Obels outlook 2014

Page 1



ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว

สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส (OBELS)

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 3



คํานํา หนังสือเรือ่ ง “ปูพรมชายแดนเชียงรายศึกษา: วาดวยเศรษฐกิจ สังคม การคา การลงทุน และการทองเที่ยว” เลมนี้เปนผลงานที่เกิดจากการดําเนินงานดานงาน วิชาการภายใตโครงการจัดตั้งสํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส (Office of Border Economy and Logistics Study : OBELS) ตั้งแตเขาสูป พ.ศ. 2557 เปนตน มาแลวนั้น ไดมีการดําเนินทางวิชาการดานการศึกษาและอธิบายภาคเศรษฐกิจการคา ชายแดนดานการ ภาคเศรษฐกิจสังคมเมืองชายแดน และขาว การประชุมหารือ และนํา เสนอขอมูลการวิจยั ซึง่ ประเด็นดังกลาวเปนพันธะกิจอันสําคัญยิง่ ในเชิงวิชาการเพือ่ ผล ประโยชนสูงสุดของสังคมชายแดน โครงการวิจยั และงายชิน้ นีจ้ ะไมปรากฏขึน้ หากไมไดรบั ความรวมมือจากหลาย ฝาย ทางโครงการจัดตัง้ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกสของใชพนื้ ทีแ่ หงการ เขียนคํานํากลาวคําขอบคุณอยางจริงใจตอผูที่ใหขอมูลที่เปนคนในพื้นที่เมืองชายแดน อําเภอเชียงของ เชียงแสน และแมสาย จังหวัดเชียงราย คําบอกเลาของคนในพืน้ ทีก่ ลาย เป น สาระสํ า คั ญ ของงานชิ้ น นี้ โครงการจั ด ตั้ ง ฯขอขอบคุ ณ ศู น ย บ ริ ก ารวิ ช าการ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงที่สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินโครงการ และนอกจาก นัน้ ขอขอบคุณ ดร. ฉัตรฤดี จองสุรยี ภาส ทีค่ อยสนับสนุนและใหความชวยเหลือในทุกๆ ดาน ในการจัดทําโครงการวิจยั ของโครงการจัดตัง้ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส ดวยดีเสมอมา โครงการจัดตั้งสํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส (Office of Border Economy and Logistics Study : OBELS) ขอขอบพระคุณทุกทานไว ณ โอกาสนี้ โครงการจัดตั้งสํานักงานเศรษฐกิจการคาชายแดนและโลจิสติกส กันยายน 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว



สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร ........................................................... 1 บทที่ 1 ขอมูลทั่วไป .................................................................. 13 พื้นที่ชายแดนเชียงแสน - บานตนผึ้ง .................................. 13 พื้นที่ชายแดนแมสาย - ทาขี้เหล็ก ....................................... 31 พื้นที่ชายแดนเชียงของ - หวยทราย (นาคราชนคร) ............ 36

บทที่ 2 การวิเคราะหขอมูลในภาพรวมทางเศรษฐกิจ และสังคมของจังหวัดเชียงราย ............................................... 53 แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการคาพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย .................................................................. ความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายได การศึกษาและ สาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย ............................................ การติดตามสถานการณการลงทุน ของจังหวัดเชียงรายใน ระยะ 5 ปที่ผานมา ............................................................. สภาวะการลงทุนในจังหวัดเชียงราย ...................................

53 70 100 127

บทที่ 3 การวิเคราะหขอมูลพื้นที่ชายแดนจาก การสัมภาษณผูที่มีสวนเกี่ยวของ ........................................... 141 แนวโนมนโยบายสงเสริมการลงทุน ในอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายในอนาคต ................................................... 141 เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว


แมสาย เชียงแสน เชียงของ….เมืองชายแดนเกิดใหม แหง อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงตอนบน .......................................... 151 การเติบโตของพื้นที่ชายแดนเชียงของ บนเสนทางเศรษฐกิจ คูขนาน ................................................................................ 161 หนึ่งเมืองเชียงของ...กับสองชวงเปลี่ยนผาน การปรับตัว ของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสนกับการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากการเปด เขตเศรษฐกิจพิเศษบานตนผึ้ง แขวงบอแกวในฝงลาว ......... 173 การปรับตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวใน อําเภอเชียงแสนกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษบานตนผึ้ง แขวงบอแกวในฝงลาว ......................................................... 178 การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการคา การลงทุนเมืองคูขนานพื้นที่ชายแดนแมสาย – ทาขี้เหล็ก .. 195 การปรับตัวและผลกระทบของผูมีสวนรวมในการทองเที่ยว เมืองคูขนานตอการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 209

บทที่ 4 การวิเคราะหเชิงลึกพื้นที่ชายแดนเชียงของ ......... 237 ความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ชายแดนเชียงของกอนจะถึง “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” ......................................... 237

ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บทสรุปสําหรับผูบริหาร การดําเนินงานดานงานวิชาการภายใตโครงการจัดตัง้ สํานักงานเศรษฐกิจการ คาชายแดนและโลจิสติกส (Office of Border Economy and Logistics Study: OBELS) ตั้งแตเขาสูป พ.ศ.2557 เปนตนมาแลวนั้น ไดมีการดําเนินทางวิชาการแบงได เปน 2 ประเด็นหลักๆ คือ 1. ศึกษาและอธิบายภาคเศรษฐกิจการคาชายแดนดานการลงทุน 2. ศึกษาและอธิบายภาคเศรษฐกิจสังคมเมืองชายแดน ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นดังกลาวเปนพันธะกิจอันสําคัญยิ่งในเชิงวิชาการเพื่อผล ประโยชนสูงสุดของสังคมชายแดน ความหมายของคําวา “สังคมชายแดน” เปนปริมณฑลการศึกษาที่กวางและ ครอบคลุมหลายภาคสวนโดยไมอาจแยกยอยและเฉพาะเจาะจงลงไปในภาคการผลิตใด การผลิตหนึง่ ของสังคมได เชน การศึกษาเฉพาะการคาการลงทุนโดยของภาคเอกชนใน ขณะเดียวกันกลับละเลยวิถีชีวิตของผูคนในพื้นที่ชายแดนได และไมอาจจะมองเพียง การลงทุนของนักลงทุนรายใหญโดยละเลยผูป ระกอบการรายเล็กในพืน้ ทีไ่ ดเพราะตัวเลข การเติบโตดานการลงทุนขนาดใหญในหลายๆ พื้นที่ก็ไมไดสะทอนใหเห็นคุณภาพชีวิต ของผูคนในพื้นที่ชายแดน เพราะกําไรจากการประกอบธุรกิจในโลกแหงความเปนจริง ไมอาจจะเปนไปตามทฤษฏีการกระจายความมัง่ คัง่ ของเศรษฐศาสตรเสมอไปดังเห็นได จากประเทศตางๆ ทั่วโลก เชน สหรัฐอเมริกาเปนตน จากวิสยั ทัศนเริม่ แรกของสํานักงานฯ ทีต่ งั้ ใจจะเปนศูนยรวบรวมและวิเคราะห ขอมูลทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขงตอนบน อันจะนําไปสู การสรางขุมปญญาใหกับประเทศและมนุษยชาติ ก็ยิ่งตอกยํ้าใหเห็นวาทางสํานักงานฯ ตองใสใจกับการผลิตองคความรูเ พือ่ เปนประโยชนแกการออกแบบนโยบายทีส่ อดรับกับ ผลประโยชนของสังคมโดยมองผลประโยชนของชายแดนเปนหลัก (border oriented - approach) ทําใหชนิ้ งานในป พ.ศ.2557 ตางเนนหนักไปในทางออกแบบนโยบายเพือ่ ผลประโยชนของเมืองชายแดน ไมวา จะเปนการวิเคราะหแนวโนมการคาการลงทุน, การ วิเคราะหความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจ การศึกษา และสุขภาพ ของจังหวัดเชียงราย,

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 1


การกลายเปนระบบเศรษฐกิจคูข นานของเมืองชายแดน และการสัมภาษณผรู ผู เู กีย่ วของ ดานความเปลีย่ นแปลงของภาคประชาชนของเมืองชายแดนเปนตน ดังจะอธิบายอยาง ละเอียดในแตละหัวขอตอไป

1. ศึกษาและอธิบายภาคเศรษฐกิจการคาชายแดนดานการลงทุน นับตั้งยุคของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหวัณ ป พ.ศ.2531 – 2534 ซึ่งเปน ยุคทีม่ เี ริม่ มีการเปลีย่ นความหมายของชายแดนอยางเปนทางการโดยนโยบาย “เปลีย่ น สนามรบเปนสนามการคา” จากพืน้ ทีช่ ายแดนทีอ่ ดั แนนไปดวยอํานาจรัฐเพือ่ ความมัน่ คง ตัง้ แตทศวรรษ 2510 หรือ ยุคสงครามเย็นเริม่ คลายตัวลงกลายเปนพืน้ ทีแ่ หงการพัฒนา เศรษฐกิจ การสรางโครงขายแหงการเดินทางของสินคาผูคน กําหนดเปนพื้นที่ของการ ทองเที่ยว และพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรมตั้งแตทศวรรษ 2540 เปนตนมา1 แตอยางไร ก็ตามชวง 5 ปหลังมานี้ พื้นที่ชายแดนเฉพาะชายแดนภาคเหนือไดรับการพูดถึงอีกครั้ง โดยเฉพาะตั้งแตเริ่มมีโครงการกอสรางสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ซึ่งคาดกัน วาจะนํามาซึ่งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมหาศาลของพื้นที่ชายแดน จากสถานการณความเปลี่ยนแปลงทางบริบทดังกลาวทําใหทางสํานักงาน เศรษฐกิจการคาชายแดนและโลจิสติกส สํานักวิชาการจัดการมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มีความสนใจทีจ่ ะศึกษาและอธิบายความเปนไปของสถานการณนดี้ ว ยเชนกัน ดังชิน้ งาน แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจและการคาพืน้ ทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงราย ของ ธนาภัทร บุญเสริม และ ณัฐพรพรรณ อุตมา2 ซึ่งไดเสนอวาตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมาตั้งแต ป พ.ศ.2547 – 2556 สถานการณและแนวโนมการคาชายแดนระหวางประเทศไทยกับ คูคารายใหญอยาง สปป.ลาว และประเทศเมียนมารผานทางพรมแดน ณ ดานศุลกากร ของทั้งสามอําเภอ คือ แมสาย เชียงแสน และ เชียงของมีสวนทําใหเศรษฐกิจโดยรวม ธนวัฒน ศรีหฤทัย. “การศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนตั้งโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ใน อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย”.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เชียงใหม. 2541 2 ธนาภัทร บุญเสริม และ ณัฐพรพรรณ อุตมา. “แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจและการคาพื้นที่ ชายแดนจังหวัดเชียงราย”. [ระบบออนไลน] แหลงที่มา www.obels-mfu.com (เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557) 1

2 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ของจังหวัดเชียงรายขยายตัวมากขึ้น โดยมีมูลคาการคาชายแดนของจังหวัดเชียงรายมี การเติบโตทีส่ งู ขึน้ ถึง 7.6 เทา การคาชายแดนในป 2547 มีมลู คา 4,025 ลานบาท ขยาย ตัวไปถึง 30,514.11 ลานบาทในป 2556 ทําใหดลุ การคาชายแดนมีมลู คาสูงขึน้ ถึง 12.6 เทา จาก 2,273.80 ลานบาท ในป 2547 สูงขึ้นเปน 28,535.19 ลานบาท ในป 2556 และมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดของเชียงรายมีการขยายตัวจาก 39,317 ลานบาท ในป 2547 เปน 81,263 ลานบาท ในป 2556 ซึ่งนี่เองเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นวาการที่ เศรษฐกิจการคาชายแดนมีการขยายตัวไดสง ผลทําใหภาพรวมทางเศรษฐกิจของจังหวัด เชียงรายขยายตัวขึ้นเชนกัน นอกเหนือจากการเสนอใหเห็นความเปลีย่ นทางเศรษฐกิจชายแดนแลว ธนภัทร และ ณัฐพรพรรณ ยังไดใชวิธีพินิจทางเศรษฐศาสตรผานแบบจําลอง Solow Growth Model มาเปนเครื่องมือในการวิเคราะหการเติบโตและขยายตัวอยางกาวกระโดดของ จังหวัดเชียงราย ซึง่ ไดขอ สรุปวาการเติบโตอยางกาวกระโดดดังกลาวมีสาเหตุมาจากการ เพิม่ ขึน้ ของการลงทุนของภาคเอกชน ซึง่ เห็นไดจากการมูลคาการสะสมทุนหรือการออม เงินของประชากรในจังหวัดเชียงรายนั่นเอง การสะสมทุนที่เพิ่มขึ้นจะสงผลกระทบใน ระยะยาว ทําใหเกิดการนําเงินที่ออมสะสมไวมาลงทุนในภาคธุรกิจ ความเปลี่ยนแปลงตลอด 1 ทศวรรษที่ผานมานอกจากประเด็นการขยายตัว ของเศรษฐกิจการลงทุนแลวทางสํานักงานฯก็ยงั สนใจในประเด็นความเปลีย่ นแปลงของ การลงทุนในรอบ 5 ปที่ผานมาดวยเชนกันดังในงานการติดตามสถานการณการลงทุน ของจังหวัดเชียงรายในระยะ 5 ปที่ผานมา ของ สิทธิชาติ สมตา และ ณัฐพรพรรณ อุตมา3 ทีเ่ สนอวา ตัง้ แตการเปลีย่ นแปลงความหมายอยางเปนทางการของพืน้ ทีช่ ายแดนตัง้ แต ป พ.ศ.2532 เปนตนมา ทําใหการคาชายแดนของจังหวัดเชียงรายเติบโตขึ้น ประกอบ กับงานชิ้นนี้ไดเปลี่ยนความเชื่อเดิมที่มองวาจังหวัดเชียงรายซึ่งเปนจังหวัดชายแดนมี โครงสรางทางเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรม เพราะขอเสนอของงานชิน้ คือการลงทุนทีข่ ยาย ตัวมากขึ้นในระยะ 5 ปที่ผานมามีแนมโนมไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราการขยายตัว ของรายไดที่มาจากภาคการผลิตนอกภาคเกษตร อีกทั้งมูลคาการผลิตภายในจังหวัด สิทธิชาติ สมตา และณัฐพรพรรณ อุตมา. “การติดตามสถานการณการลงทุนของจังหวัดเชียงราย ในระยะ 5 ปที่ผานมา”. [ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu.com (เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557)

3

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 3


GPP รายสาขาการผลิตก็ยังชี้ใหเห็นวา มูลคาการผลิตสาขาการผลิตนอกภาคเกษตรสูง กวาภาคเกษตรมากและอยูในลักษณะดังกลาวมาตั้งแต ป พ.ศ.2546 เปนตนมา นอกเหนือจากการใชขอ มูลทุตยิ ภูมใิ นการวิเคราะหนาํ เสนอความเปลีย่ นแปลง ทางเศรษฐกิจและการลงทุนในพื้นที่เมืองชายแดนแลว ทางสํานักงานเศรษฐกิจการคา ชายแดนและโลจิสติกสยังไดมีการผลิตงานเพื่ออธิบายความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ชายแดนจากมุมมองของพืน้ ทีโ่ ดยใชขอ มูลแบบปฐมภูมิ ดังชิน้ งาน แนวโนมนโยบายสง เสริมการลงทุนในอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายในอนาคต (เปนสวนหนึ่งของงาน วิจัย เรื่อง “นโยบายสงเสริมการลงทุน อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย” ภายใตชุด โครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการพื้นที่ชายแดน” ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจาก สกว. ฝาย นโยบายชาติและความสัมพันธขามชาติ ฝาย 1) โดย ณัฐพรพรรณ อุตมา และ ธิดารัตน บัวดาบทิพย4 ซึ่งไดทําการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณผูมีสวนไดสวนเสียในความ เปลีย่ นแปลงในพืน้ ทีอ่ าํ เภอเชียงของจนทําใหไดขอ สรุปวา การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบ มีสว นรวมรวมกัน (Mutually Inclusive Growth) กับเมืองชายแดนทีต่ ดิ กันของประเทศ เพื่อนบาน เปนการรวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขามแดน ทั้งดานการผลิต การ จางงาน การคา และ การลงทุน โดยมีการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจชายแดนรวมกัน (Common border economic policy) ในรูปของความรวมมือทางเศรษฐกิจชายแดน หรือขอตกลงทางเศรษฐกิจชายแดน ทําใหเกิดการเติบโตของเมืองชายแดนเปนไปอยาง เสมอภาคและเทาเทียมกัน และสามารถสรางพลังขับเคลือ่ นเศรษฐกิจชายแดนใหเติบโต อยางยัง่ ยืนนัน้ ถือเปนความทาทายทีส่ าํ คัญอยางยิง่ เมืองเชียงของจะสามารถสรางการ เติบโตทางเศรษฐกิจชายแดนแบบมีสวนรวมรวมกันกับเมืองหวยทรายในประเทศลาว ไดหรือไมนั้น ก็ตองอาศัยความรวมมือกันของทุกฝายทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน รวมกันผลักดันใหเมืองชายแดนทั้งสองเห็นประโยชนรวมของการรวมตัวกันในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจขามแดน

ณัฐพรพรรณ อุตมา และ ธิดารัตน บัวดาบทิพย. “แนวโนมนโยบายสงเสริมการลงทุนในอาเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงรายในอนาคต”.[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obles-mfu.com (เขาสู ระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557) 4

4 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การทําการศึกษาโดยใชขอ มูลขัน้ ปฐมภูมิ เชนการลงพืน้ ทีส่ มั ภาษณผปู ระกอบ การในพืน้ ทีเ่ ปนสิง่ ทีท่ า ทายเปนอยางยิง่ ในการนําไปสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืนในภายภาค หนา ซึง่ เปนเปนบูรณาการระหวางการพัฒนาจากสวนกลางกับพืน้ ทีช่ ายแดนใหใกลชดิ และจะเปนการผลักดันใหผลประโยชนของรัฐและพืน้ ทีไ่ ปในทิศทางเดียวกัน ดังเชนงาน ความยากงายในการประกอบธุรกิจทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดย วรนุช วงษคม, ณัฐพรพรรณ อุตมา และ ภูมิพัฒณ มิ่งมาลัยรักษ5 ซึ่งเปนงานวิจัย ศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ไดผลการศึกษาจากแบบสอบถามกับ ผูประกอบการในกลุมธุรกิจทองเที่ยว ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจโรงแรม รานอาหาร และ บริษัทนําเที่ยว ในตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จํานวน 31 ราย ผลการ ศึกษา พบวา การเขามาประกอบธุรกิจทองเทีย่ วในอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายนัน้ มีความสะดวกในระดับปานกลาง ปจจัยความงายในการเขามาดําเนินธุรกิจของผู ประกอบการทองเที่ยว เรียงตามลําดับ ไดแก การชําระภาษี การจดทะเบียนทรัพยสิน และการขอใชกระแสไฟฟา สวนปจจัยทีท่ าํ ใหการเขามาประกอบธุรกิจทองเทีย่ วเปนไป ไดยาก ไดแก การขอสินเชื่อ นอกจากชิน้ งานของวรนุชทีพ่ ยายามทําการอธิบายการความเปนไปไดในการ ลงทุนภาคการทองเทีย่ วแลว งานอีกชิน้ หนึง่ ทีพ่ ยายามฉายภาพผลกระทบและการปรับ ตัวของภาคการทองเทีย่ วในอําเภอเชียงแสนทีไ่ ดรบั จากการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษบาน ตนผึ้ง คืองาน การปรับตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสนกับการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษบานตน ผึ้ง แขวงบอแกวในฝงลาว โดย พรพินันท ยี่รงค และ คณะ6 สามารถแบงขอสรุปได เปน 2 สวนโดยรวม คือ ดานผลกระทบการพัฒนาเขตเศรษฐกิจในฝง ลาว ซึง่ ไมไดมผี ลก ระทบกับการทองเทีย่ วในเชียงแสนในเชิงลบ แตเปนโอกาสในการเพิม่ รายไดใหกบั ธุรกิจ การทองเที่ยวเสียมากกวา ทําใหเกิดการเชื่อมความสัมพันธระหวางเขตเศรษฐกิจพิเศษ วรนุช วงษคม, ณัฐพรพรรณ อุตมา, ภูมิพัฒณ มิ่งมาลัยรักษ. “ความยากงายในการประกอบธุรกิจ ทองเที่ยวในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย”.[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu. com(เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557) 6 พรพินันท ยี่รงค และ คณะ. “การปรับตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสนกับการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษบานตนผึ้ง แขวงบอแกว ในฝงลาว”.[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu.com (เขาสูระบบวันที่ 3ตุลาคม2557) 5

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 5


ในบานตนผึง้ ทัง้ ในระดับอําเภอ ตําบล และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของของทางรัฐบาล รวมถึง ความรวมมือระหวางภาคเอกชนดวยกัน แตผลกระทบในเชิงลบนั้นเกิดในทางสังคม มากกวา ทําใหภาพลักษณของเชียงแสนในระยะยาวอาจถูกมองวาเปนเมืองทางผานไป ยังบอนคาสิโนในฝงลาว และขอสรุปในดานการปรับตัวของผูป ระกอบการ คือ ภาคธุรกิจดานการทอง เที่ยวมีการปรับตัวอยูสมํ่าเสมอเมื่อไดรับขาวสาร ที่ไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคม ก็จะปรับเปลีย่ นกลยุทธเพือ่ ใหเทาทันกับการเปลีย่ นแปลง เชน การทีโ่ รงแรมหรือทีพ่ กั มีการจางพนักงานทีส่ ามารถพูดไดหลายภาษาเพือ่ รองรับนัก ทองเที่ยวที่เปนชาวตางชาติมากขึ้น จึงไมเปนปญหาสําหรับภาคธุรกิจการทองเที่ยวใน การปรับตัวมาก หากจะกลาวถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับภาคการทองเที่ยวในพื้นที่ชายแดนจาก ความเปลี่ยนแปลงของการเชื่อมตอระหวางชายแดนแลว การศึกษาผลกระทบจากการ เปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ยิง่ ตองไดรบั การพิจารณาอยางไมอาจหลีกเลีย่ ง ได ดังเชนงาน การปรับตัวและผลกระทบของผูมีสวนรวมในการทองเที่ยวเมืองคู ขนานตอการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 โดย สิทธิชาติ สมตา และ คณะ7 ที่นําเสนอวาหลังจากการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ตั้งแตเดือนธันวาคา ปพ.ศ.2556 เปนตนมา สงผลใหเกิดผลกระทบขนาดใหญตอภาคอุตสาหกรรมการทอง เที่ยวในตัวอําเภอเชียงของ ซึ่งผูประกอบการสวนใหญแลวเปนผูประกอบการรายยอย ไมมีอํานาจเพียงพอที่จะกําหนดความเปลี่ยนแปลงอะไรได พวกเขาไดรับผลกระทบ เพราะจํานวนนักทองเทีย่ วลดลง เนือ่ งจากนักทองเทีย่ วไมจาํ เปนตองเขาพักในตัวอําเภอ อีกตอไป นักทองเทีย่ วสามารถขามไปฝง ลาวไดทนั ทีเมือ่ เดินทางมาถึงเชียงของ นอกจาก นั้นแลว ผลกระทบในสวนนี้ยังลุกลามไปถึงภาคการคารายยอย เชน ขายอาหาร และ ธุรกิจสถานบันเทิงเปนตน งานชิ้นนี้จึงชี้ชวนใหกลับไปทบทวนนโยบายการเชื่อมโยง ชายแดนวาเปนการตอบสนองตอนักลงทุนในระดับใดกันแน สิทธิชาติ สมตา และ คณะ. “การปรับตัวและผลกระทบของผูม สี ว นรวมในการทองเทีย่ วเมืองคูข นาน ตอการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4”[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu.com (เขาสูระบบวันที่ 3 ตุลาคม 2557)

7

6 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


นอกจากพื้นที่ชายแดนไทย-ลาวแลว การศึกษาดานโอกาสดานการลงทุนใน พืน้ ทีช่ ายแดนไทย-พมานับวาเปนความทาทายอยางยิง่ เชนชิน้ งาน การปรับตัวและการ เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการคาการลงทุนเมืองคูขนานพื้นที่ชายแดนแมสาย – ทาขี้ เหล็ก โดย ปรางค ภาคพานิช และ คณะ8 ซึ่งนําเสนอหลักๆ อยู 2 ประเด็น คือประเด็น ดานความเปลี่ยนแปลงทางสภาวะการลงทุนในพื้นที่ชายแดนแมสายตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบนั ไดฉายภาพใหเห็นวาในอดีตประมาณ 80 ปทแี่ ลวพืน้ ทีแ่ มสายเปนเพียงแคทาง ผานลําเลียงสินคาสูจ ดุ หมายทีช่ ายแดนเชียงของ แตหลังจากนัน้ เริม่ มีการสะสมทุนทอง ถิน่ และลงทุนในพืน้ ทีม่ ากขึน้ หากแตสว นใหญแลวเปนทุนจากนักลงทุนครอบครัวเดียว อยางไรก็ตาม 20 – 30 ปที่ผานมาเศรษฐกิจการคาในอําเภอแมสายไดขยายตัวอยาง มหาศาล ทําใหที่ดินในพื้นที่มีราคาสูงขึ้นอยางมาก ซึ่งก็รวมถึงการเขามาของทุนจาก ภายนอก อีกประเด็นหนึง่ ของประเชิงนโยบาย ทีเ่ มืองชายแดนในอนาคตจะตองกําหนด นโยบายขึ้นมาผานการมีสวนรวมจากคนในพื้นที่ เพื่อจะไดกําหนดทิศทางของนโยบาย ใหสอดรับกับความตองการของคนในพืน้ ทีอ่ ยางแทจริง หากแตในปจจุบนั นโยบายตางๆ กลับขึ้นอยูกับหนวยงานรัฐสวนกลางและหอการคาเปนหลัก ทั้งกลาวมาทั้งหมดในหัวขอนี้เปนชิ้นงานที่ชี้ใหเห็นความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจโดยเฉพาะดานการลงทุนทีม่ ตี อ พืน้ ทีช่ ายแดน แตอยางไรก็ตามการยังมีชนิ้ งาน ในดานเศรษฐกิจสังคมทีท่ างสํานักงานเศรษฐกิจการคาชายแดนและโลจิสติกสไดทาํ ขึน้ ดังจะกลาวตอไปในหัวขอถัดไป

2. ศึกษาและอธิบายภาคเศรษฐกิจสังคมเมืองชายแดน จากที่ไดกลาวไวแลวในตอนตนวา วิสัยทัศนเริ่มแรกของสํานักงานที่ตั้งใจจะ เปนศูนยรวบรวมและวิเคราะหขอ มูลทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอนุภมู ภิ าคลุม นํา้ โขงตอนบน อันจะนําไปสูก ารสรางขุมปญญาใหกบั ประเทศและมนุษยชาติ ดังนัน้ การ ปรางค ภาคพานิช และ คณะ. “การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการคาการลงทุนเมืองคู ขนานพื้นที่ชายแดนแมสาย – ทาขี้เหล็ก”.[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu.com (เขา สูระบบวันที่ 3 ตุลาคม 2557)

8

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 7


มองแตดานเศรษฐกิจเพียงอยางเดียวยอมไมอาจเปนการมองที่ตอบสนองวิสัยทัศนเริ่ม แรกของสํานักงานได การศึกษาดานการเมือง และสังคมจึงมีความสําคัญเปนอยางยิง่ เพราะวาความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจตลอดระยะเวลา 2 ทศวรรษที่ผานไดกอใหเกิดปญหาทาง สังคมทีล่ กึ ซึง้ เชน ปญหาการปรับตัวของผูค นในพืน้ ชายแดนทีเ่ ปนผลมาจากการพัฒนา ที่เนนผลประโยชนของรัฐเปนหลัก (state oriented - approach) และ ปญหาความ เหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจ การศึกษา และ การสาธารณสุข ซึ่งปญหาเหลานี้ลวนเปนเรื่อง ของสังคมที่เราจะตองใหความสนใจ เพื่อใหการพัฒนาเปนไปอยางยั่งยืนและทั่วถึง ชิ้นงานที่สะทอนใหเห็นความเปนหวงถึงปญหาสังคมที่อาจจะเกิดขึ้น และชี้ ชวนใหหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนาพื้นที่ชายแดนไดตระหนักรูวาจะตองเตรี ยมตัวรับมือเมื่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจมาถึง เชนงาน ความทาทายในการ บริหารจัดการพืน้ ทีเ่ ชียงของ (ชิน้ งานนีเ้ ปนการสรุปความจากรายงานความทาทายของ อําเภอเชียงของในฐานะประตูสูอาเซียน ที่ผูเขียนมีสวนรวมในโครงการเสริมสราง ประสิทธิภาพความสัมพันธระหวางสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น โดยผาน กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาทองถิ่น (สกนธ และคณะ 2556 เพื่อเสนอตอ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) โดย สุเมธ พฤกษฤดี9 ไดเสนอวา ดวยการทีเ่ ศรษฐกิจการคาขามแดนบริเวณจุดผานแดนเชียงของไดมปี ริมาณสูงขึน้ อยาง ตอเนื่อง โดยเฉพาะในระยะ 5 ปที่ผานมา แตในพื้นที่กลับยังไมมีความพรอมมากนักใน การรับมือปญหาทางสังคมที่กําลังจะเกิดขึ้น เชน ปญหาการจราจรที่จะตองรองรับผูใช รถจากเสนทาง R3A ปญหาดานการเตรียมความพรอมเปนแหลงพักพิงของนักทองเทีย่ ว ปญหาดานการกําจัดขยะที่กําลังจะตามมา และ ปญหาอาชญากรรมในพื้นที่ เปนตน ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจนอกจากจะทําใหเกิดปญหาเรือ่ งความพรอม ในการรับมือสําหรับปญหาสังคมแลว การเกิดความทิ้งหางระหวางคนที่สังกัดใน โครงสรางเศรษฐกิจแบบดั้งเดิม หรือ ภาคการผลิตที่ไมเปนทางการ กับ โครงสราง เศรษฐกิจแบบสมัยใหม ก็เปนปญหาสังคมที่นากังวลอยูไมนอย ดังเชน งานการเติบโต สุเมธ พฤกษฤดี. “ความทาทายในการจัดการพื้นที่เชียงของ”[ระบบออนไลน]แหลงที่มา www. obels-mfu.com(เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557)

9

8 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ของพื้นที่ชายแดนเชียงของบนเสนทางเศรษฐกิจคูขนาน โดย สิทธิชาติ สมตา10 ที่ได เสนอวาการเติบโตของเมืองชายแดนโดยเฉพาะเชียงของเปนเพียงการฉายใหเห็นเพียง แคภาพของเศรษฐกิจที่อยูในระบบ การคาที่ถูกนับอยางเปนทางการ เชน การคาผาน แดนในระดับปริมาณมากๆ โดยเฉพาะเมื่อมีการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 และ เปดหางสรรพสินคาสมัยใหมอยางหางโลตัสเชียงของทําใหตัวเลขการคาที่เก็บ โดยหนวยงานภาครัฐมีตวั เลขทีน่ า ยินดี แตในทางกลับกันภาคการผลิตทีไ่ มเปนทางการ กลับอยูในเงามืด สงเสียงไดไมดังเมื่อพวกเขาไดรับผลกระทบจากการเปดสะพาน ยอด ขายอาหาร ที่พัก และ จํานวนนักทองเที่ยวลดลงกวาครึ่ง เนื่องจากดานผานแดนสากล บริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาวเปดทําการตั้งแต 06.00 – 22.00 น. สงผลใหนักทอง เที่ยวสามารถขามไปพักที่ประเทศลาวไดเลยโดยไมตองคางแรมที่ตัวเมืองเชียงของ ดัง นัน้ เศรษฐกิจคูข นาดอีกดานหนึง่ จึงเปนหนึง่ ในปญหาสังคมเพราะตางก็มชี วี ติ ผูค นตัวเล็ก ตัวนอยดิ้นรนตอสูจากการพัฒนาที่เอื้อแกธุรกิจใหญๆ จังหวัดเชียงรายเปนหนึ่งในจังหวัดที่หลีกเลี่ยงไมไดจากการขยายตัวของ เศรษฐกิจการคาชายแดน และรวมถึงปญหาแรงงานขามแดน นอกจากนั้นยังมีปญหา สิ่งแวดลอม ที่รุมเราสังคมเชียงรายเสมอมา การศึกษางานที่อธิบายงานในปริมณฑล ความรูด งั กลาวจึงมีความจําเปนอยางไมอาจหลีกเลีย่ งได เชนงาน การเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดเชียงราย: มุมมองดานการคา แรงงาน และสิง่ แวดลอม โดย ปฐมพงศ มโนหาญ ธิดารัตน บัวดาบทิพย และ ณัฐพรพรรณ อุตมา11 ที่ไดเสนอให เห็นผลการศึกษาที่ผานมาของแตละพื้นที่วาเมืองชายแดนที่มีเศรษฐกิจการคาขยายตัว ตองเจอกับปญหาอะไรบาง ปญหาการทีแ่ รงงานขามแดนอยางไมเปนระบบระเบียบอีก ทั้งคุณภาพชีวิตของแรงงานก็ไมไดเปนไปตามหลักมนุษยธรรม อีกทั้งปญหาดานสิ่ง แวดลอมเชนประเด็นหมอกควันในชวงกอนการเพราะปลูก เนื่องจากพื้นที่บริเวณ ชายแดนฝงลาวไดมีการปรับเปลี่ยนใหเปนพื้นที่เกษตรเชิงพาณิชย ไมตางจากพื้นที่ใน ตัวจังหวัดเชียงราย และ พมาทีม่ กี ารปลูกพืชเงินสด ทีม่ กี ารแขงขันในตลาดอยางเขมขน สิทธิชาติ สมตา. “การเติบโตของพื้นที่ชายแดนเชียงของบนเสนทางเศรษฐกิจคูขนาน”.[ระบบ ออนไลน]แหลงที่มา www.obels-mfu.com(เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557) 11 ปฐมพงศ มโนหาญ ธิดารัตน บัวดาบทิพย และ ณัฐพรพรรณ อุตมา.“การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมในจังหวัดเชียงราย: มุมมองดานการคา แรงงาน และสิ่งแวดลอม”[ระบบออนไลน]แหลง ขอมูล www.obels-mfu.com(เขาสูระบบวันที่ 1 กรกฎาคม 2557) 10

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 9


ทําใหตองมีการลดตนทุนทุกทางเทาที่เกษตรกรชายแดนจะทําได ดังนั้นการเผาจึงเปน วิธที นี่ ยิ มใชในการลดตนทุนมากทีส่ ดุ สงผลใหเกิดปญหาหมอกควันทีเ่ ปนปญหาระหวาง เขตแดนในที่รุมเรามาตลอด 5 ปที่ผานมา ตัวเลขความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่มีแนวโนมขยายตัวอยางตอเนื่องใน ชวง 5 – 10 ปที่ผานมา จนสงผลใหตัวเลขภาพรวมทั้งจังหวัดเชียงรายสูงขึ้นตามอีกทั้ง เมื่อตีเปนคาเฉลี่ยหรือ GPP/Capita ก็จะพบวาเปนตัวเลขที่สูงขึ้นอยางนาตกใจ แตใน ทางกลับกันตัวเลขการเติบโตเหลานั้นกลับซอนปญหาบางอยางไวเบื้องหลังซึ่งก็คือ ปญหาความเหลื่อมลํ้าที่ถูกเสนอในงาน ความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายได การ ศึกษา และสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย โดย พรพินนั ท ยีร่ งค สิทธิชาติ สมตา ปฐมพงศ มโนหาญ และ ณัฐพรพรรณ อุตมา ที่รวมกันเสนอไว 3 ประเด็น ดานความเหลือ่ มลํา้ ในดานการกระจายรายไดพบภายในจังหวัดเชียงรายมีคา สัมประสิทธิ์จีนี (Gini Coefficient) คอนขางสูง และ แทบไมมีการเปลี่ยนแปลงคืออยู ในระดับ 0.51 มาตลอด 5 ปที่ผานมา ซึ่งยิ่งคาสัมประสิทธิ์จีนีเขาใกล 0 มาเทาใด ก็ เทากับวาความเหลื่อมลํ้าดานการกระจายรายไดจะมีนอยลง แตเนื่องจากเชียงรายเปน เมืองชายแดนทําใหอําเภอแมสายที่เปนเมืองชายแดนและมีการคาขายขามแดนมูลคา มหาศาลสงผลใหเกิดความแตกตางเปนอยางยิ่งกับอําเภออื่นๆ ดานการศึกษากลับพบวาบางเขตการศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษามีจาํ นวนครูตอ นักเรียนในอัตราทีเ่ กินกําหนด แตในทางกลับกันบางเขตการ ศึกษากลับขาดกําลังครู ซึ่งชี้ใหเห็นเปนอยางดีวา การศึกษาที่เชื่อวาจะเปนเครื่องมือใน การลดความเหลือ่ มลํา้ เพราะเปนใบเบิกทางสูอ าชีพทีด่ กี วายังมีการกระจายอัตรากําลัง ครูไมสอดรับกับจํานวนนักเรียน ไมตางกันกับความเหลื่อมลํ้าดานสาธารณสุขซึ่งในบาง พืน้ ทีม่ จี าํ นวนแพทยไมสอดรับกับจํานวนประชากร เปนตน นอกจากนัน้ แลวคณะทํางาน ยังไดทิ้งทายวา จากความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายได การศึกษา และสาธารณสุข ทําใหเราเห็นวาถึงแมจะมีนโยบายลดความเหลือ่ มลํา้ ในประเทศ แตกย็ งั ไมสามารถขจัด ความเหลื่อมลํ้านี้ใหลดลงได ซึ่งความเหลื่อมลํ้าตางๆ ลวนเกิดจากความเหลื่อมลํ้าทาง รายไดเปนเหตุใหเกิดความเหลื่อมลํ้าดังกลาว โดยงานชิ้นนี้เปนเพียงสวนเล็กๆ ใน ประเทศไทย ซึ่งจะเห็นไดวาความเหลื่อมลํ้าลดนอยลง เนื่องจากมีการกระจายอํานาจ และการดําเนินนโยบายของจังหวัดเชียงรายคอนขางดี แตอยางไรก็ตามความเหลือ่ มลํา้

10 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ของประเทศไทยก็ยังเกิดขึ้นเรื่อยๆ และมีความเหลื่อมลํ้าที่เกิดขึ้นมาในสังคมมากกวา 3 ประเด็นนี้ อีกทั้งประเด็นตางๆ อาจไมไดเกิดจากปจจัยทางดานรายได การศึกษา สาธารณสุข แตสิ่งที่ทําใหเกิดความเหลื่อมลํ้าที่คอนขางรุนแรงก็คือ การใชความเปน มนุษยมาทําใหเกิดความเหลือ่ มลํา้ ในสังคม ซึง่ การศึกษานีเ้ ปนเพียงเบือ้ งตน หากตองการ ศึกษาเชิงลึกตอไปควรศึกษาดานโครงสรางทางสังคม มุมมองและทัศนคติของคนใน จังหวัดเชียงราย งานศึ ก ษาความเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ สั ง คมและการเมื อ งในพื้ น ที่ ชายแดน นับวายังคงมีความนาสนใจอยูไ มนอ ย เพราะโดยทัว่ ไปแลวเศรษฐกิจการเมือง ในพื้นที่ชายแดนมักจะมุงเนนไปที่ประเด็นชาติพันธุเปนหลัก ทําใหมองไมเห็นความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการขยายตัวของรัฐ เพื่อจะนับรวมและควบคุมคนในพื้นที่นั้นๆ วาสงผลอยางไรตอชีวิตผูคนในพื้นที่ มีการตอสูทางความคิดทางการเมืองของคนแตละ กลุมอยางไรในกระแสความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของพื้นที่ตั้งแตมีการนโยบาย เปลี่ ย นสนามรบเป น สนามการค า ในป พ .ศ.2532 ดั ง นั้ น งานที่ จ ะชี้ ใ ห เ ห็ น ความ เปลีย่ นแปลงในลักษณะดังกลาวคืองาน ความเปลีย่ นแปลงในพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงของ กอนจะถึง “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” โดย ปฐมพงศ มโนหาญ12 ซึ่งงานชิ้นดังกลาวไดขอสรุปวาระยะเวลากวา 2 ทศวรรษที่ผานมา ทั้งความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอันเปนผลมาจากนโยบายที่มีตอพื้นที่ชายแดนไมวาจะเปน นโยบายตอตานลัทธิคอมมิวนิสตในชวงทศวรรษ 2510 และ หลังจากลาวปดประเทศ ในปพ.ศ.2518 – 2532 และนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาในปพ.ศ.2532 นโยบายจากภาครัฐของไทยไดเปลีย่ นโฉมหนาเศรษฐกิจอําเภอเชียงของไปจากทีม่ เี พียง แตการทําเกษตรและประมงแมนํ้าโขง นอกจากนัน้ แลวคนชายแดนในกระแสความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจก็เปน หนึ่งตัวแปรที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในการเมืองทองถิ่นดวย เชน การไดรับเลือก ตั้งใหดํารงตําแหนงทางการเมืองของคนจากภาคธุรกิจเดินเรือขาฟาก และ ภาคธุรกิจที่ เกี่ยวของกับการทองเที่ยว กระแสแนวคิดการพัฒนาที่เนนดานความเจริญเติบโตของ ทุนเพียงอยางกอใหเกิดกระแสทองถิ่นนิยมในพื้นที่ขึ้นมาคานโดยกลุมการเมืองภาค ประชาชน จนนําไปสูก ารออกแบบยุทธศาสตรการพัฒนาทีข่ ดี เสนใหกบั การพัฒนาของ ทุนภายใตยุทธศาสตร “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ”

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 11


อยางไรก็ตามถึงจะมีความเห็นในดานแนวคิดเรือ่ งการพัฒนาทีแ่ ตกตางกันของ กลุม การเมือง แตเมือ่ ตองเคลือ่ นไหวในประเด็นรวม เชน ผลกระทบจากการเปดสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 พวกเขา (กลุมการเมืองตางๆ) ก็ยินดีที่จะเคลื่อนไหวรวมกัน ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ สิง่ ทีบ่ ทความชิน้ นีค้ น พบอีกอยางหนึง่ ก็คอื คนในพืน้ ทีช่ ายแดนไมไดเปนกลุม คนที่ปฏิเสธรัฐแตอยางใด พวกเขาพรอมจะปรับตัวตามแนวทางของรัฐและยินดีหาก แนวทางของรัฐทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตไปในแนวทางที่ดี แตเมื่อไหรหาก แนวทางของรัฐเชนการเปดสะพานสงผลกระทบตอเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของพวกเขา พวกเขาก็พรอมที่จะเคลื่อนไหวโดยใชกลไกรัฐที่มีอยูเทาที่จะทําได เชน เคลื่อนไหวผาน นักการเมืองทองถิ่นสงตอไปยังเจาหนารัฐอยางนายอําเภอเปนตน

12 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บทที่ 1 ขอมูลทั่วไป พืน้ ทีช่ ายแดนเชียงแสน - บานตนผึง้ (เขตเศรษฐกิจพิเศษ King Roman) 1) ขอมูลทั่วไปอําเภอเชียงแสน

คําขวัญประจําอําเภอ “ถิน่ อมตะ พระเชียงแสน แดนสามเหลีย่ ม เยีย่ มนํา้ โขง จรรโลงศิลปะ” รูปที่ 1 แผนที่ตั้งอําเภอเชียงแสน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 13


รูปที่ 2 แผนที่ตําบลในอําเภอเชียงแสน

เมืองเชียงแสนเปนเมืองทีม่ ปี ระวัตศิ าสตรยาวนาน และเกาแกทสี่ ดุ ของแควน ลานนา โดยมีความสําคัญทางเศรษฐกิจมาตัง้ แตอดีต ปจจุบนั สิง่ ทีเ่ ปนจุดขายของอําเภอ เชียงแสนคือ วัด โบราณสถาน และศิลปกรรมที่ดึงดูดใหนักทองเที่ยวทั้งชาวไทย และ ตางประเทศเขามาเยีย่ มชมในความงามของดินแดนอันเลือ่ งชือ่ ทีป่ รากฏในหลักฐานการ ตั้งถิ่นฐานตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร นอกจากนั้นเชียงแสนยังมีพื้นที่สามเหลี่ยม เศรษฐกิจทีม่ แี มนาํ้ โขงสายใหญกนั้ ระหวางประเทศเพือ่ นบานอยาง สปป.ลาวกับประเทศ พมา

2) ประวัติความเปนมา

อํ า เภอเชี ย งแสนเป น เมื อ งที่ มี ก ารทั บ ซ อ นของประวั ติ ศ าสตร ที่ มี ค วาม คลุมเครือในเรื่องเลาของอาณาจักรที่มีการแสดงการตั้งถิ่นฐานของมนุษยในยุคกอน ประวัตศิ าสตร หรือชวงยุคหินเกา ซึง่ ปรากฏอยูใ นหลักฐานทางโบราณคดีทมี่ กี ารถูกขุดคน ขึ้นมา แตยังไมมีความแนชัดวาคนไทยกลุมแรกคือกลุมสิงหนวัติที่ไดเขามาสรางเมือง “โยนกนาคพันธสิงหนวัติ” ขึ้นมากอน ทําใหตอมาในสมัยของพระเจาพรหมไดมีการ

14 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รวบรวม และขยายขอบเขตของแควนโยนกไปหลายพื้นที่ แตตอมาอาณาจักรโยนกถึง คราวลมสลาย และพอบานขุนลังไดทําการสรางเมืองขึ้นเมืองขึ้นมาใหมชื่อ “เวียง ปรึกษา” กลายเปนจุดเริม่ ตนของอําเภอเชียงแสน ซึง่ เวียงปรึกษาก็ถงึ คราวอวสานในอีก 93 ปตอ มา เนือ่ งจากในป พ.ศ. 1181 กษัตริยข องพมาก็เขาสนับสนุนให “พญาลวจักราช” ซึ่งมีเชื้อสายของปูเจาลาวจกไดขึ้นมาเปนกษัตริยของเวียงปรึกษาแลวเปลี่ยนชื่อเปน เมืองหิรัญนคร และสมัยพระเจาลาวเคียงก็ทําการยายการปกครองไปยังเมืองเงินยาง หรือเมืองเชียงแสน ซึ่งอยูตรงเวียงเชียงแสน ณ ปจจุบัน และก็มีกษัตริยปกครองตอมา รวม 24 รัชกาล หรือ 621 ป ตํานานของเมืองหิรัญนครเมืองยางเชียงแสนเปนเมืองที่ ตั้งภายหลังเมืองโยนกนครไชยบุรีศรีชางแสนที่กลาวถึงตํานานการอพยพของกลุมคน ที่มาจากนครไทยเทศไปยังฝงตะวันออกของแมนํ้าโขง หรือสวนหนึ่งของสุวรรณโคมคํา ซึง่ มีอายุประมาณ 1,115 ป สวนเมืองหิรญ ั นครเมืองยางเชียงแสนถูกกอตัง้ โดยบรรพบุรษุ ของพระเจามังรายในเวลาตอมาเปนผูสรางเมืองเชียงราย และเชียงใหมขึ้นริมฝงแมนํ้า ละวานที ซึ่งตอมาในป พ.ศ.1805 พญามังรายกษัตริยองคที่ 25 ก็ทําการรวบรวมไดนํา แควนหิรญ ั นครเมืองยางเขายึดเมืองหริภญ ุ ไชย และสถาปนาเมืองเชียงใหมเปนราชธานี ของอาณาจักรลานนา ซึ่งสิ้นสุดชวงของราชวงศลวจักรราช (พ.ศ. 1181 - 1805) และ เขาสูชวงของการปกครองโดยพมา (พ.ศ. 1830 - 2347) เมืองเชียงแสนนัน้ เปนหนึง่ ในเมืองแรกของลานนา และไดกลายเปนเมืองราง จนกระทั่งพระเจามังรายไดสงพระเจาแสนภูไดเขามาปกครองเมืองเชียงแสน ทําให เชียงแสนกลายมาเปนเมืองที่สําคัญเมืองหนึ่งของอาณาจักรลานนาดวยชัยภูมิที่เหมาะ กับการทํากสิกรรม เพื่อเปนเมืองหนาดานในการควบคุมดูแลการคาขายตามลํานํ้าโขง และเปนเมืองที่มีปราการธรรมชาติในฝงทิศตะวันออก คือ แมนํ้าโขง ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ศักยภาพรอบดานของเชียงแสนในการทําการคา การเกษตร และสนามรบ ไดถกู ปกครอง ดวยขุนนางเรื่อยมา จนสมัยของพระเจาผายูไดเสด็จกลับไปที่เชียงใหม ทําใหเมือง เชียงแสนตกเปนเมืองขึ้นของพมา ซึ่งในป พ.ศ. 2244 ไดถูกโอนไปขึ้นกับเมืองอังวะซึ่ง เปนเมืองหลวงเกาของพมา ตอมาในป พ.ศ. 2347 เมืองเชียงแสนก็กลายเปนสวนหนึ่ง ของสยาม ทําใหคนเชียงแสนถูกกวาดตอนใหกระจายไปอยูตามเชียงใหม ลําปาง นาน เวียงจันทร และบางอําเภอในสระบุรี และราชบุรี ทําใหเชียงแสนเกือบเปนเมืองรางอีก ครั้ง ในป พ.ศ. 2413 แตมีชาวพมา ไทลื้อ และไทเขินจากเมืองเชียงตุงมาประมาณ 300 ครอบครัว ไดอพยพเขามาอยู และตั้งตนเปนอิสระจากสยาม และลานนา พระบาท

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 15


สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทรจึงทรงเกณฑทหาร ไปขับไล แตไมสําเร็จ และทําการขับไลอีกครั้งในป พ.ศ. 2417 จนสําเร็จและในป พ.ศ. 2423 ไดนาํ ราษฎรชาวเมืองลําพูน และเชียงใหมเขามาตัง้ ครัวเรือนกวา 1,500 ครัวเรือน พ.ศ. 2442 เมื่อมีการจัดระบบการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เมือง เชียงแสนจึงขึน้ กับมณฑลพายัพ ทางราชการไดทาํ การยายทีท่ าํ การเมืองเชียงแสนมายัง ตําบลกาสาซึ่งตอมาเรียกวา “อําเภอเชียงแสน” แตทางราชการเล็งเห็นวาอําเภอ ดังกลาวติดอยูกับลํานํ้าจันจึงเปลี่ยนชื่อมาเปน “อําเภอแมจัน” เมื่อ พ.ศ. 2470 เมือง เชียงแสนเดิมไดเปลี่ยนการบริหารการปกครองสวนภูมิภาคเปนจังหวัดเมืองจึงเปน “กิ่งอําเภอเชียงแสนหลวง” ในป พ.ศ. 2482 และเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2501 จึงกลาย เปน “อําเภอเชียงแสน” จนมาถึงทุกวันนี้

3) สภาพภูมิศาสตร

อําเภอเชียงแสนเปนอําเภอทีต่ งั้ อยูท างทิศเหนือของจังหวัดเชียงรายมีลกั ษณะ ภูมิประเทศบางสวนเปนที่สูงและเขา จึงมีพื้นที่ปาไมในทุกตําบล เชน ไมเต็ง ไมรัง ไมประดู ไมสกั ไมไผ ระยะทางหางจากตัวเมืองเชียงรายประมาณ 60 กิโลเมตร ใชเวลา เดินทางประมาณ 1.30 ชัว่ โมง ขนาดพืน้ ทีป่ ระมาณ 554 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 346,250 ไร ซึ่งมีขนาดเพียงครึ่งเดียวของอําเภอเมือง อําเภอเชียงแสนมีพื้นที่ที่เปน ศักยภาพตั้งแตอดีตคือ ดินแดนสามเหลี่ยมทองคําที่บรรจบกันระหวาง ประเทศไทย สาธารณประชาชนลาว และสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร มีอาณาเขตติดตอกับเขต การปกครองขางเคียงดังตอไปนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับอําเภอแมสาย รัฐฉาน (ประเทศพมา) และแขวง บอแกว (ประเทศลาว) ทิศตะวันออก ติดตอกับแขวงบอแกว (ประเทศลาว) และอําเภอเชียงของ ทิศใต ติดตอกับอําเภอเชียงของ อําเภอดอยหลวง และอําเภอแมจัน ทิศตะวันตก ติดตอกับอําเภอแมจันและอําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสนมีแนวพรมแดนติดตอกับสาธารณรัฐประชาชนลาว และ สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร โดยลักษณะของตัวอําเภอทอดยาวตามลํานํา้ โขง จาก ทิศเหนือจรดใต มีพื้นที่ติดกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รวมระยะทาง

16 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


40 กิโลเมตร และติดกับสหภาพเมียนมาร รวมระยะทาง 17 กิโลเมตร โดยอําเภอ เชียงแสนนั้นมีพื้นที่ที่เปนบริเวณที่บรรจบระหวาง 3 ประเทศ ไดแก จังหวัดเชียงราย ของประเทศไทย แขวงบอแกวของสปป.ลาว และแขวงทาขีเ้ หล็กของประเทศเมียนมาร คือ พืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มทองคํา ซึง่ บริเวณดังกลาวเปนทีบ่ รรจบของแมนาํ้ โขง และแมนาํ้ รวก เรียกวา สบรวก ลักษณะภูมปิ ระเทศโดยทัว่ ไปของอําเภอเชียงแสน ประกอบดวยพืน้ ที่ ราบลุมตอนกลาง และตะวันตกของอําเภอ อยูสูงกวาระดับนํ้าทะเลปานกลาง เฉลี่ย 0 - 400 เมตร และบริเวณเนินเขาอยูทางตะวันออกของอําเภอ เปนพื้นที่ราบสลับภูเขา โดยมีพื้นที่ราบประมาณ 55% พื้นที่ภูเขาประมาณ 33% และพื้นที่นํ้าประมาณ 12% ของพืน้ ทีท่ งั้ หมด โดยมีแมนาํ้ โขง และแมนาํ้ รวกไหลผานทางตอนบนมีแมนาํ้ จัน แมนาํ้ กก และนํ้าคํา ไหลผานทางตอนกลางของพื้นที่ โดยแมนํ้าสายตางๆมีเขตติดตอกันดังนี้ -

แมนํ้าโขง เปนแมนํ้านานาชาติ มีตนนํ้าอยูในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชน จีน ผานสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพเมียนมาร ไหลผาน อําเภอเชียงแสน และอําเภอเชียงของ เขาสูเขตสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว รวมระยะทางที่ไหลผานจังหวัดเชียงราย 94 กิโลเมตร

-

แมนํ้ากก มีตนนํ้าอยูในสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพเมียนมาร ไหล ผาน อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม อําเภอเมืองเชียงราย อําเภอเวียงชัย อําเภอแมจนั ไหลลงสูแ มนาํ้ โขง ทีบ่ า นสบกก หมูท ี่ 7 ตําบลบานแซว อําเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย รวมความยาวทีไ่ หลผานจังหวัด เชียงราย 114.5 กิโลเมตร

-

แมนาํ้ รวก มีตน กําเนิดจากภูเขาในสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพเมียนมาร เปนพรมแดนธรรมชาติ ระหวางประเทศไทย กับ สาธารณรัฐสังคมนิยม แหงสหภาพเมียนมาร มีความยาวประมาณ 26.75 กิโลเมตร ไหลลงสูแ มนาํ้ โขง ที่บานสบรวก หมูที่ 1 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

-

แมนาํ้ คํา มีตน กําเนิดจากภูเขา ในเขตอําเภอแมจนั บริเวณชายแดนติดตอ สาธารณรัฐสังคม นิยมแหงสหภาพเมียนมาร ไหลไปบรรจบแมนาํ้ จันในเขต อําเภอเชียงแสน แลวไหลลงสูแมนํ้าโขง ที่บานสบคํา หมูที่ 5 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาว ประมาณ 85.75 กิโลเมตร มีนํ้าไหลตลอดป

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 17


-

แมนํ้าจัน มีตนกําหนดจากภูเขาตามแนวชายแดนในเขตอําเภอแมจัน มี ความยาว ประมาณ 58.75 กิโลเมตร ไหลไปบรรจบแมนํ้าคํา แลวไหลลง สูแ มนาํ้ โขงในอําเภอเชียงแสน ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ลักษณะภูมอิ ากาศ โดยทัว่ ไปของอําเภอเชียงแสน มีภมู อิ ากาศแบบมรสุมเมือง รอนมี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 24.6 องศาเซลเซียส แบงออกได 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เริ่ม ประมาณเดือน พฤษภาคม และไปสิ้นสุดในราวเดือน ตุลาคม โดยไดรับอิทธิพล จากลม มรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนสวนใหญ ปริมาณนํ้าฝนโดยเฉลี่ย 1795.1 มิลลิลิตรตอป ตก มากทีส่ ดุ ในเดือนสิงหาคม ฤดูหนาว เริม่ ประมาณ เดือน พฤศจิกายน - กุมภาพันธ เปน ชวงทีไ่ ดรบั อิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ นําความหนาวเย็นมาให เดือน มกราคม เปนระยะทีอ่ ณ ุ หภูมติ าํ่ สุด ประมาณ 8 - 12 องศาเซลเซียส ฤดูรอ น อยูร ะหวาง เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ในเดือนเมษายน จะมีอุณหภูมิสูงสุด ประมาณ 43 องศา เซลเซียส

4) การปกครอง

อําเภอเชียงแสนแบงออกเปน 6 ตําบล 70 หมูบาน ไดแก ตําบลเวียง ตําบล ปาสัก ตําบลบานแซว ตําบลศรีดอนมูล ตําบลแมเงิน และตําบลโยนก โดยมีองคกร ปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่อําเภอเชียงแสนทั้งหมด 7 แหง ประกอบดวย เทศบาล ตําบล 4 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 2 แหง จากขอมูลของป พ.ศ. 2550 อําเภอเชียงแสนมีจาํ นวนประชากรทัง้ สิน้ 50,388 คน จําแนกเปนชาย 25,529 คน และหญิง 26,170 คน จํานวนครัวเรือน 19,829 หลัง ทําให ความหนาแนนตอประชากรอยูที่ 90.05 คนตอตารางกิโลเมตร ประชากรสวนใหญใน อําเภอเชียงแสนเปนชาวไทยพื้นเมืองและประชากรอพยพมาจากภาคอีสาน 3 หมูบาน ไดแก บานทาขันทอง หมูที่ 3 ตําบลบานแซว ,บานสันธาตุ หมูที่ 4 บานทุงฟาฮาม หมูที่ 5 ตําบลโยนก และมีชนกลุมนอย อดีตทหารจีนคณะชาติ จีนฮออิสระ ไทยลื้อ ผูพลัด ถิ่นสัญชาติพมา ผูหลบหนีเขาเมืองสัญชาติพมา ลาวอพยพ ปละชาวเขาเผาเยา อีกอ และมง มีชนกลุมนอยอาศัยอยูกระจัดกระจายในพื้นที่อําเภอเชียงแสน ดังนี้

18 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ชาวเขา เผาอีกอ เผาเยา

อยูที่ดอยสะโง หมูที่ 7 ตําบลศรีดอนมูล อยูที่ดอยผาดื่อ บานปาไรหลวง หมูที่ 4 และบานหวย กวานหมูที่ 9 ตําบลบานแซว เผามง (แมว) อยูที่บานขุนนํ้าคํา หมูที่ 7 ตําบลแมเงิน

อดีตทหารจีนคณะชาติ ไดแก ทหารจีนคณะชาติในเขตมณฑลยุนนาน ซึง่ ถูก จีนคอมมิวนิสตผนื แผนดินใหญกวาดลาง ไดถอดรนหนีผา นรัฐฉานของประเทศพมาเขา มาอาศัยอยูในประเทศไทย สําหรับเขตพื้นที่อําเภอเชียงแสน อยูที่บานแมแอบหมูที่ 11 ตําบลบานแซว ผูพลัดถิ่นสัญชาติพมา ไดแก บุคคลพมาเชื้อสายไทยซึ่งอพยพหลบหนีการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง ในสหภาพพมาเขามาอยูในจังหวัดชายแดนภาคเหนือของประเทศไทย กอน วันที่ 9 มีนาคม 2519 ในพื้นที่อําเภอเชียงแสน อาศัยอยูในเขตตําบลเวียง ซึ่งไดจัดทํา ทะเบียนและบัตรประจําตัวประจําตัวอยูในความควบคุมของอําเภอ ผูหลบหนีเขาเมืองจากพมา ไดแกผูหลบหนีเขาเมืองจากพมา ที่เขามาหลัง 9 มีนาคม 2519 ไดจัดทําทะเบียนประวัติ และบัตรประจําตัว อยูในความควบคุมของ อําเภอ ไทยลื้อ คนเชื้อสายไทยในแควนสิบสองจุไท/สิบสองปนนา มณฑลยุนนาน ประเทศจีนอพยพเขามาอยูในประเทศไทยประมาณ 300 ป มาแลว แรงงานตางดาว ไดแก บุคคลสัญชาติพมาและลาว ทีห่ ลบหนีเขามาใชแรงงาน ในประเทศไทยสวนมากจะเขามาอาศัยอยูกับนายจางซึ่งถือเปนผูหลบหนีเขาเมืองแต ทางรัฐบาลมีนโยบายผอนผันในกรณีทหี่ าคนไทยรับจางไมได เฉพาะกรณีทไี่ ดรบั การจัด ทําทะเบียนประวัติ

5) ภาวะเศรษฐกิจ

เชียงแสนเปนหนึ่งในเมืองที่อยูในยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย ใหเปนเมืองเศรษฐกิจชายแดน เนือ่ งจากเชียงแสนมีศกั ยภาพในหลายดาน ไมวา จะเปน ดานการคาชายแดน ดานอุตสาหกรรม ดานการทองเทีย่ ว ดานการเกษตร และดานการ คมนาคมเชือ่ มโยง ทําใหเมืองเชียงแสนเปนเมืองทีม่ กี ารพัฒนาไปไดอยางตอเนือ่ ง โดยที่

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 19


ในอนาคตอาจมีการถูกผลักดันใหเกิดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษซึ่งจะยกระดับใหเมือง เชียงแสนกลายเปนเมืองทีโ่ ดดเดนในเรือ่ งการคา การลงทุน และการทองเทีย่ วอยางเต็มตัว รูปที่ 1 ผลิตภัณฑมวลรวมภายในอําเภอเชียงแสน ตั้งแตป 2551 ถึง 2555

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

อําเภอเชียงแสนมีผลิตภัณฑมวลรวมภายในอําเภอเชียงแสนมีการเพิม่ ขึน้ อยาง ตอเนื่องตั้งแตป 2551 ถึง 2554 กอนจะตกลงมาในป 2555 โดยในป 2551 ผลิตภัณฑ มวลรวมภายในเชียงแสนอยูที่ 2228.62 ลานบาท กอนที่เพิ่มขึ้นสูงมากในป 2554 อยูที่ 3576.79 ลานบาท กอนจะตกลงมาในป 2555 อยูท ี่ 3037.68 ลานบาท อัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจสะสมเฉลีย่ 5 ป (compound GPP growth rate) อยูท รี่ อ ยละ 13 เปนการ ขยายตัวเศรษฐกิจที่คอยเปนคอยไป ไมรอนแรงมากเทาที่ควร (รูปที่ 1) การเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑมวลรวมในอําเภอเชียงแสน สงผลตอรายได เฉลี่ยของประชากรของประชากรในอําเภอเชียงแสน โดยในป 2550 อําเภอเชียงแสนมี รายไดเฉลี่ยตอหัวอยูที่ 38,481 บาทตอเดือน กอนจะเพิ่มขึ้นอยางคงที่จะถึงป 2553 และในป 2554 รายไดเฉลีย่ ตอหัวของอําเภอเชียงแสนกาวกระโดดไปอยูท ี่ 71,326 บาท ตอเดือน คิดอัตราการเติบโตอยูที่รอยละ 47 และลดลงมาเฉลี่ยอยูที่ 60,000 กวาบาท ตอเดือนในป 2555 และ ป 2556 (รูปที่ 2)

20 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 2 รายไดเฉลี่ยตอหัวของประชากรในอําเภอเชียงแสน ตั้งแตป 2550 ถึง 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

จากรูปที่ 1 และ รูปที่ 2 จะเห็นไดชัดวาผลิตภัณฑมวลรวมภายในจังหวัด เชียงแสน กับรายไดเฉลีย่ ตอหัวของประชากรในอําเภอเชียงแสนมีความสัมพันธ โดยใน ป 2554 มีการเพิ่มขึ้นของทั้งผลิตภัณฑมวลรวม และรายไดเฉลี่ยตอหัวสูงเปนพิเศษ ถา อัตราการเติบโตของประชากรที่คงที่ในแตละป จะทําใหสองตัวแปรมีความสัมพันธไป ในทิศทางเดียวกัน รูปที่ 3 จํานวนประชากรในอําเภอเชียงแสน ตั้งแตป 2551 ถึง 2555

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 21


จํานวนประชากรในอําเภอเชียงแสนตัง้ แตป 2551 ถึง 2555 มีอตั ราการเติบโต เฉลี่ยสะสม 5 ป อยูที่ติดลบรอยละ 1 ซึ่งจากรูปที่ 3 จะเห็นไดวาจํานวนประชากรมีการ ลดลงในทุกป อาจเปนเพราะมีอตั ราการตายทีส่ งู ขึน้ กับอัตราการเกิดทีน่ อ ยลง จึงทําให จํานวนประชากรในอําเภอเชียงแสนลดนอยลงอยางมาก ซึ่งสามารถนําไปอธิบายเพิ่ม เติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑมวลรวม และรายไดเฉลี่ยตอหัวที่เพิ่มขึ้นสูงขึ้นในแตละป ถา จํานวนประชากรลดนอยลง สองตัวแปรก็จะมีคาเพิ่มสูงขึ้น 5.1) การคาชายแดน ขอมูลสถิติในปงบประมาณ 2556 ของดานศุลกากรอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย พบวามูลคาการคาในเชียงแสนอยูที่ 27,410.94 ลานบาท เพิ่มขึ้นมาก จากปงบประมาณ 2555 อยูที่ 14,139.11 ลานบาท อัตราการเติบโตอยูที่รอยละ 94 หรือคิดเปนหนึ่งเทาตัวจากปกอน ถือวาเปนการกาวกระโดดของการคาในอําเภอ เชียงแสน เนื่องจากปงบประมาณ 2555 เติบโตขึ้นเพียงแครอยละ 13 โดยมูลคาการคา ที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเปนผลมาจากการสงออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น (รูปที่ 1) ตารางที่ 1 มูลคาการคาในอําเภอเชียงแสน ตั้งแตปงบประมาณ 2554 ถึง 2556 ปงบ ประมาณ 2554 2555 2556

