เรียบเรียงโดย: สิทธิชาติ สมตา ณัฐพรพรรณ อุตมา และวราวุถิ เรือนคา
สิทธิประโยชน์ทางการค้าการลงทุน และ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในพืน ้ ที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย และชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน และความร่วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายและประเทศ เพื่อนบ้านถือว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญสาหรับผู้ประกอบการค้าชายแดนและ ข้ า มแดน ตลอดจนนั ก ลงทุ นในพื้ นที่ ช ายแดน หากพิ จ ารณาลาดั บ ความสาคัญที่มีต่อการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจชายแดน พบว่า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีความสาคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน ด้วยเหตุผล 3 ประการ ประการแรก ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ มั ก ก าหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ทางกายภาพ เช่น การพัฒนากรอบความ ร่วมมื อทางเศรษฐกิ จระหว่างประเทศ ในนามของความร่ วมมื อทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามกรอบความ ร่วมมือ GMS ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศสมาชิก ด้านการคมนาคม (ซึ่ ง เป็น 1 ใน 11 ยุทธศาสตร์ ข องความร่ วมมื อ GMS) ที่ มี เส้นทาง เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว เมียนมาร์ เข้าสู่ประเทศ จีนตอนใต้ ผ่านเส้นทาง R3A และ R3B
คุณพัถนา สิทธิสมบัติ ประธานโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจและกรรมการ หอการค้าภาคเหนือ
ประการที่สอง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจจะกาหนดสิทธิประโยชน์ทางการค้าและ การลงทุ นที่เอื้อประโยชน์ให้ กับประเทศสมาชิก เช่ น กรอบความร่ วมมื อ GMS นอกจาก ประเทศเมียนมาร์จะได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเส้นทาง R3B และการเปิดใช้สะพานข้าม แดนระหว่างสหภาพเมียนมาร์ – สปป.ลาว ที่บ้านใจละ จังหวัดท่าขี้เหล็ก สหภาพเมียนมาร์ กับเมืองลอง แขวงน้าทาง สปป.ลาว ซึ่งนอกจากจะทาให้กรอบการพัฒนาความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง สาขาคมนาคมมีความชัดเจนแล้วนั้น สหภาพเมียนมาร์ ยังได้รับประโยชน์จากข้อตกลง Single Window Inspection (SWI) ในความพยายามลดคอ ขวด (Bottle Neck) จากการเคลื่อนย้ายสินค้าและคนข้ามแดน ที่ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายการขนส่ง สูงขึ้น ตลอดจนการลดการค้าของผิดกฎหมาย และการค้าของหนีภาษี ที่สาคัญข้อตกลง SWI ที่มา : http://rescom.trf.or.th ได้นาโดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) ที่มองเห็นว่า การดาเนินการความร่วมมือในกรอบใหญ่หรือทั้ง 6 ประเทศนั้นจะมีความล่าช้า จึงได้พยายามผลักดันให้ประเทศไทย สปป.ลาว และ เมียนมาร์ร่วมมือกันทา Single Window Inspection ซึ่งหากความร่วมมือดังกล่าวของ 3 ประเทศประสบผลสาเร็จจะช่วยลดปัญหา การค้าที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว เป็นกรอบความร่วมมือที่ช่วยให้ ชุมชนได้รับประโยชน์ แม้ว่าต้องมีการพัฒนาชุมชนเพื่อรองรับการท่องเที่ยวก็ตาม 1
ประการที่สาม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจมักกาหนดให้ประเทศสมาชิกมีกิจกรรมส่งเสริมการดาเนินธุรกิจการค้าและการ ลงทุนระหว่างกัน ตัวอย่างเช่น สถาบันพัฒนาเพื่อเศรษฐกิจลุ่มน้าโขง (Mekong Institute : MI) ดาเนินการจัดกิจกรรม Business Matching เพื่อช่วยส่งเสริมกรอบความร่วมมือด้านการดาเนินธุรกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และกิจกรรมส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลและเอกชนด้านการลงทุนร่วมกัน (Public-Private Partnership : PPP) เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคา ได้มีการ ร่วมลงทุนระหว่างรัฐบาล สปป.ลาวกับนักลงทุนจีน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การดาเนินการตามกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง รัฐบาลและเอกชนของพื้นที่เชียงรายยังคงมีความล่าช้า เนื่องจากปัญหาความไม่ชัดเจนในเรื่องของกฎหมายการลงทุน เป็นต้น ทาไมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สาคัญกว่าสิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน?
