0
OBELS HIGHLIGHTS June, 2015
บทนา รายงานฉบับนี้ นาเสนอเกี่ ย วกับ 3 ตัวชี้วัดที่สาคัญของจังหวัด เชียงรายประกอบด้วย การค้าชายแดน (Border Trade) การเคลื่อนย้ายแรงงาน (Labor Mobility) และปัญหาหมอกควันข้ามแดน (Haze Pollution) ในส่ ว นแรกคื อ การเสนอและวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงของภาวะเศรษฐกิ จ มหภาค (Macroeconomics) และดัชนีผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) ของจังหวัดเชียงราย ส่วนที่สองคือการ รายงานสถานการณ์การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย โดยแบ่งออกเป็น 3 ด่านหลัก ได้แก่ ด่านอาเภอเชียงของ ด่านอาเภอเชียงแสน และด่านอาเภอแม่สาย ส่วนที่สามคือ การรายงานสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของการ เคลื่อนย้ายแรงงานภายในจังหวัดเชียงราย และส่วนสุดท้ายคือการติดตามสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เน้นไป ในเรื่องผลกระทบของปัญหาหมอกควันที่มตี ่อภาวะเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดเชียงราย
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ในปี 2555 เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายขยายตัวร้อยละ 10.41 ปรับตัวดีขึ้นจากปีที่ผ่านมา (รูป 1) เป็น ผลจากการขยายตัวของภาคการเกษตรที่มีอัตราการเติบโตร้อยละ 15.44 ซึ่งเกิดจากการขยายตัว เพิ่มขึ้นของพื้นที่ การเพาะปลูกยางพารา และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นสาคัญ เป็นสินค้าเกษตรที่เป็นมีความต้องการในตลาดอย่างมาก จึงส่งผลให้เกิดแรงจูงใจทางด้านราคาที่ปรับตัวสูงขึ้น ในส่วนของมูลค่า ภาคนอกเกษตรมีการขยายตัวร้อยละ 8.2 เป็นผลจากการขยายตัวของสาขาตัวกลางทางการเงินมีอัตราการเติบโตร้อยละ 34.6 การให้สินเชื่อที่เป็นกิจกรรม หลักของธนาคารในประเภทของสินเชื่ออุปโภค-บริโภคส่วนบุคคล สินเชื่อธุรกิจ และสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่ได้รับอิทธิ ผลจากนโยบายโครงการบ้านหลังแรกของรัฐบาลซึ่งมีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2554 ถึง 31 ธันวาคม 25551 สาขาที่มีการเติบโตสูงสุดรองลงมาคือ สาขาการไฟฟ้า ประปา และโรงแยกก๊าซขยายตัวร้อยละ 18.05 เป็นการขยายตัวตามปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นของจังหวัดเชียงราย นอกจากนี้ สาขาการขายปลีกขายส่งฯมี 1
ที่มา: http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=3853 *รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง “พลวัตทางสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน: การค้าการลงทุน การเคลื่อนย้าย แรงงาน และสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ (สกอ.) และมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
1
การขยายตัวร้อยละ 13.91 เป็นอันดับสามของอัตราเติบโตสูงสุดภาคนอกเษตรในปี 2555 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้น อย่างมากของอุปทานการขายส่งผลไม้และผักจนเพียงพอต่อความต้องการของตลาด (ธนาคารแห่งประเทศไทย, รายงานภาวะเศรษฐกิจปี 2555, 2555) รูปที่ 1 ภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย GPP 60,000 50,000
%Δภาคเกษตร
%Δภาคนอกเกษตร
ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลก
20.00% 15.00%
40,000
10.00%
30,000
5.00%
20,000
0.00%
10,000 -
-5.00% 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ที่มา: สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2557 ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) ของจังหวัดเชียงรายมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกปี โดยในปี 2555 ดัชนีราคาผู้บริโภคอยู่ที่ 134.9 มีการเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.07 จากปีก่อน (รูป 2) มีการชะลอ ตัวอย่างมากจากปี 2554 ที่มีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.31 เป็นผลจากการหดตัวของดัชนีราคาผลผลิตทาง การเกษตรเป็นสาคัญที่ร้อยละ 7.74 เนื่องจาก เกิดการการลดลงของอุปสงค์ต่อยางพาราของตลาดประเทศจีน และการเพิ่มขึ้นอย่างมากของอุปทานยางพารา (ธนาคารแห่งประเทศไทย, รายงานภาวะเศรษฐกิจปี 2555, 2555) เมื่อยางพาราเกิดการล้นตลาดจึงได้ฉุดให้ราคาตกต่าลงตามกลไกราคา นอกจากนี้ ยังมีการหดตัวดัชนีราคาในสาขา ภาคนอกเกษตร อาทิ สาขาการไฟฟ้า ประปา และโรงแยกก๊าซหดตัวร้อยละ 8 สาขาโรงแรมและภัตตาคารหดตัว ร้อยละ 3 สาขาการขายส่งขายปลีกฯ และสาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าหดตัวเท่ากันร้อยละ 1 “ราคาสิ นค้าเกษตรตกต่าของอย่างมากในปี 2548 หดตัวร้อยละ 5.47 ได้ส่งผลให้ดชั นีผบู ้ ริ โภคโดยรวมของ จังหวัดเชียงรายมีการหดตัวร้อยละ 1.79 สวนทางกับการเติบโตของเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวถึงร้อยละ 8.01”
2
รูปที่ 2 การขยายตัวของดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดเชียงราย ภาคเกษตร
ภาคนอกเกษตร
%ΔCPIภาคเกษตร
%ΔCPIภาคนอกเกษตร
60,000 50,000
20.00%
ราคาสินค้าเกษตรตกต่า
15.00%
40,000
10.00%
30,000
5.00%
20,000
0.00%
10,000
-5.00%
-
