดิน ส่วนพระองค์จ�ำนวน 109 ไร่ ศาลาเรียนรู้ด้านการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจ ของจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตล�ำไยนอกฤดู เงาะ ทุเรียน และมังคุด มีจดุ สาธิตและจุดเรียนรูก้ ารเลีย้ งชันโรงช่วยในการผสมเกสร ในผลไม้ จุดสาธิตเรื่องดิน ปุ๋ยและน�้ำหมักชีวภาพ เป็นต้น” “ส�ำนักวิจยั และพัฒนาเกษตรเขตที่ 6 จันทบุรี ได้ด�ำเนินการ ปรับพื้นที่แปลงสวนเดิม 60 ไร่ เพื่อจัดท�ำแปลงทฤษฎีใหม่จ�ำนวน 5.99 ไร่ เพื่อเป็นแปลงนาข้าว แปลงผลไม้ แปลงผัก สร้างคอกสัตว์ โรงปุย๋ หมัก โรงเพาะเห็ดและทีพ่ กั อาศัย นอกจากนีใ้ นด้านการปรับปรุง ภูมิทัศน์โดยรอบศูนย์ฯ ได้ท�ำการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ได้แก่ หม่อน รับประทานผลสดตามเส้นทางเดินภายในแปลงสวนเดิม 60 ไร่ และ ไม้ดอกไม้ประดับ พันธุ์ไม้สีเหลือง และสีม่วงซึ่งเป็นสีประจ�ำพระองค์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ” “เนือ่ งด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สวรรคต ศูนย์พัฒนาไม้ผลฯได้จัดกิจกรรมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ สวนของชาวจันทบุรี... ของพระองค์ โดยหน่วยงานบูรณาการภายใต้โครงการฯ ร่วมกันจัด ุ “เดินตามรอยทีพ่ อ่ สร้างไว้” “คุณพิณประภา ธนธีรนนท์” นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการ นิทรรศการน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคณ ส�ำนักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 ปฏิบตั หิ น้าทีผ่ จู้ ดั การโครงการ ภายในศาลาเฉลิมพระเกียรติ ขอเชิญชวนนักท่องเทีย่ วและประชาชนทัว่ ไป ศู น ย์ พั ฒ นาไม้ ผ ลตามพระราชด�ำริ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี พาเราเดิ น ชม ได้เข้ามาเยี่ยมชมและสัมผัสบรรยากาศสวนผลไม้เมืองจันท์แห่งนี้ ที่เปรียบเสมือนเป็น “สวนของพ่อ” … “สวนของชาวจันทบุรี” “สวนของพ่อ” พร้อมเล่าให้ฟังว่า “ในพืน้ ทีส่ วนเดิมได้มกี ารปลูกไม้ผลเศรษฐกิจ ได้แก่ เงาะ ทุเรียน ลองกอง มังคุด และล�ำไย แบบผสมผสาน ในแต่ละฤดูกาลผลิตจะด�ำเนินการ เก็บเกี่ยวผลผลิต ในช่วงระหว่างเดือนเมษายน – กรกฎาคม และได้น�ำ ผลไม้สว่ นหนึง่ ของศูนย์พฒ ั นาไม้ผลฯ ร่วมกับผลไม้จากส่วนราชการต่าง ๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเกษตรกรในพื้นที่น�ำไปรวบรวมไว้ที่ ศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชด�ำริจังหวัดจันทบุรี ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาตามพระราชด�ำริส�ำนักราชเลขาธิการ บ้านทุ่งโตนด ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : เพือ่ น�ำขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ พระบรมวงศานุวงศ์ และมอบให้ขา้ ราชการชัน้ ผูใ้ หญ่ ราชบริพารในพระองค์ เป็นประจ�ำทุกปี” ส�ำนักงานที่ท�ำการศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชด�ำริ “ช่วงหน้าผลไม้กจ็ ะมีรายได้จากตรงนีพ้ อสมควร เราก็เอามาใช้ หมายเลขโทรศัพท์ / โทรสาร 0 3937 3136 หมุนเวียนในสวนนี้ ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาบูรณาการตรงนี้ โดยแต่ละ และ ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 หน่วยงานก็จะมีกจิ กรรมของตัวเอง เช่น กรมประมงเลีย้ งปลา กรมพัฒนา โทรศัพท์ 0 3939 7076 / 0 3939 7134 ที่ดินปลูกแฝกรอบสระ ท�ำปุ๋ยหมัก กรมชลประทานขุดลอกคลอง โทรสาร 0 3945 8765 ในวันและเวลาราชการ ท�ำขอบสระ ทางกรมวิชาการเกษตรดูแลพวกพืชผักไม้ผล แล้วก็จะมี ผึ้งชันโรงที่ศูนย์ผ้ึงเอามาลงไว้ให้ ช่วงเดือนธันวาคมปกติก็จะมีงาน “ช่วยพ่อท�ำสวน” ทัง้ หน่วยงานราชการ เกษตรกร ท้องถิน่ ระดับจังหวัด ก็จะเข้ามาช่วยกันพัฒนาที่นี่” about Chan | 24
about Chan | 25
about Chan | 26