1
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจมักกาหนดยุทธศาสตร์ การพัถนาพืน ้ ที่ทางกายภาพ
2
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจจะกาหนดสิทธิประโยชน์ ทางการค้าและการลงทุนทีเ่ อื้อประโยชน์ให้กับ ประเทศสมาชิก
3
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจมักกาหนดให้ประเทศ สมาชิกมีกจิ กรรมส่งเสริมการดาเนินธุรกิจการค้า และการลงทุนระหว่างกัน
นอกจากกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) ที่เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญ จังหวัดเชียงรายแล้วนั้น กรอบความร่วมมือทางด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) เป็นอีก ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยแท้จริงกรอบความร่วมมือภายใต้ AEC ที่ให้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและ การลงทุนแก่นักธุรกิจในพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่สาคัญได้แก่ สิทธิประโยชน์ AFTA ที่นักธุรกิจในพื้นที่สามารถผลิตสินค้าส่งออกไปยัง ประเทศเพื่อนบ้านโดยไม่เสียภาษีนาเข้า ปัจจุบันกรอบการค้าเสรีอาเซียนได้ตกลงขยายสิทธิประโยชน์ในรูปแบบของ Bilateral agreement ระหว่างประเทศ ASEAN กับประเทศจีน อินเดีย เกาหลี และญี่ปุ่นเรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการดาเนินการเจรจาเพื่อขยาย สิทธิประโยชน์ในกลุ่มความร่วมมือเดียวกันในนาม ความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ( Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ดังนั้นพื้นที่จังหวัดเชียงรายจึงสามารถใช้สิทธิประโยชน์จากกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้ง 2 กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ คือ กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และกรอบความร่วมมือทางด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตลอดจนการใช้สิทธิประโยชน์จากการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ระยะที่ 2 ในปี 2559
2
การลงทุนในสปป.ลาว
3. การนาเข้าวัตถุดิบภายใน สปป.ลาว เพื่อนาไปใช้ในกิจการ ต่างๆ ของเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขต เศรษฐกิจเฉพาะให้ถือว่า เป็นการส่งออกสิ นค้า และจะได้รับ นโยบายด้านภาษี อากรตาม กฎหมาย
กรมส่งเสริมการลงทุนของสปป.ลาว มีหน้าที่รับผิดชอบ การส่งเสริมการลงทุนทั้งในและนอกพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปัจจุบัน สปป.ลาว มีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Special Economic Zone : SEZ) ทั้ ง หมด 8 แห่ ง โดยมี เ ขต เศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคา ซึ่งตั้งอยู่ ณ บ้านต้นผึ้ง แขวง บ่อแก้ว ตรงข้ามกับอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซึ่งน่าจะ ส่ ง ผลดี ต่ อ นั ก ลงทุ น ของไทยอย่ า งมากในอนาคต หาก ผู้ป ระกอบการต้องการไปดาเนินการลงทุ นในสปป. ลาว สิ่ ง ที่ สาคัญประการหนึ่งคือ ความรู้และเข้าใจในกฎหมายการลงทุน เช่ น ผู้ป ระกอบการวิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises: SMEs) สามารถดาเนินการขออนุมัติ ได้ที่กระทรวงพาณิชย์ และที่สาคัญถึงแม้ว่าได้รับการอนุมัติผ่าน แล้ว แต่ ตราบใดที่ผู้ ประกอบการนั้ นยัง ไม่ ได้รั บตราประทั บให้ ดาเนินธุรกิจก็ไม่สามารถประกอบธุรกิจหรือดาเนินขั้นตอนทาง ธุรกิจใดๆได้ จากความไม่ชัดเจนนี้อาจส่งผลให้เกิดปัญหาของการ ลงทุนขนาดใหญ่ ปัจจุบันสปป.ลาวได้สร้างความชัดเจนในการ อนุมัติโครงการลงทุนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนโดย การทางานร่วมกันของเจ้าแขวงและรัฐบาลกลาง ตลอดจนความ ชั ด เจนในการคุ้ ม ครองนั ก ลงทุ น อี ก ด้ ว ย จากความพยายาม ดังกล่าวส่งผลให้นักลงทุนหลั่งไหลเข้ามาลงทุนในสปป. ลาวเป็น จ านวนมาก เนื่ องจากการสลายความซ้ อนทั บ ของอานาจการ อนุมัติการลงทุนระหว่างแขวงกับรัฐบาลกลาง