-10.00% 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ที่มา: สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2557 เมื่อพิจารณาจากการเติบโตเฉลี่ยสะสม (Compound Annual Growth Rate: CAGR) ตั้งแต่ปี 2546 2555 ของ GPP ณ ราคาคงที่ (Real Gross Provincial Product: Real GPP) ทั้งภาคเกษตรและภาคนอกเกษตร มีการเติบโตในระยะยาวที่ดี ภาคเกษตรมีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 5.9 และภาคนอกเกษตรมีการขยายตัว เฉลี่ ย สะสมอยู่ ที่ 3.86 ทาให้ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ มวลรวมของจั งหวั ดเชีย งรายมี ก ารขยายตั ว เฉลี่ ย สะสมร้ อยละ 4.46 เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายมีแนวโน้มที่จะเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก “สาขาบริ การด้านสุ ขภาพและสังคมสงเคราะห์มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2547 และมีอตั ราการ เติบโตเฉลี่ยสะสมสู งสุ ดในภาคนอกเกษตรอยูท่ ี่ร้อยละ 8 มีแนวโน้มว่าในการเปิ ดประชาคมอาเซียนในปี 2559 จะทาให้สาขาดังกล่าวมีการเติบโตเพิ่มสู งขึ้นมาก” จากโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย โดยสาขาที่มีมูลค่า GPP สูงสุด 5 อันดับคิดเป็นร้อยละ 79.5 จากมูลค่า GPP รวม ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯร้อยละ 30.8 สาขาบริการอสังหาริมทรัพย์ฯร้อยละ 11.5 สาขา ตัวกลางทางการเงินร้อยละ 11 สาขาการศึกษาร้อยละ 9.2 สาขาการบริหารราชการฯร้อยละ และสาขาการขาย ปลีกขายส่งร้อยละ 8.5 เท่ากัน (รูป 3) เกษตรกรรมมีบทบาทต่อเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายอย่างมาก ซึ่งพืช เศรษฐกิจที่สร้างมูลค่าอย่างมาก ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ชาอัสสัม ยางพารา ลาไย เป็นต้น (สานักงานเกษตร
3
จังหวัดเชียงราย, 2557) นอกจากนี้ การให้บริการอสังหาริมทรัพย์มีการเติบโตอย่ างมาจากการลงทุนในการสร้าง คอนโด บ้านจัดสรร โดยกลุ่มทุนขนาดใหญ่ เช่น สุวรรณรายา แลนด์แอนด์เฮ้าส์ (ไชยลังกา, 2556) รูปที่ 3 สาขาที่มี GPP สูงสุด 5 อันดับในโครงสร้างเศรษฐกิจเชียงรายปี 2557
EDU, 5,273 AGRI = สาขาเกษตรกรรมฯ INDUS = สาขาอุตสาหกรรม
GOV, 4,855 AGRI, 17,584
GOV = สาขาบริ หารราชการฯ CON = สาขาบริ การอสังหาริ มทรัพย์ฯ
REAL, 6,551
ELEC = สาขาไฟฟ้ า ประปาฯ SELL = สาขาการขายปลีกขายส่ งฯ
BANK, 6,255
SELL, 4,856
ที่มา: สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2557 เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตอย่างมากจากอดีต และเป็นการเติบโตที่รวดเร็วเป็นอย่างมาก ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจตต่อราคาที่ดินที่มีการปรับตัวสูงขึ้นเป็นเท่าตัวในปีระยะเวลา 2 – 3 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะ อาเภอติดชายแดน ที่แต่เดิมอาเภอเชียงของมีราคาที่ดินประมาณไร่ละ 3 – 4 ล้านบาท ปรับขึ้นเป็นประมาณไร่ละ 6 – 9 ล้านบาท หลังมีการเปิดใช้งานสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 อาเภอแม่สายบริเวณสะพานข้ามแม่น้า สายแห่งที่ ราคาที่ดินปรับเพิ่มขึ้นจาก 1.5 – 2 ล้านบาทต่อไร่ เป็น 3.5 – 4 ล้านบาทต่อไร่ ซึ่งพื้นที่ที่มีราคาที่ดิน สูงที่สุดคืออาเภอเมืองที่แต่เดิมราคาประมาณไร่ละ 10 – 15 ล้านบาท เป็น 20 – 30 ล้านบาท (ไทยรัฐ, 2556) เป็นผลการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดน และมีแนวโน้มในอนาคตที่จะเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
4
สถานการณ์การค้าชายแดน การส่งออกมีการชะลอตัวจากปีก่อน เนืองจาก มีการหดต่ออย่างต่อเนืองของมูลค่าการส่งออก ไปยั ง จี น ตอนใต้ แต่ มี ก ารปรั บ ตั ว ที ดี ขึ้ น จากปี ที แล้ ว ในขณะที การน่ า เข้ า มี ก ารเติ บ โตเพิ มขึ้ น ค่อนข้างมาก ซึงเป็ นเหตุจ ากการขยายตัวของการน่าเข้าสินค้าจากจีนตอนใต้ และเมียนมาร์เป็ น จ่านวนมาก ท่าให้มูลค่าการค้าชายแดนมีการขยายตัวทีดี แม้ว่าว่ามูลค่าดุลการค้าชายแดนจะมีการ ชะลอตัวลงไปบ้าง ในปี 2557 มูลค่าการส่งออกอยู่ที่ร้อยละ 6.71 มีการชะลอตัวเพียงเล็กน้อยจากปีก่อน (รูป 4) จากการหด ตัวอย่างต่อเนื่องของมูลค่าการส่งออกสินค้าไปยังจีนตอนใต้ที่ร้อยละ 9.15 เป็นหดตัวอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่สอง โดย สินค้าที่มูลค่าการส่งออกไปยังจีนที่มีการปรับตัวลดลง ได้แก่ สินค้าอุปโภค-บริโภค เครื่องจักรกลและอุ ปกรณ์ สินค้าเกษตร และสิ่งเคมีภัณฑ์ เนื่องราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกมีการปรับตัวลดลงมากอย่างต่อเนื่อง รวมถึง ราคาสินค้าเกษตรที่เข้าสู่ภาวะตกต่าอย่างรุนแรง ตลอดจนผลกระทบจากการใช้มาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจ ของจีนที่ ทาให้อุปสงค์ในประเทศมีการชะลอตัวลง (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2557) ขณะเดียวกัน การส่งออกสินค้าไปยัง สปป.ลาว และเมียนมาร์มีอัตราการเติบโตร้อยละ 7.28 และร้อยละ 11.15 ตามลาดับ ใกล้เคียงกับอัตราการเติบโต ของปีที่แล้ว การนาเข้ามีการขยายตัวอย่างมากที่ร้อยละ 12.3 ทั้งที่ในปีก่อนหน้านี้มีการขยายตัวเพียงแค่ร้อยละ 1.37 เกิดจากการเติบโตของมูลค่านาเข้าสินค้าจากเมียนมาร์เป็นสาคัญ ซึ่งมีการขยายตัวต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2557 มีการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 158.9 โดยสินค้าที่มีมูลค่าการนาเข้าสูงขึ้น ได้แก่ ไม้ซุง สินค้าเบ็ดเตล็ด ผลส้มสด เปลือกก่อ ดอกเก๊กฮวยตากแห้ง ทานาคา และสินค้าอุปโภค-บริโภค ในขณะที่การนาเข้าสินค้าจากจีนตอนใต้มีการ ขยายตัวที่ดีเช่นกันอยู่ที่ร้อยละ 13.91 จากปีก่อนที่มีการหดตัว นอกจากนี้ มูลค่าการนาเข้าของสปป.ลาวกลับการ หดตัวอย่างหนักที่ร้อยละ 34.56 ทั้งที่ปีที่แล้วมีการเติบโตอย่างมาก โดยสินค้าที่มูลค่าการนาเข้าจากสปป.ลาว ลดลง ได้แก่ ถ่านหินลิกไนท์ พืชผักสด ไม้แปรรูป สินค้าเกษตร ลูกต๋าว หินชายฝั่ง วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง และ ดอกหญ้า (ก๋ง) ซึ่งมูลค่าสินค้านาเข้าดังกล่าวมีการหดตัวมากกว่าร้อยละ 10 สาเหตุเกิดจากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะ เป็นการชะลอโครงการลงทุนด้านเหมืองแร่ของรัฐบาลสปป.ลาวที่ทาให้อุปทานของถ่านหินลิกไนท์ลดลง และการ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (ประชาชาติธุรกิจ, 2557)