บ้านอ่างเอ็ดชัยพัฒนาประชาสิน โครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด ต�ำบลตกพรม อ�ำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี มูลนิธิชัยพัฒนา จากผืนดินทีป่ ระชาชนน้อมเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศล สู่โครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด ต�ำบลตกพรม อ�ำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี โครงการพัฒนาป่าชุมชนแห่งนี้ เป็นโครงการแห่งเดียวของ มูลนิธิชัยพัฒนาที่มีสภาพเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ตลอดจนเป็น ผืนป่าทีเ่ หลืออยูเ่ พียงแห่งเดียวของบ้านอ่างเอ็ด ด�ำเนินการและขับเคลือ่ น ใช้งบประมาณของมูลนิธิชัยพัฒนา โดยบูรณาการกับหลายหน่วยงาน ทีเ่ ข้ามาช่วย อาทิ กรมป่าไม้ กรมวิชาการเกษตร เทศบาลต�ำบลตกพรม เจ้าของพื้นที่ ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นโครงการที่ด�ำเนินการ เกีย่ วกับด้านป่าไม้และการเกษตรด้วย เป็นแปลงสาธิตให้เกษตรกรและ นักเรียนเข้ามาเรียนรู้ศึกษา ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ.2544 เจ้าของพื้นที่คือ “ครอบครัว ลักคุณะประสิทธิ”์ ได้ขอพระราชทานน้อมเกล้าฯ ถวายทีด่ นิ จ�ำนวน 14 แปลง เนื้อที่รวม 160 ไร่ 1 งาน 46 ตารางวา ถวายที่ให้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จ�ำนวน 160 ไร่ พระองค์ทา่ นทรงรับสัง่ ในมูลนิธชิ ยั พัฒนา เข้ามาบริหารจัดการ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จึงทรงรับสัง่ ให้จดั ตัง้ โครงการพัฒนาป่าชุมชนขึน้ เพือ่ ด�ำเนินการเกีย่ วกับ สิ่งแวดล้อม ส่วนหนึ่งให้ท�ำเรื่องการเกษตร ต่อมาในปี พ.ศ.2544 ส�ำนักงานกปร. ได้เข้ามาด�ำเนินการแต่ขาดช่วงไป จากนั้นจึงเริ่ม ด�ำเนินการอย่างเต็มตัวในปี พ.ศ.2551
วั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน 2553 สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรความก้าวหน้า การด�ำเนินโครงการ และได้พระราชทานพระราชด�ำริ ดังนี้ - ให้ส�ำนักงานมูลนิธชิ ยั พัฒนา ร่วมกับโรงเรียนในพืน้ ที่ จัดฝึก อบรมนักเรียนในเรื่องสัตว์ป่าและพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ในป่าชุมชน โดยเน้น การมีส่วนร่วมในรูปแบบของรุ่นพี่สอนรุ่นน้อง (มัธยมสอนประถม) - รวมกลุ่มเยาวชนปลูกพันธุ์ไม้ท้องถิ่นเสริมในพื้นที่ เช่น สมุนไพรพื้นบ้านต่าง ๆ เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ไม้ท้องถิ่น - ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อสร้าง จิตส�ำนึกในการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูสภาพป่าชุมชน โดยให้นกั เรียนในพืน้ ที่ รายงานผ่านเจ้าหน้าที่โครงการ เข้ามายังมูลนิธิชัยพัฒนา - จัดหาที่ดินให้ราษฎร เพื่อช่วยดูแลโครงการ
พัฒนาการเกษตรเพื่อชาวจันทบุรี การพัฒนาหลัก เป็นเรื่องของไม้ผลในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี อีกส่วนหนึง่ เป็นทีเ่ รียนรูเ้ กีย่ วกับอาชีพ การท�ำปุย๋ หมักชีวภาพ การตอนกิง่ ขยายพันธุ์ การกรีดยางพารา ตามหลักของกรมวิชาการ มีเส้นทางเดิน ศึกษาธรรมชาติ ในพืน้ ที่ 160 ไร่แบ่งสันปันส่วนเป็นพืน้ ทีป่ า่ ดังเดิม 80 ไร่ อีก 80 ไร่เป็นทัง้ แหล่งนำ�้ และแปลงสาธิต ส่วนใหญ่มกี จิ กรรมเกีย่ วกับค่าย มีการเรียนรู้การแปรรูปจากพืชและสมุนไพร นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องท้ อ งถิ่ น ส�ำหรั บ น�ำส่งภัทรพัฒน์ เช่น เครือ่ งจักสานจากต้นคลุม้ -คล้า เพือ่ ส่งเสริมอาชีพ และสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ตอนนีม้ กี ระดาษต้นกล้วยเป็นอีกหนึง่ ผลิตภัณฑ์ ที่ประชาชนให้ความสนใจ
about Chan | 27
ฝนหลวง รินทั่วผืนฟ้าพนาสัณฑ์ ในปี พ.ศ. 2515 ให้เกิดสภาวะแห้งแล้งเป็นบริเวณกว้าง กลุ่มชาวสวนจังหวัดจันทบุรีและระยอง ได้ร่วมกันทูลเกล้าถวายฎีกา ขอให้ท�ำฝนหลวงช่วยเหลือสวนผลไม้ซึ่งประสบปัญหาแห้งแล้งรุนแรง ถึงขนาดยืนต้นตายไปแล้ว จึงมีการจัดตั้งคณะทดลองขึ้นอีกคณะ และ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงบัญชาการ การปฏิบัติการด้วยพระองค์เองจากพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานผ่าน ข่ายวิทยุต�ำรวจในตอนดึก ประมาณตี 1 หรือ ตี 2 เพือ่ ปฏิบตั กิ ารในวันรุง่ ขึน้ จนสามารถช่วยเหลือสวนผลไม้ให้รอดพ้นความเสียหายได้โดยสิ้นเชิง วันที่ 17 มีนาคม - 3 เมษายน 2515 ผูว้ า่ ราชการจังหวัดจันทบุรี ได้น�ำคณะชาวสาวนจังหวัดจันทบุรีเข้าเฝ้าฯ น้อมเกล้าฯ ถวายผลไม้ ที่รอดพ้นความเสียหาย และทูลเกล้าฯ ถวายเงินที่ร่วมกันบริจาค เพื่อสมทบในการจัดซื้อเครื่องบิน ซึ่งจากความส�ำเร็จของการทดลอง ปฏิบตั กิ ารทีผ่ า่ นมา ท�ำให้ได้รบั การยอมรับจากประชาชนเป็นจ�ำนวนมาก
