OBELS Outlook 2017

Page 1

Office Of Border Economy and Logistics Study School of Management Mae Fah Luang University


OBELS OUTLOOK 2017

OBELS OUTLOOK 2017 (1)


OBELS OUTLOOK 2017

่ หนังสื อ ชือ ผู้แต่ง

จัดท�ำโดย

สนับสนุนทุนวิจัย

: OBELS OUTLOOK 2017 : ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ : ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

่ ัดท�ำ ปีทีจ

: 2561

ISBN

: 978-974-9766-99-6

้ ที่ 1 พิมพ์ครัง

: กุมภาพันธ์ 2561 จ�ำนวน 150 เล่ม

ราคา

: 300 บาท

การติดต่อ

: ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์

ส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ต�ำบลท่าสุด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100

พิมพ์ท ี่

โทรศัพท์ 053 916680

: เอราวัณการพิมพ์

28/10 ถนนสิงหราช ต�ำบลศรีภูมิ

อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200

โทร 053 214491

(2)


OBELS OUTLOOK 2017

ค�ำน�ำ

ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (หรือ โอเบลส์) ได้จัดท�ำ

้ เพือ เอกสาร OBELS OUTLOOK 2017 ขึน ่ รวบรวมและน�ำเสนอผลงาน วิชาการและผลงานวิจย ั ในระหว่างปีพ.ศ. 2560 ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการเปลีย ่ นแปลง ทางเศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้อมในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย อันเนื่องมาจากการเปลีย ่ นแปลงของสังคมโลก

รายงาน OBELS OUTLOOK 2017 ประกอบด้วย 5 ส่ วน ส่ วนแรก

เป็นการน�ำเสนอภาพรวมเศรษฐกิจเชียงราย ระหว่างปีพ.ศ. 2560 ส่วนที่ 2 เป็นประเด็นการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจเมืองชายแดนจังหวัดเชียงราย และการเปลีย ่ นแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศและโลกทีส ่ ่ งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจเมืองชายแดน ส่วนที่ 3 เป็นการน�ำเสนอแนวทางการยกระดับ นวัตกรรมเชียงรายเพือ ่ พัฒนาไปสู่ Thailand 4.0 ส่ วนที่ 4 เกีย ่ วข้อง กับความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของเมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย และ ส่ วนที่ 5 เป็นบทความวิชาการที่น�ำเสนอมุมมองและแนวทางการพัฒนา พืน ้ ทีช ่ ายแดนของประเทศไทย

ส� ำนักงานโอเบลส์ ฯ ได้จัดท�ำรายงาน OBELS OUTLOOK เป็น

ประจ�ำทุกปี ซึ่งปีนี้เป็นฉบับที่ 4 โดยหวังว่า รายงานนี้จะเป็นงานศึ กษา และข้อมูลอีกชุดหนึ่งที่ผู้สนใจด้านเศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้อมใน พื้นที่ชายแดน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน นักวิชาการ และ ประชาชนทัว่ ไป สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมต่อไป

ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์

Office of Border Economy and Logistics Study

พฤศจิกายน 2560 (3)


OBELS OUTLOOK 2017

สารบัญ ส่ วนที่ 1 ภาพรวมเศรษฐกิจเชียงรายปีพ.ศ. 2560

1.1 สถานการณ์เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย

1.2 ดัชนีชวี้ ัดสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน

ส่ วนที่ 2 เศรษฐกิจเมืองชายแดนจังหวัดเชียงราย

2.1 โมเดลความต้องการบริการด้านการรักษาสุขภาพ

ในพืน ้ ทีช ่ ายแดน ณัฐพรพรรณ อุตมา, วิลาวัณย์ ตุทาโน

2.2 การเตรียมความพร้อมสู่ยุคเศรษฐกิจการแชร์

อย่างสร้างสรรค์

นภัส ร่มโพธิ,์ วราวุฒิ เรือนค�ำ

2.3 พฤติกรรมการใช้บริการธุรกิจร้านอาหารใน

อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

มัลลิกา จันต๊ะคาด

ส่ วนที่ 3 Thailand 4.0 สู่โมเดลการยกระดับ นวัตกรรมเชียงราย

3.1 ศูนย์ปราชญ์เกษตรยัง ่ ยืนแม่สาย

สัมภาษณ์ คุณพรรณพิมล ปันค�ำ

3.2 แนวทางและโอกาสของเชียงรายสู่ การเป็น MICE City สัมภาษณ์ คุณประธาน อินทรียงค์

3.3 ทิศทางการพัฒนาเชียงรายสู่เมืองสมุนไพร

สัมภาษณ์ ดร.เหมโชค สิงห์สมบุญ

(4)


OBELS OUTLOOK 2017

3.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชียงของในยุคชายแดน 4.0

สัมภาษณ์ คุณทัศนัย สุ ธาพจน์

3.5 นวัตกรรมการเกษตรกับไร่รน ื่ รมย์

สัมภาษณ์ คุณทัศนัย กิตะพาณิชย์

ส่ วนที่ 4 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ณ เมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย

4.1 Measuring Inequality with Multiple Indexes:

4.2 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์ทางการศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดน

อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

4.3 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์ทางการศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดน

An Empirical Evidence of Thai Household Survey

อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

4.4 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา

ในพืน ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ส่ วนที่ 5 บทความวิชาการ: บนเส้นทางสู่ชายแดนภิวัฒน์ (Borderization)

5.1 ธุรกิจเพือ ่ ความเป็นสั งคมเมืองในพืน ้ ทีช ่ ายแดน

จังหวัดพะเยา

5.2 นักท่องเทีย ่ วต่างชาติในวันทีเ่ ชียงของซบเซา

5.3 ไทย-จีน: ท่าเรือ และสวนกล้วย

5.4 แนวโน้มการค้าข้ามแดน: ความเป็นไปได้ด้าน

การค้าขายพลังงานของอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงในอนาคต

(5)


OBELS OUTLOOK 2017

(6)


OBELS OUTLOOK 2017

ส่ วนที่ 1 ภาพรวมเศรษฐกิจ เชียงราย ปีพ.ศ. 2560

(7)


OBELS OUTLOOK 2017

สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ของจังหวัดเชียงรายพ.ศ. 2560 1. อุปทาน

จากสถานการณ์ ก ารผลิ ต ของจั ง หวั ด เชี ย งราย ในปี พ .ศ. 2560

ผลผลิตทางการเกษตรที่มีมูลค่าตลาดสู งขึ้น ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลีย ้ งสั ตว์ สับปะรด มันส�ำปะหลัง และล�ำไย ส่วนสินค้าเกษตรทีม ่ ี มูลค่าลดลง ได้แก่ ลิ้นจี่ กาแฟ ชา และยางพารา ทั้งนี้ อุตสาหกรรมที่มี จ�ำนวนมากทีส ่ ุดในจังหวัด ได้แก่ อุตสาหกรรมการเกษตร อโลหะ และอาหาร ขณะเดี ย วกั น นั ก ท่ อ งเที่ย วที่เ ดิ น ทางผ่ า นท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง ้ โดยเฉพาะในกลุ่มของนักท่องเทีย จังหวัดเชียงราย มีการขยายตัวสู งขึน ่ ว ชาวไทย ขณะทีน ่ ักท่องเทีย ่ วชาวต่างชาติมีปริมาณลดลงเพียงเล็กน้อย ้ ส�ำหรับในด้านของการลงทุน สาขาทีม ่ ก ี ารจดทะเบียนนิตบ ิ ค ุ คลใหม่เพิม ่ ขึน ทั้งในด้านของจ�ำนวนและทุนจดทะเบียน ได้แก่ เหมืองแร่และเหมืองหิน ค้าปลีกค้าส่ง โลจิสติกส์ ข้อมูลข่าวสาร/การสื่อสาร การบริหารและบริการ สนับสนุน และการศึกษา

1.1 เกษตรกรรม

ภาคเกษตรกรรมของจังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งผลิตสิ นค้าเกษตร

ทีส ่ �ำคัญหลากหลายชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลีย ้ งสัตว์ สับปะรด มันส�ำปะหลัง กาแฟ ชา และยางพารา (8)


OBELS OUTLOOK 2017

(1) ข้ า วนาปี 1 ผลผลิ ต ของข้ า วนาปี ใ นปี พ .ศ. 2559/60 อยู่ ที่

้ 40,477.99 ตัน 686,181.95 ตัน มีการขยายตัวร้อยละ 6.27 หรือเพิม ่ ขึน ้ ในปี 2558 จากปีก่อน เนื่องจากได้ผ่านพ้นสถานการณ์ภัยแล้งทีเ่ กิดขึน ท�ำให้ในปีดังกล่าวมีการหดตัวร้อยละ 5.47 ทัง ้ นี้พน ื้ ทีส ่ �ำหรับการเพาะปลูก กลับลดลงร้อยละ 9.52 จากปีก่อน หรือมีการลดเนื้อทีล ่ ง 115,554.55 ไร่ ้ จากปีก่อน ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ตามเนื้อทีเ่ ก็บเกีย ่ วอยู่ที่ 605.52 สูงขึน ร้อยละ 9.86 อย่างไรก็ตาม ราคาทีเ่ กษตรกรสามารถขายได้ก็ปรับตัวลดลง ร้อยละ 9.93 โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 9.34 บาท/กิโลกรัม ดังนั้น มูลค่าของข้าว นาปีอยู่ที่ 6,408.94 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 287.01 ล้านบาท มาก กว่านี้ แนวโน้มผลผลิตในระยะยาวมีการถดถอยลง โดยทีอ ่ ัตราการเติบโต เฉลีย ่ สะสมตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2554/55 – 2559/60 ติดลบร้อยละ 0.35 หากแต่ ราคาเฉลีย ่ ทีเ่ กษตรกรขายได้ติดลบมากกว่า อยู่ทรี่ ้อยละ 8.27

(2) ข้าวนาปรัง2 ผลผลิตของข้าวนาปรังในปีพ.ศ. 2559/60 ลดลง

สวนทางกับผลผลิตของข้าวนาปีอย่างมาก โดยมีปริมาณหดตัวถึงร้อยละ ่ ผลผลิตของข้าว 90.92 หรือลดลง 158.66 ตัน เหลืออยู่ที่ 15.84 ตัน ซึง ้ 85,694.36 ไร่ ่ งมาถึง 3 ปี ทัง้ ทีม ้ เพาะปลูกเพิม นาปรังมีการหดตัวต่อเนือ ่ เี นือ ่ ขึน จึงเป็นผลให้ผลผลิตเฉลีย ่ ต่อไร่ลดลงร้อยละ 6.79 ขณะเดียวกัน เกษตรกร ้ จาก 8.42 บาท/กิโลกรัม มาอยูท สามารถทีจ ่ ะขายได้ในราคาเฉลีย ่ ทีเ่ พิม ่ ี่ ่ ขึน 9.11 บาท/กิโลกรัม นอกจากนี้ มูลค่าของข้าวนาปรังในตลาดลดลงอย่าง มากถึง 1.32 ล้านบาท โดยเหลือมูลค่าอยู่เพียง 144,301.49 บาท ทัง ้ นี้ ผลผลิตข้าวนาปรังในระยะยาวมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก อัตราการเติบโต 1

ระยะเวลาการเพาะปลูกของข้าวนาปีอยู่ในช่วงของเดือนพฤษภาคมของปีหนึ่งจนถึงเดือนเมษายน

ของอีกปีหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ปีพ.ศ. 2558/59 เป็นช่วงตัง ้ แต่เดือนพ.ค. 2558 – เม.ย. 2559 2

ระยะเวลาการเพาะปลูกของข้าวนาปรังอยูใ่ นช่วงของเดือนพฤศจิกายนของปีหนึ่งจนถึงเดือนตุลาคม

ของอีกปีหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ปีพ.ศ. 2558/59 เป็นช่วงตัง ้ แต่เดือนพ.ย. 2558 – ต.ค. 2559

(9)


OBELS OUTLOOK 2017

เฉลีย ่ สะสมตัง ้ แต่ปีเพาะปลูกพ.ศ. 2554/55 - 2559/60 ติดลบร้อยละ 46.66 เช่นเดียวกับราคาในตลาดทีเ่ กษตรกรสามารถขายได้มีอัตราติดลบ ทีร่ ้อยละ 7.01

(3) ข้าวโพดเลี้ยงสั ตว์3 เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความต้องการใช้ใน

อุตสาหกรรมที่หลากหลาย ทั้งใช้ในการผลิตสิ นค้าอุปโภคบริโภค และ พลังงาน ตลอดจนอาหารสัตว์ จึงท�ำให้รัฐบาลมีการสนับสนุนให้เกษตรกร ปลูกอย่างต่อเนื่อง อาทิ การส่ งเสริมให้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสั ตว์ทดแทน ้ จากปีก่อน การปลูกข้าว4 ในปีพ.ศ. 2558/59 ผลผลิตมีการขยายตัวสูงขึน ร้อยละ 4.97 มีปริมาณอยู่ที่ 304,699.32 ตัน ขณะทีเ่ นื้อทีป ่ ลูกใหม่อยู่ที่ 498,642.90 ไร่ โดยมีการลดพืน ้ ทีป ่ ลูกข้าวโพดลง 43,950.32 ไร่ ทัง ้ นี้ ้ จากปี ผลผลิตเฉลีย ่ ต่อไร่ตามการเก็บเกีย ่ วอยู่ที่ 987.12 กิโลกรัม สูงขึน ก่อนร้อยละ 48.84 เนื่ องจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น แต่ใช้พื้นที่ในการเพาะ ปลูกน้อยลง ส� ำหรับราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรสามารถขายกับตลาดได้อยู่ที่ 3.38 บาท/กิโลกรัม ลดลงจาก 5.14 บาท/กิโลกรัม ในปีพ.ศ. 2558/59 ส่งผลให้มูลค่าลดลงร้อยละ 31.08 หรือ ลดลง 463.66 ล้านบาท ในระยะ ยาวผลผลิตมีการขยายทีไ่ ม่มาก โดยอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสม 5 ปีตด ิ ลบ อยู่ทรี่ ้อยละ 10.80 ขณะเดียวกัน ราคามีอัตราติดลบมากกว่า อยู่ทรี่ ้อยละ 20.57

(4) สับปะรด ถือว่าเป็นผลไม้ทม ี่ ช ี อ ื่ เสียงมากทีส ่ ุดของจังหวัดเชียงราย

โดยพันธุ์สับปะรดที่มีการปลูกแบ่งตามการจ�ำหน่ายตลาด แบ่ง ออกเป็น สับปะรดสด ได้แก่ ภูแล และนางแล และสับปะรดโรงงาน คือ ปัตตาเวีย 3 4

ระยะเวลาการปลูกข้าวโพดเลีย ้ งสัตว์อยู่ในช่วงเดียวกับข้าวนาปี ฐานเศรษฐกิจ. (2560). รัฐให้ทุนไร่ละ 2,000 ปลูกข้าวโพดเลีย ้ งสั ตแทนข้าว 31 จ.

( 10 )


OBELS OUTLOOK 2017

ั จุบันได้รับการ ทัง ้ นี้ สับปะรดนางแล เป็นพืชมรดกท้องถิน ่ จ ่ ของจังหวัด ทีป รับรองมาตรฐาน ‘สิ่งบ่งชีท ้ างภูมิศาสตร์ (Geographical Indications: GI)’ กับกรมทรัพย์สินทางปัญญา5 จึงกลายเป็นหนึ่งในสิ นค้าเกษตรที่ สร้างรายได้ให้กับชุมชนอย่างมาก ในปีพ.ศ. 2560 เนื้อทีใ่ นการเพาะปลูก สับปะรดมีการขยายตัวร้อยละ 4.23 ขณะทีเ่ นื้อทีเ่ ก็บเกีย ่ วทีล ่ ดลงกว่าร้อย ละ 20.76 ท�ำให้ปริมาณผลผลิตลดลงจาก 19,116.40 ตัน ในปีพ.ศ. 2559 ลงมาอยู่ที่ 14,231.67 ตัน โดยผลผลิตเฉลีย ่ ต่อไร่ตกอยู่ที่ 2,442.79 กิโลกรัม ลดลงจากปีก่อนถึงร้อยละ 6.05 แต่กระนั้น ราคาเฉลีย ่ ทีเ่ กษตร สามารถขายได้ลดลงร้อยละ 44.20 อยู่ที่ 8.52 บาท/กิโลกรัม อย่างไร ก็ตาม ปริมาณผลผลิตทีล ่ ดลงอย่างมาก ท�ำให้มูลค่าลดลงร้อยละ 58.46

(5) มันส� ำปะหลัง6 นอกจากมันส�ำปะหลังจะถูกน�ำมาใช้เป็นวัตถุดิบ

ในการประกอบอาหาร รวมถึงผสมกับอาหารสั ตว์ ยังถูกใช้ในการเป็น วัตถุดิบส� ำหรับการผลิตอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ซึ่งเป็นส่ วนผสมของ อุตสาหกรรมอืน ่ ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร อาทิ บะหมีส ่ �ำเร็จรูป ก๋วยเตีย ๋ ว ซอสมะเขือเทศ อาหารกระป๋อง ผงชูรส และอืน ่ ๆอีกมากมาย อุตสาหกรรม ั เป็นต้น และอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ทีไ่ ม่ใช่อาหาร อาทิ กาว ยาสี ฟน อาทิ เอทานอล และแก๊สโซฮอล7 ทัง ้ นี้ ในปีพ.ศ. 2559/60 ผลผลิตมัน ่ ต่อเนื่องจากปีก่อนทีม ส�ำปะหลังมีการหดตัวร้อยละ 18.62 ซึง ่ ีการหดตัว ้ ทีเ่ พาะปลูกใหม่อยูท เช่นกันทีร่ อ ้ ยละ 37.17 เนื่องจากมีเนือ ่ ี่ 29,775 ไร่ ลดลง 5

้ ทะเบียนสิ่งบ่งชี ้ กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2549). ประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา เรือ ่ ง การขึน

ทางภูมิศาสตร์ สั ปปะรดนางแล. 6

ระยะเวลาการปลูกมันส�ำปะหลังอยู่ระหว่างเดือนตุลาคมของปีพ.ศ. 2559 จนถึงเดือนกันยายนของ

ปีพ.ศ. 2560 7

สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2558). มันส� ำปะหลัง: การใช้ประโยชน์

ผลิตภัณฑ์จากมันส�ำปะหลัง.

( 11 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากปีก่อนร้อยละ 34.74 อย่างไรก็ตาม ผลผลิตต่อไร่กลับมีการขยายตัว ้ ทีร่ ้อยละ 8.09 หรือเพิม ้ 173.38 กิโลกรัม ขณะทีร่ าคาเฉลีย สูงขึน ่ ที่ ่ ขึน เกษตรกรขายให้กบ ั ตลาดลดลงจาก 2.04 บาท/กิโลกรัม ในปีกอ ่ น มาอยูท ่ ี่ 1.60 บาท/กิโลกรัม ดังนั้น ผลผลิตทีล ่ ดลงผนวกกับราคาทีล ่ ดลง จึงเป็น ผลให้มล ู ค่ามีการหดตัวร้อยละ 21.57 หรือลดลง 76.64 ล้านบาท ในระยะยาว ทั้งผลผลิตและราคาของมันส� ำปะหลังมีแนวโน้มการขยายตัวไม่ดี โดยมี อัตราการเติบโตติดลบทีร่ ้อยละ 21.57 และ 1.89 ตามล�ำดับ

(6) ล�ำไย มีแหล่งเพาะปลูกขนาดใหญ่ในแถบพืน ้ ทีท ่ างภาคเหนือ

่ ปัจจุบน ของประเทศไทย ซึง ั มีความต้องการอย่างมากในการแปรรูปส�ำหรับ อุตสาหกรรมล�ำไยอบแห้งเพือ ่ ส่งออกไปจ�ำหน่ายต่างประเทศ โดยเฉพาะ กลุ่ ม ตลาดของประเทศจี น ส่ ว นที่เ ป็น ผลสดจ� ำ หน่ า ยในประเทศ 8 ซึ่ง เชียงรายเป็นหนึ่งในพื้นที่ทางภาคเหนือที่มีการผลิตในปริมาณหนึ่ง โดย ้ 13,119 ไร่ หรือเพิม ้ ร้อยละ ในปีพ.ศ. 2559 เนื้อทีป ่ ลูกมีปริมาณเพิม ่ ขึน ่ ขึน 7.65 หากแต่ผลผลิตกลับตกต�่ำลงร้อยละ 29.98 อยู่ที่ 36,131.83 ตัน จากปีก่อนทีม ่ ีผลผลิต 51,602.10 ตัน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพืน ้ ทีเ่ พาะปลูก ้ แต่ปริมาณผลผลิตทีถ จะเพิม ่ ูกเก็บเกีย ่ วลดลง จึงท�ำให้ผลผลิตต่อไร่ ่ ขึน ลดลงร้อยละ 16.42 ทัง ้ นี้ เกษตรกรสามารถขายล�ำไยได้ในราคาเฉลีย ่ อยู่ ้ จากปีก่อนเล็กน้อยเพียงร้อยละ 2.72 แม้ว่าราคา ที่ 25.70 บาท เพิม ่ ขึน จะเพิ่มขึ้น แต่ผลผลิตลดลงอย่างมาก จึงเป็นผลให้มูลค่าลดลงร้อยละ 28.08 ส่วนแนวโน้มในระยะยาว ราคาเฉลีย ่ มีการขยายตัวค่อนข้างดี โดย มีอัตราการเติบโตสะสมอยู่ที่ร้อยละ 8.66 ขณะที่ผลผลิตมีอัตราติดลบ ร้อยละ 5.36

8

มติชน. (2560). ‘ล�ำไยสด’ ล้น เร่งปรับกลยุทธ์ สกัดปัญหา ‘รูดร่วง’.

( 12 )


OBELS OUTLOOK 2017

(7) ลิน ี่ ีชอ ื่ เสี ยงใน ้ จี่ นอกจากสั บปะรดนางแล ภูแล ทีเ่ ป็นผลไม้ทม

จังหวัดเชียงราย ลิ้นจี่ก็ถือว่าเป็นอีกหนึ่งผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นชื่อไม่แตก ต่างกัน โดยในแต่ละปีจะมีการจัดกิจกรรมของดีเมืองเชียงรายส�ำหรับผลไม้ สองชนิดนี้ เพือ ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ให้เป็นทีร่ ู้จัก และส่งเสริมทางการ ้ อย่างมากทีร่ ้อยละ ตลาด9 ทัง ้ นี้ ผลผลิตของลิน ้ จีใ่ นปีพ.ศ. 2559 เพิม ่ ขึน 77.30 ทัง ้ ทีม ่ ีเนื้อทีเ่ พาะปลูกลดลงร้อยละ 19.36 จึงท�ำให้ผลผลิตเฉลีย ่ ต่อไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 49.47 ขณะเดียวกัน ราคาเฉลี่ยที่เกษตรขายได้อยู่ ้ จากปีก่อนร้อยละ 54.67 ฉะนั้น ปริมาณ ที่ 24.36 บาท/กิโลกรัม เพิม ่ ขึน ผลผลิต และราคาที่มีการขยายตัว ส่ งผลให้มูลค่าของลิ้นจี่เติบโตถึงร้อยละ ้ 149.97 ล้านบาท ระยะยาวราคามีการปรับตัว 174.22 หรือมีมูลค่าเพิม ่ ขึน ทีด ่ ีขน ึ้ อย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมอยู่ที่ 24.36 ขณะ เดียวกัน ผลผลิตลดต�่ำลงในเกือบทุกปี โดยมีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสม ติดลบอยู่ร้อยละ 16.68 (8) กาแฟ เชียงรายเป็นจังหวัดทีม ่ ีแหล่งการปลูกกาแฟพันธุ์อารา

บิก้ามากที่สุดในจังหวัดเชียงราย ด้วยสภาพภูมิประเทศที่เป็นภูเขา และ อากาศทีห ่ นาว ท�ำให้กาแฟของเชียงรายคุณภาพทีด ่ ี และมีชอ ื่ เสียงอย่างมาก โดยตราสิ นค้าทีข ่ น ึ้ ชือ ่ ของเชียงราย ได้แก่ กาแฟดอยช้าง กาแฟ ดอยตุง ซึง่ ได้ขน ึ้ ทะเบียนเป็นสินค้า GI เช่นเดียวกับสับปะรดนางแล แต่ในระดับสากล ี .ศ. 2558 เป็นต้นมา10 นอกจากนั้น โดยได้รบ ั รองจากสหภาพยุโรปตัง้ แต่ปพ จั ง หวั ด เชี ย งราย ก็ ไ ด้ มี ก ารสนั บ สนุ น ในการจั ด กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ย ว

9

ส� ำนักงานประชาสั มพันธ์เขต 3 เชียงใหม่. (2560). จังหวัดเชียงรายเตรียมจัดงานสั บปะรดนางแล

ภูแล ลิน ่ ส่ งเสริมการตลาด ้ จี่ และของดีเมืองเชียงรายเพือ 10

ประชาขาติธุรกิจ. (2558). กาแฟดอยตุง-ดอยช้างได้ขน ึ้ ทะเบียนเป็นสิ นค้า GI ของอียู.

( 13 )


OBELS OUTLOOK 2017

เพื่อประชาสั มพันธ์กาแฟอย่างต่อเนื่อง เช่น งาน Best of Coffee and Tea @ Chiangrai โดยมีเป้าหมายเพือ ่ กระตุน ้ เศรษฐกิจการท่องเทีย ่ วนอก ฤดูกาล11 ส�ำหรับผลผลิตในปีพ.ศ. 2560 มีการขยายตัวตัวร้อยละ 9.94 โดยมีพื้นที่เพาะปลู กใหม่ ห ดตั วร้ อยละ 6.84 ท�ำ ให้ผลผลิตต่อไร่มีก าร ้ อย่างก้าว ขยายตัวลดลงร้อยละ 14.94 ทัง ้ นี้ ราคาตลาดมีการขยับเพิม ่ ขึน กระโดด จาก 25.18 บาท/กิโลกรัม ในปีพ.ศ. 2559 เป็น 17,734.31 ใน ปีพ.ศ. 2560 เพราะปริมาณผลผลิตทีล ่ ดลง ดังนั้น จากผลผลิต และราคา เฉลี่ยที่สู ง ขึ้น ซึ่ง เป็น ผลมาจากการที่เ มล็ ด กาแฟขาดตลาด จากความ ้ จนต้องมีการน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ12 ท�ำให้มล ต้องการบริโภคทีส ่ ูงขึน ู ค่า ้ กว่า 236,716.90 ของกาแฟขยายตัวอยู่ทรี่ ้อยละ 77330.14 หรือเพิม ่ ขึน ล้านบาท

(9) ชา นอกจากกาแฟทีเ่ ป็นสิ นค้าเกษตรประเภทชงดืม ่ ทีม ่ ีชอ ื่ เสี ยง

ของจังหวัดเชียงราย ชาก็เป็นอีกสิ นค้าหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากเป็นแหล่งปลูกชาทีใ่ หญ่ทส ี่ ุ ดของประเทศ โดยเกษตรกรทัว่ ไปมี ่ พันธุ์ทไี่ ด้รับความนิยม การปลูกกระจายไปตามอ�ำเภอต่างๆในพืน ้ ทีส ่ ูง ซึง ได้แก่ อัสสั ม อู่หลง เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีชาทีเ่ ฉพาะเจาะจงส�ำหรับ ่ เป็นชาที่ พืน ้ ทีอ ่ ย่าง ชากาขาว ทีต ่ �ำบลเวียงกาหลง อ�ำเภอเวียงป่าเป้า ซึง มีแห่งเดียวในประเทศไทย พร้อมทั้งมีสรรพคุณทางยาสู ง13 ทั้งนี้ แหล่ง ้ ชือ ผลิตชาทีอ ่ ยู่ในจังหวัดเชียงรายก็กลายมาเป็นแหล่งท่องเทีย ่ วทีข ่ ึน ่ เช่น ไร่บุญรอด ไร่ชาฉุยฟง ไร่ชา 101 เป็นต้น ฉะนั้นการผลิตชาในเชียงราย เปรียบเสมือนการกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ชา 11 12

ไทยรัฐ. (2560). ‘เชียงราย’ หนุนวิถีไทยสู่ เมืองกาแฟร่วมสมัยสร้างเศรษฐกิจชุมชน. ผู้จัดการ.(2560). คาดกาแฟในประเทศปีนี้เติบโต 20% แต่ผลผลิตยังไม่พอ-อ้อนรัฐทบทวนภาษี

น�ำเข้าด่วน. 13

คมชัดลึก. (2557). ‘ชากาขาว’ แห่งเวียงกาหลวง ชาสมุนไพรทีเ่ ดียวในไทย.

( 14 )


OBELS OUTLOOK 2017

เชียงรายได้ขน ี้ ทะเบียน GI เหมือนกับ กาแฟดอยช้าง ดอยตุง ตลอดจน สับปะรดนางแล14 โดยในปีพ.ศ. 2560 เนื้อทีส ่ �ำหรับการเพาะปลูกชาใหม่ ้ ร้อยละ 19.98 แต่ผลผลิตมีการหดตัวร้อยละ 80.81 ดังนั้นผลผลิต เพิม ่ ขึน ต่อไรโดยเฉลีย ่ มีการหดตัวร้อยละ 65.89 โดยทีร่ าคามีการหดตัวร้อยละ 3.52 เป็นผลให้มูลค่าหดตัวร้อยละ 3.52 แสดงให้เห็นถึงผลิตภาพของการผลิต ชาทีล ่ ดลงของจังหวัดเชียงราย

(10) ยางพารา ได้ถูกผลักดันทัง ้ ภาครัฐ และภาคเอกชนให้เกษตรกร

ปลูกมาตัง ้ แต่อดีต โดยปกติยางพาราถูกปลูกเป็นจ�ำนวนมากในพืน ้ ทีท ่ าง ภาคใต้ของประเทศ หากแต่ในพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือก็ได้รับการส่งเสริมให้ปลูก ในลักษณะของพืชเศรษฐกิจ ซึง่ ความได้เปรียบในการปลูกพืชทางตอนเหนือ และทีจ ่ ังหวัดเชียงราย คือ สามารถกรีดยางได้มากกว่า เนื่องจากมีสภาพ อากาศหนาวเย็น สามารถกรีดได้ในช่วงเช้า ขณะที่ภาคใต้สามารถกรีด ได้ในตอนกลางคืน นอกจากนั้น สภาพพืน ้ ทีก ่ ็มีความอุดมสมบูรณ์อย่าง มาก และยังอยู่ใกล้กับตลาดขนาดใหญ่ทม ี่ ีความต้องการยางพาราจ�ำนวน มากอย่าง ประเทศจีนทางตอนใต้ ซึง่ สามารถทีจ ่ ะส่งสินค้าผ่านทางแม่นำ�้ โขง จากท่าเรือเชียงแสนได้โดยตรง15 ทัง ้ นี้ ในปีพ.ศ. 2560 เนื้อทีเ่ พาะปลูก และผลผลิตมีการหดตัวอยู่ทรี่ ้อยละ 1.35 และ 89.26 ตามล�ำดับ เป็นผล ให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลงอย่างมาก หดตัวถึงร้อยละ 78.78 อย่างไร ่ มีสาเหตุมาจากทีผ ก็ตาม ราคาเฉลีย ่ ในปีนี้หดตัวร้อยละ 2.51 ซึง ่ ู้ประกอบ การภายในประเทศมีการกดราคา รวมทั้งการมีข่าวการล้นตลาดของการ ผลิตยางพาราทัว่ โลก16 จึงส่ งผลให้มูลค่ามีการขยายตัวร้อยละ 59.13 หรือ ประมาณ 520 ล้านบาท 14

้ ทะเบียนสิ่งบ่งชีท กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2558). การขึน ้ างภูมิศาสตร์ ชาเชียงราย.

15

ข่าวสด. (2559). ยางพาราเชียงรายได้มาตรฐาน พร้อมป้อนตลาด.

16

ข่าวสด. (2560). ต้นเหตุ-ทางออกปัญหายางราคาตก.

( 15 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากภาพรวมของผลิตผลทางการเกษตรในปีพ.ศ. 2560 สินค้าเกษตร

้ ได้แก่ ข้าวนาปี และกาแฟ และทีม ทีม ่ ีผลผลิตขยายตัวสู งขึน ่ ีราคาเฉลีย ่ สูง ้ ได้แก่ ข้าวนาปรัง กาแฟ ยางพารา ส่ วนสิ นค้าเกษตรทีม ้ ขึน ่ ีมูลค่าสูงขึน ได้แก่ กาแฟ และยางพารา ผลดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า เป็นปีทองของ ‘กาแฟ’ ทัง ้ ในด้านของผลผลิต และราคา

ตารางที่ 1 อัตราการเติบโตของผลผลิตทางการเกษตรปีพ.ศ. 2560 ประเภท

ผลผลิต

ผลผลิต/ไร่

ราคาเฉลีย ่

ข้าวนาปี

25.14%

9.86%

-9.93%

-4.29%

ข้าวนาปรัง

-90.92%

-6.79%

8.19%

-90.18%

ข้าวโพดเลีย ้ งสั ตว์

-10.80%

-0.60%

-10.96%

-20.57%

สับปะรด

-25.55%

-6.05%

-44.20%

-58.46%

มันส�ำปะหลัง

-18.62%

8.09%

-21.57%

-36.17%

กาแฟ

9.94%

14.94%

70330.14%

77328.55%

ชา

-80.81%

-65.89%

-3.52%

-81.49%

ยางพารา

-89.26%

-78.78%

2.51%

89.53%

ทีม ่ า: กรมส่ งเสริมการเกษตร (2560)

( 16 )

มูลค่า


OBELS OUTLOOK 2017

1.2 อุตสาหกรรม

ส� ำหรับจังหวัดเชียงราย ภาคอุตสาหกรรมที่จ�ำนวนมากที่สุด คือ

อุตสาหกรรมการเกษตร ซึ่งในปีพ.ศ. 2559 มีจ�ำนวนทั้งหมด 264 แห่ง คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 27.59 จากโรงงานทัง ้ หมดในจังหวัดเชียงราย รอง มาได้แก่ อุตสาหกรรมอโลหะ และอาหาร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.26 และ 13.48 โดยรวมโรงงานอุตสาหกรรมมีทง ั้ หมด 957 แห่ง มีการขยาย ตัวจากปีก่อนร้อยละ 1.49 ทัง ้ นี้ อุตสาหกรรมทีไ่ ด้รับการสนับสนุนภายใต้ การเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ) จากคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) มีทง ั้ หมด 13 กิจการเป้าหมาย ได้แก่ เกษตร ประมง และกิจกรรมทีเ่ กีย ่ วข้อง, ่ ห่ม และเครือ สิ่งทอเครือ ่ งนุง ่ งหนัง, การผลิตเครือ ่ งเรือน, อัญมณีและเครือ ่ ง ประดับ, การผลิตเครือ ่ งมือแพทย์, การผลิตพลาสติก, การผลิตยา, กิจการโล จิสติกส์ , นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม และกิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว17 (ดังตารางที่ 2) ตารางที่ 2 สั ดส่ วนประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมในปีพ.ศ. 2559 จ�ำนวน

สั ดส่ วน

การเกษตร

264

27.59%

อโลหะ

146

15.26%

อาหาร

129

13.48%

ขนส่ง

83

8.67%

อืน ่ ๆ

42

35.01%

ทีม ่ า: กรมส่ งเสริมการเกษตร (2560)

17

คณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน. (2558). การส่ งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

เชียงราย.

( 17 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ว 1.3 การท่องเทีย

จังหวัดเชียงรายมีแหล่งท่องเทีย ่ วทีม ่ ศ ี ักยภาพอย่างมาก และมีความ

หลากหลาย ท�ำให้เป็นจุดมุ่งหมายของทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทย และต่าง ประเทศ อาทิ ไร่บุญรอด พระธาตุดอยตุง วัดร่องขุ่น ภูชี้ฟ้า ไร่ชาฉุ ยฟง เป็นต้น18 ด้วยสภาพภูมอ ิ ากาศ และภูมป ิ ระเทศทีอ ่ ยูท ่ างตอนเหนือสุดของ ประเทศไทย มีพน ื้ ทีเ่ ชือ ่ มติดกับประเทศเพือ ่ นบ้าน จึงเปรียบเสมือนจุด เชื่อมต่อไปยังประเทศต่างๆในภูมิภาค ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และสาธารณรัฐเมียนมา ดังนั้น ในทุกปีจึงมีนักท่องเที่ยว เดินทางมาทีจ ่ ังหวัดเชียงรายไม่ต�่ำกว่า 2 ล้านคน (ดังตารางที่ 3) ตารางที่ 3 สถิติจ�ำนวน และค่าใช้จ่ายของนักท่องเทีย ่ วพ.ศ. 2559 ประเภท

2559

59/58

จ�ำนวน (คน)

2,782,424

3.59%

6.75%

ชาวไทย

2,298,952

4.41%

7.84%

ต่างชาติ

483,472

-0.14%

2.31%

การใช้จ่าย (บาท/คน/วัน)

3,106.43

2.42%

3.40%

ชาวไทย

2,969.52

2.40%

3.78%

ต่างชาติ

3,649.31

2.96%

3.28%

ทีม ่ า: ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง (2560)

18

ท่ากาศยานแม่ฟ้าหลวง. (2560). 10 สถานทีแ ่ นะน�ำในเชียงราย.

( 18 )

CAGR


OBELS OUTLOOK 2017

โดยในปีพ.ศ. 2559 มีนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านท่าอากาศยาน

้ จากปีก่อนร้อยละ 3.59 แม่ฟ้าหลวงประมาณ 2.78 ล้านบาท ขยายตัวสูงขึน ้ ของนักท่องเทีย เป็นการเพิม ่ วชาวไทย ทีม ่ ก ี ารขยายตัวอยูท ่ รี่ อ ้ ยละ 4.41 ่ ขึน ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีการหดตัวลดลงเพียงเล็กน้อยที่ร้อยละ ่ สั ดส่ วนนักท่องเทีย 0.14 ซึง ่ วชาวไทยทีอ ่ ยู่ทรี่ ้อยละ 82.62 และต่างชาติ ร้อยละ 17.38 ในด้านของการใช้จ่าย พบว่านักท่องเทีย ่ วต่างชาติมีการใช้ ่ ทัง จ่ายสู งกว่านักท่องเทีย ่ วชาวไทยประมาณ 680 บาท/คน/วัน ซึง ้ ชาว ้ ร้อยละ 2.40 และ 2.96 จากข้อมูล ไทยและชาวต่างชาติมีการใช้จ่ายสู งขึน สะสมในระยะยาวตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2555 – 2559 จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วทีผ ่ ่าน ท่าอากาศยานมีการขยายตัวได้ดีทั้งนั กท่องเที่ยวชาวไทย และต่างชาติ มีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมอยู่ทรี่ ้อยละ 7.84 และ 2.31 เช่นเดียวกับการ ใช้จ่ายของนักท่องเทีย ่ ว

1.3 การลงทุน

ในปีพ.ศ. 2559 จ�ำนวนนิตบ ิ ค ุ คลจัดตัง้ ใหม่อยูท ่ ี่ 746 ราย ขยายตัว

จากปีก่อนร้อยละ 23.31 และมีทุนจดทะเบียนอยู่ที่ 2,276.1 ล้านบาท ่ เป็นผลมาจากการเติบโตของการลงทุนในด้าน ขยายตัวร้อยละ 59.49 ซึง ของการศึกษาเป็นส�ำคัญ ทีม ่ ีการขยายตัวของจ�ำนวนนิติบุคคลจัดตัง ้ ใหม่ ร้อยละ 160 และทุนจดทะเบียนขยายตัวร้อยละ 2402.22 หรือมีการลงทุน เพิ่มขึ้นประมาณ 108.1 ล้านบาท รองมาได้แก่ สาขาเหมืองแร่ เหมืองหิน และกิจกรรมเกีย ่ วกับข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร ทัง ้ นี้ มีทง ั้ หมด 8 สาขา ทีม ่ ีการจัดตัง ้ ใหม่ลดลง แบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์ ได้แก่ (1) สาขาทีม ่ ี จ�ำนวน และทุนจดทะเบียนการจัดตั้งนิติบุคคลใหม่ลดลง ประกอบด้วย เกษตรกรรม วิชาชีพวิทยาศาสตร์และวิชาการ และศิ ลปะ บันเทิง และ นันทนาการ (2) สาขาทีม ่ ีจ�ำนวนการจัดตัง ้ นิติบุคคลใหม่ลดลง แต่มีทุน จดทะเบียนเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย ที่พักและกิจการที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ( 19 )


OBELS OUTLOOK 2017

และกิจกรรมทีเ่ กีย ่ วข้องกับการเงินและประกันภัย (3) สาขาทีม ่ ีจ�ำนวนการ ้ แต่มท จัดตัง้ นิตบ ิ ค ุ คลใหม่เพิม ี น ุ จดทะเบียนลดลง ประกอบด้วย การผลิต ่ ขึน การก่อสร้าง กิจกรรมด้านสุ ขภาพ และสั งคมสงเคราะห์ (ดังตารางที่ 4) สรุปได้ว่าสาขาทีม ่ ีทง ั้ จ�ำนวน และทุนจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตัง ้ ใหม่ คือ เหมืองแร่เหมืองหิน ค้าปลีกค้าส่ง โลจิสติกส์ ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร การบริหารและการสนับสนุน และการศึกษา ตารางที่ 4 สรุปสถานการณ์นิติบุคคลจัดตัง ้ ใหม่ปีพ.ศ. 2559 จ�ำนวนลด, ทุนลด

จ�ำนวนลด, ทุนเพิม ่

จ�ำนวนเพิม ่ ,ทุนลด

1. เกษตรกรรม

1. ทีพ ่ ัก และกิจการที ่

1. การผลิต

2. วิชาชีพวิทยาศาสตร์

เกีย ่ วข้องกับอาหาร

2. การก่อสร้าง

และวิชาการ

2. กิจกรรมทีเ่ กีย ่ วข้องกับ 3. กิจกรรมด้าน

3. ศิลปะ ความบันเทิง

การเงินและประกันภัย

และนันทนาการ

สุ ขภาพ และ สั งคมสงเคราะห์

ทีม ่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2560)

2. อุปสงค์

ในด้านของอุปสงค์ของจังหวัดเชียงรายในปีพ.ศ. 2559 ดัชนีผบ ู้ ริโภค

มีการปรับตัวลดลงอย่างมากเมือ ่ เทียบกับปีก่อน เนื่องด้วยสภาพเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวทั้งประเทศ นอกจากนี้ ดัชนียังมีความผันผวนขึ้นลงอย่างก้าว กระโดด ทัง้ นี้ ส่วนใหญ่คา่ ใช้จา่ ยของครัวเรือนอยูท ่ ป ี่ ระเภทของอาหาร และ เครือ ่ งดืม ่ ทีไ่ ม่มีแอลกฮอล์

2.1 การใช้จ่ายของครัวเรือน

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของครัวเรือนในปีพ.ศ. 2559 อยู่ที่ 12,878 บาท

ต่อเดือน เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคร้อยละ 88.96 และไม่ใช่ ( 20 )


OBELS OUTLOOK 2017

การอุปโภคบริโภคร้อยละ 11.04 โดยค่าใช้จ่ายเพือ ่ การบริโภคการอุปโภค สูงสุด คือ ค่าใช้จ่ายด้าน ‘อาหารและเครือ ่ งดืม ่ ทีไ่ ม่มีแอลกฮอล์’ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 42.08 ของค่าใช้จา่ ยเพือ ่ การอุปโภคบริโภคทัง้ หมด รองมา ได้แก่ ‘ทีอ ่ ยู่อาศัย เครือ ่ งแต่งบ้าน และเครือ ่ งใช้’ และ ‘การเดินทาง และ การสื่อสาร’ รูปที่ 1 สัดส่ วนของค่าใช้จ่ายเพือ ่ การอุปโภคบริโภคปี 2559 อาหารและเครือ ่ งดืม ่ (ไม่มีแอลกอฮอล์)

ทีอ ่ ยู่อาศัย เครือ ่ งแต่งบ้านและเครือ ่ งใช้

22.1% 21.1%

กาเดินทาง และการสื่อสาร ค่าใฃ้จ่ายส่ วนบุคคล

เครือ ่ งนุ่งห่มและรองเท้า

42.19%

2.8% 2.6%

ทีม ่ า: ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ (2559)

2.2 ดัชนีราคาผู้บริโภค

สภาพเศรษฐกิจในปีพ.ศ. 2559 ของจังหวัดเชียงรายสอดคล้องกับ

ประเทศทีอ ่ ยูใ่ นช่วงชะลอตัว จึงท�ำให้ดช ั นีผบ ู้ ริโภคอยูใ่ นระดับต�ำ่ เมือ ่ เปรียบเทียบ กับปีก่อน จากรูปที่ 2 เห็นได้ว่าในช่วงเดือนมกราคมปีพ.ศ. 2559 ดัชนี ผู้บริโภคเริ่มต้นด้วยอัตราที่ต่�ำกว่าปีพ.ศ. 2558 อยู่ที่ 106.4 ต่อมาใน ้ อย่างต่อเนื่อง จนถึงจุดสูงสุด คือ เดือนกุมภาพันธ์จึงมีการปรับตัวสู งขึน 109.3 ในเดือนพฤษภาคม ก่อนจะปรับตัวลงมาจนถึงเดือนกันยายนมา อยูท ่ ี่ 108.1 หลังจากนั้น ดัชนีผู้บริโภคก็ตกฮวบไปอยู่ที่ 101.7 ในเดือน ตุลาคม และอยู่ในระดับคงทีจ ่ นถึงสิ้นปี

( 21 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 2 เปรียบดัชนีผู้บริโภครายได้ระหว่างปีพ.ศ. 2558 และ 2559 2558

2559

110 105

ธันวาคม

ฟฤศจิกายน

ตุลาคม

กันยายน

สิ งหาคม

กรกฎาคม

มิถุนายน

พฤษภาคม

เมษายน

มีนาคม

กุมภาพันธ์

95

มกราคม

100

ทีม ่ า: กระทรวงพาณิชย์ (2560)

เมื่อท�ำการเปรียบเทียบระหว่างปีพ.ศ. 2558 และ 2559 พบว่า

ดัชนีผู้บริโภคของปีพ.ศ. 2558 จะมีความคงทีก ่ ว่าอย่างเห็นได้ชัด ฉะนั้น ดัชนีผู้บริโภคได้สะท้อนถึงภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายทีม ่ ีความไม่ ี .ศ. 2554 (ดังรูปที่ 3) แน่นอน อย่างไรก็ตาม เมือ ่ พิจารณาจากสถิตต ิ ง ั้ แต่ปพ แสดงให้เห็นถึงการเริม ่ ตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2557 ่ ลดต�่ำลงของดัชนีผู้บริโภคเฉลีย เป็นต้นมา ซึง่ ส่งผลต่อดัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทีม ่ ก ี ารปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง

3. การค้าชายแดน

สถานการณ์การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงรายสามารถแบ่งออกเป็น

3 ด่าน ได้แก่ ด่านอ�ำเภอเชียงของ อ�ำเภอเชียงแสน และอ�ำเภอแม่สาย โดยมีทางอ�ำเภอเชียงของ และเชียงแสนติดกับสปป.ลาว และทางอ�ำเภอ ( 22 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ แม่สายติดกับเมียนมา แต่ทง ั้ สามอ�ำเภอล้วนเชือ ่ มต่อไปถึงจีนตอนใต้ ซึง อ�ำเภอเชียงของสามารถขนส่ งสินค้าผ่านเส้ นทาง R3A ส่วนอ�ำเภอแม่สาย สามารถขนส่งสินค้าผ่านเส้นทาง R3B และอ�ำเภอเชียงแสนสามารถขนส่ง สินค้าทางเรือผ่านทางแม่น�้ำโขง รูปที่ 3 ดัชนีราคาผู้บริโภคตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2554 - 2559 107.93 105.64

99.98

2554

106.56

101.67

2555

2556

2557

2558

ทีม ่ า: กระทรวงพาณิชย์ (2560)

รูปที่ 3 เส้นทางขนส่งสินค้าจากจังหวัดเชียงราย

ทีม ่ า: ผู้เขียน

( 23 )

2559


OBELS OUTLOOK 2017

สถานการณ์การค้าโดยรวมของจังหวัดเชียงรายในปีพ.ศ. 2559 มี

่ มีอัตรา มูลค่าอยู่ที่ 44,958 ล้านบาท ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 0.45 ซึง การเติบโตที่ลดลง ซึ่งในปีพ.ศ. 2558 มีการขยายตัวร้อยละ 9.12 โดย จังหวัดเชียงรายถือได้วา่ เป็นจังหวัดชายแดนทีม ่ ม ี ล ู ค่าการค้าชายแดนกับจีน ตอนใต้สูงเป็นอันดับ 3 (สัดส่วนร้อยละ 37.13) รองจากจังหวัดมุกดาหาร และนครพนม ด่านทีต ่ ง ั้ อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ และ มีมูลค่าการค้าชายแดนกับสปป.ลาว และเมียนมาสู งเป็นอันดับ 4 ของ ประเทศไทย สั ดส่วนร้อยละ 8.83 และ 6.46 ตามล�ำดับ) ตารางที่ 5 มูลค่าและสั ดส่ วนการค้าชายแดน 3 ประเทศปีพ.ศ. 2559 อันดับ

จังหวัด

มูลค่า

สั ดส่ วน

จีนตอนใต้ 1

มุกดาหาร

25,637.88

63.89%

3

เชียงราย

14,900.41

37.13%

2

4

นครพนม เลย

25,184.91 17.21

62.76% 0.04%

สปป.ลาว 1 2 3 4

มุกดาหาร นครพนม เชียงราย เลย

64,031.91 62,074.08 20,893.59 17,910.72

31.56% 30.59% 10.30% 8.83%

เมียนมา 1 2 3 4

ตาก กาญจนบุรี ระนอง เชียงราย

84,606.78 70,269.41 19,526.38 12,147.33

ทีทม ี่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

( 24 )

45.01% 37.38% 10.39% 6.46%


OBELS OUTLOOK 2017

ทัง้ นี้ มูลค่าการค้ากับสปป.ลาวสูงสุดอยูท ่ ี่ 17,91.72 ล้านบาท คิดเป็น

สัดส่วนร้อยละ 39.84 ของมูลค่าการค้าชายแดนรวมของจังหวัดเชียงราย ทัง ้ หมด รองมาคือ จีนตอนใต้ และเมียนมา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.14 และ 27.02 ตามล�ำดับ นอกจากนี้ การค้าชายแดนกับเมียนมามีการหด ตัวลดลงร้อยละ 6.26 ในขณะทีส ่ ปป.ลาว และจีนตอนใต้ ทีม ่ ก ี ารขยายตัว ร้อยละ 3.90 และ 2.34 ตามล�ำดับ

อย่างไรก็ตาม เชียงรายมีความได้เปรียบดุลการค้ากับทัง ้ 3 ประเทศ

และได้เปรียบดุลการค้ากับสปป.ลาวมากที่สุดอยู่ที่ 17,756.28 ล้านบาท ขณะเดียวกัน การค้ากับสปป.ลาวมีการขยายตัวดีทส ี่ ุดในรอบ 5 ปี ตัง ้ แต่ ปีพ.ศ. 2555 – 2559 โดยมีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมอยู่ที่ 48.83 รองมา คือ จีนตอนใต้ อยู่ทรี่ ้อยละ 8.01 ส่วนเมียนมากลับมีอัตราติดลบร้อยละ 0.13 ตารางที่ 6 สั ดส่ วน อัตราการเติบโต และอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสม สั ดส่ วน

59/58

CAGR

ดุลการค้า

จีนตอนใต้

33.14%

2.34%

8.01%

2,647.11

สปป.ลาว

39.84%

3.90%

19.61%

17,756.28

เมียนมา

27.02%

-6.26%

-0.13%

11,798.06

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

3.1 การส่ งออก

เมือ ่ เปรียบเทียบในการส่ งออกสิ นค้าจากชายแดนจังหวัดเชียงราย

ไปยัง 3 ประเทศ ได้แก่ สปป.ลาว จีนตอนใต้ และเมียนมา พบว่ามีมูลค่า การส่งออกไปยังสปป.ลาวสู งสุ ด คิดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 46.22 ของมูลค่า การส่งออกของจังหวัดเชียงรายทัง้ หมด รองมาคือ เมียนมา และจีนตอนใต้ ( 25 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ มีเพียงสปป.ลาวเท่านั้น มีสัดส่วนร้อยละ 31.03 และ 22.74 ตามล�ำดับ ซึง ที่มีการขยายตัวของการส่ งออกอยู่ที่ร้อยละ 4.34 ส่ วนจีนตอนใต้ และ เมียนมาหดตัวร้อยละ 7.28 และ 6.56 ตามล�ำดับ โดยทีใ่ นระยะยาว อัตรา การเติบโตเฉลี่ยสะสมของสปป.ลาวสู งสุ ดอยู่ที่ร้อยละ 46.22 รองมาคือ จีนตอนใต้มีอัตราอยู่ที่ร้อยละ 3.79 ขณะที่เมียนมาร์กลับมีอัตราติดลบ ร้อยละ 6.56

ด่านทีม ่ ีมูลค่าการส่ งออกสู งสุ ด คือ ด่านเชียงแสน โดยมีมูลค่า

การส่งออกอยู่ที่ 15,832.60 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 41.04 ของ มูลค่าการส่งออกของจังหวัดเชียงรายทัง้ หมด รองมาคือ ด่านเชียงของ และ ด่านแม่สาย เนื่องจากด่านเชียงแสนมีการส่งออกสินค้าไปยังทัง้ 3 ประเทศ จึงมีมล ู ค่าการส่งออกสูงกว่าด่านอืน ่ ๆทีม ่ ก ี ารส่งออกไปเพียงแต่ 2 ประเทศ ่ หากแต่ในปีพ.ศ. 2559 กลับมีการหดตัวลดลงจากปีก่อนร้อยละ 2.48 ซึง เป็นผลมาจากการลดลงของมูลค่าการส่งออกสินค้าไปยังจีนตอนใต้ และ เมียนมา ทีห ่ ดตัวร้อยละ 29.97 และ 11.28 ตามล�ำดับ เป็นเพราะว่าทาง ่ เป็นท่าการค้าของเมียนมาทีม รัฐบาลเมียนมาได้สั่งปิดท่าเรือสบหลวย ซึง ่ ี ความส� ำคัญอย่างมาก ต่อการส่ งออกสิ นค้าประเภทอาหารแช่แข็งจาก ประเทศไทยไปจีนตอนใต้ ท�ำให้เกิดการย้ายช่องทางในการส่งออกสินค้า19 ่ มีเส้นทางในการขนส่ง เช่น เส้นทาง R12 ผ่านด่านศุลกากรนครพนม ซึง สินค้าไปจีนตอนใต้สั้นทีส ่ ุ ดจากประเทศไทย20

ขณะที่ด่านแม่สายก็มีการหดตัวลดลงเช่นเดียวกันที่ร้อยละ 5.54

เป็นผลมาจากการลดลงของมูลค่าการส่ งออกจีนตอนใต้เป็นส� ำคัญ ซึ่งมี การหดตัวร้อยละ 43.96 และเมียนมา หดตัวร้อยละ 11.28 โดยด่าน

19 20

ผู้จัดการ. (2559). ผู้ว่าฯถกปัญหาค้าชายแดนเชียงราพบอุปสรรคยังเพียบสั่งเร่งสางด่วน. ประชาชาติธุรกิจ. (2558). ผู้ส่งออกย้ายซบด่านนครพนม ค้าชายแดนพุ่งจ่อทะลุแสนล้าน.

( 26 )


OBELS OUTLOOK 2017

แม่สายต้องเผชิญกับปัญหาความไม่มน ั่ คงทางการเมืองในเมียนมา ทีม ่ ก ี าร สกัดกัน ้ การส่ งออกสิ นค้าออกจากท่าขีเ้ หล็กไปยังเชียงตุง21

้ ของมูลค่า ส� ำหรับด่านเชียงของเป็นด่านเดียวที่มีการขยายตัวสู งขึน

การส่ งออก แต่เป็นการขยายตัวเพียงเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.97 ซึ่งได้รับ อิทธิพลมาจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่ งออกไปยังประเทศจีนตอนใต้ เติบโตอยูท ่ รี่ อ ้ ยละ 11.19 แต่ลดลงในส่วนของมูลค่าการส่งออกไปยัง สปป. ลาว เนื่องจากได้รบ ั ผลกระทบจากการเรียกค่าธรรมเนียม และเก็บภาษีมล ู ค่า ส� ำหรับสิ นค้าอุปโภค-บริโภคเพิ่มขึ้น ท�ำให้ต้นทุนของผู้ประกอบการการ ้ 22 นอกจากนี้ ด่านเชียงของเป็นด่านทีม ส่งออกสูงขึน ่ ีมูลค่าการส่ งออกไป ยังจีนตอนใต้สูงสุ ด

สินค้าทีส ่ ่ งออกไปยังจีนตอนใต้อันดับแรกในปีพ.ศ. 2559 คือ ข้าว

มีมูลค่าอยู่ที่ 1,155.87 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 13.17 ของมูลค่า ส่งออกไปยังจีนตอนใต้ทง ั้ หมดของจังหวัดเชียงราย มีการขยายตัวจากปี ก่อนถึงร้อยละ 29341.4 อันดับที่ 2 คือ มังคุด มีมูลค่าอยู่ที่ 911.55 ล้าน บาท คิดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 10.39 หดตัวลดลงร้อยละ 9.45 และอันดับที่ 3 คือ ยางพารา มีมูลค่าอยู่ที่ 829.39 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 10.19 ขยายตัวร้อยละ 35.30 นอกจากนั้น ยังมีสินค้าทีม ่ ีการขยายตัวอย่างมาก ่ ส�ำเร็จรูป อาทิ สี ทาและวาร์นิช และสี อน ื่ ๆ สินค้ากสิกรรมอืน ่ ๆ และบะหมีก ่ ึง และอาหารส�ำเร็จ ส่ วนสินค้าทีม ่ ีการขยายตัวเฉลีย ่ สะสมสูงสุดในรอบ 5 ปี ทีผ ่ ่านมา คือ ทีน ่ อนหมอนฟูก มีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมอยู่ทรี่ ้อยละ 481.30

21 22

เรือ ่ งเดียวกัน เชิงอรรถที่ 18 ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ค้าชายแดนเชียงรายดิน ้ ! หาช่องส่ งออกลาว-จีนเพิม ่ หลังเมียนมาปิด

ท่าเรือสบหลวย.

( 27 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 7 สิ นค้าทีม ่ ีมูลค่าส่ งออกสู งสุ ด 5 อันดับ ไปจีนตอนใต้ปี 2559 ประเภท ข้าว มังคุด ยางพารา ปลา ผลไม้สดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง

59/58 29341.4% -14.1% 35.3% 71.8% 27.1%

CAGR

สั ดส่ วน

22.3% 23.6% 109.9% 50.3%

13.17% 10.39% 9.45% 7.83% 7.23%

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

สินค้าทีส ่ ่งออกไปยังเมียนมาอันดับแรกในปีพ.ศ. 2559 คือ เครือ ่ งดืม ่

ที่มีแอลกอฮอส์ มีมูลค่าอยู่ที่ 2,152.94 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 17.98 ของมูลค่าส่ งออกไปยังเมียนมาทัง ้ หมดของจังหวัดเชียงราย มีการ ขยายตัวจากปีกอ ่ นถึงร้อยละ 43.13 อันดับที่ 2 คือ เครือ ่ งดืม ่ ทีไ่ ม่มแ ี อลกอฮอส์ มีมูลค่าอยู่ที่ 1,348.01 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 11.26 ขยายตัว ร้อยละ 31.98 และอันดับที่ 3 คือ น�ำ้ มันดีเซล มีมล ู ค่าอยูท ่ ี่ 674.98 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 5.64 ขยายตัวร้อยละ 7.30 นอกจากนั้น ยังมี สินค้าทีม ่ ีการขยายตัวอย่างมาก อาทิ ข้าว ผักสดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง ยางพารา เป็นต้น ส่ วนสินค้าทีม ่ ีการขยายตัวเฉลีย ่ สะสมสูงสุดในรอบ 5 ปี ทีผ ่ ่านมา คือ ข้าว มีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมอยู่ทรี่ ้อยละ 190.79 ตารางที่ 8 สินค้ามูลค่าส่ งออกสู งสุ ด 5 อันดับ ไปเมียนมาพ.ศ. 2559 ประเภท เครือ ่ งดืม ่ ทีม ่ ีแอลกอฮอส์ เครือ ่ งดืม ่ ทีไ่ ม่มีแอลกอฮอส์ น�้ำมันดีเซล ปูนซิเมนต์ เหล็กและเหล็กกล้า

59/58

CAGR

สั ดส่ วน

43.13% 31.98% 7.30% 86.72% 13.20%

7.43% 5.71% 1.42% 13.30% 2.51%

17.98% 11.26% 5.64% 4.92% 4.86%

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

( 28 )


OBELS OUTLOOK 2017

สิ นค้าที่ส่งออกไปยังสปป.ลาว อันดับแรกในปี 2559 คือ สิ นค้า

ปศุสัตว์อน ื่ ๆ มีมล ู ค่าอยูท ่ ี่ 4,371.97 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48.17 ของมูลค่าส่งออกไปยังเมียนมาทัง้ หมดของจังหวัดเชียงราย มีการขยายตัว จากปีกอ ่ นถึงร้อยละ 42.61 อันดับที่ 2 คือ ไก่ มีมล ู ค่าอยูท ่ ี่ 3,336.21 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 18.71 ขยายตัวร้อยละ 20.03 และอันดับที่ 3 คือ ข้าว มีมูลค่าอยู่ที่ 2,526.19 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 14.17 ขยาย ตัวร้อยละ 11.43 นอกจากนั้น ยังมีสินค้าทีม ่ ีการขยายตัวอย่างมาก อาทิ ผักสดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง สินค้ากสิกรรมอืน ่ ๆ เครือ ่ งจักรกลและส่วน ประกอบอืน ่ ๆ เป็นต้น ส่วนสินค้าทีม ่ ีการขยายตัวเฉลีย ่ สะสมสูงสุดในรอบ 5 ปีทผ ี่ ่านมา คือ เนื้อและส่วนต่างๆของสั ตว์ทบ ี่ ริโภคได้ มีอัตราการเติบโต เฉลีย ่ สะสมอยู่ทรี่ ้อยละ 82.73 ตารางที่ 9 สินค้ามูลค่าส่งออกสู งสุ ด 5 อันดับ ไปสปป.ลาวพ.ศ. 2559 ประเภท สินค้าปศุสัตว์อน ื่ ๆ ไก่ ข้าว น�้ำมันดีเซล รถยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ

59/58

CAGR

สั ดส่ วน

42.61% 20.03% 11.43% 15.29% 28.22%

48.17% 10.14% 70.27% 13.94% 28.46%

24.52% 18.71% 14.17% 11.08% 4.84%

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

3.2 การน�ำเข้า

มูลค่าการน�ำเข้าของจังหวัดเชียงรายในปี 2559 อยูท ่ ี่ 6,378.51 ล้านบาท

ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 18.39 โดยประเทศที่มีมูลค่าการน�ำเข้าสู งสุ ด คือ ประเทศจีนตอนใต้ มีมล ู ค่าอยูท ่ ี่ 6,126.65 ล้านบาท คิดเป็นส่วนร้อยละ 96.05 รองมาได้แก่ เมียนมา และสปป.ลาว ทีม ่ ส ี ัดส่วนอยูเ่ พียงร้อยละ 2.74 และ 1.21 ตามล� ำ ดั บ ทั้ง นี้ มู ล ค่ า การน� ำ เข้ า มี ก ารขยายตั ว ในทุ ก ด่ า น ( 29 )


OBELS OUTLOOK 2017

โดยด่านแม่สายมีการขยายตัวสูงสุดอยูท ่ รี่ อ ้ ยละ 34.34 รองมาคือเชียงของ และเชียงแสน ขยายตัวร้อยละ 20.27 และ 1.27 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม มูลค่าการน�ำเข้าจากสปป.ลาวมีการหดตัวร้อยละ 51.46 หากแต่กบ ั จีนตอนใต้ มีการขยายตัวร้อยละ 2.70 ขณะที่กับเมียนมามีการเติบโตเพียงเล็กน้ อย ั หาอย่างมาก เนื่องจาก นอกจากนี้ สถานการณ์การน�ำเข้าจากสปป.ลาวมีปญ มีการหดตัวของมูลค่าในทุกด่านชายแดน โดยด่านเชียงแสนมีการหดตัว ร้อยละ 51.46 ขณะที่ด่านเชียงของหดตัวร้อยละ 46.12 จึงท�ำให้มูลค่า การน�ำเข้าจากสปป.ลาวหดตัวอยู่ทรี่ ้อยละ 46.88

สิ นค้าน�ำเข้าจากจีนตอนใต้ที่มีมูลค่าสู งสุ ดเป็นอันดับแรก คือ ข้าว

มีมูลค่าอยู่ที่ 2,395.25 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่วนร้อยละ 39.10 มีการขยาย ตัวจากปีก่อนร้อยละ 31.35 อันดับที่ 2 คือ ผลไม้และของปรุงแต่งจากผล ไม้ มีมูลค่าอยู่ที่ 2,028.13 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 39.10 มีการ ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 31.35 อันดับที่ 3 คือ ผักและของปรุงแต่งจาก ผัก มีมูลค่าอยู่ที่ 406.47 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่วนร้อยละ 6.63 มีการ ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 15.10 นอกจากนั้น ยังมีสินค้าประเภทอืน ่ ๆ ที่ มีการขยายตัวอย่างมาก อาทิ กระดาษ และผลิตภัณฑ์กระดาษอืน ่ ๆ วัสดุ ส� ำนักงาน และเครื่องจักรไฟฟ้าใช้ในอุตสาหกรรม ทั้งนี้ สิ นค้าทุนอื่นๆ เป็นสินค้าน�ำเข้าจากจีนตอนใต้ทม ี่ ีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมสูงสุดตัง ้ แต่ ปีพ.ศ. 2555 – 2559

สินค้าน�ำเข้าจากเมียนมาทีม ่ ีมูลค่าสูงสุดเป็นอันดับแรก คือ ผลไม้

และของปรุงแต่งจากผลไม้ มีมูลค่าอยู่ที่ 46.66 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่วน ร้อยละ 26.72 มีการขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 62.79 อันดับที่ 2 คือ สินแร่ โลหะอืน ่ ๆ เศษโลหะอืน ่ ๆ และผลิตภัณฑ์ มีมูลค่าอยู่ที่ 37.16 ล้าน บาท คิดเป็นสั ดส่วนร้อยละ 21.28 มีการขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 0.90 อันดับที่ 3 คือ กาแฟ ชา เครือ ่ งเทศ มีมูลค่าอยู่ที่ 32.64 ล้านบาท คิดเป็น ้ สัดส่วนร้อยละ 18.69 มีการขยายตัวจากปีกอ ่ นร้อยละ 29.96 นอกจากนัน ( 30 )


OBELS OUTLOOK 2017

ยังมีสินค้าประเภทอื่นๆที่มีการขยายตัวอย่างมาก อาทิ เสื้ อผ้าอื่นๆ พืช น�้ำมันและผลิตภัณฑ์ และรองเท้า ทัง ้ นี้ เสื้อผ้าอืน ่ ๆ เป็นสินค้าน�ำเข้าจาก เมียนมาทีม ่ ีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมสูงสุดตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2555 – 2559 ตารางที่ 10 สินค้ามูลค่าน�ำเข้าสู งสุ ด 5 อันดับจากจีนตอนใต้พ.ศ. 2559 ประเภท

59/58

CAGR

สั ดส่ วน

ข้าว

31.35%

16.89%

39.10%

ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้

19.09%

30.29%

33.10%

ผักและของปรุงแต่งจากผัก

-15.10%

3.20%

6.63%

เครือ ่ งจักรทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรม

46.09%

99.44%

5.82%

43.21%

2.57%

5.64%

และส่วนประกอบ เครือ ่ งใช้และเครือ ่ งตกแต่งภายใน บ้านเรือนอืน ่ ๆ ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

ตารางที่ 11 สิ นค้ามูลค่าน�ำเข้าสู งสุ ด 5 อันดับจากเมียนมาพ.ศ. 2559 ประเภท

59/58

CAGR

สั ดส่ วน

ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้

62.79%

7.80%

26.72%

สินแร่ โลหะอืน ่ ๆ เศษโลหะอืน ่ ๆ

0.90%

1.22%

21.28%

กาแฟ ชา เครือ ่ งเทศ

29.96%

47.62%

18.69%

เหล็ก

-9.87%

106.98%

5.71%

เศษกระดาษ

-3.78%

140.95%

5.65%

และผลิตภัณฑ์

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

( 31 )


OBELS OUTLOOK 2017

สิ นค้าน�ำเข้าจากสปป.ลาวที่มีมูลค่าสู งสุ ดเป็นอันดับแรก คือ พืช

และผลิตภัณฑ์จากพืชอืน ่ ๆ มีมูลค่าอยู่ที่ 19.17 ล้านบาท คิดเป็นสั ดส่วน ร้อยละ 24.82 มีการหดตัวจากปีก่อนร้อยละ 28.08 อันดับที่ 2 คือ ธัญพืช มีมูลค่าอยู่ที่ 14.13 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่ วนร้อยละ 18.30 มีการหดตัว จากปีกอ ่ นร้อยละ 28.56 อันดับที่ 3 คือ ไม้แปรรูป มีมล ู ค่าอยูท ่ ี่ 13.74 ล้านบาท ้ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.79 มีการหดตัวจากปีกอ ่ นร้อยละ 66.00 นอกจากนัน ยังมีสินค้าประเภทอืน ่ ๆทีม ่ ีการขยายตัวอย่างมาก อาทิ เศษกระดาษ ผ้าทอ ด้วยใยสังเคราะห์และใยเทียม และไม้ซงุ ทัง้ นี้ ของเล่น เป็นสินค้าน�ำเข้าจาก สปป.ลาว ทีม ่ ีอัตราการเติบโตเฉลีย ่ สะสมสู งสุดตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2555 –2559 ตารางที่ 12 สินค้ามูลค่าน�ำเข้าสู งสุ ด 5 อันดับจากสปป.ลาวพ.ศ. 2559 ประเภท

59/58

CAGR

สั ดส่ วน

พืชและผลิตภัณฑ์จากพืชอืน ่ ๆ

28.08%

-8.43%

24.82%

ธัญพืช

28.56%

-11.72%

18.30%

ไม้แปรรูป

66.00%

-14.89%

17.79%

ของเล่น

25.89%

252.66%

15.54%

ผลิตภัณฑ์จากแร่อน ื่ ๆ

72.95%

-3.64%

3.70%

ทีม ่ า: กรมการค้าระหว่างประเทศ (2560)

( 32 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2549). ประกาศกรมทรัพย์สินทาง

้ ทะเบียนสิ่งบ่งชีท ปัญญา เรือ ่ ง การขึน ้ างภูมศ ิ าสตร์ สับปะรดนางแล.

สืบค้นจาก http://www.ipthailand.go.th/th/gi-011/item/13-%

E0%B8%AA%E0%B8%8A-49100013-%E0%B8%AA%E0%

B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%B0%E0%

B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%

B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5-2.html

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). รัฐให้ทุนไร่ละ 2,000 ปลูกข้าวโพดเลีย ้ งสัตว์

แทนข้าว 31 จ. สื บค้นจาก

http://www.thansettakij.com/content/232028

สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2558).

มันส�ำปะหลัง: การใช้ประโยชน์ผลิตภัณฑ์จากมันส�ำปะหลัง.

สืบค้นจาก http://www3.rdi.ku.ac.th/?p=17866

มติชน. (2560). ‘ล�ำไยสด’ ล้น เร่งปรับกลยุทธ์ สกัดปัญหา ‘รูดร่วง’.

สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/news/617307

ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่. (2560). จังหวัดเชียงราย

เตรียมจัดงานสั บปะรดนางแล ภูแล ลิ้นจี่ และของดีเมืองเชียงราย เพือ ่ ส่งเสริมการตลาด. สืบค้นจาก http://www.prdnorth.in.th/ ct/news/viewnews.php?ID=170519141834

ประชาขาติธุรกิจ. (2558). กาแฟ “ดอยตุง-ดอยช้าง” ได้ขึ้นทะเบียนเป็น

สิ นค้า GI ของอียู. สื บค้นจาก https://www.prachachat.net/

news_detail.php?newsid=1436941322

ไทยรัฐ. (2560). ‘เชียงราย’ หนุนวิถีไทยสู่เมืองกาแฟ ร่วมสมัยสร้าง

เศรษฐกิจชุมชน. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/

content/1079060 ( 33 )


OBELS OUTLOOK 2017

ข่าวสด. (2559). ยางพาราเชียงรายได้มาตรฐาน พร้อมป้อนตลาด.

สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/view_newsonline.

php?newsid=1467611269

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2558). การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนา

เศรษฐกิจพิเศษเชียงราย. สืบค้นจาก https://chiangmai.boi.go.th/

uploads/file_download/file/20151215/th-adfjlruxyz01.pdf

ท่ากาศยานแม่ฟ้าหลวง. (2560). 10 สถานทีแ ่ นะน�ำในเชียงราย.

http://chiangraiairportthai.com/th/popular-destinations/

1942/10-%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%

B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B

9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%

A2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%

B0%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%

99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%

A2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%

A2 ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว. (2560). สถิตินักท่องเที่ยวในประเทศ

(รายจังหวัด). สื บค้นจาก http://intelligencecenter.tat.or.th/

articles/701

ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย. (2560). รายงานความเคลือ ่ นไหว

การลงทุนอุตสาหกรรม. สืบค้นจาก www.industry.go.th/chiangrai/

index.php

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2560). สถิตก ิ ารจดทะเบียนนิตบ ิ ค ุ คลจัดตัง ้ ใหม่

ของจังหวัดเชียงรายปีพ.ศ. 2558 - 2559. สื บค้นจาก http://

www.dbd.go.th/main.php?filename=intro_95 ( 34 )


OBELS OUTLOOK 2017

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ค้าชายแดนเชียงรายดิน ้ ! หาช่องส่ งออกลาว-จีน

เพิม ่ หลังเมียนมาปิดท่าเรือสบหลวย. สื บค้นจาก http://www.

thansettakij.com/content/84686

ผู้จัดการ. (2559). ผู้ว่าฯ ถกปัญหาค้าชายแดนเชียงราย พบอุปสรรคยัง

เพียบ-สั่งเร่งสางด่วน. สื บค้นจาก http://www.manager.co.th/

Local/ViewNews.aspx?NewsID=9590000002241

กรมการค้าระหว่างประเทศ. (2560). สถิติการค้าชายแดนของจังหวัด

เชียงรายกับประเทศเพือ ่ นบ้าน. สืบค้นจาก http://btsstat.dft.go.th/

คมชัดลึก. (2557). ‘ชากาขาว’ แห่งเวียงกาหลวง ชาสมุนไพรทีเ่ ดียว ในไทย.

สื บค้นจาก http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/

198121 ้ ทะเบียนสิ่ งบ่งชีท กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2558). การขึน ้ างภูมิศาสตร์

ชาเชียงราย. สื บค้นจาก http://www.ipthailand.go.th/th/gi-

011/item/74-%E0%B8%AA%E0%B8%8A-58100074-%

E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8A%

E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A3%

E0%B8%B2%E0%B8%A2-2.html

ผู้จัดการ.(2560). คาดกาแฟในประเทศปีนี้เติบโต 20% แต่ผลผลิต

ยังไม่พอ-อ้อนรัฐทบทวนภาษีน�ำเข้าด่วน. สืบค้นจาก https://

www.matichon.co.th/news/471229

ประชาชาติธุรกิจ. (2558). ผู้ส่งออกย้ายซบด่านนครพนม ค้าชายแดนพุ่ง

จ่อทะลุแสนล้าน. สื บค้นจาก http://m.prachachat.net/news_

detail.php?newsid=1440581235

ข่าวสด. (2560). ต้นเหตุ-ทางออกปัญหายางราคาตก. สื บค้นจาก

https://www.khaosod.co.th/hot-topics/news_392628

( 35 )


OBELS OUTLOOK 2017

( 36 )


OBELS OUTLOOK 2017

ส่ วนที่ 2 เศรษฐกิจเมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย

( 37 )


OBELS OUTLOOK 2017

โมเดลความต้องการบริการ ้ ทีช ่ ายแดน ด้านการรักษาสุ ขภาพในพืน

ณัฐพรพรรณ อุตมา วิลาวัณย์ ตุทาโน

บทคัดย่อ

ั จัยที่ส่งผลต่อความ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปจ

ต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพในพื้นที่ชายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยท�ำการรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้ทอ ี่ าศัย อยูใ่ นพืน ้ ทีอ ่ ำ� เภอเชียงของจ�ำนวน 320 คน เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส� ำรวจเพื่อค้นหาตัวแปรแฝง การวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยันเพื่อทดสอบความสอดคล้องของตัวแปรแฝงใน โมเดลทีท ่ ำ� การศึกษา และการวิเคราะห์แบบจ�ำลองสมการเชิงโครงสร้างเพือ ่ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ ผลการ ศึกษาพบว่า ค่านิยมทางสั งคม และการบริการทางการแพทย์ เป็นปัจจัยที่ มีผลต่อการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพในพืน ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ค�ำส� ำคัญ: บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ; ความต้องการบริโภค; พืน ้ ทีช ่ ายแดน 1

อ้างถึงรายงานการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาธุรกิจเมกะเทรนด์ด้านสุ ขภาพของพื้นที่ชายแดน

จังหวัดเชียงราย: มุมมองด้านผู้บริโภค” สนั บสนุ นการวิจัยโดยมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจ�ำปีงบ ประมาณพ.ศ. 2560

( 38 )


OBELS OUTLOOK 2017

1. บทน�ำ

ท่ามกลางการเปลีย ่ นแปลงของโลกทีข ่ บ ั เคลือ ่ นตามกระแสโลกาภิวต ั น์

แห่งดิจท ิ ล ั (Digital Globalization) และกระแสเมกะเทรนด์ (Megatrend) อาทิ กระแสนวัตกรรม กระแสสั งคมเมือง กระแสการใส่ ใจสุ ขภาพ และ กระแสสั ง คมสู ง วั ย (Aging society) ได้ส ร้างความท้าทายให้กับสั งคม โลกที่ต้องเผชิญและเรียนรู้กับวิถีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิม ความเข้าใจ การเรียนรู้ และการพยากรณ์พฤติกรรมผู้บริโภคและการตอบสนองของ ผู้บริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันนับว่าเป็นรากฐานส� ำคัญที่จะ เข้าใจถึงศักยภาพและประสิ ทธิภาพของตลาดสิ นค้าและบริการ

ในนั ยหนึ่ งพฤติกรรมการบริโภคอาจสะท้อนถึงอ�ำนาจซื้อสั มพัทธ์

ต่อสิ นค้าและบริการในตลาด อีกนัยหนึ่งอาจสะท้อนพืน ้ ฐานของผู้บริโภค ั ส�ำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะพฤติกรรม ทีอ ่ าจส่งผลอย่างมีนย และความต้องการใช้บริการด้านการรักษาพยาบาล (Medical services) ั จุบันได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบจากความต้องการใช้บริการเพื่อรักษาโรค ที่ปจ เป็นความต้องการใช้บริการเพือ ่ รักษาสุ ขภาพ ดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค ้ (Health & wellness services) มากขึน

ธุรกิจบริการด้านการรักษาพยาบาลถือว่าเป็นธุรกิจที่ส�ำคัญต่อการ

พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและสร้างโอกาสให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่ ชายแดน โดยเฉพาะจังหวัดเชียงราย เหตุผลประการแรก ได้แก่ ความมี ศั กยภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดเชียงรายที่มีดินแดนติดกับประเทศ เพือ ่ นบ้าน เช่น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย ้ งั สามารถเชือ ประชาชนลาว นอกจากนีย ่ มต่อกับประเทศทีส ่ าม เช่น สาธารณรัฐ ประชาชนจีน (ตอนใต้) สาธารณรัฐอินเดีย รวมถึงสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม

ประการทีส ่ อง ประชากรในพืน ้ ทีช ่ ายแดนมีการตอบสนองต่อกระแส

การรักสุ ขภาพและสั งคมผู้สูงอายุค่อนข้างมาก (จากการสั งเกตการณ์ของ ( 39 )


OBELS OUTLOOK 2017

ผู้วิจัยในพืน ้ ทีเ่ ดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560) ประการทีส ่ าม จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดชายแดนทีม ่ ค ี วามอุดมสมบูรณ์ทางด้านอาหาร แหล่งท่องเทีย ่ ว ทางธรรมชาติ ความพร้อมของธุรกิจบริการ และการส่งเสริมบริการทางการ แพทย์ จึงเป็นพื้นที่เป้าหมายในการเข้ามาอาศัยของผู้ที่ต้องการดูแลและ ฟื้ นฟูสุขภาพ ผู้สูงอายุทง ั้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ

ศักยภาพของพืน ้ ทีด ่ งั กล่าวสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

ประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560 - 2569) ซึง่ หนึ่งในนโยบายน�ำร่อง ได้แก่ การยกเว้นวีซา่ เพือ ่ การรักษาพยาบาลในกลุม ่ ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียนและสาธารณรัฐประชาชนจีน พร้อมทั้ง มีการขยายเวลาพ�ำนักแบบยกเว้นวีซ่าส� ำหรับผู้ป่วยและผู้ติดตามจากกลุ่ม ประเทศดังกล่าวเป็นเวลา 90 วัน การขยายวีซ่าพ�ำนักระยะยาวส�ำหรับกลุ่ม พ�ำนักระยะยาว รวมถึงการเพิม ่ ประเภทของวีซ่าเป็น Medical Visa ส�ำหรับ ชาวต่างชาติที่เดินทางมารับการรักษาในประเทศไทย สนั บสนุ นระบบการ ช�ำระเงินค่ารักษาพยาบาลระหว่างประเทศ การก�ำหนดผูช ้ ว่ ยทูตด้านการแพทย์ เพือ ่ เป็นตัวแทนด้านสุ ขภาพของไทย สนับสนุนระบบการเบิกจ่ายค่ารักษา พยาบาลจากระบบประกันสุขภาพจากต่างประเทศ การพิจารณาออกกฎหมาย เพือ ่ ให้สอดคล้องกับการเปลีย ่ นแปลงของกระแสสุขภาพโลก

นอกเหนือจากมาตรการกระตุ้นและอ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้

บริการรักษาพยาบาลชาวต่างชาติแล้ว รัฐบาลยังมีมาตรการอืน ่ ๆ ในการก้าวสู่ การเป็นศูนย์กลางสุ ขภาพนานาชาติ (Medical Hub) เช่น พิจารณาให้ สิ ทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่โรงพยาบาลเอกชนในการลงทุนใหม่หรือ ขยายโรงพยาบาล พิจารณาใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพชั่วคราวส� ำหรับ บุคลากรทางการแพทย์จากต่างประเทศ จัดตัง้ ห้องปฏิบต ั ก ิ ารทางการแพทย์ ทีม ่ ีการใช้เทคโนโลยีในระดับสู งในการวิเคราะห์วินิจฉัยโรค รวมถึงการวิจัย และงานด้านระบาดวิทยา การพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทาง เลือกให้มีมาตรฐานในระดับสากล รวมถึงการจัดตั้งเมืองสุ ขภาพแพทย์ ( 40 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ 1 ในจังหวัด แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจร ใน 4 แห่ง ซึง ดังกล่าวได้แก่ จังหวัดเชียงราย

ประการสุ ดท้าย พืน ้ ทีช ่ ายแดนของไทยถูกผลักดันให้เป็นพืน ้ ทีท ่ ีใ่ ช้

ในการขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจของชาติในภาวะเศรษฐกิจโลกทีก ่ ำ� ลังซบเซา และ อยู่ในช่วงของการฟื้ นตัว โดยถูกสะท้อนผ่านนโยบายการจัดตัง ้ เขตพัฒนา ่ นับว่าเป็นโอกาสและความท้าทาย เศรษฐกิจพิเศษใน 10 พืน ้ ทีช ่ ายแดน ซึง ในการพัฒนาธุรกิจบริการด้านการรักษาพยาบาลในพืน ้ ทีช ่ ายแดน ตลอดจน การพัฒนาเมืองเชียงรายให้เข้าสู่ การเป็นเมืองแห่งการบริการด้านสุ ขภาพ เพือ ่ รองรับกับความต้องการใช้บริการในอนาคต

บทความนีไ้ ด้ทำ� ความเข้าใจถึงพฤติกรรมการใช้บริการด้านการรักษา

สุ ขภาพ และปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการรักษาสุ ขภาพในพื้นที่ชายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เพือ ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาธุรกิจบริการ ด้านการรักษาและส่ งเสริมสุ ขภาพ

2. ทบทวนเอกสาร

การศึกษานี้ ได้น�ำแนวคิดทางทฤษฎีทเี่ กีย ่ วข้องกับพฤติกรรมการบริโภค

และการตัดสินใจในการบริโภคของชูชัย สมิทธิไกร (2553) มาเป็นแนวทาง ่ งจากเป็นแนวคิดการตัดสินใจในการบริโภค ในการก�ำหนดกรอบการศึกษา เนือ ที่ไ ด้ รั บ การยอมรั บ อย่ า งแพร่ ห ลาย โดยได้ ท� ำ การประมวลออกมาเป็น กระบวนการบริโภคสินค้าและบริการแบบบูรณาการ 4 ขัน ้ ตอน ได้แก่ ขัน ้ ตอน การตัดสิ นใจซื้อ ขั้นตอนการซื้อ ขั้นตอนการใช้ และขั้นตอนการประเมิน หลังการบริโภค โดยกระบวนการบริโภคทั้ง 4 ขั้นตอนได้รับอิทธิพลจาก ่ เป็นปัจจัย ปัจจัย 3 ประการหลัก ปัจจัยแรก ได้แก่ ปัจจัยด้านจิตวิทยา ซึง ภายในที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภายในของปัจเจกบุคคล ได้แก่ การรับรู้ การเรียนรู้ทัศนคติ ความต้องการและแรงจูงใจ บุคลิกภาพ ค่านิยม และ ่ เป็นปัจจัย วิถีชีวิต ปัจจัยทีส ่ อง ได้แก่ ปัจจัยด้านสั งคมและวัฒนธรรม ซึง ( 41 )


OBELS OUTLOOK 2017

ภายนอกที่แวดล้อมตัวบุคคลจากระบบของสั งคม และวัฒนธรรมได้แก่ ครอบครัว กลุ่มอ้างอิง ชนชัน ้ ทางสังคม และวัฒนธรรม และปัจจัยสุ ดท้าย ได้แก่ ปัจจัยด้านธุรกิจ ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องการด�ำเนินการ ขององค์กร ได้แก่ ส่วนผสมทางการตลาด การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์องค์กร และการบริหารความสั มพันธ์กับลูกค้า

งานวิจย ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกับบริการด้านการรักษาสุขภาพ เช่น การศึกษาของ

Hall (2011) เกีย ่ วกับการท่องเทีย ่ วทางการแพทย์ พบว่า การท่องเทีย ่ ว ทางการแพทย์มีรูปแบบทีห ่ ลากหลาย

ประกอบด้วย

การท่องเทีย ่ วเพือ ่

สุขภาพ การท�ำทันตกรรม การท�ำสเต็มเซลล์ การผ่าตัดเปลีย ่ นถ่ายอวัยวะ ่ โดยหลักๆ แล้วเกีย และการท�ำแท้ง ซึง ่ วข้องกับสุขภาพและความเจ็บป่วย และยังพบอีกว่าแนวคิดที่มีผลท�ำให้ผู้บริโภครู้สึกอยากเข้ารับบริการด้าน สุขภาพข้ามพรมแดน ได้แก่ กฎระเบียบ จริยธรรม ความเสี่ยงด้านสุขภาพ ส่วนบุคคลและความเสี่ยงด้านสาธารณสุข รวมถึงการขาดข้อมูลด้านขอบเขต ของการท่องเทีย ่ วทางการแพทย์ก็เป็นปัจจัยหนึ่งในการตัดสิ นใจใช้บริการ ทางการแพทย์ข้ามพรมแดน

ั จัย ขณะเดียวกัน Mahdavi et al. (2013) ก็ได้ท�ำการวิเคราะห์ปจ

ทีม ่ ีผลต่อการพัฒนาการท่องเทีย ่ วเชิงสุ ขภาพ โดยการส�ำรวจความคิดเห็น ของผู้เชีย ่ วชาญด้านสุขภาพและการตอบแบบสอบถามโดยการสุ่มตัวอย่าง และท�ำการวิเคราะห์โดยวิธีการ Friedman test พบว่า ปัจจัยทีม ่ ีผลต่อการ พัฒนาการท่องเทีย ่ วด้านสุ ขภาพ ได้แก่ การสร้างแบรนด์หรือชือ ่ เสี ยงใน ด้านการรักษา ความร่วมมือกันระหว่างกระทรวงต่างๆ ภายในประเทศเพือ ่ พัฒนาให้การท่องเทีย ่ วเชิงสุ ขภาพเป็นหน่วยธุรกิจทีส ่ �ำคัญ การพัฒนาให้ สถานพยาบาลแต่ละทีม ่ ีความโดดเด่นในด้านใดด้านหนึ่ง เพือ ่ ให้เกิดการ รับรู้ว่า เมื่อป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งควรเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลไหน ั จัยรองอืน นอกเหนือจากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ยังมีปจ ่ ๆ อีกด้วย เช่น การมี มาตรฐานระดับนานาชาติ การให้วีซ่าทางการแพทย์ การรักษาทีม ่ ีค่าใช้จ่าย ( 42 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทีเ่ หมาะสม มีการท�ำการตลาดและโฆษณา มีโครงสร้างพืน ้ ฐานทีด ่ ี รวมถึง การสร้างความสะดวกสบายในการเข้าถึงบริการการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ เป็นต้น

จากการทบทวนเอกสารข้างต้น พบว่า ปัจจัยทีม ่ ีผลต่อการใช้บริการ

ด้านการรักษาสุ ขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัย ่ ผู้วิจัยได้น�ำมา ทางด้านจิตวิทยา และปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด ซึง ใช้เป็นกรอบการศึกษานี้

3. วิธีด�ำเนินการวิจัย

3.1 การรวบรวมข้อมูล

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การวิจัยเชิงส�ำรวจด้วยวิธี

การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้ บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ และปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความต้องการใช้บริการ ด้านการรักษาสุ ขภาพกับผู้ที่อาศั ยอยู่ในพื้นที่ชายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 320 ตัวอย่าง ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ.2560 แบบสอบถามทีใ่ ช้ในการเก็บข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ส่ วน ได้แก่ ส่วนแรก สอบถามเกีย ่ วกับข้อมูลทัว่ ไปของผูต ้ อบแบบสอบถาม ส่วนทีส ่ อง เป็นค�ำถาม พฤติกรรมการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ และส่วนทีส ่ าม เป็นค�ำถาม เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ โดยใช้แนวคิ ดกระบวนการบริ โ ภคสิ น ค้า และบริก ารแบบบูรณาการของ ชูชัย สมิทธิไกร (2553) ที่ประยุกต์แนวคิดของสิ่ งกระตุ้นทางการตลาด (Marketing stimulus) และกล่องด�ำความรู้สึกนึกคิดของผู้ซอ ื้ (Buyer’s Black Box) ที่มีอิทธิพลการตัดสิ นในการบริโภค ที่ใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ (5=ส�ำคัญมากทีส ่ ุ ด 4=ส�ำคัญมาก 3=ส�ำคัญปานกลาง 2=ส�ำคัญ น้อย 1=ส�ำคัญน้อยทีส ่ ุ ด และ 0=ไม่ส�ำคัญเลย) ประกอบด้วย ข้อมูลปัจจัย ด้านสังคมและวัฒนธรรม เน้นด้านอิทธิพลทีม ่ ผ ี ลต่อการตัดสินใจในการใช้ ( 43 )


OBELS OUTLOOK 2017

บริการรักษาสุ ขภาพ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา เน้นด้านแรงจูงใจทีม ่ ีผลต่อ การตัดสินใจในการใช้บริการรักษาสุขภาพ และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ด้านราคา ด้านที่ตั้ง และด้านการ ส่งเสริมการใช้บริการ

3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

ข้อมูลจากแบบสอบถามถูกน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์เป็น 2 ส่วน ส่วนแรก

เป็นการศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพด้วยสถิติเชิง พรรณนา และส่วนที่ 2 เป็นการศึกษาปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความต้องการใช้บริการ ด้านการรักษาสุขภาพ โดยเริม ่ ่ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ เพือ สกัดองค์ประกอบด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Exploratory Factor Analysis) ด้วยเทคนิค Principal Component Analysis ร่วมกับการ ้ น�ำแต่ละปัจจัย หมุนแกนปัจจัยองค์ประกอบด้วยวิธแ ี บบ Varimax จากนัน องค์ประกอบหรือตัวแปรแฝงมาท�ำการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) เพือ ่ ตรวจสอบความเหมาะสมของ โมเดลการวัด และน�ำมาปัจจัยองค์ประกอบทัง้ หมดทีผ ่ า่ นการทดสอบความ เหมาะสมมาท�ำการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling) เพือ ่ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบด้านต่างๆของ ความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ

4. ผลการศึกษา

ผลการส�ำรวจลักษณะทัว่ ไปของกลุม ่ ตัวอย่างผูใ้ ช้บริการรักษาสุขภาพ

ในพื้นที่ชายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พบว่า ผู้ตอบแบบ สอบถามส่วนใหญ่เป็นผูท ้ ม ี่ ถ ี น ิ่ ฐานอยูใ่ นเชียงของร้อยละ 79 และเป็นผูท ้ ี่ เข้ามาพ�ำนักในอ�ำเภอเชียงของร้อยละ 20 ทัง ้ นี้เป็นเพศหญิงร้อยละ 62.5 และเพศชายร้อยละ 37.5 ส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วงอายุระหว่าง 31–40 ปี คิดเป็น ( 44 )


OBELS OUTLOOK 2017

ร้อยละ 26 รองลงมาคือช่วงอายุระหว่าง 51–60 ปี ร้อยละ 20 และช่วงอายุ ระหว่าง 41–50 ปี และอายุต�่ำกว่า 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 15 ในอัตราทีเ่ ท่ากัน มีสถานภาพสมรสมากที่สุดถึงร้อยละ 58 รองลงมาคือสถานภาพโสด ประมาณร้อยละ 40 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมากทีส ่ ุ ดถึงเกือบร้อยละ 43 ระดับมัธยมศึกษา/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ร้อยละ 26 และระดับ ้ ส่วนใหญ่ ประถมศึกษาร้อยละ 16 ในด้านอาชีพของผูต ้ อบแบบสอบถามนัน ประกอบอาชีพรับราชการ คิดเป็นร้อยละ 18 ท�ำงานในรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 17 ท�ำงานในบริษัทเอกชน ร้อยละ 10 ประกอบธุรกิจของตนเอง ร้อยละ 10 เป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 8 และท�ำงานอาชีพอิสระ ร้อยละ 7.5 โดย ภาพรวมมีรายได้เฉลีย ่ ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 5,001 – 10,000 บาทคิดเป็น ร้อยละ 35 รายได้ต่อเดือนระหว่าง 15,001 – 30,000 บาท ร้อยละ 27 และ รายได้ต่อเดือนสู งกว่า 30,000 บาท ร้อยละ 14 และผู้ตอบแบบสอบถาม ส่ วนใหญ่ไม่มีโรคประจ�ำตัวคิดเป็นร้อยละ 67.5 และผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว ร้อยละ 32.5 โดยโรคประจ�ำตัวส่วนใหญ่ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง รองลงมา คือโรคภูมิแพ้ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคไต ตามล�ำดับ

4.1 พฤติกรรมการใช้บริการรักษาสุ ขภาพ

การศึกษาสภาพทัว่ ไปการให้บริการด้านการรักษาพยาบาลในอ�ำเภอ

เชียงของ พบว่า โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ เป็นโรงพยาบาล ประจ�ำอ�ำเภอเพียงแห่งเดียวในอ�ำเภอเชียงของ เป็นโรงพยาบาลขนาดกลาง ที่รองรับผู้ป่วยที่อยู่ในพืน ้ ที่เชียงของและผู้ป่วยจากประเทศเพื่อนบ้าน และ มีคลีนิคกระจายอยูห ่ ลายแห่ง โดยในพืน ้ ทีเ่ ชียงของเมืองเก่ามีคลีนิคตัง้ อยู่ ประมาณ 3 - 5 แห่ง

นอกจากนี้บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จ�ำกัด (มหาชน) ก็มีแผน

เปิดด�ำเนิ นการโรงพยาบาลในเครือเกษมราษฎร์ในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของ เช่นกัน จากการสอบถามด้านพฤติกรรมการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพ ( 45 )


OBELS OUTLOOK 2017

พบว่า เมือ ่ มีอาการป่วย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเลือกเข้ารับการรักษาจาก โรงพยาบาลรัฐเป็นหลัก รองลงมาเป็นคลินิกและโรงพยาบาลเอกชนนอก พื้นที่ โดยมีเ พี ยงบางส่ วนเท่ า นั้ น ที่เข้ า รั บบริก ารจากสาธารณสุ ข อ�ำ เภอ และหมอชาวบ้าน ส่ วนหนึ่งเป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 18 เป็น ่ สามารถใช้สิทธิข้าราชการในการเข้ารับการรักษาโดยไม่ต้อง ข้าราชการ ซึง เสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ เช่นเดียวกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งท�ำงานในรัฐวิสาหกิจและ บริษัทเอกชนที่สามารถใช้สิทธิประกันสั งคม ส� ำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้ ใช้สิทธิใดๆ ในการเข้ารับการรักษา และจ�ำเป็นต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล ด้วยตนเอง พบว่า ค่าใช้จ่ายในการเข้ารับบริการต่อครั้งขึ้นอยู่กับสถาน พยาบาล และความร้ายแรงของโรค โดยทั่วไปมีค่าใช้จ่ายต่อครั้งสู งกว่า 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 5 มีค่าใช้จ่ายระหว่าง 1,001 - 2,500 บาท ร้อยละ 11 มีค่าใช้จ่ายระหว่าง 500 - 1,000 บาท ร้อยละ 28 และมีค่าใช้ จ่ายต�่ำกว่า 500 บาท ร้อยละ 50

ในด้านความถี่ในการใช้บริการ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่เข้ารับ

บริการจากสถานพยาบาลโดยเฉลี่ยปีละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจสุ ขภาพหรือ รักษาโรคทีไ่ ม่ร้ายแรงและไม่เรือ ้ รัง ขณะทีก ่ ลุ่มคนทีม ่ ีอายุเกิน 60 ปีกว่า ร้อยละ 53 เข้ารับบริการปีละ 3 - 4 ครัง ้ เพือ ่ รักษาโรคประจ�ำตัวและตรวจ สุขภาพประจ�ำปี นอกจากนี้ ปัจจัยทีส ่ �ำคัญทีส ่ ุ ดต่อการใช้บริการเพือ ่ รักษา สุขภาพ ได้แก่ สิทธิในการรักษาพยาบาล รองลงมาคือ บุคลากรทางการ แพทย์ ความสะดวกในการเดินทาง การบริการทางการแพทย์ที่ดี ความ สะอาดของสถานพยาบาล และความปลอดภัยในการเข้ารับการรักษา ตาม ล�ำดับ และเมื่อสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการขยายสถานพยาบาล ในพื้นที่ชายแดน พบว่า กลุ่มตัวอย่างกว่าร้อยละ 90 เห็นด้วยว่าควรมี โรงพยาบาลในอ�ำเภอเชียงของเพิ่มขึ้น ปัจจุบันเชียงของมีโรงพยาบาล เพียงแห่งเดียวที่รองรับผู้ใช้บริการทัง ้ จากคนในเชียงของและจากประเทศ เพือ ่ นบ้าน ท�ำให้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการใช้บริการรักษาพยาบาล ( 46 )