นําเขา 1,100.12 512.22 654.73

สงออก ปกติ 8,992.65 11,137.49 12,325.53

สงออก ผานแดน 915.14 1,996.52 11,303.33

สงออก ถายลํา 1,420.32 492.87 3,127.35

รวมมูลคา การคา 12,428.23 14,139.11 27,410.94

ที่มา : ดานศุลกากรเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ในปงบประมาณ 2556 มูลคาการสงออกแบบปกติอยูท ี่ 12,325.53 ลานบาท เติบโตขึ้นจากปที่แลวรอยละ 11 มูลคาการสงออกผานแดนอยูที่ 11,303.33 ลานบาท เติบโตขึน้ จากปทแี่ ลวรอยละ 466 และมูลคาการสงออกถายลําอยูท ี่ 3,127.35 ลานบาท เติบโตขึ้นจากปที่แลวรอยละ 535 จากขอมูลดังกลาวจะเห็นไดวาการสงออกผานแดน และถายลํามีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ประมาณรอยละ 400 - 500 ในขณะทีม่ ลู คาการนําเขา ในปงบประมาณ 2556 อยูที่ 654.73 ลานบาท เติบโตขึ้นจากปที่แลวรอยละ 28 แต

22 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เฉลี่ย 3 ป ตั้งแต 2554 ถึง 2556 มีการหดตัวของมูลคาการนําเขาอยางมากอยูที่รอยละ 23 จากตารางจะเห็นวามูลคาการนําเขาในปงบประมาณ 2554 อยูที่ 1,100.12 ลาน บาท และในปงบประมาณ 2555 ลดลงมาอยูที่ 512.22 ลานบาท แสดงวามูลคาการคา โดยรวมนัน้ เพิม่ มาจากการสงออกผานแดน และมูลคาการคาถายลําทีม่ มี ลู คาสูงขึน้ มาก ถึงแมปริมาณการนําเขาจะลดลงก็ตาม ตารางที่ 2 มูลคาการสงออก - นําเขารายประเทศ ประเทศจีน สปป. ลาว เมียนมาร ปงบ ประมาณ นําเขา สงออก นําเขา สงออก นําเขา สงออก สินคา สินคา สินคา สินคา สินคา สินคา 0 2,250.93 2554 1,069.97 3,872.04 29.88 2,869.68 2555 2556

485.94 4,210.54 631.1 3,508.99

26.06 23.25

4,288.99 6,099.97

3.23 0.38

2,637.97 2,716.61

ที่มา: ดานศุลกากรเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

จากตารางที่ 1 มูลคาการนําเขาของไทยลดลงอยางมาก เปนผลมาจากการ หดตัวของการนําเขาสินคาจากประเทศจีนเปนสวนมาก โดยในปงบประมาณ 2554 มูลคาการนําเขาสินคาจากประเทศจีนอยูที่ 1,069.97 ลานบาท กอนจะลดลงไปอยูที่ 485.94 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ทําใหการเติบโตลดลงรอยละ 55 ถึงแมการ เพิ่มขึ้นของมูลคาการนําเขาจากประเทศจีนจะขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กนอยในป 2556 ก็ไม ไดทําใหมูลคาการนําเขาโดยรวมเพิ่มขึ้น เพราะมูลคาการนําเขาจาก สปป.ลาวลดลง อยางตอเนือ่ งมาตัง้ แต ปงบประมาณ 2554 จนถึง 2556 รวมถึงการนําเขาจากเมียนมาร ทีแ่ ทบจะไมมกี ารนําเขา โดยในปงบประมาณ 2554 ไมมกี ารนําเขาสินคาจากเมียนมาร เลย สวนในปงบประมาณ 2555 และ 2556 ก็มีการนําเขาอยูเล็กนอยในมูลคาที่ไมสูง มากอยูที่ 3.23 ลานบาท และ 0.38 ลานบาท ตามลําดับ มูลคาการสงออกโดยรวมที่เพิ่มขึ้นมากนั้น สงผลมาจากการขยายตัวของการ สงออกสินคาในประเทศเพือ่ นบานเปนหลัก โดยมูลคาการสงออกสินคาจากไทยไป สปป.ลาว นั้นเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตปงบประมาณ 2554 ถึง 2556 อยูที่ 2,869.68 ลานบาท 4,288.99 ลานบาท และ 6,099.97 ตามลําดับ สวนมูลคาการสงออกของเมียนมารนั้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 23


ก็เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเชนกัน โดยในปงบประมาณ 2554 ถึง 2556 มูลคาการสงออก อยูที่ 2,250.93 ลานบาท 2,637.97 ลานบาท และ 2,716.61 ลานบาท ตามลําดับ แต กระนั้นการสงออกไปยังประเทศจีนมีมูลคาที่ลดลง โดยในปงบประมาณ 2554 มีมูลคา การสงออกอยูที่ 3,872.04 กอนจะเพิ่มขึ้นเล็กนอยในปงบประมาณ 2555 ไปอยูที่ 4,210.54 ลานบาท และลดลงมาในปงบประมาณ 2556 เหลืออยูที่ 3,508.99 ลานบาท ฉะนัน้ การสงออกผานแดน และการสงออกถายลําทีม่ มี ลู คาอยางกาวกระโดด จากปงบประมาณ 2555 ถึง 2556 อาจเกิดจากการสงออกสินคาจากไทยไปยัง สปป.ลาว และเมียนมารที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องมาตั้งแตปงบประมาณ 2554 แมการสงออกไปยัง ประเทศจีนจะลดลงในปงบประมาณ 2556 ก็ตาม สวนในดานมูลคาการนําเขาที่ลดลง อยางมากก็สงผลมาจากการการนําเขาสินคาจากประเทศจีน สปป.ลาวและเมียนมารที่ ลดลง โดยมูลคาการนําเขาสินคาจากประเทศจีนที่ลดลงอยางเห็นไดชัด ตารางที่ 3 รายการสินคาที่นําเขาและสงออก (ต.ค.55 - พ.ค. 56) นําเขาสินคา รายการสินคา ทับทิมสด เมล็ดทานตะวัน ไมสักจีนแปรรูป เมล็ดฟกทอง แอปเปล ดอกไมเพลิง กระเทียมสด ดินเกาลิน เปลือกบง เบ็ดเตล็ด

สงออกสินคา มูลคา (ลานบาท) 146.41 64.92 27.2 23.25 21.54 17.21 13.89 13.23 10.42 8.29

รายการสินคา ชิ้นสวนกระบือแชแข็ง ยางแผนรมควันชั้น 3 นํามันปาลม เพลาสงกําลัง สุกรมีชีวิต รถยนตใหม โคมีชีวิต นํามันดีเซล รถยนตปรับสภาพ เบ็ดเตล็ด

ที่มา: ดานศุลกากรเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

24 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา

มูลคา (ลานบาท) 1,337.25 433.08 422.4 379.43 326.21 296.39 230.1 199.67 177.61 3,205.34


จากตารางที่ 3 สินคาที่นําเขามาในอําเภอเชียงแสนไดแก ทับทิมสด เมล็ด ทานตะวัน ไมสกั จีนแปรรูป เมล็ดฟกทอง แอปเปล ดอกไมเพลิง กระเทียมสด ดินเกาลิน เปลืองบง ฯลฯ ซึ่งทับทิมสดมีมูลคาการนําเขามากที่สุดอยูที่ 146.41 ลานบาท รองมา เปนเมล็ดทานตะวันอยูที่ 64.92 ลานบาท และเมล็ดฟกทองอยูที่ 23.25 ลานบาท ซึ่ง มูลคาการนําเขาสินคากวาครึง่ เปนสินคาทีน่ าํ เขามาเพือ่ รับประทานเปนหลัก โดยสินคา นําเขาสวนมากจะมาจากประเทศจีน เนือ่ งจากผลไมสดของประเทศจีนมีตน ทุนการผลิต ทีต่ าํ่ จึงมีราคาถูก และมีปริมาณสินคาทีถ่ กู ผลิตออกมาก สวนทางดานการสงออกสินคา ไปจากเชียงแสนไดแก ชิ้นสวนกระบือแชแข็ง ยางแผนรมควันชั้น 3 นํ้ามันปาลม เพลา สงกําลัง สุกรมีชีวิต รถยนตใหม โคมีชีวิต นํ้ามันดีเซล รถยนตปรับสภาพ ฯลฯ ซึ่งชิ้น สวนกระบือแชแข็งมีมูลคามากที่สุดอยูที่ 1,337.25 ลานบาท รองมาเปนยางแผน รมควันชั้น 3 และนํ้ามันปาลมอยูที่ 433.08 ลานบาท และ 422.4 ลานบาท ตามลําดับ โดยสินคาทีจ่ ะสงออกไปยัง สปป.ลาว และสหภาพเมียนมารเปนหลัก เนือ่ งจาก สปป.ลาว มีความสามารถในการผลิตสินคาอุปโภค และบริโภคตํ่า จึงไมเพียงพอตอจํานวน ประชากรที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงสหภาพเมียนมารก็ยังไมสามารถผลิตสินคา อุปโภคบริโภคเพียงพอตอความตองการของประชากรในประเทศได จึงจําเปนทีจ่ ะตอง นําเขาสินคาจากประเทศไทยเปนจํานวนมาก ตารางที่ 4 เปรียบเทียบมูลคาการขนสงสินคาทางลํานํ้าโขง ของป 2556 และ ป 2557 ประเภท

ม.ค.56 - ก.ค.56 (ลานบาท)

ม.ค.57 - ก.ค.57 (ลานบาท)

%

มูลคารวม

1,782.20

1,715.65

-3.73

สงออก

1,587.79

1,497.87

-5.66

นําเขา

194.41

217.78

12.02

ดุลการคา

1,393.38

1,280.09

-8.13

จากตารางที่ 4 แสดงมูลคาการขนสงสินคาผานทางลําโขง หรือดานเชียงแสน ในป 2556 และป 2557 ตั้งแตเดือนมกราคม ถึง เดือนกรกฎาคม โดยในป 2557 มี

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 25


มูลคาการคารวมอยูที่ 1,715.65 ลานบาท ลดลงจากปที่แลวคิดเปนรอยละ - 3.73 แบง เปนมูลคาการสงออกอยูที่ 1,497.87 ลานบาท ลดลงจากป 2556 รอยละ 5.66 สวน มูลคาการนําเขาอยูที่ 217.78 ลานบาท มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 12.02 ทําใหดุลการคา ลดลงจากในป 2556 อยูที่ 1,393.38 ลานบาท เปน 1,280.09 ลาน บาทในป 2557 จะเห็นวามูลคาการคาโดยรวมในป 2557 ที่ลดลงเกิดจากมูลคาการสง ออกที่หดตัว แมวามูลคาการนําเขาจะขยายตัวเพิ่มขึ้นก็ตาม นั้นสงผลใหดุลการคาลด ลงรอยละ 8.13 5.1.1) เสนทางการคาชายแดน

ที่มา: ดานศุลกากรอําเภอเชียงแสน

เชียงแสนแตเดิมเปนเมืองทาสําหรับการคา การทองเที่ยว และการขนสงทาง แมนํ้าโขงมาตั้งแตอดีต ทําใหปจจุบันกลายเปนศักยภาพที่สําคัญในการพัฒนาการคา ชายแดน โดยการขนสงสินคาผานทางนํา้ จากประเทศจีนนัน้ สามารถลองเรือตามลํานํา้ โขง จากจิ่งหง (สิบสองปนนา หรือเชียงรุง) ลงมายังเชียงแสนในระยะทาง 344 กิโลเมตร ซึ่ง

26 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ปจจุบันมีการดําเนินการปรับปรุงระยะที่ 1 ระยะทาง 331 กิโลเมตร สามารถเดินเรือ ได 150 ตัน สวนระยะที่ 2 และ 3 ในนานนํ้าไทย-ลาว ลาวไดชะลอไวเนื่องจากมีปญหา ดานเขตแดน และผลกระทบสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิต 5.1.2) ผูประกอบการธุรกิจการคาชายแดนขนาดกลางและขนาดยอม ธุรกิจการคาชายแดนขนาดกลางและขนาดยอมในอําเภอเชียงแสนแบง ออกเปน 3 ประเภทใหญๆ ไดแก ธุรกิจที่ทําเกี่ยวกับการคาสง ธุรกิจที่ทําเกี่ยวกับการ คาปลีก และธุรกิจที่เกี่ยวกับการบริการ ซึ่งธุรกิจคาสงจะมีจํานวนผูประกอบการที่จะ จดทะเบียนทัง้ หมด 68 บริษทั ซึง่ สวนมากจะเปนธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับการนําเขาสงออกสินคา และการเกษตร เปนตน โดยประเภทธุรกิจที่เกี่ยวกับการคาปลีกจะมีอยู 8 บริษัท ซึ่งจะ เปนบริษทั ทีซ่ อื้ ขายทอง วัสดุกอ สราง สินคาอุปโภคบริโภค และเครือ่ งเสียง เปนตน สวน ธุรกิจบริการ 1 บริษัทก็จะเปนธุรกิจที่เกี่ยวกับโรงแรม 5.1.3) จุดผานแดน และทาเรือขนสงสินคา อําเภอเชียงแสนมีทั้งจุดผานแดนถาวร 2 แหง และจุดผานแดนผอนปรน 2 แหง โดยจุดผานแดนถาวรแหงแรกชื่อ ดานบานเชียงแสน เปนเขตติดตอกับเมืองตน ผึ้งซึ่งเปนดานทองถิ่นของสปป.ลาว สวนจุดผานแดนถาวรแหงที่สอง คือ จุดผานแดน ถาวรสามเหลี่ยมทองคํา อยูที่บานสบรวก หมู 1 ตําบลเวียง ตรงขามกับดานสากลของ ลาว ทีต่ งั้ อยูภ ายในโครงการ Kings Romans of Laos Asian & Tourism Development Zone (เปดเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2556) และจุดผอนปรนแหงที่ 1 อยูที่บานสบรวก หมู 1 ตําบลเวียง เปนเขตติดตอกับบานกวาน เมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว สปป.ลาว และบาน เมืองพง จังหวัดทาขี้เหล็ก รัฐฉาน สวนจุดผอนปรนแหงที่ 2 อยูที่บานสวนดอก หมู 8 ตําบลบานแซว เปนเขตติดตอกับบานสีเมืองงาม เมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว ทุกดานเปด ใหบริการตั้งแต 8.00 – 18.00 น. ของทุกวัน ยกเวน จุดผานแดนสามเหลี่ยมทองคําที่ ขยายเวลาการเปดใหบริการถึง 20.00 น. เมืองตนผึ้ง เมืองตนผึ้งเปนเมืองหนึ่งของแขวงบอแกวอยูในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของ สปป.ลาว ซึง่ อยูต รงขามกับอําเภอเชียงแสนของจังหวัดเชียงรายโดยมีลาํ นํา้ โขงเปนแมนาํ้ ขนาดใหญทาํ หนาทีก่ นั้ กลางระหวางสองเมืองใหไดสญ ั จรกันไปมาดวยเรือโดยสารขนาด

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 27


เล็ก นอกจากเมืองตนผึง้ ยังมีเขตติดตอกับเมืองทาขีเ้ หล็กของสหภาพเมียนมาร เมืองตน ผึ้งไดมามีบทบาท ในดานการคา การทองเที่ยวชายแดนเมื่อไมกี่ปหลังจากรัฐบาลของ สปป.ลาวตกลงใหกลุมนักลงทุนจากฮองกง หรือบริษัทดอกงิ้วคําเขามาสัมปทานพื้นที่ ในเขตบานตนผึ้ง เพื่อใหพัฒนาเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ และรองรับเขตการคาเสรีใน สัญญาเชาระยะเวลาทั้งหมด 75 ป กอนภายหลังจะขยายระยะเวลามาเปน 99 ป หลัง จากนั้นก็สงตอใหกับรัฐบาล สปป.ลาวกลับไปดูแลโครงการที่ถูกพัฒนาตอไปในอนาคต เมืองตนผึง้ อยูท างทิศตะวันตกของแขวงบอแกว โดยมีทศิ เหนือติดกับเมืองเมิง ทิศใตตดิ กับเมืองหวยทราย ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองตนผึง้ ติดกับพมาเปนระยะ ทาง 44 กิโลเมตร เมืองนี้มีเนื้อที่ 715 ตารางกิโลเมตร มีแมนํ้าโขงเปนเสนเขตแดน ประกอบดวย 50 หมูบาน 9 กลุมบานและ 1 บานใหญ มีชนเผา 10 เผาคือ ลาว ลื้อ ยวน ไทดํา ไทเหนือ มง อิวเมียน ขมุ อาขาและลาหู

รูปที่ 3 แผนที่ตั้งเมืองตนผึ้ง

28 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคํา (Golden Triangle Special Economic Zone) เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลีย่ มทองคําตัง้ อยูใ นบริเวณเมืองตนผึง้ แขวงบอแกว ประเทศลาว โดยมีการจัดตั้งในป 2550 ซึ่งเปนความรวมมือระหวางกลุมนักลงทุนชาว จีน กับ รัฐบาลของ สปป.ลาว มีจํานวนเงินลงทุนกวา 86.6 ลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งถา คิดเปนเงินไทยปจจุบันอยูที่ 2,784.14 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนวันที่ 8 กันยายน 2557 จากเว็บไซตของธนาคารแหงประเทศไทย) ในระยะเวลาทัง้ หมด 99 ป โดยมีพนื้ ที่ ทั้งหมด 827 เฮคเตอร หรือประมาณ 5169 ไร การพัฒนาเมืองใหมในบริเวณเขตเศรษฐกิจ King Roman of Laos เมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว สปป.ลาว ตรงขามกับอยูกับสามเหลี่ยมทองคํา อําเภอเชียงแสน โดย นักลงทุนชาวจีนเลือกเมืองตนผึ้ง ซึ่งเปนเมืองชายแดนของ สปป.ลาวเปนศูนยกลางใน การพัฒนาเศรษฐกิจ การคา การลงทุน การเกษตร รวมถึงการทองเที่ยวของอาเซียน หรือเรียกวา “เขตพัฒนาเศรษฐกิจและการทองเที่ยวในพื้นที่อาเซียน (Kings Romans of Laos ASEAN economic & tourism development zone)” โดยมีจุดมุงหมาย ที่จะสรางเปน Entertainment Complex ที่รวบรวมความบันเทิงอยางครบวงจร ไดมี การพัฒนาอยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2551 จนถึงปจจุบัน โดยการนํารองพัฒนาระบบ สาธารณูปโภค ถนน และสิ่งปลูกสรางตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับโครงการที่ ตามมาในอนาคตขางหนา แตทเี่ ห็นเปนรูปธรรมมากทีส่ ดุ และไดรบั ความนิยมสูง เห็นจะ ไมแพบอ นกาสิโน โรงแรม และอาคารพาณิชยขนาดใหญ ทีด่ งึ ดูดทัง้ นักทองเทีย่ วชาวจีน และชาวไทยใหไปหาความบันเทิงจากการเสีย่ งโชคทีค่ รบครัน ดวยบรรยากาศริมแมนาํ้ โขง ยิ่งกระตุนใหนักทองเที่ยวทุกสารทิศหลั่งไหลกันเขามาอยางคับคั่ง ทําใหเขตพื้นที่ เศรษฐกิจมีเงินเขาออกหมุนเวียนเปนจํานวนมาก กอนหนานี้เขตพื้นที่ดังกลาวไดถือวา เปนแหลงผลิตยาเสพติดอันดับหนึ่งของโลก ทําใหการพัฒนาเขตพื้นที่ตรงนี้จึงเปนการ เปลีย่ นภาพลักษณของพืน้ ทีด่ งั กลาวไปมาก ในอนาคตขางหนาการทองเทีย่ วในพืน้ ทีเ่ ขต เศรษฐกิจ King Roman of Laos จะมีการเจริญเติบโตในอัตราแบบกาวกระโดด เนือ่ งจากนักลงทุนชาวจีนมีแผนทีจ่ ะกอสรางสนามบินนานาชาติทสี่ ามารถรองรับเครือ่ งบิน ขนาดใหญไดจาํ นวนมาก ซึง่ ปจจุบนั นักทองเทีย่ ว และนักลงทุนชาวจีนจะตองลงทีส่ นาม บินทีจ่ งั หวัดเชียงราย แลวนัง่ รถเพือ่ ไปตอเรือทีอ่ าํ เภอเชียงแสนจึงจะสามารถไปถึง King

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 29


Roman of Laos ได ถาโครงการกอสรางสนามบินนานาชาติเสร็จสมบูรณ นักทองเทีย่ ว หรือนักลงทุนก็จะสามารถขึน้ เครือ่ งบินมาลงทีไ่ ดโดยตรง ทําใหการเขาถึงเขตเศรษฐกิจ ดังกลาวมีความสะดวก และงายขึ้น ดวยงบลงทุนประมาณ 3,000 ลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 110,000 ลานบาท ในพืน้ ทีเ่ ขตการลงทุน 62,500 ไร จะทําใหการพัฒนา เปนไปไดอยางตอเนือ่ ง สามารถรองรับการเปดประชาคมอาเซียนในป 2558 ทีก่ าํ ลังจะ มาถึงไดไมยาก อยางไรก็ตาม ทางโครงการก็มีปญหาดานการขัดแยงทางผลประโยชนกับ คนทองถิ่น เนื่องจากมีชาวบานชาวลาวจํานวนมากตองอพยพออกจากพื้นที่ทํากินของ ตัวเอง ถึงแมรัฐบาลลาวจะมีการจัดหาพื้นที่ใหมใหอยูอาศัย แตชาวบานก็ไมมีความ ตองการทีอ่ ยากจะยายออกดวยเหตุผลทีว่ า อยูท าํ กินมานาน ทําใหอาจเกิดปญหาทีต่ าม มาคือ การขัดแยงระหวางกลุมคนจีนกับชาวบาน สงผลใหเกิดความรุนแรงภายในพื้นที่ ดังกลาว ดวยวัฒนธรรม และกฎระเบียบที่ตางกัน ทางการลาวยังคงตองรับมือ และ เตรียมพรอมสําหรับปญหาอีกหลายอยาง ไมวา จะเปนดานสิง่ แวดลอม ดานสังคม ซึง่ สง ผลกระทบในดานลบกับผูคนในพื้นที่โดยตรง

30 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


พื้นที่ชายแดนแมสาย - ทาขี้เหล็ก 1) ขอมูลทั่วไปอําเภอแมสาย

คําขวัญประจําอําเภอ “เหนือสุดยอดในสยาม ลือนามพระธาตุเจาดอยตุง ผดุง วัฒนธรรมลานนา เปดมรรคาสูอินโดจีน แผนดินพระเจาพรหมมหาราช”

รูปที่ 1 แผนที่อําเภอแมสาย

2) ประวัติความเปนมา

แมนํ้าสาย เดิมชื่อ แมนํ้าใส และเมืองแมสาย เดิมคือ เวียงสี่ตวง ขึ้นกับแควน โยนกนคร ปรากฏหลักฐานตามประวัติศาสตร (ตํานานสิงหนวัต) เมื่อปพ.ศ. 1462 พระเจามังคราช เจาผูครองแควนโยนกถูกขอมดํารุกราน จึงอพยพ ราษฎรมาอยูริม แมนํ้าสาย ตองสงสวยใหขอมดําเปนทองคําปละ 4 ตวง หมากพินลูกเล็ก (มะตูม) จึงได ชื่อ “เวียงสี่ตวง” ตอมาพระเจาพรหมมหาราช พระราชโอรสของพระเจาพังคราช ได เปลี่ยนชื่อเมือง “เวียงสี่ตวง” เปน “เวียงพางคํา” อันหมายถึง พานคําที่ใชตีเชิญชางคู

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 31


บารมีของพระองคขนึ้ จากนํา้ ของ(แมนาํ้ โขง) จนสามารถกอบกูแ ควนโยนกนคร จากขอม ดําไดสําเร็จ ตอมาเวียงพานคํา ไดเพี้ยนเปนเวียงพางคํา คือ พื้นที่ตําบลเวียงพางคําใน ปจจุบันนี้ อําเภอแมสาย เปนอําเภอเหนือสุดของจังหวัดเชียงรายและเหนือสุดของ ประเทศไทย ตัง้ ทีว่ า การทีต่ าํ บลเวียงพางคํา ทิศเหนือจดแมนาํ้ สายซึง่ กัน้ เขตแดนระหวาง ประเทศไทยกับประเทศพมา ทิศตะวันออกติดตอกับอําเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย ทิศใตติดตอกับอําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันตกติดตอกับอําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย และประเทศพมา โดยมีดานชายแดนไทย-พมาเรียกวา “ดานแมสาย” สามารถผานดานขามไปยังจังหวัดทาขี้เหล็กของพมาไดโดยมีแมนํ้าสายเปนพรมแดน ทางธรรมชาติ การคมนาคมจากอําเภอเมืองเชียงรายไปอําเภอแมสายโดยทางหลวง หมายเลข 1 (พหลโยธิน ตอนเชียงราย-แมสาย) ระยะทาง 63 กิโลเมตร อําเภอแมสาย แรกตั้งเปนกิ่งอําเภอแยกจาก อําเภอแมจัน เมื่อ พ.ศ. 2481 ยกฐานะเปนอําเภอเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2493 และเปดที่วาการอําเภอหลังแรก เมือ่ วันที่ 14 มกราคมของปถดั มา มีตาํ บลแปดตําบลและหมูบ า นเกาสิบสองหมูบ า น ขึน้ ตรงตอจังหวัดเชียงราย

3) สภาพภูมิศาสตร

อําเภอแมสาย ตั้งอยูเหนือสุดของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 285 ตาราง กิโลเมตร (178,215 ไร) มากเปนลําดับที่ 14 ในจํานวน 16 อําเภอ 2 กิ่งอําเภอ ของ จังหวัดเชียงราย อยูหางจากกรุงเทพมหานคร 891 กิโลเมตร และหางจากจังหวัด เชียงราย 63 กิโลเมตร อําเภอแมสายตัง้ อยูท างทิศเหนือสุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดตอกับเขตการ ปกครองขางเคียงดังตอไปนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับรัฐฉาน (ประเทศพมา) ทิศตะวันออก ติดตอกับรัฐฉาน (ประเทศพมา) และอําเภอเชียงแสน ทิศใต ติดตอกับอําเภอเชียงแสน อําเภอแมจัน และอําเภอแมฟาหลวง ทิศตะวันตก ติดตอกับรัฐฉาน (ประเทศพมา)

32 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


4) การปกครอง

อําเภอแมสาย ไดแยกตัวจากอําเภอแมจันเปนกิ่งอําเภอ เมื่อ ป พ.ศ. 2481 และยกฐานะเปนอําเภอเมือ่ ป พ.ศ. 2493 แบงการปกครองออกเปน 8 ตําบล 88 หมูบ า น จัดรูปแบบการปกครองทองถิ่นเปน 8 อ.บ.ต . กับ 2 เทศบาลตําบล คือ เทศบาลตําบล แมสายและเทศบาลตําบลหวยไคร อยูห า งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 891 กิโลเมตร อยูหางจากจังหวัดเชียงราย ประมาณ 63 กิโลเมตร ประชากร มีประชากรสัญชาติไทย รวม 48,823 คน จํานวนประชากรชายรวม 23,478 คน จํานวนประชากรหญิงรวม 25,345 คน มีประชากรที่เปนชนกลุมนอย 7 กลุม จาก จํานวน 18 กลุม จํานวน 16,784 คน ไดแก 1. จีนฮออพยพ จํานวน 1,670 คน 2. จีนฮออิสระ จํานวน 1,052 คน 3. ไทยลื้อ จํานวน 4,455 คน 4. ผูพลัดถิ่นสัญชาติพมา จํานวน 2,151 คน 5. ผูหลบหนีเขาเมืองจากพมา จํานวน 3,928 คน 6. บุคคลบนพื้นที่สูง จํานวน 606 คน 7. ชุมชนบนพื้นที่สูง จํานวน 7,461 คน

5) ภาวะเศรษฐกิจ

ปริมาณการคาผานดานชายแดนแมสายมีคอนขางสูง เมื่อเทียบกับดาน ชายแดนอืน่ ระหวางไทยกับพมา โดยมูลคาการคารวมในป 2556 คิดเปนรอยละ 29.94 แตความผันผวนคอนขางสูง เนื่องจากขึ้นอยูกับนโยบายการปด-เปดดานชายแดนของ พมา และปญหาความมัน่ คงตามแนวชายแดน สินคาผานแดนทางอําเภอแมสายมีทงั้ ใน และนอกระบบ ที่สําคัญคือ สินคาอุปโภคบริโภคขั้นพื้นฐาน วัตถุดิบเพื่ออุตสาหกรรม และพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตางๆ ประเทศคูคาสําคัญของไทยที่มีการคาขายผานดาน นีไ้ ดแก เมียนมารและจีนตอนใต การขนสงสินคาผานดานแมสาย ซึง่ สวนใหญเปนสินคา ที่ผลิตตามเมืองศูนยกลางอุตสาหกรรมสําคัญของไทย ไดแก เชียงใหม ลําปาง ลําพูน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 33


กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และนิคมอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก เปนการขนสง ทางถนนจากแหลงผลิตดังกลาวโดยใชรถบรรทุกหรือรถคอนเทนเนอรขนาดใหญ ผาน ขึ้นไปยังเมืองเชียงตุง หรือเมืองพะยาในพมา จนถึงนครคุนหมิงในจีน จึงเปนชองทาง หลักในการเคลื่อนยายวัตถุดิบและสินคาไปยังประเทศพมาและจีนตอนใต สวนใหญการลงทุนในอําเภอแมสายจะเปนดานบริการนําเขาและสงออกสินคา การคาขายสินคาเกษตร การกอสราง และบริการดานขนสง โดยเฉพาะการคาดานเกษตร มีการขยายตัวการจดทะเบียนลงทุนอยางตอเนื่อง ดังนั้น บทบาททางเศรษฐกิจของ แมสายจึงไมจํากัดอยูแคเพียงเปนประตูการคากับเมียนมารเทานั้น แตยังขยายไปถึง มณฑลยูนนานของจีนอีกดวย แมสายจึงมีบทบาทเปน “เมืองหนาดาน” มีสภาพแวดลอม ทีเ่ หมาะสมตอการลงทุนและการคา โดยกิจกรรมหลักทีน่ าํ ไปสูก ารลงทุนและการคา คือ การคาปลีกคาสงชายแดน ประสานกับการพัฒนาสินคาพื้นเมืองที่เปนจุดดึงดูดความ สนใจจากนักทองเทีย่ ว กิจกรรมเหลานีจ้ ะสงผลใหเกิดความเปนสากล และการทองเทีย่ ว ผานแดนที่ผสมผสานไปกับการคาภาคเอกชนและการรวมทุน

6) ดานการทองเที่ยว

อําเภอแมสายเปนแหลงทีม่ ผี นู ยิ มเดินทางมาทองเทีย่ วเปนจํานวนมาก มีสถานที่ ทองเทีย่ วหลายแหง สวนใหญเปนแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม มีการเขาถึงพื้นที่สะดวก และมีระบบขนสงสาธารณะที่สามารถ เชือ่ มโยงกับการทองเทีย่ วในกลุม ภาคเหนือตอนบนและประเทศเพือ่ นบานได ทัง้ นีต้ อ ง มีการพัฒนาดานสถานทีพ่ กั แรมและบุคลากรเพิม่ ขึน้ โดยในอนาคตปริมาณการคาและ นักทองเทีย่ วผานแดน จะเปนตัวกําหนดความตองการบริการดานโครงสรางพืน้ ฐานของเมือง

7) ดานอุตสาหกรรม

อําเภอแมสายจัดวาเปนพื้นที่ที่มีความเจริญมากเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นใน จังหวัดเชียงราย มีโรงงานอุตสาหกรรมในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายสงเสริมพัฒนา 7 กลุม ที่สําคัญคือ อาหารและอาหารสัตว อัญมณีเครื่องประดับ เซรามิคและแกว และ มีโรงงานนอกกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย ทีส่ าํ คัญคือ ซอมและทําชิน้ สวนเครือ่ งจักรกล และงานโลหะ ประกอบชิ้นสวน หัตถกรรม อุตสาหกรรมที่ควรสนับสนุนจึงเนนที่มีการ ผลิตอยูแลว มีการลงทุนสูง จางงานมาก มีศักยภาพในการจัดหาวัตถุดิบ ตลาด และ

34 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


แรงงาน โดยสนับสนุนการนําเขาวัตถุดิบจากพื้นที่ขางเคียงหรือประเทศเพื่อนบานมา แปรรูปโดยใชแรงงานความชํานาญของบุคคลากรทองถิ่นเฉพาะ

8) ดานการเกษตร

พื้นที่การเกษตรมีมากถึงรอยละ 68.4 ของพื้นที่อําเภอ สวนใหญเปนพื้นที่นา มีระบบชลประทานทีจ่ ดั วาคอนขางดีกวาอําเภออืน่ พืชเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญไดแก ขาว ลิน้ จี่ ลําไย มะมวง สตรอเบอรี่ ยาสูบ ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเหลือง และกระเทียม เปนตน ปจจุบันพื้นที่สําหรับทําการเกษตรลดนอยลง จึงควรเนนการเพาะปลูกเพื่อปอนตลาด และโรงงานอุตสาหกรรม ในอนาคตควรเลือกเพิ่มพื้นที่การผลิตพืชจําพวก ลําไย ลิ้นจี่ ขาว ไมดอกไมประดับ ลดการผลิตพืชจําพวกกระเทียมและยาสูบ สําหรับขาวไมจาํ เปน ตองเพิ่มพื้นที่แตเนนการพัฒนาคุณภาพ สงเสริมการทองเที่ยวเชิงเกษตร

9) ระบบคมนาคมเชื่อมโยง

แมสายเปนศูนยกลางชายแดนที่มีการเติบโตของเมืองอยางตอเนื่อง ตั้งอยู เหนือสุดติดกับประเทศพมา มีแมนาํ้ สายซึง่ เปนลํานํา้ แคบๆ กัน้ พรมแดนระหวางแมสาย ของไทย กับทาขี้เหล็กของพมาซึ่งเปนเมืองที่มีการขยายตัวมาก การเชื่อมโยงภายใน ประเทศผานทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ขนาด 4 ชองจราจรมีมาตรฐาน พิเศษ สวนใหญการเดินทางเปนไปอยางสะดวก เนือ่ งจากมีเสนทางเชือ่ มภายในอําเภอ และระหวางอําเภออยางทั่วถึง เชน ทางหลวงหมายเลข 1290 (แมสาย-เชียงแสน) มี สภาพคอนขางดี และทางหลวงหมายเลข 1129 (เชียงแสน-เชียงของ) เปนตน อยางไรก็ดี ถนนไปยังอําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม (หมายเลข 1089) และถนน ภายในอําเภอแมสายยังมีสภาพไมดีนัก ควรมีการปรับปรุงใหเหมาะสมกับการเติบโต ของเมือง และรองรับตอการจัดตัง้ เปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ถนนทีค่ วรปรับปรุงในระยะ สัน้ ไดแก ถนนเหมืองแดง-บานสันนา ถนนเลียบคลองชลประทาน ถนนเลีย่ งเมืองของ กรมโยธาธิการ สะพานขามแมนํ้าสายแหงที่ 2 ในระยะกลาง ควรสงเสริมการปรับปรุง กอสรางเสนทางแมสาย-ทาขีเ้ หล็ก-เชียงตุง ทางเลีย่ งเมืองแมสาย (กรมทางหลวง) และ ในระยะยาว ปรับปรุงทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 ใหเปน 6 ชองจราจร ดานการ คมนาคมขนสงระหวางประเทศนัน้ มีศกั ยภาพพอควรในปจจุบนั แตยงั ไมเหมาะกับการ บรรทุกของหนักมากนัก สําหรับทางหลวงหมายเลข R3W เชื่อมไปพมาและเชียงตุง ระยะทาง 182 กิโลเมตรนั้น การกอสรางปรับปรุงแลวเสร็จตั้งแตปลายป 2545

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 35


พื้นที่ชายแดนเชียงของ - หวยทราย (นาคราชนคร) 1) ขอมูลทั่วไปอําเภอเชียงของ

คําขวัญ “หลวงพอเพชรคูเมือง ลือเลื่องปลาบึกหาดไคร แหลงผาทอนํ้าไหล ประตูใหมอินโดจีน”

รูปภาพที่ 1 แผนที่อําเภอเชียงของ

2) ประวัติความเปนมา

อํ า เภอเชี ย งของมี ป ระวั ติ ค วามเป น มาอย า งยาวนานตั้ ง แต ก  อ นสมั ย ประวัตศิ าสตร โดยอําเภอเชียงของเจริญเติบโตมาไดจนทุกวันนีเ้ ริม่ ตนจากชุมชนคนพืน้ ถิน่ ดั้งเดิม เชน ชาวลัวะ แหงบานตํามิละ แลวกอรางสรางทองถิ่นจนเปนเมืองรวมกับ ผูอพยพกลุมตางๆ โดยในป พ.ศ. 1805 พญามังราย ไดมาสรางเมืองเชียงราย ใหเปน ศูนยกลางอํานาจแทนเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน พระองคมีพระราชประสงคที่จะ

36 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รวบรวมเมืองหรือแควนตางๆ ใหเปนอาณาจักรลานนารวมถึงเมืองเชียงของดวย เพื่อ ตอตานการรุกลงใตของพวกมองโกล และตองการเปนศูนยกลางการคา ถัดจากการสราง เมืองเชียงรายได 3 ในป พ.ศ. 1809 เมืองเชียงของ ไมยอมสวามิภักดิ์ตอพญามังราย พระองคจึงยกกองทัพมาตีเมืองเชียงของเอาไวได ทําใหเมืองเชียงของกลายเปนเมือง สําคัญของอาณาจักรลานนา มีสถานะเปนเมืองลูกหลวงและเมืองหนาดานสําคัญของ อาณาจักร กระทั่งกลายเปนเมืองชายแดนขึ้นกับนครนาน อาณาจักรสยาม ในชวงที่สยามประเทศเขาสูยุคลาอาณานิคมของประเทศตะวันตก ในป พ.ศ. 2436 เชียงของถูกกําหนดใหเปน “ดินแดนสวนกลาง” ระหวางสยามประเทศ กับ ฝรัง่ เศส ทีต่ อ งการยึดครองดินแดนลุม แมนาํ้ โขง ณ เวลาหนึง่ ตองผจญกับการถูกรุกราน และถูกยึดเมือง โดยกลุมเงี้ยว กอนที่จะหวนกลับมาเปนหัวเมืองหนึ่งของมณฑลพายัพ และกาวเขาสูการเปนอําเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ในเวลาตอมา ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุนตองการสรางวงศไพบูลยมหาเอเชียบูรพา ่ ปี่ นุ ไดเขา ไดขอผานประเทศไทยไปยึดครองประเทศพมา เชียงของเปนอีกพืน้ ทีห่ นึง่ ทีญ มาตัง้ ฐานกําลังสนับสนุนการทําสงคราม ครัน้ ยุคสงครามเย็น เชียงของถูกกําหนดใหเปน พื้นที่สีแดง ซึ่งหมายถึงจุดของการตอสูเพื่อแยงชิงประชากร ระหวางลัทธิสังคมนิยมกับ โลกเสรี (ประชาธิปไตย) ตอมากลายเปนอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ราชอาณาจักรไทย ในวันที่ 9 มิถุนายน 2453 โดยแตงตั้ง พญาอริยวงษ (นอย จิตตางกูร) เปนนายอําเภอคนแรก ของอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในป พ.ศ. 2457 อําเภอเล็กๆ ชายแดนติดแมนาํ้ โขง แมนํ้าสายหลักของคนในประเทศลุมนํ้าโขง เมื่อสถานการณตาง ๆ คลี่คลายไดเขาสูยุคสงครามการคา โดยในป 2534 มีนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา จึงทําใหเชียงของไดรับการพัฒนามาตาม ลําดับในฐานะอําเภอหนาดานของจังหวัดเชียงราย มีการคาขายกับประเทศเพื่อนบาน (ลาว) และจีนตอนใต ระยะเวลากวา 10 กวาปที่ผานมา เชียงของ ถูกวางใหเปนหนึ่งใน แผนพัฒนาสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ เพื่อเชื่อมโยงการคาการลงทุน การทองเที่ยว และเปน ประตูสูอินโดจีน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 37


3) สภาพภูมิศาสตร

อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปนอําเภอชายแดนตัง้ อยูท างทิศตะวันออก เฉียงเหนือของจังหวัดเชียงรายมีชายแดนติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแมนํ้าโขงเปนแนวพรมแดนธรรมชาติกั้นอาณาเขตระยะทางยาวประมาณ 42 กิโลเมตร อําเภอเชียงของมีขนาดของพื้นที่ทั้งหมด 837.8 ตารางกิโลเมตร หรือ 523,062.5 ไร อาณาเขตติดตอกับอําเภอใกลเคียงและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ดังนี้ ทิศเหนือ

ติดตอกับแขวงบอแกว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ทิศตะวันออก ติดตอกับแขวงบอแกว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว และอําเภอเวียงแกน ทิศใต ติดตอกับอําเภอเวียงแกน อําเภอขุนตาล อําเภอพญาเม็งราย และอําเภอเวียงเชียงรุง ทิศตะวันตก ติดตอกับอําเภอดอยหลวงและอําเภอเชียงแสน

อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปนอําเภอชายแดนตัง้ อยูท างทิศตะวันออก เฉียงเหนือของจังหวัดเชียงรายมีชายแดนติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแมนํ้าโขงเปนแนวพรมแดนธรรมชาติกั้นอาณาเขตระยะทางยาวประมาณ 42 กิโลเมตร อําเภอเชียงของอยูห า งจากตัวจังหวัดเชียงรายตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 1129 (เชียงแสน-เชียงของ) ประมาณ 141 กิโลเมตร หรือตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 1098 และทางหลวงแผนดินหมายเลข 1174 (แมจนั -บานกิว่ พราว-บานแกน-บานทุง งิว้ ) ระยะทางประมาณ 137 กิโลเมตร และหางจากกรุงเทพมหานครประมาณ 950 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอกับพืน้ ทีต่ า งๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ดานเมืองตนผึ้ง แขวงบอแกว โดยมีแมนํ้าโขงเปนเสนกั้นอาณาเขต ทิศตะวันออก ติดตอกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดานเมืองหวย ทราย แขวงบอแกว โดยมีแมนาํ้ โขงเปนเสนกัน้ อาณาเขต และติดตอกับอําเภอเวียงแกน ทิศใต ติดตอกับตําบลยาง ฮอม อําเภอขุนตาล และตําบลแมตา อําเภอพญาเม็งราย ทิศตะวันตก ติดตอกับตําบลแมตา อําเภอพญาเม็งราย ตําบลปงนอยกิง่ อําเภอดอยหลวง และตําบลบานแซว ตําบลแมเงิน อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงของมีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 837.8

38 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ตารางกิโลเมตร หรือ 523,062.5 ไร มีภมู ปิ ระเทศเปนภูเขาทางตอนเหนือทางตะวันออก และทางตะวันตก โดยมีพื้นที่ราบลุมตรงกลาง มีที่ราบเชิงเขาและที่ราบริมฝงแมนํ้าโขง และแมนํ้าอิง พื้นที่เต็มไปดวยปาไมและภูเขาสูงลอมรอบ มีความสูงจากระดับนํ้าทะเล โดยเฉลี่ยประมาณ 300 เมตร ฤดูรอนอากาศรอน อุณหภูมิสูงสุด 38 องศาเซลเซียสมี ฝนตกชุกเกือบตลอดป ปริมาณนํ้าฝนสูงสุดประมาณ 168 มิลลิเมตรตอป และอากาศ หนาวเย็นในฤดูหนาว อุณหภูมิตํ่าสุดประมาณ 5 องศาเซลเซียส

4) การปกครอง

การปกครองทองที่และทองถิ่นในอําเภอเชียงของ ประกอบดวย 7 ตําบล คือ ตําบลริมโขง ตําบลเวียง ตําบลสถาน ตําบลศรีดอนชัย ตําบลครึ่ง ตําบลบุญเรือง และ ตําบลหวยซอ มี 8 เขตการปกครองทองถิ่นคือ องคกรบริหารสวนตําบลริมโขง เทศบาล ตําบลเวียง เทศบาลเวียงเชียงของ เทศบาลตําบลสถาน เทศบาลตําบลศรีดอนชัย เทศบาลตําบลครึง่ เทศบาลตําบลบุญเรือง และเทศบาลตําบลหวยซอ มีหมูบ า นทัง้ หมด 102 หมูบาน รวมพื้นที่ 836.9 ตร.กม. ความหนาแนนประชากร 74.30 คน/ตร.กม. อําเภอเชียงของเปนอําเภอที่มีจํานวนประชากรรวม 62,180 คน จําแนกเปน ชาย 31,038 คน และหญิง 31,142 คน จํานวนครัวเรือน 20,461 หลัง ประชากรที่มี สถานะบุคคลสัญชาติไทย 60,060 คน ยังไมมีสถานะสัญชาติ 1,120 คน ประชากรในอําเภอเชียงของ แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมคนไทยที่มี สัญชาติไทย และกลุมชาติพันธุที่มีสัญชาติไทยและไมมีสัญชาติไทย เปนกลุมชนที่มี วัฒนธรรมประเพณี ภาษาพูดเปนของตนเอง ความเชือ่ และการดําเนินชีวติ ทีม่ เี อกลักษณ เฉพาะตัว เชียงของมีกลุมชาติพันธุ 9 กลุมชาติพันธุ ประกอบดวย ไทยวน ลื้อ ลาว กํามุ เยา ลาหู มง จีนฮอ และอาขา โดยในองคการบริหารสวนตําบลริมโขงมีประชากร ประกอบดวยคนหลายเชื้อชาติ เชน ชาวไทยพื้นเมือง ไทยลื้อ จีนฮอ และชาวไทยภูเขา เผาตาง ๆ เชน มง เยา ลาหู (มูเซอ) ขมุ อาขา เปนตน โดยสวนใหญประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ไดแก การทํานาขาว การปลูกพืชไร การทําประมงนํ้าจืด และการคา ชายแดน ซึ่งไดรวมกันทํามาหากิน สรางชุมชน สรางทองถิ่นรวมกัน จนกลายเปนเมือง เชียงของในปจจุบัน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 39


5) ภาวะเศรษฐกิจ

5.1) โครงสรางทางเศรษฐกิจและรายไดประชากร การประกอบอาชีพสวน มากเปนการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คาขาย ใหการบริการและการทองเที่ยว รายได ประชากรเฉลี่ยประมาณ 53,625 บาท/ ป/ คน ในป 2556 5.2) ดานเกษตรกรรม พืน้ ทีส่ ว นมากเปนพืน้ ทีร่ าบเชิงเขา การเกษตรกรรม สวนมากจะเปนการปลูกพืชยืนตน เชน เงาะ สม ขาวโพด และผลไม รวมทั้งมีการเพาะ ปลูกขาว และการเกษตรกรรมเชิงเดี่ยวในการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ แตก็มีการเกษตร กรรมที่ปลูกพืชอื่น ๆ อยูดวยเชนกัน 5.3) การประมง มีการทําการประมงตามแหลงนํ้าธรรมชาติที่สําคัญ คือ แมนํ้าโขง และสวนมากเปนการประมงตามธรรมชาติ 5.4) การปศุสัตว การเลี้ยงสัตวสวนมากเปนการเลี้ยงเปนรายยอยควบคู ไปกับการประกอบอาชีพดานอื่นเปนการเลี้ยงตามธรรมชาติเปนหลัก 5.5) การอุตสาหกรรม เชียงของทีม่ กี ารจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพือ่ เปน ศูนยกลางโลจิสติกสการคาชายแดน นอกจากนีก้ ย็ งั มีอตุ สาหกรรมขนาดยอมและขนาด เล็ก เชน การทําผาทอ สินคา OTOP เปนตน 5.6) การพาณิชยกรรม เนื่องจากพื้นที่สวนมากของเทศบาลตําบลเวียง เชียงของ เปนแหลงชุมชนเมืองประกอบกับเปนเมืองชายแดน และแหลงทองเที่ยวที่ สําคัญแหงหนึง่ ของจังหวัดเชียงราย จึงเปนปจจัยสําคัญทีเ่ อือ้ อํานวยตอการดําเนินธุรกิจ การพาณิชย สวนมากเปนการดําเนินธุรกิจการคา การบริการและการทองเที่ยว

6) การคมนาคม

อําเภอเชียงของมีคมนาคม 2 เสนทางหลัก คือ ทางบก และทางนํ้า 6.1) การคมนาคมทางบก เสนทางถนนระกวางอําเภอเชียงของกับอําเภอ ใกลเคียงมีหลายเสนทางทั้งทางหลวงแผนดิน และทางหลวงจังหวัด สวนใหญเปนถนน ที่มีความกวางสองชองจราจรกับสี่ชองจราจร

40 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เสนทางเชื่อมโยงกับจังหวัดขางเคียง - เสนทางหลวงสาย 1020 จังหวัดเชียงราย-อําเภอเทิง-อําเภอเชียงของ ระยะทาง 137 กิโลเมตร - เสนทางถนนพหลโยธิน จังหวัดเชียงราย-อําเภอแมจัน-อําเภอ เชียงแสน ระยะทาง 60 กิโลเมตร และเสนทางหลวงหมายเลข 1129 อําเภอเชียงแสน-อําเภอเชียงของ ระยะทาง 55 กิโลเมตร รวมระยะ ทาง 115 กิโลเมตร - เสนทางถนนพหลโยธิน จังหวัดเชียงราย-อําเภอแมจัน ตอเสน ทางหลวงหมายเลข 1098 อําเภอแมจัน-บานกิ่วพราว ตอเสน ทางหลวงหมายเลข 1174 บานกิว่ พราว-บานสถาน ตอเสนทางหลวง หมายเลข 1020 บานสถาน - อําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 118 กิโลเมตร - เสนทางหลวงหมายเลข 1020 จังหวัดเชียงราย-บานหัวดอย ตอเสน ทางหลวงหมายเลข 1020 บานตา-อําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 114 กิโลเมตร - เสนทางหลวงหมายเลข 1020 จังหวัดเชียงราย-บานหัวดอย ตอเสน ทางหลวงหมายเลข 1020 บานสถาน-อําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 105 กิโลเมตร - เสนทางหลวงหมายเลข 1173 จังหวัดเชียงราย-อําเภอเวียงชัย-บาน แมบง ตอเสนทางหลวงหมายเลข 1098 บานแมบง-บานแกน ตอ เสนทางหลวงหมายเลข 1174 บานแกน-บานสถาน ตอเสนทางหลวง หมายเลข 1020 บานสถาน-อําเภอเชียงของ รวมระยะทาง 98 กิโลเมตร เสนทางเดินรถโดยสารประจําทาง เปนการเดินรถของบริษัทเอกชนให บริการในเสนทางตางๆ 1. เสนทางเดินรถอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย-อําเภอเชียงของ มีรถ โดยสารประจําทางใหบริการ 2 เสนทาง โดยรถบัสธรรมดาจะออกจาก สถานีขนสงเชียงราย สลับกันแตละเสนทาง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 41


- เสนทางจาก อ.เทิง-อ.ขุนตาล-อ.เชียงของ - เสนทางจาก อ.เมือง-อ.พญาเม็งราย-อ.เชียงของ - เสนทางจาก อ.เมือง-อ.เวียงเชียงรุง-อ.เชียงของ ใชเวลาในการเดินทาง 2 ชั่วโมง 30 นาที โดยรถบัสเริ่มออกจากเชียงของใน เวลา 04.30 น.-17.00 น. ซึ่งรถบัสจะออกทุกๆ 30 นาที และรถบัสเริ่มออกจากอําเภอ เมืองในเวลา 06.30 น.-19.30 น. โดยประมาณ และมีรถโดยสารประจําทางรถสองแถว ซึ่งจะวิ่งเสนทางนี้เทานั้น อ.เมือง-อ.แมจัน-อ.เชียงแสน-อ.เชียงของ อีกทั้งรถบัสปรับ อากาศ เริ่มจากเชียงใหม-เชียงของ ใหบริการโดยบริษัท ไทยพัฒนกิจขนสง จํากัด (เชียงใหม-แมขะจาน-วังเหนือ-พะเยา-ดอกคําใต-จุน-เชียงคํา-เทิง-เชียงของ) วันละ 3 เที่ยว ใชเวลาในการเดินทาง 5 ชั่วโมง 2. เสนทางเดินรถเชียงของ-กรุงเทพฯ มีบริษัทสมบัติทัวร จํากัด ใหบริการวัน ละ 4 เที่ยว ใชเวลาในการเดินทาง 13 ชั่วโมง และมีบริษัท ขนสง จํากัด (บขส.) ให บริการวันละ 3 เที่ยว ใชเวลาในการเดินทาง 13 ชั่วโมง พรอมทั้งมีการบริการ Fly n’ Ride ระหวางเสนทาง เชียงของ-เชียงราย-กรุงเทพฯ โดยบริษทั สายการบินนกแอร จํากัด (มหาชน) ใหบริการวันละ 2 เที่ยว ใชเวลาในการเดินทาง 5 ชั่วโมง พรอมทั้งอีกหลาย บริษัท ไดแก โชครุงทวีทัวร สยามเฟรสทัวร บุษราคัมทัวร เชิดชัยทัวร 3. เสนทางระหวางประเทศ โดยเดินทางผานสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหง ที่ 4 มีบริษัท ขนสง จํากัด (บขส.) ใหบริการวันละ 4-8 เที่ยว 6.2) การคมนาคมทางนํ้า อําเภอเชียงของมีการบริการเรือขามฟาก ระหวางประเทศไทย-ลาว โดยมีทาเรือใหบริการ 2 ทาเรือ ไดแก - ทาเรือบั๊ค ตั้งอยูบานหัวเวียง หมูที่ 1 ตําบลเวียง - ทาเรือนํ้าลึก ตั้งอยูบานหัวเวียง หมูที่ 1 ตําบลเวียง

7) สภาพสังคม

7.1) การศึกษา ระบบการศึกษาของอําเภอเชียงของ จําแนกไดดังนี้ - โรงเรียนระดับประถมศึกษาของรัฐ จํานวน 6 แหง ไดแก โรงเรียน อนุบาลเชียงของ โรงเรียนบานหัวเวียง (โกศัลยวิทย) โรงเรียน

42 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อนุบาลเวียง โรงเรียนบานหวยเม็ง โรงเรียนบานดอนมหาวัน และ โรงเรียนบานทุงนานอย - โรงเรียนระดับประถมศึกษาของเอกชน จํานวน 2 แหง ไดแก โรงเรียนพระกุมารเยซูเชียงของ และโรงเรียนลูกรักเชียงของ - โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของรัฐ จํานวน 3 แหง ไดแก โรงเรียน เชียงของวิทยาคม โรงเรียนบุญเรืองวิทยาคม โรงเรียนหวยซอ วิทยาคม (รัชมังคลาภิเษก) - โรงเรียนมัธยมศึกษาของของเอกชน จํานวน 1 แหง ไดแก โรงเรียน ลูกรักเชียงของ - โรงเรียนระดับอาชีวะศึกษา จํานวน 1 แหง ไดแก โรงเรียนชัยสิทธิ์ บริหารธุรกิจ 7.2) การศาสนา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ชาวไทยภูเขาและประชากรสวนนอยนับถือศาสนาคริสต ซิกและอื่นๆ ลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณีทอ งถิน่ แบบลานนา โดยมีลกั ษณะเดนในดานภาษาพูด การแตงกาย การปฏิบัติตามประเพณีดั้งเดิม และการกอสรางบานเรือนและที่อยูอาศัย ซึง่ ยังคงมีการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดงั กลาวไวอยางตอเนือ่ งและเปนเอกลักษณ ของชาวลานนา 7.3) การสาธารณสุข - โรงพยาบาล จํานวน 1 แหง - โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 17 แหง - สถานที่ทิ้งขยะเทศบาล จํานวน 1 แหง 7.4) การสังคมสงเคราะหและสวัสดิการสังคม - สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ จํานวน 1 แหง 7.5) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน - กองรอยอาสารักษาดินแดนอําเภอเชียงของ จํานวน 1 แหง - หนวยปฏิบัติการจูโจมพิเศษ (ฉก.) จํานวน 1 แหง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 43


- ชุดพัฒนาสัมพันธมวลชน ที่ 14 จํานวน 1 แหง - สถานีตํารวจภูธรเชียงของ จํานวน 1 แหง 7.6) การอํานวยการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิต / ทรัพยสิน - ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอําเภอ จํานวน 1 ศูนย - ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนเทศบาล จํานวน 1 ศูนย

8) ยุทธศาสตรเชียงของ

โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง Greater Mekong Sub region (GMS) โครงการ GMS เปนความรวมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนามและจีน (ยูนนาน) ตั้งแตป พ.ศ. 2535 โดยมีธนาคารพัฒนา เอเชีย (ADB: Asian Development Bank) เปนผูใหการสนับสนุนหลัก กลุมประเทศ GMS มีพนื้ ทีร่ วมกันประมาณ 2,300,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ พืน้ ทีข่ องยุโรป ตะวั น ตก มี ป ระชากรรวมกั น ประมาณ 250 ล า นคน และอุ ด มสมบู ร ณ ไ ปด ว ย ทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังเปนจุดศูนยกลางในการเชื่อมโยงติดตอระหวางภูมิภาค เอเชียใตเอเชียตะวันออก และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต (กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ, 2548) โครงการ GMS มีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมใหเกิดการขยายตัวทางการคา การ ลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร และบริการ สนับสนุนการจางงานและยกระดับความ เปนอยูของประชาชนในพื้นที่ใหดีขึ้น สงเสริมและพัฒนาความรวมมือทางเทคโนโลยี และการศึกษาระหวางกัน ตลอดจนการใชทรัพยากรธรรมชาติที่สงเสริมกันอยางมี ประสิทธิภาพ สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถรวมทั้งโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการ คาโลก ระหวาง 4-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 จีนไดเปนเจาภาพการประชุม GMS Summit ครัง้ ที่ 2 ณ นครคุนหมิง โดยผูน าไดออกแถลงการณรว มคุนหมิง (Kunming Declaration) ซึ่งมีเปาหมายคือความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ความปรองดองและความมั่งคั่งของ อนุภูมิภาค รวมถึงความพยายามในการลดปญหาความยากจนและ สงเสริมการพัฒนา อยางยั่งยืนโดยสนับสนุนใหมีการติดตอและการแขงขันระหวางกัน นอกจากนั้น ผูนํา ประเทศ GMS ไดแสดงเจตนารมณใหมีการลงนามในภาคผนวกและพิธีสารแนบทาย ของความตกลงขนสงขามพรมแดน (GMS Cross-Border Transport Agreement)ให

44 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เสร็จครบถวนภายในป พ.ศ. 2548 และ เห็นชอบกับความริเริ่มในการอนุรักษความ หลากหลายทางชีวภาพโดยใหการคุมครองระบบนิเวศของพื้นที่ปาไมและตนนํ้าใน อนุภมู ภิ าค ภายใตโครงการ GMS Bio-diversity Corridor ทัง้ นีไ้ ดมกี ารลงนามขอตกลง ในเรื่องการขนสง การคาพลังงาน การควบคุมโรคติดตอในสัตว และ การสื่อสาร โทรคมนาคม และลาวรับเปนเจาภาพจัดการประชุม GMS Summit ครัง้ ที่ 3 ในป 2551 สาขาความรวมมือของ GMS มี 9 สาขา ไดแก คมนาคมขนสง โทรคมนาคม พลังงาน การคา การลงทุน เกษตร สิ่งแวดลอม การทองเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย แผนงานลาดับความสําคัญสูง (Flagship Programs) จํานวน 11 แผนงาน ไดแก 1) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) 2) แผนงานพัฒนาแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) 3) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor) 4) แผนงานพัฒนาเครือขายโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone) 5) แผนงานซื้อ-ขายไฟฟาและการเชื่อมโยงเครือขายสายสงไฟฟา (Regional Power Interconnection and Trading Arrangements) 6) แผนงานการอํานวยความสะดวกการคาและการลงทุนขามพรมแดน (Facilitating Cross-Border Trade and Investment) 7) แผนงานเสริมสรางการมีสว นรวมและความสามารถในการแขงขันของภาค เอกชน (Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness) 8) แผนงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและทักษะความชํานาญ (Developing Human Resources and Skills Competencies) 9) กรอบยุทธศาสตรการพัฒนาสิ่งแวดลอม (Strategic Environment Framework) 10) แผนงานการปองกันนํา้ ทวมและการจัดการทรัพยากรนํา้ (Flood Control and Water Resource Management)

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 45


11) แผนงานการพัฒนาการทองเทีย่ ว (GMS Tourism Development) กลไก การทํางานของ GMS แบงเปนการดําเนินการ 4 ระดับ ไดแก 1. การประชุมระดับคณะทํางาน ของแตละสาขาความรวมมือเพื่อ ประสานงานความคืบหนาของกิจกรรมตาง ๆ 2. การประชุมระดับเจาหนาที่อาวุโส ซึ่งจัดปละ 1-2 ครั้ง 3. การประชุมระดับรัฐมนตรี ซึ่งจัดปละ 1 ครั้ง โดยในป พ.ศ. 2547 ได มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 13 ณ เวียงจันทน สปป.ลาว ระหวาง 13-16 ธันวาคม 2547 4. การประชุมระดับผูนํา ซึ่งจัดทุก 3 ป โดยกัมพูชาเปนเจาภาพจัดการ ประชุมระดับผูนํา GMS ครั้งที่ 1 เมื่อป พ.ศ. 2545 และจีนจะเปน เจาภาพจัดการประชุมระดับผูนํา GMS ครั้งที่ 2 ในป พ.ศ. 2548 ความคืบหนาการดําเนินงาน GMS ที่สําคัญ 1. การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) เชื่อมโยงไทย-พมา/ ลาว-จีน 1.1 เสนทางสาย แมสาย–เชียงตุง-เชียงรุง-คุนหมิง ไทยชวยสรางสะพาน มิตรภาพขามแมนํ้าสายแหงที่ 2 แบบใหเปลาดวยวงเงิน 38 ลานบาท และไดมีการเปด ใชสะพานขามแมนํ้าสายแหงที่ 2 และเสนทางแมสาย–เชียงตุง-เชียงรุงในเดือน กรกฎาคม 2547 1.2 เสนทางสาย เชียงของ–หลวงนํ้าทา-เชียงรุง-คุนหมิง ไทย จีน และ ADB ใหความชวยเหลือการกอสรางเสนทางในสวนของ สสป. ลาวฝายละ 1 ใน 3 ของ คากอสราง โดยไทยใหความชวยเหลือแบบเงินกูผอนปรนดวยวงเงิน 1,385 ลานบาท คาดวาจะกอสรางเสร็จในป พ.ศ. 2548 อนึง่ รัฐบาลไทยไดประกาศเจตนารมณทจี่ ะชวย สรางสะพานขามแมนํ้าโขงที่เชียงของ-หวยทรายโดยจะรับผิดชอบคากอสรางครึ่งหนึ่ง และ ADB ก็แสดงความสนใจที่จะใหเงินกูแกฝายลาวสวนหนึ่งดวย 1.3 เสนทางสาย หวยโกน–ปากแบง โครงการปรับปรุงเสนทางจากหวยโกน (จ.นาน)-เมืองเงิน (แขวงไชยบุรี)–ปากแบง (แขวงอุดมไชย) ระยะทาง 49.22 กม. ซึ่ง ไทยจะใหความชวยเหลือดวยวงเงิน 840 ลานบาท โดยเปนเงินกูผอนปรน (รอยละ 70)

46 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


และเงินใหเปลา (รอยละ30) คาดวาจะกอสรางเสร็จในป พ.ศ. 2549 โดยเสนทางนี้จะ สามารถเชื่อมตอจากจังหวัดนานไปยังประเทศจีน (ผานทางไชยบุรี-บอเตน) และเชื่อม ตอไปยังหลวงพระบาง 2. การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) เชื่อมโยงพมา-ไทย-ลาว-เวียดนาม 2.1 ฝงตะวันออก: มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ดองฮา-เว-ดานัง-สะพานขาม แมนาํ้ โขงแหงที่ 2 ไทยและลาวไดกเู งินจาก JBIC มาดําเนินการกอสรางเปนวงเงิน 4,700 ลานเยน (สวนของไทย 2,300 ลานเยน) ไดมีการลงนามสัญญาจางกอสรางสะพานเมื่อ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2546 และคาดวาจะกอสรางเสร็จในป พ.ศ. 2548 (6 เดือนกอน กําหนดเดิม)เสนทางหมายเลข 9 (ในลาว) การปรับปรุงและซอมแซมเสนทาง สะหวัน-นะ เขต-เมืองพิน-แดนสวรรค ระยะทางประมาณ 210 กม. โดย JICA และ ADB ใหการ สนับสนุนดานการเงิน ซึ่งไดเปดใชอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2547 เสนทางหมายเลข 9 (ในเวียดนาม) และทาเรือนํ้าลึกดานัง ADB JBIC และรัฐบาล เวียดนามใหการสนับสนุนดานการเงินในการกอสรางเสนทางลาวบาว-ดองฮา อุโมงคไฮ วันและการปรับปรุงทาเรือนํา้ ลึกดานังบางสวนของการกอสรางแลวเสร็จและคาดวาทัง้ โครงการจะเสร็จสมบูรณในปลายป พ.ศ. 2547 2.2 ฝงตะวันตก: แมสอด-เมาะลาไย ไทยจะใหความชวยเหลือเสนทางชวง แมสอด-เมียวดี-กอกะเร็ก-พะอัน-ทาตอน ระยะทางประมาณ 198 กม. (โดยจะสราง ถนนใหเปลาในชวง 18 กม. แรก และใหกูในสวนที่เหลือ) ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งของเสน ทางแมสอด-เมียวดี-เมาะลาไย โดยรัฐบาลไทยตกลงในหลักการทีจ่ ะใหเงินกูส าหรับการ กอสรางชวงกอกะเร็ก-เมาะลาไย ในระยะตอไป 3. การพัฒนาแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor) -เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม 3.1 เสนทาง ตราด-เกาะกง-สแรแอมปล เปนสวนหนึง่ ของเสนทางเลียบชายฝง ทะเลไทย-กัมพูชา-เวียดนาม (R10) โดยไทยใหความชวยเหลือแบบเงินกูผ อ นปรน 567.7 ลานบาท เพื่อการปรับปรุงถนนระยะทาง 151.5 กม. และใหเปลา 288 ลานบาท เพื่อ การกอสรางสะพานขนาดใหญ 4 แหง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 47