4. ได้รับนโยบายส่งเสริมด้วยสิทธิ์ใช้ที่ดิน และกรรมสิทธิ์เกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 58 ของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การลงทุน โดยสามารถขอรับสัมปทานที่ดินจากรัฐบาลได้นานถึง 99 ปี 5. ได้ รั บ สิ ท ธิ ใ นการอยู่อ าศั ย ในดิ นแดน สปป.ลาว พร้ อมทั้ ง ครอบครัว ตามระยะเวลาของสัญญาการลงทุนพัฒนา 6. ได้รับสิทธิในการว่าจ้างแรงงานตามที่ได้กาหนดไว้ในมาตรา 66 ของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การลงทุน 7. ได้รับการอานวยความสะดวกด้านข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ ลงทุนและอื่นๆ 8. ได้รับการยกย่องสรรเสริญด้วยรูปแบบต่างๆ อย่างเหมาะสม กับผลงานของผู้พัฒนาและผู้ลงทุน 9. ได้รับการเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ตามระเบียบการ เช่น ความ เสมอภาคทางการตลาดสาหรับนักลงทุนต่างชาติและนักลงทุน ภายใน สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร และได้รับ GSP สามารถเช่า ที่ดินได้ 70 ปี และต่อสัญญาได้อีก ไม่มีข้อจากัดการแลกเปลี่ยน เงินตราและการโอนเงิน ยกเว้นภาษีได้ 9 ปี ยกเว้นภาษีนาเข้า และภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับวัสดุการก่อสร้าง เครื่องจักรการผลิต และ วัตถุดิบการผลิตเพื่อการส่งออก การให้บริการ One Stop Service ซึ่งนักลงทุนจะได้รับการบริการจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง (Administration of Special Economic Zone: ASEZ) อย่ า ง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การจดทะเบียนการลงทุน พิธีการ ศุลกากร และการจัด การด้านแรงงาน การดูแลความปลอดภั ย ตลอด 24 ชั่ ว โมง การขจั ด ขยะมู ล ฝอย และการจั ด หาคณะ แรงงาน รวมทั้งการให้คาปรึกษาด้านกฎหมาย และบัญชี ระบบ สาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา ท่าขนส่งสินค้า โทรคมนาคม และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
นอกจากนี้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ยังมีสิทธิประโยชน์ที่ให้แก่นักลงทุน ได้แก่ 1. นโยบายพิเศษด้านภาษี คณะบริหารหรือสภาบริหารเศรษฐกิจ เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ เป็นผู้พิจารณาการ ยกเว้น หรือลดหย่อนอัตราภาษี ประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้ลงทุนโดย พิจารณาตามแต่ละกิจการ ขนาดของการลงทุน แต่สูงสุดไม่ให้เกิน อัต ราที่ ก ฎหมายว่ า ด้ วยภาษี แ ละกฎหมายว่ า ด้ วยส่ วยสาอากร กาหนดไว้ 2. ได้รับการยกเว้นภาษีอากร นาเข้าน้ามันเชื้อเพลิง ในระยะการ ก่อสร้างให้ผู้พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่ ตั้ ง อยู่ ใ นถิ่ น ทุ ร กั น ดาร (มิ ใ ช่ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ และ เขต เศรษฐกิจเฉพาะทั่วไป) และให้จัดทาแผนนาเข้าประจาปีโดยคณะ ผู้บริหารเขตฯ จะเป็นผู้พิจารณา 3