5
รูปที่ 4 แนวโน้มการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย 12.30% 10.23% 7.37%
8.23% 6.71%
5.95% 3.86%
2556 2557
1.37% ส่งออก
นาเข้า
การค้ารวม
ดุลการค้า
ที่มา: รวบรวมโดยสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย, 2558 การขยายตัวของมูลค่าการนาเข้าส่งผลให้การค้าชายแดนมีการเติบโตร้อยละ 10.23 เติบโตขึ้นจากปีก่อน อย่างมาก หากแต่ทาให้มูลค่าดุลการค้ามีการถดถอยลงจากปี 2556 มีอัตราการเติบโตร้อยละ 8.23 ลดลงมาเป็น ร้อยละ 5.95 ในปี 2557 การค้าผ่านแดนบริเวณด่านจังหวัดเชียงรายและจีนตอนใต้ส่ว นใหญ่เป็นการค้าภายใน อุตสาหกรรม (Intra-industry trade) อาทิ เครื่องอุปโภค-บริโภค เครื่องจักรและอุปกรณ์ สินค้าเกษตร ผลไม้สด และดอกไม้ประดับ คิดเป็นร้อยละ 67.48 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด และร้อยละ 52.49 ของมูลค่าการนาเข้า ทั้งหมด ส่วนการค้าชายแดนกับเมียนมาร์บริเวณด่านจังหวัดเชียงรายเป็นการค้าระหว่างอุตสาหกรรม (Interindustry trade) เป็นส่วนมาก โดยสินค้าที่มีการค้าภายในอุตสาหกรรมเริ่มมีการเติบโตมากขึ้น อาทิ สินค้า เบ็ดเตล็ด และสินค้าอุปโภค-บริโภค คิดเป็นร้อยละ 39.13 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด และร้อยละ 5.55 ของ มูลค่าการนาเข้าทั้งหมด ในขณะที่ การค้าชายแดนกับสปป.ลาวบริเวณด่านจังหวัดเชียงรายส่วนใหญ่เป็นการค้า ระหว่างอุตสาหกรรม โดยมีสินค้าบางประเภทที่มีการค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน เช่น สินค้าเกษตร และวัสดุ ก่อสร้างจาพวก เศษเหล็ก และเหล็กถลุง คิดเป็นร้อยละ 35.44 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด และร้อยละ 3.73 ของมูลค่าการนาเข้าทั้งหมด ทั้งนี้ สปป.ลาวมีศักยภาพในการผลิตสินค้าประเภทวัสดุที่ใช้ในก่อสร้างพื้นฐานมากขึ้น
“การขยายตัวของการค้าแบบภายในอุตสาหกรรมสะท้อนถึงการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศคู่คา้ ที่มีศกั ยภาพ ในการผลิตสิ นค้ามากขึ้น โดยเฉพาะสปป.ลาว และเมียนมาร์ที่หลังจากการเปิ ดประเทศได้มีการลงทุนในด้าน การผลิตของอุตสาหกรรมสู งขึ้น”
6
รูปที่ 5 การเติบโตมูลค่าการค้าชายแดนของประเทศคู่ค้า ส่งออก
นาเข้า
ดุลการค้า
การค้ารวม
50,000.00 40,000.00 30,000.00 20,000.00 10,000.00 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
ที่มา: รวบรวมโดยสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ในระยะยาว มูล ค่าการส่ งออกมีก ารเติบ โตที่ดีม าก โดยมี อัต ราการเติบ โตเฉลี่ ยสะสม (Compound Annual Growth Rate: CAGR) ร้อยละ 19.21 ซึ่งเป็นการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการส่งออกไปยังเมียนมาร์ และสปป.ลาวเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมูลค่าการค้าชายแดน และดุลการค้ามีการขยายตัวสอดคล้องกับมูลค่าการส่งออก อยู่ที่ร้อยละ 17.67 และ 21.61 ตามลาดับ ส่วนการนาเข้ามีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมไม่มากนักที่ร้อยละ 10.18 ซึ่ง การขยายตัวเป็นผลจากการนาเข้าจากจีนตอนใต้เป็นอันแรก รองมาได้แก่ เมียนมาร์ และสปป.ลาว คาดการณ์ว่า ในอนาคตการค้าชายแดนจะมีการเติบโตเพิ่มขึ้นอีกอย่างมาก
7
ด่านอาเภอเชียงของ สถานการณ์การค้าชายแดนบริเวณอ่าเภอเชียงของ พบว่ามีการหดตัวของมูลการส่งออก ในขณะทีมูลค่าการน่าเข้ามีการเติบโตเพิมสูงขึ้นอย่างมาก การลดลงของมูลค่าการส่งออกท่าให้ มูลค่าการค้าชายแดนมีการขยายตัวลดลงเพียงเล็กน้อย ส่งผลให้ดุลการค้ามีการชะลอตัวอย่างมาก แต่ยังคงได้เปรียบดุลการค้าจากประเทศเพือนบ้าน และจีนตอนใต้ การส่งออกในปี 2557 มีการขยายตัวร้อยละ 5.84 เติบโตลดลงอย่างมากจากปีก่อน สาเหตุมาจากการหด ตัวอย่างรุนแรงของมูลค่าการส่งออกไปยังสปป.ลาวที่ร้อยละ 87 ได้แก่ สินค้าประเภทเนื้อสัตว์แช่แข็ง และเนื้อสัตว์ ที่ทาไว้ไม่ให้เสีย น้ามันเบนซิน และวัสดุที่ใช้ในก่อสร้าง โดยที่จีนตอนใต้มีการขยายตัวเพียงเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.5 ในขณะที่เมียนมาร์มีการขยายตัวอย่างมากร้อยละ 226.7 ในสินค้าประเภทยางพารา และสินค้าอุปโภค-บริโภค ส่วนการนาเข้ามีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมากจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 3.81 จากการนาเข้าสินค้าประเภทเครื่องจักร และอุปกรณ์ และบุหรี่เพิ่มขึ้นจากจีนตอนใต้เป็นสาคัญ ทาให้มูลค่าการค้าชายแดนอยู่ที่ร้อยละ 5.38 ลดลงจากปี ก่ อ นเพี ย งเล็ ก น้ อ ย แต่ ท าให้ ดุ ล การค้ า บริ เ วณด่ า นอ าเภอเชี ย งของชะลอตั ว ลงอย่ า งมากอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 6.68 เนื่องจากกมูลค่าการส่งออกมีการเติบโตต่ากว่าการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้า รูปที่ 6 การขยายตัวของการค้าชายแดนด่านเชียงของ 10.87% 7.47%
6.68%
5.84%
5.69% 5.38%
2556
3.81%