3.2 เสนทาง ชองสะงา-อันลองเวง–เสียมราฐ การปรับปรุงถนนระยะทาง 167 กม. ซึ่งจะเชื่อมโยงระหวางภาคอีสานใตของไทยกับเมืองเสียมราฐ โดยจะเริ่มเจรจาเงื่อนไข สัญญาเงินกูกลางป พ.ศ. 2547 4. ความตกลงวาดวยการขนสงขามแดนในอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS Cross Border- Transport Agreement) เปนความตกลงทีช่ ว ยอานวยความสะดวก การผานแดนและขามแดนของคนและสินคาใน อนุภูมิภาค ประเทศภาคีสมาชิกทั้ง 6 ประเทศไดใหสัตยาบันความตกลงฯแลว และไดมีการประกาศการมีผลบังคับใชของ ความตกลงฯ (สวนกรอบความ ตกลง) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2547 และตั้งแตตน ป พ.ศ. 2546 ประเทศภาคีสมาชิกไดเจรจาในรายละเอียดของสวนภาคผนวกแนบทาย ความตกลง ฯ (Annex) 16 ฉบับและพิธสี าร (Protocol) 3 ฉบับ โดยไดรบั ความชวยเหลือ ดานวิชาการจาก ADB และ ESCAP โดยคาดวาจะสามารถจัดทําภาคผนวกและพิธีสาร ใหแลวเสร็จในป พ.ศ. 2548 5. ความตกลงวาดวยการเดินเรือพาณิชยในลุม แมนาํ้ โขงตอนบน (Quadripartite Agreement on Commercial Navigation on Lancang – Mekong River) ไทย ลาว พมา จีน ไดลงนามรวมกันในความตกลงวาดวยการเดินเรือในแมนํ้า ลานชาง-แมนํ้าโขง เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2543 ณ จังหวัดทาขี้เหล็ก พมา และมี ผลบังคับใชเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 โดยความตกลงฯ มีวัตถุประสงคเพื่อการ อํานวยความสะดวกการเดินเรือพาณิชยในแมนาํ้ โขงตอนบน และจีนไดใหการสนับสนุน การปรับปรุงรองนํา้ เพือ่ การเดินเรือ (เคลือ่ นยายเกาะแกงและหาดตืน้ ทีเ่ ปนอุปสรรคตอ การเดินเรือในลํานํ้าโขงตลอดชองแนวชองทางเดินเรือ 331 กิโลเมตร เพื่อใหชองทางมี ขนาดกวางไมตํ่ากวา 35 เมตรและลึกประมาณ 3 เมตร) ซึ่งไดดําเนินการเสร็จแลว 10 จุด สวนจุดสุดทายที่บริเวณแกงคอนผีหลวงครม. ไดมีมติเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2546 มอบหมายใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทําการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยว กับผลกระทบดานตาง ๆ (ในไทย) ที่ยังมีความกังวลอยู ผลการศึกษาดังกลาวไดเสร็จ สมบูรณแลว โดยระบุวาผลกระทบของโครงการฯ ตอสภาพแวดลอม เศรษฐกิจสังคม และวิถีชีวิต แหลงทองเที่ยว โบราณสถานและวัฒนธรรม จะอยูในระดับตํ่า อยางไร ก็ตามผลจากการดําเนินการดานการมีสวนรวมของประชาชน ยังสะทอนใหเห็นวา ประชาชนในพื้นที่ยังมีขอวิตกกังวลเกี่ยวกับโครงการนี้อยู

48 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


6. ความรวมมือดานพลังงาน ประเทศ GMS ไดลงนามความตกลงวาดวย ความรวมมือดานการซื้อขายไฟฟาและการสรางเครือขายสายสงระหวางรัฐบาล 6 ประเทศลุมแมนํ้าโขง (Inter-Governmental Agreement on Regional Power Trade) เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 โดยความตกลงนี้มีจุดประสงคใหประเทศ สมาชิกรวมมือและวางแผนพัฒนาระบบสงไฟฟาที่ประหยัด และมีความมั่นคง รวมไป ถึงกลไกในการดําเนินการซื้อขายไฟฟาในอนุภูมิภาค 7. ความรวมมือดานโทรคมนาคม ประเทศไทยโดยบริษทั ทศท. คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินการจัดสรางโครงขายระบบเคเบิลใยแกวตามโครงการ Telecommunication Backbone Project ในสวนของไทยครบทุกจุดที่ เกีย่ วของแลว และยังไดเปดใหบริการในเสนทางระหวางอรัญประเทศ (ไทย)–ปอยเปต (กัมพูชา) และ ระหวางหนองคาย (ไทย)-เวียงจันทน (สปป.ลาว) แลว ขณะนีร้ อความพรอมในการเชือ่ มโยง กับจีน พมา และจุดเชื่อมโยงอื่น ๆ ของลาว 8. ความรวมมือดานการทองเที่ยว โครงการจัดทําแผนการตลาดทองเที่ยว Six Countries One Destination โดยมี Agency for Coordinating Mekong Tourism Activities (AMTA)ซึง่ ตัง้ สานักงานอยูท กี่ ารทองเทีย่ วแหงประเทศไทย เปนศูนยประสาน งานหลักดานการตลาดเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชื่อมโยงระหวางประเทศในรูปแบบ ของ package tour โดยจะเนนตามแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ 3 แนวหลัก ตลอดจนการศึกษา GMS Visa เพื่ออานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยวจากนอกอนุภูมิภาค 9. ความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ไทยสงเสริมใหมกี ารดําเนิน ตามแผนงาน Phnom Penh Plan ซึ่งเปนแผนงานพัฒนาผูบริหารระดับสูงและระดับ กลาง อยางตอเนือ่ งและยัง่ ยืน โดยเฉพาะการดําเนินงานของ AIT และ สถาบันลุม แมนาํ้ โขง (Mekong Institute) ซึง่ กอตัง้ เมือ่ ป พ.ศ. 2537 โดยเปนความรวมมือระหวางรัฐบาล นิวซีแลนดกับรัฐบาลไทย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 49


9) บทบาทในอนาคต

จากความไดเปรียบทางดานทีต่ งั้ ประกอบกับเปนพืน้ ทีท่ อี่ ยูใ นเสนทางเชือ่ มโยง ไปจีน โดยผาน สปป.ลาว สงผลใหเชียงของมีศักยภาพในการพัฒนาเปนเขตนิคม อุตสาหกรรมการเกษตรครบวงจร และเขตอุตสาหกรรมทั่วไป เพื่อสนับสนุนเขต เศรษฐกิจพิเศษเชียงรายในภาพรวมอยางเปนรูปธรรม 1. การพัฒนาระบบคมนาคมขนสง 1.1) การเชื่อมโยงเสนทางขนสงสูประเทศเพื่อนบาน เรงพัฒนาเสนทางแนว เหนือ-ใต กรุงเทพฯ-เชียงราย-คุนหมิง (Northern Corridor) ผานลาว ไปจีน (เชียงของหวยทราย-หลวงนาทา-บอเต็น-เชียงรุง-คุนหมิง) ปจจุบันสามารถตกลงรายละเอียด มาตรฐานทางดานเทคนิคและลงนามสัญญาเงินกูร ะหวางไทย-ลาวแลว โดยเริม่ กอสราง ในป พ.ศ. 2547 และเปดใชงานไดในป พ.ศ. 2550 1.2) การเชือ่ มโยงเสนทางภายในประเทศ ปรับปรุงและกอสรางถนนในชุมชน เมือง ถนนเลีย่ งเมืองดานตะวันตก และถนนสายหลักเชือ่ มโยงระหวางอําเภอ ตลอดจน ปรับปรุงทางหลวงหมายเลข 1129 1020 และ 1173 ใหมีสภาพดีขึ้น 2. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในพื้นที่เมืองชายแดน 2.1) โครงสรางพืน้ ฐานเพือ่ เตรียมความพรอมเมือง เตรียมการพัฒนาโครงสราง พืน้ ฐานทัว่ ไปเพือ่ แกปญ  หาชุมชน ใหสามารถรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดย เรงจัดทําและประกาศใชผังเมืองรวมและผังเฉพาะ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อแก ปญหาชุมชน เชน พัฒนาระบบถนนในเทศบาล ระบบระบายนํ้าและปองกันนํ้าทวม ประปา บาบัดนํ้าเสีย กําจัดขยะ เปนตน 2.2) โครงสรางพื้นฐานที่เปนองคประกอบหลักของเขตเศรษฐกิจพิเศษ - เขตประกอบการอุตสาหกรรม เตรียมการศึกษาความเหมาะสมในการ จัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของ เพือ่ พัฒนาเปนนิคมอุตสาหกรรมการเกษตรครบวงจร และเขตอุตสาหกรรมทั่วไป ซึ่งจะดําเนินการในระยะที่ 2 ประมาณป พ.ศ. 2549 เปนตนไป - สิง่ อํานวยความสะดวกการขนสงและสถานีขนถายสินคา โดยดําเนินการ ศึกษาไปพรอมกับการศึกษาความเหมาะสมการจัดตั้งเขตประกอบการอุตสาหกรรม

50 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


- การกอสรางสะพานขามแมนา โขงและดานพรมแดน เพือ่ รองรับเสนทาง หมายเลข 3 (ถนนเชียงราย- คุนหมิง ผานลาว) ระยะดาเนินการ ป พ.ศ. 2550-2554 - พัฒนาแหลงทองเที่ยว เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการทองเที่ยวซึ่งเปน กิจกรรมหลัก โดยปงบประมาณ 2547 เสนอใหมกี ารพัฒนาศูนยจาหนายสินคาและลาน แสดงสินคา 3. การพัฒนาดานสังคมและสิ่งแวดลอม ดําเนินการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอมในพืน้ ทีอ่ าํ เภอเชียงของ เพือ่ จัดทําแผน แมบทและแผนปฏิบตั กิ ารปองกันแกไขผลกระทบสิง่ แวดลอมของโครงการตางๆ ในพืน้ ที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษ และเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินการจัด ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ และจัดฝกอบรมและพัฒนาฝมือแรงงาน เปนตน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 51


เอกสารอางอิง http://fad.moi.go.th/ http://phrachiangsan.com/history.php http://www.chiangrai.net/cpwp/?p=1154 http://www.chiangsaencustoms.com/index.php http://province.m-culture.go.th/chiangrai/amphur-chiangsaen.htm http://chiangsaen.immigration.go.th/home/220-2013-05-23-06-30-46.html http://www.sncsez.gov.la/index.php/en/golden-triangle-sez#developmentplan http://www.chaibadancrime.com/index.php?lay=show&ac=article& Id=539373019 สรุปสาระสําคัญเมืองชายแดนภาคเหนือที่มีศักยภาพการพัฒนา http://th.wikipedia.org/wiki/อําเภอแมสาย http://www.chiangraifocus.com/2010/aumpher.php?aid=11 http://th.wikipedia.org/wiki/รัฐฉาน http://stat.bora.dopa.go.th/xstat/p5557_03.html

52 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บทที่ 2 การวิเคราะหขอมูลในภาพรวมทางเศรษฐกิจ และสังคมของจังหวัดเชียงราย แนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจและการคาพื้นที่ ชายแดนจังหวัดเชียงราย เขียนโดย ธนาภัทร บุญเสริม และ ณัฐพรพรรณ อุตมา

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวโนมการเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวม และการคาชายแดนระหวางพรมแดนเชียงรายของประเทศไทยกับประเทศคูค า ทีส่ าํ คัญ อยาง สปป.ลาว และเมียนมาร สําหรับการวิเคราะหงานวิจัยชิ้นนี้ ไดใชขอมูลทุติยภูมิ ของจังหวัดเชียงราย ไดแก ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย (Gross Provincial Products: GPP) จํานวนประชากร ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดตอประชากร และมูลคา การคาชายแดน การสงออกและการนําเขา รวมทั้งดุลการคาชายแดน ครอบคลุมระยะ เวลา 10 ปตงั้ แตปพ .ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2556 ในสวนแรกของงานวิจยั จะทําการวิเคราะห ความสัมพันธระหวางการขยายตัวของการคาชายแดนในจังหวัดเชียงรายกับการขยาย ตัวของเศรษฐกิจมวลรวม ในรูปของเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงที่สะทอนถึงอัตราการ เจริญเติบโตของจังหวัดเชียงราย เพื่อชี้ใหเห็นวาตลอด 10 ปที่ผานมา สถานการณและ แนวโนมการคาชายแดนระหวางประเทศไทยกับคูคารายใหญอยาง สปป.ลาว และ ประเทศเมียนมารผานทางพรมแดน ณ ดานศุลกากรของทั้งสามอําเภอ คือ แมสาย เชียงแสน และ เชียงของมีสว นทําใหเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดเชียงรายขยายตัวมาก ขึน้ จากการวิเคราะหขอ มูลทุตยิ ภูมจิ ะเห็นวาในชวงหนึง่ ทศวรรษทีผ่ า นมา มูลคาการคา ชายแดนของจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตทีส่ งู ขึน้ ถึง 7.6 เทา การคาชายแดนในป 2547 มีมลู คา 4,025 ลานบาท ขยายตัวไปถึง 30,514.11 ลานบาทในป 2556 ทําใหดลุ การคา ชายแดนมีมูลคาสูงขึ้นถึง 12.6 เทา จาก 2,273.80 ลานบาท ในป 2547 สูงขึ้นเปน 28,535.19 ลานบาท ในป 2556 และมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดของเชียงรายมี

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 53


การขยายตัวจาก 39,317 ลานบาท ในป 2547 เปน 81,263 ลานบาท ในป 2556 ซึ่ง นี่เองเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นวาการที่เศรษฐกิจการคาชายแดนมีการขยายตัวไดสงผล ทําใหภาพรวมทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายขยายตัวขึ้นเชนกัน สวนทีส่ องจะทําการวิเคราะหภาพรวมของเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย โดย ใชโมเดลการเติบโตทางเศรษฐศาสตร Solow Growth Model มาเปนเครื่องมือในการ วิเคราะห ผลการวิเคราะหโมเดลดังกลาว ชีใ้ หเห็นวา การทีจ่ งั หวัดเชียงรายมีการเติบโต และขยายตัวอยางกาวกระโดดนั้น มีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของการลงทุนของภาค เอกชน ซึ่งเห็นไดจากการมูลคาการสะสมทุนหรือการออมเงินของประชากรในจังหวัด เชียงรายนั่นเอง การสะสมทุนที่เพิ่มขึ้นจะสงผลกระทบในระยะยาว ทําใหเกิดการนํา เงินที่ออมสะสมไวมาลงทุนในภาคธุรกิจ และการลงทุนที่เพิ่มขึ้นนั้น ทําใหเกิดการจาง งานที่เพิ่มขึ้น และยังเปนการกระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัด เชียงรายอีกดวย หรืออีกนัยหนึง่ การสะสมทุนหรือการเพิม่ เงินออมของประชาชนมีสว น ทําใหเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายขยายตัวอยางแทจริง 1. สถานการณการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงรายถือเปนหนาดานการคาชายแดนทีส่ าํ คัญของประเทศไทย และ เปนเสมือนดั่งประตูที่เปดเขาไปสูสนามการคากับประเทศเพื่อนบานในกลุมประเทศ สมาชิกอาเซียนอยาง สปป.ลาว และประเทศเมียนมาร รวมทัง้ เปนเมืองทีส่ ามารถขยาย เศรษฐกิจผานชองทางการคาผานแดนเขาสูต อนใตของประเทศจีน ในทศวรรษทีผ่ า นมา จังหวัดเชียงรายถือเปนจังหวัดที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางกาวกระโดด มูลคา ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายเพิม่ ขึน้ จาก 39,317 ลานบาทในป 2547 เปน 81,263 ลานบาท ในป 2556 อัตราการเติบโตเฉลี่ยอยูที่รอยละ 8.82 ขณะเดียวกันอัตราการ เติบโตสะสม (Compound Growth Rate) อยูที่รอยละ 7.53 ซึ่งถือวาเปนระดับการ เติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงมาก แมวา อัตราการเติบโตของ GPP ในป 2556 จะลดลงจาก ป 2555 อยูท รี่ อ ยละ 3.26 ก็ตาม ซึง่ สาเหตุหลักมาจากการหดตัวของเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศไทยในป 2556 ที่มีอัตราการเติบโตลดลงอยูที่รอยละ 2.9

54 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 1 การเปรียบเทียบอัตราการเติบโตของ GDP ของประเทศไทย และ GPP ของจังหวัดเชียงราย

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

รูปที่ 1 แสดงอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเปรียบเทียบกับจังหวัด เชียงราย ในป 2551 เศรษฐกิจโลกซบเซาจากผลกระทบของการเกิดวิกฤติสินเชื่อซับไพรม หรือที่รูจักกันในชื่อของ วิกฤติแฮมเบอรเกอรที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา สงผล ใหการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและจังหวัดเชียงรายไดรับผลกระทบดวย เชนกัน ทําใหในป 2552 การเติบโตของ GDP ของประเทศหดตัวอยางรุนแรง โดยมี อัตราการเติบโตติดลบถึงรอยละ 9 และสงผลกระทบตอเศรษฐกิจในทุกจังหวัดของ ประเทศ รวมทั้งจังหวัดเชียงราย มูลคา GPP ในป 2552 มีอัตราการเติบโตติดลบที่รอยละ 1.28 หรืออาจกลาวไดวา ปจจัยสําคัญตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ไดแกการขยายตัวทางเศรษฐกิจระดับมหภาคนั่นเอง และจากวิกฤตทางเศรษฐกิจของ โลกดังกลาว ทําใหอตั ราการเติบโตของประเทศไทยในป 2556 เพิม่ ขึน้ เพียงรอยละ 3.26 และไมวา อัตราการเติบโตของประเทศจะเพิม่ มากหรือนอยเพียงใด แนวโนมและทิศทาง การเติบของเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายก็ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง (รูปที่ 2) ดวย ความไดเปรียบเชิงพื้นที่ที่มีเขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบานอยาง สปป.ลาวและ ประเทศเมียนมาร รวมทั้งยังสามารถสงสินคาขามแดนไปถึงตอนใตของประเทศจีน สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนเปนองคประกอบใหจังหวัดเชียงรายเปนพื้นที่ที่นักลงทุนจะเขามา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 55


ทําการลงทุน เพือ่ ผลประโยชนทางธุรกิจอันมหาศาลทีจ่ ะเก็บเกีย่ วไดจากเมืองชายแดน แหงนี้ รูปที่ 2 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย ระหวางป 2547-2556

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

2. สถานการณการเติบโตของการคาชายแดนจังหวัดเชียงราย เปนที่ทราบโดยทั่วกันวา การเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายอยาง รวดเร็วนั้น มีสาเหตุมาจากการขยายตัวของการคาชายแดนกับประเทศเพื่อนบานเปน สําคัญ รูปที่ 3 แสดงแนวโนมการเปดการคาชายแดน (Trade Openness Index: TDI) กับประเทศเพือ่ นบานทีม่ อี ตั ราเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง และความสัมพันธระหวางการเปด การคาชายแดนและอัตราการเติบโตของ GPP จังหวัดเชียงรายยังมีทิศทางเดียวกันอีก ดวย อาจกลาวไดวา การขยายตัวของการคาชายแดนมีผลกระทบกับการขยายตัว เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายอยางมีนัยสําคัญ

56 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 3 การเปรียบเทียบการเปดการคาชายแดนและมูลคาผลิตภัณฑมวลรวม จังหวัดเชียงราย ระหวางป 2547-2556

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย จากความไดเปรียบเชิงภูมศิ าสตรทมี่ เี ขตแดนติดกับประเทศเพือ่ นบาน ทําให การคาชายแดนของจังหวัดเชียงรายกับสปป.ลาว และ ประเทศเมียนมารมมี ลู คาการคา เพิม่ สูงขึน้ อยางรวดเร็ว และทําใหเกิดการขยายตัวของภาคธุรกิจจากสวนตางๆ ทัง้ ธุรกิจ การผลิตเชิงอุตสาหกรรม ธุรกิจคาสงและคาปลีก และธุรกิจเกีย่ วกับการบริการทางดานโล จิสติกส ทัง้ ยังเกิดจากการผลักดันของภาครัฐในการพัฒนาระบบโครงสรางพืน้ ฐานและ การคมนาคม และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South economic corridor) เพือ่ สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ และแผนความรวมมือระหวางประเท ศอืน่ ๆ ใหมากขึน้ ตัวอยางเชน ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี - เจาพระยาแมโขง (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (Greater Mekong Subregion Economic Cooperation: GMS) และ ความตกลงการคาเสรี อาเซียน-จีน (ASEAN-China Free Trade Area: ACFTA) เปนตน ปจจัยดังกลาวขางตน ทําใหเกิดกิจกรรมเศรษฐกิจดานการลงทุนบริเวณพืน้ ทีช่ ายแดนของจังหวัดเชียงรายมากขึน้ และสงผลใหเกิดการขยายตัวของมูลคาการคาชายแดนอยางมหาศาล ซึง่ ใน 10 ปทผี่ า น มา (พ.ศ. 2547-2556) มูลคาการคาชายแดนไดเพิ่มมูลคาสูงถึง 7.6 เทา นั่นคือ การคา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 57


ชายแดนในป 2547 มีมูลคา 4,025 ลานบาท ขยายตัวไปถึง 30,514.11 ลานบาทในป 2556 ทําใหดุลการคาชายแดนมีมูลคาสูงขึ้นถึง 12.6 เทา จาก 2,273.80 ลานบาท ใน ป 2547 สูงขึน้ เปน 28,535.19 ลานบาท ในป 2556 และมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ของเชียงรายมีการขยายตัวจาก 39,317 ลานบาท ในป 2547 เปน 81,263 ลานบาท ในป 2556 (รูปที่ 4) นับวาชายแดนจังหวัดเชียงรายในชวงหนึ่งทศวรรษที่ผานมานี้ มี อัตราการเติบโตอยางรวดเร็วและกาวกระโดด สงผลใหเชียงรายเปนจังหวัดทีม่ กี ารเติบโต ทางเศรษฐกิจที่เร็วที่สุดในภูมิภาคนี้ รูปที่ 4 มูลคาการคาชายแดนและดุลการคาชายแดนจังหวัดเชียงราย (ลานบาท) ระหวางป 2547-2556

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย, ศูนยบริการขอมูลการคาการลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน กรมการคาตางประเทศ

3. การวิเคราะหแนวโนมการเติบโตของการคาชายแดนจังหวัดเชียงรา ยกับสปป.ลาวและเมียนมาร จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดชายแดนทีม่ กี ารคากับประเทศเพือ่ นบาน คือ สปป.ลาว และประเทศเมียนมาร โดยสามารถทําการคาไดทงั้ ทางนํา้ (แมนาํ้ โขง) และทางบก (เสน ทาง R3A และ R3B) สถานการณในปจจุบนั การคาชายแดนไทยจังหวัดเชียงรายมีอตั รา

58 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การขยายตัวอยางมาก ในป 2556 มีมลู คาการคากับประเทศเพือ่ นบาน 30,514.11 ลาน บาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาราวรอยละ 11.33 หากพิจารณาการเติบโตของการคาใน ทศวรรษทีผ่ า นมา พบวา การคาชายแดนมีการขยายตัวอยางตอเนือ่ ง หรือขยายตัวเพิม่ ขึน้ 7.6 เทาจาก 4,025 ลานบาท ในป 2547 เปน 30,514.11 ลานบาท ในป 2556 เนื่อง เพราะมีความไดเปรียบจากโครงขายคมนาคมขนสงและดานโลจิสติกสที่เชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบาน ตามกรอบการพัฒนาอนุภาคลุมแมนํ้าโขง และหลังจากที่ถนนเสน ทาง R3A ใน สปป.ลาวเสร็จเรียบรอยในป 2551 การคา การลงทุน และการทองเที่ยว ในแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ–ใตไดสงผลอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น หากพิจารณาจาก ขอมูลเชิงสถิตกิ ารคาชายแดนของป 2554 พบวา มูลคาการคาชายแดนกับประเทศเพือ่ น บานใน 3 อําเภอชายแดนของ จังหวัดเชียงราย คือ อําเภอแมสายมีมูลคา 11,276.30 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2555 รอยละ 17.97 อําเภอ เชียงแสน มีมูลคา 8,987.82 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2555 รอยละ 21.85 และ อําเภอเชียงของ มีมูลคา 4,477.44 ลานบาท ลดลงจากป 2555 รอยละ 6.84 (รูปที่ 5) หรือสามารถวัดเปนสัดสวนการคาของแตละ อําเภอชายแดนได โดยคิดเปนรอยละ 33.09 รอยละ 34.30 และ รอยละ 32.61 ตาม ลําดับ รูปที่ 4 มูลคาการคาชายแดนจังหวัดเชียงราย รายดาน (ลานบาท) ระหวางป 2553-2556

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย, ศูนยบริการขอมูลการคาการลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน กรมการคาตางประเทศ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 59


เปนทีน่ า สังเกตวา มูลคาการคาชายแดน ณ ดานชายแดนเชียงของ ในป 2556 มีมูลคาลดลงจากป 2555 ถึง 328.58 ลานบาท สาเหตุที่สําคัญประการหนึ่งคือ การ เคลื่อนยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของพอคาและผูสงออกบางสวนไปทําการคาที่ดาน ชายแดนเชียงแสนแทน เนือ่ งจากการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 (เชียงของ -หวยทราย) อยางเปนทางการ และมีคาใชจายในการดําเนินการเขาออกและการขนสง ที่สูงขึ้น ทําใหมูลคาการคาของดานศุลกากรเชียงของในป 2556 ตํ่าลง ในทางตรงกัน ขาม มูลคาการคาชายแดนทีผ่ า นดานอําเภอเชียงแสนกลับเพิม่ สูงขึน้ จาก 7,375.94 ลานบาท ในป 2555 เปน 8,987.82 ลานบาท ในป 2556 โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเทียบกับป 2553 แลว จะเห็นไดวา มูลคาการคาชายแดน ณ ดานศุลกากรเชียงแสนในป 2556 เพิม่ ขึน้ จากป 2553 เกือบ 3 เทา ซึง่ นับวาเปนการเติบโตของการคาชายแดนแบบกาวกระโดด อยางเห็นชัดเจน อยางไรก็ตาม เชื่อวา การเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-สปป.ลาว แหงที่ 4 จะทําใหเกิดการเชื่อมตอเสนทาง R3A ระหวางไทย-สปป. ลาว-จีนตอนใต ใหมีความ สมบูรณมากยิ่งขึ้น และคาดวาปริมาณการคาชายแดนของจังหวัดเชียงรายกับประเทศ เพื่อนบานจะพุงขึ้นอีกหลายเทาตัว รวมทั้งการคาผานแดนไปที่ตอนใตของประเทศจีน ก็นาจะมีมูลคาที่สูงขึ้นอยางมหาศาลเชนกัน เนื่องจากประเทศจีนตอนใตยังมีความ ตองการพลังงานนํ้ามันเชื้อเพลิงวัตถุดิบ และเสบียงอาหารไปปอนประชากรที่มีอยู จํานวนมากและมีความตองการในการบริโภคในระดับสูง รวมถึงประชาชนของประเทศ เมียนมาร และ สปป.ลาว ยังคงพึ่งพาสินคาอุปโภคบริโภคจากไทยเปนหลัก และนิยม สินคาไทยเพราะถือวาเปนสินคาที่มีคุณภาพ 4. การวิเคราะหการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายโดยใช Solow Growth Model 4.1 การทบทวนทฤษฎีของ Solow Growth Model โมเดลการเติบโตทางเศรษฐกิจของ (Solow Growth Model) เปนโมเดล ทางเศรษฐศาสตรท่ีใชอธิบายถึงปจจัยที่มีสวนในการพัฒนาเศรษฐกิจมวลรวมของ ประเทศ โดยจะแสดงใหเห็นวาการที่ประชากรมีการออมเงินมากขึ้นจะเปนการพัฒนา เศรษฐกิจมวลรวมได เพราะการเพิ่มขึ้นของการออมจะทําใหหนวยธุรกิจตางๆ มีแหลง เงินทุนเพื่อกูยืมไปลงทุนมากขึ้น และการลงทุนที่มากขึ้นนั้น ก็จะไปกระตุนเศรษฐกิจ โดยรวมใหมกี ารเติบโต ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ การทีเ่ ศรษฐกิจจะพัฒนาจากการออมเงินนัน้ สามารถ

60 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ทําไดเพียงชวงระยะเวลาหนึง่ เทานัน้ เพราะมีการพิสจู นวา นอกจากการเพิม่ ขึน้ ของการ ออมหรือการสะสมทุนจะทําใหกระตุนการคาและการลงทุน ซึ่งจะสงผลใหเศรษฐกิจ ขยายตัวแลว จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นก็มีสวนชวยใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ดวย กลาวคือ เมื่อมีการสะสมทุนมาถึงระดับหนึ่งแลว ระบบเศรษฐกิจจะเขาสู Steady State ดังนั้นจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นนั้น ก็จะไปสนับสนุนการสรางผลผลิตมวลรวม ของประเทศได และจากการวิเคราะหตอยอดจาก Solow Growth Model พบวา ประเทศใดๆ จะพัฒนาเศรษฐกิจตอไดนนั้ ตองทําการพัฒนาเทคโนโลยี (Technological Progress) อยางไรก็ตาม Solow Growth Model ไดกําหนดปจจัยนี้ใหเปนตัวแปร ภายนอก (Exogenous Variable) หรือ ตัวแปรอิสระ สมมติแบบจําลองการผลิต CobbDouglas function มีผลไดตอขนาดคงที่ (Constant Return to scale) จากปริมาณ แรงงานเปนสัดสวนกับทุน และ A เปนปจจัยที่กําหนดจากภายนอกซึ่งคงที่ในระยะสั้น และมีผลตอโมเดลการเติบโตทางเศรษฐกิจดวย หมายความวาหากปจจัยทุนเทาเดิม การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีจะสามารถจะทําใหประเทศสามารถผลิตสินคาและบริการ เพิ่มขึ้นได จากขอสมมติฐานทีว่ า ความกาวหนาทางเทคโนโลยีจะคงทีใ่ นระยะสัน้ และ ปริมาณแรงงานก็เปนสัดสวนกับการลงทุน ดังนั้นโมเดลการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Solow จึงขึน้ กับปจจัยทุนเปนหลัก โดยการลงทุนในปจจัยทุนจะเพิม่ หรือไมกข็ นึ้ อยูก บั วา ประเทศนั้นมีการออมมากเพียงพอหรือไม ดังนั้นจึงไดขอสรุปจาก Solow Growth Model วาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจะขึน้ อยูก บั การออมและการลงทุน ในปจจัยทุนเปนสําคัญ โดยหากประเทศมีการออมมากและมีการนําเงินออมมาใชในการ ลงทุน เชน การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ก็จะทําใหมีอัตราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจสูงกวาประเทศที่มีการออมและการลงทุนตํ่า แตเมื่อประเทศมีการ ออมเงินไปจนถึงระดับหนึ่งแลว การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจจะหยุดลง หรือเขาสู Steady State กลาวคือ การที่ประชากรออมเงินมากขึ้นจะสะทอนถึงการนําเงินออก มาใชจา ยเพือ่ การอุปโภคและบริโภคนอยลง ซึง่ จะทําใหเศรษฐกิจมวลรวมหดตัวลงตาม และหยุดการเติบโตในที่สุด โดยสรุป โมเดลการเติบโตของ Solow แสดงใหการเจริญเติบโตในทุน (Capital Stock) แรงงาน (Labour) และความกาวหนาทางเทคโนโลยีวาจะสงผลอยางไร

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 61


ตอผลผลิต สมการของ Solow Growth Model จะเริ่มจากสมมติฐานที่ใหอัตราการ เพิ่มขึ้นของประชากรเทากับ n และความตองการผลผลิตมาจากการลงทุนและการ บริโภค ดังนั้นผลผลิตตอประชากร (y) จะเทากับการบริโภคตอประชากร (c) บวกกับ การลงทุนตอประชากร (i) ดังสมการ y = c+ i (1) ตามแบบจําลองของ Solow สมการการบริโภคตอประชากรเปนสัดสวน ของรายได ซึ่งสามารถเขียนอยูในรูปสมการไดดังนี้ c = (1-s)y (2) โดย s คือ อัตราการออมซึ่งมีคาอยูระหวาง 0 และ 1 เมื่อแทนสมการ 2 ในสมการ 1 จะไดดังนี้ y = (1-s)y + i (3) และจากสมการที่ 4 แสดงใหเห็นวา การออมตอประชากรจะเทากับการ ลงทุนตอประชากร sy = i (4) นัน่ คือ การลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ จะทําใหทนุ เพิม่ ขึน้ อยางไรก็ดี ทุนสามารถเสือ่ ม ไปได จึงสามารถเขียนสมการการเปลี่ยนแปลงของทุนตอประชากร ไดดังนี้

∆k = i – (d + n)k โดย ∆k คือ การเปลี่ยนแปลงของทุน

(5)

d คือ อัตราคาเสื่อมของทุน

สมการที่ (5) แสดงใหเห็นถึง การเปลี่ยนแปลงของทุนตอประชากร ซึ่งได มาจากความแตกตางระหวางการลงทุนตอประชากรลบดวยการลงทุนที่ระดับ Break – Even หรือระดับการลงทุนทีท่ าํ ใหทนุ ตอประชากรมีคา คงทีต่ อ มาแทนสมการทีว่ า ดวย การออมตอประชากรจะเทากับการลงทุนตอประชากรลงในสมการการเปลีย่ นแปลงของ ทุน จะเขียนไดดงั นี้

62 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


∆k = sy – (d + n)k

(6) เนื่องจากผลผลิตตอประชากร (y) เปนฟงกชั่นของทุนตอประชากร y = f(k) (7) ดังนัน้ เมือ่ แทนคาผลผลิตตอประชากรดวยฟงกชนั่ ของทุนตอประชากรใน สมการการเปลี่ยนแปลงของทุนจะจะได ∆k = sf(k) – (d+n)k (8) ในสภาวะหยุดนิง่ (Steady State) ทุนตอประชากรจะไมมกี ารเปลีย่ นแปลง และถาสมมติใหทุนที่สภาวะหยุดนิ่งเทากับ k* ดังนั้น sf(k*) = (d+n)k* (9) สมการ Steady State อธิบายไดวา ณ สภาวะหยุดนิ่ง การออมตอ ประชากร (sf(k)) เทากับการลงทุนที่ระดับ Break – Even ((n+d)k) ซึ่งสามารถเขียน ภาพที่สอดคลองกับสมการSteady State ไดดังนี้ รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางการออม การลงทุน และการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ทุนตอประชากร ณ สภาวะหยุดนิ่ง ถูกกําหนดโดยเงื่อนไขที่การออมตอ ประชากร (sf(k)) เทากับ การลงทุนตอประชากรที่ระดับ Break – Even ((n+d) k) ใน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 63


รูปที่ 5 สภาวะหยุดนิง่ คือทีจ่ ดุ A ซึง่ เปนจุดตัดของเสนการออมกับเสนการลงทุนทีร่ ะดับ Break – Even โดยมีทุนตอประชากรที่ระดับ Break – Even อยู ณ k*ถาทุนตอประช ากรที่มีคานอยกวา k* เชนที่จุด k1 การออมตอประชากร (sf(k)) มากกวา การลงทุน ตอประชากรที่ระดับ Break – Even ((n+d)k) เงินออมสวนเกินจะเปลี่ยนเปนทุน ดัง นั้น ทุนตอประชากรจะเพิ่มขึ้น จนกระทั่งการปรับตัวเขาสู k* และถาทุนตอประชากร มากกวา k* เชนที่ k2 การออมจะนอยกวาการลงทุนที่ระดับ Break – Even ดังนั้น ทุน ตอประชากรจะตองลดลง ผลผลิตตอประชากรก็ลดลงดวย เกิดการปรับตัวจนกลับเขา สูสภาวะหยุดนิ่ง (Steady State) หรือที่ k* กลาวโดยสรุป หากไมมกี ารเจริญเติบโตทางผลิตภาพการผลิต (Productivity Growth) เศรษฐกิจจะปรับตัวเขาสูสภาวะหยุดนิ่ง ณ สภาวะหยุดนิ่ง ทุนตอประชากร ผลผลิตตอประชากรและการบริโภคตอประชากร จะมีคาคงที่ อยางไรก็ตาม ทุนรวม ผลผลิตรวม และการบริโภครวมจะขยายตัวในอัตราเดียวกันกับอัตราการเพิ่มขึ้นของ ประชากร (หรือเทากับ n) บทสรุปเชนนี้ หมายความวา มาตรฐานการครองชีพสุดทาย แลว จะไมมีการพัฒนา อยางไรก็ดี ขอสรุปนี้ อาจไมเปนจริง ถาผลิตภาพการผลิตเพิ่ม ขึ้นอยางตอเนื่อง 4.2 การวิเคราะหการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย โดย ใช Solow Growth Model สมการการวิเคราะหแนวโนมการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย จาก Solow Growth Model สามารถแสดง ไดดังนี้ สมการการเปลี่ยนแปลงของทุน: ∆k = sf(k)–(d+n)k สมการสภาวะหยุดนิ่ง หรือ Steady State: sf(k*)=(d+n)k* โดยที่

s = f(k) = k = d = n =

อัตราการออมของจังหวัดเชียงราย ฟงกชั่นของทุนตอประชากรของจังหวัดเชียงราย ทุนตอประชากรของจังหวัดเชียงราย อัตราคาเสื่อมของสินคาทุนของจังหวัดเชียงราย และ อัตราการเติบโตของจํานวนประชากรของ จังหวัดเชียงราย

64 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ขั้นแรก เปนการสรางความสัมพันธระหวางทุนตอประชากรกับการลงทุน ตอประชากรของจังหวัดเชียงราย การศึกษานี้ มูลคาทุนตอประชากร แสดงดวย สัดสวน ระหวางมูลคาของสินคาทุนในจังหวัดเชียงรายกับปริมาณของประชากรในจังหวัด เชียงราย ผลจากการคํานวณสามารถแสดงไดในตารางที่ 1และรูปที่ 6 ตารางที่ 1 มูลคาและอัตราการเติบโตของสินคาทุน จํานวนประชากร ระหวางป 2551-2555 2551

2552

2553

2554

2555

มูลคาสินคาทุน (K) (หนวย:ลานบาท)

475.60

536.30

760.90

865.38

1,049.77

จํานวนประชากร (p) (หนวย:ลานคน)

1.20

1.21

1.21

1.21

1.22

396.38

445.02

628.87

713.03

861.88

7%

7%

7%

7%

7%

อัตราการเติบโต จํานวนประชากร (n)

0.46%

0.44%

0.40%

0.31%

0.36%

การลงทุน ตอประชากร [(d + n)k]

29.56

33.10

46.55

52.10

63.41

ทุนตอประชากร (K/p) or k อัตราคาเสื่อม สินคาทุน (d)

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย, สํานักงานคลังจังหวัดเชียงราย, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 65


รูปที่ 6 มูลคาการลงทุนตอประชากร และทุนตอประชากรของจังหวัดเชียงราย

ตอมาเปนการสรางความสัมพันธระหวางทุนตอประชากรกับการออมตอ ประชากรของจังหวัดเชียงราย ทุนตอประชากรคํานวณจากสัดสวนระหวางมูลคาของ สินคาทุนในจังหวัดเชียงรายกับปริมาณของประชากรในจังหวัดเชียงรายเชนกัน เมือ่ s(f) = K/P หรือ k ทําใหสามารถหา sf(k) ไดจากผลคูณระหวางอัตราการออมเงินในจังหวัด เชียงรายกับทุนตอประชากรในจังหวัดเชียงราย ผลการคํานวณแสดงในตารางที่ 2 และ รูปที่ 7 ตารางที่ 2 มูลคาเงินฝากและผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย ระหวางป 2551-2555

เงินฝากคงคลัง (ลานบาท) ปริมาณเงินฝากตอป (S) (ลานบาท) Gross provincial product (Y) (ลานบาท)

2551

2552

2553

2554

2555

50,615

58,257

63,143

66,936

70,154

3,885

7,642

4,886

3,792

3,217

60,640

59,863

67,922

71,628

78,743

66 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


2551

2552

2553

2554

2555

อัตราการออม (S/Y) or (s)

6.41%

12.77%

7.19%

5.29%

4.09%

ทุนตอประชากร (K/p) or k

396.38

445.02

628.87

713.03

861.88

25.40

56.81

45.24

37.75

35.22

การออมตอประชากร [s*f(k)] or [s*(K/n]

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย, สํานักงานคลังจังหวัดเชียงราย, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

ขัน้ ตอนสุดทาย แสดงการหาจุดสภาวะหยุดนิง่ โดยใชรปู ที่ 6 และ 7 เพือ่ แสดง ถึงจุดทีก่ ารลงทุนตอประชากร[(d+n)k*] เทากับการออมตอประชากร [sf(k*)] ดังแสดง ในรูปที่ 8 ชี้ใหเห็นความสัมพันธของการลงทุนและการออมตอประชากรกับทุนตอ ประชากร รูปที่ 7 ความสัมพันธของการออมตอประชากร และทุนตอประชากร

รูปที่ 8 แสดงความสัมพันธระหวางการลงทุนและการออมตอประชาชน กับ ทุนตอประชาชน ซึ่งจะเห็นวา จุดตัดระหวางเสนการลงทุนตอประชากร และเสนการ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 67


ออมตอประชากร (จุดสีแดง) คือ จุดที่แสดงการเขาสูสภาวะหยุดนิ่ง (Steady State) นั่นเอง โดย ณ จุดนี้ทุนตอประชากรจะเทากับ k* หากวิเคราะหตามทฤษฎีของ Solow Growth Model พบวา ถาทุนตอประชากรที่มีคาตํ่ากวาจุด Steady State หรือ k* หรือในป 2552 (เสนสีเหลือง) การออมตอประชากรมีคา มากกวาการลงทุนตอประชากร ที่ระดับ Break – Even กลาวคือ ปริมาณเงินออมในจังหวัดเชียงรายมีมากกวาเงินที่จะ ถูกกูไปลงทุน ซึ่งเงินออมสวนเกินจะเปลี่ยนเปนทุน ดังนั้น ทุนตอประชากรจะเพิ่มขึ้น จนกระทั่งการปรับตัวเขาสู k* ซึ่งการเพิ่มทุนตอประชากรนี้ หมายถึงการเพิ่มขึ้นของ มูลคา GPP หรือการเกิดภาวะเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงรายอีกดวย รูปที่ 8 ความสัมพันธของการลงทุนและการออมตอประชากรกับทุนตอประชากร

ถาทุนตอประชากรมากกวา k* เชนในป 2555 (เสนสีเขียว) แสดงใหเห็นวา ปริมาณการออมตอประชาชนตํา่ กวาปริมาณการลงทุนตอประชาชนในจังหวัดเชียงราย อีกนัยหนึง่ แสดงถึงการใชทนุ ของภาคเอกชนทีม่ ากเกินกวาระดับทีม่ กี ารออมหรือสะสม ทุนไว ดังนัน้ ทุนตอประชากรของจังหวัดเชียงรายก็จะตองลดลง ซึง่ สงผลกระทบใหมลู คา

68 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


GPP หรือ ผลผลิตตอประชากรก็ลดลงดวยเชนกัน ซึง่ ตามทฤษฎีแลวจะเกิดการปรับตัว จนกลับเขาสูสภาวะหยุดนิ่ง (Steady State) หรือที่ k* อีกครั้ง กลาวคือในปถัดไป การ ออมตอประชากรจะเพิม่ ระดับสูงขึน้ จะกระทัง่ กลับมามีปริมาณทีม่ ากกวาการลงทุนตอ ประชากรอีกครั้งและจะกอใหเกิดการเพิ่มของทุนตอประชากรที่สะทอนใหเห็นถึงการ ขยายตัวของ GPP และการเกิดภาวะเติบโตของเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายอีกครั้ง ดังแสดงในรูปที่ 9 รูปที่ 9 ความสัมพันธระหวางทุนตอประชากรและ ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดเชียงราย

รูปที่ 9 แสดงใหเห็นถึง ความสัมพันธในเชิงบวกหรือความสัมพันธที่ไปใน ทิศทางเดียวกันระหวางทุนตอประชากร กับ GPP ของจังหวัดเชียงราย อีกนัยหนึ่ง เมื่อ จังหวัดเชียงรายมีการสะสมทุนจากการออมมากขึ้นจะทําใหมีทุนตอประชากรมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเอกชนมีเงินทุนไปลงทุนในธุรกิจตางๆ อันจะกอใหเกิดการจางงานและ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย และเปนการเพิม่ GPP ของจังหวัดนัน่ เอง มีเพียงในป 2552 เทานั้นที่เมื่อมีทุนตอประชากรเพิ่มขึ้นแลว GPP กลับลดลง อาจเปน เพราะในปกอนหนานั้น เศรษฐกิจของเชียงรายไดรับผลกระทบมาจากการที่เศรษฐกิจ ของไทยหดตัว จากการเกิดวิกฤติสินเชื่อซับไพรมในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งสงผลตอ เนื่องทําให GPP ของจังหวัดเชียงรายหดตัวเชนกัน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 69


ความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายได การศึกษาและสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย เขียนโดย พรพินันท ยี่รงค, สิทธิชาติ สมตา และปฐมพงศ มโนหาญ

บทคัดยอ

ความเหลือ่ มลํา้ ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยในอดีตกอนหนาทีจ่ ะ มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตินั้น มาจากสภาวะเศรษฐกิจที่รัฐบาลเปน ผูป ระกอบการคาและอุตสาหกรรมเกือบทัง้ หมด โดยไมมกี ารสงเสริมภาคเอกชนใหเขา มาดําเนินการมากนัก ภาคเอกชนที่ไดรับการสงเสริมจากภาครัฐมักเปนผูที่มีความ สัมพันธใกลชดิ กับภาครัฐบาล หรืออาจเรียกวาเปนสภาวะเศรษฐกิจในลักษณะทุนนิยม ขุนนาง และเปนเหตุใหเกิดการกระจุกตัวของการพัฒนาเศรษฐกิจอยูที่ชนชั้นนํา ดวย เหตุนี้จึงไดมีการริเริ่มหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยดวยการจัดทํา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่ 1 พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2509 ถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่ 3 พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2519 ระยะเวลาของการพัฒนาเศรษฐกิจของทั้ง 3 แผนพัฒนาฯ ไมไดมองถึงความเหลื่อมลํ้า ทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะเกิดขึ้น แตเนนการพัฒนาทางเศรษฐกิจในดานตางๆ ไมวา จะเปนดานการเกษตร อุตสาหกรรม พัฒนากําลังคน และยกระดับการผลิต เพื่อเพิ่ม รายไดใหประชาชนสูงขึ้น พรอมทั้งการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ไดแก การศึกษา สาธารณูปโภค การคมนาคม เพือ่ อํานวยความสะดวกในการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ และระหวางประเทศ ทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจกระจุกตัวอยูที่ชนชั้นนําของเมืองใหญ และสงผลใหเกิดความแตกตางและชองวางของรายไดของประชากรและระหวางภูมภิ าค ตางๆ ของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งพอจะสรุปไดวา ความแตกตางระหวางรายไดที่เกิดขึ้นนี้ สวนหนึง่ เปนผลสืบเนือ่ งมาจากแนวทางการพัฒนาทีเ่ นนการเพิม่ ประสิทธิภาพและอัตรา การขยายตัวของการผลิตและรายไดสว นรวมเปนหลัก จึงทําใหผทู อี่ ยูใ กลบริการขัน้ พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและปจจัยการผลิต สามารถใชประโยชนจากบริการเหลานี้ใน การเพิ่มผลผลิตและรายไดของตนไดมากกวาผูที่อยูหางไกลหรือผูที่ขาดปจจัยการผลิต จึงทําใหชองวางทางเศรษฐกิจและสังคมในประเทศเพิ่มขึ้น และทําใหเกิดการกระจาย รายไดที่ไมเปนธรรม ตอมาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่ 4 ไดมีนโยบาย

70 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ลดชองวางในฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูป ระชาชนใหลดนอยลง โดยมีการกระจาย ความมั่งคั่งลงสูหัวเมืองชนบทตางๆ เชน โครงการจัดสรางโรงเรียนในชนบท โครงการ พัฒนาชนบทยากจนทีม่ เี ปาหมาย “พออยูพ อกิน” โครงการจัดสรางโรงพยาบาลอําเภอ เปนตน อยางไรก็ตามแมวา รัฐบาลมีนโยบายการกระจายความมัง่ คัง่ สูห วั เมืองชนบทดังกลาว แตความเหลือ่ มลํา้ ทางเศรษฐกิจและสังคมก็ยงั คงไปกระจุกตัวอยูท ชี่ นชัน้ นํา อาจกลาว ไดวา แนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ดังกลาว ไมไดทําใหเกิดการลดความเหลื่อม ลํ้าทางเศรษฐกิจและสังคมแตอยางใด แมวา สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในทุกประเทศทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาใน ดานตางๆ เพื่อทําใหประเทศมีการเติบโตทางเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนกลุมของประเทศที่ พัฒนาแลวหรือประเทศที่กําลังพัฒนา แตประเทศเหลานี้มักมีชองวางความเหลื่อมลํ้า ของการพัฒนา นั่นเปนเพราะวาสิ่งที่พัฒนานั้นไมไดนํามาสูประชากรทุกคนที่อาศัยอยู ภายในประเทศนั้นๆ นอกจากนี้ประเทศที่กําลังพัฒนาสวนมากมักจะเกิดความเหลื่อม ลํา้ คอนขางมาก เนือ่ งจากวากลุม ประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนาจะไดรบั ความนิยมจากการกลุม ประเทศที่พัฒนาแลว เขามาลงทุนในประเทศที่กําลังพัฒนาจึงทําใหเกิดอาชีพและการ แสวงหาอาชีพใหมเกิดขึน้ มากมาย เชน การเขามาของเซเวน อีเลฟเวน พรอมทัง้ แนวคิด ของการเกิดการขายแบบแฟรนไชสที่ไดรับมาจากบรรษัทขามชาติ และนําไปใชในเชิง ธุรกิจหรือพาณิชย เชน ชายสี่บะหมี่เกี๊ยว ฯลฯ การพัฒนาดังกลาวทําใหเกิดกลุม คนชัน้ นําทีม่ กี ารงานอาชีพทีด่ แี ละกลุม อาชีพ ตางๆ และมีรายไดทแี่ ตกตางกัน จึงเปนเหตุผลทีเ่ กิดความเหลือ่ มลํา้ ทางรายไดและเปน ชองวางระหวางบุคคลภายในประเทศ จึงทําใหเกิดการดูถกู ศักดิศ์ รี และการแบงชนชัน้ แกบคุ คลทีด่ อ ยกวาเกิดขึน้ ซึง่ ไมเพียงความเหลือ่ มลํา้ ทางรายไดเทานัน้ แตความเหลือ่ มลํา้ ทางรายไดทําใหเกิดความเหลื่อมลํ้าอยางอื่นๆ ตามมาดวย เชน ความเหลื่อมลํ้าทาง สังคม ความเหลือ่ มลํา้ ทางการเมือง เปนตน เพราะวารายไดเปนตัวชีน้ าํ ไปสูค วามสําเร็จ ในชีวิตพรอมทั้งนําไปสูการสรางรากฐานชีวิตที่ดี จากความเหลื่อมลํ้าที่เกิดขึ้นในแตละ ประเทศเปนผลพวงของการดําเนินนโยบายตามแนวทาง “เสรีนิยมใหม” ดังนั้นความ เหลือ่ มลํา้ ดานรายไดจงึ เปนปญหาของโลก ทัง้ ภายในแตละประเทศและระหวางประเทศ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 71


ภายใตความเหลือ่ มลํา้ ในประเทศไทยความเหลือ่ มลํา้ ทีเ่ กิดขึน้ ไมมเี พียง ความ เหลื่อมลํ้าทางรายไดเทานั้น ยังมีความเหลื่อมลํ้าทางสังคม ไดแก การแบงชวงชั้นทาง สังคม การเขาถึงการศึกษา การไดรับการยอมรับ ดานสาธารณสุข ทางดานโอกาสและ ดานการเขาถึงภายใตสทิ ธิทคี่ วรไดรบั ความเหลือ่ มลํา้ ดานการเมือง ไดแก การเขาไมถงึ อํานาจทางการเมืองและการกําหนดนโยบาย จากความเหลือ่ มลํา้ เหลานีท้ เี่ กิดจากความ เหลือ่ มลํา้ ทางรายได จึงทําใหภาครัฐมีการดําเนินนโยบายการกระจายรายไดใหทวั่ ถึงแก ประชาชนภายในประเทศ ไมวา จะเปนการปรับคาแรงขึน้ ตํา่ การกระตุน เศรษฐกิจ และ ใหสรางอาชีพใหมๆ ขึ้นมาเพื่อเปนทางเลือกใหแกประชาชนภายในประเทศ รวมทั้ง พยายามยกระดับอาชีพที่เปนพื้นฐานหรือกลุมอาชีพระดับลาง เพื่อใหประชาชนใน ประเทศไดอยูดีกินดี โดยนโยบายที่เกิดขึ้นที่ลงมาสูประชาชนระดับลาง จากการกระจายอํานาจสูท อ งถิน่ นโยบายสุขภาพถวนหนา นโยบายขยายสินเชือ่ ใหกับคนรายไดนอยและนโยบายการศึกษาฟรี 12 ป เพื่อใหครัวเรือนรายไดนอยไดสง ลูกเขาโรงเรียนคุณภาพดี และไดเรียนถึงอุดมศึกษา ดังนั้นภายใตนโยบายการกระจาย อํานาจ เพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ ทางดานตางๆ ในประเทศไทยทําใหลดความเหลือ่ มลํา้ ได จริงหรือไม อยางไรและเพราะอะไรถึงทําใหความเหลื่อมลํ้าขึ้นในสังคมไทยซึ่งเปนสิ่งที่ ตองติดตามในอนาคต ความเหลือ่ มลํา้ ในการกระจายรายไดนนั้ เปนตัวบงบอกถึงชองวางของคุณภาพ ชีวติ ของแตละครัวเรือน เนือ่ งจากโครงสรางทางสังคมมีความเปราะบาง และการจัดสรร ทรัพยากรโดยรัฐอยางไมเปนธรรม จึงทําใหชองวางระหวางรายไดระหวางคนรวยกับ คนจนยิง่ หางออกไปมาก อยางไรก็ตามความเหลือ่ มลํา้ มีตวั ชีว้ ดั หลายอยาง แตทมี่ คี วาม นิยม และใชอยางแพรหลายที่สุดเปนคือ คาสัมประสิทธิ์จีนี่ หรือ Gini Coefficient Index ทีถ่ กู นํามาใชคาํ นวณ วัด และเปรียบเทียบการกระจายรายไดของแตละประเทศ ทั่วโลก

72 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 1 Gini Coefficient Index ของแตละประเทศทั่วโลกป 2556

อางอิง: CIA’s the World Factbook (2556) จากรูปที่ 1 ในป 2552 ประเทศไทยไดถูกจัดอันดับอยูในอันดับตนๆ ของโลก ที่มีความเหลื่อมลํ้าของรายไดสูง โดยสํานักขาวกรองกลางของสหรัฐอเมริกา หรือ CIA อยูอันดับที่ 12 โดย Gini Coefficient index เทากับ 53.6 ถามองจากแผนที่โลกจะ เห็นไดชัดวาเปนประเทศที่มีคา Gini ของรายไดอยูที่ระหวาง 51 – 58 ซึ่งมากที่สุดใน ภูมิภาคเอเชีย นอกจากนั้นคา Gini Coeffcient Index ของประเทศไทยถือวาสูงมาก เมือ่ นํามาเปรียบเทียบกับประเทศตางๆทีอ่ ยูใ นประชาคมอาเซียน โดยเมือ่ นํามาจัดอันดับ แลวอยูที่อันดับ 1 ของ ASEAN ตามมาดวย สิงคโปร มาเลเซีย ฟลิปปนส กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย และ สปป.ลาว ตามลําดับ อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาคาดัชนีจีนี่ ของไทยที่คํานวณจาก World data bank กลับมีคาเพียง 48.5 เทานั้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 73


รูปที่ 2 ความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์จีนีและการเติบโตของผลิตภัณฑมวล รวมของแตละประเทศในอาเซียน ในระหวางป พ.ศ. 2549-2553

อางอิง: World Data Bank (ไมมขี อ มูล Gini Coefficient Index ของประเทศ พมากับประเทศบรูไน) นอกจากนี้ รูปที่ 2 แสดงใหเห็นถึงกราฟความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์ จีนีของแตละประเทศในประชาคมอาเซียนที่ถูกนํามาคํานวณในปลาสุดกับรายไดเฉลี่ย ตอหัว โดยในระหวางป 2549 ถึง 2553 คาสัมประสิทธิ์จีนี่ไดถูกเก็บในปที่แตกตางกัน ไป ในป 2551 ลาว และกัมพูชามีดัชนีจีนี่อยูที่ 36.7 และ 37.9 ตามลําดับ ในป 2552 ไทย มาเลเซีย ฟลปิ ปนส และอินโดนีเซียมีดชั นีจนิ อี่ ยูท ี่ 48.5 46.2 44.8 และ 36.8 และ ในป 2555 สิงคโปรมีคาดัชนีจีนี่อยูที่ 46.3 จะเห็นวาคาความเหลื่อมลํ้าของประเทศที่ ถูกเก็บขอมูลมาคํานวณในชวงป 2551 ถึง 2552 กับคาความเหลื่อมลํ้าของประเทศ สิงคโปรที่ถูกเก็บขอมูลมาคํานวณในป 2555 ซึ่งในปนั้นสิงคโปรมีรายไดเฉลี่ยตอหัวสูง ถึง 50,000 ดอลลาร มากกวารายไดโดยเฉลี่ยตอหัวของแตละประเทศในประชาคม อาเซียน แตกลับมีคา ความเหลือ่ มลํา้ ทีไ่ มแตกตางจากทุกๆประเทศในประชาคมอาเซียน ทําใหเกิดความขัดแยงระหวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจกับการกระจายรายไดของ ประเทศสิงคโปร หรือมองไดวาการเปนประเทศที่พัฒนาแลวไมสามารถบงบอกไดวามี การกระจายรายไดที่เทาเทียมขึ้น หรือมีคุณภาพชีวิตที่ไมเหลื่อมลํ้ากันมากขึ้น

74 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ทั้งนี้การศึกษาความเหลื่อมลํ้าในจังหวัดเชียงรายถือวาเปนรากฐานที่สําคัญ ในการศึกษาความเหลือ่ มลํา้ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ถาการปกครอง หรือการบริหารจัดการในแตละ พืน้ ทีม่ คี วามแตกตางกัน ก็จะทําใหการกระจายรายไดในแตละพืน้ ทีย่ อ มมีความแตกตาง กันไปเชนกัน เนื่องจากแตละจังหวัดก็จะมีนโยบายที่อาจจะไมไดมาจากสวนกลาง แต เปนนโยบายเฉพาะที่เขามาจัดการพื้นที่ของตนเองในระดับตําบล ระดับอําเภอ และ ระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนใหบางอําเภอมีรายไดที่สูงกวา หรือตํ่ากวาอําเภออื่น 1. ความเหลื่อมลํ้าทางดานรายได เชียงรายมีพื้นที่ชายแดนติดกับสาธารณรัฐแหงสหภาพพมาและสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึง่ มีพนื้ ทีต่ ดิ กับชายแดนเพือ่ นบานทัง้ หมด 3 อําเภอ ไดแก อําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอเชียงของ ผลจากนโยบายการเชื่อมตอ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความรวมมือระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาค ลุมแมนํ้าโขง (GMS) และความรวมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) เขาดวยกัน ทําใหจังหวัดเชียงรายเปนประตูเศรษฐกิจ (Gateway) ระหวาง ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานขึ้น สงผลใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจบริเวณชายแดน และเปนการสรางมูลคาเศรษฐกิจ จากการพัฒนาดานการคาชายแดน การทองเที่ยว การเกษตร และอุตสาหกรรม จึงทําใหเกิดการจางงานจํานวนมากไมวาจะเปนในภาค ของอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ภาคการบริการ ฯลฯ สงผลใหประชากรในจังหวัด เชียงรายมีรายไดในการประกอบอาชีพมากขึน้ และเปนการกระจายรายไดลงสูพ นื้ ทีข่ อง การพัฒนา อยางไรก็ตาม เพราะการเติบโตของเศรษฐกิจที่แตกตางกันของแตละพื้นที่ ในจังหวัดเชียงราย สงผลใหรายไดตอหัวประชากรในแตละพื้นที่ยังมีความแตกตางกัน ความเหลือ่ มลํา้ ทางรายไดกค็ อื การกระจุกตัวของรายไดในกลุม ประชาชนเพียง กลุมหนึ่งเทานั้น ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุมที่มีรายไดสูง ทั้งนี้ปญหาความเหลื่อมลํ้าทาง รายไดถอื วาเปนปจจัยสําคัญทีท่ าํ ใหเกิดปญหาความยากจนขึน้ ในสังคมและอาจทวีความ รุนแรงมากขึน้ ดวยเชนเดียวกัน เนือ่ งจากวาปญหานีท้ าํ ใหเกิดความเหลือ่ มลํา้ ทางชนชัน้ ในสังคม และยากที่จะหลีกเลี่ยงปญหาเหลานี้แมวาภาครัฐจะสามารถลดความยากจน ลงไดก็ตาม โดยในงานชิ้นนี้เราสามารถวัดความเหลื่อมลํ้าไดหลายวิธีดังนี้

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 75


1) เปรียบเทียบรายไดตอหัวของแตละอําเภอในจังหวัดเชียงราย 2) ความสัมพันธระหวางจํานวนครัวเรือนตกเกณฑกับรายไดเฉลี่ยของ แตละอําเภอในแตละอําเภอ 3) ตัวชี้วัดความเหลื่อมลํ้าของรายไดโดยใชโดยสัมประสิทธิ์จีนี่ (Gini Coeffcient) 4) ชองระหวางรายไดของอําเภอที่รายไดสูงที่สุดและรายไดตํ่าที่สุด 5) การกระจายรายไดในจังหวัดเชียงรายตอสัดสวนของคนทีจ่ นทีส่ ดุ ตอคน ที่รวยที่สุด จากรูปที่ 3 ตั้งแตป พ.ศ. 2550 ถึง 2556 อัตราการเติบโตของรายไดสะสม ในแตละอําเภอของจังหวัดเชียงรายเฉลี่ยอยูที่รอยละ 12 โดยอําเภอขุนตาลมีอัตราการ เติบโตของรายไดสะสมตํ่าสุดอยูที่รอยละ 4 และอําเภอที่มีอัตราการเติบโตของรายได สะสมสูงสุดอยูท รี่ อ ยละ 17 คือ อําเภอเวียงแกน ทําใหอาํ เภอเวียงแกนมีอตั ราการเติบโต สะสมสูงกวาอําเภอขุนตาลถึง 4 เทา รูปที่ 3 เปรียบเทียบรายไดตอหัวของป 2550 และป 2556 ของแตละอําเภอในจังหวัดเชียงราย