OBELS OUTLOOK 2017

และผู้ป่วยบางส่ วนจ�ำเป็นต้องถูกส่งตัวไปรักษากับโรงพยาบาลในตัวเมือง ่ ห่างไกลออกไป และมีเพียงร้อยละ 10 ทีไ่ ม่เห็นด้วยกับการเพิม ้ ของ ซึง ่ ขึน โรงพยาบาลในพืน ้ ที่ โดยให้ความเห็นว่าแม้จะมีโรงพยาบาลเพียงแห่งเดียว ่ เพียงพอต่อความต้องการ แต่กม ็ ค ี ลินิกจ�ำนวนมากทีค ่ อยให้บริการผูป ้ ว่ ยซึง ใช้บริการแล้ว

อย่างไรก็ตาม สิ่งทีก ่ ลุ่มตัวอย่างต้องการให้มีการพัฒนาได้แก่ การ

ขยายโรงพยาบาลเดิมทีม ่ ีอยู่ทง ั้ ในด้านของขนาดและจ�ำนวนบุคลากรทาง การแพทย์ เทคนิคในการรักษาของแพทย์ รวมถึงเครือ ่ งมือทางการแพทย์ ้ เป็นต้น ทีด ่ ีและมีความทันสมัยมากขึน

่ ีผลต่อการใช้บริการรักษาสุ ขภาพ 4.2 ปัจจัยทีม

การศึกษานี้ได้ก�ำหนดปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการด้านการรักษา

สุ ขภาพในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายจากแนวคิดทางทฤษฎี และงานวิ จั ย ที่เ กี่ย วข้ อ ง มี จ� ำ นวนทั้ง หมด 24 ปัจ จั ย สามารถแบ่ ง เป็น 2 กลุ่มปัจจัย ได้แก่ กลุ่มปัจจัยที่ 1 ปัจจัยสิ่งกระตุ้นจากความรู้สึกนึกคิด ของผู้บริโภค (Buyer’s black box) ประกอบด้วย ปัจจัยด้านสังคมและ วัฒนธรรม จ�ำนวน 3 ปัจจัย และปัจจัยทางด้านจิตวิทยา จ�ำนวน 9 ปัจจัย และกลุ่ ม ปัจ จั ย ที่ 2 ปัจ จั ย สิ่ ง กระตุ้ น ทางการการตลาด (Marketing stimulus) ประกอบด้วย ปัจจัยทางด้านผลิตภัณฑ์ จ�ำนวน 3 ปัจจัย ปัจจัยทางด้านราคา จ�ำนวน 3 ปัจจัย ปัจจัยทางด้านช่องทางการให้บริการ จ� ำ นวน 2 ปัจ จั ย และปัจ จั ย ทางด้ า นการส่ ง เสริ ม ทางการตลาด จ� ำ นวน 4 ปัจจัย (ตารางที่ 1)

( 47 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 1 ตัวแปรปัจจัยทีม ่ ีผลต่อการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ กลุ่มปัจจัย

ปัจจัยหลัก

ปัจจัยสิ่งกระตุน ้ จาก

ปัจจัยด้านสั งคมและ

1. อิทธิพลจากครอบครัว

ความรู้สึกนึกคิด

วัฒนธรรม

2. อิทธิพลจากเพือ ่ นและคนสนิท

ของผู้บริโภค

ปัจจัยย่อย

3. อิทธิพลจากคนทีม ่ ีชอ ื่ เสี ยง ปัจจัยทางด้าน

1. แรงจูงใจเพือ ่ มีสุขภาพ

จิตวิทยา

ร่างกายแข็งแรง 2. แรงจูงใจเพือ ่ รักษาโรค 3. แรงจูงใจเพือ ่ ป้องกันโรค 4. แรงจูงใจเพือ ่ บ�ำรุงสุ ขภาพ 5. แรงจูงใจเพือ ่ ความสวยงาม 6. แรงจูงใจตามกระแสนิยม 7. แรงจูงใจเพือ ่ สร้างความ สั มพันธ์กับผู้อน ื่ ในสั งคม 8. แรงจูงใจเพือ ่ สร้างวินัยให้กับ ตนเอง 9. แรงจูงใจเพือ ่ สร้างความนับถือ ตนเอง

ปัจจัยสิ่งกระตุ้น

ปัจจัยทางด้าน

1. บริการทีด ่ ีจากบุคลากร

ทางการการตลาด

ผลิตภัณฑ์

ทางการแพทย์ 2. ความสามารถของแพทย์ 3. การให้ค�ำแนะน�ำเกีย ่ วกับโรค

ปัจจัยทางด้านราคา

1. ราคาเหมาะสมกับการรักษา พยาบาล

( 48 )


OBELS OUTLOOK 2017

กลุ่มปัจจัย

ปัจจัยหลัก

ปัจจัยย่อย 2. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ การรักษาพยาบาล 3. ราคาถูกกว่าสถานพยาบาล อืน ่

ปัจจัยทางด้านสถาน

1. โรงพยาบาลอยู่ใกล้บ้าน

ทีห ่ รือช่องทางการให้

2. ความสะดวกในการเดินทาง

บริการ ปัจจัยทางด้านการ

1. มีการแจกสินค้าทีร่ ะลึก

ส่ งเสริมทางการ

2. มีการโฆษณาและ

ตลาด

ประชาสั มพันธ์จากผู้มี ชือ ่ เสี ยงผ่าน Social Media รวมถึงสื่ออืน ่ ๆ 3. มีระบบผ่อนช�ำระค่าบริการ

ผลการตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ปัจจัยทีม ่ ีความ

ส�ำคัญต่อการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพมากทีส ่ ุด (ตารางที่ 2) ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการแพทย์ ประกอบด้วย ความสามารถ ของแพทย์ (M = 4.34, S.D. = 0.79) การได้รับการบริการทีด ่ ีจากบุคลากร ทางการแพทย์ (M = 4.33, S.D. = 0.79) และการให้ค�ำแนะน�ำเกีย ่ วกับ การรักษา (M = 4.22, S.D. = 0.86) รองลงมาคือ ปัจจัยด้านราคา ประกอบด้วย ความเหมาะสมของค่ารักษาพยาบาล (M = 3.96, S.D. = 0.96) ความคุ้มค่า ของราคากับคุณภาพของบริการ (M = 3.93, S.D. = 0.95) และค่ารักษา ( 49 )


OBELS OUTLOOK 2017

พยาบาลถูกกว่าสถานพยาบาลอืน ่ (M = 3.61, S.D. = 1.21) ปัจจัยด้าน ช่องทางการให้บริการ ได้แก่ ความสะดวกในการเดินทางไปยังสถาน พยาบาล (M = 3.97, S.D. = 0.98) และความใกล้ของโรงพยาบาล (M = 3.94, S.D. = 1.01) และปัจจัยด้านจิตวิทยา เช่น แรงจูงใจในการใช้บริการ เพือ ่ การรักษาโรค (M = 4.47, S.D. = 0.68) เพือ ่ ให้มีสุขภาพร่างกายที่ แข็งแรง (M = 4.32, S.D. = 0.94) เพือ ่ ป้องกันโรค (M = 4.13, S.D. = 0.97) และเพือ ่ บ�ำรุงสุ ขภาพ (M = 3.79, S.D. = 1.28) เป็นต้น ตารางที่ 1 ตัวแปรปัจจัยทีม ่ ีผลต่อการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ ปัจจัย

ค่าเฉลีย ่

S.D. เกณฑ์การประเมิน

1. ปัจจัยสิ่งกระตุ้นจากความรู้สึกนึกคิดของผู้บริโภค • ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม

2.32

1.12

ปานกลาง

• ปัจจัยด้านจิตวิทยา

3.25

0.95

มาก

• ปัจจัยทางด้านผลิตภัณฑ์

4.30

0.75

มากทีส ่ ุด

• ปัจจัยทางด้านราคา

3.83

0.90

มาก

• ปัจจัยทางด้านช่องทางการให้บริการ

3.96

0.95

มาก

• ปัจจัยทางด้านการส่งเสริมทางการ 2.72

1.25

ปานกลาง

0.73

ปานกลาง

2. ปัจจัยสิ่งกระตุ้นทางการการตลาด

ตลาด ค่าคะแนนรวม

3.31

( 50 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.2.1 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส� ำรวจ

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ เป็นขัน ้ ตอนแรกของการศึกษา

ปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพ โดยท�ำการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจจาก 24 ปัจจัยเพือ ่ สกัดองค์ประกอบด้วย เทคนิค Principal Component Analysis ร่วมกับการหมุนแกนปัจจัย องค์ประกอบด้วยวิธีแบบ Varimax พบว่า ปัจจัยทีน ่ �ำมาใช้ในการศึกษา มีความเหมาะสมกับการวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัย แสดงด้วยค่า Kaiser-Meyer-Olkin (KMO) ทีม ่ ีค่าอยู่ที่ 0.865 อธิบายได้ว่าตัวแปร หรือปัจจัยทีน ่ �ำมาใช้ในการศึกษามีความสั มพันธ์กัน รวมทัง ้ การตรวจสอบ ความเป็นอิสระกันของตัวแปรด้วย Barlett’s test พบว่า มีค่านัยสั มพันธ์ ทางสถิติ (Sig.<0.05) มีค่าต�่ำกว่า 0.001 อธิบายได้ว่าตัวแปรหรือปัจจัย ที่น�ำมาใช้ในการศึกษามีความสั มพันธ์กัน นอกจากนี้ การวิเคราะห์องค์ ประกอบร่วมจากปัจจัยทีใ่ ช้ในการศึกษาจากการสกัดองค์ประกอบด้วยวิธี Principal component พบว่า องค์ประกอบทีม ่ ีผลต่อการใช้บริการด้าน การรักษาสุ ขภาพ สามารถจ�ำแนกออกได้เป็น 7 องค์ประกอบ โดยพิจารณา จากค่าไอเกน (Eigen value) หรือค่าความสามารถในการอธิบายความ แปรปรวนของกลุ่มปัจจัยที่มีค่ามากกว่า 1.0 (ตารางที่ 3) ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยด้านค่านิยมทางสั งคม (Social value) จ�ำนวน 5 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 2 ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย (Promotion) จ�ำนวน 4 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยด้านการรักษาพยาบาล (Medical services) จ�ำนวน 3 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 4 ปัจจัยด้านความต้องการ ของร่างกาย (Physical need) จ�ำนวน 4 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 5 ปัจจัย ด้านราคา (Price) จ�ำนวน 3 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 6 ปัจจัยทางด้าน สถานทีแ ่ ละสิ่งอ�ำนวยความสะดวก (Location and facilitation) จ�ำนวน 2 ตัวแปร และองค์ ประกอบที่ 7 ปัจจั ย ด้านอิทธิพ ลทางสั งคม (Social power) จ�ำนวน 3 ตัวแปร ( 51 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 3 องค์ประกอบของปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ องค์ประกอบ 1

องค์ประกอบหลัก

องค์ประกอบย่อย

ปัจจัยด้านค่านิยม

1. มีการแจกสิ นค้าทีร่ ะลึก

ทางสังคม

2. มีการโฆษณาและ ประชาสั มพันธ์จากผู้มี ชือ ่ เสี ยงผ่าน Social Media รวมถึงสื่ออืน ่ ๆ 3. มีระบบผ่อนช�ำระค่าบริการ

2

ปัจจัยด้านการส่ง

1. บริการทีด ่ ีจากบุคลากร ทาง

เสริมการตลาด

การแพทย์ 2. ความสามารถของแพทย์ 3. การให้ค�ำแนะน�ำเกีย ่ วกับโรค

3

ปัจจัยด้านการรักษา

1. แรงจูงใจเพือ ่ มีสุขภาพร่างกาย

พยาบาล

แข็งแรง 2. แรงจูงใจเพือ ่ รักษาโรค 3. แรงจูงใจเพือ ่ ป้องกันโรค 4. แรงจูงใจเพือ ่ บ�ำรุงสุ ขภาพ

4

ปัจจัยด้านความ

1. ราคาเหมาะสมกับการรักษา

ต้องการของร่างกาย

พยาบาล 2. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ การรักษาพยาบาล 3. ราคาถูกกว่าสถานพยาบาลอืน ่

( 52 )


OBELS OUTLOOK 2017

องค์ประกอบ

องค์ประกอบหลัก

องค์ประกอบย่อย

5

ปัจจัยด้านราคา

1. โรงพยาบาลอยู่ใกล้บ้าน

6

ปัจจัยทางด้านสถาน

2. ความสะดวกในการเดินทาง

ทีแ ่ ละสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก 7

ปัจจัยด้านอิทธิพล

1. อิทธิพลจากครอบครัว

ทางสั งคม

2. อิทธิพลจากเพือ ่ นและ คนสนิท 3. อิทธิพลจากคนทีม ่ ีชอ ื่ เสี ยง

ั จัยด้วยการหมุนแกนของปัจจัยด้วยวิธี Varimax เมือ ่ ท�ำการวิเคราะห์ปจ

เพือ ่ ท�ำให้ความแปรปรวนของปัจจัยมีคา่ มากทีส ่ ุด พบว่า ปัจจัยองค์ประกอบ ที่ 1 หรือปัจจัยค่านิยมทางสั งคม สามารถอธิบายความแปรปรวนของตัว แปรเดิมจากการหมุนแกนได้ร้อยละ 19.45 ส่ วนปัจจัยองค์ประกอบอื่น สามารถสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรได้ใกล้เคียงกันมีค่า ระหว่างร้อยละ 6 - 10 (ตารางที่ 4)

( 53 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 4 Total variance explained Com ponent

Latent variables

1

X1:

2

Initial Eigenvalues Tot

Rotation Sums of

% of

Cumula

Tot

% of

Cumula

8.2

34.55

34.559

4.6

19.44

19.449

X2:

3.2

13.36

47.924

2.6

10.94

30.398

3

X3:

1.7

7.485

55.410

2.5

10.77

41.170

4

X4:

1.3

5.741

61.151

2.4

10.21

51.384

5

X5:

1.1

4.982

66.133

2.2

9.247

60.631

6

X6:

1.1

4.592

70.725

1.8

7.906

68.537

7

X7:

1.0

4.263

74.989

1.5

6.452

74.989

4.2.2 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเป็นการตรวจสอบความเหมาะสม

ของโมเดลการวัดความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพจากปัจจัย องค์ประกอบหรือปัจจัยแฝง (Latent variables) ทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ ่ ประกอบด้วยปัจจัยแฝง 7 ปัจจัย โดยใช้คา่ สถิตส เชิงส�ำรวจข้างต้น ซึง ิ �ำคัญ ในการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลทีต ่ ้องการศึกษากับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ได้แก่ ค่า Chi-square (X2) เป็นค่าทดสอบความ กลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยต้องมีค่า Chi-square ใน ระดับไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) ค่า Relative Chi-square ratio (X2/df) เป็นอัตราส่ วนที่ใช้ทดสอบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ ควรมีค่าน้อยกว่า 3.00 ค่า Goodness of fit (GFI) เป็นดัชนี วัดระดับความกลมกลืน ควรมีค่าสู งกว่า 0.90 ค่า Adjusted Goodness of Fit (AGFI) เป็นดัชนีวัดระดับความกลมกลืนปรับแก้ ควรมีค่าสู งกว่า 0.90 ค่า Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) ( 54 )


OBELS OUTLOOK 2017

เป็นดัชนีความคลาดเคลือ ่ นในการประมาณค่าพารามิเตอร์ หรือแสดงถึง ระดับความกลมกลืนของโมเดลและข้อมูลเชิงประจักษ์ ควรมีคา่ ต�ำ่ กว่า 0.05 และ ค่า Comparative Fit Index (CFI) เป็นดัชนีวัดความสอดคล้อง กลมกลืนเชิงสั มพัทธ์ หรือเป็นดัชนีทช ี่ ่วยปรับแก้ Relative Fit Index ให้ มีความอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 ควรมีค่ามากกว่า 0.90 (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2557)

ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลวัดความต้องการ

ใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าโมเดลมีคา่ สถิติ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทก ี่ �ำหนด ค่า Chi-square = 688.075, p-value = 0.000, Chi-square/df = 3.954, GFI = 0.827, AGFI = 0.770, RMSEA = 0.096 และ CFI = 0.877 แสดงว่าโมเดลทีท ่ �ำการศึกษายังไม่ กลมกลืนสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ จึงท�ำการปรับโมเดลให้มีความ ้ ซึง ่ โมเดลทีป ั จัยแฝง กลมกลืนสอดคล้องมากขึน ่ รับแล้ว (รูปที่ 1) มีปจ เพียง 3 ตัว ได้แก่ ปัจจัยแฝงด้านค่านิยมทางสั งคม ปัจจัยแฝงด้านการ รักษาพยาบาล และปัจจัยแฝงด้านอิทธิพลทางสั งคมทีผ ่ า่ นเกณฑ์ด้วยค่า สถิติ Chi-square = 3.168, p-value = 0.788, Chi-square/df = 0.527, GFI = 0.997, AGFI = 0.989, RMSEA = 0.000 และ CFI = 1.000 โดยค่าน�้ำหนักปัจจัยด้านค่านิยมทางสั งคม (X1) ประกอบด้วย กระแส ความนิยมของสั งคม (X12) และความนับถือตนเอง (X15) มีค่าเท่ากับ 0.83 ในอัตราทีเ่ ท่ากัน ค่าน�้ำหนักของปัจจัยด้านการรักษาพยาบาล (X3) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.55-1.23 ประกอบด้วย บริการจากบุคลากรทางการ แพทย์ (X31) มีค่าน�้ำหนักเท่ากับ 0.55 และบริการค�ำแนะน�ำทางการ แพทย์ (X33) มีค่าน�้ำหนักเท่ากับ 1.23 และค่าน�้ำหนักปัจจัยด้านอิทธิพล ทางสังคม (X7) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.60 ประกอบด้วย อิทธิพลจาก ครอบครัว (X71) มีค่าน�้ำหนักเท่ากับ 0.30 และอิทธิพลจากความมีชอ ื่ เสี ยงของแพทย์ (X73) มีค่าน�้ำหนักเท่ากับ 0.60 ( 55 )


OBELS OUTLOOK 2017

e12 e15 e31 e33

e71 e73

x12 x15 x31 x33 x71 x73

.68 .69 .30 1.52 .09 .36

.83 .83

Value .24

.55 1.23

Medical .13

.30 .60

.81

Power

รูปที่ 1 โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยความต้องการใช้บริการ ด้านการรักษาสุ ขภาพ

4.2.3 การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง

หลังจากท�ำการวิเคราะห์ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลด้วยการ

้ ปัจจัยแฝงทีผ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันแล้วนัน ่ า่ นการทดสอบความ เหมาะสมจะถูกน�ำมาท�ำการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างเพือ ่ วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทีม ่ ผ ี ลต่อความต้องการใช้บริการด้านการรักษา สุ ขภาพ พบว่า โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อความ ต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูล เชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าสถิติ Chi-square = 24.050, p-value = 0.013, Chi-square/df = 2.186, GFI = 0.982, AGFI = 0.943, RMSEA = 0.061 และ CFI = 0.984

( 56 )


OBELS OUTLOOK 2017

(รูปที่ 2) สรุปได้ว่าโมเดลสมการโครงสร้างของการวิจัยมีความเหมาะสม

e12 e15

x12 x15

.63 .74

ex1

.79 .86

.00 Value ex3

e31 e33

x31 x33

.37 1.20

.00

.61 1.10

ey

Medical

.33

Demand

.58 x31 .88

x33

ey1

.77

ey2

ex7 e71

x71

e73

x73

.05 .36

.22 .79

.00 Power

รูปที่ 2 โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการด้าน การรักษาสุ ขภาพ

เมือ ่ พิจารณาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุจากการวิเคราะห์โมเดลสมการ

โครงสร้าง พบว่า ปัจจัยที่มีความสั มพันธ์ในเชิงบวกต่อความต้องการใช้ บริการด้านการรักษาสุขภาพอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยค่านิยม ทางสังคม (ß1 = 0.511, p < 0.001) และปัจจัยด้านการรักษาพยาบาล (ß2 = 0.331, p < 0.001) ส่วนปัจจัยด้านอิทธิพลทางสังคมไม่มีนัย ส�ำคัญทางสถิติ กล่าวได้ว่า ความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุขภาพ ในพืน ้ ทีช ่ ายแดนสามารถวัดได้จากค่านิยมทางสังคม และ การรักษาพยาบาล โดยค่านิยมทางสั งคมสามารถวัดได้จากกระแสความนิยมของสั งคม และ ความนับถือตนเอง ขณะทีก ่ ารรักษาพยาบาลสามารถวัดได้จากบริการจาก บุคลากรทางการแพทย์ และบริการค�ำแนะน�ำทางการแพทย์

( 57 )


OBELS OUTLOOK 2017

5. สรุปและข้อเสนอแนะ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการด้าน

ั จัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการ การรักษาสุ ขภาพ และวิเคราะห์ปจ ด้านการรักษาสุ ขภาพในพื้นที่ชายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ท�ำการรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอ เชียงของจ�ำนวน 320 คน การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่ วนแรก เป็นการศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพด้วยสถิติเชิง พรรณนา และส่ วนที่ 2 เป็นการศึ กษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้ บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส� ำรวจ เพื่อค้นหาตัวแปรแฝง การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเพื่อทดสอบ ความสอดคล้องของตัวแปรแฝงในโมเดลทีท ่ �ำการศึกษา และการวิเคราะห์ แบบจ�ำลองสมการเชิงโครงสร้างเพือ ่ ศึกษาปัจจัยทีม ่ ีผลต่อความต้องการ ใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพ

ผลการศึกษา พบว่า สถานพยาบาลทีก ่ ลุ่มตัวอย่างนิยมไปใช้บริการ

มากทีส ่ ุ ดได้แก่ โรงพยาบาลรัฐ ตามด้วยโรงพยาบาลเอกชนนอกพืน ้ ทีแ ่ ละ ่ ส่ วนใหญ่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการใช้บริการเนื่องจากใช้สิทธิประกัน คลินิก ซึง สุ ขภาพถ้วนหน้ า สิ ทธิข้าราชการ และ/หรือประกันสั งคม แต่หากเข้าใช้ ่ สิทธิการรักษาพยาบาลไม่ครอบคลุม ค่าใช้จ่ายในการ บริการจากคลินิกซึง ใช้บริการต่อครัง ้ มักจะไม่เกิน 500 บาท โดยโรคประจ�ำตัวทีผ ่ ู้สูงอายุเป็น มากทีส ่ ุ ดได้แก่ โรคความดันโลหิตสู ง โรคเบาหวาน และโรคภูมิแพ้ ทัง ้ นี้ ความถีใ่ นการใช้บริการสถานพยาบาลไม่เกิน 2 ครัง ้ ต่อปี ยกเว้นกลุ่มผู้สูง อายุทม ี่ ีโรคประจ�ำตัวจ�ำเป็นต้องพบแพทย์ทุก 3 ถึง 4 เดือน โดยการเลือก ใช้บริการสถานพยาบาลมักตัดสิ นใจจากการรับฟังคนใกล้ชิดเป็นหลัก รวมทัง ้ พิจารณาจากสิทธิในการรักษาพยาบาล ความสามารถของบุคลากร ทางการแพทย์ และความสะดวกในการเดินทาง นอกจากนี้ ผลจากการ วิเคราะห์ด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง พบว่า ปัจจัยทีม ่ ีนัยส�ำคัญทางสถิติ ( 58 )


OBELS OUTLOOK 2017

ต่อระดับความต้องการใช้บริการด้านการรักษาสุ ขภาพในพื้นที่ชายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ได้แก่ ค่านิยมทางสั งคม และการรักษา พยาบาล โดยค่านิยมทางสังคมทีส ่ �ำคัญทีส ่ ุด ได้แก่ กระแสความนิยมของ สังคม และความนับถือตนเอง ขณะทีก ่ ารรักษาพยาบาลทีส ่ �ำคัญทีส ่ ุด ได้แก่ บริการจากบุคลากรทางการแพทย์ และบริการค�ำแนะน� ำทางการแพทย์ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างชาวเชียงของกว่าร้อยละ 90 ต้องการให้มีการ ขยายจ�ำนวนโรงพยาบาลในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของ เนื่องจากโรงพยาบาล ่ ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้บริการ ประจ�ำอ�ำเภอมีอยู่เพียงแห่งเดียว ซึง เพื่อ รั ก ษาโรค ขณะเดี ย วกั น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งยั ง มี ค วามต้ อ งการใช้ บ ริ ก าร สถานพยาบาลเพือ ่ ส่งเสริมสุ ขภาพ ดูแลสุขภาพ และป้องกันโรคอีกด้วย

ผลการศึกษาข้างต้น ชีใ้ ห้เห็นว่า แนวทางการพัฒนารูปแบบการให้

บริการด้านการรักษาสุขภาพทีเ่ น้นการส่งเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพ และ การป้องกันโรคจะช่วยเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจ โรงพยาบาลและสถานพยาบาล นอกจากนี้ การให้บริการด้านการรักษา พยาบาลยังต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามกระแสความนิ ยมของสั งคม และเน้ นการให้บริการทางการแพทย์อย่างมืออาชีพ ทั้งนี้ กลุ่มธุรกิจที่ เกีย ่ วข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ เช่น ธุรกิจอาหารเพือ ่ สุขภาพ ธุรกิจฟิตเนส และธุรกินวดและสปานับเป็นธุรกิจทีม ่ ศ ี ักยภาพสูงทีส ่ ามารถต่อยอดน�ำเสนอ บริการทีช ่ ว่ ยส่งเสริมสุขภาพเพือ ่ ให้ตอบโจทย์ความต้องการของคนในพืน ้ ที่ ชายแดนได้

( 59 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง Hall, C. M. (2011). Health and medical tourism: a kill or cure

for global public health? Tourism Review, 66(1/2), 4-15.

Mahdavi, Y., Mardani, S., Hashemidehaghi, Z., and Mardani,

N. (2013). The Factors in Development of Health Tourism

in Iran. International Journal of Travel Medicine & Global

Health, 1(3), 113-118.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย

AMOS. พิมพ์ครัง ้ ที่ 2 : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

( 60 )


OBELS OUTLOOK 2017

ความพร้อมของประเทศไทย ต่ออนาคตเศรษฐกิจแบ่งปัน อย่างสร้างสรรค์

วราวุฒิ เรือนค�ำ นภัส ร่มโพธิ์

บทคัดย่อ

การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมสู่ความเป็นเมืองของประเทศก�ำลังพัฒนา

ส่งผลถึงการเปลีย ่ นแปลงเชิงโครงสร้างแบบพลวัต (Structural Dynamics) ทีท ่ ำ� ให้รป ู แบบการด�ำเนินชีวต ิ การบริโภคสินค้า การประกอบอาชีพ รูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงโครงสร้างเศรษฐกิจทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป ไม่วา่ จะเป็น 1) การบริโภคสินค้าภายใต้สภาพแวดล้อมดิจท ิ ล ั (Buying behavior in digital environment) ที่นิยมศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์ผ่านการรีวิวออนไลน์ก่อน การตัดสิ นใจซื้อของออนไลน์ 2) การบริโภคสิ นค้าภายใต้เศรษฐกิจการ แชร์ (Sharing economy) โดยมุง ่ เน้นการบริโภคแบบร่วมมือ ทีม ่ ท ี ม ี่ าจาก การแลกเปลีย ่ นสิ นค้าจากลูกค้าสู่ ลูกค้า 3) รูปแบบเศรษฐกิจการประกอบ อาชีพอิสระแบบครัง ้ คราวตามความต้องการ (Gig economy) สอดคล้อง กับค่านิยมรักความเป็นอิสระ เป็นนายตนเอง และไม่ประจ�ำท�ำได้หลากหลาย และ 4) รูปแบบการด�ำเนิ นธุรกิจแบบแพลตฟอร์มที่มุ่งเน้ นแก้ไขปัญหา ของผู้บริโภค โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเชือ ่ มโยงระหว่างความต้องการ ( 61 )


OBELS OUTLOOK 2017

ของผู้บริโภคและผู้ประกอบการ (Platform business model) ภายใต้ ดังนั้นประเทศควรมีนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ และสั งคมให้รองรับการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างเหมาะสม การศึ กษานี้ได้ท�ำการวัดดัชนี ชี้วัด ความพร้อมเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ (Creative Sharing Economy ้ ท�ำการเปรียบเทียบ Readiness Index: CSERI) ของประเทศไทย จากนัน กับประเทศทีม ่ ีระดับการพัฒนาใกล้เคียงหรือสูงกว่า ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย เวียดนาม สิ งคโปร์ เพื่อหาแนวทางพั ฒนาเพื่อรองรับการเปลี่ย นแปลง ดังกล่าวต่อไป ค�ำส�ำคัญ: ดัชนีชวี้ ด ั ความพร้อมเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์, การบริโภค สินค้าภายใต้สภาพแวดล้อมดิจิทัล, การบริโภคสินค้าภายใต้สภาพแวดล้อม ดิจิทัล, รูปแบบเศรษฐกิจการประกอบอาชีพอิสระแบบครัง ้ คราว, รูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม

1. บทน�ำ

การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมสู่ความเป็นเมืองของประเทศก�ำลังพัฒนา

ส่งผลถึงรูปแบบการด�ำเนินชีวต ิ การบริโภคสินค้า การประกอบอาชีพ รูปแบบ การด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงโครงสร้างเศรษฐกิจทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป ไม่วา่ จะเป็น การบริโภคสินค้าภายใต้สภาพแวดล้อมดิจท ิ ล ั (Buying behavior in digital environment) โดยกระบวนการซื้อสิ นค้าได้แตกต่างไปจากอดีตได้แก่ 1) การเลือกซือ ้ สินค้าในร้านออนไลน์แทนการไปเดินเลือกหน้าร้านเนื่องจาก สามารถเลือกชมสินค้าได้ตามความต้องการ เช่น ระบุรน ุ่ ขนาด สี ความนิยม หรือก�ำหนดลักษณะเฉพาะตัวของสินค้าได้ 2) สามารถรับฟังความคิดเห็น ของผู้ซื้อคนก่อนหน้าที่มีต่อสิ นค้าที่ตนสนใจได้ผ่านการรีวิว และการให้ คะแนน สามารถศึกษารายละเอียดสินค้าได้เชิงลึก 3) สามารถใช้เวลาในการ ศึกษาเลือกซือ ้ ได้ตามความต้องการโดยไม่ต้องเกรงใจพนักงาน 4) ระบบ ( 62 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ ผ่านการช�ำระเงินออนไลน์รูปแบบต่างๆ การช�ำระเงินสามารถท�ำได้ง่ายขึน ทีส ่ ะดวก เช่น ช�ำระเงินปลายทาง การเลือกผ่อนช�ำระผ่านบัตรฯ เป็นต้น 5) หัวใจของการซือ ้ สินค้าออนไลน์คือการขนส่ งทีม ่ ีประสิ ทธิภาพ สามารถ ตรวจสอบได้ และ 6) การบริการหลังการขายต่างๆ เช่น เปลีย ่ นสินค้า คืนเงิน ่ ในปัจจุบันกระแสการบริโภคสิ นค้าภายใต้สภาพ และการประกันสิ นค้า ซึง แวดล้อมดิจิทัลได้มีการเติบโต และมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจไทยมาก ยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการเติบโตระหว่างภาคธุรกิจสู่ ธุรกิจ (B2B) และธุรกิจสู่ ผู้บริโภค(B2C) ดูได้จากสถิติมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 มูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยจ�ำแนกตามประเภท ผู้ประกอบการ (ล้านบาท) 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

2553

2554

2555

2556 B2G

ทีม ่ า: ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

( 63 )

2557 B2C

2558

2559

B2B


OBELS OUTLOOK 2017

โดยเฉพาะอุตสาหกรรมค้าปลีกและค้าส่ง การขนส่ง ศิลปะ ความบันเทิง

และนันทนาการ ทีม ่ ีมูลค่า e-commerce เติบโตสูงสุดตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2557 เป็นต้นมา หมายความว่าผูบ ้ ริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคสินค้าผ่านช่องทาง ้ โดยในปีพ.ศ. 2557 - 2558 อิเล็กทรอนิกส์ หรือช่องทางออนไลน์มากยิง่ ขึน มีอัตราการเติบโตสูงถึงร้อยละ 112.46 ปีพ.ศ. 2558 - 2559 เติบโตร้อยละ 32.97 และปีพ.ศ. 2559 - 2560 เติบโตร้อยละ 21.85 ตามล�ำดับ ดูได้จาก ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ร้อยละการเติบโตมูลค่า e-Commerce ในประเทศไทย จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ล�ำดับ

อัตราการเติบโต

1

ศิลปะ ความบันเทิง และ

2

การขนส่ง

3

4 5

6 7

8

นันทนาการ

การค้าปลีกและการค้าส่ง

58/57

59/58

60/59(p)

1.66

62.65

27.50

29.06

30.88

24.99

15.00

14.90

13.89

12.14

65.18

419.21

-49.62

112.46

การประกันภัย

การให้บริการทีพ ่ ัก

ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร การผลิต

ธุรกิจบริการอืน ่ ๆ

32.97

11.18

-2.70

8.61

-0.15

21.85 8.26 5.15

-2.54

17.23

ทีม ่ า: ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (p = การคาดการณ์)

ขณะเดียวกันพฤติกรรมการบริโภคสินค้าภายใต้เศรษฐกิจการแบ่งปัน

้ โดยมุง (Sharing economy) มีแนวโน้มเติบโตมากขึน ่ เน้นการบริโภคแบบ ร่วมมือ หรือแลกเปลีย ่ นสินค้าจากลูกค้าสู่ ลูกค้า เนื่องจากมีจุดเด่นหลาย ประการ ได้แก่ 1) เจ้าของสามารถสร้างรายได้จากการแบ่งปันหรือปล่อยเช่า ( 64 )


OBELS OUTLOOK 2017

สิ่งทีต ่ นเป็นเจ้าของเป็นรายครัง้ คราว หรือสร้างรายได้จากสิ่งของหรือทรัพย์สิน ทีต ่ นมีมากเกินความจ�ำเป็นหรือไม่ได้ใช้แล้ว (Excess Capacity) ผ่านการ ใช้เทคโนโลยีทเี่ ป็นแพลตฟอร์ม (Platform) ในการให้บริการลูกค้า เช่น การปล่อยเช่าบ้านพัก (AIRBNB) การให้บริการเพลงออนไลน์ (Music and Video Streaming) (SPOTIFY) การให้เช่ารถส่วนตัว (Car sharing) เพือ ่ การโดยสาร (UBER) หรือ (GRAB TAXI) การจ้างเพือ ่ นบ้านช่วยท�ำ ธุระ (TASK RABBIT) ระบบซือ ้ ขายสินค้าท�ำด้วยมือแนวศิลปะ (ETSY) และการจัดหาบุคคลท�ำความสะอาด (BENEAT) เป็นต้น และในอนาคต มีแนวโน้มเติบโตในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมการ ท่องเทีย ่ ว การเงิน การขนส่ง ค้าปลีกค้าส่ง การศึกษา และแฟชัน ่ 2) ส่งเสริม การลดต้นทุนของธุรกิจเกิดใหม่ (Startups) โดยเฉพาะสิ นค้าทุนบาง ประเภททีไ่ ม่จ�ำเป็นต้องลงทุนซือ ้ เป็นเจ้าของเอง แต่เป็นการใช้บริการเป็น ครั้ ง คราวตามความจ� ำ เป็ น เช่ น การแบ่ ง ปัน พื้ น ที่ ท� ำ งานหรื อ ประชุ ม (Co-working space) การแบ่งปันเครือ ่ งมือการช�ำระเงิน (Alipay, True ่ จะช่วยลดต้นทุนของธุรกิจได้เป็นจ�ำนวน wallet หรือ Wechat Pay) ซึง มาก และ 3) เป็นการส่งเสริมการเปลีย ่ นแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคให้ค�ำนึง ถึงประสบการณ์การใช้สินค้ามากกว่าการสะสมสิ่งของ เน้นเรือ ่ งความคุม ้ ค่า ้ โดยเฉพาะกับสินค้าทีม มากขึน ่ ีมูลค่าสูง ดังนั้นการจัดสรรทรัพยากรจะมี ้ ประสิทธิภาพมากขึน เนื่องจากสินค้าจะถูกใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ และช่วยลดการผลิตส่วนเกินทีอ ่ าจก่อให้เกิดของเสี ยจากการผลิต

การเติบโตของเศรษฐกิจการแชร์สอดคล้องกับรูปแบบการด�ำเนินชีวต ิ

ของคนรุน ่ ใหม่ (Gen Y, พ.ศ. 2523 - 2543) ทีน ่ ิยมความสะดวกสบาย ได้รบ ั ข้อมูลสิ นค้าบริการที่ชัดเจนมากขึ้น ผ่านการศึกษาข้อมูลจากการบอกเล่า ประสบการณ์ หรือการรีวิวสิ นค้า ให้ความส� ำคัญกับประสบการณ์ หรือ ้ และมีแนวทางในการเลือกบริโภค เรื่องราวเกี่ยวกับสิ นค้าและบริการมากขึน เป็นของตัวเองเป็นต้น ดังนั้นรูปแบบพฤติกรรมการบริโภคสิ นค้าบริการ ( 65 )


OBELS OUTLOOK 2017

จึงเปลีย ่ นแปลงไปจากคนรุ่นก่อน รวมถึงการเปลีย ่ นแปลงพฤติกรรมการ ท�ำงานทีเ่ น้นให้ความหมายกับสมดุลการท�ำงานและการใช้ชีวิต ให้ความ ส�ำคัญกับอิสระ ใช้ชีวิตให้คุ้มค่า สามารถท�ำงานได้หลากหลาย และต้องการ ้ รูปแบบการประกอบอาชีพจึงเลือกประกอบอาชีพ ทีจ ่ ะเป็นนายตัวเอง ดังนัน อิสระแบบครั้ง คราวตามความต้ องการ (Gig economy) มากขึ้น เช่น รับจ้างอิสระ (freelance) การท�ำงานด้วยตนเอง (self-employed) การ ท�ำงานชัว่ คราว (Part-time) ตามความถนัด เป็นต้น

นอกจากนีร้ ป ู แบบการด�ำเนินธุรกิจก็มก ี ารเปลีย ่ นแปลงไปจากธุรกิจ

่ เป็นผลลัพธ์จากการเปลีย แบบดัง ้ เดิม ซึง ่ นแปลงพฤติกรรมผู้บริโภค โดย รูปแบบการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบันมีการมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาของผู้บริโภค มากขึ้น (Best solutions finding) โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เชือ ่ มโยงระหว่างความต้องการของผู้บริโภคและผู้ประกอบการ (Platform business model) ธุรกิจรูปแบบนี้จึงเป็นตัวปิดจุดอ่อนของธุรกิจต่างๆ มากมาย เช่น ระบบการช�ำระเงินทีย ่ ุ่งยากและมีค่าธรรมเนียมสูง ถูกแทนที่ ด้วยแพลตฟอร์มการช�ำระเงินทีง ่ ่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น Alipay, True wallet , Samsung pay, Apple pay, mPay, Apple wallet, Androi Pay และ Wechat Pay เป็นต้น รวมถึงระบบการจองโรงแรมและตัว๋ เครือ ่ งบินทีย ่ ุ่งยากถูกแทนทีด ่ ้วยแพลตฟอร์มการจัดการการเดินทาง เช่น Agoda, Booking, Traveloka, Airpaz, Skyscanner, Cheaptickets และ Expedia เป็นต้น

ข้อได้เปรียบของธุรกิจแพลตฟอร์มเมื่อเปรียบเทียบกับธุรกิจแบบ

ดัง ้ เดิมคือ ประการที่ 1 ธุรกิจแพลตฟอร์มสามารถขจัดปัญหาขัน ้ ตอนและ ความยุ่งยากในห่วงโซ่คุณค่าแบบท่อน�้ำ (Pipe Value chain) ของธุรกิจ แบบดัง้ เดิมได้ โดยปกติแล้วกระบวนการจะเริม ่ จากการผลิต ขนส่ง จัดจ�ำหน่าย ่ อาศัยระยะเวลา ขัน และส่งถึงมือลูกค้า ตามล�ำดับ ซึง ้ ตอน และค่าใช้จา่ ยสูง แต่หว่ งโซ่คณ ุ ค่าของแพลตฟอร์มจะถูกก�ำหนดโดยผูใ้ ช้ (End users) ทัง้ ที่ ( 66 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ มาจากการใช้งาน เป็นผูบ ้ ริโภค และผูผ ้ ลิต โดยผูใ้ ช้จะเป็นคนสร้างมูลค่าขึน แพลตฟอร์ม เช่น แพลตฟอร์มจากจัดหาแม่บ้านท�ำความสะอาด ผู้ผลิต หรือแม่บ้านไม่จ�ำเป็นต้องสังกัดบริษัทใด ขณะเดียวกันผู้บริโภคไม่จ�ำเป็น ่ เห็นได้ว่าแพลตฟอร์มช่วยลดขัน ต้องจ้างแม่บ้านผ่านบริษัทใดๆ เช่นกัน ซึง ้ ตอนตรงกลาง และจับผู้ผลิตและผู้บริโภคมาเชือ ่ มกัน ดังนั้นแพลตฟอร์ม จึงมีลักษณะทีเ่ ป็น Interactive Matchmaker ดูได้จากรูปที่ 2

ประการที่ 2 ธุรกิจแพลตฟอร์มสามารถสร้างผูผ ้ ลิตทีม ่ ค ี วามหลากหลาย

้ มาได้ และ อย่างไม่จ�ำกัด โดยคนท้องถิ่นสามารถสร้างธุรกิจของตัวเองขึน ประการสุดท้าย ธุรกิจแพลตฟอร์มสามารถพัฒนารูปแบบการด�ำเนินธุรกิจ ่ งจากมีการพัฒนาปรับปรุงจากปฏิกริ ย ได้อย่างไม่มท ี ส ี่ ิ้นสุดเนือ ิ า (Feedback) จากผูใ้ ช้งานและชุมชนโดยตรง เช่นตัวอย่างการพัฒนาสารานุกรม Wikipedia ้ (ปรีดี, 2016) ดังนั้นรูปแบบธุรกิจแพลตฟอร์ม ทีผ ่ ู้ใช้ร่วมกันพัฒนาข้อมูลขึน ้ ขณะ จึงเป็นทัง้ ตัวกระตุน ้ ผูผ ้ ลิตให้เกิดการปรับตัวเข้าเข้าหาผูบ ้ ริโภคมากขึน เดียวกันก็เป็นตัวท�ำลายธุรกิจเดิมทีไ่ ม่สามารถปรับตัวเข้าสู่การแข่งขันได้ รูปที่ 2 เปรียบเทียบห่วงโซ่มูลค่า (Value chain) ธุรกิจแบบท่อน�้ำ และธุรกิจแพลตฟอร์ม

ทีม ่ า: ปรีดี บุญซือ ่ , TDRI (2016)

( 67 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ การเปลีย ดังนัน ่ นแปลงโครงสร้างแบบพลวัต (Structural dynamics

change) ดังกล่าวจึงน�ำมาซึ่งการปฏิวัติรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจ ภายใต้ การเปลีย ่ นแปลงเชิงโครงสร้าง 1) การบริโภคสินค้าภายใต้สภาพแวดล้อม ดิจท ิ ล ั (Buying behavior in digital environment) ทีน ่ ิยมศึกษาข้อมูล ผลิตภัณฑ์ผ่านการรีวิวออนไลน์ก่อนการตัดสินใจซือ ้ ของออนไลน์ 2) การ บริโภคสินค้าภายใต้เศรษฐกิจการแบ่งปัน (Sharing economy) โดยมุง่ เน้น การบริโภคแบบร่วมมือ ซึง่ มีทม ี่ าจากการแลกเปลีย ่ นสินค้าจากลูกค้าสู่ลก ู ค้า 3) รูปแบบเศรษฐกิจการประกอบอาชีพอิสระแบบครัง้ คราวตามความต้องการ (Gig economy) คล้องกับค่านิยมรักความเป็นอิสระ เป็นนายตนเอง และ ไม่ประจ�ำท�ำได้หลากหลาย และ 4) รูปแบบการด�ำเนินธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม ทีม ่ งุ่ เน้นแก้ไขปัญหาของผูบ ้ ริโภค โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเชือ ่ มโยง ระหว่างความต้องการของผูบ ้ ริโภคและผูป ้ ระกอบการ (Platform business ่ ความจ�ำเป็นในการปรับตัวของ model) การเปลีย ่ นแปลงดังกล่าวน�ำมาซึง นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภาครัฐเอกชน และภาคการศึกษา ที่ต้องหาค�ำแนวทางในการรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้สอดคล้อง และเหมาะสมต่อไป

่ วข้อง 2. แนวคิดและงานวิจัยทีเ่ กีย

้ ภายใต้สภาพแวดล้อมแบบดิจิทัล 2.1 พฤติกรรมการซือ

ในสั งคมปัจจุบันรูปแบบการท�ำธุรกิจได้ถูกเปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก

เนื่องจากเทคโนโลยีต่างๆได้เข้ามามีบทบาทต่อการเลือกซือ ้ สิ นค้า และรับ บริการของประชาชนโดยทัว่ ไป ผ่านช่องทางใหม่ๆทีอ ่ าศัยอินเตอร์เน็ตหรือ สั งคมออนไลน์ (Social Network) เป็นตัวช่วยในการตัดสิ นใจบริโภค โดย รัฐสภายุโรป (European Parliament) ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมผู้บริโภคในการเลือกซือ ้ สิ นค้าและบริการภายใต้สภาพแวดล้อม แบบดิจิทัล (Consumer behaviour in a digital environment) ( 68 )


OBELS OUTLOOK 2017

(Patrice Muller, et al. 2011) ผลการศึกษาพบว่าการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคได้ถูกเปลีย ่ นแปลงไปภายใต้สภาพแวดล้อมแบบ ดิจิทัล ผู้ผลิตและผู้บริโภคไม่ได้มีหน้าที่ผลิตและบริโภคเพียงอย่างเดียว แต่เกิดการทีบ ่ ค ุ คลหนึ่งสามารถเป็นได้ทงั้ ผูผ ้ ลิตและผูบ ้ ริโภคในเวลาเดียวกัน (Prosumer) ภายใต้สภาพแวดล้อมนี้ได้สร้างโอกาสการท�ำธุรกิจมากมาย ผูบ ้ ริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทีท ่ น ั สมัยได้อย่างสะดวกรวดเร็วสามารถ ้ ท�ำให้ผบ เปรียบเทียบราคาและลักษณะสินค้าได้งา่ ยขึน ู้ ริโภคมีแนวโน้มทีจ ่ ะ ค้นหา และวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆในระบบออนไลน์ก่อนจะตัดสิ นใจเลือกซือ ้ สิ นค้า และบริการโดยอาศัยการแสดงความคิดเห็นจากผู้มีประสบการณ์ การใช้สินค้าหรือบริการก่อนหน้า (Consumer Reviews and recommendations)

อีกทัง ้ ผู้บริโภคมีแนวโน้มทีจ ่ ะให้ความส�ำคัญกับตราสินค้า (Brand-

named) หรือร้านค้าที่เป็นที่รู้จัก มากกว่าเลือกซือ ้ สิ นค้าจากร้านที่ไม่เป็น ่ สอดคล้องกับการศึกษาของ Patrice Muller, et al. (2011) ที่ ทีร่ ู้จัก ซึง ระบุว่าผู้บริโภคนิยมเลือกซื้อสิ นค้าออนไลน์จากผู้ประกอบการในประเทศ ของตนเป็นหลัก มีเพียงร้อยละ 23 ทีเ่ ลือกซือ ้ สินค้าจากร้านค้าออนไลน์ ทีอ ่ ยู่นอกประเทศภายในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม ตัวเลข ทางสถิติได้เผยว่า ผู้บริโภคมีแนวโน้มทีจ ่ ะตัดสิ นใจผิดพลาดจากการรับรู้ ข่าวสารในแง่ลบ และมีความเป็นไปได้ว่าผู้ผลิตรายอืน ่ อาจจะหาประโยชน์ จากการเข้าใจหรือตัดสินใจผิดของผู้บริโภคนี้ได้ ดังนั้นการสร้างตราสินค้า ให้เป็นทีร่ ู้จัก (Brand awareness) และการรักษาชือ ่ เสี ยงจึงเป็นสิ่งทีม ่ ี ความส�ำคัญในการดึงดูดและรักษากลุ่มผู้บริโภคในยุคดิจิทัล รวมถึงจุดเด่น อีกข้อที่ท�ำให้ผู้บริโภคหันมาเลือกซื้อสิ นค้าและบริการออนไลน์คือ ความ สะดวกในการเลือกซือ ้ สินค้า และมีคา่ ใช้จา่ ยถูกลงเมือ ่ เทียบกับการซือ ้ สินค้า ออฟไลน์ (Purchasing offline) โดยผู้บริโภคมักเลือกซื้อสิ นค้าที่ไม่ ต้องการบริการหลังการขายหรือสินค้าทีไ่ ม่มค ี วามซับซ้อนและราคาไม่สูงมาก ( 69 )


OBELS OUTLOOK 2017

เช่น เสื้อผ้า หนังสือ หรือตัว๋ เครือ ่ งบิน มากกว่าสินค้าทีม ่ ค ี วามซับซ้อน เช่น คอมพิวเตอร์และสิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์

2.2 การด�ำเนินธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม

การด�ำเนิ นธุรกิจในรูปแบบแพลตฟอร์ม หรือธุรกิจแบบการจับคู่

(Matchmakers) เป็ น รู ป แบบการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในยุ ค ดิ จิ ทั ล ที่ อ าศั ย เทคโนโลยีสารสนเทศมาเชือ ่ มโยง คน องค์กร และทรัพยากร ในแบบต่อ เนื่องและสองทาง (interactive) ในกระบวนการเชือ ่ มโยงเป็นเครือข่าย เช่ น เชื่อ มโยงผู้ ที่ต้ อ งการหาที่พั ก เมื่อ เดิ น ทางไปยั ง ต่ า งประเทศ หรื อ ต่างจังหวัดกับกลุ่มคนอีกกลุ่มที่เป็นเจ้าของทรัพยากร คือ เจ้าของที่พัก หรือเจ้าของบ้านที่ต้องการสร้างรายได้จากทรัพย์สินที่ตนเองมี หรือผู้ที่ ต้องการเดินทางแต่ไม่มียานพาหนะส่ วนตัวหรือไม่คุ้นเคยเส้ นทางเชื่อม กับเจ้าของยานพาหนะทีอ ่ ยู่ในบริเวณใกล้เคียง เป็นต้น กระบวนการเหล่า นี้ท�ำให้เกิดการสร้างและแลกเปลี่ยนหรือเกิดมูลค่าเศรษฐกิจขึ้นมา โดย เปลี่ยนจากรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจจากเดิมให้มีความหลากหลายโดย ้ ดังนั้น Platform จึง สมาชิกของแต่ละกลุ่มสามารถเข้าถึงกันได้ง่ายขึน เปรียบเสมือนตลาดสดออนไลน์ทผ ี่ ผ ู้ ลิตและลูกค้าได้เข้ามาพบกัน โดยการ ้ ข ด�ำเนินธุรกิจแบบแพลตฟอร์มนีม ี อ ้ ได้เปรียบกว่าการด�ำเนินธุรกิจแบบเก่า

ประการทีห ่ นึ่ง คือ ช่วยลดขัน ้ ตอนในการผลิตทีต ่ อ ้ งผ่านการพิจารณา

หลายระดับชั้นมาสู่ การตัดสิ นใจของเจ้าของทรัพย์สินหรือองค์ความรู้ได้ โดยตรง โดยให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเป็ น ผู้ ตั ด สิ น ว่ า ผู้ ผ ลิ ต หรื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารรายนี้ สมควรได้อยูใ่ นตลาดต่อไปหรือไม่ เช่น การให้บริการรถโดยสารของ Uber หากผู้ให้บริการบริการได้ดีจะมีการประเมินผลโดยผู้ใช้บริการ ท�ำให้ส่งผล ถึงการกลับมาใช้ซ�้ำหรือการตัดสิ นใจใช้บริการของผู้ใช้บริการรายอื่นๆ ที่ นิยมตัดสินใจจากความคิดเห็นของผู้ซอ ื้ หรือรับบริการก่อนหน้า (review)

( 70 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประการที่สอง คือ ธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม สามารถเพิ่มอุปทาน

(supply) ทีเ่ ข้ามาใหม่อย่างไม่จ�ำกัด และยังเป็นการเปิดโอกาสให้เจ้าของ ทรัพย์สินรายย่อยในแต่ละท้องถิน ่ สามารถเข้าร่วมในตลาดได้ โดยไม่ต้อง อาศัยเงินลงทุนมหาศาลเหมือนรูปแบบธุรกิจแบบเก่า เช่นธุรกิจทีพ ่ ก ั อาศัย Airbnb โดยทาง Airbnb เก็บค่าธรรมเนียมประมาณร้อยละ 11 จากธุรกรรม ้ (ปรีดี บุญซือ ทีเ่ กิดขึน ่ , 2016) ประการทีส ่ าม คือ ธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม อาศั ยข้อมูลจากปฏิกิริยา (feedback) ของชุมชน มาสร้าง และก�ำหนด คุณค่าของผลิตภัณฑ์ เช่น Wikipedia ได้กลายเป็นสารานุกรมออนไลน์ ใหญ่สุดของโลก จากการที่ผู้อ่านจากทั่วโลกเข้ามาช่วยกันแก้ไขปรับปรุง มาจากปฏิกิริยาจากคนอ่านนับล้านๆ คนทั่วโลก ที่เนื้อหาในแต่ละหัวข้อ ให้มีความสมบูรณ์ มากขึ้น เมื่อเทียบกับ Encyclopedia Britannica ที่ ต้องอาศัยคนเขียนเนื้อหาหลายพันคน อีกประการหนึ่งคือ ธุรกิจแบบ Platform เปลีย ่ นรูปแบบจากองค์กรทีเ่ น้นให้ความส�ำคัญของการวางแผน ทรัพยากรต่างๆ จากภายในองค์กรมาเป็นองค์กรทีเ่ น้นลูกค้าภายนอกโดย ไม่ต้องอาศัยพนั กงานจ�ำนวนมากในองค์กรอีกต่อไป เปลี่ยนเป็นอาศัย ทรัพยากรเศรษฐกิจหรือสิ นทรัพย์ของคนในชุมชนในการด�ำเนินการแทน

2.3 แนวคิดเศรษฐกิจการแบ่งปัน

Sharing Economy เป็นโครงสร้างทางธุรกิจแบบใหม่ ทีเ่ ป็นทีร่ จ ู้ ก ั

ในชื่อการบริโภคชนิดร่วมมือกัน (Collaborative Consumption) และ การท�ำธุรกิจจากเพือ ่ นสู่เพือ ่ น (Peer to Peer : P2P) โดยมีแนวคิดสั งคม เศรษฐกิจบนพืน ้ ฐานของการแบ่งปัน ได้รบ ั การกล่าวถึงครัง้ แรกในบทความ เชิ ง วิ ช าการเรื่ อ ง “Community Structure and Collaborative Consumption” ในปี 1978 โดย Marcus Felson และ Joe Spaeth นัก สังคมศาสตร์ประจ�ำมหาวิทยาลัย Illinois at Urbana-Champagne โดย sharing economy เป็นแนวคิดทีช ่ ว่ ยให้บค ุ คลโดยทัว่ ไปสามารถสร้างรายได้ ( 71 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากทรัพย์สินทีต ่ นมีมากเกินความจ�ำเป็นหรือไม่ได้ใช้แล้ว (Excess Capacity) ผ่านช่องทางการให้บริการบนแพลตฟอร์มต่าง ๆ ทีเ่ ป็นตัวเชือ ่ มต่อระหว่าง ผูใ้ ห้และผูร้ บ ั บริการ โดยผูร้ บ ั บริการจะอาศัยข้อมูลบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นพืน ้ ฐานทีช ่ ่วยในการตัดสิ นใจ เช่น การเลือกทีพ ่ ัก ยานพาหนะในการ เดินทาง รวมถึงสิ นค้ามือสอง กระเป๋าแบรนด์เนม และเสื้ อผ้า เป็นต้น (ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล, 2560) โดยผู้รับบริการไม่จ�ำเป็นต้อง เสี ยเงินซือ ้ ทรัพย์สินเหล่านั้นมาเป็นของตนเอง โดยมีการคาดการณ์ว่าใน อนาคตจะมีหลายอุตสาหกรรมทีม ่ ีการน�ำเอาแนวคิด sharing economy เข้าไปใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ ซึง่ ธุรกิจทีเ่ ป็นทีร่ จ ู้ ก ั ในปัจจุบน ั ได้แก่ อุตสาหกรรม การบริการ Airbnb, Uber และ Grab taxi โดยปัจจัยส� ำคัญที่ท�ำให้ ้ มาจาก 2 ปัจจัย คือ 1) อัตราการว่างงาน แนวคิดนีไ้ ด้รบ ั การยอมรับมากขึน ้ จากสภาพเศรษฐกิจขาลงหลังจากวิกฤติการเงินโลกในปีพ.ศ. 2008 ทีส ่ ูงขึน ้ และท�ำให้ผใู้ ห้ และ 2) การเข้าถึงข้อมูลบนเครือข่ายสังคมออนไลน์มม ี ากขึน และผูร้ บ ั บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึง่ ท�ำให้ ทัง้ สองฝ่ายรับรูถ ้ งึ ปัจจัยทีม ่ อ ี ท ิ ธิพลต่อความต้องการและพฤติกรรมผูบ ้ ริโภค ้ ได้ง่ายขึน

2.4 แนวคิด Gig Economy

แนวคิดเกีย ่ วกับ gig economy เริม ่ เข้ามีบทบาทและเป็นทีร่ ับรู้ใน

้ ในปัจจุบน ระบบการท�ำงานของคนไทยมากขึน ั ถึงแม้วา่ ลักษณะการท�ำงาน รูปแบบนี้จะมีอยู่ในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน แต่จะจ�ำกัดอยู่ในกลุ่มอาชีพ ่ gig economy หมายถึง การ รับจ้างต่างๆ โดยเฉพาะภาคการเกษตร ซึง รับจ้างท�ำงานเป็นระยะเวลาสั้น และการท�ำงานจะจบไปและได้ผลตอบแทน ตามงานทีท ่ ำ� เป็นรายครัง้ หรือทีร่ จ ู้ ก ั กันในลักษณะการท�ำงานฟรีแลนซ์ หรือ งานพาร์ทไทม์ โดยมีจด ุ เด่นด้านความยืดหยุน ่ ของเวลาในการท�ำงาน ผูท ้ ำ� งาน ในลักษณะนี้สามารถเลือกงานทีต ่ นเองชอบ และมีความสุข gig worker ( 72 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ต่างกับพนักงาน สามารถบริหารจัดการเวลาการท�ำงาน และชีวิตส่วนตัวซึง ประจ�ำที่แม้จะมีความมั่นคงมากกว่าแต่ไม่สามารถเลือกงานได้อย่างอิสระ ต้องท�ำงานตามทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายและมีความยืดหยุน ่ น้อยกว่าจึงเป็นเหตุผล ให้ประชากรวัยท�ำงานในปัจจุบันหันมาท�ำงานในรูปแบบนี้มากขึ้น โดยได้ รับค่าตอบแทนไม่น้อยกว่าผู้ทท ี่ �ำงานประจ�ำหรืออาจได้มากกว่าหากงานที่ ท�ำมีคุณภาพและมีความขยันในการท�ำงาน และสิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่ง คือ gig worker ไม่จ�ำเป็นต้องจบการศึกษาในระดับสู งก็สามารถท�ำงาน ได้ ซึ่งถือเป็นการเปิดกว้างทางโอกาสส� ำหรับคนทุกระดับการศึกษาตั้งแต่ น้อยกว่ามัธยมศึกษาถึงระดับปริญญาเอก (กัลยรักษ์ นัยรักษ์เสรี, 2560)

2.5 การวิเคราะห์ปจ ั จัย (Factor Analysis)

วิธีการหนึ่ งในการลดจ�ำนวนตัวแปรที่มีจ�ำนวนมากให้อยู่ในกลุ่ม

ั จัย สามารถท�ำได้โดยน�ำตัวแปรมาแบ่งกลุ่ม เดียวกัน คือ การวิเคราะห์ปจ ั จัยทีห แล้วเรียกกลุ่มเหล่านั้นว่าปัจจัย และใช้ปจ ่ าได้เป็นตัวแปรใหม่แทน ตัวแปรเดิม ปัจจัยแต่ละกลุ่มจะถูกแบ่งตามความสั มพันธ์ที่มีต่อกัน โดย ตัวแปรที่มีความสั มพันธ์มากจะอยู่ในปัจจัยเดียวกัน และตัวแปรที่มีความ สั ม พั น ธ์ กั น น้ อ ยจะอยู่ ก ลุ่ ม เดี ย วกั น จากนั้ น ท� ำ การสร้ า งเมทริ ก ซ์ ค วาม สั มพันธ์ โดยหาความสั มพันธ์ระหว่างตัวแปร หากตัวแปรมีความสั มพันธ์ กันมากไม่วา่ จะทางบวกหรือทางลบ ให้อยูใ่ นปัจจัยเดียวกัน เรียกว่า Factor loading โดยมีขั้นตอนหลักๆ ได้แก่ 1) ค�ำนวณหาจ�ำนวนปัจจัยว่าควร ั จัย โดยท�ำการสกัดปัจจัยโดยวิธีตัวประกอบหลัก (PCF) แยกเป็นกี่ปจ 2) ท�ำการหมุนแกนกรณีค่า Factor loading แสดงค่าไม่ชัดเจนหรือไม่รู้ ั จัยไหน โดยวิธีหมุนแกนแบบตัง ว่าควรจะอยู่ปจ ้ ฉาก (Orthogonal) แบบ ่ เป็นวิธีทไี่ ด้รับความนิยม แวรีแมกซ์ (Varimax) ซึง

( 73 )


OBELS OUTLOOK 2017

หลักเกณฑ์ของเทคนิคการวิเคราะห์ปจ ั จัย

ั จัยคือ ตัวแปรต่างๆ (Xt) เป็น ข้อสมมติเริม ่ แรกของการวิเคราะห์ปจ ฟังก์ชน ั่ ของปัจจัยร่วม (Common factor) และค่าเฉพาะ (Unique factor)

และสมมติวา่ มีตวั แปร p ตัว สามารถท�ำเป็นปัจจัยได้ทงั้ หมด m ปัจจัย ดังนี้ X1 = l11 F1 + l12 F2 + ... + L1m Fm + e1

X2 = l21 F1 + l22 F2 + ... + l2m Fm + e2 .

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

.

. (2.1) .

Xp = lp1 F1 + lp2 F2 + ... + lpm Fm + ep โดยที ่

Xi ; i = 1,2,..., p = ตัวแปรทัง้ หมด p ตัว

lij ; i , j = 1, 2,.., m = ค่าสัมประสิทธิห ์ รือค่าถ่วงน�ำ้ หนักของ

Xt เรียกว่า Factor Loading

m

= จ�ำนวนปัจจัยร่วม (Common fator)

p

= จ�ำนวนตัวแปร = เฉพาะค่า (Unique factor) ของตัวแปรที่ i

e1 ; i = 1,2...,p

หากเขียนในรูปเมทริกซ์จะได้วา่

l12 . . . l1m .

. . . lp2

lpm

L

l2

. . . l1m . . . l2m

l2 lp2

..

lp1

...

...

,L=

l2

...

โดยที่ X = X1 X2

F

(m x 1)

.

l1

. . . Xp

+

. . . lpm

( 74 )

(2.2)

ep

Fm

(p x m)

(p x 1)

e1

e2

. . .

. . . lp1

F2

. . .

. . . Xp X

F1

l22 . . . l2m .

l1

l12

.

X1

X2

+

e

(p x 1)

, F = F1 F2 . . . Fm , e = e1 e2 . . . e3


OBELS OUTLOOK 2017

ค่าแปรปรวนของตัวแปรหนึ่งๆ จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่ วน ได้แก่

ค่าความร่วมกันและค่าแปรปรวนของค่าเฉพาะ สามารถสรุปเป็นประเด็น ได้ ดังนี้ 1) ค่าแปรปรวนของตัวแปรหนึ่งๆ จะแบ่งเป็น 2 ส่ วนคือ ค่าความ ร่วมกันของตัวแปรต่างๆและค่าแปรปรวนของค่าเฉพาะ 2) ค่า Factor loading (lij ) คือค่าทีแ ่ สดงความสัมพันธ์ (Coefficient) ระหว่างตัวแปร ้ ใหม่ FJ และหากปรับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ เดิม Xt กับตัวแปรทีส ่ ร้างขึน

มาตรฐานแล้วค่า factor loading (lij ) จะเปลี่ยนบทบาทจากที่แสดง ความสั มพันธ์ มาเป็นแสดงค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) ของตัวแปรเดิม ้ ใหม่ FJ และ 3) หลังจากปรับข้อมูลเป็นแบบมาตรฐาน Xt กับตัวแปรทีส ่ ร้างขึน (Standardize) แล้วค่าสหสั มพันธ์ของตัวแปรเดิม Xt กับตัวแปรเดิม Xt จะเกิดจากผลคูณของค่า Factor loading โดยมีเงือ ่ นไขของเทคนิคการ ั จัยดังนี้ 1) ปัจจัยร่วมไม่มีความสั มพันธ์กัน หรือค่าสหสั มพันธ์ วิเคราะห์ปจ ระหว่าง Fi กับ Fj เท่ากับศูนย์ (Corr (fi ,fj ) = 0 ; i = j ) 2) ค่าเฉพาะ ไม่มค ี วามสัมพันธ์กน ั หรือค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง กับ เท่ากับศูนย์ และ 3) ปัจจัยร่วมและค่าเฉพาะไม่มีความสัมพันธ์กัน

หรือค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง

Fi กับ ej เท่ากับ (Corr (Fi ,ej ) = 0 ; i = j ) การสกัดปัจจัยด้วยวิธีตัวประกอบหลัก

วิธีการสกัดปัจจัยมีอยู่หลากหลายวิธี ในที่นี้จะอธิบายการวิเคราะห์

ปัจจัยด้วยวิธี PCF เนื่องจากเป็นวิธท ี ไี่ ด้รบ ั ความนิยมอย่างแพร่หลาย โดย ี้ ะอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ตวั ประกอบหลัก (Principle Component วิธน ี จ Analysis: PCA) ขัน ้ ตอนแรกคือ การหาค่า Factor loading ของปัจจัย แต่ละตัวก่อนจะได้สมการคือ F1 = I11 X1 + I12 X2 + ... + I1p Xp

X2 = l21 X1 + l22 X2+ ... + l2p Xp ...

...

...

Fp= lp1 X1 + lp2 X2 + ... + lpp Xp

( 75 )

(2.3)


OBELS OUTLOOK 2017

จากสมการ ท�ำให้ทราบว่า เมทริกซ์ค่าแปรปรวนร่วมของตัวแปรX ดังนั้นเมือ ่ ให้ข้อมูลตัวอย่างจะได้ว่า

คือ

(2.4)

ในการวิเคราะห์ดว้ ยวิธี PCA ผลของการหาตัวปัจจัยจะไม่มค ี า่ เฉพาะ

เนื่องจากความผันแปรทัง้ หมดของตัวแปรจะแทนได้ดว้ ยปัจจัย ท�ำให้จำ� นวน ้ สดงให้เห็นว่าไม่มผ ตัวแปรมีเท่ากับจ�ำนวนของปัจจัย เมือ ่ เป็นเช่นนีแ ี ลของ ส่วนของค่าเฉพาะ ดังนั้นจะได้ว่า (2.5)

ทัง ้ นี้ จากหลักการเมทริกซ์ตง ั้ ฉาก (Orthogonal matrix) สามารถ

แยกส่วนเมทริกซ์ออกได้เป็น (2.6)

โดยที่ เมทริกซ์ C เป็นเมทริกซ์ตง ั้ ฉาก ในแนวตัง้ จะมี CC' = CC' = 1

คุณสมบัติคือ D และเมทิรกซ์ มีลักษณะดังนี้

โดยที่

เป็นค่าไอเก็นของเมทริกซ์ S และเนื่ องจาก

เมทริกซ์ S เป็นเมทริกซ์จำ� กัดเขตทีเ่ ป็นบวก (Positive definite matrix) ค่าไอเก็นแต่ละค่าจึงเป็นบวกทัง้ หมด และสามารถแยกเมทริกซ์ D ออกได้ เป็นดังนี้ ( 76 )


OBELS OUTLOOK 2017

และค่าได้

จากการทีส ่ ามารถแบ่งเมทริกซ์ D ได้ดังข้างต้น เราจึงสามารถจัดรูป

เมทริกซ์ S ได้ใหม่ดังนี้

่ มีความคล้ายคลึงกับ ซึง

โดยที่ เมทริกซ์ C มีขนาด p x m ประกอบด้วยเวกเตอร์ไอเก็น m

ดังนั้นหา

ได้ดังนี้

ตัว ( c1,c2,...,cm) โดยเมทริกซ์ D มีขนาดเท่ากับ m x m ประกอบด้วยค่า ไอเก็นทีม ่ ากทีส ่ ุด m ค่า

โดยที่

เขียนเป็นรูปแบบ

สมการได้ดังนี้

(2.7)

( 77 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากสมการข้างต้นแถวตัง้ ของ

แถวตัง้ ของ

ค่าไอเก็นจะเหมือนกันทุกแถว แสดงว่า

เป็นสัดส่วนของเวกเตอร์ไอเก็นของเมทริกซ์คา่ แปรปรวนและ

ค่าความแปรปรวนร่วมของตัวแปร Xi (เมทริกซ์ S และแสดงให้เห็นว่า Factor

้ หากสามารถหาค่า loading หาได้จากเวกเตอร์ไอเก็นและค่าไอเก็น ดังนัน เวกเตอร์ไอเก็นและค่าไอเก็นได้ ก็จะ สามารถหาค่า Factor loading ได้คา่ ไอเก็นหาได้จากผลบวกก�ำลังสองของค่า Factor loading ของแถวตัง ้ ที่ j ของเมทริกซ์ L เขียนเป็นสมการได้ว่า

เนื่องจากเวกเตอร์ไอเก็นทีป ่ รับเป็นปกติ (Normalize) แล้วมีค่าผล

รวมก�ำลังสองเท่ากับ

ดังนั้นค่าไอเกนที่ j ของเมทริกซ์ S คือ

เมือ ่ ได้ค่าความร่วมกันแล้ว ต่อมาคือการหาค่าความแปรปรวนของ

ค่าเฉพาะ ได้จาก (2.8)

่ งจากการปรับค่า Xi ให้อยูใ่ นรูปมาตรฐาน1 (Zt) จะท�ำให้ Var ( Zi ) = 1 เนือ

้ จากสมการที่ (2.8) จะได้วา่ ดังนัน

1 การปรับให้อยู่ในรูปมาตรฐานท�ำได้จาก

PCi SDpci

( 78 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ ดังนัน ค่าแปรปรวนของ ค่าแปรปรวนรวมของ

และ

ค่าความร่วมกันของ ค่าเฉพาะของ การหาจ�ำนวนปัจจัยทีเ่ หมาะสม

ขั้นตอนการหาจ�ำนวนปัจจัยที่เหมาะสมก่อนการน� ำไปใช้ในแบบ

จ�ำลองสามารถพิจารณาจาก 1) ค่าไอเก็น โดยปัจจัยร่วมทีเ่ หมาะสมควรมี ้ ไป 2) พิจารณา Scree plot จากการพล็อตค่าไอเก็น ค่าไอเก็นมากกว่า 1 ขึน เช่น หากปัจจัยร่วมมีจ�ำนวน m + 1 และมีค่าไอเก็นต�่ำมากเมื่อเทียบกับ จ�ำนวนปัจจัยตัวที่ m หรือค่าไอเก็นลดลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเราไม่ควร ั จัยร่วมแค่ m ตัว และ 3) หากค่าแปรปรวน พิจารณาปัจจัยที่ m + 1แต่ควรมีปจ ของปัจจัยร่วมใดมีค่าน้อยกว่าค่าแปรปรวนเฉลีย ่

ควรจะตัดทิง ้ ไป

การหมุนแกนปัจจัยร่วมแบบตั้งฉากโดยวิธีแวรีแมกซ์ (Varymax)

้ ว่าควรจะจัดอยูป ั จัยไหน คือ ขัน ้ ตอนทีท ่ ำ� ให้ตวั แปรมีความชัดเจนขึน ่ จ

ขัน ้ ตอนการหมุนแกนปัจจัยร่วม เช่น ในกรณีทค ี่ ่า loading factor ของ ั จัย ตัวแปรไม่แตกต่างกันมากนักหรือไม่ชัดเจน และไม่รู้ว่าควรจะจัดอยู่ปจ ไหน ดังนั้นวิธีการหมุนแกนปัจจัยร่วมจะช่วยท�ำให้ค่า loading factor มี ้ และจะช่วยแก้ปญ ั หาดังกล่าวได้ วิธีการหมุนแกนปัจจัย ความชัดเจนขึน ร่วมมีหลายวิธี แต่สามารถแบ่งได้เป็น 2 วิธีหลักๆ คือ วิธีการหมุนแกน แบบตั้งฉาก และวิธีหมุนแกนแบบไม่ตั้งฉาก ในการศึกษาครั้งนี้จะใช้วิธี ่ เป็นวิธีหนึ่งที่ การหมุนแกนแบบตัง ้ ฉาก โดยวิธีแวรีแมกซ์ (Varymax) ซึง ได้รับความนิยม หลักการของวิธีนี้คือการลดจ�ำนวนตัวแปรทีม ่ ีน�้ำหนักใน แต่ละปัจจัยให้เหลือน้อยทีส ่ ุด โดยพยามยามท�ำให้ตวั ประกอบแต่ละคอลัมน์ ้ ดังจะ ต่างกันมากทีส ่ ุด เพือ ่ จะช่วยให้ความหมายของแต่ละปัจจัยได้งา่ ยขึน ( 79 )


OBELS OUTLOOK 2017

เห็นจากรูปที่ 3 หากไม่มีการหมุนแกนจะไม่สามารถเห็นได้ว่าตัวแปรตัวใด อยู่ใกล้ F1 หรือ F2 เนื่องจากค่า loading factor มีค่าใกล้เคียงกัน ดังนั้น

จากรูปที่ 3 จะเห็นได้ว่า ( X1, X2, X2 )ควรจะอยู่ในปัจจัย F2 และ (X4, X5,

X6) ควรจะอยู่ใน F1

รูปที่ 3 การหมุนแกนปัจจัย F1 และ F2

F2

F2

X3

X1

X2 X5

X4

F1 X6 F1

ทีม ่ า: ไพบูลย์ พงษ์ไพเชฐ (2550)

การให้ความหมายปัจจัยร่วม

ั จัยร่วมแล้ว ต่อมาคือต้องให้คำ� นิยามแก่ปจ ั จัยแต่ละตัว โดย เมือ ่ ได้ปจ

้ มาแทนปัจจัยเดิม เพือ บ่งชีค ้ วามหมายของปัจจัยร่วมทีส ่ ร้างขึน ่ เป็นตัวแทน ของตัวแปรเดิม โดยการให้ความหมายปัจจัยร่วมควรเป็นความหมายทีค ่ ลอบคลุม ้ โดยดูจากค่า Loading ของตัวแปร ตัวแปรทีม ่ ค ี วามผันแปรในปัจจัยร่วมนัน ั จัยร่วมแต่ละปัจจัย แต่หากค่า Loading มาก แสดงว่าตัวแปรดัง ทีม ่ ีปจ กล่าวอยู่ในปัจจัยทีส ่ นใจ ควรจะให้ความหมายปัจจัยร่วมให้ครอบคลุมถึง ้ ด้วย ซึง่ การให้ความหมายของปัจจัยจะครอบคลุมตัวแปรได้มากน้อย ตัวแปรนัน ้ อยู่กับประสบการณ์ของผู้ท�ำการวิจัยด้วย แค่ไหน ขึน ( 80 )


OBELS OUTLOOK 2017

3. ขอบเขตและวัตถุประสงค์

้ งุ่ เน้นการวัดความพร้อมของประเทศต่อสภาวะเศรษฐกิจ การศึกษานีม

การแชร์อย่างสร้างสรรค์ (Creative Sharing Economy Readiness: CSER) ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ ทีพ ่ ักโรงแรม การคมนาคม แฟชัน ่ อาหารและเครือ ่ งดืม ่ และการศึกษา และพัฒนาดัชนีความพร้อมของจังหวัด ในการรองรับสภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์

(CSER)

ที่

ประกอบด้วยปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานทางดิจท ิ ล ั ปัจจัยความ เป็นสังคมเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านผูผ ้ ลิตสมัยใหม่ และปัจจัย ด้านผูบ ้ ริโภคสมัยใหม่ โดยอาศัยเทคนิคการรวบรวมข้อมูลทุตย ิ ภูมแ ิ ละการ ้ ท�ำการค�ำนวณค่าดัชนีถว่ งน�ำ้ หนักด้วยการวิเคราะห์ปจ ั จัยร่วม ส�ำรวจ จากนัน ภายใต้วัตถุประสงค์การศึกษาดังนี้ 3.1) ศึกษาสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ การแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ในประเทศไทย 3.2) ศึกษาเปรียบเทียบดัชนี ชีว้ ัดความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ (CSERI) ของ ไทย มาเลเซีย สิ งคโปร์ และเวียดนาม และ 3.3) นโยบายรองรับเศรษฐกิจ การแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ส�ำหรับประเทศไทย

4. ระเบียบวิธีวิจัย

4.1 การรวบรวมข้อมูล

การศึกษานี้มุ่งเน้นการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

ทีเ่ กีย ่ วข้องกับภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ (Creative Sharing Economy: CSE) ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ ทีพ ่ ัก การคมนาคม แฟชัน ่ อาหารและเครือ ่ งดืม ่ และการศึกษา รวมถึงรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกีย ่ วข้อง กับความพร้อมของประเทศไทยในการรองรับสภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปัน อย่างสร้างสรรค์ที่ประกอบด้วยปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทางดิจิทัล ปัจจัยความเป็นสั งคมเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้าน ผู้ผลิตสมัยใหม่ และปัจจัยด้านผู้บริโภคสมัยใหม่ ( 81 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.2 การวิเคราะห์ปจ ั จัยร่วม

เนื่ อ งจากการศึ ก ษามุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาดั ช นี ชี้วั ด ความพร้ อ ม ของ

จังหวัดต่อการรองรับภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ (Creative Sharing Economy Readiness Index: CSERI) จึงได้ท�ำการรวบรวม ข้อมูลทุตย ิ ภูมิ (จ�ำนวนทัง้ สิ้น 34 ปัจจัย) จากกลุม ่ ปัจจัยหลัก 5 กลุม ่ ได้แก่ ปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานทางดิจท ิ ล ั ปัจจัยความเป็นสังคมเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านผู้ผลิตสมัยใหม่ และปัจจัยด้านผู้บริโภค สมัยใหม่ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องมีการแบ่งกลุ่มปัจจัยเพือ ่ หาค่าคะแนนถ่วง น�้ำหนักด้วยวิธี Principle component Analysis (PCA) หลังจากการ หมุนแกนแบบวารีแม็กซ์ จากนั้นท�ำการตัง ้ ชือ ่ กลุ่มปัจจัยเพือ ่ ประกอบการ ค�ำนวณดัชนีชี้วัดความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ (CSERI) และสร้างเป็นค่าคะแนนมาตรฐาน Standardized Index ต่อไป

4.3 การค�ำนวณดัชนีชวี้ ด ั ความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่าง

สร้างสรรค์ (CSERI)

ดัชนี ชี้วัดความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์

(CSERI) หมายถึงดัชนี ชี้วัดความพร้อมของจังหวัดต่อการรองรับภาวะ เศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยความพร้อมด้านโครงสร้าง พื้น ฐานทางดิ จิ ทั ล การเป็น สั ง คมเมื อ ง เศรษฐกิ จ ความพร้ อ มของผู้ ประกอบการ และ ความพร้อมของผู้บริโภคสิ นค้าเศรษฐกิจการแบ่งปัน อย่างสร้างสรรค์ การค�ำนวณดัชนีชวี้ ด ั ความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปัน อย่างสร้างสรรค์ในการศึกษานี้มาจากค่าคะแนนหลังการถ่วงน�้ำหนักด้วย PCA ในกลุ่มปัจจัยต่างๆ ดังสมการต่อไปนี้

( 82 )


OBELS OUTLOOK 2017

CSERI = f (DINFARw + URBRw + ECRw + PSSRw + CDRw + GOVRw + µ)

ได้ที่

CSERI

ดัชนี ชี้วัดความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่าง สร้างสรรค์

DINFARW ค่าคะแนนความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล

ถ่วงน�้ำหนัก

URBRW

ค่าคะแนนความพร้อมด้านการเป็นสังคมเมืองถ่วงน�ำ้ หนัก

PSSRW

ค่าคะแนนความพร้อมด้านการผู้ประกอบการและการ

ECRW

ค่าคะแนนความพร้อมด้านเศรษฐกิจถ่วงน�้ำหนัก

ประกอบธุรกิจถ่วงน�้ำหนัก

CDRw

ค่าคะแนนความพร้อมด้านการผู้บริโภคถ่วงน�้ำหนัก

µ

ค่าความคลาดเคลือ ่ น

GOVRw

ค่าคะแนนความพร้อมด้านนโยบายและรัฐบาลถ่วงน�ำ้ หนัก

้ ท�ำการค�ำนวณค่าคะแนนมาตรฐาน Standardized Index ดังนี้ จากนัน CSERI =

Mean(CSER) - Min(CSER) Max(CSER) - Min(CSER)

x 100

4.4 ตัวแปรทีใ่ ช้ในการศึกษา

การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

ทีเ่ ชือ ่ ถือได้ จ�ำนวนทัง้ หมด 34 ตัวแปร โดยแบ่งเป็นตัวแปรทัง้ หมด 6 ด้าน ประกอบด้วยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานทางดิจท ิ ล ั การเป็นสังคมเมือง เศรษฐกิจ ความพร้อมของผูป ้ ระกอบการ และความพร้อมของผูบ ้ ริโภคสินค้า เศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ ดังนี้ ( 83 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 2 ตัวแปรทีใ่ ช้ในการศึกษา ล�ำดับ

ตัวแปร

ชือ ่ ตัวแปร

1

DINFAR

ความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจท ิ ล ั

1.1

DINFAR1

การผลิตไฟฟ้า

1.2

DINFAR2

ความครอบคลุมเครือข่ายมือถือ

1.3

DINFAR3

แบนด์วด ิ ท์อน ิ เทอร์เน็ต

1.4

DINFAR4

เซิรฟ ์ เวอร์อน ิ เทอร์เน็ตทีป ่ ลอดภัยต่อประชากร

2

URBR

ความพร้อมด้านการเป็นสังคมเมือง

2.1

URBR1

อัตราส่วนประชากรทีอ ่ าศัยในเมือง

2.2

URBR2

จ�ำนวนทีส ่ ิ่งก่อสร้างทีเ่ ป็นทีอ ่ ยูอ ่ าศัย

3

ECR

ความพร้อมด้านเศรษฐกิจ

หน่วย

ทีม ่ า

kWh / capita

WEF

ร้อยละ

WEF

kb /user

WEF

ต่อ 1 ล้านคน

WEF

ร้อยละ

CEIC

ล้านหน่วย

CEIC

3.1

ECR1

อัตราค่าโทรศัพท์มอ ื ถือแบบเติมเงินมือถือ

PPP $ / นาที

เศรษฐกิจ

3.2

ECR2

อัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์คงที่

PPP $ / เดือน

WEF

3.3

ECR3

ระดับการแข่งขันทางอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์

0-2 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

3.4

ECR4

รายได้ตอ ่ หัว

USD

WEF

3.5

ECR5

ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ

USDmn

CEIC

4

PSSR

ความพร้อมด้านการผูป ้ ระกอบการและการ

4.1

PSSR1

ประกอบธุรกิจ

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

CEIC

4.2

PSSR2

ความพร้อมใช้งานของเทคโนโลยีลา่ สุด

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.3

PSSR3

ความพร้อมของเงินร่วมลงทุน

ร้อยละ/ก�ำไร

WEF

4.4

PSSR4

อัตราภาษี

วัน

WEF

4.5

PSSR5

จ�ำนวนวันทีเ่ ริม ่ ต้นธุรกิจ

ครัง้

WEF

4.6

PSSR6

จ�ำนวนขัน ้ ตอนในการเริม ่ ต้นธุรกิจ

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.7

PSSR7

ความเข้มของการแข่งขันในท้องถิน ่

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.8

PSSR8

การดูดซึมเทคโนโลยีระดับ บริษท ั

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.9

PSSR9

ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม

ต่อ ล้านคน

WEF

4.10

PSSR10

จ�ำนวนสิทธิบต ั ร แอปพลิเคชัน ต่อประชากร

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.11

PSSR11

การใช้ ICT ส�ำหรับธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับ

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

4.12

PSSR12

ธุรกิจ B2B

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

5

CDR

ความพร้อมด้านผูบ ้ ริโภค

5.1

CDR1

จ�ำนวนการสมัครสมาชิกโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

5.2

CDR2

บุคคลทีใ่ ช้อน ิ เทอร์เน็ต

WEF

( 84 )

ต่อ 100 คน

WEF

ร้อยละ

WEF


OBELS OUTLOOK 2017

ล�ำดับ

ตัวแปร

5.3

CDR3

5.4

ชือ ่ ตัวแปร

หน่วย

ทีม ่ า

ครัวเรือนทีม ่ ค ี อมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

ร้อยละ

WEF

CDR4

ครัวเรือนทีม ่ อ ี น ิ เทอร์เน็ต

ร้อยละ

WEF

5.6

CDR5

อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงคงที่

ต่อ 100 คน

WEF

5.7

CDR6

การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

5.8

CDR7

จ�ำนวนผูใ้ ช้งานเฟสบุค ๊

ล้านคม

Internet world stats

6

GOVR

ความพร้อมด้านนโยบายและรัฐบาล

6.1

GOVR1

ความส�ำคัญของ ICTs ต่อวิสัยทัศน์ของรัฐบาล

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

6.2

GOVR2

ดัชนีการให้บริการออนไลน์ของรัฐบาล

0-1 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

6.3

GOVR3

ความส�ำเร็จของรัฐบาลในการส่งเสริม ICT

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

6.4

GOVR4

ความพร้อมด้านกฎหมาย ICT

1-7 (ดีทส ี่ ุด)

WEF

5. ผลการศึกษา

ผลการศึกษาการเตรียมความพร้อมสู่ ยุคเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่าง

สร้างสรรค์ประกอบด้วย สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ ั จัยร่วม ดัชนีชวี้ ัดความพร้อมเศรษฐกิจ ในประเทศไทย ผลการวิเคราะห์ปจ แบ่งปันแบบสร้างสรรค์ของประเทศไทย และนโยบายรองรับเศรษฐกิจแบ่งปัน แบบสร้างสรรค์ ดังนี้

5.1 สถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย

จากการส�ำรวจข้อมูลทุตย ิ ภูมเิ กีย ่ วกับสถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจแบ่งปัน

แบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย พบว่าประเภทธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ มีการประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท ได้แก่ ประเภททีอ ่ ยู่ อาศัย ประเภทการจ้างงานอิสระ ประเภทการขนส่ ง ประเภทแฟชัน ่ ประเภท ร้านอาหารและคาเฟ่ และประเภทการศึกษา ได้ผลการศึกษาดังตารางที่ 3 ดังนี้ ( 85 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 3 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภททีอ ่ ยู่อาศัย ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

รูปแบบ

1

Airbnb

ให้บริการจองห้องพักและอาหารเช้า

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

2

Traveloka

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั และจองตัว๋ เครือ ่ งบิน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

Agoda

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั และจองตัว๋ เครือ ่ งบิน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

4

Booking.com

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั , ตัว๋ เครือ ่ งบิน, รถไฟ, รถบัส, บริการ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

เช่ารถยนต์, บริการแท็กซีส ่ นามบิน (จองรถไฟ, รถบัส และบริการแท็กซีส ่ นามบินไม่มบ ี ริการในประเทศไทย) 5

Trivago

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

6

Expedia

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั และจองตัว๋ เครือ ่ งบิน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

7

Skyscanner

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั , ตัว๋ เครือ ่ งบิน, บริการเช่ารถยนต์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

8

Hotels.com

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

9

TripAdvisor

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั , ตัว๋ เครือ ่ งบิน, บริการเช่ารถยนต์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

10

Hotels Combined

เปรียบเทียบเว็บไซต์จองโรงแรมชัน ้ น�ำทัง้ หมด

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

11

Ctrip

ให้บริการจองทีพ ่ ก ั , ตัว๋ เครือ ่ งบิน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

ตารางที่ 4 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทการจ้างงานอิสระ (Gig Economy) ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

รูปแบบ

1

Beneat

จัดหาแม่บา้ นท�ำความสะอาด

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

2

Seekster

บริการจัดหาแม่บา้ นท�ำความสะอาด, ช่างต่อเติมและ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

Fastwork

ซ่อมแซม

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

บริการค้นหาฟรีแลนซ์มอ ื อาชีพเพือ ่ พัฒนาธุรกิจ (ได้แก่ดา้ น Graphic & illustration, การตลาดและ โฆษณา, เขียนและแปลภาษา, ภาพและเสียง, Web & Programming, ปรึกษาและแนะน�ำ) 4

FixzyAuto

ให้บริการช่วยค้นหาอูซ ่ อ ่ มรถหรือบริการทีเ่ กีย ่ วกับรถ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5

Fixzy-Easy Home

ให้บริการช่วยค้นหาช่างซ่อมปัญหาภายในทีอ ่ ยูอ ่ าศัย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

Maintenance

( 86 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 5 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทการขนส่ งและโลจิสติกส์ (Transportation) ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

รูปแบบ

1

Grab Driver

บริการเรียกรถแท็กซี,่ รถยนต์ส่วนตัว, มอเตอร์ไซค์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

2

Uber

บริการเรียกรถยนต์ส่วนตัว

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

GoBike

บริการเรียกมอเตอร์ไซค์, ขนส่งพัสดุ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

4

Lalamove

บริการขนส่ง

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5

NCA booking

บริการจองตัว๋ โดยสารรถบัส

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

6

OBike

ให้บริการเช่าจักรยานสาธารณะระยะสั้น

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

7

บขส. ชัวร์

บริการจองตัว๋ บขส. ออนไลน์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

8

Bangkok MRT

บริการวางแผนการเดินทางโดยใช้รถไฟฟ้าใต้ดน ิ ใน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

กรุงเทพฯ และค�ำนวณค่าโดยสาร Haupcar

ให้บริการคาร์แบ่งปันริง่

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

10

Kerry Express

บริการจัดส่งพัสดุ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

11

Rentalcars.com

บริการจัดหารถเช่า, ค้นหา, เปรียบเทียบราคา

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

12

SKOOTAR

บริการแมสเซ็นเจอร์ส่งด่วน เพือ ่ รับส่งเอกสาร เก็บเช็ค

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

9

วางบิล ส่งของด่วนภายในวัน สะดวก ประหยัด ไว้ใจได้ ครอบคลุม กทม. - ปริมณฑล

ตารางที่ 6 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทแฟชัน ่ (Fashion) ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

รูปแบบ

1

Konvy

เครือ ่ งส�ำอางชัน ้ น�ำ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

2

Pomelo

เสื้อผ้าแฟชัน ่

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

ShopSpot

แหล่งรวมสินค้า ไอเดีย คุณภาพดี จากฝีมอ ื คนไทย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

4

Season

เสื้อผ้าแฟชัน ่

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5

Hip n Chic

สินค้าแฟชัน ่

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

6

Sephora

เครือ ่ งส�ำอางชัน ้ น�ำ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

7

Snapbag

เสื้อผ้าแฟชัน ่ และการแบ่งปันสไตล์แฟชัน ่ การแต่งตัว

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

8

Zilingo

เสื้อผ้าแฟชัน ่ และความงาม

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

9

LnwShop

บริการช่องทางการซือ ้ ขายสินค้าโดยจับคูผ ่ ซ ู้ อ ื้ กับผูข ้ าย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

10

Shopee

บริการช่องทางการซือ ้ ขายสินค้าโดยจับคูผ ่ ซ ู้ อ ื้ กับผูข ้ าย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

11

Lazada

บริการช่องทางการซือ ้ ขายสินค้าโดยจับคูผ ่ ซ ู้ อ ื้ กับผูข ้ าย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

12

Wish

บริการช่องทางการซือ ้ ขายสินค้าโดยจับคูผ ่ ซ ู้ อ ื้ กับผูข ้ าย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

( 87 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 7 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทร้านอาหารและคาเฟ่ (Restaurant and Café) ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

รูปแบบ

1

Wongnai

บริการค้นหาร้านอาหาร ร้านเสริมสวย และสปา

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

2

eatigo

บริการรจองร้านอาหาร

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

foodpanda

บริการสั่งอาหารเดลิเวอรีอ ่ อนไลน์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

4

Foursquare

ค้นหาร้านอาหาร คาเฟ่ ร้านกาแฟ ทีเ่ ทีย ่ วยามค�่ำคืน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

แหล่งชอปปิ้ ง 5

honestbee

บริการสั่งอาหารเดลิเวอรีอ ่ อนไลน์

6

Ocha Manager

แอปพลิเคชันทีช ่ ่วยในการจัดการระบบการขายหน้า

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

ร้านและหลังร้าน สามารถใช้ได้กับร้านหลายประเภท ทัง ้ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านขนม และร้านอืน ่ ๆ ทีม ่ ี ความต้องการใช้ระบบการจัดการร้าน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

7

Makan

รวมร้านอาหารอิสลามทัว่ ไทย

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

8

eatRanger

แอปพลิเคชัน ่ สั่งอาหารส่งถึงที่

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

9

Indian Food in

รวมร้านอาหารอิสลาม อินเดีย และอาหารมังสวิรัติ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

Thailand

ตารางที่ 8 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทการศึกษา (Education) ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

1

รู้หมดกฎหมาย

ลักษณะสินค้าและบริการ ให้ความรู้เกีย ่ วกับกฎหมายทีจ ่ �ำเป็นและความรู้ในชีวิต

รูปแบบ เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

ประจ�ำวัน 2

ปัจจัยพืน ้ ฐาน

แอปพลิเคชันขอทุนการศึกษาส�ำหรับนักศึกษายากจน

3

Duolingo

ส�ำหรับเรียนภาษาต่างประเทศ

4

Bright

ส�ำหรับเรียนภาษาอังกฤษ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5

HelloTalk

ส�ำหรับเรียนภาษาอังกฤษ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

6

TCASter

แอปพลิเคชันรวมข้อมูลในการสอบมหาวิทยาลัยผ่าน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

7

GAT Vocabulary Book

แอปพลิเคชันเตรียมสอบ GAT

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

8

สู ตรฟิสิกส์

รวมรวมสู ตรในวิชาฟิสิกส์ ชน ั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

นักเรียนยากจน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่ เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

ระบบ TCAS

( 88 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 9 ธุรกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ในประเทศไทย ประเภทอืน ่ ๆ ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

1

FlowAccount

ลักษณะสินค้าและบริการ บริการระบบบัญชีเบือ ้ งต้นออนไลน์ส�ำหรับบริษัท

รูปแบบ เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

startup ไทย 2

Omise

บริการระบบช�ำระเงินครบวงจรออนไลน์

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

3

Kaidee

บริการพืน ้ ทีซ ่ อ ื้ -ขายสินค้ามือสอง

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

4

Priceza

บริการค้นหาและเปรียบเทียบราคาสินค้า

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5

Home.co.th

บริการค้านหาบ้าน-คอนโดฯ พร้อมการเปรียบเทียบ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

6

ONE2CAR

7

CheckRaka

ราคา ท�ำเล แบบบ้าน บริการเชือ ่ มโยงผู้ซอ ื้ และผู้ขายรถยนต์ใหม่และรถ

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

มือสอง บริการข้อมูลเศรษฐกิจ หุ้น น�้ำมัน ทองค�ำ การเงิน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

รถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์ บ้าน คอนโด โทรศัพท์มือถือ 8

JOBTOPGUN

บริการช่วยหางาน

เว็บไซต์/แอพพลิเคชัน ่

5.2 ผลการวิเคราะห์ปจ ั จัยร่วม

จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยร่วมด้วยวิธี Principle

Component Analysis (PCA) พบว่าตัวแปรอิสระทีไ่ ม่มค ี วามสัมพันธ์กน ั จ�ำนวน 34 ตัวแปร หลังจากการหมุนแกนแบบวารีแม็ก (Varimax with Kaiser Normalization) สามารถแบ่งกลุ่มได้ทั้งหมด 3 กลุ่มปัจจัย ที่แสดงถึงความพร้อมในการรองรับภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่าง สร้างสรรค์ดังนี้

5.2.1) ปัจจัยความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และ

ผู้บริโภค

ปัจจัยกลุ่มนี้มีจ�ำนวนตัวแปรทัง ้ หมด 20 ตัวแปร โดยสามารถใช้

เป็นตัวแทนอธิบายตัวแปรทัง ้ หมดได้ร้อยละ 70.529 ประกอบด้วย ตัวแปร ด้านความพร้อมด้านเศรษฐกิจทีเ่ กีย ่ วข้องกับ อัตราค่าโทรศัพท์มือถือแบบ เติมเงินมือถือ อัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์คงที่ และระดับการ ( 89 )


OBELS OUTLOOK 2017

แข่งขันทางอิ น เทอร์ เน็ ต และโทรศั พท์ ปัจ จัย ด้านรัฐบาลที่เ กี่ย วข้องกับ ความส�ำคัญของ ICTs ต่อวิสัยทัศน์ของรัฐบาล การให้บริการออนไลน์ของ

รัฐบาล ความส�ำเร็จของรัฐบาลในการส่งเสริม ICT อัตราภาษี และความ

พร้อมด้านกฎหมาย ICT ความพร้อมผู้ประกอบการ ความพร้อมใช้งาน ของเทคโนโลยีล่าสุ ด และความพร้อมของเงินร่วมลงทุน และความพร้อม

ด้านผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับ จ�ำนวนการสมัครสมาชิกโทรศั พท์เคลื่อนที่ บุคคลทีใ่ ช้อินเทอร์เน็ต ครัวเรือนทีม ่ ีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และครัวเรือน ทีม ่ ีอินเทอร์เน็ต ดังนี้

ตารางที่ 10 ปัจจัยความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

ค่า Eigen

เริม ่ ต้น

หมุนแกน

1

ECR1

อัตราค่าโทรศัพท์มือถือแบบเติมเงินมือถือ

0.995

0.916

2

ECR2

อัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์คงที่

0.263

0.682

3

ECR3

ระดับการแข่งขันทางอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์

0.956

0.972

4

PSSR1

ความพร้อมใช้งานของเทคโนโลยีล่าสุ ด

0.999

0.852

5

PSSR2

ความพร้อมของเงินร่วมลงทุน

0.892

0.991

6

PSSR3

อัตราภาษี

-0.38

0.101

7

PSSR7

การดูดซึมเทคโนโลยีระดับ บริษัท

0.99

0.931

8

PSSR8

ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม

0.839

0.987

9

PSSR9

จ�ำนวนสิทธิบัตร แอปพลิเคชัน ต่อประชากร

0.822

0.452

10

PSSR10

การใช้ ICT ส�ำหรับธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ B2B

0.995

0.916

11

PSSR11

การใช้อินเทอร์เน็ตเพือ ่ ธุรกิจกับผู้บริโภค B2C

0.688

0.94

12

PSSR12

ระยะเวลาการฝึกอบรมพนักงาน

0.949

0.976

13

CDR1

จ�ำนวนการสมัครสมาชิกโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

0.674

0.934

14

CDR2

บุคคลทีใ่ ช้อินเทอร์เน็ต

1.000

0.866

15

CDR3

ครัวเรือนทีม ่ ีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

0.994

0.816

16

CDR4

ครัวเรือนทีม ่ ีอินเทอร์เน็ต

0.991

0.805

17

GOVR1

ความส�ำคัญของ ICTs ต่อวิสัยทัศน์ของรัฐบาล

0.992

0.925

18

GOVR2

ดัชนีการให้บริการออนไลน์ของรัฐบาล

0.958

0.703

19

GOVR3

ความส�ำเร็จของรัฐบาลในการส่ งเสริม ICT

0.968

0.963

20

GOVR4

ความพร้อมด้านกฎหมาย ICT

0.988

0.936

( 90 )