“ผอ.วาสนา วงษ์รัตน์” นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงภาคตะวันออก เล่าถึงประวัติ ความเป็นมาก่อนการก่อตั้ง ส�ำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ในสังกัด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จนถึงวันนีท้ มี่ หี น่วยปฏิบตั กิ าร ฝนหลวงจันทบุรี
ฝนหลวงเพื่อปวงชาวจันท์ “การท�ำฝนหลวงในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก เป็นหน้าทีข่ องศูนย์ ปฏิบตั กิ ารฝนหลวงภาคตะวันออก ซึง่ มีส�ำนักงานอยูท่ สี่ นามบินอูต่ ะเภา เราจะมีนกั วิชาการและทีมงานแค่ทมี เดียวเวียนไปท�ำงานในหน่วยท�ำฝน ของศูนย์ฯ โดยทางศูนย์ฯ จะจัดทีมลงไปอยูใ่ นพืน้ ที่ อย่างจันทบุรกี จ็ ะบิน ท�ำงานในจังหวัดจันทบุรแี ละพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ถ้าได้รบั การบรรเทาภัยแล้วก็ จะเคลื่อนย้ายไปจังหวัดอื่น”
about Chan | 28
“ปัจจุบันการมาจันทบุรีเป็นแผนประจ�ำปีแล้ว เนื่องจาก ทางสวนผลไม้จันทบุรีโดยเฉพาะช่วงหน้าแล้งจะมีการร้องขอฝนผ่าน หน่วยงานราชการ และผ่านอาสาสมัครฝนหลวงเข้ามาเยอะทุกปี หน่วยปฏิบตั กิ ารฝนหลวงจันทบุรจี ะมาตัง้ ในเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม เพราะหน้าแล้งคือฤดูหนาวและฤดูรอ้ น เป็นช่วงทีต่ อ่ เนือ่ งยาวนานหลายเดือน กว่าจะเข้าฤดูฝน จะเกิดภัยแล้งขึน้ ขาดแคลนนำ�้ หลายพืน้ ที่ โดยเฉพาะพืน้ ที่ ทีเ่ ขาไม่มแี หล่งน�ำ้ หรืออยูน่ อกเขตชลประทานเขาก็จะเดือดร้อน เราจะต้อง ท�ำฝนช่วยเหลือ ไม่เฉพาะหน้าแล้ง ในช่วงฤดูฝน ทีม่ เี มฆดีๆ เราก็จะดึงนำ�้ จากฟ้าให้ตกเป็นฝนลงมาใส่อา่ งเก็บนำ�้ ไว้ เพือ่ ทีห่ น้าแล้งจะได้มนี ำ�้ ใช้” “ในเรื่ อ งของการท�ำงานเราอยู ่ กั บความเสี่ ย งตลอดเวลา สภาพอากาศเท่านั้นที่จะเป็นตัวบอกว่าเราจะขึ้นบินได้หรือไม่ เมื่อไหร่ ก็ตามที่เราขึ้นบิน ขณะเราลอยอยู่ในอากาศ มันจะเกิดอะไรขึ้นก็ได้ ทีจ่ นั ทบุรเี ราเคยสูญเสียทัง้ นักบิน เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ จากเหตุการณ์ เครือ่ งบินตกถึง 2 ครัง้ ด้วยกันจากเหตุสดุ วิสยั ครัง้ แรก เมือ่ ปี พ.ศ.2536 เครื่องตกที่เขาคิชฌกูฏ เนื่องจากสภาพอากาศปิด ครั้งที่ 2 พ.ศ.2549 ตกที่หัวสนามบินท่าใหม่ เราเสียครูการบินดีดีไป เราเสียเพื่อนร่วมงาน เราไม่อยากต้องเสียใครไปอีก อยากจะให้ทางจังหวัดช่วยปรับปรุงสนามบิน ให้มีมาตรฐาน มีไฟน�ำทาง เพื่อให้การขึ้นลงเป็นไปอย่างปลอดภัย เจ้าหน้าที่ทุกคนก็อุ่นใจ เพราะถ้าเราขึ้นบินได้ เราจะบินช่วยเหลือได้ อย่างไม่ยั้งเลย”
about Chan | 29
ทั่วเขตคามชุ่มธารา “ภารกิจหลักคือ ฝนหลวงต้องช่วยทัง้ ชาวบ้าน เกษตรกร และ นอกเขตชลประทาน เราจึงท�ำงานกันทั้งปี หน้าแล้งบรรเทาภัยและ ให้ความชุม่ ชืน้ ให้กบั ป่า หน้าฝนเราเติมนำ�้ ลงอ่างเก็บนำ�้ การท�ำฝนหลวง ในพืน้ ทีจ่ นั ทบุรมี คี วามได้เปรียบตรงทีอ่ ยูใ่ กล้ทะเล ได้รบั ความชืน้ ง่ายหน่อย จันทบุรีเฉพาะในเขตเมืองฝนตกดีมากเลย แต่พื้นที่ลึก ๆ เข้าไปที่ เขาท�ำการเกษตร เช่น อ�ำเภอโป่งน�ำ้ ร้อน อ�ำเภอสอยดาว อ�ำเภอแก่งหางแมว บางพืน้ ทีม่ นั มีภเู ขาบัง เป็นพืน้ ทีแ่ ห้งแล้ง เพราะฝนไม่คอ่ ยตก บริเวณนัน้ จะท�ำฝนค่อนข้างยาก การเอาชนะธรรมชาติไม่ใช่เรือ่ งง่าย เราต้องพยายาม หาเทคนิคในเรือ่ งของการบินให้ได้ เอาทฤษฎีต�ำราฝนหลวงพระราชทาน ของในหลวงมาปรับ ท�ำงานวิจยั ทดลองเทคนิคการบินต่าง ๆ อยูต่ ลอดเวลา เราพยายามจะหาค�ำตอบให้ได้ เพราะหากเราเจอเทคนิคที่เหมาะสม ก็จะสามารถน�ำมาปรับใช้กับพื้นที่อื่นได้ทั้งประเทศเลย” “ณ เวลานี้ สภาพอากาศเปลีย่ นแปลงมาก เราทุกคนโดยเฉพาะ ชาวสวนต้ องพยายามปรับ ตัว และอยู่กับ สภาพอากาศแบบนี้ ใ ห้ ไ ด้ พยายามหาแหล่งน�้ำเป็นของเราเอง” “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่านพระราชทานฝนหลวง ให้กับทุกคนในประเทศ แม้แต่ต่างประเทศก็ยังมาขอไปใช้ในประเทศ ของเขาด้วย ฝนหลวงสามารถช่วยประชาชนได้ทกุ ทีใ่ นประเทศ อยากให้เรา ภาคภูมิใจตรงนี้ ในสิ่งที่เราได้มาเหมือนกันทุกคน”