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

76 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อําเภอเวียงแกนนั้นแตเดิมเปนอยูในอาณาเขตของอําเภอเชียงของ แตดวย อาณาเขตบริเวณที่กวางขวางเกินไป ยากตอการปกครองและดูแลประชาชนในทองที่ จึงทําใหเกิดการแบงแยกออกมาเปนอําเภอใหม ทั้งนี้อําเภอเวียงแกนนั้นมีบริเวณที่ติด กับชายแดนเชนกัน คือ เมืองหวยทราย แขวงบอแกว สปป.ลาว โดยมีแมนํ้าโขงที่เปน แมสายใหญขนั้ กลางระหวางสองประเทศ แตไมไดถกู ผลักดันใหเปนอําเภอชายแดนอยาง อําเภอเชียงของ นอกจากนี้ ประชากรของอําเภอเวียงแกนอยูท ี่ 31,799 คน ทําใหความ หนาแนนของประชากรตอพื้นที่อยูที่ 60.45 คนตอตารางกิโลเมตร มีตําบลอยู 4 ตําบล แหลงทองเทีย่ วสวนใหญเปนแหลงทองเทีย่ วทีเ่ ปนทรัพยากรธรรมชาติเชน แกง ดอย ปา ผา แมนํ้า เปนตน สวนอําเภอขุนตาลนั้น เปนอําเภอที่แยกตัวออกมาจากอําเภอเทิง มี ตําบลที่อยูในการปกครองอยู 3 ตําบล มีประชากรอยู 32,551 คน ทําใหความหนาแนน ตอประชากรอยูที่ 139.1 คนตอตารางกิโลเมตร โดยแหลงทองเที่ยวสวนใหญจะเปน พระธาตุ จากขอมูลขางตน ทําใหสามารถพิจารณาไดวาอําเภอเวียงแกนมีความได เปรียบเชิงพื้นที่ที่สูงกวาอําเภอขุนตาล แมสองอําเภอจะมีอาณาบริเวณที่ติดกันก็ตาม แตอําเภอเวียงแกนเปนอําเภอที่ติดชายแดน ความหนาแนนของประชากรตอตาราง กิโลเมตรก็ตํ่ากวา นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่เปนแหลงทองเที่ยวสําคัญอยู มากกวา จึงอาจทําใหอําเภอเวียงแกนมีการเติบโตของรายไดสูงกวาอําเภอขุนตาล ในป 2553 อําเภอแมสายเปนอําเภอที่มีรายไดสูงที่สุด มีรายไดเฉลี่ยอยูที่ 53,072.82 บาทตอคนตอเดือน และอําเภอทีม่ รี ายไดตาํ่ สุดคืออําเภอแมฟา หลวง มีราย ไดเฉลี่ยอยูที่ 29,031.03 บาทตอคนตอเดือน เมื่อเทียบอัตราสวนกันอําเภอแมสายมี รายไดเฉลี่ยมากกวาอําเภอแมฟาหลวงเกือบ 2 เทา อําเภอแมสายเปนอําเภอทีต่ ดิ ชายแดนพมา และมีมลู คาการคาขายแลกเปลีย่ น บริเวณเขตชายแดนสูง จึงสงผลใหระดับรายไดสูงตามไปดวย สวนอําเภอแมฟาหลวง เปนอําเภอทีท่ าํ เกษตรกรรม เลีย้ งสัตว และหัตถกรรมเปนหลักจึงมีรายไดทไี่ มสงู มากนัก ความเหลื่อมลํ้าของพื้นที่จึงกลายเปนตัวกําหนดใหรายไดโดยเฉลี่ยของทั้งสองอําเภอที่ ความแตกตางกันมาก ที่อาจเปนตัวกําหนดใหชีวิตความเปนอยูของคนแตละอําเภอ แตกตางกันออกไปอยางสิ้นเชิง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 77


อยางไรก็ตาม ในป 2553 จํานวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ หรือมีรายไดตํ่ากวา 23,000 บาท ในอําเภอแมสายมีถงึ 168 ครัวเรือน แตอาํ เภอแมฟา หลวงไมมแี มแตครัวเรือน เดียวทีไ่ มผา นเกณฑ เห็นไดวา เมืองทีม่ รี ายไดสงู สุดในเชียงรายกลับมีจาํ นวนครัวเรือนที่ ไมผานเกณฑสูงกวาเมืองที่มีรายไดตํ่าสุดในเชียงราย อาจเปนเพราะวาประชากรใน อําเภอแมสายมีจํานวนเยอะกวาอําเภอแมฟาหลวง จึงทําใหการกระจายรายไดของ อําเภอแมฟา หลวงเปนไปไดงา ยกวาอําเภอแมสาย ซึง่ จากสถิตใิ นป 2553 อําเภอแมสาย มีจํานวนประชากรทั้งหมด 85,266 คน และอําเภอแมฟาหลวงมีประชากรทั้งหมด 69,567 คน ทําใหอาํ เภอแมสายมีประชากรมากกวาอําเภอแมฟา หลวงเกือบหนึง่ เทาตัว รูปที่ 4 ความสัมพันธระหวางจํานวนครัวเรือนตกเกณฑกับ รายไดเฉลี่ยในแตละอําเภอ

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

จากรูปที่ 4 แสดงความสัมพันธระหวางรายไดโดยเฉลี่ยของแตอําเภอใน เชียงรายกับจํานวนครัวเรือนทีต่ กเกณฑในป 2553 เห็นไดวา รายไดของแตละอําเภอใน เชียงรายมีความสัมพันธเชิงบวก หรือไปในทิศทางเดียวกันกับจํานวนครัวเรือนที่ตก เกณฑ โดยที่อําเภอในเชียงรายสวนมากจะมีคาเฉลี่ยของรายไดอยูระหวาง 40,000 ถึง 50,000 บาทตอคน และมีจาํ นวนครัวเรือนทีต่ กเกณฑทตี่ าํ่ กวา 200 ครัวเรือน มีจาํ นวน

78 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


3 อําเภอที่มีจํานวนครัวเรือนที่ตกเกณฑมากกวา 300 ครัวเรือน ไดแก อําเภอพานมี 551 ครัวเรือน อําเภอแมสรวยมี 462 ครัวเรือน และอําเภอเมืองเชียงรายมี 372 ครัว เรือน ทําใหอาํ เภอพานทีม่ รี ายไดเฉลีย่ สูงเปนอันดับสองมีจาํ นวนครัวเรือนทีไ่ มผา นเกณฑ ที่มากเปนพิเศษ แตกระนั้นเมื่อนํามาคิดเปนสัดสวนจากครัวเรือนทั้งหมดแลว ไมไดสูง ไปกวาอําเภออื่นมากนัก โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 2 จากครัวเรือนทั้งหมด เทากับ สัดสวนครัวเรือนไมผานเกณฑตอครัวเรือนทั้งหมดของอําเภอแมสาย สวนอําเภอเมือง เชียงรายนั้นคิดเปนสัดสวนรอยละ 1 จากครัวเรือนทั้งหมด เทากับอําเภออื่นๆ เชน ปาแดดที่มีรายไดเปนอันดับสาม เชียงแสนเมืองติดชายแดน และเวียงเชียงรุง แตที่ควร พิจารณาในเชิงลึกคือ อําเภอแมสรวยทีม่ สี ดั สวนครัวเรือนตกเกณฑสงู ทีส่ ดุ ในทุกๆอําเภอ ของจังหวัดเชียงรายถึงรอยละ 4 จากครัวเรือนทัง้ หมด สวนอําเภออืน่ มีสดั สวนครัวเรือน ไมผานเกณฑตํ่ากวารอยละ 1 จากครัวเรือนทั้งหมด และมี 3 อําเภอ คือ อําเภอ เวียงปาเปา อําเภอเวียงแกน และอําเภอแมฟา หลวงทีม่ รี ายไดเฉลีย่ ตํา่ ทีส่ ดุ ไมมคี รัวเรือน ที่ตกเกณฑ ชี้ใหเห็นวาการกระจายรายไดในอําเภอแมสรวยไมดีเทาที่ควรเมื่อเทียบกับ อําเภออื่นๆ อําเภอที่มีรายไดเฉลี่ยที่สูงถึง 50,000 กวาบาทอยางอําเภอแมสาย มีถึง 168 ครัวเรือนที่มีรายไดตํ่ากวา 23,000 ทําใหมองเห็นไดวาเมืองใหญๆที่มีรายไดเฉลี่ยคอน ขางสูงจะมีการกระจายรายไดที่ไมดีเทาที่ควร เทียบกับเมืองเล็กๆที่มีรายไดเฉลี่ยแค 20,000 กวาบาท กลับไมมีครัวเรือนที่มีรายไดตํ่ากวาเกณฑ รายเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้นอาจ จะไปกระจุกตัวอยูใ นกลุม คนทีร่ าํ่ รวยมากหากมองในระดับอําเภอ และหากมองในระดับ จังหวัด อาจจะมีการกระจุกตัวของรายไดในกลุม ของอําเภอทีม่ กี ารเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่สูงก็ได

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 79


ตัวชีว้ ดั ความเหลือ่ มลํา้ ของรายไดโดยใชโดยสัมประสิทธิจ์ นิ ี (Gini Coeffcient) คาสัมประสิทธิ์จีนี่ เปนคาที่นิยมใชวัดความไมเทาเทียมการกระจายรายได อยางมากทีส่ ดุ ซึง่ คาสัมประสิทธิจ์ นิ จี่ ะเทากับพืน้ ทีร่ ะหวางเสนทะแยง 45 องศาซึง่ เปน ตัวแทนของการกระจายรายไดอยางสมบูรณ และเสน Lorenz Curve ที่เปนเสนโคง โดยจะเทียบการกระจายรายไดในกลุม ของกลุม คนทีร่ วยทีส่ ดุ และกลุม คนทีจ่ นทีส่ ดุ คา สัมประสิทธิ์จีนี่จะอยูระหวาง 0 ถึง 1 หากเขาใกล 0 แสดงวาการกระจายรายไดคอน ขางเทาเทียม หรือมีความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายไดนอย เสน Lorenz curve ก็ จะเขาใกลเสน Perfect inequality มาก แตถา หากวาคาสัมประสิทธิจ์ นี เี่ ขาใกล 1 แสดง วาการกระจายรายไดคอนขางไมเทาเทียม หรือมีความเหลื่อมลํ้าในการกระจายไดสูง เสน Lorenz curve จะออกหางจากเสน Perfect inequality มาก จากรูปที่ 5 แกน x ถูกกําหนดใหเปนสัดสวนของคนที่มีรายไดเฉลี่ยสูงสุดถึง รายไดเฉลีย่ สูงสุดสะสม และแกน y ถูกกําหนดใหเปนสัดสวนของรายไดโดยเฉลีย่ สะสม ซึง่ การหาคาสัมประสิทธิจ์ นี นี่ นั้ หาไดการนําพืน้ ทีร่ ะหวางเสน 45 องศา หรือเสน Perfect inequality และเสน Loren Curve (พื้นที่ A) และพื้นที่ใตเสน Lorenz Curve มา คํานวณ ไดสตู ร A/ (A+B) สวนมากการคํานวณหาคาสัมประสิทธิจ์ นี ี่ จะเปนการคํานวณ หาความมั่งคั่ง และรายไดเสียมากกวา แตก็มียังมีการนําคาสัมประสิทธิ์จีนี่ไปประยุกต ใชหาความไมเทาเทียมในแงมุมทางสังคม เชน การศึกษา โอกาสทางสังคม เปนตน

80 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 5 Lorenz Curve และเสน Perfect inequality

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Lorenz_curve

การคํานวณคาสัมประสิทธิ์จีนี่ในเชียงราย จากขอมูลรายไดเฉลีย่ ตอหัว (GPP per capita) ในแตละอําเภอของสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดนําขอมูลมาจัดเรียงจากอําเภอที่ มีรายไดนอยที่สุดไปยังอําเภอที่มีรายไดมากที่สุด และนํามาแบงกลุมเปน 9 กลุม เพื่อ เปรียบเทียบการกระจายรายไดในกลุม อําเภอทีม่ รี ายไดสงู ทีส่ ดุ รอยละ 10 และการกระ จายรายไดในกลุมอําเภอที่มีรายไดตํ่าที่สุดรอยละ 101

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 81


รูปที่ 6 คาสัมประสิทธิ์จินี่ของจังหวัดเชียงราย ตั้งแตป 2550 ถึง 2556

ที่มา: จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

จากการคํานวณคาสัมประสิทธิ์จินี่จากขอมูลรายไดโดยเฉลี่ยในแตละอําเภอ พบวา คาความเหลือ่ มลํา้ ในการกระจายรายไดของเชียงรายอยูใ นคาทีส่ งู มาก เพราะเมือ่ เปรียบเทียบกับดัชนีจินี่ของประเทศไทยที่อยูแค 39.4 (World Data Bank, 2552) แต คาสัมประสิทธิ์จีนี่ในเชียงรายตั้งแตป 2550 ถึง ป 2556 อยูที่ประมาณ 0.51 ถึง 0.56 ตารางที่ 1 การปลูกพืชเศรษฐกิจในแตละอําเภอ โดยเรียงจากรายไดนอยไปรายไดมาก ขาว

ขาวโพด เลี้ยงสัตว

ลําไย

แมฟาหลวง

ลิ้นจี่ ×

เวียงปาเปา

ยางพารา

ชา กาแฟ สัปปะรด ×

×

×

เวียงแกน แมสรวย

×

ดอยหลวง เชียงของ*

× ×

82 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา

×

×

×


ขาว

ขาวโพด เลี้ยงสัตว

ลําไย

ลิ้นจี่

ยางพารา

ชา กาแฟ สัปปะรด

พญาเม็งราย ขุนตาล เวียงเชียงรุง

×

เทิง

×

×

แมลาว แมจัน

×

×

เวียงชัย เมืองเชียงราย

× ×

×

เชียงแสน*

×

×

×

×

×

×

พาน

×

ปาแดด

×

×

×

×

×

แมสาย*

× ที่มา: แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2553 - 2556

จังหวัดเชียงรายคอนขางใหความสําคัญกับการเกษตร ทําใหมีพืชเศรษฐกิจที่ ทํารายไดใหกับเชียงรายเปนจํานวนมาก ไดแก ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ลิ้นจี่ ยางพารา ชา กาแฟ และสับปะรด โดยแตละพื้นที่ แตละอําเภอจะมีการปลูกพืชเศรษฐกิจที่แตก ตางกันไป จากตารางที่ 1 เปนการเรียงลําดับจากรายไดของอําเภอที่ตํ่าที่สุดไปยังราย ไดของอําเภอที่สูงที่สุด จะเห็นวาพื้นที่เพาะปลูกพื้นที่เศรษฐกิจจะไปกระจุกตัวอยูกลุม อําเภอที่มีรายไดสูงๆแทบทั้งนั้น โดยไมนับรวมอําเภอที่ติดชายแดนอยาง แมสาย เชียงแสน เชียงของ ซึง่ มีความไดเปรียบเชิงพืน้ ทีอ่ ยูแ ลว จึงทําใหการกระจายรายไดของ เชียงรายอาจไปกระจุกตัวอยูกลุมของอําเภอที่มีการปลูกพืชเศรษฐกิจคอนขางมาก จึง สงผลใหเกิดความเหลื่อมลํ้าสูง แตเมื่อนํามาคิดรวมในระดับประเทศ จังหวัดที่มีการก ระจายรายไดที่ดีอาจมากกวาจังหวัดที่มีการกระจายรายไดที่ไมดี จึงดึงใหระดับความ เหลื่อมลํ้าของประเทศอยูไมสูงมากนัก

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 83


จากรูปที่ 7 แสดงใหเห็นถึงชองวางระหวางรายไดระหวางอําเภอที่มีรายได เฉลี่ยตอคนที่สูงที่สุดในเชียงราย และรายไดระหวางอําเภอที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนที่ตํ่า ที่สุดในเชียงรายพบวา ชองวางของรายไดเฉลี่ยอยู 1.81 หรือ เกือบสองเทาตัว โดยใน ป 2554 ชองวางระหวางรายไดมีตัวเลขที่โดดขึ้นกวาปอื่นๆ อยูที่ 2.33 เทา อาจเปน เพราะวาในชวงป 2554 มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดเชียงราย ถือวา เปนการใชจา ยของภาครัฐ ซึง่ เปนสวนหนึง่ ทีถ่ กู นับรวมใน GPP ของจังหวัด และจํานวน คาใชจายในการเลือกตั้งนั้นมีจํานวนที่สูงพอที่จะทําใหรายไดโดยเฉลี่ยของอําเภอบาง อําเภอที่มีการใชจา ยในการหาเสียงมากสูงขึ้นมากเปนพิเศษ ซึ่งในป 2554 อําเภอที่มี รายไดเฉลี่ยสูงที่สุดคืออําเภอเชียงแสน ซึ่งเปนอําเภอที่อยูติดชายแดน และมีเศรษฐกิจ ทีเ่ ติบโตอยางตอเนือ่ ง ทําใหการเลือกตัง้ ในอําเภอดังกลาวมีความรุนแรง และอาจฉุดให รายไดโดยเฉลี่ยสูงขึ้นจาก 48,531 บาท ไปยัง 71,326 บาท เติบโตขึ้นถึงรอยละ 47 ซึ่ง ในปเดียวกันนัน้ ในแตละอําเภอยกเวนอําเภอเชียงแสนมีการเติบโตไมถงึ รอยละ 20 และ บางอําเภอถึงกลับมีการเติบโตที่ ติดลบ รูปที่ 7 ชองระหวางรายไดของอําเภอที่รายไดสูงที่สุดและรายไดตํ่าที่สุด ตั้งแตป 2550 ถึง 2556

ที่มา: จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

84 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


นอกจากนี้ ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นถึงการกระจายรายไดตั้งแตป 2550 ถึง ป 2556 โดยไดแบงกลุมรายไดของอําเภอในเชียงรายเปน 9 กลุมจาก 18 อําเภอ จะเห็น ไดวาการกระจายรายไดในชวง 6 ป ไมคอยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งอัตราสวนรายได เฉลี่ยของอําเภอที่สูงที่สุดกับอําเภอที่ตํ่าที่สุดอยูประมาณ 1.6 ถึง 1.8 แสดงวานโยบาย ที่เขามาชวยลดความเหลื่อมลํ้าไมไดชวยใหการกระจายรายไดในจังหวัดเชียงรายดีขึ้น จากเดิม แตก็ไมไดทําใหความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายไดเพิ่มมากขึ้น หรือนอยลง จนไดเห็นชัดในระยะ 6 ปที่ผานมา กลุมของอําเภอที่จนที่สุด 10% ในระยะที่ผานมา นัน้ มีการเปลีย่ นแปลงไปบาง แตอาํ เภอทีไ่ มเคยหนีจากอันดับทายเลยคือ อําเภอแมฟา หลวง สวนกลุมอําเภอที่รวยที่สุด 10% มีเปลี่ยนตําแหนงไปเรื่อยๆ แตที่ครองตําแหนง บอยคือ แมสาย กับอําเภอพาน ทําใหมองไดวา อําเภอทีม่ รี ายไดนอ ยอยางไรก็ไมสามารถ หลุดออกกับดับของความยากจนได เมือ่ การกระจายรายไดอาจไปถึงก็จริง แตไมไดทาํ ให รายไดของกลุม อําเภอทีม่ รี ายไดนอ ยขึน้ มาเคียงขางอําเภอทีม่ รี ายไดสงู ตัง้ แตอดีตจนถึง ปจจุบัน ตารางที่ 2 การกระจายรายไดในจังหวัดเชียงราย และสัดสวนของคนที่จนที่สุด 10% ตอคนที่รวยที่สุด 10% 2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

จนสุด 10%

8%

8%

10%

9%

8%

8%

9%

Decile 2

9%

10%

10%

10%

10%

10%

10%

Decile 3

10%

11%

10%

10%

11%

11%

10%

Decile 4

11%

11%

11%

10%

11%

11%

10%

Decile 5

11%

11%

11%

11%

11%

11%

11%

Decile 6

12%

12%

11%

12%

11%

11%

12%

Decile 7

12%

12%

12%

12%

12%

12%

12%

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 85


2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

Decile 8

13%

12%

12%

13%

13%

12%

12%

รวยสุด 10%

13%

13%

13%

13%

14%

14%

14%

อัตราสวน คนจนสุดตอ คนรวยสุด

1.6

1.6

1.3

1.4

1.8

1.6

1.6

ที่มา: จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

รูปที่ 8 สัดสวนรายไดประชากรป 2552

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2554)

หากพิจารณาจากการกระจายรายไดของประเทศไทยในป 2552 (รูปที่ 8) สัดสวนของการกระจายรายไดกระจุกตัวอยูที่รอยละ 10 ของกลุมที่รวยที่สุดถึงรอยละ 38.41 โดยที่ตกอยูที่รอยละ 10 ของกลุมที่จนที่สุดแครอยละ 1.69 แสดงวาความหาง ของการกระจายรายของกลุมที่รวยที่สุดรอยละ 10 และกลุมที่จนที่สุดรอยละ 10 หาง กันเพียงรอยละ 3 เทานั้น แสดงวาการกระจายรายไดในจังหวัดเชียงรายมีความเทา เทียมกวาในระดับประเทศ ถึงแมวาคา Gini Coefficient ของเชียงรายจะสูงกวาก็ตาม แตถา นํามาพิจารณารวมกับครัวเรือนตกเกณฑในแตละอําเภอของเชียงรายทีไ่ มถงึ รอยละ

86 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


5 สอดคลองกับผลการกระจายรายไดที่ไดถูกคํานวณออกมา ทําใหสามารถบอกไดวา เชียงรายมีการกระจายรายไดที่ดี แตในระยะที่ผานมาการกระจายรายไดยังคงไมมีการ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นแตอยางใด อาจจะเปนเพราะการใชนโยบายการคลังที่ยังไม ยังไมตรงแกนของปญหา เชน การเพิม่ ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ทีม่ อี ตั ราการเติบโตขึน้ ทุกป ไมไดทาํ ใหรายไดของประชากรในประเทศมีความเทาเทียมขึน้ ยังคงกระจุกตัวอยู ในกลุม เล็กๆของสังคมเพียงเทานัน้ เพราะยังมีการลดหยอนภาษีตามมา ไมไดสรางความ แตกตางกอนหรือหลังใชนโยบายดังกลาวเลย ทัง้ นีก้ ารอุดชองโหวระหวางรายไดจาํ เปน ตองหานโยบายที่มีประสิทธิภาพขึ้น ที่นอกจากจะทําใหความเหลื่อมลํ้าในประเทศใน จังหวัดตางๆ ลดนอยลงแลว แลวยังสามารถทําใหเศรษฐกิจเดินหนาไปไดดวยดีเชนกัน 2. ความเหลื่อมลํ้าดานการศึกษา การศึกษาของคนในประเทศถือวาเปนสิ่งสําคัญอยางมากในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยใหมปี ระสิทธิภาพ แตใชวา ทุกคนจะไดรบั การศึกษาทีเ่ ทาเทียมกัน ดวย เหตุนี้ จึงทําใหเกิดความเหลือ่ มลํา้ ทางการศึกษาขึน้ มาในสังคมไทย โดยความเหลือ่ มลํา้ ทางการศึกษาอาจเกิดจากฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว เนื่องจากฐานะ ทางสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัวทีด่ ี มีการสนับสนุนใหลกู มีการศึกษาทีด่ มี ากกวา ฐานะสังคมที่ตํ่ากวา และมีแนวโนมวาถาหากพอแมมีการศึกษาที่สูง ลูกจะไดรับการ สนับสนุนใหการศึกษาสูงตามไปดวย แตการเขาถึงการศึกษาที่มีประสิทธิภาพก็เปน ปญหาเชนเดียวกัน จากความเหลื่อมลํ้าของภูมิลําเนาระหวางเขตชนบทกับเขตเมือง เพราะวาการเขาถึงของบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพเปนไปไดคอนขางยาก พอสมควร เนื่องจากปจจัยหลายๆ อยางไมวาจะเปนเรื่องของการเดินทาง ที่พักอาศัย เงินเดือนและสวัสดิการ สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่เปนตัวกําหนดของบุคลาการ ทางการศึกษา จึงเปนเหตุใหเกิดการขาดบุคลากรการศึกษาในเขตชนบท การพิจารณาความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา จําเปนตองพิจารณาการจัดสรร งบประมาณ ควบคูไปกับการจัดสรรอัตราครูและบุคลากรทางการศึกษา และการ ประเมินคุณภาพการศึกษา งบประมาณการศึกษาของแตละโรงเรียนนั้นจะมีจํานวนที่ แตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับจํานวนนักเรียนทําใหการพัฒนาการดานการศึกษามีความ แตกตางกัน พรอมทัง้ บุคลากรทางการศึกษาทีม่ ปี ญ  หาการขาดแคลนในพืน้ ทีเ่ ขตชนบท หางไกล แตบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่เขตเมืองมีบุคลากรเกินกวาความจําเปน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 87


เชียงรายไดถกู แบงเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเปน 5 เขต โดยทีเ่ ปนเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ในระดับประถมศึกษา (สพป.) อยู 4 เขต และเขตพื้นที่การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (สพม.) อยู 1 เขต -

สพป. เชียงราย เขต 1 จะครอบคลุม 3 อําเภอ ไดแก เมืองเชียงราย เวียงชัย และเวียงเชียงรุง สพป. เชียงราย เขต 2 จะครอบคลุม 5 อําเภอ ไดแก ปาแดด พาน แมสรวย เวียงปาเปา แมลาว สพป. เชียงราย เขต 3 จะครอบคลุม 5 อําเภอ ไดแก เชียงแสน แมจัน แมสาย แมฟาหลวง ดอยหลวง สพป. เชียงราย เขต 4 จะครอบคลุม 5 อําเภอ ไดแก เชียงของ เทิง พญาเม็งราย เวียงแกน ขุนตาล สพม. เชียงราย เขต 36 กระจายอยูใน 18 อําเภอ

จากตารางที่ 3 ในเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา เขต 1 มีจาํ นวนนักเรียน ตอครูเฉลี่ยอยูที่ 17 คน เขต 2 เฉลี่ยอยูที่ 15 คน เขต 3 เฉลี่ยอยูที่ 23 คน เขต 4 เฉลี่ย อยูที่ 15 คน และในเขตการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาเฉลี่ยอยูที่ 21 คน นอกจากนั้น จํานวนนักเรียนตอหองเรียนในแตละเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษานั้นอยูใน สัดสวนที่เหมาะสมโดยเกณฑของสพฐ. ป 2556 กําหนดใหจํานวนนักเรียนตอหองอยู ระหวาง 30 – 50 คน โดยสพป. เขต 1 มีจํานวนนักเรียนเฉลี่ยอยูที่ 18 คนตอหองเรียน เขต 2 อยูที่ 15 คนตอหองเรียน เขต 3 อยูที่ 20 คนตอหองเรียน และเขต 4 อยูที่ 15 คนตอหองเรียน แตสพม.เขต 36 นั้นมีจํานวนนักเรียนเฉลี่ยถึง 34 คนตอหองเรียน แนนอนวาจํานวนหองเรียนตอโรงเรียนจํานวนไมตา งจากจํานวนครูตอ โรงเรียนมาก ยก เวนในสพม. เขต 36 เทานั้น สําหรับสพป.เขต 1 มีจาํ นวนนักเรียนประมาณ 179 คนตอโรงเรียน สพป.เขต 2 มีจาํ นวนนักเรียนประมาณ 136 คนตอโรงเรียน สพป.เขต 3 มีจาํ นวนนักเรียนประมาณ 231 คนตอโรงเรียน สพป.เขต 4 มีจํานวนนักเรียนประมาณ 136 คนตอโรงเรียนเทากับ เขตที่ 1 และสพม. เขต 36 มีจํานวนนักเรียนประมาณ 955 คน จํานวนครูตอโรงเรียน ในสพม.เขต 1 ประมาณ 11 คน สพป.เขต 2 ประมาณ 9 คน สพป.เขต 3 ประมาณ 10 คน สพป.เขต 4 ประมาณ 9 คน และสพม.เขต 36 ประมาณ 46 คน

88 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ตารางที่ 3 จํานวนนักเรียนตอครู ตอหองเรียน และตอโรงเรียนในแตละเขตการศึกษา เขตพื้นที่ การศึกษาใน เชียงราย

จํานวน นักเรียน ตอครู

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน หองเรียน นักเรียนตอ นักเรียนตอ ครูตอ ครูตอ ตอ หองเรียน โรงเรียน โรงเรียน หองเรียน โรงเรียน

สพป.เชียงราย เขต 1

17

18

179

11

1

10

สพป.เชียงราย เขต 2

15

15

136

9

1

9

สพป.เชียงราย เขต 3

23

20

231

10

1

11

สพป.เชียงราย เขต 4

15

15

136

9

1

9

สพม.เชียงราย เขต 36

21

34

955

46

2

28

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

อยางไรก็ตาม ในเขตการศึกษาระดับประถมศึกษาทั้ง 4 เขต มีจํานวนครูตอ หองเรียนอยูที่ 1 ตอ 1 เทานั้น แต สพม. เขต 36 กลับมีจํานวนครูตอหองเรียนอยูที่ 2 ตอ 1 จึงไมเปนปญหาสําหรับโรงเรียนในเขตการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอปริมาณครู ที่เพียงพอตอการดูแลนักเรียน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 89


ตารางที่ 4 จํานวนนักเรียน จํานวนครู จํานวนครูตามนโยบาย และจํานวนครูขาด/เกิน เขตพื้นที่การศึกษาในเชียงราย

จํานวน นักเรียน

จํานวนครู

จํานวนครู ตามนโยบาย

จํานวนครู ขาด/เกิน

สพป. เชียงราย เขต 1

19,650

1,158

983

เกิน 176

สพป. เชียงราย เขต 2

25,335

1,652

1,267

เกิน 385

สพป. เชียงราย เขต 3

35,313

1,534

1,766

ขาด 232

สพป. เชียงราย เขต 4

21,001

1,414

1,050

เกิน 364

สพม. เชียงราย เขต 36

56,331

2,728

2,817

ขาด 89

รวมทั้งหมด

80,298

4,344

4,015

เกิน 605

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

ตามนโยบายของสํานักงานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีม่ กี ารกําหนดครูหนึง่ คนตอง ดูแลนักเรียนทั้งหมด 20 คนนั้น จากการคํานวณจากจํานวนนักเรียนในเขตตางๆ โดย เขตสพป. เขต 1 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 19,650 คน แสดงวาสพฐ.ตองการใหเขต 1 มี จํานวนครูทั้งหมดประมาณ 983 คน แตเขตดังกลาวกลับมีจํานวนครูเกินกวาที่นโยบาย กําหนดไวประมาณ 176 คน สพป. เขต 2 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 25,335 คน แสดงวา สพฐ.ตองการใหเขต 2 มีครูทั้งหมดประมาณ 1,267 คน แตเขตดังกลาวกลับมีจํานวน ครูเกินกวาที่นโยบายกําหนดไวประมาณ 385 คน สพป. เขต 3 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 35,313 คน แสดงวาสพฐ.ตองการใหเขต 3 มีครูทั้งหมดประมาณ 1,766 คน แตเขตดัง กลาวกลับมีจํานวนครูขาดจากที่นโยบายกําหนดไวประมาณ 232 คน สพป. เขต 4 นั้น มีนักเรียนทั้งหมด 21,001 คน แสดงวาสพฐ.ตองการใหเขต 4 มีครูทั้งหมดประมาณ 1,050 คน แตเขตดังกลาวกลับมีจํานวนครูเกินจากที่นโยบายกําหนดไวประมาณ 364 คน และสพม. เขต 36 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 56,331 คน แสดงวาสพฐ.ตองการใหเขต

90 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


36 ในระดับมัธยมศึกษามีครูทั้งหมดประมาณ 4,015 คน แตเขตดังกลาวกลับมีจํานวน ครูขาดจากที่นโยบายกําหนดไว 89 คน การกระจายบุคลากรทางการศึกษาที่สําคัญอยางเชน ครู หรืออาจารยใน เชียงรายนั้นมีปญหาอยางมาก เมื่อจํานวนครูไปกระจุกตัวอยูในเขตการศึกษาระดับ ประถมศึกษา 1, 2 และ 4 เปนสวนมาก โดยเกินมาถึง 925 คน ทําใหใน สพป. เขต 3 และสพม. เขต 36 มีการขาดแคลนครูถึง 320 คน โดยประมาณ ถึงกระนั้น หากครูได ถูกกระจายไปยังเขตตางๆในทุกระดับเขตการศึกษาแลว ก็ยงั มีครูถงึ 605 คนทีเ่ กินจาก ที่นโยบายกําหนดไว ตารางที่ 5 จํานวนครูตามนโยบาย และจํานวนขาด/เกินของเฉลี่ย แตละโรงเรียนในแตละเขตการศึกษา จํานวนครูเฉลี่ย ตามนโยบาย

จํานวนครูเฉลี่ย ที่แทจริง

จํานวนครูเฉลี่ยที่ ขาด/เกิน

สพป. เชียงราย เขต 1

9

11

เกิน 2

สพป. เชียงราย เขต 2

7

9

เกิน 2

สพป. เชียงราย เขต 3

12

10

ขาด 2

สพป. เชียงราย เขต 4

7

9

เกิน 2

สพม. เชียงราย เขต 36

48

46

ขาด 2

เขตพื้นที่การศึกษาในเชียงราย

ที่มา: จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

จากจํานวนนักเรียนโดยเฉลีย่ ตอโรงเรียน สามารถนํามาคํานวณหาจํานวนครู โดยเฉลี่ยตามนโยบายของสพฐ.ได พบวาจํานวนครูโดยเฉลี่ยในเขต สพป. เขต 1 2 และ 4 เกินมาอยางละ 2 คนโดยเฉลี่ย แตในเขตสพป. เชียงราย เขต 4 และสพม. เขต 36 ขาดอยางละ 2 คนโดยเฉลี่ย ไมวา จะดูในระดับเขตการศึกษา หรือเฉลีย่ ออกมาในแตละโรงเรียน สพป. เขต 3 และ สพม. เขต 36 ก็มีปญหาเรื่องจํานวนครูที่ไมเพียงพอตอนักเรียน หรือหองเรียน หรือเรียกไดวามีความเหลื่อมลํ้าในการกระจายบุคลากรทางการศึกษา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 91


ตารางที่ 6 จํานวนโรงเรียนในแตละอําเภอที่มี จํานวนนักเรียนตํ่ากวา 40 คน เขตพื้นที่การศึกษาในเชียงราย

อําเภอ

จํานวนโรงเรียนที่มี นักเรียน < 40 คน

สพป. เชียงราย เขต 1

เมืองเชียงราย เวียงชัย เวียงเชียงรุง รวม

6 2 0 8

สพป. เชียงราย เขต 2

ปาแดด พาน แมสรวย เวียงปาเปา แมลาว รวม

1 19 6 4 0 30

สพป. เชียงราย เขต 3

เชียงแสน แมจัน แมสาย แมฟาหลวง ดอยหลวง รวม

4 3 2 0 0 9

สพป. เชียงราย เขต 4

เชียงของ เทิง พญาเม็งราย เวียงแกน ขุนตาล รวม

3 12 8 1 0 24

สพม. เชียงราย เขต 36

กระจายทุกอําเภอ

0

รวมทั้งหมด

71

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

92 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


จากขอมูลของสพฐ. ในเขตพื้นที่การศึกษาในระดับประถมศึกษาเขต 1 มี จํานวน 8 โรงเรียน เขต 2 มีจํานวน 30 โรงเรียน เขต 3 มีจํานวน 9 โรงเรียน และ เขต 4 จํานวน 24 โรงเรียน รวมทั้งหมดเปน 71 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนตํ่ากวา 40 คน เขาเกณฑที่ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่จะตองถูกยุบ รวมกับโรงเรียนอืน่ ๆ ตามนโยบายดังกลาว โดยสฟป.เขต 2 และ เขต 4 มีจาํ นวนโรงเรียน ทีม่ ขี นาดเล็กมากเปนพิเศษประมาณรอยละ 16 ของจํานวนโรงเรียนทัง้ หมดในเชียงราย ที่มีขนาดเล็ก และเขต 3 และ เขต 4 นั้นคิดเปนรอยละ 7 และ 6 เทานั้น ตารางที่ 7 จํานวนรายไดรวมในแตละเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาใน เชียงราย สพป. เชียงราย เขต 1 สพป. เชียงราย เขต 2 สพป. เชียงราย เขต 3 สพป. เชียงราย เขต 4 รวมทั้งหมด

รายไดป 2550

รายไดป อัตราการเติบโต จํานวนประชากร 2556 เฉลี่ย (ป 2553)

40,883 38,533 36,699 37,568

62,674 60,464 61,941 54,900

7% 8% 9% 7%

347,699 328,387 323,437 251,893

38,421

59,995

8%

1,251,416

ที่มา: จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

เมื่อนํารายไดมาแบงตามเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา (สพฐ.) จะเห็น วารายไดของเชียงรายตั้งแตป 2550 ถึงป 2556 เติบโตเฉลี่ยอยูที่รอยละ 8 โดยสพป. เขต 3 มีรายไดเติบโตเฉลี่ยสูงสุดอยูที่รอยละ 9 รองมาเปนสพป. เขต 2 อยูที่รอยละ 8 และ สพป. เขต 1 และเขต 4 อยูที่รอยละ 7 ถึงแมกวาสพป. เขต 1 จะมีจํานวนอําเภอ เพียง 3 อําเภอ ในขณะที่อีกสามเขต แตละเขตมีจํานวนอําเภออยู 5 อําเภอ สพป.ก็มี การเติบโตของรายไดโดยเฉลี่ยสูงเทาๆ กับสพป.เขตอื่นๆ โดยพิจารณาจากจํานวน ประชากรจากขอมูลสถิติในป 2553 แสดงใหเห็นวาในแตละเขตการศึกษามีจํานวน ประชากรไมตางกันมากนัก โดย สพป. เขต 1 มีจํานวนประชากรรวมกันแลวมากกวา สพป. เขตอื่นๆ ทั้งนั้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 93


รูปที่ 9 ความสัมพันธระหวางจํานวนนักเรียนและรายไดโดยเฉลี่ยในป 2556 ของแตละเขตประถมศึกษา

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

จากรูปที่ 9 แสดงถึงความสัมพันธระหวางจํานวนนักเรียน และรายไดเฉลี่ย ตอหัวในป 2556 ของแตละเขตการศึกษาพบวา สพป.เขต 1 ที่มีรายไดเฉลี่ยรวมในป 2556 สูงที่สุด แตมีจํานวนนักเรียนในเขตตํ่ากวา สพป. เขต 4 ที่มีรายไดเฉลี่ยรวมตํ่า ที่สุด สวน สพป.เขต 2 และ 3 ก็มีจํานวนรายไดเฉลี่ยรวม และจํานวนนักเรียนคอนขาง เปนไปในทิศทางเดียวกัน เห็นไดวาจํานวนนักเรียนไมไดสงผลตอรายไดเฉลี่ยรวมของ แตละเขตการศึกษาเลย เมื่อเขตการศึกษาระดับประถมที่มีรายไดเฉลี่ยรวมสูงที่สุดมี จํานวนนักเรียนใกลเคียงกับเขตการศึกษาระดับประถมที่มีรายไดเฉลี่ยรวมตํ่าที่สุด

94 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 10 ความสัมพันธระหวางจํานวนโรงเรียนและรายไดโดยเฉลี่ยใน ป 2556 ของแตละเขตประถมศึกษา

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

จากรูปที่ 10 แสดงถึงความสัมพันธระหวางจํานวนโรงเรียน และรายไดเฉลี่ย ตอหัวในป 2556 ของแตละเขตการศึกษาพบวา สพป.เขต 1 มีจาํ นวนโรงเรียนทีต่ าํ่ ทีส่ ดุ แตมีรายไดเฉลี่ยรวมสูงที่สุด รองมาก็คือ สพป.เขต 2 3 และ 4 แตรายไดเฉลี่ยรวมของ สพป. เขต 3 มากกวา 2 และ สพป. เขต 2 มากกวา 4 จากความสัมพันธดังกลาวไมได สามารถอธิบายอะไรไดมาก เมื่อสพป.เขต 1, 2 และ 3 มีรายไดเฉลี่ยรวมสูงกวาสพป. เขต 4 แตเฉพาะสพป.เขต 2 ที่มีจํานวนโรงเรียนมากกวา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 95


รูปที่ 11 ความสัมพันธระหวางจํานวนครูและรายไดโดยเฉลี่ยในป 2556 ของแตละเขตประถมศึกษา

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

จากรูปที่ 11 แสดงถึงความสัมพันธระหวางจํานวนครู และรายไดเฉลี่ยตอหัว ในป 2556 ของแตละเขตการศึกษาพบวา ความสัมพันธดงั กลาวเหมือนกับความสัมพันธ ระหวางจํานวนโรงเรียน และรายไดเฉลี่ยรวมในป 2556 จากรูปที่ 9 โดยสพป.เขต 1 ที่ มีรายไดสูงที่สุด มีจํานวนครูตํ่าที่สุดเชนเดิม มีความแตกตางตรงที่จํานวนครูของสพป. เขต 3 มีจํานวนครูมากกวาสพป.เขต 4 เพียงเทานั้น

96 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 12 ความสัมพันธระหวางจํานวนหองเรียนและรายไดโดยเฉลี่ยในป 2556 ของแตละเขตประถมศึกษา

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

จากรูปที่ 12 แสดงถึงความสัมพันธระหวางจํานวนหองเรียน และรายไดเฉลีย่ ตอหัวในป 2556 ของแตละเขตการศึกษาพบวา ความสัมพันธดังกลาวแทบไมมีความ แตกตางจากความสัมพันธระหวางรายไดเฉลี่ยรวม และจํานวนโรงเรียนกับจํานวนครู จากรูปที่ 9 และ 10 โดยที่สพป.เขต 1 มีจํานวนหองเรียนที่ตํ่าที่สุด แตมีรายไดสูงที่สุด รองมาเปนสพป.เขต 3 ที่มีรายไดตํ่าที่สุด และ สพป.เขต 2 และ 3 ตามลําดับ เมือ่ มองจากความสัมพันธระหวางรายไดตอ หัวของแตละเขตการศึกษากับราย ไดเฉลี่ยรวมที่ไมมีความสัมพันธกัน เนื่องจากจํานวนของหองเรียน ครู โรงเรียน และ หองเรียนของเขตการศึกษาระดับประถมเขตที่ 1 และ ที่ 4 มีจํานวนที่ใกลเคียงกันมาก ทัง้ ทีม่ รี ายไดตา งกันทีส่ ดุ จากสีเ่ ขตการศึกษา แสดงวาการปอนปริมาณทางการศึกษานัน้ อาจจะไมไดเปนตัวกําหนดการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของรายได อาจจะเปนที่ระบบการ ศึกษา หรือการบริหารจัดการทีท่ าํ ใหยงั เกิดความเหลือ่ มลํา้ ในรายไดของแตละอําเภอที่ อยูตางเขตการศึกษากัน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 97


3. ความเหลื่อมลํ้าดานสาธารณสุข การเขาถึงการบริการดานสาธารณสุขที่ดีและแพทยเพียงพอตอจํานวน ประชาชนอยางเหมาะถือวาเปนสิง่ สําคัญตอประชาชนในจังหวัด เนือ่ งจากจะชวยรักษา โรคตางๆ และอุบัติเหตุไดอยางทันทวงที ปจจุบันการเขาบริการในสถานพยาบาลและ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลของประชาชนนั้นอยางทั่วถึง ความเหลื่อมลํ้าดาน สาธารณสุขเกิดจากการเขาบริการใชสิทธิประกันสุขภาพถวนหนากับประกันสังคม เพราะวาในการรักษาพยาบาลในแตละครัง้ จะตองเสียคาใชจา ยจํานวนมากในแตละครัง้ เชน คาใชจายเพิ่มเติมในการรักษา คาใชจายในการเดินทาง และการบริโภค เปนตน การเขารับบริการจากสถานสถานพยาบาลจะมีสทิ ธิในการรักษาพยาบาลสวน ใหญ 2 ประเภท ไดแก 1. สิทธิประกันสุขภาพถวนหนา 2. สิทธิประกันสังคม โดยสิทธิ ประกันสังคมสุขภาพถวนหนาบุคคลที่สามารถไดรับสิทธินี้ อันเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 51 ระบุวา บุคคลมีสิทธิไดรับบริการ สาธารณสุขที่มีคุณภาพ มาตรฐาน อยางทั่วถึง เทาเทียม ผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษา ฟรีโดยไมเสียคาใชจา ย สวนสิทธิประกันสังคมบุคคลทีส่ ามารถไดรบั สิทธิตอ งเปนไปตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ซึง่ ในจังหวัดเชียงรายมีประชาชนทีไ่ ดรบั สิทธิการรักษาพยาบาลสวนใหญ 2 ประเภทดัง ตารางตอไปนี้ ตารางที่ 8 สิทธิในการรักษาพยาบาลในจังหวัดเชียงราย ตั้งแตป 2554-2556 หนวย: จํานวนประชากร

สิทธิในการรักษาพยาบาล สิทธิประกันสุขภาพถวนหนา

ป 2554

ป 2555

ป 2556

919,361

927,926

927,501

68,092

72,568

75,804

สิทธิประกันสังคม

ที่มา: สํานักบริหารงานทะเบียน สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (2556), สํานักบริหารสารสนเทศการประกัน สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (2556)

จากตารางที่ 8 เราจะเห็นไดวาสิทธิประกันสุขภาพถวนหนาที่ไดรับในพื้นที่ จังหวัดเชียงราย ในป 2554 มีจาํ นวนประชากร 919,361 คน ป 2555 มีจาํ นวนประชากร

98 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


927,926 คน และในป 2556 มีจํานวนประชากร 927,501 คน สวนสิทธิประกันสังคม มีจํานวนประชากร ป 2554 68,092 คน ป 2555 มีจํานวนประชากร 72,568 คน และ ในป 2556 มีจาํ นวนประชากร 75,804 คน ซึง่ ในการเปลีย่ นแปลงจํานวนของประชากร สิทธิในการรักษาพยาบาลดังกลาว อาจจะไมถงึ ความเหลือ่ มลํา้ ดานสาธารณสุขเนือ่ งจาก การเปลี่ยนแปลงของสิทธิประกันสุขภาพถวนหนาอาจเกิดจากการยายถิ่นฐานของ ประชากรในจังหวัดเชียงราย และประชากรเขาสูวัยทํางานแลวไดรับสิทธิประกันสังคม จึงทําใหจํานวนประชากรที่รับสิทธิประกันสังคมเพิ่มมากขึ้น การเขารับบริการสถานพยาบาลจากการใชสิทธิในการรักษาพยาบาลของ แตละสิทธินนั้ มีความแตกตางกันทําใหเกิดความเหลือ่ มดานสาธารณสุข โดยการรับสิทธิ ประกันสุขภาพถวนหนา ไมมีคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น แตสิทธิประกันสังคมจะตองมีการ สมทบเงินรายเดือน เพือ่ มาใชจา ยในการรักษาพยาบาลและหากตองการรักษาใหเหมือน กับสิทธิประกันสุขภาพถวนหนาจะตองจายคาบริการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึง เปนเหตุใหเกิดความเหลื่อมลํ้าดานสาธารณสุขขึ้น โดยสรุป จากความเหลือ่ มลํา้ ในการกระจายรายได การศึกษา และสาธารณสุข ทําใหเราเห็นวาถึงแมจะมีนโยบายลดความเหลือ่ มลํา้ ในประเทศ แตกย็ งั ไมสามารถขจัด ความเหลื่อมลํ้านี้ใหลดลงได ซึ่งความเหลื่อมลํ้าตางๆ ลวนเกิดจากความเหลื่อมลํ้าทาง รายไดเปนเหตุใหเกิดความเหลื่อมลํ้าดังกลาว โดยงานชิ้นนี้เปนเพียงสวนเล็กๆ ใน ประเทศไทย ซึ่งเราจะเห็นไดวาความเหลื่อมลํ้าลดนอยลง เนื่องจากมีการกระจายอํา นาจและการดําเนินนโยบายของจังหวัดเชียงรายคอนขางดี แตอยางไรก็ตามความเหลือ่ ม ลํา้ ของประเทศไทยก็ยงั เกิดขึน้ เรือ่ ยๆ และมีความเหลือ่ มลํา้ ทีเ่ กิดขึน้ มาในสังคมมากกวา 3 ประเด็นนี้ อีกทั้งประเด็นตางๆ อาจไมไดเกิดจากปจจัยทางดานรายได การศึกษา สาธารณสุข แตสิ่งที่ทําใหเกิดความ เหลื่อมลํ้าที่คอนขางรุนแรงก็คือ การใชความเปน มนุษยมาทําใหเกิดความเหลือ่ มลํา้ ในสังคม ซึง่ การศึกษานีเ้ ปนเพียงเบือ้ งตน หากตองการ ศึกษาเชิงลึกตอไปควรศึกษาดานโครงสรางทางสังคม มุมมองและทัศนคติของคนใน จังหวัดเชียงราย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 99


การติดตามสถานการณการลงทุนของจังหวัดเชียงราย ในระยะ 5 ป ที่ผานมา เขียนโดย พรพินันท ยี่รงค, สิทธิชาติ สมตา และณัฐพรพรรณ อุตมา

การลงทุนในจังหวัดเชียงรายจากอดีตจนถึงปจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงไปคอน ขางมาก ในอดีตประชาชนจังหวัดเชียงรายมีอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก ตอมาเมือ่ มีการ ใชนโยบายเปลี่ยนสนามรบใหเปนสนามการคาในป 2532 ทําใหจังหวัดเชียงรายไดรับ ความสนใจจากนักลงทุนทั้งในและตางประเทศ เนื่องมาจากจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ ชายแดนติดกับสาธารณรัฐแหงสหภาพพมาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งมีพื้นที่ติดกับชายแดนเพื่อนบานทั้งหมด 3 อําเภอ ไดแก อําเภอแมสาย อําเภอ เชียงแสน และอําเภอเชียงของ ผลจากนโยบายดังกลาวทําใหเกิดประตูเศรษฐกิจ (Gateway) ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานขึ้น สงผลใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจบริเวณ ชายแดนและเปนการสรางมูลคาเศรษฐกิจใหแกจงั หวัดเชียงรายดวยเชนกัน และทีส่ าํ คัญ รัฐบาลมีมติเห็นชอบใหอําเภอเชียงของจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีการสงเสริมการ ลงทุนไมวาจะเปนการสงเสริมในดานของสิทธิประโยชนทางภาษี สิทธิประโยชนที่มิใช ภาษี และมาตรการการลงทุนตางๆ ขึ้น จึงทําใหเชียงของเปนพื้นที่ที่มีความนาสนใจใน การลงทุน เมื่อเกิดการคาชายแดนสิ่งที่ตามมาก็คือ การนําเขา-สงออกสินคาระหวาง ประเทศ ถือวาเปนสิง่ ทีส่ าํ คัญตอระบบเศรษฐกิจเปนอยางมาก ปจจุบนั จังหวัดเชียงราย ไดมกี ารเปดใชสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแหงที่ 4 ซึง่ ถือวาเปนยุทธศาสตรสาํ คัญกับการ ลงทุน เนื่องจากสะพานแหงนี้มีการเชื่อมตอกันกับเสนทางสาย R3A ซึ่งเสนทางนี้เชื่อม จากประเทศไทย (อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เขาบานหวยทราย แขวงบอแกว (สปป. ลาว) เขาสูส บิ สองปนนา เชียงรุง คุนหมิง (สาธารณรัฐประชาชนจีน) มีระยะเวลา ในการเดินทางระหวาง 3 ประเทศในเวลาที่รวดเร็ว และมีผลดีตอการประกอบธุรกิจ ทางดานขนสงสินคาและการทองเทีย่ วระหวางประเทศทีส่ มบูรณแบบทีส่ ดุ เสนทางหนึง่ รวมทั้งการเชื่อมตอประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความรวมมือระเบียง เศรษฐกิจอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS) และความรวมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการ และเศรษฐกิจ (BIMSTEC) เขาดวยกัน จึงถือวาเสนทางดังกลาวเปนเสนทางเศรษฐกิจ

100 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


สายสําคัญอยางแทจริง และทําใหจงั หวัดเชียงรายสามารถดึงดูดเม็ดเงินจากตางประเทศ ใหเขามาลงทุนในจังหวัดไดเปนอยางมาก จากความพรอมในเรื่องของยุทธศาสตรเชิง ภูมิศาสตร โครงสรางพื้นฐาน และระบบสาธารณูปโภคที่อํานวยความสะดวกในการ รองรับการลงทุน จึงทําใหเกิดการลงทุนในเรื่องอุตสาหกรรมการเกษตรครบวงจร อุตสาหกรรมทั่วไป การขนสง และภาคบริการการทองเที่ยว อีกทั้งจังหวัดเชียงรายมี บทบาทในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและการเปนศูนยกลางการคาชายแดน ของประเทศไทยดวย

สถานการณการลงทุนในระยะ 5 ปที่ผานมา โครงสรางทางเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดเชียงรายประกอบดวยภาค การเกษตร อุตสาหกรรม และภาคบริการเปนหลัก ประชาชนในจังหวัดเชียงรายประกอบ อาชีพดานการเกษตรคอนขางมากและเปนฐานเศรษฐกิจของประเทศ รองลงมาคือภาค อุตสาหกรรม ซึง่ มีอตั ราการเติบโตของการลงทุนคอนขางสูง ทัง้ การลงทุนจากในประเทศ และตางประเทศ เพราะจังหวัดเชียงรายไดมีการขยายตัวทางการคาชายแดนระหวาง ประเทศเพื่อนบาน ไมวาจะเปนการคาชายแดนบริเวณอําเภอแมสาย เชียงแสน และ เชียงของ จึงทําใหนักลงทุนมีความสนใจเขามาลงทุนในจังหวัดเชียงราย ไมวาจะเปน อุตสาหกรรมในภาคการเกษตร การขนสงสินคา คลังสินคา และภาคบริการ ซึ่งเปนสิ่ง ที่ทําใหจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตทางเศรษฐกิจขึ้นเรื่อยๆ สามารถพิจารณาไดจาก ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย (Gross provincial product : GPP) โดยเฉพาะใน ป 2556 โครงสรางเศรษฐกิจของจังหวัดมีมูลคา GPP เทากับ 81,263 ลานบาท อัตรา ผลิตภัณฑมวลรวมเฉลี่ยรอยละ 3.26 จากการเติบโตของเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย เมื่อพิจารณาจากมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในแตละป แมวาในป 2552 การเติบโตของ เศรษฐกิจไดมีการหยุดซะงักลงหรือมีมูลคา GPP ที่ลดลง ในอัตราผลิตภัณฑมวลรวม เฉลี่ยรอยละ -1.28 โดยมีสาเหตุมาจาก (1) การเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกที่มีผลกระทบ ตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย (2) ความไมมเี สถียรภาพทางการเมืองทีส่ ง ผลใหเศรษฐกิจไทยมีความผันผวน และกระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุน (3) ราคา นํา้ มันเชือ้ เพลิงทีป่ รับราคาสูงขึน้ อยางตอเนือ่ งทําใหประชาชนตองปรับเปลีย่ นพฤติกรรม และระมัดระวังการใชจาย และ (4) การแทรกแซงตลาดทางการเกษตรจากภาครัฐใน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 101


การออกมาตรการรับประกันราคาหรือการรับจํานําสินคาทางการเกษตร ไดแก ขาว ขาวโพด ชา กาแฟ และมันสําปะหลัง เปนตน รูปที่ 1 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายในป 2547 – 2556 (หนวย: ลานบาท)

ที่มา : จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556)

การเติบโตของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายทีเ่ พิม่ ขึน้ มักมาพรอม กับการลงทุนอยางมหาศาลในจังหวัดเชียงราย และคาดวาในป 2557 มูลคาผลิตภัณฑ มวลรวมของจังหวัดเชียงรายจะมีมูลคาที่เพิ่มขึ้นอีกมาก เนื่องจากจังหวัดเชียงรายไดมี การเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 จึงทําใหมกี ารขยายการลงทุนเปนจํานวน มากในจังหวัดเชียงราย ไมวา จะเปนในดานของการขนสงและโลจิสติกส ภาคบริการการ ทองเทีย่ ว การกระจายสินคา และภาคอุตสาหกรรม ตารางที่ 1 ชีใ้ หเห็นวา เมือ่ ผลิตภัณฑ มวลรวมจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่ตามมาก็คือมูลคาการลงทุนที่ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ทําใหผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นเชน เดียวกัน ตั้งแตป 2551 – 2555 มูลคาการลงทุนเพิ่มในมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในป 2555 มูลคาการลงทุนมีการกาวกระโดดจากในป 2554 มีมูลคาการลงทุนเปลี่ยนแปลง จาก 765 ลานบาท เปน 1,049 ลานบาท ในป 2555 และคาดวาในป 2556 – 2557 จะมีการมูลคาการลงทุนที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากวาจังหวัดเชียงรายไดมียุทธศาสตรใน

102 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การรองรับการลงทุนทั้งในและตางประเทศ อีกทั้งการคาชายแดนในชวงนี้ไดรับความ สนใจจากนักลงทุนเปนอยางมาก โดยเฉพาะในอําเภอเชียงของไดมีการจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษ ตารางที่ 1 มูลคาการลงทุนในจังหวัดเชียงรายในป 2551 – 2555 (หนวย : บาท)

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

หากนํามูลคาการลงทุนมาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย ในชวงของป 2552 – 2554 (รูปที่ 2) พบวา การลงทุนในจังหวัดเชียงรายมีการเคลือ่ นไหว ที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ในป 2552 มีคาเปนลบ เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจซบเซา เศรษฐกิจหดตัว ผลิตภัณฑมวลรวมลดลง ทําใหเกิด การวางงานของประชากร ขณะทีใ่ นป 2553 มีคา เปนบวก แสดงถึงสภาวะเศรษฐกิจเริม่ ฟน ตัวดีขนึ้ สงผลใหในป 2554 มีอตั ราการเติบโตทีม่ ากขึน้ ไปดวย โดยสรุป ความสัมพันธ ระหวางการเติบโตของการลงทุนและการเติบโตของ GPP สวนมากจะออกมาใหรปู แบบ การเคลื่อนไหวขึ้นลงตามสภาวะเศรษฐกิจทั้งในและตางประเทศ คาดวาในป 2555 – 2556 นีส้ ามารถทีจ่ ะเพิม่ สูงขึน้ ไดอกี เนือ่ งจากในป 2555 มีมลู คาการลงทุนสูงถึง 1,049 ลานบาท เลยทีเดียว ประกอบกับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในป 2556 ก็มีมูลคามากขึ้น ดวยเชนกัน ดังนัน้ คาดวาในชวงของป 2556 – 2557 ความสัมพันธดงั กลาวจะยังคงเพิม่ ขึน้ อีกตามสภาวะเศรษฐกิจทีม่ แี นวโนมดีขนึ้ เรือ่ ยๆ จังหวัดเชียงรายจึงเปนแหลงทีเ่ หมาะ กับการลงทุนและการเปนศูนยกลางการคาชายแดนของประเทศเปนอยางมาก

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 103


รูปที่ 2 การเปรียบเทียบมูลคาการลงทุนกับผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย ในป 2552 - 2554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

อยางไรก็ตาม หากพิจารณาแนวโนนการลงทุนจากการเติบโตของผลิตภัณฑ มวลรวมรายสาขาการผลิตของจังหวัดเชียงราย (ตารางที่ 2) พบวา มูลคาการผลิตการ ลงทุนในจังหวัดเชียงรายในภาคของการเกษตรระหวางป 2547 – 2552 ไดมกี ารผันผวน อยางมาก ขณะทีก่ ารเติบโตทางการผลิตและการลงทุนในป 2553 และ ป 2554 มีอตั รา การเติบโตเฉลี่ยที่ใกลเคียงกัน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับการเติบโตของมูลคาการผลิต การลงทุนนอกภาคการเกษตร จะเห็นไดวานอกภาคการเกษตรมีการเติบโตที่รวดเร็ว หลังจากป 2550 เปนตนมา และเปนการเติบโตที่สูงกวาในภาคการเกษตร สวนใหญ เปนการเติบโตในภาคการขนสง ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการการทองเทีย่ ว การคาปลีก คาสง และสถาบันทางการเงิน นอกจากนี้ รูปที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเติบโต ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย ในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร จะ เห็นไดวา ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายนอกภาคการเกษตรมีการเติบโตมากกวาใน ภาคการเกษตร แตเนื่องจากการขาดขอมูลเชิงสถิติ ทําใหไมสามารถวิเคราะหความ สัมพันธระหวางมูลคาการลงทุนวามีความสอดคลองการการเติบโตผลิตภัณฑมวลรวม จังหวัดเชียงรายหรือไม หากพิจารณาความสัมพันธระหวางแนวโนมการลงทุนนอกภาค

104 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การเกษตรกับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย (รูปที่ 4) พบวา ในป 2554 มูลคา การลงทุนลดลงถึงรอยละ 98 (เมื่อเทียบกับป 2552 กับ 2553 ที่มีมูลคาการลงทุนรอย ละ 257 และ 270 ตามลําดับ) ขณะที่มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมนอกภาคการเกษตรในป 2554 กลับมีมูลคาที่สูงขึ้น อาจเปนไปไดวาประสิทธิผลจากการลงทุนในปนั้นๆ อาจจะ แสดงผลตอบแทนในปถัดๆ ไป แตการวิเคราะหดังกลาวยังขาดขอมูลเชิงลึก ทําใหไม สามารถทราบไดวาการเติบโตของนอกภาคการเกษตรนั้นเปนการเติบโตของสาขาการ ผลิตสาขาใดและมูลคาการลงทุนนั้นไดลงทุนสาขาใดมากที่สุด ตารางที่ 2 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย แยกตามรายป และสาขาการผลิต พ.ศ. 2546-2554

(หนวย : ลานบาท)

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 105


รูปที่ 3 การเปรียบเทียบอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวม จังหวัดเชียงรายในป 2547- 2554

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

รูปที่ 4 ผลิตภัณฑมวลรวมนอกภาคการเกษตรกับ มูลคาการลงทุนในป 2552 – 2554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

106 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ภาคอุตสาหกรรม การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงรายสวนใหญมาจากอุตสาหกรรม การเกษตร การแปรรูปอาหาร และอุตสาหกรรมหนักอยางโลหะ กึ่งโลหะ เปนตน โดย อุตสาหกรรมการเกษตรมีมลู คาการลงทุนสูงทีส่ ดุ รองลงมาคือ อุตสาหกรรมการแปรรูป และอุตสาหกรรมหนัก เนื่องจากจังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่มีการเกษตรเปนสําคัญ ดังนั้นผลผลิตทางสินคาการเกษตรจึงมีปริมาณและมูลคามาก รูปที่ 5 แสดงใหเห็นวา ในป 2553 เชียงรายมีมูลคาการผลิตในภาคอุตสาหกรรมลดลงเมื่อเทียบกับป 2552 เนื่องจากผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกตํ่า ทําใหนักลงทุนไมมั่นใจในการลงทุน อยางไรก็ตาม ในป 2554 มีมูลคาการลงทุนเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจเริ่มดี ขึ้น ทําใหนักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้นดวย พรอมทั้งเศรษฐกิจการคาชายแดนเริ่มมี การตื่นตัวมากขึ้น จึงสามารถดึงดูดนักลงทุนเขามาลงทุนไดเปนอยางมาก และคาดวา ในปตอๆ ไป การลงทุนจะเพิ่มขึ้นมากขึ้นอีกดวย รูปที่ 5 ผลิตภัณฑมวลรวมสาขาอุตสาหกรรมกับมูลคาการลงทุนของจังหวัด เชียงรายในป 2552 – 2554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 107


การคาปลีกคาสง การคาปลีกคาสงเปนธุรกิจอีกหนึ่งประเภทที่นาสนใจเปนอยางมากในการ ลงทุน เนื่องจากจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตทางเศรษฐกิจคอนขางสูง เมื่อเศรษฐกิจ เติบโตมาก ประชาชนมีรายไดมากขึน้ มีอาํ นาจในการซือ้ มากขึน้ ความตองการซือ้ ก็มาก ขึ้นดวยเชนกัน นอกจากนี้ การคาปลีกคาสงยังสามารถสรางอาชีพใหมๆ ใหเกิดขึ้นแก คนที่ยังไมประกอบอาชีพ จึงไมนาแปลกใจมากนักกับการเติบโตของการคาปลีกคาสง เมื่อเทียบกับมูลคาการลงทุน รูปที่ 6 แสดงใหเห็นวา มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของการ คาปลีกคาสงในป 2554 มีการเติบโตมากอยูที่รอยละ 59 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2552 และ ป 2553 และคาดวาในป 2555 – 2557 การคาปลีกคาสงจะมีมลู คามากขึน้ ดวย เนือ่ งจาก การขยายตัวของประชากรและการเคลื่อนยายประชากรเขามาในจังหวัดเชียงราย ที่มี ทัง้ ผูบ ริโภคคนไทยและผูบ ริโภคชาวตางชาติและแรงงานตางดาวจํานวนมาก ดังนัน้ การ คาปลีกคาสงจึงเปนธุรกิจที่นาสนใจในการเขามาลงทุนในจังหวัดเชียงราย รูปที่ 6 ผลิตภัณฑมวลรวมสาขาการคาปลีกคาสงกับมูลคาการลงทุน ของจังหวัดเชียงรายในป 2552 – 25554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

108 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การขนสงและโลจิสติกส จากความไดเปรียบของจังหวัดเชียงรายทีม่ พี นื้ ทีต่ ดิ กับประเทศเพือ่ นบาน และ มีเสนทางการคาที่สําคัญสําหรับการขนสงสินคาระหวางประเทศไทยบาน ไมวาจะเปน เสนทางบกตามถนนสาย R3A ที่เชื่อมตอ สปป.ลาวเขาสูตอนใตของจีน และ ถนนสาย R3B ทีเ่ ชือ่ มตอประเทศพมาเขาสูต อนใตของจีน และเสนทางนํา้ ทีเ่ ชือ่ มตอประเทศไทย และจีนตอนใตโดยตรง จึงทําใหกจิ กรรมการขนสงและกิจกรรมอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วของในจังหวัด เชียงรายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้จังหวัดเชียงรายไดมีการกําหนดยุทธศาสตร ภายใตแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย โดยใหอําเภอเชียงของเปนศูนยกลาง เมืองโลจิสติกสและการบริการขนสง (Logistics City) ภาคการขนสงและโลจิสติกสของ จังหวัดเชียงรายจึงมีแนวโนมการเติบโตที่มากขึ้น ในป 2554 มีอัตราการเติบโตรอยละ 47 เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่มีการเติบโตรอยละ 12 (รูปที่ 7) จะเห็นไดวาภาคการขนสง และโลจิสติกสของเชียงรายอยูในชวงการลงทุนแบบกาวกระโดด และคาดวาในปตอๆ ไป มูลคาการลงทุนในภาคของการขนสงและโลจิสติกสจะยิ่งมีมูลคาที่เพิ่มมากขึ้นไป พรอมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย รูปที่ 7 ผลิตภัณฑมวลรวมสาขาการขนสงกับมูลคาการลงทุนของ จังหวัดเชียงรายในป 2552 – 25554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 109