OBELS OUTLOOK 2017

5.2.2) ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และการเข้าถึง

อินเทอร์เน็ต ้ จ ปัจจัยกลุม ่ นีม ี ำ� นวนตัวแปรทัง้ หมด 8 ตัวแปร สามารถใช้เป็นตัวแทน

อธิบายตัวแปรทัง้ หมดได้รอ ้ ยละ 23.106 ประกอบด้วยตัวแปรด้านโครงสร้าง พืน ้ ฐานดิจท ิ ล ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกับ ก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ความครอบคลุมเครือข่าย มือถือแบนด์วด ิ ท์อน ิ เทอร์เน็ต และเซิรฟ ์ เวอร์อน ิ เทอร์เน็ตทีป ่ ลอดภัย รวมถึง ปัจจัยด้านการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เช่น อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงคงที่ การใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ และจ�ำนวนผู้ใช้งานเฟสบุ๊ค ดังนี้ ตารางที่ 11 ปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

ค่า Eigen

เริม ่ ต้น

หมุนแกน

1

DINFAR1

การผลิตไฟฟ้า

0.932

0.759

2

DINFAR2

ความครอบคลุมเครือข่ายมือถือ

0.583

0.992

3

DINFAR3

แบนด์วิดท์อินเทอร์เน็ต

0.769

0.927

4

DINFAR4

เซิร์ฟเวอร์อินเทอร์เน็ตทีป ่ ลอดภัยต่อประชากร

0.826

0.887

5

PSSR6

ความเข้มของการแข่งขันในท้องถิน ่

0.877

0.838

6

CDR5

อินเทอร์เน็ตความเร็วสู งคงที่

0.83

0.884

7

CDR6

การใช้เครือข่ายสั งคมออนไลน์

0.362

0.992

8

CDR7

จ�ำนวนผู้ใช้งานเฟสบุ๊ค

-0.295

0.497

5.2.3) ความพร้อมด้านการเป็นสังคมเมือง รายได้ประชากร และการแข่งขัน ตลาดดิจิทัล

้ จ ปัจจัยกลุม ่ นีม ี ำ� นวนตัวแปรทัง้ หมด 6 ตัวแปร สามารถอธิบายตัวแปร

ทั้งหมดได้ร้อยละ 6.365 ประกอบด้วยสั ดส่ วนประชากรที่อาศัยในเมือง จ�ำนวนที่สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่อยู่อาศั ย รายได้ต่อหัว ผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติ จ�ำนวนวันทีเ่ ริม ้ ตอนในการเริม ่ ต้นธุรกิจ และจ�ำนวนขัน ่ ต้นธุรกิจ

( 91 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 11 ปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ล�ำดับ

ชือ ่ ธุรกิจ

ลักษณะสินค้าและบริการ

ค่า Eigen

เริม ่ ต้น

หมุนแกน

1

URBR1

สั ดส่ วนประชากรทีอ ่ าศัยในเมือง

0.252

0.984

2

URBR2

จ�ำนวนทีส ่ ิ่งก่อสร้างทีเ่ ป็นทีอ ่ ยู่อาศัย

-0.994

-0.11

3

ECR7

รายได้ต่อหัว

0.432

0.896

4

ECR8

ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ

-0.924

0.244

5

PSSR4

จ�ำนวนวันทีเ่ ริม ่ ต้นธุรกิจ

-0.971

-0.128

6

PSSR5

จ�ำนวนขัน ้ ตอนในการเริม ่ ต้นธุรกิจ

-0.956

-0.13

5.3 ดัชนีชีว้ ัดความพร้อมเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์

ผลการค�ำนวณดัชนีชวี้ ัดความพร้อมในการรองรับเศรษฐกิจแบ่งปัน

แบบสร้างสรรค์ (Creative Sharing Economy Readiness Index: CSERI) ทีป ่ ระกอบด้วยความพร้อม 3 ด้าน ได้แก่ 1) ความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค 2) ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ ต และ 3) ความพร้อมด้านการเป็นสั งคมเมือง รายได้ประชากร และการแข่งขันตลาดดิจท ิ ล ั ซึง่ เป็นค่าทีถ ่ ว่ งน�ำ้ หนักด้วยการ วิ เ คราะห์ ป ั จ จั ย ร่ ว มด้ ว ยวิ ธี PCA จากนั้ น หาค่ า คะแนนมาตรฐาน (Standardization Index) ทีค ่ ะแนนเริม ่ ต้นจาก 0 -100 ได้ผลการศึกษา ตามตารางที่ 7 ดังนี้

( 92 )


OBELS OUTLOOK 2017 ตารางที่ 11 ปัจจัยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ล�ำดับ

ประเทศ

ECON

INFRA

ENVI

เฉลีย ่ รวม

1

มาเลเซีย (MY)

39.93

55.19

44.67

46.59

2

สิ งคโปร์ (SG)

22.04

55.78

55.17

44.33

3

ไทย (TH)

32.65

42.56

40.77

38.66

4

เวียดนาม (VN)

22.04

49.03

42.44

37.84

หมายเหตุ: ECON = เศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค INFRA = โครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ENVI = การเป็นสั งคมเมือง รายได้ประชากร และการแข่งขันตลาดดิจิทัล

1) ความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค

พบว่าประเทศมาเลเซียมีความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคสู งสุ ด (39.93 คะแนน) รองลงมาคือ ไทย (32.65 คะแนน) สิ งคโปร์ และเวียดนาม (22.04 คะแนน) สาเหตุที่มาเลเซียได้คะแนน ความพร้อมสู งสุ ดได้แก่ 1) มาเลเซียมีรัฐบาลพรรคเดียวทีบ ่ ริหารประเทศ ท�ำให้การด�ำเนินนโยบายด้านเทคโนโลยีมค ี วามต่อเนื่องมากกว่าประเทศไทย และ สิงคโปร์ 2) มาเลเซียมีระดับการแข่งขันทางอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์ ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ระยะเวลาการฝึกอบรมพนักงาน ด้านเทคโนโลยี ความพร้อมของเงินร่วมลงทุน การใช้อน ิ เทอร์เน็ตเพือ ่ ธุรกิจ กับผู้บริโภค B2C และจ�ำนวนการสมัครสมาชิกโทรศัพท์เคลือ ่ นทีส ่ ู งสุ ด ส่ ว นสาเหตุ ที่ไ ทยได้ ค ะแนนอยู่ อั น ดั บ สองเนื่ อ งจาก ไทยมี ค่ า อั ต ราค่ า โทรศัพท์มือถือแบบเติมเงิน และอัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ คงทีต ่ �่ำกว่าสิ งคโปร์ มาเลเซีย และเวียดนาม

2) ความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจท ิ ล ั และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต

พบว่าประเทศทีไ่ ด้รบ ั คะแนนสูงสุด ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ (55.78 คะแนน) ่ งจากประเทศสิงคโปร์มก เนือ ี ำ� ลังการผลิตไฟฟ้าสูง จึงสามารถรองรับกิจกรรม ( 93 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทางอินเทอร์เน็ตและการเข้าถึงได้มากกว่า และมีความครอบคลุมเครือข่าย มือถือคุณภาพ แบนด์วิดท์อินเทอร์เน็ตขนาดใหญ่ มีจ�ำนวนเซิร์ฟเวอร์ อินเทอร์เน็ตทีป ่ ลอดภัยต่อประชากรสูง อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงคงที่ รวมถึง มีความเข้มของการแข่งขันในท้องถิน ่ และมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์สูง รองลงมาได้แก่ มาเลเซีย (55.19 คะแนน) เวียดนาม (49.03 คะแนน)

3) ความพร้อมด้านการเป็นสั งคมเมือง รายได้ประชากร และการ

แข่งขันตลาดดิจท ิ ล ั พบว่าประเทศทีม ่ ค ี ะแนนสูงสุดได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ (55.17 คะแนน) เนื่องจาก 1) เป็นประเทศความเป็นสังคมเมืองสู งสุ ดดูได้ จากจ�ำนวนประชากรทีอ ่ าศัยในเขตเมือง เมือ ่ เทียบกับสามประเทศ 2) เป็น ประเทศทีม ่ ีรายได้เฉลีย ่ ต่อหัวสู งทีส ่ ุ ด และ 3) มีความได้เปรียบการแข่งขัน ตลาดดิจิทัลสู งสุ ด เนื่องจากมีระยะเวลาในการเริ่มต้นธุรกิจน้อยที่สุดเมื่อ เทียบกับสามประเทศ

4) เมือ ่ พิจารณาดัชนีชวี้ ด ั ความพร้อมเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์

ของประเทศไทยโดยรวม พบว่ามีค่าคะแนนความพร้อม (38.66 คะแนน) คิดเป็นอันดับที่ 3 รองจาก มาเลเซีย (46.59 คะแนน) สิงคโปร์ (44.33 คะแนน) ส่วนประเทศทีม ่ ค ี า่ คะแนนความพร้อมน้อยทีส ่ ุดคือประเทศ เวียดนาม (37.84 คะแนน) ส่ ว นค่ า คะแนนความพร้ อ มด้ า นเศรษฐกิ จ รั ฐ บาล ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค ไทยได้คะแนนความพร้อม (32.65 คะแนน) คิดเป็นอันดับที่ 2 รองจากมาเลเซีย (39.93 คะแนน) ค่าคะแนนความ พร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ได้คะแนน 42.56 คะแนน คิดเป็นอันดับที่ 4 รองจาก สิ งคโปร์ (55.78 คะแนน) มาเลเซีย (55.19 คะแนน) และเวียดนาม ( 49.03 คะแนน) ส่วนคะแนน ความพร้อมด้าน การเป็นสั งคมเมือง รายได้ประชากร และการแข่งขัน ตลาดดิจิทัล พบว่าประเทศไทยได้คะแนน 40.77 เป็นอันดับที่ 4 รองจาก สิ ง คโปร์ (55.17 คะแนน) มาเลเซี ย (44.67 คะแนน) และ เวี ย ดนาม (42.44 คะแนน) ดูได้จากรูปที่ 4 ( 94 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 4 ดัชนีชวี้ ัดความพร้อมเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ ภาพรวม CSIRI

60

ECON

40 20 0

INFRA

เวียดนาม (VN) ไทย (TH)

ENVI

สิ งคโปร์ (SG)

5.4 นโยบายรองรับเศรษฐกิจแบ่งปันแบบสร้างสรรค์ส�ำหรับ

จังหวัดเชียงราย

เมื่อเทียบคะแนนความพร้อมของไทยกับ มาเลเซีย สิ งคโปร์ และ

เวียดนาม จะเห็นว่าประเทศไทยมีความพร้อมด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจท ิ ล ั และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ ต และความพร้อมการเป็นสั งคมเมือง รายได้ ประชากร และการแข่งขันตลาดดิจิทัล ในระดับต�่ำสุดใน 4 ประเทศข้างต้น จากผลการศึกษาดังกล่าวได้ข้อเสนอแนะว่าประเทศไทยควรเร่งพัฒนาใน ระยะเร่งด่วนได้แก่

1) โครงสร้างพืน ้ ฐานดิจท ิ ล ั และการเข้าถึง โดยการสร้างความครอบคลุม

เครือข่ายมือถือ ขยายแบนด์วิดท์อินเทอร์เน็ต เพิม ่ เซิร์ฟเวอร์อินเทอร์เน็ต ทีป ่ ลอดภัยต่อผูใ้ ช้บริการ รวมถึงขยายพืน ้ ทีใ่ ห้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ให้ครอบคลุมทัว่ ประเทศ รวมถึงส่งเสริมการท�ำธุรกิจในรูปแบบแพลตฟอร์ม ้ ทีส ่ ร้างสรรค์ เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์กบ ั ทัง้ ผูผ ้ ลิต และผูบ ้ ริโภคในประเทศมากขึน ( 95 )


OBELS OUTLOOK 2017

2) การพัฒนาพืน ้ ทีช ่ นบทให้มีการพัฒนาเพือ ่ รองรับการเป็นสั งคม

เมืองและ ควรเร่งการยกระดับรายได้ตอ ่ หัวของประชากร ควบคูก ่ บ ั การพัฒนา ฝีมือและ ทักษะของประชากรในทุกระดับการศึ กษา รวมถึงการให้ความรู้ กับกลุ่มผู้บริโภครุ่นใหม่ที่นิยมใช้บริการซื้อขาย และท�ำธุรกิจในรูปแบบ แพลตฟอร์ม ให้ทราบถึงรูปแบบการท�ำงานและการใช้งานที่ถูกต้องเพื่อ เพิ่มประสิ ทธิภาพแข่งขันในตลาดดิจิทัล โดยรัฐบาลควรมีมาตรการส่ ง เสริมการท�ำธุรกิจในรูปแบบต่างๆ เพือ ่ สร้างแรงจูงใจในการประกอบธุรกิจ การแบ่งปันรูปแบบใหม่ๆ ทีส ่ ร้างสรรค์ เช่น การพัฒนาธุรกิจแพลตฟอร์ม อยูอ ่ าศัย ลักษณะการจ้างงานอิสระ การขนส่งและโลจิสติกส์ แฟชัน ่ อาหาร และคาเฟ่ และการศึกษา เป็นต้น

ขณะเดียวกันไทยได้คะแนนความพร้อมด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผู้

ประกอบการ และผู้บริโภค อยู่อันดับที่ 2 รองจากมาเลเซีย ดังนั้นในระยะ กลาง-ยาว ควรส่ งเสริมการพัฒนา ดังนี้

1) การสร้างความพร้อมด้านเศรษฐกิจ โดยสร้างความสามารถในการ

แข่งขันด้านราคาสินค้าและบริการดิจท ิ ล ั ให้ได้เปรียบประเทศเพือ ่ นบ้านมาก ้ ยิง ่ ขึน

2) รัฐบาลควรให้ความส�ำคัญ ICTs ต่อวิสัยทัศน์ของรัฐบาล ควรเร่ง

สร้างความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอร์เน็ต พัฒนาการให้บริการออนไลน์ ้ และมาตรการทางกฎหมายทีต ให้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ่ ามทันการเปลีย ่ นแปลง ด้าน ICT และคอมพิวเตอร์ รวมถึงสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการ และ ผู้บริโภค ให้เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล

3) ส่วนผูป ้ ระกอบการ ควรพัฒนาความพร้อมของตัวเองต่อการใช้งาน

เทคโนโลยีล่าสุ ด โดยเพิม ่ ระดับการดูดซับเทคโนโลยีระดับบริษัท ส่ งเสริม ระยะเวลาการฝึกอบรมพนักงานให้กา้ วทันการเปลีย ่ นแปลงด้านดิจท ิ ล ั และ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพิม ั รนวัตกรรมทีค ่ ด ิ ค้น รวมถึงแสวงหาการร่วมลงทุน ่ จ�ำนวนการจดสิทธิบต ( 96 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากเครือข่าย โดยเปลีย ่ นจากการแข่งขันเพือ ่ เอาชนะ มาเป็นการแข่งขัน เพือ ่ การพัฒนาตลาด เร่งการใช้ระบบ ICT ส�ำหรับธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับ ้ ธุรกิจ (B2B) และธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C) มากยิง ่ ขึน

4) ด้ า นผู้ บ ริ โ ภค ควรพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ข องตนเองให้ ทั น การ

เปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และเพิ่ ม การใช้ ป ระโยชน์ จ ากธุ ร กรรม ออนไลน์

6. สรุปผลการศึกษา

งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพือ ่ ศึกษาสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจการ

แบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ในประเทศไทย ศึกษาเปรียบเทียบดัชนีชวี้ ัดความ พร้ อ มภาวะเศรษฐกิ จ การแบ่ ง ปัน อย่ า งสร้ า งสรรค์ (CSERI) ของไทย มาเลเซีย สิ งคโปร์ และเวียดนาม รวมถึงสังเคราะห์ผลคะแนนความพร้อม ภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ เพือ ่ หานโยบายรองรับส�ำหรับ ประเทศไทยอย่างเหมาะสม โดยใช้ขอ ้ มูลทุตย ิ ภูมจ ิ ำ� นวนทัง้ สิ้น 34 ตัวแปร เพือ ่ ค�ำนวณหาดัชนีชวี้ ัดความพร้อมเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ ั จัยร่วม (PCA) (CSERI) ด้วยการถ่วงน�ำ้ หนักจากค่าคะแนนการวิเคราะห์ปจ

ผลการศึ ก ษาพบว่ า ประเทศไทยมี จ� ำ นวนธุ ร กิ จ การแบ่ ง ปัน อย่ า ง

สร้างสรรค์จ�ำนวนมาก ประกอบด้วย การประยุกต์ให้แพลตฟอร์มในธุรกิจ ทีเ่ กีย ่ วกับทีอ ่ ยูอ ่ าศัย (Accommodation) จ�ำนวน 11 ธุรกิจ ประเภทการจ้าง งานอิสระ (Gig Economy) จ�ำนวน 5 ธุรกิจ ด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ (Transportation) จ�ำนวน 12 ธุรกิจ ด้านธุรกิจแฟชัน ่ (Fashion) 12 ธุรกิจ ร้านอาหารและคาเฟ่ (Restaurant and Café) จ�ำนวน 9 ธุรกิจ การศึกษา (Education) จ�ำนวน 8 ธุรกิจ และธุรกิจด้านอืน ่ ๆทีเ่ กีย ่ วข้องกับเศรษฐกิจ การแบ่งปันอีก 8 ธุรกิจ

ั จัยพบว่ามีกลุม ผลการวิเคราะห์ปจ ่ ปัจจัย 3 ด้านส่งผลต่อความพร้อม

ภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย ปัจจัยความพร้อม ( 97 )


OBELS OUTLOOK 2017

ด้านเศรษฐกิจ รัฐบาล ผูป ้ ระกอบการ และผูบ ้ ริโภค มีคา่ คะแนนถ่วงน�ำ้ หนัก ร้อยละ 70.53 ด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต มีค่าคะแนนถ่วงน�้ำหนักร้อยละ 23.11 และ ความพร้อมด้านการเป็นสังคม เมือง รายได้ประชากร และการแข่งขันตลาดดิจท ิ ล ั มีคา่ คะแนนถ่วงน�ำ้ หนัก ร้อยละ 6.37 ตามล�ำดับ

การศึกษาดัชนีดช ั นีชวี้ ด ั ความพร้อมภาวะเศรษฐกิจการแบ่งปันอย่าง

สร้างสรรค์ (CSERI) พบว่าประเทศที่มีคะแนนความพร้อมสู งสุ ด ได้แก่ มาเลเซีย ได้คะแนน 46.59 รองลงมาคือสิ งคโปร์ 44.33 คะแนน ไทย ่ ยังถือว่าอยูใ่ นระดับต�ำ่ โดยเฉพาะ 38.66 คะแนน และเวียดนาม 37.84 ซึง ประเทศไทยที่ได้คะแนนภาพรวมอยู่อันดับรองสุ ดท้าย จึงต้องมีนโยบาย เร่งด่วนเพือ ่ พัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐานดิจิทัล และการเข้าถึงการพัฒนาพืน ้ ที่ ชนบทให้มีการพัฒนาเพือ ่ รองรับการเป็นสังคมเมือง

ส่วนในระยะกลางและระยะยาวควรส่งเสริมการพัฒนา การสร้างความ

พร้อมด้านเศรษฐกิจ วิสัยทัศน์ของรัฐบาลควรให้ความส� ำคัญกับการใช้ ICTs ควรเร่งสร้างความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ผู้ประกอบการ ควรพัฒนาความพร้อมของตัวเองต่อการใช้งานเทคโนโลยีล่าสุ ด โดยเพิ่ม ระดับการดูดซึมเทคโนโลยีระดับบริษัท เพิม ่ ระยะเวลาการฝึกอบรมพนักงาน ให้กา้ วทันการเปลีย ่ นแปลงด้านดิจท ิ ล ั และ ICT เพิม ่ ขีดความสามารถในการ สร้างสรรค์นวัตกรรม ส่ งเสริมการจดสิ ทธิบัตรนวัตกรรมที่คิดค้น รวมถึง แสวงหาการร่วมลงทุนจากเครือข่าย โดยเปลีย ่ นจากการแข่งขันเพือ ่ เอาชนะ มาเป็นการแข่งขันเพื่อการพัฒนาตลาด เร่งการใช้ ICT ส� ำหรับธุรกรรม ้ และ ระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ B2B และธุรกิจกับผู้บริโภค B2C มากยิง ่ ขึน ด้านผู้บริโภค ควรพัฒนาองค์ความรู้ของตนเองให้ทันการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีดิจิทัล และเพิม ่ การใช้ประโยชน์จากธุรกรรมออนไลน์

( 98 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง กัลยรักษ์ นัยรักษ์เสรี. (2560). “ใครใครในโลกล้วนอยากเป็น gig.” EIC

Research Series: เรือ ่ งของ gig EP1, SCB Economic Intelligence

Center, 7 พฤศจิกายน 2560

ปรีดี บุญซือ ่ . (2016). ยุคสมัยของธุรกิจแบบ Platform ภัยคุกคามที่

อันตรายสุ ดต่อธุรกิจแบบดัง ้ เดิม (online), สืบค้นจาก www.

thaipublica.org, 11 พฤศจิกายน 2017

ไพบูลย์ พงษ์ไพเชฐ. (2550). การวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลีย ่ นแปลง

นโยบายการเงิน โดยวิธี FAVAR. (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์

มหาบัญฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจท ิ ล ั . (2560). Sharing Economy พลิกโฉม

ธุรกิจดิจิทัล (online), สืบค้นจาก www.depa.or.th,

11 พฤศจิกายน 2560

ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ . (2560). มูลค่าพาณิชย์

อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยจ�ำแนกตามประเภทผู้ประกอบการ,

สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/ , 11 พฤศจิกายน 2560

Muller, P., et al. (2011). Consumer behavior in a digital

environment. Brussels: European Parliament.

World Economic Forum. (2016). Global Information Technology

Report 2016. Network Readiness Index report.

( 99 )


OBELS OUTLOOK 2017

พฤติกรรมการใช้บริการธุรกิจ ร้านอาหารในอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย มัลลิกา จันต๊ะคาด

1. บทน�ำ

เนื่ องจากการท่องเที่ยวในตัวเมืองอ�ำเภอเชียงของค่อนข้างซบเซา

หลังจากทีม ่ ีการเปิดใช้บริการสะพานมิตรภาพไทยลาว พบว่าผู้ประกอบการ ธุรกิจร้านอาหารควรให้ความสนใจแก่กลุ่มลูกค้าที่เป็นคนในพืน ้ ที่มากกว่า นักท่องเที่ยว ดังนั้นรายงานการวิจัยชิ้นนี้จึงให้ความส� ำคัญต่อการศึกษา พฤติกรรมของผู้บริโภคในอ�ำเภอเชียงของ เพือ ่ เป็นแนวทางแก่ผู้ประกอบการ ในการสร้างกลยุทธ์ด้านการตลาด ท่ามกลางวิถีชีวิตแบบชนบท พฤติกรรม ้ ไม่บ่อยนัก การรับประทานอาหารนอกบ้านมักจะเกิดขึน

การส� ำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกร้านอาหาร จึงเป็น

เรือ ่ งทีต ่ ้องศึกษา เพือ ่ ให้การบริการตอบสนองต่อความต้องการของคนใน ท้องถิ่นและกระตุ้นให้คนเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้น ในการ ศึกษาก�ำหนดปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค ได้แก่ เพศ สถานะ อายุ และรายได้ ส่ วนพฤติกรรมที่ส�ำรวจประกอบด้วย ราคาที่ผู้บริโภค เต็มใจจ่าย ความถี่ ช่วงเวลาการใช้บริการ เหตุผลในการเลือกรับประทาน อาหารทีร่ า้ น ปัจจัยในการเลือกร้านอาหาร บุคคลทีร่ ว่ มโต๊ะอาหาร โปรโมชัน ่ ่ ผลข้อมูลสถิติตามทีก และช่องการรับรู้ข่าวสาร ซึง ่ ล่าวมาจะน�ำไปสร้างแบบ ( 100 )


OBELS OUTLOOK 2017

จ�ำลองทางธุรกิจ (Business Canvas) โดยเน้นในส่วนของการสร้างมูลค่า สินค้าและบริการเป็นหลัก

ผลการศึกษาปรากฏว่า ความต่างด้านเพศสภาพมีผลในต่อความ

่ เพศชายมีความเต็มใจจ่าย เต็มใจจ่ายและความถีใ่ นการทานอาหารทีร่ า้ น ซึง ในราคาทีส ่ ูงกว่าเพศหญิง และรับประทานอาหารทีร่ า้ นบ่อยกว่า แต่ในประเภท อาหารทานเล่นเพศหญิงมีความชื่นชอบมากกว่าเพศชายอย่างชัดเจน ั จัยในการเลือกร้านอาหารส่ วนใหญ่ผู้หญิงได้ให้ความส� ำคัญใน ขณะที่ปจ ด้านคุณภาพของอาหารมากทีส ่ ุ ด แต่ผู้ชายจะให้ความส�ำคัญในเรือ ่ งความ อร่ อ ยในอั น ดั บ แรก ในเรื่อ งปัจ จั ย ของอายุ แ สดงให้ เ ห็ น เด่ น ชั ด ในกลุ่ ม ผู้สูงอายุจะเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านน้อยลง และเลือกทานอาหาร ทีร่ า้ นเฉพาะในช่วงกลางวัน ขณะเดียวกันกลุม ่ ช่วงอายุอน ื่ เลือกรับประทาน ในช่วงเย็น ส่ วนอาหารที่กลุ่มผู้สูงอายุชื่นชอบคืออาหารทางภาคเหนื อ เนื่องจากเป็นอาหารท้องถิ่น ส� ำหรับกลุ่มวัยรุ่นถึงวัยกลางคน ส่ วนใหญ่ มีความชอบอาหารทีค ่ ล้ายกัน ส่ วนใหญ่ชอบจานเดียวมากกว่าอาหารต่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม กลุ่มอาหารต่างประเทศทีไ่ ด้รับความนิยมมากทีส ่ ุด คือ อาหารญี่ปุ่น ในการสร้างมูลค่าสิ นค้าและการบริการควรเป็นร้านที่ให้ ความรูส ้ ึกสบาย บรรยากาศดี เหมาะแก่การพูดคุยสนทนา และต้องให้ความ ส�ำคัญต่อคุณภาพร้านในเรือ ่ ง ความสะอาด ความปลอดภัยของอาหาร และ รสชาติอาหารที่อร่อย ซึ่งจะสร้างความประทับใจแก่ลูกค้าเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ราคาอาหารควรมีความเหมาะสม จึงจะสร้างความพอใจให้แก่ ลูกค้า เนื่องจากกลุม ่ ลูกค้ามีความเต็มใจจ่ายในราคาทีไ่ ม่สูงนัก

้ ะกล่าวถึงกรอบแนวคิดแคนวาสโมเดล โดยภาพรวม บทความเรือ ่ งนีจ

ในส่ วนที่สอง ส่ วนที่สามจะอธิบายถึงขั้นตอนและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ส่ วนที่สี่จะแสดงผลข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภคตามปัจจัย อายุ เพศ และรายได้ รวมทัง ้ การสร้างกลยุทธ์ส�ำหรับร้านอาหารตามหลัก แคนวาส ( 101 )


OBELS OUTLOOK 2017

2. กรอบแนวคิดงานวิจัย

โมเดลของแคนวาส (Business Model Canvas) เป็นอีกเครือ ่ งมือ

ทีใ่ ช้วิเคราะห์โครงสร้างธุรกิจทีค ่ รอบคลุมตัง ้ แต่สร้างกลยุทธ์ทางการตลาด จนถึงการวิเคราะห์ตน ้ ทุนด้านการผลิต ซึง่ บทความนีใ้ ห้ความส�ำคัญในแง่มม ุ การสร้างมูลค่าแก่สินค้าและบริการ (value proposition)

2.1 การวิเคราะห์เชิงมูลค่าสิ นค้าและบริการ

เป็นการก�ำหนดรูปแบบการบริการ และรายการอาหารที่ตอบสนอง

ต่อความต้องการของผู้บริโภคในอ�ำเภอเชียงของ หลักการสร้างมูลค่าการ บริการและสิ นค้าประกอบด้วย การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคจากการ สั งเกตดังต่อไปนี้ เหตุผลที่ลูกค้าเลือกรับประทานอาหารที่ร้านมากกว่าที่ บ้าน (customer jobs) อะไรคือความคาดหวังของลูกค้า (Gain) และอะไร คือสิ่งทีท ่ �ำให้ลูกค้าผิดหวัง (Pain) เมือ ่ รวมทุกองค์ประกอบเข้าด้วยกันจึง เรียกว่า ‘พฤติกรรมการบริโภคของลูกค้า (customer profile)’ ซึ่งน�ำไป ประยุกต์ใช้ในการสร้างกลยุทธ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสิ นค้าและบริการ (Product or Service) โดยการพัฒนาสิ นค้าและบริการให้เป็นไปตามต้องการของ ผู้บริโภค รวมทัง ้ ปรับปรุงในส่วนทีผ ่ ู้บริโภคไม่พึงพอใจ (Pain Relievers) ่ กลยุทธ์การสร้าง และสร้างความประทับใจแก่ผู้บริโภค (Gain Creators) ซึง มูลค่าส�ำหรับสิ นค้าและบริการทีป ่ ระสบความส�ำเร็จต้องมีความสอดคล้อง กับพฤติกรรมการบริโภค

ในส่วนของแคนวาสโมเดล เป็นโมเดลทีม ่ ีความเชือ ่ มโยงวัฏจักรทาง

ธุ ร กิ จ ทั้ง ด้ า นความต้ อ งการสิ น ค้ า และการบริ ห ารจั ด การด้ า นการผลิ ต ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบหลัก อย่างไรก็ตาม บทความชิน ้ นี้ให้ความ ส� ำ คั ญ ในด้ า นพฤติ ก รรมการบริ โ ภคและการเลื อ กร้ า นอาหารในอ� ำ เภอ เชียงของ จึงให้ความส�ำคัญใน 5 องค์ประกอบดังต่อไปนี้

( 102 )


OBELS OUTLOOK 2017

1) กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ก�ำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

เพือ ่ วางกลยุทธ์ในด้านการบริการทีต ่ รงต่อความต้องการของกลุ่ม ่ วิเคราะห์จากพฤติกรรมของผูบ ดังกล่าว ซึง ้ ริโภคจากการเก็บแบบ สอบถาม

2) คุณค่าสินค้า/บริการ (Value Propositions) การสร้างรูปแบบการ

บริการและรายการอาหารทีส ่ อดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภค

3) ความสั มพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships) การสร้าง

ความสั มพันธ์กับลูกค้าให้เกิดความประทับใจด้านการบริการและ สิ นค้า เพือ ่ ให้ผู้บริโภคกลับมาใช้บริการในครัง ้ ต่อๆไป

4) ช่องทางการเข้าถึงลูกค้า (Channels) ช่องทางการประชาสัมพันธ์

สินค้า รวมทัง้ วิธก ี ารส่งมอบสินค้าและบริการในรูปแบบต่างๆ ตาม ความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

5) รายได้หลัก (Revenue Streams) ให้ความส�ำคัญในเรือ ่ งการตัง ้

เป้าหมายรายได้โดยค�ำนึงถึงราคาทีเ่ หมาะสมกับความเต็มใจจ่าย ของผู้บริโภค โดย 5 องค์ประกอบทีก ่ ล่าวมาข้างต้นสังเคราะห์ร่วมกันจะน�ำไปสู่ แผนกลยุทธ์ในการสร้างมูลค่าการบริการ และสิ นค้าที่ตอบโจทย์ในเรื่อง การสร้างการบริการอย่างไรให้ลก ู ค้าเกิดความประทับใจและกลับมาใช้บริการ ในครัง ้ ต่อๆไป

3. ระเบียบวิธีวิจัย

ในการศึ กษานี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ การศึ กษาพฤติกรรมของผู้

บริโภคต่อการเลือกรับประทานอาหารนอกบ้าน และการสร้างกลยุทธ์ด้าน การตลาดจากการสั งเกตพฤติกรรมของผู้บริโภค

3.1 ประชากรและกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง ลั ก ษณะการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล

พฤติกรรมการบริโภคภาคธุรกิจร้านอาหาร ในรูปแบบของข้อมูลปฐมภูมิ ( 103 )


OBELS OUTLOOK 2017

ซึง่ รวบรวมข้อมูลจาการเก็บแบบสอบถาม ภายใต้กลุม ่ ตัวอย่างจ�ำนวน 100 คน ภายในอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ ด้วยแบบสอบถาม สามารถแบ่งการ

วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 คือ การวิเคราะห์ขอ ้ มูลส่วนบุคคล แยกเพศ อายุ และรายได้

ของกลุ่มผู้บริโภคในอ�ำเภอเชียงของ

ส่ วนที่ 2 คือ การวิเคราะห์อ�ำนาจในการของผู้บริโภค และราคาที่

ผู้บริโภคเต็มใจจ่าย

ส่ วนที่ 3 คือ การวิเคราะห์พฤติกรรมของบริโภค โดยแบ่งออกเป็น

ความถี่ ช่วงเวลา ประเภทอาหาร ปัจจัยการเลือกร้านอาหาร ปัจจัยการรับ ประทานอาหารนอกบ้าน บุคคลผู้ร่วมรับประทานอาหาร กิจกรรมส่งเสริม การขาย และด้านการรับรู้ข่าวสาร

โดยมีวิธีการประเมินแบบสอบถามใน 3 ลักษณะ ได้แก่ (1) การวัด

ข้อมูลแบบประเภทช่วงตัวเลข ได้แก่ อายุ รายได้ของผู้บริโภค ความถีใ่ น การใช้บริการ (2) การวัดข้อมูลแบบประเภทตัวแปรหุ่น ได้แก่ เพศ ประเภท อาหารทีช ่ น ื่ ชอบและบุคคลทีร่ ่วมรับประทานอาหาร และ (3) การวัดข้อมูล แบบประเภทเรียงล�ำดับ ได้แก่ ปัจจัยการเลือกร้านอาหาร ปัจจัยการรับ ประทานอาหารนอกบ้าน การรับรู้ข่าวสาร และช่องทางการส่งเสริมการขาย โดยลักษณะค�ำถามเป็นรูปแบบค�ำตอบปลายปิดที่มีหลากหลายตัวเลือก และให้ผู้ตอบแบบสอบถามเรียงล�ำดับความส�ำคัญ 3 อันดับ ได้แก่ มาก ปานกลาง และน้อย

3.3 การวิเคราะห์ขอ ้ มูลเชิงสถิติ การวิเคราะห์มล ู เชิงสถิติ เพือ ่ หาความ

น่าจะเป็นและพยากรณ์พฤติกรรมการบริโภคในแต่ละกลุ่ม โดยใช้ค่าสถิติ เชิงพรรณนา และตารางสองทาง (Cross tabulation) เพือ ่ แสดงความ ้ ไป ซึง ่ ในงานวิจัยชิน สั มพันธ์ส�ำหรับตัวแปรตัง ้ แต่สองตัวขึน ้ นี้ศึกษาความ สั มพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้บริโภคในแต่ละประเภท และพฤติกรรมการบริโภค ( 104 )


OBELS OUTLOOK 2017

เพื่อที่จะได้น�ำผลการศึ กษามาวิเคราะห์และสร้างกลยุทธ์ทางการตลาด ตามหลักการของโมเดลธุรกิจแคนวาส (Business Model Canvas) โดย ปัจจัยทีม ่ ีผลต่อพฤติกรรม ได้แก่ เพศ อายุ และรายได้ และตัวแปรด้าน พฤติกรรมทีจ ่ ะศึกษา ได้แก่ ราคาทีเ่ ต็มใจจ่าย ความถีใ่ นการใช้บริการ ช่วง เวลาในการใช้บริการ ประเภทอาหารทีช ่ น ื่ ชอบ ปัจจัยการเลือกร้านอาหาร เหตุผลทีเ่ ลือกรับประทานอาหารนอกบ้าน การส่ งเสริมการขายและการรับ รู้ข่าวสาร ซึ่งการทดสอบสมมุติฐานแต่ละกลุ่มผู้บริโภคมีพฤติกรรมการ บริโภคเหมือนหรือแตกต่างกัน โดยใช้การทดสอบ t –test ส�ำหรับเปรียบ เทียบค่าเฉลีย ่ ของสองกลุม ่ ตัวอย่าง และการทดสอบความแปรปรวน (One ่ ใช้ส�ำหรับการเปรียบเทียบกลุ่มประชากรทีม Way ANOVA) ซึง ่ ากกว่าสอง ้ ไป กลุ่มตัวอย่างขึน

4. ผลการศึกษา

จากข้อมูลเชิงสถิตข ิ องกลุม ่ ตัวอย่างเป็นกลุม ่ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ

76.1 และเพศชายร้อยละ 23.8 จาการวิเคราะห์ความแปรปรวนไม่พบความ แตกต่างระหว่างเพศและรายได้ แสดงว่าไม่มค ี วามเหลือ ่ มล�ำ้ ทางด้านรายได้ ่ สะท้อนว่ากลุ่มตัวอย่าง และไม่พบความสอดคล้องระหว่างอายุและเพศ ซึง มีการกระจายตัวที่หลากหลาย ส่ วนอายุและรายได้มีความแปรปรวนใน ้ มีความสอดคล้อง ทิศทางเดียวกัน จากข้อมูลทางสถิติ พบว่า อายุเพิม ่ ขึน ้ (ตารางผนวกที่ 1) กับรายได้ทม ี่ ากขึน

4.1 พฤติกรรมการบริโภค ก. ราคาทีเ่ ต็มใจจ่าย

ข้อมูลการส�ำรวจ เมือ ่ แบ่งตามเพศสภาพ (ตารางผนวกที่ 2) แสดง

ให้เห็นว่า เพศหญิงส่ วนใหญ่มีความเต็มใจจ่ายค่าอาหารต่อมื้อในราคา ไม่เกิน 100 บาท ส่ วนเพศชายส่ วนใหญ่รับประทานอาหารครั้งละไม่เกิน ( 105 )


OBELS OUTLOOK 2017

200 บาทต่อมือ ้ ซึง่ อยูใ่ นระดับราคาทีส ่ ูงกว่าเพศหญิง ส�ำหรับการแบ่งแยก กลุ่มผู้บริโภคตามอายุ (ตารางผนวกที่ 3) พบว่ากลุ่มช่วงอายุมากกว่า 30 ปี ้ ไป ผู้บริโภคมีความเต็มใจจ่ายค่าอาหารทีห ้ อย่างไร ขึน ่ ลากหลายมากขึน ก็ตาม อัตราราคาไม่เกิน 100 บาท ยังคงมีสัดส่ วนสูงในช่วงอายุต�่ำกว่า 20 ปี ส่วนช่วงอายุ 20 ปีขน ึ้ ไป แต่ไม่เกิน 29 ปี เต็มใจจ่ายในราคาไม่เกิน 200 บาท ขณะทีผ ่ ู้ใหญ่ ช่วงอายุ 30 - 49 ปี มีสัดส่ วนทีจ ่ ่ายในราคาไม่ เกิน 100 บาท และราคาทีไ่ ม่เกิน 300 บาท ค่อนข้างใกล้เคียงกัน และ ราคาทีม ่ ากว่า 301 บาท เป็นสัดส่วนทีผ ่ บ ู้ ริโภคให้ความเต็มใจจ่ายในระดับ ต�่ำทีส ่ ุด

ด้านปัจจัยด้านรายได้ (ตารางผนวกที่ 4) ผู้บริโภคส่วนใหญ่ทไี่ ม่มี

รายได้ หรือมีรายได้น้อยจะเต็มใจจ่ายค่าอาหารในราคาทีไ่ ม่เกิน 100 บาท อย่างเห็นได้ชัด ส่วนกรณีทรี่ ายได้ตง ั้ แต่ 10,000 - 20,000 บาท มีความ

ต้องการในการจ่ายค่าอาหารไม่เกิน 200 บาท ขณะเดียวกัน กลุ่มทีม ่ ีราย

ได้เฉลี่ยตั้งแต่ 20,000 - 30,000 มีความเต็มใจจ่ายค่าอาหารไม่เกิน

300 บาท ส่ วนกลุ่มทีม ่ ีรายได้เฉลีย ่ สู งกว่า 30,000 บาท มีความเต็มใจ จ่ายค่าอาหารทีไ่ ม่เกิน 100 บาท

สรุปโดยภาพรวม กล่าวได้ว่าผู้บริโภคในอ�ำเภอเชียงของส่ วนใหญ่

ต้องการทีจ ่ ะจ่ายค่าอาหารในราคาทีไ่ ม่เกิน 100 บาท โดยเพศหญิงมีความ ้ มีความ ต้องการจ่ายค่าอาหารน้อยกว่าเพศชาย ทัง ้ นี้ กลุ่มช่วงอายุทม ี่ ากขึน

สั มพันธ์ต่อความเต็มใจจ่ายค่าอาหารที่สูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มอายุตั้งแต่

30 - 50 ปี ซึ่งสอดคล้องกับรายได้ที่เพิ่มขึ้นส่ งผลให้มีอ�ำนาจในการการ ้ อย่างไรก็ตาม ช่วงอายุตง ซือ ้ ทีเ่ พิม ั้ แต่ 50 ปีขน ึ้ ไป มีความต้องการจ่าย ่ ขึน ค่าอาหารน้อยกว่ากลุ่มช่วงอายุ 30 - 50 ปี

ข. ความถีใ่ นการใช้บริการ

จากข้อมูลทางสถิติ (ตารางผนวกที่ 5) ส่วนใหญ่เพศชายและเพศหญิง

เลือกรับประทานอาหารนอกบ้านประมาณ 3 - 4 ครั้งต่อเดือน สรุปได้ว่า ( 106 )


OBELS OUTLOOK 2017

ผู้บริโภคอ�ำเภอเชียงของส่ วนใหญ่ไปรับประทานอาหารที่ร้านอาหารเฉลี่ย

สั ปดาห์ละ 1 ครัง ้ ต่อสั ปดาห์ แสดงว่าวัฒนธรรมการรับประทานอาหารที่ ร้านอาหารยังไม่เป็นทีน ่ ิยมมากนัก ส่ วนใหญ่ทจ ี่ ะเลือกรับประทานอาหาร ทีบ ่ ้านมากกว่า

ช่วงอายุต�่ำกว่า 20 ปี อายุ 20-29 ปี และ 30-39 ปี ส่ วนใหญ่ใช้

บริการร้านอาหารไม่เกิน 4 ครัง้ ต่อเดือน ส่วนช่วงอายุ 40-49 ปี มีแนวโน้ม

่ มากกว่ากลุ่มช่วงอายุ ทีจ ่ ะใช้บริการร้านอาหารมากกว่า 6 ครัง ้ ต่อเดือน ซึง ้ ไปส่ วนใหญ่ใช้ อืน ่ ๆอย่างเห็นได้ชัด ขณะทีก ่ ลุ่มทีม ่ ีอายุมากกว่า 50 ปีขึน

บริการร้านอาหารไม่เกิน 2 ครัง ้ ต่อสั ปดาห์ สะท้อนให้เห็นว่าช่วงอายุของผู้

้ ส่ งผลต่อการเลือกรับประทานอาหารทีร่ ้านน้อยลง (ตาราง บริโภคทีม ่ ากขึน ผนวกที่ 6)

ส� ำหรับความส� ำคัญระหว่างด้านรายได้และความถี่ในการใช้บริการ

(ตารางผนวกที่ 7) พบว่า ความถีม ่ ีความสอดคล้องต่อรายได้ในระดับน้อย อย่างมาก ในกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้น้อย (ต�่ำกว่า 5,000 บาท) พบว่ามี

ความถีใ่ นการใช้บริการร้านอาหารไม่เกิน 4 ครัง ้ ต่อเดือน ส่วนรายได้ตง ั้ แต่ 5,000 บาท - 10,000 บาท ใช้บริการไม่เกิน 2 ครัง ้ ต่อเดือน ทัง ้ นี้กลุ่มผู้ ้ ไป มีสัดส่วนการใช้บริการไม่เกิน 4 ครัง มีรายได้ตง ั้ แต่ 10,000 บาท ขึน ้

้ ท�ำให้ความถีใ่ นการ ต่อเดือน อย่างไรก็ตาม เมือ ่ สั ดส่วนรายได้เพิม ่ มากขึน ้ เช่นกัน หากไม่ค�ำนึงถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ต�่ำกว่า ใช้บริการเพิ่มมากขึน 5,000 บาท เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นกลุ่มนักศึกษามีความยืดหยุ่นด้านราย รับสูง จึงท�ำให้การแปรผลมีความคลาดเคลือ ่ น

จากข้อมูลสามารถสรุปได้ว่า โดยภาพรวมส่ วนใหญ่ความถี่ในการ

่ ผู้ชายมีแนวโน้ม เลือกทานอาหารทีร่ ้านประมาณไม่เกิน 4 ครัง ้ ต่อเดือน ซึง

ทีจ ่ ะรับประทานอาหารทีร่ ้านบ่อยกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ โอกาสทีผ ่ ู้บริโภค ้ ตามการผันแปรของอายุ ในอ�ำเภอเชียงของจะใช้บริการร้านอาหารเพิ่มขึน

้ อย่างไรก็ตาม ความถีใ่ นการเข้าร้านอาหารลดลงใน และรายได้ทม ี่ ากขึน กลุ่มผู้บริโภคตัง ้ แต่ช่วงอายุ 50 ปีขน ึ้ ไป ( 107 )


OBELS OUTLOOK 2017

ค. การเข้ารับบริการ

จากข้อมูลผลการส�ำรวจ (ตารางผนวกที่ 8) พบว่าเพศหญิงเลือกที่

จะรับประทานอาหารช่วงเย็นมากทีส ่ ุด คิดเป็นร้อยละ 53.3 ส่วนเพศชาย เลือกรับประทานอาหารช่วงกลางวัน และช่วงเย็น คิดเป็นร้อยละ 43.5 และ 47.8 ตามล�ำดับ

ในส่วนปัจจัยทางด้านอายุ (ตารางผนวกที่ 9) พบว่ากลุ่มผู้บริโภครับ

ประทานอาหารนอกบ้านช่วงเวลาเย็นเกือบทุกช่วงอายุ ขณะทีช ่ ว่ งอายุ 60 ปี ้ ไป ส่วนใหญ่เลือกรับประทานอาหารทีร่ ้านในช่วงกลางวัน ส่วนช่วงเช้ามี ขึน สัดส่วนทีน ่ ้อยกว่าช่วงเวลาอืน ่ และผูบ ้ ริโภคส่วนใหญ่ทเี่ ลือกคือกลุม ่ นักเรียน นักศึกษา (อายุต�่ำกว่า 20 ปี)

ผู้บริโภคในทุกช่วงของรายได้เลือกช่วงเวลาเย็นในการทานอาหาร

ที่ร้านเหมือนปัจจัยด้านอื่น แต่หากวิเคราะห์ในช่วงค�่ำพบว่ารายได้มาก ้ ไป) และรายได้น้อย (ต�่ำกว่า 5,000 บาท) มีแนวโน้มที่ (30,000 บาท ขึน จะรับประทานอาหารในช่วงค�ำ่ มากกว่ารายได้ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 40 และ 25 ตามล�ำดับ (ตารางผนวกที่ 10)

ง. ประเภทอาหาร

หมวดประเภทอาหารไทย สามารถจัดอันดับความชอบของเพศ ได้ดังนี้

ประเภทอาหารทีเ่ พศหญิงชืน ่ ชอบ อันดับทีห ่ นึ่ง คือ อาหารจานเดียว อันดับ ที่สอง คือ อาหารเหนื อ ส่ วนอาหารใต้ได้รับความนิ ยมน้ อยที่สุด ส� ำหรับ เพศชาย ประเภทอาหารทีช ่ น ื่ ชอบมากทีส ่ ุดมี 2 ประเภท คือ อาหารจานเดียว และอาหารเหนือ ส่วนอาหารทานเล่นเป็นประเภททีเ่ พศชายเลือกน้อยทีส ่ ุด แต่เป็นทีช ่ น ื่ ชอบส�ำหรับเพศหญิงในอันดับทีส ่ าม (ตารางผนวกที่ 11)

ส�ำหรับการจ�ำแนกผูบ ้ ริโภคตามประเภทอายุ แสดงผลสอดคล้องกับ

ปัจจัยด้านเพศ พบว่าแนวโน้มการเลือกรับประทานอาหารจานเดียวสู งใน เกือบทุกช่วงอายุ แต่ชว่ งอายุไม่เกิน 29 ปี มีสัดส่วนการเลือกอาหารจานเดียว ( 108 )


OBELS OUTLOOK 2017

มากทีส ่ ุด ตรงกันข้ามกับกลุม ่ อายุทม ี่ ากกว่า 50 ปี มีแนวโน้มชืน ่ ชอบอาหาร เหนือมากกว่ากลุ่มอืน ่ ๆ นอกจากนั้น แนวโน้มกลุ่มทีช ่ น ื่ ชอบรสชาติอาหาร ทีแ ่ ปลกใหม่อย่างอาหารประเภทฟิวชัน ่ และอาหารทานเล่น คือ ช่วงอายุ ระหว่าง 20 - 49 ปี ส่ วนปัจจัยด้านทางด้านรายได้ไม่มีนัยส�ำคัญต่อหมวด อาหารไทยมากนั ก แต่กลับมีผลในประเภทอาหารต่างประเทศมากกว่า (ตารางผนวกที่ 12)

นอกจากนี้ ในหมวดอาหารต่างประเทศ พบว่าโดยภาพรวมผู้บริโภค

ในอ�ำเภอเชียงของส่วนใหญ่ยังไม่นิยมรับประทานอาหารต่างประเทศ โดย เฉพาะในเพศชาย ทัง ้ นี้ เพศหญิง และเพศชายมีความชืน ่ ชอบอาหารญีป ่ ่ ุน มากทีส ่ ุ ด อย่างไรก็ตาม อาหารประเภทพิชซ่า เพศหญิงจะชืน ่ ชอบมากกว่า เพศชาย ส่วนการเลือกรับประทานอาหารจีน ระหว่างเพศชายและเพศหญิง มีความชืน ่ ชอบทีใ่ กล้เคียงกัน ขณะทีแ ่ ฮมเบอร์เกอร์เพศชายชอบมากกว่า เพศหญิง (ตารางผนวกที่ 13)

จากข้อมูลด้านอายุ พบว่ากลุ่มช่วงอายุทช ี่ น ื่ ชอบรับประทานอาหาร

ต่างประเทศ คือ ช่วงวัยรุ่นจนถึงอายุไม่เกิน 50 ปี อาหารญีป ่ ่น ุ ได้รับความ นิ ยมมากที่สุดในทุกช่วงอายุ ส่ วนอาหารจีนได้รับความนิ ยมในช่วงอายุ 20 - 29 ปี และมากกว่า 60 ปี (ตารางผนวกที่ 14)

ส�ำหรับปัจจัยด้านรายได้สะท้อนให้เห็นว่าเมือ ่ ผู้บริโภคมีรายได้สูงมี

แนวโน้มรับประทานอาหารต่างประเทศสู งกว่ารายได้กลุ่มอืน ่ ๆ โดยเฉพาะ ่ ในประเภทอาหารญีป ่ ุ่นและอาหารจีน อย่างไรก็ตาม กลุ่มทีร่ ายได้ไม่สูง ซึง ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มนักเรียนนักศึกษาตามข้อสรุปของปัจจัยด้านอายุ จึงส่ง ผลให้ค่าร้อยละการรับประทานอาหารต่างประเทศสู งเทียบเท่ากับกลุ่มที่มี รายได้สูง (ตารางผนวกที่ 15)

( 109 )


OBELS OUTLOOK 2017

จ. ปัจจัยในการเลือกร้านอาหาร

จากการส�ำรวจ พบว่าปัจจัยพฤติกรรมการเลือกร้านอาหารทีส ่ �ำคัญ

ประกอบด้วย คุณภาพ ความสะอาด ความอร่อย บรรยากาศ การเดินทาง ั จัยข้างต้นตามเพศ (ตารางผนวกที่ 16) และการให้บริการ เมือ ่ วิเคราะห์ปจ แสดงให้เห็นว่าเพศหญิงให้ความส�ำคัญกับคุณภาพอาหารเป็นอันดับทีห ่ นึ่ง และความอร่อยในอันดับที่สอง ส่ วนความสะอาดในอันดับที่สาม และให้ ความส� ำคัญในด้านการเดินทางและบรรยากาศของร้านในอันดับสุ ดท้าย ส่ วนเพศชายให้ความส�ำคัญในด้านความอร่อยมากทีส ่ ุ ด ความสะอาดใน อันดับทีส ่ อง คุณภาพอาหารในอันดับทีส ่ าม และให้ความส�ำคัญด้านการ เดินทาง และการให้บริการในอันดับสุ ดท้ายเช่นเดียวกับเพศหญิง ส่ วน ปัจจัยด้านอายุพบความส� ำคัญด้านความสะอาดที่แตกต่างกันอย่างน้ อย สองกลุ่มช่วงอายุซง ึ่ อธิบายในหัวข้อความแปรปรวน

อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากตารางที่ 17 พบว่า ปัจจัยทีส ่ นับสนุนให้คน

ทานข้าวนอกบ้านมากทีส ่ ุ ด คือ การผ่อนคลาย อาทิ การรับประทานอาหาร ร่วมกับครอบครัวหรือเพือ ่ น ส่วนการสังสรรค์อยูใ่ นอันดับทีส ่ อง เมือ ่ วิเคราะห์ โดยการแยกเพศพบว่าเพศชายส่ วนใหญ่เลือกการสั งสรรค์กับเพื่อนใน อันดับที่หนึ่ ง คิดเป็นร้อยละ 75 มากกว่าเพศหญิงที่เลือกการสั งสรรค์ เพียงร้อยละ 47.2 ส่ วนเพศหญิงจะเลือกไปร้านอาหารเนื่องจากต้องการ ความผ่อนคลาย หรือรับประทานอาหารร่วมกับครอบครัวมากกว่าเพศชาย ที่ร้ อ ยละ 42.6 ส่ ว นเพศชายเลื อ กเป็น อั น ดั บ สองคิ ด เป็น ร้ อ ยละ 53.3 มากกว่านี้ ผู้หญิงมีความต้องการถ่ายรูปและเช็คอินมากกว่าเพศชาย

ฉ. บุคคลร่วมโต๊ะอาหาร

ข้อมูลทางสถิติพบว่า เพศหญิงและเพศชายเลือกที่จะรับประทาน

อาหารร่วมกับเพือ ่ นและครอบครัวมากทีส ่ ุ ด เมือ ่ แบ่งกลุ่มประเภทผู้บริโภค ตามอายุ แสดงให้เห็นว่า ช่วงอายุต�่ำกว่า 20 - 29 ปี มีแนวโน้มทีจ ่ ะเลือก ( 110 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ ไป เลือกที่ ทานอาหารกับเพือ ่ นสู งกว่าช่วงอายุอน ื่ ส่ วนกลุ่มอายุ 40 ปี ขึน จะไปร้านอาหารกับครอบครัวมากกว่า ส่ วนช่วงอายุตั้งแต่ 20 - 39 ปี มี แนวโน้มเลือกทานอาหารร่วมกับคนรักมากทีส ่ ุด (ตารางผนวกที่ 18 และ 19)

ช. ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร

ตัวแปรทีส ่ �ำคัญในด้านการรับรู้ข่าวสาร อันดับทีห ่ นึ่ง คือ การรับรู้

ข่าวสารผ่าน Facebook ส่ วนโทรทัศน์ถูกเลือกเป็นอันดับที่ 2 และป้าย โฆษณา อยูใ่ นอันดับทีส ่ าม อย่างไรก็ตาม วารสาร วิทยุ และ Twitter อยูใ่ น อันดับทีน ่ ้อยทีส ่ ุด เมือ ่ วิเคราะห์ตามเพศ พบว่าเพศหญิงมีสัดส่วนการรับรู้ ข่าวสารผ่านทาง Facebook มากกว่าเพศชาย

ปัจจัยด้านอายุแสดงให้เห็นว่าเกือบทุกช่วงอายุเลือกรับรู้ข่าวสาร

ผ่านทาง Facebook ยกเว้นกลุ่มช่วงอายุมากกว่า 60 ปี ส่วนทางโทรทัศน์ เป็นทีน ่ ิยมของกลุ่มช่วงอายุระหว่าง 30 - 39 ปี และ 50 - 59 ปี อย่างไร ก็ตาม สื่อประเภทหนังสือพิมพ์ และวิทยุมีผลต่อการรับรู้ข่าวสารในกลุ่มอายุ ตัง้ แต่ 40 ปี เป็นต้นไป และสุดท้ายป้ายโฆษณามีผลต่อกลุม ่ อายุ 30 - 39 ปี มากทีส ่ ุ ด แต่ไม่มีผลต่อกลุ่มอายุต�่ำกว่า 20 ปี และมากกว่า 60 ปี (ตาราง ผนวกที่ 20 และ 21)

ซ. ช่องทางการส่ งเสริมการขาย

การลดราคาเป็นกลยุทธ์ในการส่งเสริมการขายทีด ่ ง ึ ดูดผูบ ้ ริโภคมาก

ทีส ่ ุดทีร่ อ ้ ยละ 82.2 ขณะทีก ่ ารเป็นสมาชิก การสะสมแต้ม และการแจกของ แทบจะไม่ดึงดูดความสนใจจากผู้บริโภค เพราะการลดราคาท�ำให้ผู้บริโภค มีต้นทุนในการจ่ายค่าบริการน้อยลง จึงสร้างแรงจูงใจให้แก่ลูกค้ามากกว่า รูปแบบการส่งเสริมการค้าอืน ่ ๆ (ตารางผนวกที่ 22)

( 111 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของพฤติกรรมในการบริโภค

ปัจจัยแปรปรวนในพฤติกรรมการบริโภค เมือ ่ พิจารณาด้านเพศสภาพ

(ตารางผนวกที่ 23) แสดงให้เห็นว่าความแตกต่างระหว่างด้านเพศมีผล ่ สอดคล้องกับข้อมูล ต่อการเลือกรับประทานพิซซ่าและอาหารทานเล่น ซึง ทางสถิติที่แสดงให้เห็นว่าเพศหญิงมีความชื่นชอบพิซซ่าและอาหารทาน เล่นมากกว่าเพศชาย ในส่วนปัจจัยด้านอายุ (ตารางผนวกที่ 24) แสดงให้ เห็นว่าความแตกต่างระหว่างช่วงอายุมีความผลต่อการเลือกซือ ้ พิซซ่า โดย กลุ่มอายุน้อยมีโอกาสชอบพิซซ่ามากกว่ากลุ่มผู้สูงวัย นอกจากนี้ ความ แตกต่างด้านอายุยังมีผลต่อการรับรู้ข่าวสารผ่านช่องทางโทรทัศน์ และ Facebook อย่างมีนัยส� ำคัญ จากข้อมูลทางสถิติพบว่าช่วงกลุ่มช่วงอายุ 30 - 39 ปี และ 50 - 59 ปี มีความชื่นชอบในการดูโทรทัศน์ มากว่าช่วง กลุ่มอายุอน ื่ และกลุ่มช่วงอายุมากกว่า 60 ปี แทบไม่นิยมรับรู้ข่าวสารจาก Facebook จึงท�ำให้ค่าความแปรปรวนแตกต่างจากกลุ่มอื่นมาก ฉะนั้น ความแปรปรวนในพฤติกรรมการบริโภค เมือ ่ พิจารณาจากรายได้ในตาราง ผนวกที่ 25 และ 26 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มที่มีรายได้สูงส่ วนใหญ่เลือกรับ ่ ตรงกันข้ามกับผลส�ำรวจของกลุ่มราย ประทานอาหารร่วมกับครอบครัว ซึง ได้ต�่ำทีเ่ ลือกครอบครัวในสั ดส่ วนทีน ่ ้อยมาก 4.1 การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

4.1.1 การจ�ำแนกพฤติกรรมของผู้บริโภค

การจ�ำแนกพฤติกรรมของผูบ ้ ริโภคโดยภาพรวม (Customer Profile)

แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคเลือกที่จะรับประทานอาหารนอกบ้านเนื่ องจาก ต้องการผ่อนคลาย การสั งสรรค์ และไม่รู้จะไปที่ไหนเป็นเหตุผลหลัก ใน ขณะทีผ ่ บ ู้ ริโภคให้ความส�ำคัญมากในเรือ ่ งคุณภาพของอาหาร ความสะอาด ของร้าน และอาหารที่มีรสชาติอร่อย ส่ วนสิ่ งที่ท�ำให้ผู้บริโภครู้สึกผิดหวัง กับการบริการได้แก่ รสชาติอาหารที่ไม่อร่อย ใช้เวลาประกอบอาหารนาน ( 112 )


OBELS OUTLOOK 2017

พบวัตถุแปลกปลอมในอาหาร เมนูอาหารไม่หลากหลาย ราคาไม่เหมาะกับ คุณภาพของร้าน และขาดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า อาทิ สั ญญาณ อินเตอร์เน็ต การไม่มีทจ ี่ อดรถ (รูปที่ 1) Customer Jobs

รู้จักเจ้าของร้าน

ไม่อยากท�ำอาหาร

พบปะลูกค้า

ผ่อนคลาย

สังสรรค์

ไม่รู้จะไปไหน

Gains

ถ่ายรูป/เช็คอิน

ไม่ชอบอยู่บ้าน

อาหารมีความหลากหลาย บรรยากาศนั่งสบาย อาหารมีคุณภาพ

มีส่วนลด

ต�ำแหน่งร้านยาก

เปิดปิดตรงเวลา

อาหารสะาด

ตกแต่งสวยงาม มีมุมสวยๆถ่ายรูป อาหารแบบบุฟเฟต์ มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก

อาหารไม่อร่อย

เมนูไม่หลากหลาย ไม่มีทจ ี่ อดรถ

นักงานบริการดี

มีเมนูพิเศษประจ�ำบ้าน

Pains

รออาหารนาน

ห้องน�้ำไม่สะอาด

โต๊ะไม่เพียงพอ

อาหารทีไ่ ด้รับไม่ตรงกับเมนูทส ี ่ ั่ ง พบสิ่งแปลกปลอมในอาหาร ราคาแพง พนักงานไม่สุภาพ

รูปที่ 1 กรอบแนวคิด Customer Profile

( 113 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.1.2 การการสร้างมูลค่าสิ นค้าและบริการ

จากการจ�ำแนกพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ ท�ำให้สามารถออกแบบ

กลยุทธ์ในการสร้างมูลค่าสิ นค้าและบริการ (Value Proposition) (ดังรูป ที่ 2) ได้ดังนี้ Gain Creators

-เพิม ่ เมนูให้มีความหลากหลายหรือคิดค้นเมนูใหม่ - ตกแต่งร้านให้ลูกค้ารู้สึกถึงบรรยากาศสบายๆ เหมาะแก่การ ทานอาหารร่วมกับครอบครัวหรือสั งสรรค์กับเพือ ่ น - มีโปรโมชัน ่ ลดราคา - มีมุมนั่งถ่ายรูป

Products & Service

- รสชาติอาหารอร่อยและควรมีระดับรสฃาติให้ผู้บริโภคเลือก เช่น ระดับความเผ็ด - สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เช่น อินเตอร์เน็ต และทีจ ่ อดรถ

รายการอาหารทีม ่ ีลักษณะเฉพาะ ของร้านและรายการอาหารทัว่ ไปทีเ่ หมาะ ส�ำหรับทุกเพศทุกวัย รวมทัง ้ รายการ อาหารทีเ่ หมาะสมกับการสังสรรค์

Pain Relievers

- บริการรับสั่งอาหารและจองโต๊ะ - เปิดช่องทางการแสดงความคิดเห็นส�ำหรับรายการอาหาร ทีล ่ ูกค้าชืน ่ ชอบ - แสดงต�ำแหน่งของร้านบนช่องทางออนไลน์ เช่น ใน Goole map - ตรวจสอบคุณภาพอาหารก่อนเสิ ร์ฟให้แก่ลูกค้า - รักษาความสะอาดภายในบ้าน โดยเฉพาะห้องน�้ำ

รูปที่ 2 กรอบแนวคิด Value Proposition

1) การออกแบบตกแต่งร้าน ควรเอื้อต่อการสร้างบรรยากาศที่ให้

ความรู้สึกผ่อนคลายและน่าสังสรรค์ส�ำหรับครอบครัวหรือเพือ ่ นเพือ ่ ดึงดูด ลูกค้าให้มาใช้บริการ โดยอ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าในเรื่องสั ญญาณ อินเตอร์เน็ ต จ�ำนวนโต๊ะอาหารที่เพียงพอ และสถานที่จอดรถที่สะดวก ต่อการเดินทาง

2) การสร้างความประทับใจด้านสิ นค้า หรือรายการอาหาร ควรให้

ความส�ำคัญในเรือ ่ งของการคัดสรรวัตถุดิบในการประกอบอาหาร เพือ ่ ให้ ( 114 )


OBELS OUTLOOK 2017

ลูกค้าเกิดความเชือ ่ มัน ่ และรับประทานอาหารทีป ่ ลอดภัย รวมทัง ้ เน้นความ หลากหลายของเมนู นอกจากนี้การรักษาความสะอาดของร้านมีผลต่อ ความประทับใจในครั้งแรก เนื่องจากเป็นสิ่ งแรกที่ลูกค้าสามารถรับรู้ และ ประเมินได้

3) รสชาติอาหาร ต้องอร่อยและการบริการต้องสร้างความประทับ

ให้ลูกค้า จากการส� ำรวจเชิงสั มภาษณ์ผู้บริโภคในพื้นที่ พบว่า ส่ วนใหญ่ การบริการทีล ่ ูกค้าคาดหวัง คือ การได้รับบริการทีด ่ ีจากพนักงานร้าน โดย กลุม ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญเรือ ่ งมารยาทในการต้อนรับลูกค้า และ การให้บริการทีร่ วดเร็ว

4.1.3 ความเชื่อมโยงระหว่าง Customer profile และ Value

proposition

เมือ ่ น�ำพฤติกรรมของผู้บริโภคจากการจ�ำแนกในรูปที่ 1 มาเชือ ่ มโยง

กับ การออกแบบการสร้ า งมู ล ค่ า สิ น ค้ าและบริก ารในรูป ที่ 2 จะพบความ สัมพันธ์ดังตารางข้างล่างนี้ CUSTOMER JOBS ส�ำคัญมาก

ไม่ค่อยส�ำคัญ

GAINS

1. ผ่อนคลาย

1. คุณภาพอาหาร

2. สั งสรรค์

2. ความสะอาด

3. ไม่รู้จะไปไหน

3. ความอร่อย

4. ถ่ายรูป/เช็คอิน

4. บรรยากาศร้าน

5. รู้จักเจ้าของร้าน

5. การบริการ

6. ไม่ท�ำอาหาร

6. การเดินทาง

7. พบปะลูกค้า

7. ราคาทีเ่ หมาะสม

8. ไม่ชอบอยู่บ้าน

8. รูปลักษณ์อาหาร

( 115 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.1.4 กรอบแนวคิดแบบ BCM

ส่วนของรายงานชิน ่ วข้องกับ ้ นี้น�ำเสนอเฉพาะ 5 องค์ประกอบทีเ่ กีย

ผู้บริโภค ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 กลุม ่ ลูกค้า Customer Segment จากการวิเคราะห์

แบบ Value Proposition แสดงให้เห็นว่ากลุ่มลูกค้าทีเ่ ลือกมาร้านอาหาร เนื่องจากต้องการมาสังสรรค์หรือผ่อนคลายเป็นหลัก เมือ ่ ดูจากข้อมูลทาง สถิติได้ข้อสรุปว่า ส่ วนใหญ่เพศชายเลือกสั งสรรค์กับเพื่อนมากกว่าเพศ หญิงทีจ ่ ะเลือกรับประทานอาหารพร้อมครอบครัวเพือ ่ ผ่อนคลาย

องค์ประกอบที่ 2 Value Proposition ทีต ่ อบโจทย์ลก ู ค้า การตกแต่ง

ร้านให้มีบรรยากาศผ่อนคลาย น่าจะสร้างความสนใจแก่ลูกค้าในอ�ำเภอ เชียงของได้ และเมนูอาหารควรเป็นแบบอาหารจานเดียว หรืออาหารเหนือ หากเป็นประเภทอาหารต่างประเทศ ควรเป็นอาหารญีป ่ ่น ุ ส�ำหรับการสร้าง มูลค่าการบริการตามรูปที่ 2 แสดงทิศทางการสร้างกลยุทธ์ด้านการตลาด ตามหลักการของแคนวาส ประกอบด้วย ลักษณะการบริการ (Products & Services) สิ่งทีส ่ ร้างความประทับใจแก่ลูกค้า (Gain Creators) และการ ลดจุดด้อยของการบริการ (Pain Relievers)

องค์ประกอบที่ 3 Customer Channel ช่องทางการประชาสัมพันธ์

สินค้า และสื่อสารกับลูกค้า จากข้อมูลพบว่า กลุม ่ ลูกค้าส่วนใหญ่รบ ั รูข ้ า่ วสาร ผ่านทาง Facebook ป้ายโฆษณา และการบอกต่อจากเพื่อนหรือคนใน ครอบครัว ดังนั้นช่องทางการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณาร้านอาหารจึง ควรเป็นไปในทัง ้ สามช่องทาง

องค์ประกอบที่ 4 การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า การสร้างความ

สั มพันธ์กับลูกค้าควรเป็นการจัดกิจกรรมโปรโมชั่นส� ำหรับลูกค้า จากการ ส� ำรวจพบว่าการลดราคาเป็นรูปแบบการส่ งเสริมการขายที่ลูกค้าประทับใจ มากทีส ่ ุ ด เนื่องลูกค้าสามารถใช้สิทธิไ์ ด้ทันที

( 116 )


OBELS OUTLOOK 2017

องค์ประกอบที่ 5 รายได้จากการด�ำเนินธุรกิจ ในรายงานชิ้นนี้ให้

ความส�ำคัญด้านการตัง ้ ราคาสินค้าเพือ ่ ดึงดูดลูกค้าควรเป็นราคาทีต ่ �่ำ และ ไม่ควรเกิน 100 บาทต่อครั้ง ดังนั้นร้านอาหารที่ตั้งราคาสู งจะไม่ดึงดูด ลูกค้าในท้องถิน ่

5. บทสรุป และข้อเสนอแนะ

จากการส� ำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีผลต่อธุรกิจอาหารใน

เชียงของ แสดงให้เห็นว่าผูบ ้ ริโภคยังรับประทานอาหารนอกบ้านในสัดส่วน ที่ไม่มากนัก และจะเลือกรับประทานอาหารที่ร้านเมื่อมีโอกาสพิเศษ เช่น การสังสรรค์ และการรับประทานอาหารร่วมกับครอบครัว ดังนั้นร้านอาหาร ควรสร้างจุดดึงดูดลูกค้าด้วยการตกแต่งร้านให้ลก ู ค้ารูส ้ ึกผ่อนคลายเหมือน อาศัยอยู่ทบ ี่ ้าน นอกจากนี้ คนท้องถิน ่ ชอบอาหารไทยมากกว่า ่ มีความชืน อาหารต่างประเทศ โดยอาหารไทยทีค ่ นเลือกมากทีส ่ ุด คือ อาหารจานเดียว และอาหารเหนือ ซึ่งผู้สูงอายุชอบอาหารเหนือมากที่สุด ทั้งนี้ การสร้าง ความเชื่อมั่นในด้านคุณภาพอาหาร ความสะอาดของร้าน และ รสชาติ อาหาร สามารถสร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้าได้มากทีส ่ ุด ด้านราคาควร ้ แต่ความเต็มใจจ่ายยังคงอยู่ใน ตัง ้ ราคาให้ต�่ำ เพราะรายได้ผู้บริโภคสู งขึน ระดับต�่ำ โปรโมชัน ่ ทีค ่ นส่ วนใหญ่ชน ื่ ชอบคือการลดราคา และช่องทางการ ประชาสัมพันธ์สินค้ายังคงเป็น Facebook และป้ายโฆษณาทัว่ ๆไป

( 117 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. 2016. Value Creation Handbook. สืบค้นจาก www.dbd.go.th/ewt_dl_link.php?nid=469401267 Osterwalder, A., Pigneur, Y., Bernarda, G., Smith, A. and

Papadakos, T. Value Proposition Design. New Jersey: Wiley,

2014.

ภาคผนวก ตารางผนวกที่ 1 ความแปรปรวนด้านปัจจัย

ความแปรปรวนด้าน

df

SS

MS

F

P

7.19

0.00

2.44

0.12

2.52

0.12

รายได้ กับ อายุ Between Groups

5.00

32.79

6.56

Within Groups

95.00

86.69

0.91

Total

100.00 119.49 เพศ กับ อายุ

Between Groups Within Groups Total

1.00

4.53

4.53

99.00

184.14

1.86

100.00 188.67 เพศ กับ อายุ

Between Groups Within Groups Total

1.00

2.97

2.97

99.00

116.52

1.18

100.00 119.49

( 118 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 2 ราคาทีเ่ ต็มใจจ่ายกับปัจจัยด้านเพศสภาพ

ราคาทีเ่ ต็มใจจ่าย (ต่อครัง ้ )

เพศ

หญิง

ชาย

ไม่เกิน 100 บาท

47.8%

33.3%

101 - 200 บาท

24.6%

42.9%

201 - 300 บาท

23.2%

19%

มากกว่า 301 บาท

4.3%

4.8%

ตารางผนวกที่ 3 ราคาทีเ่ ต็มใจจ่ายกับปัจจัยด้านอายุ ราคาทีเ่ ต็มใจจ่าย

อายุ < 20

20-29

30-39

40-49

50-59

>

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

ไม่เกิน 100 บาท

83.3%

40%

34.8%

42.9%

40%

25%

101-200 บาท

8.3%

46.7%

26.1%

19%

40%

50%

201-300 บาท

0

13.3%

34.8%

33.3%

20%

0

8.3%

0

4.3%

4.8%

0

25%

มากกว่า 301

ตารางผนวกที่ 4 ราคาทีเ่ ต็มใจจ่ายกับปัจจัยด้านรายได้ ราคาทีเ่ ต็มใจจ่าย ต่อ คน/ครัง ้

รายได้ ต�่ำกว่า

5,001 -

10,000 -

20,001-

มากกว่า

5,000

9,999

20,000

30,000

30,000

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

ไม่เกิน 100 บาท

63.2%

53.3%

34.1%

33.3%

66.7%

101-200 บาท

26.3 %

6.7%

39.0%

25%

33.3%

201-300 บาท

10.5%

33.3%

22%

33.3%

0

0

6.7%

4.8%

8.3%

0

มากกว่า 301

( 119 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 5 ความถีใ่ นการใช้บริการทีร่ ้านกับปัจจัยด้านเพศ

ความถีใ่ นการใช้ บริการ

เพศ

หญิง

ชาย

0-2 ครัง ้ /เดือน

37.3%

29.2%

3-4 ครัง ้ /เดือน

36.4%

41.7%

5-6 ครัง ้ /เดือน

10.4%

8.3%

มากว่า 6 ครัง ้ /เดือน

15.6%

20.8%

ตารางผนวกที่ 6 ความถีใ่ นการใช้บริการทีร่ ้านกับปัจจัยด้านอายุ อายุ ความถี่

< 20

20-29

30-39

40-49

50-59

>

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

0-2 ครัง ้

33.3%

27.8%

30.8%

34.8%

50%

50%

3-4 ครัง ้

41.7%

50%

46.2%

26.1%

27.8%

25%

5-6 ครัง ้

16.7%

0%

11.5%

8.7%

16.7%

0%

> 6 ครัง ้

8.3%

22.2%

11.5%

30.4%

5.6%

25%

ตารางผนวกที่ 7 ความถีใ่ นการใช้บริการทีร่ ้านกับปัจจัยด้านรายได้ อายุ รายได้

รายได้

ต�่ำกว่า

5,001

10,000 - 20,001-

5,000

- 9,999

20,000 30,000 30,000

บาท

บาท

บาท

0-2 ครัง ้

30%

60%

3-4 ครัง ้

45%

5-6 ครัง ้ มากกว่า

ความถี่

รายได้

รายได้

รายได้ มากกว่า

บาท

บาท

40%

28.6%

20%

35%

26.7%

38.3%

35.7%

40%

37.6%

10%

6.7%

8.5%

14.3%

20%

9.9%

15%

6.7%

19.1%

21.4%

20%

16.8%

( 120 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 8 ช่วงเวลาและปัจจัยด้านเพศ

ช่วงเวลา

หญิง

เพศ

ชาย

เช้า

4%

4.3%

กลางวัน

24%

43.5%

เย็น

53.3%

47.8%

ค�่ำ/ดึก

18.7%

4.3%

ตารางผนวกที่ 9 ช่วงเวลาและปัจจัยด้านอายุ ความถี่ ต่อ

อายุ อายุต�่ำ

อายุต�่ำ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

กว่า 20

กว่า 20

30-39

40-49

50-59

มากกว่า

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

เช้า

8.3%

8.3%

4%

4.8%

0

0

กลางวัน

33.3%

33.3%

20%

28.6%

27.8%

75%

เย็น

41.7%

41.7%

56%

57.1%

50%

25%

ค�่ำ/ดึก

16.7%

16.7%

20%

9.5%

22.2%

0

คน/ครัง ้

( 121 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 10 ช่วงเวลาและปัจจัยด้านรายได้ อายุ ช่วงเวลา

รายได้

รายได้

รายได้

รายได้

ต�่ำกว่า

5,001

10,000 - 20,001-

5,000

- 9,999

20,000 30,000 30,000

บาท

บาท

บาท

รายได้ มากกว่า

บาท

บาท

2.2%

0

0

4.1%

เช้า

15%

กลางวัน

20%

26.7%

28.9%

46.2%

20%

28.6%

เย็น

40%

60%

60%

38.5%

40%

52%

ค�่ำ/ดึก

25%

13.3%

8.9%

15.4%

40%

15.3%

ตารางผนวกที่ 11 หมวดอาหารไทยและปัจจัยด้านเพศ ความชอบแบ่งตามเพศ

หมวดอาหารไทย

หญิง

ชาย

อาหารจานเดียว

59.7 %

50 %

อาหารใต้

7.8 %

8.3%

อาหารอีสาน

10.4%

12.5%

อาหารเหนือ

46.8 %

50%

อาหารฟิวชัน ่

29.9%

29.2%

อาหารทานเล่น

32.5%

4.2%

( 122 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 12 หมวดอาหารไทยและปัจจัยด้านอายุ อายุ อายุต�่ำ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

อาหารไทย

กว่า 20

20-29

30-39

40-49

50-59

มากกว่า

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

อาหารจานเดียว

66.7%

77.8%

53.8%

56.5%

38.9%

50%

อาหารใต้

0

16.7%

3.8%

13%

0

25%

อาหารอีสาน

0

16.7%

7.7%

13%

16.7%

0

อาหารเหนือ

41.7%

44.4%

53.8%

39.1%

50%

75%

อาหารฟิวชัน ่

8.3%

33.3%

34.6%

43.5%

16.7%

25%

อาหารทานเล่น

16.7%

38.9%

26.9%

30.4%

16.7%

0%

หมวด

ตารางผนวกที่ 13 หมวดอาหารต่างประเทศและปัจจัยด้านเพศ ความชอบแบ่งตามเพศ

อาหารต่าง ประเทศ

หญิง

ชาย

แฮมเบอร์เกอร์

22.1%

29.2%

อาหารญีป ่ ่น ุ

45.5%

37.5%

39%

16.7%

35.1%

33.3%

พิซซ่า อาหารจีน

( 123 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 14 หมวดอาหารต่างประเทศและปัจจัยด้านอายุ อายุ อาหารต่าง ประเทศ

อายุต�่ำ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

กว่า 20

20-29

30-39

40-49

50-59

มากกว่า

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

แฮมเบอร์เกอร์

8.3%

38.9%

19.2%

34.8%

16.7%

0%

อาหารญีป ่ ่น ุ

50%

55.6%

34.6%

43.5%

38.9%

50%

41.7%

44.4%

42.3%

39.1%

0

25%

25%

50%

30.8%

26.1%

38.9%

50%

พิซซ่า อาหารจีน

ตารางผนวกที่ 15 หมวดอาหารต่างประเทศและปัจจัยด้านรายได้ อายุ รายได้

รายได้

รายได้

รายได้

รายได้

ต�่ำกว่า

5001 -

10000 -

20001-

มากกว่า

5000

9999

20000

30000

30000

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

แฮมเบอร์เกอร์

15%

33.3 %

23.4 %

35.7%

0

อาหารญีป ่ ่น ุ

60%

53.3%

40.4%

14.3%

60%

พิซซ่า

30%

53.3%

36.2%

14.3%

20%

อาหารจีน

30%

33.3%

34%

35.7%

60%

อาหารต่าง ประเทศ

( 124 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 16 พฤติกรรมการเลือกร้านอาหารและปัจจัยด้านเพศ

ความชอบแบ่งตามเพศ

ปัจจัย

ชาย

หญิง 1

2

3

1

2

3

คุณภาพอาหาร

61.4%

25%

13.6%

41.2%

41.2%

17.6%

การเดินทาง

14.3%

28.6%

57.1%

14.3%

42.9%

42.9%

การให้บริการ

30.8%

30.8%

38.5%

18.2%

18.2%

63.6%

ความสะอาด

30.6%

46.9%

22.4%

50%

33.3%

16.7%

บรรยากาศ

21.7%

8.7%

69.6%

33.3%

16.7%

50%

ความอร่อย

36.2%

36.2%

27.7

55.6%

22.2%

22.2%

หมายเหตุ 1 = ส�ำคัญมาก , 2 = ส�ำคัญปานกลาง และ 3 = ส�ำคัญน้อย

ตารางผนวกที่ 17 พฤติกรรมการเลือกร้านอาหารและปัจจัยด้านเพศ

ความชอบแบ่งตามเพศ

ปัจจัย

ชาย

หญิง 1

2

3

1

2

3

สังสรรค์

47.2%

34%

18.9%

75%

6.2%

18.8%

ไม่รู้จะไปไหน

18.5%

25.9%

55.6%

0%

57.1%

42.9%

ผ่อนคลาย

42.6%

39.3%

18%

33.3%

53.3%

13.3%

รู้จักเจ้าของร้าน

13.3%

20%

66.7

33.3%

33.3

33.3%

ถ่ายรูป/เซ็คอิน

16.7%

38.9%

44.4%

0%

50%

50%

หมายเหตุ 1 = ส�ำคัญมาก , 2 = ส�ำคัญปานกลาง และ 3 = ส�ำคัญน้อย

( 125 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 18 บุคคลร่วมรับประทานอาหารและปัจจัยด้านเพศ

ความชอบแบ่งตามเพศ หญิง ชาย

ประเภทบุคคล เพือ ่ น

66.2%

45.8%

บุคคลในทีท ่ �ำงาน

20.8%

16.7%

ครอบครัว

58.4%

54.2%

คนรัก

19.5%

20.8%

ตารางผนวกที่ 19 บุคคลร่วมรับประทานอาหารและปัจจัยด้านอายุ อายุ บุคคล

อายุต�่ำ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

กว่า 20

20-29

30-39

40-49

50-59

มากกว่า

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

เพือ ่ น

83.3%

83.3%

50%

65.2%

55.6%

25%

0%

11.1%

30.8%

26.1%

16.7%

25.0%

ครอบครัว

25.0%

55.6%

57.7%

65.2%

66.7%

75.0%

คนรัก

16.7%

33.3%

30.8%

17.4%

0%

0%

บุคคลในทีท ่ �ำงาน

( 126 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 20 ช่องทางการสื่อสารและปัจจัยด้านเพศ

ช่องทางการสื่อสาร

หญิง

แบ่งตามเพศ

ชาย

ทวิตเตอร์

8

1

โทรทัศน์

30

9

เฟสบุ๊ค

64

21

หนังสือพิมพ์

11

7

วิทยุ

9

1

อิสตรแกรม

13

2

วารสาร

3

3

ป้ายโฆษณา

27

8

ตารางผนวกที่ 21 ช่องทางการสื่อสารและปัจจัยด้านอายุ อายุ ความถี่ ต่อ

อายุต�่ำ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

อายุ

คน/ครัง ้

กว่า 20

20-29

30-39

40-49

50-59

มากกว่า

ปี

ปี

ปี

ปี

ปี

60 ปี

ทวิตเตอร์

2

2

1

3

1

0

โทรทัศน์

3

6

14

5

10

1

เฟสบุ๊ค

11

16

25

18

14

1

หนังสือพิมพ์

4

2

0

5

5

2

6

2

2

3

0

0

วิทยุ อิสตรแกรม

5

5

2

( 127 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 22 ช่องทางการส่ งเสริมด้านการขาย รูปแบบโปรโมชัน ่

อันดับ 1

อันดับ 2

อันดับ 3

ไม่เลือก

ส่วนลด

82.2%

9.9

5.9

2

6.9%

20.8

28.7

43.6

3%

19.8

36.6

4.06

6.9%

46.5

22.8

23.8

สมัครสมาชิก สะสมแต้ม แจกของรางวัล

ตารางผนวกที่ 23 การเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้บริโภครหว่างเพศชายและ เพศหญิง เพศ

N

SD

ประเภทอาหารทานเล่น เพศหญิง

77

0.32

0.471

เพศชาย

24

0.04

0.204

ประเภทอาหารพิซซ่า เพศหญิง

77

0.39

0.491

เพศชาย

24

0.17

0.381

( 128 )

t

P

2.852

.000

2.328

0.024


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 24 การเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้บริโภคระหว่ากลุ่มช่วงอายุ

df

SS

MS

F

P

ระหว่างกลุ่ม

5

2.62

0.52

2.50

0.04

ภายในกลุ่ม

95

19.94

0.21

100

22.55

ระหว่างกลุ่ม

5

5.87

1.17

2.38

0.05

ภายในกลุ่ม

55

27.08

0.49

รวม

60

32.95

ระหว่างกลุ่ม

5

6.65

1.33

3.77

0.01

ภายในกลุ่ม

33

11.66

0.35

รวม

38

18.31

ระหว่างกลุ่ม

5

7.67

1.53

3.49

0.01

ภายในกลุ่ม

79

34.76

0.44

รวม

84

42.42

อาหารอิตาเลีย ่ น

รวม ความสะอาด

โทรทัศน์

เฟสบุ๊ค

( 129 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางผนวกที่ 25 การเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้บริโภคระหว่ากลุ่มช่วงรายได้

df

SS

MS

F

P

ระหว่างกลุ่ม

4

2.776

.694

3.039

.021

ภายในกลุ่ม

96

21.917

.228

100

24.693

ครอบครัว

รวม

ตารางผนวกที่ 26 ความแปรปรวนระหว่างกลุ่มรายได้และบุคคลทีร่ ่วมรับประทาน อาหาร

รายได้

Mean-Diff

Std.Error

รายได้มากกว่า

รายได้ต�่ำกว่า

.650*

.008

5,000 บาท

.600*

.017

รายได้ 5,0019,999 บาท

( 130 )

P-


OBELS OUTLOOK 2017

ส่ วนที่ 3 Thailand 4.0 สู่ โมเดลการยกระดับ นวัตกรรมเชียงราย

( 131 )


OBELS OUTLOOK 2017

ศูนย์ปราชญ์เกษตรยั่งยืนแม่สาย เรียบเรียงโดย พรพินันท์ ยีร่ งค์

ความเป็นมาของศูนย์ปราชญ์เกษตรแม่สาย

ตั้ ง แต่ เ ข้ า ยุ ค ของการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรแบบขนานใหญ่ (mass

production) เกษตรกรต้องประสบกับปัญหาภาวะหนี้สินเรื้อรังที่มาจาก การกู้ ยื ม เพื่ อ ไปซื้ อ ยาฆ่ า แมลง และสารเคมี เพื่ อ ลดระยะเวลาในการ ท�ำเกษตรแบบดั้งเดิม และท�ำให้สามารถผลิตพืชผลได้สูงขึ้น แต่ท�ำให้ ต้นทุนสู งด้วยเช่นกัน ในความเป็นจริง ภาครัฐก็พยายามออกนโยบาย มามากมาย เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกร หากแต่มีการใช้อย่างขาด ประสบการณ์ และความรู้ที่แท้จริง คุณพรรณพิมล และคุณผ่าน ปันค�ำ เป็นคนในต�ำบลศรีเมืองชุม อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ก็เคยเป็นหนึ่ง ในเกษตรกรทีเ่ จอกับภาระหนี้สิน

เมือ ่ ปีพ.ศ. 2545 คุณพรรณพิมลได้ท�ำการร่วมกลุ่มกับเพือ ่ นเกษตร

ในการหารือ ท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ ปุ๋ยน�้ำหมัก และฮอร์โมนสูตรต่างๆ ้ ิน เพือ ่ ก�ำจัดโรคและแมลง ซึง่ มีจด ุ ประสงค์ส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาภาระหนีส ของเกษตรกร โดยการลดการใช้สารเคมี และหันมาใช้วต ั ถุดบ ิ จากธรรมชาติ ั ญา แทน หลังจากนั้น กลุ่มเกษตรก็เข้าสู่ วิถีแห่งความยั่งยืน น�ำภูมิปญ ท้องถิ่นของชาวบ้านมาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการท�ำเกษตร โดยมีการ ทดลองและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทัง ้ นี้ คุณพรรณพิมล และคุณผ่านได้รับ การแต่งตัง้ ให้เป็นปราชญ์ชาวบ้านจากผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ( 132 )


OBELS OUTLOOK 2017

จนกระทัง ่ ในปี 2550 ก็ได้รับการคัดเลือกและยกระดับให้เป็นศูนย์

ปราชญ์ชาวบ้านเกษตรยั่งยืนจนถึงปัจจุบัน และได้จดทะเบียนธุรกิจเป็น ที่เรียบร้อย ที่ผ่านมา คุณพรรณพิมลได้รับรางวัลมากมาย อาทิ รางวัล วิสาหกิจชุมชนดีเด่นของจังหวัดเชียงรายในปี 2550 และรางวัลผู้หญิงเก่ง สาขานักพัฒนาในปี 2552 จากสถาบันส่งเสริมสถานภาพสตรี รวมถึงคุณ ผ่านก็ได้รับรางวัล ‘อิสระเมธี’ หรือโครงการเชิดชูผู้ท�ำความดีเพือ ่ สังคมปี 2556 จากมูลนิติวิมุตตยาลัย

นอกจากนี้ ศู น ย์ ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น น�้ ำ ดื่ม อุ ป กรณ์ และปรั บ

่ เป็นบริษัทในเครือของ ภูมิทัศน์จากบริษัท สิ งห์ คอร์เปอเรชัน ่ จ�ำกัด ซึง บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด ภายใต้โครงการ ‘สิ งห์อาสา’ ในช่วงปลาย ปี 2557 ตลอดจนการให้น�ำสิ นค้าทีผ ่ ลิตในศูนย์เข้าจ�ำหน่ายทีร่ ้านของที่ ระลึกของสิ งค์ปาร์ค

( 133 )


OBELS OUTLOOK 2017

หัวใจของการเกษตรแบบยั่งยืน

ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านเกษตรยัง่ ยืนศรีเมืองชุมอยูบ ่ นพืน ้ ทีข ่ นาด 14 ไร่

เป็นพื้นที่ไร่นาสวนผสมแบบครบวงจร ลุงผ่านได้กล่าวว่า “ศูนย์ของเรา ปลูกและเลีย ้ งทุกอย่างทีก ่ ินได้” ทัง ้ ผัก ผลไม้ เป็ด ไก่ และปลา รวมอยู่ใน พืน ้ ทีข ่ องศูนย์ดังกล่าวทัง ้ หมด โดยแก่นของการท�ำเกษตรแบบยัง ่ ยืนของ ั ญาชาวบ้าน นวัตกรรม ศูนย์ปราชญ์ฯ คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมป ิ ญ ชาวบ้าน และการใช้วัตถุดิบของท้องถิน ่ ภายในไร่ของศูนย์มีการปลูกพืช ผักผลไม้ที่มีความหลากหลาย โดยจะเน้นการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีการ ่ ช่วยเพิม แปรรูป หรือการมีหีบห่อผลิตภัณฑ์ทส ี่ วยงาม ซึง ่ มูลค่าของสินค้า ้ และสามารถตัง ้ ราคาได้สูงขึน

ดังนั้น ผลผลิตทางการเกษตรในผัก/ผลไม้ชนิดหนึ่งจะท�ำการแบ่ง

สัดส่วนในการขายสดกว่าครึง่ และอีกครึง่ เป็นการน�ำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆเพื่อยกระดับสิ นค้า ตัวอย่างเช่น การผลิตข้าวไรซ์เบอรี่จ�ำหน่ายใน ตลาดแบบไม่แพคจะอยู่ทรี่ าคาประมาณ 60 บาทต่อกิโลกรัม ขณะทีแ ่ พค เสร็จเรียบร้อยราคาจะอยู่ที่ประมาณ 80 - 100 บาทต่อกิโลกรัมโดยที่มี ั ญาแบบดัง การใช้ภม ู ป ิ ญ ้ เดิม ไม่ได้เน้นเครือ ่ งจักรทีท ่ น ั สมัย เนื่องจากไม่มี ก�ำลังในการผลิต เงินทุน หรือท�ำการตลาดทีช ่ ัดเจน

ผลิตภัณฑ์ของศูนย์ส่วนใหญ่ทถ ี่ ูกแปรรูปมาจากผลผลิตทางเกษตร

แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ สินค้าทีใ่ ช้บ�ำรุงร่างกาย อาทิ ฮอร์โมนไข่ ั ขาวและ สินค้าทีใ่ ช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่าง แชมพูมะกรูดและอัญชัน สบู่ฟก ข้าวไรซ์เบอรี่ และสิ นค้าที่บ�ำรุงพืชผัก ล้วนแต่แปรรูปมาจากวัตถุดิบทาง ธรรมชาติปลอดสารเคมีจากในไร่ รวมแล้วกว่า 100 อย่างด้วยกัน

( 134 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประโยชน์ของการแปรรูป คือ การลดความเสี่ยงจากภาวะผันผวนของ

ราคาสิ นค้าเกษตร เมื่อตลาดของประเทศเชื่อมกับตลาดโลกแล้ว และ ่ พิงการส่ งออก เกษตรกรไม่สามารถทีจ ประเทศไทยเป็นประเทศทีพ ่ ึง ่ ะคาด การณ์ราคาในตลาดได้ ท�ำให้ในบางปีตอ ้ งเสี่ยงกับราคาพืชทีต ่ กต�ำ่ จนขาดทุน ั หาภาระหนี้สินในทีส และน�ำไปสู่ปญ ่ ุ ด นอกจากนี้ การแปรรูปสิ นค้าเกษตร ยังช่วยให้สามารถเก็บรักษาสินค้าไว้ได้นาน ซึง่ หากจ�ำหน่ายสินค้าแบบสดใหม่ ถ้าขายไม่ได้ ปริมาณทีผ ่ ลิตออกมาส่ วนนั้นก็จะสู ญเสี ยไป 2 : 1 : 1 โมเดล : การเรียนรู้เกษตรตลอดชีพ

นักเรียนส่วนใหญ่ทเี่ ข้ามาเรียนทีศ ่ ูนย์ปราชญ์ชาวบ้านฯเป็นเกษตรกร

ที่มาจากภายในเชียงราย ทั่วประเทศ แม้กระทั่งประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว เมียนมา และจีน เข้ามาขอศึกษาดูงานเป็นประจ�ำ ตลอดจน ่ นักเรียนบางคนก็ต่อยอด กระทรวงเกษตร และหน่วยงานราชการต่างๆ ซึง ด้วยการกลับไปเปิดศูนย์เกษตรในแต่ละพืน ้ ที่ ปัจจุบัน มีการเปิดให้อบรม ในการท�ำเกษตรทัง ้ หมด 4 หลักสู ตร ดังนี้ ( 135 )


OBELS OUTLOOK 2017

1. หลักสู ตรเจาะลึกพืชเฉพาะด้าน เช่น ข้าวเหนียวเขีย ้ วงูเป็นต้น ใช้

เวลาทัง ้ หมด 2 คืน 3 วัน

่ จะสอนพืน 2. หลักสู ตรเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึง ้ ฐานใหม่ให้ทง ั้ ระบบ ใช้

เวลา 3 คืน 4 วัน

3. หลักสู ตรโรงเรียนชาวนา หากจะเรียนหลักสู ตรนี้ ต้องผ่าน 2

หลักสู ตรแรกก่อน ใช้เวลา 24 สั ปดาห์ หรือ 6 เดือน เรียนสั ปดาห์

ละ 1 วัน

4. หลักสูตรนักวิจย ั อาสา ใช้เวลาถึง 2 ปี เป็นหลักสูตรการพัฒนาให้

เป็นผูถ ้ า่ ยทอดความรู้ หรือวิทยากรผูเ้ ข้าร่วมอบรมสามารถทัง้ เขียน

และพูด ให้การอบรมอย่างเชีย ่ วชาญ เมือ ่ จบหลักสูตรก็จะสามารถ

เข้าไปเป็นวิทยากรประจ�ำศู นย์ปราชญ์ชาวบ้านที่กระจายอยู่ทั่ว ประเทศ

คุณพรรณพิมลกล่าวว่า “ในแต่ละพืน ้ ทีม ่ ีภูมินิเวศทีแ ่ ตกต่างกันต้อง

มีการปรับเทคนิคให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่” ฉะนั้นนักเรียนทุกคน ที่มาจากต่างพื้นที่ เมื่อจบหลักสู ตรก็ต้องน�ำเทคนิคไปปรับ และประยุกต์ ใช้ให้เข้ากับพืน ้ ทีข ่ องตนเองอีกที ทัง ้ นี้ เครือข่ายของศูนย์ปราชญ์เกษตร กระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศกว่า 17 ศูนย์ ที่พร้อมจะแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และเทคนิคในการท�ำเกษตรระหว่างกัน

( 136 )


OBELS OUTLOOK 2017

ท�ำเอง ใช้เอง ประหยัดค่าใช้จ่าย

แม้วา่ ทางศูนย์จะมีการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์

เพือ ่ ใช้ในชีวิตประจ�ำวันจ�ำพวก แชมพู สระบู่ หรือยาสระผม แต่ก็ไม่ได้ท�ำ ้ แต่ได้มก เพียงจ�ำหน่ายออกสู่ตลาดเท่านัน ี ารน�ำมาใช้งานจริง ซึง่ ช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายโดยรวมส�ำหรับครัวเรือนได้เป็นอย่างดี

้ ลับไปบอกแม่บา้ น “มีกลุม ่ แม่บา้ นเข้ามาอบรม และน�ำองค์ความรูส ้ ่วนนีก

ในหมู่บ้านตนเอง ได้มีการจัดตัง ้ กลุ่มอย่างไม่เป็นทางการร่วมกันท�ำสิ นค้า ที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งแม่บ้านส่ วนมากเป็นผู้ควบคุมการใช้จ่าย และงบ ประมาณในครัวเรือน สามารถที่จะลดค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ และสามารถน�ำ ไปใช้ในส่ วนอืน ่ แทนได้” คุณพรรณพิมลกล่าว ความรู้ทถ ี่ ูกต้องในการท�ำเกษตร

คุณพรรณพิมลมองว่า ตัง ้ แต่ปีพ.ศ. 2509 เป็นต้นมา เกษตรกรใน

ประเทศไทยได้ขาดความรูท ้ ถ ี่ ก ู ต้องในการแก้ไขปัญหาทางการเกษตร ท�ำให้ ้ ินมากมายจากการซือ เกิดภาระหนีส ้ สารเคมีจำ� นวนมาก เป็นการสร้างวัฒนธรรม ่ ส่วนส�ำคัญมาจาก ใหม่ในการสร้างหนี้สิน หรือ ‘วัฒนธรรมกู้หนี้ยืมสิ น’ ซึง ทัง ้ นโยบายของภาครัฐ และภาคเอกชน ด้วยการขาดประสบการณ์ และรู้ ไม่เท่าทันการเปลีย ่ นแปลงของโลก เช่น ในช่วงฤดูกาลท�ำนา ธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ก็จะออกมาประกาศให้เกษตรกร มากูย ้ ม ื เงินไปลงนา แต่เกษตรกรบางส่วนเข้ามากูเ้ งินไป กลับน�ำไปใช้ลก ั ษณะ อื่นแทน ไม่ว่าจะน�ำไปช�ำระค่าเทอมบุตร หรือซื้อปุ๋ยก็ตาม ท�ำให้ไม่เหลือ เงินส่วนทีจ ่ ะน�ำไปลงท�ำนา ก็ไม่มีรายได้ และเป็นหนี้เรือ ้ รังในทีส ่ ุด