การลงทุนในสหภาพเมียนมาร์ สหภาพเมียนมาร์มีหน่วยงานที่รับผิดชอบการส่งเสริมในการลงทุนที่สาคัญๆได้แก่ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของพม่า (Myanmar Investment Commission : MIC) ประธานหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar Federation of Chambers of Commerce and Industry : UMFCCI) และคณะกรรมการบริ ห ารเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษติ ล าวา (Thilawa SEZ Management Committee : TSEZMC) ซึ่งคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของเมียนมาร์ดูแลการลงทุนจากต่างประเทศ และเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด โดยมีหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งสหภาพพม่าและคณะกรรมการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวาเป็น ส่วนหนึ่งของการดาเนินงาน สิทธิประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวาที่ให้แก่นักลงทุน ได้แก่ 1) สิทธิประโยชน์ด้านที่ดิน ได้มีการ กาหนดระยะเวลาการเช่าที่ดินได้นานถึง 50 ปี และสามารถต่ออายุได้อีก 25 ปี 2) สิทธิประโยชน์ด้านภาษี ในเขต Exempted Zone ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลปีที่ 1-7 และได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ปีที่ 8-12 กรณีสาหรับการนาผลกาไร กลับมาลงทุนสามารถขยายเพิ่มในปีที่ 13-17 พร้อมทั้งได้รับการยกเว้นภาษีนาเข้าวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์สาหรับการก่อสร้าง ขณะเดียวกันเขต Promotion Zone ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลปีที่ 1-5 และได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ปีที่ 6-10 กรณีสาหรับการนาผลกาไรกลับมาลงทุนสามารถขยายเพิ่มในปีที่ 11-15 พร้อมทั้งได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีร้อยละ 50 ระยะเวลา 5 ปี สาหรับการนาเข้าวัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณ์สาหรับการก่อสร้าง และ 3) สิทธิประโยชน์ด้านไม่ใช่ภาษี ได้รับสิทธิในการเปิดบัญชี กับธนาคารต่างชาติ, ไม่มีข้อจากัดในการถือหุ้นของบุคคลต่างชาติหรือนิติบุคคลต่างชาติ, ไม่มีข้อจากัดในการกาหนดราคาสินค้า และ ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ One Stop Services เป็นต้น ทั้งนี้การเข้ามาลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตามที่รัฐบาลเมียนมาร์กาหนดจะได้รับการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรคมนาคม และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น หากลงทุนนอกพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมักจะเกิดปัญหาการ ล่าช้าในการดาเนินงาน การลงทุนในเมียนมาร์นอกจากมีการให้เช่าที่ดินได้นานถึง 75 ปีแล้วนั้น การถือครองที่ดินก็เป็นหนึ่งปัจจัยที่เหล่านักลงทุนให้ ความสาคัญ อย่างไรก็ตามการที่รัฐบาลเมียนมาร์จะให้มีการครอบครองกรรมสิทธิ์แบบฟรีโฮลด์ (Freehold) หรือการซื้อขาด ยังคงเป็นไป ได้ยาก เนื่องจากรั ฐบาลยังสามารถควบคุมราคาและความต้องการซื้อได้ เพราะว่าความต้องการซื้อสูง แต่ความต้องการขายมีน้อย นอกจากนี้การเช่าที่ดินในเมียนมาร์ยังคงมีความซับซ้อนและข้อควรระวังหลายประการ รวมทั้งรูปแบบการเช่าที่ดินก็มีความหลากหลาย เช่น 1) การเช่าที่ดินที่ต้องจดทะเบียนกับกรมที่ดินจึงจะสามารถลงทุนในพื้นที่นั้นได้ แต่หากเช่าที่ดินกับประชาชนเมียนมาร์โดยตรง อาจมี ความเสี่ยงและไม่ได้รับความคุ้มครองจากรัฐบาลเมียนมาร์แต่อย่างใด และ 2) การเช่าที่ดินแบบนอมินี (Nominee) ซึ่งเป็นวิธีที่นักลงทุน นิยมใช้เป็นจานวนมากในปัจจุบัน
นักลงทุนจะได้รับอะไรจากการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษของเมียนมาร์?