สถาบันทางการเงิน ระยะทีผ่ า นมา จังหวัดเชียงรายมีมลู คาของการลงทุนจากในประเทศและตาง ประเทศเปนจํานวนมาก สิ่งที่ตามมาพรอมการลงทุนคือความพรอมใหบริการของ สถาบันทางการเงิน เนื่องจากกิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมทางการเงินเปนกิจกรรม ที่มักจะเกิดขึ้นพรอมๆกัน ไมวาจะเปนโอนเงินระหวางประเทศ การฝาก/ถอนเงิน และ การกูยืมเงิน ซึ่งเปนสิ่งสําคัญเปนอยางมากสําหรับการลงทุนในจังหวัดที่มีการพัฒนา เศรษฐกิจทีเ่ ติบโตอยางรวดเร็ว เชนจังหวัดเชียงราย จากรูปที่ 8 จะเห็นไดวา ในป 2553 มีมูลคาผลิตภัณฑรวมสาขาการเงินมีอัตราการเติบโตรอยละ 13 เมื่อเปรียบเทียบกับ มูลคาการลงทุนในปดงั กลาวทีม่ อี ตั ราการเติบโตรอยละ 270.02 แมวา ในป 2554 มูลคา ผลิตภัณฑรวมสาขาการเงินและมูลคาการลงทุนมีการเติบโตทีล่ ดลงก็ตาม แตคาดวาใน ปตอๆไป สถาบันทางการเงินจะมีการเติบโตมากขึ้น เพื่อรองรับการลงทุนจากชาวตาง ชาติเนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย แมวา โครงสรางทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายทีก่ าํ ลังเติบโตนัน้ จะเปนตัว ชีว้ ดั ทีส่ าํ คัญทีใ่ ชในการตัดสินใจในการลงทุนของนักลงทุนทัง้ ในประเทศและตางประเทศ แตอาจไมเพียงพอตอการตัดสินใจในการลงทุนอยางแทจริง การเขามาลงทุนในจังหวัด เชียงรายสิง่ ทีส่ าํ คัญทีค่ วรคํานึงถึงดวย คือการศึกษาความเปนมาของการเติบโตในแตละ สาขาการผลิตในจังหวัดเชียงรายวาไดมกี ารเติบโตอยางไรบาง และการลงทุนควรจะเปน ไปในทิศทางใด จากสถิตมิ ลู คาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายจําแนกตามสาขาการ ผลิต (ตารางที่ 2) แสดงใหเห็นวา

110 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 8 ผลิตภัณฑมวลรวมสาขาการเงินกับมูลคาการลงทุนของ จังหวัดเชียงรายในป 2552 – 25554

ที่มา : จากการคํานวณ, ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

ภาคการเกษตรมีการเติบโตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2554 มีมูลคา 25,436 ลานบาท คิดเปนรอยละ 36 และนอกเหนือจากภาคการเกษตร มีมูลคา 44,471 ลาน บาท คิดเปนรอยละ 63 ซึ่งมีมูลคาเพิ่มขึ้นจากป 2553 ภาคการเกษตร มีมูลคา 21,893 ลานบาท คิดเปนรอยละ 37 และภาคนอกการเกษตร มีมลู คา 36,582 ลานบาท คิดเปน รอยละ 62 จากมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายจําแนกตามสาขาการผลิตนั้น ที่มีมูลคาเพิ่มมากขึ้นในภาคการเกษตรนั้น ถือไดวาเปนภาคการลงทุนที่นาสนใจ เนื่องจากวาจังหวัดเชียงรายผลผลิตทางการเกษตรคอนขางมาก หากเลือกที่จะลงทุน ภาคการเกษตรถือวาเปนภาคการลงทุนที่นาสนใจ อยางไรก็ตามเพียงมูลคาไมสามารถ ทีท่ าํ ใหเกิดความเชือ่ มัน่ ไดเสมอไป ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ะทําใหความเชือ่ มัน่ แกนกั ลงทุนทีจ่ ะเขา ลงทุนในจังหวัดเชียงราย ไดแก สัดสวนของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายจําแนก ตามสาขาการผลิต และการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายจําแนกตาม สาขาการผลิต ในภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ และการคาปลีกคาสง ดังนี้

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 111


1. ภาคการเกษตร

การผลิตภาคการเกษตรของจังหวัดเชียงราย ประกอบดวย 2 ประเภท ไดแก (1) การเกษตรกรรม การลาสัตว และปาไม และ (2) การประมง โดยผลผลิตของสาขา เกษตรกรรมนี้ มีมูลคาการเติบโตที่มากขึ้นตามลําดับ (ตารางที่ 3) เนื่องจากจังหวัด เชียงรายเปนจังหวัดเกษตรกรรมมีประชากรและเนื้อที่ในการประกอบอาชีพคอนขาง มาก จึงไมนาแปลกใจมากนักกับการเพิ่มขึ้นของการเติบโตทางการเกษตรของจังหวัด ผลผลิตสินคาเกษตรที่สําคัญของจังหวัดเชียงราย ไดแก ขาว ขาวโพด มันสําปะหลัง ชา กาแฟ ลําไย ลิ้นจี่ ถั่วเหลือง ยางพารา ฯลฯ สามารถสรางรายไดใหแกจังหวัดจํานวน มาก หากตองการเพิ่มการลงทุนในจังหวัดเชียงรายนี้ ภาคการเกษตรหรืออุตสาหกรรม การเกษตรเปนภาคการลงทุนทีน่ า สนใจมากกับประเทศทีม่ กี ารเกษตรกรรมเปนพืน้ ฐาน หลัก ตารางที่ 3 การเติบโตของภาคการเกษตรในป 2546 – 2554

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2. การคาปลีกคาสง

ปจจุบัน การคาปลีกคาสงถือวาเปนธุรกิจที่ใหบริการเพื่อกระจายสินคาใหถึง มือผูบ ริโภคทัว่ ประเทศ และเปนธุรกิจทีส่ าํ คัญกับการเติบโตทางเศรษฐกิจอีกดวย จังหวัด เชียงรายมีการเติบโตของธุรกิจการคาปลีกคาสงที่เพิ่มขึ้น ในป 2553 มีการเติบโตรอย ละ 7 และเพิม่ ขึน้ เปนรอยละ 9 ในป 2554 (ตารางที่ 4) ธุรกิจการคาปลีกคาสงในจังหวัด

112 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ที่เพิ่มขึ้นนี้เปนผลมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัด และเพื่อตอบสนอง ความตองการบริโภคของประชากรในจังหวัด ปจจุบันธุรกิจการคาปลีกคาสงมีรูปแบบ ทีท่ นั สมัยมากขึน้ อาทิ หางสรรพสินคา ศูนยการคาหรือธุรกิจขามชาติทเี่ ขามาลงทุนรูป แบบตางกัน ไมวาจะเปน Discount Store Super Store Convenient Store ที่เปด ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งตางจากเดิมที่ธุรกิจคาปลีกเปนธุรกิจที่มีขนาดเล็ก ไดแก หาบเร แผงลอย หรือรานขายของชําทีเ่ รียกวา โชหวย อยางไรก็ตามการเติบโตของการคาปลีก/ คาสงยังสามารถสรางอาชีพใหมใหกับประชากรในพื้นที่มากขึ้นกระจายโอกาสการ บริโภคใหเทาเทียมกันระหวางผูท อี่ าศัยอยูใ นเมืองและชนบท และชวยสงเสริมเศรษฐกิจ และดึงดูดใหเขามาลงทุนในภาคการคาปลีกคาสงอีกดวย ตารางที่ 4 อัตราการเติบโตของภาคการคาปลีกคาสงในป 2546 – 2554

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

3. ภาคการบริการ

จังหวัดเชียงรายตัง้ อยูเ หนือสุดของประเทศไทยแนวชายแดนติดตอกับประเทศ เพื่อนบาน ปจจุบันจังหวัดเชียงรายเปนเมืองศูนยกลางเศรษฐกิจการคาและการทอง เที่ยว และไดมีการปรับปรุงเสนทางคมนาคมจากเชียงรายสูประเทศเพื่อนบาน ทั้งทาง บก ทางเรือ และทางอากาศ ทําใหเกิดการสรางรายไดแกจังหวัดเชียงราย จากการเขา มาของนักทองเทีย่ วและนักลงทุน และการพัฒนาเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตขึน้ ตามลําดับ (ตาราง ที่ 5) และเปนภาคเศรษฐกิจหนึ่งที่มีความนาสนใจที่จะลงทุนเปนอยางมาก

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 113


ตารางที่ 5 การเติบโตของภาคการบริการ

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

สาขาโรงแรมและภัตตาคารมีอตั ราการเติบโตของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมสูง ขึน้ มาตามลําดับนับแตป 2546 โดยในป 2553 มีมลู คา 606 ลานบาท หรือมีอตั ราเติบโต รอยละ 1.04 ขณะที่ในป 2554 มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นเปน 829 ลานบาท อัตราการเติบโต รอยละ 1.19 เนื่องจากจังหวัดเชียงรายเปนแหลงทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมตลอดทุก ฤดูกาล ไมวาจะเปนการทองเที่ยวในรูปแบบการชื่นชมและสัมผัสภูเขา ศิลปวัฒนธรรม ลานนา อาหาร การเปนอยู วิถีชีวิตที่เรียบงาย จึงสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวทั้งในและ ตางประเทศไดเปนอยางดี สาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคา และการคมนาคม มีการเติบโตของมูลคา ผลิตภัณฑมวลรวมที่คอนขางผันผวนไปตามภาวะเศรษฐกิจ เมื่อเศรษฐกิจซบเซาการ

114 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บริโภคอุปโภคลดนอยลง จึงเปนผลใหมูลคาการเติบโตมีการผันผวนในชวงป 2549 – 2552 แตอยางไรก็ตามในป 2553 – 2554 มีอัตราการเติบโตเริ่มสูงขึ้น โดยในป 2553 มีมูลคา 2,283 ลานบาท เติบโตรอยละ 3.91 และในป 2554 มีมูลคา 3,372 ลานบาท เติบโตรอยละ 4.89 เนื่องจากการคาชายแดนเริ่มมีความสนใจมากขึ้นจากนักลงทุน พรอมทัง้ ในปจจุบนั จังหวัดเชียงรายไดมยี ทุ ธศาสตรการคาชายแดนใหมเกิดขึน้ จากการ เปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 จึงจะมีการขนสงสินคาระหวางประเทศที่ รวดเร็ว สะดวกมากยิ่งขึ้น อาจกลาวไดวาสาขาการขนสง สถานที่เก็บสินคา และการ คมนาคม เปนภาคธุรกิจทีน่ า ลงทุนอยางมาก โดยเฉพาะธุรกิจโลจิสติกส คลังสินคา และ กระจายสินคา สาขาบริการอสังหาริมทรัพย เปนสาขาหนึ่งที่นาสนใจในการลงทุนเปนอยาง มากในจังหวัดเชียงราย โดยในป 2553 มีมลู คาผลิตภัณฑมวลรวม 5,916 ลานบาท หรือ มีอัตราการเติบโตรอยละ 10.13 และมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมเพิ่มเปน 7,291 ลาน บาท หรือเติบโตรอยละ 10.43 ในป 2554 สืบเนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงรายอยางตอเนือ่ ง ทําใหเกิดการเคลือ่ นยายคนจากพืน้ ทีอ่ นื่ ๆเขามาในจังหวัด เชียงราย เมือ่ จํานวนประชากรมากขึน้ พืน้ ทีท่ อี่ ยูอ าศัยก็ตอ งมีการขยายเพือ่ รับรองการ เติบโตของเมือง ดังนั้นจะเห็นไดทั่วไปในเมืองที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจการคือ การ ซือ้ ขายทีด่ นิ การกอสรางอาคาร เชน คอนโดมิเนียม บานจัดสรร และทาวนเฮาส เปนตน

4. ภาคอุตสาหกรรม

ในป 2555 จังหวัดเชียงราย มีโรงงานทีข่ นึ้ ทะเบียนกับสํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงราย รวมทั้งสิ้น 940 โรงงาน เงินลงทุนรวม 12,106 ลานบาท มีแรงงาน ทั้งหมด 14,771 คน (ตารางที่ 6) แรงงานทั้งหมดสวนใหญจะถูกจางแรงงานในภาค อุตสาหกรรมการเกษตร รองลงมาคือ อุตสาหกรรมอโลหะ และอุตสาหกรรมอาหาร แต อยางไรก็ตามการเติบโตของอุตสาหกรรมเหลานี้จะยังไมหยุดนิ่ง โอกาสของการเขามา ลงทุนในดานอุตสาหกรรมยังมีอยูม าก การเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายและ การมียุทธศาสตรพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดเชียงรายที่ติดกับประเทศเพื่อนบานจะชวย ดึงดูดการเขามาของเม็ดเงินในภาคอุตสาหกรรม

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 115


ตารางที่ 6 สถิติจํานวนโรงงานในจังหวัดเชียงรายในป 2552 – 2555

ที่มา : สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย

แนวโนมการลงทุนในจังหวัดเชียงราย การลงทุนในจังหวัดเชียงรายมักมีการเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศและของโลก โดยมีปจ จัยสําคัญๆทีม่ ากําหนดแนวโนมการเปลีย่ นแปลงการ ลงทุนดังนี้

1. ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย (Gross provincial product : GPP) โดยทัว่ ไป มูลคาและอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมมักถูกใชเปนดัชนี ชีว้ ดั และคาดการณแนวโนมการลงทุน หากผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดเชียงรายมีแนว โนมเพิม่ สูงขึน้ ก็สามารถคาดการณเบือ้ งตนไดวา แนวโนมการลงทุนก็จะมีมลู คาสูงขึน้ เชน เดียวกัน จากการคํานวณทางสถิติ พบวา อัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมตอปของผลิตภัณฑ มวลรวมจังหวัดเชียงรายในชวง 10 ปที่ผานมา (GPP Compound Growth Rate :10 years Change) มีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 7.53 (โดยทั่วไปอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมตอป สวนมากจะมีคาเฉลี่ยอยูที่รอยละ 0 – 3) ซึ่งเปนดัชนีชี้วัดการเติบโตทางเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงรายที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงมากนอยเพียงใดแลว และยังทําใหเห็นวา ถึงแมจงั หวัดเชียงรายจะไดรบั ผลกระทบจากการผันผวนทางเศรษฐกิจ แตการเติบโตยัง ไมหยุดนิ่ง จึงเปนตัวชี้วัดความเชื่อมั่นที่ดีใหแกนักลงทุนในการเขามาลงทุน

116 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 9 อัตราการเติบโตเฉลี่ยผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงรายในป 2547 2556

ที่มา : จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

เมื่อปลายป 2552 สภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่มดีขึ้น พรอมทั้งนักลงทุนมีความ เชื่อมั่นการลงทุนในประเทศไทยจึงทําใหในป 2553 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด กระโดดขึ้นมากกวาในป 2552 คิดเปนรอยละ 13.46 และแมวาในป 2556 อัตราเฉลี่ย ผลิตภัณฑมวลรวมมีอัตราที่นอยลง แตก็ลดลงเพียงรอยละ 3.26 ในขณะที่ผลิตภัณฑ มวลรวมกลับมีมูลคาที่เพิ่มขึ้น (รูปที่ 9) อยางไรก็ตามในป 2557 คาดวาปริมาณการ ลงทุนในจังหวัดเชียงรายจะมีมูลคาที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการเปดใชสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แหงที่ 4 พรอมทั้งการไดรับอนุมัติโครงการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ ซึง่ ทําใหการคาชายแดนมีความคึกคักและดึงดูดนักลงทุนเขามาในจังหวัดเชียงรายไมวา จะเปนในภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การขนสง การกระจายสินคา และภาคบริการ การทองเที่ยว

2. รายไดตอหัวของประชากร

จากรูปที่ 10 แสดงใหเห็นถึง รายไดเฉลี่ยตอหัว (per capita GPP) ของ ประชากรจังหวัดเชียงรายทีม่ เี พิม่ สูงขึน้ เมือ่ มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัด เชียงรายที่เพิ่มขึ้น สงผลใหประชากรมีความกินดีอยูดีเพิ่มมากขึ้นดวย ในป 2556 ราย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 117


ไดเฉลี่ยตอหัว เทากับ 63,338 บาท ซึ่งมีรายไดตอหัวที่เพิ่มขึ้นจากป 2547 อยางมาก แมวา ในป 2552 อัตรารายไดเฉลีย่ ตอหัวของคนเชียงรายลดลงเหลือเพียง 49,675 บาท เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจมีการชะลอตัว รูปที่ 10 รายไดเฉลี่ยตอหัวของประชาชนในจังหวัดเชียงราย ในป 2547 - 2556

ที่มา : จากการคํานวณ, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ

รูปที่ 11 การเปรียบเทียบมูลคาการลงทุนของประชากรและรายไดตอหัวของ ประชากรในจังหวัดเชียงราย

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ, ธนาคารออมสิน

118 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


นอกจากนี้ รูปที่ 11 แสดงใหเห็นวา รายไดตอหัวของประชากรนั้นมีความ สัมพันธไปในทิศทางเดียวกับการเติบโตของมูลคาการลงทุนตอประชากร ในป 2554 มูลคาการลงทุนตอประชากรมีสัดสวนที่ลดลงจากปที่ผานมา สงผลใหรายไดตอหัวมี สัดสวนที่ลดลงเชนเดียวกัน ตอมาป 2555 มูลคาการลงทุนตอประชากรมีสัดสวนที่เพิ่ม สูงขึน้ รอยละ 36 รายไดตอ หัวของจังหวัดเชียงรายก็มสี ดั สวนทีเ่ พิม่ ขึน้ เชนเดียวกัน คาด วาในป 2556 – 2557 รายไดตอหัวของจังหวัดเชียงรายจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามแนว โนมการเพิ่มขึ้นของมูลคาการลงทุนในจังหวัดเชียงราย

3. จํานวนประชากร

แมวาภาวะเศรษฐกิจของประเทศจะมีความผันผวนในชวงของป 2552 แต การลงทุนในจังหวัดเชียงรายก็ยงั คงมีอยางตอเนือ่ ง ปจจัยสําคัญประการหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิด การลงทุนนั้น ไดแก คุณภาพและจํานวนของประชากรในจังหวัดเชียงราย จากรูปที่ 12 จะเห็นไดวา ประชากรในจังหวัดเชียงรายมีอัตราที่เพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะใน ป 2555 – 2556 เปนชวงระยะเวลาที่เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายกําลังเติบโตขึ้น เรื่อยๆ จากการคาชายแดนระหวางประเทศเพื่อนบาน ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหมีแรงงาน จากตางถิ่นหลั่งไหลเขามาทํางานในจังหวัดเชียงราย และ คาดวาในป 2557 จํานวน ประชากรที่จะเขามาในจังหวัดเชียงรายจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อตอบสนองความ ตองการทางเศรษฐกิจทีม่ กี ารเติบโตอยางไมจาํ กัดในพืน้ ที่ จํานวนประชากรถือไดวา เปน ฐานสําคัญตอระบบเศรษฐกิจเปนอยางมากในการพัฒนาทิศทางของเศรษฐกิจ เมื่อ จํานวนประชากรมากขึน้ จํานวนแรงงานก็เพิม่ มากขึน้ ดวยเชนเดียวกัน และประชากรที่ เขามาสูจังหวัดเชียงรายทั้งคนในพื้นที่และนอกพื้นที่นั้นลวนมีประสิทธิภาพที่จะขับ เคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดใหกาวหนาไปขางหนา นอกจากนี้ทางจังหวัดเชียงรายไดมี แผนการสงเสริมการพัฒนาศักยภาพมนุษย คาดวาแรงงานที่เขาสูอุตสาหกรรมใดๆ จะ เปนแรงงานทีม่ คี ณ ุ ภาพและสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมของนักลงทุนและเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงรายไดอยางเขมแข็ง จังหวัดเชียงรายจึงถือไดวา เปนพืน้ ทีท่ นี่ า สนใจเปนอยาง มากในการเขาไปลงทุน เนือ่ งจากความไดเปรียบยุทธศาสตรเชิงพืน้ ที่ เชิงทรัพยากรการ ผลิต และการมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายเพือ่ ใหเปนศูนยกลาง ทางเศรษฐกิจชายแดน อาจกลาวไดวาจังหวัดเชียงรายมีความพรอมเปนอยางมาก สําหรับรองรับการเขามาลงทุนทั้งในและตางประเทศ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 119


รูปที่ 12 จํานวนประชากรในจังหวัดเชียงรายในป 2547 – 2556

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

4. จํานวนการจางงาน/แรงงานขามถิ่น

จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบาน จึงทําใหมี แรงงานจากประเทศเพื่อนบานเขามาทํางานจํานวนมาก สวนใหญเปนแรงงานจาก ประเทศพมา และประเทศลาว การเขามาของแรงงานเหลานีอ้ าจมีสาเหตุจาก (1) อัตรา คาจางแรงงานตางดาวทีต่ าํ่ กวาอัตราคาจางแรงงานไทย ทําใหโรงงานอุตสาหกรรมสวน ใหญนิยมจางแรงงานตางดาวเขามาทํางาน และ (2) ภาวการณขาดแคลนแรงงานใน ประเทศ เนื่องจากคนไทยมีการศึกษาที่เพิ่มสูงมากขึ้น จึงมีโอกาสเลือกงานมากขึ้น แต ในปจจุบนั แรงงานทีม่ กี ารศึกษาทีส่ งู ขึน้ กลับไมมโี อกาสในการเลือกงานมากนัก จึงทําให ภาวการณตกงานของแรงงานที่มีทักษะเปนจํานวนมากของประชากรคนไทยที่จบการ ศึกษาใหมๆ อยางไรก็ตามจํานวนการจางงานในจังหวัดเชียงรายที่เพิ่มมากขึ้นสามารถ รองรับประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ ดวยเชนเดียวกันจากการทีม่ กี ารขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ที่เพิ่มมากขึ้นจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้นแรงงานจึงไมใชอุปสรรคของการเขา มาลงทุนของนักลงทุนทั้งจากในประเทศและตางประเทศ

120 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


5. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

โครงสรางพื้นฐานของจังหวัดเชียงรายมีความพรอมเปนอยางมากในการ รองรับการลงทุน ไมวาเปนในเรื่องของการคมนาคม สาธารณูปโภค การสื่อสาร ฯลฯ โดยในเรือ่ งของการคมนาคม ทางจังหวัดเชียงรายไดมเี สนทางทางบกทีม่ กี ารขยายถนน จาก 2 เลน ใหเปน 4 เลน เพื่อรองรับการขนสงสินคาระหวางประเทศ ทางอากาศนั้น จะเห็นไดวา เชียงรายเปนแหลงทองเทีย่ วทีไ่ ดรบั ความนิยมจึงไดมสี ายการบินหลายบริษทั ที่มีตนทาง – ปลายทางที่จังหวัดเชียงราย เปนอีกชองทางในคมนาคม และสุดทายทาง เรือ โดยทีจ่ งั หวัดเชียงรายมีแมนาํ้ โขงไหลผา นจึงทําใหเกิดการคาชายแดนตามลํานํา้ โขง ไมเพียงแตมีผลประโยชนทางการคาเทานั้นยังเชื่อมโยงไปถึงภาคบริการการทองเที่ยว ด า นสาธารณู ป โภคได มี ก ารพั ฒ นาไปพร อ มๆกั บ การพั ฒ นาเมื อ งเชี ย งรายและ อุตสาหกรรม เชนเดียวกับดานการสื่อสารที่ถือไดวาเปนดานที่สําคัญเปนอยางมากใน การดําเนินธุรกิจระหวางประเทศจากการเขามาของธุรกิจขายเครือสือ่ สาร ดังนัน้ ในการ พัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานของจังหวัดเชียงรายจึงมีความพรอมสําหรับการลงทุนเปนอยาง มาก

6. โครงการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ

จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ติดชายแดนที่ภาครัฐไดมีมติเห็นชอบการจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ณ อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อําเภอเชียงของที่มีความไดเปรียบดานทําเลที่ตั้งซึ่งอยูใกลกับเสนทาง R3A ที่สามารถ เชื่อมตอ ไปยัง สปป.ลาว และจีน สงผลใหเชียงของมีศักยภาพในการพัฒนาเปนเขต นิคมอุตสาหกรรมเกษตรครบวงจร และเขตอุตสาหกรรมทัว่ ไป โดยเชียงของถูกกําหนด ใหจดั ตัง้ “เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ” ขึน้ ทีต่ าํ บลศรีดอนชัย และตําบลสถาน อําเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย บนพืน้ ที่ 16,000 ไร ทัง้ นีเ้ ขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของจะเปน เขตเศรษฐกิจพิเศษที่พัฒนาสูการเปนประตูเศรษฐกิจตอนบนของไทย

7. นโยบายสงเสริมการลงทุน และนโยบายอื่นๆที่เกี่ยวของ

ปจจุบัน จังหวัดเชียงรายไดมีนโยบายสงเสริมการลงทุนและนโยบายอื่นๆ ที่ เกี่ยวของที่สามารถดึงดูดนักลงทุนจากในประเทศและตางประเทศ นโยบายเหลานี้จะ ใหสทิ ธิพเิ ศษตางๆ แกนกั ลงทุน อาทิ สิทธิประโยชนทางภาษีและทีไ่ มใชภาษีเพือ่ การคา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 121


การลงทุน ปรับปรุงกฎหมายเพิม่ สิทธิพเิ ศษ การลดภาษีวตั ถุดบิ นําเขา ลดภาษีบาํ รุงทอง ที่ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดิน ภาษีเงินได การยกเวนคาธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิ มาตรการการใหบริการแบบ One Stop Service แกแรงงานตางดาว การอํานวยความ สะดวกทางการขนสงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภาคลุมแมนํ้าโขง (CBTA : GMS Cross- Border Transport Agreement) การทําธุรกรรมเงินตราตางประเทศ และ GMS Business Card ใหกับนักธุรกิจ ใชควบคูกับ Passport และ Border Pass อยางไรก็ตาม การดําเนินการตามนโยบายดังกลาวยังไมเรียบรอย และยังมีนโยบายอืน่ ๆ โดยเฉพาะนโยบายชายแดนรวมที่ควรจะเกิดขึ้น หากสิ่งตางๆเหลานี้ไดดําเนินการแลว เสร็จ คาดวาการลงทุนในจังหวัดเชียงราย เฉพาะอําเภอเชียงของจะมีแนวโนมการเติบโต ที่เพิ่มสูงขึ้น

8. ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

ประเทศไทยไดมกี รอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคหลากหลายกรอบ ความรวมมือ กรอบความรวมมือทีส่ าํ คัญๆทีจ่ งั หวัดเชียงรายสามารถนํามาใชในการสราง ความไดเปรียบในพืน้ ที่ ไดแก กรอบความรวมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความรวมมือระเบียงเศรษฐกิจอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS) และขอตกลงความ รวมมือระหวางประเทศลุม แมนาํ้ อิระวะดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS) โดยทางจังหวัด เชียงรายไดมีการกําหนดยุทธศาสตรของจังหวัด ในการพัฒนาเศรษฐกิจในกรอบความ รวมมือดังกลาวนี้ ในเรื่องของการเปนศูนยทางการคา การลงทุน การทองเที่ยว โลจิสติ กส เชื่อมโยงระหวางกลุมจังหวัด กลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง และกลุม ประเทศสมาชิกอาเซียน ไมเพียงเทานีจ้ งั หวัดเชียงรายไดมรี ปู แบบในการพัฒนาการเชือ่ ม โยงหลายจุด (Multi – Modal) การพัฒนาชุดเชื่อมตอชายแดน และศูนยเปลี่ยนถาย รูปแบบการขนสงสินคาอีกดวย ซึ่งนาจะเปนความไดเปรียบของจังหวัดเชียงรายที่นํา กรอบความรวมมือเหลานี้ มาใชในการสงเสริมการลงทุนในจังหวัด โดยเฉพาะในพื้นที่ ชายแดนของจังหวัดเชียงราย จากการศึกษาสถานการณการลงทุนในระยะเวลา 5 – 10 ปที่ผานมา เห็นได วาจังหวัดเชียงรายไดมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมาก การเติบโต ทางเศรษฐกิจที่รวดเร็วและเข็มแข็งทําใหจังหวัดเชียงรายเปนเมืองที่นาสนใจในการ

122 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เขาไปลงทุน ประกอบกับการมีแผนยุทธศาสตรจังหวัดเชียงราย การสงเสริมการลงทุน และความไดเปรียบเทียบทางพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ชายแดนอําเภอเชียงของที่ ไดรบั อนุมตั จิ ดั ตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของและไดรบั ความเห็นชอบจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจ พิเศษ อําเภอเชียงของ โดยอุตสาหกรรมเปาหมายทีน่ า สนใจในการลงทุนในเขตเศรษฐกิจ พิเศษเชียงของ ไดแก เกษตรแปรรูป สิ่งทอ โลจิสติกส (การขนสง คลังสินคา คลังนํ้ามัน และตลาดกลาง) อุปกรณไฟฟา และผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส เปนตน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 123


เอกสารอางอิง ประชาชาติธุรกิจออนไลน (2557). “เมืองเงิน” ทุมพัน ล.ตั้งนิคมเชียงของ ใชถนน R3A เชือ่ มไทย-ลาวทะลุจนี มองไกลรับเออีซี สืบคนเมือ่ วันที่ 16 กันยายน 2557 จาก http://www.prachachat.net/newsdetail.php?newsid=1391168129 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนโดยศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 เชียงใหม (2557). นโยบาย สงเสริมการลงทุน. สืบคนเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557 จาก http://chiangmai.boi.go.th/MainSite/ index.php?option=com_con tent&task=view&id=15&Itemid=29 สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย (2557). สถิติการจดทะเบียนนิติบุคคลของจังหวัด เชียงราย. สืบคนเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 จาก http://pcocreport.moc.go.th/ReportServer/Pages/ReportViewer. aspx?%2fPCOC%2fREGISTER_JURISTIC&rs%3aCommand=Render &province=57 สํานักงานพาณิชยจงั หวัดเชียงราย (2557). ขอมูลเศรษฐกิจจังหวัด (Fact Sheet). สืบคน เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 จาก http://pcoc.moc.go.th/wappPCOC/ views/dfactsheet.aspx?pv=57 สํานักงานคลังจังหวัดเชียงราย (2557) รายงานภาวะเศรษฐกิจ. สืบคนเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557 จาก http://www.klangcri.com/team/team3.php สํานักงานคลังจังหวัดเชียงราย. (2555) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ป 2555 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย, สวนเศรษฐกิจตางประเทศ ฝาย วิชาการ. (2551)

124 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เชียงของ - บอแกว อีกหนึ่งเมืองคูแฝดเชื่อมไทย-สปป.ลาว ตอนบน สํานักงานจังหวัดเชียงราย. ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดเชียงรายประจําป พ.ศ. 2557 - 2560 สํานักงานจังหวัดเชียงราย. แผนพัฒนาจังหวัดเชียงรายประจําป พ.ศ. 2553 – 2556 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังจังหวัดเชียงราย. (2556). รายงานสภาวะเศรษฐกิจการคลัง จังหวัดเชียงรายประจําป 2547-2556. สํานักงานพาณิชยจงั หวัดเชียงราย. (2556). วารสารขาวพาณิชยจงั หวัดเชียงรายประจํา ป 2547-2556. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1-4 พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2524 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2556) ผาสุก พงษไพจิตร : ภาพรวมความเหลือ่ มลํา้ กับสัญญาณการเปลีย่ นแปลง(จากชัน้ ลาง). วั น ที่ 15 สิ ง หาคม พ.ศ. 2555, http://prachatai.com/journal/2012/08/42071 ปณณ อนันอภิบุตร (2555). นโยบายและมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการกระ จายรายได: ประสบการณจากตางประเทศและแนวทางในการประยุกตใชใน ประเทศไทย. สํานักนโยบายภาษี. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 125



สภาวะการลงทุนในจังหวัดเชียงราย เขียนโดย พรพินันท ยี่รงค, สิทธิชาติ สมตา และณัฐพรพรรณ อุตมา จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดหนึง่ ในภาคเหนือตอนบนทีม่ ศี กั ยภาพในการลงทุน และการค า สู ง ไม ว  า จะเป น ในด า นเกษตร อุ ต สาหกรรม การท อ งเที่ ย ว และ อสังหาริมทรัพย เนื่องจากจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบาน อยาง สปป.ลาว และ เมียนมาร คือ อําเภอเชียงแสน อําเภอเชียงของ และอําเภอแมสาย รวมทัง้ ยังมีการคมนาคมระหวางประเทศ ผานทางลํานํา้ โขง และเสนทาง R3A ทีส่ ามารถ เชือ่ มตอไปยังประเทศจีนตอนใตไดอยางสะดวก ทัง้ นี้ ทําใหจงั หวัดเชียงรายเปนทีส่ นใจ จึงดึงดูดนักลงทุนและเม็ดเงินจํานวนมาก จึงสงผลใหเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงรายมีการ เติบโตอยางตอเนือ่ ง โดยจากขอมูลสถิตขิ องสํานักงานพาณิชยจงั หวัดเชียงราย ชีใ้ หเห็น วาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดเชียงรายตั้งแตป 2546 ถึงป 2556 มีอัตราการเติบโต เฉลี่ยสะสม 10 ปอยูที่รอยละ 9 โดยในป 2546 มีผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดอยูที่ 34,072 ลานบาท และมีการเพิ่มขึ้นมาอยางตอเนื่องจนอยูที่ 81,263 ลานบาท ในป 2556 ซึง่ ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดตัวชีว้ ดั ทีบ่ อกไดวา เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย กําลังเดินหนาอยางเต็มกําลัง รูปที่ 1 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) ป 2551 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงรายและสํานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 127


การเพิ่มขึ้นสูงของผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดเชียงรายมีผลจากการขยาย ตัวอยางรวดเร็วในหลายดาน โดยจากขอมูลสถิติผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดแยก ประเภทของสํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงรายตั้งแตป 2551 ถึง 2555 ชี้ใหเห็นวาภาค การเกษตร การลาสัตว และปาไมที่มีการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดมาก ที่สุดมาตั้งแต ป 2551 จนถึงป 2555 (ไมรวมภาคอื่นๆ) โดยมีอัตราการเติบโตสะสมอยู ที่รอยละ 10 ซึ่งในป 2551 มีผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดอยูที่ 16,268.10 ลานบาท และเพิ่มขึ้นสูงสุดในป 2554 อยูที่ 28,272 ลานบาท คิดการเติบโตจากป 2551 ถึงป 2554 อยูท รี่ อ ยละ 20 และตกลงมาอยูท ี่ 23,928.74 ลานบาท ในป 2555 คิดการเติบโต จากป 2554 ถึงป 2555 อยูที่รอยละ -15 หากมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภาคการเกษตร การลาสัตวและปาไมไมตกลงในป 2555 อาจจะมีอตั ราการเติบโตสะสมมากกวารอยละ 20 รูปที่ 2 ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดแยกประเภทป 2551 ถึงป 2555

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

ภาคที่มีผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดรองมาคือ ภาคการขายสง การขายปลีก และการซอมแซมฯ มีอัตราการเติบโตสะสมอยูที่รอยละ 1 ซึ่งมีผลิตภัณฑมวลรวมของ จังหวัดในป 2551 อยูท ี่ 9,304.50 ลานบาท โดยมีผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดสูงทีส่ ดุ

128 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ในป 2554 เชนเดียวกันกับภาคการเกษตร การลาสัตวและปาไม อยูท ี่ 11,774 ลานบาท กอนจะตกลงมาอยูที่ 9,682.61 ลานบาท ในป 2555 ซึ่งมีมูลคาใกลเคียงกับป 2551 พิจารณาไดวาการเติบโตของภาคการขายสง การขายปลีก และการซอมแซมฯไมไดมี การขยายตัวมากในระยะ 4 ปที่ผานมา ตอมาเปนภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่มีมูลคาสูงเปนอันดับ 3 มีอัตราการ เติบโตมากที่สุดใน 3 อันดับ โดยมีอัตราการเติบโตสะสมอยูที่รอยละ 24 ซึ่งในป 2551 อยูที่ 2,123.40 ลานบาท และเพิ่มขึ้นไปอยูที่ 4,961.92 ลานบาท ในป 2555 โดยมี มูลคาสูงที่สุดในป 2553 อยูที่ 7,793 ลานบาท ซึ่งเติบโตจากป 2551 คิดเปนรอยละ 92 ถือวาเปนอัตราการเติบโตที่สูงมากในเวลาเพียงแคสองป สวนในภาคการกอสราง และภาคโรงแรมและภัตตาคาร มีอตั ราการเติบโตสะสมอยูท รี่ อ ยละ 4 และ 7 ตามลําดับ โดยทั้งสองภาคมีมูลคาของผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดในป 2551 อยูที่ 1,789.80 ลานบาท และ 1,475.90 ลานบาท ตามลําดับ จากขอมูลจะเห็นวาทั้งสองภาคมีมูลคา ที่ไมแตกตางกันมาก และยังมีอัตราการการเติบโตที่คงที่เชนเดียวกัน ตั้งแตป 2551 ถึง ป 2554 ทั้งสองภาคมีมูลคาสูงที่สุดในป 2554 อยูที่ 2,797 ลานบาท และ 2,255 ลาน บาท ตามลําดับ เชนเดียวกับอีกสองภาคทีม่ มี ลู คาสูงทีส่ ดุ ในปเดียวกันคือ ภาคการเกษตร การลาสัตว และปาไม และภาคการขายสง การขายปลีก และการซอมแซมฯ

การลงทุนในจังหวัดเชียงราย

จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่อยูในเขตการลงทุนที่ 3 ตามการแบงเขตการ ลงทุนของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ซึง่ การลงทุนในจังหวัดเชียงรายก็ จะสามารถขอสิทธิประโยชนในดานการลงทุนไดหลายอยาง ซึ่งมีหลักเกณฑที่สามารถ ขอรับสิทธิประโยชนเหนือเขตอื่นๆ ดังนี้  ไดรับยกเวนอาการขาเขาสําหรับเครื่องจักร  ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนระยะเวลา 8 ป ทั้งนี้ ผูไดรับการ

สงเสริมในโครงการที่มีขนาดการลงทุนตั้งแต 10 ลานบาทขึ้นไป (ไม รวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียน) จะตองดําเนินการใหไดรับใบรับรอง คุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเทา ภายในระยะเวลา 2 ปนบั ตัง้ แตวนั เปดดําเนินการ หากไมสามารถดําเนินการ ได จะถูกเพิกถอนสิทธิและประโยชนการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล 1 ป

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 129


 ไดรบั ยกเวนอากรขาเขาสําหรับวัตถุดบิ หรือวัสดุจาํ เปน สวนทีผ่ ลิตเพือ่

การสงออกเปนระยะเวลา 5 ป

 อนุญาตใหหักคาติดตั้งหรือกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวก จากกําไร

สุทธิรอยละ 25 ของเงินลงทุน ในกิจการที่ไดรับการสงเสริมโดยผูไดรับ การสงเสริม จะเลือกหักจากกําไรสุทธิของปใดปหนึ่ง หรือหลายปก็ได ภายใน 10 ปนับแตวันที่มีรายไดจากกิจการที่ไดรับการสงเสริม ทั้งนี้ นอกเหนือไปจากการหักคาเสื่อมราคาตามปกติ  เฉพาะโครงการทีต่ งั้ ในสถานประกอบการ ในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต อุตสาหกรรม ทีไ่ ดรบั การสงเสริมใน 36 จังหวัด ไดแก กระบี่ กําแพงเพชร ขอนแกน จันทบุรี ชัยนาท ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจติ ร พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ มุกดาหาร แมฮอ งสอน ระนอง ลพบุรี ลําปาง ลําพูน เลย สงขลา สระแกว สิงหบุรี สุโขทัย สุราษฎรธานี อุตรดิตถ และอุทัยธานี รวมถึงนิคมอุตสาหกรรมแหลม ฉบังและนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง ใหได รับสิทธิและประโยชนดานภาษีอากร และสิทธิประโยชนเพิ่มเติมดังนี้ -

ใหไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ ที่ไดจาก การลงทุนในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติ เปนระยะเวลา 5 ป นับจากวันทีพ่ น กําหนดระยะเวลา การยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล อนุญาตใหหักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทา เปนระยะ เวลา 10 ป นับแต วันทีเ่ ริม่ มีรายไดจากกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริม ไดรับลดหยอนอากรขาเขารอยละ 75 ของอัตราปกติ สําหรับ วัตถุดบิ หรือวัสดุจาํ เปน ทีเ่ ขามาผลิตเพือ่ จําหนายในประเทศเปน ระยะเวลา 5 ป โดยคณะกรรมการจะอนุมัติใหคราวละ 1 ป แต วัตถุดิบหรือวัสดุจําเปนนั้น ตองไมเปนของที่ผลิตหรือมีกําเนิดใน ราชอาณาจักรซึ่ง มีคุณภาพใกลเคียงกันกับชนิดที่จะนําเขามาใน ราชอาณาจักร และมีปริมาณเพียงพอที่จะจัดหามาใชได ยกเวน นิ ค มอุ ต สาหกรรมแหลมฉบั ง และนิ ค มอุ ต สาหกรรมหรื อ เขต อุตสาหกรรมที่ไดรับการสงเสริมในจังหวัดระยอง

 ไดรบั ลดหยอนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล สําหรับกําไรสุทธิทไี่ ดจากการลงทุน ในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติเปนระยะเวลา 5 ป นับจากวันที่พน กําหนดระยะเวลาการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล

130 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


 อนุญาตใหหักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทา เปนระยะเวลา 10 ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากกิจการที่ไดรับการสงเสริม  หากตั้งสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม หรือเขตอุตสาหกรรม ที่ไดรับการสงเสริมใหไดรับลดหยอนอากรขาเขารอยละ 75 ของอัตรา ปกติ สําหรับวัตถุดิบหรือวัสดุจําเปน ที่นําเขามาผลิตเพื่อจําหนายใน ประเทศเปนระยะเวลา 5 ป โดยคณะกรรมการจะอนุมัติใหคราวละ 1 ป แตวัตถุดิบหรือวัสดุจําเปนนั้น ตองไมเปนของที่ผลิตหรือมีกําเนิดใน ราชอาณาจักร ซึ่งมีคุณภาพใกลเคียงกันกับ ชนิดที่จะนําเขามาในราช อาณาจักร และมีปริมาณเพียงพอที่จะจัดหามาใชได จากสิทธิประโยชนการลงทุน เขต 1 และเขต 2 มีสิทธิประโยชนแค 3 ขอ คือ ไดรับการลดหยอนอากรขาเขากึ่งหนึ่ง เฉพาะเครื่องจักรอากรไมตํ่ากวารอยละ 10 ได รับการยกเวนภาษีนิติบุคคลเปนเวลา 3 ป ถาอยูนิคมอุตสาหกรรม และมีโครงการที่ไม ตํ่ากวา 10 ลานบาท ในเงื่อนไขที่กําหนด และไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับวัตถุดิบที่ จําเปนสําหรับการผลิตเปนระยะเวลา 1 ป ทําใหจงั หวัดเชียงรายเปนหนึง่ ใน 58 จังหวัด ที่ไดรับการสงเสริมดานการลงทุนอยางมาก โดยจังหวัดเชียงรายยังมีนิคมอุตสาหกรรม เชียงของที่มีเงินทุนจํานวนมากเขาไปพัฒนาพื้นที่ดังกลาวใหเปนพื้นที่สําหรับการผลิต และกระจายสินคา ซึง่ เปนพืน้ ทีท่ อี่ ยูใ กลเสนทางการขนสงสินคาไปยังประเทศเพือ่ นบาน อยาง สปป.ลาว และ สหภาพเมียนมาร เชื่อมโยงกับสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ทีเ่ ปดการใชงานอยางเปนทางการเมือ่ 11 ธันวาคม 2556 มานี้ ซึง่ จะเปนโอกาสสําหรับ นักลงทุนหนาใหมในการเขาไปลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมเกิดใหม ดังนัน้ จังหวัดเชียงราย มีทั้งศักยภาพที่เปนโครงสรางพื้นฐานอยางเชน สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 และ เสนทาง R3A บวกกับการสงเสริมการลงทุนทีม่ หี ลักเกณฑทเี่ ปนสิทธิประโยชนมากมาย ที่จะมาชวยอํานวยความสะดวกใหการเปดธุรกิจในพื้นที่เขตจังหวัดเชียงรายมีความนา สนใจจากนักลงทุนทั้งชาวไทย และชาวตางประเทศมากขึ้น ในการจัดตั้งธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งขึ้นมาจะตองมีการจดทะเบียนนิติบุคคลเพื่อ เปนยืนยันอยางเปนทางการวามีธุรกิจดังกลาวเกิดขึ้นจริงตามบทกฎหมาย ซึ่งการจด ทะเบียนนิติบุคคลจะมีทั้งหมด 3 ประเภทใหญตามการเก็บสถิติของสํานักงานพาณิชย จังหวัดเชียงราย ไดแก หางหุนสวนนิติบุคคล หางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัด โดย ประเภทตางๆจะมีลักษณะที่แตกตางกันไป จากสถิติการเก็บขอมูลการจดทะเบียน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 131


นิติบุคคลตั้งแตป 2545 ถึงป 2556 หางหุนสวนจํากัดเปนประเภทที่มีการจดทะเบียน นิติบุคคลมากที่สุดในจังหวัดเชียงราย รองมาคือบริษัทจํากัด และหางหุนสวนนิติบุคคล ตามลําดับ การจดทะเบียนหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นมีระยะหางระหวางแตละปสูง รวม ทั้งยังมีจํานวนการจดทะเบียน และเงินลงทุนรวมที่ไมสูงมาก ในป 2545 มีการจัดตั้ง หางหุน สวนนิตบิ คุ คลขึน้ เพียงแค 2 ราย โดยมีทนุ จดทะเบียนรวมอยูท ี่ 2,600,000 ลาน บาท เฉลี่ยตกรายละ 1,300,000 ลานบาท ซึ่งอีก 5 ปตอมาไมมีการจดทะเบียนเลย จน กระทั่งในป 2554 มีการจัดตั้งอีก 1 ราย โดยมีทุนจดทะเบียนอยูที่ 500,000 ลานบาท และอีก 3 ปตอมา หรือในป 2555 ไดมีจัดตั้งเพิ่ม 6 ราย โดยมีทุนจดทะเบียนรวมอยูที่ 8.8 ลานบาท เฉลีย่ ตกรายละ 1.5 ลานบาท ซึง่ คิดเปนมูลคาการลงทุนทีต่ าํ่ มากเมือ่ เทียบ กับการจดทะเบียนประเภทอื่น จากรูปที่ 3 เปนกราฟแทงที่แสดงจํานวนการจัดตั้งหางหุนสวนจํากัดตั้งแตป 2545 ถึงป 2556 ซึ่งเปนระยะเวลาทั้งหมด 11 ป ในป 2545 กับ 2546 มีการจัดตั้งที่ มีจาํ นวนใกลเคียงกันอยูท ี่ 609 ราย และ 599 ราย ตามลําดับ และตามมาดวยการตกลง ของยอดจดทะเบียนหางหุน สวนนิตบิ คุ คลตัง้ แตป 2547 เปนตนไป จนเพิม่ ขึน้ ในป 2554 อยูที่ 594 ราย กอนที่ยอดการจดทะเบียนจะขึ้นสูงสุดในป 2555 อยูที่ 1,456 ราย และ ลดลงมาในป 2556 อยูที่ 1,087 ราย เมื่อพิจารณาจากเสนคาเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลง (moving average line) จะเห็นวาจํานวนเสนจํานวนการจัดตั้งเปนรูประฆังหงาย (Ucurve) ซึ่งในจุดที่ยอดจัดตั้งตํ่าสุดคือในป 2551 อยูที่ 180 ราย รูปที่ 3 จํานวนการจัดตั้งของหางหุนสวนจํากัด ป 2545 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

132 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


จํานวนการจัดตัง้ เปนแคตวั แปรหนึง่ ทีช่ ว ยเห็นใหถงึ ความสัมพันธของเวลากับ การจัดตัง้ ธุรกิจใหม แตจาํ นวนทุนจดทะเบียนจะชวยใหเห็นถึงมูลคาของกิจการโดยรวม ในแตละปวาขนาดของกิจการที่จัดตั้งนั้นมีขนาดใหญ ขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก โดย ในป 2545 เปนปที่มีการจํานวนทุนจดทะเบียนสูงที่สุดอยูที่ 591,588,400 ลานบาท มี การจัดตั้ง 609 ราย เฉลี่ยตกรายละ 971,410 ลานบาท ซึ่งมากกวามูลคาโดยรวมของ บางปในระหวางป 2545 ถึงป 2556 ตอมาในป 2546 ถึงป 2551 มีทุนจดทะเบียนใกล เคียงกันเฉลี่ยรวมอยูที่ 275,435,500 ลานบาท และจํานวนเงินลงทุนจดทะเบียนก็เขา สูจุดตํ่าสุดในป 2552 ถึง 2555 กอนจะเพิ่มขึ้นมาเล็กนอยในป 2556 ปที่มีเงินลงทุนจด ทะเบียนตอรายสูงที่สุดคือป 2550 โดยมีเงินลงทุนจดทะเบียนอยูที่ 269,910,000 ลาน บาท จํานวน 182 ราย เฉลี่ยตกรายละ 1,483,021.98 ลานบาท และปที่มีเงินลงทุนจด ทะเบียนตอรายตํ่าที่สุดคือป 2554 โดยมีเงินลงทุนจดทะเบียนอยูที่ 521.45 ลานบาท จํานวน 594 ราย เฉลี่ยตกรายละ 880,000 บาท ชี้ใหเห็นวาในบางปแมวาจะมีจํานวน หางหุนสวนจํากัดที่มีการจัดตั้งสูง แตเงินทุนจดทะเบียนก็ไมไดสูงตาม แสดงวาอาจจะ มีจํานวนธุรกิจที่เปนขนาดยอมสูง สวนในบางปแมวาจะจํานวนหางหุนสวนจํากัดที่ถูก จัดตั้งนอย แตมีเงินทุนจดทะเบียนที่สูง แสดงวาอาจจะมีจํานวนธุรกิจที่เปนขนาดใหญ เยอะ อยางไรก็ตาม การหาคาเฉลี่ยไมไดบงบอกถึงขนาดของธุรกิจอยางชัดเจน รูปที่ 4 จํานวนเงินลงทุนจดทะเบียนของหางหุนสวนจํากัด ป 2545 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

จากทีร่ ปู ที่ 5 แสดงใหเห็นถึงรูปแบบของเสนความสัมพันธระหวางบริษทั จํากัด ทีจ่ ดั ตัง้ ใหม กับระยะเวลา 11 ป ตัง้ แตป 2545 ถึงป 2546 ทีม่ คี วามคลายคลึงกับจํานวน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 133


การจัดตั้งของหางหุนสวนจํากัด คือ เสนรูประฆังควํ่า (U-curve) ในป 2545 มีจํานวน การจัดตัง้ ของบริษทั จํากัดอยูท ี่ 492 ราย และลดลงในปตอ มาจนถึงป 2554 จํานวนการ จัดตั้งบริษัทจํากัดเริ่มมีการขยับตัวเพิ่มขึ้น และขึ้นสูงสุดในป 2555 อยูที่จํานวน 1,011 ราย หลังจากนั้นจํานวนการจัดตั้งบริษัทจํากัดลดลงอยูที่ 971 รายในป 2556 ซึ่งจุดที่ ตํา่ ทีส่ ดุ ของจํานวนการจัดตัง้ บริษทั จํากัดอยูใ นชวงเดียวกันกับจํานวนการจัดตัง้ ของหาง หุนสวนจํากัดคือในชวงป 2550 ถึงป 2551 รูปที่ 5 จํานวนการจัดตั้งของบริษัทจํากัดป 2545 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

จากรูปที่ 6 แสดงจํานวนเงินลงทุนจดทะเบียนของบริษัทจํากัดตั้งแตป 2545 ถึงป 2556 โดยในป 2545 ซึ่งมีเงินลงทุนจดทะเบียนสูงที่สุดอยูที่ 3,923,071,300 ลาน บาท และก็มีเงินลงทุนเฉลี่ยตอรายสูงที่สุดเชนกันอยูที่ 7,973,722.15 ลานบาทตอราย จากจํานวนบริษัทจํากัดที่ถูกจัดตั้ง 492 ราย ซึ่งในปตอมา จํานวนเงินทุนจดทะเบียนก็ ลดลงอยางเห็นไดชดั จนกระทัง่ ในป 2556 มีการเพิม่ ขึน้ มาโดยมีเงินทุนจดทะเบียนใหม อยูท ี่ 1,418,101,432.03 ลานบาท ในระหวางป 2545 จนถึงป 2551 เงินทุนจดทะเบียน เฉลี่ยตอรายไมตํ่ากวา 2,000,000 ลานบาท แตหลังจากนั้นในชวงระหวาง 2552 ถึง 2555 มีเงินทุนจดทะเบียนเฉลีย่ ตํา่ กวา 100 ลานบาท ชีใ้ หเห็นวาในชวงระหวางป 2545 จนถึงป 2551 มีการจดทะเบียนของการเปนบริษัทจํากัดของธุรกิจมูลคาสูงเยอะ แตใน ชวงระหวาง 2552 ถึง 2555 มีการจดทะเบียนของการเปนบริษัทจํากัดของธุรกิจมูลคา สูงนอย ซึ่งในป 2552 เปนปที่มีมูลคาการจดทะเบียนบริษัทเฉลี่ยตอรายตํ่าที่สุดอยูที่ 2.57 ลานบาท ในชวงป 2552 เปนชวงเศรษฐกิจทัว่ โลกเขาสูภ าวะถดถอย (Recession)

134 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการสงออกสินคาเปนรายไดหลักของประเทศ เมื่อสหภาพ ยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุนซึ่งเปนแหลงสงออกสินคาที่สําคัญมากมีภาวะเศรษฐกิจ ซบเซาจึงสงผลใหประเทศไทยไดรับผลกระทบอยางหนัก จึงอาจสงผลใหมีจํานวนการ จดทะเบียนบริษทั ลดลง หรือมีการจัดตัง้ บริษทั ทีม่ มี ลู คาไมสงู มากเยอะขึน้ เพือ่ ลดความ เสี่ยงจากวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น รูปที่ 6 จํานวนเงินลงทุนจดทะเบียนของบริษัทจํากัด ป 2545 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

จากสถิติทั้งสามประเภทไดแก หางหุนสวนนิติบุคคล หางหุนสวนจํากัด และ บริษทั จํากัด จะเห็นวาการจดทะเบียนของหางหุน สวนนิตบิ คุ คลไมคอ ยมีใหเห็น อาจจะ เปนเพราะเชียงรายมีการจดทะเบียนของธุรกิจทีม่ มี ลู คาคอนขางสูง ซึง่ อาจจะเปนบริษทั ที่เปนธุรกิจการคาชายแดน และการผลิตทางดานอุตสาหกรรม เนื่องจากมีมูลคาที่สูง มากเมื่อเปรียบเทียบกับมูลคาทุนจดทะเบียนในธุรกิจอื่น ซึ่งในบางปก็จะมีการจด ทะเบียนนอยราย แตมีมูลคาทุนจดทะเบียนตอรายสูง หรือในบางปก็มีการจดทะเบียน เยอะราย แตมีมูลคาทุนจดทะเบียนตอรายตํ่า สถิติการจดทะเบียนนิติบุคคลเปนแคหนึ่งในตัวชี้วัดดานการลงทุน ยังมีอีก หลายตัวชีว้ ดั ทีแ่ สดงถึงการเปลีย่ นแปลง และการเติบโตของการลงทุนในจังหวัดเชียงราย เช น พื้ น ที่ อ นุ ญ าตการก อ สร า ง จํ า นวนโรงงานอุ ต สาหกรรม จํ า นวนแรงงานใน อุตสาหกรรม ฯลฯ ซึง่ จะมีการเก็บสถิตใิ นเกือบทุกป ซึง่ เครือ่ งมือชีว้ ดั เมือ่ นํามาพิจารณา รวมกันแลว อาจจะชวยใหมองเห็นภาพการลงทุนในจังหวัดเชียงรายตั้งแตอดีตจนถึง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 135


ปจจุบัน รวมทั้งชวยเห็นโอกาส และศักยภาพในการลงทุนสําหรับนักลงทุนทั้งชาวไทย และตางประเทศที่มีความสนใจ จากรูปที่ 7 แสดงกราฟแทงของพื้นที่อนุญาตใหกอสรางตั้งแตป 2550 ถึงป 2556 โดยพื้นที่อนุญาตใหสรางมีอัตราการเติบโตสะสมอยูที่รอยละ 15 และมีการเพิ่ม ขึน้ อยางตอเนือ่ งในทุกป ในป 2550 มีพนื้ ทีท่ ไี่ ดรบั อนุญาตใหกอ สรางอยูท ี่ 208,564.90 ตารางเมตร และเพิ่มขึ้นไปอยูที่ 471,706.90 ตารางเมตรในป 2556 ซึ่งในป 2552 มี การอนุญาตใหกอสรางถึง 483,061.20 ตารางเมตร รูปที่ 7 พื้นที่อนุญาตใหกอสรางป 2550 ถึงป 2556

ที่มา: สํานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย

จากรูปที่ 8 แสดงจํานวนสถิตขิ องจํานวนโรงงาน จํานวนแรงงาน และจํานวน ทุนจดทะเบียนที่เปลี่ยนแปลงไปในอุตสาหกรรมตั้งแตป 2550 ถึงป 2554 โดยในป 2550 มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมด 1,975 โรง จํานวนแรงงานอุตสาหกรรม ทั้งหมด 15,041 คน และจํานวนทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมทั้งหมด 7,393.30 ลาน บาท ก อ นในป ต  อ มาจะเพิ่ ม ขึ้ น อย า งก า วกระโดด ในป 2551 มี จํ า นวนโรงงาน อุตสาหกรรมทัง้ หมด 11,999 โรง จํานวนแรงงานอุตสาหกรรมทัง้ หมด 92,439 คน และ จํานวนทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมทั้งหมด 45,213.40 ลานบาท ซึ่งคิดอัตราเติบโต เฉลี่ยทั้งหมดประมาณรอยละ 500

136 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 8 สถิติจํานวนโรงงาน แรงงาน ทุนจดทะเบียนในอุตสาหกรรมป 2550 ถึงป 2554

ที่มา: สํานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย

สรุปสถานการณการลงทุนในจังหวัดเชียงรายในระยะเวลา 6 ป ในแตชว งปจะการลงทุนจะมีการเปลีย่ นแปลงทีละเล็กละนอยขึน้ อยูก บั ปจจัย หลายอยางที่เกิดขึ้น ซึ่งรูปแบบของการลงทุน ไมวาจะเปนประเภทธุรกิจ ประเภทการ กอสราง หรือประเภทอุตสาหกรรมทีน่ กั ลงทุนเขามาจับก็จะแตกตาง หรือเหมือนกันใน แตละป แตการขยายตัว และหดตัวของการลงทุนนัน้ ขึน้ อยูป จ จัยภายนอกเปนสวนมาก เชน ภาวะเศรษฐกิจ ภาวะการเมือง ภาวะทางสังคม เปนปจจัยหลักที่สงผลกระทบตอ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนโดยตรง รวมถึงการลดหรือการเพิ่มของอุปสงคภายใน/ ภายนอกประเทศอีกดวย หากอุปสงคลดลงจะทําใหนักลงทุนไมมั่นใจที่ผลิตสินคา และ บริการตอบสนองตอตลาด เศรษฐกิจก็จะชะงัก และไมสามารถเดินหนาตอไปได ในป 2550 ทุนจดทะเบียนสวนใหญจะเปนโรงงานเครื่องเรือนไม และขุดตัก ในที่ดิน ซึ่งมีสวนที่ทําใหจํานวนแรงงาน โรงงาน และจํานวนทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้น ซึ่ง สงผลใหมกี ารกอสรางมากขึน้ ในประเภทของอาคารพาณิชย และทีอ่ ยูอ าศัย โดยมีปจ จัย ภายนอกอยางราคานํ้ามัน และสถานการณที่ไมมั่นคงทางการเมืองมาเปนตัวชะลอการ ตัดสินใจของนักลงทุน ตอมาในป 2551 การจัดตั้งสวนใหญจะเปนอุตสาหกรรม

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 137


การเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร เปนชวงปกอ นหนาวิกฤตเศรษฐกิจโลก การกอสราง เพิม่ สูงขึน้ ซึง่ เปนผลมาจากการปรับตัวลดลงของราคานํา้ มันในตลาดโลก จํานวนโรงงาน อุตสาหกรรม จํานวนแรงงานอุตสาหกรรม และจํานวนทุนจดทะเบียนเพิม่ ขึน้ อยางกาว กระโดด ชวงนัน้ อุตสาหกรรมทีม่ ศี กั ยภาพคือ อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมการ ทองเที่ยว และบริการ และอุตสาหกรรมขนสงทางนํ้าและทางบก ในป 2552 เปนปทเี่ ขาสูภ าวะถดถอยของเศรษฐกิจโลกอยางเปนทางการ การ จดทะเบียนหางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัดลดตํ่าลงมาก รวมถึงจํานวนโรงงาน อุตสาหกรรม จํานวนแรงงานอุตสาหกรรม และจํานวนทุนจดทะเบียนทีล่ ดลงมากอยาง เห็นไดชัด แตการกอสรางกลับเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจเปนการขอสรางที่อยูอาศัยมากกวาที่ จะเปนโรงงานอุตสาหกรรม พอเขาสูชวงป 2553 เศรษฐกิจเริ่มฟนตัว นักลงทุนมีความ เชื่อมั่นมากขึ้น มีการลงทุนในอุตสาหกรรมมากขึ้นเล็กนอย โดยมีการกอสรางเพิ่มขึ้น เพราะคนตองการทีอ่ ยูอ าศัย ตอมาในป 2554 รัฐบาลใชนโยบายการกระจายความเจริญ ไปสูภูมิภาค ทําใหการจดทะเบียนธุรกิจเพิ่มขึ้น การกอสรางก็เพิ่มขึ้น ซึ่งธุรกิจที่ถูกจัด ตั้งใหมจะเปนปรเภทคอนกรีตผสมเสร็จ และเครื่องใชจากไมเปนสวนมาก ในชวงป 2555 ถึงป 2556 เศรษฐกิจเดินหนาตอไปอยางไมหยุดยัง้ การลงทุน ภาคอุตสาหกรรมในป 2555 ขยายตัวอยางตอเนื่องสะทอนจากขอมูลสถิติจากจํานวน การจดทะเบี ย นอุ ต สาหกรรม จํ า นวนแรงงานอุ ต สาหกรรม และจํ า นวนโรงงาน อุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรมสวนใหญจะเปนโรงงานอบพืชผลทางการเกษตร โรงงาน ผลิตคอนกรีตสําเร็จรูป และโรงสีขา ว และในป 2556 มีการกอสรางเพิม่ สูงขึน้ สวนใหญ จะเปนการกอสรางหอพัก โรงแรม และทีอ่ ยูอ าศัย เนือ่ งจากมีนกั ทองเทีย่ วตางประเทศ จํานวนมากใหความสนใจในการทองเที่ยวในจังหวัดเชียงรายมากขึ้น อยางก็ไรก็ตาม งานชิน้ นีก้ เ็ ปนการวิเคราะหอยางไมเจาะลงลึกในรายละเอียด ในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึง่ จึงไมสามารถตัดสินใจวาควรทีจ่ ะลงทุนในเชียงราย หรือไม แตสําหรับนักลงทุนที่มีความสนใจในดานการคาชายแดน หรือการผลิตสินคา อุตสาหกรรมทีม่ เี ปาหมายเพือ่ สงไปยังตลาดของประเทศเพือ่ นบานอยาง สปป.ลาว หรือ สหภาพเมียนมาร และประเทศจีนตอนใต เนื่องจากปริมาณความตองการของทั้งสาม ประเทศยังคงมากกวาปริมาณสินคาที่ปอนเขาสูตลาดทั้งสาม โดยเฉพาะกลุมสินคา

138 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อุปโภคบริโภค สินคาเกษตร ยานพาหนะ วัสดุกอสราง ฯลฯ ซึ่งหากตองการขนสงทาง บกก็สามารถสงผานเสนทาง R3B ทางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 2 ไปยังสหภาพ เมียนมาร และสงผานเสนทาง R3A สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ไปยังสปป.ลาว ไปได หรือหากตองการขนสงสินคาทางนํา้ ก็สามารถขนสงผานทางทาเรือเชียงแสน หาก จัดตัง้ โรงงานอุตสาหกรรมในเชียงรายก็จะสะดวก และประหยัดตนทุนการขนสงไดมาก ขึ้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 139



บทที่ 3 การวิเคราะหขอมูลพื้นที่ชายแดนจากการสัมภาษณ ผูที่มีสวนเกี่ยวของ แนวโนมนโยบายสงเสริมการลงทุนในอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายในอนาคต FUTURE INVESTMENT PROMOTION POLICIES AT CHIANG KHONG, CHIANG RAI เขียนโดย ณัฐพรพรรณ อุตมา และธิดารัตน บัวดาบทิพย การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายแดนเชียงของที่มาพรอมกับพลวัตของการสราง ความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศตางๆ โดยเฉพาะความรวมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ความรวมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน-จีนวาดวยเขตการคาเสรี อาเซียน-จีน และการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทําใหเชียงของกลายเปนพื้นที่ ชายแดนที่มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สามารถเชื่อมตอกับประเทศตางๆ ที่อยูใน ภูมิภาคเดียวกัน มีการเติบโตของการคาสินคาและบริการขามพรมแดน รวมทั้งมีการ ขยายตัวของการเคลื่อนยายทรัพยากรการผลิต แรงงาน และเงินทุนขามพรมแดน และ แมวาพลวัตเศรษฐกิจชายแดนดังกลาว ทําใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะที่ ผานมา แตกอ็ าจกอใหเกิดผลกระทบทางลบตอสังคม วัฒนธรรม ชุมชน และสิง่ แวดลอม ของเมืองเชียงของไดเชนเดียวกัน จากเหตุผลดังกลาว ยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เชียงของอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน “หนึ่งเมืองสองแบบ” จึงไดถือกําเนิดขึ้นจากการมี สวนรวมของประชาชนคนชาวเชียงของ นัยสําคัญภายใตยทุ ธศาสตรดงั กลาว ไดแก การ กําหนดพืน้ ทีแ่ ละรูปแบบการพัฒนาทีแ่ ตกตางกันแตสอดคลองกันของเมืองเชียงของเกา และเมืองเชียงของใหม นัน่ คือเขตตัวเมืองชัน้ ในของเมืองเชียงของหรือเขตเมืองเกา (Old Town) เนนการเปนฐานการผลิตทางเศรษฐกิจการคาและการทองเที่ยวแบบเดิม ขณะ ทีเ่ ขตเชียงของเมืองใหม (New Town) ครอบคลุมพืน้ ทีบ่ ริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 141