้ การท�ำเกษตรทีด นอกจากนัน ่ ต ี อ ้ งช่างสังเกต คิดเป็นเหตุเป็นผล และ

น�ำความรู้ทส ี่ ั่งสมมาจากประสบการณ์มาใช้ในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ้ ย แต่กลับให้ผลผลิตสูง คุณพรรณพิมล อย่างการหว่านเมล็ดข้าวในปริมาณทีน ่ อ กล่าวว่าได้มเี กษตรกรเข้ามาปรึกษา จึงได้ให้คำ� แนะน�ำไปว่า “ปัญหาของนาคุณ ( 137 )


OBELS OUTLOOK 2017

คือการทีม ่ ีนกเข้ามากินผลผลิตทุกครัง ้ ทีม ่ ีการลงนา เนื่องจากคุณได้สร้าง ้ เวลาทีร่ ถหว่านมาจอดรอทีต ความเคยชินให้กบ ั นก ฉะนัน ่ น ้ นา เปรียบเสมือน การให้สัญญาณกับนกให้มารอกิน วิธีแก้ไขปัญหาคือการเคลือบเมล็ดข้าว ่ เป็นสมุนไพรทีใ่ ห้รสขม นอกจากนกจะไม่ ด้วยฟ้าทลายโจร และสะเดา ซึง เข้ามากินแล้ว แมลงหรือเพลีย ้ ไฟก็ไม่มากินเช่นกัน”

เห็นได้ว่า การแก้ไขปัญหาที่คุณพรรณพิมลได้เสนอแก่เกษตรกร

ั ญาท้องถิน เป็นการน�ำประสบการณ์ องค์ความรู้ และภูมิปญ ่ มาประยุกต์ใช้ และเป็นการแก้ไขปัญหาที่มีต้นทุนต�่ำอย่างมาก แสดงว่าการที่เกษตรกร ส่ วนใหญ่ใช้สารเคมีเพือ ่ ก�ำจัดโรค และแมลงปัจจุบันอาจไม่ใช่ค�ำตอบทีด ่ ี ทีส ่ ุดส�ำหรับการเกษตรในปัจจุบัน

หนทางของเกษตรกรรุ่นใหม่

ตัง ้ แต่อดีตจนปัจจุบัน

เด็กได้ถูกผู้ใหญ่หรือผู้ปกครองสั่งสอนให้

เรียนจบสูงๆ เพือ ่ ทีจ ่ ะได้โตไปเป็นเจ้าคนนายคน ท�ำให้ไปท�ำงานสบายอยู่ ่ เด็กกลุ่มนี้จะมี ในส�ำนักงาน แต่เด็กบางคนก็มีความเป็นเกษตรกรสูง ซึง ความได้เปรียบอย่างมาก คือ ได้ทง ั้ ภาษาทีห ่ ลากหลาย มีความรู้ค่อนข้าง ้ เยอะ และฉลาดจ้างในการท�ำเกษตรมากขึน ( 138 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ เพราะปัจจุบน คนรุน ่ ใหม่กเ็ ริม ่ ะให้ความสนใจในการท�ำเกษตรมากขึน ั ่ ทีจ

ไม่จำ� เป็นทีจ ่ ะต้องใช้แรงเหมือนแต่กอ ่ น แต่ตอ ้ งใช้สมองในการบริหารจัดการ ้ ตลอดจนการพึง ่ พานวัตกรรม และเทคโนโลยี เพือ มากขึน ่ ลดปัญหาการ ่ ส่วนใหญ่ ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรทีเ่ ป็นปัญหาอย่างมากในตอนนี้ ซึง ได้ยา้ ยเข้าไปเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม โดยสิ่งทีส ่ �ำคัญทีส ่ ุดคือ การ เข้าใจพื้นฐานในการท�ำเกษตรให้แน่นก่อน ต้องมีการเรียนรู้ และสั งเกต เพือ ่ ท�ำให้เกิดการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

โครงการตลาดสี เขียว

ตลาดสี เขียวที่ทางศูนย์ฯพยายามที่จะพัฒนาขึ้น โครงการน�ำร่อง

เป็นการให้ชาวบ้านในพืน ้ ทีน ่ �ำผลผลิตทางการเกษตรทีป ่ ลอดสารเคมีเข้ามา จ�ำหน่ายในบริเวณศูนย์ในช่วงที่มีคณะทัวร์ขนาดใหญ่เข้ามา เป็นความ ร่วมมือกับองค์การบริหารส่ วนจังหวัด โดยมีการก�ำหนดราคาอยู่ที่ 30 กับ ้ อยูก ้ ขึน 60 บาทต่อกิโลกรัมเท่านัน ่ บ ั ประเภทสินค้า ส่วนสินค้าทีม ่ รี าคาแพง อาทิ สตอเบอรี่ จะคิดราคาทีแ ่ ตกต่างไป ในระยะต่อไป จะเป็นการเปิดให้ ( 139 )


OBELS OUTLOOK 2017

นักท่องเที่ยวเข้ามาเก็บผักและผลไม้ในไร่ เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้บริโภคพืชผักปลอดสารพิษที่มีความสดใหม่ ซึ่งจะ แจกตารางผักผลไม้ตามฤดูกาลให้กับผู้ทส ี่ นใจ ก่อนทีจ ่ ะเข้ามาทีศ ่ ูนย์ ่ ่าติดตามตอนต่อไป สิ่ งทีน

้ อย่าง ทิศทางของเกษตรอินทรียใ์ นประเทศ มีแนวโน้มทีจ ่ ะเติบโตขึน

ต่อเนื่อง จากรายงานของกรีนเนท (มูลนิธิสายใยแผ่นดิน) พบว่าในปีพ.ศ. 2559 สถานการณ์ของเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะประเภทของข้าวออแกนิค และพืชผสมผสาน มีการขยายตัวสู งขึ้น สาเหตุมาจากการการปรับตัวลด ลงของราคาข้าวในช่วงปลายปีพ.ศ.2559 จากการยกเลิกนโยบายจ�ำน�ำข้าว ้ ของรัฐบาล ท�ำให้เกษตรกรมีความสนใจและหันมาท�ำเกษตรอินทรียม ์ ากขึน

โดยทีศ ่ น ู ย์ปราชญ์ชาวบ้านเกษตรยัง ่ ยืนศรีเมืองชุมถือว่าเป็นตัวอย่าง

ทีด ่ ส ี �ำหรับการเริม ่ ต้นการเป็นเกษตรกรอินทรียไ์ ด้เป็นอย่างดี การฟื้ นฟู และ ั ญาท้องถิน ยกรดับภูมป ิ ญ ิ ยาศาสตร์ นวัตกรรม และ ่ พร้อมทัง้ ประยุกต์ใช้วท เทคโนโลยีจะช่วยให้เกษตรกรสามารถก้าวข้ามปัญหาและอุปสรรคทางการ เกษตรรวมถึงแก้ไขปัญหาหนี้สินพัวพัน เนื่องจากจะช่วยลดต้นทุนในการ ้ ในทุกปี ตลอดจนช่วย ซือ ้ ยาฆ่าแมลง และสารเคมี ทีร่ าคามีแนวโน้มทีส ่ ูงขึน ลดการพึง่ พิงวัตถุดบ ิ ในตลาด ท�ำให้เกิดความมัน ่ คง และมัง่ คัง่ ในอนาคต

นอกจากนี้ การท�ำการตลาดก็เป็นปัจจัยส�ำคัญทีช ่ ่วยผลิตภัณฑ์ทาง

การเกษตรมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านของการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ และยีห ่ อ ้ สินค้าให้ตด ิ ตาผูบ ้ ริโภค ถ้าหากผลิตภัณฑ์ทอ ี่ อกสู่ตลาด ไม่ดึงดูดสายตา แม้ว่าผลิตภัณฑ์จะมีคุณภาพ หรือมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ่ การออกแบบ มากแค่ไหน ก็อาจจะไม่ถูกตาถูกใจผู้ใช้งาน ไม่ติดตลาด ซึง ก็เป็นอีกวิธีการหนึ่งทีช ่ ่วยเพิม ่ มูลค่าได้ด้วยเช่นกัน

( 140 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ เกษตรกรต้องรูจ ั หาเป็นฐาน (Problemฉะนัน ้ ก ั ทีจ ่ ะเรียนรูจ ้ ากการใช้ปญ

based Learning) ซึง่ เป็นรูปแบบการเรียนรูท ้ ต ี่ อ ้ งมีการคิดวิเคราะห์ และแก้ ปัญหาด้วยตนเอง เพือ ่ ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ น�ำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ่ พานวัตกรรมทีท (Life-Long Learning) พึง ่ �ำให้เกิดความยัง ่ ยืน ปกป้อง ้ ั ญาท้องถิ่นไทย และปรับเปลี่ยนสิ นค้าให้มีมูลค่าสู งขึน ทรัพย์สินของภูมิปญ ตอบสนองต่อการเปลีย ่ นแปลงกระแสนิยมโลก เช่น สิ นค้าเพือ ่ สุ ขภาพ

ท้ายทีส ่ ุด สูตรส�ำเร็จของการเป็นเกษตรกรในยุคใหม่ จ�ำเป็นทีจ ่ ะต้อง

ั ญาท้องถิน ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญ ่ องค์ความรู้ ประสบการณ์ เน้นการปลูกแบบปลอดสารพิษ และต้องออกแบบสินค้าให้มค ี วามน่าสนใจ และท�ำการตลาดในหลากหลายช่องทางทัง ้ ออนไลน์ และออฟไลน์ รวมถึง ต้องมีปรับตัวให้ทันต่อการเปลีย ่ นแปลงของโลก มีการค้นคว้า และพัฒนา ตนเองอย่างไม่หยุดนิ่ง ถือว่าเป็นโจทย์ทไี่ ม่ยากและก็ไม่ง่าย

( 141 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง วิฑรู ย์ ปัญญากุล. (2559). ภาพรวมเกษตรอินทรียไ์ ทย 2559. มูลนิธส ิ ายใย

แผ่นดิน (กรีนเนท). สื บค้นจากhttp://www.greennet.or.th/

sites/default/files/Thai%20OA%2016.pdf

คมชัดลึก. (2559). เปิดโรงเรียนชาวนาสอนฟรีปีละ2รุ่นยิ่งหวงยิ่งหายยิ่ง

ให้ยิ่งได้. สื บค้นจาก http://www.komchadluek.net/news/

kom-kid/219886

คมชัดลึก. (2558). ตะลุยศูนย์เกษตรยัง ่ ยืน ‘สิงห์อาสา’. สืบค้นจาก

http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/210396

่ ั มภาษณ์ บุคคลทีส

คุณพรรณพิมล และคุณผ่าน ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านเกษตรยัง ่ ยืน

ต�ำบลศรีเมืองชุม อ�ำเภอแม่สาย วันที่ 29 เมษายน 2560

( 142 )


OBELS OUTLOOK 2017

แนวทางและโอกาสของเชียงราย สู่ การเป็น MICE City เรียบเรียงโดย สิทธิชาติ สมตา

ปัจจุบัน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้กลายเป็นอุตสาหกรรมที่มี

ความส�ำคัญอย่างยิง ่ ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย และจังหวัดต่างๆ มีรายได้หลักจากอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วเพราะอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว สามารถสร้างงานให้กับคนในระดับประเทศ และระดับจังหวัด สร้างรายได้ ในทัง ้ รูปแบบของเงินตราจากต่างประเทศ และในประเทศ พร้อมทัง ้ สร้าง อาชีพใหม่ให้กับสั งคมของแต่ละจังหวัด

ส�ำหรับประเทศไทย การพัฒนาการท่องเทีย ่ วถือได้ว่าเป็นวาระแห่ง

ชาติที่ประเทศไทยให้ความส� ำคัญเป็นอันดับต้นๆ เนื่องจากอุตสาหกรรม การท่องเทีย ่ วเป็นแหล่งรายได้ทส ี่ �ำคัญของประเทศจากจ�ำนวนนักท่องเทีย ่ ว ้ อย่างต่อเนือ ่ งในทุกปี โดยกรมการท่องเทีย ทีเ่ พิม ่ วได้สรุปตัวเลขนักท่องเทีย ่ ว ่ ขึน ้ ั ท่องเทีย ในปีพ.ศ.2559 มีนก ่ วต่างประเทศจ�ำนวน 32,588,303 คน เพิม ่ ขึน ร้ อ ยละ 9.88 จากปี พ .ศ.2555 ที่มี นั ก ท่ อ งเที่ย วต่ า งประเทศจ� ำ นวน ้ ของจ�ำนวนนักท่องเทีย 22,353,903 คน การเพิม ่ วน�ำรายได้ทเี่ ป็นเงิน ่ ขึน ตราต่างประเทศเข้าสู่ ประเทศอย่างมหาศาล ดังนั้น ทางภาครัฐจึงเห็นถึง ความส�ำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ วทีส ่ ่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ ( 143 )


OBELS OUTLOOK 2017

รวมทัง ้ ท�ำให้ประเทศมีการพัฒนา และเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ในด้าน ของการก�ำหนดนโยบายส� ำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสั งคมแห่งชาติ ่ เป็นฉบับปัจจุบันทีใ่ ช้ใน นับตัง ้ แต่ฉบับที่ 4 เป็นต้นมาจนถึงฉบับที่ 12 ซึง การขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสั งคมของประเทศไทยในระหว่าง พ.ศ.2560 – 2564 ได้มีการวางแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว โดยมีกรอบแนวคิดในการพัฒนา คือ การพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยการบูรณาการนโยบายการท่องเทีย ่ วของภาครัฐบาลให้เหมาะสมตาม สถานการณ์และทิศทางของตลาดท่องเทีย ่ ว ทัง ้ ในและต่างประเทศ มุ่งเน้น ส่ งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ นค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวและ พัฒนาการท่องเที่ยวให้เหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละพื้นที่พร้อมทั้ง พัฒนาทักษะฝีมือบุคคลากรและเครือข่ายคมนาคมขนส่ ง และปรับปรุง พัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบายทีเ่ กีย ่ วข้องกับอุตสาหกรรมกีฬา ธุรกิจบริการ และการท่องเทีย ่ วของประเทศให้สอดคล้องกับการท่องเทีย ่ ว ทีห ่ ลากหลายรูปแบบ รูปที่ 1 จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วต่างประเทศทีเ่ ข้ามาในประเทศไทย ตัง ้ แต่ ปีพ.ศ. 2555 – 2559

35,000,000 30,000,000 25,000,000 20,000,000 15,000,000 10,000,000 5,000,000 2555

2556

2557

2558

2559

ทีม ่ า : กรมการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย (2561) หมายเหตุ: ข้อมูลเดือนกันยายน - ธันวาคม 2559 เป็นข้อมูลเบือ ้ งต้นของส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

( 144 )


OBELS OUTLOOK 2017

การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว ประกอบด้วยธุรกิจตัง้ แต่ตน ้ น�ำ้

จนถึงปลายน�้ำหลากหลายแขนง เช่น ธุรกิจนําเที่ยว ธุรกิจอาหารและ ่ ต่างมีความเชือ ่ กันและกัน เครือ ่ งดืม ่ ธุรกิจทีพ ่ ัก ซึง ่ มโยงและสนับสนุนซึง เพื่อสร้างผลประโยชนต่อแหล่งท่องเที่ยวทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับ ประเทศ ด้วยกระแสการพัฒนาและขยายตัวของอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว อย่างต่อเนื่อง ทําให้เกิดธุรกิจใหม่ทเี่ กีย ่ วข้องกับการจัดการประชุมสัมมนา และการท่องเที่ยวเป็นรางวัลหรืออุตสาหกรรมไมซ์ (MICE industry: ่ ปัจจุบัน Meeting, Incentives, Conventions and Exhibitions) ซึง เป็นหนึ่ งในอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจการ ท่องเทีย ่ ว โดยอุตสาหกรรม “MICE” หมายถึง กลุ่มธุรกิจ 4 กลุ่ม ได้แก่ ธุรกิจการจัดประชุม (Meeting) การท่องเทีย ่ วเพือ ่ เป็นรางวัล (Incentive) ธุรกิจจัดประชุมนานาชาติ (Convention) และธุรกิจจัดแสดงสิ นค้า/ ่ นักท่องเทีย นิทรรศการ (Exhibition) ซึง ่ วกลุ่มดังกล่าวนี้เป็นนักวิชาการ นั กธุรกิจ นั กศึ กษา และผู้ที่สนใจ ซึ่งเป็นกลุ่มนั กท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ เมือ ่ เปรียบเทียบกับกลุ่มนักท่องเทีย ่ วอืน ่ ๆ

ข้อ มู ล ของส� ำนั กงานส่ ง เสริ ม การจัดประชุม และนิ ทรรศการพบว่า

ปีพ.ศ.2559 ประเทศไทยต้อนรับนักท่องเทีย ่ วไมซ์จากต่างประเทศจ�ำนวน ้ จาก 1,001,083 คน สร้างรายได้ประมาณ 81,137 ล้านบาท โดยเพิม ่ ขึน พ.ศ.2557 ร้อยละ 4.36 ทีม ่ ีนักท่องเทีย ่ วไมซ์จ�ำนวน 919,164 คน และ ้ ร้อยละ 0.21 ทีส เพิม ่ ร้างรายได้ประมาณ 80,800 ล้านบาท นอกจาก ่ ขึน ้ อย่างต่อเนื่องจาก นี้จ�ำนวนนักท่องเที่ยวไมซ์ในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึน ้ เป็นร้อยละ พ.ศ.2555 ทีม ่ ีนักท่องเทีย ่ วไมซ์จ�ำนวน 895,224 คน เพิม ่ ขึน 138.27 ในพ.ศ.2559 ที่มีนักท่องเที่ยวไมซ์จ�ำนวน 28,854,061 คน อย่างไรก็ ต าม ถึ ง แม้ ว่า ในปี พ.ศ.2555 จะสามารถสร้างรายได้ป ระมาณ 79,770 ล้านบาท แต่ในปีพ.ศ.2559 สร้างรายได้ประมาณ 73,322 ล้านบาท ซึ่ง ลดลงร้ อ ยละ 2.09 จากปี พ .ศ.2557 จากข้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว แสดงถึ ง ( 145 )


OBELS OUTLOOK 2017

ศั กยภาพและแนวโน้ มในการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่ องของ อุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศไทยดังตารางที่ 1 และตารางที่ 2 ตารางที่ 1 จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วไมซ์จากต่างประเทศในประเทศไทยและรายได้จาก อุตสาหกรรม MICE 2559

2558

2557

จ�ำนวน

รายได้

จ�ำนวน

รายได้

จ�ำนวน

รายได้

Meetings

258,483

23,445

262,538

28,397

232,736

25,173

Convention

298,564

25,789

294,371

27,339

1,001,083

81,137

985,686

87,086

Incentives

Exhibition MICE

263,556

180,480

16,217

254,125

15,686

174,652

16,136

240,546

15,214

157,996

15,274

287,886

26,737

919,164

80,800

13,616

ทีม ่ า : ส�ำนักงานส่ งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (2561) หน่วย : รายได้ (ล้านบาท) และ จ�ำนวน (คน)

ตารางที่ 2 จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วไมซ์ในประเทศไทยและรายได้จากอุตสาหกรรม MICE 2559

Meetings

Incentives

Convention Exhibition MICE

2558

จ�ำนวน

รายได้

571,659

720

3,713,680

5,321

181,548

4,387,174

28,854,061

641

66,640 73,322

จ�ำนวน 313,379

2557 รายได้

2556

รายได้

431

748,290

1,963

2,545

1,479,967

4,867

403,361

2,770

1,683,953

40,655

1,300,795

จ�ำนวน

23,702,488 46,401

711,767

1,568,151

2,516

22,148

14,508,175 31,494

2555

จ�ำนวน

รายได้

จ�ำนวน

รายได้

315,961

31,254

292,038

28,224

258,286

26,891

220,042

24,412

1,013,502

88,485

895,224

247,936 191,319

15,816

14,524

218,808 164,336

14,423 12,711

79,770

ทีม ่ า : ส�ำนักงานส่ งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (2561) หน่วย : รายได้ (ล้านบาท) และ จ�ำนวน (คน)

ท่ า มกลางความเปลี่ ย นแปลงของสภาพเศรษฐกิ จ สั ง คม และ

วัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาคต่างมีศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยวใน หลากหลายรูปแบบ ท�ำให้จังหวัดต่างๆ มีแนวทางพัฒนาการท่องเทีย ่ วเพือ ่ ้ นอกจากจังหวัดเชียงใหม่ กรุงเทพ และ รองรับอุตสาหกรรมไมซ์มากขึน พัทยา ทีเ่ ป็นเมืองหลักของอุตสาหกรรมไมซ์แล้วนั้น ทัง ้ นี้จังหวัดเชียงราย ถือเป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญของภาคเหนือ และมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวทัง้ ด้านศิลปะ ประเพณีวฒ ั นธรรมทีม ่ ค ี วามหลากหลายทางชาติพน ั ธุ์ ( 146 )


OBELS OUTLOOK 2017

ในรูปแบบล้านนา ไทลือ ้ ไทใหญ่ ไทเขิน จากสิบสองปันนาผสมผสานเข้า ด้วยกัน นอกจากนี้ ยั ง มี สถานที่ท่ องเที่ย วที่ส ามารถเที่ย วชมธรรมชาติ, วิถีชีวิต, เทีย ่ วชมโบราณสถาน การศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

ทัง ้ นี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายได้กล่าวว่า การสร้างความสะดวก

สบายเป็นสิ่งส�ำคัญ ความได้เปรียบของเชียงราย คือ ค่าครองชีพทีน ่ ้อย กว่า มีแหล่งท่องเทีย ่ วทีม ่ ีความหลากหลาย ประกอบกับมีศิลปวัฒนธรรม ทีม ่ ีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว รวมไปถึงการมีแหล่งการค้าชายแดนที่ มีมูลค่าสู ง เชียงรายถือเป็นศูนย์กลาง GMS การท่องเทีย ่ วกับ MICE จะ ควบคู่กันไป ธุรกิจการประชุมสัมมนาเป็นสิ่งทีใ่ หญ่มาก ต้องมีการเตรียม ความพร้อม เร่งปรับแก้ผังเมือง และจัดหาทีพ ่ ักให้เพียงพอ อีกสิ่งทีต ่ ้อง เพิม ่ วบินทีบ ่ ินตรงมาเชียงรายจากทัง ้ ในประเทศและต่างประเทศ ่ คือ มีเทีย ้ ความเป็น MICE ของเชียงรายมีอยู่แล้ว จึงเหมาะสมอย่างยิง ให้มากขึน ่ ทีจ ่ ะผลักดันให้เป็นเมือง MICE อย่างเต็มตัว (ส�ำนักงานประชาสั มพันธ์ ้ การพัฒนาจังหวัดเชียงรายสู่การเป็น MICE จังหวัดเชียงราย, 2560) ดังนัน City จ�ำเป็นต้องมีการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เหมาะสมต่อศักยภาพ ของจังหวัดเชียงราย จากการสัมภาษณ์คณ ุ ประธาน อินทรียงค์ คณะกรรมการ จัดงาน Thailand MICE Seminar on SEZ 2017 in Chiang Rai ที่ ผ่านมาต่อมุมมองด้าน MICE City ในจังหวัดเชียงราย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

จังหวัดเชียงรายนั้นไม่ได้เหมาะสมทีจ ่ ะเป็น Mice City โดยเฉพาะ

ซึ่ ง เบื้ อ งต้ น แล้ ว ในจั ง หวั ด เชี ย งรายมี ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ประวั ติ ศ าสตร์ ม ากมายที่ส ามารถดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ย ว ไม่ ว่ า จะเป็น การ ท่องเทีย ่ วเชิงวัฒนธรรม เชิงศิลปวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ เพียงแต่ว่า การประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงรายในปัจจุบันนั้นยังไม่ได้มีการหยิบยกจุด ่ ท�ำให้นักท่องเทีย เด่นทีส ่ �ำคัญมาน�ำเสนอ ซึง ่ วทีม ่ าท่องเทีย ่ วทีเ่ ชียงรายไม่ ได้รับข้อมูลเกีย ่ วกับสถานทีท ่ ่องเทีย ่ ว ท�ำให้นักท่องเทีย ่ วไม่รู้ว่าจะต้องไป ( 147 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ หากทางจังหวัดท�ำการ เทีย ่ วทีไ่ หน ไปไหนอย่างไร ความเป็นมายังไง ซึง ตลาด และให้ ข้ อ มู ล เกี่ย วกั บ สถานที่ท่ อ งเที่ย วในจั ง หวั ด เชี ย งรายแก่ นักท่องเทีย ่ ว เชือ ่ ว่าจะสามารถดึงดูดนักท่องเทีย ่ วมายังจังหวัดเชียงราย ได้มากขึ้นจากเดิม และจะน� ำไปสู่ การพัฒนาจังหวัดเชียงรายสู่ การเป็น MICE City ได้อย่างแน่นอน โดยเริม ่ ว ่ ต้นจากการพัฒนาแผนการท่องเทีย ในจังหวัดเชียงรายจากแผนแม่บทว่าด้วยการพัฒนาการท่องเที่ยว 5 ปี ประกอบไปด้วย 5 แผนยุทธศาสตร์ ได้แก่ ่ ว ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพสิ นค้าและบริการด้านการท่องเทีย ในเชียงราย

• การสร้างจุดเด่นในอ�ำเภอเชียงแสนโดยการสร้างวงเวียนช้างงูเพือ ่

ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ และมีแผนจะผลักดันให้เป็นแลนด์มาร์คของ อ�ำเภอเชียงแสนเป็นการประชาสั มพันธ์ประวัติความเป็นมา ต�ำนาน และ ส่งเสริมกิจกรรมทีช ่ ว่ ยดึงดูดนักท่องเทีย ่ วให้มาท่องเทีย ่ วทีอ ่ ำ� เภอเชียงแสน เช่น การบิณฑบาต ไฟเปลีย ่ นสีเหมือนกับหอนาฬิกา เพือ ่ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ ว ให้มาเยีย ่ มชม

• การสร้างศู นย์การเรียนรู้และประวัติศาสตร์ของพื้นที่สามเหลี่ยม

ทองค�ำเพือ ่ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ วชาวจีนจากเซินเจิน ่ ว ้ โดยมีการน�ำเสนอเกีย ้ อ กับประวัตศ ิ าสตร์ของฝิ่ น น�ำเสนอว่าพืน ้ ทีแ ่ ห่งนีค ื พืน ้ ทีท ่ ป ี่ ระเทศไทยเคย มีการปราบปรามยาเสพติดครัง ้ ใหญ่ และมีผู้คนบาดเจ็บล้มตายมากมาย

• การส่งเสริมเรือ ่ งราววิถช ี วี ต ิ ของบรรดาเหล่ากลุม ่ ชาติพน ั ธุท ์ ม ี่ ม ี ากมาย

ในจั ง หวั ด เชี ย งราย เพื่อ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ย วที่ส นใจให้ เ ข้ า มาเยี่ย มชม วัฒนธรรมพืน ้ บ้านของในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์

( 148 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ ฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างพืน

• มุ่งเน้นเรือ ่ งความปลอดภัยของนักท่องเทีย ่ วเป็นหลัก เพิม ่ ความ

สะดวกในการประชาสั มพันธ์ข้อมูลการท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยวที่มาท่อง เทีย ่ วในจังหวัดเชียงราย โดยมีแนวคิดทีจ ่ ะสร้าง application ทีร่ วบรวม ข้อมูลทั้งหมดในจังหวัดเชียงราย ข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลของสถานที่ ท่องเทีย ่ ว ข้อมูลเกีย ่ วกับทีพ ่ ก ั แต่ละทีว่ า่ เป็นแบบใด เหมาะกับลูกค้ากลุม ่ ไหน และข้อมูลเกีย ่ วกับค่าใช้จ่าย เพือ ่ อ�ำนวยความสะดวกและตอบสนองความ ต้องการให้แก่นักท่องเทีย ่ วทีม ่ าจังหวัดเชียงราย

• แนวคิดการผลักดันให้จังหวัดเชียงรายกลายเป็นศูนย์กลางด้าน

โลจิสติกส์ทางอากาศ ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

• การปรับปรุงการศึกษาให้นักเรียนได้เรียนรู้ว่าในท้องถิน ่ ของตัวเอง

นั้นมีอะไรดีทต ี่ ัวเองต้องเรียนรู้เกีย ่ วกับพืน ้ ทีท ่ ต ี่ ัวเองอยู่บ้างเพือ ่ ให้เด็กทุก คนสามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ของ ตัวเองกับนักท่องเทีย ่ วได้ และสามารถอยู่ร่วมกับนักท่องเทีย ่ ว

• การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนได้เรียนรูท ้ จ ี่ ะท�ำมาหากินกับสิ่งที่

มีอยู่ในท้องถิน ่ และตระหนักถึงประวัติความเป็นมา ตลอดจนเอกลักษณ์ ของท้องถิน ่

• การให้ความรู้แก่ข้าราชการที่อยู่ในจังหวัดเชียงรายให้เข้าใจเกี่ยว

กับระบบในองค์กร เพือ ่ ไม่ทำ� ให้การท่องเทีย ่ วในจังหวัดเชียงรายเสียโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 4 การตลาดและการเสริมสร้างภาพลักษณ์

• การขอความร่วมมือกับทางเซินเจิน ้ ของจีน โดยจะให้มีการน�ำกลุ่ม

นักท่องเที่ยวจากจีนเข้ามาเพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของฝิ่ นในพื้นที่ สามเหลีย ่ มทองค�ำ รวมถึงเรือ ่ งการเพาะปลูกชาป่าและชาอัสสั ม ( 149 )


OBELS OUTLOOK 2017

• การวางแผนการจัดกิจกรรมและนิทรรศการตลอดเวลาใน 1 ปี ว่า

ในแต่ละเดือนมีกิจกรรมอะไร เพือ ่ ท�ำให้เชียงรายในอนาคตไม่มีช่วง high season หรือ low season อีกต่อไป

• การสร้างแอพพลิเคชั่นเพื่อให้นักท่องเที่ยวมีความสะดวกในการ

• การขอความร่วมมือจากกลุ่มผู้ให้บริการในจังหวัดเชียงรายให้มา

้ ท่องเทีย ่ วมากยิง ่ ขึน

รวมตั ว และร่ ว มมื อ กั น เพื่อ วางแผนการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ย วในจั ง หวั ด

เชียงรายโดยมีการแยกประเภทของผู้ให้บริการ และผู้รับบริการเพื่อตอบ สนองกลุ่มลูกค้าอย่างชัดเจน ซึ่งอาจท�ำเป็นเวทีเปิดรับความคิดเห็นในที่ สาธารณะและผูใ้ ห้บริการน�ำเสนอแนวคิดของตัวเอง ว่ามีกลยุทธ์ทจ ี่ ะสามารถ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ วได้อย่างไร

• การตลาดเกีย ่ วกับกีฬา เช่น กอล์ฟ วิง ่ มาราธอน หรือไตรกีฬา โดย

ประชาสัมพันธ์ให้คนในพืน ้ ทีใ่ กล้เคียงได้มีส่วนร่วมด้วย ไม่ใช่แค่กับบุคคล เฉพาะกลุ่ม

• การท�ำสมุดเพือ ่ ให้นักท่องเทีย ่ วได้ตามเก็บแสตมป์ของแต่ละสถานที่

• การเสริมสร้างภาพลักษณ์ อาจเป็นเรื่องความปลอดภัยของนั ก

ท่องเทีย ่ วในจังหวัดเชียงรายและน�ำกลับบ้านไปเป็นทีร่ ะลึก

ท่องเทีย ่ ว โดยหากเรามี application แล้วจะมีการให้นักท่องเทีย ่ วใส่ขอ ้ มูล เพื่อติดตามพฤติกรรมการใช้ชีวิตของนักท่องเที่ยวและให้มีการแชร์ความ รู้สึกต่อสถานทีท ่ ่องเทีย ่ วแก่นักท่องเทีย ่ วด้วยกัน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการและกฎหมาย

• การวางแผนจั ด ประชุ ม เกี่ย วกั บ Mice City ที่โ รงแรม A star

Phulare ภายในจังหวัดเชียงราย โดยได้ท�ำการเชิญผู้มีอ�ำนาจในแต่ละ พื้นที่เขตเศรษฐกิจใกล้เคียง มีเป้าหมายให้ในแต่ละเขตพื้นที่เศรษฐกิจ

ได้แบ่งปันข้อมูลการด�ำเนิ นการ ปัญหาที่เกิดขึ้น และระบุความร่วมมือที่ ต้องการจากจังหวัดเชียงรายและประเทศไทย ( 150 )


OBELS OUTLOOK 2017

• การปรับปรุงและยืดหยุ่นกฎหมายเกี่ยวกับรถบ้านจากประเทศ

ใกล้ เ คี ย งให้ ส ะดวกต่ อ การเข้ า มาในประเทศไทยมากยิ่ ง ขึ้น เพื่ อ ดึ ง ดู ด นักท่องเทีย ่ วชาวต่างชาติ

จังหวัดเชียงรายมีการท่องเทีย ่ วทีน ่ ่าสนใจทีห ่ ลากหลาย นอกเหนือ

จากพิพธ ิ ภัณฑ์บา้ นด�ำของอาจารย์ถวัลย์ ไร่ชาฉุยฟง ไร่สิงห์ปาร์คเชียงราย วัดร่องขุ่นของอาจารย์เฉลิมชัย และคิงส์ โรมัน เพียงแต่ว่าในปัจจุบันยัง ไม่มีการท�ำการตลาดทีด ่ ีพอทีจ ่ ะน�ำเสนอสิ่งทีเ่ รามีแก่นักท่องเทีย ่ วทีเ่ ข้ามา เทีย ่ วในจังหวัดเชียงราย ท�ำให้จังหวัดเชียงรายในยังไม่เป็นทีน ่ ิยมของนัก ท่องเทีย ่ ว จึงมีแนวคิดทีจ ่ ะจัดตัง ้ คณะกรรมการผู้ให้บริการ โดยรวบรวมผู้ ให้บริการทีเ่ กีย ่ วข้องในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นด้านการคมนาคม ด้านอาหาร ด้านทีพ ่ ก ั หรือด้านวัฒนธรรมการใช้ชวี ต ิ ของคนในแต่ละพืน ้ ทีม ่ าเพือ ่ รวบรวม ข้อมูลที่มีในแต่ละด้าน สามารถที่จะหยิบยกจุดไหนมาเพื่อน�ำเสนอ และ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ วให้เข้ามาในจังหวัดเชียงราย โดยการจะมีการจัดตัง ้ เวที สาธารณะเพือ ่ ให้ในแต่ละฝ่ายสามารถชีแ ้ จงข้อดีขอ ้ เสีย ปัญหาในการด�ำเนิน ธุรกิจ และแนวทิศทางความต้องการต่อการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย ้ และกลาย เพือ ่ ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเทีย ่ วในจังหวัดเชียงรายให้ดีขึน เป็นสถานทีท ่ ่องเทีย ่ วทีย ่ ง ั่ ยืนรองรับการเป็นเมือง MICE City ต่อไป

ผู้ให้สัมภาษณ์ นายประธาน อินทรียงค์

( 151 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2560).

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). สื บค้นจากhttp://www.nesdb.

go.th/ewt_news.php?nid=6420

ส�ำนักงานประชาสั มพันธ์จังหวัดเชียงราย (2560). เชียงรายเดินหน้า

พัฒนาบุคลากรเตรียมพร้อมยกระดับเป็นเมือง MICE.

สืบค้นจาก http://prcr.prdnorth.in.th/news-detail.php?

type=1&id=287

ส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (2560). รายงาน

ประจ�ำปีพ.ศ. 2555 – 2559. สืบค้นจาก https://www.

businesseventsthailand.com/th/about-us/annual-reports/

( 152 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทิศทางการพัฒนาเชียงราย สู่ เมืองสมุนไพร เรียบเรียงโดย สิทธิชาติ สมตา

ั ญาและทรัพยากรที่เป็นเอกลักษณ์ สะท้อน สมุนไพรไทย ภูมิปญ

วัฒนธรรม รวมถึงเป็นรากฐานเกษตรกรรมทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าของประเทศไทย ทัง้ นี้ ่ ในวิถช สมุนไพรเป็นส่วนหนึง ี วี ต ิ และสังคมไทยมาโดยตลอด ดังทีเ่ ห็นได้จาก การน�ำสมุนไพรมาประกอบในอาหารคาว หวาน เป็นยารักษาโรค ใช้ในการ ั ญา บ�ำบัดดูแลและฟื้ นฟูสุขภาพ หรือแม้กระทัง่ ใช้เพือ ่ การเสริมความงาม ภูมป ิ ญ ไทยเหล่านี้ได้รับการสั่งสม สื บทอด และพัฒนามาอย่างยาวนานเนื่องจาก ้ ยกว่า 20,000 ชนิด ซึง่ สามารถ ประเทศไทยเป็นเขตร้อนชืน ้ มีพน ั ธุพ ์ ช ื ไม่นอ น�ำมาใช้เป็นสมุนไพรกว่า 1,800 ชนิด (สถาบันวิจย ั ระบบสาธารณสุข, 2559) อย่างไรก็ตามปัจจุบน ั การพัฒนาสมุนไพรไทยนับว่ามีบทบาทส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการแพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และการพัฒนาเศรษฐกิจ ทีผ ่ า่ นมา การพัฒนาสมุนไพรในประเทศไทยมีค่อนข้างน้อย โดยคนส่ วนใหญ่รู้จัก เพียงแต่ผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ “อภัยภูเบศร” ทีม ่ ีผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ ครอบคลุมส� ำหรับใช้ในชีวิตประจ�ำวันและเป็นยารักษาโรคต่างๆ พร้อมทั้ง มีบริการรักษาพยาบาลด้วยสมุนไพรที่โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร นอกจากนี้จังหวัดปราจีนบุรี มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรตัง ้ แต่ต้นทาง ถึงปลายทาง และสามารถพัฒนาให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงการเกษตร ( 153 )


OBELS OUTLOOK 2017

และสมุนไพรภายใต้แบรนด์อภัยภูเบศร ทัง ้ นี้การพัฒนาสมุนไพรไทยยังไม่ แพร่หลายในจังหวัดต่างๆ รวมถึงการสร้างการยอมรับและน�ำไปใช้ประโยชน์ ให้ได้อย่างกว้างขวางและสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้แก่ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร จึงท�ำให้เกิดการขับเคลือ ่ นแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ.2560 - 2564 เพือ ่ เป็นการส่งเสริมผลิตผลของสมุนไพร ทีม ่ ีศักยภาพตามความต้องการของตลาดและคุณภาพระดับสากล รวมทัง ้ การส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพือ ่ รักษาโรคและเสริมสร้างสุขภาพ ซึง่ สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ที่มีการส่ งเสริม การยกระดับการผลิตสิ นค้าสมุนไพรให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและการบริโภคอาหารเพื่อสุ ขภาวะ และการสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้แก่สมุนไพรโดยจากแผนแม่บทแห่งชาติวา่ ด้วยการ พัฒนาสมุนไพรไทยฉบับที่ 1 ได้คัดเลือกจังหวัดทีม ่ ีความพร้อมเพือ ่ พัฒนา ให้เป็นเมืองสมุนไพร (Herbal City) และส่งเสริมการพัฒนาเมืองสมุนไพร ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย ปราจีนบุรี สกลนคร และ สุราษฏร์ธานี

รูปที่ 1 ศูนย์จ�ำหน่ายสินค้าเครือข่ายสมุนไพรแห่งประเทศไทย สาขาที่ 1 ทีอ ่ �ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

( 154 )


OBELS OUTLOOK 2017

ปัจจุบน ั จังหวัดเชียงรายจัดตัง้ ร้านไทยเฮิรบ ์ แอท เชียงราย ณ อ�ำเภอ

เชียงของ เป็นแห่งแรกของประเทศไทย อีกทั้งจังหวัดเชียงรายได้มีการ ส่ งเสริมการผลิตพืชสมุนไพรเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตการ จัดการสิ นค้าเกษตรและความมัน ่ คงของอาหาร และอ�ำเภอเชียงของได้มี แนวคิดทีจ ่ ะด�ำเนินการจัดตัง ้ สถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรแห่งชาติในต�ำบล บุญเรือง อ�ำเภอเชียงของ เนื่องจากพืน ้ ทีด ่ ง ั กล่าวเป็นป่าชุมชน และป่าชุม ่ น�้ำ ที่เป็นแหล่งสมุนไพรที่ส�ำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่ งของจังหวัดเชียงราย ซึ่ง สอดคล้องกับแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบับที่ 1 ทัง ้ นี้ ทางส� ำนักงานเศรษฐกิจชายแดน และโลจิสติกส์ ได้ด�ำเนินการสั มภาษณ์ ดร.เหมโชค สิ งห์สมบุญ ประธานอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย เกีย ่ วกับแนวทางการพัฒนาเชียงรายสู่เมืองสมุนไพร ดังต่อไปนี้ สถานการณ์และความเป็นไปได้ของสมุนไพรเชียงราย

ที่ผ่านมาคนไทยส่ วนใหญ่รู้จักเพียงแต่สมุนไพรอภัยภูเบศรของ

จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีการพัฒนาโครงการสมุนไพรที่ประสบ ความส� ำเร็จแล้วในอดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นการพัฒนาโครงการสมุนไพร ของจังหวัดเชียงรายจึงจ�ำเป็นต้องศึกษารูปแบบของอภัยภูเบศรมาปรับใช้ ่ สามารถพัฒนาสมุนไพรเชียงรายเพือ ในพืน ้ ทีจ ่ ง ั หวัดเชียงราย ซึง ่ น�ำไปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ อาทิ องค์ความรู้ที่ถูกวิธีด้านการเพาะปลูกสมุนไพร โดย การน�ำสมุนไพรในท้องถิน ้ ทีท ่ ส ี่ ามารถ ่ จากธรรมชาติมาท�ำการเพาะปลูก ในพืน ดูแลได้ เช่น บ้าน สวน ไร่ และนา เป็นต้น โดยไม่จ�ำเป็นต้องรุกล�ำ้ พืน ้ ทีป ่ ่า สาเหตุเพราะว่า การเก็บสมุนไพรท้องถิน ่ จากธรรมชาติ โดยไม่น�ำมาเพาะปลูก จะน� ำไปสู่ การที่ไม่สามารถควบคุมคุณภาพของผลผลิตและการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ได้ อันเนื่องมาจากวัตถุดบ ิ ทีไ่ ม่ได้ถก ู ควบคุมโดยแหล่งเพาะปลูก อาจไม่สามารถก�ำหนดจ�ำนวนของวัตถุดิบในการผลิตทีเ่ พียงพอ

( 155 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ งั หวัดเชียงรายมีสมุนไพรหลากหลายชนิด เช่น ต้นไพลหรือทีน ทัง้ นีจ ่ ิยม

เรียกว่าต้นตู่ ทีม ่ ส ี รรพคุณบรรเทาอาการแก้ปวดเมือ ่ ยทัง้ หลาย ว่านชักมดลูก ต้นป่าช้าหมอง มีสรรพคุณช่วยลดอาการแก้ปวด แก้อก ั เสบ แก้ระบบเลือด ภายใน และแก้เบาหวาน ต้นขีส ้ อ มีสรรพคุณปรับปรุงต้านทานในร่างกาย สร้างความสมดุล และสามารถน�ำมาสกัดเป็นน�้ำมันหอมระเหย ทีใ่ ช้ส�ำหรับ ทาผิวหนัง แก้โรคพยาธิบนผิวหนัง กันไรฝุ่น ที่เป็นสาเหตุให้ติดเชื้อบน ่ น�้ำมันหอมระเหยสามารถใช้ทาป้องกันได้ ต้นรากสามสิ บ ทีม ผิวหนัง ซึง ่ ี สรรพคุณบ�ำรุงผิวพรรณ เพิม ่ ฮอร์โมน และคอลลาเจน ต้นรางจืดสรรพคุณ คือล้างสารพิษในร่างกาย ต้นกระดูกไก่ด�ำ ส่วนใหญ่มักน�ำมาสกัดเป็นยาถู ่ เป็นสมุนไพรพืน นวด แก้ปวดกระดูก รวมถึงขิงและขมิน ้ บ้านที่ ้ เป็นต้น ซึง หาได้ในท้องถิน จึงเป็นสิ่งส�ำคัญต่อการน�ำสมุนไพรท้องถิน ่ ่ มาเพาะปลูก ่ แหล่งต้นก�ำเนิด เพือ ่ การใช้ประโยชน์ โดยไม่เก็บจากธรรมชาติเพือ ่ คงไว้ซึง ของสมุนไพรในท้องถิน ่

แต่ก็ไม่ใช่ว่าสมุนไพรต่างถิ่นจะปลูกไม่ได้อย่างต้นว่านหางจระเข้

่ หาได้ยากให้ต่างพืน แต่ถ้าหากน�ำสมุนไพรทีม ่ ีอยู่ในเฉพาะท้องถิน ้ ทีม ่ า ่ ซึง เพาะปลูกจะท�ำให้เราสามารถศึกษาและเข้าใจในสรรพคุณได้อย่างชัดเจน มากกว่า อย่างไรก็ตาม ที่ส�ำคัญทุกสิ่ งทุกอย่างของสมุนไพรไทยมักจะมี สรรพคุณที่คล้ายกัน สามารถพบหาหรือเพาะปลูกได้ในพื้นที่มีลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ไกล้เคียงกัน โดยเฉพาะทางภาคเหนือที่มีความได้เปรียบ ทางภูมิศาสตร์และสภาพภูมิอากาศที่เย็นไม่เหมือนในภาคอื่นๆ และเป็น เส้นทางทีเ่ ข้าถึงตลาด เมียนมา สปป.ลาว และจีน ถือเป็นโอกาสทางการ ตลาดส�ำหรับภาคเหนือ เนื่องจากมีอาณาเขตติดต่อกับเพือ ่ นบ้านทีม ่ ีความ นิยมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแพทย์แผนโบราณในการรักษาโรค ทั้งนี้ด้วยสภาพอากาศ ท�ำให้ภาคเหนือมีความได้เปรียบจากภูมิภาคอื่นๆ ตัวอย่างเช่น ถังเช่า ที่สามารถพบได้ในทิเบตแต่สามารถปลูกได้ในทาง ภาคเหนือ โดยไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเพื่อการเพาะปลูก และเป็น ( 156 )


OBELS OUTLOOK 2017

จุดเด่นของสมุนไพรทางภาคเหนือ ทีไ่ ม่ค่อยมีคนรู้จักจึงเป็นข้อได้เปรียบ ของสมุนไพรเชียงรายและสมุนไพรทางภาคเหนือ ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพรเชียงราย

การพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพรจังหวัดเชียงราย ควรมีนโยบาย

สนับสนุนโครงการพัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจรตัง ้ แต่การศึกษาและการ วิจัย การให้ค�ำปรึกษาทางด้านสุ ขภาพ การนวดแผนไทย และการรักษา เป็นต้น ในการให้ความรูเ้ กีย ่ วกับสมุนไพรในแต่ละท้องถิน ่ ถึงการมีสรรพคุณ และมีสมุนไพรแต่ละชนิด ทัง ้ นี้ควรมีการส่งเสริมการเพาะปลูกสมุนไพรใน ระดับอ�ำเภอของจังหวัดเชียงรายทีเ่ หมาะสมแก่การเพาะปลูกสมุนไพรท้องถิน ่ อีกทัง้ ควรมีการพัฒนาเป็นสถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วและสถานทีจ ่ ำ� หน่ายผลิตภัณฑ์ สมุนไพรเชียงราย และภาครัฐควรมีการสนับสนุนภาคการประชาสั มพันธ์ และแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำ รวมถึงการอบรมและให้ความรู้แก่เจ้าหน้ าที่ สาธารณสุ ข

ทัง ้ นี้ควรมีการส่งเสริมการเพาะปลูกสมุนไพรอินทรีย์ การผลิต และ

แปรรูปของสมุนไพรในเชียงราย ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตและจัดจ�ำหน่าย มากนั ก ซึ่งควรจะมีการรวมกลุ่มระดับจังหวัดและจดสิ ทธิบัตรสมุนไพร ภายใต้แบรนด์ “สมุนไพรเชียงราย” หากด�ำเนินธุรกิจด้วยต่างคนต่างท�ำ อาจจะส่งผลเสี ยเมือ ่ มีการส่งออกสิ นค้าไปยังต่างประเทศ นอกจากการน�ำ ้ สมุนไพรยังสามารถเป็นยารักษาโรคต่างๆ สมุนไพรมาประกอบอาหารแล้วนัน ้ ภาครัฐควรสนันสนุนให้มก ฉะนัน ี ารรับรองด้วยองค์การอาหารและยา (อย.) และสถาบันวิจย ั ทีไ่ ม่ใช่เป็นเพียงสินค้า หนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เพือ ่ ให้ธุรกิจสมุนไพรเชียงรายเติบโตและสอดคล้องไปให้ทิศทางเดียวกัน กับยา นอกจากนี้ในอนาคตควรมีการศึกษาน�ำความรู้ (know-how) จาก ประเทศญี่ปุ่น และเยอรมันทางด้านเทคโนโลยี “สกัดเย็น” และ “ระบบ สูญญากาศ” (vacuum fried) แต่การสกัดสมุนไพรของเมืองไทยจะเน้น ( 157 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ จะสามารถฆ่าเชือ ไปในทางด้านต้ม ซึง ้ ได้ทุกอย่าง แต่หากเกิน 100 องศา เซลเซียส ข้อเสี ยคือ จะท�ำให้สรรพคุณของสมุนไพรลดลง แต่ถ้าเราใช้ ่ “ระบบสุ ญญากาศ” จะใช้อุณหภูมิเพียงแค่ 80 องศาเซลเซียสเท่านั้น ซึง ห่างกันแค่ 20 องศาเซลเซียส แต่สรรพคุณของสมุนไพรยังอยู่ครบ แล้ว ขณะเดียวกันก็ฉายรังสี เป็นการฆ่าเชือ ้ ราไปพร้อมกันด้วย เพราะสิ่งทีต ่ ้อง ระวังของสมุนไพรคือเชื้อรา และข้อเสี ยเปรียบอีกอย่างหนึ่ งคือกลิ่นกับ รสชาติ แต่ถ้าสรรพคุณสมุนไพรรับประทานแล้วหายจากโรคคนส่ วนใหญ่ จะไม่กังวลกับเรื่องนี้ เพราะเมื่อเปรียบเทียบสมุนไพรในอดีตกับปัจจุบัน แล้วนั้นสมุนไพรในปัจจุบันมีการเก็บรักษาได้นานกว่าในอดีต เนื่องจากใน อดีตยาจีน ไม่สามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานานเพราะส่ วนใหญ่ของสมุนไพร จีนจะใส่ “สเตียรอยด์” เพือ ่ ยืดอายุของสมุนไพรระหว่างการเดินทาง แต่ ้ เป็นส่วน ปัจจุบน ั การคมนาคม และโลจิสติกส์ได้อำ� นวยความสะดวกมากขึน ส�ำคัญทีจ ่ ะเพิม ่ คุณภาพของสินค้าโดยไม่ต้องปรุงแต่งด้วยสารเคมี ดังนั้น สมุนไพรไทยจึงกล้าพูดได้ว่ามีคุณภาพมากกว่าในอดีต

จากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงทุกคนได้ผ่าน

โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) การประชาสั มพันธ์ผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดียเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิง ่ ของโครงการต่างๆ เช่น โครงการสาธิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยโดยเชิญชาวต่างชาติที่สนใจมาดูงาน จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การดูแลสุ ขภาพ ได้แก่ นวด สปา เป็นต้น และการ พัฒนาสถานทีท ่ ่องเทีย ่ วเชิงการเกษตรและสมุนไพร ทิศทางการตลาดสมุนไพรเชียงราย

การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเชียงรายและเป้าหมายทางการตลาด

ควรเน้นการตลาดภายในประเทศ เช่นเดียวกันกับสมุนไพรของอภัยภูเบศร โดยเน้นคุณภาพการผลิตเพือ ่ ขายในประเทศและท�ำให้ผลิตภัณฑ์เป็นทีร่ จ ู้ ก ั รวมถึงการท่องเทีย ่ วด้านสมุนไพร อาจเริม ่ ต้นด้วยการสปา นวด และการ ( 158 )


OBELS OUTLOOK 2017

ให้ความรู้ ซึ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพรเชียงรายจะไม่เน้นการเพิ่ม ผลผลิตแต่จะให้ความส�ำคัญทีค ่ ุณภาพ และไม่เน้นตลาดทีใ่ หญ่เกินก�ำลัง การผลิต หากเน้นการขยายตลาดไปยังประเทศจีน และน�ำราคาไปอิงตลาด ทีม ่ ข ี นาดใหญ่อย่างจีน อาจท�ำให้สมุนไพรเชียงรายเสียเปรียบเช่นเดียวกัน ราคายางพารา

การพัฒนาสมุนไพรให้เป็นสินค้าตลาดเฉพาะ (niche market) เป็น

ไปได้คอ ่ ยข้างยากทีจ ่ ะท�ำเหมือนกับชา และกาแฟทีต ่ อ ้ งปลูกในพืน ้ ทีส ่ ูงกว่า น�้ำทะเลหรือเก็บผลผลิตจากธรรมชาติ เนื่องจากชาให้ผลผลิตในลักษณะใบ ส่วนกาแฟให้ผลผลิตในลักษณะเมล็ด ซึง่ แตกต่างไปจากสมุนไพรทีส ่ ามารถ น�ำทุกส่ วนของต้นสมุนไพรมาใช้ได้ ฉะนั้นจึงต้องมีการส่ งเสริมการปลูก สมุนไพรในชุมชนด้วยเกษตรอินทรีย์ เราควรจะน�ำมาเพาะปลูกแทนการเก็บ ่ พืชสมุนไพรสามารถปลูกร่วมกับพืชอืน จากแหล่งธรรมชาติ ซึง ่ ได้ท�ำให้เกิด การเกษตรแบบผสมผสาน

ปัจจุบัน การประกอบอาหารไทยส่ วนใหญ่นิยมน�ำสมุนไพรเป็นส่ วน

ประกอบอาหารที่ส�ำคัญ จึงถือว่าเป็นสมุนไพรเป็นอาหารที่สามารถรับ ่ ยา ประทานได้ นอกจากนี้สมุนไพรใช้เป็นยาทาภายนอก หรือจะใช้เป็นกึง รักษาโรคก็ได้ เพราะสมุนไพรครอบคลุมทั้งหมด แล้วแต่ว่าจะจัดอยู่ใน ประเภทไหน แล้วสมุนไพรก็สามารถปลูกได้ในบ้านด้วย อย่างน้ อยที่สุด หลายคนมองว่าต้องเพิ่มรายได้แต่ไม่มองด้านรายจ่าย อย่างการท�ำน�้ำ ว่านหางจระเข้ผสมน�้ำแตงกวาส� ำหรับมาร์กหน้ า ท�ำให้ไม่ต้องไปเสี ยค่า ท�ำหน้าเป็นการลดรายจ่าย ทัง ้ นี้สถาบันการศึกษาต้องเข้ามาช่วยด้านการ ผลิต การแปรรูป และสร้างแนวคิดเกีย ่ วกับสมุนไพรใหม่ๆออกมา เช่น ใคร จะคิดว่ารสเปรีย ้ วกันแมลง รสเผ็ดกันยุง

( 159 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทิศทางการพัฒนาสมุนไพรกับสั งคมไทยในปัจจุบัน

สมุนไพรกับอาหาร เปลีย ่ นจากยาเป็นอาหารเพือ ่ สุขภาพอย่าง เช่น

ตะกร้า ส�ำหรับคนรักสุ ขภาพทีต ่ ้องการลดน�้ำหนักในห้างสรรพสิ นค้าทีเ่ คย จ�ำหน่ายช่วงหนึ่ง ณ ตอนนี้ไม่มีจ�ำหน่ายแล้ว โดยผ่านงานวิจัยมาแล้วว่า วันแรกกินรสชาติเปรีย ้ ว ลดความอยากหรือหยุดหิว วันทีส ่ อง ให้เผาผลาญ เพิ่มโดยมีขมิ้นกับความหวานผสม ซึ่งสิ นค้านี้ก็ถือเป็น Nice market ขณะเดียวกันด้านสมุนไพรกับสังคมผู้สูงอายุควรมีการจัดตะกร้าสมุนไพร ้ งกันหรือรักษาโรคเบาหวาน โรคความดัน โรคมะเร็ง เป็นต้น กินอย่างไรให้ปอ ซึ่งควรน�ำกลับมาท�ำต่อ และการมองสมุนไพรจึงมีมุมมองที่หลากหลาย ้ อยู่กับแต่ละบุคคล โดยบางคนมองว่าสมุนไพรเป็นอาหารหรือบางคน ขึน มองเป็นยา หากมองเป็นยาจึงท�ำให้เกิดทัศนคติด้านลบจากแพทย์แผน ปัจจุบัน และต้องเปลี่ยนความคิดใหม่ เพราะทุกวันสมุนไพรก็มีอยู่ในมื้อ อาหาร หากมองเป็นอาหาร คุณกินอะไรก็จะเป็นแบบนั้น (You are what you eat) เพราะที่ไปท�ำอาหารถือเป็นสมุนไพร คือ ของที่สามารถน�ำมา ต่อยอดได้อีก (By-product) เช่น งา สกัดเป็นน�้ำมันงาจากการท�ำอาหาร แล้วเอาไปผสมกับกระดูกไก่ดำ� มันช่วยเรือ ่ งแก้ปวดเมือ ่ ยกับแก้โรคกระดูกแตก ซึง่ สามารถต่อยอดได้ถอ ื เป็น (By-product) หรือเป็นอาหาร เพราะต่างชาติ ชอบโจมตีเราด้วยค�ำถามที่ว่า มีสารสเตียรอยด์หรือไม่ แต่ยาที่เราน�ำมา ้ แต่มน จากเขามีสารสเตียรอยด์ทงั้ นัน ั ก็เป็นวิธี การยืดอายุของยา (Preserve)

หากสามารถเปลี่ยนทัศนคติของสมุนไพรจากยาเป็นอาหาร แล้ว

อาหารผลข้างเคียงคือการป้องกันโรคภัยต่างๆ ถ้าบริโภคครบโภชนาการ อย่างถูกวิธี ถ้าผลิตภัณฑ์ถก ู ท�ำออกมาให้รบ ั ประทานง่ายแบบสแน็คในราคา ้ เช่น จากการ ทีถ ่ ูกกว่าต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวท�ำให้ตลาดเพิม ่ ขึน ขายเยลลี่คลอลาเจน หรือแอมเวย์นิวทีไลน์แบบเยลลี่ที่ต้องกินเป็นเวลา ่ สิ่งส�ำคัญทีต หรือเมือ ่ ไรก็ได้ สมุนไพรก็เช่นกัน ซึง ่ ้องเน้นย�ำ้ ก่อนทีจ ่ ะท�ำ

( 160 )


OBELS OUTLOOK 2017

ผลิตภัณฑ์เกีย ่ วกับสมุนไพรให้เรียนรู้รสชาติของสมุนไพรก่อน คือ รสชาติ เปรีย ้ ว (ระบบการย่อยอาหาร) รสชาติหวาน (ผิวพันธุ์ดี) รสชาติมัน รสชาติ เค็ ม และรสชาติ จื ด (ล้ า งสารพิ ษ ) รสชาติ ฟ าด (สมานแผล) รสชาติ ข ม ่ สุ ดท้ายสมุนไพรก็คืออาหารแต่ต้องรู้คุณสมบัติรับประทาน (แก้อักเสบ) ซึง แล้วจะได้อะไร โดยไม่มีการปรุงแต่งนอกจากธรรมชาติ อย่างไรก็ตามข้อ เสี ยของสมุนไพรคือ กลิน ่ น ่ แรง รสชาติไม่อร่อยนัก ถ้าหากสามารถเปลีย ทัศนคติได้ว่าสมุนไพรมันเกีย ่ วกับด้านการปรุงอาหารและการช่วยป้องการ ่ ทัง โรคภัย ซึง ้ หมดนี้จะท�ำให้เราชนะอภัยภูเบศรได้ เพราะทางอภัยภูเบศร ยังไม่ได้คด ิ ถึงจุดนี้ ยังมองด้านการสกัดเย็นเพือ ่ ท�ำเป็นยารักษาโรค แต่หาก มองว่าเป็นอาหารทีก ่ น ิ แล้วก็ไม่ไปเป็นโรคภัย และป้องกันโรคตามสรรพคุณ แล้วจะน�ำไปสู่การส่ งเสริมต่อสมุนไพรเมืองเชียงรายเมืองอาหารปลอดภัย ต่อไป

นอกจากนี้ โรงพยาบาลในเชียงรายควรมีการเพิม ่ แผนกแพทย์แผน

ไทย เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้เข้ารับใช้บริการจากแพทย์แผนปัจจุบัน เนื่องจากผู้คนส่ วนใหญ่หากรักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบันไม่หายจากโรค ภัยจะให้ความสนใจกับการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยที่มีการใช้สมุนไพร ในการรักษา ฉะนั้นควรมีการเพิ่มแผนการรักษาที่หลากหลายให้ทางเลือก แก่ผู้ใช้บริการ สรุปและข้อเสนอแนะ

การพัฒนาสมุนไพรเชียงราย ต้องเริม ่ ต้นด้วยการสร้างแบรนด์ร่วมกัน

ในนาม “สมุนไพร” และส่ งเสริมการปลูกสมุนไพรอินทรีย์เพือ ่ เป็นการเพิม ่ มูลค่าและเป็นการสร้างเอกลักษณ์ให้แก่ผลิตภัณฑ์สมุนไพร นอกจากนี้ ควรมีการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสมุนไพร ควบคู่กับการท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติหรือการท่องเทีย ่ วเชิงศาสนา โดยทางด้านการแปรรูป และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ตอ ้ งอาศัยความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาในพืน ้ ทีเ่ พือ ่ พัฒนา ( 161 )


OBELS OUTLOOK 2017

สมุนไพรให้เป็นทีย ่ อมรับในระดับสากล และสร้างความรู้ความเข้าใจในการ ใช้สมุนไพร

ผู้ให้สัมภาษณ์

ดร.เหมโชค สิงห์สมบุญ

ประธานอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว

จังหวัดเชียงราย

( 162 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2560).

แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ.

2560-2564). https://www.dtam.moph.go.th/index.php?o

ption=comcontent&view=article&id=1672:dl0021&catid

=42&Itemid=334&lang=th.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุ ข (2560). “วิจัยสมุนไพรไทย” คานงัดสู่

ความมัน ่ คงด้านสุ ขภาพ และยัง ่ ยืนด้าน

เศรษฐกิจ. https://

www.hsri.or.th/researcher/media/news/detail/7491.

ส�ำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ (2560). เครือข่ายสมุนไพรแห่งประเทศไทย

แถลงข่าวพร้อมเปิดตัวศูนย์จ�ำหน่ายสมุนไพรแห่งแรกใน

ประเทศไทย. http://thainews.prd.go.th/website_th/news/

print_news/WNSOC6011150010002

ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2560).

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12

(พ.ศ.2560- 2564). http://www.nesdb.go.th/ewt_news.

php?nid=6420

ขอบคุณรูปภาพจาก lannapost

( 163 )


OBELS OUTLOOK 2017

ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชียงของใน ยุคชายแดน 4.0 (สัไมภาษณ์พิเศษ คุณทัศนัย สุ ธาพจน์ นายอ�ำเภอเชียงของ) พรพินันท์ ยีร่ งค์

นับตัง ้ แต่อ�ำเภอเชียงของได้ถูกเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่

4 มา และท�ำให้มก ี ารย้ายจุดตรวจ ประทับตราหนังสือเดินทางจากเดิมทีอ ่ ยู่ ตรงท่าเรือบัค ๊ ส่งผลให้กลุ่มนักท่องเทีย ่ วต่างชาติแบบแบคแพคทีเ่ คยเป็น กลุม ่ ลูกค้าหลักส�ำหรับธุรกิจภาคการท่องเทีย ่ วในเชียงของหายไป1 เนื่องจาก เชียงของเป็นแค่ทางผ่านส�ำหรับการเดินทางไปยังสปป.ลาว ก่อนเปิดสะพาน ้ นักท่องเทีย ดังนัน ่ วต่างชาติจำ� เป็นทีต ่ อ ้ งพักค้างคืนทีอ ่ ำ� เภอเชียงของคืนหนึง่ ั จุบันเมื่อมีการเปิดสะพาน นักท่องเที่ยว ก่อนจะต่อไปยังสปป.ลาว แต่ปจ สามารถที่จะข้ามแดนได้อย่างสะดวกมากขึ้น และมีการเปิดให้ข้ามตั้งแต่ 6 โมงเช้าจนถึง 4 ทุ่ม ฉะนั้นนักท่องเทีย ่ วก็ไม่จ�ำเป็นทีจ ่ ะต้องแวะเข้ามา ในตัวเมืองเชียงของอีกต่อไป รายได้ทผ ี่ ู้คนในเชียงของได้รับตลอดมาจึง หดหายไป แต่ ก ระนั้ น การเปิ ด สะพานฯ ก็ ท� ำ ให้ เ กิ ด การล้ น ทะลั ก ของกลุ่ ม

นั กท่องเทีย ่ วชาวจีนทีเ่ ดินทางผ่านเส้นทาง R3A มาจากจีนตอนใต้ทงั้ ในรูป แบบของรถทัวร์ และคาราวานรถยนต์ โดยเฉพาะในช่วงของเทศกาล ตรุษ จีน2 จนส่งผลให้เศรษฐกิจของเชียงของมีการเติบโตอีกครัง ้ ภาคของการ 1

ส�ำนักข่าวชายขอบ. (2557). เผยนักท่องเทีย ่ วหายจาก ‘เชียงของ’ กว่าค่อน หอการค้าเชียงราย เชือ ่

ยังต�่ำลงอีก. 2

ผู้จัดการออนไลน์. (2558). นทท.จีนทะลักชร.ไม่หยุด ตรุษจีนวันเดียวมาแล้วเกือบ 2 พันคน รถยนต์

กว่า 400 คัน.

( 164 )


OBELS OUTLOOK 2017

บริการด้านการท่องเทีย ่ ว เช่น ทีพ ่ ัก ร้านอาหารต่างๆ ก็ได้มีการปรับเปลีย ่ น กลยุทธ์ ด้วยการหันมาจับกลุม ่ เป้าหมายทีเ่ ป็นชาวจีน อย่างไรก็ตาม กรมการ ่ ขนส่งทางบกก็ได้ออกกฎระเบียบส�ำหรับการเข้ามาของรถยนต์ตา่ งชาติ ซึง มีการบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมือ ่ 27 มิถน ุ ายน 2559 เป็นการตอบสนอง ต่อปัญหาของการทีร่ ถจีนเข้ามาสร้างความไม่สงบให้กบ ั คนในพืน ้ ที่ จังหวัด เชียงใหม่ มาตรการทีเ่ ข้มงวดส่งผลให้รถจีนทีเ่ คยเข้ามาเป็นพันกว่าคันลด ลงไปอย่างมาก3

แต่ในปีพ.ศ. 2560 อ�ำเภอเชียงของได้ออก “แผนแม่บทการพัฒนา

่ แผนดังกล่าว เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย เขตพืน ้ ทีอ ่ �ำเภอเชียงของ” ซึง จะเข้ามาช่วยเชียงของให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน มีส่วนร่วมในทุก ภาคส่วน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทางส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดน และโลจิสติกส์ จึงได้ติดต่อขอสั มภาษณ์นายทัศนัย สุ ธาพจน์ นายอ�ำเภอ เชียงของ เพือ ่ เจาะลึกรายละเอียดความเป็นมา ทิศทางของแผนยุทธศาสตร์ และความท้าทายในอนาคต ้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ จุดเริม ่ ต้นจากพืน

อ�ำเภอเชียงของได้รับการประกาศให้เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

่ ทางแม่สายก็ได้ก�ำหนดตัวเอง ของเชียงราย ทีม ่ ีอยู่ด้วยกันถึง 3 อ�ำเภอ ซึง ให้เป็นเมืองแห่งการค้า และการลงทุน (Trade City) เชือ ่ มโยงกับทาง ่ ได้เชือ เมียนมา ขณะทีเ่ ชียงแสนเป็น ‘เมืองท่าเรือ’ (Port City) ซึง ่ มโยง การท่องเทีย ่ วในแม่น�ำ้ โขง และทางเชียงของได้รบ ั บทบาทให้เป็น ‘เมืองโล จิสติกส์’ (Logistics City) เรียกได้ว่าเป็นศูนย์การทางด้านคมนาคม และ การเดินทาง โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ทส ี่ ะพานทีจ ่ ะเชือ ่ มโยงออกไปทางจีน สปป.ลาว หรือเวียดนาม 3

ไทยรัฐ. (2559). ขส.ทบ.บังคับใช้กฎรถต่างชาติเข้าไทย 27 มิ.ย. นี้.

( 165 )


OBELS OUTLOOK 2017

ความขัดแย้ง และความเข้าใจระหว่างรัฐและชุมชน

ทั้งนี้ พอเชียงของกลายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษก็ท�ำให้เกิดปัญหา

ในหลายส่ วน โดยปัญหาส่ วนหนึ่งคือ รัฐบาลได้มีเป้าหมายให้เขตพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษในแต่ละพืน ้ ทีเ่ ป็นทีด ่ น ิ ของรัฐบาล ส�ำหรับไว้ใช้ในการพัฒนา ไม่ ว่ า จะเป็น ในเรื่อ งของการพั ฒ นาด้ า นอุ ต สาหกรรมการผลิ ต การค้ า การลงทุน แต่พอลงไปดูพื้นที่จริง ส่ วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ป่าไม้ จึงท�ำให้ ่ ชุมชนค่อนข้างหวงแหนพืน เกิดการทะเลาะ และขัดแย้งกับชุมชน ซึง ้ ทีป ่ ่า อย่างมาก ทางรัฐบาลก็ยง ั ไม่มน ี โยบายอย่างชัดเจนว่าจะน�ำพืน ้ ทีไ่ ปพัฒนา เป็นอะไร และอย่างไร โดยเฉพาะพืน ้ ทีต ่ �ำบลบุญเรือง ทีไ่ ด้มีข่าวการปะทะ ระหว่างทางรัฐบาลทีไ่ ด้พยายามเข้ามาเอาพืน ้ ทีจ ่ ากทางชุมชน ซึง่ ทางชุมชน ก็ไม่ยอม และทาง NGOs4 ก็เข้ามาเกีย ่ วข้อง

อีกส่ วนหนึ่งของปัญหาคือ การท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับค�ำว่า ‘เขต

้ ท�ำให้ไม่สามารถหาค�ำตอบให้กับ เศรษฐกิจพิเศษ’ ทีย ่ ังไม่มีความลึกซึง พืน ้ ทีไ่ ด้ โดยการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษมีนัยยะบางอย่างอยู่ นัยยะหนึ่ง คือ ทุกพืน ้ ทีข ่ องอ�ำเภอทัง้ สามได้ถก ู ประกาศให้เป็นพืน ้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ หมายความว่า ทัง้ 102 หมูบ ่ า้ น 7 ต�ำบล ของอ�ำเภอเชียงของ เป็นพืน ้ ทีเ่ ขต เศรษฐกิจพิเศษทัง้ หมด พอทุกพืน ้ ทีเ่ ป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ จึงเกิดค�ำถาม ว่าพืน ้ ทีต ่ ่างๆ นอกจากพืน ้ ทีต ่ �ำบลบุญเรืองทีจ ่ ะถูกพัฒนาให้เป็นเขตนิคม ่ มองไม่ อุตสาหกรรม พืน ้ ทีอ ่ น ื่ ๆ ทีเ่ หลือจะสามารถเชือ ่ มโยงได้อย่างไร ซึง เห็นความชัดเจน และเป้าหมายทีแ ่ ท้จริง ่ นการพัฒนาด้วยกระดาษใบเดียว การขับเคลือ

จากทีก ่ ล่าวมา จึงมองว่าควรทีจ ่ ะมีแผนแม่บทไว้ส�ำหรับการขับเคลือ ่ น

การพัฒนา คนทั้งอ�ำเภอจะได้เห็นว่าเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ที่อาศัยอยู่ และ 4

องค์กรนอกภาครัฐ (Non-governmental organization) หรือองค์กรไม่แสวงผลก�ำไร

( 166 )


OBELS OUTLOOK 2017

มองว่าเขตเศรษฐกิจพิเศษ มีความหมายมากกว่าการหาพื้นที่ของภาครัฐ น�ำไปพัฒนาให้เป็นนิคมอุตสาหกรรม เพราะว่ารัฐบาลก็ได้ท�ำการประกาศ ไปเรียบร้อยแล้วว่าให้เป็นพืน ้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ และก็ได้ท�ำการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเช่นกัน ไม่ว่าจะศูนย์เปลี่ยนถ่าย รถไฟ การปรับปรุง เส้นทางเชือ ่ มต่อระหว่างเชียงแสน-เชียงของ การตัดผ่าน by pass จาก ห้ ว ยเม็ ง อ้ อ มทางด้ า นหลั ง อ� ำ เภอเชี ย งของมาจบเป็น สี่ แ ยกที่บ ริ เ วณ สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ล้วนแต่ท�ำมาเพือ ่ รองรับการเป็นพืน ้ ที่ ่ ก็ได้ใช้ เขตเศรษฐกิจพิเศษ จึงต้องมีการตัง ้ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ซึง หลักการเดียวกับแผนผังการพัฒนานวัตกรรมเมืองเวียงแก่น5 คือ การ ขับเคลื่อนด้วยกระดาษใบเดียว แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ต�ำแหน่งเชิง ่ จะพัฒนาเมืองมีทง ภารกิจหรือเชิงฟังก์ชน ั่ ซึง ั้ หมด 4 มิติ 4 มิตก ิ ารเป็นเมืองศูนย์กลางสู่ กลยุทธ์ดาว 7 แฉก

มิตแ ิ รกคือ การเป็นเมืองศูนย์กลางคมนาคมครบทุกมิติ หมายความว่า

การเดินทาง หรือการขนส่ งในทางบก มีเส้ นทาง R3A ก็มีสามารถที่จะ เชือ ่ มโยงเชียงของตัง้ แต่เหนือจรดใต้ มีทางออกไปได้หมด ทัง้ ทางออกไป เวียดนาม ทางสปป.ลาว ส่วนทางน�ำ้ ท่าเรือของอ�ำเภอเชียงของก็เป็น 1 ใน 14 ท่าเรือสากลที่อยู่ภายใต้ข้อตกลงของประเทศในลุ่มแม่น�้ำโขง6 ซึ่งใน ้ ทีเ่ ป็นท่าเรือ ประเทศไทยมีเพียงท่าเรือเชียงของ และท่าเรือเชียงแสนเท่านัน สากล ทางรถก็ก�ำลังจะมา โดยทางรัฐบาลได้วางเป้าหมายว่าจะเริ่มต้น ในปีพ.ศ. 2566 เป็นข่าวล่าสุ ดที่ทางรัฐมนตรีได้มาแถลงการณ์ที่โรงแรม 5

สามารถไปอ่านบทความ Policy Brief ‘นวัตกรรมการพัฒนาเมืองเวียงแก่น’ ได้ที่ http://rs.mfu.

ac.th/obels/?p=379 6

กรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง (Lancang – Mekong Cooperation) เป็นกรอบความร่วมมือ

ระหว่างจีนกับประเทศในอนุภม ู ภ ิ าคลุม ่ น�ำ้ โขง ประกอบด้วย กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม และ ไทย ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเมืองและความมัน ่ คง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสั งคมและวัฒนธรรม

( 167 )


OBELS OUTLOOK 2017

เลอเมอริเดียน นอกจากนั้น ตอนนี้ก็ก�ำลังจะมีการสร้างศูนย์เปลีย ่ นถ่าย สิ นค้า ส� ำหรับการเปลี่ยนถ่ายสิ นค้าจากระบบรถไฟเข้าไปเป็นระบบคอนเทนเนอร์ และข้ามไปสปป.ลาว เห็นได้วา่ ทุกอย่างมีพร้อมอยูแ ่ ล้ว เหลือแต่ ่ ก�ำลังมองพืน ทางอากาศ หรือเครือ ่ งบินเพียงอย่างเดียว ซึง ้ ทีข ่ องสนามบิน ทหารเก่าอยู่ เลยจากแยกต�ำบลสถานไปเล็กน้อย เป็นทุง ่ กว้างๆทีเ่ รียกว่า ‘ทุง ่ สามหม่อน’ ทางกลับเข้าตัวเมืองเชียงรายผ่านต�ำบลห้วยซ้อ ตอนนีเ้ ป็น ทีต ่ ง ั้ ของทหารพราน

มิติที่ 2 คือ การเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวแบบครบวงจร

หมายความว่า หากมาเที่ยวที่อ�ำเภอเชียงของ มาพักผ่อน มาเดินเล่นริม น�้ำโขง และสามารถข้ามแม่น�้ำโขงต่อไปหลวงพระบาง เป็นการเชื่อมโยง การท่องเทีย ่ วกับฝั่งสปป.ลาว และก็เทีย ่ วทางธรรม หรือสายเทีย ่ ววัดวาอาราม เป็นแนวคิดในด้านของการท่องเทีย ่ ว

มิติที่ 3 คือ การเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าชายแดนที่หลากหลาย

่ หาก แบ่งออกเป็น 2 เส้นทาง โดยสามารถทีจ ่ ะข้ามสะพาน หรือข้ามเรือ ซึง เป็นในกรณีของอ�ำเภอเชียงแสนจะสามามารถข้ามได้แค่ทางเรือ ส่วนทาง อ�ำเภอเชียงของได้ทง ั้ สองแบบ

มิตส ิ ุดท้าย คือ การเป็นเมืองศูนย์กลางการเกษตรสีเขียว หรือเกษตร

อินทรีย์ เนื่องจากพืน ้ ทีข ่ องอ�ำเภอเชียงของส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 เป็น พืน ้ ทีท ่ างการเกษตร

เมื่อหลอมรวมกันทั้ง 4 มิติ ก็จะท�ำให้อ�ำเภอเชียงของเป็นเมืองที่

ครบวงจร ขณะเดียวกัน ในเชิงพื้นที่ เชียงของจะถูกพัฒนาให้เป็นพื้นที่ ที่เรียกว่า ‘กลยุทธ์ดาว 7 แฉก’ ซึ่งดาวทั้งเจ็ดมาจากจ�ำนวนของต�ำบล ทัง ้ หมดทีม ่ ีอยู่ในเชียงของ เมือ ่ น�ำจุดเด่นของแต่ละต�ำบล ทีม ่ ีต�ำแหน่งทาง ยุทธศาสตร์ทแ ี่ ตกต่างกันมาเชือ ่ มร้อยเรียงกัน

( 168 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 1 การพัฒนาอ�ำเภอเชียงของใน 4 มิติ

บทบาทและความส� ำคัญของดาวแต่ละแฉก7

อย่างต�ำบลเวียงจะถูกพัฒนาให้เป็นศูนย์เศรษฐกิจในเมืองสองแบบ

และมีโครงการพัฒนาสะพานมิตรภาพฯแห่งที่ 4 ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ ส� ำคัญ โดยสร้างแลนด์มาร์กของสะพานมิตรภาพฯแห่งที่ 4 ขึ้นมา ทั้งนี้ บางโครงการก็จะมีรัฐบาล และหน่วยงานต่างๆ ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ เราก็ พยายามรวบรวมมาให้เห็นภาพ บางอย่างก็เป็นโครงการที่เราคิดขึ้นใหม่ ้ เช่น โครงการสะพานมิตรภาพไทยเพือ ่ เพิม ่ เติมต่อยอดให้สมบูรณ์มากขึน ลาวแห่งที่ 4 ก็สามารถท�ำให้สวยงาม และพัฒนาต่อยอดให้เป็นแหล่ง ท่องเทีย ่ วเพิม ่ เติมได้ ในลักษณะของจุดชมวิว อย่างโครงการเส้นทางปั่น จักรยานก็ได้รบ ั งบประมาณกลุม ่ จังหวัดมา ส�ำหรับโครงการศูนย์เปลีย ่ นถ่าย ขนส่งสินค้าจากกรมขนส่งทางบก โครงการลานวัฒนธรรม มีโครงการว่าจะ 7

หากต้องการทราบรายละเอียดแผนแม่บทพัฒนาอ�ำเภอเชียงของ 3 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) สามารถ

ดูได้ใน http://www.chiangkhongbestdestination.com/th

( 169 )


OBELS OUTLOOK 2017

ย้ายทีว่ า่ การอ�ำเภอไปบ้านตอง ต�ำบลครึง่ ซึง่ ตอนนีไ้ ด้ทำ� การสร้างสนามกีฬา ไว้แล้ว ตรงศูนย์อพยพเก่า รูปที่ 2 องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ดาว 7 แฉก

ส่ วนตรงพื้นที่บริเวณวัดประจ�ำอ�ำเภอ ก็ท�ำเป็นลานวัฒนธรรมด้วย

มีเนื้อที่อยู่ประมาณ 5 ไร่ เป็นลักษณะคล้ายกับเป็น ‘ขวงเมือง’ ที่จังหวัด ทีห ่ น้าวัดภูมินทร์ กลายเป็นแหล่งท่องเทีย ่ ว และก็มีจุดชมวิวทีห ่ นองแสลบ หลังซูเปอร์มาร์เก็ตเทสโก้โลตัส ขณะที่แลนด์มาร์กปลาบึกที่สร้างไว้ตรง บ้านหาดไคร้ก็เข้าไปพัฒนา รวมถึงศูนย์เพาะพันธุ์ปลาบึก จะท�ำการปล่อย ปลาบึกในแหล่งน�ำ้ ต่างๆ ทัว่ พืน ้ ทีข ่ องทุกต�ำบลในอ�ำเภอเชียงของ ประมาณ สองพันตัวในเบือ ้ งต้น ในแหล่งน�ำ้ ทีม ่ พ ี น ื้ ทีม ่ ากกว่า 50 ไร่ขน ึ้ ไป ทางอธิบดี กรมประมง ก็ได้มอบหมายให้ผู้ตรวจการมาเป็นประธานในการบวงสรวง ปลาบึกทีว่ ัดหาดไคร้ และจัตุรัสปลาบึก ( 170 )


OBELS OUTLOOK 2017

โครงการท�ำถนนกาดกองแก้ว และกาดกองเก่า เพือ ่ พัฒนากิจกรรม

้ มา มีการน�ำระบบสายไฟฟ้าลงใต้ดิน ตอนนี้ให้ทางการไฟฟ้าออกแบบ ขึน และด�ำเนินการอยู่ ได้เข้าไปดูงานทีจ ่ ังหวัดล�ำพูน และเชียงใหม่ การไฟฟ้า ก็เข้ามาร่วมด้วย ได้เตรียมงบประมาณให้ส่วนหนึ่ง ส่ วนอีกส่ วนทางอ�ำเภอ ต้องหางบประมาณมาจัดสรรเอง จึงไม่นา่ จะติดปัญหา ส่วนโครงการปรับปรุง ้ มีโครงการเทศกาลปลาบึก คูเมืองก็กำ� ลังร่วมกับกรมศิลปากร นอกจากนัน การเล่าขานต�ำนานเทศกาลปลาบึกผ่าน ‘เทศกาลสงกรานต์’ และโครงการ เชียงของเมืองดิจิตอลซิตี้ ท�ำแอพพลิเคชั่น โดยใช้เทคนิคส่ งสั ญญาณ Bluetooth แสดงข้อมูลของสถานทีต ่ า่ งๆ ภายในอ�ำเภอเชียงของ ท�ำหน้าที่ เหมือนมัคคุเทศก์บอกเรื่องราวต่างๆ โครงการตลาดนัดชายแดน ก็ก�ำลัง ้ ซึง่ ยังมีอก จะพัฒนา แต่ยงั ไม่ลน ื่ ไหลนัก แต่ในวันข้างหน้าต้องเกิดขึน ี หลาย โครงการทีอ ่ ยู่ในต�ำบลเวียง

ต�ำบลศรีดอนชัย จะมีการสร้างศูนย์การท่องเทีย ่ วเชิงวัฒนธรรมไทลือ ้

ซึ่งก�ำลังอยู่ในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง มีจุดชมวิวแม่น�้ำสองสี ที่บริเวณ ปากน�้ำอิงริมโขง ไม่ได้ใช้งบประมาณ แต่ให้ชาวบ้านท�ำสะพานไม้ไผ่ก่อน อย่างน้อยก็ถือเป็นจุดเริ่มต้น ในช่วงกรกฎาคมจะจัดเทศกาลกินปลาสอง แม่นำ�้ เป็นการประชาสัมพันธ์ และก็มก ี ารพัฒนาพืน ้ ทีอ ่ า่ งเก็บน�ำ้ เป็น 12 ปันนา เมืองไทย

ต�ำบลบุญเรือง จะถูกพัฒนาให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัย หรือศู นย์

่ ได้โครงการเกีย พัฒนาการศึกษา ซึง ่ วกับศูนย์สมุนไพรแห่งชาติมา ร่วมกับ เครือข่ายแม่ฟ้าหลวง สามารถของบประมาณได้แล้ว จึงมความเป็นไปได้ มากว่าจะมีการจัดตัง้ สถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรแห่งชาติทอ ี่ ำ� เภอเชียงของ

ต�ำบลห้วยซ้อ เป็นต�ำบลทีม ่ ีการท�ำเกษตร จึงจะพัฒนาให้เป็นศูนย์

พัฒนาการเกษตรสี เขียว และศูนย์สุขภาพ เป้าหมายหลัก คือ การเปลีย ่ น วิถีทางเกษตรให้เป็นอินทรีย์ จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มในการส่ งออก และมี โรงสีของชุมชน พร้อมทัง้ พัฒนาโป่งน�ำ้ ร้อนให้เป็นแหล่งท่องเทีย ่ วเชิงสุขภาพ ( 171 )


OBELS OUTLOOK 2017

ต�ำบลสถาน ตอนนี้มีโครงการหลายอย่างที่เกิดขึ้น ส่ วนหนึ่งคือ

สนามบิน และบ้านศรีดอนมูล ในวันที่ 4 หลายภาคส่ วนจะเข้ามาหารือกัน เมือ ่ ได้ประกาศนโยบายออกไป หลายหน่วยงานก็มีความสนใจ และท�ำให้ ้ เจ้าของโรงแรมหลายแห่งก็อยาก มีประสิ ทธิภาพในการด�ำเนินงานมากขึน ให้มีสนามบินเล็ก ปริมาณคนอาจจ�ำนวนไม่มาก แต่ดีในเรื่องของภาพ ลักษณะของการเป็นเมืองทีม ่ ีสนามบินมาลง สามารถขายสถานทีท ่ ่องเทีย ่ ว ได้ท�ำให้เชียงของครบถ้วนไปด้วยการเดินทางทุกมิติ ซึ่งอ�ำเภอที่มีเรื่อง พวกนี้ครบเป็นเรือ ่ งทีย ่ ากมาก

อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยน�ำ้ ช้าง ก็จะปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเทีย ่ ว มีเทศกาล

จดทะเบียนสมรสที่บ้านแฟนในทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ให้คนไปบอกรัก ไปกอดกัน ส่วนหนองแสลบ ก็จะพัฒนาให้เป็นตลาดน�ำ้ ไม่ได้ใช้งบประมาณ ้ ปีหน้าก็ได้งบประมาณ 30 ล้านบาท แต่เป็นการร่วมกลุม ่ ของชุมชน ถึงกระนัน มาท�ำเส้นทางส�ำหรับจักรยาน และปั้นม้าซักตัวสูง 10 เมตร ตัง ้ อยู่ทบ ี่ ้าน น�ำ้ ม้า ส�ำหรับโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ถ้าเป็นไปได้อยากให้อยูท ่ น ี่ ี้ อาจ จะต้องใช้พื้นที่ เพราะถ้าใครมาลงทุนก็ต้องซื้อที่ดิน แต่ไม่ได้มุ่งหมายใน ด้านของอุตสาหกรรมมากมาย แต่จุดมุ่งหมายคือเรื่องของการท่องเที่ยว และการเดินทางมากกว่า รูปที่ 3 อ่างเก็บน�้ำห้วยน�้ำช้าง

ทีม ่ า: info.dla.go.th

( 172 )


OBELS OUTLOOK 2017

ต�ำบลริมโขง จะมีโครงการ skywalk ให้อยูท ่ จ ี่ ด ุ ชมวิวห้วยทรายมาน

ตอนนี้ก�ำลังหาคนเข้ามาออกแบบ มีก�ำหนดเสร็จสิ้นน่าจะประมาณปีพ.ศ. 2562 เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ก�ำลังท�ำถนนอยู่ รอให้เสร็จจึงจะสามารถ พัฒนาพื้นที่ตรงนั้นได้ ก็มีจุดประสงค์ในการดึงดูดนักท่องเที่ยว ซึ่งมีอยู่ แล้วที่อ�ำเภอสั งคม จังหวัดหนองคาย แต่ที่นี้สวยกว่าตรงที่เป็นแม่น�้ำโขง หักศอกเหมือนเป็นทะเลสาบ

โครงการส่ งเสริมวัฒนธรรม และโครงการเกษตรพืน ้ ทีส ่ ูง ได้ตง ั้ เป้า

หมายไว้กับจีนจากเมืองหมิงเอ๋อ ให้เข้ามาลงทุนท�ำร้านชา จะได้มีคนเข้า ่ จะช่วยเปลีย มาเทีย ่ ว มาเยีย ่ มเยือน ซึง ่ นเมืองเชียงของทีเ่ ป็นเพียงเมือง ทางผ่านไปยังหลวงพระบาง สปป.ลาว ด้วยงบประมาณ 200 กว่าล้าน พัฒนาตั้งแต่ท่าเรือจนถึงสะพานให้สวยกว่านครพนม ตามแบบที่โยธา ได้ออกแบบมา จะเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามา ซึ่งเชียงของถือว่า มี ต้ น ทุ น ที่มี ค วามเปรี ย บกว่ า ในหลายด้ า น โดยหากเชี ย งคานเป็น อดี ต เชียงของจะเป็นอนาคต เชียงของยังมีความดิบ ยังมีความเป็นวัฒนธรรม ดั้งเดิมอย่างไทลื้อ มีสะพาน มีน�้ำโขงที่สวย มีความหลากหลาย แหล่ง ท่องเที่ยว การเป็นเมืองสมุนไพร จะช่วยดูดซับคนเข้ามาเพิ่มขึ้น ได้ตั้ง ค�ำขวัญของอ�ำเภอไว้ว่า “เชียงของคือประตูสู่อนาคต” เป็นคนละอย่างกับ เชียงของดาวเด่น มีสะพานที่เป็นประตูสู่อาเซียน แต่เรียกว่าเป็น ‘ประตู สู่ อนาคต’ ไม่ใช่เพียงแค่อนาคตของพืน ้ ที่ แต่เป็นอนาคตของโลก เอเชีย ประเทศไทย และเชียงราย อยู่ทเี่ ชียงของ

ทุกวันนี้ หากขับเคลือ ่ นอะไรได้ตอ ้ งขับเคลือ ่ นไปก่อน เพราะว่าเชียงของ

มันเงียบ ก็เปิดถนนคนเดิน 3 ที่ วันศุกร์ก็เป็นกาดกองเก่า วันเสาร์ก็มีกาด กองแก้ว ส่วนกาดกองแก่น (บ้านแก่น ต�ำบลห้วยซ้อ) ก็วน ั อาทิตย์ ช่วยในการ กระตุ้นเศรษฐกิจรากหญ้า เช่นเดียวกับหนองแสลบ คนเข้ามาท่องเที่ยว ค่อนข้างเยอะ รวมถึงชาวลาวด้วยเช่นกันทีเ่ ข้ามา

( 173 )


OBELS OUTLOOK 2017

การเข้ามามีส่วนร่วมของหน่วยงานต่างๆ

หลังจากทีม ่ ียุทธศาสตร์ดังกล่าวก็ส่งผลให้ มีงบประมาณเข้ามาช่วย

สนับสนุนค่อนข้างมาก อันแรกคือ งบจากกลุ่มจังหวัด เป็นงบประมาณ เพิ่มเติมที่ให้จังหวัดละ 5,000 ล้านบาท ส� ำหรับเชียงของได้มาประมาณ 1,000 ล้านบาท มาอยู่ทเี่ ชียงของประมาณ 280 ล้านบาท เกือบ 1 ใน 3 ของงบประมาณทีเ่ ชียงรายได้รบ ั ทัง้ หมด เกิดจากแผนทีท ่ างอ�ำเภอได้วางไว้ และการตรวจสอบต้นทุนต่างๆ อะไรทีก ่ �ำลังเข้ามาก็ใส่ ไว้ในแผน อะไรที่ คิดใหม่ก็ใส่ เข้าไปเช่นกัน เป็นสิ่ งที่หวังว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้ า ต้องมีกระบวนการออกแบบ เช่น การน�ำไฟฟ้าลงใต้ดิน ก็มุ่งหวังในการ พัฒนาเรือ ่ งภาพลักษณ์ของเชียงของให้ดูทันสมัย เพราะการฝังสายไฟฟ้า ลงใต้ดินก็ไมได้มีให้เห็นทั่วไป เมืองที่ไม่มีก็จะกลายเป็นเมืองไม่ธรรมดา เป็นเมืองทีพ ่ ิเศษ ทางอ�ำเภอก็ของบประมาณไปได้กว่า 60 ล้านบาท รวม ทั้งที่ขอผ่านทางกรมโยธาอีก 200 ล้านบาท ก็น�ำพัฒนาบริเวณริมโขง ทัง้ หมด โดยจะท�ำถนนเชือ ่ มเข้าไป ส�ำหรับในปี 2561 ทีต ่ ำ� บลห้วยซ้อได้ขอ งบประมาณในการท�ำถนนเข้าไปทีห ่ นองแสลบอีก 30 ล้านบาท ทีห ่ นองบัว อีก 10 ล้านบาท

อันที่สอง คือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นที่ต�ำบลบุญเรือง ก็ได้ปฏิเสธ

การพัฒนาให้เป็นเขตนิคมอุตสาหกรรมไป ชุมชนก็มีกระแสการตอบรับต่อ การพัฒนาที่ดีขึ้น ก็สานต่อโครงการมหาวิทยาลัยสมุนไพรต่อไป ซึ่งตอน ้ างชุมชนก็ได้ทำ� ‘จุลกฐิน’ อย่างเป็นเรือ นีท ่ งราว มีความอลังการมาก แต่ยง ั ไม่ได้จ�ำหน่ายออกไปข้างนอก

ในปีนี้ได้วางแผนแถลงการณ์ การพัฒนาการท่องเที่ยวของอ�ำเภอ

เชียงของตั้งแต่ต้นจนถึงปลายน�้ำ โดยในต้นน�้ำจะเป็นการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวต่างๆ ส่ วนในกลางน�้ำจะเป็นการพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเทีย ่ ว ตัวอย่างเช่น การจดทะเบียนสมรสทีบ ่ ้านแฟน กาดกองเก่า กาดกองแก่น กาดแกงแก้ว และกาดกองแกง ทีท ่ างชุมชนได้ดำ� เนินการอยู่ ( 174 )


OBELS OUTLOOK 2017

ก็เข้าไปพัฒนาเพิม ่ ท�ำให้อำ� เภอเชียงของเป็นเมืองของถนนคนเดิน ่ เติม เพือ ที่มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งนี้ ทางกรมการปกครองน�ำเอายุทธศาสตร์ ดาว 7 แฉก ไปเป็นต้นแบบในการพัฒนาเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษระดับ

อ�ำเภอส� ำหรับพื้นที่อื่นๆ รวมถึงกรมโยธาก็น�ำไปใช้เป็นข้อมูลในการวาง

ผังเมืองด้วยเช่นกัน และหน่วยงานอื่นๆก็น�ำไปท�ำเป็นแบบอย่าง อย่าง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ก็ได้รับงบประมาณของจังหวัดมาเพื่อจัดท�ำ ้ ระกอบ แผนปฏิบต ั ก ิ าร (Action plan) ให้กบ ั ทัง้ 3 อ�ำเภอ ก็ใช้ขอ ้ มูลตัวนีป

เป็นข้อมูลในการจัดท�ำ โดยแผนยุทธศาสตร์ในระดับอ�ำเภอส่ วนใหญ่ไม่

ค่อยมี เนื่องจากรอค�ำสั่งจากบนลงมาข้างล่างอย่างเดียว แต่เมือ ่ พิจารณา จากปัจจัยต่างๆ นอกจากนโยบายทีล ่ งมา อย่างอืน ่ อ�ำเภอต้องเป็นคนก�ำหนด

เพื่อเป็นต้นแบบในการวางยุทธศาสตร์เชิงพืน ้ ที่ ซึ่งจะท�ำให้เชียงของเป็น ดาวเด่น ทีไ่ ม่ใช่แค่เมืองทางผ่านอีกต่อไป

ภาคการศึกษา หรือโรงเรียนต่างๆก็เข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนด

หลักสูตรท้องถิน ้ ที่ เช่น โรงเรียนเชียงของวิทยาคม เป็น ่ ของโรงเรียนในพืน

้ ณ ปัจจุบน การเรียนการสอนทีบ ่ อกว่าในแต่ละพืน ้ ทีข ่ องต�ำบลมีอะไรเกิดขึน ั

้ ในอนาคต รวมทัง้ ให้วเิ คราะห์วา่ จะท�ำให้พน และทีจ ่ ะเกิดขึน ื้ ทีด ่ ข ี น ึ้ ได้อย่างไร ่ ีทส เชียงของเมืองจุดหมายปลายทางทีด ี่ ุ ด

ในช่วงประมาณปลายปี ได้วางแผนว่าจะไปเปิดตัวอ�ำเภอเชียงของ

ภายใต้แนวคิด ‘Chiang Khong is the best destination’ ทีห ่ ้างสรรพ

่ เป็นการท่องเทีย สินค้าเซ็นทรัลเชียงราย ซึง ่ วทีเ่ ชือ ่ มโยงกับอ�ำเภอเวียงแก่น ด้วยความที่อ�ำเภอเวียงแก่นมีสถานที่ท่องเที่ยวดี แต่ขาดที่พักที่ดี ส่ วน

เชียงของยังไม่มีแหล่งท่องเที่ยวเยอะ แต่มีที่พักที่ดีจ�ำนวนมาก ซึ่งจะท�ำ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการขยะ มีทั้งหมด 5 วาระ ที่ขับเคลื่อนเสร็จสิ้ น

คือ การเป็นเชียงของเมืองสะอาด ท�ำการคัดแยกขยะตามทีร่ ัฐบาลก�ำหนด

ในทุกพืน ้ ที่ ทุกหมู่บ้าน และก็มีการเอาถังขยะออก คืนให้กับทางเทศบาล เพือ ่ ให้ชาวบ้านแยกขยะอย่างจริงจัง ท�ำให้เหลือเศษขยะไม่เยอะ ( 175 )


OBELS OUTLOOK 2017

ส่วนทุกวันพุธก็จะเป็นวัน sport and cleaning day ตามนโยบาย

ของนายกรัฐมนตรี ซึง่ เป็นการออกก�ำลังกายโดยดูแลท�ำความสะอาดบ้านเมือง ถื อ ว่ า เป็น ต้ น แบบของ ‘เชี ย งของเมื อ งสะอาด’ ในการขั บ เคลื่อ นแต่ ล ะ อ�ำเภอของจังหวัดเชียงราย ในช่วงหลังก็มีเมืองเทิงเมืองสะอาด แต่ว่าทาง เชียงของใช้นโยบายนี้เป็นทีแ ่ รก นอกจากนี้ก็มี ‘เชียงของเมืองนวัตกรรม’ ท�ำให้คนตระหนักถึงความส�ำคัญของนวัตกรรม ยกตัวอย่างทีเ่ ป็นรูปธรรม คือ การ application ของเมืองเชียงของ รวมทัง้ การเป็น ‘เชียงของเมืองยิม ้ ’ พยายามให้เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีอัตลักษณ์ในการให้บริการ ทั้งในเรื่อง ่ ได้แนวคิดมากจากร้านอาหาร MK ของการแต่งกาย การพูดจา ซึง

‘เชียงของเมืองมิตรภาพ’ มีความตั้งใจให้คนที่เดินทางมาที่อ�ำเภอ

เชียงของมา open house ให้มานั่งสนทนากัน มีกิจกรรมให้ท�ำ น่าจะ น�ำร่องทีบ ่ ้านเวียงแก้ว ทีม ่ ีถนนคนเดิน ‘กาดกองแก้ว’ เป็นหมู่บ้านทีถ ่ ือว่า มีโรงแรมจ�ำนวนมากที่สุด คนที่เข้าเที่ยวเชียงของสามารถเดินเข้าไปใน หมู่บ้านนี้เพื่อท�ำกิจกรรม ซึ่งตอนนี้ก�ำลังคิดกิจกรรมอยู่ หรืออาจเอาขยะ มารีไซเคิลท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ สุ ดท้ายคือ ‘เชียงของเมืองเล่าเรื่อง’ ่ ก็อาศัยแอพพลิเคชัน ้ ให้การเล่าเรือ ซึง ่ ทีจ ่ ัดท�ำขึน ่ งต่างๆ ชาวต่างชาติ หนังสื อเดินทาง และสะพาน

สถานการณ์เปลีย ่ นแปลงไปแล้ว เรือ ่ งการอนุญาตให้ชาวต่างชาติ ใช้

่ ก็ได้ หนังสือเดินทางตรงท่าเรือบัค ๊ ในการข้ามไปสปป.ลาวเป็นไปไม่ได้ ซึง ่ พอมีกล้องดิจิตอลเข้ามา จะบังคับ ยกตัวอย่างของสิ นค้าอย่าง Kodak ซึง ้ อมีสะพานทีป ิ ให้คนกลับมาใช้กล้องฟิลม ์ มันก็ไม่ได้ ซึง่ ก็คล้ายกัน ตอนนีพ ่ ด ิ 2 ทุม เวลาสี่ทม ุ่ จะขอให้ปด ่ มันก็ไม่ได้ ต่อไปในอนาคตอาจเปิด 24 ชัว่ โมง ถ้าเปิดกว้างแล้วจะให้ย้อนกลับมาก็คงยาก แต่ว่าต้องเปลีย ่ นกลยุทธ์ใหม่ เปลีย ่ นภาพลักษณ์จากเมืองผ่านให้กลายเป็นเมืองจุดหมายปลายทาง ให้ คนต้องเข้ามาท่องเทีย ่ ว ไม่ใช่ว่ามาเพือ ่ ต่อไปหลวงพระบางเท่านั้น คนต้อง ( 176 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ตัง ้ ใจเข้ามาในพืน ้ ที่ เหมือนเชียงคาน ต้องให้คนอยากเข้ามาเชียงของ ซึง ้ อยู่กับวิธีในการประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแส ตลอดจนวิธีการพัฒนา ขึน ้ มา สิ่งก่อสร้างต่างๆขึน

ล่าสุ ด ได้ร่วมกับสปป.ลาวในการจัดงานกลางเกาะในแม่น�้ำโขงครัง ้

แรกในประเทศไทย มีคนเข้ามาร่วมงานเยอะมาก นี้เพียงแค่ปีแรก มีเวลา ้ ใช้เป็นจุดขาย เตรียมเพียงแค่ 10 กว่าวัน คาดว่าปีหน้าคงมีเข้ามาเยอะขึน ด้านการท่องเทีย ่ วทีไ่ ม่มท ี ไี่ หนท�ำ เป็นการร่วมมือของทัง้ สองประเทศ เป็นการ สร้างภาพลักษณ์ให้กับทางอ�ำเภอ ถือว่าเป็นจุดประสงค์แรกทีพ ่ ยายามท�ำ ้ มา โครงการต่างๆขึน ่ มัน ่ ต่ออนาคตของอ�ำเภอเชียงของ ความเชือ

แม้วา่ ตอนนีเ้ ชียงของจะเงียบ ผูป ้ ระกอบการโรงแรมก็ได้รบ ั ผลกระทบ

เพราะมีสะพาน ไม่ใช่ว่าเชียงของไม่ดี อย่างไรก็ตาม เชือ ่ มัน ่ ว่าพอทุกอย่าง เสร็จพร้อมสมบูรณ์ตามทีว่ างแผนไว้ จะมีคนเข้ามาเทีย ่ วเชียงของไม่ตำ�่ กว่า ้ นมาเทีย ปีละ 2 ล้าน ทุกวันนีค ่ วเชียงรายปีละ 3 ล้าน แต่ยง ั มาเชียงของยังไม่ มาก สักวันคนต้องเบือ ่ การท่องเทีย ่ วในด้านนู้น ฉะนั้นต้องหากกลยุทธ์ใน การดึงดูดคนเข้ามา อย่างริมน�้ำโขงอีกไม่ถึง 2 ปี ต้องสวยกว่าทีน ่ ครพนม ต้นทุนของเชียงของดี ซึ่งอย่างน้อยคนที่เดินทางไปหลวงพระบางก็ต้อง มาแวะมานอนที่เ ชี ย งของ ทุ ก วั น นี้ ยั ง มี ค วามดิ บ อยู่ ส่ ว นโรงพยาบาลก็ ก�ำลังจะเข้ามา ได้ท�ำการซือ ้ ทีด ่ ินไว้ เพราะฝั่งเมืองห้วยทราย สปป.ลาว ยัง ไม่มีโรงพยาบาลทีด ่ ี ่ ะเข้ามาในอนาคต ความท้าทายใหม่ทีจ

คิดว่าเชียงของน่าจะเกิดอย่างแน่นอน จากทีไ่ ด้เข้าไปฟังยุทธศาสตร์

ทัง้ การคมนาคม และการค้าชายแดน จากสามชายแดน เชียงของ สะเดา และ แม่สอด มองว่าเป็นอนาคต จีนอยู่ใกล้นิดเดียว รถไฟก็ก�ำลังจะเข้ามาถึง ( 177 )


OBELS OUTLOOK 2017

หลวงพระบาง จากรอบต่อตรงชายแดนจีน-ลาว วิง่ มาทีน ่ ีไ้ ม่ถงึ ร้อยกิโลเมตร วันข้างหน้ าก็ต้องเชื่อมกับรถไฟของไทย 10 - 20 ปี ด้วยความที่สภาพ พืน ้ ทีท ่ างภูมิศาสตร์ของประเทศไทยถือว่าเป็นศูนย์กลาง (hub) ยิง ่ ยืนยัน ความเป็นเมืองแห่งอนาคตของอ�ำเภอเชียงของ ที่มีการคมนาคมครบทั้ง 4 มิติ มองว่าไม่มน ี ่ามีทอ ี่ น ื่ ในประเทศไทย เชียงของมีความชัดเจนอย่างมาก บอกกับพีน ่ ้องประชาชนตลอดว่าสิ่งทีก ่ ำ� ลังท�ำอยูไ่ ม่ใช่เพือ ่ วันนี้ แต่เพือ ่ อีก ่ ตอนทีอ 20 ปีข้างหน้า ท�ำเพือ ่ ลูกหลาน ซึง ่ ยู่เวียงแก่นคนก็ถามเหมือนคน เชียงของถาม ก็คิดเรื่องนี้มาตั้งแต่อยู่ที่นั้น โดยเฉพาะเรื่องเขตเศรษฐกิจ พิเศษ เคยขอเวียงแก่นให้เป็นส่วนต่อขยายของเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ เช่นกัน ทางกรมโยธาก็ชว่ ยเชือ ่ มโยงให้ เพราะเป็นอ�ำเภอติดชายแดนเดียว ทีไ่ ม่ได้อยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทัง ้ ทีม ่ ีแม่น�้ำโขงเชือ ่ มต่อกัน จึงสามารถ ่ ต่อไปหากท�ำการขอ ทีจ ่ ะต่อยอดการท่องเทีย ่ วเชียงของ และเวียงแก่น ซึง งบประมาณจะท�ำเหมือนขอส�ำหรับสองบริษัท ท�ำแผนและของบประมาณ ร่วมกัน เป็นครัง ้ แรกของระบบงบประมาณจังหวัด

เชียงของต้องถูกกระตุน ้ ให้เกิดการพัฒนา อาจจะกลายเป็นเมืองใหญ่

ที่อาจใหญ่กว่าตัวจังหวัดในอนาคต หรืออาจจะไม่เท่าเมืองเชียงราย แต่ ใหญ่กว่าอ�ำเภอแม่สาย เพราะเป็นต�ำแหน่งทางยุทธศาสตร์ ด้วยศักยภาพ ทีเ่ ป็นจุดเชือ ่ มโยงกับทางยุนนาน คุนหมิง เพราะพืน ้ ทีย ่ งั สามารถขยับขยาย ในการท�ำธุรกิจได้ตรงส่วนของเมืองใหม่ บริเวณย่านเมืองเก่าก็ไว้เป็นสถานที่ ส� ำหรับการพักผ่อน ถ้าจะมองอนาคตของเชียงของต้องอีก 50 ปี ต้อง ้ เอง มองจีน และสปป.ลาวให้ขาด ต้องมีการวางแผน ไม่ปล่อยให้เกิดขึน สรุปและข้อเสนอแนะ

เปรียบเสมือนบทเรียนของการตัดสิ นใจในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ

พิเศษในรูปแบบของรัฐบาลทีไ่ ม่สอดคล้องต่อความต้องการ และบริบทของ พืน ้ ที่ ท�ำให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างภาครัฐและชุมชน ตลอดจนเกิดความ ( 178 )


OBELS OUTLOOK 2017

ล้มเหลวของนโยบายที่มาจากบนลงล่าง (Top-down approach) ดังที่ ผ่านมา อย่างไรก็ตาม การมีแผนแม่บทใหม่ทม ี่ าช่วยขับเคลือ ่ นในการพัฒนา ในครัง ้ นี้ อาจจะเป็นจุดเปลีย ่ นให้อ�ำเภอเชียงของกลับมารุ่งเรืองได้เหมือน ในอดีต แต่เป็นรูปแบบการพัฒนาใหม่ที่เน้ นการความมีส่วนร่วมของทั้ง ภาครัฐท้องถิน ่ ภาครัฐส่ วนกลาง ผู้ประกอบการ ชุมชน ตลอดจนประเทศ เพือ ่ นบ้าน ในการด�ำเนินนโยบายไปในทิศทางเดียวกัน ทีส ่ �ำคัญคือความ ร่วมมือที่เป็นอันหนึ่ งอันเดียวกันของคนในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นพลังที่สร้าง ความเชือ ่ มัน ่ ในการก้าวข้ามอุปสรรคต่างๆ รวมทัง ้ ท�ำให้เกิดพัฒนาในระยะ ยาวไปสู่ คนรุ่นใหม่ในอนาคต

เอกสารอ้างอิง ส�ำนักข่าวชายขอบ. (2557). เผยนักท่องเทีย ่ วหายจาก ‘เชียงของ’ กว่าค่อน

หอการค้าเชียงรายเชือ ่ ยังต�่ำลงอีก. ค้นหาจาก

http://transbordernews.in.th/home/?p=3533

ผูจ ้ ด ั การออนไลน์. (2558). นทท.จีนทะลักชร.ไม่หยุด ตรุษจีนวันเดียวมาแล้ว

เกือบ 2 พันคน รถยนต์กว่า 400 คัน. ค้นหาจาก

http://www.manager.co.th/local/viewnews aspx?NewsID=

9580000020924 ไทยรัฐ. (2559). ขส.ทบ.บังคับใช้กฎรถต่างชาติเข้าไทย 27 มิ.ย. นี้.