2557
0.04% ส่งออก
นาเข้า
การค้ารวม
ดุลการค้า
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอเชียงของ, 2558
8
การค้าชายแดนในระยะยาว ตั้งแต่ปี 2546 - 2557 มีการขยายตัวที่ดี (รูป 7) โดยมีอัตราการขยายตัว เฉลี่ยสะสมร้อยละ 32.09 ผลจากการเติบโตของการค้าผ่านแดนกับจีนตอนใต้เป็นสาคัญ ซึ่งเน้นไปที่การส่งออก สินค้าที่มีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 33.89 ในสินค้าประเภทวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง เครื่องอุปโภค-บริโภค น้ามันดีเซลหมุนเร็ว และน้ามันเบนซิน ที่มีการส่งออกไปอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่การนาเข้ามีการขยายตัวเฉลี่ย สะสมร้อยละ 26.91 จากการนาเข้าสินค้าประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ และไม้แปรรูป ที่มีการนาเข้ามาอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้ดุลการค้ามีขยายตัวเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ 34.49 ใกล้เคียงอัตรากรเติบโตเฉลี่ยของมูลค่าการค้า และ มูลค่าการส่งออก รูปที่ 7 การเติบโตของค้าชายแดนในระยะยาวด่านเชียงของ การนาเข้า
มูลค่าการส่งออก
มูลค่าการค้ารวม
มูลค่าดุลการค้า
2500
มูลค่า (ล้านบาท)
2000 1500 1000 500
-500
Jan-2546 Jul-2546 Jan-2547 Jul-2547 Jan-2548 Jul-2548 Jan-2549 Jul-2549 Jan-2550 Jul-2550 Jan-2551 Jul-2551 Jan-2552 Jul-2552 Jan-2553 Jul-2553 Jan-2554 Jul-2554 Jan-2555 Jul-2555 Jan-2556 Jul-2556 Jan-2557 Jul-2557
0
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอเชียงของ, 2558 การค้าชายแดนบริเวณอาเภอเชียงส่วนใหญ่ ในปี 2557 เป็นการค้าระหว่างอุตสาหกรรมคิดเป็นสัดส่วน ร้ อยละ 70 ของมูล ค่าการส่ งออกทั้ง หมด และร้ อยละ 81.1 ของมูล ค่าการนาเข้าทั้งหมด และการค้าภายใน อุตสาหกรรมมีเพียงสินค้าประเภทเดียวคือ ผลไม้สด ที่มีการส่งออกและนาเข้ากับจีนตอนใต้ เป็นผลข้อตกลงเสรี ทางการค้าอาเซียน-จีน (ASEAN- China FTA) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.5 ของสินค้าส่งออกทั้งหมด และร้อยละ 11.7 ของสินค้านาเข้าทั้งหมด
9
ด่านอาเภอเชียงแสน การส่งออกมีการเติบโตชะลอตัว เช่นเดียวกับการน่าเข้าทีมีการเติบโตลดลงอย่างมาก ท่าให้ มูลค่าการค้า ตลอดจนมูลค่าดุลการค้ามีการเติบโตลดลงตาม เกิด จากการลดลงอย่างมากของ อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกไปยังสปป .ลาว และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกไป ยังจีนตอนใต้
มูลค่าการส่งออกในปีงบประมาณ 2557 มีอัตราเติบโตอยู่ร้อยละ 11.01 มีการปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากปี ที่แล้ว (รูป 8) เนื่องจาก มูลค่าการส่งออกในสปป.ลาวมีการชะลอตัวลงจากร้อยละ 51.28 ในปีงบประมาณ 2556 เหลือเพียงร้อยละ 10.82 ในปี 2557 เป็นการลดลงของมูลค่าการส่งออกในสินค้าประเภทน้ามันเชื้อเพลิง สุรา เบียร์และไวน์ สังกะสี เหล็กเส้น และโครงเหล็ก รถยนต์และส่วนประกอบ ปูนซีเมนต์ น้ามันปาล์ม และเครื่องจักร ส่วนมูลค่าการส่งออกไปยังเมียนมาร์ และจีนตอนใต้มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 24.53 และ ร้อยละ 3.22 ตามลาดับ รูปที่ 8 การขยายตัวของการค้าชายแดนด่านเชียงแสน 25.96%
14.35%
13.82% 11.01%
13.23% 11.28% 10.77%
2556 2557
6.00%
ส่งออก
นาเข้า
ค้ารวม
ดุลการค้า
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอเชียงแสน, 2558 มูลค่าการนาเข้ามีการชะลอตัวลงอย่างมากจากร้อยละ 25.96 ในปี 2556 เหลือเพียงร้อยละ 6 ในปี 2557 สาเหตุเกิดจากการลดลงของมูลค่าการนาเข้าจากจีนตอนใต้เป็นสาคัญ ลดลงจากร้อยละ 30.22 ในปี 2556 เหลือ
10
เพียงร้อยละ 6.03 ในปี 2557 เป็นการหดตัวของมูลค่าการนาเข้าสินค้าประเภทไม้ซุงสักและของทาด้วยไม้ แร่ แมงกานีส พลวง และดีบุก ผลส้มสด ใบชา รถบรรทุก และเครื่องประดับและสร้อยคอทองคา ส่วนการนาเข้า สินค้าจากสปป.ลาวมีการเติบโตสูงขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 6.51 จากที่มีการหดตัวอย่างรุนแรงในปีก่อน รูปที่ 9 การเติบโตของการค้าชายแดนในระยะยาวด่านอาเภอเชียงแสน มูลค่าการส่งออก
มูลค่าการนาเข้า
การค้ารวม
ดุลการค้า
2,000.00 1,500.00 1,000.00 500.00 Oct-2550 Feb-2551 Jun-2551 Oct-2551 Feb-2552 Jun-2552 Oct-2552 Feb-2553 Jun-2553 Oct-2553 Feb-2554 Jun-2554 Oct-2554 Feb-2555 Jun-2555 Oct-2555 Feb-2556 Jun-2556 Oct-2556 Feb-2557 Jun-2557
0.00
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอเชียงแสน, 2558 จากรูป 9 เห็นได้ชัดว่าการเติบโตของมูลค่าการค้าในระยะยาวตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 - 2557 ได้รับ อิทธิพลอย่างมากจากมูลค่าการส่งออก ทาให้มูลค่าดุลการค้ามีการเติบโตสูงขึ้นตามเช่นกัน หากแต่มูลค่าการนาเข้า มีแนวโน้มที่จะลดลงอย่างต่อเนื่อง อัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมของมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ร้อยละ 13.38 เป็นผลจาก การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของมูลค่าการส่งออกไปยังสปป.ลาวเป็นสาคัญ ส่วนมูลค่าการนาเข้ามีการขยายตัวเฉลี่ย สะสมร้อยละ -8.87 เป็นผลเหตุจากการหดตัวอย่างต่อเนื่องของมูลค่าการนาเข้าจากจีนตอนใต้เป็นสาคัญ ทาให้ มูลค่าการค้าอยู่ที่ร้อยละ 13.38 และมูลค่าดุลการค้าอยู่ที่ร้อยละ 19.72 เป็นผลจากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของ มูลค่าการค้า และมูลค่าการดุลการค้ากับสปป.ลาว การค้าบริเวณด่านอาเภอเชียงแสนกับประเทศเพื่อนบ้านและจีนตอนใต้ ในปีงบประมาณ 2557 เป็น การค้าระหว่างอุตสาหกรรมคิดเป็นร้อยละ 96.47 ในขณะที่ การค้าภายอุตสาหกรรมเดียวกันคิดเป็นเพียงร้อยละ 3.5 คือสินค้าประเภทเครื่องจักรและส่วนประกอบ โดยที่มูลค่าการส่งออกมากกว่า มูลค่าการนาเข้า ฉะนั้น สินค้าที่ ค้าขายบริเวณชายแดนอาเภอเชียงแสนเป็นสินค้าที่ขึ้นอยู่ กับความสามารถในการผลิตของแต่ละประเทศไทย และ ประเทศคู่ค้า