about Chan | 32 30
about Chan | 31
รากแฝกแทรกหล้าธารานันท์ “คุณยันต์ วรรณราด” เกษตรกรชาวไร่มันส�ำปะหลัง ไร่อ้อย ข้าวโพด บ้านหนองแก ต�ำบลทุง่ ขนาน อ�ำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ได้แบ่ง ทีด่ นิ ส่วนหนึง่ ไว้ส�ำหรับเพาะปลูกหญ้าแฝกส่งให้สถานีพฒ ั นาทีด่ นิ จันทบุรี จากวันแรกจนถึงวันนี้ นับเป็นเวลากว่า 20 ปี ทีค่ ณ ุ ยันต์-หมอดินอาสา ได้ปลูกหญ้าแฝกไปแล้วนับหลายล้านต้น
จุดเริ่มต้นของการเพาะปลูกหญ้าแฝก “ปี พ.ศ.2538 เขามีจดั อบรมที่ อ.สอยดาว ทางกรมพัฒนาทีด่ นิ เขาก็มาประชุมร่วมด้วย มารับสมัครหมอดินอาสาและแปลงหญ้าแฝก ในวาระประชุมนัน้ มันไม่มคี นเอา ไม่มคี นเสนอตัวว่าจะเป็นแปลงขยายพันธุ์ ผมก็นั่งคิดดูว่าพระองค์ท่านคิดมันต้องดี ทั้ง ๆ ที่ไม่รู้เลยว่าหญ้าตัวนี้ มันคืออะไร ไม่เคยเห็นเลย ก็ยกมือรับอาสา หลังจากประชุมได้หนึง่ อาทิตย์ ทางกรมพัฒนาที่ดินก็เข้ามาดูแปลงเลย”
“ทีนี้ในปีแรกผมปลูกตามจ�ำนวนกล้าที่เขาให้ท�ำไม่ได้ คือ เราท�ำอย่างอื่น เราท�ำอ้อย มันส�ำปะหลัง ข้าวโพด เรารู้ว่ามันจะได้เงิน อย่างไร แต่อันนี้มันเป็นหญ้า แล้วเรายังไม่ได้ศึกษา ยังไม่เข้าใจว่ามัน มีประโยชน์อย่างไร คุณมันมหันต์ขนาดไหน แล้วมันเป็นหญ้ามหัศจรรย์จริงมัย้ เลยไม่ได้ใส่ใจมัน” “อีก 2-3 ปีต่อมา พอได้ศึกษาแล้วเรารู้ว่ามันดีขนาดไหน เราก็อยากท�ำ ก็เข้าไปขอกรมพัฒนาทีด่ นิ ท�ำอีก แต่เขาไม่ให้ เพราะครัง้ ทีแ่ ล้ว เราท�ำไม่ส�ำเร็จ เขาต้องรับผิดชอบให้ได้ตามโควตา เมือ่ ไม่ได้สว่ นราชการ เขาก็เสีย ผมก็ตามไปหาตามไปคุย นั่นคือบทเรียนของผม ตอนนั้นผม ไม่รู้จริง ๆ ผมยังเป็นคนโง่เขลาอยู่ แต่ตอนนี้รู้แล้วว่าประโยชน์ของมัน เป็นอย่างไร แต่เขาก็ยังเฉย ๆ แล้วตอนนั้น ผอ.วิรุธ คงเมือง (ขณะนั้น อยู่ในต�ำแหน่งช่างผู้ช�ำนาญการสถานีพัฒนาที่ดินจันทบุรี ปัจจุบันเป็น ผูอ้ �ำนวยการสถานีพฒ ั นาทีด่ นิ ชลบุร)ี แกรูค้ วามมุง่ มัน่ ของผม แกก็เลยไปคุย กับทางหัวหน้าใหญ่อีกที ผอ.วิรุธ ก็ไปช่วยพูดจนได้ท�ำอีก พอได้ท�ำอีก ผมก็ท�ำเรื่อยมา ทะลุเป้าทุกปี หลักล้านต้นทุกปี”
about Chan | 32
หลังจากนัน้ มา ปี 2549 ผมท�ำแฝกประกวด ก็ได้รบั การแนะน�ำ จาก ผอ.วิรุธและพี่กระสินธุ์ ประกวดปีแรกก็ติดเลย เพราะผมจดไว้ “...ทุกคนควรจะได้สนใจสังเกต แจกไปเท่าไรบ้าง ไปช่วยอธิบายตามโรงเรียน ตามบ้าน วัด ตอนนัน้ ผมยัง ศึกษาเรื่องราวบุคคลและสิ่งต่าง ๆ ที่แวดล้อม ไม่เชี่ยวชาญ แต่ตอนนี้พูดได้ตั้งแต่ปลายใบถึงปลายรากสุดท้ายได้เลย ว่าคุณประโยชน์มนั ขนาดไหน ปี 2550 เริม่ ท�ำวิจยั เรือ่ งรากยาว มาปี 2559 และเกี่ยวข้องกับตัวเองให้มาก นี่แหละท�ำได้ยาวที่สุด” อย่าละเลยหรือมองข้ามแม้แต่สิ่งเล็กน้อย
เช่น ต้นหญ้า ซึ่งถ้าศึกษาพิจารณาให้ดี ก็จะก่อให้เกิดปัญญาได้ หญ้านั้นมีทั้งหญ้าที่เป็นวัชพืชซึ่งเป็นโทษ และหญ้าที่มีคุณอย่าง “หญ้าแฝก” ...”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 25 กรกฎาคม 2540
หญ้าแฝก...รากเล็กรัดแผ่นดิน “ผมเป็นคนท�ำส่งทีส่ ถานีพฒ ั นาทีด่ นิ จันทบุรที งั้ หมด รวมไปถึง ในภาคตะวันออกด้วย ผมไปปลูกมาหมดแล้ว เงินก้อนแรกทีพ่ ระองค์ทา่ น ให้มาจากรางวัล เป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จากการประกวดการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ ประจ�ำปี 2550 ประเภทส่งเสริมการปลูก ผมเอาไปซือ้ กล้อง ไว้หนึง่ ตัว ลูกหลานผมขอผมก็ไม่ให้ เพราะนีเ่ ป็นรางวัลใหญ่ทมี่ เี งินอืน่ ๆ ก็เทียบไม่ได้”
about Chan | 33