1
สิทธิประโยชน์ดา้ นที่ดน ิ เช่น สามารถถือที่ดินไปนานถึง 50 ปี และสามารถ ต่ออายุได้อีก 25 ปี โดยครอบครองกรรมสิทธิ์แบบ Freehold สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล การยกเว้นภาษี นาเข้าเครื่องจักร วัตถุดิบ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง
2 3
สิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษี เช่น การได้รับสิทธิในการเปิดบัญชีกับธนาคาร ต่างชาติ ไม่มีข้อจากัดในการถือหุ้นของบุคคลต่างชาติ
รูปแบบการเช่าที่ดินมี 2 รูปแบบ 1. จดทะเบียนกับกรมที่ดิน 2. เช่าแบบ Nominee (ได้รับความนิยมสูงกว่า) 4
ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ระหว่ า งพื้ น ที่ ชายแดนจั ง หวั ด เชี ย งรายและประเทศเพื่ อ น บ้าน
ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ทางการค้ า และความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ระหว่า งประเทศของในพื้นที่ชายแดนจั งหวัด เชียงราย
ปัจจุบันบทบาทของการตกลงด้านการค้าและการลงทุนใน พื้นที่ชายแดนตามกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างพื้นที่ ชายแดนจังหวัดเชียงราย และพื้นที่ชายแดนของประเทศเพื่อน บ้าน ดังนี้
ประการแรก ผู้ประกอบการ SMEs ไม่สามารถเข้าถึง เรื่องการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า เช่น ผู้ผลิตสินค้า OTOP ไม่ มีความรู้ความเข้าใจว่าเมื่อทาการผลิตสินค้าแล้วจะส่งออกหรือมี ช่องทางการส่งออกทางไหนบ้าง หรือผู้ผลิตลาไยอบแห้งสามารถ ส่งไปประเทศจี นผ่านกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่า ง อาเซียน-จีนอย่างไรบ้าง ซึ่งผู้ประกอบการไทยสามารถทาได้ แต่ ต้องผลิตสินค้าให้ได้ตามมาตรฐานของประเทศจีน และมีเอกสาร กากับตามมาตรฐานที่ประเทศนั้นๆกาหนด อย่างไรก็ตาม หาก สินค้าจากไทยที่นาเข้าโดยพ่อค้าคนจีนแล้วนั้น จะสามารถนาเข้า สินค้าในราคาต้นทุนต่า จึงทาให้ผู้ประกอบการไทยที่ทาถูกต้อง ตามกฎระเบียบไม่สามารถสู้ราคาที่ต่ากว่าได้ ดังนั้นประเทศไทย ควรต้องเร่งดาเนินการในข้อตกลง Single Window Inspection เพื่อส่งเสริมการค้าที่เป็นระบบตามเส้นทาง R3
ประการแรก กรอบความร่ วมมื อทางเศรษฐกิ จ ระดั บ ชายแดนต่อชายแดนในปัจจุบันของจังหวัดเชียงราย ดาเนินการ โดยคณะกรรมการชายแดนส่ ว นท้ อ งถิ่ น (Township Border Committee : TBC) ซึ่งเป็นความร่วมมือของทหารประเทศไทย กับ ทหารสหภาพเมี ยนมาร์ และนายอาเภอชายแดนของทั้ ง 2 ประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการประชุมหารือในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหายาเสพติด การเคลื่อนย้ายคน การเปิด – ปิดด่านพรมแดน และการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง ทั้งนี้ ที่ผ่านมา กรอบความร่วมมือ TBC เป็นช่องทางของผู้ประกอบการไทยที่ สามารถเข้ามาติดต่อการค้า เป็นเวทีตกลงทางการค้า และการ แก้ไขปัญหาการค้าชายแดน เป็นต้น
ประการที่ 2 การเร่ ง รั ด และผลั ก ดั น การจั ด ตั้ ง เขต เศรษฐกิ จ พิ เศษของไทยโดยมี ก ฎหมายมาตรา 44 ให้ ป ระสบ ความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ปัญหาของผู้ประกอบการ SMEs ที่ เกิดขึ้นจากการผลักดันเขตเศรษฐกิจพิเศษในอาเภอแม่สอด ได้แก่ ผู้ป ระกอบการ SMEs ไม่ มี ค วามรู้ค วามเข้ า ใจ ไม่ มี ห น่ วยงาน กลางหรือหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ ไม่สามารถแข่งขันกับ ผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ เช่น เจริญโภคภัณฑ์ สหฟาร์ม และเบ ทาโกร ไม่มีการผลิตที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้มีการประหยัดต่อ ขนาด (Economy of Scale) และ สถาบันการเงินหรือธนาคาร ไม่ให้สินเชื่อแก่นักธุรกิจ เนื่องจากธนาคารอาจจะไม่มีความรู้เรื่อง ระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นต้น ดังนั้น สถาบันการศึกษาควรให้ ความรู้ แ ละความเข้ า ใจในเรื่ อ งสิ ท ธิ ป ระโยชน์ แ ละการใช้ สิ ท ธิ ประโยชน์ทางการค้าและการลงทุนกับผู้ประกอบการ