แหงที่ 4 (เชียงของ-หวยทราย) และพื้นที่ที่เชื่อมตอโดยรอบ เนนการพัฒนาเศรษฐกิจ การคา การลงทุน และการบริการขนสงที่เชื่อมตอประเทศตางๆในภูมิภาคเดียวกัน ซึ่ง เชื่อวายุทธศาสตรนี้จะมีอิทธิพลโดยตรงตอการกําหนดนโยบายการสงเสริมการลงทุน ในพื้นที่เชียงของทั้งเขตเมืองเกาและเขตเมืองใหม อนึง่ ในปจจุบนั เมืองเชียงของถือวาเปนเมืองชายแดนทีม่ คี วามนาสนใจในการ ลงทุนอยางมาก นับตั้งแตมีการดําเนินงานกอสรางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 จวบจนกระทั่งมีการเปดใชสะพานอยางเปนทางการเมื่อปลายป 2556 การไดรับอนุมัติ จัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของทีเ่ นนอุตสาหกรรมบริการรองรับโลจิสติกส ในป 2549 รวมทั้ง การไดรับอนุมัติเห็นชอบใหเมืองเชียงของเปนหนึ่งในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการ เปนเขตเศรษฐกิจพิเศษของเชียงราย ทีม่ บี ทบาทของการเปนเมืองโลจิสติกสและบริการ ขนสงและเมืองแวะผานสําหรับนักทองเที่ยว (Logistics city) ในป 2556 อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงสถานภาพการลงทุนของเชียงของในระยะที่ผานมา พบวา การลงทุนมี การเปลี่ยนแปลงอยางมาก เดิมนักลงทุนในเมืองเชียงของจะเปนนักลงทุนทองถิ่นที่ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ประเภทการคาปลีก/คาสง และ การทองเทีย่ ว เปนหลัก และมีระบบการบริหารจัดการแบบครอบครัวที่อาศัยภูมิปญญาทองถิ่นมา ประยุกตใช แตในปจจุบนั นักลงทุนทีห่ ลัง่ ไหลเขามาในเมืองเชียงของลวนเปนนักลงทุน จากตางถิ่นและตางประเทศที่มีขนาดการลงทุนในระดับกลางและระดับใหญ เนน ประกอบธุรกิจบริการโลจิสติกสเปนหลัก และมีรูปแบบบริการจัดการที่เปนระบบ อยางไรก็ตาม แมวาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสถานภาพการลงทุนในเมือง เชียงของขางตน จะเกิดขึ้นเนื่องจากการพัฒนาเสนทางเชื่อมตอระหวางชายแดน ประเทศไทยและลาว และมีการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเชียงของ แตอาจจะยังไมใช เหตุผลทัง้ หมดทีม่ ตี อ การเปลีย่ นแปลงดานการลงทุน ดังนัน้ การทบทวนถึงสัญญาณการ เปลี่ยนแปลงเชียงของที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการ ลงทุนของพืน้ ทีช่ ายแดนแหงนี้ จึงเปนสิง่ ทีค่ วรดําเนินการในเบือ้ งตน ซึง่ จะเปนประโยชน ตอภาครัฐและเอกชนที่จะไดนําหาแนวทางการสงเสริมการลงทุนที่เหมาะสมกับเมือง ชายแดนเชียงของตอไป

142 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ภาพถายบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 (เชียงของ-หวยทราย) ถายโดย: ณัฐพรพรรณ อุตมา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 คุณยอดฤทัย เรวรรณ สมาชิกสภาเทศบาลเวียงเชียงของ

Q: เมืองเชียงของไดมีแนวทางในการวางผังเมืองไวอยางไรบาง? คุณยอดฤทัย: ภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วของไดรว มกันรางผังเมืองเชียงของ ซึง่ อยูภายใตแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ โดยทําการรวบรวมศักยภาพของ แตละหมูบาน แตละตําบล แตละทองถิ่นวาตองการทําอะไรบาง อยากพัฒนาตรงจุด ไหนบาง แลวนํามาใชในการวางยุทธศาสตรของพื้นที่นั้นๆ เพื่อทําใหเกิดการมีสวนรวม ในการวางแผนการพัฒนาตามความตองการแตละพื้นที่อยางแทจริง สวนการเขามา ประกอบกิจการของคนนอกพื้นที่ก็จะตองมีขอบเขต เชน การประกอบกิจการโรงงาน อุตสาหกรรม โรมแรมระดับใหญๆ จะตองสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร ทุกหนวยงาน ที่เกี่ยวของก็จะตองรวมมือกัน การลงทุนขนาดใหญในพื้นที่ตัวเมืองเชียงของเกา จะไม ไดรับอนุญาต ในผังเมืองจะระบุชัดเจนเกี่ยวกับการใชพื้นที่เชียงของเมืองเกาและเมือง ใหม “หนึง่ เมืองสองแบบของอําเภอเชียงของ” ในเขตเชียงของเมืองเกา จะอนุรกั ษแบบ เมืองเกา โดยเฉพาะอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีเกาๆ ของเราไว

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 143


ภาพถายบริเวณดานหนาโครงการศูนยการคาชายแดนเชียงของเมืองใหม ตําบลสถาน อําเภอเชียงของ ถายโดย: ณัฐพรพรรณ อุตมา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 คุณธนิสร กระฎมพร ประธานหอการคาอําเภอเชียงของ

Q: เชียงของมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบางในระยะที่ผานมา? คุณธนิตสร: ในชวงป 2556-2557 เปนชวงทีเ่ มืองเชียงของมีการเปลีย่ นแปลง อยางรวดเร็ว มีการเขามาลงทุนอยางมากมาย โดยเฉพาะดานโลจิสติกส นักลงทุนที่ซื้อ ที่ดินสวนใหญนํามาประกอบธุรกิจดาน โลจิสติกส ใครลงทุนกอนคนนั้นไดเปรียบ แต นักลงทุนไมไดมองถึงปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่เลย มองเพียงแตวาเมื่อลงทุนไปแลว ตอง ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให อ ยู  ไ ด นอกจากนี้ ท างบริ ษั ท ยั ง ได รั บ การสนั บ สนุ น จากการนิ ค ม อุตสาหกรรมเชียงของอีกดวย Q: เชียงของมีการวางผังเมืองและแผนยุทธศาสตรอยางไรบาง และคนเชียงของได รับทราบขอมูลนี้หรือไม? คุณธนิตสร: อําเภอเชียงของไดวางแผนยุทธศาสตรของการเปน 1 เมือง 2 แบบ เขตเชียงของชัน้ ในจะเปน Old town เขตรอบนอกจะเปน New town อยูใ นแผน ยุทธศาสตรเขตเศรษฐกิจพิเศษ เชียงของจะเนนการทองเที่ยวและโลจิสติกส แผนยุทธ

144 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ศาสตรฯนี้ ไดทาํ การเผยแพร ประชาสัมพันธ ทําประชาคมทุกพืน้ ที่ ทัง้ นายก กลุม NGO ไดมีการเขาไปสํารวจความตองการของชาวบานในพื้นที่ และไดมีการวางแผนสงเสริม ในเบื้องตน กลุม NGO ก็ไดลงพื้นที่ภาคสนาม ทํารายงานสรุปเกี่ยวกับความตองการ ของคนในพื้นที่ รายงานทั้งหมดจะถูกสงมาที่อําเภอ หลังจากนั้นจะมีการแบงงานไปยัง หนวยงานที่เกี่ยวของ รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณ สวนเรื่องการสงเสริมการลงทุน ใน อ.เชียงของ ทางหอการคาก็มีการชักชวนนักลงทุนใหเขามาลงทุนในพื้นที่เพิ่มมาก ขึ้น Q: คนชาวเชียงของสวนใหญรับรูถึงยุทธศาสตรและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น มากนอยแคไหน? คุณธนิตสร: คนเชียงของยอมรับในการเปลี่ยนแปลง คือยอมรับในการ เปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ คนพืน้ ทีต่ อ งไดอะไรบาง แมวา นักลงทุนอาจจะเสียผลประโยชนบาง ตัว แตเราก็ยอมรับ เราไมไดมองแคตัวเราเอง Q: ตอนนี้ทางหอการคาเชียงของไดทําความรวมมือทางเศรษฐกิจกับทางหอการคา ทางฝงลาวอยางไรบาง? คุณธนิตสร: ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางไทย-ลาว มีความสัมพันธกัน ตลอด ทางแขวงหวยทราย ถาเทียบกับเชียงรายคือ อ.เมือง และทางหวยทรายก็มีชื่อ เปน จ.หวยทราย ความรวมมือทางเศรษฐกิจจะทําในนาม จ.เชียงรายกับ แขวงบอแกว อยางไรก็ตามความแตกตางของตําแหนงขาราชการลาวและไทย ก็ทําใหความรวมมือ ระหวางพื้นที่ชายแดนออกมาเปนประเด็นระหวางประเทศ ไมใชประเด็นดานชายแดน เชียงของอยากใหหนวยงานในทองถิน่ สามารถออกกฎหมายปกครองดูแลตัวเองในพืน้ ที่ ได ปจจุบันเชียงของกําลังจะเริ่มราง MOU ระหวางเมืองชายแดนเชียงของ-หวยทราย ซึ่งตองระดมบุคลากรจากหนวยงานตางๆ ของ จ.เชียงราย เนื่องจากเชียงของยังมีขอ จํากัดดานบุคลากรในการดําเนินการ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 145


คุณสงวน ซอนกลิ่นสกุล รองประธานหอการคาจังหวัดเชียงราย ฝายอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงและพัฒนาระบบโลจิสติกส

Q: ภาพรวมของการคา การลงทุนเชิงพื้นที่ และการเปนผูประกอบการในพื้นที่ อ.เชียงของมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง? คุณสงวน: สิ่งที่มาเปลี่ยนแปลงเชียงของในชวง 4-5 ปที่ผานมาคือการสราง เสนทาง R3A ทําใหทางเลือกในการขนสง การคมนาคม และโลจิสติกสมีมากขึ้น และ เมื่อสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 เชื่อมตอแลว ทําใหการขนสงระหวางเชียงของหวยทราย เปลี่ยนมาใชสะพานมากขึ้น แตการใชสะพานในปจจุบนั ยังมีอัตราคาใชจาย ที่สูงมาก คนที่จะเขามาทําธุระสวนตัวในอําเภอเชียงของ เมื่อคํานวณคาใชจายดูแลวก็ ไมคมุ ทีจ่ ะขามมา เพราะฉะนัน้ คนทีจ่ ะขามมาก็จะเปนนักธุรกิจทีม่ คี วามตองการในการ ซื้อสินคาและสามารถขนสงกลับไปถึงที่หมายไดอยางรวดเร็ว สิ่งที่เราไดรับเพิ่มเติมคือ ดานการทองเที่ยวที่เติบโตขึ้นทุกๆป เปนกลุมนักทองเที่ยวไทยที่เดินทางไปยังจีนตอน ใตและกลุมนักทองเที่ยวตางชาติที่ตองการขามไปประเทศลาว เชียงของจึงเปนแคทาง ผาน อาจจะมาพักคางแรมแคหนึง่ คืนเพือ่ เตรียมเอกสารขามแดน ในปจจุบนั รานอาหาร โรงแรม เกสเฮาสเหลานั้น ก็จะอยูไดดวยกลุมนักทองเที่ยวเหลานี้ Q: ในสวนของคาใชจายที่ใชในการขามแดนที่ยังสูงอยู เราจะสามารถกําหนดราคา เองไดหรือไม? คุณสงวน: ปจจุบันคาใชจายขามสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 1-3 มีคาใช จายที่ตํ่ากวาเรามาก แตเชื่อวาในระยะแรกก็อาจจะเจอปญหาเชนเดียวกัน หากมีการ เจรจากันระหวางเมืองชายแดนเชียงของ-หวยทราย ก็อาจจะมีการปรับราคาที่เหมาะ สมได ทางหนวยงานภาคเอกชนในเชียงของ ก็จะนําสงขอมูลนี้ไปสูระดับจังหวัด และ ระดับจังหวัดก็สงตอใหกับหนวยงานที่มีอํานาจในการตัดสินใจนําไปดําเนินการตอไป บางครั้งอาจจะตองใชการเจรจาระหวางหนวยงานในระดับประเทศ Q: ปจจุบนั มีการทําความรวมมือทางเศรษฐกิจในระดับเมืองชายแดนเชียงของ-หวย ทรายหรือไม? คุณสงวน: มี แตปญหาของการทําความรวมมือฯ ระดับเมืองชายแดนตอนนี้ คือความแตกตางของการใชอํานาจในการตัดสินใจ ทางประเทศลาว เลขาธิการพรรค

146 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ของแขวงเปนทั้งเจาแขวง และมีอํานาจเทียบเทารัฐมนตรี ซึ่งถาจะมีการเจรจาระหวาง พรมแดนก็จะตองติดตอผานกระทรวงการตางประเทศ แตทางเชียงของตองการให เปนการเจรจาระหวางทองถิน่ เพราะการติดตอผานระดับจังหวัดไปจนถึงระดับประเทศ ตองใชเวลาพอสมควร ตอนนี้มีสนธิสัญญาหรือ MOU หลายอยางที่จะตองดําเนินการ ซึ่งทําใหประเทศไทยเสียโอกาสหลายๆ อยางไป Q: แนวโนมการใชอํานาจการตัดสินใจทําความรวมมือทางเศรษฐกิจของเมือง ชายแดนจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม? คุณสงวน: ในมุมมองของภาคเอกชน ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทางฝงไทยก็มัก จะสงผลกระทบถึงทางฝงลาวเสมอ ตอนนี้ธุรกิจทางฝงลาวก็เริ่มซบเซาลงไปบางแลว หอการคาเชียงรายพยายามสรางความสัมพันธระหวางหนวยงานภาคเอกชนของทัง้ ทาง ฝงไทยและลาว โดยนําผลกระทบที่เกิดขึ้นเขาสูที่ประชุมอยูเสมอ ไมวาจะเปนผลกระ ทบที่เกิดกับธุรกิจเรือรับจางระหวางฝงไทยกับฝงลาว เนื่องจากคนสวนใหญหันไปใช บริการสะพานมากขึ้น ขณะที่ผูประกอบการทางฝงลาวยังไมสามารถรองเรียนอะไรได มากนัก เพราะระบบการบริหารงานภายในของทางฝงลาว อยางไรก็ตาม หากมีการ พบปะกันเจรจากันอยางไมเปนทางการมากขึน้ ก็จะทําใหการขอความรวมมือเพือ่ แกไข ปญหารวมกันระหวางเมืองชายแดนเปนไปไดงา ยขึน้ และสิง่ ทีท่ างฝง ลาวควรจะพัฒนา คือเรื่องกฎหมายสงเสริมการลงทุน เพราะมีแนวโนมการลงทุนที่เพิ่มขึ้นในอนาคตขาง หนา ทางลาวถือวาจีนเปนคูค า อันดับหนึง่ ในการเจรจา เพราะจีนมีศกั ยภาพในการลงทุน สูงมาก อันดับสองคือญี่ปุน ตอนนี้บริษัทของญี่ปุนก็เริ่มมาลงทุนในลาวมากขึ้น และมี แนวโน ม ที่ จ ะลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น ไปอี ก อั น ดั บ สามคื อ เวี ย ดนาม อั น ดั บ สี่ คื อ พม า ส ว น ประเทศไทยตอนนีอ้ ยูอ นั ดับทีห่ า เพราะปญหาการเมืองทีไ่ มมนั่ คงในชวงทีผ่ า นมา ความ สําคัญในการทําสัญญา ขอตกลง หรือการเจรจากับประเทศไทยเริ่มถูกลดความสําคัญ ลงเรื่อยๆ จากขอมูลดังกลาวขางตน ไดแสดงใหเห็นถึงสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของ พื้นที่เชียงของที่สําคัญ 4 ประการ ไดแก ยุทธศาสตรการพัฒนาเชียงของ “หนึ่งเมือง สองแบบ” ชายแดนภิวัฒน เมืองชายแดนเกิดใหม และ การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมี สวนรวมรวมกัน เปนไปไดวา ในอนาคตเมืองเชียงของจําเปนตองผลักดันนโยบายสง เสริมการลงทุนเพื่อตอบสนองตอ 4 สัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังนี้

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 147


ยุทธศาสตรการพัฒนาเชียงของ “หนึ่งเมืองสองแบบ”

จุดกําเนิดของยุทธศาสตรการพัฒนาเชียงของ “หนึ่งเมืองสองแบบ” เกิดขึ้น บนเงื่อนไขที่คนเชียงของตองการเห็นการพัฒนาเมืองไปในทิศทางของการอยูรวมกัน อยางมีดลุ ยภาพและยัง่ ยืน ระหวาง เมืองชายแดนเกาทีม่ กี ารอนุรกั ษวถิ ชี วี ติ แบบดัง้ เดิม และ เมืองชายแดนใหมที่มีวิถีชีวิตตั้งอยูบนการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก โดยมีหลัก คิดที่สําคัญประการหนึ่งคือ “การรูจักตัวตน...เขาใจอดีต เทาทันปจจุบัน และเชื่อมโยง สูอ นาคตทีย่ งั่ ยืน” (โครงการศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการเมืองเชียงของฯ, 2556 หนา 16) ประชาชนชาวเชียงของจึงไดรวมตัวกันเพื่อยกรางยุทธศาสตรฯนี้ขึ้น รวมทั้ง ยังไดหลอมรวมแนวคิดนี้สูการยกรางแผนยุทธศาสตรเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของอีก ดวย อยางไรก็ตาม จากการมีสวนรวมในการพัฒนาเมืองเชียงของและการผลักดันให เกิดการรับรูภายในชุมชนเชียงของ ทายที่สุด “หนึ่งเมืองสองแบบ” จะกลายเปนอัต ลักษณของเมืองเชียงของ (Chiang Khong Identity) ที่สามารถตอบโจทยการ เปลี่ยนแปลงในอนาคตไดเปนอยางดี

ชายแดนภิวัฒน

ชายแดนภิวัตน (Borderization) เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระ ทบตอชุมชนและสังคมบริเวณพื้นที่ชายแดน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครอง กฎหมาย เทคโนโลยี การสื่อสาร สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม ทําใหเกิดการ ปรับเปลี่ยนเมืองชายแดนเดิมใหกลายเปนเมืองชายแดนรูปแบบใหมที่ไรพรมแดนและ มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเปนอยางมาก ตัวอยางเชน การขยาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจขามแดน (Cross-border economic activities) อาทิ การเคลือ่ น ยายสินคาและบริการ ทรัพยากรการผลิต แรงงาน และเงินทุนขามแดน ก็ถอื วาเปนแรง ผลักดันหนึ่งของกระแสชายแดนภิวัฒนเชนกัน ทั้งนี้กระบวนการเปลี่ยนแปลงเมือง ชายแดน โดยเฉพาะเมืองชายแดนเชียงของนัน้ มักไดรบั อิทธิพลมาจากการเปลีย่ นแปลง ของประเทศในมิติตางๆ รวมทั้งอิทธิพลของกระแสการเปลี่ยนแปลงของภูมิภาคและ ของโลก อาทิ อาเซียนภิวัฒน (Aseanization) และ โลกาภิวัฒน (Globalization) หาก เปนเชนนั้นแลว การเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 ก็นาจะสงผลกระทบ อยางรุนแรงตอการเปลี่ยนแปลงมิติดานเศรษฐกิจและสังคมขางตน เมืองเชียงของก็จะ ตองเตรียมรับมือกับกระแสชายแดนภิวฒ ั น โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ ทีม่ าพรอมกับการ

148 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เปลี่ยนแปลงดานการคาสินคาและบริการขามพรมแดน การลงทุนขามพรมแดน และ การเคลื่อนยายคนขามแดน อยางหลีกเลี่ยงไมได

เมืองชายแดนเกิดใหม

เชียงของ ถือวาเปนเมืองชายแดนเกิดใหม (Emerging Border City) ที่มีการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางตอเนือ่ งในระยะ 5-10 ปทผี่ า นมา ทัง้ ภาคการผลิตและภาค การบริการ โดยเฉพาะภาคบริการโลจิสติกสที่มีอัตราการเติบโตแบบกาวกระโดด นอกจากนี้เมืองเชียงของยังมีการจางแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้น มีอัตราการเติบโตของการคา ชายแดนและการคาขามแดนอยางเห็นไดชัด และ มีการขยายตัวของการลงทุนทั้งจาก ในประเทศและตางประเทศ ดวยเหตุนี้ จึงปฏิเสธไมไดวาเมืองเชียงของเปรียบเสมือน เมืองชายแดนเกิดใหม ที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจการคาและการลงทุน และ ศักยภาพ ทางภูมิเศรษฐกิจที่สามารถเชื่อมตอประเทศหรือเปนประตูสูประเทศตางๆ ในภูมิภาค เดียวกันไดเปนอยางดี เมืองชายแดนเกิดใหมแหงนีก้ าํ ลังถูกทาทายจากการเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และ ระดับโลก ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม วาคนเชียงของจะนําพาเมืองชายแดนเกิด ใหมนี้ไปในทิศทางใด

การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีสวนรวมรวมกัน

การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีสวนรวมรวมกัน (Mutually Inclusive Growth) กับเมืองชายแดนที่ติดกันของประเทศเพื่อนบาน เปนการรวมตัวกันของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจขามแดน ทั้งดานการผลิต การจางงาน การคา และ การลงทุน โดยมีการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจชายแดนรวมกัน (Common border economic policy) ในรูปของความรวมมือทางเศรษฐกิจชายแดนหรือขอตกลงทางเศรษฐกิจ ชายแดน ทําใหเกิดการเติบโตของเมืองชายแดนเปนไปอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน และสามารถสรางพลังขับเคลือ่ นเศรษฐกิจชายแดนใหเติบโตอยางยัง่ ยืนนัน้ ถือเปนความ ทาทายทีส่ าํ คัญอยางยิง่ เมืองเชียงของจะสามารถสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดน แบบมีสว นรวมรวมกันกับเมืองหวยทรายในประเทศลาว ไดหรือไมนนั้ ก็ตอ งอาศัยความ รวมมือกันของทุกฝายทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาชนรวมกันผลักดันใหเมืองชายแดน ทัง้ สองเห็นประโยชนรว มของการรวมตัวกันในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจขามแดน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 149


โดยสรุป 4 สัญญาณการเปลี่ยนแปลงเมืองเชียงของในอนาคตที่คาดวาจะมี ผลต อ การวางกรอบนโยบายส ง เสริ ม การลงทุ น ในเมื อ งเชี ย งของ ประกอบด ว ย ยุทธศาสตรการพัฒนาเชียงของ “หนึ่งเมืองสองแบบ” ชายแดนภิวัฒน เมืองชายแดน เกิดใหม และ การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีสว นรวมรวมกัน ซึง่ ไดถกู กลัน่ กรองจากขอ เท็จจริงและการสัมภาษณผูที่มีสวนเกี่ยวของ อยางไรก็ตามบทความนี้เปนเพียงขอเท็จ จริงเบือ้ งตนทีย่ งั ขาดการสังเคราะหอยางเปนระบบ ดังนัน้ จึงยังมิอาจนําผลการศึกษานี้ เปนฐานความรูในการวางนโยบายการสงเสริมการลงทุนที่เหมาะสมกับเมืองชายแดน เชียงของได

กิตติกรรมประกาศ

บทความนี้ไดนําเสนอบางสวนของขอเท็จจริงในพื้นที่เชียงของ จังหวัด เชียงราย ภายใตงานวิจัยเรื่อง “นโยบายสงเสริมการลงทุนอําเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย” ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อประมวลงานวิจัยเบื้องตน ประกอบกับขอมูลที่คนควาเพิ่ม เติม และการสัมภาษณผูที่มีสวนเกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน คุณยอดฤทัย เร วรรณ สมาชิกสภาเทศบาลเวียงเชียงของ คุณธนิสร กระฎมพร ประธานหอการคาอําเภอ เชียงของ และ คุณสงวน ซอนกลิ่นสกุล รองประธานหอการคาจังหวัดเชียงราย ฝายอนุ ภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ในโอกาสนี้คณะผูวิจัยฯขอขอบคุณทุกทานที่สละเวลามาใหขอมูล อันจะทําใหบทความนี้มคี วามสมบูรณยิ่งขึ้น

150 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


แมสาย เชียงแสน เชียงของ….เมืองชายแดนเกิดใหม แหงอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงตอนบน (Mae Sai, Chiang Saen, Chiang Khong…Emerging Border Cities in Upper GMS) เขียนโดย ณัฐพรพรรณ อุตมา และปรางค ภาคพานิช

สัมภาษณพิเศษ “คุณพัฒนา สิทธิสมบัติ” ประธานคณะกรรมการ เพื่อโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจหอการคา 10 จังหวัดภาคเหนือ “เมืองชายแดนเชียงรายจะเติบโตแบบยั่งยืน จําเปนตองยกระดับเปน Corridor Town” การติดตามความเคลือ่ นไหวของภาวะเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดเชียงราย อันเนื่องมาจากการการเปลี่ยนแปลงบริบทของเมืองชายแดน ถือวาเปนสิ่งสําคัญที่ทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จําเปนตองทําการศึกษาและวิเคราะหผลกระ ทบทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนือ่ ง และนําผลการศึกษานัน้ ๆมาใชเพือ่ เตรียมความพรอมตอการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งเมือง ชายแดนแมสาย เชียงแสน และเชียงของ ถือวาเปนเมืองชายแดนเกิดใหมแหงอนุภมู ภิ าค ลุมแมนํ้าโขงตอนบนที่สําคัญตอการเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงราย บทความนี้ จึงไดเรียบเรียงขอคิดเห็นของผูท รงคุณวุฒทิ เี่ ชีย่ วชาญดานการวางแผนการพัฒนาเมือง ชายแดนในประเด็นที่เกี่ยวของกับ “เมืองชายแดนเกิดใหมแหงอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ตอนบน” เพื่อเปนประโยชนตอการวิจัยในอนาคต แนวทางการกําหนดนโยบายและ ทิศทางการปรับตัวเชิงรุกและเชิงรับของชุมชนและสังคมของเมืองชายแดนที่มีตอการ เปลี่ยนแปลงบริบททางเมืองชายแดนตอไป

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 151


การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดน (Border Economic Growth)

Q: การเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดนทั้งภาคการคา การลงทุน การบริการ มีการ เปลี่ยนแปลงมากนอยเพียงใดจากในอดีต อยางไร? คุณพัฒนา: การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนจะเห็นไดอยางชัดเจน ในป พ.ศ. 2546 เมือ่ รัฐบาลไทยดําเนินยุทธศาสตรการบริหารจัดการบานเมืองดวยการก ระจายอํานาจลงสูทองถิ่น ไปยังองคกรปกครองทองถิ่น (อปท.) องคการบริหารสวน จังหวัด (อบจ.) และ องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) บทบาทของ local government ทําใหเกิดการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและสาธารณูปโภคทีด่ ี ตัวอยางเชน อําเภอแมสาย หากดูภาพถายทางอากาศจะเห็นไดวา พืน้ ทีข่ องอําเภอแมสายมีพนื้ ทีน่ อ ยกวาทาขีเ้ หล็ก ในประเทศเมียนมาร แตเมือ่ พิจารณาการบริหารจัดการพืน้ ที่ พบวา พืน้ ทีท่ า ขีเ้ หล็กสวน ใหญยงั เปนทุง นา ทีอ่ ยูอ าศัยจะเปนหองเชาราคาถูก แรงงานเมียนมารทที่ าํ งานในแมสาย มักเดินทาง ไป-กลับ เกิดเปนชุมชนแออัดอยูใ นทาขีเ้ หล็ก และมักเกิดปญหาอาชญากรรม และการลักลอบคาขายสินคาผิดกฎหมาย ขณะที่เมืองชายแดนแมสายจะมีการพัฒนา พื้นที่สําหรับประกอบการคาชายแดนและที่อยูอาศัย รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่น

152 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ที่เกี่ยวของกระจายไปทั่วเมืองชายแดน ซึ่งแสดงถึง Border Economic Growth แบบ มีสวนรวมอยางหนึ่ง ความแตกตางของรูปแบบการปกครอง การกระจายอํานาจ การ รวบอํานาจของเมืองชายแดนทั้งสองนี้สงผลใหเกิดความเหลื่อมลํ้าของการพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจชายแดนทั้งสองประเทศ ยิ่งมีการขยายตัวของการคาการลงทุนในเมือง ชายแดนแมสายและทาขีเ้ หล็กมากขึน้ เทาไร การเติบโตและกระจายตัวทางเศรษฐกิจใน อําเภอแมสายจะยิง่ มีมากขึน้ เทานัน้ ขณะทีท่ า ขีเ้ หล็กยังตองใชเวลาอีกมากในการพัฒนา เมืองชายแดนนี้ ไมวาจะเปนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค การคา ในอําเภอแมสายสวนใหญเปนการคาชายแดน สวนการคาขามแดนยังคงมีนอย และใน อนาคตการคาผานแดนอาจจะเกิดขึ้นได เนื่องจากมีสะพานขามแดน 2 (ดานแมสาย สอง) ที่สามารถเชื่อมประเทศเมียนมาร ไทย และสปป.ลาว เขาดวยกัน และจะชวย สนับสนุนการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ. 2558 ไดเปนอยางดี อยางไร ก็ตาม รูปแบบการคาขามแดนและ/หรือผานแดนในดานนี้ จะเปนการคาแบบปกติ ไมใช การคาแบบพิเศษตามกรอบความรวมมืออนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (Greater Mekong Sub-region Cooperation: GMS) แตอยางใด แมวา กรอบความรวมมือ GMS จะมีการ ระบุเสนทางระเบียงเศรษฐกิจที่เชื่อมเมืองเชียงตุง ประเทศเมียนมาร อําเภอแมสาย ประเทศไทย และเมืองเมียวดี ประเทศเมียนมาร อยูในภาคผนวกของความรวมมือดัง กลาวก็ตาม การลงทุนในอําเภอแมสาย ปจจุบันราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นมากเนื่องจาก ความไมชัดเจนของการพัฒนารูปแบบการคาในบริเวณดังกลาว จึงสงผลใหราคาที่ดิน สามารถเพิม่ สูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง หากมองโอกาสการลงทุนของทีด่ นิ ในรัฐฉาน ยังมีความ เปนไปได เนื่องจากรัฐบาลของรัฐฉานกําลังปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกฎหมายตางๆ ของ ที่ดินในฝงเมียนมาร และพื้นที่รัฐฉานเปนพื้นที่เศรษฐกิจที่เหมาะกับการขยายชองทาง ดานการทองเที่ยว และมีเสนทางที่สามารถเชื่อมตอจากเมืองเชียงตุงไปตอนใตของจีน ไดดวยระยะทางที่สั้นที่สุด อําเภอเชียงแสน การเติบโตทางเศรษฐกิจของเชียงแสนจะแตกตางจากแมสาย เพราะวาพื้นที่เชียงแสนเปนพื้นที่ประวัติศาสตร มีโบราณสถาน ขนาดพื้นที่มีคอนขาง จํากัด จึงทําใหไมสามารถจะขยายการเติบโตของกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดมากกวาเดิม แตควรจะพัฒนาใหเปนเมืองมรดกโลก เมืองโบราณพิเศษ และเมืองตนทุนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ชุมนํ้าเวียง หนองหลมและทะเลสาบเชียงแสน (แรมซารไซต) โดยแทจริงแลว การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนเชียงแสน ประกอบดวย (1)

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 153


การคาชายแดนที่เชื่อมโยงกับการขนสงสินคาทางแมนํ้าโขง (2) การทองเที่ยวและการ บริการในเชิงวัฒนธรรมและโบราณสถาน และ (3) การมีเขตเศรษฐกิจพิเศษอยูในฝง ตรงขาม คือ คิงสโรมัน (King’s Roman) เมืองตนผึง้ แขวงบอแกว สปป.ลาว การเติบโต ทัง้ 2 ดานทําใหการบริหารจัดการพืน้ ทีเ่ ชียงแสนมีความยุง ยากพอสมควร ถาจะเนนการ เติบโตของการคาขายทางนํา้ ระหวาง 3 ประเทศ (ไทย-ลาว-จีนตอนใต) ตามกรอบความ รวมมือของระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต ก็จะไปติดตรงแรมซารไซต ติดในเรือ่ งของโบราณ สถาน... ในอนาคต การคาขามแดนและการคาผานแดนของเชียงแสนทีเ่ ชือ่ มโยงกับเมือง เขตเศรษฐกิจพิเศษ คิงสโรมัน อาจเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาเมืองชายแดน เชียงแสน อําเภอเชียงของ ปจจุบัน เมืองชายแดนเชียงของมีการพัฒนาในรูปแบบของ corridor town ที่สามารถใชประโยชนจากเสนทางตามระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใตของ กรอบความรวมมือ GMS โดยเฉพาะการใชสทิ ธิในเรือ่ งการขนสินคาขามพรมแดน ขนสง สินคาที่ทําการผลิตสินคาในพื้นที่ชายแดนเขาสูระเบียงเศรษฐกิจไดเลย และ corridor town ยังชวยสนับสนุนการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หากเราผลิตสินคาและได มาตรฐานของอาเซียน ก็สามารถสรางเปนฐานการผลิต โดยการเอาชิน้ สวนของประเทศ หนึง่ มาประกอบและสงออกไปเปนสินคาอาเซียน สงออกไปยังจีน อําเภอเชียงของมีการ บริหารจัดการพืน้ ทีค่ อ นขางดีในแงของโครงสรางพืน้ ฐานและการจัดการเมืองในรูปแบบ “1 เมือง 2 แบบ” ประกอบกับการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจของหวยทราย สปป.ลาว จึง ทําใหการเติบโตและการกระจายทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนทั้งสองจะเปนการ เติบโตแบบมีสวนรวม Q: รูปแบบการเติบโตของเศรษฐกิจชายแดนควรมีลักษณะอยางไร และควรจะ เปนการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไร? คุณพัฒนา: หากมองรูปแบบการเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดน โดยยึดความ ไดเปรียบในพืน้ ทีช่ ายแดนเปนหลัก เมืองชายแดนเชียงราย ควรกําหนดตนเองในรูปแบบ ของ (1) การเปน sister city และการเปน corridor town ซึ่งเปน concept ของ ADB นั่นคือการผลิตสินคาพื้นฐานแลวปรับเปลี่ยนใหเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูง ซึ่งเปนการ แลกเปลีย่ นทรัพยากรกัน เปนฐานการผลิต เปนการนํารูปแบบของ Asean Economics Community (AEC) เขามาใชในพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การกําหนดการใชวัตถุดิบ

154 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


(material) จากประเทศเพือ่ นบานมาเปนสวนประกอบ ตัวอยางเชน ถาสินคาสําเร็จรูป ทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศไทย รอยละ 40 ของวัตถุดบิ ทีเ่ ปนสวนประกอบในการผลิตสามารถ นํามาจากประเทศอื่นๆในสมาชิกอาเซียนได เพราะฉะนั้นก็สามารถเอารูปแบบนี้มาสง เสริมการคาระหวางกันได และเปนการสรางโอกาสใหกบั นักธุรกิจดวยกัน หากเราสราง เมืองชายแดนในรูปของ corridor town และกําหนดใหมีรูปแบบการใชวัตถุดิบจาก corridor town เชนเดียวกับกรอบความรวมมือ AEC ก็สามารถสรางอัตลักษณใหกับ สินคาชายแดนรวมในนามของ corridor town ได และ (2) การเปนเมืองอุตสาหกรรม อาหาร เปน gastronomy and culinary industry โดยกระตุนและสงเสริมใหนักทอง เทีย่ วเขามาทานอาหารทองถิน่ อาหารพืน้ บาน ทีม่ เี ฉพาะในพืน้ ที่ เชน อาหารเมียนมาร ตองทานที่ แมสาย อาหารลาวตองทานที่ เชียงของ เปนตน ซึง่ สามารถสรางความแตก ตางและความหลากหลายในเชิงวัฒนธรรมไดเปนอยางดี ความสําเร็จของการเติบโตทาง เศรษฐกิจชายแดนในรูปแบบนี้ จําเปนตองบูรณาการระหวางรูปแบบ corridor town ที่จะทําใหตัวสินคานั้นสามารถที่จะผลิตรวมกันแลวเปาหมายคือลูกคากลุมเดียวกัน ก็ คือลูกคาที่เขามาในทองถิ่น นักทองเที่ยวที่เขามาในพื้นที่ก็สามารถที่จะขายความเปน อาหารพิเศษเฉพาะพื้นที่ เปนรูปแบบเฉพาะของพื้นที่ (location-driven strategy) คลายๆกับประเทศญี่ปุน โดยสรุปการเติบโตของเมืองชายแดนควรมีลักษณะแบบสวน รวมรวมกันมากกวาแขงขันกัน Q: บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนตอการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของเมือง ชายแดนควรเปนอยางไร? คุณพัฒนา: บทบาทของภาครัฐ การสนับสนุนของภาครัฐจะตองมองตนทุนที่ เกิดขึน้ เปนสําคัญ Governor Forum ควรจะมีการคุยกันและระบุอาํ นาจหนาทีใ่ หชดั เจน ระหวางผูมีอํานาจ (authority) ของแตละ Governor Forum Organization เชน ผู วาทาขี้เหล็กกับนายอําเภอแมสายก็ควรจะคุยในเรื่องของการอํานวยความสะดวก ทางการคา (trade facilitation) ในแงของกรอบแนวคิดแผนงาน (roadmap) ทีช่ ดั เจน และแยกใหออกระหวางผูมีอํานาจกับการดําเนินงานการอํานวยความสะดวกทางการ คา และควรมีการแลกเปลี่ยนขอมูลทั้งสองฝาย ตัวอยางเชน การปดเปดสะพานขาม แดน จะเปนเรื่องของผูมีอํานาจ แตหากเปนเรื่องของการอํานวยความสะดวกทางการ คา เชน เอารถเขามาในเมืองไทยแลวรถเสีย ผูวาราชการสามารถขอมาทางนายอําเภอ ในเรื่องของการอํานวยความสะดวกดานการขนสงคน ไมวาจะเปนในเรื่องของ การเจ็บ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 155


ปวยก็ตาม นีค่ อื บทบาทของภาครัฐทีต่ อ งมองการอํานวยความสะดวกทางการคาใหออก ระหวางอํานาจหนาที่กับกฎหมายซึ่งเปนเรื่องของความมั่นคง ขณะที่บทบาทของภาคเอกชน การดําเนินงานของภาคเอกชนควรอยูในรูป แบบของการเติบโตแบบมีสว นรวมแบบพิเศษ (exclusive) ของชายแดนจะดีทสี่ ดุ มีการ จัดประชุมสงเสริมความสัมพันธระหวางกัน มีการเจรจาหารือเรือ่ งทิศทางการเติบโตรวม กัน โดยเชิญภาคเอกชนแตละประเทศมารวมเปนวิทยากร มาแลกเปลี่ยนมุมมองตอ สาธารณชน เปนตน Q: ความสําเร็จของโครงการสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 จะกอใหเกิดนวัตกรรม ในเรื่องการขนสงสินคาขามประเทศและมีรูปแบบการคาชายแดนที่เปลี่ยนไปจาก เดิมหรือไม อยางไร และจะมีกจิ กรรมทางเศรษฐกิจทีแ่ ตกตางจากสะพานขามแมนาํ้ โขงแหงที่ 1-3 อยางไร? คุณพัฒนา: สะพานขามแมนํ้าโขงแหงที่ 4 จะกอใหเกิดนวัตกรรมในเรื่องการ ขนสงสินคาขามประเทศและมีรูปแบบการคาชายแดนที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยเฉพาะ อยางยิ่ง การพัฒนานวัตกรรมโลจิสติกสที่มีความชัดเจนขึ้น และการสรางนวัตกรรม ซัพพลายเชนทองถิ่น (Local supply chain) ซึ่งเดิมการจัดการ ซัพพลายเซนไมไดมี การแยกระหวางซัพพลายทองถิ่นและซัพพลายเชนที่มาจากสวนกลาง ตัวอยางเชน สม โอเวียงแกน นวัตกรรมของซัพพลายเชนจะเปลีย่ นเปนการสราง value chain ของทอง ถิ่น ปรับเปลี่ยนใหเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูงขึ้น (higher value product) เชน ผลไม อบแหงแพ็ค จะทําการผลิตเพื่อการสงออกตามมาตรฐานของ AEC ใหกับผูบริโภคตาม ระเบียงเศรษฐกิจ หรือผูบริโภคที่อยูนอกระเบียงเศรษฐกิจแตเราขนผานระเบียง เศรษฐกิจตามขอตกลง GMS ดังนั้นรูปแบบการคาชายแดนจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยคราวๆ กิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณสะพานสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แหงที่ 1-3 มีรูปแบบที่แตกตางกัน (1) การคาบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 1 (หนองคาย-เวียงจันทน) เปนรูปแบบการคาแบบผานแดน สินคามีความหลากหลาย ตลาดสงออกหลักคือผูบ ริโภคในเวียงจันทร สปป.ลาว (2) การคาบริเวณสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) ปจจุบันการสงออกสวนใหญเปนการสง ออกผลไมจากไทยไปจีนตอนใต โดยผานไปทางเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม ใน

156 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อนาคต สินคาชิ้นสวนอิเล็คทรอนิกสจะเปนสินคาสงออกที่สําคัญ เนื่องจากมุกดาหาร เปนเมืองชายแดนทีต่ ดิ กับเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน ของสปป.ลาว ทีม่ ผี ปู ระกอบ การจากตางประเทศ เชน มาเลเซีย และ จีนมาตัง้ โรงงานผลิตสินคาอิเล็คทรอนิกสจาํ นวน มาก และ (3) การคาบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 3 (นครพนม-ทาแขก) แมวาเสนทางการคานี้จะไมใชระเบียงเศรษฐกิจตามกรอบความรวมมือของ GMS แต ในบริเวณดังกลาวมีปริมาณการคาแบบชายแดนและผานแดนดวยวิธปี กติคอ นขางมาก ในปจจุบัน ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนกับพื้นที่อื่นๆ (Cross-border and Trans-border Connectivity)

ภาพถายบริเวณเชียงของเมืองเกา อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ถายโดย: ปรางค ภาคพานิช เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2557

Q: ความสําคัญของการเชื่อมโยงเมืองชายแดนกับพื้นที่อื่นๆ ในระดับชายแดน ประเทศ และภูมิภาค และกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจตางๆ กับประเทศเพื่อน บานและประเทศอื่นๆในระดับชายแดน ระดับประเทศ และระดับภูมิภาค? คุณพัฒนา: ความสําเร็จของการเชื่อมโยงเมืองชายแดนกับพื้นที่อื่นๆ จําเปน ตองมีการสราง “เสาหลักทางเศรษฐกิจ” แนวคิดที่สําคัญคือ ถาสรางกิจกรรมการผลิต

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 157


ในพื้นที่ หรือ Corridor town แลวปอนเขาสู Economic corridor เพื่อใหเกิดความ คุม ทุนของคาใชจา ยในการขนสง จึงจําเปนตองอาศัยประโยชนของเมือง Corridor town วาจะสามารถผลิตสินคาใหสินคาตรงกับความตองการของบริษัทขนสงและผูบริโภค ปลายทางไดมากนอยเพียงใด หากเมืองชายแดนผลิตสินคาอาหารแหง แตรูปแบบของ การขนสงสินคาเปนอาหารเย็น Corridor town ก็จะไมไดประโยชนในการขนสง เพราะ ฉะนั้นควรดูรูปแบบในการขนสงสินคาวาเปนการขนสงแบบไหน โดยเสาหลักจะเปน เหมือน Roadmap ในการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ปจจุบัน เชียงใหมมียุทธศาสตร Northern land port กับทุกดานของเมือง ชายแดน และใชประโยชนจากทุกดานเพื่อขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของจังหวัด เชียงใหม จึงถือวา เชียงใหมเปน New connectivity model ของพื้นที่ชายแดนไมใช เชียงราย ขณะที่ เชียงรายมองตัวเองเปนเมืองชายแดน (Gateway) ที่เชื่อมตอกับประ เทศอืน่ ๆในภูมภิ าค ประเทศเมียนมาร สปป. ลาว และจีนได ดังนัน้ เชียงรายควรจะเปน Northern land port ที่เปนผูใหบริการ (Facilitator) ขณะที่เชียงใหมเปน Northern land port ที่เปนผูปอนอาหาร (Feeder) เชน ถาเชียงใหมจะสงสินคามาที่เชียงราย เชียงรายก็ทําหนาที่เปนผูใหบริการที่ดี โดยการสงสินคาออกไปยังประเทศใกลเคียง ซึ่ง ถือเปนจุดแข็งของเชียงรายที่สามารถเชื่อมตอกับประเทศอื่นๆได หรือถาเชียงใหมเปน Medical Hub เชียงรายก็ควรจะเปน Health connectivity ที่สามารถเชื่อมโยงการ ใหบริการโรงพยาบาลในทีต่ า งๆได เชนการมี Air ambulance ผูป ว ยก็สามารถเดินทาง ไปใชบริการโรงพยาบาลที่เชียงใหมได เปนตน Q: รูปแบบการเชือ่ มโยงแบบใหม (New Connectivity Model) ของพืน้ ทีช่ ายแดน ควรมีลักษณะอยางไร ในบริบทเศรษฐกิจและสังคม? คุณพัฒนา: พหุวัฒนธรรมของการทําอาหาร (Gastronomy) และศิลปะใน การประกอบอาหาร เปนรูปแบบการเชือ่ มโยงแบบใหมของพืน้ ทีช่ ายแดน เชน เชียงของ ก็จะเนนพหุวฒ ั นธรรมของการทําอาหารลาวรวมกับอาหารไทย แมสายก็จะเนนอาหาร เมียนมารกบั อาหารไทย เชียงแสนสามารถเชือ่ มโยงไดทงั้ อาหารเมียนมารกบั อาหารไทย อาหารลาวกับอาหารไทย และอาหารจีนกับอาหารไทย ในอนาคตก็จะลดเหลือเฉพาะ อาหารที่เดนๆ แตในปจจุบันควรจะสนับสนุนใหเปนแบบนี้กอน ซึ่งเปนลักษณะบริบท สังคมที่เชื่อมโยงแบบใหมของพื้นที่ชายแดนรวม

158 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


นโยบายเมืองชายแดนในอนาคต (Future Border Policies) Q: นโยบายการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในอนาคต (Future Border Policies) ควรมีลักษณะแบบใด? คุณพัฒนา: ควรมีการตกลงทําความรวมมือระหวางเขตเศรษฐกิจพิเศษของ สองประเทศ ในรูปแบบ 1 เขตเศรษฐกิจพิเศษ 2 ประเทศ (1 Border Economic Zone 2 Countries) คือ ทั้งสองฝายควรจะมีความรวมมือกันเปนหนึ่งเดียว ไมแขงขันกัน โดย สามารถทําการแลกเปลี่ยนการขนถายสินคาระหวางกันตามกรอบความรวมมือ GMS และการแลกเปลีย่ นการผลิตและการเปนฐานผลิตรวมตามกรอบความรวมมือ AEC โดย วางกรอบความรวมมืออยางหลวมๆ ในระยะแรก และเปลีย่ นเปน Single market หรือ Single corporation ในรูปแบบฐานการผลิตรวม One market ในระยะตอไป โดย สินคาทีผ่ ลิตไดจะมีลกั ษณะพิเศษเฉพาะของเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมทัง้ การขยายความ รวมมือทางเศรษฐกิจไปสูประเทศตลาดเกิดใหม (Emerging market country) เชน ประเทศในกลุม CLMV ประเทศเศรษฐกิจใหมในกรอบเบงกอล กลุมประเทศ BRIC ประเทศเศรษฐกิจใหมในกรอบของแอฟริกา เปนตน ความรวมมือที่เขมแข็งของเขต เศรษฐกิจพิเศษรวมนี้ จะสามารถสรางความสามารถในการแขงขันดานการสงออกไปยัง ประเทศตลาดเกิดใหมไดเปนอยางดี Q: นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ถือเปนสัญญาณการเปลี่ยนแปลงเมืองชายแดน จังหวัดเชียงรายในทศวรรษหนา หรือไม อยางไร? คุณพัฒนา: นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ถือเปนสัญญาณการเปลี่ยนแปลง เมืองชายแดนจังหวัดเชียงรายในทศวรรษหนาอยางแนนอน หากดูเปนรูปทางกายภาพ ก็จะเห็นในรูปของการเปลีย่ นแปลงเมือง จากเมืองชายแดนกลายเปนเมือง จากเดิมสังคม เกษตรกรรม เขาสูสังคมสมัยใหม (modern society) ที่สําคัญเมืองชายแดน จังหวัด เชียงราย ก็จําเปนตองมีเขตเศรษฐกิจพิเศษเปนตัวชักจูงซึ่งอันนี้สําคัญมาก Q: ระบบเศรษฐกิจ การคา และการลงทุน ของจังหวัดเชียงราย รวมทั้งภาพพจน ของจังหวัดเชียงรายในอนาคตควรจะเปนอยางไรบาง? คุณพัฒนา: เดิมระบบเศรษฐกิจ การคา และการลงทุน ของจังหวัดเชียงราย จะเนนอยูที่ภาคการเกษตร การคาชายแดน และการทองเที่ยว แตปจจุบัน รูปแบบของ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 159


เศรษฐกิจ การคา และการลงทุนจะถูกนํามาผสมผสานกันเกิดเปนระบบเศรษฐกิจแบบ ผสม ไดแก ภาคเกษตรรวมกับการคาชายแดน ภาคการคาผานแดน และภาคเกษตรรวม กับการทองเที่ยว ทําใหเกิดภาพของสินคาและบริการที่หลากหลายมากขึ้น เชน สินคา เกษตรกับบริการดานการทองเทีย่ วก็กลายเปนอาหารเพือ่ การทองเทีย่ ว ธุรกิจโฮมสเตย สินคาบริการการทองเที่ยวรวมกับการคาก็จะกลายเปนโลจิสติกสทองเที่ยว โดยสรุป ระบบเศรษฐกิจทั้งภาคการเกษตร การคาชายแดน และการทองเที่ยว ไดทําใหเกิดรูป แบบการคาและการลงทุนใหมในจังหวัดเชียงราย ภาพพจนของจังหวัดเชียงรายในอนาคตจะเปนอยางไรนั้น ขึ้นอยูกับการยก ระดับของตนเอง เหมือนกับการยกระดับของจังหวัดชายแดนเปนจังหวัดที่เปนประตู การคา หากเชียงรายยกระดับเปน Hub หรือทําใหกลายเปนสิงคโปรนอย พื้นที่และ ประชาชนในจังหวัดเชียงรายก็จะไดประโยชนจากการเปนประตูการคาที่แทจริง หาก เชียงรายยกระดับเปนแคภูมิภาค เชียงรายก็จะเปน Northern land port เปนผูให บริการของเชียงใหม ของหลวงนํา้ ทา และ ของหลวงพระบาง หรือจะเปนไดแคตวั เชือ่ ม ไปยังเมืองตางๆ เทานั้น ตัวอยางเชน หากเชียงรายเปน Hub ดานการทองเที่ยว ก็ สามารถใชสิทธิจาก Single visa ของอาเซียนและการขนสงจาก GMS เพื่อเขาไปใน ประเทศอาเซียนได และทําใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ดังนั้น ภาพพจนของ เชียงรายจะเปนอยางไรอยูที่การวางตนเองวาตองการใหเปน Hub ที่เปนผูปอนอาหาร (Feeder) หรือจะเปนผูใหบริการ (Facilitator)

160 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การเติบโตของพื้นที่ชายแดนเชียงของบนเสนทาง เศรษฐกิจคูขนาน เขียนโดย ปฐมพงศ มโนหาญ และสิทธิชาติ สมตา จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดชายแดนทีม่ อี าณาเขตติดตอกับประเทศพมาและ ประเทศลาว ซึง่ สงผลใหเกิดการคาชายแดนระหวางประเทศขึน้ กับทัง้ สองประเทศ รวม ทัง้ ประเทศในลุม แมนาํ้ โขงตอนบนและประเทศจีนตอนใต ดังนัน้ จังหวัดเชียงรายจึงเปน จังหวัดทีส่ าํ คัญของประเทศไทยในการเปนประตูการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศ ในลุม แมนาํ้ โขงตอนบน เนือ่ งจากจังหวัดเชียงรายมีพนื้ ทีต่ ดิ ตอกับประเทศเพือ่ นบานอัน สามารถเชื่อมกับอําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอเชียงของ ในเขตการคาชายแดนอําเภอแมสายเปนการคาชายแดนระหวางประเทศไทย กับพมา มีรปู แบบการขนสงโดยรถบรรทุก การคาชายแดนในอําเภอเชียงแสน มีรปู แบบ การขนสงทางเรือซึง่ อาศัยการลองเรือในแมนาํ้ โขง มีทา เรือเชียงแสนเปนจุดเชือ่ มตอการ คาระหวางประเทศในลุม แมนาํ้ โขง สินคาสวนใหญคอื สินคาทางการเกษตร สินคาอุปโภค บริโภคและสินคาเบ็ดเตล็ดอืน่ ๆ ทีส่ ง ออกมาจากประเทศจีน เนือ่ งจากวามีราคาถูกกวา สินคาในประเทศไทย สวนการคาผานเขตแดนในอําเภอเชียงของมีพื้นที่ติดกับประเทศ ลาว การขนสงจะมีรูปแบบของการใชรถบรรทุกบนเสนทางสาย R3A ที่ผานประเทศ ลาวและเขาสูประเทศจีน ซึ่งอําเภอเชียงของกอนที่จะมีการเปดใชสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแหงที่ 4 นัน้ การคาชายแดนในพืน้ ทีน่ จี้ ะใหรถบรรทุกจากฝง ไทย-ลาว และขึน้ เรือขามฝงในการเดินทางขามประเทศที่ทาเรือบั๊ค แตเมื่อมีการเปดใชสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแหงที่ 4 ทําใหการขนสงทางเรือลดลงและมีการยกเลิกทาเรือบั๊คตามมา ดังนัน้ ในปจจุบนั รูปแบบการขนสงสวนใหญจะใชการขนสงโดยรถบรรทุกแทน การใชทาเรือบั๊ค อีกทั้งมีการกําหนดใหมีการใชสะพานในการขนสงระหวางประเทศ ทําใหพื้นที่บริเวณทาเรือบั๊คมีสภาพเศรษฐกิจที่ซบเซาลง จากคําบอกเลาของคุณ แสงจันทรวา

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 161


“เศรษฐกิจในบริเวณทาเรือบั๊คซบเซาลง เนื่องจาก วามีนักทองเที่ยวมาใชบริการขามฝงจํานวนนอยมาก มี เพี ย งนั ก ท อ งเที่ ย วคนไทยและคนท อ งถิ่ น เท า นั้ น ที่ ตองการขามไปฝงลาวในบริเวณใกลๆ เทานั้น”2 รวมทัง้ ผูป ระกอบการไดรบั ผลกระทบในการยายพืน้ ทีก่ ารขนสงไปใชสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ไมวาจะเปนธุรกิจโรงแรม/ที่พัก รานอาหาร รานขายของชํา เปนตน จากคําบอกเลาของคุณแจมจิตวา “เมื่อมีการเปดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวที่จะขามไปลาวตองไปขามที่ สะพานดังกลาวจากเดิมตองขามทีท่ า เรือบัค๊ รายไดจาก ที่เคยไดวันละ 7,000 – 8,000 บาท ลดลงเหลือแควัน ละ 1,000 – 2,000 บาท ทําใหตองตัดสินใจลดราคา อาหารลงมาเพื่อดึงดูดใจลูกคา”3 เดิมพืน้ ในอดีตทีผ่ า นมาตัง้ แตกลางทศวรรษ 2530 เปนตนมา การพัฒนาและ การสงเสริมการทองเที่ยวไดรับความสนใจจากรัฐบาลมากขึ้นไดมีการบรรจุแผน พัฒนาการทองเที่ยวไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (ระหวางป 2520 – 2524) ซึ่งนับเปนครั้งแรกที่มีการบรรจุเรื่องการทองเที่ยวไวในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และตอมาการทองเที่ยวก็ไดรับการบรรจุอยูในแผน พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตลอดมา ในป 2530 รัฐบาลไดประกาศโครงการ สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557 สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ), 4 พฤษภาคม 2557, คุณสุรางคณากล่าวเพิ่มเติมว่า ผลก ระทบจากการชุมนุมทางการเมือง ส่งผลให้ นกั ท่องเที่ยวต่างชาติตดั สินใจไปเที่ยวประเทศอื่น เช่น เขมร ลาว และ เวียดนาม ที่พดู ได้ อย่างนี ้ก็เพราะว่ามีลกู เขยเป็ นชาวเบลเยียม เขาบอกว่าชาวฝรั่ง ไม่ค่อยอยากจะมาเพราะปั ญหาทางการเมืองของไทย ซึ่งเป็ นมุมมองของชาวต่างชาติที่มอง ประเทศไทย ผ่านการบอกเล่าผ่านคนไทย 2 3

162 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


สงเสริมการทองเที่ยวที่ชื่อวา “ปทองเที่ยวไทย”4 อีกทั้งในปเดียวกันนี้ไดมีการริเริ่มให มีคาํ ขวัญจังหวัด เพือ่ ทีจ่ ะใหความสําคัญแกทอ งถิน่ และยังเปนขอมูลทีบ่ ง บอกทีส่ ถานที่ ทองเทีย่ วทีส่ าํ คัญของจังหวัดเอง จากการประกาศปทอ งเทีย่ วไทยทําใหนกั ทองเทีย่ วเริม่ เขามาทองเที่ยวในเชียงของมากขึ้น จากคําบอกเลาของคุณแจมจิตวา “ลู ก ค า ชาวต า งชาติ เ ริ่ ม มี ม ากขึ้ น ในช ว งปลาย ทศวรรษ 2530 เปนตนมา ทําใหมรี ายไดตอ วันประมาณ วันละ 7,000 – 8,000 บาท บางวันมีเวลานอนเพียงแค 1 – 2 ชั่วโมงเพราะตองรีบไปตลาดและเปดรานในเวลา 8.00 น. อาหารในรานก็มีหลากหลายเชนอาหารไทย ทั่วไป และ อาหารปา”5 อีกทั้งการเขามาของนักทองเที่ยวคือ การมาบริโภคปลาบึก ปลาแมนํ้าโขง และการเขารวมพิธบี วงสรวงปลาบึก โดยถือวาเปนประเพณีพธิ กี รรมทีส่ ามารถดึงดูดนัก ทองเทีย่ วใหเขามาในอําเภอเชียงของไดจาํ นวนมาก จากคําบอกเลาของคุณแสงนวลวา “การเขามาของนักทองเทีย่ วเกิดจากการทีเ่ จาฟาชา ยอากิ ชิ โ นแห ง ประเทศญี่ ปุ  น ทรงเสด็ จ เข า ร ว มพิ ธี บวงสรวงปลาบึก เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2529 จึงทําให นักทองเที่ยวตองการบริโภคปลาบึกและปลาแมนํ้าโขง จึงเดินทางเขามายังอําเภอเชียงของ”6

กฤชณัช แสนทวี, วารสารวิชาการและวิจยั มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5. (ม.ป.ป.). ปจจัยดานสื่อสารภาวะวิกฤตและการสื่อสารการตลาด แบบผสมผสานในธุรกิจการทองเที่ยวของประเทศไทย. สืบคนเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2557, จาก http://journal.rmutp.ac.th/wp-content/uploads/2014/04/Special-LiberalArt-HumanityTourist-20.pdf 5 สัมภาษณ คุณแจมจิต (นามสมมติ), 4 พฤษภาคม 2557. 6 สัมภาษณ คุณแสงนวล (นามสมมติ), 4 พฤษภาคม 2557. 4

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 163


ทั้งนี้อําเภอเชียงของเปนอําเภอปลายทางของนักทองเที่ยวตางชาติประเภท แบกเปและแวะพักทําวีซาผานแดนเขาสูประเทศลาว ทําใหมีนักทองเที่ยวเขามาพักใน ตัวอําเภอเชียงของตลอดทั้งป โดยสวนใหญแลวการทองเที่ยวจะเกิดขึ้นในเขตเมืองเกา หรือเขตเวียงเชียงของไดแก วัด ศาสนสถานที่เกาแก การทองเที่ยวทางธรรมชาติ ฯลฯ ทําใหการคาและการทองเทีย่ วมีประโยชนแกคนสวนใหญทอี่ ยูใ นเวียงเชียงของมากกวา ผูคนที่อยูรอบนอก (เมืองใหม) ซึ่งมีอาชีพทางการเกษตรเปนหลัก ตารางที่ 1 มูลคาการคาชายแดนจังหวัดเชียงรายดานเชียงของ หนวย: ลานบาท ป พ.ศ. 2556 เดือน

จีน สงออก

พมา นําเขา

สงออก

ลาว นําเขา

สงออก

นําเขา

ม.ค.

100.81

204.44

104.76

-

823.29

68.62

ก.พ.

91.38

121.31

87.83

-

477.61

51.62

มี.ค.

54.51

49.07

117.04

-

587.91

131.15

เม.ย.

10.12

103.98

106.08

-

659.47

37.63

พ.ค.

71.66

133.90

132.83

-

656.92

58.12

มิ.ย.

95.15

200.52

111.13

-

595.92

42.65

ก.ค.

156.38

192.15

120.24

-

515.88

206.40

ส.ค.

73.00

459.93

121.03

-

714.74

39.35

ก.ย.

311.19

279.68

125.33

-

425.35

7.53

ต.ค.

137.24

250.39

160.82

-

480.74

17.18

พ.ย.

266.57

239.72

153.59

-

508.76

82.29

ธ.ค.

77.01

201.92

150.13

-

1,495.32

6.69

รวม

1,445.02

2,437.00

1,490.80

-

7,941.90

749.23

164 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ป พ.ศ. 2556 เดือน

จีน สงออก

พมา นําเขา

สงออก

ลาว นําเขา

10,877.72

รวมสงออก มูลคาการคารวม

สงออก

นําเขา

รวมนําเขา

3,186.23

14,063.95 ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

*** (ในป 2556 ใชทาเรือบั๊ค: เมืองเกา สวนในป พ.ศ. 2557 ใชสะพานแหงที่ 4: เมืองใหม ในการขนสง) ตารางที่ 1 มูลคาการคาชายแดนจังหวัดเชียงรายดานเชียงของ (ตอ) หนวย: ลานบาท ป พ.ศ. 2557 เดือน

จีน

พมา

ลาว

สงออก

นําเขา

สงออก

นําเขา

สงออก

นําเขา

ม.ค.

389.39

134.64

161.31

-

521.68

45.20

ก.พ.

86.63

79.01

127.24

-

626.56

10.32

มี.ค.

47.05

120.50

137.40

-

665.34

11.04

เม.ย.