“แต่ผมไม่คอ่ ยมีชอื่ หรอกนะ พอเขาเริม่ ถ่ายรูปแล้วผมหนีเลย ไม่เอาเลย ถ้วยอะไรไม่เคยเอาออกมาโชว์ คือเราท�ำเพือ่ ส่วนรวม เราไม่ได้หวัง จะเอาดีทางนี้ เราท�ำเพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยว เราท�ำเพื่อให้ผืนดินเราดี ดินเราสมบูรณ์ หมดยุคเรารุ่นลูกรุ่นหลานที่เรายังสมบูรณ์เหมือนเดิม ยึดถือค�ำพระองค์ท่านว่า “ให้ช่วยกันดูแผ่นดินเริ่มป่วย” เราเห็น กับตาเราแล้ว จากคลองที่ลึกท่วมหัว เราเอาแฝกมาปลูกเป็นแถว ๆ ดักดินไปเรือ่ ย ๆ หลาย ๆ ปี จนเราได้ทด่ี นิ เพิม่ ขึน้ ตรงนีก้ ไ็ ด้แนวคิดมาจาก ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล” “ตอนนีพ้ ระองค์ทา่ นไม่อยู่ แต่มนั ยังอยูใ่ นใจเรานะ อยากจะช่วย งานตรงนี้ ช่วยงานคนจันท์ทงั้ เมืองจันท์ดว้ ยนะ เพราะฝนตกมา 100% จะลงทะเลไป 70 แต่ถ้าใครได้ปลูกแฝกนะ มันจะช่วยเก็บน�้ำไว้ท่ีราก ไปตามพืน้ ดิน ช่วยหล่อเลีย้ งพืน้ ดินให้ชมุ่ ชืน้ กันแผ่นดินพังทลาย แล้วก็ กันหน้าดินชะล้างให้ช้าลง แล้วมันจะท�ำให้ดินดีขึ้น” “ครัง้ หนึง่ ผมเคยไปปลูกแฝกทีอ่ มตะนคร ชลบุรี เจ้านายคนญีป่ นุ่ ก็ขบั รถมาแล้วพูดทุกวัน ‘พระเจ้าอยูห่ วั ไทยคิดได้อย่างไร ปลูกเดือนเมษา มันจะขึ้นเหรอ’ พูดทุกวันจนผมร�ำคาญ เลยบอกอีก 7 วันแล้วมาดูนะ
about Chan | 34
ถ้าไม่ขนึ้ จับผมไปประหารเลย แล้วอย่ามาพูดให้ได้ยนิ อีก แล้วหลังจากนัน้ เชื่อไหมว่าหญ้ามันก็เอาใจผมนะ มันขึ้นดีมากเลย พอเสร็จสิ้นสัญญา เขาก็จ่ายพิเศษให้อีก ว่าเออ มันขึ้นจริง ๆ” “ผมเอาแฝกให้คนไปเยอะมาก บางทีก่ ไ็ ปปลูกให้เลย คนเขาถึง ว่าผมบ้าไง เราปลูกให้ดเู ป็นแนวทางว่าต้องปลูกแบบไหน ต้องไปดูทดี่ ทู างน�ำ้ บางครัง้ ผมร้องไห้เลยนะ ผมเห็นเขาขอไปแล้วเอาไปกองไว้ สองคนกับยาย (คุณยันต์เรียกภรรยาว่า ยาย) ต้องไปเก็บเอากลับมาไว้บ้านอีก เขาขอ ไปเยอะ ๆ สี่ห้าหมื่นต้น เอาไปปลูกแต่ตรงหน้าป้ายแล้วถ่ายรูปจบ แล้วก็กองอยูน่ นั้ วันนีก้ เ็ ห็นกองอยู่ พรุง่ นีก้ เ็ ห็นกองอยู่ ก็ตอ้ งไปเอากลับมา ดูแลฟืน้ ฟูกนั ใหม่ แฝกทุกต้นคือภาษีเป็นเงินของเราทุกคน หนึง่ ต้นใช้เวลา 8 เดือนกว่าจะได้มา” “เราคิดแล้ว รู้แล้วว่าจะหาคนมาท�ำต่อมันยาก ยอดที่ท�ำส่ง ทั้งภาคตะวันออกนี่หลายล้านกล้านะ ใช้ที่ดิน 20 ไร่ คือที่ดินถ้าเรา เอาไปลงล�ำไยปีหนึง่ เราได้เงินตัง้ กีล่ า้ น มันควักกระเป๋าทัง้ นัน้ ส่วนหนึง่ เขาช่วยก็จริงอยู่ แต่มันไม่พอ เราต้องใช้ทุนส�ำรองทุก ๆ 6 วัน ถ้าเรา ส่งของยังไม่ครบเงินหลวงก็เบิกไม่ได้”
พระเจ้าอยู่หัวรูปที่มีทุกที่
“ผมมีเหรียญพระองค์อยูห่ นึง่ เหรียญ เป็นเหรียญ 1 บาท ตอนนัน้ ผมเป็นทหารได้เบีย้ เลีย้ งมา ผมแขวนคอไว้ตวั ตลอด ถ้าขับรถก็วางทีห่ น้ารถ ไม่เคยห่าง ผมจะยากดีมีจนอย่างไร เหรียญนี่มันเป็นทุนชีวิต มันอุ่นใจ ผมคิดว่าพระองค์จะปกป้องลูกทุกคนในประเทศไทย” “มันเกิดวิกฤตในชีวติ หลายครัง้ ก็จะมีอะไรดลบันดาลใจให้ผม นึกถึงพระองค์ทา่ น เมือ่ ปี 2539 วิกฤตในชีวติ ทีส่ ดุ เลย โดนจับเอามือไพล่หลัง ปล้นรถ มันไม่มโี อกาสรอดเลย ในหูได้ยนิ แต่ ‘ยิงทิง้ แล้วได้รถ’ ก็อธิษฐาน ขอให้พระองค์ทา่ นช่วยด้วยนะ จะกลับไปดูแปลงหญ้าแฝกให้อย่างดีเลย พอหลังจากนัน้ มันก็เอาผมออกจากบ้านไปข้างนอก ยิงตรงนีเ้ ลย ตอนนัน้ มันเหมือนมีมอื ใหญ่ ๆ ดันปืนให้พน้ หัว ยิงแล้วนะแต่เฉียดหัวผมนิดเดียว แล้วก็พาขับรถเข้าไปข้างใน ตอนนัน้ มีคนมาช่วยแล้ว ลูกปืนนีห่ ล่นรอบรถเลย ผมไม่คดิ ว่าจะรอดแล้ว ตอนนัน้ ก�ำเหรียญท่านไว้ดว้ ย” “อีกครั้งหนึ่งก็ตอนขับรถเข้าจันท์ ผมโดนรถสิบล้อหลบ รถมอเตอร์ไซค์ตบลงข้างถนนแถว ๆ ปากแซง ข้ามเลนตกถนนรถบิด เป็นเกลียวเชือกเลย ผมคลานออกมาไม่เป็นไรเลย รถทุกคันจึงมีรถรูปในหลวง ที่ต้องอดทนท�ำถึงทุกวันนี้ เพราะท่านเคยช่วยชีวิตผมมาครั้งหนึ่งแล้ว ถึงได้เชื่อมั่นว่าพระองค์จะ คุม้ ครองเราแน่ พระองค์สถิตอยูใ่ นใจนะ เรือ่ งแฝกผมก็จะสูจ้ นนาทีสดุ ท้าย “ผมเคยไปลาออกที่ศูนย์ใหญ่ของมูลนิธิชัยพัฒนา วันที่มี เหมือนพระองค์ท่าน” การประชุมคณะกรรมการแฝกโลกที่ ปตท. มันไม่อยากท�ำแล้ว เพราะว่า เราก็ท�ำมานาน ลาออกไปได้หนึ่งปี แล้วภาคตะวันออกไม่มีใครสานต่อ คือมีคนท�ำนะ ท�ำได้นดิ หน่อยหมืน่ สองหมืน่ ต้นไม่เยอะเท่าผม มันไม่พอ กับความต้องการของประชาชนหรอก พอมีประชุมคณะกรรมการแฝกโลกอีก ประธานใหญ่ก็เชิญผม แต่ผมรู้แล้วว่าถ้าไปผมก็หนีไม่ได้แน่ ต้องกลับ ไปเป็นคณะกรรมการอีกแน่นอน” “พอไปแล้วหลาย ๆ คนก็พูด แฝกมันอยู่ในใจอยู่แล้ว มันก็ เอียงไปอีก ก็เข้ามาท�ำรอบสอง แล้วก็เพิง่ ไปลาออกมาอีก แต่ยงั ไม่ทนั ได้ออก พระองค์กท็ รงสวรรคต ทีนลี้ าออกไม่ได้แล้ว ก็จะท�ำไปแค่ท�ำไหว เท่าทีท่ �ำได้ ให้สมกับรางวัลพระราชทาน มาเมื่อไหร่ก็จะเห็นรางวัลพระราชทาน ต้นนี้ตั้งอยู่ แล้วก็จะเห็นแฝกในแปลง