ประการที่ 2 กรอบความร่วมมือชายแดนระดับภูมิภาค (Regional Border Committee : RBC) เป็ น ความร่ ว มมื อ ใน ระดั บ ของกองทั พ ภาค ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด และหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องปรึกษาหารือกาหนดมาตรการแก้ไขปัญหาความมั่นคง และปัญหาบริเวณชายแดนร่วมกัน อีกทั้งยังเป็นช่องทางของนัก ธุ ร กิ จ ที่ ติ ด ตามซึ่ ง จะรั บ รู้ ถึ ง สถานการณ์ ก ารค้ า ชายแดนเพื่ อ นามาใช้ในการปรับตัวต่อการดาเนินธุรกิจ ประการที่ 3 นอกจากกรอบความร่วมมือทางด้าน TBC และ RBC ยั ง มี ก รอบความร่ วมมื อระหว่ า งหอการค้ า และสภา อุตสาหกรรม หรือที่เรียกว่า สภาการค้า ที่เป็นเวทีหารือข้อตกลง ทางการค้า และสร้างกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักธุรกิจไทยกับนัก ธุ ร กิ จ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เช่ น การร่ ว มกิ จ กรรม business matching และควรมีการส่งเสริมให้กรอบความร่วมมือนี้เกิดขึ้น อย่างสม่าเสมอและเป็นรูปธรรม
5
แนวทางแก้ไขปัญ หาการใช้ สิ ทธิป ระโยชน์ทางการค้า และความร่วมมื อทางเศรษฐกิจ ระหว่า ง ประเทศในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย ประการที่ 1 ภาครัฐควรลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และให้ผู้ประกอบการเช่าพื้นที่ โดยทาการเรียกเก็บค่าเช่ากับผู้ประกอบการในภายหลัง เนื่องจากปัจจุบันที่ดินมีราคาสูงมากขึ้นส่งผลให้นักลงทุนไม่สามารถตัดสินใจ ลงทุน ประการที่ 2 การส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs โดยการจัดตั้งทีมพัฒนาคลัสเตอร์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และควรประกอบด้วยผู้นากลุ่มคลัสเตอร์ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์ (CDA : Cluster Development Agent) และที่ปรึกษาคลัสเตอร์ ประการที่ 3 การเร่งเจรจาความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภมิภาคลุ่มแม่น้าโขง(GMS Cross Border Trade Agreement : GMS CBTA)
ข้อเสนอแนะต่อการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประการที่ 1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าที่มาตรฐานเดียวกัน และความร่วมมือด้านข้อมูลการผลิตกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ HARMONIZED SYSTEM, SMEs Development และ Local Content เพื่อสนับสนุนการพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ในพื้นที่ชายแดนใน ประเทศและประเทศเพื่อบบ้าน ประการที่ 2 ส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์จากรัฐบาลและเอกชนด้านการลงทุนร่วมกัน (Public-Private Partnership) การ กาหนดการใช้ปัจจัยการผลิตในท้องถิ่น (Local Content Requirement) ร่วมกับสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone) เพื่อทาให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงรายที่มี การสนับสนุน 10 ประเภทอุตสาหกรรม ควรมีการเจรจาการใช้สิทธิประโยชน์ Local Content กับทางนักลงทุนของสปป.ลาว ในเขต เศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมคา เพื่อส่งเสริมการผลิตจากต้นน้าจนถึงปลายน้าบริเวณพื้นที่ชายแดน ประการที่ 3 ส่ ง เสริม การพัฒ นาทรัพ ยากรมนุษย์ (Human Recourse Development) ปัจ จุบั นเชี ยงรายมีศู นย์พั ฒนาฝี มื อ แรงงานเชียงราย และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และความต้องการ แรงงานที่มีฝีมือในแต่ละอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ทั้งนี้ต้องมีการเจรจาและข้อตกลงวัฒนธรรมการทางานของแรงงานจาก ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น วันหยุดสงกรานต์ ตรุษจีน และวันหยุดอื่นๆ จาเป็นต้องมีการวางแผนเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต ประการที่ 4 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักธุรกิจ ผู้ประกอบการควรมีการพบปะกันมากขึ้น และสถาบันการเงินหรือธนาคารควร เข้ามามีบทบาทโดยการศึกษา Business Environment