ค้นหาจาก https://www.thairath.co.th/content/627687

( 179 )


OBELS OUTLOOK 2017

นวัตกรรมทางการเกษตรกับ ‘ไร่รน ื่ รมย์’

(บทสั มภาษณ์พิเศษ คุณศิริวิมล กิตะพาณิชย์ เจ้าของไร่รน ื่ รมย์) พรพินันท์ ยีร่ งค์

่ เท่าทีผ ่ ่านมา โลกต้องเผชิญกับการบริโภคสารเคมีจ�ำนวนมาก ซึง

มาทัง ้ จากเนื้อสั ตว์ พืชผัก และผลไม้ รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทีใ่ ช้อุปโภค บริโภคในชีวต ิ ประจ�ำวัน ส่งผลให้พลเมืองโลกต้องประสบกับการสะสมของ ้ จากสถิตข สารเคมีในร่างกาย และท�ำให้เกิดโรคต่างๆมากขึน ิ อง FiBL ในปี ค.ศ. 2015 พบว่าพืน ้ ทีข ่ องเกษตรอินทรียข ์ องโลกอยูท ่ ป ี่ ระมาณ 50.86 เฮคตาร์ ่ เพิม ้ จากปีก่อนร้อยละ 14.57 และมีอัตราการเติบโตเฉลีย ซึง ่ สะสมตัง ้ แต่ ่ ขึน ปีค.ศ. 2011 อยู่ที่ร้อยละ 7.94 แสดงให้เห็นถึงการท�ำเกษตรในรูปแบบ อินทรีย์สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง โดยทวีปที่มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์สูงสุ ด คือ โอเชียเนีย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 45 ของพืน ้ ทีเ่ กษตรอินทรียท ์ วั่ โลก รองมา ได้แก่ ยุโรป ละตินอเมริกา และทวีปอืน ่ ๆ

ทั้ง นี้ ตลาดของเกษตรอิ น ทรี ย์ โ ลกในปี ค .ศ. 2015 มี มู ล ค่ า อยู่ ที่

ประมาณ 75 พันล้านยูโร ขยายตัวเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 10 จากปีก่อน โดย ประเทศทีม ่ ีตลาดขนาดใหญ่ทส ี่ ุด คือ สหรัฐอเมริกา อยู่ที่ 35.9 พันล้านยูโร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48 รองมาได้แก่ เยอรมัน และฝรัง ่ เศส ขณะทีพ ่ น ื้ ที่ เกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยในปีเดียวกันอยู่ที่ 45.57 เฮคตาร์ ขยายตัว สู งขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 20.99 และมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ ่ มีการขยายตัวในระยะทีผ ปีค.ศ. 2011 อยูท ่ รี่ อ ้ ยละ 6.96 ซึง ่ า่ นมาใกล้เคียง กับการขยายตัวของพืน ้ ทีเ่ กษตรอินทรีย์ของโลก ( 180 )


OBELS OUTLOOK 2017

อย่างไรก็ตาม สัดส่วนพืน ้ ทีเ่ กษตรอินทรีย์ของประเทศไทยก็คิดเป็น

สั ดส่ วนเพียงแค่ร้อยละ 0.09 ของพื้นที่เกษตรอินทรีย์ทั่วโลก และร้อยละ 1.15 ของพืน ้ ทีเ่ กษตรอินทรียใ์ นทวีปเอเชีย เมือ ่ พิจารณาลงมาในระดับของ ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศที่มีพื้นที่สูงสุ ด คือ ฟิลิปปินส์ อยู่ที่ 234,642 เฮคตาร์ รองมาคือ อินโดนีเซีย และศรีลังกา ฉะนั้นประเทศไทย ยังค่อนข้างตามหลังประเทศต่างๆในด้านของเกษตรอินทรีย์อย่างมาก แต่ ้ ก็มีแนวโน้มทีจ ่ ะปรับเปลีย ่ นสู่วิถีอินทรีย์มากขึน

ในวันที่ 11 เมษายน 2560 ได้มีจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตร

อินทรีย์แห่งชาติระยะเวลาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2560 - 25641 ซึ่งถือว่าเป็นแผน ยุทธศาสตร์ในฉบับที่ 2 หลังจากที่เคยออกแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกไป ่ มีระยะเวลาสิ้นสุดไปเมือ เมือ ่ ปีพ.ศ. 2556 ซึง ่ ปีพ.ศ. 2559 โดยยุทธศาสตร์ ฉบับล่าสุดนี้ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1

รายละเอียด ส่ งเสริมการวิจัย การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์

ยุทธศาสตร์ที่ 2

พัฒนาการผลิตสิ นค้าและบริการเกษตรอินทรีย์

ยุทธศาสตร์ที่ 3

พัฒนาการตลาดสินค้าและบริการ และการรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ยุทธศาสตร์ที่ 4

การขับเคลือ ่ นเกษตรอินทรีย์

ทีม ่ า: คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (2560)

1

คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรียแ ์ ห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรียแ ์ ห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564.

( 181 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากยุทธศาสตร์ทง ั้ สี่ จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมาย

ต่างๆ ได้แก่ การเพิม ้ ทีเ่ กษตรอินทรีย์ให้เป็น 600,000 ราย ภายในปี ่ พืน พ.ศ. 2564 การมีจ�ำนวนเกษตรกรอินทรีย์มากกว่า 30,000 ราย การเพิม ่ สัดส่วนของตลาดส่งออกเป็น 40:60 และการยกระดับกลุม ่ เกษตรอินทรีย์ วิถีพน ื้ บ้าน

นอกจากยุทธศาสตร์ของชาติในการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ทางจังหวัด

เชียงรายก็ได้มีการออกยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนการพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 - 25642 ซึ่งประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสิ นค้าเกษตร คือ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่ งเสริมการผลิตสิ นค้าเกษตรคุณภาพ มาตรฐานสากล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในตัวชีว้ ด ั ที่ 2 จะเป็นการเพิม ่ สั ดส่ วนสิ นค้าเกษตรที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ตลอดจนเป็นมิตร ่ แปลงของสินค้าเกษตรทีส กับสิ่งแวดล้อม ซึง ่ �ำคัญ (ได้แก่ ข้าว ชา กาแฟ ้ ) ต้องได้มาตรฐาน ล�ำไย ลิน ้ จี่ สัปปะรด ส้มโอ ยางพารา ปลานิล และโคเนือ สินค้าเกษตรปลอดภัยจากการตรวจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ หน่วยงานภายนอกร้อยละ 100

การเตรียมพร้อมของประเทศไทย และจังหวัดเชียงรายแสดงให้เห็น

ถึงการตระหนักของภาครัฐที่มีต่อความส� ำคัญของเกษตรอินทรีย์ที่ก�ำลัง จะเข้ามาทดแทนเกษตรทีใ่ ช้สารเคมีจ�ำนวนมากในอนาคต ทางส�ำนักงาน เศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (OBELS) จึงมีความประสงค์ในการเข้า สั มภาษณ์ ผู้ประกอบการที่ประสบความส� ำเร็จในการท�ำเกษตรวิถีอินทรีย์ ่ ตัง จึงได้ ‘ไร่รน ื่ รมย์’ ซึง ้ อยู่ทอ ี่ �ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ท�ำให้ได้แนวคิด ที่เหมาะสมต่อการเป็นเกษตรรุ่นใหม่ โดยประเด็นที่ได้ท�ำการสั มภาษณ์ ประกอบด้วย 1) การสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้กับสิ นค้าเกษตร 2) นวัตกรรม และ เทคโนโลยี 3) การเป็นเกษตรกรยุค 4.0 ตลอดจนประเด็นอืน ่ ๆทีน ่ ่าสนใจ 2

ส�ำนักงานจังหวัดเชียงราย. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2561 - 2564.

( 182 )


OBELS OUTLOOK 2017

การเพิม ่ มูลค่าให้กับสิ นค้าเกษตร

‘จิงจูฉ่าย’ ได้ตด ิ ภาพลักษณ์ของการเป็นผักทีต ่ อ ้ งถูกใส่ในต้มเลือดหมู

เท่านั้น จึงได้พยายามที่จะน�ำผักชนิดนี้ออกจากมุมที่คนเคยมอง ดังนั้น จะไม่น�ำมาใส่ ต้มเลือดหมู แต่จะน�ำไปทอดกรอบ ท�ำเครื่องดื่ม เบเกอรี่ ตลอดจนท�ำเป็นผงแทน ส�ำหรับลูกค้าทีม ่ ารับประทานอาหาร และเครือ ่ ง ดืม ่ ทีค ่ าเฟ่ของไร่ และติดใจ อยากน�ำกลับไปรับประทานเอง จึงได้ท�ำการ เลือกจิงจูฉ่ายมาเป็นพืชหลักของทีไ่ ร่ เพราะก่อนหน้านี้ได้เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ในระยะเวลา 1 ปี และได้ท�ำการปลูกพืชชนิดนี้มา จึงทราบว่า เป็นพืชทีม ่ ส ี รรพคุณค่อนข้างเยอะ มีวต ิ ามินสูงกว่ามะนาวถึง 30 - 40 เท่า รวมทัง้ ยังช่วยในการรักษาโรคมะเร็ง แต่ไม่ได้ยน ื ยันว่าจะรักษาหาย มีผป ู้ ว่ ย โรคมะเร็งหลายคนทีเ่ ดินทางมาไร่รน ื่ รมย์เพือ ่ ซือ ้ จิงจูฉ่าย เพราะเป็นพืชที่ หาแหล่งทีป ่ ลูกยาก และไม่สามารถมัน ่ ใจว่าแหล่งปลูกทีอ ่ น ื่ ปลอดภัย 100% โครงการ 1 ไร่ 1 แสน

เป็น 1 ใน 2 ของโครงการทีเ่ กิดจากร่วมมือของ 4 หน่วยงาน

ประกอบด้วย หอการค้าไทย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์เกษตร (ธ.ก.ส.) และส�ำนักงานปฏิรป ู ทีด ่ น ิ เพือ ่ การเกษตรกรรม

โดยมีจุดประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความยากจน

ให้กบ ั เกษตร เริม ่ ต้นในปี 2553 โดยให้เกษตรกรจ�ำนวน 85 คน น�ำร่อง ท�ำพืน ้ ทีต ่ ้นแบบรายละ 1 ไร่ ภายใต้หลักแนวคิดของเกษตรทฤษฎีใหม่ ทีเ่ ป็นเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน ให้ได้มูลค่ารวม 1 แสนบาท3

3

ส�ำนักข่าวอิศรา.(2556). วิจย ั ท�ำนา 1 ไร่ ได้ 1แสน ‘รศ.วรรณา ประยุกต์วงศ์’ ชีผ ้ ลลัพธ์มากกว่าตัว

( 183 )


OBELS OUTLOOK 2017

ขณะเดียวกัน รสชาติของจิงจูฉ่ายมีความแตกต่างกันไปในแต่ละพืน ้ ที่

ปัจจุบันได้ส่งสินค้าไปจ�ำหน่ายทีโ่ กลเด้นเพลส (Golden Place) ซูเปอร์มาร์เก็ตของโครงการหลวงเป็นหลัก ซึง่ ปกติทางร้านได้รบ ั จากผูผ ้ ลิต 4 ราย และทางไร่ได้เข้าไปเป็นรายที่ 5 ซึ่งในตอนแรกค่อนข้างมีความกังวลว่า สิ นค้าจะไปซ�้ำกับเจ้าอื่น แต่สุดท้ายก็สามารถจ�ำหน่ายได้ มาจากความ แตกต่างของดินในแต่ละเจ้า ท�ำให้จ�ำเป็นต้องหันกลับมาให้ความส� ำคัญ ต่อความสมดุลในดิน เมือ ่ ดินทีใ่ ช้ในการปลูกพืน ้ ทีม ่ ีคุณภาพดี รสชาติของ ้ มาด้วยตัวมันเอง โดยไม่จ�ำเป็นต้องเพิม ตัวผักก็จะมีความโดดเด่นขึน ่ ธาตุ อาหาร NPK

อย่างไรก็ตาม ยังติดตรงที่จิงจูฉ่ายของทางไร่ยังไม่ได้น�ำไปตรวจ

่ เป็น สอบหาสารอาหารเพิม ่ ทีจ ่ ะหาความแตกต่างจากเจ้าอืน ่ ๆ ซึง ่ เติม เพือ แผนการต่อไปในการสร้างมูลค่าเพิม ่ อ ้ งค�ำนึงถึง คือ ‘รสชาติ’ ่ โดยสิ่งแรกทีต ่ เป็นตัวชีว้ ัดทีบ ต่อมาคือ ‘หน้าตา’ และสุ ดท้ายคือ ‘ดิน’ ซึง ่ ่งชีค ้ ุณภาพของ ผักได้ในเบือ ้ งต้น

การปลูกข้าวหอมนิลในไร่ แต่ก่อนเคยประสบกับปัญหา คือ เป็นพืช

ทีเ่ สี ยง่าย หรือมีอายุการเก็บรักษาสั้น (short shelf life) เมือ ่ เจอปัญหา ้ จึงได้น�ำข้าวหอมนิลมาเป็นวัตถุดบ ในตรงนัน ิ ในการท�ำอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ในคาเฟ่ ทีเ่ ปรียบเสมือนเป็นห้องทดลอง (Laboratory) รวมถึงพืชผักอืน ่ ๆ ้ มา ก็จะส่งไปเข้าครัว เบเกอรี่ และบาร์น�้ำ เช่นกัน พอปลูกวัตถุดิบตัวหนึ่งขึน ให้พนักงานแต่ละคนมีส่วนร่วมในการคิดค้นเมนูต่างๆ และแบ่งกันชิมเพือ ่ ทดสอบรสชาติ เมื่อรสชาติที่ถูกคิดค้นใหม่ผ่าน ก็จะถูกน�ำไปใส่ ในเมนู อาหาร และเครือ ่ งดืม ่ จริง ขัน ้ ตอนต่อไป คือ พยายามหาวิธีให้ลูกค้าติดใจ ในรสชาติ สามารถทีจ ่ ะน�ำวัตถุดิบกลับไปรับประทาน หรือไปจ�ำหน่ายทีอ ่ น ื่ เปรียบเสมือนการทดลองท�ำการตลาดในพืน ้ ที่

นอกจากทีก ่ ล่าวมา สิ นค้าส่วนใหญ่จะถูกน�ำไปไปจ�ำหน่ายภายนอก

ในลักษณะของแห้ง จ�ำพวกข้าว จิงจูฉ่าย ดาวเรือง ที่น�ำมาบดละเอียด ( 184 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ เพราะตอนนีป ้ ญ ั หาในการ ซึง่ จะมองในเรือ ่ งของขนมปัง และเบเกอรีม ่ ากขึน จ�ำหน่ายข้าวสารเปลือกอย่างมาก ภาครัฐก็มีการสนับสนุนให้เกษตรกร ปลูกอีกเป็นแสนไร่ แต่ไม่มีตลาดทีเ่ ข้ามารองรับ คนไทยก็มีการบริโภคข้าว ้ รวมทัง น้อยลง เพราะมีตัวเลือกในการรับประทานมากขึน ้ ความนิยมในการ รับประทานอาหารส� ำเร็จรูป จึงจ�ำเป็นที่ต้องน�ำพืชผักมาแปรรูปในวิธีการ อืน ่ ๆ แทนการจ�ำหน่ายข้าวเปลือก

ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายอื่นๆ นอกจากส่ งให้กับทางโกลเด้นเพลส

คือ Top Supermarket ของห้างสรรพสิ นค้า Central จังหวัดเชียงราย ส่วนใหญ่กจ ็ ะส่งไปจ�ำหน่ายในรูปแบบของพืชผักสด และของแห้งบางอย่าง ซึ่งยังไม่สามารถจ�ำหน่ายข้าวได้ เพราะขาดการรับรองจากองค์กรอาหาร และยา (อ.ย.) ซึง่ ก�ำลังอยูใ่ นขัน ้ ตอนการท�ำเรือ ่ งขอ ส�ำหรับสินค้าทีจ ่ ำ� หน่าย ในกรุงเทพฯก็มล ี ก ั ษณะคล้ายกัน โดยจะเลือกผักทีค ่ อ ่ นข้างมีความแข็งแรง อย่าง คะน้าอิตาเลีย ่ น และจิงจูฉ่าย เพราะผักสดอย่างทีม ่ ีความบอบบาง ไม่คุ้มค่าต่อการขนส่งในระยะไกล รูปที่ ... ผลิตภัณฑ์ข้าวปันรักข้าวกล้องหอมอุบลของไร่รน ื่ รมย์

ทีม ่ า: http://www.greenshopcafe.com

( 185 )


OBELS OUTLOOK 2017

การที่น�ำข้าวสารไปใส่ ในขวด เกิดจากการที่ปกติคนจะน�ำไปบรรจุ

ใส่ ในรูปแบบของถุงสุ ญญากาศ เมือ ่ ถูกขนส่ ง ตัวถุงจะได้รับแรงกระแทก ท�ำให้ตัวสุญญากาศหายไป มอดก็จะสามารถเข้าไปในข้าวได้ จึงพยายาม ทีจ ่ ะมองหาบรรจุภณ ั ฑ์อน ื่ ๆ อยากให้สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมากกว่านี้ ในช่วงแรกของการท�ำการตลาด มอง แค่เพียงว่าอยากให้ผบ ู้ ริโภคสะดุดตากับผลิตภัณฑ์ทม ี่ ผ ี ผ ู้ ลิตกว่า 100 ราย ในตลาด หลังผูบ ้ ริโภคสามารถจดจ�ำตราสินค้า (brand) ได้ ก็จะเริม ่ น ่ เปลีย ไปสู่บรรจุภณ ั ฑ์รป ู แบบอืน ่ ทัง้ นี้ บรรจุภณ ั ฑ์ในรูปแบบของขวดก็ได้ใส่ฉลาก และวิธีแนะน�ำในการน�ำไปรีไซเคิล เพือ ่ ใช้งานต่อ นอกจากนี้ การบรรจุใน ถุงสุญญากาศ ท�ำให้เมือ ่ เปิดถุงแล้ว ยากต่อการน�ำไปเก็บ หรือต้องน�ำไป ใส่ บรรจุภัณฑ์อน ื่ ๆ เช่น ทัปเปอร์แวร์ อีกที แต่ถ้าเป็นขวดสะดวกต่อการพก พา และยังสามารถเก็บใส่ไว้ในช่องเก็บน�้ำของตู้เย็นได้ ไม่ต้องเก็บรวมกับ ของอืน ่ ๆ ช่วยประหยัดพืน ้ ทีใ่ นตู้เย็น จุดเริม ื่ รมย์ ่ ต้นของการท�ำไร่รน

มีความตัง้ ใจในการเข้ามาพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง และ

มีความยัง่ ยืน จากการค้นหาก็พบว่าควรจะท�ำ ‘เกษตรแบบผสมผสาน’ ซึง่ ในความเป็นจริงจบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ ไม่มอ ี งค์ความรู้ ทางด้านของเกษตรกรรม จึงตัดสินใจเริม ่ ต้นโดยเข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน เป็นระยะเวลา 1 ปี หลังจบจากโครงการมา ก็มองว่ายังไม่เห็น แปลงเกษตรทีจ ่ ะเป็นต้นแบบในการเป็นแหล่งเรียนรู้ ท�ำให้เริม ่ น�ำองค์ ้ ความรู้ และประสบการณ์ทไี่ ด้มาใช้ในทีด ่ น ิ ของตนเองก่อน ต่อจากนัน จึงเริม ่ ยู่ข้างเคียง หากในอนาคตไม่มีไร่รน ื่ รมย์ ก็ยัง ่ พัฒนาชุมชนทีอ หลงเหลือไว้เป็นตัวอย่างให้กับชุมชนในการเดินต่อไปข้างหน้า

( 186 )


OBELS OUTLOOK 2017

ความร่วมมือของไร่กับชุมชน

คนทีท ่ �ำงานอยู่ในไร่รน ื่ รมย์ทงั้ หมดเป็นคนทีอ ่ าศัยอยู่ในพืน ้ ทีท ่ งั้ หมด

และทางไร่ก็ได้พยายามสนับสนุนให้เกษตรกรในพื้นที่ท�ำเกษตรอินทรีย์ โดยในปีแรก ทางไร่จะท�ำเป็นตัวอย่างให้ดก ู อ ่ น ส่วนปีที่ 2 ก็จะสร้างเกษตรกร ่ เมือ จากคนทีเ่ ข้ามาท�ำงานในไร่ ซึง ่ ออกจากการท�ำงาน จะสามารถกลับไป ้ ในชุมชนได้ โดยรวมคือการพยายามทีจ สร้างเป็นต้นแบบให้เกิดขึน ่ ะสอน วิธีในการปลูก และมีทีมงานเข้าไปดูแลอย่างใกล้ชิด จึงได้มีการจัดตัง ้ แผน ้ มาทีเ่ รียกว่า ‘ชุมชนกับการวิจย เฉพาะขึน ั และพัฒนา’ ท�ำหน้าทีป ่ ระสานงาน ระหว่างแผนกต่างๆในไร่กบ ั คนในชุมชน ซึง่ มีการลงพืน ้ ทีส ่ �ำรวจ และติดตาม พืชผักอินทรีย์ทช ี่ าวบ้านท�ำการปลูกให้กับทางไร่ แต่ก็ไม่จ�ำกัดว่าชาวบ้าน ้ สามารถเลือกทีจ จะต้องจ�ำหน่ายให้กบ ั ทางไร่เท่านัน ่ ะจ�ำหน่ายให้กบ ั เจ้าอืน ่ ้ ก็กำ� ลังผลักดันให้เกิดตลาดอินทรียข ได้เช่นกัน นอกจากนัน ์ น ึ้ ภายในพืน ้ ที่

ทางไร่กม ็ ค ี วามเชือ ่ มโยงกับชุมชนทีเ่ ป็นชนเผ่าทีก ่ ำ� ลังท�ำเกษตรอินทรีย์

แบบยัง ่ ยืน ก็ได้เข้าไปแลกเปลีย ่ นความรู้ระหว่างกัน ชุมชนชนเผ่ามีความรู้ การท�ำเกษตรค่อนข้างดี ส่วนทางไร่กม ็ ค ี วามรูใ้ นด้านของการสร้างผลิตภัณฑ์ จึงร่วมมือกันท�ำผลิตภัณฑ์ใหม่ขน ึ้ มาจ�ำหน่ายในร้านค้าของไร่รน ื่ รมย์ โดย ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะสะท้อนความเป็นตัวตน และเรือ ่ งราวของชุมชนเป็น อย่างดี ยกตัวอย่าง การเข้าไปพัฒนาชุมชนปกาเกอะญอ ได้ร่วมกับทาง ทีมเชฟ เข้าไปในพืน ้ ทีเ่ พือ ่ ทีจ ่ ะดึงความเป็นชุมชนผ่านวัตถุดบ ิ ในการประกอบ อาหาร โดยวัตถุดบ ิ เกือบทุกอย่างก็พยายามทีจ ่ ะใช้จากทีผ ่ ลิตภายในชุมชน เช่น นมวัว ซึ่งเป็นส่ วนประกอบหลักของเครื่องดื่ม จะใช้นมที่ผลิตจาก โรงงานอุตสาหกรรมเพียงแค่บางส่ วน ด้วยเหตุผลเพราะนมวัวในพื้นที่มี ‘ความสดใหม่’ และ’รสชาติ’ ทีด ่ ีกว่า รวมทัง ้ ยังได้ช่วยเหลือคนในชุมชนให้ เกิดรายได้ แต่ก็มีข้อเสี ย คือ ต้องมีการประสานงานติดต่อค่อนข้างมาก ทัง ้ ทีใ่ นความเป็นจริงก็สามารถทีจ ่ ะซือ ้ นมจากร้านค้าปลีกทัว่ ไปได้

( 187 )


OBELS OUTLOOK 2017

อย่างไรก็ตาม เมือ ่ มองว่าการด�ำเนินธุรกิจ หากเป็นไปอย่างโดดเดีย ่ ว

ก็จะเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แต่ถ้าไปกับชุมชนอาจจะไปอย่างเชือ ่ งช้า หากมี ความยัง ่ ยืน เป็นเหมือนรูปแบบทางธุรกิจอย่างหนึ่ง สมมติวา่ คนทีป ่ ระกอบ ธุรกิจร้านกาแฟเข้ามาในพื้นที่ ต้องการตกแต่งร้านให้มีความสวยงาม สามารถทีจ ่ ะถ่ายรูปลงสื่อสังคมออนไลน์ได้ เป็นการด�ำเนินธุรกิจทีท ่ �ำง่าย แต่ที่ยากคือ จะท�ำให้ผลิตภัณฑ์กาแฟที่จ�ำหน่ายมีความหมายได้อย่างไร จึงควรทีจ ่ ะต้องมีการดึงชุมชนในพืน ้ ทีม ่ าสร้างผลิตภัณฑ์เกิดคุณค่า (value proposition) นวัตกรรมธรรมชาติ

นวั ต กรรมที่ส� ำ คั ญ คื อ การเพาะปลู ก ที่คื น ความสมดุ ล ให้ กั บ

่ ไม่ได้วัดจากแร่ธาตุทม ธรรมชาติมากทีส ่ ุ ด ซึง ี่ ีอยู่ในพืชผัก หากแต่ใช้ตัวชี้ วัดทางธรรมชาติ อาทิ ไส้ เดือนที่แต่เดิมไม่พบเห็นอยู่ในไร่ ก็เกิดขึ้นมา เป็นจ�ำนวนมาก และมีขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นว่าดินมีการปรับตัวที่ดีขึ้น พื ช ที่ป ลู ก ในไร่ ก็ จ ะดี เ ช่ น กั น นอกจากนั้ น นวั ต กรรมอี ก อย่ า งที่มี ค วาม ส� ำคัญไม่แพ้กัน คือ ความคิด การที่ท�ำให้ผู้บริโภคมองเห็นถึงจุดเริ่มต้น ถึงจุดสุ ดท้าย หรือที่เรียกว่า ‘ความโปร่งใส’ ทั้งที่ในอดีต ธุรกิจต้องเก็บ กระบวนการทุกอย่างให้เป็นความลับทางการค้า แต่ตอนนี้เป็นไปในทาง ตรงกันข้าม เพราะยิง ่ สัตย์ต่อลูกค้า ยิง ่ ธุรกิจเปิด มีความโปร่งใส ซือ ่ ได้รับ กระแสการตอบรับทีด ่ ี

การค้าและนวัตกรรมควรมีการพัฒนาควบคู่ไปด้วยกัน เพราะจะช่วย

ในสร้างความได้เปรียบในการลดต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะในเรือ ่ งของข้าว ทีใ่ ช้เมล็ดพันธุน ์ ้อย โดย 1ไร่ ใช้ประมาณแค่ 2 กิโลกรัม ซึง่ ปกติ 1 ไร่ เกษตรกร ในพื้นที่ใช้ทั้งหมด 20 กิโลกรัม ซึ่งท�ำให้มีโอกาสที่จะทดลองสิ่ งใหม่ใน แปลงข้าว เพราะเสี ยต้นทุนที่ต�่ำกว่าการท�ำนาแบบทั่วไป แต่สิ่งที่ยุ่งยาก ส�ำหรับเกษตรอินทรีย์ คือ การดูแลรักษา แต่ตน ้ ทุนในระยะยาวต�ำ่ กว่าอย่าง ( 188 )


OBELS OUTLOOK 2017

ชัดเจน แม้ว่าต้นทุนเริ่มต้นจะค่อนข้างสู ง เพราะต้องมีการน�ำปุ๋ยอินทรีย์ ต่างๆ ใส่ไปในนาข้าว แต่สิ่งทีใ่ ส่ เข้าไปถือว่าเป็นการลงทุนเพือ ่ สร้างระบบ นิเวศน์ เมือ ่ เปรียบเทียบกับสารเคมีทใี่ ส่และหมดไป สมมติวา่ ปีแรกใส่ 1 ตัน ปีทส ี่ องใส่ 500 กิโลกรัม ปีทส ี่ ามใส่ 300 กิโลกรัม สุดท้ายคือไม่ต้องใส่ อะไรเพิม ่ อีก พืชจะสามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง

ั หาเรื่องหอยเชอรี่เข้ามารบกวน ตอนนี้ได้น�ำเป็ดมา แต่ก่อนมีปญ

่ เกษตร เลีย ้ ง ก็ช่วยก�ำจัดออกไปได้หมด ส่วนแมลงก็มีเข้ามาในช่วงแรก ซึง อินทรีย์ก็มีไม่ต่างจากทีใ่ ช้สารเคมี หากแต่ทใี่ ช้สารเคมีจะมีวิธีการจัดการที่ ้ จึงจ�ำเป็นต้องวิธใี นการสังเกตบ่อยๆ เพือ รวดเร็วกว่าอินทรีย์ ดังนัน ่ ป้องกัน ก่อนจะเกิด ไม่ปล่อยให้เกิด แล้วค่อยแก้ไข นอกจากนี้ ยังต้องคอยพยายาม สร้างระบบทีท ่ �ำให้เกิดการ ‘หักล้าง’ ด้วยตัวมันเอง หรือช่วย ‘ก�ำจัดกันเอง ตามธรรมชาติ’

x ่ มโยง เกษตรสมัยใหม่คือการเชือ

รูปแบบของเกษตรสมัยใหม่ในความคิด คือ ต้องมีความเชือ ่ มโยงกัน

่ งจากไม่มใี ครสามารถท�ำเองได้หมดทุกอย่าง ถ้าท�ำได้ สุดท้ายไปคนเดียว เนือ ก็รอดยาก ต้องให้คนอื่นร่วมไปด้วย ต้องให้เข้าใจว่าเศรษฐกิจพอเพียง ่ พาตนเอง แต่เป็นการพึง ่ พาอาศัยกัน ทีใ่ นหลวงสอน ไม่ใช่เพียงแค่การพึง ท�ำให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นในชุมชน ไม่ใช่ในตัวบุคคล ฉะนั้นใน ชุมชนต้องมีหลายอาชีพประกอบรวมกัน ไม่ใช่เพียงแค่เกษตรกรทีเ่ ข้ามามี ้ ต้องครบวงจร ชุมชนจึงจะเกิดความเข้มเข็ง เหมือนทีใ่ นหลวง บทบาทเท่านัน กล่าวว่าเราไม่ใช่ ‘self-sufficient’ แต่เป็น ‘sufficient economy’ ( 189 )


OBELS OUTLOOK 2017

สิ นค้าเกษตรยากต่อการขายออนไลน์

มีการจ�ำหน่ายบนเว็บไซต์ แต่ยง ั ไม่เหมาะสม เนื่องจากสินค้าเกษตร

ไม่ใช่เครือ ่ งส�ำอาง ผู้บริโภคต้องการทีจ ่ ะเห็นตัวสินค้า ถึงจะตัดสิ นใจซือ ้ มาตรฐานส� ำคัญต่อการส่ งออก

คาดว่าจะมีการส่งออกสินค้าเกษตรทีผ ่ ลิตในไร่ไปต่างประเทศ แต่การ

ส่งออกก็มีหลายระดับ ไม่ว่าจะในเรือ ่ งของมาตรฐาน ตอนนี้ก�ำลังด�ำเนิน ่ ค่อยๆ ท�ำไปเพราะสิ นค้า การเรือ ่ งของมาตรฐานทีร่ ับรองโดย USDA4 ซึง เกษตรของทางไร่เพิง่ จะได้มาตรฐานของ Organic Thailand ในมาตรฐาน ต้องดูต่อไปในอนาคต เพราะแต่ละมาตรฐานที่ท�ำเรื่องขอต้องใช้ทั้งเงิน และเวลาอย่างมาก โดยเฉพาะในการเตรียมเอกสาร

ณ เวลานี้ ก�ำลังทีจ ่ ะพยายามสร้างมาตรฐานให้กับสิ นค้าเกษตรของ

่ ตอนแรกอยากทีจ ชุมชน ซึง ่ ะผลักดันให้ได้มาตรฐาน Organic Thailand และส่งออกไปจ�ำหน่ายเช่นเดียวกับสินค้าของทางไร่ แต่เมือ ่ พิจารณาแล้ว ้ จึงใช้คาเฟ่ของทางไร่เป็นมาตรฐานในการ อาจจะไปสามารถไปได้ถงึ จุดนัน รับวัตถุดิบแทน ในการท�ำอาหาร และเครือ ่ งดืม ่ ให้แก่ลูกค้า เพราะเรารูจ ้ ก ั แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่น�ำมาเป็นอย่างดี ว่าใครเป็นผู้ปลูก ตั้งอยู่ที่ไหน และมีกระบวนการอย่างไร น่าจะเพียงพอต่อการสร้างมาตรฐานในระดับ ชุมชน ในความเป็นจริง ทางไร่สามารถทีจ ่ ะปลูกทุกอย่างเองได้ แต่เลือกที่ ้ เพือ จะปลูกบางอย่างเท่านัน ่ ให้ชม ุ ชนสามารถผลิตวัตถุดบ ิ ป้อนให้กบ ั คาเฟ่ ้ เป็นการกระตุ้นให้ชุมชนอยากทีจ ่ ะหันมาท�ำเกษตรอินทรีย์มากขึน

2

USDA (United States Department of Agriculture) คือ กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยงานทีท ่ �ำการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

( 190 )


OBELS OUTLOOK 2017

การอยู่ร่วมอย่างไม่แบ่งแยก

แม้วา่ จะมีพน ื้ ทีต ่ ด ิ กับของชาวบ้าน ทางไร่กไ็ ม่มก ี ารสร้างรัว้ ลวดหนาม

ขึ้นมากีดกั้น อยากพยายามที่จะอยู่อย่างกลมกลืนมากกว่า แต่อาจจะมี การสร้างเป็นแนวกันชน เช่น ต้นไม้ เพราะต่างคนก็รับรู้ต่อขอบเขตของ พื้นที่เป็นอย่างดี ถึงอย่างนั้นก็ไม่อยากให้เป็นการแบ่งแยกพื้นที่กันโดย สิ้ นเชิง ซึ่งเป็นเรื่องที่อ่อนไหวส� ำหรับชุมชนอย่างมากต่อการเข้ามาของ ้ เพือ นักลงทุนในพืน ้ ที่ ฉะนัน ่ นบ้านคือสิ่งทีด ่ ส ี ุดในการด�ำเนินธุรกิจ ไม่ควร ทีจ ่ ะสร้างก�ำแพงในการขวางกัน ้ มิตรภาพ ผลลัพธ์ทเี่ ห็นได้ชด ั คือ การด�ำเนิน ธุรกิจมากว่า 3 ปี โดยปราศจากความขัดแย้งกับชุมชน ซึ่งหากโดยปกติ ั หาอย่างแน่นอน จึงต้องหาวิธท การเข้าไปของนักลงทุนย่อมมีปญ ี จ ี่ ะอยูร่ ว่ ม ่ พืน อย่างมีความสุ ข ซึง ้ ทีข ่ องทางไร่แต่เดิมก็เคยเป็นทางผ่านของชาวบ้าน ทางไร่ก็ไม่ได้ปิดทางสั ญจร เพราะชาวบ้านใช้มาตั้งแต่อดีต นอกจากนั้น ชาวบ้านยังสามารถเข้ามาเรียนรู้ และสังเกตได้อย่างอิสระ การเปิดหลักสู ตรอบรมการเกษตร

หลักสู ตรการเรียนการสอนต่างๆที่คิดขึ้นมาเกิดจากปัญหา เช่น

หลักสู ตรเตรียมกลับบ้าน คือ หลักสู ตรที่เตรียมตัวให้กับคนที่อยากจะ กลับบ้าน ซึ่งตอนนี้ก�ำลังเป็นกระแส แต่ที่พบส่ วนใหญ่เป็นการกลับบ้าน ไปอย่างผิดวิธี ทิง ่ ี น�ำเงินก้อนหนึ่งไปลงทุน ้ ทุกอย่าง และขายทุกอย่างทีม ท�ำเกษตร เมือ ่ ลงทุนเสร็จไม่ประสบความส�ำเร็จ รูส ้ ึกล้มเหลว กลับไปด�ำเนิน ่ เห็นได้ชัดว่า ชีวิตในเมืองเหมือนเดิม สุ ดท้ายหมดศรัทธากับธรรมชาติ ซึง ธรรมชาติมค ี วามไม่แน่นอน แต่ตอ ้ งคิดต่อว่าจะอยูร่ ว่ มให้ได้อย่างไรมากกว่า สิ่งแรกคือต้องท�ำความเข้าใจกับความเป็นธรรมชาติก่อน

สิ่งทีต ่ อ ้ งท�ำความเข้าใจว่าการเกษตรไม่ใช่วถ ิ ี slow life แต่สิ่งทีช ่ า้ ลง

้ อยู่ดี ต้องตีความการ ก็คือจิตใจ แต่หากไม่ลงมือท�ำอะไร ก็ไม่เกิดอะไรขึน ท�ำเกษตรให้ถูกต้อง ภาพลักษณ์ทอ ี่ อกไปวันนี้มันค่อนข้างผิด จึงน�ำจุดนี้ ( 191 )


OBELS OUTLOOK 2017

มาเป็น ตั ว ชู ใ ห้ แ ก่ ค นเมื อ งเข้ า มาเรี ย นรู้ เพื่อ ให้ ไ ด้ เ ตรี ย มตั ว อย่ า งถู ก วิ ธี ต้องเริม ่ จากการปลูกต้นไม้ใหญ่ เตรียมเงินทุน เวลา และทุนแรงงาน ต้อง รู้ว่าจะปลูกอะไร หากปลูกพืชชนิดนั้น และเลิกท�ำงานเดิม จะสามารถด�ำรง ชีวิตอยู่ได้หรือไม่ สามารถต่อยอดไปทางไหนได้ เป็นสิ่งทีจ ่ ะน�ำมาคุยกัน ่ จะไม่เรียกว่าการสัมมนา แต่เป็นการเข้ามาแลกเปลีย ใน workshop ซึง ่ น ความรู้ และประสบการณ์ระหว่างกันและกัน

หนึ่ ง ในขั้น ตอนของหลั ก สู ต รเตรี ย มกลั บ บ้ า นที่ส� ำ คั ญ คื อ การ

ออกแบบวางแผน ในพืน ้ ทีท ่ ถ ี่ อ ื ครองอยู่ ทุกคนจากทีเ่ คยออกแบบมาก่อน เข้าร่วมหลักสู ตร ได้มีการปรับเปลี่ยนแผนของตนเอง เพราะได้พิจารณา ถึงแรง ทุน และเวลาทีม ่ อ ี าจจะไม่สามารถท�ำได้เหมือนทีค ่ าดหวังไว้ อย่างไร ก็ดี เกษตรอินทรีย์ไม่ต้องท�ำเยอะ แต่เป็นวิถีที่ต้องใช้เวลาในการจัดการ และดูแลเอาใจใส่

คนบางส่ วนที่เข้ามาก็กลับไปเป็นเกษตรกรบ้าง หรืออาจไม่ท�ำเล

การสร้างเป็นแนวกันชน เช่น ต้นไม้ เพราะต่างคนก็รับรู้ต่อขอบเขตของ พื้นที่เป็นอย่างดี ถึงอย่างนั้นก็ไม่อยากให้เป็นการแบ่งแยกพื้นที่กันโดย สิ้ นเชิง ซึ่งเป็นเรื่องที่อ่อนไหวส� ำหรับชุมชนอย่างมากต่อการเข้ามาของ นักลงทุนในพืน ้ ที่ ฉะนั้นเพือ ่ นบ้านคือสิ่งทีด ่ ีสุดในการด�ำเนินธุรกิจ ไม่ควร ทีจ ่ ะสร้างก�ำแพงในการขวางกัน ้ มิตรภาพ ผลลัพธ์ทเี่ ห็นได้ชด ั คือ การด�ำเนิน ธุรกิจมากว่า 3 ปี โดยปราศจากความขัดแย้งกับชุมชน ซึ่งหากโดยปกติ ั หาอย่างแน่นอน จึงต้องหาวิธีที่จะอยู่ การเข้าไปของนักลงทุนย่อมมีปญ ่ พืน ร่วมอย่างมีความสุ ข ซึง ้ ทีข ่ องทางไร่แต่เดิมก็เคยเป็นทางผ่านของชาว บ้าน ทางไร่ก็ไม่ได้ปิดทางสั ญจร เพราะชาวบ้านใช้มาตัง ้ แต่อดีต นอกจาก นั้น ชาวบ้านยังสามารถเข้ามาเรียนรู้ และสั งเกตได้อย่างอิสระ

( 192 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ มัน ่ ให้กับชุมชน การสร้างความเชือ

การเกษตรเป็นเรือ ่ งของความเชือ ่ หากตัวบุคคลมีความเชือ ่ ว่าสารเคมี

ให้ผลผลิตทางการเกษตรอย่างแน่นอน ชาวบ้านก็จะยังใช้สารเคมี จึงต้อง สร้างต้นแบบให้กับชุมชนว่า เกษตรอินทรีย์ก็สามารถสร้างผลผลิตได้ไม่ ่ บางส่วน ต่างกับเกษตรสารเคมี ได้ผักทีอ ่ ร่อย และมีคุณภาพดีกว่าเดิม ซึง ้ เมือ ่ ได้มาลองดู ลองชิม ก็มีการปรับเปลีย ่ นวิถีมากขึน ความพอดีคือค�ำตอบของการอยู่รอด

การมีอยู่อย่างพอดี คือ แนวความคิดที่เป็นแรงผลักดันให้การท�ำ

เกษตรอินทรีย์ ซึ่งไม่ควรแต่หวังความพึงพอใจในรูปแบบของตัวเงิน แต่ เป็นการมองเห็นว่าการใส่สารเคมีในพืชผักส่งผลต่อผูบ ้ ริโภคในเชิงลบ ก็จะ ตระหนักได้ว่าควรเปลีย ่ นมาท�ำอินทรีย์แทน ไม่ได้โลภทีอ ่ ยากจะได้เงินจน สามารถสร้างผลกระทบแก่ผู้อื่น เป็นสิ่ งที่ได้เรียนรู้อย่างมากจากชนเผ่า ่ มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทม ปกาเกอะญอ ซึง ี่ ีอยู่อย่างพอดี ไม่ได้ใช้สอยอย่างฟุ่มเฟือย และหาผลก�ำไรเชิงพาณิชย์ เช่น หมู่บ้านของ ปกาเกอะญอมีแหล่งน�้ำทีร่ สชาติดีมาก แต่ใช้เพียงแค่ในหมู่บ้าน ไม่ได้น�ำ มาบรรจุลงขวดจ�ำหน่ายไปภายนอก เพราะไม่ได้ต้องการท�ำเป็นธุรกิจ

่ เป็นกลุ่มทีร่ วม นอกจากนั้น ได้มีการไปเข้าร่วมกลุ่ม ‘พอแล้วดี’ ซึง

เอาคนทีม ่ แ ี นวคิดเดียวกันมาสนทนาแลกเปลีย ่ นความรูซ ้ งึ่ กันและกัน ซึง่ เคย ไปเข้าร่วมกลุ่มอืน ่ ทีค ่ ุยแต่เรือ ่ งเงิน ก็ไปไม่รอด เทคโนโลยีทน ี่ �ำมาใช้

ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีขั้นสู งมาก แค่ใช้เครื่องจักรในการไถ เน้นไปที่

นวัตกรรมมากกว่า คือ การลดต้นทุน เพิม ่ ให้เกษตรกรในพืน ้ ที่ ่ ผลผลิต เพือ สามารถเข้าถึงได้ เคยมีความคิดทีจ ่ ะท�ำเรือนกระจก (greenhouse) แต่จะ ใช้ในกรณีของพืชผักบางอย่างทีป ่ ลูกภายนอกไม่ได้เท่านั้น ( 193 )


OBELS OUTLOOK 2017

ชุมชนมีวัตถุดิบ ไร่มีการตลาด

การเชื่อมโยงที่ส�ำคัญอย่างมากคือ การที่ชุมชนทั้งที่สูง และที่ราบ

ต่างก็มีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ เราก็เข้าไปท�ำหน้าที่เป็นฝ่ายการตลาด ในการสร้างมูลเพิม ่ ให้กับสิ นค้า ไร่รน ื่ รมย์คือแหล่งเรียนรู้ทย ี่ ง ั่ ยืน

ไม่ อ ยากให้ ม องแค่ ว่ า ไร่ รื่น รมย์ เ ป็น ฟาร์ ม ออแกนิ ก แต่ เ ป็น ศู น ย์

การเรียนรู้ทย ี่ ง ั่ ยืน (Sustainable learning center) ต้องให้คนเข้าใจว่า เกษตรอินทรียไ์ ม่ใช่แค่การปลูกพืชแบบไม่ใช้สารเคมี ต้องไม่ลม ื ว่าหัวใจหลัก คือ การคืนความสมดุลให้กับธรรมชาติ ถ้าชุมชนไม่เข้าใจ ก็จะไม่สามารถ คื น ความสมดุ ล ให้ กั บ ธรรมชาติ ไ ด้ ซึ่ ง ชุ ม ชนถื อ เป็ น องค์ ป ระกอบของ การเป็นเกษตรอินทรีย์ทเี่ ข้ามามีส่วนร่วมอย่างมาก และต้องมองว่าการท�ำ เกษตรอินทรีย์ท�ำให้ชุมชนดีขึ้น หรือแย่ลง ถ้าแย่ลง แสดงว่าไม่ใช่การท�ำ เกษตรอินทรีย์ทแ ี่ ท้จริง ท�ำไมเกษตรแปลงใหญ่ไม่ยง ั่ ยืน

การท�ำเกษตรแบบแปลงใหญ่ทป ี่ ลูกพืชชนิดเดีย ่ วจ�ำนวนหลายพันไร่

จะท�ำให้เกิดโรคจ�ำนวนมาก ถ้าไม่ใช้สารเคมี อาจจะเรียกว่าเป็นเกษตร อินทรีย์ก็จริง แต่ไม่ยง ั่ ยืน เพราะดูแลยาก หากปลูกแบบผสมผสานจะช่วย กระจายความเสี่ ยงทั้งในด้านของโรคพืช และรายได้ที่มาจากหลายทาง ่ พาจากพืชชนิดเดียวไม่ได้ล้มยักษ์ แต่ต้องการจุดยืน ไม่ใช่แค่พึง

จุดมุ่งหมายไม่ได้ต้องการทีจ ่ ะเข้ามาขัดขาบริษัทใหญ่ๆ แต่ต้องการ

ทีจ ่ ะมีทย ี่ น ื เพือ ่ ให้อยูร่ อดไปได้ในสังคม และตลาด เพือ ่ ไม่ให้ถก ู บริษท ั ใหญ่ กลืนกิน ซึ่งทุกคนในตลาดเกษตรอินทรีย์ต้องมีความเชื่อมโยง เพื่อสร้าง ความเข้มแข็ง และสามารถอยู่ร่วมกับยักษ์ได้

( 194 )


OBELS OUTLOOK 2017

อนาคตของเกษตรอินทรีย์

้ แน่นอน คนหันมารักษาสุขภาพมากขึน ้ เป็นกระแสความนิยม เกิดขึน

ของโลก เมื่อคราวได้เดินทางไปที่สนามบินอัมสเตอร์ดัม และได้เข้าไปที่ ซูเปอร์มาร์เก็ต พบว่ากับสิ นค้าที่ชั้นอาหารเป็นอินทรีย์อยู่บนชั้นวางเต็ม ไปหมด นี่แค่ซูเปอร์มาร์เก็ตทีอ ่ ยู่ในสนามบิน แสดงทุกอย่างต่อไปจะเป็น อินทรีย์ทง ั้ หมด เพราะทรัพยากรตอนนี้มีอยู่เท่าเดิม แต่ก�ำลังจะสู ญเสี ย ้ นอกจากนี้ คนก็สุขภาพแย่ลง จึงเป็น ไป ท�ำอย่างไรถึงจะให้อยู่ได้นานขึน สิ่ งที่ช่วยกระตุ้นให้คนตระหนักถึงความส� ำคัญของเกษตรอินทรีย์ ถ้าถาม ว่าท�ำไมข้าวไทยราคาตก ส่งออกไปถูกตีกลับ เนื่องจากข้าวของสปป.ลาว และเวียดนามปัจจุบันเป็นอินทรีย์เกือบหมด ซึ่งเป็นอินทรีย์ในลักษณะที่ แปลงใหญ่พน ั กว่าไร่ การจัดการง่ายมาก การส่งออกก็ไม่ตด ิ ปัญหา ในทาง กลับกัน สิ นค้าเกษตรของประเทศไทยอัดสารเคมีจนดินเสี ย บทสรุปและข้อเสนอแนะ

ทุกวันนี้มนุษย์เงินเดือนที่ท�ำงานอยู่ในเมือง ต่างก็เบื่อกลับการใช้

ชีวิตทีว่ นเวียนไปมา ต้องเผชิญกับรถติด และอากาศทีไ่ ม่บริสุทธิ์ จึงเป็น ผลให้หลายคนมีความคิด และตัดสินใจทีจ ่ ะกลับสู่บา้ นเกิดเป็นจ�ำนวนมาก ้ วิถข แต่กระนัน ี องการเป็นเกษตรกรไม่ได้ราบรืน ่ เหมือนทีท ่ ก ุ คนหวังไว้ ต้อง มีความรู้ ความเข้าใจธรรมชาติ ตลอดจนประสบการณ์ จึงจะสามารถประสบ ความส� ำเร็จ โดยเฉพาะวิถีของการท�ำเกษตรอินทรีย์แบบยั่งยืน ต้องเข้าใจ บริบทของพืน ้ ที่ รู้จักดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม และไม่หวังแต่ผลก�ำไรจน ั ญา เพือ เกินตัว ควรรู้จักเพิม ่ ่ มูลค่าให้กับสิ นค้าผ่านนวัตกรรมทีเ่ ป็นภูมิปญ ่ เป็นปัจจัยในการ ช่วยให้ต้นทุนทางการเกษตรลดลง และเพิม ่ ผลผลิต ซึง ้ ใน เพิม ่ ว้างขึน ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ต่อยอดไปสู่ การท�ำตลาดทีก อนาคต

( 195 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง ส�ำนักข่าวอิศรา.(2556). วิจย ั ท�ำนา 1 ไร่ ได้ 1 แสน ‘รศ.วรรณา ประยุกต์วงศ์’

ชีผ ้ ลลัพธ์มากกว่าตัวเงิน. สืบค้นจาก https://www.isranews.

org/community/comm-news/comm-agriculture/24626-

rice_24626.html

ส�ำนักงานจังหวัดเชียงราย. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงราย

พ.ศ. 2561 - 2564. สืบค้นจาก http://www.chiangrai.net/

cpwp/?wpfb_dl=318

คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์

การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564. สื บค้นจาก

http://www.oae.go.th/download/download_journal/2560/

OrganicAgricultureStrategy.pdf

( 196 )


OBELS OUTLOOK 2017

ส่ วนที่ 4 ่ มล�้ำทางการศึกษา ความเหลือ ณ เมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย

( 197 )


OBELS OUTLOOK 2017

Measuring Inequality with Multiple Indexes: An Evidence from Empirical of Thai Household Survey. Paponpat Taveeapiradeecharoen1

Abstract

Economists have developed many measuring index of inequality so as

to create the most accurate measurement. There have been substantially increased in tools for doing so. This research is conducted by using many of those tools of inequality to decompose the inequality index into two parts. First is the evaluation of income distribution within group (or within cluster) and between group. In this sense, we are able to understand the inequality of income distribution of Thailand from a different perspective. Index we applied is Atkinson, Generalized Entropy Families, Extended Gini Coefficient and Stratification Index. The primary aim is to identify the inequality of income distribution in subgroups for Gender Gap, Age, Region and RuralUrban. Data used in this working-paper is collected by National Statistical Office (NSO) of Thailand. We focus mainly on the distribution of income in 2015 where all observation 33,869 was calculated. We found that by using

1

Lecturer at Mae Fah Luang University, Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS) Researcher.

( 198 )


OBELS OUTLOOK 2017 maximum BGI developed by Elbers, Lanjouw, Mistiaen and Ozler (2005) showed that the city of Songkhla are largely not equal when compare income both Rural and Urban group, whereas Phuket has the widest range of different in income distribution in gender gap (male and female). Cities in Bangkok Metropolitan Regions which are extremely high correlated to the proportion of GDP growth, only Nonthaburi has a wide gap of inequality between male and female in gender decomposition. The additional empirical results are illustrated in appendix B.

1.Introduction and Data Configuration

According to many recent research on inequality index has proved that

the gap of income distribution in Thailand was steadily decreased over time during 1992 until 2011 by using Gini coefficient see more details S.W. Paweenawat, R, McNown (2014). However, the consideration of decomposing the sub-group by using modern inequality indexes such as stratification index or extended Gini by Yitzhaki and Lerman (1991).

In order to understand the current circumstances about inequality

index of Thailand. It is therefore crucial for us to decompose the sub-clusters in both within group and between groups of data. 2

The data is household survey across regions from all over Thailand.

The duration of years is during the 2007-2015 biyearly. In 2015, observations are simulated in total number of 33,869 households from five regions, Bangkok 3

Metropolis , Central, North, Northeast and South. For further details about cities in each region, the reader is referred to the appendix A.

Before getting in the computational process for each measurement, it

is worth to discuss the transformation of the matrix first.

1

We as the OBELS team would like to thank you to National Statistical Office for providing the available data of this household survey. As this generosity, we are able to squeeze the best result from them and to create a new potential evidence to the better upcoming policy in Thailand. 2 The reason we separate the Bangkok metropolis as one region is due to the highest frequency of 8 percent from all survey.

( 199 )


OBELS OUTLOOK 2017

Let

yij

be the individual income of

i

in group

j . Like mention in

above about how inequality index can be computed separately between within group and between groups, then we need to stack data in order to match individual income to each group. The group we would decompose 4

is Gender Gap (Male and Female), Area (Rural and Urban) , and Regions (Bangkok Metropolis, Center, North, Northeast and South). To illustrate this more clearly, the data can be organized in the following:

Where

 yi α j  y αk data =  i +1  ... ...   yn α 

βj δj  β k δ k  ...

β

...   δ 

n number of the last observation in each group, α j , β j , δ j are clusters between group and { j , k , ...}

are noted

as sub-group or within cluster. Please note that every sub-group from each group do not have the same dimension, it depends on how the data is 5

collected .

The reason we manage to stack data like above is due to the different

dimension on each group and sub-group. For instance, the frequency of income observations collected from capital city of Thailand (Bangkok) is higher in the number and average of data which means we cannot stack all data and compute it at once. We need to process it separately.

4

All household survey data were collected and identified about the area of observer, municipal= urban and non-municipal area=rural. 5 See more detail about each sub-cluster at Appendix.

( 200 )


OBELS OUTLOOK 2017

2. A Brief of Selected Measurement

2.1 Atkinson’s index

Atkinson’s index is obtained using functional form by underlying 6

between social welfare function approach and welfare weight .

Suppose each household’s form of unity function is:

U ( yi )= a + b

yi(1−e ) 1− e

(1)

Where e = epsilon which we prefer not to be “1”. If

e ∈ [0,1] is

satisfied,

then the unity function can be written:

U ( y ) = ln( y )

(2)

e is a measure of the level of inequality aversion, on the other words, it is referred as the sensitivity to transfers at a different income rank. If e is higher means the more weights are transferred from the higher level of income distribution to the lower. To put it simply, we would set the higher epsilon when we think most households in specific country are developing country due to higher number of low to medium income level.

The atkinson’s index can be derived by two steps. First is to obtain

the equalized social welfare where everyone in the observation has the same level of income distribution,

We .

n  y (1−e )  1 n We = a + b∑  i  = U ( ye ) (3) ∑U ( ye ) = =i 1 =  1− e  n i 1

For every income

6

ye ,

1

1 n 1−e ye =  ∑ yi1−e   n i =1 

See also Atkinson (1970) On the Measurement of inequality.

( 201 )

(4)


OBELS OUTLOOK 2017 Second is to contrast between the equalized income distribution and mean income

(µ ) .

The Atkinson’s index can now be derived as follow: 1

1− e

1 n  y  y Atkinson ' s index = 1 − e = 1 −  ∑  i   n i =1  µ  µ 

Where

1−e   

(5)

Atkinson ' s index∈ (0,1)

2.2 Entropy Measuring Families

Entropy measurement is based on the probability of distribution

theory by assuming that every event’s probabilities in every specific set of those events can be calculated. Let us suppose that there are n events numbered 1, 2, 3, … n. which of those are expected to have their own probability of occurrence

p1 , p2 , p3 ,..., pn

, these number must be non-

negative due to the impossibility of occurrence from data set, and

∑p

i

=1

The concepts are simple. If events numbered “1” is more likely to be frequent (p is closed to 1), then this information is relatively low h (p1).Conversely, 1

if this event has low probability to happen then we got a higher of h (p1).

Another assumption is that if two events are statistically independent, probabilities of event 1 and event 2 would be pi pj , therefore the condition met the requirement and will be written as:

h( p= h( pi ) + h( p j ) i pj )

where

i≠ j

(6)

Now, the one function above satisfies the decreasing information content property. The individual event now can be written:

h( pi ) = ln(

1 ) pi

(7)

The average content of information (finalized entropy), of circumstance H ( pi ) is done by using sum

( 202 )


OBELS OUTLOOK 2017 of all individual event

= H ( p)

n

∑ h( p ) , now the formula becomes: i =1

i

n

= pi h( pi ) ∑

n

=i 1 =i 1

1

∑ p ln( p ) i

(8)

i

The interpretation from the equation above is to measure the probability

of different varieties of occurrence is equal or not. On other words, the smaller of the differences in probabilities as becomes closer to 1/n.

Most of the inequalities index in the past were able to analyze inequality

only the data itself, where the source or the type of how data were collected are not in the part of the process until Shorrocks (1980) and among others, proving that the Generalized Entropy Class can be rewritten as follow to evaluate the between group and within groups separately.

= GE

n  y  1 fi ( i )c − 1 ∑ c(c − 1) i =1  µ 

for

c ≠ 0,1

(9)

According to Cowell, F, A (2009). If c = O , the measurement will also be known as Theil-L or Mean Log Deviation indexes.

MLD =

y 1 n ln i ∑ n i =1 µ

(10)

If c = 1 the measurement will be known as Theil’s index (T) which evaluate the distinction between the maximum and the average content of information of events.

= T ln(n) − H ( p )

( 203 )

(11)


OBELS OUTLOOK 2017 Rewrite the equation above and it becomes, n

∑p

= T

i =1

1   ln(n) − ln( n )  i

(12)

Now transform pi into the term of income inequality measurement by replace

pi =

n

yi

∑y i =1

i

Where is individual income of household number i, and n is number of observation, then the finalized Theil index is:

T=

y 1 n yi ln( i ) ∑ µ n i =1 µ

(13)

2.3 Extended Gini Coefficient

Gini coefficient is the most popular among others for measuring

inequality using income distribution. The logic behind this is because this measurement satisfies both of statistical and social welfare axioms.

- Mean Independence: the gini coefficient is not changed when all

household’s income is doubled.

- Population size independence: on other words, ceteris paribus,

which means that if the population size changes. The measurement remains unchanged.

- Pigou-Dalton Transfer Sensitivity: inequality index means calculating

how income is distributed by telling us in number, by this it means that if the income is to be transferred from higher to lower income. The inequality index must be decreased too.

- Symmetry: if two individual observations with different income is

swap, the final index is unchanged.

- From Elbers C., Lanjouw P., Mistiaen J.A., Ozler B. (2005) stated

the maximum of between-group inequality as 100% of total inequality

( 204 )


OBELS OUTLOOK 2017 share mean cannot be possible in realistic possibility. Under only two circumstances which the statement above is not true, however, is whether each household constitutes a separate “group” or there were no difference of per capital income between all individual households within each category. It is therefore advisable to generalize the index from a different category to be identical by using the following formula.

= Rb '

BGI total inequality = Rb max imum BGI max imum BGI

(14)

- Where BGI is between group inequality index,

- Maximum BGI is the maximum possible BGI which can strictly

calculated by using Elbers and Alii method (2005).

- As Cowell and Jenkins (1995) noted that the between group inequality

can never be exceeded total inequality, the same notation goes to Rb cannot be higher than Rb’. The interpretation from Rb and Rb’ is that the closer of Rb’ get to Rb the less inequality inter-group become. The reason is simple, if Rb’ get closer to Rb, it proves that the between inequality is significantly near to the value of total inequality.

2.4 Stratification Index

The development of Yitzhaki and Lerman (1991) for the stratification

of inequality index. The objective for creating this index is to identify the distribution of between group and within group of data. To put it in simpler words, suppose there are two groups in provided data, showing that the number of books that each manufacturing cluster can produce. By comparing this, means that we are analyzing the divergence of how much manufacturer’s productions are. Other inequality index can only point out the probability of inequality such as Atkinson’s index. However, for stratification from YL it is able to separate each class of each individual within group and between groups are.

( 205 )


OBELS OUTLOOK 2017

yij be the data where i = individual data of group j . Assume Lj there are L j groups. ∑ L j = A , Pj = where Pj is straightforward A for itself as number proportion of group j from all observation. The concept of stratification procedure is to find the covariance between yi among members of group j only. The following is the example of stratification

First, let

procedure is to find the covariance between among members of group only. The following is the example of stratification of group

j

in the case there

are only two clusters: stratification of group in the case there are only two clusters:

Cov j [( Fj − Fnj ), y ]

CO j =

Cov j ( Fj , y )

where

−1 ≤ CO j ≤ 1

Formula above represents the covariance over group

(15)

j which determined by

the difference between the ranking of a member from within each individual in group

Rank ( yij )

j . Hence Fj ( yij ) =

(Lj )

is the cumulative distribution of

Rank ( yij ) Fnj ( yij ) = ( A − Lj ) is the same value but for individual that is not in group j . individual

i

within group only. On the other hand,

After the covariance measurement, we can move on to the next step

by using the decomposable stratification index. For the sake of brevity, we will not present the full details of how this specific index can be reformulated to be decomposable, interested authors are referred to Income Stratification and Income Inequality (1991).

The decomposable stratification index can be written as follow:

= G

∑ S G + ∑ S G CO ( P − 1) + j

j

j

j

j

j

( 206 )

2Cov( y j , Fj ) y

(16)


OBELS OUTLOOK 2017 Where

S j is the data share of group j ; y is the mean data of all observation; y j is the mean data in specific group j ; CO j is the covariance mentioned above;

The first component of the RHS is determined as within inequality

proportions whereas the second term is represented as intra-group variability in overall ranks. On other words, how overall ranks will be changed due to the divergence on individual data alteration. The last term is Gini index across all between groups.

After the decomposition process, as stated by YL’s work that this

decomposition index is more complicated than the other index such as Theil. Speaking loosely, each component has no identical distribution to each other. For instance, if there is changes in

CO j

for only group

j

would leave the

Gini and unchanged and affect only the impact of stratification or intra-group variability (second component). In addition to this, if there is alteration in covariance means and means of rank of specific cluster, it leave overall gini index unchanged and only last term of RHS would be affected.

3. Empirical Results Table 3.1 Inequality in HFC implied by Grouping Decomposable Atkinson's index Decomposed Factors Age8

Decomposed Groups

e=0.20

e=0.25

e=0.30

e=0.35

Child

0.003

0.149

0.004

0.187

0.005

0.226

0.006

0.265

Teenage

2.2%

97.8%

2.2%

97.8%

2.1%

97.9%

2.1%

97.9%

Adult Middle Adult Eldery Gender Religion

Male

0.000

0.152

0.001

0.190

0.001

0.229

0.001

0.269

Female

0.3%

99.7%

0.3%

99.7%

0.3%

99.7%

0.3%

99.7%

Buddhism

0.000

0.152

0.000

0.190

0.000

0.229

0.000

0.269

Christian

0.1%

99.9%

0.1%

99.9%

0.1%

99.9%

0.1%

99.9%

6

The clustering are done by using general psychology where 1-12=child, 13-19=teenage, 20-39=adult, 40-64=middle adult and above 65=elderly.

( 207 )


OBELS OUTLOOK 2017

Decomposed Factors

Decomposed Groups

e=0.20

e=0.25

e=0.30

e=0.35

Islam Others

Region

BKKMETRO

0.006

0.146

0.008

0.184

0.000

0.229

0.000

0.269

Central

4.2%

95.8%

4.1%

95.9%

0.1%

99.9%

0.1%

99.9%

North Northeast South Rural

0.006

0.146

0.009

0.184

0.009

0.222

0.011

0.261

Municipal Area

Urban

4.2%

95.8%

4.4%

95.6%

4.1%

95.9%

4.0%

96.0%

Hour works

25 groups

0.014

0.139

0.018

0.176

0.022

0.213

0.026

0.250

(2-12)

9.4%

90.6%

9.4%

90.6%

9.3%

90.7%

9.3%

90.7%

77 groups

0.012

0.141

0.015

0.178

0.018

0.215

0.021

0.253

8.0%

92.0%

7.9%

92.1%

7.9%

92.1%

7.8%

92.2%

Cities

Source: author’s calculation by household survey.

Seven groups are decomposed from the Atkinson’s index based on the

income distribution in 2015. Four of epsilons are chosen so as to investigate how sensitive of weight when transferring them from higher income per month to lower income group. These results quite speak for itself as the more epsilon increase, mean that lower income dominates and have more effect to overall inequality index. Despite the fact mentioned above, some decomposed clusters remain unchanged when epsilons are altered. For example; Age, Gender and Region. With given = 0.2 over all inequality goes up to 0.152 (15.2%) and this counts as 99.7% of overall Atk’s index. When increase to 0.35 Atk rises to 0.269. In addition to this, there are 99.7% of overall inequality came from within-group (Male and Female) rather than 0.3% of between-group index. This could lead to a possible result that gender gap during this globalizational era are narrower compared to the past century. However, the decrease between gender gap thus leads to the increase between the same sex within group instead. The further estimate to confirm this should be the Gender decomposition of income during the previous period should be calculated.

On the other hand, the most sensitive to the weight changed in

this index is Region cluster. Although, there is only moderately changes in

( 208 )


OBELS OUTLOOK 2017 Atkinson’s index during epsilon 0.2-0.25, but it is clear that the transmission from 0.25-0.3, the share of decomposition between-group and withingroup raises from 95.9 – 99.9% (almost 100%), this implied that lower income distribution somehow overlapped with the middle and high income distribution and thus the more sensitive of each cluster to overall index. Decomposed Factors

Age

Theil

MLD

Decomposed Groups

Between

Child

0.002

0.750

0.892

1.413

Teenage

0.3%

99.7%

38.7%

61.3%

Within

Between

Within

Adult Middle Adult Elderly

Gender

Male

0.017

0.735

0.016

1.399

Female

2.2%

97.8%

1.2%

98.8%

Buddhism

0.001

0.751

0.001

1.414

Christian

0.1%

99.9%

0.1%

99.9%

Religion

Islam

Religion

Others

Region

BKKMETRO

0.033

0.719

0.028

1.387

Central

4.4%

95.6%

2.0%

98.0%

North Northeast South Municipal Area

Rural

0.034

Urban

4.5%

0.036

1.379

0.718

2.6%

97.4% 1.333219

groups9

0.07136

95.5%

0.08201

Hour works

(2-12)

9.5%

0.68058

5.8%

94.2%

Cities

77 groups10

0.06209

90.5%

0.06135

1.353888

8.3%

91.7%

4.3%

95.7%

Source: author’s calculation by household survey.

Theil and MLD index are generalized entropy families, where Theil is

calculated using alpha = 1, MLD’s alpha = 0 in equation (10)

The most prominent result is that the difference between these

two indexes in Age clustering, among these groups, MLD tells us that just 9 10

Hour works are per day unit, started from two hrs/day till’ twelve hrs/day. For further details, see Appendix A.

( 209 )


OBELS OUTLOOK 2017 above half of measures are from within, where the rest 38.7% resulted from between. One possible logic behind this approach is that the mean logarithm process which we replace alpha as zero led to the extremely low value in an extreme distribution where the income from child and teenage are really low from the given data set. Therefore, the deviation is changed a lot based only on alpha.

Both Table 3.1 and 3.2 are the representative for inequality index which

loose assumption about considering of the ranking from each individual from clustered group. For example, if we are talking about the economist who can publish many articles online. Then we can evaluate inequality index of those article that get published by calculating atkinson’s index or generalized entropy families. Suppose there are three clusters, Atkinson and generalized entropy families never evaluate the individual rank, which means that rank of economists within group and overall population are missed. Until the work of stratification index developed by Yitzhaki S., Lerman. R. (1991). To put it simply, other index are evaluated using “how different of each individual data within, between group and overall”, Conversely, for stratification index by YL are based on “How similar of each individual within cluster, between group and overall”. It seems awkward at the first place but it provides huge benefit to evaluate inequality index and we are able to identify the type of distribution in specific group of data. The following table is based on the stratification index calculation.

( 210 )


OBELS OUTLOOK 2017

Sgini Gender Cluster Male

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

Group Stratification

10,946.51

45.8%

57.6%

0.667

-0.008

9,577.91

54.2%

42.4%

0.587

0.012

1.00

1.00

0.621

Female Total Within

0.620

inequality Between inequality

0.002

Stratification

-0.001

BGI Maximization

0.425

Source: author’s calculation by household survey.

To interpret table above, let’s start with the first column from the

left, this is the Gender Gap clustered by stratification measurement between Male and Female, the average income for male is 10k whereas women earned in 2015 approximate 9.5k. Third column referred to number of observation in each cluster. 45.8 goes to male and the rest goes to female. The Group Gini is showing us within sub-group, how stratification about inequality demonstrates to us in a number. For example, there are 66.7 percent of male gender who owns most of income, whereas 58.7 percent in female cluster. The last column is group stratification, this provide a benefit to us about how inequality is measured by not looking at only the extended Gini index (col=5), but rather the distribution of each cluster’s data. To read this column, if stratification = 1 ( CO j

= 1 ) means that for specific of group j ,

there is no rank of individual data in that group duplicate in other groups. In this case, YL stated that it is an perfect strata or one specific horizontal layer are booked by one group only. The lower of

( 211 )

CO j

leads to the less perfect


OBELS OUTLOOK 2017 strata, in this sense, other group’s rank are in the same horizontal rank of group . However if rank in group

j

CO j

drops until zero, this shows that the individual’s

is the same as when compare rank in overall population or

comparing every data at once. On other words, it never form strata from the first place. In addition to this, as close as

CO j

get to -1, it proves that one

cluster of can be composed into two identical group if it reaches -1. In this case the divergence of rank within group is higher than overall population.

The stratification of overall observation is -0.001 which is really close

to zero, in this case, we can conclude that most of the rank of individual data in group

j

is the same as the rank when compare everyone at once. Hence,

the within group of extended Gini largely account in within inequality measurement, roughly 99.7%.

For the sake of brevity we will not present every Sgini table here.

Now we will move on to the maximum between group index which is 11

implied and developed by Elbers, Lanjouw, Mistiaen and Ozler

(results

are on Appendix B, Figure B.1 and B.2). As described above that the more divergence between the

Rb ' and Rb

the higher inequality in different sub-

clusters. In the figure B1, Rural and Urban are decomposed by extended Gini and plotted so as to see if there is any inequality between sub-clusters and within cluster itself. It is worth concluding that the highest inequality presented is Songkhla city which is located in South region in Thailand. Please note that in capital city (Bangkok) have no difference between

Rb since

Rb '

and

this is not a big city and every part of the city is accounted as

urbanized province. It is thus no different between sub-clusters.

On the other hand, on the gender income gap between male and female

is in figure B.2 (for further details at appendix B), the city which has most inequality between both sex is Phuket, follow by Yasothorn, Nongkai and 12

Nonthaburi. Surprisingly, for Bangkok Metropolitan Region , there is only one 11 12

Re-Interpreting Sub-Group Inequality Decompositions (2005). Bangkok Metropolitan Region contains 6 cities (Bangkok, Nakhonpathom, Nonthaburi, Pathumthani,

SamutPrakan, Samutsakhon).

( 212 )


OBELS OUTLOOK 2017

4. Further vision on inequality distribution in Thailand

It’s pretty obvious that the data that I have used to calculate the

inequality distribution is still small relatively to the number of population in each city. For instance, population in Bangkok has officially reported that there are 8.28 million people. However, the sample that we collected was only 2 thousand. Statistically speaking, this is not such an ideal sample to be the representative of all population. In order to tackle this problem efficiently, we need to design the structure process of how we approach the data. In addition to this and most importantly, the algorithm used to apply the complex model must be specified since the start. Otherwise, the system will constantly adjusted during the collecting period and thus lead to a greater problems. Appendix A Cities

NO.

NO.Obs

Proportion

NO. 41

Phayao

1

Angthong

424

1%

Cities

2

Aumnadcharoen

421

1%

42

Phetchabun

3

Bangkok

2,795

8%

43

Phetchaburi

4

Buengkan

297

1%

44

Phichit

5

Burirum

376

1%

45

Phitsanulok

6

Chachoengsao

506

1%

46

Phrae

7

Chainat

413

1%

47

Phranakhonsi

8

Chaipum

386

1%

48

Phuket

9

Chanthaburi

364

1%

49

Prachinburi

10

ChiangMai

404

1%

50

Prachuap Khirikhan

11

ChiangRai

167

0%

51

Ranong

12

Chonburi

604

2%

52

Ratchaburi

13

Chumphon

343

1%

53

Rayong

14

Kamphangphet

669

2%

54

Roiet

15

Kanchanaburi

401

1%

55

Sakaeo

16

Kanlasin

241

1%

56

Sakonnakhon

17

Khonkaen

562

2%

57

SamutPrakan

18

Krabi

405

1%

58

Samutsakhon

19

Lampang

494

1%

59

Samutsongkhram

20

Lamphun

466

1%

60

Saraburi

21

Lay

212

1%

61

Satun

( 213 )

NO.Obs Proportion 246

1%

341

1%

478

1%

306

1%

296

1%

427

1%

476

1%

368

1%

411

1%

478

1%

397

1%

555

2%

551

2%

338

1%

401

1%

365

1%

667

2%

623

2%

352

1%

513

2%

359

1%


OBELS OUTLOOK 2017

Cities

NO. 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37

NO.Obs

Proportion

Cities

NO.

Lopburi

437

1%

62

Singburi

MaeHongSon

304

1%

63

Songkhla

Mahasarakam

392

1%

64

Srisaket

Mukdahan

373

1%

65

Sukhothai

Nakhonnayok

345

1%

66

Suphanburi

NakhonPathom

513

2%

67

SuratThani

Nakhonrachasima

582

2%

68

Surin

Nakhonsawan

436

1%

69

Tak

Nakhonsithammarat

490

1%

70

Trang

Nakonpanom

344

1%

71

Trat

Nan

302

1%

72

Ubon

Naratiwat

426

1%

73

Udon

Nongbua

211

1%

74

Uthaithani

Nongkai

345

1%

75

Uttaradit

Nonthaburi

658

2%

76

Yala

Pathumthani

734

2%

77

Yasothorn

NO.Obs Proportion 524

2%

447

1%

400

1%

388

1%

262

1%

382

1%

423

1%

366

1%

411

1%

362

1%

392

1%

312

1%

286

1%

298

1%

232

1%

415

1%

Source: National Statistical Office Thailand (NSO).

Appendix B. (Empirical Results) Table B.1 Extended Gini with stratification index by YL. (Age Decomposition) Sgini Age Cluster

Mean income

Population Share

Child

8,416.080

32.2%

Income Share

Group Gini 0.626

0.020

Teenage

8,794.664

13.3%

0.666

-0.052

Adult

10,811.731

30.8%

0.561

0.105

Mid adult

13,635.182

18.9%

0.634

-0.069

Eldery

10,948.849

4.8%

0.637

-0.055

Total

0.621

Within inequality

0.612

Between inequality

0.011

Stratification

-0.001

BGI Maximization

0.578

Source: author’s calculation by household survey.

( 214 )

Group Stratification


OBELS OUTLOOK 2017 Table B.1 Extended Gini with stratification index by YL. (Age Decomposition) Sgini Religion Cluster

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

Buddhism

10,402.494

94.1%

95.1%

0.619

Group Stratification 0.036

Christian

8,556.681

5.4%

4.2%

0.573

0.038

Islam

11,575.209

0.5%

0.6%

0.661

0.001

Others

25,270.417

0.0%

0.1%

0.766

0.000

Total

0.621

Within inequality

0.621

Between inequality

0.001

Stratification

0.000

BGI Maximization

0.110

Source: author’s calculation by household survey.

Table B.3 Extended Gini with stratification index by YL. (Region Decomposition) Sgini Region Cluster BKK Metro Central

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

20,003.162

8.3%

32.7%

0.473

Group Stratification 0.286

9,428.967

35.6%

15.7%

0.599

0.020

North

8,756.437

18.3%

20.2%

0.658

-0.045

Northeast

9,526.886

21.8%

15.1%

0.657

-0.010-0.014

South

10,096.575

16.1%

0.626

Total

0.621

Within inequality

0.603

Between inequality

0.035

Stratification

-0.017

BGI Maximization

0.584

Source: author’s calculation by household survey.

Table B.4 Extended Gini with stratification index by YL. (Rural-Urban Sgini Area Cluster

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

Group Stratification

Rural

6,879.66

36.8%

24.2%

0.667

-0.018

Urban

12,275.55

63.2%

75.8%

0.587

0.110

Total

0.621

Within inequality

0.607

Between inequality

0.031

Stratification

-0.016

BGI Maximization

0.353

Source: author’s calculation by household survey.

( 215 )


OBELS OUTLOOK 2017 Table B.5 Extended Gini with Stratification index by YL. (Cities Decomposition) Sgini City Cluster

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

Group Stratification

20,003.16

8.3%

16.3%

0.163

0.604

9,931.51

2.0%

1.9%

0.019

0.697

16,709.97

1.9%

3.2%

0.032

0.473

Pathumthani

11,128.38

2.2%

2.4%

0.024

0.649

Phranakhonsi

10,713.95

1.4%

1.5%

0.015

0.725

Angthong

8,935.89

1.3%

1.1%

0.011

0.512

Lopburi

12,470.86

1.3%

1.6%

0.016

0.690 0.666

Bangkok SamutPrakan Nonthaburi

Singburi

9,552.68

1.5%

1.4%

0.014

Chainat

8,646.85

1.2%

1.0%

0.010

0.663

Saraburi

9,894.80

1.5%

1.5%

0.015

0.649

Chonburi

11,840.07

1.8%

2.1%

0.021

0.555

Rayong

11,027.11

1.6%

1.7%

0.017

0.366

Chanthaburi

6,825.77

1.1%

0.7%

0.007

0.616

Trat

8,792.47

1.1%

0.9%

0.009

0.781

Chachoengsao

8,678.68

1.5%

1.3%

0.013

0.723

Prachinburi

9,894.73

1.2%

1.2%

0.012

0.643

Nakhonnayok

11,836.33

1.0%

1.2%

0.012

0.591

Sakaeo

9,609.36

1.2%

1.1%

0.011

0.570

Nakhonrachasima

11,724.71

1.7%

1.9%

0.019

0.669

Burirum

8,524.34

1.1%

0.9%

0.009

0.702

Surin

10,236.36

1.2%

1.3%

0.013

0.579

Srisaket

10,273.31

1.2%

1.2%

0.012

0.655

Ubon

10,337.22

1.2%

1.2%

0.012

0.513

Yasothorn

8,722.61

1.2%

1.1%

0.011

0.686

Chaipum

10,077.82

1.1%

1.1%

0.011

0.697

Aumnadcharoen

6,006.93

1.2%

0.7%

0.007

0.581

Buengkan

8,661.33

0.9%

0.7%

0.007

0.667

Nongbua

9,491.51

0.6%

0.6%

0.006

0.636

Khonkaen

10,318.10

1.7%

1.7%

0.017

0.599

Udon

8,330.07

0.9%

0.7%

0.007

0.704

Lay

10,711.60

0.6%

0.6%

0.006

0.610

Nongkai

8,740.24

1.0%

0.9%

0.009

0.595

Mahasarakam

11,293.93

1.2%

1.3%

0.013

0.606

Roiet

9,074.96

1.0%

0.9%

0.009

0.561

Kanlasin

8,830.76

0.7%

0.6%

0.006

0.641 0.438

Sakonnakhon

8,324.30

1.1%

0.9%

0.009

Nakonpanom

11,374.38

1.0%

1.1%

0.011

0.418

Mukdahan

8,056.51

1.1%

0.9%

0.009

0.705

ChiangMai

4,575.29

1.2%

0.5%

0.005

0.518

( 216 )


OBELS OUTLOOK 2017

Sgini City Cluster

Mean income

Population Share

Income Share

Group Gini

Lamphun

5,833.85

1.4%

0.8%

0.008

0.716

Lampang

10,312.02

1.5%

1.5%

0.015

0.643

Uttaradit

12,484.24

0.9%

1.1%

0.011

0.686

8,107.15

1.3%

1.0%

0.010

0.653

10,977.67

0.9%

0.9%

0.009

0.682

Phayao

7,307.16

0.7%

0.5%

0.005

0.519

ChiangRai

8,405.59

0.5%

0.4%

0.004

0.707

MaeHongSon

12,593.25

0.9%

1.1%

0.011

0.510

Nakhonsawan

10,028.72

1.3%

1.3%

0.013

0.382

Uthaithani

9,516.79

0.8%

0.8%

0.008

0.611

Kamphangphet

4,041.00

2.0%

0.8%

0.008

0.615

Tak

Phrae Nan

Group Stratification

12,089.25

1.1%

1.3%

0.013

0.569

Sukhothai

8,713.74

1.1%

0.9%

0.009

0.747

Phitsanulok

12,127.80

0.9%

1.1%

0.011

0.549

Phichit

11,425.45

0.9%

1.0%

0.010

0.710

Phetchabun

6,778.36

1.0%

0.7%

0.007

0.597

Ratchaburi

6,220.60

1.6%

1.0%

0.010

0.664

Kanchanaburi

5,040.00

1.2%

0.6%

0.006

0.546

Suphanburi

6,480.86

0.8%

0.5%

0.005

0.736

NakhonPathom

8,249.48

1.5%

1.2%

0.012

0.646

Samutsakhon

5,035.67

1.8%

0.9%

0.009

0.545

Samutsongkhram

5,769.28

1.0%

0.6%

0.006

0.626

Phetchaburi

8,689.62

1.4%

1.2%

0.012

0.674

PrachuapKhirikhan

7,638.50

1.4%

1.0%

0.010

0.566

Nakhonsithammarat

7,650.70

1.4%

1.0%

0.010

0.667

Krabi

10,802.91

1.2%

1.3%

0.013

0.698

Phangnga

10,710.54

0.9%

0.8%

0.008

0.677

Phuket

11,687.46

1.1%

1.3%

0.013

0.522

SuratThani

9,775.00

1.1%

1.0%

0.010

0.632

Ranong

8,746.93

1.2%

1.0%

0.010

0.607

Chumphon

11,703.59

1.0%

1.0%

0.010

0.667

Songkhla

11,825.67

1.3%

1.5%

0.015

0.606

Satun

10,645.08

1.1%

1.1%

0.011

0.590

Trang

8,932.23

1.2%

1.0%

0.010

0.664

Phatthalung

7,226.18

1.1%

0.8%

0.008

0.629

Pattani

6,502.24

1.5%

0.8%

0.008

0.527

Yala

18,196.23

0.7%

1.2%

0.012

0.798

Naratiwat

11,449.08

1.3%

1.2%

0.012

0.699

Total

0.621

( 217 )


OBELS OUTLOOK 2017

Sgini City Cluster

Mean income

Population Share

Income Share

Within inequality

Group Gini

Group Stratification

0.584

Between inequality

0.061

Stratification

-0.024

BGI Maximization

0.614

Source: author’s calculation by household survey.

Figure B.1 Rural and Urban Decomposed using extended Gini coefficient by YL calculation

( 218 )


OBELS OUTLOOK 2017 Figure B.2 Gender Gap decomposed using extended Gini coefficient by YL calculation

( 219 )


OBELS OUTLOOK 2017

Acknowledgement

Special thanks go to the National Statistic Office of Thailand for the

generosity to provide the household survey of income. In addition, I send appreciation to Mae Fah Luang University and Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS).

References Atkinson A.B. (1970). On the Measurement of Inequality. Journal of Economic

Theory, 2,pp.244-263.

Measures. Econometrica, Vol. 48 No. 3, Apr. 1980.

measurement of inequality within and among population

Shorrocks (1980). The Class of Addictively Decomposable Inequality Blackorby C., Donaldson D., Auersperg M. (1981). A new procedure for the subgroups. Canadian Journal of Economics, 14, pp.665-685.

Elbers C., Lanjouw P., Mistiaen J.A., Ozler B. (2005). Re-Interpreting

Sub-Group Inequality Decompositions. World Bank, World Bank Policy Research Working Paper 3687, 42 p.

Schechtman E., Yitzhaki S. (2008). Calculating the Extended Gini Coefficient

from Grouped Data: A Covariance Presentation. Bulletin of Statistics

& Economics, 2(S08), pp.64-69.

Yitzhaki S., Lerman R. (1991). Income Stratification and Income Inequality.

Review of Income and Wealth, 37(3), pp.313-29.

Methodology and an Application to the United States. Economic Journal.

Cowell and Jenkin. (1995). How Much Inequality Can We Explain? A

Vol. 105 issue. 429, 421-30.

Cowell F.A. (2000). Measurement of Inequality. In Atkinson A.B.,

Bourguignon F.(Eds.) Handbook of Income Distribution. Elsevier, Vol. 1, pp.87-166.

Cowell, F, A. (2009). Measuring Inequality. Oxford University Press.

S.W. Paweenawat, R. McNown (2014). The determinants of income inequality

in Thailand: A synthetic cohort analysis. Journal of Asian Economics 31-32, pp.10-21.