0.00

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 165


ป พ.ศ. 2557 เดือน

จีน

พมา

ลาว

สงออก

นําเขา

สงออก

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

523.06

334.15

425.95

รวมสงออก

2,762.59

มูลคาการคา รวม

นําเขา

-

สงออก

นําเขา

1,813.57

66.55

รวมนําเขา

400.71

3,163.29

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย *** (ในป 2556 ใชทาเรือบั๊ค: เมืองเกา สวนในป 2557 ใชสะพานแหงที่ 4: เมืองใหม ในการขนสง)

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการขนสงสินคาทางลํานํ้าโขงและเสนทาง R3A ไปยังจีน เดือน มกราคม - มีนาคม ป 2557

เสนทางการคา กับจีน (ตอนใต) ดานเชียงแสน

การคารวม

สงออก

นําเขา

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

737.57

46.25

637.17

54.92

100.40

23.10

857.21

53.75

523.06

45.08

334.15

76.90

100 1,160.23

100

434.55

100

(ทางนํ้า) ดานเชียงของ (เสนทางR3A) รวม

1,594.78

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

166 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการขนสงสินคาทางลํานํ้าโขงและเสนทาง R3A ไปยังจีน เดือน มกราคม - มีนาคม ป 2556

เสนทางการคา กับจีน(ตอนใต) ดานเชียงแสน

การคารวม

สงออก

นําเขา

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

801.04

56.31

723.48

74.57

77.56

17.15

621.51

43.69

246.70

25.43

374.81

82.85

1,422.55

100

970.18

100

452.37

100

(ทางนํ้า) ดานเชียงของ (เสนทางR3A) รวม

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 167


ตารางที่ 4 เปรียบเทียบการขนสงสินคาทางลํานํ้าโขงและเสนทาง R3A ไปยังจีน เดือน ม.ค. - มี.ค. ป 2556/2557

ประเภท

ม.ค. 56 - มี.ค. 56 (ลานบาท)

ม.ค. 57 - มี.ค. 57 (ลานบาท)

%

มูลคารวม

1,422.55

1,594.78

12.11

สงออก

970.18

1,160.23

19.59

นําเขา

452.37

434.55

-3.94

ดุลการคา

517.81

725.68

40.14

ที่มา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย

จากตารางที่ 1 จะเห็นไดวา มูลคาการคาระหวางประเทศบริเวณดานเชียงของ มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2556 ดานเชียงของใชทาเรือบั๊คใน การขนสงสินคา รถบรรทุก แตเมื่อปลายป 2556 ชวงเดือนธันวาคม ไดมีการเปดการใช สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 จึงทําใหอําเภอเชียงของเปนเมืองชายแดนที่นา สนใจแกนักลงทุนทั้งในและตางประเทศ เนื่องจากมีระยะเวลาในการขนสงสินคาที่ รวดเร็วระหวางประเทศจีน ลาว และไทย บนถนนสาย R3A หากเราเปรียบเทียบมูลคา การขนสงผานดานเชียงของระหวางทาเรือบั๊คกับสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 ในป 2556 ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม (ใชทาเรือบั๊ค) มูลคาการสงออก 2,445.12 ลานบาท และมูลคาการนําเขา 2,263.61 ลานบาทบาท และในป 2557 ชวงเดือน มกราคม – มีนาคม (ใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ) มูลคาการสงออก 2,762.58 ลานบาท และมูลคาการนําเขา 400.70 ลานบาท ดังนั้นมูลคาการสงออกมีการเติบโต รอยละ 0.13 และการนําเขารอยละ 0.82 ถาหากเปรียบเทียบการขนสงสินคาทางลํานํ้าโขง (ดานเชียงแสน) และเสน ทาง R3A (ดานเชียงของ) ไปยังประเทศจีน ชวงเดือนมกราคม – มีนาคม ของป 2556 กับป 2557 จากตารางที่ 4 โดยในป 2556 มูลคารวม 1,422.55 ลานบาท และในป 2557 มูลคารวม 1,594.78 ลานบาท ดังนั้น จะเห็นไดวาการขนสงโดยใชเสนทาง R3A มีมูลคาเติบโตกวาการขนสงทางลํานํ้าโขงอยูที่ รอยละ 12.11

168 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


หากอางตามตัวเลขขางตนจะเห็นวาเศรษฐกิจของเมืองเชียงของมีการเติบโต อยางตอเนื่อง แตอยางไรก็ตามความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีตัวชี้วัดอยางเปน “ทางการ” เมื่อเกิดการพัฒนาของพื้นที่สงผลใหเกิดสิ่งที่ตามมาก็คือการอนุรักษ ซึ่งไม เพียงเทานีก้ ารพัฒนายังสงผลกระทบตอประชาชนในเมืองเชียงของดวยเชนกัน จากการ ยายเสนทางการขนสงจากทาเรือบัค๊ ไปยังสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 จึงทําให เกิดนโยบาย “หนึง่ เมือง สองแบบ” เพือ่ เปนการจัดการเชิงพืน้ ทีใ่ หเหมาะสมสอดคลอง กับบริบทและอัตลักษณของคนในพื้นที่อยาง “แทจริง” โดยนําไปสูการพัฒนาที่มี ดุลยภาพ มีความยั่งยืนและเปนธรรมตอคนทองถิ่นเชียงของรวมกัน โดยหนึ่งเมืองสอง แบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. เมืองเกา คือ เขตเวียงเชียงของซึ่งเปนเขตเมืองเกา ซึ่งเดิมมีพื้นที่โดยรอบ เปนฐานการผลิตทางเศรษฐกิจ การคา และการทองเที่ยว คือ บริเวณตั้งแตปากนํ้าดุก ไลขึ้นมาทางเหนือจนถึงบริเวณแนวปาดอยธาตุ สวนทางตะวันตกคือจากทุงหลวงมา จรดทางตะวันออกทีล่ าํ นํา้ โขง เขตนีค้ อื เขตเมืองเกาซึง่ มีวดั แกว วัดหลวง วัดหัวเวียง วัด ศรีดอนชัย วัดสบสม วัดหาดไคร ฯลฯ 2. เมืองใหม คือ เขตเชียงของใหมซงึ่ จะมีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจการคาการ ลงทุนเขามารองรับตัง้ แตบริเวณโดยรอบเชิงสะพานขามแมนาํ้ โขงแหงที่ 4 มายังเขตทุง สามหมอนและบริเวณโดยรอบ ซึ่งจุดศูนยกลางยายมาอยูที่ชุมชนหนาแนนและการ พาณิชยบริเวณบานทุงงิ้ว บานสถาน บานดอนมหาวัน บานใหมธาตุทอง บานใหมทุง หมด บานโจโก บางสวนของตําบลศรีดอนชัย และบางสวนของตําบลครึ่ง เดิมในเขต เหลานี้คือการจัดการเมืองใหมบนฐานระบบการผลิตแบบเกษตรกรรม ซึ่งที่ดินที่เปน ปจจัยการผลิตสวนใหญไดเปลี่ยนมือไปสูคนตางถิ่นและนายทุน7 ผลกระทบของการเติบโตทางเศรษฐกิจคูขนานของพื้นที่ชายแดนในอําเภอ เชียงของระหวางเมืองเกากับเมืองใหมนนั้ หลังมีการยกเลิกการ ขนสงผานทาเรือบัค๊ สง ผลทําใหเศรษฐกิจในเมืองเกาซบเซาลง เนือ่ งจากทาเรือบัค๊ เคยเปนจุดผานขามแดนของ นักทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางชาติ และรถบรรทุกสินคาตางๆ ที่ใชการขนสงโดย เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแมนําโขง ครั้งที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ – การพัฒนาอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน”.

7

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 169


ถนนสาย R3A ซึ่งทําใหคนเหลานี้จะตองเขามาใชบริการโรงแรม เกสเฮาส รานอาหาร และรานขายของชําโดยอัตโนมัติ แตเมือ่ ทุกอยางตองดําเนินการผานสะพานมิตรภาพฯ จึงทําใหผปู ระกอบการในเมืองเกาไดรบั ผลกระทบไมวา จะเปนจํานวนของนักทองเทีย่ ว ที่ลดนอยลง แมคาพอคาขายสินคาไมคอยไดเทาที่ควร จึงทําใหผูประกอบการทุกสาขา อาชีพในเมืองเกาเกิดการปรับตัว เพื่อใหเขากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ จากคําบอกเลาของคุณแสงจันทรวา “เมื่อมีการยกเลิกจากทาเรือไปแลวสินคาของ ทางรานขายไมคอยดี เนื่องจากนักทองเที่ยวลด นอยลง ไมมกี ารปรับตัวแตอยางใด “ทุกขอยางไร ก็ทุกขอยูอยางนั้น”8 รวมถึงผูประกอบตางๆ ดวยเชนกันที่ตองมีการปรับตัวกับการลดลงของนัก ทองเที่ยว เพื่อที่จะสามารถปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงไปของฐานเศรษฐกิจใน อําเภอเชียงของ ไมวาจะเปนการลดราคาของรานอาหารตามสั่ง การลดราคาหองพัก และมีโปรโมชัน่ เสริมในการเขาพัก การปดตัวลงของสถานบันเทิง ซึง่ สาขาอาชีพเหลานี้ ลวนเกิดจากการเขามาทองเที่ยวและพักผอนของนักทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ เศรษฐกิจที่ซบเซาเชนนี้ทําใหประชาชนในเมืองเกายายไปประกอบอาชีพยัง สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ซึง่ อาจทําใหเกิดการแยงชิงพืน้ ทีข่ องคนทัง้ สองกลุม ระหวางเมืองเกากับเมืองใหม เนือ่ งจากวาทัง้ สองกลุม มีการขายสินคาทีค่ ลายๆ กัน9 ดังนัน้

สัมภาษณ คุณแสงจันทร (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557, โปรดสังเกตคําวา “ทุกขอยางไรก็ทุกข อยูอยางนั้น” จากคําบอกเลาของคุณแสงจันทร ซึ่งอาจตีความไดวาสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจที่ มีนักทองเที่ยวมากกับนอยไมไดทําใหธุรกิจของเธอตางกันมากนัก หากแตก็ยังคงเปดทําการไดอยาง เปนปกติจนถึงปจจุบัน ชวนใหตั้งคําถามวา กลุมผูประกอบการรายยอยในเชียงของมีวิธีการรับมือกับ ความเปลีย่ นแปลงอยางไมเปนทางการแบบใด จนทําใหสามารถอยูร อดไดโดยมีคณ ุ ภาพชีวติ เทาเดิมได 9 มาจากการสังเกตการณ 8

170 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


จะเห็นไดวา “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ”10 ไมไดสรางแตผลประโยชนแกประชาชน ในพื้นที่ แตยังสรางผลเสียตอคนในพื้นที่เชนเดียวกันจึงถือไดวาเปนความยอนแยงของ นโยบายดังกลาว เพราะวาในกระแสการพัฒนาที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามกลไกทาง เศรษฐกิจ การพัฒนาทางเศรษฐกิจทีก่ าํ ลังเติบโตทําใหทดี่ นิ บริเวณเมืองใหมจาํ นวนมาก ตกเปนของนักลงทุนทั้งในและตางประเทศที่เขามาแสวงหาผลประโยชนจากสะพาน มิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 โดยการเขามาของเม็ดเงินในการลงทุนนั้น ประชาชนใน ทองถิ่นจะไดรับผลประโยชนจากการเขามาของนักทองเที่ยวในบริเวณเมืองใหม แตคง ไมมากนักเนื่องจากวาอําเภอเชียงของเปนเมืองทางผานของนักทองเที่ยวที่จะขามไป แหลงทองเทีย่ วเปาหมายในการเดินทาง ในเมือ่ การพัฒนาเมืองใหมไมมนี โยบายมารอง รับอยางเปนเหตุเปนผลมากนัก ผลกระทบที่ตามมาคือการทรุดโทรมของพื้นที่เมือง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิทธิการเขาถึงทรัพยากรทองถิ่นของผูคนในทองถิ่นกําลังเริ่ม ลดถอยลง เนื่องจากไมไดมีการกําหนดกฎเกณฑสิทธิการเขาใชทรัพยากร “หนาหมู”11 อีกทัง้ นโยบายหนึง่ เมืองสองแบบก็ไมไดมมี าตรการทีจ่ ะเขามาดูแลจัดการพืน้ ทีเ่ มืองใหม สวนมากจะใหความสําคัญกับเมืองเกามากกวา จากเสียงของประชาชนในเมืองเกาที่เปนฐานเศรษฐกิจเกาของอําเภอเชียง เรียกรองอยากใหภาครัฐกลับไปเปดใชทาเรือบั๊คเชนเดิม จากคําบอกเลาของคุณปลาย หนึ่งวา “รายไดของประชาชนในเมืองเกามาจากการเขามาของนัก ทองเทีย่ ว เมือ่ ไมมนี กั ทองเทีย่ วเขามาทําใหประชาชนมีการปรับ เปลี่ยนอาชีพและเดินทางออกไปทํางานนอกพื้นที่”12

การใช “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” อาจเกิดการแชแข็งทางวัฒนธรรมที่ไมสัมพันธกับวิถีชีวิต ปจจุบันจะสงผลใหบริเวณเมืองเกาไมสามารถหลีกเลี่ยงการทองเที่ยวได เนื่องจากวาการทองเที่ยว ของนักทองเที่ยวตางชาติเพื่อที่จะมาสัมผัสกับวัฒนธรรมดั้งเดิม 11 สาธารณะสมบัติ common property 12 สัมภาษณ คุณปลายหนึ่ง (นามสมมติ), 3 พฤษภาคม 2557 10

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 171


โดยตองการใหนกั ทองเทีย่ วเดินทางขามระหวางประเทศดวยทาเรือบัค๊ ซึง่ ให สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 เปนการขนสงโดยรถบรรทุกสินคาและโลจิสติกส เทานัน้ เพือ่ ทีจ่ ะใหเศรษฐกิจในเมืองเกากลับมาครึกครืน้ เหมือนเดิมและชวยประชาชน กลับมาประกอบอาชีพเดิม พรอมทัง้ สรางอาชีพใหมขนึ้ มาเพือ่ รองรับการเติบโตของพืน้ ที่ ชายแดนบนเศรษฐกิจของเมืองคูขนานตอไป “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” จะดําเนินตอไปอยางไร ทามกลางความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความคิดเห็นที่แตกตางกันของประชาชนในตัวอําเภอ เชียงของ จึงเปนบทพิสูจนวาจะรักษาวัฒนธรรมเมืองเกาไวไดมากเทาใด เพื่อที่จะให วัฒนธรรมดําเนินไปพรอมกับกระแสการพัฒนาที่ไมหยุดยั้ง อีกทั้งยังตองสอดรับกับวิถี ชีวติ ของชาวบานในพืน้ ทีท่ ไี่ มใชชาวบานแบบเดิมทีท่ าํ แตอาชีพเกษตรกรเพียงอยางเดียว และจะมีการจัดการอยางไรตอไปกับเมืองใหมที่คาดวาในอนาคตจะมีการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่คอนขางมากเพื่อใหมีลักษณะของการกระจายรายไดไปในตัว

172 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


หนึ่งเมืองเชียงของ...กับสองชวงเปลี่ยนผาน13 CHIANG KHONG, ONE IDENTITY…TWO TRANSITION PERIODS เขียนโดย ณัฐพรพรรณ อุตมา และธิดารัตน บัวดาบทิพย

ในระหวางทีภ่ ารกิจในการจัดทําแผนยุทธศาตรการพัฒนาเมืองเชียงของอยาง มีดุลยภาพและยั่งยืนยังคงมีการปฎิบัติการอยางตอเนื่อง การเปดเวทีจัดทําแผน ยุทธศาสตรเชียงของระดับตําบลโดยการขับเคลื่อนของกลุมรักษเชียงของในโครงการ ศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการเมืองเชียงของภายใตแนวคิด “หนึง่ เมืองสองแบบ” ไดเวียนครบทั้ง 7 ตําบลในอําเภอเชียงของ อันไดแก ตําบลริมโขง ตําบลเวียง ตําบล สถานตําบลศรีดอนชัย ตําบลครึ่ง ตําบลบุญเรือง และตําบลหวยซอ เมื่อเดือนเมษายน ทีผ่ า นมา นับวาการเปลีย่ นแปลงและการปรับตัวของพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงของเปนสิง่ ทีน่ า สนใจติดตามอยางใกลชิดและตอเนื่องเปนอยางยิ่ง

บทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัย เรื่อง “นโยบายสงเสริมการลงทุน อําเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย”ภายใตชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการพื้นที่ชายแดน” ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจาก สกว. ฝายนโยบายชาติและความสัมพันธขามชาติ (ฝาย 1) 13

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 173


สรุปบทสัมภาษณ คุณเฉลิมพล พงศฉบับนภา พาณิชยจังหวัดเชียงราย หลังจากที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ไดเปดใชอยางเปนทางการเมื่อ วันที่ 11 ธันวาคม 2556 นับวาเปนชวงเปลี่ยนผานชวงแรกของเมืองชายแดนเชียงของ จากเดิมทีก่ จิ กรรมการขนสงทางเศรษฐกิจใชระเบียบปฏิบตั แิ ละขอตกลงในขอบเขตของ คําวา “ระหวางชายแดน” (Border Agreement) สะพานแหงนี้นับเปนจุดเริ่มตนแหง การใชระเบียบกติกาในระดับ “ระหวางประเทศ” (International Agreement) การ เปลีย่ นแปลงนีท้ าํ ใหชมุ ชนในเชียงของเมืองเกาตองปรับตัว ทีค่ วรเนนการบริหารจัดการ เมืองเกาและเมืองใหมไปพรอมๆ กับการคงความงดงามของชุมชนทีเ่ ปนเอกลักษณทาง วัฒนธรรมที่มีคุณคาควรแกการรักษาและใชสามารถเปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยว ชายแดนเชียงของนับเปนจุดยุทธศาสตรที่มีโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษและเชื่อมตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปยังประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหเกิด ประโยชนสงู สุดดานการคมนาคมขนสงและชวยลดตนทุนคาขนสง จึงเห็นควรใหมกี าร สนับสนุนเพื่อผลักดันใหมีการใชการขนสงผานสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 นี้ให มากขึ้นใหเต็มกําลัง (Capacity) การรองรับการขนสง โดยในตอนนี้ถือเปนระยะแรก ของการขับเคลื่อน หรือ “ชวงเปลี่ยนผานระยะแรก” การคมนาคมขนสงผานสะพาน แหงนี้ยังไมมากนัก จึงควรตองอาศัยการเจรจารวมกันทั้งสามประเทศ คือ ไทย สปป. ลาว และจีนตอนใต เพื่อหาแนวทางรวมในการลดเงื่อนไขที่เปนอุปสรรคและเพิ่ม

174 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ประสิทธิภาพทางการคาการลงทุนรวมกัน ทั้งนี้ควรเปนการเจรจาที่เนนกรอบของ ระเบียงเศรษฐกิจ และในสวนของประเทศไทยควรมองครอบคลุมถึงอีก 12 จังหวัดภาค เหนือนอกเหนือจากจังหวัดเชียงรายดวย สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 นี้ นอกจากจะทําหนาที่ชวยลดตนทุนคา ขนสงทางบกในการนําเขาและสงออกสินคาระหวาง ไทย-สปป.ลาว-จีนตอนใต สะพาน แหงนีย้ งั ทําหนาทีเ่ ชือ่ มความสัมพันธระหวางประเทศในการไปมาหาสูร ะหวางประเทศ บานพี่เมืองนองและเชื่อมการลงทุนระหวางประเทศดวยเชนกัน แตทั้งนี้ การผลักดัน “การลงทุน” ในพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงของนัน้ ไมไดขนึ้ อยูก บั ปจจัยดาน ทําเลทีต่ งั้ (Location) เพียงอยางเดียว โดยนับวาเชียงของมีจุดเดนที่เปนพื้นที่ยุทธศาสตรในการเปน เมืองหนาดาน แตเพื่อใหการลงทุนมีการพัฒนาและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพนั้นยัง ขึ้นอยูกับ กฏระเบียบระหวางประเทศ ที่ตองชวยเอื้ออํานวยความสะดวกใหกับการ ลงทุนและคาขายระหวางประเทศดวยเชนกัน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดการพัฒนาแนวพื้นที่ เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North South Economic Corridor: NSEC) เปนไปตามการศึกษา ของ ADB ใหครบทั้ง 3 ดาน คือ Transport Corridor การพัฒนาแนวพื้นที่การขนสง และยกระดับการพัฒนาไปสู Logistics Corridor การพัฒนาแนวพื้นที่โลจิสติกส เพื่อ เปาหมายการพัฒนาในระยะที่สาม คือ Economic Corridor การพัฒนาแนวพื้นที่ เศรษฐกิจ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 175


ภาพถายบริเวณดานพรมแดนเชียงของ จังหวัดเชียงราย ถายโดย: ธิดารัตน บัวดาบทิพย เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2557

หากจะยํ้าถึงวัตถุประสงคของการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต เพื่อ อํานวยความสะดวกการคาและการพัฒนาระหวางประเทศไทย สปป.ลาว พมา เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อลดตนทุนคาขนสงในพื้นที่ภายใตโครงการและทําให การเคลื่อนยายสินคาและคนอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความยากจน สนับสนุนการ พัฒนาในพื้นที่ชนบทและชายแดน เพิ่มรายไดและสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ การ พัฒนาพื้นที่ชายแดนเชียงของมีการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไป โดยจะพบวาใน ระยะเปลี่ยนผานระยะแรกหลังจากที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ไดเปดใชอยาง เปนทางการ ความคึกคักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจผานเสนทางสะพานแหงใหมและ โซนเชียงของเมืองใหมนั้นยังนับวามีนอยกวาที่หลายๆ กลุมไดคาดหมายไว จึงเปนที่นา ติดตามถึงชวงเปลี่ยนผานของเมืองเชียงของในชวงตอไป การรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558ในอนาคตอัน ใกลนี้ คาดวาจะทําใหการขับเคลื่อนความรวมมือทางเศรษฐกิจในหลากหลายดานจะมี ความรวดเร็วมากขึน้ อุปสรรคและขอกีดกันทางการคาการลงทุนโดยมีสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแหงที่ 4 เปนทางเชือ่ มนาจะผอนคลายลงไดผา น “การเจรจา” ระหวางประเทศ โดยเห็นควรใหการเจรจาดําเนินการโดยภาครัฐหรือสวนกลางของแตละประเทศและ ควรเนนเจรจาในระดับระเบียงเศรษฐกิจและยกประเด็นการพูดคุยเพื่อแกปญหาและ

176 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


พัฒนาในเรื่องเชิงพื้นที่ชายแดน นักลงทุนคาดหวังการใหสิทธิพิเศษและอํานวยความ สะดวกในกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากขึ้น แตทั้งนี้ การพัฒนาจะเปนไปไดอยางรวดเร็ว หรือชานั้น ยอมขึ้นอยูกับความพรอมและงบประมาณของทางภาครัฐดวย นับวา เหตุการณในชวงหลังป 2558 นี้ จะกลายเปน “ชวงเปลี่ยนผาน” ชวงที่สองของเมือง ชายแดนเชียงของตอไป

กิตติกรรมประกาศ

บทความนี้ไดนําเสนอบางสวนของบทสัมพาษณ คุณเฉลิมพล พงศฉบับนภา พาณิชยจังหวัดเชียงราย ในประเด็นสภาพแวดลอม การอํานวยความสะดวก กรอบความรวมมือ ระหวางประเทศ ศักยภาพและแนวนโยบายสนับสนุนการลงทุนในพืน้ ทีเ่ ชียงของ จังหวัด เชียงราย ภายใตงานวิจัยเรื่อง “นโยบายสงเสริมการลงทุนอําเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย” ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อประมวลงานวิจัยเบื้องตน ประกอบกับขอมูลที่คนควาเพิ่ม เติม ในโอกาสนี้คณะผูวิจัยฯ ขอขอบคุณ คุณเฉลิมพล พงศฉบับนภา ที่สละเวลาในการ พูดคุยและแลกเปลี่ยนขอมูลอันจะทําใหบทความนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 177


การปรับตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวใน อําเภอเชียงแสนกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากการเปดเขตเศรษฐกิจพิเศษบานตนผึ้ง แขวงบอแกวในฝงลาว เขียนโดย พรพินันท ยี่รงค และปฐมพงศ มโนหาญ

อําเภอเชียงแสนเปนอําเภอที่ขึ้นชื่อวาเปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มี ประวัติศาสตรยาวนาน ไมวาจะเปนโบราณสถานที่เปนวัดเกาแกที่ตั้งเรียงรายอยูใน ละแวกทั้งเขตในเมืองและนอกเมืองมีมากกวา 100 วัด และยังมีทะเลสาบเชียงแสนที่ เปนจุดแหลงดูนกตางๆ ถึง 79 ชนิด แตที่เปนจุดสนใจของเหลานักทองเที่ยว และนัก ลงทุนจากทุกสารทิศคือ ดินแดนสามเหลีย่ มทองคําหรือ สบรวกทีเ่ ปนพืน้ รอยตอระหวาง สามประเทศ ไดแก ประเทศไทย (จังหวัดเชียงราย) สปป.ลาว (แขวงบอแกว) และประเทศ พมา (แขวงทาขีเ้ หล็ก, รัฐฉาน) โดยมีแมนาํ้ โขงทีเ่ ปนแมนาํ้ สายใหญตดั ผานเปนเสนแบง เขตชายแดนทีม่ าบรรจบกัน ซึง่ แตเดิมนัน้ พืน้ ทีต่ รงนีเ้ คยเปนพืน้ ทีท่ เี่ คยปลูกฝน และเปน แหลงผลิตยาเสพติดแหลงใหญ ปจจุบนั เหลือไวเพียงพิพธิ ภัณฑฝน ใหผคู นมาศึกษาความ เปนไป ทําใหเชียงแสนเปนแหลงดึงดูดนักทองเทีย่ วทัง้ ชาวไทย และชาวตางชาติจาํ นวน มาก ทั้งนี้ ทางการทองเที่ยวจังหวัดเชียงรายก็ไดมีแผนงานในการพัฒนาโบราณสถาน อารยธรรมลานนา และเมืองเกาในอําเภอเชียงแสนอยางตอเนือ่ ง รวมถึงการพัฒนาการ ทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมยังถูกกําหนดใหอยูใ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมฉบับที่ 10 อีกดวย พื้นที่บริเวณเชียงแสนนั้นมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมอยางมาก โดยเฉพาะการเขามาของกลุม ทุนขนาดใหญของประเทศจีนที่ ไดเขาไปลงทุนและพัฒนาเศรษฐกิจ การคา และบริการในเมืองตนผึ้ง สปป.ลาว ซึ่งมี สัญญาในการใหสัมปทานจากรัฐบาลลาวถึง 99 ป โดยใชโครงการวา “Kings Romans of Laos Asian Economic & Tourism Development Zone” ซึ่งโครงการนี้ไดตั้ง บนพื้นที่บริเวณสามเหลี่ยมทองคํา ติดริมนํ้าโขงตรงขามกับบานสบรวก ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสนของจังหวัดเชียงราย

178 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ในปจจุบัน King Romans ขึ้นชื่อวาเปนสถานที่แสวงโชคที่ขึ้นชื่อ มีบอนคาสิโน ขนาดใหญที่สรางขึ้นมากอนสิ่งปลูกสรางอื่นๆ กอนจะตามมาดวยโรงแรมระดับหาดาว และแหลงพักผอนหยอนใจตางๆ จากวันนั้นถึงวันนี้ ก็เปนเวลาถึงเจ็ดปที่กลุมนักลงทุน ไดตดั สินใจเขามาลงทุนในฝง ลาว โดยอนาคตจะมีการกอสรางสนามบินนานาชาติขนาด ใหญ โรงพยาบาล เขตปลอดภาษี และสิ่งปลูกสรางอื่นๆที่เกี่ยวของกับการคา และการ บริการอีกมากมาย เพื่อเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ กําลังจะมาถึงในป 201514 นอกจากนั้น ประเทศไทยยังไดเขารวมโครงการพัฒนาความรวมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาค ลุมแมนํ้าโขง (Greater Mekong Sub-Region: GMS) ซึ่ง จะมีสว นชวยผลักดันใหการทองเทีย่ วของประเทศทีเ่ ปนสมาชิกในอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง เชื่อมโยง และพัฒนาไปพรอมกัน โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank) เปนผูส นับสนุนหลัก โครงการทีจ่ ะเขามาชวยสนับสนุนการทองเทีย่ วในอนุภมู ภิ าค ไดแก ความตกลงวาดวยการขนสงขามแดนในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS Cross border Transport Agreement) ทีจ่ ะชวยอํานวยความสะดวกใหคนผานแดนหรือขาม แดนในอนุภูมิภาค และโครงการจัดทําแผนการตลาดทองเที่ยว Six countries ซึ่ง ประสานงานโดย Agency for Coordinating Mekong Tourism Actitvies (AMTA) โดยสํานักงานถูกตั้งอยูที่การทองเที่ยวแหงประเทศไทย เพื่อสงเสริมการเชื่อมโยงการ ทองเทีย่ วระหวางประเทศในรูปแบบของ Package Tour และผลักดันใหเกิด GMS Visa เพื่ออํานวยความสะดวกใหนักทองเที่ยวจากนอก อนุภูมิภาค15 ฉะนัน้ ทางอําเภอเชียงแสนจะตองเตรียมพรอมเพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลง ทางเศรษฐกิจที่กําลังจะเกิดขึ้น เพื่อพัฒนาใหเปนเมืองหนาดานที่สําคัญในทั้งดานการ คา การบริการ และการทองเทีย่ ว พรอมทัง้ กระตุน ใหภาคเอกชนตืน่ ตัวกับปจจัยภายนอก ที่จะสงผลกระทบไมวาจะเปนทางลบ หรือทางบวก และพรอมที่จะปรับตัวใหเทาทัน และลดความเสีย่ งในการดําเนินธุรกิจ ทัง้ นีเ้ พือ่ ศึกษาการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ การ วรียาหยึกประเสริฐ, การลงทุนและพัฒนาเขตเศรษฐกิจการคาและบริการของจีนในเขตเมืองตน ผึ้งสปป.ลาว: วิกฤตหรือโอกาส, สถาบันวิชาการปองกันประเทศ. 15 เรื่องเดียวกัน 14

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 179


เติบโตของอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว ผลกระทบจากการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษในฝง ลาว การปรับตัวของภาคเอกชน และนโยบายทีจ่ ะถูกนําเสนอในอนาคต เพือ่ ใหมองเห็น ภาพรวม และสถานการณปจ จุบนั ของการทองเทีย่ วในเชียงแสนกอนทีจ่ ะถูกนําไปเสนอ แนะเปนนโยบาย

ภาพบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา16

ประเด็นที่ 1: การเติบโตของอุตสาหกรรมการทองเทีย่ วในอําเภอ เชียงแสน Q: ทําไมถึงเลือกที่จะทําธุรกิจเกี่ยวกับการทองเที่ยวที่อําเภอเชียงแสน? คุณณัฐวุฒ:ิ ดวยความทีเ่ ปนคนพืน้ ทีเ่ ชียงแสนแตกาํ เนิด จึงเล็งเห็นศักยภาพ ดานการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสน วาเปนเมืองที่ติดชายแดนลาว และพมา เปนหนึ่ง ในอําเภอที่จะพัฒนาใหเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษตามยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัด เชียงราย และยังไมมคี นทีเ่ ขามาทําธุรกิจเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพยเปนเรือ่ งเปนราว รวม ถึงโอกาสจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 จึงตัดสินใจที่จะเริ่มตน ธุรกิจจากโครงการโขงวิวพลาซาทีม่ กี ารกอสรางเปนอาคารพาณิชย และ Home office ที่เปดใหนักลงทุนทั้งไทยและเทศเขามาจับจองอยูหลายคูหา กอนที่ตอมาจะเปดสถานี โขงวิวที่เปนทําเปนฟารมแกะ รานอาหาร รานกาแฟ พรอมบริการรถรางเพื่อบริการ และรองรับนักทองเที่ยวที่ผานเขามาในอําเภอเชียงแสน ดวยความที่จุดผานแดนถาวร 16

ถายโดย สิทธิชาย สมตา, 2555

180 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ของอําเภอเชียงแสนตอไปมีโครงการทีจ่ ะสรางเปนศูนยกระจายสินคาทีม่ รี ปู แบบมาจาก จุดผานแดนถาวรของอําเภอแมสาย ซึ่งจะเปนแหลงดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาจับจาย ใชสอย แตอยางไรก็ตาม แมวาอําเภอเชียงแสนมีจุดเดนในดานของความเปนเมือง ซึ่ง เปนตัวดึงดูดใหนกั ทองเทีย่ วใหเขามาศึกษาถึงความเปนมา แตในทางตรงกันขามก็ทาํ ให อําเภอเชียงแสนไมคอยตื่นตัวมากนัก17 คุณจุรีย: ไมไดเปนคนทองถิ่นแตกําเนิด แตประกอบอาชีพเปนอาจารยอยู จังหวัดเชียงใหม โดยที่สามีเปนคนเลือกที่จะมาสราง Guest house ที่นี้ ดวยความที่ สมัยเรียนเคยพานักทองเที่ยวชาวตางชาติไปเดินเขา (Trekking) จึงมีประสบการณการ ทํางานเกี่ยวกับการทองเที่ยวโดยเฉพาะ และเล็งเห็นวานักทองเที่ยวเขาไปที่อําเภอ เชียงแสนเยอะ นาจะมีโอกาสในทําธุรกิจเกี่ยวกับการทองเที่ยวสูง18 Q: การทองเทีย่ วในอําเภอเชียงแสนจากอดีตจนถึงปจจุบนั เปลีย่ นแปลงไปมากแคไหน? คุณณัฐวุฒิ: เปลี่ยนไปคอนขางมากโดยเฉพาะรูปแบบของกลุมนักทองเที่ยว เนื่องจากปจจุบันขอมูลขาวสารคอนขางรวดเร็ว และเขาถึงกลุมนักทองเที่ยวไดสะดวก ขึน้ มากกวาแตกอ น ซึง่ การทองเทีย่ วของอําเภอเชียงแสนในอดีตจะเปนนักทองเทีย่ วตาง ชาติที่จะสะพายกระเปาเขามาทองเที่ยวในเชียงแสนดวยตัวเอง แตปจจุบันการเขามา ของนักทองเที่ยวจะมีธุรกิจนําเที่ยวเขามามีบทบาทมากขึ้น ซึ่งการเพิ่มขึ้นของจํานวน นักทองเที่ยวผลักดันใหเศรษฐกิจภายในอําเภอเชียงแสนเติบโตขึ้นอยางมาก แตก็ยังไม ถึงขั้นกาวกระโดด ซึ่งเปนรูปแบบการเติบโตแบบตายตัวของตัวเมืองเชียงแสนไปเสีย แลว ระยะหลังจะเห็นวามีธุรกิจโรงแรม และที่พักในรูปแบบตางๆ ทั้งรายใหญ และราย ยอยเพิ่มมากขึ้น ทําใหตัวเลือกในการเขาพักของนักทองเที่ยวมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น19 คุณวิภาส: ธุรกิจการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสนมีการเติบโตดีขึ้นเล็กนอย จาก 7 ปที่แลว สวนมากจะเปนนักทองเที่ยวชาวไทยที่มาเที่ยวอยางสมํ่าเสมอ แตนัก ทองเที่ยวชาวตางชาติแทบจะไมมีใหเห็นมาก เนื่องจากสถานการณทางการเมืองของ สัมภาษณคุณณัฐวุฒิ, 12/06/2557 สัมภาษณคุณจุรีย, 14/06/2557 19 อางแลว คุณณัฐวุฒิ 17 18

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 181


ประเทศไทยที่ไมมั่นคง ถามาเที่ยวก็จะเปนรูปแบบการเที่ยวในระยะสั้นมากกวาระยะ ยาว คือประมาณ 2 ถึง 3 วันเทานั้น ซึ่งลูกคาของทางรานสวนมากจะเปนลูกคาประจํา เสียมากกวา ลูกคาทีเ่ ปนนักทองเทีย่ วจะตกประมาณรอยละ 20 ของลูกคาทัง้ หมด และ เปนลูกคาที่อยูแบบระยะยาว (Long Weekend)20 คุณจุรยี : ปริมาณนักทองเทีย่ วทีเ่ ปนชาวตางชาตินนั้ แบงออกเปน 2 กลุม ใหญๆ คือ นักทองเที่ยวที่มากับธุรกิจนําเที่ยว และ Backpacker ซึ่งจํานวนของนักทองเที่ยว ชาวตางชาติที่เปน Backpacker นั้น ลดนอยลงอยางเห็นไดชัด เหลือประมาณรอยละ 20 ของจํานวนคนทีเ่ คยเขาพักในรีสอรท เปนเพราะแหลงทองเทีย่ วมีความนาสนใจนอย ลงเมื่อเทียบกับอําเภอแมสายที่อยูใกลๆกัน การเดินทางที่สะดวกขึ้นทําใหคนเลือกจะ ไปเที่ยวที่อําเภอแมสายมากกวา นักทองเที่ยวสวนมากที่มาพักก็จะพักในระยะเวลาที่ สั้นลง นักทองเที่ยวตางชาติโดยรวมลดนอยลง เพราะสถานการณบานเมืองไทยที่ไม มั่นคงมาตั้งแตป 2554 กระทบความเชื่อมั่น และความปลอดภัยของนักทองเที่ยวที่มี กําลังซื้อสูง แลวปจจัยอื่นๆเชน คาเงินบาทไทยแข็งคา ทําใหนักทองเที่ยวสามารถแลก เงินไดปริมาณที่นอยลง รวมถึงการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจทางยุโรป และสหรัฐอเมริกา ปจจุบนั นี้ คนทีม่ าเขาพักทีร่ สี อรทคิดเปนนักทองเทีย่ วทีร่ สี อรทรอยละ 20 จากคนทีเ่ ขา พักทั้งหมด อีกรอยละ 80 กลับเปนนักลงทุน นักวิชาการ นักวิจัย และกลุมรับรองของ ทางราชการที่มาศึกษาดูงานในอําเภอเชียงแสนทั้งนั้น

ประเด็นที่ 2: ผลกระทบจากการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในฝง ลาว Q: การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในฝงลาวถือวาเปนวิกฤตหรือโอกาสสําหรับการ ทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสน คุณวีระศักดิ:์ การทีน่ กั ลงทุนจีนตัดสินใจมาลงทุนทีส่ ปป.ลาวในเขตเศรษฐกิจ พิเศษเปนสิ่งที่ดีมากสําหรับการทองเที่ยวในอําเภอเชียงแสน ถือเปนเปนโอกาสที่นัก ทองเทีย่ วคนทัง้ สองฝง จะขามไปมาเพือ่ ทองเทีย่ วทีเ่ ปนเชิงประวัตศิ าสตรทเี่ ชือ่ มโยงกัน โดยนักทองเที่ยวชาวจีนจะชื่นชอบการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรเปนพิเศษ21 20 21

อางแลว คุณณัฐวุฒิ สัมภาษณนายอําเภอวีระศักดิ์, 12/06/2557

182 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


คุณพรเลิศ: สําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจในฝง ลาวไมไดมผี ลกระทบตอการเดิน เรือเลย แตกลับทําใหรอบในการเดินเรือเพิ่มขึ้นทั้งขาเขาเชียงแสน และขาออกไปเมือง ตนผึ้งเปนเสมือนจุดขาย แตตอนนี้สิ่งที่มีผลใหการเดินเรือที่ปกติในชวง high season จะมีรอบการเดินเรือมากกวา 10 เที่ยว และ low season ประมาณ 5 ถึง 10 เที่ยว แต หลังจากมีปญหาความมั่นคงทางการเมืองทําใหในชวง low season ผูประกอบธุรกิจ การเดินเรือไมไดรับรายไดเทาเดิม เนื่องจากการใชดานตรวจคนเขาเมืองที่เดียว ณ จุด ผานแดนถาวรสามเหลี่ยมทองคํา ทําใหนักทองเที่ยวที่มากับธุรกิจนําเที่ยวจําเปนตอง แสดง passport บางครั้งนักทองเที่ยวก็ไมตองการที่จะแสดง เพราะกลัวหาย เมื่อหาย แลวการที่จําทํา passport ใหมตองใชระยะเวลานาน และขั้นตอนที่ยุงยาก22 คุณณัฐวุฒ:ิ การสรางแหลงทองเทีย่ วในเขตเศรษฐกิจพิเศษทีฝ่ ง ลาวไมไดมผี ล เลย แตสิ่งที่ทําใหนักทองเที่ยวลดลงจากเดิมมาก คือการที่ถูกบังคับใหลงที่จุดผานแดน เดียว เนื่องจากสถานการณทางการเมืองที่ไมปกติ23 คุณวิภาส: การพัฒนาเขตเศรษฐกิจในฝงลาวไมมีผลกระทบตอการทําธุรกิจ ในเชิงลบ แตถอื วาเปนเปนโอกาสสําหรับธุรกิจทีจ่ ะไดรบั รายไดเพิม่ อยางเชน มีการสัง่ เบ เกอรีข่ องทางรานกาแฟไปทีฝ่ ง ลาวมากขึน้ โดยทีส่ ง ผานทางจุดผานแดนถาวรสามเหลีย่ ม ทองคําขึ้นเรือไปยังเมืองตนผึ้ง24 คุณจุรีย: ไมมีผลกระทบ แตกระทบตอคนลาวเอง การที่นักธุรกิจเอกชนชาว จีนเขาไปลงทุนในฝงลาวนั้น ก็เพื่อทรัพยากรมนุษยของสปป.ลาวที่ถูก โดยรัฐบาลยอม ใหนักธุรกิจชาวจีนเอาพื้นที่ทองคําตรงสามเหลี่ยมเศรษฐกิจไปหากําไรในการทําธุรกิจ คนลาวนั้นจริงๆไมไดอะไรจากการพัฒนาเลย ซํ้ายังโดนยายถิ่นอยูออกจากแหลงทํามา หากินดวยซํ้า โดยเฉพาะตรงเกาะดอนซาวที่เคยตลาดทองถิ่นของคนลาว เมื่อมีการ พัฒนาเกิดขึ้น พอคาชาวจีนก็เขาไปแทนที่ และนําสินคาจีนมาขายแทน ทําใหคนลาว สูญเสียรายไดตรงนั้น ในระยะยาวก็จะสงผลกระทบตอการทองเที่ยวในเชียงแสน เมื่อ นักทองเที่ยวไมเห็นความนาสนใจในการทองเที่ยวเมืองบานตนผึ้งในฝงลาวก็จะไมเขา สัมภาษณคุณพรเลิศ 12/06/2557 อางแลว คุณณัฐวุฒิ 24 สัมภาษณคุณวิภาส 13/06/2557 22 23

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 183


มาทองเที่ยวในเชียงแสนดวยเชนกัน นอกจากนั้นยังมีปญหาเรื่องอาชญากรรม และ แหลงการพนันที่ประเทศไทยไมสามารถเขาไปตรวจสอบไดอีกดวย25

ประเด็นที่ 3: การปรับตัวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว Q: ธุรกิจการทองเที่ยวมีการปรับตัวอยางไรบาง? คุณพรเลิศ: ในภาคธุรกิจแทบจะไมมีการปรับตัวมากนัก เนื่องจากเมื่อภาค ธุรกิจไดรบั ขาวสารการเปลีย่ นแปลงมาจากแหลงขอมูลตางๆ ก็จะมีการปรับตัวทันทีอยู ตลอดเวลา ไมวาจะเปนการปรับตัวตอการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษในฝงลาว หรือการเกิดขึ้นของโครงการ King Romans ก็ตาม ภาค ธุรกิจก็จะพรอมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ26 คุณวีระศักดิ:์ ไมวา จะเปนธุรกิจรายใหญ หรือธุรกิจรายยอยก็จะมีการปรับตัว ดวยตนเองอยูแ ลว สิง่ ทีท่ างอําเภอเชียงแสนเขาไปชวยเหลือคือ การใหความรูใ หมๆ และ การหาแหลงเงินทุนเพื่อพัฒนาธุรกิจเพียงเทานั้น27 คุณณัฐวุฒิ: ภาคธุรกิจก็มีการปรับตัวอยางแข็งขัน เพราะภาคเอกชนมีการ เดินหนาอยูตอเนื่องโดยไมคิดที่จะรอภาครัฐบาลเขามาชวยเหลือแตอยางใด แตเมื่อมี ปญหาในทางราชการ การเดินเอกสารที่สําคัญก็จะขอความชวยเหลือจากทางรัฐบาล เพือ่ ลดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจเพียงเทานัน้ หลังจากมีการเปดตัวของเขตเศรษฐกิจ พิเศษในฝง ลาว ภาคเอกชนก็ไดจบั มือกับการทองเทีย่ วของภาคเอกชนในฝง ลาวเพือ่ จัด package รวม โดยใชแนวคิดในการมุงไปดานสนับสนุนแหลงทองเที่ยว และการเพิ่ม จํานวนการเขาพักในสองฝง โดยการสรางเครือขายโรงแรม ทีพ่ กั ตางๆ รานอาหาร ฯลฯ28

อางแลว คุณจุรีย อางแลว คุณพรเลิศ 27 อางแลว นายอําเภอวีระศักดิ์ 28 อางแลว คุณณัฐวุฒิ 25 26

184 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


Q: มีหนวยงานที่เขามาชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนหรือไม? คุณณัฐวุฒิ: ทางโขงวิวมีความรวมมือกับสภาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว อําเภอเชียงแสน สมาคมสหพันธการทองเทีย่ วอําเภอเชียงแสน และทางอําเภอเชียงแสน อยูแลว29 คุณวิภาส: เคยมีหนวยงานอยางการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) เคย เขามาสงเสริม และใหความรูในชวงแรกๆ และมีการจัดงานใหญๆ เยอะ เชน ไตรกีฬา สามเหลี่ยมทองคํา แตชวงหลังๆ นี้เงียบไปเยอะ30 คุณจุรยี : เคยเขาไปรวมประชุมเกีย่ วกับการทองเทีย่ วในอําเภอเชียงแสนหลาย ครั้ง มีความรูสึกวาการประชุมคือการแคคุยกัน แตไมมีอะไรปรากฏใหเห็นแนชัด เปลา ประโยชน เหมือนไมไดรูจริง และทําไมได นอกจากนั้นกลุมที่เรียกไปประชุมนั้น ก็ไมใช กลุมที่มีสวนไดสวนเสียในการทองเที่ยวจริงๆ31

ประเด็นที่ 4: นโยบาย ยุทธศาสตร และความรวมมือ ในระดับ พื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และเขตชายแดน Q: อะไรคือปญหาสําหรับการทองเที่ยวในเชียงแสน? ควรที่จะสนับสนุนอยางไร? คุณวิภาส: ปญหาของอําเภอเชียงแสนในดานการทองเทีย่ ว ยังหาจุดขายจริงๆ ไมได ทําใหทองเที่ยวเปนไปไมไดเต็มรูปแบบ ทั้งๆที่มีทรัพยากรในการทองเที่ยวเยอะ ไมวา จะเปนทะเลสาบ แมนาํ้ สายใหญหลายสาย กําแพง วัดเกา ถานักทองเทีย่ วมาเทีย่ ว ก็ตองใชเวลาอยูนานๆ แบบ long weekend ถึงจะเที่ยวจนถึงแกนของประวัติศาสตร เชียงแสน อยางไรก็ตาม เชียงแสนมีความไดเปรียบในทุกๆ ดานไมวาจะเปน ทาเรือที่ ขนสงสินคา และเดินทางไปยัง สปป.ลาว และพมา ดินแดนสามเหลี่ยมทองคํา ทําให มีความหลากหลายในการประกอบธุรกิจ สงผลใหการทองเทีย่ วเปนสัดสวนของเม็ดเงิน เล็กๆ เมื่อเทียบกับเม็ดเงินจากการคาขายผานทางชายแดน หรือการปลอยที่ใหเชา32 อางแลว คุณณัฐวุฒิ อางแลว คุณวิภาส 31 อางแลว คุณจุรีย 32 อางแลว คุณวิภาส 29 30

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 185


เชียงแสนมีราคาทีด่ นิ สูงมาก และมีคา เชาทีส่ งู เชนกัน ทําใหตน ทุนการเริม่ ตน ในการทําธุรกิจนั้นสูง อยางนอยตองมีเงินถึงหาลานบาทในการลงทุน ทําใหยากตอนัก ธุรกิจหนาใหมทจี่ ะเขาไปเริม่ ทําธุรกิจ และดวยราคาคาเชาทีส่ งู จึงทําใหผทู ถี่ อื ครองทีด่ นิ เลือกจะปลอยใหเชาเพือ่ กินคาเชาอยูเ ฉยๆมากกวาเขาไปเสีย่ งในการทําธุรกิจ นอกจาก นั้น การทองเที่ยวแบบตอเนื่องของเมืองชายแดนก็เปนอุปสรรคสําหรับ Backpacker ที่จะนั่งรถจากอําเภอเชียงแสนไปยังอําเภอเชียงของ เนื่องจากไมมีรถประจําทางที่เขา มาบริการ ทําใหนักทองเที่ยวไมกลาที่เขามาเที่ยวอยางจริงจัง คุณจุรีย: เชียงแสนมีอะไรใหสงเสริมหลายอยาง ที่สามารถใหคนขางนอกได รูจ กั มากขึน้ สามารถทีจ่ ะเปนศูนยกลางของเชียงรายไดเลย โดยการทองเทีย่ วของอําเภอ เชียงแสนนั้น รัฐบาลกลางตองมองลงมาในระดับทองถิ่นใหมาก ไมใชแคคุยกัน ตองทั้ง ถามความคิดเห็น และแบงปนความรู อะไรทีธ่ รุ กิจในทองถิน่ รูท างรัฐบาลสวนกลางตอง รับฟง อะไรทีท่ อ งถิน่ ไมรรู ฐั บาลกลางก็ตอ งบอก อยางทีบ่ อกวา การประชุมเกีย่ วกับการ ทองเทีย่ วเกิดขึน้ หลายครัง้ แตไมมกี ารผลักดันทีถ่ งึ ทีส่ ดุ จริงๆ และมีการเรียกกลุม ธุรกิจ ที่มาประชุมไมถูกกลุม33 รัฐบาลควรที่จะมีการผลักดันโครงการที่ถูกเสนอไปแลวใหเกิด อยางเชน เขต ปลอดภาษี และการเปด counter ตรงจุดผานแดนถาวรใหมีการแลกเปลี่ยนเงินได จะ ชวยอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเที่ยวมากขึ้น อําเภอเชียงแสนควรจะเปนเหมือน ลําตัว เชียงของและแมสายควรจะเปนเหมือนแขนทั้งสองขาง เพราะเชียงแสนอยูตรง กลางระหวางเมืองชายแดนสองเมือง แทนที่จะมุงแตไปพัฒนาที่แมสายอยางเดียว แมสายมีปญหาเยอะ ไมวาเปนปญหาเรื่องการคมนาคม ปญหาการคอรัปชั่น ปญหาขัด แยงระหวางชายแดนไทยและพมา ทําใหชวงหนึ่งนักลงทุนในแมสายยายมาลงที่ เชียงแสนเยอะมาก ดวยเหตุผลวาแมสายมีการพัฒนาทีเ่ ต็มทีแ่ ลว ทางรัฐบาลก็ไมคดิ วา เหตุการณแบบนี้จะเกิดขึ้น เชียงแสนไดเปรียบในทุกดาน ปญหาขัดแยงดานชายแดน กับลาวก็ไมมี

33

อางแลว คุณจุรีย

186 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ตอนนี้ โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่มีการสรางโครงการทางรถไฟราง คู สายเดนชัย-เชียงราย-เชียงของไดถูกเสนอ แตกลับคิดวาเชียงของไมควรจะมีรถไฟ เขาไปถึง ควรจะเขามาถึงเชียงแสนมากกวา เพราะเชียงของมีการขนสงดวยรถยนตที่ สะดวกอยูแ ลว แตเชียงแสนมีทา เรือ รถไฟควรทีจ่ ะอยูค กู บั ทาเรือ เพือ่ เชือ่ มตอการขนสง คน และสินคา จะชวยลดปญหาคมนาคมทางบก และยังสามารถตอไปอยางเมือง ชายแดนอยางแมสายไดใกลกวาเชียงของ หากเชียงแสนมีการบริการจัดการทางภาครัฐทีด่ ี ควรเพิม่ การรับประกันความ มัน่ คง และการปองกันความเสีย่ งใหแกนกั ลงทุนมากขึน้ และผลักดันใหเกิด Model เชิง พืน้ ทีข่ องเชียงรายมายังเมืองชายแดน เพราะเงินลงทุนนัน้ รออยูช ายแดนเยอะ และพรอม ทีจ่ ะลงทุนเมือ่ เห็นโอกาส และความสะดวกสบาย นอกจากนัน้ ควรเพิม่ ความงายในการ ตรวจคนเขาเมือง และพิธีการทางศุลกากรตองมีความกระชับ และลดขั้นตอนลง และ ควรอยูท เี่ ดียวกัน เรียกวาเปน One Stop Service และใหเพือ่ นบานอํานวยความสะดวก มากขึน้ เพราะตอนนีเ้ พือ่ นบานสามารถเขาบานเราไดงา ย แตประเทศจีนกลับไมอนุญาต ใหคนไทยเขาไปยังยูนนาน หรือประเทศลาวก็เก็บคาธรรมเนียมในการเขาประเทศสูง เกิน เมื่อเปดประชาคมอาเซียนควรที่จะมีความเทาเทียมมากขึ้น จนกระทั่งไมมีตนทุน ในการเขาประเทศเลย การเลือกผูแทนในอําเภอเชียงแสนก็เปนปญหา เมื่อผูวาที่ถูกเลือกอยูไดเต็ม ทีไ่ มเกิน 1 ป อยางเชน นายอําเภอในเชียงแสนนัน้ อยูไ ดหนึง่ ปกอ็ อก ยังไมทนั ไดคดิ หรือ ทําอะไร ไดแตรับนโยบายมากจากสวนกลางที่ไมมีประสิทธิภาพเพียงพอมาใช Q: ทางอําเภอเชียงแสนมีนโยบายอะไรที่เขามาสงเสริมการทองเที่ยวในอําเภอ เชียงแสนหรือไม? คุณวีระศักดิ์: ภาครัฐบาล และภาคธุรกิจในทองถิ่นไดมีการประชุมรวมกัน เพื่อแบงพื้นที่ในเชียงแสนเพื่อใหเกิดการเติบโตรวมกันในทุกๆภาคสวน ทําเปน road map อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงของอําเภอเชียงแสนโดยเฉพาะ โดยแบงออกเปน 4 โซน ไดแก โซนแรกจะเปนโซนเกี่ยวกับการเกษตรอยูที่ตําบลแมเงิน โซนที่สองจะโซนของ โบราณสถาน เมืองเกา กําแพงเมืองอยูท ตี่ าํ บลเวียง โซนทีส่ ามจะเปนโซนของ modern trade อยูตรงสามแยกโขงวิว และโซนสุดทายจะเปนโซนของสินคานานาชาติที่มาจาก

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 187


จีนตอนใต และประเทศเพือ่ นบานอยูต รงสามเหลีย่ มทองคํา และมีความรวมมือกับทาง บานตนผึ้งที่จะเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษของทั้งสองฝงอีกดวย34

สรุปแตละประเด็นของการทองเที่ยวในเชียงแสน ประเด็นที่ 1: การเติบโตของ อุตสาหกรรม การทองเที่ยวใน อําเภอเชียงแสน







ประเด็นที่ 2: ผลกระทบจาก การพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ ในฝงลาว

34



การทองเที่ยวในเชียงแสนมีการเติบโตอยางตอเนื่อง แต ไมถึงขั้นกาวกระโดด อาจเปนเพราะการทองเที่ยวของ เชียงแสนเปนเชิงประวัติศาสตร และวัฒนธรรม ทําให ไมสามารถพัฒนาการทองเที่ยวใหเต็มรูปแบบได จึงเปน เหมือนดาบสองคมที่เปนทั้งโอกาส และอุปสรรค ปริมาณนักทองเที่ยวโดยรวมลดลงอยางมากจากแตกอน แต ป ริ ม าณนั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ ป น ชาวต า งชาติ ล ดลงมาก เปนพิเศษ โดยเฉพาะกลุมที่เปน Backpacker อาจเปน เพราะปจจัยหลายๆ อยาง เชน สถานการณทางการเมือง ทีไ่ มมนั่ คง การทีไ่ มมรี ถโดยสารจากเชียงของไปเชียงแสน การที่แหลงทองเที่ยวอื่นดูนาสนใจมากกวาอยางอําเภอ แมสาย คาเงินบาทที่ แข็งขึ้น และวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป กับสหรัฐอเมริกา ระยะเวลาในการพักอาศัยก็ลดนอยลง โดยที่สวนมาก นักทองเที่ยวจะพักแคคืนสองคืนเพื่อที่จะตอไปยังอําเภอ แมสาย ไมไดอยูนาน ทําใหการทองเที่ยวแบบ long weekend แทบจะไมมีใหเห็นมากนัก การพัฒนาเขตเศรษฐกิจในฝง ลาวไมไดมผี ลกระทบกับการ ทองเที่ยวในเชียงแสนในเชิงลบ แตเปนโอกาสในการเพิ่ม รายไดใหกบั ธุรกิจการทองเทีย่ วเสียมากกวา ทําใหเกิดการ เชื่อมความสัมพันธระหวางเขตเศรษฐกิจพิเศษในบานตน ผึง้ ทัง้ ในระดับอําเภอ ตําบล และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของของ ทางรัฐบาล รวมถึงความรวมมือระหวางภาคเอกชนดวย กัน แตผลกระทบในเชิงลบนั้นเกิดในทางสังคมมากกวา ทําใหภาพลักษณของเชียงแสนในระยะยาวอาจถูกมองวา เปนเมืองทางผานไปยังบอนคาสิโนในฝงลาว

อางแลว คุณวีระศักดิ์

188 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ประเด็นที่ 3: การปรับตัวของ อุตสาหกรรม การทองเที่ยว





ประเด็นที่ 4: นโยบาย ยุทธศาสตร และความรวมมือ ในระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และเขตชายแดน









ภาคธุรกิจดานการทองเทีย่ วมีการปรับตัวอยูส มํา่ เสมอเมือ่ ได รั บ ข า วสาร ที่ ไ ม ว  า จะเป น การเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคม ก็จะปรับเปลี่ยนกลยุทธ เพือ่ ใหเทาทันกับการเปลีย่ นแปลง เชน การทีโ่ รงแรมหรือ ที่พักมีการจางพนักงานที่สามารถพูดไดหลายภาษาเพื่อ รองรับนักทองเที่ยวที่เปนชาวตางชาติมากขึ้น จึงไมเปน ปญหาสําหรับภาคธุรกิจการทองเที่ยวในการปรับตัวมาก ทัง้ นีย้ งั มีหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เชน สภาอุตสาหกรรมการ ทองเที่ยวอําเภอเชียงแสน สมาคมสหพันธการทองเที่ยว อําเภอเชียงแสน เขามาสงเสริม และสนับสนุนใหเกิดการ ทองเที่ยวที่หลากหลายมากขึ้น และทางอําเภอเชียงแสน ยังไดใหการสนับสนุนในดานการใหความรู และแหลงเงิน ทุนแกนักธุรกิจรายยอย ภาคธุรกิจการทองเที่ยวตองการใหมีการสนับสนุนมีภาค รัฐบาลมีการพูดคุยกับนักธุรกิจในทองถิ่นใหมากขึ้น โดย ควรรับฟงความคิดเห็นกันและกัน รัฐบาลควรอํานวยความสะดวกใหแกนักทองเที่ยว โดย เฉพาะการขามจากฝงไทยไปฝงลาว เชน การลดขั้นตอน และระยะเวลาในการทํา Border pass หรือขยายวันใน การอยูที่ฝงลาวใหนานขึ้น การเปด counter ที่สามารถ แลกเปลี่ยนเงินไทยเปนเงินลาว หรือเงินสกุลอื่นๆ ไดที่ ดานได รวมถึงชวยผลักดันใหเกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษและ One Stop Service ในการผานดานใหเกิดขึ้น นอกจากนั้น ระบบราชการควรที่จะเปลี่ยนระยะเวลา ของการดํารงตําแหนงของผูแทนใหนานขึ้น จาก 1 ป เปน 4 ป เพื่อใหโครงการตางๆ มีความตอเนื่อง และมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ปจจุบัน ทางอําเภอเชียงแสนไดมีนโยบายที่เปน road map ระยะยาวเพื่อดําเนินการพัฒนาการทองเที่ยวของ เชียงแสนใหเปนรูปเปนรางมากขึน้ โดยมีจดั ระเบียบเมือง ใหเปนสัดเปนสวน งายตอการจัดการ ตรวจสอบ และ บริหารมากขึ้น

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 189


การทองเที่ยวของเชียงแสนไดโดนเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการทองเที่ยวไป มาก ทัง้ ทีส่ งิ่ ทีจ่ ะเปนโอกาสกลับกลายเปนวิกฤตสําหรับผูป ระกอบการการทองเทีย่ ว ไม วาจะเปนเอกลักษณของเชียงแสนเองทีท่ าํ ใหไมสามารถทําตลาดการทองเทีย่ วสมัยใหม ไดอยางไมเต็มที่ หรือการทีเ่ ทคโนโลยีการสือ่ สารและสารสนเทศกาวไกลจนสามารถลด ตนทุนทางธุรกรรมในการทองเที่ยวของกลุมนักทองเที่ยว เมื่อนักทองเที่ยวสามารถ ติดตามผลตอบรับจาก Social Media และเว็บไซตจดั นําเทีย่ ว ก็จะทําใหตวั เลือกในการ ทองเทีย่ วมากขึน้ หรือจะเรียกวามีความหลากหลายในความพึงพอใจตอระบบการทอง เที่ยวมากขึ้นนั้นเอง อาจจะทําใหการมาพัก หรือเที่ยวเชียงแสนเปนตัวเลือกที่ไมคมุ คา กับการแวะเวียนมาเมือ่ มีตวั เลือกทีด่ กี วา ทางหนวยงานไมวา จะภาครัฐบาล หรือเอกชน ในพืน้ ทีพ่ ยายามทีจ่ ะผลักดันการเทีย่ วแบบ Package Tour ทีไ่ ดทาํ ความรวมมือกับทาง ประเทศลาว ใหเกิดการนําเที่ยวเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม และวิถีชีวิตซึ่งมีความ เชือ่ มโยงกัน แตผลทีจ่ ะออกมากลายเปนเรือ่ งของอนาคตวาจะสามารถตอบสนองความ ตองการที่เลื่อนไหลอยางรวดเร็วของกลุมนักทองเที่ยวไดหรือไม ฉะนั้นการสนับสนุน ของทางหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนควรใหความสําคัญกับการทองเทีย่ ว ในรูปแบบใหมๆ มากขึ้น เชน 1) Business Tour35 ซึง่ แนวโนมของการทองเทีย่ วในเชียงแสน กลับมีกลุม ของนักธุรกิจ นักวิจยั นักวิชาการ หรือกลุม ของนักวิชาการทีม่ าพักอาศัย และทองเที่ยวในเชียงแสนเพิ่มมากขึ้น 2) Incentive Tour36 โดยการรับเหมาแตละบริษัท หรือหนวยงาน และ สรางเครือขายการทองเที่ยวที่ครบวงจร ตั้งแตรถตู ที่พัก รานอาหาร และธุรกิจนําเที่ยว

เปนการเดินทางของนักธุรกิจ ที่มีเปาหมายไมวาจะเปนการไปประชุม ไปรวมสัมมนา เจรจาธุรกิจ หรือแมแตการพักผอนหยอนใจ ซึ่งในประเทศอุตสาหกรรม รายไดจากทองเที่ยวในประเภทนี้จะสูง มาก เพราะมีการเดินทางอยูตลอดเวลา ไมขึ้นกับฤดูกาล และมีกําลังซื้อที่สูง 36 เปนการทองเที่ยวที่หนวยงาน หรือบริษัทจัดใหแกพนักงานบริษัท หรือลูกคาเพื่อตอบแทนแกผูให ผลประโยชน อาจมีจุดประสงคเพื่อพักผอนหยอนใจ หรือการทําธุรกิจรวม 35

190 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


3) Meeting Convention and Exhibition37 ในอนาคตเชียงแสนจะ มีทาเรือที่นําสินคามาจัดแสดง และเปนแหลงกระจายสินคา ฉะนั้น นิทรรศการ และงานแสดงตางๆ จะเกิดขึ้นอยางแนนอน 4) Special – Interest Group Tour38 เชียงแสนมีโบราณสถานเกาแก มีนกพันธุหายากใหชมที่ทะเลสาบ มีการจัดแขงไตรกีฬาสามเหลี่ยม ทองคํา จึงเปนโอกาสใหธุรกิจทองเที่ยวสรางรายไดโดยตรงจากความ สนใจเฉพาะเหลานี้ไดเปนอยางดี รูปแบบการทองเที่ยวของเชียงแสนไมควรที่จะมีรูปแบบที่ตายตัว หรือ พยายามที่จะกระตุนการทองเที่ยวแบบเดิม ไมวาจะดวยสถานการณการเมืองที่ไมสงบ การที่คาเงินบาทแข็งคา หรือภาวะเศรษฐกิจของยุโรปและอเมริกา ควรที่จะใชโอกาส การที่ไทยเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (Newly Industrialized Countries) และ เชียงแสนเปนประตูชายแดน ในการผลักดันในดานอืน่ ๆ ของการทองเทีย่ วใหสอดคลอง กับการเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อสงผลใหเกิดการเติบโตรวม (Inclusive Growth) ระหวางตลาดสินคา และตลาดบริการ นอกจากนั้น ในกรณีที่การทองเที่ยว แบบเดิมไมสัมฤทธิ์ผล เพื่อกระจายความเสี่ยงของธุรกิจการทองเที่ยวในประเภทตางๆ ทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากปจจัยภายนอก เนือ่ งจากเปนปจจัยทีค่ วบคุมไมได หรือคาดการณ ไมได จึงตองสรางความรวมมือทีเ่ ขมแข็งใหเชียงแสนมีการทองเทีย่ วทีม่ คี วามหลากหลาย มากขึ้น และติดตามขาวสารใหเทาทัน เพื่อปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองทีแ่ ปรผันตามกาลเวลา พลิกวิกฤตใหกลายมาเปนโอกาส เพื่อเสริมสรางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน (Sustainable Economy)

เปนการทองเทีย่ วทีม่ จี ดุ ประสงคเพือ่ เขารวมประชุมสัมมนา นิทรรศการ หรือชมการแสดงโดยเฉพาะ เปนการทองเที่ยวเฉพาะความสนใจ ที่มีจุดประสงคเพื่อทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งเปนพิเศษ เชน ไปชมการแขงขันกีฬา การเที่ยวชมธรรมชาติ การเดินปา การชมโบราณสถาน เปนตน

37

38

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 191


การเชื่อมโยงระหวางผลลัพธของแตละประเด็นของการปรับตัว ดานการทองเที่ยวกับกับกรอบทั้งสาม ประเด็นที่ 1: การพัฒนาเขต เศรษฐกิจลาว (King Romans) และการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ ในเชียงแสน

ประเด็นที่ 2: ผลกระทบจากการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจ ในฝงลาว และ การเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจใน เชียงแสน

ประเด็นที่ 3: การปรับตัว ของอุตสาหกรรม การทองเที่ยว

Border Economic Growth in Tourism Sector ประเด็นที่ 4: นโยบาย ยุทธศาสตร และความรวมมือ ในระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และเขตชายแดน

192 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา

Cross-border and Trans-border Connectivity

Border Future Policies


ตลาดสินคา (ดานการคา) • การเป ด AEC ทํ า ให ต ลาดสิ น ค า มี ค วามเสรี ม ากขึ้ น ทํ า ให มี สิ น ค า ที่ ห ลากหลายจากต า งประเทศ เข า มามากมาย ทํ า ให เ กิ ด การจั ด นิทรรศการ และศูนยแสดงสินคา ซึง่ เชียงแสนมีทา เรือนานาชาติแหงที 2 ทีก่ าํ ลังจะสรางเสร็จในเร็วๆ นี้ ทําให สามารถขนสงสินคาไดอยางสะดวก มากขึ้น

ตลาดบริการ (ดานการทองเที่ยว) • เปนโอกาสของตลาดบริการที่จะหา นักทองเที่ยวกลุมใหม ที่เปนกลุม นักธุรกิจ พอคา นักวิจัย นักวิชาการ กลุมบริษัท ที่ไมไดขึ้นอยูกับฤดูกาล การทองเที่ยวมากขึ้นเนื่องจากแนว โน ม ของนั ก ท อ งเที่ ย วกลุ ม เดิ ม ลด นอยลงอยางมากเพื่อลดความเสี่ยง ในการทําธุรกิจการทองเที่ยว