เพื่อให้ทราบบริบทการลงทุนและให้สินเชื่อซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญต่อนักลงทุน ประการสุดท้าย สนับสนุนอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษย้ายเข้าไปสู่พื้นที่เขตเศรษฐกิจเพื่อให้ได้รับสิทธิ ประโยชน์ดังกล่าว เช่น โรงสีขาว เพื่อการส่งออกสนับสนุนให้ย้ายเข้ามาสู่พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ รัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาลกลางควรส่งเสริมเพื่อให้เกิดการลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษทันที การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายและประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับการค้าการลงลทุนให้แก่ผู้ประกอบการ SEMs ถือได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาผู้ประกอบการไทย ไม่ว่าจะเป็นสิทธิประโยชน์จากการกาหนดการใช้ปัจจัยการผลิตในท้องถิ่น (Local Content Requirement) เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากปัจจุบันข้อมูล ดังกล่าวยังไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงหรือมีผู้รู้แต่ไม่เผยแพร่ ฉะนั้นจึงทาให้ผู้ประกอบการเสียโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ตนเอง 6
อ้างอิง ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในลาว (2555). เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Special Economic Zone : SEZ) ในสปป.ลาว. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2558 จาก http://www.thaibizlao.com/ lao/knowledges/detail.php?id=17074 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (2557). เขตเศรษฐกิจพิเศษติละวา...แหล่งรองรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของพม่า. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2558 จาก http://www.exim.go.th/ doc/newsCenter/44582.pdf สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ดาเนินงานด้าน การรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับองค์ความรู้ที่เป็นฐาน สาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศและ ยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. +66 53916680 Email: mfuobels@gmail.com
ความร่วมมือในระดับพื้นที่ชายแดน
แนวทางแก้ไขปัญหาการใช้สิทธิ ประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ
1. คณะกรรมการชายแดนส่วนท้องถิ่น (Township Border Committee: TBC)
1. พัถนาโครงสร้างพื้นฐาน และ สาธารณูปโภคในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ เรียกเก็บค่าเช่าที่ดน ิ ภายหลัง 2. พัถนา Cluster เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้กับ SMEs 3. เร่งเจรจาความตกลงว่าด้วยการขนส่ ง ข้ า มพรมแดนในอนุ ภ มิ ภ าคลุ่ ม แม่ น้ าโขง (GMS Cross Border Trade Agreement : GMS CBTA)
2. กรอบความร่วมมือชายแดนระดับ ภูมิภาค (Regional Border Committee : RBC) 3. สภาการค้า (กรอบความร่วมมือ ระหว่างหอการค้า และสภาอุตสาหกรรม)
ปัญหาและอุปสรรคในการใช้สิทธิ ประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ข้อเสนอแนะต่อการใช้สิทธิประโยชน์ ทางการค้าและความร่วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
1. ปู้ประกอบการ SMEs ไม่สามารถเข้าถึง เรื่องการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า
1. ส่งเสริมการปลิตสินค้ามาตรฐาน เดียวกัน 2. ส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์ร่วมระหว่าง รัฐและเอกชน (Public Private Partnership) 3. ส่งเสริมการพัถนาทรัพยากรมนุษย์ 4. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักธุรกิจ 5. สนับสนุนให้อุตสาหกรรมในพื้นที่ยา้ ย เข้าไปสู่พื้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ
2. ปูป ้ ระกอบการ SMEs ขาดความรู้ความ เข้าใจ ไม่มีหน่วยงานให้ความรู้ ไม่มี ความสามารถในการแข่งขันกับรายใหญ่ และขาดเงินทุน
7