11
ด่านอาเภอแม่สาย การส่งออกบริเวณด่านอ่าเภอแม่สายมีการปรับตัวลดลงอย่างมาก ในขณะทีการน่าเข้ามีการ เติบโตสูงขึ้นเป็นเท่าตัว ท่าให้การค้าโดยรวมมีการชะลอตัวตามมูลค่าการส่งออก รวมถึงการหดตัว ของมูลค่าดุลการค้าเช่นกัน มูล ค่ าการส่ งออกด่ านแม่ส ายในปี งบประมาณ 2557 มีก ารขยายตัว เพี ยงแค่ร้ อยละ 0.39 จากที่ เคย ขยายตัวที่ร้อยละ 19.09 (รูป 10) เกิดจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าประเภทรถยนต์ อาหารปรุงแต่ง และ น้ามันปาล์มไปยังเมียนมาร์เป็น สาคัญ ในปีงบประมาณ 2556 แต่มูลค่าการนาเข้ากลับมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก 42.53 ในปีงบประมาณ 2556 เป็นร้อยละ 140 ในปีงบประมาณ 2557 ซึ่งเป็นเหตุจากการขยายตัวของการนาเข้า สิ น ค้ า ประเภทไม้ ซุ ง ซั ก และของท าด้ ว ยไม้ แร่ แ มงกานี ส พลวงและดี บุ ก ผลส้ ม สด ใบชา รถบรรทุ ก และ เครื่องใช้ไฟฟ้า ทาให้มูลค่าการค้าชายแดนมีการขยายตัวต่ากว่าปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 3.28 และส่งผลให้มูลค่า ดุลการค้ามีการหดตัวร้อยละ 2.63 รูปที่ 10 การขยายตัวของการค้าชายแดนด่านแม่สาย 160.00%
140.00%
140.00%
120.00% 100.00% 2556
80.00% 60.00% 40.00% 20.00% 0.00% -20.00%
2557
42.53% 19.50% 18.67% 3.28% -2.63%
19.09% 0.39% ส่งออก
นาเข้า
การค้ารวม
ดุลการค้า
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอแม่สาย, 2558 ในระยะยาวตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 - 2557 มูลค่าการค้าชายแดนมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง สอดคล้อง กับการเติบโตของมูลค่าการส่งออก ซึ่งทาให้ดุลการค้ามีการเติบโตด้วยเช่นกัน แต่การนาเข้ากลับไม่มีขยายตัวมาก นัก (รูป 11) อัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมของการค้าชายแดนอยู่ที่ร้อ ยละ 14.63 มูลค่าการส่งออกอยู่ที่ร้อยละ 13.87 มูลค่าการนาเข้าอยู่ที่ร้อยละ 38.93 และมูลค่าดุลการค้าอยู่ที่ร้อยละ 13.05
12
รูปที่ 11 การเติบโตของการค้าชายแดนในระยะยาวด่านแม่สาย มูลค่าการส่งออก
มูลค่าการนาเข้า
การค้ารวม
ดุลการค้า
1600 1400 1200 1000 800 600 400 200 0
ที่มา: ด่านศุลกากรอาเภอแม่สาย, 2558
แนวโน้มการค้าชายแดนจังหวัดเชียงรายปี 2558 2557 2558 2557 2558 2557 2558
มกราคม อัตราการ เติบโตของ มูลค่าการ ส่งออก
กุมภาพันธ์ มีนาคม 2557
2557 2558 2557 2558 2557 2558
มกราคม อัตราการ เติบโตของ มูลค่าการ น่าเข้า
กุมภาพันธ์ มีนาคม 2557
จังหวัดเชียงราย
ด่านอ่าเภอเชียงของ
ด่านอ่าเภอเชียงแสน
ด่านอ่าเภอแม่สาย
-1.4 -0.89 27.4 -8.44 17.84 4.49 6.7 -9.84 -23.44 -27.51 62.25 26.47 -16.35 12.35
4.23 -17.54 27.96 -5.1 11.89 24.3 5.84 -34.14 16.55 -48.35 125.84 -27.01 23.25 3.81
-20.27 -42.89 -23.23 -35.47 9.68 66.33 13.3 0.63 -2.24 -12.97 28.87 9.56 137.61 6.09
15.39 -13.03 24.19 -3.5 9.56 -23.87 0.38 69.6 -75.79 225.59 48.27 1029.54 112.32 148.36
ที่มา: รวบรวมโดยสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย, 2558
13
สถานการณ์แรงงานจังหวัดเชียงราย ข้อมูลจากสานักงานสถิติจังหวัดเชียงรายปี 2557 พบว่า มีจานวนประชากร 1,200,423 คน เป็นชาย 590,446 คน (ร้อยละ 49.19) หญิง 609,977 คน (ร้ อยละ 50.81) จากจ้อมูลผลการสารวจภาวะการทางานของ ประชากรจังหวัดเชียงราย คาเฉลี่ยทั้ง 4 ไตรมาส ป 2557 สรุปรายละเอียดไดดังนี้ ประชากรในวัยทางาน(อายุ15 ปขึ้นไป) จานวน 956,095 คน ผู้อยูใ่ นกาลังแรงงาน จานวน 680,456 คน จาแนกเป็นผู้มีงานทาจานวน 678,699 คน (ร้อยละ 99.74 ของผู้อยู่ ในกาลังแรงงานทั้งหมด) ผู ว่างงาน จานวน 1,564 คน (ร้อยละ 0.23) และผู้ ที่รอ ฤดูกาล จานวน 194 คน (ร้อยละ 0.03) ผู้ไมอยู่ในกาลังแรงงาน จานวน 275,638 คนจาแนกเป็นทางานบ้าน จานวน79,161 คน (ร้อยละ 28.72 ของจานวนผูไมอยู่ในกาลังแรงงานทั้งหมด) เรียนหนังสือ จานวน 68,139 คน (ร้อยละ 24.72) และอื่นๆ จานวน 128,339 คน (ร้อยละ 46.56) ขณะเดียวกันในไตรมาสที่ 1 ปี 2558 พบว่า จังหวัดเชียงราย มีจานวนประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปมี จานวน 956,222 คน โดยเป็น ผู้ที่อยู่ในกาลังแรงงาน 670,632 คน (ร้อยละ 70.13) และเป็นผู้ที่ไม่อยู่ในกาลัง แรงงาน 285,590 คน (ร้อยละ 29.87) ของจานวนประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ทั้งนี้จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่อาเภอชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเมียนมาร์ และสปป.ลาว โดยมี อาเภอแม่สายติดต่อกับเมียนมาร์ อาเภอเชียงแสนกับอาเภอเชียงของติดกับสปป.ลาว ทั้ง 3 อาเภอชายแดนถือว่า เป็นส่วนสาคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายผ่านการค้าชายแดนระหว่างประเทศ และเป็นพื้น ที่ ผ่านเข้า – ออกของแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอาเภอแม่สายนั้นจะมีจานวนแรงงานจานวนมาก เนื่องจาก ปัจจัยความสะดวกในการเดินทางพร้อมทั้งพื้นที่ต้องการกาลังแรงงานจานวนมาก โดยจะมีการเข้ามาทางานด้วย การขอวีซ่าอนุญาตทาแรงกับการใช้ Boarding Pass ข้ามแดนมาทางานซึ่งในรูปแบบนี้จะเป็นการไป – กลับ รายวันหรือรายสัปดาห์ จังหวัดเชียงรายมีแรงงานต่างด้าวที่ไดรับอนุญาตทางานคงเหลือ ณ มกราคม 2558 จานวน 12,711 คน โดยแยกเป็นเข้าเมืองถูกกฎหมายจานวน 9,779 คน และเข้าเมืองผิดกฎหมายจานวน 2,932 คน แบ่งเป็นเพศชาย จานวน 6,827 คน และเพศหญิงจานวน 5,854 คน ซึ่งมี จานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานคงเหลือ น้อยกว่าปี 2557 ดังตารางที่ 2 นี้ ตารางที่ 1 จานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานคงเหลือ จังหวัดเชียงราย (จานวน: คน) รวมทั้งสิ้น