( 220 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ มล�้ำทางการศึกษาของ ความเหลือ ้ ทีช ่ ายแดน โรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย สิ ทธิชาติ สมตา และพรพินันท์ ยีร่ งค์

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้ท�ำการศึกษาความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษาของพื้นที่

ชายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในระดับมัธยมศึกษา ทัง้ ในระดับ ของความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์ทางการศึกษาภายใน และระหว่างโรงเรียน ตลอดจนปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ มองผ่านมิตข ิ องลักษณะส่วนบุคคล ของนักเรียน พืน ้ ฐานทางครอบครัว และลักษณะของโรงเรียน โดยท�ำการ รวบรวมข้อมูลทั้งในรูปแบบของข้อมูลทุติยภูมิ การเก็บแบบสอบถามและ การสั มภาษณ์เชิงลึก เพื่อน�ำมาวิเคราะห์เชิงปริมาณ และคุณภาพ ซึ่งใน การวิเคราะห์ระดับความเหลื่อมล�้ำใช้วิธีการค�ำนวณสั มประสิ ทธิ์จีนี (Gini Coefficient) ส่ วนของศึกษาหาปัจจัยทีส ่ ่ งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ใช้วิธีการ วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุ (Multiple Linear Regression) ผลการ ศึกษาพบว่าระดับความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายใน และระหว่างโรงเรียนอยูใ่ นระดับต�ำ่ ั จัยด้าน กล่าวคือ มีระยะห่างของคะแนนเฉลีย ่ ของเด็กไม่สูงมาก ขณะทีป ่ จ ตัวนักเรียน และภูมิหลังทางครอบครัวไม่ได้ส่งผลต่อคะแนนเฉลีย ่ รวมของ ่ ผู้ออกนโยบาย ผู้บริหาร เด็กเท่ากับลักษณะความแตกต่างทางโรงเรียน ซึง โรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษาควรทีจ ่ ะปรับแนวทางการเรียนการสอน เพือ ่ ช่วยให้เกิดการพัฒนาความสามารถทางวิชาการทีเ่ ท่าเทียมกันในสังคม ้ มากขึน ( 221 )


OBELS OUTLOOK 2017

บทน�ำ

ประเทศไทยด�ำเนินการปฏิรป ู การศึกษาครัง้ แรกในปีพ.ศ. 2542 ถือว่า

มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การศึ ก ษาไทยอย่ า งมาก ด้ ว ยความพยายามและการ จัดสรรทรัพยากรในการปฏิรูปการศึกษาครัง ้ นี้ จึงได้จัดท�ำพระราชบัญญัติ การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ขึ้น มาเพื่อ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาของ ประเทศไทยด้วยงบประมาณทีค ่ ิดเป็นสองเท่าภายใน 10 ปี ทัง ้ นี้ ถึงแม้ว่า ้ จะช่วยให้ประชากรวัยเรียนสามารถ การเพิม ่ งบประมาณการศึกษาทีเ่ พิม ่ ขึน เข้าถึงการศึกษามากขึ้นในเชิงปริมาณ แต่ผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษากลับ มีแนวโน้มลดลง เช่น O-NET, PISA, และ TIMSS (อัมมาร, ดิลกะ และ สมเกียรติ, 2554) อย่างไรก็ตาม ในปีพ.ศ. 2552 หลังการปฏิรูปการศึกษา 10 ปีผ่านมา ส� ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (NESQA) ได้ดำ� เนินตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทัว่ ประเทศไทย พบว่าโรงเรียนจ�ำนวน 3,243 จาก 15,515 โรงเรียน ไม่ผ่านข้อก�ำหนดการ ้ ง ประเมินคุณภาพขัน ้ ต�ำ่ นอกจากนีย ั พบว่าส่วนใหญ่โรงเรียนทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพต�ำ่ อยู่ในพืน ้ ทีช ่ นบท (Lounkaew, 2013) จะเห็นได้ว่าการปฏิรูปการศึกษา ของไทยในช่วงทีผ ่ ่านมานั้นไม่สามารถลงถึงห้องเรียน และนักเรียนเท่าที่ ควร

เนื่องจากส่ วนใหญ่จะเริม ่ ด้วยการปฏิรูปโครงสร้างกระทรวงมากกว่า

การเริม ่ อ ้ งเรียน (สมเกียรติ, 2560) ท�ำให้การปฏิรป ู การศึกษาไม่ประสบ ่ ทีห ความส�ำเร็จส่ งผลให้เกิดความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา

ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา เป็นปัญหาเรือ ้ รังทีย ่ งั ไม่สามารถ

แก้ไขได้ตลอดช่วงที่ผ่านมา เนื่ องจากสาเหตุของปัญหาความเหลื่อมล�้ำ ทางการศึกษานั้นมีมากมายจนมองไม่เห็นหนทาง และจับต้องไม่ถูกว่า ควรริเริ่มแก้ไขหรือปฏิรูปกันอย่างไร ท่ามกลางช่วงเวลาที่ผ่านมาหลังการ ปฏิรูปการศึกษาครั้งแรกจนถึงปัจจุบันใกล้ครบสองทศวรรษ ประเทศไทย ยังไม่สามารถท�ำให้คุณภาพการศึกษาของประเทศดีขน ึ้ และเท่าเทียมกัน ได้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่ องจากคุณภาพทางการศึ กษามีส่วนส� ำคัญต่อ ( 222 )


OBELS OUTLOOK 2017

การสร้างเสริมทุนมนุษย์ (Capital Human) ไม่วา่ จะเป็นเรือ ่ งทักษะ ความรู้ ความสามารถ ซึ่ง มี ผ ลต่ อ อั ต ราการตอบแทนแต่ ล ะบุ ค คลและเป็น องค์ ประกอบส� ำคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ ทั้งนี้ ความไม่เท่าเทียมกันในการศึกษา คือความไม่เท่าเทียมกันในการผลิตของ ่ ไม่เพียงแต่มาตรการกระจายการศึกษาไม่เท่ากันทีเ่ กิดขึน ้ จริง ทุนมนุษย์ ซึง ในสังคม แต่ยง ั รวมไปถึงประสิทธิภาพของนโยบายการศึกษา (Jirada and Yoshi, 2013)

คุณภาพทางการศึ กษา นอกจากหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้น

้ คุณภาพของครูกม พืน ้ ฐานทีม ่ ค ี วามส�ำคัญต่อนักเรียนแล้วนัน ็ ค ี วามส�ำคัญ ด้วยเช่นกันในการถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาตนเองของครู และการพัฒนา นักเรียนได้มากน้อยเพียงใด สิ่งทีค ่ วรท�ำความเข้าใจคือ จ�ำนวนครูในแต่ละ ้ อยู่กับจ�ำนวนนักเรียนของโรงเรียนนั้นๆ หาก โรงเรียนมีจ�ำนวนไม่เท่ากันขึน โรงเรียนมีนักเรียนจ�ำนวนมากก็จะท�ำให้มีครูมากขึ้นตามจ�ำนวนนักเรียน จะท�ำให้โรงเรียนดังกล่าวมีครูเพียงพอต่อการสอนของแต่ละระดับชัน ้ มัธยมศึกษา ซึง่ จะพบเห็นในโรงเรียนในเขตเมืองเป็นหลัก ตรงกันข้ามกับโรงเรียน พืน ้ ทีช ่ นบททีม ่ ีจ�ำนวนักเรียนน้อยท�ำให้จ�ำนวนครูลดลง ท�ำให้ครูในแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้มีไม่เพียงพอต่อการสอนจากจ�ำนวนครูทล ี่ ดลงท�ำให้ครู ้ เช่น โดยปกติตอ ต้องรับภาระการสอนเพิม ้ งรับผิดชอบสอนวิชาคณิต่ ขึน ศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพียงอย่างเดียว แต่ด้วยจ�ำนวนครูทต ี่ ้อง ลดลงตามจ�ำนวนนักเรียนจึงจ�ำเป็นทีต ่ อ ้ งสอนวิชาคณิตศาสตร์ทง ั้ ในระดับ ้ ท�ำให้ประสิทธิภาพ มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ด้วยภาระทีเ่ พิม ่ ขึน ในการท�ำงานของครูลดลงตามไปด้วย ส่ งผลต่อคุณภาพทางการศึกษา ้ กับโรงเรียนในพืน ของนักเรียนและเหตุการณ์เหล่านีเ้ กิดขึน ้ ทีช ่ นบท จึงน�ำไป สู่ความแตกต่างกันทางผลสัมฤทธิท ่ มล�ำ้ ์ างการศึกษาและปัญหาความเหลือ ทางการศึกษาระหว่างโรงเรียนในเขตเมืองและโรงเรียนพืน ้ ทีช ่ นบท

( 223 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทัง ้ นี้ จากการพิจารณาผลคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6

กับสั ดส่ วนครูต่อนั กเรียนประจ�ำปีพ.ศ. 2558 แต่ละโรงเรียนของจังหวัด เชียงราย พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างคะแนน O-NET กับสัดส่วน ครูต่อนักเรียน หากจ�ำนวนสั ดส่ วนครูต่อนักเรียนเพิ่มสู งขึ้นจะส่ งผลให้ ้ ตาม รวมทัง คะแนน O-NET เพิม ้ มีความสั มพันธ์เชิงบวกอย่างมากกับ ่ ขึน โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม และโรงเรียนด�ำรงราษฎร์สงเคราะห์ เมื่อเทียบ กับโรงเรียนอืน ่ ๆ ในจังหวัดเชียงราย ยกเว้นโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ทีม ่ ีหลักสู ตรการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน เอง ท�ำให้ผลคะแนน O-NET สู ง ถึงแม้สัดส่ วนครูต่อนักเรียนจะค่อนข้าง น้อยเมือ ่ เทียบกับโรงเรียนอืน ่ ๆ (ดังรูปที่ 1) รูปที่ 1 สั ดส่ วนคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับสั ดส่วนครูต่อนักเรียนประจ�ำปี 2558 60

คะแนน O-NET

50 40 30 20 10 0

0

5

10

15

20

25

สั ดส่ วนครูต่อนักเรียน ทีม ่ า : สํานักงานเขตพืน ้ ทีก ่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

( 224 )

30


OBELS OUTLOOK 2017

นอกจากความแตกต่างในผลลัพธ์ของการศึกษา ซึง่ เป็นผลเกีย ่ วเนื่อง

มาจากปัจจัยต่างๆทีม ่ ากกว่าแค่คณ ุ ภาพของการเรียนการสอน แต่ครอบคลุม ั จัยเฉพาะของนักเรียน ไปถึงปัจจัยต่างๆทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข้องทัง้ หมด ตัง้ แต่ปจ แต่ล ะคน ปัจจั ยทางด้ า นครอบครั ว ไปจนถึงปัจ จัย ที่เ กี่ย วข้องกับสถาน ศึ กษา (นณริฎ, 2559) ทั้งนี้การศึ กษาของประเทศไทยในระยะหลังเริ่ม เล็งเห็นมูลเหตุของความเหลื่อมล�้ำที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในการเข้าถึงอุดม ศึ กษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี ว่าไม่ได้เกิดขึ้นจากการขาดแคลน ปัจจัยระยะสั้ นเพียงอย่างเดียว แต่ต้นเหตุส�ำคัญเกิดจากความเหลื่อม ทางการศึกษาจากปัจจัยระยะยาวทีร่ วมถึงภูมห ิ ลังทางครอบครัว และคุณภาพ การศึกษาทีไ่ ด้รับตัง ้ แต่วัยเด็ก (ดิลกะ, 2555) จากการส�ำรวจทางเศรษฐกิจ และสังคมของครัวเรือนของประเทศไทย เกีย ่ วกับความไม่เท่าเทียมกันของ การกระจายการศึ กษาของไทยในปีพ.ศ. 2554 จ�ำนวนปีในการเข้าเรียน ของระดับประเทศอยู่ในระดับกลางๆ ประมาณ 7.63 ปี และค่าสั มประสิ ทธิ์ จีนีของประเทศไทยเป็น 0.349 โดยจังหวัดทีต ่ งั้ อยูใ่ กล้เขตกรุงเทพมหานคร ้ ในการศึกษายกเว้นสมุทรสาคร ขณะที่จังหวัด มีความเท่าเทียมกันมากขึน ในภาคเหนื อของประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันอย่างรุนแรงในการ ศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิง ่ จังหวัดชายแดน (Jirada and Yoshi,2013)

บทความความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาในทีน ่ ี้หมายถึงความแตกต่าง

ในผลสั มฤทธิ์ของการศึกษา โดยพิจารณาถึงปัจจัยพื้นฐานที่แตกต่างกัน ไม่วา่ จะเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว และปัจจัยทางด้านโรงเรียน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ต่างมีส่วนท�ำให้นักเรียนแต่ ละคนได้รบ ั ความรู้ ความเข้าใจทีไ่ ม่เท่ากัน จึงสะท้อนออกมาเป็นผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาทีแ ่ ตกต่างตามไปด้วย

เพือ ่ ศึกษาช่องว่างความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลสั มฤทธิด ่ ์ ังกล่าว และเพือ

ศึกษาถึงปัจจัยที่ท�ำให้ผลสั มฤทธิ์ของเด็กนั กเรียนในวัยเดียวกันมีความ แตกต่างกัน งานวิจย ั ได้เลือกใช้ผลการสอบ O-NET และผลการเรียนเฉลีย ่ ( 225 )


OBELS OUTLOOK 2017

(GPA) ในการศึ กษาเรื่องความเหลื่อมล�้ำทางการศึ กษาของพื้นที่อ�ำเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย

วัตถุประสงค์

1. วิเคราะห์หาความเหลื่อมล�้ำของผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษาภายใน

และระหว่างโรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย

ั จัยทีส 2. วิเคราะห์ปจ ่ ่งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลสั มฤทธิท ์ างการ

ศึกษาระหว่างโรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของจังหวัด เชียงราย

3. เสนอแนะแนวทางนโยบายการลดช่องว่างของความเหลือ ่ มล�ำ้ ของ

ผลสัมฤทธิท ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอ ์ างการศึกษาระหว่างโรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน เชียงของ จังหวัดเชียงราย

ขอบเขตการศึกษา

การศึกษานี้ศึกษาความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาด้วย

่ มี การประมาณการแบบจ�ำลอง Educational Production Function ซึง ลักษณะเป็น Single-outcome model ตามบริบทและข้อจ�ำกัดของพืน ้ ที่ ที่ท�ำการศึกษาจึงก�ำหนดให้ผลสั มฤทธิท ์ างการศึกษาเป็นปัจจัยหลักที่ส่ง ั จัยทีส ผลกระทบต่อการประสบผลส�ำเร็จในชีวิต โดยก�ำหนดให้ปจ ่ ่ งผลต่อ ผลสั มฤทธิท ่ ระกอบด้วย ปัจจัยด้านครัวเรือน ปัจจัยด้าน ์ างการศึกษาทีป ้ เป็นปัจจัยทีไ่ ม่รวมปัจจัยด้าการเมือง นักเรียน และปัจจัยด้านโรงเรียนเท่านัน อาชญากรรม สภาพเศรษฐกิจและการจ้างงาน ระดับการศึกษาของพ่อแม่ สุขภาพของนักเรียน และความฉลาดทางธรรมชาติของนักเรียน ตามการ ศึกษาของ Hanushek (1997, 2002)

( 226 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทบทวนวรรณกรรม

ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาประกอบด้วยหลายปัจจัยพืน ้ ฐาน

่ ปัจจัยเหล่านีล ้ ว้ นมีผลต่อผลสัมฤทธิท ทีแ ่ ตกต่างกันของแต่ละบุคคล ซึง ์ าง การศึกษา รวมถึงความรู้ ความไม่เข้าใจของแต่ละบุคคล ทีส ่ ามารถสะท้อน ออกมาเป็นปัญหาความเหลื่อมล�้ำทางการศึ กษาที่แตกต่างตามไปด้วย ดังนี้

หากพิจารณาถึงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของระบบการศึ กษาไทย

ภูมห ิ ลังทางเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัวมีความส�ำคัญอย่างมากต่อ ความสามารถทางการศึ กษาของนั กเรียน แม้ว่าจะมีการควบคุมปัจจัย ทรัพยากรโรงเรียนแล้วก็ตาม นอกจากนี้ ยังเห็นได้วา่ คุณภาพของทรัพยากร ของโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพครู ทรัพยากรที่อ�ำนวยความสะดวกใน การเรียนการสอน และสั ดส่ วนครูต่อนักเรียน มีผลอย่างมีนัยส� ำคัญต่อ คะแนนสู งสุ ดทีส ่ ามารถท�ำได้ หรือความเป็นไปได้ในการผลิตของโรงเรียน (production frontier) ซึ่งโรงเรียนที่มีประสิ ทธิภาพในการผลิตสู งมัก ้ ตามไปด้วย และการเพิม จะมีคะแนนสอบเฉลีย ่ ของนักเรียนทีส ่ ูงขึน ่ แรงกดดัน โดยก� ำ หนดให้ โ รงเรี ย นต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล ผลสั ม ฤทธิ์ข องนั ก เรี ย นต่ อ สาธารณะ เพือ ่ ให้ผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้เสี ยอืน ่ ๆ สามารถตรวจสอบได้ ้ อย่างมีนัยส�ำคัญ และ ง่ายนั้น ส่ งผลให้ประสิ ทธิภาพของโรงเรียนเพิม ่ ขึน ผลกระทบจะมีสูงกว่าในกลุม ่ โรงเรียนทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพต�ำ่ นอกจากนี้ ยังพบ หลังฐานเชิงประจักษ์ทส ี่ �ำคัญว่า ความมีอิสระในการบริหารงบประมาณไม่ ได้เป็นเครื่องรับประกันความส� ำเร็จในการเพิ่มประสิ ทธิภาพของโรงเรียน การกระจายอ�ำนาจจะประสบความส� ำเร็จต่อเมื่อโรงเรียนมีความพร้อมใน ้ การกระจายอ�ำนาจ เรือ ่ งกลไกความรับผิดชอบทีเ่ ข้มแข็งเสียก่อน ไม่เช่นนัน จะก่อให้เกิดผลเสี ยต่อประสิทธิภาพของโรงเรียนมากกว่าผลดี ในส่วนของ การก�ำหนดหลักสูตร พบว่าการกระจายอ�ำนาจมีผลดีเฉพาะกับโรงเรียนทีม ่ ี ประสิ ทธิภาพในระดับต�่ำ และไม่มีผลกระทบที่มีนัยส� ำคัญกับโรงเรียนที่มี ( 227 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประสิ ทธิภาพในระดับกลางและระดับสู ง อีกทัง ้ ผลกระทบในทางบวกจะมี มากขึ้นในกรณีที่มีองค์กรส่ วนกลางคอยติดตามประเมินผลสั มฤทธิ์ของ นักเรียนอย่างต่อเนื่อง และการประเมินแบบการให้แรงจูงใจ โดยเชือ ่ มโยง ผลตอบแทนของครูใหญ่เข้ากับผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาของนักเรียน มีผล ในการเพิ่มประสิ ทธิภาพของโรงเรียนมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ ผู้ ป กครองส่ ว นใหญ่ ติ ด ตามตรวจคุ ณ ภาพของโรงเรี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (ดิลกะ, 2555)

อีกทัง ้ ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของไทยส่ วนใหญ่แล้ว

จะเป็นปัญหาทีม ่ าจากปัจจัยทีส ่ ามารถปรับเปลีย ่ นแก้ไขได้มากกว่าทีจ ่ ะมา จากปัจจัยทีค ่ งทีไ่ ม่สามารถเปลีย ่ นแปลงได้ สามารถแยกองค์ประกอบของ ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ออกมาเป็นความแตกต่างทางด้านสถานศึกษาหรือ โรงเรียนมากถึงร้อยละ 47 ปัจจัยทีเ่ กีย ่ วข้องกับครอบครัว เช่น สถานะ ครอบครัว ระดับการศึกษา และอาชีพของบิดาและมารดา สามารถอธิบาย ั จัยเฉพาะส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ ความเหลือ ่ มล�ำ้ ได้ร้อยละ 9 ในขณะทีป ่ จ สามารถอธิบายความแตกต่างในคะแนนสอบได้เพียงแค่รอ ้ ยละ 2 ซึง่ สะท้อน ภาพว่าปัญหาความเหลื่อมล�้ำทางด้านการศึกษาของไทยเป็นผลมาจาก ความแตกต่างทางด้านสถาบันการศึกษาเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังมีความ เหลือ ่ มล�ำ้ มากถึงร้อยละ 42 ทีไ่ ม่สามารถอธิบายได้ภายใต้กรอบการวิเคราะห์ ตามข้อมูลของ PISA จะเห็นได้ว่าความเหลื่อมล�้ำในส่ วนนี้จะซ่อนอยู่ใน ปัจจัยส่ วนตัวของแต่ละบุคคล และปัจจัยครอบครัวเป็นส� ำคัญ เนื่องจาก ้ ะอยูใ่ นตัวแปรสองกลุม ตัวแปรทีส ่ �ำคัญทีไ่ ม่ได้รวมอยูใ่ นการวิเคราะห์ครัง้ นีจ ่ ั ญา (IQ) ทัศนคติของเด็กนั กเรียน ดังกล่าว อาทิ ความฉลาดทางสติปญ ต่อการเรียนรู้รูปแบบการอบรมของครอบครัว หรือวัฒนธรรมการเรียนรู้ใน ครอบครัว เป็นต้น (นณริฎ, 2559)

นอกจากนี้ จากการศึกษาของ Kiatanantha Lounkaew (2013)

ได้ท�ำการศึ กษาเพื่อธิบายความแตกต่างของผลสั มฤทธิ์ทางการศึ กษา ( 228 )


OBELS OUTLOOK 2017

ของไทยระหว่างเมืองและชนบทจากข้อมูลผลคะแนนสอบด้านการอ่านของ PISA ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทีท ่ ำ� ให้เกิดความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของโรงเรียนในเมืองและในชนบท เป็นผลมาจากปัจจัยทีว่ ัด หรืออธิบายไม่ได้ในด้านของลักษณะทางโรงเรียนเป็นส�ำคัญ อาทิ การให้ อิสระกับโรงเรียน การปรับค่าตอบแทนของครูและบุคลากรที่มีคุณภาพ การส่ งเสริมธรรมาภิบาล การทบทวนหลักสู ตร การทบทวนกระบวนการ เรียนสอนการสอน ตลอดจนความรับผิดชอบของโรงเรียน และการมีส่วน ั จัยทีจ ร่วมของผูป ้ กครอง ขณะทีป ่ จ ่ บ ั ต้องได้อย่าง ทรัพยากรด้านการศึกษา เช่น คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ก็ยังจ�ำเป็นส�ำหรับกลุ่มนักเรียนทีม ่ ี ผลลัพธ์ทางการศึกษาในระดับต�ำ่ แต่ไม่มผ ี ลต่อเด็กทีม ่ ผ ี ลสัมฤทธิใ์ นระดับสูง ้ การให้เงินอุดหนุนควรทีจ ฉะนัน ่ ะเน้นไปในด้านของการปรับปรุง และพัฒนา ปัจจัยทีจ ่ บ ั ต้องไม่ได้มากกว่า เช่น การอบรมพัฒนาครู การลดช่องว่างทาง อ�ำนาจระหว่างครูและนักเรียน เป็นต้น โดยการปฏิรูปการศึกษาขัน ้ พืน ้ ฐาน ไม่ควรเป็น ‘หนึ่งขนาดใช้ได้กับทุกคน’ ควรที่จะเป็นแบบ ‘สั่ งตัด’ หรือ ยืดหยุ่นตามความแตกต่างของกลุ่มนักเรียนมากกว่า ซึ่งควรที่จะเริ่มจาก ้ บน’ การให้โรงเรียนเป็นผูร้ บ ั ผิดชอบ หรือเป็นการบริหารจัดการแบบ ‘ล่างขึน สุ ดท้าย ความส�ำเร็จการปฏิรูปการศึกษาเพือ ่ ลดช่องว่างของความเหลือ ่ ม ล�ำ้ ของผลลัพธ์ คือ การสร้างความสมดุลทีถ ่ ูกต้องระหว่างการลงทุนด้าน การเงิน และการสร้างบรรยากาศทีด ่ ีต่อการเรียนรู้

อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่จับต้องได้และมีนัยส� ำคัญทางสถิติต่อผล

สัมฤทธิท ์ างการศึกษา ส่งผลแตกต่างกันไปในเด็กนักเรียนแต่ละช่วงคะแนน และเด็กในแต่ละพื้นที่ ได้แก่ ปัจจัยทางสถานะทางเศรษฐกิจและสั งคม อาจส่งผลต่อค่าคะแนนของเด็กในเมือง แต่ไม่ส่งผลต่อเด็กทีอ ่ ยูใ่ นชนบท เนื่ องจากสถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวในพื้นที่ชนบทใกล้เคียงกัน ทรัพยากรทางการศึกษามีผลต่อเด็กในชนบททีม ่ ค ี า่ คะแนนระดับปานกลาง จนถึงต�ำ่ แต่ไม่มค ี วามส�ำคัญต่อเด็กในเมืองทีม ่ ค ี ะแนนปานกลางจนถึงสูง ( 229 )


OBELS OUTLOOK 2017

ปัจจัยด้านวุฒิการศึ กษาของพ่อแม่กลับมีผลต่อเด็กในชนบทที่คะแนน ระดั บ ปานกลางจนถึ ง ต�่ ำ เนื่ อ งจาก ในชนบทแม่ ข องเด็ ก ส่ ว นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือท�ำงานเป็นกะ ท�ำให้มีเวลาช่วยเด็กในการ ท�ำการบ้าน แตกต่างกับเด็กในเมือง ผูป ้ กครองจะท�ำงานเต็มเวลา ท�ำให้ไม่มี เวลาดูแลสั่งสอน ทัง ้ นี้ ปัจจัยดังกล่าวกลับไม่ส่งผลต่อเด็กทีม ่ ีคะแนนสูง ในชนบท ในส่วนของทัศนคติตอ ่ โรงเรียนไม่ได้ส่งผลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการ ศึกษาของกลุ่มนักเรียนที่มีผลลัพธ์ทางการศึกษาสู ง ปัจจัยกระบวนการ เรียนรู้ เด็กที่อยู่ในชนบทและเมืองที่มีค่าคะแนนระดับปานกลางจะได้รับ ผลจากการเรียนรู้แบบท่องจ�ำ ในขณะที่เด็กในเมืองกลับตอบสนองต่อ การเรียนรูแ ้ บบ สรุปความ และการท�ำความเข้าใจมากกว่า อุปกรณ์ในการเรียน และคอมพิวเตอร์มีผลต่อเด็กทีม ่ ีคะแนนน้อยจนถึงปานกลาง เช่นเดียวกัน กับสัดส่วนครูต่อนักเรียน

วิธีการด�ำเนินการวิจัย

• การรวบรวมข้อมูล

ในงานศึกษาชิน ้ นี้ ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) จากการเก็บ

แบบสอบถามมาใช้ในการวิเคราะห์ โดยได้ทำ� การส�ำรวจ 4 โรงเรียนในระดับ มัธยมศึกษา ได้แก่ โรงเรียนเชียงของวิทยาคม โรงเรียนบุญเรืองวิทยาคม โรงเรียนห้วยซ้อวิทยาคม เป็นโรงเรียนภายใต้การบริหารจัดการของรัฐบาล และโรงเรียนลูกรักเชียงของ เป็นโรงเรียนภายใต้การบริหารจัดการของภาค เอกชน ในรูปแบบของการสุ่ มเก็บแต่ละระดับชั้นตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ท�ำให้ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 447 คน ข้อมูลทีร่ ะบุในแบบสอบถาม ประกอบด้วย 1) ข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน ได้แก่ เพศ อายุ ชัน ้ เรียน ผล การเรียนเฉลีย ่ จ�ำนวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ในการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์ จ�ำนวน ชัว่ โมงทีใ่ ช้ในการท�ำการบ้านต่อวัน จ�ำนวนชัว่ โมงการเข้าห้องสมุดต่อสัปดาห์ การเรียนพิเศษ การซ�ำ้ ชัน ้ การเรียนอนุบาล ทัศนคติต่อโรงเรียน ทัศนคติ ( 230 )


OBELS OUTLOOK 2017

ต่ อ ห้ อ งเรี ย น การมาโรงเรี ย นสาย กิ จ กรรมหลั ง เลิ ก เรี ย น การเข้ า ร่ ว ม แข่งขันทางวิชาการ และการเป็นตัวแทนโรงเรียน 2) ข้อมูลพื้นฐานทาง ครอบครัว ได้แก่ วุฒิการศึ กษาของผู้ปกครอง การท�ำงานของผู้ปกครอง อาชีพของผู้ปกครอง จ�ำนวนพีน ่ ้อง ล�ำดับการเกิด การอยู่อาศัย ขนาดของ ครอบครัว สถานะของครอบครัว ระยะทางไปโรงเรียน ลักษณะการเดินทาง เบี้ยเลี้ยงเฉลี่ยต่อวัน ทรัพยากรการศึ กษาภายในบ้าน การขอค�ำปรึกษา และการท�ำงานเสริม นอกจากนี้ ได้ใช้วิธีการสั มภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กับผู้อ�ำนวยการของแต่ละโรงเรียน เพื่อท�ำการเก็บข้อมูลใน ด้านของปัจจัยทางโรงเรียน ได้แก่ สิ่ งอ�ำนวยความสะดวกทางกายภาพ บุคลากรทางการศึกษา หลักสู ตรและกระบวนการสอน ตลอดจนความคิด เห็นต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลใน ช่วงเดือนมกราคมปี 2560

• การวิเคราะห์ข้อมูล

ส� ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์เชิง

ปริมาณ (Quantitative analysis) และเชิงคุณภาพ (Qualitative analysis) ซึง่ ได้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน โดยส่วนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์จากสถิตเิ ชิงพรรณนา ่ เป็นการมองภาพโดยรวมของข้อมูลดิบทีไ่ ด้ (Descriptive statistics) ซึง ถูกเก็บรวบรวมมา ส่ วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์หาความเหลื่อมล�้ำผลลัพธ์ ทางการศึกษาภายในและระหว่างโรงเรียน โดยจะใช้เครือ ่ งมือวัดการกระจาย ่ จะมีค่า ของผลการเรียนเฉลีย ่ ด้วยสัมประสิ ทธิจีนี (Gini coefficient) ซึง อยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 จากสมการ G = a/(a+b)

G คือ สั มประสิทธิจ ้ ทีร่ ะหว่าง Lorenz curve กับเส้น ์ ีนี, a คือ พืน

ความเท่าเทียม และ b คือ พื้นที่ใต้เส้ น Lorenz curve ถ้าสั มประสิ ทธิ์ เข้าใกล้หรือเท่ากับ 0 หมายความว่าไม่มีความเหลื่อมล�้ำของผลสั มฤทธิ์ ทางการศึกษา แต่หากเข้าใกล้หรือเท่ากับ 1 แสดงว่าเกิดความไม่เท่าเทียมกัน ( 231 )


OBELS OUTLOOK 2017

1 0.8 0.6 0.4

a

0.2 0

b 0

0.2

0.4 equality

0.6

0.8

1

Lorenz Clrve

ั จัยทีส นอกจากนี้ ได้วเิ คราะห์ปจ ่ ่งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์

ทางการศึกษาด้วยแบบวิธก ี ารถดถอยแบบพหุ (Multiple Linear Regression) และส่วนสุดท้ายเป็นการวิเคราะห์ผา่ นข้อมูลทีไ่ ด้รบ ั จากการสัมภาษณ์ ้ ารวิเคราะห์เพือ เชิงลึก ทัง้ นีก ่ ศึกษาปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผล สัมฤทธิท ์ างการศึกษามีแบบจ�ำลองดังนี้

gpa = b0 + b1studenti + b2householdi + ei

ั จัยที่ส่งผลต่อความเหลื่อมล�้ำของผลลัพธ์ทางการ การวิเคราะห์ปจ

ศึกษามีแบบจ�ำลองทีก ่ ำ� หนดให้ gpai คือ ผลคะแนนเฉลีย ่ รวม (GPA) ของ แต่ละโรงเรียน ส่วน studenti เป็นชุดของตัวแปรของปัจจัยส่วนบุคคล หรือ ตัวนักเรียนของแต่ละโรงเรียน ประกอบด้วย 1) ตัวแปรเชิงปริมาณ ได้แก่ อายุ (age) ทัศนคติตอ ่ โรงเรียน (attitude towards school: ats) ทัศนคติ ต่อห้องเรียน (attitude towards class: atc) 2) ตัวแปรหุน ่ ได้แก่ เพศ (sex) ( 232 )


OBELS OUTLOOK 2017

ชัน ้ เรียน (class) จ�ำนวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ในการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์ (hour of review: hr) จ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการท�ำการบ้านต่อวัน (hour of homework: hw) จ�ำนวนชัว่ โมงการเข้าห้องสมุดต่อสัปดาห์ (hour of library: hl) การเรียนพิเศษ (tutoring: tt) การซ�ำ้ ชัน ้ (repeat: rp) การเรียน อนุบาล (kindergarten: kdg) การมาโรงเรียนสาย (late) กิจกรรมหลัง เลิกเรียน (after school: af) การเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ (competition: cp) และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน (school representative: rpt) ขณะที่ householdi คือ ปัจจัยด้านภูมิหลัง/พืน ้ ฐานทางครอบครัว ประกอบด้วย 1) ตัวแปรเชิงปริมาณ ได้แก่ ระยะทางไปโรงเรียน (distance: dt) เบีย ้ เลีย ้ ง เฉลีย ่ ต่อวัน (money: mn) และ 2) ตัวแปรหุ่น ได้แก่ วุฒิการศึกษาของ ผู้ปกครอง (education: edu) การท�ำงานของผู้ปกครอง (work) อาชีพ ของผู้ปกครอง (job) จ�ำนวนพีน ่ ้อง (number of sibling: sob1) ล�ำดับ การเกิด (birth rank: sob2) การอยู่อาศัย (living with: lw) ขนาดของ ครอบครัว (size) สถานะของครอบครัว (status: sta) ลักษณะการเดินทาง (transportation: trans) ทรั พ ยากรการศึ ก ษาภายในบ้ า น (home resources: rs) การขอค�ำปรึกษา และการท�ำงานเสริม (part-time: pt) ผลการศึกษา

•ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามในโรงเรียนระดับมัธยม

ศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของ พบว่ากลุม ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มเี กรด เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 3.1 - 3.5 คิดเป็นร้อยละ 36.91 รองมาได้แก่ เกรด 3.6 - 4.0 และ 2.6 - 3.0 เป็นเพศชายร้อยละ 57 มากกว่าเพศหญิงที่มี สั ด ส่ ว นอยู่ ร้ อ ยละ 43 มี พ ฤติ ก รรมการทบทวนบทเรี ย นอยู่ ที่ป ระมาณ 30 นาที - 2 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ท�ำการบ้านประมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมง ต่อวัน และเข้ า ห้ องสมุ ดประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อสั ป ดาห์ กว่า ร้อยละ 90 ไม่ได้มีการเรียนพิเศษเสริม ไม่มีประสบการณ์ในการซ�้ำชั้น ( 233 )


OBELS OUTLOOK 2017

และเคยเรียนชัน ้ อนุบาลมากกว่า 1 ปี นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ ร้อยละ 51.2 ไม่เคยมาโรงเรียนสาย นอกจากนี้ เด็กส่วนใหญ่มีส่วนร่วมใน การแข่งขันทางวิชาการ และเป็นตัวแทนโรงเรียนไปแข่งขันภายนอก ทัง ้ นี้ ทัศนคติของนักเรียนทีม ่ ีต่อโรงเรียนในแต่ละด้านเฉลีย ่ รวมอยู่ทป ี่ ระมาณ 3.88 หรืออยูใ่ นระดับปานกลางจนถึงระดับดี ขณะเดียวกันทัศนคติของเด็ก ทีม ่ ีต่อห้องเรียนมีคะแนนไม่ต่างกันมากเฉลีย ่ รวมอยู่ทป ี่ ระมาณ 3.73 หรือ อยู่ในระดับปานกลางจนถึงระดับดีเช่นเดียวกัน

ด้านปัจจัยพืน ้ ฐานทางครอบครัว พบว่าผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง

ที่ตอบแบบสอบถามเกือบครึ่งมีวุฒิการศึกษาในระดับต�่ำกว่ามัธยมศึกษา ปีที่ 3 ท�ำงานประเภทรับจ้าง และประกอบอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 80 มีพี่ น้ องรวมตัวเองประมาณ 1 - 2 คน ซึ่งเป็นพี่คนโต และคนรองกว่าร้อยละ 90 ทั้ง นี้ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งส่ ว นมากมี ก ารอาศั ย อยู่ กั บ ทั้ง พ่ อ และแม่ เป็น ครอบครั ว เดี่ย ว และมี ส ถานะทางครอบครั ว ที่ส มบู ร ณ์ หรื อ อยู่ ด้ ว ยกั น ส� ำหรับระยะทางจากบ้านมาโรงเรียนของเด็กในกลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 5 - 10 กิโลเมตร มีการขีจ ่ ักรยานยนต์มาด้วยตนเอง และได้รับ เบี้ยเลี้ยงเฉลี่ยวันละ 31 - 50 บาท ในด้านของทรัพยากรทางการศึกษา ภายในบ้าน เด็กส่วนใหญ่มอ ี ป ุ กรณ์ครบครันตัง้ แต่หอ ้ งส่วนตัว คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โต๊ะเขียนหนังสื อ สถานที่สงบ มือถือ ยกเว้นเครื่องเกมที่ ร้อยละ 70 ไม่มีเป็นของตนเอง ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่างส่วนมากจะมี การให้รางวัลหรือให้คำ� ชมเชยแก่เด็กร้อยละ 80 ขณะทีร่ อ ้ ยละ 90 ไม่มก ี าร ท�ำงานเสริม

่ มล�้ำทางการศึกษาภายใน/ระหว่างโรงเรียน • ระดับความเหลือ

จากการวิเคราะห์หาความเหลื่อมล�้ำของผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษา

ระหว่างโรงเรียนในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของ พบว่าค่าสัมประสิทธิจ ์ ีนี ของผลการเรียนเฉลีย ่ อยูท ่ ี่ 0.09 แสดงให้เห็นว่าความเหลือ ่ มล�ำ้ อยูใ่ นระดับ ค่อนข้างต�ำ่ พิจารณาได้จากการทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ ของเด็กนักเรียนร้อยละ ( 234 )


OBELS OUTLOOK 2017

20 ทีม ่ ีคะแนนสูงสุด มีคะแนนมากกว่า ผลการเรียนเฉลีย ่ ของเด็กนักเรียน ร้อยละ 20 ทีม ่ ีคะแนนต�่ำสุ ด เพียง 1.51 เท่า หรืออาจเป็นเพราะมาตรฐาน การให้คะแนนของแต่ละโรงเรียนในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของ ไม่มีความแตก ต่างกันมาก เมือ ่ น�ำมาท�ำเป็นกราฟเห็นได้ว่าเส้น Lorenz curve ทีแ ่ สดง ถึงความเหลือ ่ มล�ำ้ ไม่ได้ออกห่างจากเส้น equality ทีแ ่ สดงถึงความเท่าเทียม รูปที่ 2 เส้น Lorenz curve ของโรงเรียนในอ�ำเภอเชียงของ

1 0.8

%GPA

0.6 0.4 0.2 0

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

%กลุ่มตัวอย่าง equality

Lorenz Clrve

ทีม ่ า: การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผูว้ จ ิ ย ั

หากมาค�ำนวณโดยใช้คา่ เฉลีย ่ ผลการเรียนของแต่ละโรงเรียน พบว่า

แต่ละโรงเรียนโรงเรียนมีคะแนนเฉลีย ่ ร่วมทีใ่ กล้เคียงกันมาก ห้วยซ้อวิทยาคม มีคะแนนเฉลีย ่ อยู่ที่ 3.00 ลูกรักเชียงของอยู่ที่ 3.14 บุญเรืองวิทยาคมอยู่ ที่ 3.12 และเชียงของวิทยาคมอยูท ่ ี่ 3.43 เมือ ่ น�ำมาค�ำนวณสัมประสิทธิจ ี ี ์ น ( 235 )


OBELS OUTLOOK 2017

ได้ผลอยู่ที่ 0.03 อย่างไรก็ตาม หากมาดูความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายในของแต่ละ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในอ�ำเภอเชียงของ พบว่าโรงเรียนที่มีช่องว่าง ของผลลัพธ์ทางการศึ กษามากที่สุดคือ โรงเรียนห้วยซ้อวิทยาคม มีค่า สั มประสิ ทธิ์จีนีอยู่ที่ 0.10 รองมาได้แก่ โรงเรียนบุญเรืองวิทยาคมอยู่ที่ 0.09 โรงเรียนลูกรักเชียงของอยู่ที่ 0.08 และทีม ่ ีความเหลือ ่ มล�ำ้ ต�่ำทีส ่ ุด คือ โรงเรียนเชียงของวิทยาคมอยู่ที่ 0.061 รูปที่ 3 เส้น Lorenz curve ของแต่ละโรงเรียนในอ�ำเภอเชียงของ โรงเรียนห้วยซ้อวิทยาคม

1 0.9

0.8 % GPA

0.7

0.6 0.5

0.4 0.3 0.2 0.1 0

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

0.8

1

%กลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนบุญเรืองวิทยาลัย

1 0.9

0.8 % GPA

0.7

0.6 0.5

0.4 0.3 0.2 0.1 0

0

0.2

0.4

0.6

%กลุ่มตัวอย่าง

1

หมายเหตุ: ทางส�ำนักงานฯได้ทำ� การเก็บข้อมูลตัวอย่างจากโรงเรียนห้วยซ้อวิทยาคมจ�ำนวน 113 ราย ลูกรักเชียงของจ�ำนวน 102 ราย บุญเรืองวิทยาคมจ�ำนวน 128 ราย และเชียงของวิทยาคมจ�ำนวน 105 ราย

( 236 )


OBELS OUTLOOK 2017

โรงเรียนลูกรักเชียงของ

1 0.9

0.8 % GPA

0.7

0.6 0.5

0.4 0.3

0.2 0.1 0

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

0.8

1

%กลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเชียงของวิทยา

1 0.9

0.8 % GPA

0.7

0.6 0.5

0.4 0.3

0.2 0.1 0

0

0.2

0.4

0.6

%กลุ่มตัวอย่าง ทีม ่ า: การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัย

่ มล�้ำทางการศึกษา ่ ่ งผลต่อความเหลือ • ปัจจัยทีส

หลังจากท�ำการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุด้วยวิธี Stepwise

พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการเรียนโดยเฉลี่ยของนักเรียนในพื้นที่อ�ำเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย อย่างมีนัยส� ำคัญทางสถิติ ประกอบด้วย 1) ลักษณะการเดินทาง 2) สถานะของครอบครัว 3) การอยู่อาศัย และ 4) การ ทบทวนบทเรียน ดังตารางที่ 1

( 237 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาปัจจัยทีส ่ ่ งผลต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์ทางการศึกษา

ตัวแปร

Unstandardized Coefficients B

Standardized Coefficients

Std. Error

t

Sig.

Beta

ค่าคงที่

2.816

.044

64.452

.000

ทบทวนบทเรียน ½ - 1 ชม.

.130*** .

.048

.119

2.682

.008

ทบทวนบทเรียน > 5 ชม.

.136*

.075

.079

1.807

.072

เดินทางด้วยรถ รับจ้าง

.227***

.053

.210

4.292

.000

เดินทางด้วย ตนเอง

.444***

.052

.420

8.555

.000

พ่อ/แม่เสี ยชีวิต

.208**

.092

.102

2.256

.025

อยู่อาศัยกับ พ่อ/แม่

.150***

.059

.118

2.559

.011

อยู่อาศัยกับญาติ

.176***

.055

.145

3.189

.002

หมายเหตุ: *, **, *** หมายถึง ตัวแปรมีนัยส�ำคัญทางสถิติในระดับความเชือ ่ มัน ่ ทีร่ ้อยละ 90, 95, 99 ตามล�ำดับ R Square = 0.195, Adjusted R Square = 0.182, S.E. =0.45290, F = 15.199, Sig = 0.000

จากผลการวิเคราะห์ ตัวแปรย่อยทีม ่ ีอย่างมีนัยส�ำคัญทีค ่ วามเชือ ่ มัน ่

ร้อยละ 99 ได้แก่ การเดินทางด้วยรถรับจ้าง การเดินทางด้วยตนเอง การอยูอ ่ าศัย กับพ่อหรือแม่ การอาศัยอยู่กับญาติ และการทบทวนบทเรียนประมาณ ½ - 1 ชัว่ โมง ทีค ่ วามเชือ ่ มัน ่ ร้อยละ 95 คือ การทีพ ่ ่อหรือแม่เสี ยชีวิต และ ทีค ่ วามเชือ ่ มัน ่ ร้อยละ 90 คือ การทบทวนบทเรียนมากกว่า 5 ชัว่ โมง เห็นได้วา่ การทบทวนบทเรียนมีผลต่อผลการเรียนของนักเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ส�ำหรับนักเรียนทีม ่ ก ี ารทบทวนบทเรียนประมาณ ½ - 1 ชัว่ โมง ( 238 )


OBELS OUTLOOK 2017

จะมีผลการเรียนทีด ่ ก ี ว่าคนทีท ่ บทวนน้อยกว่า ½ ชัว่ โมง 0.13 คะแนน เช่น เดียวกับการทบทวนบทเรียนมากกว่า 5 ชัว่ โมง จะส่ งผลต่อผลการเรียน ทีด ่ ีกว่า 0.136 คะแนน ฉะนั้น ไม่ว่าจะทบทวนเพียง ½ - 1 ชัว่ โมง หรือ ้ ไป ก็มผ มากกว่า 5 ชัว่ โมงขึน ี ลต่อการเรียนไม่แตกต่างกันมาก ในด้านของ ลักษณะการเดินทาง นักเรียนทีม ่ ก ี ารเดินทางมาโรงเรียนด้วยรถรับจ้าง และ มาด้วยตนเอง ส่งผลต่อคะแนนของผลการเรียนทีด ่ ีกว่าผู้ปกครองมาส่งที่ ่ เป็นผลทีค โรงเรียน 0.227 และ 0.444 คะแนน ตามล�ำดับ ซึง ่ ่อนข้าง สวนทางกับสมมติฐานที่ว่า เด็กที่พ่อแม่ไปส่ งน่าจะได้รับการดูแลใส่ ใจที่ มากกว่า อย่างไรก็ตาม ในพืน ้ ทีต ่ า่ งจังหวัด ผูป ้ กครองส่วนใหญ่จะหัดให้ลก ู ขีม ่ อเตอร์ไซค์ไปโรงเรียนเอง กลายมาเป็นวัฒนธรรมของครอบครัวในชนบท ทัง ้ นี้ การทีพ ่ ่อหรือหรือแม่เสี ยชีวิตได้ส่งผลต่อค่าคะแนนของผลเรียนทีด ่ ี ่ ขัดแย้งกับการสมมติฐาน กว่าการทีพ ่ อ ่ แม่อยูด ่ ว้ ยกันถึง 0.208 คะแนน ซึง ทีห ่ ากเด็กอยู่กับผู้ปกครองทัง ้ คู่ควรทีจ ่ ะส่งผลต่อการคะแนนทีด ่ ี ขณะทีก ่ าร ที่ไม่ได้อยู่อาศัยกับพ่อและแม่ทัง้ คู่กลับส่ งผลต่อผลการเรียนที่ต�่ำกว่าการอยู่ ่ หรืออยูก อาศัยกับพ่อหรือแม่คนใดคนหนึง ่ บ ั ญาติ โดยทีอ ่ ยูอ ่ าศัยกับพ่อแม่ คนในคนหนึ่ ง และอยู่กับญาติ จะท�ำให้ผลการเรียนโดยเฉลี่ยสู งกว่าการ อยู่อาศัยอยู่กับทัง ้ คู่ 0.150 และ 0.176 คะแนน ตามล�ำดับ ทัง ้ ทีใ่ นความ เป็นจริง

การอาศัยอยู่ครอบครัวแบบพร้อมหน้าควรทีจ ่ ะส่ งผลต่อคะแนน

เฉลีย ่ ของการเรียนทีด ่ ีกว่า

ในรายงานการศึกษาชิน ่ ตรงที่ ้ นี้ อาจมีข้อแตกต่างกับงานศึกษาอืน

งานวิจัยนี้ได้ใช้ตัวแปรตามเป็นผลการเรียนเฉลีย ่ (GPA) โดยตรงของเด็ก แต่ละชัน ้ เรียนในแต่ละโรงเรียนทีเ่ ข้าไปเก็บแบบสอบถาม ขณะทีง ่ านวิจัย อืน ่ ได้ใช้คะแนนทดสอบมาตรฐานนานาชาติอย่าง PISA หรือคะแนนทดสอบ มาตรฐานระดับชาติอย่าง O-NET ท�ำให้มาตรฐานของเกณฑ์การให้คะแนน ในแต่ละโรงเรียนที่มีความแตกต่างกัน ส่ งผลต่อปัจจัยที่มีผลต่อความ ั จัยอืน เหลือ ่ มล�ำ้ ของผลสั มฤทธิท ่ ๆ เช่น ปัจจัย ์ างการศึกษา หรืออาจมีปจ ( 239 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทางด้านโรงเรียนที่ไม่ได้น�ำมาเป็นตัวแปรต้นในสมการถดถอยแบบพหุ แต่น�ำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการเข้าไปสัมภาษณ์ ผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้อ�ำนวยการแทน โดยในประเด็นที่ 1 เน้ นในด้าน ของสิ่ งอ�ำนวยสะดวกทางด้านกายภาพ ที่ส่งเสริมการเรียนการสอนที่ทาง โรงเรี ย นเตรี ย มไว้ ใ ห้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ตั้ง แต่ ห้ อ งสมุ ด ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร วิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ตลอดจนความปลอดภัย งบประมาณ ส�ำหรับการปรับปรุง ต่อมาในประเด็นที่ 2 คือ บุคลากรทางการศึกษาหรือ ครู มองในเรือ ่ งของการขาดแคลน การอบรม รวมถึงความเหมาะสมของ วุฒก ิ ารศึกษา ความเชีย ่ วชาญ การมีวท ิ ยฐานะ การจ้างครูตา่ งประเทศ และ การประเมินครูจากภายนอก และประเด็นสุดท้าย คือ หลักสูตรและกระบวนการ เรียนการสอน ในเรือ ่ งของการมีกิจกรรมเสริมทักษะ หลักสูตรพิเศษ การมี อิสระในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ การจัดกิจกรรมการแข่งขันทางวิชาการ จนถึงการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ยิ่งไปกว่านั้น ได้ท�ำการ สอบถามประเด็นเพิม ่ ต ี อ ่ ความ ่ เติมในด้านของมุมมอง หรือความคิดเห็นทีม เหลือ ่ มล�ำ้ ของผลลัพธ์ทางการศึกษาทัง ้ ภายในและระหว่างโรงเรียน

ประเด็นแรกเริม ่ จากในด้านของสิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางด้านกายภาพ

ทุกโรงเรียนมีความพร้อม และมีอุปกรณ์ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ และ ้ ในโรงเรียน ั หาทีเ่ กิดขึน ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อย่างครบครัน แต่ปญ ของรัฐบาล คือ อุปกรณ์ทางการศึกษามีการเสื่ อมสภาพไปตามกาลเวลา ่ ในช่วงหลังกลายมาเป็นอุปกรณ์ และการใช้งาน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ซึง ส�ำหรับการเรียนรู้ทส ี่ �ำคัญต่อเด็กนักเรียนอย่างมาก มีการขาดงบประมาณ ในการปรับปรุงและดูแลรักษา ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน หากจะสั่งซือ ้ เพิม ่ หรือมาทดแทนก็ต้องใช้เวลาในการท�ำเรือ ่ ง หรืออนุญาตให้เพียงแค่สั่งซือ ้ ้ ขณะทีศ อุปกรณ์ เช่น เมาส์ หรือแป้นพิมพ์เพียงเท่านัน ่ ูนย์การเรียนรูท ้ เี่ กิด จากบริบทของแต่ละโรงเรียนในพื้นที่ไม่มีความต่อเนื่ องของการจัดสรร ( 240 )


OBELS OUTLOOK 2017

งบประมาณ ต้องอาศัยความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก อาทิ ผู้ปกครอง ที่ให้งบประมาณเพิ่มเติมมาสนับสนุน ท�ำให้ต้องแก้ไขด้วยการจัดตาราง เวลาส� ำหรับเด็กในแต่ละระดับชั้นให้สามารถเข้าถึงได้ทุกคน โดยโรงเรียน ่ ได้มก รัฐบาลแห่งหนึง ี ารปรับเปลีย ่ นจาก ‘ห้องสมุด’ ให้เป็น ‘แหล่งเรียนรู’้ คือ เพิม ่ งคอมพิวเตอร์ ให้นักเรียนเข้าไป ่ หนังสื ออิเล็คทรอนิคส์ เข้าไปในเครือ ศึกษาค้นคว้าอย่างเสรี พร้อมทั้งมีการสนับสนุนในด้านของอุปกรณ์เสริม เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร และอินเตอร์เน็ตฟรีทั่วทั้งโรงเรียน โดยไม่มค ี า่ ใช้จา่ ย ในขณะทีโ่ รงเรียนเอกชนมีงบประมาณในการบ�ำรุงรักษา ทัว่ ไปต่อเนื่องในทุกปี

ส่วนด้านความปลอดภัย บางโรงเรียนก็มส ี ารวัตรนักเรียนทีเ่ ป็นเพียง

แค่งานกิจกรรมส� ำหรับบางช่วง และบางโรงเรียนไม่ได้มีการท�ำงานอย่าง จริงจัง แต่ก็มีพนักงานรักษาความปลอดภัยประจ�ำอยู่เพือ ่ ตรวจสอบความ ่ บางโรงเรียนก็มีการซ้อมเพือ เรียบร้อย ซึง ่ เตรียมพร้อมในการรับมือกับภัย ่ ในต่าง พิบัติ อุบัติเหตุ และมีการอบรมการขับขีจ ่ ักรยานยนต์ปลอดภัย ซึง จังหวัด นักเรียนส่ วนใหญ่พ่อแม่จะไม่มีเวลามาส่ งลูกที่โรงเรียน จึงต้อง ขับรถจักรยานยนต์มาด้วยตนเอง พร้อมทัง้ ยังมีการเช็ครายชือ ่ ของนักเรียน ในทุกรายชัว่ โมงของทุกการเรียนการสอน และติดตามนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ประเด็นที่ 2 คือในด้านของบุคลากรทางการศึกษาอย่าง ครู ปัญหา

ที่พบในโรงเรียนรัฐบาลคือ การขาดแคลนครู งบประมาณในการจ้างไม่ เพียงพอ ท�ำให้ครูหนึ่ งคนต้องสอนหนึ่ งวิชาในทุกระดับชั้นตั้งแต่มัธยม ศึ กษาปี ที่ 1 - 6 หรื อต้ องสอนในกลุ่ ม สาระวิชาที่ใกล้เ คีย ง เช่น สอนทั้ง พละศึกษาและสุขศึกษา สอนทัง้ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา เป็นต้น ซึง่ เป็นผล ต่อเนื่ องจากการได้ครูที่บรรจุมาไม่ตรงตามกับความเชี่ยวชาญที่โรงเรียน ต้ อ งการ ส่ ง ผลต่ อ การขาดประสิ ท ธิ ภ าพต่ อ การเรี ย นการสอนของครู ้ ทัง้ ในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชน คือ โรงเรียน นอกจากนี้ สิ่งทีเ่ กิดขึน ในพื้นที่ชายแดนกลายเป็นสนามทดลองส� ำหรับครูจบใหม่ที่บรรจุเข้ามา ( 241 )


OBELS OUTLOOK 2017

หาประสบการณ์เพียง 1 - 2 ปี และก็ย้ายออกไปกระจุกตัวอยู่ในตัวเมือง ท�ำให้ขาดบุคลากรทีม ่ ป ี ระสบการณ์และมีความเชีย ่ วชาญมาพัฒนากระบวน การเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม สาเหตุของการย้ายออกของ ครูอาจเป็นผลมาจากปัจจัยอืน ่ ๆ เช่น การลดลงของจ�ำนวนนักเรียน จากการ ยุบโรงเรียนขนาดเล็ก และการลดลงของอัตราการเกิด และการขาดแรงจูงใจ ทางด้านการเงิน นอกจากนี้ ยังขาดแคลนบุคลากรที่เข้ามาพัฒนาไปสู่ เส้นทางสายวิชาชีพ หรือทักษะทีจ ่ �ำเป็นในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ ระบบ ่ ท�ำให้เกิดการ ครูฝึกสอนก็ไม่ได้ครอบคลุมถึงโรงเรียนในพืน ้ ทีช ่ ายแดน ซึง ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา

การอบรมเพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนส� ำ หรั บ โรงเรี ย นรั ฐ มี ง บ

ประมาณค่อนข้างสู ง และมีหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือและเป็นเครือข่าย เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งการอบรมเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเพื่อเลื่อนวิทยฐานะของ ครูในโรงเรียนรัฐบาล ท�ำให้การอบรมของครูเป็นไปตามเกณฑ์ชั่วโมงที่ ก�ำหนดไว้อย่างดี แต่สิ่งทีเ่ ป็นปัญหาคือ ครูได้รับความรู้มาอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดการต่อยอดในการเรียนการสอนจริง ท�ำให้เกิดประโยชน์เพียงแค่ ตัวบุคคล แต่ไม่เกิดประโยชน์ที่แท้จริงแก่สังคมโดยรวม บางโรงเรียนจึง ได้มีการให้ครูเขียนรายงานทางวิชาการเกีย ่ วกับประโยชน์ทไี่ ด้รับ และแผน ในการทีจ ่ ะไปต่อยอดในอนาคต อย่างไรก็ตาม โครงการต่างๆ ทีจ ่ ะน�ำไป ต่อยอดก็ถูกขวางกั้นด้วยความจ�ำกัดของงบประมาณที่รัฐให้แก่โรงเรียน ส่วนโรงเรียนเอกชนมีเกณฑ์การให้ครูเข้าอบรมจากส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาอย่างชัดเจน

ส� ำหรับครูวิทยฐานะสู ง กับผลการเรียนยังมีความก�้ำกึ่งว่ามีความ

สั มพันธ์ต่อกันในเชิงบวกหรือไม่ เนื่ องจากความคิดเห็นของหนึ่ งในผู้ อ�ำนวยการโรงเรียนในอ�ำเภอเชียงของกล่าวว่า “ครูทม ี่ วี ท ิ ยฐานะในระดับสูง อาจมีความสามารถในการถ่ายทอดความรูไ้ ด้ดี หรือไม่ดก ี ว่าคนทีม ่ วี ท ิ ยฐานะ ่ เป็นความสามารถส่วนบุคคล ทัง้ นี้ การจ้างครูตา่ งชาติให้เข้ามา ต�ำ่ กว่า” ซึง ( 242 )


OBELS OUTLOOK 2017

สอนเฉพาะรายวิชา เช่น ภาษาอังกฤษ ในโรงเรียนรัฐบาล ได้ตด ิ ปัญหาของ

การขออนุญาตการประกอบอาชีพ (Work permit) งบประมาณไม่เพียงพอ

และมีเงื่อนไขการรับเข้าท�ำงานของรัฐบาลที่เข้มงวด นอกจากนั้นจ�ำเป็น ต้องมีครูคนไทยตามประกบดูแลเสมือนครูพเี่ ลีย ้ ง ท�ำให้ต้องเสี ยบุคลาการ

ทางการศึกษาไปอีกหนึ่งคน ขณะทีท ่ างโรงเรียนเอกชนมีการจ้างเข้ามาสอน แต่ก็ไม่เพียงพอ เนื่องจากติดปัญหาในด้านของใบอนุญาตการประกอบ อาชีพเช่นเดียวกัน ส่ วนในด้านของการประเมินการเรียนการสอนครูส่วน

ใหญ่ของโรงเรียนรัฐบาลจะเป็นการประเมินกันเอง หากเป็นการประเมิน

เพือ ่ เลือ ่ นวิทยฐานะจะมาจากหน่วยงานภายนอก ในขณะทีโ่ รงเรียนเอกชน ได้รับการประเมินภายนอกจากส� ำนั กงานรับรองมาตรฐาน และประเมิน คุณภาพการศึกษา

ประเด็นสุดท้ายคือ ในด้านของหลักสูตรและกระบวนการสอน พบว่า

ทัง้ โรงเรียนรัฐบาล และเอกชนต่างก็มห ี ลักสูตรเสริมทักษะส�ำหรับการทดสอบ

พื้นฐานระดับชาติ O-NET และ A-NET ในโค้งสุ ดท้าย มีค่ายวิชาการ ค่ายเสริมภาษาต่างประเทศ ซึ่งส่ วนใหญ่ที่เป็นกิจกรรมเพิ่มเติมหลักสู ตร

จะอยู่ในกลุ่มสาระวิชาชุมนุม ทั้งนี้ ได้มีหลักสู ตรเฉพาะพื้นที่ที่เข้ามารอง รับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของพืน ้ ทีช ่ ายแดนเชียงของ เช่น ความมัน ่ คง

อาชีพ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสั งคม ขณะทีใ่ นบางโรงเรียนได้มีการเพิม ่ เติมหลักสูตรในกรณีทบ ี่ างกลุม ่ สาระรายวิชามีการตกเกณฑ์ประเมินทีต ่ ง ั้ ไว้

่ เกณฑ์การประเมิน โดยจะมีการวิเคราะห์โครงสร้างเป็นรายภาคการศึกษา ซึง แบ่งออกเป็น 3 ปัจจัย ได้แก่ ครู ผู้เรียน และกระบวนการเรียนการสอน

ต้องน�ำมาพิจารณาร่วมกันว่ามีการขาดตกบกพร่องไปในด้านใด ถึงจะมีการ เพิม ่ เติมหรือปรับปรุงหลักสู ตรของวิชานั้นได้อย่างถูกต้อง

จากปัญหาความยากในการจ้างงาน ทัง ้ ในด้านของงบประมาณและ

ใบอนุญาตการท�ำงาน ท�ำให้หลักสูตรพิเศษ เช่น โครงการการเรียนสองภาษา (Bilingual Program) โครงการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (English

Program) เป็นไปได้ยากส�ำหรับโรงเรียนรัฐบาล แต่มีหลักสูตรพิเศษอืน ่ ( 243 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทีอ ่ าศัยความได้เปรียบของพืน ้ ทีอ ่ ย่าง หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีน เนื่องจากหนึ่งในโรงเรียนทีอ ่ ยูใ่ นพืน ้ ทีอ ่ ำ� เภอเชียงของตัง้ อยูใ่ กล้กบ ั หมูบ ่ า้ น เวียหมอกที่เป็นหมู่บ้านของชาวจีนยูนนาน ที่อพยพมาตั้งรกรากตั้งแต่ สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ซึง่ มีการเปิดเป็นวิชาเลือกส�ำหรับนักเรียนในระดับ มัยธมศึกษาตอนปลาย ส่วนในโรงเรียนเอกชน ก็มีหลักสูตร English for Integrated หรือ EIS ทีใ่ ช้สื่อการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษกับกลุ่ม สาระวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ ได้มีการบังคับให้เรียน ภาษาจีนในทุกระดับชัน ้ จ�ำนวน 2 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์

ความอิสระในการบริหารจัดการหลักสู ตรส�ำหรับโรงเรียนเอกชนและ

รัฐบาล มีลก ั ษณะทีค ่ ล้ายคลึงกันตรงทีม ่ ห ี ลักสูตรแกนกลางเป็นตัวควบคุม คุณภาพและมาตรฐานของกระบวนการเรียนการสอนของทุกโรงเรียน ซึ่ง โรงเรียนของรัฐบาลจ�ำเป็นต้องยึดหลักสู ตรตามพระราชบัญญัติการศึกษา ่ สามารถปรับปรุงหรือ พ.ศ. 2551 หรือทีเ่ รียกว่า ‘หลักสู ตรขัน ้ พืน ้ ฐาน’ ซึง ส่ งเสริมได้โดยห้ามหลุดตัวชี้วัดที่ถูกก�ำหนดไว้ โดยที่บางโรงเรียนก็มีการ เพิม ่ หลักสูตรภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และคณิตศาสตร์ รวมถึงหลักสู ตรเสริมส�ำหรับรายวิชาทีต ่ กเกณฑ์ชวี้ ัดดังทีก ่ ล่าวไว้ในข้างต้น ในขณะทีก ่ ม ็ บ ี างโรงเรียนทีไ่ ด้กำ� หนดนโยบายเพิม ่ เติมอย่าง ‘เพิม ่ เวลาเรียน ่ จะมีการสอนทักษะ เพิม ่ วกับสายวิชาชีพ ซึง ่ เวลารู้’ ให้นักเรียนได้เรียนรู้เกีย ระยะสั้น อาทิ เชือ ่ มเหล็ก เย็บผ้า เป็นตอบสนองการเข้าสู่การเรียนในศตวรรษ ที่ 21 ในวิสัยทัศน์ทวี่ ่า ‘เรียนไม่เก่งมาก แต่มีงานท�ำ’

โรงเรียนส่วนใหญ่มีความร่วมมือกับทัง ้ หน่วยงานภายนอกทัง ้ รัฐบาล

และเอกชน อาทิ การเก็บออมเงิน การดูแลจัดการทรัพยากรและป้องกันภัย การรับนั กศึ กษาฝึกประสบการณ์ มาเป็นครูทดลอง การรับทุนการศึ กษา การได้โควตาในการเข้าท�ำงานในบริษัทเอกชน การรับหลักสู ตร STEM (Science Technology Engineering Mathematics) ศึกษา และภายใน เครือข่ายโรงเรียนด้วยกันเองอย่างสหวิทยาเขตของโรงเรียนรัฐบาล และ ( 244 )


OBELS OUTLOOK 2017

เครือข่ายของโรงเรียนเอกชนในอ�ำเภอเชียงของ อาทิ การแลกเปลี่ยน บุคลากรครู และหลักสูตรการเรียนการสอน มากกว่านี้ 2 ใน 4 ของโรงเรียน ได้มีการส่ งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการด้วยการส่ งนั กเรียนไปแข่งขัน ระดั บ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ เขต ระดั บ จั ง หวั ด จนถึ ง ระดั บ ชาติ พร้ อ มทั้ ง มี ก าร จัดกิจกรรมในแต่กลุ่มสาระรายวิชา เช่น งานสุ นทรภู่ งานวิทยาศาสตร์ ่ เป็นภาระหน้าทีอ การประกวดร้องเพลงลูกทุง ่ ซึง ่ ก ี อย่างทีค ่ รูตอ ้ งรับผิดชอบ นอกเหนือจากการสอนหนังสือ

ทัง ้ นี้ ผู้ปกครองเข้ามีมามีส่วนร่วมอย่างมากในการดูแลนักเรียนและ

้ ในแต่ละหมู่บ้านมากกว่า คุณครู เป็นในลักษณะของการสร้างเครือข่ายขึน การตั้งเป็นชมรมหรือสมาคมผู้ปกครอง มีการบริจาคงบประมาณเพิ่มเติม สนับสนุนให้มากในโรงเรียนเอกชน ตลอดจนการแจ้งข่าวสารส�ำคัญ รับฟัง ่ ในกรรมการ ความคิดเห็นต่อผลการเรียนในสมุดพก และการให้เข้ามาเป็นหนึง เพือ ่ พิจารณาวาระการประชุมต่างๆ

ประเด็นเพิม ่ มล�ำ้ ภายในโรงเรียน ่ เติมคือ ความคิดเห็นต่อความเหลือ

โดย 2 ใน 4 ของผู้อ�ำนวยการโรงเรียนทีท ่ �ำการสั มภาษณ์คิดว่าไม่มีความ เหลื่อมล�้ำ เนื่องจากโรงเรียนหนึ่งได้มีการคัดกรองนักเรียนก่อนเริ่มเรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ คะแนนปกติ คะแนนน้อย และคะแนนแบบพรสวรรค์ ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะมีการวัดศั กยภาพ และมีเกณฑ์ตัวชี้วัดที่แตกต่างกัน ยืดหยุ่นไปตามความสามารถรายกลุ่ม มากกว่าใช้ตัวชี้วัดเดียว รวมถึง นั กเรียนที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ การอ่าน หรือพิการทางร่างกาย ขณะทีอ ่ ีกโรงเรียนก็มีความคิดเห็นไม่ต่างกันมาก โดยทีก ่ ิจกรรมกลางของ โรงเรียนไม่ได้มีความเอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง มีความเท่าเทียม และ ่ มีความคิดเห็น ยืดหยุ่น เคารพในความแตกต่าง ความเชือ ่ และเชือ ้ ชาติ ซึง ตรงกันกับโรงเรียนแรก ในเรือ ่ งของการให้เด็กทีม ่ ค ี วามบกพร่องโดยก�ำเนิด สามารถทีจ ่ ะอยูร่ ว่ มกับเด็กปกติได้ โดยมีการวัดผลทีแ ่ ตกต่างจากเกณฑ์ปกติ

( 245 )


OBELS OUTLOOK 2017

ได้รบ ั การดูแลจากคุณครู และมีเครือ ่ งมือเข้ามาสนับสนุนช่วยเหลือ ส�ำหรับ ้ เพราะผูอ ผูอ ้ ำ� นวยการอีก 2 โรงเรียนทีค ่ ด ิ ว่ามีความเหลือ ่ มล�ำ้ เกิดขึน ้ ำ� นวยการ คิดว่ามาจากปัจจัยทางด้านเชือ ้ ชาติ โดยเด็กพืน ้ ราบมักจะมีคะแนนทีส ่ ูงกว่า เด็กชาวเขา เนื่ องจากเด็กชาวเขาขาดความแข็งแรงในการใช้ภาษาที่ไม่ คล่องแคล่ว และไม่ชัดเจน แต่ก็สามารถแก้ไขด้วยการมีหลักสูตรปรับพืน ้ ฐานภาษาไทย และการติวเข้มวันละ 1 ชัว่ โมงส�ำหรับเด็กนักเรียนชาวเขา โดยเฉพาะ พร้อมทัง ้ ได้สนับสนุนให้เด็กพืน ้ ราบร่วมช่วยในการสอนอีกแรง ส่ วนอีกโรงเรียนคิดว่ามาจากปัจจัยความเหลื่อมล�้ำของฐานะทางการเงิน และความสมบูรณ์ของครอบครัวเป็นส�ำคัญ โดยร้อยละ 60 - 70 ไม่ได้อยู่ กับครอบครัว ท�ำให้พฤติกรรมของเด็กจะคล้อยตามเพือ ่ น และสั งคมโดย รวมแทน

ส่ วนในด้านความเหลื่อมล�้ำระหว่างโรงเรียน ทุกโรงเรียนมีความ

้ ทัง คิดเห็นตรงกันว่ามีช่องว่างเกิดขึน ้ ในเรือ ่ งของงบประมาณในการจ้างครู ่ แปรผันตามงบประมาณรายหัว ทีห ซึง ่ ากเด็กมีจ�ำนวนน้อยก็ได้งบประมาณ น้อยเช่นกัน ถ้าเด็กมีจ�ำนวนมากก็ได้งบประมาณเพิ่มขึ้น ส่ งผลต่อเนื่อง ไปสู่การขาดแคลนครูในบางรายวิชา ท�ำให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ ทั้งนี้ งบประมาณไปกระจุกตัวมากบริเวณโรงเรียนแถวในเมือง เนื่องจาก เด็กส่วนใหญ่หลังจากจบชัน ้ มัธยมศึกษาตอนต้น ก็จะย้ายเข้าไปเรียนในเมือง ท�ำให้งบประมาณของโรงเรียนทีอ ่ ยูภ ่ ายนอกลดลง ทัง้ ทีม ่ ค ี า่ ใช้จา่ ยสูงเท่าเดิม นอกจากนั้น พื้นฐานการเรียนและการเรียนรู้ของเด็กในชั้นประถมศึกษา ่ โรงเรียนมีหน้าทีใ่ นการรับเข้ามาเรียน และให้ความรู้ ก็มีผลอย่างมาก ซึง ไปตามศักยภาพทีผ ่ เู้ รียนจะรับได้ แต่กต ็ อ ้ งมาเสียเวลา และทรัพยากรบุคคล ้ ตัวชีว้ ด ในการปรับพืน ้ ฐานรายบุคคล ดังนัน ั ในการจัดสรรงบประมาณของ ้ ใน รัฐบาลควรทีจ ่ ะมีการปรับให้มีความสอดคล้องกับความเป็นจริงมากขึน ทางปฏิบต ั ิ ไม่ควรไปเน้นในด้านของผลสัมฤทธิ์ เพราะบางครัง้ ปัจจัยทีท ่ าง ั ญาของผู้เรียนในแต่ละรุ่น โรงเรียนไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ คือ สติปญ ( 246 )


OBELS OUTLOOK 2017

รวมถึงควรทีจ ่ ะมีการปรับเปลีย ่ นกฎระเบียบให้มค ี วามยืดหยุน ่ ต่อกระบวนการ เรียนการสอน เช่น การอนุญาตให้เด็กสามารถออกไปศึกษานอกประเทศ การอนุญาตให้รับเงินช่วยเหลือจากผู้ปกครอง เป็นต้น

อย่ า งไรก็ ต าม ได้ มี ก ารพบข้ อ จ� ำ กั ด ที่พ บส� ำ หรั บ กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์

สัญชาติไทยทีอ ่ ยูใ่ นบริเวณพืน ้ ชายแดน สามารถเข้าไปอยูเ่ ฉพาะในโรงเรียน ่ งจากระยะทางจากบ้านมาโรงเรียนค่อนข้างไกล ทีม ่ ก ี ารเตรียมทีพ ่ ก ั ไว้ให้ เนือ ท�ำให้เกิดการเข้าไปกระจุกตัวในบางโรงเรียน โดยเด็กที่มีสัญชาติทุกคน ก็ได้รับงบประมาณเท่าเทียมกับทีเ่ ด็กไทยได้รับทัง ้ หมด แต่ไม่เพียงพอต่อ การอยู่อาศัย และการกินจึงต้องหางบประมาณเพิม ่ เติมเข้ามาช่วยในทุกปี ่ บางโรงเรียนก็ได้จัดท�ำโครงการช่วยเหลือขึน ้ มาในรูปแบบของการช่วย ซึง ตัวเอง เช่น การปลูกข้าววันแม่ เกีย ่ ววันพ่อ และเกษตรพอเพียง เพือ ่ ให้ สามารถมีข้าวและผักไว้กิน ขณะทีเ่ ด็กทีไ่ ร้สัญชาติไม่สามารถทีจ ่ ะออกไป เรียนหนังสื อนอกพื้นที่ได้ตามพระราชบัญญัติการศึกษา ด้วยเหตุผลด้าน ความมั่นคงเป็นหลัก นอกจากนี้ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ภายนอกมีแนวโน้มที่ จะเข้าสู่ สายอาชีพมากกว่าสายสามัญ แต่การสนับสนุนให้ไปในทางสาย อาชีพกลับพบปัญหาทีเ่ ป็นช่องว่างของตลาดแรงงาน คือ ไม่ทราบแหล่ง ของความต้องการในแรงงานในพื้นที่ที่แน่ชัด ท�ำให้เด็กที่จบและไปสาย อาชีพส่ วนใหญ่ก็จะออกจากพืน ้ ที่บ้านเกิดไปท�ำงานหรือเรียนในพืน ้ ที่อื่น รวมทัง ้ อุปกรณ์และเครื่องมือที่สนับสนุนในการเรียนในโรงเรียนที่อยู่พืน ้ ที่ ภายนอกก็ไม่มีให้เด็กสามารถใช้งานได้

สรุปผลและข้อเสนอแนะทางนโยบาย

ความเหลือ ่ มล�ำ้ ของผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาระหว่างโรงเรียนในอ�ำเภอ

เชียงของมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากผลการเรียนเฉลีย ่ ทีไ่ ม่แตกต่างกันมาก อยูใ่ นช่วงระหว่าง 2.10 - 3.00 แต่โรงเรียนทีม ่ ค ี วามเหลือ ่ มล�ำ้ ภายในสูงสุด คือ โรงเรียนบุญเรืองวิทยาคม และต�่ำสุ ดคือโรงเรียนเชียงของวิทยาคม ( 247 )


OBELS OUTLOOK 2017

แต่ก็เป็นช่องว่างของความเหลือ ่ มล�ำ้ ทีไ่ ม่มากนัก ในด้านของปัจจัยทีม ่ ีนัย ส� ำคัญทางสถิติต่อความเหลื่อมล�้ำที่เกิดขึ้น ได้แก่ การทบทวนบทเรียน การมาโรงเรียนสาย การอยู่อาศัย ลักษณะการเดินทาง และทัศนคติต่อ ห้องเรียน ซึง่ ผลการวิเคราะห์ทอ ี่ อกมาสวนทางกับสมมติฐานทีต ่ งั้ ไว้ทงั้ หมด อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสั มภาษณ์ พบปัญหาการขาดแคลนของคอมพิวเตอร์ และการขาดงบประมาณในการ ปรับปรุงสิ่ งอ�ำนวยความสะดวกทางกายภาพในโรงเรียนรัฐบาล ขณะที่ ั หา พบการ โรงเรียนเอกชนมีงบประมาณสู งและมีความต่อเนื่องจึงไม่มีปญ ขาดแคลนบุคลากรครูทั้งในด้านประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ กลุ่มสาระ รายวิชา และในแต่ละระดับชัน ้ ท�ำให้ขาดประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่งบประมาณที่ทางรัฐบาลให้กับโรงเรียนไม่เพียงพอ ยิ่งปัจจุบัน จ�ำนวนนักเรียนในพื้นที่ชายแดนเริ่มที่จะลดน้อยลงอย่างมาก ในระดับชัน ้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ยิง ่ ท�ำให้โรงเรียนได้งบประมาณรายหัว ลดลงตามไปด้วย

ในด้านของหลักสู ตรและกระบวนการเรียนการสอน โรงเรียนรัฐบาล

และเอกชนไม่สามารถที่จะเข้าไปปรับหลักสู ตรแกนกลาง หรือหลักสู ตร การศึ ก ษาขั้น พื้น ฐานได้ เนื่ อ งจากเป็น พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาที่ถู ก ก�ำหนดไว้ แต่ละโรงเรียนท�ำได้เพียงเพิ่มเติมหลักสู ตรอื่นๆเข้าไปให้กับ นักเรียนแทน ส�ำหรับหลักสู ตรพิเศษทีต ่ ้องเรียนเป็นภาษาต่างประเทศเป็น ไปได้ยากส� ำหรับโรงเรียนรัฐในอ�ำเภอเชียงของ เนื่องด้วยงบประมาณที่ จ�ำกัดในการจ้างชาวต่างชาติ รวมถึงเงือ ่ นไขทีเ่ ข้มงวด และความยากในการ ขอใบอนุญาตประกอบอาชีพ แต่ความได้เปรียบของโรงเรียนในพืน ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอเชียงของ คือ ภาษาจีน บริเวณบนเขาจะมีหมูบ ่ า้ นของชาวจีนยูนนาน เข้ามาอาศัยอยู่ เมือ ่ เรียนในโรงเรียนระยะหนึ่งก็ต้องลงมาเรียนในโรงเรียน บนทีร่ าบ ท�ำให้แต่ละโรงเรียนต้องเพิม ่ หลักสู ตรพิเศษให้สอดรับกับบริบท ของพื้นที่ ทั้งนี้ การเข้ามีส่วนร่วมของผู้ปกครองยังไม่เป็นรูปธรรมมาก ( 248 )


OBELS OUTLOOK 2017

แต่มีการเกาะกลุ่มในรูปแบบของเครือข่ายแต่ละหมู่บ้าน ผู้ปกครองมีส่วน ในการช่วยเรือ ่ งงบประมาณบางส่ วน รับฟังข่าวสาร ให้ความคิดเห็นเกีย ่ ว กับผลการเรียน และร่วมพิจารณาวาระการประชุมของโรงเรียนส่ วนความ ่ หนึ่งคิดว่าภายในโรงเรียนของ คิดเห็นต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ผู้อ�ำนวยการครึง ตัวเองไม่มีความเหลื่อมล�้ำ เนื่องจากมีคัดกรอง ชี้วัดเด็กตามศักยภาพ ไม่มก ี ารเอนเอียง เลือกปฏิบต ั ิ เคารพความแตกต่างทัง้ ในด้านของความเชือ ่ เชื้อชาติ และวัฒนธรรม ส่ วนอีกครึ่งหนึ่งคิดว่ามีความเหลื่อมล�้ำที่มาจาก ั ญาของเด็ก พืน สติปญ ้ ฐานการเรียนในระดับประถมศึกษา ตลอดจนความ เหลื่อมล�้ำระหว่างเด็กพื้นราบกับเด็กชาวเขาในเรื่องของความคล่องแคล่ว ่ เป็นปัจจัย ในการใช้ภาษา และฐานะทางสังคมของครอบครัวทีแ ่ ตกต่าง ซึง ที่ทางโรงเรียนไม่สามารถเข้าไปจัดการหรือควบคุมได้ และความคิดเห็น ต่อความเหลื่อมล�้ำระหว่างโรงเรียน พบว่าทุกโรงเรียนมีความคิดเห็นตรง กันในด้านของการขาดแคลนงบประมาณทีท ่ ำ� ให้เกิดความไม่เพียงพอของ บุคลากรครู โดยตัวชีว้ ัดในการจัดสรรงบประมาณไม่มีความสอดคล้องต่อ บริบทหรือความต้องการทีแ ่ ท้จริงของพืน ้ ที่

ข้อเสนอแนะต่อการลดช่องว่างความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาในพืน ้ ที่

ชายแดนอ�ำเภอเชียงของทีด ่ เู หมือนว่าจะไม่ได้ถา่ งกว้างมาก แต่มรี ายละเอียด ทีค ่ วรออกนโยบายมาปรับปรุงแก้ไข ควรเริม ่ ลวิเคราะห์ ่ พิจารณาจากการทีผ ได้สะท้อนออกมาว่า ปัจจัยด้านครอบครัวและส่ วนบุคคลมีความส�ำคัญต่อ ั จัยทางด้านโรงเรียนมีอิทธิพลมากกว่า ผลการเรียนของเด็กก็จริง แต่ปจ ั จัยของ Lounkaew (2013) ฉะนัน ้ ผูอ ดังผลวิเคราะห์ปจ ้ อกนโยบายควรให้ ความส�ำคัญกับปัจจัยทางโรงเรียนมากกว่า ดังนี้

• สิ่ งอ�ำนวยความสะดวกทางกายภาพ

1. รัฐบาลควรทีจ ่ ะให้งบประมาณในด้านการปรับปรุงสิ่งอ�ำนวยความ

สะดวกทางด้านกายภาพ และพิจารณาความเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ทส ี่ �ำคัญ ต่อการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิง ี่ ลายมาเป็นแหล่ง ่ คอมพิวเตอร์ทก ( 249 )


OBELS OUTLOOK 2017

เรียนรู้ทส ี่ �ำคัญทีส ่ ุ ดของเด็กในยุคนี้

2. โรงเรียนควรมีการปรับเปลีย ่ นจากห้องสมุดให้กลายมาเป็นแหล่ง

เรียนรู้ และค้นคว้าอิสระแทน

3. รัฐบาลควรสนั บสนุ นงบประมาณให้กับศู นย์การเรียนรู้อย่าง

่ งเพราะเป็นศูนย์ทป ้ ก็จะมีความส�ำคัญ ต่อเนือ ี่ รับไปตามบริบทของพืน ้ ที่ ดังนัน ไม่แพ้กับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของหลักสูตรแกนกลาง

4. รัฐบาลควรสนับสนุนให้มีการติดตั้งอินเตอร์เน็ตทั่วทั้งโรงเรียน

แบบไม่เสี ยค่าใช้จ่ายในทุกโรงเรียน เพือ ่ เปิดโอกาสให้เด็กสามารถค้นคว้า ่ โรงเรียนและครูควรทีจ หาข้อมูลนอกห้องเรียนได้อย่างสะดวก ซึง ่ ะมีความ เชือ ่ ใจในการให้เด็กพกสมาร์ทโฟน แท็บเลต หรือโน๊ตบุคมาโรงเรียน แต่ตอ ้ ง มีการก�ำกับดูแลเพือ ่ ให้เกิดการใช้งานให้ตรงตามประโยชน์อย่างแท้จริง

• บุคลากรทางการศึกษา

5. รัฐบาลควรเพิ่มแรงจูงใจทางการเงินให้กับครูที่บรรจุอยู่ในพื้นที่

ชนบทหรือพืน ้ ทีช ่ ายแดน เพือ ่ ไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของครูทอ ี่ ยู่ในเมือง

6. รัฐบาลควรที่จะมีการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการจ้าง

งานครูให้ครบกับกลุม ่ สาระวิชา ไม่ให้ครูแบกภาระงานหนัก จนขาดคุณภาพ ในการสอน

7. รัฐบาลควรที่จะให้อิสระโรงเรียนสามารถเลือกครูที่จะบรรจุเองได้

่ ควรทีจ ซึง ่ ะพิจารณาครูทเี่ ป็นคนในพืน ้ ทีม ่ าเป็นอันดับแรก

• หลักสู ตรและกระบวนการสอน

8. แม้ว่าโรงเรียนต่างๆจะไม่สามารถปรับหลักสูตรแกนกลางได้ แต่

สามารถทีจ ่ ะเพิม ่ กิจกรรมเสริมทักษะเข้าไปแทน เช่น เสริมทักษะในรายวิชา ทีเ่ ด็กส่วนใหญ่มีความบกพร่อง หรือเสริมทักษะภาษาต่างประเทศ จะช่วย ลดความเหลือ ่ มล�ำ้ ระหว่างโรงเรียนได้

9. การอบรมเพือ ่ พัฒนาการเรียนการสอนของครู ควรทีจ ่ ะมีเกณฑ์ที่

ชีว้ ัดเชิงคุณภาพมากกว่าเพียงนับจ�ำนวนชัว่ โมงเชิงปริมาณ อาทิ โครงการ ( 250 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ต่อยอดจากการอบรม หรือการน�ำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ซึง รัฐบาลควรทีล ่ ดเกณฑ์ในด้านของชัว่ โมงในการอบรมลง และเพิม ่ ดัชนีชวี้ ัด ้ รวมถึงการให้งบประมาณเช่นเดียวกัน ความส�ำเร็จของการอบรมมากขึน

10. หลักสู ตรแกนกลางควรปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของ

้ ซึง่ ควรให้มโี อกาสให้เด็กในการเลือก ตลาดแรงงานในทศวรรษที่ 21 มากขึน ไปทางสายวิชาชีพได้เทียบเท่ากับสายสามัญ เพื่อลดต้นทุนการเสี ยเวลา ไปในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และมหาวิทยาลัย

11. พืน ้ ที่ชายแดนอ�ำเภอเชียงของค่อนข้างมีความได้เปรียบได้ด้าน

ของภาษาจีน เนื่องจากมีกลุ่มประชากรที่มีสายเลือดจากทางจีนยูนนาน อาศัยอยู่ในพืน ้ ที่ ฉะนั้น ควรทีจ ่ ะอาศัยโอกาสดังกล่าวในการสนับสนุนให้ เป็นหลักสู ตรหลักของพื้นที่โดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ่ ต้องอาศัยแรงผลักดันจากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย กับประเทศในภูมภ ิ าค ซึง ่ วข้อง

12. โรงเรียนควรทีจ ่ ะให้ผป ู้ กครองเข้ามามีส่วนร่วมกับทุกเรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วข้อง

กับเด็กนักเรียน ซึง่ จะช่วยให้เกิดการจัดการบริหารหลักสูตร กระบวนการสอน ้ ดังที่ ดิลกะ ลัทธพิพฒ และงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ั น์ (2554) ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ในงานศึกษาว่าเป็นความรับผิดชอบของโรงเรียน

13. โรงเรียนควรมีการพัฒนาความร่วมมือกับหน่ วยงานภายนอก

ทั้งหน่วยงานที่เป็นภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนสถาบันทางการศึกษาจะ ช่วยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาความสามารถทางวิชาการ

14. โรงเรียนควรให้หน่วยงานรัฐบาล และเอกชนเข้ามีมีส่วนร่วมใน

กิจกรรมต่างๆของโรงเรียน

่ มล�้ำ • การลดช่องว่างความเหลือ

15. เกณฑ์ทเี่ ป็นตัวชีว้ ด ั ผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาของนักเรียน ไม่ควร

ทีจ ่ ะเป็นรูปแบบตายตัว หรือรูปแบบเดียวใช้กบ ั ทุกคน ควรทีจ ่ ะยืดหยุน ่ ตาม ่ โรงเรียนจะเป็นผู้ทป ความสามารถของแต่ละบุคคล ซึง ี่ ระเมินศักยภาพของ เด็กนักเรียนในโรงเรียนของตนเองได้เป็นอย่างดี ดังนั้น โรงเรียนควรทีจ ่ ะ ( 251 )


OBELS OUTLOOK 2017

มีอิสระในการบริหารจัดการหลักสู ตรทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มของนักเรียน

16. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในแต่ละโรงเรียนควรมีเกณฑ์ที่

ยืดหยุ่นสอดคล้องกับบริบทของแต่ละโรงเรียน มากกว่าการให้ตามรายหัว ของนั กเรียน เพราะถึงแม้ว่าบางโรงเรียนจะมีจ�ำนวนนั กเรียนน้ อย ไม่ได้ หมายความว่าจะมีคา่ ใช้จา่ ยทีน ่ ้อยกว่าโรงเรียนทีม ่ จ ี ำ� นวนนักเรียนเยอะ อาจจะ มีค่าบริหารจัดการที่สูงกว่า หรือต�่ำกว่าก็เป็นได้ ควรที่พิจารณาเป็นกรณี โรงเรียนไป

17. ควรทีจ ่ ะมีการกระจายอ�ำนาจสู่โรงเรียนท้องถิน ่ เนื่องจากแต่ละ

โรงเรียนเป็นผู้ที่สามารประเมินศักยภาพขององค์ประกอบในโรงเรียนได้ แน่ชัดสุ ด จึงควรที่จะได้รับอิสระทั้งในด้านการบริหารจัดการงบประมาณ และหลักสู ตรการเรียนการสอน ตลอดจนเกณฑ์ชี้วัดผลสั มฤทธิ์ของเด็ก อย่างไรก็ตาม การให้อิสระควรทีจ ่ ะอยู่ภายใต้การสอดส่ องดูแลของรัฐบาล อย่างใกล้ชิด เพือ ่ ไม่ให้เกิดปัญหาการใช้ประโยชน์จากอ�ำนาจของผู้บริหาร และครูในทางทีไ่ ม่ควร

( 252 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง Dilaka Lathapipat and Lars M. Sondergaard. (2015). Thailand

- Wanted: a quality education for all. Washington, D.C.:

World Bank Group. Hanushek, E. A. (1979). Conceptual and empirical issues in the estimation of educational production function. Journal of human resources, Volume 14 Issue 3, 351–388. Hanushek, E. A. (2002). Publicly provided education. In A. J. Auerbach & M. Feldstein (Eds.). Handbook of public economics, Volume 4, 2045–2141. Amsterdam: Elsevier. Jirada Prasartpornsirichoke and Yoshi Takahashi (2013) Assessing Inequalities in Thai Education. Journal of east Asian studies, Volume 18, 1-26. Thai Journals Online (ThaiJO). Kiatanantha Lounkaew. (2013). Explaining urban–rural differences in educational achievement in Thailand: Evidence from PISA literacy data. Economic of Education Review 37, 213-225. แบ๊งค์ งานอรุณโชติ และถิรภาพ ฟักทอง. (2555). สูง ต�่ำ ไม่เท่ากัน: ท�ำไม

ระบบการศึกษาจึงสร้างความเหลื่อมล�ำ้ . หนังสื อชุดถมช่องว่างทาง

สังคมล�ำดับ 3. เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม ส�ำนักงานคณะ

กรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ. นนทบุรี: ส�ำนักพิมพ์ศยาม.

ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์. (2555). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบ

ทางการศึกษาต่อสั มฤทธิผลของนักเรียนไทย. เอกสารประกอบการ

สัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2554. สถาบันวิจย ั เพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย.

( 253 )


OBELS OUTLOOK 2017

นณริฎ พิศลยบุตร. (2559). ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของไทย: ข้อสรุป

จากผลการสอบปิซา่ (PISA). สถาบันวิจย ั เศรษฐกิจป๋วย อึง๊ ภากรณ์.

สมเกียรติ ตัง ้ กิจวานิชย์. (2560). ปฏิรูปการศึกษาไทยแล้วไปไหน.

สถาบันวิจย ั เพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย. ค้นหาจาก http://tdri.or.th/

tdri-insight/2017-01-12.

อัมมาร สยามวาลา, ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ และสมเกียรติ ตัง ้ กิจวานิย์.

(2555). การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่: สู่ การศึกษาที่มีคุณภาพอย่าง

ทัว่ ถึง. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2554 ของสถาบัน

วิจัยเพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย.