ในใจตั้งไว้ว่าถ้าเราท�ำจ�ำนวน หลาย ๆ ล้านต้นไม่ได้ เราก็ลดลงมาตามก�ำลัง ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่ ต้นแฝกพระราชทานและแฝกในแปลงจะมีชีวิตอยู่ต่อไป” “ทุกวันนี้นะ พระองค์ท่านสวรรคตแล้ว ทุกคนพูดว่ารัก พระองค์ทา่ น ผมอยากรูว้ า่ ใครจะลงมาท�ำหญ้าแฝกบ้าง ลงมาท�ำเต็มตัว แบบผมบ้าง ความรักนัน้ แสดงออกมาหรือยัง จับต้องได้หรือยัง ถ้าพูดแล้ว ท�ำทุกคน บ้านหนูก็มี บ้านใคร ๆ ก็มีหมด ผมก็ไม่ต้องเหนื่อยแล้วนะ กรมพัฒนาที่ดินก็ไม่ต้องเหนื่อย ไปที่ไหนก็มี ขอที่ไหนก็ได้ ที่ใครก็ดี ที่ดินใครก็งาม” about Chan | 35
ฝายชะลอก่อกั้นคั่นวารี “...ควรสร้างฝายต้นน�้ำล�ำธารตามร่องน�้ำ เพื่อช่วยชะลอกระแสน�้ำ และเก็บกักน�้ำ ส�ำหรับสร้างความชุ่มชื้นให้กับบริเวณต้นน�้ำ...” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 11 มีนาคม 2532 ณ ดอยอ่างขาง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ “ฝายแม้ว” เป็นชือ่ เรียกโครงการตามแนวพระราชด�ำริ เกีย่ วกับ วิศวกรรมแบบพืน้ บ้าน ฝายแม้วเป็นฝายชะลอน�ำ้ กึง่ ถาวรประเภทหนึง่ ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่น กิง่ ไม้ ก้อนหิน เพือ่ กัน้ ชะลอน�ำ้ ในล�ำธาร หรือทางน�ำ้ เล็ก ๆ ให้ไหลช้าลง และขังอยูใ่ นพืน้ ทีน่ านพอทีพ่ นื้ ทีร่ อบ ๆ จะได้ดดู ซึมไปใช้ เป็นการฟืน้ ฟู พืน้ ทีป่ า่ เสือ่ มโทรมให้เกิดความชุม่ ชืน้ มากพอทีจ่ ะพัฒนาการเป็นป่าสมบูรณ์ ขึ้นได้ ฝายแม้วยังอาจใช้เพื่อการทดน�้ำให้มีระดับสูงพอที่จะดึงน�้ำไปใช้ ในคลองส่งน�้ำได้ในฤดูแล้ง
ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดจันทบุรี แม้วา่ เราจะไม่ได้ประสบปัญหาผืนป่า แห้งแล้งเท่าทางภาคเหนือ หากแต่ว่าการสร้างฝายชะลอน�้ำก็เป็น เรือ่ งส�ำคัญ เนือ่ งจากพืน้ ทีเ่ ขาลาดชันท�ำให้นำ�้ ไหลเร็ว เช่นที่ “เขตรักษา พันธุส์ ตั ว์ปา่ คลองเครือหวายเฉลิมพระเกียรติ” ต�ำบลปัถวี อ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี เป็นพื้นที่ป่าดิบชื้นอันเป็นป่าถาวรของชาติ ครอบคลุม 3 อ�ำเภอ
about Chan | 36
ได้แก่ อ�ำเภอโป่งน�ำ้ ร้อน อ�ำเภอมะขาม และอ�ำเภอขลุง มีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยพรรณไม้นานาชนิดขึ้นอยู่ปะปนกัน มีสัตว์ป่าชุกชุม สภาพป่า เป็นแหล่งอาหารสัตว์ แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและเป็นแหล่ง ต้นน�ำ้ ล�ำธารทีส่ �ำคัญ โดยส�ำนักราชเลขาธิการได้แจ้งอย่างเป็นทางการว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชได้มพี ระบรมราชานุญาต ให้ใช้ชื่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดังกล่าวว่า “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวายเฉลิมพระเกียรติ” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 101 ก ลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2541 มีพื้นที่ ประมาณ 165,796 ไร่ ท่ามกลางผืนป่าอันเป็นต้นน�้ำส�ำคัญแห่งนี้ ชาวบ้านและ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ รวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ ในจันทบุรี ได้ร่วมกันสร้าง ฝายแม้วไว้หลายแห่ง เจ้าหน้าทีป่ า่ ไม้พาเราเดินเข้าไปในผืนป่าเป็นเวลา เกือบ 20 นาที จึงพบกับฝายแม้วเรียงรายเป็นขัน้ ๆ โดยสร้างจากไม้ไผ่ และก้อนหินทีช่ าวบ้านและเจ้าหน้าทีช่ ว่ ยกันขนมา ซึง่ ได้สร้างความชุม่ ชืน้ ให้กบั ผืนดินและต้นไม้บริเวณริมธาร อีกทัง้ ยังเป็นแนวกันไฟป่าได้อย่างดี
“เราเป็นหน่วยงานเล็ก ๆ ทีภ่ าระหน้าทีย่ งิ่ ใหญ่ เพราะพืน้ ทีเ่ รา กว้างมาก การสร้างฝายแม้วก็เป็นภารกิจหนึง่ ทีต่ อ้ งคอยสร้างอยูเ่ รือ่ ย ๆ เพราะฝายแม้วไม่ใช่ของถาวร ผุพงั เร็ว-ช้าตามความแรงของน�ำ้ ชาวบ้าน เขาก็มาช่วยท�ำ นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานราชการก็เข้ามา ฝายแม้ว ต้ อ งท�ำตรงธารเล็ ก ๆ ที่ น�้ ำ ไหลไม่ แ รง ก็ ต ้ อ งเดิ น เข้ า ไปยั ง ต้ น น�้ ำ ซึ่งก็ไม่ใช่ง่าย เพราะป่าบ้านเรามีต้นไม้มีหนามเยอะ แต่ท�ำฝายแล้ว มันช่วยเรื่องน�้ำได้มาก ดินชุ่ม สัตว์ป่าก็อยู่ได้ คนที่อาศัยอยู่ปลายน�้ำ ก็อยู่ได้”