ข้อมูล ณ มกราคม 2551 มกราคม 2552
รวม 14,561 14,270
ชาย 7,898 7,881
หญิง 6,663 6,389
เข้าเมืองถูก กฎหมาย รวม คิดเป็น 692 5% 829 6%
เข้าเมืองผิด กฎหมาย รวม คิดเป็น 13,869 95% 13,441 94%
14
เข้าเมืองถูก เข้าเมืองผิด กฎหมาย กฎหมาย ข้อมูล ณ รวม ชาย หญิง รวม คิดเป็น รวม คิดเป็น มกราคม 2553 19,515 11,047 8,468 814 4% 18,701 96% มกราคม 2554 16,593 9,378 7,215 948 6% 15,645 94% มกราคม 2555 22,607 12,871 9,736 2,341 10% 20,266 90% มกราคม 2556 14,638 7,831 6,807 10,351 71% 4,287 29% มกราคม 2557 14,245 7,665 6,580 11,089 78% 3,156 22% มกราคม 2558 12,711 6,827 5,854 9,779 77% 2,932 23% ที่มา: สานักบริหารแรงงานต่างด้าว กระทรวงแรงงาน, 2558 จากจานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานคงเหลือ ในจังหวัดเชียงราย เห็นได้ว่าจานวนแรงงาน ต่างด้าวที่เข้าเมืองผิดกฎหมายมีอัตราลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน (ดังรูปที่ 12 ) จากเดือนมกราคม ปี2551 มีจานวน แรงงานต่างด้าวลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายคิดเป็นร้อยละ 95 ของจานวนทั้งหมด ในขณะเดือนมกราคม ปี2558 มีแรงงานต่างด้าวลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายลดลงเหลือร้อยละ 23 เนื่องจากภาครัฐได้เข้มงวดเรื่องการลักลอบ เข้าเมือง โดยภาครัฐได้ ได้ผ่อนผันให้นายจ้างพาแรงงานต่างด้ าวสัญชาติเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา ที่ลักลอบ ทางานอยู่ในประเทศไทยมาจดทะเบียนซึ่งครั้งนี้นับเป็นการจดทะเบียนครั้งใหญ่ ในปี 2552 และได้สิ้นสุดลงในปี 2555 ต่อมาในปี 2557 ได้มีการจัดตั้งศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service : OSS) จึง ส่งผลให้แรงงานต่างด้าวที่ทางานอยู่ในประเทศไทยโดยผิดกฎหมายขึ้นจดทะเบียนเพิ่มมากขึ้น อาจกล่าวอีกหนึ่ง ปัจจัยที่ส่งผลให้แรงงานต่างด้าวขึ้นทะเบียนมากขึ้น จากการลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว การ ขอใบอนุญาตทางานสาหรับแรงงานตามฤดูกาลและแรงงานรายวัน และการอนุญาตให้เปลี่ ยนนายจ้างได้ ตาม พระราชบัญญัติการทางานของคนต่างด้าวฉบับใหม่ขึ้นในปีพ.ศ. 2551 รวมทั้งสิ้น
15
รูปที่ 12 เปรียบเทียบการเข้าเมืองของแรงงานต่างด้าวในจังหวัดเชียงราย ปี 2551 - 2558 25000 20000 15000 คน
เข้าเมืองผิดกฎหมาย รวม
10000
เข้าเมืองถูกกฎหมาย รวม
5000
0 2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
ที่มา: สานักบริหารแรงงานต่างด้าว กระทรวงแรงงาน, 2558 ทั้งนี้ในพื้นที่อาเภอชายแดนจังหวัดเชียงรายพบว่า อาเภอแม่สายมีจานวนแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ มาก ที่สุดจานวน 7,470 คน รองลงมาคือ อาเภอเชียงแสน จานวน 2,307 คน และอาเภอเชียงของ จานวน 331 คน ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 2 ข้อมูลแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ อาเภอ แม่สาย เชียงแสน เชียงของ
กลุ่มที่ผ่านการ กลุ่ม MOU กลุ่ม MOU กลุ่ม One Stop พิสูจน์สัญชาติ กรณีพิเศษ นาเข้า Service (จานวน) (จานวน) (จานวน) (รวม) 2,540 1,756 51 3,123 907 272 3 1,125 55 16 1 259 ที่มา : สานักงานจัดหางานจังหวัดเชียงราย, 2558
รวมทั้งสิ้น 7,470 2,307 331
16
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ภาคเหนือตอนบนมีพื้นที่ทางการเกษตรเป็นหลัก การเกิดไฟป่านั้น เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากสภาพอากาศแห้ง กิ่งไม้เสียดสีกัน และเกิดจากมนุษย์ มีสาเหตุมาจากการเก็บหาของป่า การเผาพื้นที่เกษตร ซึ่งทาให้เกิดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สัตว์ป่า และสุขภาพของมนุษย์ ตารางที่ 3 สถิติการเกิดไฟป่าในจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ 2554 - 2557 ปี 2554 ดับไฟ ป่า
ปี 2555
พื้นที่ถูกไฟไหม้
ดับไฟ ป่า
(ครั้ง)
(ไร่)
31
85
ปี 2556
พื้นที่ถูกไฟไหม้
ดับไฟ ป่า
(ครั้ง)
(ไร่)
181
922
ปี 2557
พื้นที่ถูกไฟไหม้
ดับไฟ ป่า
พื้นที่ถูกไฟไหม้
(ครั้ง)
(ไร่)
(ครั้ง)
(ไร่)
98
690
91
905
ที่มา : ส่วนควบคุมไฟป่า สานักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า, 2557 เห็นได้ว่าพื้นที่ถูกไฟไหม้ป่ามีจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ หากพิจารณาจากปี 2554 มีพื้นที่ถูกไฟไหม้ 85 ไร่ ดับ ไฟป่า 31 ครั้ง กับปี 2557 มีพื้นที่ถูกไฟไหม้ 905 ไร่ ดับไฟป่า 91 ครั้ง พื้นที่ถูกไฟไหม้ป่าเพิ่มขึ้น 204 % จากปี 2554 - 2557 การเกิดไฟป่านั้นมักเกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม – มีนาคม เนื่องจากสภาพอากาศที่แห้งและเข้าสู่การ เปลี่ยนฤดูทาการเกษตร ตารางที่ 4 เปรียบเทียบการเกิดไฟไหม้ป่าจังหวัดเชียงรายระหว่างปี 2557 และ 2558 ข้อมูลวันที่ 1 ต.ค. 56 - 13 พ.ค. 57