( 254 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ีผลต่อความเหลือ ่ มล�้ำทาง ปัจจัยทีม การศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอแม่สาย ในพืน จังหวัดเชียงราย สิ ทธิชาติ สมตา และพรพินันท์ ยีร่ งค์

บทคัดย่อ

้ จ ้ จ การวิจย ั ครัง้ นีม ี ด ุ ประสงค์เพือ ่ การวิจย ั ครัง้ นีม ี ด ุ ประสงค์เพือ ่ ศึกษา

้ ในพืน หาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาทีเ่ กิดขึน ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เนื่องด้วยปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ เป็นปัญหาทีม ่ ค ี วามเรือ ้ รัง และเป็นบ่อเกิดแห่งความเหลื่อมล�้ำทางสั งคม และเศรษฐกิจในปัจจุบัน ฉะนั้นจึงตระหนักได้ว่าควรต้องมีการหาแนวทางในการแก้ไขอย่างเร่งด่วน พบว่าปัจจัยตัวผู้เรียนที่มีผลต่อผลการเรียน คือ อายุ เพศ การทบทวน บทเรียน การมาโรงเรียนสาย การร่วมแข่งขัน การเป็นตัวแทนของโรงเรียน ขณะทีใ่ นด้านของปัจจัยครอบครัว ได้แก่ เบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน ลักษณะการ เดินทาง การขอค�ำปรึกษา และการได้รับรางวัล/ค�ำชมเชย ทั้งนี้ จากการ สัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพบว่า โรงเรียนแม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์ไม่มี ความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษาภายในโรงเรียน เนื่องจากมีโครงการที่เป็น แผนแม่บทในการไม่เลือกปฏิบัติต่อทุกชนชั้น และทุกชนชาติ รวมทั้งเป็น ประตูการศึกษาสู่ อาเซียน หรือ Education hub ขณะที่โรงเรียนถ�้ำปลา วิทยาคมเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ท�ำให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร ต่างๆ ค่อนข้างมาก และมีจำ� นวนของนักเรียนไร้สัญชาติ หรือไร้บต ั รประชาชน ่ จ�ำเป็นต้องเลือกสายอาชีพ เพราะยากต่อการเข้าสู่สายสามัญ จากความ ซึง จ�ำกัดในด้านของการไม่ถูกรับรองให้เป็นชาวไทย ( 255 )


OBELS OUTLOOK 2017

บทน�ำ

ประเทศไทยด� ำ เนิ น การปฏิ รู ป การศึ ก ษาครั้ง แรกในปี พ .ศ. 2542

ถือว่ามีความส� ำคัญต่อการศึกษาไทยอย่างมาก ด้วยความพยายาม และ การจัดสรรทรัพยากรในการปฏิรป ู การศึกษาครัง้ นี้ จึงได้จด ั ท�ำพระราชบัญญัติ การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ขึ้น มาเพื่อ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาของ ประเทศไทยด้วยงบประมาณทีค ่ ิดเป็นสองเท่าภายใน 10 ปี ทัง ้ นี้ ถึงแม้ว่า ้ จะช่วยให้ประชากรวัยเรียนสามารถ การเพิม ่ งบประมาณการศึกษาทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ในเชิงปริมาณ แต่ผลสัมฤทธิท เข้าถึงการศึกษามากขึน ์ างการศึกษากลับมี แนวโน้มลดลง เช่น O-NET, PISA, และ TIMSS (อัมมาร, ดิลกะ และ สมเกียรติ, 2554) อย่างไรก็ตาม ในปี 2552 หลังการปฏิรป ู การศึกษา 10 ปี ผ่านมา ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (NESQA) ได้ด�ำเนินตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทัว่ ประเทศไทย พบว่า โรงเรียนจ�ำนวน 3,243 จาก 15,515 โรงเรียน ไม่ผา่ นข้อก�ำหนดการประเมิน คุณภาพขัน ้ ต�่ำ นอกจากนี้ยังพบว่าส่วนใหญ่โรงเรียนทีม ่ ีคุณภาพต�่ำอยู่ใน พืน ้ ทีช ่ นบท (Lounkaew, 2013) จะเห็นได้วา่ การปฏิรป ู การศึกษาของไทย ้ ไม่สามารถลงถึงห้องเรียนและนักเรียนเท่าทีค ในช่วงทีผ ่ า่ นมานัน ่ วร เนื่องจาก ส่วนใหญ่จะเริม ู โครงสร้างกระทรวงมากกว่าการเริม ่ อ ้ งเรียน ่ ด้วยการปฏิรป ่ ทีห (สมเกียรติ, 2560) ท�ำให้การปฏิรูปการศึกษาไม่ประสบความส�ำเร็จส่ งผล ให้เกิดความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา

ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาเป็นปัญหาเรือ ้ รังทีย ่ งั ไม่สามารถ

แก้ไขได้ตลอดช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากสาเหตุของปัญหาความเหลื่อมล�้ำ ทางการศึกษานั้นมีมากมายจนมองไม่เห็นหนทางและจับต้องไม่ถูกว่าควร ริเริม ู กันอย่างไร ท่ามกลางช่วงเวลาทีผ ่ า่ นมาหลังการปฏิรป ู ่ แก้ไขหรือปฏิรป การศึกษาครั้งแรกจนถึงปัจจุบันใกล้ครบสองทศวรรษ ประเทศไทยยังไม่ สามารถท�ำให้คณ ุ ภาพการศึกษาของประเทศดีขน ึ้ และเท่าเทียมกันได้อย่าง เป็นรูปธรรม เนื่องจากคุณภาพทางการศึกษามีส่วนส�ำคัญต่อการสร้างเสริม ( 256 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทุนมนุษย์ (Capital Human) ไม่วา่ จะเป็นเรือ ่ งทักษะ ความรู้ ความสามารถ ่ มีผลต่ออัตราการตอบแทนแต่ละบุคคลและเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ ซึง การเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ ทัง ้ นี้ ความไม่เท่าเทียมกัน ในการศึกษาคือความไม่เท่าเทียมกันในการผลิตของทุนมนุษย์ซึ่งไม่เพียง แต่มาตรการกระจายการศึกษาไม่เท่ากันที่เกิดขึ้นจริงในสั งคม แต่ยังรวม ไปถึงประสิ ทธิภาพของนโยบายการศึกษา (Jirada and Yoshi, 2013)

คุณภาพทางการศึ กษานอกจากหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้น

้ คุณภาพของครูกม พืน ้ ฐานทีม ่ ค ี วามส�ำคัญต่อนักเรียนแล้วนัน ็ ค ี วามส�ำคัญ ด้วยเช่นกันในการถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาตนเองของครู และการพัฒนา นักเรียนได้มากน้อยเพียงใด สิ่งทีค ่ วรท�ำความเข้าใจคือ จ�ำนวนครูในแต่ละ ้ อยูก ้ ๆ หาก โรงเรียนมีจำ� นวนไม่เท่ากันขึน ่ บ ั จ�ำนวนนักเรียนของโรงเรียนนัน โรงเรียนมีนักเรียนจ�ำนวนมากก็จะท�ำให้มีครูมากขึ้นตามจ�ำนวนนักเรียน จะท�ำให้โรงเรียนดังกล่าวมีครูเพียงพอต่อการสอนของแต่ละระดับชั้น ่ จะพบเห็นในโรงเรียนในเขตเมืองเป็นหลัก ตรงกันข้ามกับ มัธยมศึกษา ซึง โรงเรียนพืน ้ ทีช ่ นบททีม ่ ีจ�ำนวนักเรียนน้อยท�ำให้จ�ำนวนครูลดลง ท�ำให้ครู ในแต่ละกลุม ่ สาระการเรียนรูม ้ ไี ม่เพียงพอต่อการสอนจากจ�ำนวนครูทล ี่ ดลง ท�ำให้ครูต้องรับภาระการสอนเพิ่มขึ้น เช่น โดยปกติต้องรับผิดชอบสอน วิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพียงอย่างเดียว แต่ดว้ ยจ�ำนวน ครูที่ต้องลดลงตามจ�ำนวนนักเรียนจึงจ�ำเป็นที่ต้องสอนวิชาคณิตศาสตร์ ทั้งในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ด้วยภาระที่เพิ่มขึ้นท�ำให้ ประสิ ทธิภาพในการท�ำงานของครูลดลงตามไปด้วย ส่ งผลต่อคุณภาพ ้ กับโรงเรียนในพืน ทางการศึกษาของนักเรียนและเหตุการณ์เหล่านีเ้ กิดขึน ้ ที่ ชนบท จึงน�ำไปสู่ความแตกต่างกันทางผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาและปัญหา ความเหลื่อมล�้ำทางการศึ กษาระหว่างโรงเรียนในเขตเมือง และโรงเรียน พืน ้ ทีช ่ นบท

( 257 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทัง ้ นี้จากการพิจารณาผลคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6

กับสัดส่วนครูตอ ่ นักเรียนประจ�ำปี 2558 แต่ละโรงเรียนของจังหวัดเชียงราย พบว่ามีความสั มพันธ์เชิงบวกระหว่างคะแนน O-NET กับสั ดส่ วนครูต่อ นักเรียน หากจ�ำนวนสั ดส่ วนครูต่อนักเรียนเพิ่มสู งขึ้นจะส่ งผลให้คะแนน ้ ตาม รวมทัง O-NET เพิม ้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมากกับโรงเรียน ่ ขึน สามัคคีวท ิ ยาคม และโรงเรียนด�ำรงราษฎร์สงเคราะห์ เมือ ่ เทียบกับโรงเรียน อืน ่ ๆ ในจังหวัดเชียงราย ยกเว้นโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยทีม ่ ห ี ลักสูตร การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนเอง ท�ำให้ ผลคะแนน O-NET สู ง ถึงแม้สัดส่ วนครูต่อนักเรียนจะค่อนข้างน้อยเมื่อ เทียบกับโรงเรียนอืน ่ ๆ (ดังรูปที่ 1)

นอกจากความแตกต่างในผลลัพธ์ของการศึกษา ซึ่งเป็นผลเกี่ยว

เนื่องมาจากปัจจัยต่างๆที่มากกว่าแค่คุณภาพของการเรียนการสอน แต่ ั จัยเฉพาะ ครอบคลุมไปถึงปัจจัยต่างๆทีม ่ ีความเกีย ่ วข้องทัง ้ หมด ตัง ้ แต่ปจ รูปที่ 1 สั ดส่ วนคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับสั ดส่วนครูต่อนักเรียนประจ�ำปี 2558 60 จุฬาภรณ์

คะแนน O-NET

50

สามัคคี ด�ำรงราษฎร์

40 30 20 10 0

0

5

10

15

20

25

สั ดส่ วนครูต่อนักเรียน ทีม ่ า : สํานักงานเขตพืน ้ ทีก ่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

( 258 )

30


OBELS OUTLOOK 2017

ของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ไปจนถึงปัจจัยทีเ่ กีย ่ วข้อง ้ ารศึกษาของประเทศไทยในระยะหลัง กับสถานศึกษา (นณริฎ, 2559) ทัง้ นีก เริ่มเล็งเห็นมูลเหตุของความเหลื่อมล�้ำที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในการเข้าถึง ้ จากการขาดแคลน อุดมศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี ว่าไม่ได้เกิดขึน ปัจจัยระยะสั้นเพียงอย่างเดียว แต่ต้นเหตุส�ำคัญเกิดจากความเหลือ ่ มทาง ปัจจัยระยาวทีร่ วมถึงภูมิหลังทางครอบครัว และคุณภาพการศึกษาทีไ่ ด้รับ ตั้งแต่วัยเด็ก (ดิลกะ, 2555) จากการส� ำรวจทางเศรษฐกิจและสั งคมของ ครัวเรือนของประเทศไทยเกีย ่ วกับความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายการ ศึกษาของไทยในปีพ.ศ. 2554 จ�ำนวนปีในการเข้าเรียนของระดับประเทศ อยูใ่ นระดับกลางๆ ประมาณ 7.63 ปี และค่าสัมประสิทธิจ ี ีของประเทศไทย ์ น เป็น 0.349 โดยจังหวัดทีต ่ ง ั้ อยู่ใกล้เขตกรุงเทพมหานครมีความเท่าเทียม ้ ในการศึกษายกเว้นสมุทรสาคร ขณะทีจ กันมากขึน ่ ังหวัดในภาคเหนือของ ประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันอย่างรุนแรงในการศึ กษาโดยเฉพาะ อย่างยิง ่ จังหวัดชายแดน (Jirada and Yoshi, 2013)

บทความความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาในทีน ่ ี้หมายถึงความแตกต่าง

ในผลสั มฤทธิข ้ ฐานทีแ ่ ตกต่างกัน ์ องการศึกษา โดยพิจารณาถึงปัจจัยพืน ไม่วา่ จะเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ่ ปัจจัยเหล่านี้ต่างมีส่วนท�ำให้นักเรียนแต่ละ และปัจจัยทางด้านโรงเรียน ซึง คนได้รับความรู้ ความเข้าใจทีไ่ ม่เท่ากัน จึงสะท้อนออกมาเป็นผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาที่แตกต่างตามไปด้วย เพื่อศึกษาช่องว่างความเหลื่อมล�้ำ ของผลสัมฤทธิด ่ ศึกษาถึงปัจจัยทีท ่ �ำให้ผลผลสั มฤทธิข ์ ังกล่าว และเพือ ์ อง เด็กนักเรียนในวัยเดียวกันมีความแตกต่างกัน งานวิจัยได้เลือกใช้ผลการ เรียนเฉลีย ่ (GPA) ในการศึกษาเรือ ่ งความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของพืน ้ ที่ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

( 259 )


OBELS OUTLOOK 2017

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ั จัยด้านผูเ้ รียน และครอบครัวทีม 1. เพือ ่ วิเคราะห์ปจ ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิ์

ทางการศึกษาของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาในอ�ำเภอแม่สาย

2. เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของ

โรงเรียนทีม ่ ผ ี ลสัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษาในอ�ำเภอ ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน แม่สาย

3. เพื่อ เปรี ย บเที ย บ และให้ ข้ อ เสนอแนะทางนโยบายต่ อ การลด

ช่องว่างของผลสัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษาในอ�ำเภอ ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน แม่สาย กรอบแนวคิดในการวิจย ั ่ ม การวิเคราะปัจจัยทีท ี่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลีย ่ สะสม (GPA) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ 1. ปัจจัยตัวผู้เรียน เช่น เพศ อายุ

2. ปัจจัยทางครอบครัว เช่น การศึกษาของพ่อแม่ ั จัยด้านสภาพแวดล้อมของโรงเรียน การวิเคราะห์ปจ จากการสัมภาษณ์ผอ ู้ ำ� นวยการสถานศึกษา

การวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression)

และ การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ (Cross-tabulation)

้ หา การวิเคราะห์เนือ (Content Analysis)

รูปที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจัยความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของโรงเรียน มัธยมศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

วิธีด�ำเนินการวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ี ี่ 1 – 6 ในโรงเรียน 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาตัง้ แต่ปท

มัธยมศึกษาของพืน ้ ทีช ่ ายแดน อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายปีการศึกษา 2560 ได้แก่ โรงเรียนแม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์ทงั้ หมด 2,794 คน และโรงเรียน ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม 315 คน ( 260 )


OBELS OUTLOOK 2017

1.2 กลุม ่ ตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จากโรงเรียน

แม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์จำ� นวน 256 คน และโรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมจ�ำนวน 170 คน รวมทั้ง สิ้ น 426 คน โดยวิ ธี ก ารสุ่ ม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบก� ำ หนด (Quota Sampling) ่ ึกษา 2. ตัวแปรทีศ

2.1 ตัวแปรต้น แบ่งออกเป็น 3 ปัจจัย ดังนี้

2.1.1 ปัจจัยด้านผู้เรียน ได้แก่ อายุ เพศ จ�ำนวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ในการ

ทบทวนบทเรียน จ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการท�ำการบ้าน จ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้ ในการค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด/อินเตอร์เน็ต ประสบการณ์เรียนซ�้ำชั้น ประสบการณ์การเรียนชัน ้ อนุบาล ทัศนคติตอ ่ โรงเรียน ทัศนคติตอ ่ ห้องเรียน การมาโรงเรียนสาย และกิจกรรมหลังเลิกเรียน การแข่งขันวิชาการ/กีฬา และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน

2.1.2 ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ วุฒิการศึกษาของผู้ปกครอง การ

ท�ำงานของผู้ปกครอง อาชีพของผู้ปกครอง จ�ำนวนพีน ่ ้อง ล�ำดับการเกิด การอยู่อาศัยกับครอบครัว ขนาดของครอบครัว สถานะของครอบครัว ระยะทางจากที่อ ยู่ อ าศั ย ถึ ง โรงเรี ย น ลั ก ษณะการเดิ น ทางการโรงเรี ย น เบีย ้ เลีย ้ ง ทรัพยากรภายในบ้าน การรับค�ำปรึกษา การได้รบ ั รางวัล/ค�ำชมเชย จากผู้ปกครอง และการท�ำงานเสริม

2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลีย ่ สะสม (Grade Point Average:

GPA) ปีการศึกษา 2560 3. ประเด็นการสั มภาษณ์เชิงลึก

3.1 สิ่ งอ�ำนวยสะดวกทางด้านกายภาพที่ส่งเสริมการเรียนการสอน

เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบต ั ก ิ ารวิทยาศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ ระบบรักษา ความปลอดภัย อาทิ สารวัตรนักเรียน กล้องวงจรปิด รปภ. และงบประมาณ ในการก่อสร้าง ( 261 )


OBELS OUTLOOK 2017

3.2 บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ความเพียงพอของครู หลักสู ตร

อบรมการเรียนการสอน การมีครูตรงตามสาขาทีเ่ ชีย ่ วชาญ การมีครูชำ� นาญการพิเศษ การจ้างครูต่างชาติ การประเมินจากครูภายนอก

3.3 หลักสูตรและกระบวนการการเรียนการสอน ได้แก่ กิจกรรมเสริม

ส�ำหรับการพัฒนาผลการเรียน การมีอส ิ ระในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ กิจกรรมแข่งขัน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

3.4 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ภายในโรงเรียน และระหว่างโรงเรียน

่ งมือทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล เครือ

เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจย ั ในครัง้ นีเ้ ป็นแบบสอบถาม (Questionnaire)

่ แบ่งออกเป็น 2 ส่ วน ได้แก่ ลักษณะส่วนบุคคลของตัวนักเรียน จ�ำนวน ซึง 19 ข้อ และข้อมูลพืน ้ ฐานทางครอบครัว จ�ำนวน 14 ข้อ และการสั มภาษณ์ เชิงลึก (In-depth Interview) เกีย ่ วกับข้อมูลของโรงเรียน

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยขอหนังสือจากส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ถึงผู้บริหารโรงเรียนทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่าง เพือ ่ ขอความร่วมมือในการจัดเก็บ ข้อมูลและแจกแบบสอบถามให้ กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 298 ชุด พร้อมทัง ้ ขอความอนุเคราะห์ในการสั มภาษณ์ผู้บริการสถานศึกษาในแต่ละแห่ง

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด�ำเนิ นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส� ำเร็จรูปทางสถิติ

และการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเชิงปริมาณ โดยเลือกข้อมูลทีส ่ อดคล้องกับจุดประสงค์ และสมมติฐานของงานวิจัย ดังนี้

( 262 )


OBELS OUTLOOK 2017

ั จัยด้านผู้เรียน และด้านครอบครัวที่มีผลต่อผล 1. การวิเคราะห์ปจ

สัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน เชียงราย ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis)

ั จัยด้านผู้เรียน และด้านครอบครัวที่มีผลต่อผล 2. การวิเคราะห์ปจ

สัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน เชี ย งราย ด้ ว ยการวิ เ คราะห์ ถ ดถอยพหุ คู ณ (Multiple Regression Analysis)

3. การวิเคราะห์การแจกแจงตารางแบบไขว้ (Cross-tabulation)

ระหว่างผลการเรียนกับข้อมูลลักษณะส่วนตัวของนักเรียน และพืน ้ ฐานทาง ครอบครัวของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ั จัยด้านโรงเรียนของนักเรียนชัน 4. การวิเคราะห์ปจ ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอ

้ หา (Content Analysis) เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ด้วยการวิเคราะห์เนือ

ผลการวิจัย

1. จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามในโรงเรียนระดับ

มัธยมศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอแม่สาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีเกรดเฉลีย ่ รวมอยูร่ ะหว่าง 3.00 - 3.49 คิดเป็นร้อยละ 30.6 รองมาได้แก่ เกรด 2.50 – 2.99 และ 0.00 – 2.49 ร้อยละ 29.3 และ 25.1 ตามล�ำดับ โดยเป็นเพศหญิงร้อยละ 55.5 มากกว่าเพศชายทีม ่ ส ี ัดส่วนอยูร่ อ ้ ยละ 44.5 ส่วนใหญ่มพ ี ฤติกรรมการทบทวนบทเรียนอยูท ่ ป ี่ ระมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมง ต่อสั ปดาห์ ร้อยละ 41.5 ท�ำการบ้านประมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมงต่อวัน ร้อยละ 40.0 และเข้าห้องสมุดประมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมงต่อสั ปดาห์ ร้อยละ 38.8 ทัง ้ นี้กลุ่มตัวอย่างไม่ได้มีการเรียนพิเศษเสริม ร้อยละ 74.5 ไม่มป ี ระสบการณ์ในการซ�ำ้ ชัน ้ ร้อยละ 95.3 และเคยเรียนชัน ้ อนุบาลมากกว่า 1 ปี ร้อยละ 83.6 รวมถึงส่วนใหญ่ร้อยละ 60.8 ไม่เคยมาโรงเรียนสาย นอกจากนี้ นักเรียนส่วนใหญ่มส ี ่วนร่วมในการแข่งขันทางวิชาการ และเป็น ( 263 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตัวแทนโรงเรียนไปแข่งขันภายนอก ทั้งนี้ ทัศนคติของนั กเรียนที่มีต่อ โรงเรียนในแต่ละด้านเฉลีย ่ รวมอยู่ทป ี่ ระมาณ 3.47 หรืออยู่ในระดับดี ขณะ เดียวกันทัศนคติของเด็กที่มีต่อห้องเรียนมีคะแนนไม่ต่างกันมากเฉลี่ย รวมอยู่ทป ี่ ระมาณ 3.55 หรืออยู่ในระดับดีเช่นเดียวกัน

ด้านปัจจัยพืน ้ ฐานทางครอบครัว พบว่าผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง

ที่ตอบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาในระดับต�่ำกว่ามัธยมศึกษา ร้อยละ 67.9 ท�ำงานประเภทรับจ้าง ร้อยละ 53.6 และประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 46.6 มีพี่น้องรวมตัวเองประมาณ 1 - 2 คน ซึ่งเป็นพี่คนโต และ คนรองกว่าร้อยละ 90 ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างส่ วนมากมีการอาศัยอยู่กับทั้ง พ่อและแม่ ร้อยละ 55.8 เป็นครอบครัวเดีย ่ ว ร้อยละ 62.0 และมีสถานะ ทางครอบครัวทีส ่ มบูรณ์หรืออยู่ด้วยกัน ร้อยละ 63.7 ส�ำหรับระยะทางจาก บ้านมาโรงเรียนของเด็กในกลุม ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่อยูร่ ะหว่าง 5 - 10 กิโลเมตร มีการเดินทางมาด้วยตนเองเป็นหลัก รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่ง และ รถรับจ้าง ซึง่ ได้รบ ั เบีย ้ เลีย ้ งเฉลีย ่ วันละ 20 - 80 บาท ในด้านของทรัพยากร ทางการศึกษาภายในบ้าน เด็กส่วนใหญ่มอ ี ป ุ กรณ์ครบครันตัง้ แต่หอ ้ งส่วนตัว คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โต๊ะเขียนหนังสื อ สถานที่สงบ มือถือ ยกเว้น เครือ ่ งเกมทีร่ ้อยละ 79.3 ไม่มีเป็นของตนเอง ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง ส่ วนมากจะมีการให้รางวัลหรือให้ค�ำชมเชยแก่เด็กร้อยละ 75.8 ขณะที่ ร้อยละ 91.5 ไม่มีการท�ำงานเสริม

2. ผลการศึกษาปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อการผลสั มฤทธิท ์ างการศึกษาของ

นักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในด้านของตัวผูเ้ รียน พบว่ามี 6 ปัจจัย ทีม ่ ีผลต่อผลการเรียนเฉลีย ่ (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ อายุ (P-value = 0.004, B = -0.046) เพศหญิง (P-value = 0.000, B = 0.393) การทบทวนบทเรียน 30 นาที – 1 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ (P-value = 0.005, B = -0.161) การมาโรงเรียนสาย (P-value = 0.003, B = 0.095) การเข้าร่วมแข่งขันกีฬา/วิชาการ (P-value = 0.000, B = 0.258) และ ( 264 )


OBELS OUTLOOK 2017

การเป็นตัวแทนของโรงเรียน (P-value = 0.001, B = 0.226) ดังตาราง ที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าสถิตข ิ องตัวแปรอิสระด้านตัวผูเ้ รียนทีม ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการ ศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตัวแปรอิสระ

Std. Error

b

Beta

t

P-value

10.008

0.000

ค่าคงที่

2.751

0.275

อายุ**

-0.046

0.016

-0.130

-2.881

0.004

เพศหญิง***

0.393

0.056

0.310

6.990

0.000

การทบทวนบทเรียน 30 นาที

-0.161

0.057

-0.124

-2.812

0.005

การมาโรงเรียนสาย**

0.095

0.032

0.134

3.002

0.003

การร่วมแข่งขันวิชาการ/กีฬา***

0.258

0.066

0.198

3.881

0.000

การเป็นตัวแทนโรงเรียน***

0.226

0.065

0.177

3.466

0.001

– 1 ชม.**

หมายเหตุ : R = 0.266, R2 = 0.221, S.E.E = 0.560 * = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.001

3. ผลการศึกษาปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อการผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาของ

นักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในด้านของปัจจัย ผู้เรียน พบว่ามี 9 ปัจจัย ทีม ่ ีผลต่อผลการเรียนเฉลีย ่ (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ เบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน (P-value = 0.007, B = -2.782) การเดินทาง ด้วยรถรับจ้าง (P-value = 0.180, B = 0.020) การเดินทางด้วยผูป ้ กครอง มาส่ ง (P-value = 0.004, B = 0.218) การปรึกษาเพือ ่ น (P-value = 0.044, B = 0.151) การได้รับรางวัล/ค�ำชมเชย (P-value = 0.000, B = 0.360) ดังตารางที่ 2

( 265 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 2 ค่าสถิตข ิ องตัวแปรอิสระด้านครอบครัวทีม ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการ ศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย b

Std. Error

ค่าคงที่

2.026

0.166

เบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน**

-2.782

1.025

การเดินทางด้วยรถรับจ้าง*

0.180

การเดินทางด้วยผู้ปกครองมา

ตัวแปรอิสระ

Beta

t

P-value

12.236

0.000

-0.130

-2.714

0.007

0.077

0.117

2.334

0.020

0.218

0.074

0.147

2.930

0.004

การปรึกษาเพือ ่ น*

0.151

0.074

0.097

2.024

0.044

การได้รับรางวัล/ค�ำชมเชย**

0.360

0.070

0.245

5.126

0.000

ส่ง**

หมายเหตุ : R = 0.120, R2 = 0.102, S.E.E = 0.601 * = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.001

4. การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและปัจจัย

ตัวผู้เรียน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ย (Grade Point

Average : GPA) ต่อปัจจัยพืน ้ ฐานส่วนบุคคล พบว่า ผลการเรียนเฉลีย ่ ของเพศหญิงดีกว่าผู้ชาย จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 84.8 และเพศหญิงร้อยละ 15.2 ต่อมา ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และ เพศหญิงร้อยละ 49.3 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็น เพศชายร้อยละ 54.7 และเพศหญิงร้อยละ 45.3 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ ้ ไป คิดเป็นเพศชายร้อยละ 26.2 และเพศหญิงร้อยละ 73.8 มากกว่า 3.00 ขึน

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์

พบว่า นักเรียนทีม ่ ีการทบทวนบทเรียน 30 นาที - 1 ชัว่ โมงต่อสั ปดาห์ มีผล ้ ไป การเรียนเฉลีย ่ ดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน ( 266 )


OBELS OUTLOOK 2017

ตารางที่ 3 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนและเพศ 26% 74%

55%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

51%

45%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

49%

85%

15% หญิง

ชาย

มีการทบทวนบทเรียน 30 นาที - 1 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 41.8 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นร้อยละ 26.6 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นร้อยละ 19.0 และ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นร้อยละ 12.7 รูปที่ 4 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์

< 30 นาที

15%

1/2 - 1 ซม.

22%

61%

29% 45%

1 - 2 ซม.

12%

13%

21%

2 - 3 ซม.

3%

5%

49%

3 - 4 ซม.

6%

> 4 ซม.

3%

13% 2%

19%

36%

36% 24% 9%

4% 5%

( 267 )

8% 4%

0.00 - 1.99 2.00 - 2.49 2.50 - 2.99 > 3.00


OBELS OUTLOOK 2017

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านอายุ พบว่า นักเรียนทีม ่ อ ี ายุ

ช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี มีผลการเรียนเฉลีย ่ ดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียน เฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นนักเรียนทีม ่ ีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ้ ไป ร้อยละ 18.2 และ ร้อยละ 78.8 รองลงมาคือ นักเรียนทีม ่ ีอายุ 16 ปี ขึน นักเรียนทีม ่ ีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 3.0 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นนักเรียนทีม ่ อ ี ายุชว่ งระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 53.0 รองลงมาคือ นักเรียนทีม ่ ีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 24.2 และ ้ ไป ร้อยละ 22.7 และผลการเรียนเฉลีย นักเรียนทีม ่ ีอายุ 16 ปี ขึน ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นนักเรียนทีม ่ ีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 51.3 ้ ไป ร้อยละ 33.3 และนักเรียนที่ รองลงมาคือ นักเรียนทีม ่ ีอายุ 16 ปี ขึน มีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 15.4 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า ้ ไป คิดเป็นนักเรียนทีม 3.00 ขึน ่ ีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 53.6 รองลงมาคือ นักเรียนทีม ่ ีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 29.0 และ ้ ไป ร้อยละ 17.5 นักเรียนทีม ่ ีอายุ 16 ปี ขึน ตารางที่ 5 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนและอายุ 54% 29%

15% 24%

51%

33%

53%

79% 18% 14 - 16 ปี

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99 2.00 - 2.49

29%

3% 11 - 13 ปี

17%

> 16 ปี

( 268 )

0.00 - 1.99


OBELS OUTLOOK 2017

ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านการมาโรงเรียนสาย

พบว่า นักเรียนทีม ่ ผ ี ลการเรียนเฉลีย ่ ดีไม่เคยมาโรงเรียนสาย จากกลุม ่ ตัวอย่าง ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นการมาโรงเรียนสายเป็น ครัง ้ คราว (1 - 2 วัน/สั ปดาห์) ร้อยละ 48.5 รองลงมาคือ การไม่เคยมา โรงเรียนสายร้อยละ 36.4 การมาโรงเรียนสายบ่อยครัง ้ (3 วัน/สั ปดาห์) ร้อยละ 9.1 และการมาโรงเรียนสายทุกวัน (5 วัน/สั ปดาห์) ร้อยละ 6.1 ต่อ มาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นการไม่เคยมาโรงเรียน สายร้อยละ 58.2 รองลงมาคือ การมาโรงเรียนสายเป็นครัง ้ คราว ร้อยละ 31.3 การมาโรงเรียนสายทุกวัน ร้อยละ 9.0 และการมาโรงเรียนสายบ่อย ครัง ้ ร้อยละ 1.5 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นการ ไม่เคยมาโรงเรียนสายร้อยละ 58.1 รองลงมาคือ การมาโรงเรียนสายเป็น ครัง ้ คราว ร้อยละ 27.4 การมาโรงเรียนสายทุกวัน ร้อยละ 10.3 และการมา โรงเรียนสายบ่อยครัง ้ ร้อยละ 4.3 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ้ ไป คิดเป็นการไม่เคยมาโรงเรียนสายร้อยละ 67.2 รองลงมาคือ การมา ขึน โรงเรียนสายเป็นครัง ้ คราว ร้อยละ 23.5 การมาโรงเรียนสายทุกวันร้อยละ 7.1 และการมาโรงเรียนสายบ่อยครัง ้ ร้อยละ 2.2 รูปที่ 6 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการมาโรงเรียนสาย 67%

24% 27%

58%

58%

31%

49%

2% 4% 2%

มากกว่า 3.00 10%

9%

9% 6%

เป็นครัง้ คราว

2.50 - 2.99 2.00 - 2.49

36% ไม่เคย

7%

บ่อยครัง้

( 269 )

ทุกวัน

0.00 - 1.99


OBELS OUTLOOK 2017

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านเข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการ

หรือกิจกรรมอืน ่ ๆ พบว่า นักเรียนทีม ่ ีผลการเรียนเฉลีย ่ ดีเข้าร่วมการแข่งขัน ทางวิชาการหรือกิจกรรมอืน ่ ๆ จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า ้ ไป คิดเป็นเคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 72.1 และไม่เคยเข้าร่วม 3.00 ขึน แข่งขันร้อยละ 27.9 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 61.5 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อย ละ 38.5 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเคยเข้า ร่วมแข่งขันร้อยละ 50.7 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 49.3 และผล การเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 78.8 และเคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 21.2

รูปที่ 7 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการเข้าร่วมการแข่งขัน 28% 72%

39%

62%

49%

51%

79%

21% เคย

ไม่เคย

( 270 )

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99 2.00 - 2.49 0.00 - 1.99


OBELS OUTLOOK 2017

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านการเป็นตัวแทนของโรงเรียน

ในการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน/นอกโรงเรียน พบว่า นักเรียนทีม ่ ผ ี ลการเรียน เฉลี่ยดีเคยเป็นตัวแทนของโรงเรียนในการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน/นอก ้ ไป คิดเป็น โรงเรียน จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน คนทีเ่ คยเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 62.3 และไม่เคยเป็นตัวแทนของ โรงเรียนร้อยละ 37.7 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นคนทีเ่ คยเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 58.1 และไม่ตัวแทนของ โรงเรียนร้อยละ 41.9 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็น คนทีเ่ คยเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 44.8 และไม่ตวั แทนของโรงเรียน ร้อยละ 55.2 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นคนทีเ่ คย เป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 30.3 และไม่ตวั แทนของโรงเรียนร้อยละ 69.7 รูปที่ 8 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน 38% 62%

58%

45% 30% เคย

42%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

55%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

70% ไม่เคย

( 271 )


OBELS OUTLOOK 2017

5. การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและปัจจัย

ครอบครัว

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ย (Grade Point

Average : GPA) ต่อปัจจัยพื้นฐานทางครอบครัว พบว่า นั กเรียนที่มี ผลการเรียนเฉลี่ยดีได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท จากกลุ่ม ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นได้รบ ั เงินมาโรงเรียน จ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 60.6 รองลงมาคือ ได้รับเงินมาโรงเรียน จ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 24.2 ได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 12.1 และได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวนมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 3.0 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นได้รับ เงินมาโรงเรีย นจ� ำนวน 50 – 79 บาท ร้ อ ยละ 65.7 รองลงมาคือ ได้รับ เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 25.4 ได้รับเงินมาโรงเรียน จ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 7.5 และได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน มากกว่า 110 บาท ร้อยละ 1.5 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 50.4 รองลงมา คือ ได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 34.2 ได้รับเงิน มาโรงเรียนจ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 14.5 และได้รับเงินมาโรงเรียน จ�ำนวนมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 0.9 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า ้ ไป คิดเป็นคนได้รบ 3.00 ขึน ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ ได้รบ ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 44.3 และได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 44.4

นักเรียนทีม ่ ีการเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองมีผลการเรียนเฉลีย ่ ดี

้ ไป มีการเดินทาง จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน ด้วยตนเองคิดเป็นร้อยละ 35.5 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่ งร้อยละ 29.0 และรถรับจ้างน้อยละ 23.0 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 40.2 รองลงมาคือ ผูป ้ กครอง ( 272 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 9 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และเบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน

20 - 40 บาท

12%

50 - 79 บาท

25%

61%

80 - 109 บาท

50%

8%

15%

13%

2%

1%

3%

2.00 - 2.49

33%

66%

24%

> 110 บาท 0.00 - 1.99

34%

2.50 - 2.99

54%

มากกว่า 3.00

มาส่ งร้อยละ 23.1 และรถรับจ้างร้อยละ 22.2 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 34.3 รองลง มาคือ ผู้ปกครองมาส่งและรถรับจ้างร้อยละ 20.9 ในอัตราเท่ากัน และเดิน ทางมาด้วยรถโรงเรียนร้อยละ 14.9 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 57.6 รองลงมาคือ รถรับจ้างร้อยละ 15.2 และอืน ่ ๆ ร้อยละ 12.1 รูปที่ 10 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และลักษณะการเดินทาง

รถโรงเรียน รถรับจ้าง

6% 15%

รถโดยสาร ผ้ป ู กครองมาส่ง เดินทางเอง อืน ่ ๆ 0.00 - 1.99

15% 21%

22%

3% 9%

4%

58%

3%

23% 34%

12%

2.00 - 2.49

23%

2%

21%

6%

2.50 - 2.99

( 273 )

5%

29% 40%

36%

9%

4%

มากกว่า 3.00


OBELS OUTLOOK 2017

นักเรียนทีม ่ ไี ด้รบ ั ค�ำปรึกษาจากพ่อแม่มผ ี ลการเรียนเฉลีย ่ ดี จากกลุม ่

้ ไป ได้รับค�ำปรึกษาจากพ่อ ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน แม่คิดเป็นร้อยละ 60.7 รองลงมาคือ ได้รับค�ำปรึกษาจากเพื่อนร้อยละ 25.1 และได้รับค�ำปรึกษาจากพีน ่ ้องร้อยละ 10.4 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นได้รับค�ำปรึกษาจากพ่อแม่ร้อยละ 69.2 รอง ลงมาคือ ได้รับค�ำปรึกษาจากเพือ ่ นร้อยละ 18.8 และได้รับค�ำปรึกษาจาก พีน ่ ้องร้อยละ 8.5 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็น ได้รับค�ำปรึกษาจากพ่อแม่ร้อยละ 73.1 รองลงมาคือ ได้รับค�ำปรึกษาจาก เพือ ่ นร้อยละ 17.9 และได้รับค�ำปรึกษาจากญาติร้อยละ 6.0 ขณะทีผ ่ ลการ เรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นได้รับค�ำปรึกษาจากพ่อแม่ร้อย ละ 66.7 รองลงมาคือ ได้รับค�ำปรึกษาจากเพือ ่ นร้อยละ 15.2 และได้รับค�ำ ปรึกษาจากพีน ่ ้องและญาติร้อยละ 9.1 ในอัตราเท่ากัน รูปที่ 11 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการขอค�ำปรึกษา

25%

10%

4%

61%

3% 69%

19%

18% 15% เพือ ่ น

9%

6% 73%

3% 9%

พี/่ น้อง

9%

ญาติ

( 274 )

76% พ่อแม่

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99 2.00 - 2.49 0.00 - 1.99


OBELS OUTLOOK 2017

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านการได้รับรางวัล/ค�ำชมเชย

จากผู้ปกครอง พบว่า นักเรียนที่ได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจากผู้ปกครอง มีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ้ ไปทีเ่ คยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจากผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 84.7 และ ขึน ไม่เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยร้อยละ 15.3 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจากผู้ปกครองคิดเป็น ร้อยละ 72.6 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยร้อยละ 26.5 ต่อมาผลการ เรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจากผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 64.2 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยร้อยละ 35.8 และ ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจาก ผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 60.6 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยร้อยละ 39.4 รูปที่ 12 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการได้รับรางวัล/ค�ำชมเชย

85%

15% 27%

73% 64%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

37%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

62%

39%

เคย

ไม่เคย

( 275 )


OBELS OUTLOOK 2017

6. ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาทีเ่ ก็บข้อมูล

กลุ่มตัวอย่าง 2 แห่ง ในอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ได้แก่ โรงเรียน แม่สายประสิ ทธิศ ์ าสตร์ และโรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคม ประกอบด้วยประเด็น เกีย ่ วกับ สิ่งอ�ำนวยทางกายภาพ บุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรการเรียน การสอน และความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ดังตารางที่ 13 ตารางที่ 13 สรุปความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเด็นการสัมภาษณ์

แม่สายประสิ ทธิศ ์ าสตร์

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม

1. สิ่งฤอ�ำนวยความสะดวกด้านกายภาพ 1.1 สิ่งอ�ำนวยสะดวกทางด้านกายภาพ

้ + สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพิม ่ ขึน

ทีส ่ ่ งเสริมการเรียนการสอน (เช่น

้ ของนักเรียน ทีท ่ งด้วยอัตราการเพิม เนือ ่ ันสมัย โดยทางโรงเรียนต้องใช้ ่ ขึน

ห้องสมุด ห้องปฏิบต ั ก ิ ารวิทยาศาสตร์

- ขนาดห้องสมุดกับจ�ำนวนนักเรียน

ต่อจากโรงเรียนขนาดใหญ่ จึงท�ำให้

ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ)

(3,000 คน) ไม่เพียงพอ

เครือ ่ งเกิดการล้าสมัย

+ ใช้เทคโนโลยีเข้ามาเสริม โดยใน

+ มีกล้องจุลทรรศน์

- โรงเรียนขนาดใหญ่มีคอมพิวเตอร์

แต่ละกลุ่มสาระจะมีคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับการสื บค้น - โรงอาหารไม่เพียงพอต่อจ�ำนวน นักเรียน 1.2 สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางด้าน

+/- มีห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

กายภาพทีเ่ ป็นจุดเด่นของโรงเรียน

แต่ยังไม่สมบูรณ์ ก�ำลังจะได้รับการ

และมีความแตกต่างโรงเรียนอืน ่

พัฒนา

1.3 ระบบรักษาความปลอดภัย (อาทิ

+/- มีกล้องวงจรปิด แต่ยังไม่

+ มีการจ้างยามเมือ ่ ต้นปีการศึกษา

สารวัตรนักเรียน กล้องวงจรปิด รปภ.)

ครอบคลุมพืน ้ ทีข ่ องโรงเรียนทัง ้ หมด

2560 โดยเงินได้มาจากการสนับสนุน

+ มีสภานักเรียน และรปภ. ช่วยในการ จากผู้ปกครอง สอดส่องดูแลนักเรียน

+ /- กล้องวงจรปิดมี 7 ตัว ถ้า

+ มีบัตรประจ�ำตัวนักเรียน เพือ ่

เปรียบเทียบกับโรงเรียนด�ำรงราษฎร์

เข้า-ออก โรงเรียน

นุเคราะห์ที่มีอยู่ 70 ตัว ถือว่า ค่อนข้างน้อย แต่โรงเรียนไม่มีงบ ประมาณในการจัดซือ ้ เพิม ่ เติม - ไม่มีสารวัตรนักเรียนมีแต่ครูทด ี่ ูแล นักเรียน

( 276 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

แม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม

1.4 งบประมาณในการสร้างสิ่งอ�ำนวย

- ไม่มีการเก็บเงินเพิม ่ จากผู้ปกครอง

้ ี นักเรียนทัง้ หมด 365 คน - ตอนนีม

ความสะดวกเพือ ่ การเรียนการสอน

ด้วยจ�ำนวนนักเรียนทีม ่ าก ท�ำให้งบ

ตามสัดส่ วนของนักเรียนถือว่าเป็น

้ ประมาณสู งขึน

โรงเรียนขนาดเล็ก โดยเงินทีไ่ ด้รับ

+ มีหลากหลายโครงการทีส ่ นับสนุน

การสนับสนุนจากภาครัฐรายหัว

งบประมาณให้แก่โรงเรียน

3,500 หรือ 3,800 บาท ฉะนั้น ถ้าโรงเรียมทีม ่ ีนักเรียนจ�ำนวนมาก จะได้รับงบประมาณสนับสนุนมาก จึงเป็นผลให้ทางโรงเรียนได้รับงบ ประมาณมาซือ ้ สิ่งอ�ำนวยสะดวก ทางด้านกายภาพน้อย และท�ำให้ ่ ส่วน เกิดขาดแคลนจ�ำนวนมาก ซึง ใหญ่ได้รับบริจาคจาก โรงเรียน ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์ - การใช้เงินในการพัฒนาค่อนข้าง จ�ำกัด โดยมีงบประมาณในส่ วนของ ดูแลอาคารสถานที่ สาธารณูปโภค เป็นจ�ำนวนมาก แต่การจัดซือ ้ อุปกรณ์ วิทยาศาสตร์น้อย และเก็บได้ไม่นาน

2. บุคลากรทางการศึกษา 2.1 ความเพียงพอของบุคลากร

- จ�ำนวนครูตามก�ำลังขาดแคลน ตาม + มีครูทง ั้ หมด 20 ท่าน จ�ำนวนครู

ทางการศึกษา

จ�ำนวน นักเรียนต่อครู 30 คน ต่อครู

ทีม ่ ีในปัจจุบันเพียงพอ และผ่าน

1 คน ทางโรงเรียนมีนักเรียน 45 คน

เกณฑ์มาตรฐาน

ต่อครู 1 คน ด้วยสาเหตุที่ 1 คือ จ�ำนวน

- ทีผ ่ ่านมามีจ�ำนวนครูมากกว่านี้

้ ทุกปี และสาเหตุที่ นักเรียนเพิม ่ ขึน

แต่มีจ�ำนวนลดลง เนื่องจากมีการ

คือ ครูทไี่ ม่ใช่คนในพืน ้ ทีก ่ ็ย้ายออก

ย้ายออกไปสอนทีอ ่ น ื่

้ ข ไปเมือ ่ ครบวาระ ปัจจุบน ั นีด ี น ึ้ เพราะ ครูผู้ช่วยได้ถูกก�ำหนดให้อยู่ในพืน ้ ที่ ้ จากเดิม 2 ปี จึง ทัง ้ หมด 4 ปี เพิม ่ ขึน จะสามารถย้ายออกไปอยู่ทอ ี่ น ื่ ได้ - ปัจจุบันนักเรียนอยู่ทป ี่ ระมาณ 3,000 คน โดยทีโ่ รงเรียนต้องการ ลดเหลือเพียงแค่ประมาณ 2,500 – 2,700 คน

( 277 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

แม่สายประสิ ทธิศ ์ าสตร์

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม

2.2 หลักสูตรอบรมการเรียนการสอน

+ มีคูปองคนละ 10,000 บาท

+ มีการส่ งครูไปอบรมและพัฒนา

หรือการพัฒนาตนเองให้กับครู

ส�ำหรับส่ งครูไปอบรมพัฒนาตนเอง

บุคลากรอย่างสม�่ำเสมอ ในกลุ่ม เครือข่ายความร่วมมือ ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, จังหวัด เชียงราย และมหาวิทยาลัยราชภัฎ เชียงราย

2.3 การมีครูทส ี่ อนตรงตามสาขาที่

+ ปัจจุบันไม่มีการสอนข้ามกลุ่มสาระ

- มีการน�ำครูเคมีไปสอนวิชาสั งคม

เชีย ่ วชาญ

แต่ในอดีตมีการสอนแนะแนวข้าม

่ ครูสามารถสอนได้ ซึง

กลุ่มสาระ 2.4 การมีครูช�ำนาญการพิเศษ

- ครูหนุ่ม สาว เยอะ จึงไม่ค่อยมีการ แข่งขันกันเพือ ่ ขอวิทยาฐานะ ท�ำให้ ้ อยู่กับความพึง การขอวิทยฐานะขึน พอใจของแต่ละคน - กฎหมายยังไม่ออกบังคับให้มีการ ประเมินครูวิทยฐานะ

2.5 การจ้างครูต่างชาติเข้ามาสอน

+/- มีการจ้างครูต่างชาติ แต่ยังไม่

- ไม่มงี บประมาณเพียงพอทีจ ่ ะไปจ้าง

เพียงพอ

+ แต่เดือนสิงหาคม จะมีนักศึกษา จากประเทศเยอรมัน มาเป็นครูอาสา ฝึกสอนทีโ่ รงเรียน

2.6 การประเมินครูจากหน่วยงาน

- มีการประเมินครูผู้ช่วยเท่านั้น

ภายนอก 3. หลักสู ตรและกระบวนการการเรียนการสอน 3.1 กิจกรรมเสริมส�ำหรับการพัฒนา

+/- คะแนน O-NET อยู่ในระดับที่

+/- คะแนน O-NET อยู่ในอันดับ

ผลการเรียน (เช่น การเตรียมความ

เหมาะสม เนื่องจากไม่ได้คัดเลือก

กลางไปยังท้าย โดยส�ำนักงานเขต

พร้อมส�ำหรับสอบ O-NET, A-NET,

นักเรียน

พืน ้ ทีก ่ ารศึกษามัธยมศึกษา (สพม.)

GAT, PAT หรือตามรายวิชา)

- เคยมีการสอนพิเศษ O-NET และ

เขต 36 มีจำ� นวนทัง้ หมด 59 โรงเรียน

GAT/PAT

ซึง่ ทางโรงเรียนอยูใ่ นอันดับ 40 กว่า

+ การสอน O-NET ปัจจุบันเป็นเป็น

+ มีโครงการสอนพิเศษ โดยก�ำชับ

หน้าทีข ่ องครู ส่ วน GAT-PAT เป็น

ครูสอนตัง ้ แต่เปิดเทอม เนื่องจาก

วิทยากรภายนอก

นักเรียนไม่ได้ถูกคัดสรรมา โดยเป็น โรงเรียนในโครงการพิการเรียนร่วม และมีนักเรียนทีอ ่ ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้แต่ขอให้มีการพัฒนาและ สามารถมีชวี ต ิ อยูใ่ นสังคมในการอย่าง มีความสุข คือ เป้าหมาย

( 278 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสั มภาษณ์

แม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม + เน้นวินัยควบคู่กับวิชาการ และ การมีจิตอาสา + โรงเรียนได้ชนะเลิศการช่วยเหลือ และดูแลเด็กอย่างดี + มีการสอนเสริมเด็กทีอ ่ ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ โดยมีกลุม ่ สาระภาษาไทย เข้าเป็นแกนน�ำ + มีการคัดกรอกงเด็กทีอ ่ ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ออกจากเด็กทัว่ ไป - เคยมีพเี่ ลีย ้ งส�ำหรับเด็กพิการ

3.2 หลักสูตรพิเศษ (เช่น English

- มีห้องเรียนพิเศษ ได้แก่ gifted

+ ไม่มีห้องเรียนพิเศษ

3.3 การมีอิสระในการพัฒนาและ

+/- มีอิสระในการปรับหลักสูตร ตาม

- ยึดหลักสูตรแกนกลางเป็นหลัก

ปรับปรุงหลักสู ตรการเรียนการสอน

ห้องพิเศษ แต่ยังขาดผู้เชีย ่ วชาญ จึง

+ มีการเสริมหลักสูตรท้องถิน ่ เข้า

ในอนาคต

มีการปรับปรุงตลอดเวลา

ไปให้เหมาะสมกับพืน ้ ที่ เช่น มีการ

- ยึดหลักสู ตรแกนกลางเป็นหลัก

วิทยากรท้องถิน ่ งของการเกษตร ่ เรือ

Program, Trilingual Program เป็นต้น)

ท�ำไร่ ท�ำสวน การฝีมือ หัตถกรรม 3.4 ความร่วมมือกับหน่วยงาน

+ โครงการส่ งเสริมระเบียบวินัย ด้าน

+ มีความร่วมมือมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า

ภายนอก อาทิ ภาคเอกชน ภาครัฐ

ความตรงต่อเวลา ร่วมกับทาง

หลวงในการวิจัย เช่น การท�ำโครง

สถาบันการศึกษาอืน ่ ๆ

มหาวิทยาลันเชียงใหม่

งานวิทยาศาสตร์

+ มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย

+ มีภาคเอกชน ให้การสนับสนุนด้าน

พะเยา และแม่ฟ้าหลวง

ทุนการศึกษา + ท�ำความร่วมมือกับ องค์การเทศบาล ต�ำบลโป่งงาม + ได้รับงบประมาณด้านอาหารจาก โรงพยาบาลสุขภาพ + ต�ำรวจได้เข้ามาช่วยตรวจสอบ

3.5 การส่งเสริมความเป็นเลิศด้าน

+ มีการส่งเสริมให้ไปแข่งขันทาง

ความเรียบร้อย และความปลอดภัย

วิชาการ

วิชาการ ตามทีม ่ ีการแจ้งหนังสือ

+ มีการส่ งเสริมให้ไปแข่งขันทาง

มายังต้นสั งกัด

วิชาการ

3.6 กิจกรรมแข่งขันทางวิชาการ

+ มีการเข้าร่วมแข่งขัน ตัง ้ แต่ระดับ

+ มีจัดกีฬาสี

กีฬา หรือศิลปะ

เขต ระดับภูมิภาค ไปจนถึงระดับชาติ

+ มีการแข่งขันวิชาการ

ทุกปี ทัง ้ ด้านศิลปะ ดนตรี และเพิง ่

+ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแล

กีฬา โดยมีตัวแทนนักกีฬา/ไตรกีฬา

( 279 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์ 3.7 การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

แม่สายประสิ ทธิศ ์ าสตร์ + มีสมาคมผู้ปกครอง

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม + ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแล นักเรียน + มีการระดมทรัพยากร และงบ ประมาณส�ำหรับค่าบ�ำรุงรักษา + มีการเปิดเผยผลการเรียนให้แก่ ผู้ปกครอง ทางเว็บไซต์ และมีติด ประกาศ และวันประชุมผู้ปกครอง

4. ความคิดเห็นต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา 4.1 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายในโรงเรียน

+ มีความแตกต่างจากโรงเรียนใน

+ ในโรงเรียนไม่มีความเหลือ ่ มล�ำ้

เมืองโดยทัว่ ไป ทัง ้ ในด้านของเชือ ้

เราจัดการเรียนการสอนให้เกิดความ

ชาติ และชนชาติ โดยตามกฎหมาย

เท่าเทียม ถ้าจะเกิดความเหลือมล�ำ้

ได้ให้โอกาสแก้ทุกชนชัน ้ ฉะนั้น

้ ก็เกิดจากขีดความสามารถ เกิดขึน

โรงเรียนไม่สามารถทีจ ่ ะเลือกปฏิบัติ

ในการพัฒนาตนเองของนักเรียน

ถ้าตามตรงกับคุณสมบัติ ก็สามารถ

+ ไม่มก ี ารดูแลเด็กกลุม ่ ใดเป็นพิเศษ

เข้ามาเรียนได้

่ ไป - เด็กส่วนใหญ่ไม่มีสัญชาติ ซึง

+ เปิดโอกาสให้กบ ั นักเรียนทุกชนชาติ เรียนสายอาชีพเกือบทัง ้ หมด เพราะ เป็นประตูสู่อาเซียน เป็นนโยบายลด

กลัวว่าเรียนหากเลือกทีจ ่ ะเรียนต่อ

ความเหลือ ่ มล�ำ้ โดยให้การศึกษาใน

มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลัวจะไม่มีใคร

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเท่ากัน แต่

รับเรียน หรือเข้าท�ำงาน เพราะไม่มี

สามารถแยกเป็นสายสามัญ หรือสาย สัญชาติ ้ มัธยมศึกษาตอนปลาย - เด็กทีม อาชีพได้ตอนขึน ่ าเรียนส่วนใหญ่เน้นเข้าสาย + ให้พน ื้ ฐานการเรียนเท่ากันหมด

อาชีพ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นเด็ก

ทุกคน และในช่วงม.ปลาย โดยให้

ชนเผ่ามาเรียน มีอยู่ 10 ชนเผ่า

้ โดย โอกาสทางเข้าการศึกษามากขึน

จ�ำนวนมากทีส ่ ุด คือ ไทใหญ่ และ

มีหลักสูตรวิทย์-คณิต ศิลป์-ภาษา และ อาข่า สายอาชีพโดยในวุฒิ ม.6 กับ ปวช. มี 3 สาขา ได้แก่ ก่อสร้าง ไฟฟ้าก�ำลัง และอุตสาหกรรมเกษตร เป็นโครงการ น�ำร่อง เป็นโครงการส�ำคัญทีจ ่ ะลด ่ งจากมีหลากหลาย ความเหลือ ่ มล�ำ้ เนือ โครงการเริม ่ ปี 2560 เป็นปีแรก ถือ เป็นโอกาสทางการศึกษา + ตามแผนแม่บท คือ การไม่เลือก ชนชาติ และชนชัน ้ ตลอดจนเป็น โรงเรียนทีเ่ ปิดประตูสู่อาเซียน หรือ Education hub

( 280 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

แม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์

4.2 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ระหว่างโรงเรียน

ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม - มีความเหลือ ่ มล�ำ้ กับโรงเรียนขนาด ใหญ่ ทีม ่ ีอุปกรณ์การเรียนพร้อม + ถึงแม้ว่าจะไม่มีอุปกรณ์การเรียน ทีท ่ ันสมัยหรือวิชาการทีเ่ ข้มข้น แต่ แก้ไขด้วยการส่งเสริมทักษะการใช้ ชีวิต และการด�ำรงอยู่ในสั งคมอย่าง มีความสุข และเน้นในด้านการเกษตร ทักษะกีฬา + โรงเรียนมีกลุ่มงานการอาชีพที่ เปิดสอน และสามารถไปใช้ต่อได้

หมายเหตุ: + คือ ปัจจัยเชิงบวก – คือ ปัจจัยเชิงบวก +/- คือ ปัจจัยกลาง

การอภิปรายผล

่ ีอิทธิพลต่อผลการเรียน 1.ปัจจัยทีม

้ ส่งผลต่อการลดลงของผลการเรียน ปัจจัยด้านตัวผูเ้ รียน อายุทเี่ พิม ่ ขึน

ขณะที่เพศหญิงมีผลการเรียนที่สูงกว่าเพศชาย ทั้งนี้ นักเรียนที่ทบทวน บทเรียนอยู่ระหว่าง 30 นาที – 1 ชัว่ โมง ต่อสั ปดาห์ มีผลการเรียนทีด ่ ีกว่า นักเรียนทีท ่ บทวนน้อยกว่า 30 นาที หรือครึง่ ชัว่ โมง อย่างไรก็ตาม เด็กทีม ่ า โรงเรียนสายกลับมีผลการเรียนสู งกว่าเด็กที่มาโรงเรียนก่อน หรือตรงต่อ เวลา นอกจากนี้ การเข้าร่วมแข่งขันต่างๆ และการเป็นตัวแทนโรงเรียน ท�ำให้ นักเรียนมีผลการเรียนทีด ่ ี

ปัจจัยด้านครอบครัว การทีเ่ ด็กได้รับเงินไปโรงเรียนในแต่ละวันมาก

ท�ำให้ผลการเรียนแย่ลง ขณะเดียวกัน การที่เด็กเดินทางมากับรถรับจ้าง หรือมีผป ู้ กครองมาส่ง จะท�ำให้มผ ี ลการเรียนทีด ่ ก ี ว่าเดินทางมากับโรงเรียน นอกจากนั้น การทีเ่ ด็กไปขอค�ำปรึกษากับเพือ ่ นจะได้ให้เด็กมีผลการเรียน ที่สูงกว่าขอค�ำปรึกษาจากผู้ปกครอง มากกว่านี้ เด็กจะมีผลการเรียนที่ดี หากได้รับรางวัล หรือการชมเชยจากผู้ปกครอง ( 281 )


OBELS OUTLOOK 2017

2.ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนแม่สายประสิ ทธิศ ์ าสตร์ และโรงเรียน ถ�้ำปลาวิทยาคม

สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางกายภาพ พบว่าโรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคม

ไม่ได้ขาดแคลนด้ า นทรั พยากรที่ส� ำคั ญต่อการเรีย นรู้ข องนั ก เรีย น อาทิ คอมพิวเตอร์ แต่ได้รับช่วงต่อมาจากโรงเรียนขนาดใหญ่อีกที ท�ำให้เครือ ่ ง ทีไ่ ด้รบ ั มาเกิดการล้าสมัย ขณะทีโ่ รงเรียนแม่สายประสิทธิศ ี ิ่งอ�ำนวย ์ าสตร์มส ความสะดวกจ�ำนวนมาก แต่ไม่เพียงพอ เพราะมีนักเรียนเป็นจ�ำนวนมาก รวมไปถึงความไม่เพียงพอของงบประมาณในปัจจุบน ั ส่วนโรงเรียนถ�ำ้ ปลา วิทยาคมมีงบประมาณในการก่อสร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ตลอดจนซือ ้ อุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น อุ ปกรณ์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่ค่อนข้างจ�ำ กัด เพราะมี จ�ำนวนนักเรียนน้อย ท�ำให้ได้รบ ั งบประมาณตามรายหัวจากส่วนกลางน้อย ตามลงไป

บุคลากรทางการศึกษา แม้โรงเรียนถ�้ำปลามีนักเรียนจ�ำนวนน้ อย

แต่ก็มีจ�ำนวนครูทเี่ พียงพอ ตามเกณฑ์มาตรฐานทีส ่ ่วนกลางก�ำหนด ทัง ้ นี้ โรงเรียนแม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ จึงมีจำ� นวนนักเรียน ้ ในทุกปี ท�ำให้เกิดการขาดแคลนครู โดยมี มาก และมีแนวโน้มทีจ ่ ะเพิม ่ ขึน การลดลงของจ�ำนวนครูของทัง ้ สองโรงเรียน จากสาเหตุของครูทเี่ ข้าสอน ในพืน ้ ทีใ่ นระยะเวลาอันสั้น และย้ายออกไปสอนในพืน ้ ทีอ ่ น ื่ อย่างไรก็ตาม ทางส่วนกลางได้มก ี ารปรับเปลีย ่ นข้อก�ำหนดให้ขยายเวลาจาก 2 ปี เป็น 4 ปี ส� ำหรับการขอเลื่อนวิทยฐานะ ทางโรงเรียนแม่ประสิ ทธิ์ มีการส่ งผลงาน ของครูจ�ำนวนน้อย เนื่องด้วยมีครูหนุ่มสาวจ�ำนวนมาก ท�ำให้ไม่เกิดการ แข่งขัน นอกจากนี้ ทัง ้ สองโรงเรียนไม่มีงบประมาณเพียงพอในการจ้างครู ต่างชาติเข้ามาสอน แต่โรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมมีครูฝึกสอนทีอ ่ าสาเข้ามา ้ แทน ส่วนการประเมินครู โรงเรียนแม่สายประสิทธิม ี �ำหรับครูผช ู้ ว่ ยเท่านัน ์ ส

หลักสูตรกระบวนการการเรียนการสอน ทัง้ สองโรงเรียนมีการจัดสอน

พิเศษส�ำหรับการสอบ O-NET และ GAT PAT โดยมีคา่ คะแนนทีเ่ หมาะสม ( 282 )


OBELS OUTLOOK 2017

หรืออยู่ในระดับกลาง โดยทางโรงเรียนแม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์มีห้องเรียน พิเศษ แต่โรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมไม่มี ในด้านความอิสระในการบริหารหรือ

ปรับปรุงหลักสูตร โรงเรียนแม่สายประสิทธิม ี ลักสูตรเพิม ์ ห ่ เติมจากหลักสูตร แกนกลาง คือ ห้องเรียนพิเศษ ขณะทีโ่ รงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมมีการเสริม

หลักสู ตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งท�ำการเชิญวิทยากรท้องถิ่นมาให้ความรู้ ในด้านเกษตรกรรม และการงานต่างๆส�ำหรับการใช้ชวี ต ิ ในด้านการส่งเสริม

ความเป็นเลิศทางวิชาการ ทัง ้ สองโรงเรียนได้ท�ำการส่ งนักเรียนไปแข่งขัน

ในระดับต่างๆ โดยเฉพาะโรงเรียนแม่สายประสิ ทธิศ ี่ ีการสนับสนุน ์ าสตร์ทม ด้านกีฬาค่อนข้างมาก ในด้านของการมีส่วนร่วมของผูป ้ กครอง ทางโรงเรียน ถ�ำ้ ปลาวิทยาคม ได้ให้ผป ู้ กครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล ช่วยในการระดม

งบประมาณเพิ่มเติมส� ำหรับการบ�ำรุงรักษา และได้เปิดเผยผลการเรียนให้

ผู้ปกครองติดตามทางอินเตอร์เน็ต ขณะทีโ่ รงเรียนแม่สายประสิทธิศ ์ าสตร์ มีชมรมผู้ปกครอง

ความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา ส� ำหรับความเหลื่อมล�้ำภายใน ทาง

แม่สายประสิ ทธิ์มีนโยบายที่ถูกจัดท�ำเป็นแผนแม่บทอย่างชัดเจนไม่ให้มี

การเลือกปฏิบต ั ิ ต้องรับนักเรียนเข้ามาทุกชนชาติ และทุกชนชัน ้ เปิดโอกาส

ให้กับทุกคนที่ต้องการเข้ามาศึ กษา ตลอดจนให้การเรียนการสอนอย่าง เท่าเทียม ส่วนโรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคม มีนักเรียนไร้สัญชาติเป็นจ�ำนวนมาก

โดยที่เด็กกลุ่มนี้จะเลือกไปทางสายอาชีพมากกว่าสายสามัญ เพราะไม่ สามารถเรียนต่อมหาวิทยาลัย หรือเข้าท�ำงาน เมือ ่ ไม่ถก ู รับรองว่าเป็นชาวไทย

่ ในโรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมมีเด็กชนกลุ่มน้อยกว่า 10 เผ่า ส�ำหรับความ ซึง เหลื่อมล�้ำระหว่างโรงเรียน แม่สายประสิ ทธิ์ศาสตร์ไม่พบความเหลื่อมล�้ำ ของผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษา เนื่องด้วยเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ที่สุดใน

อ�ำเภอ หากแต่โรงเรียนถ�ำ้ ปลาวิทยาคมมองว่ามีความเหลือ ่ มล�ำ้ กับโรงเรียน ขนาดใหญ่ในด้านของอุปกรณ์การเรียนการสอนที่มีความพร้อม แต่ทาง โรงเรียนก็พยายามที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการเสริมสร้างทักษะในการใช้ชีวิต อืน ่ ๆแทน

( 283 )


OBELS OUTLOOK 2017

สรุปและข้อเสนอแนะ

ผลการเรียนในช่วงของการเรียนมัธยมศึกษา อาจจะเป็นส่ วนหนึ่งที่

ท� ำ ให้ เ ด็ ก ประสบความส� ำ เร็ จ ในอนาคต หากแต่ ใ นบางบริ บ ท เด็ ก ก็ ไ ม่ สามารถทีจ ่ ะก้าวข้ามความเป็นจริงถึงการขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การเรียนรู้อย่างเท่าเทียม โดยเฉพาะเด็กที่อยู่บริเวณชายขอบชายแดน ่ ส่วนใหญ่ไม่ได้รบ อย่างอ�ำเภอแม่สาย ซึง ั การรับรองสัญชาติไทย ท�ำให้เสีย โอกาสที่จะไปสู่ สายสามัญ ซึ่งนั้นก็เป็นปัญหาส� ำหรับประเทศที่ต้องขาด บุคลากรทีม ่ ีความสามารถในการพัฒนาประเทศชาติให้เติบโตไปข้างหน้า

นอกจากนั้ น การเรี ย นรู้ อ าจไม่ ใ ช่ เ พี ย งการมี ผ ลการเรี ย นที่ดี แต่

โรงเรียนควรที่จะให้ความส� ำคัญกับการออกไปใช้ชีวิตภายนอกของเด็ก ตลอดจนการใช้ชีวิตให้มีความสุ ข ท่ามกลางสภาพแวดล้อมภายนอกที่มี ความหลากหลาย และแตกต่างไปจากขอบเขตของโรงเรียน รวมทัง ้ ควรมี ระบบการประเมินครูทย ี่ ืดหยุ่นมากกว่าการยึดกับผลการเรียนของเด็ก เช่น การจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ เป็นต้น ส� ำหรับหน่วยงาน การศึกษาส่ วนกลางควรสนั บสนุ นงบประมาณให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก มากขึ้น เพื่อท�ำให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรทางการศึ กษาได้ อย่างเท่าเทียมกัน เพือ ่ ช่วยลดช่องว่างทางการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาด ใหญ่และโรงเรียนขนาดเล็ก ส่ วนผู้ปกครองควรที่จะให้ความใส่ ใจกับลูก โดยมีการให้รางวัลหรือการชมเชย หากลูกได้ผลการเรียนทีด ่ ี หรือได้รบ ั เลือก ให้เป็นตัวแทนโรงเรียน หรือเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ กีฬา และอืน ่ ๆ

( 284 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง Dilaka Lathapipat and Lars M. Sondergaard. (2015). Thailand

- Wanted: a quality education for all. Washington, D.C.:

World Bank Group.

Hanushek, E. A. (1979). Conceptual and empirical issues

in the estimation of educational production function.

Journal of human resources, Volume 14 Issue 3, 351–388.

Hanushek, E. A. (2002). Publicly provided education. In A. J.

Auerbach & M. Feldstein (Eds.). Handbook of public

economics,

Volume 4, 2045–2141. Amsterdam: Elsevier.

Jirada Prasartpornsirichoke and Yoshi Takahashi (2013)

Assessing Inequalities in Thai Education. Journal of east

Asian studies, Volume 18, 1-26. Thai Journals Online

(ThaiJO).

Kiatanantha Lounkaew. (2013). Explaining urban–rural

differences in educational achievement in Thailand:

Evidence from PISA literacy data. Economic of Education

Review 37, 213-225.

แบ๊งค์ งานอรุณโชติ และถิรภาพ ฟักทอง. (2555). สูง ต�ำ่ ไม่เท่ากัน: ท�ำไม

ระบบการศึกษาจึงสร้างความเหลือ ่ มล�ำ้ . หนังสื อชุดถมช่องว่างทาง

สังคมล�ำดับ 3. เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม ส�ำนักงานคณะ

กรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ. นนทบุรี: ส�ำนักพิมพ์ศยาม.

ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์. (2555). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทาง

การศึกษาต่อสัมฤทธิผลของนักเรียนไทย. เอกสารประกอบการ ( 285 )


OBELS OUTLOOK 2017

สัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2554. สถาบันวิจย ั เพือ ่ การพัฒนา

ประเทศไทย.

นณริฎ พิศลยบุตร. (2559). ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของไทย:

ข้อสรุปจากผลการสอบปิซ่า (PISA). สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ

๊ ภากรณ์. ป๋วย อึง

สมเกียรติ ตัง ้ กิจวานิชย์. (2560). ปฏิรูปการศึกษาไทยแล้วไปไหน.

สถาบันวิจัยเพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย. ค้นหาจาก

http://tdri. or.th/tdri-insight/2017-01-12.

อัมมาร สยามวาลา, ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั น์ และสมเกียรติ ตัง้ กิจวานิย.์ (2555).

การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่: สู่การศึกษาทีม ่ ีคุณภาพอย่างทัว่ ถึง.

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2554 ของสถาบันวิจัย

เพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย.

( 286 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ มล�้ำทางการศึกษาของ ความเหลือ ้ ทีช ่ ายแดน โรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สิ ทธิชาติ สมตา และพรพินันท์ ยีร่ งค์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึ กษาหาความเหลื่อมล�้ำทางการ

ศึกษาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เนื่อง ด้วยปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ เป็นปัญหาทีม ่ ีความเรือ ้ รัง และเป็นบ่อเกิดแห่ง ้ จึงตระหนักได้วา่ ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางสังคม และเศรษฐกิจในปัจจุบน ั ฉะนัน ควรต้องมีการหาแนวทางในการแก้ไขอย่างเร่งด่วน พบว่าปัจจัยตัวผู้เรียน ที่มีผลต่อผลการเรียน คือ เพศ การร่วมแข่งขันวิชาการหรือกีฬา และการ เป็นตัวแทนของโรงเรียน ขณะที่ในด้านของปัจจัยครอบครัว ได้แก่ วุฒิ การศึ กษา อาชีพ และการท�ำงานของผู้ปกครอง ทั้งนี้ จากการสั มภาษณ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพบว่า ความเพียงพอสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่อการ เรียนการสอน และระบบความปลอดภัย ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่แต่ละ โรงเรียนได้ หากโรงเรียนมีขนาดเล็กก็จะได้รบ ั งบประมาณน้อยตามจ�ำนวน ่ ท�ำให้เกิดการขาดแคลนทรัพยากรทีม ของนักเรียน ซึง ่ ค ี วามส�ำคัญ แต่กลับ ไม่ได้ท�ำให้ผลการเรียนน้อยกว่า โดยที่ส่วนใหญ่ครูมีจ�ำนวนเพียงพอต่อ ความต้องการ หากแต่มีการขาดแคลนในบางเอกวิชา มีการอบรมการเรียน การสอน และการส่งผลงานเพือ ่ เลือ ่ นวิทยฐานะ ขณะเดียวกัน ระบบการ ประเมินครูก็แตกต่างกันไปในแต่ละโรงเรียน ส� ำหรับหลักสู ตรการเรียน การสอนโรงเรียนต้องยึดหลักสู ตรแกนกลางเป็นหลัก และมีหลักสู ตรที่ เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อรองรับสายอาชีพอย่าง หลักสู ตรทวิศึกษา สอดคล้อง กับบริบทของพืน ้ ที่ ( 287 )


OBELS OUTLOOK 2017

นอกจากนั้น ผู้ปกครองได้มีส่วนเข้ามาในเรื่องของการช่วยดูแล

สอดส่อง สนับสนุนงบประมาณเพิม ่ เติม และติดตามผลการเรียนอย่างต่อ เนื่อง ในส่วนของความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายในโรงเรียน ด้วยความทีพ ่ น ื้ ทีอ ่ �ำเภอ เชียงแสนเป็นพื้นที่ที่เชื่อมต่อกับชายแดนของประเทศเพื่อนบ้าน ท�ำให้มี ชนกลุม ่ น้อย และชาวลาวข้ามมาท�ำงาน และพาลูกมาเข้าโรงเรียน ซึง่ ส่วนใหญ่ ไม่มีสัญชาติ หรือไม่มีบัตรประชาชน และขาดความแข็งแรงทางด้านภาษา เป็นอุปสรรคอย่างมากต่อการเรียน ส�ำหรับความเหลือ ่ มล�ำ้ ระหว่างโรงเรียน เกิดขึ้นจากความแตกต่างของงบประมาณระหว่างโรงเรียนขนาดเล็ก และ ขนาดใหญ่ ตลอดจนโรงเรียนรัฐบาล และโรงเรียนเอกชน ท�ำให้นักเรียน ในแต่ละโรงเรียนได้รับโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรไม่เท่าเทียมกัน

บทน�ำ

ประเทศไทยด�ำเนิ นการปฏิรูปการศึ กษาครั้งแรกในปีพ.ศ. 2542

ถือว่ามีความส�ำคัญต่อการศึกษาไทยอย่างมาก ด้วยความพยายามและการ จัดสรรทรัพยากรในการปฏิรูปการศึกษาครัง ้ นี้ จึงได้จัดท�ำพระราชบัญญัติ การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ขึ้น มาเพื่อ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาของ ประเทศไทยด้วยงบประมาณทีค ่ ิดเป็นสองเท่าภายใน 10 ปี ทัง ้ นี้ ถึงแม้ว่า ้ จะช่วยให้ประชากรวัยเรียนสามารถ การเพิม ่ งบประมาณการศึกษาทีเ่ พิม ่ ขึน เข้าถึงการศึกษามากขึ้นในเชิงปริมาณ แต่ผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษากลับ มีแนวโน้มลดลง เช่น O-NET, PISA, และ TIMSS (อัมมาร ดิลกะ และ สมเกียรติ, 2554) อย่างไรก็ตาม ในปีพ.ศ. 2552 หลังการปฏิรูปการศึกษา 10 ปีผ่านมา ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (NESQA) ได้ด�ำเนินตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทัว่ ประเทศ ไทย พบว่าโรงเรียนจ�ำนวน 3,243 จาก 15,515 โรงเรียน ไม่ผา่ นข้อก�ำหนด ้ งั พบว่าส่วนใหญ่โรงเรียนทีม การประเมินคุณภาพขัน ้ ต�ำ่ นอกจากนีย ่ ค ี ณ ุ ภาพ ต�ำ่ อยูใ่ นพืน ้ ทีช ่ นบท (Lounkaew, 2013) จะเห็นได้วา่ การปฏิรป ู การศึกษา ( 288 )


OBELS OUTLOOK 2017

ของไทยในช่วงที่ผ่านมานั้นไม่สามารถลงถึงห้องเรียน และนักเรียนเท่า ที่ควรเนื่องจากส่ วนใหญ่จะเริ่มด้วยการปฏิรูปโครงสร้างกระทรวงมากกว่า การเริม ่ อ ้ งเรียน (สมเกียรติ, 2560) ท�ำให้การปฏิรป ู การศึกษาไม่ประสบ ่ ทีห ความส�ำเร็จส่งผลให้เกิดความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา

ปัญหาความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาเป็นปัญหาเรือ ้ รังทีย ่ งั ไม่สามารถ

แก้ไขได้ตลอดช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากสาเหตุของปัญหาความเหลื่อมล�้ำ ทางการศึกษานั้นมีมากมายจนมองไม่เห็นหนทางและจับต้องไม่ถูกว่าควร ริเริม ู กันอย่างไร ท่ามกลางช่วงเวลาทีผ ่ า่ นมาหลังการปฏิรป ู ่ แก้ไขหรือปฏิรป การศึกษาครั้งแรกจนถึงปัจจุบันใกล้ครบสองทศวรรษ ประเทศไทยยังไม่ สามารถท�ำให้คุณภาพการศึกษาของประเทศดีขน ึ้ และเท่าเทียมกันได้อย่าง เป็นรูปธรรม เนื่องจากคุณภาพทางการศึกษามีส่วนส�ำคัญต่อการสร้างเสริม ทุนมนุษย์ (Capital Human) ไม่วา่ จะเป็นเรือ ่ งทักษะ ความรู้ ความสามารถ ่ มีผลต่ออัตราการตอบแทนแต่ละบุคคล และเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ ซึง การเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ ทัง ้ นี้ ความไม่เท่าเทียมกัน ่ ไม่เพียง ในการศึกษาคือความไม่เท่าเทียมกันในการผลิตของทุนมนุษย์ ซึง แต่มาตรการกระจายการศึกษาไม่เท่ากันที่เกิดขึ้นจริงในสั งคม แต่ยังรวม ไปถึงประสิทธิภาพของนโยบายการศึกษา (Jirada and Yoshi, 2013)

คุณภาพทางการศึกษานอกจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้

้ คุณภาพของครูกม พืน ้ ฐานทีม ่ ค ี วามส�ำคัญต่อนักเรียนแล้วนัน ็ ค ี วามส�ำคัญ ด้วยเช่นกันในการถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาตนเองของครู และการพัฒนา นักเรียนได้มากน้อยเพียงใด สิ่งทีค ่ วรท�ำความเข้าใจคือ จ�ำนวนครูในแต่ละ โรงเรียนมีจ�ำนวนไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับจ�ำนวนนั กเรียนของโรงเรียนนั้นๆ ้ ตามจ�ำนวนนักเรียน ั เรียนจ�ำนวนมาก ก็จะท�ำให้มค หากโรงเรียนมีนก ี รูมากขึน จะท�ำให้โรงเรียนดังกล่าว มีครูเพียงพอต่อการเรียนการสอนของแต่ละระดับ ่ จะพบเห็นในโรงเรียนในเขตเมืองเป็นหลัก ตรงกัน ชัน ้ ของมัธยมศึกษา ซึง ข้ามกับโรงเรียนพื้นที่ชนบทที่มีจ�ำนวนักเรียนน้อย ท�ำให้จ�ำนวนครูลดลง ( 289 )


OBELS OUTLOOK 2017

ท�ำให้ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีไม่เพียงพอต่อการสอนจากจ�ำนวน ้ เช่น โดยปกติตอ ครูทล ี่ ดลงท�ำให้ครูตอ ้ งรับภาระการสอนเพิม ้ งรับผิดชอบ ่ ขึน สอนวิชาคณิ ตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพียงอย่างเดียวแต่ด้วย จ�ำนวนครูที่ต้องลดลงตามจ�ำนวนนักเรียนจึงจ�ำเป็นที่ต้องสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายด้วยภาระที่เพิ่มขึ้น ท�ำให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานของครูลดลงตามไปด้วยส่งผลต่อคุณภาพ ้ กับโรงเรียนในพืน ทางการศึกษาของนักเรียนและเหตุการณ์เหล่านีเ้ กิดขึน ้ ที่ ชนบท จึงน�ำไปสู่ความแตกต่างกันทางผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษาและปัญหา ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาระหว่างโรงเรียนในเขตเมืองและโรงเรียนพืน ้ ที่ ชนบท

ทัง ้ นี้จากการพิจารณาผลคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6

กับสัดส่วนครูตอ ่ นักเรียนประจ�ำปี 2558 แต่ละโรงเรียนของจังหวัดเชียงราย พบว่ามีความสั มพันธ์เชิงบวกระหว่างคะแนน O-NET กับสั ดส่ วนครูต่อ นักเรียน หากจ�ำนวนสั ดส่ วนครูต่อนักเรียนเพิ่มสู งขึ้นจะส่ งผลให้คะแนน ้ ตาม รวมทัง O-NET เพิม ้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมากกับโรงเรียน ่ ขึน สามัคคีวท ิ ยาคม และโรงเรียนด�ำรงราษฎร์สงเคราะห์ เมือ ่ เทียบกับโรงเรียน อืน ่ ๆ ในจังหวัดเชียงราย ยกเว้นโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยทีม ่ ห ี ลักสูตร การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนเอง ท�ำให้ผล คะแนน O-NET สูง ถึงแม้สัดส่วนครูตอ ่ นักเรียนจะค่อนข้างน้อยเมือ ่ เทียบ กับโรงเรียนอืน ่ ๆ (ดังรูปที่ 1)

( 290 )


OBELS OUTLOOK 2017 รูปที่ 1 สั ดส่ วนคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับสั ดส่วนครูต่อนักเรียนประจ�ำปี 2558 60 จุฬาภรณ์

คะแนน O-NET

50

สามัคคี ด�ำรงราษฎร์

40 30 20 10 0

0

5

10

15

20

25

30

สั ดส่ วนครูต่อนักเรียน ทีม ่ า : สํานักงานเขตพืน ้ ทีก ่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

นอกจากความแตกต่างในผลลัพธ์ของการศึกษา ซึง่ เป็นผลเกีย ่ วเนื่อง

มาจากปัจจัยต่างๆทีม ่ ากกว่าแค่คณ ุ ภาพของการเรียนการสอน แต่ครอบคลุม ั จัยเฉพาะของนักเรียน ไปถึงปัจจัยต่างๆทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข้องทัง้ หมด ตัง้ แต่ปจ แต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ไปจนถึงปัจจัยทีเ่ กีย ่ วข้องกับสถานศึกษา (นณริฎ, 2559) ทั้งนี้การศึกษาของประเทศไทยในระยะหลังเริ่มเล็งเห็น ้ อย่างมากในการเข้าถึงอุดมศึกษา โดย มูลเหตุของความเหลือ ่ มล�ำ้ ทีเ่ พิม ่ ขึน ้ จากการขาดแคลนปัจจัยระยะสั้น เฉพาะในระดับปริญญาตรี ว่าไม่ได้เกิดขึน เพียงอย่างเดียว แต่ต้นเหตุส�ำคัญเกิดจากความเหลือ ่ มทางปัจจัยระยาวที่ รวมถึงภูมิหลังทางครอบครัว และคุณภาพการศึกษาที่ได้รับตั้งแต่วัยเด็ก (ดิลกะ, 2555) จากการส� ำรวจทางเศรษฐกิจและสั งคมของครัวเรือนของ ประเทศไทยเกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายการศึกษาของ ไทยในปี 2011 จ�ำนวนปีในการเข้าเรียนของระดับประเทศอยูใ่ นระดับกลางๆ ประมาณ 7.63 ปี และค่าสัมประสิทธิจ ์ ีนีของประเทศไทยเป็น 0.349 โดย ( 291 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ ในการ จังหวัดทีต ่ ง ั้ อยูใ่ กล้เขตกรุงเทพมหานครมีความเท่าเทียมกันมากขึน ศึกษายกเว้นสมุทรสาคร ขณะทีจ ่ งั หวัดในภาคเหนือของประเทศไทยมีความ ไม่เท่าเทียมกันอย่างรุนแรงในการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิง่ จังหวัดชายแดน (Jirada and Yoshi, 2013)

บทความความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาในทีน ่ ี้หมายถึงความแตกต่าง

ในผลสัมฤทธิข ้ ฐานทีแ ่ ตกต่างกัน ์ องการศึกษา โดยพิจารณาถึงปัจจัยพืน ไม่วา่ จะเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ่ ปัจจัยเหล่านี้ต่างมีส่วนท�ำให้นักเรียนแต่ละ และปัจจัยทางด้านโรงเรียน ซึง คนได้รับความรู้ ความเข้าใจทีไ่ ม่เท่ากัน จึงสะท้อนออกมาเป็นผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาที่แตกต่างตามไปด้วย เพื่อศึกษาช่องว่างความเหลื่อมล�้ำ ของผลผลสั มฤทธิ์ดังกล่าวและเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ท�ำให้ผลผลสั มฤทธิ์ ของเด็กนักเรียนในวัยเดียวกันมีความแตกต่างกัน งานวิจัยได้เลือกใช้ผล การเรียนเฉลีย ่ (GPA) ในการศึกษาเรือ ่ งความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของ พืน ้ ทีอ ่ �ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ั จัยด้านผูเ้ รียน และครอบครัวทีม 1. เพือ ่ วิเคราะห์ปจ ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิ์

ทางการศึกษาของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาในอ�ำเภอเชียงแสน

2. เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของ

โรงเรียนทีม ่ ีต่อผลสัมฤทธิท ์ างการศึกษา

3. เพือ ่ ให้ขอ ้ เสนอแนะทางนโยบายต่อการลดช่องว่างของผลสัมฤทธิ์

ทางการศึกษา

( 292 )


OBELS OUTLOOK 2017

กรอบแนวคิดในการวิจัย

รูปที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจย ั ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาใน พืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ่ ม การวิเคราะปัจจัยทีท ี่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลีย ่ สะสม (GPA) ตัวแปรอิสระ ได้แก่

การวิเคราะห์ถดถอยพหุ

(Multiple Regression) และ

1. ปัจจัยตัวผู้เรียน เช่น เพศ อายุ 2. ปัจจัยทางครอบครัว เช่น การศึกษาของพ่อแม่

การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ (Cross-tabulation)

ั จัยด้านสภาพแวดล้อมของโรงเรียน การวิเคราะห์ปจ จากการสัมภาษณ์ผอ ู้ ำ� นวยการสถานศึกษา

้ หา การวิเคราะห์เนือ (Content Analysis)

วิธีด�ำเนินการวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1.1 ประชากร คือ นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาตัง ้ แต่ปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

มัธยมศึ กษาของพื้นที่ชายแดน อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ปีการ ศึ กษาที่ 2560 ได้แก่ โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคมทั้งหมด 880 คน และ โรงเรียนบ้านแซววิทยาคม 292 คน

1.2 กลุ่ ม ตั วอย่ า ง ได้ แ ก่ นั กเรี ย นชั้นมัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 – 6 จาก

โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคมจ�ำนวน 161 คน และโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม จ�ำนวน 137 คน รวมทั้ง สิ้ น 298 คน โดยวิธีก ารสุ่ มกลุ่มตัวอย่างแบบ ก�ำหนด (Quota Sampling) ่ ึกษา 2. ตัวแปรทีศ

2.1 ตัวแปรต้น แบ่งออกเป็น 3 ปัจจัย ดังนี้

2.1.1 ปัจจัยด้านผู้เรียน ได้แก่ อายุ เพศ จ�ำนวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ใน

การทบทวนบทเรียน จ�ำนวนชัว่ โมงทีใ่ ช้ในการท�ำการบ้าน จ�ำนวนชัว่ โมงที่ ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด/อินเตอร์เน็ต ประสบการณ์เรียนซ�ำ้ ชัน ้ ประสบการณ์การเรียนชัน ้ อนุบาล ทัศนคติตอ ่ โรงเรียน ทัศนคติตอ ่ ห้องเรียน ( 293 )


OBELS OUTLOOK 2017

การมาโรงเรียนสาย และกิจกรรมหลังเลิกเรียน การแข่งขันวิชาการ/กีฬา และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน

2.1.2 ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ วุฒิการศึกษาของผู้ปกครอง

การท�ำงานของผูป ้ กครอง อาชีพของผูป ้ กครอง จ�ำนวนพีน ่ ้อง ล�ำดับการเกิด การอยู่อาศัยกับครอบครัว ขนาดของครอบครัว สถานะของครอบครัว ระยะ ทางจากทีอ ่ ยู่อาศัยถึงโรงเรียน ลักษณะการเดินทางการโรงเรียน เบีย ้ เลีย ้ ง ทรัพยากรภายในบ้าน การรับค�ำปรึกษา การได้รับรางวัล/ค�ำชมเชยจาก ผู้ปกครอง และการท�ำงานเสริม

2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลีย ่ สะสม (Grade Point Average:

GPA) ปีการศึกษา 2560 3. ประเด็นการสั มภาษณ์เชิงลึก

3.1 สิ่งอ�ำนวยสะดวกทางด้านกายภาพทีส ่ ่งเสริมการเรียนการสอน

เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ ระบบรักษา ความปลอดภัย อาทิ สารวัตรนักเรียน กล้องวงจรปิด รปภ. และงบประมาณ ในการก่อสร้าง

3.2 บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ความเพียงพอของครู หลักสูตร

อบรมการเรียนการสอน การมีครูตรงตามสาขาทีเ่ ชีย ่ วชาญ การมีครูชำ� นาญการ พิเศษ การจ้างครูต่างชาติ การประเมินจากครูภายนอก

3.3 หลักสูตรและกระบวนการการเรียนการสอน ได้แก่ กิจกรรมเสริม

ส�ำหรับการพัฒนาผลการเรียน การมีอส ิ ระในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ กิจกรรมแข่งขัน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

3.4 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ภายในโรงเรียน และระหว่างโรงเรียน

เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล

เครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจย ั ในครัง้ นีเ้ ป็นแบบสอบถาม (Questionnaire)

่ แบ่งออกเป็น 2 ส่ วน ได้แก่ ลักษณะส่วนบุคคลของตัวนักเรียน จ�ำนวน ซึง ( 294 )


OBELS OUTLOOK 2017

19 ข้อ และข้อมูลพืน ้ ฐานทางครอบครัว จ�ำนวน 14 ข้อ และการสั มภาษณ์ เชิงลึก (In-depth Interview) เกีย ่ วกับข้อมูลของโรงเรียน

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยขอหนังสือจากส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ถึงผู้บริหารโรงเรียนทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่าง เพือ ่ ขอความร่วมมือในการจัดเก็บ ข้อมูลและแจกแบบสอบถามให้ กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 298 ชุด พร้อมทัง ้ ขอความอนุเคราะห์ในการสัมภาษณ์ผู้บริการสถานศึกษาในแต่ละแห่ง

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด�ำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส� ำเร็จรูปทางสถิติ

และการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเชิงปริมาณ โดยเลือกข้อมูลทีส ่ อดคล้องกับจุดประสงค์ และสมมติฐานของงานวิจัย ดังนี้

ั จัยด้านผู้เรียน และด้านครอบครัวที่มีผล ต่อผล 1. การวิเคราะห์ปจ

สัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน เชียงรายด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis)

ั จัยด้านผู้เรียน และด้านครอบครัวที่มีผล ต่อผล 2. การวิเคราะห์ปจ

สัมฤทธิท ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด ์ างการศึกษาของนักเรียนชัน เชียงราย ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคณ ู (Multiple Regression Analysis)

3. การวิเคราะห์การแจกแจงตารางแบบไขว้ (Cross-tabulation)

ระหว่างผลการเรียนกับข้อมูลลักษณะส่วนตัวของนักเรียน และพืน ้ ฐานทาง ครอบครัวของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ั จัยด้านโรงเรียนของนักเรียนชัน 4. การวิเคราะห์ปจ ้ มัธยมศึกษา อ�ำเภอ

เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

( 295 )


OBELS OUTLOOK 2017

ผลการวิจัย

1. จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามในโรงเรียนระดับมัธยม

ศึกษาในพืน ้ ทีช ่ ายแดนอ�ำเภอเชียงแสน พบว่ากลุม ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มเี กรด เฉลีย ่ รวมอยู่ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นร้อยละ 36.5 รองมาได้แก่ เกรด 3.00 – 3.49 และ 0.00 – 2.49 ร้อยละ 25.9 และ 19.1 ตามล�ำดับ โดย เป็นเพศหญิงร้อยละ 59.3 มากกว่าเพศชายทีม ่ ีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 40.7

ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการทบทวนบทเรียนอยู่ทป ี่ ระมาณ 30 นาที -

1 ชัว่ โมงต่อสั ปดาห์ ร้อยละ 41.7 ท�ำการบ้านประมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมง ต่อวัน ร้อยละ 30.2 และเข้าห้องสมุดประมาณ 30 นาที - 1 ชัว่ โมงต่อ สัปดาห์ ร้อยละ 36.1 ทัง ้ นี้กลุ่มตัวอย่างไม่ได้มีการเรียนพิเศษเสริม ร้อยละ 89.6 ไม่มีประสบการณ์ในการซ�ำ้ ชัน ้ ร้อยละ 95.9 และเคยเรียนชัน ้ อนุบาล มากกว่า 1 ปี ร้อยละ 93.0 รวมถึงส่วนใหญ่ร้อยละ 72.4 ไม่เคยมาโรงเรียน สาย

นอกจากนี้ นักเรียนส่ วนใหญ่มีส่วนร่วมในการแข่งขันทางวิชาการ

และเป็นตัวแทนโรงเรียนไปแข่งขันภายนอก ทัง ้ นี้ ทัศนคติของนักเรียนที่ มีต่อโรงเรียนในแต่ละด้านเฉลี่ยรวมอยู่ที่ประมาณ 3.55 หรืออยู่ในระดับดี ขณะเดียวกันทัศนคติของเด็กที่มีต่อห้องเรียนมีคะแนนไม่ต่างกันมาก เฉลีย ่ รวมอยู่ทป ี่ ระมาณ 3.68 หรืออยู่ในระดับดีเช่นเดียวกัน

ด้านปัจจัยพืน ้ ฐานทางครอบครัว พบว่าผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง

ที่ตอบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาในระดับต�่ำกว่ามัธยมศึกษา ร้อยละ 53.9 ท�ำงานประเภทรับจ้าง ร้อยละ 63.2 และประกอบอาชีพเกษตร ่ เป็นพีค ร้อยละ 50.9 มีพน ี่ ้องรวมตัวเองประมาณ 1 - 2 คน ซึง ่ นโต และคน รองกว่าร้อยละ 90

ทัง ้ นี้ กลุ่มตัวอย่างส่ วนมากมีการอาศัยอยู่กับทัง ้ พ่อและแม่ ร้อยละ

58.2 เป็นครอบครัวเดีย ่ ว ร้อยละ 59.7 และมีสถานะทางครอบครัวทีส ่ มบูรณ์ หรืออยู่ด้วยกัน ร้อยละ 65.4 ส�ำหรับระยะทางจากบ้านมาโรงเรียนของเด็ก ( 296 )


OBELS OUTLOOK 2017

ในกลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่อยู่ระหว่าง 5 - 10 กิโลเมตร ร้อยละ 67.6 และ มากกว่า 10 กิโลเมตร ร้อยละ 32.4 มีเดินทางโดยรถรับจ้าง/รถรับส่ งเป็น ่ ได้รับเบีย หลัก รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่ง และรถรับจ้าง ซึง ้ เลีย ้ งเฉลีย ่ วันละ 20 - 80 บาท

ในด้านของทรัพยากรทางการศึกษาภายในบ้าน เด็กส่วนใหญ่มอ ี ป ุ กรณ์

ครบครันตัง ้ แต่ห้องส่วนตัว คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โต๊ะเขียนหนังสือ สถานทีส ่ งบ มือถือ ยกเว้นเครือ ่ งเกมทีร่ ้อยละ 86.9 ไม่มีเป็นของตนเอง ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่างส่วนมากจะมีการให้รางวัลหรือให้ค�ำชมเชยแก่ เด็กร้อยละ 70.7 ขณะทีร่ ้อยละ 95.0 ไม่มีการท�ำงานเสริม 2. ผลการศึกษาปัจจัยทีส ่ ่ งผลต่อการผลสั มฤทธิท ์ างการศึกษาของ

นักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในด้านของตัวผู้ เรียน พบว่ามี 3 ปัจจัย ทีม ่ ีผลต่อผลการเรียนเฉลีย ่ (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ เพศหญิง (P-value = 0.000, B = 0.396) การเข้าร่วมแข่งขัน กีฬา/วิชาการ (P-value = 0.008, B = 0.215) และการเป็นตัวแทนของ โรงเรียน (P-value = 0.040, B = 0.144) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าสถิตข ิ องตัวแปรอิสระด้านตัวผูเ้ รียนทีม ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการ ศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย b

Std. Error

Beta

t

P-value

เพศหญิง***

0.396

0.064

0.338

6.183

0.000

การเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ/

0.215

0.081

0.155

2.652

0.008

การเป็นตัวแทนของโรงเรียน*

0.144

0.069

2.066

0.040

ค่าคงที่

2.426

0.078

31.025

0.000

ตัวแปรอิสระ

กีฬา** 0.121

หมายเหตุ : R = 0.174, R2 = 0.165, S.E.E = 0.527 * = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.001

( 297 )


OBELS OUTLOOK 2017

3. ผลการศึกษาปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อการผลสั มฤทธิท ์ างการศึกษาของ

นักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในด้านของปัจจัย ผู้เรียน พบว่ามี 9 ปัจจัย ทีม ่ ีผลต่อผลการเรียนเฉลีย ่ (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ วุฒิการศึกษาของผู้ปกครองระดับปริญญาตรี (P-value = 0.016, B = -0.304) ผู้ปกครองท�ำงานรับจ้าง (P-value = 0.023, B = 0.162) ผู้ปกครองมีอาชีพรับราชการ/ทหาร/ต�ำรวจ (P-value = 0.011, B = 0.467) ผู้ปกครองมีอาชีพนักธุรกิจ/เจ้าของกิจการ (P-value = 0.000, B = 0.815) การอยู่อาศัยกับพ่อ/แม่คนใดคนหนึ่ง (P-value = 0.010, B = 0.299) การอยู่อาศัยกับญาติ (P-value = 0.003, B = 0.305) การ หย่าร้าง (P-value = 0.035, B = -0.236) การแยกกันอยู่ (P-value = 0.002, B = -0.457) และเบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน (P-value = 0.042, B = -0.175) ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าสถิตข ิ องตัวแปรอิสระด้านครอบครัวทีม ่ ผ ี ลต่อผลสัมฤทธิท ์ างการ ศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตัวแปรอิสระ วุฒิการศึกษาของผู้ปกครอง

Std. Error

b

Beta

t

P-value

-0.304

0.126

-0.148

-2.421

0.016

ผู้ปกครองท�ำงานรับจ้าง**

0.162

0.071

0.137

2.288

0.023

ผู้ปกครองมีอาชีพรับราชการ/

0.467

0.182

0.157

2.564

0.011

0.815

0.212

0.220

3.839

0.000

3.431

0.338

10.140

0.000

ระดับปริญญาตรี*

ทหาร/ต�ำรวจ* ผู้ปกครองมีอาชีพนักธุรกิจ/ เจ้าของกิจการ*** ค่าคงที่

หมายเหตุ : R = 0.089, R2 = 0.076, S.E.E = 0.555 * = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส�ำคัญสถิติระดับ 0.001

( 298 )


OBELS OUTLOOK 2017

4.การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และปัจจัยตัวผูเ้ รียน

ผลการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับผลการเรียนเฉลีย ่ (Grade Point Average :

GPA) ต่อปัจจัยพืน ้ ฐานส่ วนบุคคล พบว่าผลการเรียนเฉลีย ่ ของเพศหญิง ดีกว่าผู้ชาย จากกลุ่ ม ตั วอย่ า งผลการเรีย นเฉลี่ย ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 94.7 และเพศหญิงร้อยละ 5.3 ต่อมาผลการเรียน เฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 99 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 55.9 และเพศหญิง ร้อยละ 44.1 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเพศชาย ร้อยละ 42.7 และเพศหญิงร้อยละ 57.3 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึ้ น ไป คิ ด เป็ น เพศชายร้ อ ยละ 27.2 และเพศหญิ ง ร้ อ ยละ 72.8 ดังตารางที่ 3 รูปที่ 3 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และเพศ 27% 73%

43%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

57% 44%

56%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

95%

5% หญิง

ชาย

ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านเข้าร่วมการแข่งขันทาง

วิชาการหรือกิจกรรมอื่นๆ พบว่า นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีเข้าร่วม การแข่งขันทางวิชาการหรือกิจกรรมอื่นๆ จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียน ้ ไป เคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 84.8 และไม่เคย เฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน ( 299 )


OBELS OUTLOOK 2017

เข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 15.2 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 75.7 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขัน ร้อยละ 24.3 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเคยเข้า ร่วมแข่งขันร้อยละ 73.5 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 26.5 และผลการ เรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 52.6 และเคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 47.4 ดังตารางที่ 4 รูปที่ 4 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการเข้าร่วมแข่งขัน

85%

76%

74%

15% 24%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

27%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

47%

53% หญิง

ชาย

ผลการเรียนเฉลีย ่ มีผลต่อปัจจัยทางด้านการเป็นตัวแทนของโรงเรียน

ในการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน/นอกโรงเรียน พบว่า นักเรียนทีม ่ ผ ี ลการเรียน เฉลีย ่ ดีเป็นตัวแทนของโรงเรียนในการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน/นอกโรงเรียน ้ ไป คิดเป็นตัวแทน จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน ของโรงเรียนร้อยละ 66.4 และไม่ตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 33.6 รองลง มาคือ ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียน ร้อยละ 62.1 และไม่ตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 37.9 ต่อมาผลการเรียน ( 300 )


OBELS OUTLOOK 2017

เฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 67.6 และไม่ตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 32.4 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 31.6 และไม่ตัวแทนของ โรงเรียนร้อยละ 68.4 ดังตารางที่ 5 รูปที่ 5 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการเป็นตัวแทนโรงเรียน

66%

34% 38%

62%

68%

มากกว่า 3.00 2.50 - 2.99

32%

2.00 - 2.49 0.00 - 1.99

68%

32% หญิง

ชาย

5.การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และปัจจัยครอบครัว

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ย (Grade Point

Average : GPA) ต่อปัจจัยพืน ้ ฐานทางครอบครัว พบว่า นักเรียนทีม ่ ีผล การเรียนเฉลีย ่ ดีผป ู้ กครองมีวฒ ุ ก ิ ารศึกษาต�ำ่ กว่ามัธยมศึกษา จากกลุม ่ ตัวอย่าง ผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นผู้ปกครองมีวุฒิการศึกษาต�่ำ กว่ามัธยมศึกษาร้อยละ 52.6 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่จบมัธยมศึกษาร้อย ละ 26.3 และพ่อหรือแม่จบปริญญาตรีร้อยละ 21.1 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นผู้ปกครองมีวุฒิการศึกษาต�่ำกว่ามัธยมศึกษา และพ่อหรือแม่จบมัธยมศึกษาร้อยละ 47.1 ในอัตราเท่ากัน รองลงมาคือ ( 301 )


OBELS OUTLOOK 2017

พ่อหรือแม่จบปริญญาตรีร้อยละ 5.9 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นผู้ปกครองมีวุฒิการศึกษาต�่ำกว่ามัธยมศึกษาร้อยละ 53.4 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่จบมัธยมศึกษาร้อยละ 37.9 และพ่อหรือแม่จบ ปริญญาตรีร้อยละ 8.7 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นผู้ปกครองมีวุฒิการศึกษาต�่ำกว่ามัธยมศึกษาร้อยละ 53.6 รองลง มาคือ พ่อหรือแม่จบมัธยมศึกษาร้อยละ 36.0 พ่อหรือแม่จบปริญญาตรี ร้อยละ 7.2 และพ่อหรือแม่จบสู งกว่าปริญญาตรีร้อยละ 3.2 ดังตารางที่ 6 รูปที่ 6 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และวุฒก ิ ารศึกษาของผูป ้ กครอง

ต�ำ่ กว่ามัธยม มัธยม ป.ตรี

53%

47%

26%

53%

47%

38%

21%

6%

สูงกว่า ป.ตรี 0.00 - 1.99

9%

54% 36% 7%

3%

2.00 - 2.49

2.50 - 2.99

มากกว่า 3.00

นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีผู้ปกครองท�ำงานรับจ้าง จากกลุ่ม

ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นพ่อหรือแม่ท�ำงาน เต็มเวลาร้อยละ 47.7 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่ท�ำงานรับจ้างร้อยละ 42.1 และอื่นๆ เช่น รอฤดูกาล ร้อยละ 10.5 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นพ่อหรือแม่ท�ำงานรับจ้างร้อยละ 44.1 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่ท�ำงานเต็มเวลาร้อยละ 29.4 อื่นๆ เช่น รอฤดูกาล ร้อยละ 17.6 และพ่อหรือแม่ท�ำงานเป็นกะ (Part-Time) ร้อยละ 8.8 และผล การเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นพ่อหรือแม่ท�ำงานรับจ้างร้อยละ 66.0 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่ท�ำงานเต็มเวลาร้อยละ 17.5 พ่อหรือแม่ ( 302 )


OBELS OUTLOOK 2017

ท�ำงานเป็นกะ (Part-Time) ร้อยละ 8.7 และอืน ่ ๆ เช่น เช่น รอฤดูกาล ร้อยละ ้ ไป คิดเป็นพ่อหรือแม่ 7.8 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน ท�ำงานรับจ้างร้อยละ 67.2 รองลงมาคือ พ่อหรือแม่ท�ำงานเต็มเวลาร้อยละ 20.0 อืน ่ ๆ เช่น เช่น รอฤดูกาล ร้อยละ 7.2 และพ่อหรือแม่ท�ำงานเป็นกะ (Part-Time) ร้อยละ 5.6 ดังตารางที่ 7 รูปที่ 7 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการท�ำงานของผูป ้ กครอง

เต็มเวลา

47%

เป็นกะ

9%

รับจ้าง

42%

อืน ่ ๆ

11%

0.00 - 1.99

29%

18% 9%

44%

2.00 - 2.49

6%

66% 18%

2.50 - 2.99

20%

67% 8%

7%

มากกว่า 3.00

นักเรียนทีม ่ ผ ี ลการเรียนเฉลีย ่ ดีผป ู้ กครองมีอาชีพเกษตรกร จากกลุม ่

ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นผู้ปกครองมีอาชีพ เกษตรร้อยละ 52.6 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมีอาชีพค้าขายร้อยละ 31.6 ผูป ้ กครองมีอาชีพแม่บา้ นร้อยละ 10.5 และผูป ้ กครองมีอาชีพพนักงานบริษท ั / พนักงานธนาคารร้อยละ 5.3 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นผู้ปกครองมีอาชีพเกษตรร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมี อาชีพค้าขายร้อยละ 32.4 ผู้ปกครองมีอาชีพรับจ้างร้อยละ 11.8 และ ผูป ้ กครองมีอาชีพแม่บา้ นร้อยละ 5.9 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นผู้ปกครองมีอาชีพเกษตรร้อยละ 45.6 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมี อาชีพค้าขายร้อยละ 24.3 และผู้ปกครองมีอาชีพรับจ้างร้อยละ 13.6 ขณะที่ ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นผู้ปกครองมีอาชีพเกษตร ( 303 )


OBELS OUTLOOK 2017

ร้ อ ยละ 52.4 รองลงมาคื อ ผู้ ป กครองมี อ าชี พ รั บ จ้ า งร้ อ ยละ 16.1 และ ผู้ปกครองมีอาชีพค้าขายร้อยละ 13.7 ดังตารางที่ 8 รูปที่ 8 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และอาชีพของผูป ้ กครอง

ค้าขาย

32%

พนักงานบริษท ั

5%

รับราชการ นักธุรกิจ

5% 5%

1%

5% 11%

3%

6% 3%

3%

3%

2% 3%

24%

ว่างงาน

0.00 - 1.99

14%

4%

พนักงานรัฐ

อืน ่ ๆ

24%

5%

แม่บา้ น เกษตรกร

32%

2%

1%

12%

14%

2.00 - 2.49

2.50 - 2.99

16%

มากกว่า 3.00

นั กเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีอาศั ยอยู่กับพ่อแม่ทั้งคู่ จากกลุ่ม

ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นอาศัยอยูก ่ บ ั พ่อแม่ ทัง ้ คู่ร้อยละ 78.9 รองลงมาคือ อาศัยอยู่กับพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งและ อาศั ยอยู่กับญาติร้อยละ 10.5 ในอัตราเท่ากัน ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ย ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นอาศัยอยูก ่ บ ั พ่อแม่ทงั้ คูร่ อ ้ ยละ 61.8 รองลงมา ่ ร้อยละ 26.5 และอาศัยอยูก คือ อาศัยอยูก ่ บ ั พ่อหรือแม่คนใดคนหนึง ่ บ ั ญาติ ร้อยละ 11.8 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นอาศัยอยู่ กับพ่อแม่ทง ั้ คู่ร้อยละ 47.6 รองลงมาคือ อาศัยอยู่กับญาติร้อยละ 27.2 ( 304 )


OBELS OUTLOOK 2017

และอาศัยอยู่กับพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งร้อยละ 25.2 ขณะทีผ ่ ลการเรียน เฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นอาศัยอยู่กับพ่อแม่ทั้งคู่ร้อยละ 63.2 รองลงมาคือ อาศัยอยู่กับญาติร้อยละ 23.2 และอาศัยอยู่กับพ่อหรือแม่ คนใดคนหนึ่งร้อยละ 13.6 ดังตารางที่ 9 รูปที่ 9 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการอยูอ ่ าศัยกับครอบครัว

พ่อ - แม่ พ่อ / แม่

11%

ญาติ

11%

0.00 - 1.99

79%

47%

63%

25%

14%

27%

2.00 - 2.49

2.50 - 2.99

23%

มากกว่า 3.00

นักเรียนทีม ่ ีผลการเรียนเฉลีย ่ ดีสถานะครอบครัวสมบูรณ์หรือพ่อแม่

อยูด ่ ว้ ยกัน จากกลุม ่ ตัวอย่างผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็น สถานะครอบครัวอยู่ด้วยกันร้อยละ 78.9 รองลงมาคือ สถานะครอบครัว หย่าร้างร้อยละ 15.8 และสถานะครอบครัวพ่อหรือแม่เสี ยชีวิตร้อยละ 5.3 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นสถานะครอบครัวอยู่ ด้วยกันร้อยละ 64.7 รองลงมาคือ สถานะครอบครัวแยกกันอยู่ร้อยละ 17.6 สถานะครอบครัวหย่าร้างร้อยละ 14.7 และสถานะครอบครัวพ่อหรือแม่เสียชีวต ิ ร้อยละ 5.3 และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นสถานะครอบครัว อยูด ่ ว้ ยกันร้อยละ 53.4 รองลงมาคือ สถานะครอบครัวหย่าร้างร้อยละ 26.2 สถานะครอบครัวแยกกันอยู่ร้อยละ 12.6 และสถานะครอบครัวพ่อหรือแม่ ้ ไป คิดเป็น เสี ยชีวิตร้อยละ 7.8 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึน สถานะครอบครัวอยู่ด้วยกันร้อยละ 73.6 รองลงมาคือ สถานะครอบครัว หย่าร้างร้อยละ 16.8 สถานะครอบครัวพ่อหรือแม่เสี ยชีวิตร้อยละ 7.2 และ สถานะครอบครัวแยกกันอยู่ร้อยละ 2.4 ดังตารางที่ 10 ( 305 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 10 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และการอยูอ ่ าศัยกับครอบครัว

อย่ด ู ว้ ยกัน

65%

หย่าร้าง แยกกันอยู่ เสียชีวต ิ 0.00 - 1.99

52%

15%

26%

18%

74% 17%

13% 3%

2.00 - 2.49

8%

2.50 - 2.99

2% 7%

มากกว่า 3.00

นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 –

79 บาท จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็น ได้รบ ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 84.2 รองลงมาคือ ได้รบ ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 10.5 และได้รบ ั เงินมาโรงเรียน จ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 5.3 ต่อมาผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 50.0 รอง ลงมาคือ ได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 44.1 และได้ รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 80 – 109 บาท และมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 2.9 ในอัตราเท่ากัน และผลการเรียนเฉลีย ่ ระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นได้ รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 59.8 รองลงมาคือได้รับ เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 34.3 และได้รบ ั เงินมาโรงเรียน จ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 5.9 ขณะทีผ ่ ลการเรียนเฉลีย ่ มากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 48.4 รองลงมาคือ ได้รบ ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 44.4 ได้รบ ั เงินมาโรงเรียนจ�ำนวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 5.6 และได้รบ ั เงินมาโรงเรียน มากกว่า 110 บาท ร้อยละ 1.6 ดังตารางที่ 11

( 306 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 11 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลีย ่ และเบีย ้ เลีย ้ งประจ�ำวัน

20 - 49 บาท

50%

34%

50 - 79 บาท

40%

80 - 109 บาท

3%

มากกว่า 110 บาท 0.00 - 1.99

60% 6%

3%

2.00 - 2.49

48% 44% 6% 2%

2.50 - 2.99

มากกว่า 3.00

6. ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาทีเ่ ก็บข้อมูล

กลุ่มตัวอย่าง 2 แห่ง ในอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ได้แก่ โรงเรียน เชียงแสนวิทยาคม และโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม ประกอบด้วยประเด็น เกีย ่ วกับ สิ่งอ�ำนวยทางกายภาพ บุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรการเรียน การสอน และความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ดังตารางที่ 12 ตารางที่ 12 สรุปความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม

1. สิ่งฤอ�ำนวยความสะดวกด้านกายภาพ 1.1 สิ่งอ�ำนวยสะดวกทางด้าน

่ พึง ่ + ทางโรงเรียนมีห้องสมุด ซึง

- ขาดแคลนหนังสือในห้องสมุด

กายภาพทีส ่ ่ งเสริมการเรียนการ

ถูกสร้างใหม่ ได้รับการสนับสนุนงบ

ปัจจุบันมีจ�ำนวนแค่ 2,000 เล่ม

สอน (เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ

ประมาณจากทางกองสลาก และผู้

ต้องการเพิม ่ อีก 1,000 เล่ม ตาม

วิทยาศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ)

ปกครอง

เกณฑ์มัธยมศึกษา

- นอกจากนี้ ยังมีศูนย์วิทยาศาสตร์

- ขาดแคลนอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

่ แต่มีความเก่าแก่ และเริม ่ พุพัง ซึง

+ คอมพิวเตอร์มีเพียงพอ ใน

ก�ำลังท�ำเรือ ่ งรือ ้ ถอน ปัจจุบัน สิ่ง

อัตราส่ วน 1 : 6

อ�ำนวยความสะดวกยังไม่เพียง ต้อง มีการต่อเติมเพิม ่

( 307 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม

+ มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตไวไฟเกือบ ทัว่ พืน ้ ทีข ่ องโรงเรียน ยกเว้นพืน ้ ที่ เกษตกรรม 1.2 สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางด้าน

+ มีแผนทีจ ่ ะขยายห้องสมุดทีไ่ ด้รับ

+ มีห้องค้นคว้าข้อมูลเพิม ่ เติม

กายภาพทีเ่ ป็นจุดเด่นของโรงเรียน

การสร้างใหม่ให้กลายเป็น ‘ห้องสมุด

+ มี WIFI ใช้งานในทุกตึก มีการติดตัง้

และมีความแตกต่างโรงเรียนอืน ่

มัลติมีเดีย’

อินเตอร์เน็ต 3 ระบบ ได้แก่ MONET ใช้กับเครือ ่ งคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณ ใยแก้วทีส ่ ่งตรงมาจากมหาวิทยาลัย แม่ฟา้ หลวง TT&T และToT ทัง ้ สาม ระบบจะใช้แยกกันคนละส่วน ถ้า สัญญาณไหนขัดข้องหรือขาดหาย สามารถใช้ทดแทนกันได้ ส่วน WIFI มีการป้องกันโดยรหัสของนักเรียน

1.3 ระบบรักษาความปลอดภัย (อาทิ

+ มีรปภ.คอยดูแลบริเวณหน้าประตู

- ไม่มีกล้องวงจรปิด

สารวัตรนักเรียน กล้องวงจรปิด

และครูเวรในการตรวจสอบนักเรียน

+ มีผู้รักษาความปลอดภัยทีเ่ ข้ามา

รปภ.)