about Chan | 37
พระราชด�ำรัสจากคิรีธารสู่คลองทุ่งเพล “เขื่อนคิรีธาร” เป็นแหล่งน�้ำที่หล่อเลี้ยงชีวิตของชาวบ้าน ในเขตอ�ำเภอมะขาม อ�ำเภอขลุง และพื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงยังเป็น แหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนทั่วไป โครงการเขื่ อ นไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ คิ รี ธ าร เดิ ม ชื่ อ “โครงการ ห้วยสะพานหิน” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงประกอบพิธีเปิดโครงการฯ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2531 และพระราชทานนามว่า “เขื่อนไฟฟ้าพลังน�้ำคิรีธาร” “คุณสุจินต์ รัตนรินทร์” หัวหน้าโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน�้ำ คิรธี าร ได้เล่าถึงวัตถุประสงค์ของโครงการนีใ้ ห้ฟงั ว่า เริม่ จากความเดือดร้อน เรือ่ งนำ�้ แล้งของประชาชนในจังหวัดจันทบุรี กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ส�ำรวจภูมิประเทศของห้วย สะพานหิน พบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะสร้างอ่างเก็บน�้ำ
ต่อมาช่วงปี 2521–2524 ได้เกิดความแห้งแล้งอย่างหนักบริเวณ จังหวัดจันทบุรี ท�ำความเสียหายให้แก่สวนผลไม้เป็นจ�ำนวนมากกว่าแสนไร่ จึงมีการเคลื่อนไหวสนับสนุนให้ พพ. ด�ำเนินการก่อสร้างโครงการ เขือ่ นคิรธี ารขึน้ เป็นการด่วน และได้รบั ความเห็นชอบจากหน่วยงานราชการ ทีเ่ กีย่ วข้อง เมือ่ กลางเดือนกุมภาพันธ์ 2525 ตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ที่ ต�ำบลตกพรหม อ�ำเภอขลุง และ ต�ำบลปัถวี อ�ำเภอมะขาม ก่อสร้างแล้วเสร็จเมือ่ ปี 2529 “วัตถุประสงค์กเ็ พือ่ พัฒนาแหล่งนำ�้ ทีเ่ หมาะสมให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ทัง้ ทางด้านผลิตกระแสไฟฟ้า การเกษตร เป็นแหล่งน�ำ้ จืดส�ำหรับ การอุปโภคบริโภคในเขตเทศบาลเมืองจันทบุรี และป้องกันนำ�้ เค็ม อีกทัง้ ท�ำให้เกิดความมัน่ คงในระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง โดยช่วยลดการสูญเสีย ก�ำลังไฟฟ้าในระบบ”
about Chan | 38
พระมหากรุณาธิคุณที่เกิดขึ้นในวันที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินประกอบพิธเี ปิดโครงการฯ “วันทีใ่ นหลวงเสด็จมาประกอบพิธเี ปิด มีหนึง่ เรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ คือ ท่านทรงเปิดแผนที่ แล้วบอกว่าฝัง่ ตะวันออกของแม่นำ�้ จันทบุรมี แี ล้ว แล้ ว ฝั ่ ง ตะวั น ตกล่ ะ เลยเกิ ด โรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ คลองทุ ่ ง เพลขึ้ น อี ก โครงการหนึ่ง ซึ่งก่อสร้างโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน เชือ่ มต่อลงมาทีเ่ ขือ่ นพลวง อันนีเ้ ป็นโครงการ ต่อเนือ่ งจากพระราชด�ำริในวันนัน้ แต่วา่ ตอนนีย้ งั ไม่สมบูรณ์แบบ เขือ่ นทุง่ เพล จะผลิตกระแสไฟฟ้าในฤดูฝนเป็นส่วนใหญ่ ผลิตเพื่อเอาน�้ำมาเติมใน เขือ่ นพลวง ส่วนเขือ่ นคิรธี ารเก็บนำ�้ ในฤดูฝนไว้ แล้วมาปล่อยในฤดูแล้ง ท�ำให้มีน�้ำใช้ตลอดปี” “ในหลวงท่านก็เป็นนักพัฒนาอยูแ่ ล้ว การทีเ่ ราไม่ตอ้ งซือ้ น�ำ้ มัน มาผลิตกระแสไฟฟ้า หรือใช้ฟอสซิล มาเป็นพลังงานทดแทนจากน�้ำ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า หนึง่ ปีเราผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 20 ล้านหน่วย แล้วได้แหล่งกักเก็บน�้ำเอาไว้ใช้ในฤดูแล้ง” “นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีเ่ ล็งเห็นถึงความส�ำคัญของน�ำ้ กระทรวงพลังงาน ได้สนองพระราชด�ำริเรื่องนี้เป็นอย่างมาก”
about Chan | 39
เพียงความพอ
ชาวฝรั่งเศสและเศรษฐกิจพอเพียง ย้อนกลับไปเมือ่ 32 ปีทแี่ ล้ว “คุณปิแอร์ เดอลาลองด์” นักแสดง ชาวฝรัง่ เศส ได้ซอื้ ทีด่ นิ ในบริเวณบ้านดงจิก อ�ำเภอโป่งนำ�้ ร้อน (สมัยนัน้ ยังไม่มีโครงการอ่างเก็บน�้ำคลองพระพุทธ) และตัดสินใจมาใช้ชีวิต อยูท่ จี่ นั ทบุรี โดยเริม่ ปลูกไม้ผล พืชสวน ไม้ประดับ ท�ำร้านอาหารเล็ก ๆ จากนัน้ จึงเริม่ เลีย้ งสัตว์ในพืน้ ทีไ่ ม่กไี่ ร่ การท�ำเกษตรในพืน้ ทีน่ อี้ าจไม่ได้ เป็นไปตามสัดส่วนของเกษตรทฤษฎีใหม่ หากแต่เป็นวิถเี ศรษฐกิจพอเพียง ที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป จากทัศนคติ ความเข้าใจ และความสุข ของทุก ๆ คนที่อาศัยอยู่ในที่แห่งนี้