ข้อมูลวันที่ 1 ต.ค. 56 - 13 พ.ค. 57
ดับไฟป่า
พื้นที่ถูกไฟไหม้
ดับไฟป่า
พื้นที่ถูกไฟไหม้
(ครั้ง)
(ไร่)
(ครั้ง)
(ไร่)
19
94.50
37
145.53
ที่มา : ส่วนควบคุมไฟป่า สานักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า, 2558
17
การเกิดไฟไหม้ป่าในระหว่างปี 2557 กับปี 2558 ในในช่วงเดือนตุลาคม 2557 – มีนาคม 2558 มีพื้นที่ถูก ไฟไหม้ป่ามากกว่า เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่มีอากาศร้อนมากขึ้น พร้อมทั้งประเทศไทย อยู่ในช่วงสภาวะแห้งแล้ง ผลจากการเกิดไฟป่าทาให้เกิดปัญหาหมอกควันตามมาในบริเวณภาคเหนือของไทย ปัญหาหมอกควันเกิดจากการเกิดไฟไหม้ป่าทั้งในประเทศและปรเทศเพื่อนบ้าน โดยปัญหาหมอกควันของ ภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด ถือได้เป็นวิกฤติมลพิษหมอกควันประจาทุกปี นอกจากจะมีสาเหตุมาจากไฟป่าแล้ว อีกสาเหตุหนึ่งที่สาคัญ คือ การเผาพื้นที่เพื่ อทาการเกษตร การเผาในที่โล่ง การเผาวัชพืชและเศษวัสดุการเกษตร เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกทั้งนอกและในพื้นที่ป่ า โดยปัญหาหมอกควันเกิดขึ้นในช่วงหน้าแล้งของทุกปีระหว่าง เดือนมกราคม – เมษายน ก่อให้เกิดหมอกควัน ฝุ่ นละออง เถ้า เขม่าควัน ระบายออกสู่บรรยากาศ ประกอบกับ ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นแอ่งกระทะ สภาวะอากาศที่แห้งและนิ่ง ท้าให้ฝุ่ นละอองแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศส่ง ผลกระทบต่ อคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อม สุ ข ภาพอนามั ยของประชาชน บดบั งทั ศ นวิ สั ย และส่ งผลกระทบต่ อการ ท่องเที่ย ว ดังนั้ น จั งหวัดเชีย งรายหนึ่ งจั งหวัดจึงได้รับผลกระทบจากการเกิดไฟไหม้ป่าและปัญหาหมอกควั น เนื่องจากเขตที่ตั้งของจังหวัดติดกับประเทศเพื่อนบ้านและใกล้เคียงจังหวัดที่เกิดสาเหตุไฟป่าด้วยเช่นกัน รูปที่ 13 คุณภาพอากาศบริเวณทสจ.เชียงราย อ.เมือง จ.เชียงราย ปี 2557 140 120 100 80 60 40
20 0 Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ (คานวณโดยผู้วิจัย), 2557
Oct
Nov
Dec
18
รูปที่ 14 คุณภาพอากาศบริเวณอ.แม่สาย จ.เชียงราย ปี 2557 300 250 200 150 100 50 0 Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ (คานวณโดยผู้วิจัย), 2557 เห็นได้ว่าจากกราฟคุณภาพอากาศปี 2557 ช่วงเดือนมกราคม – เมษายน ประสบปัญหาหมอกควันที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในจังหวัดเชียงราย โดยเดือนมีนาคมเป็นเดือนที่ประสบปัญหาหมอกควันมี ปริมาณฝุ่นละออง (PM10) มากที่สุด รูปที่ 15 เปรียบเทียบคุณภาพอากาศบริเวณทสจ.เชียงราย อ.เมือง จ.เชียงราย ปี 2557 กับ เดือนมกราคม – เมษายน ปี 2558 (มคก./ลบ.ม.) 300 250 200 2558
150
2557
100 50 0 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
19
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ, 2558 รูปที่ 16 เปรียบเทียบคุณภาพอากาศบริเวณอ.แม่สาย จ.เชียงราย ปี 2557 กับ เดือนมกราคม – เมษายน ปี 2558 (มคก./ลบ.ม.) 300 250 200 2558
150
2557
100 50 0 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ, 2558 หากเปรียบเทียบคุณภาพอากาศปี 2557 กับ ปี 2558 พบว่าในปี 2558 นี้มี ปริมาณฝุ่นละออง (PM10) มากกว่ า ปี 2557 อย่ า งชั ด เจนในบริ เ วณอ าเภอเมื อ งจั ง หวั ด เชี ย งราย แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ปริ ม าณฝุ่ น ละออง (PM10)บริ เ วณอ าเภอแม่ ส าย ในปี 2558 น้ อ ยกว่ า ปี 2557 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ พื้ น ที่ ถู ก ไฟ ไหม้ ที่ ม ากขึ้ น ด้ ว ย เช่นเดียวกัน จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์อย่างมาก โดยสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย มีรายงานจานวนผู้ป่วยที่อาจจะได้รับผลกระทบจากปัญหาหมอกควันในปี 2556 จานวน 163,167 ราย ในปี 2557 จ านวน163,485 และในปี 2558 ข้อ มูล ณ วัน ที่ 1 มกราคม – 11 มี นาคม พบผู้ ป่ว ยจ านวน 149,763 ซึ่ ง คาดการณ์ว่า อาจมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากปัญหาหมอกควันในปี 2558 นี้ มีความรุนแรงมากขึ้น ดังตาราง ต่อไปนี้ ตารางที่ 5 จานวนผู้ป่วยด้วยโรคที่อาจได้รับผลกระทบจากมลพิษหมอกควัน ปี2553-2558 ปี จานวนคน
2553 2554 2555 2556 2557 2558 65,253 165,001 179,177 163,167 163,485 149,763 ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ***ข้อมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2558
20
พบว่าในปี 2557 โรคที่ได้รั บ ผลกระทบจากมลพิษหมอกควันมากที่สุ ดคือ โรคหัว ใจทุกชนิด จานวน 55,608 คน โรคทางเดินหายใจทุกชนิด จานวน 50,126 คน และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน จานวน30,355 คน ในขณะเดียวกันจากข้อมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2558 ได้พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจทุกชนิดมากกว่าในปี 2557 โดยมีจานวน 58,060 คน ทั้งนี้หากนาคุณภาพอากาศเปรียบเทียบกับ จานวนผู้ป่วยด้วยโรคที่อาจได้รับผลกระทบ จากมลพิษหมอกควันนั้นมีความสอดคล้องกัน จากปริมาณคุณภาพอากาศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้นกั บ จานวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ดัชนี้ทั้งสามส่วนมีความสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาศักยภาพของจังหวัดเชียงราย 1) การค้าชายแดน (Border Trade: B) เปรียบเสมือนเครื่องยนต์ที่ใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย โดยเฉพาะการส่งออกที่ เป็นแหล่งรายได้ที่สาคัญของคนในประเทศ การค้าชายแดนในปัจจุบันมีการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งขยายตัว ตามขนาดเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าเป็นสาคัญ ไม่ว่าจะเป็นจีน สปป.