ในช่วงเช้า ซึง่ ปกติจะมีทงั้ หมด 3 ประตู ช่วยดูแลสอดส่อง รวมทัง้ ภารโรง และ ้ รถกลับ ในช่วงเย็นนักเรียนจะไปขึน

ครูเวร

บ้านทีป ่ ระตู 2 รปภ. ก็จะเข้าไปดูแล

+ มีคณะควบคุมความประพฤติที่

ไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ

ร่วมกับทางจังหวัด ลักษณะคล้ายกับ

+ มีการติดตัง ้ กล้องวงจรปิดทัง ้ หมด

สารวัตรนักเรียนในสมัยก่อน

30 ตัว แต่ยังไม่ครอบคลุมทัว่ ทุกจุด โดยเฉพาะบนอาคารชัน ้ เรียน ก�ำลัง ขออนุมัติงบประมาณเพือ ่ ติดตัง ้ อีก 12 จุด 1.4 งบประมาณในการสร้างสิ่ง

+ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก

อ�ำนวยความสะดวกเพือ ่ การเรียน

ภาครัฐ เป็นส�ำคัญ แต่กลุม ่ ทีม ่ บ ี ทบาท งบประมาณรายปี

+ ส�ำนักงานกองสลากกับท่าเรือ มี

การสอน

ในการให้ความช่วยเหลือด้านงบ

+ ท่าเรือให้งบประมาณสร้างวง

ประมาณเพิม ่ เติม คือ ชุมชน กลุ่ม

ดุริยางค์

ศิษย์เก่า และชมรมผู้ปกครอง

+ กองสลากสร้างอาคารเรียนพัฒนา สู่อาเซียน และห้องสมุด + การจัดสรรงบประมาณประจ�ำปี จะแบ่งสั ดส่วนร้อยละ 25 ส�ำหรับ สาธารณูปโภคพืน ้ ฐาน แบ่งออก เป็น 2 ส่วน ได้แก่ งบบ�ำรุงคุณภาพ ทีเ่ ป็นงานประจ�ำทัว่ ไป และ เงิน ฉุกเฉิน อีกร้อยละ 75 แบ่งออกเป็น

( 308 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม เงินกันร้อยละ 5 งานประจ�ำร้อยละ 30 และงานยกระดับอีกร้อยละ 40 เช่น การพัฒนาผูเ้ รียนสู่ความเป็นเลิศ ทวิศึกษา การด�ำรงคุณภาพ - งบประมาณไม่เพียงพอ เนื่องจาก จ�ำนวนนักเรียนน้อย ท�ำให้คณ ู จ�ำนวน เงินรายหัวได้งบประมาณไม่มาก เมือ ่ เทียบกับโรงเรียนประจ�ำอ�ำเภอ สามารถเรียกเก็บ 3,500 - 4,000 บาทต่อเทอม แต่ส�ำหรับโรงเรียน ทัว่ ไปไม่สามารถท�ำได้ เพราะจะท�ำให้ นักเรียนย้ายไปทีอ ่ น ื่ ดังนั้น ส�ำหรับ โรงเรียนประจ�ำต�ำบล ต้องอาศัช่วง โอกาสทีค ่ ะแนน O-NET สูง และไป แข่งต่างประเทศ สามารถแข่งขันกับ โรงเรียนอืน ่ ๆ

2. บุคลากรทางการศึกษา 2.1 ความเพียงพอของบุคลากร

่ + มีครูเพียงพอในแต่ละชัน ้ เรียน ซึง

+ จ�ำนวนนักเรียนทัง ้ หมด 292 คน

ทางการศึกษา

จ�ำนวนนักเรียนมีทง ั้ หมด 881 คน

ครูข้าราชการ 25 คน บุคลากรอัตรา

ส่วนครูและบุคลากรมีทงั้ หมด 70 คน

จ้าง 28 คน จ�ำนวนครูต่อนักเรียน

้ จ�ำนวนครูจงึ เกินเกณฑ์มา 2 คน เกินจากเกณฑ์ของสพฐ. ทีก ดังนัน ่ �ำหนด ซึง่ เกินในบางเอกวิชา เช่น คอมพิวเตอร์

ให้มีนักเรียน 20 คน ต่อครู 1 คน

่ เกณฑ์จะแตกต่างกันไป ในระดับ และขาดในบางเอก เช่น ภาษาอังกฤษ ซึง ภาษาจีน สั งคมศึกษา

มัธยมศึกษาจะใช้ครูสองคนต่อ หนึ่งห้อง โดยของโรงเรียนมีทง ั้ หมด ้ จ�ำนวนครูจงึ เกินเกณฑ์ 10 ห้อง ฉะนัน แต่สิ่งทีข ่ าดคือครูในรายวิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา จ�ำนวนครูทเี่ กินมาเป็น ครูวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป

2.2 หลักสูตรอบรมการเรียนการสอน

+ ครูมีการเข้าไปอบรมตามสถาน

+ มีเครือข่ายการอบรม 3 แห่ง ได้แก่

หรือการพัฒนาตนเองให้กับครู

ศึกษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประสาน

หลวง พร้อมทัง ้ ยังได้เข้าประกวดการ

งานโดยศูนย์วช ิ าการ และ มหาวิทยาลัย

เรียนการสอน ได้รางวัลชนะเลิศ และ

ราชภัฏเชียงราย พวก STEM ทีเ่ ป็น

ต่อยอดไปศึกษาต่างประเทศ

วิทยาศาสตร์ โดยทางมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงรายได้ใช้ทโี่ รงเรียนนีเ้ ป็น

( 309 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม

+ เมือ ่ หนังสื อเชิญเข้าอบรมมา ครูที่

ฐานในการฉีดสเต็ม

ได้รับการอนุญาตให้ไปอบรม ต้องมี

+ มีการอบรมของส่วนกลางตาม

การจัดให้ครูคนอืน ่ เข้ามารับผิดชอบ

นโยบายของภาครัฐ โดยครูตอ ้ งอบรม

คาบเรียนแทน อย่างไรก็ตาม ส่วน

ไม่น้อยกว่า 40 ชัว่ โมงต่อปี เพือ ่

้ ในวัน ใหญ่การอบรมครูจะถูกจัดขึน

พัฒนาตนเอง

เสาร์-อาทิตย์ 2.3 การมีครูทส ี่ อนตรงตามสาขาที่

+ ไม่มีครูสอนข้ามเอก ยกเว้นครูบาง

+ ไม่มีครูสอนข้ามเอก เนื่องจาก

เชีย ่ วชาญ

คนทีม ่ ีความช�ำนาญการทีก ่ �ำลังสอน

พอพบปัญหาการขาดแคลนก็ใช้งบ

วิชาคหกรรม แต่มีความเชีย ่ วชาญ

ประมาณของโรงเรียนในการจ้างครู

เฉพาะทางด้านสั งคมศึกษา

ภายนอกมาแทน

+ มีครูจ�ำนวนมากทีส ่ ่ งผลงานในการ

+ มีครูทไี่ ด้วท ิ ยฐานะปัจจุบน ั ทัง้ หมด

ขอเลือ ่ นวิทยฐานะ

4 คน ทีเ่ ป็นช�ำนาญการพิเศษ และ

2.4 การมีครูช�ำนาญการพิเศษ

่ มีทก ช�ำนาญการอีก 9 คน ซึง ี่ �ำลัง ส่งผลงานเพือ ่ เลือ ่ นเป็นช�ำนาญการ พิเศษ 1 คน ทีเ่ หลือเป็นครูธรรมดา คส.1 ทางโรงเรียนได้ส่งครูทม ี่ ี คุณสมบัติพร้อมเป็นช�ำนาญการ ทัง้ หมด และจะเลือ ่ นเป็นช�ำนาญการ พิเศษในอนาคต 2.5 การจ้างครูต่างชาติเข้ามาสอน

- เคยมีครูทเี่ ป็นชาวต่างประเทศเข้า

- ไม่มีการจ้างครูต่างประเทศเข้า

มาสอนภาษาอังกฤษในปีก่อน แต่ค่า

มาสอน เนื่องจากมีครูสอนภาษา

ใช้จ่ายค่อนข้างสู งถึงปีละ 1 แสนบาท อังกฤษ 3 คน ภาษาจีน 1 คน และ ่ ทางคณะกรรมการการศึกษาพืน ซึง ้ ที่

มีนักศึกษาฝึกวิชาชีพ 1 คน เข้ามา

ได้สนับสนุนคนในพืน ้ ทีแ ่ ทน จึงได้

ช่วยสอน

เลิกจ้างไป + มีครูชาวจีน 2 คน ทีท ่ ำ� ความร่วมมือ กับทางมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 2.6 การประเมินครูจากหน่วยงาน

- มีหน่วยงานทีเ่ ข้ามาประเมินภาพ

+ การประเมินครู จะแบ่งออกเป็น

ภายนอก

รวมของโรงเรียน แต่ไม่มีการประเมิน

3 ลักษณะ ได้แก่ ครูอัตราจ้าง ครู

่ การประเมินครูจะเป็นการ ครู ซึง

พนักงานราชการ และครูผู้ช่วย จะท�ำ

ประเมินภายในโรงเรียนส�ำหรับการ

การประเมินทุก 4 เดือน เนื่องจากมี

้ เงินเดือนเพียงเท่านั้น ปรับขึน

ประสบการณ์น้อย ครูคส.2 คส.3 ใช้วธ ิ ก ี ารนิเทศกันเอง คส.3 จะท�ำการ ดูแล คส.2 และดูแลด้วยกันเอง ขณะทีร่ องผู้อ�ำนวยการก็จะท�ำการ ดูแลในภาพรวมทัง ้ หมด

( 310 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม + ฝ่ายนิเทศของเขตพืน ้ ทีเ่ ข้ามาดู เฉพาะเจาะจง เช่น การลดเวลาเรียน การประเมินผล นอกจากนี้ มีผู้ทรง คุณวุฒิของเขตพืน ้ ทีเ่ ข้ามาดูปีละ 1 ครัง ้ + ทางโรงเรียนได้เข้าโครงการ ‘การ พัฒนาการศึกษาอย่างยัง ่ ยืน’ทีจ ่ ัด โดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ ได้ประเมินผู้ อ�ำนวยการของโรงเรียนทัง ้ 2 ท่าน ่ จะท�ำการติดตามนิเทศการเรียน ซึง การสอน

3. หลักสู ตรและกระบวนการการเรียนการสอน 3.1 กิจกรรมเสริมส�ำหรับการพัฒนา

+ ครูภายในโรงเรียนได้ท�ำการน�ำ

+ O-NET ในช่วง 3 ปีทผ ี่ ่านมา ได้

ผลการเรียน (เช่น การเตรียมความ

นักเรียนเข้ามาติวเสริมส�ำหรับการสอบ

อันดับ 15 ของเขตพืน ้ ทีจ ่ ังหวัด

พร้อมส�ำหรับสอบ O-NET, A-NET,

่ ทางผู้อ�ำนวยการพยายาม O-NET ซึง

เชียงราย และพะเยา ถ้าแค่จังหวัด

GAT, PAT หรือตามรายวิชา)

ทีจ ่ ะใช้ครูภายในมากกว่าครูจากภายนอก

เชียงรายอยู่ทอ ี่ ันดับ 6 ขณะทีใ่ นปี

เพือ ่ ท�ำการชีว้ ัดว่านักเรียนพัฒนาจาก

ก่อน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ

ครูของโรงเรียนเอง หรือครูทอ ี่ น ื่

6 คะแนน ONET ของทางโรงเรียน เป็นอันดับ 1 ของ 5 อ�ำเภอ พร้อม ทัง ้ อยู่ในอันดับ 14 ของจังหวัด ่ มีโรงเรียน เชียงรายและพะเยา ซึง มัธยมวัดมงกุฎกษัตริย์จากสพม. กรุงเทพฯ คอยเข้ามาช่วยติวเสริม

3.2 หลักสูตรพิเศษ (เช่น English

+ หลักสูตรทีเ่ พิม ่ มาจากหลักสูตรทัว่ ไป

+/- ไม่มีห้องเรียนพิเศษ

Program, Trilingual Program

คือ หลักสู ตรทวิศึกษา มีทง ั้ หมด

+ นักเรียนสายวิทยาศาสตร์จะมุ่ง

เป็นต้น)

4 สาขาวิชา ได้แก่ ไฟฟ้า ช่างเชือ ่ ม

เข้ามหาวิทยาลัย ส่วนสายศิลป์ได้

บัญชี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ความร่วมมือทวิกบ ั วิทยาลัยการอาชีพ

+ โครงการโรงเรียนคุณธรรม โดยน�ำ

เชียงราย เป็นเด็กกลุ่มช่าง สาขา

คุณธรรม 3 ด้าน ได้แก่ ความมีวินัย

อาหารและโภชนาการ หากเรียนจบ

ความรับผิดชอบ และความซือ ่ สัตย์

จะได้ 2 วุฒิ ปวช. และ ม.6 ส�ำหรับ

ควบคู่ไปกับการท�ำห้องเรียนพิเศษ

มัธยมตอนปลาย ห้อง 1 จะถูกวาง

โดยคัดเอานักเรียนระดับมัธยมศึกษา

ให้ไปในด้านของสาธารณสุ ข และ

ตอนต้นหัวกะทิ 10 กว่าคน เพียงห้อง

พยาบาล หรือวิทยาศาสตร์ ครุศาสตร์

เรียนเดียว ท�ำข้อตกลงกับผู้ปกครอง

สายศิลป์ได้ท�ำหลักสูตรทวิศึกษา

รับประกันเด็กนักเรียนกลุ่มนี้ว่า

( 311 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม

ต้องได้เข้ามหาวิทยาลัยทีต ่ ้องการโดย

ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพ ส่วนใหญ่

มีความเชือ ่ ว่านักเรียนทีม ่ ค ี วามสามารถ

จะเป็นเด็กในพืน ้ ทีท ่ ีมีฐานะยากจน

จะไปได้เร็วกว่าเด็กปกติ ซึง่ ท�ำการ

จะได้ไปเรียนปวส. 1 ปี และท�ำงาน

ป้อนสื่อต่างๆ ทัง ้ หนังสื อ และ

อีก 1 ปี ร่วมกับอมตะนคร โควตา

ทรัพยากรอืน ่ ๆให้เด็กไปศึกษาทีบ ่ ้าน

ทัง ้ หมด 10 คน อุตฯโรงงาน

ไม่มีการเก็บค่าใช้จ่ายเพิม ่ เติม เพราะ งบอุดหนุน 3.3 การมีอิสระในการพัฒนาและ

- ต้องยึดหลักสู ตรแกนกลางเป็น

+/- การประเมินหลักสูตรปีละ 1 ครัง ้

ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน

่ ต้องเชือ หลัก ซึง ่ มโยงกับการ

ส่วนปรับปรุงหลักสูตรปีละ 2 - 3 ครัง้

ในอนาคต

บริหารงบประมาณให้ตรงตามกรอบ

้ อยู่กับนโยบายของหลักสู ตรใน ขึน

นโยบาย

ช่วงเวลานั้น ล่าสุ ดได้มีการปรับปรุง ไปในปีพ.ศ. 2557 ก่อนหน้าคือ ปีพ.ศ. 2551 และ 2554 อีกทีคือ ปีพ.ศ. 2559 ปรับเป็นระยะตามกรอบ ของสพฐ. อย่างไรก็ตาม หลักสูตร เน้นใช้หลักสูตรแกนกลาง

3.4 ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

้ มาได้ + หลักสู ตรทวิศึกษาทีเ่ พิม ่ ขึน

+ มีความร่วมมือกับส�ำนักงานกองทุน

อาทิ ภาคเอกชน ภาครัฐ สถาบันการ

ท�ำความร่วมมือกับวิทยาลัยการอาชีพ

สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ศึกษาอืน ่ ๆ

เวียงเชียงรุ้ง และเทคนิคกาญจนา

ในด้านการพัฒนาอาชีพของนักเรียน และวิทยาลัยการอาชีพ + เปิดช่องทางในการร่วมมือกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามของกรุงเทพฯ ซึง่ ได้เปิดสาขาสาธารณสุขชีวอนามัย + ร่วมมือกับโฮมโปรให้เรียน 6 ปี และ ท�ำงานควบคู่กันไป

3.5 การส่งเสริมความเป็นเลิศด้าน

+ ทางโรงเรียนได้ตง ั้ เป้าหมายให้

+ ช่วง 2 - 3 ปีทผ ี่ ่านมา จ�ำนวน

วิชาการ

คะแนน O-NET ติดหนึ่งใน 5 ของ

ี ีจ ้ ำ� นวนนักเรียน นักเรียนลดลง แต่ปน

จังหวัดเชียงราย

้ กว่าร้อยละ 15 ทัง เพิม ้ ทีโ่ รงเรียน ่ ขึน อืน ่ ลดลง เพราะคะแนน O-NET สูง ท�ำให้โรงเรียนต้องพยายามรักษา ระดับคะแนนให้อยูภ ่ ายใน 10 อันดับ ไม่อย่างนั้น เด็กจะไปเข้าโรงเรียน อืน ่ แทน

3.6 กิจกรรมแข่งขันทางวิชาการ กีฬา

+ มีการส่งนักเรียนบางกลุ่มเข้าไป

+ มีการจัดแข่งขันหัตถกรรมในระดับ

หรือศิลปะ

ร่วมตอบปัญหาทางวิชาการทีไ่ ด้รับ

จังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ

( 312 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม

เชิญจากหน่วยงาน และสถาบันการ

ั กีฬา ซึง่ ล่าสุดได้อน ั ดับ 6 รวมถึงมีนก

ศึกษาต่างๆ

ทีไ่ ปแข่งเยาวชนแห่งชาติ 2 คน ใน

+ มีการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาบาสเก็ต-

ด้านของการชกมวยไทย ชาย 1 คน

่ ล่าสุดพึง ่ บอลทีจ ่ ังหวัดเชียงใหม่ ซึง

หญิง 1 คน เป็นตัวแทนของจังหวัด

ได้รบ ั รางวัลชนะเลิศมา โดยมีครูทช ี่ ว่ ย

เชียงราย

ดูแลและฝึกสอนอย่างใกล้ชิดตลอด

+ มีกีฬากลุ่ม กีฬาสี และมีการจัด

ทัง ้ ปี

กีฬาฟุตซอลต้านยาเสพติด โดย หน่วยงานทีม ่ าเข้าร่วม ได้แก่ อ�ำเภอ เชียงแสน ทหารพราน และต�ำรวจ ภายในท้องที่

3.7 การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

+ มีชมรมผูป ้ กครองทีเ่ ข้ามามีส่วนร่วม

+ ผูป ้ กครองเข้ามามีส่วนร่วมในเรือ ่ ง

ในการสอดส่ องดูแล และสนับสนุน

ของการท�ำหลักสูตรการเรียนการสอน

งบประมาณเพิม ่ เติม

โดยโรงเรียนได้ท�ำการตัง ้ เป้าหมาย สูงสุดของชีวิต หรือ Goal Setting ได้เอาแผนของการวิจย ั มา เช่น TED talk การกระตุ้นในเกิดการจัดการ ด้านการศึกษาทีด ่ ีทส ี่ ุด หนึ่งคือ การ ตัง ้ เป้าหมายในการตัง ้ เกรด 1.44% สองคือ ผู้ปกครองต้องมีส่วนร่วม 0.99% สามคือ การรายงานและ ่ ให้ผู้ปกครอง ทบทวน 0.84% ซึง ครู และคณะกรรมการบริหารการ ศึกษาลงนามว่าเด็กตัง้ เกรดเป้าหมาย ในแต่ละเทอม และผู้ปกครองต้องมี ส่วนรู้เห็นต่อเกรดของเด็ก ท�ำทุก อย่างเพือ ่ ท�ำให้เกรดถึงเป้าหมาย ถ้า เกรดไม่ตรงตามเป้าหมายก็จะรายงาน ผู้ปกครองเป็นระยะ

4. ความคิดเห็นต่อความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา 4.1 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายในโรงเรียน

- เด็กส่วนใหญ่ในโรงเรียนไม่มส ี ัญชาติ

+ ไม่พบถึงความแตกต่างของเด็ก

จ�ำนวนมาก เพราะตามผู้ปกครองที่

ทัง ้ ฐานะ สถานะทางสั งคม ท�ำให้

เข้ามาท�ำงาน ท�ำให้ผลการเรียนไม่ดี

ผลลัพธ์ทางการศึกษาจึงไม่มีความ แตกต่าง +/- มีชนกลุ่มน้อย คือ ชนเผ่าม้ง ที่ มาจากบ้านธารทอง อยูม ่ ากว่า 30 ปี

( 313 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเด็นการสัมภาษณ์

เชียงแสนวิทยาคม

บ้านแซววิทยาคม มีบัตรประชาชน หรือมีสัญชาติ ถูก เรียกกว่า ‘กลุ่มม้งเก่า’ คิดเป็นสั ด ส่วนร้อยละ 30 ของนักเรียนทัง้ หมด ส่วน ‘กลุ่มม้งใหม่’ ทีอ ่ พยพมาจาก ถ�ำ้ กระบอกภายใน 5 - 10 ปี จะไม่ ได้รบ ั สัญชาติ จ�ำนวนอยูท ่ ี่ 5 - 6 คน อีกส่วนหนึ่งเป็นเด็กชายขอบทีข ่ ้าม ฝั่งมาจากสปป.ลาว ติดมาจากแม่ที่ เป็นชาวลาว ทีม ่ าแต่งกับพ่อทีเ่ ป็น ชาวไทย จึงท�ำให้เด็กไม่มีสัญชาติ ่ มีจ�ำนวนเพียง 2 - 3 คน ซึง

4.2 ความเหลือ ่ มล�ำ้ ระหว่างโรงเรียน

- เชียงแสนวิทยาคมเป็นโรงเรียนขนาด

+/- ไม่มค ี วามแตกต่างระหว่างโรงเรียน

กลาง ขณะทีโ่ รงเรียนราษฎร์ประชา

รัฐบาลด้วยกันเอง แต่หากเป็น

เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ จึงได้รับงบ

โรงเรียนเอกชนจะมีความแตกต่าง

ประมาณค่อนข้างมาก ส�ำหรับเชียงแสน

ในเรือ ่ งของงบประมาณอย่างมาก

วิทยาคม ผูป ้ กครองส่วนใหญ่กป ็ ระกอบ อาชีพเกษตรกร มีรายได้ไม่มาก ท�ำให้ ขาดทรัพยากรบางอย่างทีเ่ ด็กในเมือง ไม่มี เช่น ห้องเรียนพิเศษ นอกจากนี้ เด็กนักเรียนยังจ�ำเป็นต้องช่วยพ่อแม่ ในการท�ำงานหลังเลิกเรียน หมายเหตุ: + คือ ปัจจัยเชิงบวก – คือ ปัจจัยเชิงบวก +/- คือ ปัจจัยกลาง

การอภิปรายผล

่ ีอิทธิพลต่อผลการเรียน 1.ปัจจัยทีม

ปัจจัยด้านตัวผูเ้ รียน เพศหญิงมีผลการเรียนทีด ่ ก ี ว่าเพศชาย นอกจากนี้

นักเรียนทีม ่ ีโอกาสได้เข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการ หรือกีฬาต่างๆ ตลอด จนการเป็นตัวแทนของโรงเรียนเช่นกัน ซึง่ เป็นเหตุเป็นผล เนื่องจาก นักเรียน ที่ต้องเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ หรือกีฬา ไม่ว่าในภายในโรงเรียน ก็มี โอกาสที่จะการเป็นตัวแทนของโรงเรียนไปแข่งขันภายนอก ซึ่งนักเรียนที่ ได้รับการคัดเลือกต้องเป็นเด็กทีม ่ ีความรู้ความสามารถ และฝึกฝนมาเป็น อย่างดี ( 314 )


OBELS OUTLOOK 2017

ปัจจัยด้านครอบครัว เด็กทีผ ่ ป ู้ กครองมีวฒ ุ ก ิ ารศึกษาในระดับปริญญาตรี

มีผลการเรียนทีน ่ ้อยกว่าเด็กทีผ ่ ป ู้ กครองมีวฒ ุ ก ิ ารศึกษาต�ำ่ กว่ามัธยมศึกษา ่ ขัดแย้งกับงานของ Ahuja, Chucherd, & Pootrakul (2006) ทีก ซึง ่ ล่าว ว่าหากผู้ปกครองมีการศึกษาต�่ำกว่าปริญญาตรีจะไม่ส่งผลดีต่อการศึกษา ของเด็ก ขณะเดียวกัน ผลการเรียนของเด็กทีผ ่ ู้ปกครองรับราชการ ทหาร หรื อ ต� ำ รวจ ตลอดจนเป็น นั ก ธุ ร กิ จ หรื อ เจ้ า ของกิ จ การ สู ง กว่ า เด็ ก ที่ผู้ ปกครองมีอาชีพค้าขาย ในทางตรงกันข้าม เด็กทีม ่ ผ ี ป ู้ กครองท�ำงานรับจ้าง กลับมีค่าคะแนนทีด ่ ีกว่าเด็กทีพ ่ ่อหรือแม่ท�ำงานเต็มเวลา

2.ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม และโรงเรียน

บ้านแซววิทยาคม

สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางกายภาพ พบว่าโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม

มีการขาดแคลนทรัพยากรบางอย่าง เช่น หนังสือ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนระบบรักษาความปลอดภัย ไม่มก ี ล้องวงจรปิดส�ำหรับการสอดส่อง ดูแล ซึง่ ทางโรงเรียนเน้นใช้บค ุ ลากรในการเข้ามาช่วยควบคุมดูแลแทน ทัง้ นี้ ส่ วนส� ำคัญของทรัพยากรที่ทั้งสองแห่งมีอย่างครบถ้วน คือ สั ญญาณ อินเตอร์เน็ต WIFI ทีม ่ ีกระจายอยู่ทวั่ ทัง ้ พืน ้ ทีข ่ องโรงเรียน โดยทีโ่ รงเรียน บ้านแซววิทยาคมมีการติดตัง ้ หลากหลายระบบ อย่างไรก็ตาม ทัง ้ สองแห่ง ได้รับงบประมาณจากหน่วยงานภายนอกในการก่อสร้างสิ่ งอ�ำนวยความ สะดวก แต่กระนั้นงบประมาณที่โรงเรียนบ้านแซววิทยาคมได้รับจากส่ วน กลางยังไม่เพียงพอ เนื่องจากจ�ำนวนนักเรียนน้อย ท�ำให้งบประมาณราย หัวน้อยตามไปด้วย ซึ่งทางโรงเรียนก็ไม่สามารถที่จะเก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มได้ เพราะครอบครัวของเด็กมีรายได้น้อย รวมทัง้ จะท�ำให้เด็กย้ายไปโรงเรียนอืน ่ ขณะเดียวกัน โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคมได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากกลุ่มต่างๆ ได้แก่ ชุมชน กลุ่มศิษย์เก่า และผู้ปกครอง

บุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคมเป็นโรงเรียนทีม ่ ี

ขนาดค่อนข้างใหญ่เมือ ่ เทียบกับโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม เมือ ่ จ�ำนวนนักเรียน ( 315 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ทัง มีมาก ก็ท�ำให้จ�ำนวนครูสูงขึน ้ สองแห่งมีจ�ำนวน ครูเกินเกณฑ์ทส ี่ �ำนักงานคณะกรรมการศึกษาขัน ้ พืน ้ ฐาน (สพฐ.) ก�ำหนดไว้ ้ ทางโรงเรียนไม่มก แต่มก ี ารขาดแคลนในบางเอกวิชา ถึงกระนัน ี ารให้ครูสอน ข้ามเอก นอกจากนี้ ยังได้มก ี ารส่งครูไปอบรมเพือ ่ พัฒนาการเรียนการสอน ตามหน่วยงานภายนอกทีส ่ ่งหนังสือเชิญเข้ามา และการสนับสนุนให้ส่งผลงาน เพือ ่ เลือ ่ นวิทยฐานะ ทัง้ นี้ ไม่มก ี ารจ้างครูชาวต่างประเทศ เพราะค่าใช้จา่ ยสูง ส�ำหรับการประเมินครู ทางโรงเรียนบ้านแซววิทยาคมมีระบบการประเมินที่ หลากหลาย และมองภาพเชิงลึกกว่าทางโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม

หลักสูตรกระบวนการการเรียนการสอน ทางโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม

มีกิจกรรมติวเสริม O-NET ส�ำหรับการเรียนต่อมหาวิทยาลัยเข้มข้น โดย มีสถาบันการศึกษาจากกรุงเทพฯ เข้ามาช่วยเหลือ ส่ วนโรงเรียนเชียงแสน วิทยาคมได้ใช้บค ุ ลากรครูภายในโรงเรียนในการช่วยติวเสริม ทัง้ นี้ ทางโรงเรียน เชียงแสนวิทยาคมมีหลักสูตรพิเศษ คือ หลักสูตรทวิ ทีส ่ ามารถเรียนจบสาย วิชาชีพไปพร้อมกับสายสามัญในหลายสาขาวิชา และมีการท�ำห้องเรียน คุณธรรมทีร่ วบรวมเด็กทีม ่ ีความสามารถทางวิชาการมารวมกันเพือ ่ พัฒนา ทักษะการเรียน ขณะทีโ่ รงเรียนบ้านแซววิทยาคมไม่มีห้องเรียนพิเศษ แต่มี หลักสูตรทวิทท ี่ �ำความร่วมมือกับวิทยาลัยการอาชีพจังหวัดเชียงรายส�ำหรับ นักเรียนสายศิลป์ ในส่วนความอิสระในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ทัง้ 2 โรงเรียนต้องยึดหลักสูตรแกนกลางเป็นหลัก ในด้านของความร่วมมือ แต่ละ โรงเรียนมีความร่วมมือในหลักสู ตรทวิศึกษากับหน่วยงานเอกชน สถาบัน การศึกษา และหน่วยงานราชการ พร้อมทัง ้ มีการส่ งเสริมความเป็นเลิศทาง วิชาการด้วยการตัง้ เป้าหมายคะแนน O-NET ไว้เป็นอันดับต้นๆของจังหวัด เชียงราย นอกจากนั้น ได้มีการสนับสนุนให้เข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ และกีฬา เช่น โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคมีมความโดดเด่นในด้านของกีฬา บาสเกตบอล ขณะเดียวกัน โรงเรียนบ้านแซววิทยาคมมีความโดดเด่นใน ด้านของศิลปะมวยไทย ทั้งนี้ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองของทั้งสอง ( 316 )


OBELS OUTLOOK 2017

โรงเรียนมีความแตกต่างกัน โดยโรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ผู้ปกครองจะ ช่วยดูแลทัว่ ไป และช่วยสนับสนุนงบประมาณเพิม ่ เติมจากงบประมาณส่วน กลางทีไ่ ด้รับ หากแต่โรงเรียนบ้านแซววิทยาคมได้สนับสนุนให้ผู้ปกครอง เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการตัง ้ เป้าหมาย ติดตาม และรายงานผลการ เรียนอย่างต่อเนื่อง

่ มล�ำ้ ทางการศึกษา ส�ำหรับความเหลือ ความเหลือ ่ มล�ำ้ ภายใน โรงเรียน

่ ตามครอบครัว เชียงแสนวิทยาคม เด็กทีเ่ ข้ามาเรียนส่วนใหญ่ไร้สัญชาติ ซึง ทีเ่ ข้ามาท�ำงานในประเทศไทย ท�ำให้เด็กกลุ่มนั้นผลการเรียนต�่ำกว่าเด็กคน อืน ่ ๆ ขณะทีโ่ รงเรียนบ้านแซววิทยาคม เด็กส่วนใหญ่ฐานะใกล้เคียงกัน ท�ำให้ ผลการเรียนไม่แตกต่างกันมาก แต่กพ ็ บเด็กไร้สัญชาติชาวลาว และกลุม ่ ม้ง ที่เข้ามาใหม่ไม่มีสัญชาติเข้ามาศึ กษาเช่นเดียวกัน ส่ วนความเหลื่อมล�้ำ ระหว่างโรงเรียน ด้วยความที่โรงเรียนเชียงแสนวิทยาเป็นโรงเรียนขนาด กลาง ท�ำให้มีความล�ำบากในการของบประมาณ เมื่อเทียบกับโรงเรียน ขนาดใหญ่อย่าง โรงเรียนราษฎร์ประชานุเคราะห์ รวมทั้งยังขาโอกาสใน การเรียนพิเศษอย่างเด็กทีเ่ รียนในเมือง และต้องช่วยเหลืองานของพ่อแม่ หลังเลิกเรียน เพราะผูป ้ กครองของนักเรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ขณะเดี ย วกั น โรงเรี ย นบ้ า นแซววิ ท ยาคมไม่ พ บความเหลื่อ มล�้ำ ระหว่ า ง โรงเรียนรัฐด้วยกันเอง แต่มีความเหลือ ่ มล�ำ้ กับโรงเรียนเอกชนในเรือ ่ งของ งบประมาณทีน ่ ้อยกว่า

สรุปและข้อเสนอแนะ

จากผลการศึกษา ท�ำให้มองเห็นถึงความเหลือ ่ มล�ำ้ ของโรงเรียนทีอ ่ ยู่

ชายแดนที่ขาดทรัพยากรทางการเรียนที่ส�ำคัญ ซึ่งท�ำให้ยากต่อการบรรลุ เป้าหมายด้านผลการเรียน ซึง่ เป็นผลต่อเนื่องไปยังอนาคตของเด็กนักเรียน โดยสิ่งทีผ ่ อ ู้ อกนโยบายทางการศึกษาต้องตระหนักอย่างมาก คือ การเข้าใจ บริบทของพื้นที่ ซึ่งในแต่ละพื้นที่ย่อมมีลักษณะเฉพาะที่ท�ำให้หลักสู ตร ( 317 )


OBELS OUTLOOK 2017

แกนกลางไม่สามารถทีจ ่ ะตอบโจทย์การศึกษาทีเ่ หมาะสมของเด็กได้ทงั้ หมด ่ ตัวแปรส�ำคัญทีท ซึง ่ �ำให้การศึกษาของนักเรียนชายขอบมีประสิทธิภาพมาก ทีส ่ ุด คือ บุคลากรทางการศึกษา รวมทัง้ ครู และผูบ ้ ริหารทีต ่ อ ้ งหาหลักสูตร มีเหมาะสม เช่น หลักสู ตรทวิศึกษา ทีส ่ อดคล้องกับบริบทของพืน ้ ที่ เนื่อง จากนั กเรียนส่ วนหนึ่ งไม่ได้มีความต้องการที่จะเข้ามหาวิทยาลัน แต่จบ การศึกษาไปเพือ ่ ประกอบอาชีพ ทัง้ นี้ การมีส่วนร่วมของผูป ้ กครองก็มค ี วาม ส�ำคัญด้วยเช่น ในการร่วมสนับสนุนในด้านต่างๆ ตลอดจนชมรมศิษย์เก่า และชุ ม ชนในละแวกใกล้ เ คี ย งก็ ส ามารถที่จ ะช่ ว ยพั ฒ นาการศึ ก ษาของ นักเรียนได้เช่นกัน นอกจากนั้น ผู้บริหารจัดการหลักสู ตร และงบประมาณ ้ ของส่วนกลางควรทีจ ่ ะให้อิสระกับโรงเรียนมากขึน

แต่ต้องมีการติดตาม

และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนควรมีการพิจารณาการให้งบประมาณ ที่มีความยืดหยุ่นมากกว่าใช้จ�ำนวนนั กเรียน ในการก�ำหนดงบประมาณที่ ได้รับ

( 318 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง Dilaka Lathapipat and Lars M. Sondergaard. (2015). Thailand

- Wanted: a quality education for all. Washington, D.C.:

World Bank Group.

Hanushek, E. A. (1979). Conceptual and empirical issues in the

estimation of educational production function. Journal

of human resources, Volume 14 Issue 3, 351–388.

Hanushek, E. A. (2002). Publicly provided education. In A. J.

Auerbach & M. Feldstein (Eds.). Handbook of public

economics, Volume 4, 2045–2141. Amsterdam: Elsevier.

Jirada Prasartpornsirichoke and Yoshi Takahashi (2013)

Assessing Inequalities in Thai Education. Journal of east

Asian studies, Volume 18, 1-26. Thai Journals Online (ThaiJO).

Kiatanantha Lounkaew. (2013). Explaining urban–rural

differences in educational achievement in Thailand:

Evidence from PISA literacy data. Economic of Education

Review 37, 213-225.

แบ๊งค์ งานอรุณโชติ และถิรภาพ ฟักทอง. (2555). สูง ต�ำ่ ไม่เท่ากัน: ท�ำไม

ระบบการศึกษาจึงสร้างความเหลื่อมล�ำ้ . หนังสื อชุดถมช่องว่างทาง

สังคมล�ำดับ 3. เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม ส�ำนักงานคณะ

กรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ. นนทบุรี: ส�ำนักพิมพ์ศยาม.

ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั น์. (2555). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทางการ

ศึกษาต่อสั มฤทธิผลของนักเรียนไทย. เอกสารประกอบการสั มมนา

วิชาการประจ�ำปี 2554. สถาบันวิจัยเพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย.

( 319 )


OBELS OUTLOOK 2017

นณริฎ พิศลยบุตร. (2559). ความเหลือ ่ มล�ำ้ ทางการศึกษาของไทย: ข้อสรุป

จากผลการสอบปิซ่า (PISA). สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึง๊ ภากรณ์.

สมเกียรติ ตัง ้ กิจวานิชย์. (2560). ปฏิรูปการศึกษาไทยแล้วไปไหน.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. ค้นหาจาก http://tdri.or.th/ tdri-insight/2017-01-12. อัมมาร สยามวาลา, ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ และสมเกียรติ ตัง้ กิจวานิย์. (2555).

การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่: สู่ การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง.

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2554 ของสถาบันวิจัย

เพือ ่ การพัฒนาประเทศไทย.

( 320 )


OBELS OUTLOOK 2017

ส่ วนที่ 5 บทความวิชาการ: บนเส้ นทางสู่ ชายแดนภิวัฒน์ (Borderization)

( 321 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ ความเป็นสั งคมเมืองในพืน ้ ที่ ธุรกิจเพือ ชายแดนจังหวัดพะเยา วราวุฒิ เรือนค�ำ

จังหวัดพะเยาเป็นหนึ่งในจังหวัดภาคเหนือทีม ่ ีพน ื้ ทีช ่ ายแดนติดกับ

ประเทศเพือ ่ นบ้าน ได้แก่ บริเวณบ้านฮวก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีพน ื้ ที่ ติดกับแขวงไชยะบุลี สปป.ลาว โดยมีดา่ นชายแดนบ้านฮวกเป็นจุดผ่อนปรน ส� ำหรับการค้าชายแดนระหว่างสองประเทศ และสามารถเชื่อมโยงสู่ หลวง พระบาง ได้ทางถนนหมายเลข 3603 อ.ภูซางมีค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอคือ “ประตูสู่หลวงพระบาง ยางพาราชัน ้ เลิศ แหล่งก�ำเนิดน�ำ้ ตกอุน ่ หวานละมุน ่ บ่งบอกถึง น�ำ้ อ้อยสบบง สูงส่งถิน ่ พระธาตุ ตลาดค้าชายแดนไทย-ลาว” ซึง ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ การท่องเทีย ่ ว และวัฒนธรรมทีม ่ ีเอกลักษณ์ของ พืน ้ ทีอ ่ �ำเภอภูซางได้เป็นอย่างดี

รูปที่ 1 บริเวณด่านชายแดนบ้านฮวก (กิว่ หก) อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

( 322 )


OBELS OUTLOOK 2017

ด้วยศักยภาพและที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่มีความได้เปรียบ จึงท�ำให้

บ้านฮวก ถูกพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเทีย ่ วชายแดนอีกแห่งหนึ่งของภาคเหนือ ไม่แพ้ชายแดนแม่สาย เชียงแสน และเชียงของ จังหวัดเชียงราย สถานที่ ท่องเทีย ่ วทีด ่ งึ ดูดนักท่องเทีย ่ วชาวไทยและต่างประเทศทีข ่ น ึ้ ชือ ่ ได้แก่ ภูชฟ ี้ า้ ่ เป็นน�้ำตกน�้ำอุ่นแห่งเดียวในประเทศไทย) ผาตัง ้ ภูชมดาว น�้ำตกภูซาง (ซึง ้ รวมถึงตลาดค้าชายแดนไทยลาว และเทศกาลตักบาตรสองแผ่นดิน ดังนัน จึงท�ำให้มีธุรกิจเกีย ่ วกับการท่องเทีย ่ วจ�ำนวนมาก เข้ามาเปิดกิจการในช่วง เวลาทีผ ่ า่ นมา ไม่วา่ จะเป็นธุรกิจทีพ ่ ก ั (Accommodation Business) ธุรกิจ สวนและฟาร์ม (Garden and Farm) ธุรกิจนันทนาการ (Recreation Business) รวมถึงธุรกิจเพือ ่ ความเป็นสังคมเมือง (Business for Urbaniza้ ผนวกกับการผลักดัน ้ ากขึน tion) เริม ้ ทีช ่ ายแดนในส่วนนีม ่ เข้าลงทุนในพืน ยกระดับด่านผ่อนปรนบ้านฮวกให้เป็นด่านผ่านแดนถาวร เพือ ่ อ�ำนวยความ สะดวกในการเคลือ ่ นย้ายสินค้า แรงงานและการท่องเทีย ่ วให้มป ี ระสิทธิภาพ ้ จึงท�ำให้ราคาทีด ้ มากขึน ่ ินและการเข้ามาลงทุนมีแรงดึงดูดมากขึน

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่สังเกตได้ชัดที่สุด ได้แก่ธุรกิจ

่ สามารถพบเจอได้โดยทัว่ ไป ทีพ ทีพ ่ ก ั (Accommodation Business) ซึง ่ ก ั ตั้งแต่บริเวณด่านชายแดนบ้านฮวกลงมาตามทางหลวงหมายเลข 1093 ส่วนใหญ่มล ี ก ั ษณะเป็นรีสอร์ทขนาดเล็ก และขนาดกลางทีม ่ ค ี วามใกล้ชด ิ กับ ธรรมชาติ บรรยากาศเงียบสงบเหมาะกับการมาพักผ่อน เจ้าของธุรกิจ ส่ วนใหญ่เป็นคนในพื้นที่ อีกจ�ำนวนหนึ่ งจะเป็นโฮมสเตย์บริหารจัดการ โดยชุมชน โดยน�ำเอาอัตลักษณ์ของชุมชนและวัฒนธรรมมาส่งเสริมกิจกรรม การท่องเทีย ่ วในพืน ้ ที่

ทัง้ นี้ จุดแข็ง (strength) ของการประกอบธุรกิจทีพ ่ ก ั ได้แก่ การเป็น

เจ้าแรกในพืน ้ ที่ ความคุน ้ เคยกับชาวบ้าน ความสามารถในการหาพันธมิตร ทางธุรกิจ การเป็นเจ้าของทีด ่ ิน การหาท�ำเลทีต ่ ง ั้ ความใกล้ชิดธรรมชาติที่ งดงาม ความสงบเหมาะส�ำหรับเป็นทีพ ่ ก ั ตากอากาศ ความภักดีในตราสินค้า ( 323 )


OBELS OUTLOOK 2017

จากลูกค้าประจ�ำ รวมถึงความยากในการเข้ามาแข่งขันของนักลงทุนจาก นอกพืน ้ ที่ ท�ำให้ธุรกิจในพืน ้ ทีม ่ ีความเข้มแข็งจากการเข้ามาแย่งตลาดของ ธุรกิจภายนอก

รูปที่ 2 กิจการโฮมสเตย์ในพืน ้ ทีบ ่ ้านฮวก อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

ทัง ้ ยังมีโอกาส (Opportunity) ในการขยายตลาดหากการผลักดัน

่ จะส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเทีย ด่านผ่อนปรนให้เป็นด่านถาวรได้ส�ำเร็จ ซึง ่ ว ้ อีกทัง้ ยังสามารถ จากทัง้ ฝั่งไทยและฝั่งลาวทีจ ่ ะข้ามมาเทีย ่ วมีจำ� นวนมากขึน รองรับนักธุรกิจของทั้งสองประเทศที่จะเข้ามาด�ำเนินธุรกิจในพื้นที่ หรือ หากสามารถพัฒนาเส้นทางการท่องเทีย ่ วเชือ ่ มโยงระหว่างบ้านฮวก-ไชยะบุล-ี หลวงพระบาง อาจจะท�ำให้ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่เติบโตได้ใน อนาคต เนื่องจากนักท่องเทีย ่ วชาวไทยรุ่นใหม่นิยมเทีย ่ วใกล้ชิดธรรมชาติ ้ ดังนัน ้ หากสามารถเดินทางทางถนนผ่านเส้นทางนี้ และหลวงพระบางมากขึน ( 324 )


OBELS OUTLOOK 2017

้ จากทางเรือทีอ ได้กจ ็ ะเพิม ่ วได้เพิม ่ ำ� เภอเชียงของ ่ ทางเลือกให้นักท่องเทีย ่ ขึน อีกทั้งวัฒนธรรมของชาวสปป.ลาวฝั่งตรงข้าม กับชาวบ้านอ�ำเภอภูซางมี ความใกล้ชิดเสมือนเป็นบ้านพี่เมืองน้อง ดังนั้นหากยกข้อจ�ำกัดด้านการ ผ่านแดนออก ชาวบ้านทั้งสองฝั่งจะมีการไปมาหาสู่ และติดต่อสั มพันธ์ ้ กันมากขึน

รูปที่ 3 ทางหลวงหมายเลข 1093 (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

อีกธุรกิจทีเ่ ป็นผลพวงจากการท่องเทีย ่ วและการพัฒนาเมืองชายแดน

ได้แก่ กลุม ่ ธุรกิจเพือ ่ ความเป็นสังคมเมือง (Business for Urbanization) ตอบสนองความต้องการของกลุม ่ ลูกค้าทีต ่ อ ้ งการความทันสมัย ได้แก่ ธุรกิจ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ คาเฟ่ ธุรกิจยานยนต์ และธุรกิจความงาม โดยพืน ้ ที่ ชายแดนบ้านฮวกก็มธ ี รุ กิจดังกล่าวรองรับนักท่องเทีย ่ วทัง้ ทีเ่ ป็นคนในพืน ้ ที่ และนอกพืน ้ ทีอ ่ ย่างหลากหลาย ธุรกิจทีพ ่ บมากทีส ่ ุดในกลุ่มนี้ คือ ธุรกิจ ยานยนต์ขนาดเล็ก เนื่ องจากบ้านฮวกเป็นทางผ่านการขนส่ งอุปกรณ์ ก่อสร้างไปยังสปป.ลาว และทางขนส่ งหินของธุรกิจไทยทีไ่ ด้รับสั มปทาน ในฝั่งลาว อีกทั้งในสปป.ลาวก็ยังขาดธุรกิจประเภทยานยนต์ โดยธุรกิจ ( 325 )


OBELS OUTLOOK 2017

ยานยนต์ที่พบจากการส� ำรวจภาคสนามประกอบด้วยร้านขายอะไหล่ยนต์ ซึง่ เป็นกลุม ่ ทีม ่ ส ี ่วนแบ่งการตลาดสูงสุด รองลงมาคือ ซ่อมยานยนต์ขนาดเล็ก ร้านขายจักรยานยนต์ และร้านล้างรถ ตามล�ำดับ ซึง่ จุดแข็งของธุรกิจยานยนต์ ในพืน ้ ที่ ได้แก่ การให้บริการทีค ่ รบวงจร ความสามารถในการสร้างพันธมิตร กับลูกค้าและผู้ขายส่งรายใหญ่ ท�ำเลทีต ่ ง ั้ ทีไ่ ด้เปรียบ และมีความต้องการ ้ อยู่กับการขยายตัวของสั งคมเมืองและ สินค้าจากสปป.ลาว ส่วนโอกาสขึน ้ ความต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม ่ ขึน

กลุ่มธุรกิจร้านอาหาร ร้านกาแฟ และคาเฟ่ มีการเติบโตคงที่เมื่อ

เทียบกับหลายปีทผ ี่ า่ นมาจากการปรับตัวเป็นสังคมเมือง และการท่องเทีย ่ ว ในพืน ้ ทีช ่ ายแดนบ้านฮวกและอ�ำเภอภูซาง ลักษณะร้านอาหาร ร้านกาแฟ และคาเฟ่มีการปรับตัวให้เข้ากับธุรกิจในสั งคมเมืองมากขึ้น โดยจุดแข็ง ของธุรกิจจ�ำพวกนี้ได้แก่การประยุกต์ใช้วัตถุดิบและผลไม้ในท้องถิน ่ เช่น เสาวรส กระท้อน ลูกหม่อนฯ มาสร้างมูลค่าเพิม ี่ องหวานทีม ่ ี ่ เป็นเมนูทข ความหลากหลายและเป็นสากลมากขึ้น ส่ วนธุรกิจร้านอาหารโดยทั่วไป เป็นร้านอาหารจานเดียวขนาดกลาง และขนาดเล็กเพื่อรองรับการสั ญจร ของนักธุรกิจและนักท่องเทีย ่ วชาวไทย และชาวสปป.ลาว

รูปที่ 4 ร้านกาแฟในพืน ้ ทีต ่ �ำบลป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

( 326 )


OBELS OUTLOOK 2017

จุดแข็งของธุรกิจดังกล่าว คือ นักธุรกิจเป็นคนในพืน ้ ที่ มีความสามารถ

ในการหาวัตถุดิบในท้องถิ่นและการสร้างพันธมิตรกับผู้ผลิตทัง ้ จากต้นน�้ำ ถึ ง ปลายน�้ ำ การแข่ ง ขั น ของธุ ร กิ จ ประเภทเดี ย วกั น น้ อ ย การให้ บ ริ ก าร หลากหลาย สิ นค้าและบริการตรงความต้องการผู้บริโภค รวมถึงความ สามารถในการควบคุมต้นทุนเนื่องจากเป็นเจ้าของที่ รวมถึงการออกแบบ ร้านให้สอดคล้องกับธรรมชาติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ ่ การก่อสร้างเป็นต้น ส่วนโอกาส ของธุรกิจกลุ่มนี้ คือ การพัฒนาเข้าสู่ ้ อีกทัง้ สังคมเมือง พฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีน ่ ิยมสินค้าเพือ ่ ความทันสมัยมากขึน ชาวบ้านมีความเชือ ่ มัน ่ ว่าการเป็นด่านถาวรจะช่วยให้มีการเดินทางเข้าออก ้ ด่านมากยิง ่ ขึน

รูปที่ 5 ธุรกิจร้านอาหารและสระว่ายน�้ำ (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

่ ธุรกิจทีส อีกหนึง ่ ่งเสริมบรรยากาศแห่งการเป็นเมืองท่องเทีย ่ วคือกลุม ่

ธุรกิจนันทนาการ (Recreation Business) เช่นธุรกิจสวนและฟาร์ม และ สถานออกก�ำลังกาย เนื่องจากภูซางตัง้ อยูห ่ า่ งไกลจากศูนย์กลางความเจริญ จึงถูกโอบล้อมด้วยธรรมชาติที่สวยงาม สิ่ งที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่คือ ( 327 )


OBELS OUTLOOK 2017

การผสมผสานระหว่างความเป็นเมือง และธรรมชาติได้อย่างลงตัว

ดังนั้นหากบ้านจะหมุนรอบตัวเอง 360 องศา เพื่อชื่นชมความงามของ ธรรมชาติคงจะเป็นเรื่องที่ไม่แปลก แต่สิ่งที่แปลกและแตกต่างจากการ ออกแบบบ้านทัว่ ไปคือ “นวัตกรรมบ้านหมุน” นวัตกรรมการออกแบบฝีมือ คนไทยทีพ ่ ลิกผมบังภูเขาจัดการปัญหาองศาตัวบ้านไม่ลงตัว ด้วยการหมุน รับแดด ลม และฝน การท�ำให้ตัวอาคารหมุนได้ 360 องศา ไม่ได้มีเหตุผล เพียงแค่ชมวิวเท่านั้น แต่เพือ ่ ความปลอดภัยและการป้องกันภัยธรรมชาติ เช่น พายุ และ แผ่นดินไหว ด้วยตัวฐานทีไ่ ม่ยึดติดและสามารถเคลือ ่ นไหว ได้จึงสามารถรับแรงแผ่นดินไหว และพายุได้อย่างปลอดภัย

บ้านหมุนอ�ำเภอภูซาง เปิดให้เป็นศูนย์เรียนรูด ้ า้ นนวัตกรรม พลังงาน

ย้อนกลับ สวนสมุนไพร ร้านกาแฟ ธุรกิจสวนและฟาร์ม โดยไม่เพียงให้ บริการนักท่องเทีย ่ วเพียงอย่างเดียว แต่ยังพยายามส่ งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการเป็นศูนย์เรียนรู้ การแปรรูปและพัฒนาสินค้าเกษตร รวมถึง สร้างเป็นจุดดึงดูด (Landmark) ส่งเสริมสถานทีท ่ ่องเทีย ่ วในพืน ้ ที่

รูปที่ 6 : นวัตกรรมบ้านหมุนอ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

( 328 )


OBELS OUTLOOK 2017

ในส่วนธุรกิจสถานออกก�ำลังกายและฟิตเนสมีจ�ำนวนค่อนข้างน้อย

เนื่องจากชาวบ้านนิยมออกก�ำลังกายข้างนอกตัวอาคาร เช่น เดิน ปั่นจักรยาน และวิ่งตามสถานที่ต่างๆที่มีความใกล้ชิดธรรมชาติ ส่ วนหนึ่ งนิ ยมออก ก�ำลังกายในบ้านหรือในสวน จึงไม่คอ ่ ยออกไปใช้บริการฟิตเนส หรือสถาน ออกก�ำลังกายนอกบ้าน อย่างไรก็ตาม ในพืน ้ ทีม ่ ธ ี รุ กิจร้านอาหารทีใ่ ห้บริการ สระว่ายน�้ำไปในตัว ท�ำให้ผู้บริโภคที่นิยมรักสุ ขภาพมาใช้บริการ รวมถึง พาบุตรหลานมาพักผ่อนหย่อนใจ อีกส่ วนหนึ่งจะเป็นสถานออกก�ำลังกาย ตามสถานทีส ่ าธารณะต่างๆทีร่ ัฐบาลเป็นผู้สร้างให้กับประชาชน

รูปที่ 7: ธุรกิจเพือ ่ การออกก�ำลังกาย (ถ่ายเมือ ่ เดือน มิ.ย. 60)

อย่างไรก็ตาม จุดอ่อน (Weakness) ของการด�ำเนินธุรกิจในบ้านฮวก

อ�ำเภอภูซาง ประกอบด้วย โครงสร้างอาชีพของประชากรในพืน ้ ทีท ่ ส ี่ ่วนใหญ่ เกินร้อยละ 90 ท�ำงานในภาคเกษตร ซึง่ มีรายได้ไม่แน่นอน รวมถึงผูป ้ ระกอบการ ยังไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีในการให้บริการและการประชาสั มพันธ์การ ด�ำเนินธุรกิจส่วนใหญ่ยงั มีรป ู แบบดัง้ เดิม การช�ำระเงินส่วนใหญ่ใช้เป็นเงินสด ( 329 )


OBELS OUTLOOK 2017

เนื่องจากกลุ่มลูกค้าส่ วนใหญ่นิยมใช้เงินสดด้วยเช่นกัน การท�ำธุรกรรม ทางการเงินจ�ำเป็นต้องเข้ามาท�ำในอ�ำเภอเท่านั้น ส่ วนการเดินผ่านด่าน ชายแดนมีกฎระเบียบทีไ่ ม่เอือ ้ อ�ำนวยต่อการท่องเทีย ่ ว เนื่องจากด่านผ่าน ้ จึงมีขอ แดนมีสถานะเป็นจุดผ่อนปรน ดังนัน ้ จ�ำกัดในการเดินทางเข้า-ออก นักท่องเทีย ่ วชาวลาวทีข ่ ้ามมาซือ ้ สินค้าส่วนใหญ่นิยมเข้าไปซือ ้ ในตัวอ�ำเภอ ้ และตามห้างสรรพสินค้า จึงท�ำให้ธรุ กิจท้องถิน ั ผลกระทบ ถึงอย่างไรนัน ่ ได้รบ ได้มก ี ารจัดท�ำตลาดชายแดนสองแผ่นดินทีม ่ ล ี ก ั ษณะเป็นตลาดนัด บริเวณ บ้านฮวก และตลาดนัดคลองถมหมู่บ้านป่าสัก ดึงดูดให้ชาวลาวเข้ามาแวะ ซือ ้ สินค้าในท้องถิน ่

อุปสรรคของการประกอบกิจการได้แก่พน ื้ ทีท ่ ำ� การเกษตรน้อย พืน ้ ที่

ส่ วนใหญ่เป็นป่าเขาจึงไม่สามารถท�ำการเพาะปลูกได้มากเท่าทีค ่ วร โดยที่ เกษตรกรสามารถท�ำนาได้ปีละ 1 ครัง ้ เท่านั้น นอกจากนั้น นิยมปลูกพืชไร่ ทดแทน เช่น กระเทียม ข้าวโพด และถัว่ ลิสง เป็นต้น ดังนั้นปัญหาทีม ่ ัก เกิ ด ขึ้น คื อ การผั น ผวนของราคาสิ น ค้ า เกษตรซึ่ง เป็น ปัจ จั ย ภายนอกที่ ้ เมือ ้ เมือ ควบคุมยาก ดังนัน ่ ราคาผลผลิตสูงชาวบ้านจะมีรายได้เพิม ่ ราคา ่ ขึน ตกต�่ำก็จะได้รับผลกระทบเป็นวงกว้าง ส่งผลให้ความต้องการ (Demand) และอ�ำนาจซือ ้ (Purchasing power) ลดลงตามระดับราคาสินค้าเกษตร ทัง้ นี้ อุปสรรคอีกหนึ่งข้อทีไ่ ม่อาจหลีกเลีย ่ งได้ ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจซบเซา ่ ส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเทีย ้ และพบได้ ซึง ่ วซบเซาตาม ผลกระทบทีเ่ กิดขึน ชัดเจนสุด คือ ยอดขายของทุกกิจการลดลงกว่า 100 % บางกิจการจ�ำเป็น ต้องปรับกลยุทธ์ด้วยการลดราคาสิ นค้า และเปลี่ยนกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จากกลุ่มนักท่องเทีย ่ วเป็นชาวบ้านในชุมชน

ถึงแม้การเข้ามาประกอบธุรกิจในพืน ้ ทีช ่ ายแดนบ้านฮวกไม่ใช่เรือ ่ งง่าย

แต่ก็มีโอกาสเติบโตจากการเป็นสั งคมเมือง การขยายตัวการท่องเที่ยว การจั ด เส้ น ทางท่ อ งเที่ย วเชื่อ มโยงสองแผ่ น ดิ น การเติ บ โตของระบบ โลจิสติกส์ และแนวโน้มการผลักดันด่านชายแดนให้เป็นด่านถาวร ดังนั้น ( 330 )


OBELS OUTLOOK 2017

การเข้ามาประกอบธุรกิจในพื้นที่ชายแดนบริเวณนี้ ควรมีการศึกษาข้อมูล อย่างครบถ้วน และมีความจ�ำเป็นทีต ่ ้องเข้าไปส�ำรวจพืน ้ ทีจ ่ ริงก่อนตัดสิน ใจลงทุน และที่ส�ำคัญควรมีการวางแผนระยะสั้ น กลาง ยาว รองรับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภค ตลอดจนสถานการณ์การท่องเทีย ่ ว และควรท�ำความเข้าใจวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตของชาวบ้านสองฝั่งชายแดน เพือ ่ หลีกเลีย ่ งการสร้างผลกระทบต่อ ชาวบ้านและสิ่งแวดล้อมเพือ ่ การประกอบธุรกิจทีอ ่ ย่างยัง ่ ยืน

( 331 )


OBELS OUTLOOK 2017

่ วต่างชาติ นักท่องเทีย ในวันทีเ่ ชียงของซบเซา...

พรพินันท์ ยีร่ งค์

เมือ ่ วันที่ 12 - 14 มิถุนายนทีผ ่ ่านมา ผู้วิจัยได้มีโอกาสทีไ่ ด้ไปลงพืน ้

่ ในช่วงนี้ ทีส ่ �ำรวจเพือ ่ เก็บข้อมูลในตัวเมืองต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงของ ซึง หากเปรียบกับฤดูการท่องเทีย ่ วของเชียงของ ถือว่าค่อนข้างซบเซา (Low season) เนื่องจากเป็นช่วงของฤดูฝน และอากาศก็รอ ้ นถึงร้อนมาก จึงไม่น่า ที่จะได้เห็นนักท่องเที่ยวเข้ามาในอ�ำเภอเชียงของ กระนั้นเอง ผู้วิจัยกลับ ่ กลุม สังเกตเห็นกลุม ่ นักท่องเทีย ่ วต่างชาติกลุม ่ ใหญ่หนึง ่ เข้ามาเดินเตร็ดเตร่ ในพืน ้ ที่

่ วเชียงของซบเซายิง การท่องเทีย ่ นัก

จากการส� ำรวจพื้นที่เชียงของในช่วงเช้าจนถึงเย็น สภาพเศรษฐกิจ

โดยรวมไม่ค่อยคึกคัก ผิดกับตอนช่วงปีก่อนในช่วงเวลาเดียวกันที่เคย เดินทางมายังอ�ำเภอเชียงของ จะพบเห็นทัง้ นักท่องเทีย ่ วชาวต่างชาติ และ ชาวจีนเดินกันขวักไขว่ เป็นเพราะสภาวะเศรษฐกิจโลก ณ ตอนนี้ ท�ำให้กลุม ่ นักท่องเทีย ่ วต่างชาติชาวยุโรป และอเมริกน ั ทีเ่ คยเข้ามาก็หดหายไป เช่นเดียว กับนักท่องเทีย ่ วชาวจีนทีเ่ คยเข้ามาในรูปแบบของคาราวานรถ และทัวร์รถบัส ผ่านทางเส้นทาง R3A ก็หายไปเช่นกัน สั งเกตได้จากการทีโ่ รงแรมต่างๆ ( 332 )


OBELS OUTLOOK 2017

ทีส ่ ร้างมาเพือ ่ รองรับกลุ่มนักท่องเทีย ่ วชาวจีนก็ดูจะเงียบเหงาไปมาก รถรา ก็ไม่มใี ห้เห็นจอดเรียงรายกันอยูต ่ ามถนน เป็นผลจากการทีร่ ฐ ั บาลได้ออก กฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ที่เ ข้ ม งวดต่ อ การเข้ า มาของรถจี น อย่ า งไรก็ ต าม สถานการณ์การทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไม่ได้ท�ำให้วิถีชีวิตของชาวเชียงของด�ำเนิน ต่อไป

รูปที่ 1 บริเวณด่านชายแดนเชียงของช่วงก่อนทีอ ่ อก กฎระเบียบเข้มงวดต่อรถจีน - ทีม ่ า: ไทยรัฐ (2559)

่ ว YOLO! นักท่องเทีย

ปกติแล้วผู้วิจัยจะไม่ได้มีโอกาสได้หาข้อมูลเกีย ่ วกับกลุ่มนักท่องเทีย ่ ว

ที่มาเชียงของ เมื่อพบเห็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกลุ่มใหญ่อยู่ในร้าน อาหารทีจ ่ ำ� หน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกฮอล์รป ู แบบทีท ่ ำ� ไว้เพือ ่ รองรับนักท่องเทีย ่ ว ชาวต่างชาติโดยเฉพาะ จึงเข้าไปเพือ ่ เก็บเกีย ่ วข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ส�ำหรับ การส่งเสริมการท่องเทีย ่ วในอ�ำเภอเชียงของ

จากการสอบถามผู้น�ำเทีย ่ ว หรือไกด์สาวทีพ ่ านักท่องเทีย ่ วต่างชาติ

กลุ่มหนึ่งมาเทีย ่ วทีร่ ้านนี้ พบว่านักท่องเทีย ่ วทีม ่ าเป็นเหมือนกลุ่มนักศึกษา ่ ตอนนี้อยู่ในช่วง ‘1 ปี ระหว่าง (Gap Year)’ จึงได้ซอ จบใหม่ ซึง ื้ ทัวร์ใน รูปแบบทีเ่ รียกว่า Yolo tours (YOLO ย่อมาจากค�ำว่า You Only Live Once) เป็นทัวร์ทเี่ ปิดรับนักท่องเทีย ่ วในกลุ่มอายุระหว่าง 18 ถึง 39 ปี ประหยัดเวลา ( 333 )


OBELS OUTLOOK 2017

และค่าใช้จ่าย ให้ได้ท่องเทีย ่ วในหลายจุดหมายปลายทางในระยะเวลาอัน สั้น ทัง ้ ยังเป็นทัวร์ท่องเทีย ่ วแบบกลุ่มค่อนข้างเล็ก มากทีส ่ ุด 18 คน เฉลีย ่ ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 12 คน โดยทัวร์นี้มีอยู่ในทัง ้ 7 ทวีป ได้แก่ แอฟริกาใต้ โอเชีย เนีย อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง ยุโรป อเมริกากลาง เอเชีย และแอฟริกา

ส่ วนนั กท่องเที่ยวกลุ่มนี้ อยู่ในแผนของทัวร์เอเชีย ราคาของทัวร์

ดังกล่าวเฉลีย ่ ตกอยู่ทห ี่ ัวละประมาณ 2,899 ดอลลาร์สหรัฐ หรือ 98,365 บาท ใช้เวลาในการเดินทางทัง ้ หมด 30 วัน ทัง ้ หมด 4 ประเทศ ได้แก่ ไทย เวียดนาม กัมพูชา และสปป.ลาว โดยวันแรกจะเริม ่ รุงเทพมหานคร ่ ต้นทีก ของประเทศไทย ก่อนจะมุ่งหน้าไปยังเสี ยมเรียบ กรุงพนมเปญ สี หนุวิลล์ ประเทศกัมพูชา ต่อด้วยเมืองเกิ่นเทอ โฮจิมินห์ ญาจาง ดงนัง ฮอยอัน เว้ ฮาลอง ฮานอย ประเทศเวียดนาม และไปต่อยังเวียงจันทน์ วังเวียง หลวง พระบาง ปากแบง สปป.ลาว ท้ายสุ ดมาทีอ ่ �ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ้ เครือ เชียงใหม่ ขึน ่ งกลับไปยังจุดเริม ่ ต้นคือ กรุงเทพฯ รูปที่ 2 เส้นทางทัวร์ท่องเทีย ่ ว Yolo

ทีม ่ า: www.gadventures.com

( 334 )


OBELS OUTLOOK 2017

เห็นได้วา่ ทัวร์ได้จด ั ให้อยูใ่ นประเทศเวียดนามนานสุดถึง 8 วัน รองมา

คือ สปป.ลาว 4 วัน กัมพูชา 3 วัน และไทย 3 วัน ‘เชียงของ’ เป็นหนึ่งใน จุดหมายทีน ่ ักท่องเทีย ่ วเดินทางด้วยเรือช้า (slow boat) มาจากสปป.ลาว ในวันที่ 27 ของแผนการท่องเที่ยว แต่ก็เป็นเพียงแค่ทางผ่านไปยังจุด ้ ดังนัน ้ นักท่องเทีย หมายปลายทางทีแ ่ ท้จริงอย่างเชียงใหม่เท่านัน ่ วต่างชาติ ก็จะเพียงแค่ค้างคืนหนึ่ง ท่องยามราตรี ทานอาหารเช้า และนั่งรถต่อไปท�ำ ้ ดอยสุ เทพ ชมมวยไทย เดินตลาดนัด กิจกรรมต่างๆทีเ่ ชียงใหม่ ได้แก่ ขึน กลางคืน นวดแผนไทย เรียนท�ำอาหาร ปั่นจักรยานรอบเมือง โหนสลิงค์ เหนือป่า เป็นต้น

ผู้วิจัยมองเห็นว่าเชียงของมีศักยภาพเพียงพอ ที่จะเป็นจุดหมายที่

ส�ำคัญเช่นเดียวกันเชียงใหม่ ด้วยความทีเ่ ชียงของอุดมไปทรัพยากรธรรมชาติ ้ เชียงของ และมีวถ ิ ช ี วี ต ิ ทีไ่ ม่ได้มค ี วามเป็นเมืองเทียบเท่ากับเชียงใหม่ ฉะนัน ควรทีจ ่ ะมีการสร้างกิจกรรมการท่องเทีย ่ วต่างๆ มาเพือ ่ ตอบโจทย์นักท่องเทีย ่ ว Gap Year เป็นส� ำคัญ โดยการสร้างประสบการณ์เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น (Local Experience) เฉกเช่นเดียวกันเชียงใหม่

่ วจีนอิสระ กระแสนักท่องเทีย

นอกจากนั้น ทีน ่ ่าสนใจเช่นเดียวกัน คือ กลุ่มนักท่องเทีย ่ วรุ่นใหม่ที่

เรียกว่า ‘FIT’ หรือ ‘Freely Independent Traveler’ เป็นนักท่องเทีย ่ ว ทีม ่ ีอายุมากกว่า 35 ปี มีรายได้ต่อหัวต่อเดือนสูงกว่าค่าเฉลีย ่ ของประเทศ ชอบที่ จ ะท่ อ งเที่ ย วเป็ น กลุ่ ม เล็ ก ๆ หรื อ ท่ อ งเที่ ย วแบบเป็ น คู่ ไม่ ส นใจ แพ็คเกจทัวร์ หรือติดต่อผ่านตัวกลางการท่องเทีย ่ ว เน้นการท่องเทีย ่ วด้วย ตนเอง เดินทางเอง หาของกินเอง และหากิจกรรมต่างๆท�ำด้วยตนเอง มีการค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่ อสั งคมออนไลน์ เช่น Facebook Twitter และอื่นๆ รวมถึงรับรู้ข้อมูลและข่าวสารผ่านคนรู้จัก และกระดาน สนทนาในโลกออนไลน์ ใช้รูปแบบการเดินทางทีม ่ ีต้นทุนต�่ำ ( 335 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปแบบการท่องเที่ยวกระแสใหม่ที่เกิดขึ้น มีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้น

อย่างมาก โดยเฉพาะในกลุม ่ ของนักท่องเทีย ่ วชาวจีนสมัยใหม่ทม ี่ ก ี ารศึกษา ่ จะมีความแตกต่าง และรายได้ค่อนข้างสู ง ท�ำให้มีก�ำลังซือ ้ ทีส ่ ูงเช่นกัน ซึง ไปจากกลุม ่ นักท่องเทีย ่ วจีนทีเ่ คยมาในรูปแบบของทัวร์รถบัสคันใหญ่ จึงเป็น โอกาสของภาคการท่องเทีย ่ วในอ�ำเภอเชียงของในการทีจ ่ ะเจาะตลาดของ ้ แล้ว นักท่องเทีย ่ วกลุม ่ นี้ นอกเสียจากทีจ ่ ะต้องสร้างกิจกรรมดึงดูดให้เกิดขึน ยังต้องมีการเพิม ่ วในการใช้ภาษาจีน ่ ทักษะให้กับบุคลากรด้านการท่องเทีย การเปิดให้ช�ำระสินค้าและบริการผ่านกระเป๋าเงินออนไลน์อย่าง We Chat Pay และ Alipay เป็นต้น

หากเชียงของมีการปรับเปลีย ่ นกลยุทธ์ดา้ นการท่องเทีย ่ วให้สอดคล้อง

กับการเปลีย ่ นแปลงของกระแสการท่องเทีย ่ วในปัจจุบน ั อาจจะท�ำให้แผนการ ท่องเทีย ่ วของทัวร์ตา่ งๆทัง้ ไทยและต่างประเทศในอนาคต รวมถึงการเข้ามา ้ นักท่องเทีย ่ วอิสระ มีการปรับเปลีย ่ นให้มีการใช้เวลาอยู่ทเี่ ชียงของมากขึน ซึง่ จะช่วยสร้างรายได้อย่างมากให้กบ ั คนในท้องถิน ่ และท�ำให้อำ� เภอเชียงของ เป็นมากกว่าแค่ ‘ทางผ่าน’ หรือ ‘ประตู’ ไปสู่ พน ื้ ทีอ ่ น ื่ เหมือนทีเ่ คยเป็นมา

อ้างอิง GAdventures. (ม.ม.ป.). Indochina Discovery. ค้นหาจาก https://

www.gadventures.com/trips/indochina-discovery/4653/

itinerary.

กองกลยุทธ์การตลาด ททท. (2559). ท่องเทีย ่ วไทยในปี 2560

Thailand as a preferred destination. ค้นหาจาก

http://www.tatreviewmagazine.com/web/menu-read-tat/

menu-2016/menu-42016/745-42016-th2560.

( 336 )


OBELS OUTLOOK 2017

Pual Gill. (2554). What Is 'YOLO'? What Does '#YOLO' Mean?.

ค้นหาจาก https://www.lifewire.com/what-is-yolo-2483721.

Gadling. (2553). Travel Trends: The rise of the ‘Free

Independent Traveler’ (FIT). ค้นหาจากhttp://gadling.com/

2010/05/12/travel-trends-free-independent-traveler-fit/

ประชาชาติธุรกิจ. (2560). "หนีห่าว มาร์เก็ตติง ้ " เคล็ดลับมัดใจ

นักท่องเทีย ่ วจีนรุ่นใหม่. ค้นหาจาก http://www.prachachat.

net/news_detail.php?newsid=1494674177

( 337 )


OBELS OUTLOOK 2017

ไทย-จีน: ท่าเรือ และสวนกล้วย สิทธิชาติ สมตา

เมือ ่ วันที่ 29 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน พ.ศ.2560 คณะส�ำรวจเส้ น

ทางท่องเทีย ่ ว R3A มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้เดินทางยังเมืองเชียงรุ้ง เขตปกครองตนเองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน การเดินทาง ่ ได้เริม ครัง้ นีใ้ ช้เส้นทาง R3A ซึง ่ ต้นการเดินทางผ่านด่านชายแดนเชียงของ เข้าสู่สปป.ลาว และเดินทางต่อไปยังเขตเศรษฐกิจพิเศษร่วมบ่อเต็น-บ่อหาน (สปป.ลาว – จีน) ก่อนเดินทางต่อไปยังเมืองเชียงรุ้งเป้าหมายของการ เดินทางในครัง ้ นี้

การเดินทางในเส้นทาง R3A นั้น นับตัง ้ แต่ผ่านเมืองห้วยทรายไป

ตลอดข้างทางเราพบเห็นสวนกล้วยมากที่สุด รองลงมาคือสวนยางพารา จากการก้าวรุกของกลุ่มทุนจีนบนเส้ นทาง R3A นับตัง ้ แต่ปี พ.ศ.2550 ได้เข้ามาลงทุนและเช่าทีด ่ น ิ เพือ ่ ด�ำเนินด้านการค้า การลงทุน ตามหัวเมือง ส�ำคัญบนเส้ นทางนี้ โดยเฉพาะการลงทุนทางด้านภาคเกษตรกรรมในการ ่ เป็นพืชเศรษฐกิจและได้รับความนิยมบริโภคเป็นอย่าง ปลูกกล้วยหอม ซึง มากส�ำหรับประชากรชาวจีน ( 338 )


OBELS OUTLOOK 2017

เมื่อ เราได้ เ ดิ น ทางผ่ า นชายแดนบ่ อ เต็ น -บ่ อ หาน และมุ่ ง หน้ า ไป

ยังเมืองเชียงรุ้งนั้น ตลอดเส้ นทางการเดินทางในจีนพบเห็นว่าข้างทางมี การปลูกกล้วยหอมจ�ำนวนมาก เนื่ องจากการปลูกกล้วยในประเทศจีน สามารถเพาะปลูกกล้วยหอมได้ มีเพียงเขตปกครองตนเองสิ บสองปันนา หรือในเขตภาคใต้ของจีน โดยบริเวณด่านชายแดนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ร่วมบ่อเต็น-บ่อหาน ผูส ้ �ำรวจได้สังเกตเห็นถึงรถบรรทุกขนสินค้ากล้วยหอม ในผลิตภัณฑ์แบบกล่อง ประมาณ 10 คัน ทีก ่ ำ� ลังจะเดินทางน�ำเข้าไปยังจีน

ถ่ายโดย วราวุฒิ เรือนค�ำ เมือ ่ วันที่ 2 มิถุนายน 2560

้ ณะส�ำรวจได้เดินทางไปยังหรือท่าเรือจิง่ หง (Jing Hong นอกจากนีค

Port) บรรยากาศบริเวณท่าเรือค่อนข้างเงียบ เนื่องจากปัจจุบันท่าเรือจิง ่ หง ได้ปรับเปลี่ยนสถานะจากการเป็นท่าเรือแห่งการค้า และการท่องเที่ยว ในแม่น�้ำโขง มาเป็นเพียงท่าเรือที่ใช้ในการล่องเรือระยะสั้ นเพื่อรองรับ นักท่องเทีย ่ วชาวจีน เพราะปัจจุบน ั รัฐบาลกลางของจีนได้มก ี ารพัฒนาท่าเรือ ่ เป็นเมืองท่าหน้าด่านของจีนติดชายแดน สปป.ลาว ห่างจาก กวนเหล่ย ซึง อ.เชียงแสน 263 กิโลเมตร เป็นท่าเรือแห่งการขนส่ งสิ นค้าในแม่น�้ำโขง ( 339 )


OBELS OUTLOOK 2017

ซึง่ การเดินทางในครัง้ นี้น่าเสี ยดายอย่างยิง่ ทีไ่ ม่ได้ไปส�ำรวจท่าเรือกวนเหล่ย เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเส้นทางในการเดินทางไปยังท่าเรือก�ำลังปรับปรุง ่ ต้องใช้เวลานานกว่า 6 ชัว่ โมง ซึง

ถ่ายโดย พรพินันท์ ยีร่ งค์ เมือ ่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2560

ขณะเดียวกันท่าเรือจิ่งหงก่อนปี พ.ศ.2554 เป็นท่าเรือท่องเที่ยว

เส้นทางแม่น�ำ้ โขงมีการล่องเรือท่องเทีย ่ วจากจีนสู่อำ� เภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย แต่หลังจากเหตุการณ์ฆาตกรรมลูกเรือสั ญชาติจีน 13 ศพ ในลุ่ม แม่น�้ำโขง เมือ ่ วันที่ 5 ตุลาคม ปี พ.ศ.2554 ทีผ ่ ่านมา ส่ งผลให้ทางรัฐบาล สั่งห้ามการเดินทางท่องเทีย ่ วด้วยการล่องเรือในเส้นทางแม่น�้ำโขงหลังช่วง เหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งหากต้องการล่องเรือท่องเที่ยวในแม่น�้ำโขงจะต้อง ขออนุ ญาตจากรัฐบาลและมีขั้นตอนที่มากขึ้นเพื่อความปลอดภัยในการ เดินทาง ท�ำให้การค้าและการท่องเทีย ่ วในแม่น�ำ้ โขงหยุดชะงักและส่งผลต่อ เศรษฐกิจในขณะนั้น ปัจจุบันท่าเรือจิ่งหงได้ปรับเปลี่ยนเป็นเพียงท่าเรือ ที่ให้ส�ำหรับนั กท่องเที่ยวล่องเรือรับประทานอาหารยามค�่ำคืนและขนส่ ง สินค้าปริมาณน้อยระหว่างท่าเรือจิง ่ หงกับท่าเรือก่วนเหล่ยเท่านั้น ( 340 )


OBELS OUTLOOK 2017

อย่างไรก็ตาม เมือ ่ เดือนพฤษภาคมทีผ ่ ่านมาได้มีคณะนักท่องเทีย ่ ว

่ เดินทางมาทางเรือแม่น�ำ้ โขงจากมณฑลยูนนาน หรือทัวร์จากประเทศจีน ซึง ้ ฝั่งไทยที่ อ.เชียงแสน โดยมีต้นทางมาจากท่าเรือเมืองก่วนเหล่ยและมาขึน จ.เชียงราย จ�ำนวนประมาณ 180 คน และได้เดินทางไปท่องเทีย ่ วตามสถานที่ ท่องเทีย ่ วส�ำคัญต่างๆ ใน จ.เชียงราย เช่น ดอยตุง วัดร่องขุน ่ บ้านด�ำ ตลาด ชายแดนแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก ฯลฯ ท�ำให้บรรยากาศตามสถานที่ต่างๆ และ สถาบันบริการ เช่น ร้านอาหาร โรงแรมหลายแห่งคึกคัก และมีความคาดหวัง ว่าในอนาคตเส้ นทางการท่องเทีย ่ วระหว่างประเทศในแม่น�้ำโขงจะกลับมา อีกครัง ้ ...

เอกสารอ้างอิง

ประชาชาติธุรกิจ. (2559). สิ บสองปันนา เปิดใช้ท่าเรือกวนเหล่ย ปี′60

ขนผัก-ผลไม้บก ิ๊ ลอตบุกอาเซียน. สื บค้นจาก http://www.

prachachat.net/news_detail.php?newsid=1478073785

สืบค้นวันที่ 5 มิถุนายน 2560

ประชาชาติธุรกิจ. (2560). จีนจัดทัวร์น�้ำโขงจากยูนนานเยือนไทยครัง ้ แรก

สร้างบรรยากาศท่องเทีย ่ วเชียงราย. สื บค้นจาก

http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=

1493698815 สื บค้นวันที่ 5 มิถุนายน 2560

ส�ำนักข่าวชายขอบ. (2558). รัฐบาลลาวเตือนบริษท ั จีนใช้สารเคมีเกินขนาด

ในสวนกล้วย ขู่จะสั่ งปิดกิจการหากยังละเมิดกฎหมายลาว เผยเร่ง

ส่งออกตอบสนองตลาดโลก. สืบค้นจาก http://transbordernews.

in.th/home/?p=10002 สืบค้นวันที่ 20 มกราคม 2559

( 341 )


OBELS OUTLOOK 2017

แนวโน้มการค้าข้ามแดน: ความเป็นไปได้ด้านการค้าขายพลังงาน ของอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงในอนาคต อ.ดร.อภิสม อินทรลาวัณย์

ผูเ้ ขียนได้มโี อกาสไปน�ำเสนอผลงานวิจย ั และร่วมสัมมนาทางวิชาการ

The 3rd U.S.-China GMS Cooperation Dialogue ทีเ่ มืองคุณหมิง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 9 - 11 ธันวาคม 2560 ทีผ ่ ่านมา เจ้าภาพจักดาร ได้แก่ Kunming South Asia & Southeast Asia International Logistics Research Institute, Yunnan Academy of Social Science, Stimson Center Southeast Asia Program และ The MacArthur Foundation มีหน่วยงานมันสมอง (Think tank) เข้าร่วมมากมายจาก ทางฝั่งของประเทศสหรัฐอเมริกา จีน และ กลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคลุ่ม น�้ำโขง หนึ่งในเป้าประสงค์ของการสั มมนาคือ การหลอมรวมภูมิภาคให้ แน่ นแฟ้นมากยิ่งขึ้น บนพื้นฐานของความรู้ความเข้าใจและการแบ่งปัน ผลประโยชน์ร่วมกัน ( 342 )


OBELS OUTLOOK 2017

ผลจากการสั มมนาพบว่า แนวโน้มการผลิตและการค้าขายพลังงาน

ของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง ก�ำลังจะเปลีย ่ นไปในอนาคตอันใกล้นี้ ปัจจัยที่ส�ำคัญที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ ได้แก่ (1) เทคโนโลยี ้ การผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมทีม ่ ีประสิ ทธิภาพมากยิง ่ ขึน ส่ งผลให้ราคาการผลิตต่อหน่วยที่ลดลง และความสามารถในการแข่งขัน ที่มากขึ้น (2) ประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงมีศักยภาพในการผลิตและ มีแนวโน้มที่จะส่ งออกพลังงานมากยิ่งขึ้น ประกอบกับการการหลอมรวม ้ อันจะส่งผลต่อแนวโน้มของตลาดการค้าขาย ภูมภ ิ าคทีแ ่ น่นแฟ้นมากยิง ่ ขึน พลังงานข้ามพรมแดนที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นใหม่ในอนุ ภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง (3) ้ จาก ความตระหนักทางผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม และทางสั งคมทีม ่ ากขึน การผลิตพลังงานแบบเดิม เช่น ผลกระทบของระบบอุทกวิทยา และผล กระทบทางความมัน ่ คงทางอาหารจากการสร้างเขือ ่ นขนาดใหญ่ และมลพิษ ทางอากาศและสุ ขภาพจากการผลิตพลังงานจากถ่านหิน และผลอันเนื่อง มาจากการเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ราคาการผลิตต่อหน่วยและศักยภาพในการผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม

จากรูปที่ 1 พบว่า ในช่วง 30 ปีทผ ี่ า่ นมา ราคาการผลิตต่อหน่วยของ

พลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานลม และ ราคาของแบตเตอรีล ่ เิ ทียม ลดลง อย่างต่อเนื่อง รายงานการวิจัยของ Stimson Center พบว่าในช่วง 8 ปี หลังทีผ ่ ่านมา (ค.ศ. 2009 - 2016) ราคาการผลิตต่อหน่วยของพลังงาน แสงอาทิตย์ลดลงถึง 85% ในขณะราคาการผลิตต่อหน่วยของพลังงาน ลมลดลงกว่า 60% หากพิจารณาเฉพาะปีทผ ี่ า่ นมา(2016) จะพบว่าภายใน ระยะเวลาเพียงแค่หนึ่งปี พลังงานแสงอาทิตย์มีราคาการผลิตต่อหน่วยลด ลงถึง 13% และพลังงานแสงลมมีราคาการผลิตต่อหน่วยลดลงถึง 10.75% ปัจจุบัน ราคาพลังงานหน้าโรงงานของฟาร์มพลังงานแสงอาทิตย์ในเมือง ( 343 )


OBELS OUTLOOK 2017

อบูดาบี อยู่ที่ US$ 0.0242 c/kWh ในขณะทีร่ าคาพลังงานหน้าโรงงาน ของการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน�้ำในประเทศลาว อยู่ที่ US$ 0.07 c/kWh.)1

ทีม ่ า: Kittner, N., Lill, F., Kammen, D.M. (2017)

จากรูปที่ 2 จะเห็นได้ว่า ประเทศในภูมิภาคมีศักยภาพในการผลิต

พลังงานจากแสงอาทิตย์รวมกันได้ไม่น้อยกว่า 79,975 เมกกะวัตต์พีค (MWp) โดยแบ่งศักยภาพในการผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์จากมาก ไปหาน้ อยได้ดังนี้ เมียนมาร์ (26,962 MWp) ไทย (22,801MWp) เวียดนาม (13,326 MWp) ลาว (8,812 MWp) และกัมพูชา (8,074 MWp)

นอกจากนี้ ประเทศในอนุภูมิภาคยังมีศักยภาพในการผลิตพลังงาน

ลมรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 3,371 - 16,483 เมกกะวัตต์ (MW) โดยแบ่ง ศั กยภาพในการผลิตพลังงานจากกระแสลมจากมากไปหาน้ อยได้ดังนี้ ไทย (2,412 - 9,647 MW) เวียดนาม (760 - 3,042 MW) ลาว (95 - 379 MW) เมียนมาร์ (86 - 343 MW) และกัมพูชา (18 - 72 MW) 1

Weatherby, C. and B. Eyler. (2017). Letters from the Mekong: Mekong power shift

emerging trends in the GMS power sector Stimson Center.

( 344 )


OBELS OUTLOOK 2017

รูปที่ 2 แผนทีแ ่ สดงศักยภาพในการผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์และพลังงานลม

้ ระเทศในอนุภม นอกจากนีป ู ภ ิ าคยังมีศักยภาพในการผลิตพลังงานลม

รวมกันได้ไม่น้อยกว่า 3,371 - 16,483 เมกกะวัตต์ (MW) โดยแบ่งศักยภาพ ในการผลิตพลังงานจากกระแสลมจากมากไปหาน้อยได้ดง ั นี้ ไทย (2,412 9,647 MW) เวียดนาม (760 - 3,042 MW) ลาว (95 - 379 MW) เมียนมาร์ (86 - 343 MW) และกัมพูชา (18 - 72 MW)2

2

Asian Development Bank. (2015). Renewable energy developments and potential in

the Greater Mekong Subregion. Mandaluyong City, Philippines: Asian Development Bank.

( 345 )


OBELS OUTLOOK 2017

สถานการณ์ด้านอุปสงค์ และอุปทานทางด้านพลังงานของประเทศใน ภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง

จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่าสถานการณ์ด้านอุปสงค์และอุปทานทาง

ด้านพลังงานของประเทศในภูมภ ิ าคลุม ่ น�ำ้ โขงตอนล่าง (เมียนมาร์ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม) นั้นคล้ายคลึงกันกล่าวคือ ยังมีความไม่มน ั่ คงทางด้าน พลังงาน โดยก�ำลังการผลิตทีต ่ ด ิ ตัง้ แล้วไม่เพียงพอต่อความต้องการจึงจ�ำเป็น ต้องอาศัยการน�ำเข้าพลังงานจากภายนอกประเทศ นอกจากนี้ เศรษฐกิจ ที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ยังจะส่ งผลต่อความต้องการที่คาดการณ์ว่า ้ ในอนาคต อย่างไรก็ตามจะมีเพียงแต่มณฑลยูนนาน ประเทศจีน จะเพิม ่ ขึน ั จุบันมีพลังงานเหลือเฟือ จากนโยบายเศรษฐกิจชะลอตัวทีเ่ น้น เท่านั้นทีป ่ จ การกระจายรายได้และการรักษาสมดุลทางสิ่งแวดล้อม ท�ำให้มณฑลยูนนาน ประเทศจีนมีอป ุ ทานส่วนเกินถึง 300 TWh หรือ 300,000,000 MWh ตารางที่ 1 อุปสงค์และอุปทานทางด้านพลังงานของประเทศในภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงปี 2016

ประเทศ

อุปทาน

อุปสงค์

จีนยูนนาน

ปัจจุบันมีอุปทานส่ วนเกินถึง 300 TWh

เมียนมาร์

มีก�ำลังการผลิตติดตัง ้ แล้ว 4,422

คาดว่าความต้องการจะเพิม ่ จาก

MW ในปี 2014

4,500 MW ในปี 2020 เป็น 13,410 MW ในปี 2030

ไทย ลาว

มีก�ำลังการผลิตติดตัง ้ แล้ว 37,612

คาดว่าความต้องการจะเพิม ่

MW ในปี 2014

เป็น 70,355 MW ในปี 2036

มีก�ำลังการผลิตติดตัง ้ แล้ว 6,258

ประชากรเพียง 87% เท่านั้นทีม ่ ี

MW ในปี 2016 และคาดว่าจะ

ไฟฟ้าใช้ที่ 500 kWhต่อคนต่อปี

เพิม ่ การผลิตเป็น 15,029 MW ใน

โดย 90%ของประชากรทัง ้ หมด 7

ปี 2020

ล้านคนจะมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือนใน ปี 2020

( 346 )


OBELS OUTLOOK 2017

ประเทศ กัมพูชา

อุปทาน

อุปสงค์

มีก�ำลังการผลิตติดตัง ้ แล้ว 1,511

ประชากรเพียง 58% เท่านั้นทีม ่ ี

MW ในปี 2014

ไฟฟ้าใช้และต้องจ่ายค่าไฟฟ้าแพง ทีส ่ ุดถึง US$0.25/kWh

เวียดนาม

มีก�ำลังการผลิตติดตัง ้ แล้ว 33,964

คาดว่าความต้องการจะเพิม ่ เป็น

MW ในปี 2014

129,500 MW ในปี 2030

แนวโน้มและความเป็นไปได้ด้านการค้าขายพลังงานของอนุภูมิภาค

ลุ่มน�้ำโขง และความท้าทายของความมั่นคงทางด้านพลังงานของภูมิภาค จากปรากฏการณ์ความไม่สมดุลทางด้านอุปสงค์และอุปทานทางด้านพลังงาน ของประเทศในภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง จึงได้มีการหยิบยกกรอบแนวคิดเรื่อง ้ มาอภิปรายอีกครัง้ หนึ่ง รูปที่ 3 ความมัน ่ คงทางด้านพลังงานของภูมภ ิ าคขึน แสดงให้เห็นถึงแผนการ การพัฒนาสายส่งแรงสูง การเชือ ่ มต่อทางพลังงาน ในภูมิภาค โดยทีป ่ ระชุมมีข้อเสนอให้

1. สนับสนุนทางการเงินในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้าน

พลังงาน เพือ ่ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาสายส่งแรงสูงเชือ ่ มต่อทางพลังงาน ไฟฟ้า และการตลาด ในระดับภูมิภาค

2. สนับสนุน ในการพัฒนาพลังงานทางเลือก พลังงานหมุนเวียน เช่น

พลังงานไฟฟ้า และพลังงานลม อันส่งเสริมให้เกิดความมัน ่ คงจากการผลิต จากพลังงานจากหลายแหล่ง (Power mixed Sources)

3. สนันสนุนให้มี นโยบาย กฏหมาย และข้อก�ำหนดในการผลิต ค้า

และอนุรักษ์พลังงานร่วมกัน

( 347 )


OBELS OUTLOOK 2017 รูปที่ 3 การพัฒนาสายส่ง การเชือ ่ มต่อทางพลังงาน

อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนมีข้อสั งเกตุว่า การพัฒนาพลังงานของแต่ละ

ประเทศในอดีต (Path Dependency) การพึ่งพาพลังงานจากภายนอก ประเทศ (Dependency issues) และ การเสริมสร้างความไว้ใจในภูมิภาค (Trust building) ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในภูมภ ิ าคลุม ่ น�ำ้ โขงนี้ ทีจ ่ ะกีดขวางความเป็นไปได้ดา้ นการเสริมสร้างความมัน ่ คงทางด้านพลังงาน การพัฒนาทางค้า ของภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงในอนาคต ( 348 )


OBELS OUTLOOK 2017

เอกสารอ้างอิง Kittner, N., Lill, F., Kammen, D.M. (2017). “Energystorage

deployment and innovation for the clean energy transition.”

Nature Energy 2 17125.)

Weatherby, C. and B. Eyler. (2017). Letters from the Mekong:

Mekong power shift emerging trends in the GMS power

sector Stimson Center.

Asian Development Bank. Renewable energy developments

and potential in the Greater Mekong Subregion.

Mandaluyong City, Philippines: Asian Development Bank,

2015.

( 349 )


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.