ในพืน้ ทีน่ อ้ ยแค่นจี้ ะท�ำแบบเดิมก็ไม่ได้ ก็เลยคิดใหม่ ครึง่ หนึง่ เป็นรีสอร์ท อีกครึง่ หนึง่ เป็นฟาร์ม แล้วแต่ชว่ งว่าช่วงหนึง่ อันนีอ้ าจจะดี อีกช่วงอันนี้ อาจจะไม่ดี เรามาคิดว่าที่ในหลวงแนะน�ำให้ใช้เศรษฐกิจพอเพียง หมายความว่าอย่างไร ทางทฤษฎีก็อาจจะเข้าใจว่าเป็นชาวไร่ชาวนา ครอบครัวหนึ่ง แบ่งที่ดิน เป็นสวน เป็นน�้ำ นี่ส�ำหรับครอบครัวหนึ่ง ถ้าเราพยายามจะใช้แนวคิดอย่างนี้ ที่นี่เราต้องท�ำอย่างไร” “เราอาจจะท�ำตามเศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้มากเท่าที่ควร ที่แตกต่างกันก็คือเราเป็นเจ้าของก็จริง แต่เราไม่ได้ท�ำด้วยตนเอง เราก็มลี กู จ้าง เราพยายามทีจ่ ะสร้างทัศนคติให้เหมือนกับว่าเขาเป็นเจ้าของที่ อยูอ ่ ย่างเข้าใจ รักในความพอเพียง ให้เขาอยู่ด้วยตนเองให้ได้ ลูกจ้างผมที่อยู่ท่ีนี่เป็นคนเขมรที่มาอยู่ไทย เขาก็เข้าใจเรือ่ งนีด้ มี าก แล้วก็คดิ อยูต่ ลอดเวลาว่าเราจะปลูกอะไร เก็บอะไร “ผมเรียนจบเกษตรก็สนใจเรือ่ งของธรรมชาติเป็นพิเศษ ไม่วา่ เลี้ ย งอะไร ส่ ว นหนึ่ ง กิ น เอง ส่ ว นหนึ่ ง ขาย ถามว่ า ได้ เ งิ น เยอะไหม จะอยูท่ ไี่ หน ผมก็ตอ้ งปลูกต้นไม้เยอะ ๆ มาซือ้ ทีอ่ ยูท่ นี่ ี่ 32 ปี ผมก็ปลูกต้นไม้ มันก็ไม่เยอะ แต่เราก็ได้อยูบ่ า้ ง เก็บได้นดิ หน่อย แต่ได้เรือ่ ย ๆ เลีย้ งสัตว์ หลายอย่าง จนตอนสร้างเขือ่ นจากที่ 241 ไร่ เหลือ 9 ไร่ ในเวลาเดียวกัน ก็ได้มูลสัตว์มาผสมกับดินและใบไม้ก็จะได้ปุ๋ย” about Chan | 40
“แล้วเขาก็ชวนพี่น้องมาอยู่ ส่วนใหญ่ที่มาอยู่ที่นี่ก็ไม่ได้มีใคร อยากจะย้ายไปที่ไหน เพราะที่นี่เขาสามารถจับปลาจากอ่างเก็บน�้ำ คลองพระพุทธได้ เลีย้ งเป็ดไข่ เลีย้ งกบ เลีย้ งปลา เลีย้ งหมูได้ มีผกั ให้กนิ ให้ขาย พนักงานของเราไม่ได้เงินเดือนสูง เงินเดือนน้อยด้วยนะถ้าเทียบกับ คนเก็บล�ำไย แต่วา่ ทีอ่ ยูม่ นั มีครบวงจร แล้วเราดูแลกัน เศรษฐกิจพอเพียง ของทีน่ ี่ หนึง่ คือไม่ได้เน้นก�ำไร แต่ให้พอมีเงินเก็บ สองคือเป็นครอบครัว เดียวกัน เขาจะช่วยกันคิดช่วยกันดูแล สามคือพยายามให้ครบวงจร เวียนให้ครบตั้งแต่ผัก ผลไม้ อาหารจนถึงปุ๋ย”
เมือ ่ ชาวยุโรปอาศัยในแผ่นดินทีม ่ ี “พระเจ้าอยูห ่ วั ” “ครัง้ แรกทีผ่ มมาประเทศไทยก็ 46 ปีแล้ว ผมไม่ได้มคี วามคิด ความรู้สึกที่เป็นพิเศษส�ำหรับในหลวง เพราะว่าไม่ได้รู้จัก ของผมนี่ ความคิดดัง้ เดิมด้านการเมือง ท�ำให้เราในยุโรปไม่มามองว่า ประเทศทีม่ ี กษัตริยข์ นึ้ ครองราชย์ เรามองว่าเป็นเผด็จการพอสมควร เราก็มองกษัตริย์ ที่ไม่ค่อยดีนะ พูดตรง ๆ ”
“สมัยที่มาใหม่ ๆ ก็วุ่นวายพอสมควรในเรื่องการเมือง ก็มี พรรคคอมมิวนิสต์จากหลาย ๆ ประเทศมาร่วมกัน ผมก็ได้รจู้ กั คนทุกฝ่าย ในเวลาเดียวกัน ทัง้ คอมมิวนิสต์ประเภททีร่ นุ แรงทีไ่ ม่ชอบในหลวงก็เจอนะ แต่ผมเป็นคนทีว่ า่ ไม่ได้เชือ่ ใครง่าย ๆ ผมเป็นนักวิทยาศาสตร์ นอกจากว่า ให้มาวิเคราะห์ ให้มาวิจารณ์ด้วยตนเอง” “ช่วงแรกผมก็ท�ำงานทีก่ รมวิชาการเกษตร ผมก็ตอ้ งไปอยูก่ บั เกษตรกร ในเวลาเดียวกันก็มคี วามคิดของกลุม่ คอมมิวนิสต์ แล้วก็มคี วามคิด ของโครงการของในหลวง เราก็มาดูวา่ ในความเป็นจริงโครงการทุกโครงการ ทีใ่ นหลวงสร้างขึน้ มา ก็เป็นสิง่ ทีด่ สี �ำหรับประชาชนทัว่ ๆ ไป ไม่มอี ะไร ทีว่ า่ ไม่มปี ระโยชน์ เรียนรูว้ า่ ปัญหาอยูต่ รงไหน คิดและหาวิธมี าแก้ปญั หานัน้ โดยบารมีของพระองค์นนั้ สามารถทีจ่ ะท�ำให้ผคู้ นด�ำเนินงานให้แล้วเสร็จได้ ท�ำได้แล้วก็ได้ผล อย่างแถวชะอ�ำมีอยูท่ หี่ นึง่ ทีม่ นั แห้งแล้งมาก ดินเป็นทราย ที่สุดก็มีโครงการของในหลวง ท�ำให้ปลูกอะไร ๆ ได้ดี” “เราก็เปลีย่ นความคิดของเราโดยอัตโนมัติ จากสิง่ ทีเ่ รามองเห็น เราอาจจะเป็นคนเชื่อคนยาก เพราะเราอยากจะตัดสินด้วยตัวเอง คือ ตอนนี้ก็ถือว่าในหลวงเป็นคนขยันตลอดชีวิต มีความรู้ความช�ำนาญ หลาย ๆ ด้าน สามารถที่จะพูดถึงเรื่องดนตรี กีฬา เกษตรได้ทั้งนั้น แล้วก็ท�ำให้ประเทศไทยอยู่ได้รอดจากสารพัดปัญหา ท�ำให้มีสัมมาชีพ พอสมควรส�ำหรับประชาชนในประเทศด้วยค�ำว่า เศรษฐกิจพอเพียง”
about Chan | 41