ลาว หรือเมียนมาร์ก็มีการขยายตัวทาง เศรษฐกิจที่รวดเร็วอย่างมาก ทาให้บริเวณพรมแดนของเชียงรายเป็นยุทธศาสตร์ที่ทาให้ผู้ประกอบการสามารถ แสวงหาโอกาสทางการค้า สามารถที่จะใช้สิทธิประโยชน์จากความร่วมมือในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาคใน อานวยความสะดวกให้กับการค้ามากยิ่งขึ้น ตลอดจนนโยบายส่งเสริมการลงทุนชายแดนที่มีการสนับสนุนให้มีการ ลงทุนในพื้นที่ชายแดนอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด 2) แรงงาน (Labor: L) แรงงานถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญได้การ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศ และจังหวัดเชียงราย โดยพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายมีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้าน จึงส่งผลให้มีแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาทางานในพื้นที่อาเภอชายแดน ได้แก่ อาเภอ แม่สาย อาเภอเชียงแสน และอาเภอเชียงของ ในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การบริการและท่องเที่ยว เป็นต้น กล่าวได้ว่า แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านมีความสาคั ญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงราย และ 3) ปัญหาหมอกควันไฟป่า (Haze Pollution: H) จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากหมอกควัน โดยมีสาเหตุมาจากการเผาในพื้นที่โล่ง พื้นที่การเกษตร และพื้นที่ป่า บริเวณจังหวัดเชียงราย และจากประเทศ เพื่อนบ้าน จากลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เสมือนแอ่งกระทะจึงทาให้หมอกควันไม่เกิดการเคลื่อนที่ ส่งผลกระทบต่อ สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และภาวะการเติบโตเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายด้านการท่องเที่ยวอีกด้วย ฉะนั้น ดัชนีชี้วัดจึงเป็นสิ่ งสาคัญที่ใช้ในการเฝ้าระวัง และเป็นตัวอ้างอิงในการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจชายแดนของ จังหวัดเชียงราย เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาของประเทศ และแผนพัฒนายุทธศาสตร์ของจังหวัดเชียงราย BORDER TRADE = COMPETITIVENESS LABOR = INCLUSIVE GROWTH HAZE POLLUTION = GREEN GROWTH
21
ทีมวิจัย 1. ผศ.ดร. ณัฐพรพรรณ อุตมา 2. อ.ปฐมพงศ์ มโนหาญ 3. นายสิทธิชาติ สมตา 4. นางสาวพรพินันท์ ยี่รงค์
บรรณานุกรม ไทยรัฐ. (22 พฤศจิกายน 2556). ปรับผังเมืองเชียงรายรองรับการเติบโต. เรียกใช้เมื่อ 18 เมษายน 2558 จาก http://www.thairath.co.th/clip/8468 กรมคงบคุมมลพิษ. (2557). คุณภาพอากาศบริเวณอ.แม่สาย จ.เชียงราย. กรมควบคุมมลพิษ. (2557). คุณภาพอากาศบริเวณทสจ.เชียงราย อ.เมือง จ.เชียงราย. ด่านศุลกากรเชียงแสน. (ม.ป.ป.). มูลค่าการค้าชายแดนด่านอาเภอเชียงแสน. ด่านศุลกากรเชียงของ. (2558). มูลค่าการค้าชายแดนด่านอาเภอเชียงของ. ด่านศุลกากรแม่สาย. (2558). มูลค่าการค้าชายแดนด่านอาเภอแม่สาย. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). รายงานภาวะเศรษฐกิจปี 2555. เข้าถึงได้จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AnnualReport/Pages/def ault.aspx ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). รายงานภาวะเศรษฐกิจปี 2557. เข้าถึงได้จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AnnualReport/Pages/def ault.aspx ประชาชาติธุรกิจ. (30 สิงหาคม 2557). เปิดไส้ในการค้า "ไทย-ลาว" ขยายตัวไม่มาก-ปัจจัยลบเริ่มก่อตัว. เรียกใช้ เมือ่ 20 เมษายน 2558 จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1409321722
22
วรัทยา ไชยลังกา. (25 เมษายน 2556). ทุนใหญ่รุกอสังหาฯ เชียงใหม่-เชียงรายรับเออีซี. เรียกใช้เมื่อ 18 เมษายน 2558 จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/502255 ส่วนควบคุมไฟป่า สานักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า. (2557). สถิติการเกิดไฟป่าในจังหวัดเชียงราย. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย. (2557). ผลผลิตสินค้าเกษตรปี 2557 จังหวัดเชียงราย. เข้าถึงได้จาก www.chiangrai.doae.go.th สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย. (2555). ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2555 และประมาณการ พ.ศ. 2556. เข้าถึงได้จาก http://www.klangcri.com/ สานักงานจัดหางานจังหวัดเชียงราย. (2558). ข้อมูลแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ. สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย. (2558). มูลค่าการค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย. (2558). จานวนผู้ป่วยด้วยโรคที่อาจได้รับผลกระทบจากมลพิษหมอกควัน . สานักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2558). จานวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานคงเหลือ.
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. +6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com