การเติบโตรวมของตลาดสินคา และตลาดบริการ (Inclusive growth between Goods and Services Market) ผูใหสัมภาษณภาครัฐบาล คุณวีระศักดิ์ สิริสิทธิ์ (นายอําเภอเชียงแสน) สัมภาษณเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2557 ผูใหสัมภาษณภาคเอกชน 1. คุณณัฐวุฒิ รัศมีจันทร (เจาของโครงการโขงวิวพลาซา และโขงวิวสเตชั่น) สัมภาษณเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2557 2. คุณพรเลิศ พรหมปญญา (เจาของทาเรือเหนือสยาม) สัมภาษณเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2557 3. คุณวิภาส สกุลพาณิชยเจริญ (เจาของธุรกิจรานกาแฟมองดูนํ้า) สัมภาษณเมื่อ วันที่ 13 มิถุนายน 2557 4. คุณจุรีย (เจาของธุรกิจจินแมโขงวิวรีสอรทแอนดสปา) สัมภาษณเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 193



การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการคา การลงทุนเมืองคูขนานพื้นที่ชายแดนแมสาย – ทาขี้เหล็ก เขียนโดย ปรางค ภาคพานิช, สิทธิชาติ สมตา และปฐมพงศ มโนหาญ

สัมภาษณพิเศษ คุณบุญธรรม ทิพยประสงค (ประธานหอการคาอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย) และ คุณเศวตยนตร ศรีสมุทร (นักธุรกิจในพื้นที่อําเภอแมสายและเจาของโรงแรมปยะพรเพลส)

อําเภอแมสายเปนเมืองชายแดนที่นาสนใจในการประกอบธุรกิจ เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิจชายแดนอําเภอแมสายมีมลู คามหาศาล เปนแหลงดึงดูดใหเหลานักธุรกิจ เขามาทําการคาการลงทุนในพื้นที่อําเภอแมสาย โดยอําเภอแมสายในอดีตเริ่มตนจาก ชุมชนคนไทยที่มีบัตรคนไทย เกิดที่ประเทศไทยจํานวนครอบครัวที่เริ่มเขามาตั้งรกราก 9 ครอบครัว ครอบครัวของคุณเศวตยนตรก็เปนหนึ่งในนั้น โดยอพยพมาจากจังหวัด ลําปาง เริ่มจากวิ่งรถสิบลอเกาๆขนของไปเชียงตุง เปนระยะทางกวา 200 กิโลเมตร ซึ่ง ใชระยะเวลากวาหนึ่งเดือน เนื่องจากถนนหนทางที่ไมดี ก็เริ่มตนจากการคาขายแบบนี้ จนกลายเปนชุมชนธุรกิจ คนก็เริม่ ทยอยเขามา จากทัง้ ทางลําปาง ไทใหญ ไทลือ้ เปนตน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 195


ก็เลยกลายเปนเมืองใหญ สมัยกอนอําเภอแมสาย แยกมาจากอําเภอแมจนั การขามแดน ของชายแดนสมัยกอน เขตพรมแดนสมัยสงครามไทยมีอาณาเขตอยูเชียงตุง การแบง เสนเขตแดนยังไมมีความชัดเจน ขยับปรับเปลี่ยนไปมา จนกระทั่งอังกฤษไดเขามายึด ครองประเทศเมียนมาร จึงไดมีการตีเสนแบงเขตแดนกันใหม เปนเขตที่ชัดเจน ฝรั่งเศส ก็ยดึ ครอง สปป.ลาว ก็สง ผลใหเกิดเขตแดนขึน้ ใหม แตปจ จุบนั ยังไมแนชดั วา 9 ครอบครัว ยังอาศัยอยูในพื้นที่อําเภอแมสายอยูหรือไม เปนเพียงขอความจากคนใกลชิดกับคุณ ปูทวดที่มีการรวบรวมขอมูลมาเขียนลงในสมุดบันทึก จะเห็นไดวาในอดีตกลุมชุมชนได เริ่มทําการคาชายแดนตามเสนทางระหวางประเทศ คุณเศวตยนตร กลาววา เดิมแมสายเปนที่พักของชายแดน ระหวางทางที่จะ สงของไปเชียงของ เดิมเปนชุมชนเล็กๆ ปูทวดของผมก็มาเริ่มสรางตลาดได 80 กวาป จนเริ่มเปนชุมชนธุรกิจ ที่ดินในบริเวณชายแดนแมสาย ทางปูทวดก็ไดสรางเปนตึกแถว ขายไปจนถึงทีต่ ดิ ราชพัสดุ ประมาณ 200-300 เมตร เริม่ เปนชุมชน “ความเจริญเติบโต และความเจริญรุงเรืองของอําเภอแมสาย 60-70 เปอรเซ็นตมาจากตัวนักธุรกิจและนัก ลงทุน (ตระกูลศรีสมุทร)” ณ ปจจุบันความเจริญรุงเรืองทางดานเศรษฐกิจการคาการลงทุนของอําเภอ แมสาย จังหวัดเชียงราย เปนสิ่งที่ไมสามารถหยุดยั้งได ถามองกายภาพของภาคเหนือ ตอนบน ในประเทศไทย จังหวัดเชียงรายถือเปนหัวเมืองทีม่ คี วามสําคัญเปนอยางยิง่ ของ ภาคเหนือตอนบน เพราะอําเภอแมสายมีเขตแดนทีต่ ดิ ตอกับประเทศเพือ่ นบาน ในกลุม GMS ที่มีจํานวนประชากรไมตํ่ากวา 300 ลานคน ถือเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดวาการพัฒนา ใดๆก็ตามในประเทศไทย จะมองประเทศเพือ่ นบานทีจ่ ะเปนผูค า อันมีความสําคัญอยาง ยิง่ ในการวางยุทธศาสตร ทีเ่ ราจะกาวขามเขาไปสูป ระเทศเพือ่ นบาน อําเภอแมสายเปน อําเภอทีม่ คี วามโดดเดนทีส่ ดุ ในจังหวัดเชียงราย เปนประตูทมี่ คี วามสําคัญ ประเด็นก็คอื แตละอําเภอไมวา จะเปน แมสาย เชียงแสน เชียงของ มีความโดดเดนแตละพืน้ ทีท่ แี่ ตก ตางกัน คือ แมสายมีเมืองคูขนานคือจังหวัดทาขี้เหล็ก ประเทศเมียนมาร ที่มีประชากร กวาลานคน เชียงแสนเปนประตูสําคัญในการขนสงทางนํ้า มีพื้นที่ติดกับพื้นที่เชาของ นักลงทุนจากประเทศจีน เมืองตนผึง้ สปป. ลาว มีจาํ นวนประชากรกวาแสนคนทีเ่ ขาไป ในเมืองตนผึง้ และเชียงของมีเมืองคูข นานคือเมืองหวยทราย แขวงบอแกว สปป.ลาว ที่ มีเสนทางการคาสู คุนหมิง ประเทศจีน ซึ่งมีจํานวนผูเดินทางกวาแสนคน ที่สามารถ

196 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เดินทางไปยังคุนหมิง หรือไปยังเวียดนามได เพราะฉะนัน้ จะเห็นวากายภาพของจังหวัด เชียงรายเปนกายภาพที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาการคา คุณบุญธรรมมองวา สิ่งเหลานี้เปนอนาคตของคนจังหวัดเชียงรายจํานวน 1,200,000 คน เปนอนาคตของ คนไทยและเปนอนาคตของประเทศไทย ถาเราสามารถวางยุทธศาสตรการคาในจุดนีใ้ ห ดี ในจังหวัดเชียงรายมี 18 อําเภอ 17 อําเภอเปนหนีธ้ นาคาร แตเฉพาะในอําเภอแมสาย มีเงินออมไมตาํ่ กวา 3-4 หมืน่ ลานบาท ดังนัน้ อําเภอแมสายจึงเปนอําเภอทีม่ คี วามสําคัญ อยางยิ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน ในพื้นที่ของจังหวัดทาขี้เหล็ก ประเทศเมียนมาร มีพื้นที่รัฐฉานทั้งหมด 9 มณฑล จะใหเปนศูนยกลางในการพัฒนาฉาน เพราะในรัฐฉานตะวันออกทั้งหมดไมมี ทางออก เนื่องจากเปนพื้นที่ Land rock และเปนพื้นที่สูง ไมสามารถทําการเพาะปลูก ไดอยางสมบูรณ เพราะฉะนั้นเมียนมารเองก็ตองอาศัยประเทศไทยในดานการอุปโภค บริโภค และการกอสรางใดๆที่เกิดขึ้น 80%-90% เมียนมารมีการนําเขาสินคาจากไทย หมด ถาจะเจาะลงไปวาในพืน้ ที่ ทีร่ ะหวางแมสายและทาขีเ้ หล็กจะมีพนื้ ทีพ่ อๆ กับอําเภอ แมสาย แตวาก็ยังมีขอจํากัดมาก ในพื้นที่เศรษฐกิจจริงๆ แลว ในทาขี้เหล็ก (ทาลอ) จะ มีราคาที่ดินที่สูงพอๆ กับราคาที่ดินในอําเภอแมสาย ซึ่งมีราคาหลายสิบลานบาท ก็จะ มีการแบงเขตราคาพืน้ ทีเ่ ปนโซน ABC หรือ โซน 123 เปนตน แตวา ไกลออกไปจากพืน้ ที่ หนาดานราคาที่ดินก็มีราคาไมตํ่ากวา 5-10 ลานบาท เพราะฉะนั้นที่ดินของแมสายกับ ทาขี้เหล็กเกือบจะมีความใกลเคียงกันหรือเกือบจะเทากัน ดังนั้นถาจะมองอีกในแงมุม หนึ่งก็จะเห็นอะไรก็ตามที่มีราคาแพง การจะกระจายความเจริญ ขยายความเจริญ สําหรับที่จะขยายเมืองก็จะไปติดอยูตรงบริเวณที่มีราคาที่ดินสูงเทานั้น ในแมสายที่ดิน สวนใหญไปติดอยูท นี่ กั ลงทุนรายใหญ มีไมกรี่ ายทีม่ ที ดี่ นิ กวา 100 ไร ความแตกตางของ ที่ดินระหวางทาขี้เหล็กกับแมสายไมเหมือนกันคือ ของแมสายจะมีโฉนดบงบอกถึง ผูครอบครองชัดเจน แตของเมียนมารจะเปนในรูปแบบของการเชาพื้นที่ 20-30 ป เปนตน ไมมโี ฉนด ซึง่ ในพืน้ ทีข่ องเมียนมาร คนทีเ่ ชาสวนใหญเปนชาวบานและประชากร ในประเทศเมียนมาร แตพื้นที่เปนของรัฐ เปนการปกครองแบบสังคมนิยม โดยการถือ ครองโฉนดของประเทศไทยสามารถเอาไปเขากูเ งินกับทางธนาคารเพือ่ นําเงินมาตอยอด ในการทําธุรกิจได แตของเมียนมารก็มีสัญญาเชาของเขา เหมือนกับของจีนที่มีสัญญา เชาเขาไปอยูคอนโด 30 ป แตก็สามารถตอสัญญาใหกับลูกหลานตอไปได เปนตน การ ถือครองที่ดินก็จะแตกตางกันออกไป

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 197


การแบงที่ดินเปนโซน ABC เชน ที่ดินที่ใหธนาคารไทยพาณิชยเชาในราคา 150,000 บาทตอเดือน หรือขายในราคา 80 ลานบาท หรือที่ดินบริเวณราชพัสดุ ราคา ขายไมตาํ่ กวา 10 ลานบาทขึน้ ไป ซึง่ ราคาทีด่ นิ ในบริเวณดานชายแดนแมสาย-ทาขีเ้ หล็ก มีแนวโนมทีจ่ ะปรับตัวสูงขึน้ อยางแนนอน เพราะวาดูจากอัตราเงินเฟอ ยิง่ เงินเฟอราคา ก็จะปรับไปตามมูลคาของเงินเฟอ การขยายตัว เชน การทีแ่ ม็คโครเขามาเชาพืน้ ทีส่ าํ หรับ สรางหางแม็คโคร จํานวน 34 ไร ในระยะเวลา 30 ป เปนจํานวนเงิน 300 ลานบาท โดย ตัวผูเชา คุณบุญธรรมมองวา เขาไมไดมองถึงมูลคาหรือราคาการเชาที่ดิน แตกลับมอง โอกาสในอนาคต ในแงของประเทศเพื่อนบานอยางเมียนมาร ที่เปนประตูสําคัญในการ การกาวขามเขาไปในเมียนมาร และจีนตอนใต ที่มีเขตติดตอกับเพื่อนบานที่มีศักยภาพ ดังนัน้ พืน้ ทีอ่ าํ เภอแมสายเปนทีเ่ ริม่ ตนของผูป ระกอบการ เริม่ ตนมาจากพอคา โชหวย การเริ่มตนครั้งแรกนําไปสูการเจริญเติบโตในปจจุบัน “อดีตที่ผานมาจะทําให รูจักรากเหงาของตนเอง” อดีต ปจจุบันและอนาคตเปนสิ่งที่ผูกพันกันอยูตลอดเวลา

การจัดการพืน้ ที่ แตเดิมเขาใจวานักธุรกิจผูล งทุนมาทําเอง ภาครัฐอาจจะ ไมไดเขามารวมมือมาก ปจจุบนั อาจจะมีการรวมมือระหวางภาครัฐกับภาค เอกชน การเปลี่ยนแปลงพวกนี้เปนสิ่งที่คอนขางจะศึกษาใชสําหรับการ เรียนรูตอไป? คุณบุญธรรม: การพัฒนาในอําเภอแมสาย เปนการพัฒนาใหตอ ยอดถึงคนรุน ตอๆไป การพัฒนาบุคลากรในพืน้ ทีอ่ าํ เภอแมสาย เขาก็เดินจากแมสายแลวเขาไปสูก ลุม ธุรกิจที่มีเงิน หมื่นลานแสนลาน เพราะฉะนั้นแลวก็เปนเมืองที่นาสนใจ อะไรที่ทําให แมสายมีเงินออมไดเปนหมื่นๆ ลาน อะไรที่ทําใหเราสามารถผลิตนักธุรกิจเขาไปเติมโต ในสวนกลางได เขาไปเติบโตในภาพรวมของธุรกิจในประเทศไทยได นักธุรกิจในอําเภอ แมสายจะเปนนักธุรกิจที่สงไปจากอําเภอแมสอด แมฮองสอน ทั้งหลายทั้งปวงที่เขาสู เมียนมาร เงินออมทีไ่ ดกม็ าจากเงินออมทีท่ าํ การคากับประเทศเมียนมาร ซึง่ เปนประเทศ ที่สําคัญที่ไทยสงสินคา อุปโภค บริโภค การกอสราง ปอนขาวปอนนํ้าใหเขากิน

198 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ณ ปจจุบนั ประเทศเมียนมารมกี ารปรับเปลีย่ นการบริหารจัดการประเทศ กระทบตอการคาการลงทุนของแมสายมากนอยแคไหน? คุณเศวตยนตร: สวนตัวผมมองเมียนมารเปดประเทศเปนบวก แตจะมีการ สงเสริมไดแคไหน ก็อยูที่ เมียนมารจะพัฒนาไปในทิศทางไหน อยางการจัดการดาน บางทีคนทํางานหรือจํานวนเจาหนาทีมไี มเพียงพอ ยังตองใชเวลาในการปรับและพัฒนา บุคลากรและสาธารณูปโภคเยอะ สวนในดานของเอกชนก็มีความกลมกลืนกันไปเยอะ ความสําคัญอยูที่ความรวดเร็วในการพัฒนาประเทศของเมียนมารมากกวา ระบบ สาธารณูปโภค ไฟฟา ยังไมพรอม ไฟฟาที่จะนําไปใชในระบบโรงงานจํานวนเยอะๆ เขา ยังไมสามารถผลิตเพื่อจายใหโรงงานยังมีไมเพียงพอ ดังนั้นความเจริญจากผูบริโภคไป จนถึงผูผลิตเขายังทําไมได เขายังคงตองรับบริโภคจากเราตอไปสักระยะ ซึ่งจะตองใช เวลาพอสมควร ถาถึงชวงเวลาทีเ่ ขามีพรอม ในอนาคตไทยเราเองก็จะตองมีการปรับตัว เปน Trader แมวาในเรื่องของแรงงานเราสูเมียนมารไมได ซึ่งผมมองวาไมนากลัวเทา ไหร เพราะในพื้นที่ของชายแดนแมสายก็ยังคงมีการซื้อขายกันไปมาอยูเปนปกติ คุณบุญธรรม: ผมมองวายิ่งเขาพัฒนาไดมากเทาไหร ผลประโยชนก็จะเปน ของเรา อุปกรณการกอสราง สินคาอุปโภค บริโภค เราสามารถครองตลาดในเมียนมาร ได 80-90 เปอรเซ็นต จุดดอยของเราคือการไมนงิ่ ทางการเมืองของเราเองมากกวา ตราบ ใดทีเ่ รายังไมสามารถทํายุทธศาสตรใหตวั เองมีจดุ ยืนไดอยางมัน่ คง เราก็ยงั ไมควรจะมอง ไปยังขางหนา เราควรจัดระบบระเบียบของเราใหดีกอน ถึงแมวาเราเปนภาคเอกชนที่ สามารถเดินนําหนาไปกอนภาครัฐบาลแตในทั้งนี้ทั้งนั้นเราเองก็ควรรวมเดินไปดวยกัน ไมใชใหภาคเอกชนเดินไปคนเดียว แลวเสร็จแลวภาครัฐบาลก็คอยกระตุกอยูขางหลัง ยอนกลับไปถามรัฐบาลวาคุณจะเอาจริงเอาจังกับการพัฒนาไหม มีการวางยุทธศาสตร เกี่ยวกับชายแดนไหม คุณจะเอาจริงเอาจังกับการที่จะกาวขามไปคาขายกับเพื่อนบาน ไดไหม ในฐานะทีป่ ระเทศไทยมีเขตแดนทีต่ ดิ ตอกับประเทศเมียนมารเพียง 2,000 กวา กิโลเมตร อีกทั้งประเทศเมียนมารเองมีประชากรกวา 60 ลานคน เขามีพื้นที่มากกวา เรา 20 เปอรเซ็น เรามีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ เราประเทศไทยมีพื้นที่ติดกับเมียรมาร กวา 2,000 กิโลเมตร จะมองขามแลวใหประเทศอื่นยึดไปไดยังไง แลวสินคาเราก็เปน สินคาแบรนดที่เมียนมารนิยมชมชอบ เราจะทําอยางไร ถาเราจะคาขายกับประเทศ เพื่อนบานเรามีความพรอมมากนอยแคไหน ประเทศเมียนมารมีเงิน มีกําลังซื้อ มี ศักยภาพ อยูที่เราจะทําอยางไรที่จะไปหยิบเงินเขามาได

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 199


ยุทธศาสตรการคาของอําเภอแมสายที่วางไวในเรื่องของการพัฒนาพื้นที่ มีอะไรบาง? ยุทธศาสตรการคาของอําเภอแมสาย มี 5 ยุทธศาสตร ดังนี้

ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรดานการคา กรอบการคาชายแดนเปนกรอบที่เล็กเกินไป ปจจุบันจะตองเปนการคา ระหวางประเทศ ลูกคาในกลุม GMS เปนกลุมลูกคาที่มีศักยภาพมากที่สุด มองตอไปวา จะทําอยางไรที่จะเอาเมียนมารเปนศูนยกลางในการผลักดันสินคาเขาไปสูตอยอด ประเทศเพื่อนบานของเมียนมาร ไมวาจะเปน จีน อินเดีย บังกลาเทศ ดังนั้น เมียนมาร จึงเปนยุทธศาสตรที่สําคัญ ที่จะเอาเมียนมารเปนศูนยกลาง เพราะฉะนั้นหอการคาจะ พูดถึง AEC นอยที่สุด เพราะ AEC มีจํานวนประชากร 600 ลานคน แตเราไมมีทุนมาก พอ จะตองใชเงิน พันลานถึงแสนลานบาท แตเชียงรายอยูในภาคเหนือตอนบน จึงยึด เอา 300 รอยลานคนใน GMS เปนที่หลัก ที่เราจะผลักดันสินคา ไมวาจะเปน OTOP, SME เขาก็บริโภคสินคาจากเราอยูแ ลวเปนทีต่ อ งการของตลาด เพราะฉะนัน้ การคาของ เรานี่คือยุทธศาสตรที่เราจะตองกาวเขาไปสูประเทศเพื่อนบาน ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรดานการทองเที่ยวเชิงสิ่งแวดลอม ในจังหวัดเชียงราย ทางหอการคามองวาเปนศูนยกลางการทองเทีย่ วของภาค เหนือตอนบนทั้งหมดที่เราจะเอาจีนตอนใต เมียนมาร ลาว เวียดนามเขามาทองเที่ยว เพราะฉะนัน้ เราก็จะสามารถกระจายความเจริญออกไปสูป ระเทศทัง้ หลายได ซึง่ จะเปน คําตอบที่ดีที่สุด เพราะวาเรามีความพรอม เรามีบุคลากรพรอม เรามีชาติพันธุ เรามี ขนบธรรมเนียมประเพณี และมีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม ซึ่งเรามีความ พรอมทุกสิ่งในตรงนี้ ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรดานการเกษตร จังหวัดเชียงรายมีจํานวนประชากร 1,200,000 คน มีพื้นที่ไมตํ่ากวาเปนลาน ลานไร ทีส่ ามารถผลิตสินคาทางการเกษตร แตในประเทศไทยมีความยากลําบากในเรือ่ ง ของการเกษตร คือ ปกติเราปลูกผักตําลึงขายเราสามารถเปนผูกําหนดราคาได แต เกษตรกรที่เราสงเสริม ไมวาจะเปนขาว ขาวโพด ถั่วเขียว ถั่วเหลือง เราไมมีตลาดที่ผู ผลิตเปนผูก าํ หนดราคา เราจะไปอางอิงตลาดโลกทีม่ พี อ คาเปนผูก าํ หนดราคาใหกบั เราได

200 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เพราะฉะนัน้ สินคาทางดานการเกษตรของประเทศไทยจะตองตกอยูใ นวงเวียนของความ ยากลําบาก เพราะวารัฐมนตรีที่เขามาแตละคนผมมองวาใชไมไดมันจึงนําไปสูจุดที่ยุง ยาก เชน การจํานําขาว เปนตน เพราะฉะนั้นแลวเราก็ตั้งคําถามวาเราจะทําอยางไรที่ จะเอาจังหวัดเชียงรายเปนครัวเพื่อผลิตสินคาทางดานการเกษตรปอนเขาสูประเทศ เพื่อนบานของเรา จะดึงเอาภาคเหนือตอนบนทั้งหมดเลย แต ณ ปจจุบันเราจะเห็นวา เราสงพวกพืชผักผลไม โดยการไปเอาผลไมมาจากจังหวัดลําพูน อําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม เฉพาะจังหวัดเชียงรายนั้นปอนใหประเทศเพื่อนบานนั้นไมเพียงพอตอความ ตองการของ เมียนมาร ขาวปลาอาหาร เมียนมารบริโภคสินคาของเราหมด นี้คือความ โดดเดนของเรา เราจึงหยิบยุทธศาสตรดานการเกษตรขึ้นมา เปนหลักสําคัญที่สุดที่ รัฐบาลควรสนับสนุนสงเสริม เพราะฉะนัน้ ยุทธศาสตรทสี่ ามของหอการคาทีเ่ รามองเห็น ความสําคัญทางดานการเกษตรจะสามารถชวย ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรดานโลจิสติกส โลจิสติกสเปนเรื่องที่สําคัญที่เราจะกระจายสินคาไปสูประเทศเพื่อนบาน แต ถาคาขนสงยังมีราคาสูงอยู จะทําใหเราไมสามารถเขาไปอยูในการแขงขันของประเทศ อื่นที่อยูไกลได 300 รอยบาท ก็เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเศรษฐกิจเราชะงัก ไมวาจะเปน OTOP, SME ตองไดรับความลําบาก การเอานโยบายของรัฐบาลไปปะปนเขากับ การเมือง โดยจะเอาแตผลประโยชนอยางเดียวโดยไมไดคํานึงถึงผลกระทบ เพราะฉะ นั้นโลจิสติกสจึงเปนเรื่องที่สําคัญอยางยิ่ง ในจังหวัดเชียงรายมีถนนเสนเดียว คือ ถนน พหลโยธิน การจะขนสินคาเขาชายแดนเขาประเทศเพือ่ นบาน เขาเชียงของ เขาแมสาย เขาเชียงแสน หากเกิดเหตุการณฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุขึ้น จะทําใหการจราจรหยุดชะงัก ดังนัน้ ทางหอการคาจึงมีการขอใหมถี นนอีกเสนเปนถนนเสนโลจิสติกสทจี่ ะแบงเบาภาระ การจราจร แออัดยัดเหยียดที่เริ่มจะบานปลายขึ้นไปเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นยิ่งเราสามารถ ทําใหโลจิสติกสภายในประเทศคลองไดมากเทาไหร ก็จะสามารถลดตนทุนในการขนสง ลงไดงาย เร็ว นี้คือสิ่งที่รัฐบาลควรเขามาดูแล ยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรดานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงรายเปนอีกจังหวัดหนึง่ ทีห่ ลายคนอยากเขามาทํา อุตสาหกรรมทีเ่ ชียงราย โดยเฉพาะประเทศจีนอยากจะเขามายึดเชียงรายเพือ่ เปนเมือง หนาดานเพื่อจะผลิตสินคา โดยใชเสื้อหมอฮอม โดยใชแบรนดของจังหวัดเชียงราย ใช

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 201


แบรนดของประเทศไทย กระจายสินคาเหลานั้นเขาสูในอาเซียน เพราะวาไทยมีความ พรอมในดานของสาธารณูปโภค เพราะวาจีนไมสามารถเขาไปในเวียดนามและเมียนมาร ได เนือ่ งจากเวียดนามเขาเปนศัตรูกนั มาพันกวาป สาธารณูปโภคยังสูข องเราไมได เขาไป ในเมียนมารในสวนลึกๆ จริงๆ แลว จีนกับเมียนมาร ไมชอบ เมียนมารจะไมชอบจีนเลย เพราะวาจีนเมื่อเขาไปอยูแลวทําตัวเหมือนเขาไปครอง ก็เลยเหลือประเทศไทย จีนจึง เอาเสนทางแมนํ้าโขงมาลงตรงนี้ แตไทยก็ไมเปดชองใหจีน เพราะไมอยากใหจังหวัด เชียงรายตกอยูใ นสิง่ แวดลอมทีเ่ ปนมลพิษ เพราะฉะนัน้ อุตสาหกรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ จะตอง เขากับสิ่งแวดลอม ไมทําลายสิ่งแวดลอมของจังหวัดเชียงรายเปนอุตสาหกรรมที่ไปได ดวยกันกับสิ่งแวดลอม อยูกับเราไดในอนาคต และเปนอุตสาหกรรมแบบยั่งยืน

ภายใตยทุ ธศาสตรทงั้ 5 ในแตละปหอการคามีการวางแผนวาจะมีการเนน ไปในดานไหนบาง? คุณบุญธรรม: การขับเคลื่อนของหอการคา ตั้งแตเดิมมา เสนทางเรียบจาก แมสายเขาไปในเชียงแสน จากเชียงแสนเขาไปในเชียงของนี้ก็เปนตนคิดของหอการคา ซึง่ เปนตัวนํารองทีห่ อการคาไดวางยุทธศาสตรใหกบั ทางรัฐบาล สะพานแหงที่ 2 แมสาย เกิดขึ้นดวยหอการคาไดมองการณไกลวาในอนาคตวาที่นี้จะเปนสะพานหลักที่สําคัญ ที่สุดในการขนสินคาเขาออก และทาเรือที่หอการคาผลักดันมีทั้งหมด 3 ทาเรือ ทาเรือ แหงที่ 1 สรางขึ้นมาเปดไดเจ็ดวันถูกนํ้าพัดหายไปเลย ก็นําไปสูการทาเรือแหงที่ 2 ซึ่ง ณ ปจจุบันไดมีการยายไปยังทาเรือแหงที่ 3 ณ ปจจุบันเปนทาเรือแหงการทองเที่ยว ปญหา คือ เมื่อหอการคาผลักดันใหมีการสรางสะพานและทาเรือ จนกระทั่งรัฐบาล ยอมรับกับโครงการที่ผลักดัน แตกอนจะมีการสรางกลับไมมีหนวยงานของรัฐบาลเขา มาสอบถามถึงความตองการของคนในพืน้ ที่ ทัง้ ๆทีเ่ ราเปนตนคิด เปนตนแบบทางหนวย งานรัฐทําโดยการเขียนพิมพเขียวแบบแปลนมาจากสวนกลางและทําการกอสรางขึน้ มา เลย นี่คือการทํางานของรัฐบาล เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นแลวมันทําใหเสียงบประมาณ ไปมากมาย ก็เพราะวาเขาไมไดมาถามคนในพื้นที่ แมกระทั่งสะพานแหงที่ 4 อันนี้ก็ สําเร็จขึ้นดวยการผลักดันของจังหวัดเชียงรายของหอการคาจังหวัดเชียงราย เพราะ ฉะนัน้ แลว สินคาทีเ่ รานําขามไปสามดานก็มมี ลู คาตกเปน หาหมืน่ ลาน แตถา มองในภาพ รวมแลวมันก็ไมตํ่ากวาสองแสนกวาลาน อันนี้ก็คือมาจากผูประกอบการ หอการคาก็ เปนตัวผลักดันและหอการคาก็มียุทธศาสตร ในสามหอของเรา สามสํานักงานของเรา

202 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


แมสาย เชียงแสน เชียงของ เราจะตั้งรองประธานหอการคาขึ้นมาใหเขาไปดูแลพื้นที่ ของแตละพืน้ ที่ เพือ่ เปนผูป ระสานใหกบั ผูป ระกอบการ ผูส ง ออก นําเขา เราจะสามารถ ใหเขาดูแลบริหารจัดการตนเองและพื้นที่ของตนเอง ถารองประธานของการคาของ แตละที่ไมสามารถดูแลได ทางหอการคาเองก็จะเขาไปดูแล ซึ่งอันนี้จะตองเปนหลัก เกณฑทแี่ นนอนตายตัว ทุกสิง่ ทุกอยางหอการคาก็มเี สนของมัน มีเขตของมัน มีวฒ ั นธรรม การทํางานของมัน

ปญหาหรืออุปสรรคในดานของการคาการลงทุนของพื้นที่แมสายใน ปจจุบันเปนอยางไร? คุณบุญธรรม: ถาจะพูดถึงในดานของเรามันไมมีปญหา แตก็มีในดานของ อุปสรรค เมื่อกอนมันจะมีเจาหนาที่ไปแอบแฝงหากิน ก็มีการขจัดใหมันเบาบางลงไป คุณเศวตยนต: อุปสรรคของอําเภอแมสายในปจจุบนั คือ การทีค่ นหนวยงาน ที่สงเขามาดูแลพื้นที่อําเภอ แมสายเยอะมาก ทั้งหนวยงานดานความมั่นคง หนวยงาน กักกันโรค หนวยงานดานศุลกากร ตรวจคนเขาเมือง ทุกหนวยงานทุกคนทีม่ าลงแมสาย ตองอันดับเสนดี ตองมีการลงทุน มาแลวตองมีการถอนทุนคืน กลายเปนวัฏจักร อีกเรือ่ ง หนึ่งคือเรื่องแรงงานที่วาแมสายมันเปนระดับอําเภอที่เทียบกับสิบอําเภอในจังหวัด เชียงราย แตดูเหมือนเปนจังหวัดเลย คนเขาคนออกการเงินหมุนเวียนเยอะ จึงตองมี การใชเงิน และใชแรงงาน แตติดตรงคาจางแรงงาน 300 บาท คนในชายแดนก็เขาไป ทําในเมือง เราจึงตองจางแรงงานราคาสามรอยบาทเทาแรงงานเมียนมาร แตไมคอยมี คนไทยมาทํา เราจึงตองจางเมียนมาร กฎหมายบางอยาง อยางกฎหมายแรงงาน ถาไม ไดขนึ้ ทะเบียนแรงงาน อยางผมทํากอสรางดวย อยางไซตเดิมผม หกเดือนผมจะยายไซต งาน โดยใชแรงงาน 50 คน อีกไซตใชแรงงาน 20 คน อีกไซตใชแรงงาน 30 คน ผมอาจ จะแยกไป โดยธรรมชาติของงานกอสราง คุณไมไดจะขอแยกวาคนนี้ตองทําปหนึ่ง คน นีจ้ ะตองอยูต รงนีป้ ห นึง่ มันไมใช พอผมยาย ก็โดนทางหนวยงานแรงงานแจงมาวาไมแจง ยาย บางที่ยายไปสองวัน ไมแจงยายก็จะมีเจาหนาที่เขามาตรวจมาจับ คือถาไมมีการ แจงยายมีโทษหนัก เกี่ยวกับการใหที่พักพิง กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานโทษหนักมากๆ คือมันเปนชองทางหาเงินของเขามากกวา เพราะฉะนั้นยิ่งทําใหนักลงทุนอยูลําบาก ใน เรื่องของการคาขายเชนกันที่จะตองมีการจายคาผานทางใหกับหนวยงานที่ดูแล

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 203


เรื่องของความมั่นคงในพื้นที่เปนอยางไร? คุณเศวตยนต: เรื่องของความมั่นคงไมมีมาตรฐาน มันคือความมั่นคงทาง เศรษฐกิจของขาราชการเปนขออางในการหาเงินของขาราชการ คุณบุญธรรม: ความมัง่ คง คือ คนเมียนมารสามารถเขามาในแมสายไดไมเกิน 15 กิโลเมตร จะเขาไปนอกนัน้ ไมได แตของเราสามารถเขาไปในเมียนมารไดหนึง่ อาทิตย ทางหอการคาก็มองวาอยากจะใหคนเมียนมารไปถึงในตัวอําเภอเมืองเชียงราย แตถา ใครจะเขาไปเชียงรายก็ตองทําเรื่องปวย ไปเชียงใหมก็ตองทําเรื่องปวยก็เสียคาใชจาย แพง เพราะฉะนั้นเขาก็ไปอางเรื่องความมั่นคง ปญหาของเรา คือ ไปขอเปดดานกับเมีย นมาร ทางเมียนมารก็อนุมัติใหเปดดานไดถึงสามทุม แตไปติดปญหาที่รัฐมนตรีวาการ กระทรวงมหาดไทยของไทยยังไมไดเซ็นอนุมัติ ซึ่งเขาก็มองวามันเปนเรื่องระหวาง ประเทศ แตการทํางานของเราคอนขางไมเหมาะสม เพราะฉะนั้นแลวบางครั้งบางสิ่ง บางอยางมันก็เกิดจากขาราชการ มันไมไดเกิดกับผูประกอบการ เกิดกับชาวบาน ชาว บานเปนแตเพียงผูปฎิบัติตามกฎหมาย แตวาบางครั้งขาราชการก็การทําหนาที่เกิน บทบาทเกินกฎหมาย

แรงงานกลับไปนอนทีท่ า ขีเ้ หล็กเพราะวาคาเชาในแมสายแพง ณ ปจจุบนั เปนอยางไร? คุณเศวตยนต: ณ ปจจุบันมีสองแบบ คือ เชาไปเย็นกลับก็มี พักที่แมสายก็มี คุณบุญธรรม: ทางหอการคาอยากใหแรงงานในพื้นที่ชายแดนสามารถที่จะ เดินทางเชาไปเย็นกลับ เมื่อเขาเขามาเขามาไดเจ็ดวัน ครบเจ็ดวันเขาก็กลับไป แตถา เมื่อเขาเขามาทํางานกับเราแลวจะตองไปแจงใหทางดานตรวจคนเขาเมืองทราบ ถาไม แจงใหดา นตรวจคนเขาเมืองทราบเขาก็จะมาจับเรา มันเปนกฎหมายทีจ่ ะผลประโยชน ทั้งหมด

204 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การทําธุรกิจหรือการลงทุนในพื้นที่ชายแดนแมสาย – ทาขี้เหล็ก? คุณบุญธรรม: ปจจุบนั เศรษฐกิจของทาขีเ้ หล็กเขาดี เก็บเงินไดมากกวาแมสาย แตวาเราไมสามารถจะคาขายกับเขาไดโดย AEC เพราะเขามีขอจํากัด ธนาคารของเขา ยังเปนธนาคารทีถ่ กู ควบคุมโดยรัฐบาล นักธุรกิจของเขาก็ไมสามารถขึน้ มาอยูบ นดินแบบ ของเราได เขาก็มขี อ จํากัด ยังทําธุรกิจแบบหลบๆซอนอยู มีเงินเยอะก็ไมได ก็จะถูกตรวจ สอบวานําเงินมาจากไหน เปนตน เพราะฉะนั้น ในการคากับเมียนมารจึงเปนการคาที่ ยากลําบาก แตก็เปนความฉลาดปราดเปรื่องของผูประกอบการที่จะสามารถเอาสินคา เขาไปปอนใหกับเมียนมารได การเจริญเติบโตในการคาของเราในจังหวัดเชียงราย เปนความสามารถของผู ประกอบการ ความยากก็คือ วันหนึ่งเราไมสามารถจะเปด AEC ได เงินบาทก็ยังเปน ปจจัยหลักทีส่ าํ คัญในการทีเ่ ราจะคาขายกับเขา ในเมือ่ ใชเงินบาท สองประเทศก็เหมือน เปนประเทศเดียวกัน แตกม็ เี จาหนาทีค่ อยจะเอาสวนแบงอยูต ลอดเวลา ฝง ของเมียนมาร เองก็มีอยูเชนกัน ซึ่งจะมีการรองเรียนอยูตลอดเวลา แมกระทั่งผูประกอบการ ตอนที่ ประชุมหารือ ก็เขามาแจงใหกับทางหอการคาวาถูกแบล็คเมล ถูกตํารวจอุมไปเขาเซฟ เฮาส อันนี้คือความยากลําบาก เพราะทุกบานในในบริเวณชายแดนแมสาย-ทาขี้เหล็ก ใชเงินไทย เก็บเงินไทย เมืองไทยก็ยังเปนตัวกํากับที่สําคัญในการคาขาย ซึ่งในปจจุบัน ทางกระทรวงการคลังไดอนุมตั เิ พิม่ การขนยายเงินระหวางประเทศเปนสองลานบาทตอ วัน จากหาแสนบาทตอวัน เพราะฉะนัน้ ความยากงาย กับการคากับประเทศเมียนมาร เราจะไปวาใหเขา ไมได เพราะเขามีวฒ ั นธรรมของเขา มีกฎหมายของเขา และผูค นในประเทศของเขาเปน แบบนั้น ซึ่งจะเอากฎหมายของเราเปนตัวตั้งไปวัดเขาไมได แลวก็จะเอาคนของเราไป เปนตัวตั้งในการกําหนดขอบเขตไมไดเชนกัน เพราะวาการคาแบบนี้มันไมมีขอบเขต ตองใชหลักนิตศิ าสตรและรัฐศาสตรเขามาผสมกัน มันถึงจะอยูไ ดอยางยัง่ ยืน จะใชเพียง อยางใดอยางหนึ่งไมได

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 205


ปจจุบนั มีนกั ธุรกิจไทยเขาไปลงทุนเปดทําการผลิตหรือทําการคาขายทีท่ าง ทาขี้เหล็กเยอะไหม? คุณเศวตยนต: มีนกั ธุรกิจไทยเขาไปลงทุนเปดทําการผลิตหรือทําการคาขาย ทีท่ างทาขีเ้ หล็กบางแตไปยาก สมัยกอนผมคานํา้ มันกับทางทาขีเ้ หล็ก ปญหาก็คอื เราไป สูคนเมียนมารไมได บางทีเงินก็เก็บไมไดบาง มันเปนเรื่องของ connection คือคนทาง นูนเขาคาขายกับตลาดที่ใหญๆ เขาไปถึงเชียงตุงได เพราะเขามี connection ซึ่งเราไป ไมได เรามีของเรามีสินคาแตเราไมมีคนพาเขาไป คนตางชาติหรือคนนอกพื้นที่เขาไปก็ จะยากพอสมควร คนในพื้นที่ก็คอนขางที่จะครองตลาดของเขาเอง ใครจะเขาไปก็จะ ตองมี connection ที่พอสมควร ตองใชเวลาอยางที่เขาคากันไปกอนๆ นี้ คนในแมสาย ถึงไปได แตถาคนอื่นที่อยูนอกแมสายเขามาทําก็จะยาก

รูปแบบการทําธุรกิจของทาขี้เหล็กกับแมสายมีความเหมือนหรือแตกตาง กันอยางไร? คุณเศวตยนต: รูปแบบการทําธุรกิจของทาขี้เหล็กกับแมสายมีความตางกัน เพราะเขาไมมธี นาคารทีจ่ ะโอนยายเงินปลายทางกับตนทางได การทําตัว๋ เงินไมมี ทําการ คาในการโอนเงินระหวางประเทศก็ไมได อีกอยางก็เขาลักษณะโพยกวน (ลักษณะการ โอนเงินของสองที่) ที่วาปลายทางไดของในราคาหาลาน โอนเงินคาสินคาโดนหักคา เปอรเซ็นตนดิ หนอย จากหาลานหักกีบ่ าทๆ ก็ไดสว นตางไป สองสามปทผี่ า นมาที่ เมียนมาร โตเพราะวามีนโยบายที่สกัดโพยกวนนี้ออกไป พอสกัดโพยกวน ก็เกิดผลกระทบรัฐบาล ก็มองวาเปนเครือขายยาเสพติด พอไปมองทุนวาเปนเครือขายยาเสพติด ทุนก็เลยโดน สกัดกัน้ คนก็ไมมาอยูแ มสายเพราะวามันไมเอาทุนเขามาใช ปญหาก็ตามมาตอนนีเ้ มียนมาร โตเร็วมากในชวงสามปทผี่ า นมานี้ โตชนิดทีว่ า คนแรงแรงงาน 40% กลับไปอยูเ มียนมาร เพราะวาทางนูนมันโตจริงๆ พวกที่เหลือคือพวกที่ยังมีบัตรแลว ลงทุนไปแลว ก็ตองรับ งานทางนี้ นโยบายการสกัดทุนนากลัว เพราะทําใหแทนที่แมสายจะโตในชวงที่ผานมา ราคาตึกแถวแมสายกําลังจะสูงขึ้น พอสกัดปุบราคาลดตํ่าลง ไปบูมฝงทาขี้เหล็กแทน

206 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


นโยบายเมืองชายแดนในอนาคต (Future Border Policies) คุณบุญธรรม: สะพานเชือ่ ม สปป.ลาวกับเมียนมาร หางจากแมสาย ประมาณ 30-40 กิโลเมตร สรางขึ้นเพื่อยนระยะทางและสินคาก็จะเขาแมสายไดเยอะ ทาเรือที่ จีนทํา สะพานที่ทําเราก็ไดประโยชนทั้งหมด ทุนที่ทําสะพาน บางกระแสบอกวาจีนให ทุน เพื่อที่จะเขามาในไทย ลาว เมียนมาร เปนวงแหวน จีนจะเขามายึดครอง คุณเศวตยนต: เมืองชายแดนในอนาคตจะตองกําหนดนโยบายขึ้นมา วาผล ทีเ่ กิดขึน้ มันสะทอนออกไป เรือ่ งบางเรือ่ ง เชนเราเปนจะตองมีนโยบายทีจ่ ะมาคุม ครอง ผูประกอบการหรือนักลงทุน หอการคาเวลาเขาในที่ประชุมก็จะทําเปนสะทอนความ จริงใหรูวาคนที่กําหนดนโยบายจะตองฟงเสียงทางพื้นที่บางจะไดแกปญหาใหถูกจุด เหมือนกับการใหยาใหถูกโรค คุณบุญธรรม: การพัฒนาพื้นที่เชียงราย นักวิชาการมองอีกมุม เจาหนาที่ใน พื้นที่ของจังหวัดก็มองอีกมุม รัฐบาลกลางก็มองไปอีกมุม คนที่มองไดดีที่สุดและถูกจุด คือผูประกอบการ เรามองเมียนมารเปน พารทเนอรที่จะสงสินคาเขาไปในจีน ซึ่งสงผล ใหจีนไมสามารถเก็บภาษีได ส.ส.และสวนกลางจะตองเขามาทําประโยชนใหกับพื้นที่ บาง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 207



การปรับตัวและผลกระทบของผูมีสวนรวมใน การทองเที่ยวเมืองคูขนาน ตอการเปดสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 เขียนโดย สิทธิชาติ สมตา ปฐมพงศ มโนหาญ และณัฐพรพรรณ อุตมา “เชียงของ” พื้นที่เมืองชายแดนสวนหนึ่งของจังหวัดเชียงรายที่มีอาณาเขต ติดตอกับหวยทรายสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยมีแมนํ้าโขงกั้นระหวาง ประเทศ อีกทั้งเชียงของเปนเมืองภูมิศาสตรที่มีความไดเปรียบในการเชื่อมตอไปยัง ประเทศจีนโดยผานเสนทาง R3A จึงทําใหเชียงของเปนพื้นที่ชายแดนที่ไดรับการสนใจ เขามาลงทุนทั้งในและตางประเทศและกลายเปนเมืองการคาและการทองเที่ยว การทองเที่ยวในเชียงของนั้นเกิดการเขามาของนักทองเที่ยวทั้งในประเทศ และชาวตางประเทศเพือ่ ทีข่ า มไปทองเทีย่ วตอยังประเทศลาว โดยสวนมากนักทองเทีย่ ว จะเขาพักในเชียงของ 1 คืน แลวขามไปยังประเทศลาวในวันรุงเชาโดยทาเรือบั๊ค และ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเชียงของเองที่นักทองเที่ยวจะเขามาเรียนรูวิถีชีวิต วัฒนธรรมดั้งเดิม สถานที่ทองเที่ยวทางศาสนา วัดอารามหลวง หรือการทองเที่ยว ประวัตศิ าสตรนเิ วศวัฒนธรรม ซึง่ การทองเทีย่ วเหลานีจ้ ะเกิดขึน้ ในบริเวณพืน้ ทีเ่ มืองเกา แตเมื่อมีการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ทําใหนักทองเที่ยวไมเขามาพัก ในบริเวณเมืองเกา เนื่องจากวาการขามชายแดนมีความสะดวกมากขึ้นและไมจําเปน ตองเขาพักคางคืน ดังนั้นการทองเที่ยวอําเภอเชียงของมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพ ทางเศรษฐกิจ จึงทําใหเกิดนโยบาย “หนึ่งเมือง สองแบบ” เพื่อเปนการจัดการเชิงพื้นที่ ใหเหมาะสมสอดคลองกับบริบทและอัตลักษณของคนในพื้นที่อยางแทจริง โดยนําไปสู การพัฒนาที่มีดุลยภาพ มีความยั่งยืนและเปนธรรมตอคนทองถิ่นเชียงของรวมกัน โดย หนึ่งเมืองสองแบบมีรายละเอียดดังนี39้

เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแมนําโขง ครั้งที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ – การพัฒนาอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน”. 39

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 209


1. เมืองเกา คือ เขตเวียงเชียงของซึ่งเปนเขตเมืองเกา ซึ่งเดิมมีพื้นที่โดยรอบ เปนฐานการผลิตทางเศรษฐกิจ การคา และการทองเที่ยว คือ บริเวณตั้งแตปากนํ้าดุก ไลขึ้นมาทางเหนือจนถึงบริเวณแนวปาดอยธาตุ สวนทางตะวันตกคือจากทุงหลวงมา จรดทางตะวันออกทีล่ าํ นํา้ โขง เขตนีค้ อื เขตเมืองเกาซึง่ มีวดั แกว วัดหลวง วัดหัวเวียง วัด ศรีดอนชัย วัดสบสม วัดหาดไคร ฯลฯ 2. เมืองใหม คือ เขตเชียงของใหมซงึ่ จะมีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจการคาการ ลงทุนเขามารองรับตัง้ แตบริเวณโดยรอบเชิงสะพานขามแมนาํ้ โขงแหงที่ 4 มายังเขตทุง สามหมอนและบริเวณโดยรอบ ซึ่งจุดศูนยกลางยายมาอยูที่ชุมชนหนาแนนและการ พาณิชยบริเวณบานทุงงิ้ว บานสถาน บานดอนมหาวัน บานใหมธาตุทอง บานใหมทุง หมด บานโจโก บางสวนของตําบลศรีดอนชัย และบางสวนของตําบลครึ่ง

ภาพที่ 1 แผนที่อําเภอเชียงของแบงตําบล40 แผนทีอ่ าํ เภอเชียงของแบงตําบล (ออนไลน), แหลงทีม่ า : http://chiangkhong.sadoodta.com/ travel. สืบคนเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2557 40

210 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เดิ ม ในเขตเหล า นี้ คื อ การจั ด การเมื อ งใหม บ นฐานระบบการผลิ ต แบบ เกษตรกรรม ซึ่งที่ดินที่เปนปจจัยการผลิตสวนใหญไดเปลี่ยนมือไปสูคนตางถิ่นและ นายทุน การปรับตัวของการทองเทีย่ วอําเภอเชียงของเกิดจากพืน้ ทีช่ ายแดนในอําเภอ เชียงของระหวางเมืองเกากับเมืองใหม เมือ่ เกิดการยกเลิกการขนสงจากทาเรือบัค๊ เปลีย่ น ไปใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ทําใหเศรษฐกิจการทองเทีย่ วในเมืองเกาซบเซา ลง เนื่องจากวาทาเรือบั๊คที่เคยเปนจุดผานขามแดนระหวางประเทศไปยังประเทศลาว ของนักทองเทีย่ วทัง้ ในประเทศและชาวตางประเทศ ซึง่ บุคคลเหลานีจ้ ะเขามาใชบริการ โรงแรม เกสทเฮาส รานอาหาร และรานขายของชํา ทําใหผูประกอบการในเมืองเกาได รับผลกระทบไมวาจะเปนจํานวนของนักทองเที่ยวที่ลดนอยลง แมคาพอคาขายสินคา ไมคอยไดเทาที่ควร จึงทําใหผูประกอบการทุกสาขาอาชีพในเมืองเกาเกิดการปรับตัว เพื่อใหเขากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ รวมถึงผูประกอบตางๆ ดวยเชนกันที่ตองมีการปรับตัวกับการลดลงของนัก ทองเที่ยว เพื่อที่จะสามารถปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงไปของฐานเศรษฐกิจใน อําเภอเชียงของ ไมวาจะเปนการลดราคาของรานอาหารตามสั่ง การลดราคาหองพัก และมีโปรโมชัน่ เสริมในการเขาพัก การปดตัวลงของสถานบันเทิง ซึง่ สาขาอาชีพเหลานี้ ลวนเกิดจากการเขามาทองเที่ยวและพักผอนของนักทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ จากเสียงของประชาชนสวนมากในเมืองเกาทีเ่ ปนฐานเศรษฐกิจเกาของอําเภอ เชียงเรียกรองอยากใหภาครัฐกลับไปเปดใชทาเรือบั๊คเชนเดิม โดยตองการใหนักทอง เที่ยวเดินทางขามระหวางประเทศดวยทาเรือบั๊ค ซึ่งใหสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหง ที่ 4 เปนการขนสงโดยรถบรรทุกสินคาและโลจิสติกสเทานั้น เพื่อที่จะใหเศรษฐกิจใน เมืองเกากลับมาครึกครืน้ เหมือนเดิมและชวยประชาชนกลับมาประกอบอาชีพเดิม พรอม ทั้งสรางอาชีพใหมขึ้นมาเพื่อรองรับการเติบโตของพื้นที่ชายแดนบนเศรษฐกิจของเมือง คูขนานตอไป การรูจักตัวตน เขาใจอดีต เทาทันปจจุบันและเชื่อมโยงสูอนาคตที่ยั่งยืน เปน สิง่ สําคัญอยางยิง่ ในการพัฒนาทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็วทามกลางกระแสโลกา ภิวัตน โดยอดีตกาลเชียงของเติบโตมาจากการเริ่มตนของชุมชนคนพื้นถิ่นดั้งเดิม เชน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 211


ชาวลัวะ พรอมทั้งผูอพยพตางๆ จนกลายเปนเมืองชายแดนที่สําคัญของราชอาณาจักร สยาม ตอมากลายเปนอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ราชอาณาจักรไทยในป พ.ศ. 2453 อยางไรก็ตาม การพัฒนาที่ผานมาเปนการพัฒนาโดยพึ่งพาศูนยอํานาจรัฐชาติ เปนหลัก ตอมาในป พ.ศ. 2532 มีการใชนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาการ ทองเที่ยว ระหวางเมืองเชียงของ จังหวัดเชียงรายกับเมืองหวยทราย แขวงบอแกว ประเทศลาว จึงทําใหเมืองเชียงมีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงมากยิ่งขึ้น นับวาเปนการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคการพัฒนาตามกระแสเศรษฐกิจการคา สมัยใหม ตอมาเมืองเชียงของเขาสูการพัฒนาเศรษฐกิจอยางเต็มรูปแบบ จากที่เคย ทําการเกษตรเพือ่ ตอบสนองการบริโภคกลายมาเปนการผลิตเพือ่ สนองระบบตลาด โดย เศรษฐกิจการขนสงและการทองเทีย่ วเริม่ เขามามีบทบาทในเมืองเชียงของมากขึน้ กลาย เปนกิจกรรมสรางความหวังใหแกผูคนในทองถิ่น เริ่มมีนายทุนเขามากวานซื้อที่ดิน ทางการเกษตรของคนในพื้นที่ เพี่อตอบสนองวาทกรรมการเปลี่ยนสนามรบเปนสนาม การคาควบคูไปกับการริเริ่มโครงการเศรษฐกิจชายแดน เชน การเชื่อมตอประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความรวมมือระเบียงเศรษฐกิจอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS) และความรวมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) เขต การคาเสรีอาเซียน - จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement) ซึ่งสงผลสืบเนื่อง มาจนปจจุบัน

212 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อดีตเมืองเชียงของ41

กลุมรักษเชียงของ, เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดุลยภาพและ ยั่งยืน, พ.ศ. 2556. น.16-18

41

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 213


อดีตเมืองเชียงของ42

ปจจุบนั เมืองเชียงของถือวาเปนเมืองชายแดนทีส่ าํ คัญอยางมากของประเทศ ทามกลางความเปลีย่ นแปลงไมวา จะเปน การสรางเขตเศรษฐกิจชายแดน ผลของการมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ทีเ่ ชือ่ มตอระหวางเทศเพือ่ การคาการทองเทีย่ ว การ เปนเมืองผานของการทองเที่ยวที่ประชาชนพึงประสงคใหเมืองเชียงของเปนแหลงทอง เที่ยวเมืองชายแดนที่สําคัญไมใชเปนแคเมืองผาน การเปลี่ยนแปลงนี้จะมีการปรับตัว หรือการจัดการพื้นที่อยางไร จากภาครัฐ ภาคเอกชน และผูประกอบธุรกิจในพื้นที่

กลุม รักษเชียงของ, เชียงของ : หนึง่ เมืองสองแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดลุ ยภาพและยัง่ ยืน, พ.ศ. 2556. น.19

42

214 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


อดีตเมืองเชียงของ43

การปรับตัวการทองเทีย่ วในอําเภอเชียงของ ประชาชนในอําเภอเชียงของตอง รูจักตัวตนของตนเองในอดีต เพื่อที่จะเปนหลักการดํารงของความเปนดั้งเดิม การดํารง ศิลปวัฒนธรรมคงไวภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน ทําใหเกิดการปรับ ตัวของผูป ระกอบการ ประชาชน และผูท เี่ กีย่ วของดานการทองเทีย่ ว เพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาการ ทองเที่ยวของอําเภอเชียงของใหมีความยั่งยืนในอนาคต และเปนแหลงทองเที่ยวเมือง ชายแดนที่สําคัญ ดังนัน้ การทองเทีย่ วเมืองคูข นานจะมีการปรับตัวตอไปอยางไร ทามกลางการ เติบโตของภาคเศรษฐกิจการคา การลงทุน และการบริการ ทีไ่ ดรบั วาเปนเมืองชายแดน ที่สําคัญในการเชื่อมโยงเมืองชายแดนโดยผานถนน R3A พรอมกับการพัฒนาของเมือง เชียงของโดยผาน “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” นั้นอนาคตจะเปนอยางไร จึงเปนบท พิสูจนวาจะรักษาวัฒนธรรมเมืองเกาไวไดมากเทาไร เพื่อที่จะใหวัฒนธรรมดําเนินไป พรอมกับกระแสการพัฒนาที่ไมหยุดหยั่งอยางนี้ตอไป โดยจะสัมภาษณธุรกิจที่พัก โรงแรม ธุรกิจรานอาหาร เครื่องมือ ธุรกิจคมนาคมขนสง และธุรกิจบันเทิง กลุม รักษเชียงของ, เชียงของ : หนึง่ เมืองสองแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดลุ ยภาพและยัง่ ยืน, พ.ศ. 2556. น.21

43

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 215


ธุรกิจที่พัก โรงแรม Q. การทองเที่ยวในอําเภอเชียงของปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตางจากอดีตอยางไร คุณยอดฤทัย: การเปลีย่ นแปลงในปจจุบนั เปลีย่ นแปลงไปเยอะ หลายคนมอง วาถาเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 เศรษฐกิจในเชียงของจะดีขึ้น แตในความ เปนจริงแลวเศรษฐกิจในปจจุบนั ของอําเภอในเชียงของในตลอดปนนั้ จะแบงไดเปนสอง ชวงคือ ชวง High Season 4 เดือน (ตุลาคม - มกราคม) และชวง Low Season 8 เดือน (กุมภาพันธ - กันยายน) โดยถาชวง High Season นักทองเที่ยวจะเขามาทอง เทีย่ วในเชียงของเปนอยางมาก แตถา ชวง Low Season นักทองเทีย่ วคอนขางนอยมาก ทําใหเชียงของมีบรรยากาศที่เงียบมาก ประกอบกับความไมนิ่งทางการเมืองของไทย กอนที่จะมีการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แหงที่ 4 ชวง Low Season ก็จะยัง มีนักทองเที่ยวทยอยมาเชียงของอยางตอเนื่อง ซึ่งจะแบงชวง High Season 6 เดือน (ตุลาคม - มีนาคม) และชวง Low Season 6 เดือน (เมษายน - กันยายน) เมื่อกอน บานเมืองมีความเจริญ เศรษฐกิจดานการทองเทีย่ วใหอาํ เภอเชียงของเติบโตขึน้ มาก เพือ่ เปนทางผานสําหรับนักทองเที่ยวเขามาพักกอนขามไปลาว44 Q. ผลกระทบที่ไดรับจากการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 คุณโยษิตา : การมีสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แหงที่ 4 ไมไดรับผลกระทบ เพราะวายังไงนักทองเที่ยวก็เขามาพักที่ในเมืองอยูแลว ที่มีผลกระทบมากก็จะเปนทา เรือบั๊ค เพราะ Passport ใชขามฟากที่ทาเรือบั๊คไมได ใชไดแต Border Pass โดยยัก ทองเที่ยวที่ใช Passport จะใหไปขามฟากที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 อยาง เดียว แตเมื่อกอนเปดสะพานจะใชไดทั้ง Passport และ Border Pass45

44 45

สัมภาษณ คุณยอดฤทัย, 3 พฤษภาคม 2557 สัมภาษณ คุณโยษิตา, 6 กันยายน 2557

216 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


Q. มีการปรับตัวอยางไรในเรื่องของการทองเที่ยวเมื่อเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 คุณโยษิตา : ไมมีการปรับตัว เพราะวาลูกคาสวนมากจะเปนนักทองเที่ยวคน ไทยกับนักทองเทีย่ วชาวตางชาติ เนือ่ งจากวาบริษทั ทัวรของชาวตางชาติกจ็ ะจองเขามา อยูตลอด เพราะวาไมมีโรงแรมที่ติดกับริมนํ้าสวนมากจึงเขามาพักที่โรงแรม โดยสวน มากจะมาพัก 1 คืนแลวก็ไปตอ เชน มาจากเชียงใหมแลวพักที่เชียงของกอนเดินทางไป หลวงพระบาง และมาจากหลวงพระบาทแลวพักที่เชียงของกอนเดินทางไปเชียงใหม เปนตน46 คุณยอดฤทัย : การปรับตัวนัน้ จะเปนการปรับตัวในแบบของการจางพนักงาน โดยการจางงานชวง Low season ทางเกสทเฮาสไดจางพนักงาน 3 – 4 คน สวนใน ชวง Low Season ไดจางพนักงาน 2 คน ซึ่งจะมีพนักงานประจําอยู 2 คน อยางไร ก็ตามพนักงานถาหมดชวง High Season มีการปรับตัวดวยการประกอบอาชีพรับจาง หรือทําไรทําสวน ทํานา เพราะสวนมากเปนคนแกที่อยูวางๆ ตามหมูบาน ที่ทางเกสท เฮาสไดรับเขามาชวยงานในชวง High Season47 Q. มีความคิดอยางไรเพื่อที่จะไมใหเชียงของเปนแคเมืองทางผานแตเปนเมืองเที่ยว ทองชายแดน คุณโยษิตา : เนื่องจากวาเชียงของไมมีแหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้นและ ธรรมชาติสรางขึ้น สถานที่ที่เปนธรรมชาติอยางริมแมนํ้าโขงมีความรกจากหญาจํานวน มาก ไมคอ ยมีการพัฒนา และอยากใหมแี หลงทองเทีย่ วแบบ OTOP ไดแก ผาทอ เปนตน ซึ่งจะทําใหชุมชนมีรายได48 แตอยางไรก็ตามปญหาของการผลิตสินคา OTOP ของเชียงของทีพ่ บคือ คนใน ยุคปจจุบันไมมีความสามารถในการทอผาเนื่องจากไปประกอบอาชีพอื่น และเขาไป อางแลว คุณโยษิตา อางแลว คุณยอดฤทัย 48 อางแลว คุณโยษิตา 46 47

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 217


ทํางานในกรุงเทพฯ จึงอยากสรางกลุม คนยุคใหมในการรักษาหรือสืบสานภูมปิ ญ  ญาทอง 49 ถิ่น และวัฒนธรรม ประเพณีพื้นบานไว คุณยอดฤทัย : ในเรื่องการทองเที่ยวในเชียงของ อยากใหมีการจัดงานประ เพณียเี่ ปง (งานลอยกระทง) งานแขงเรือ ฯลฯ และงานพัฒนาฝมอื ใหกบั หมูบ า น ในการ ทําโคมลอย โดยในตัวของคุณยอดฤทัย เองก็ไดการชวยเหลืองานชาวบาน ไมวาจะเปน งานบุญ ตางๆ เปนตน50 Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเขามามีสวนรวมกับการทองเที่ยวหรือไม อยางไร และตองการใหเขามาชวยเหลืออยางไร คุณยอดฤทัย : ปญหาที่อําเภอเชียงของประสบในปจจุบัน คือ การมองถึงผล ประโยชนสว นตนเปนทีต่ งั้ เนือ่ งจากกลุม นักธุรกิจขนาดเล็กไมวา จะเปนทีพ่ กั รานคาใน อําเภอเชียงของจึงไมมีอํานาจในการตอรอง จึงตองการมีหนวยงานราชการ ไดแก ทาง อําเภอเขามาใหความชวยเหลือในการดําเนินธุรกิจ51

ธุรกิจรานอาหาร เครื่องดื่ม Q. การทองเที่ยวในอําเภอเชียงของปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตางจากอดีตอยางไร คุณอัจฉรา : กอนการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 มีนักทองเที่ยว ตางชาติจํานวนมากในเชียงของและในชวงเดียวกันนี้ทางรานก็ไดลูกคาที่เปนนักทอง เที่ยวจํานวนมากเชนเดียวกัน อยางไรก็ตามหลังการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหง ที่ 4 ยังเห็นไมชดั เจนมากนักของจํานวนนักทองเทีย่ วทีล่ ดลง ถึงแมวา ชวงนีน้ กั ทองเทีย่ ว จะลดลงบางเล็กนอย คงตองรอใหถึงชวง High Season ถึงจะมองเห็นจํานวนการ เปลี่ยนแปลงของนักทองเที่ยว อีกทั้งสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ยังเปดไมครบ 1 ป ซึง่ ลูกคาทางรานสวนมากจะเปนคนในพืน้ ที่ นักทองเทีย่ วตางชาติ และนักทองเทีย่ ว อางแลว คุณยอดฤทัย อางแลว คุณยอดฤทัย 51 อางแลว คุณยอดฤทัย 49 50

218 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


คนไทย ดังนั้นคิดวาไมมีการเปลี่ยนแปลงจากการไดสัมผัสกับกลุมลูกคานักทองเที่ยว สวนมากแลวนักทองเที่ยวไมไดเจาะจงที่จะมาเที่ยวที่เชียงของโดยเฉพาะ ซึ่งอาศัยวา เชียงของเปนแคเมืองผานเทานั้น โดยจะนอนที่เชียงของแค 1 คืนเทานั้น เพื่อจะเดิน ทางตอไปทีป่ ระเทศลาว เชน หลวงพระบาท เวียงจันทน หรือวาเดินทางขามไปลาวเขา สูป ระเทศจีนทางรถยนต ซึง่ นักทองเทีย่ วทีเ่ จาะจงมาเทีย่ วเชียงของมีปริมาณทีน่ อ ยมาก เปนไดแคเมืองผานของนักทองเที่ยว52 คุณอรอนงค : ชวงกอนเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ทีย่ งั ใชการขาม แดนดานตรวจคนเขาเมืองที่ทาเรือบั๊ค นักทองเที่ยวสวนมากบอกวาชอบ เนื่องจากที่ สะพานมีกฎเกณฑมากเกินไป อยางทั้งการขามแดนดานตรวจคนเขาเมืองตรงทาเรือบั๊ คมีความสะดวกและรวดเร็วกวา เพราะขามฟากแลวสามารถตอเรือเพือ่ เดินทางไปหลวง พระบางไดเลย หากไปขามทีส่ ะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 และตองการเดินทางไป ทาเรือเพื่อเดินทางตอไปยังหลวงพระบาง เนื่องจากวาทาเรือหวยทรายแหงใหมอยูตรง ขามกับดานตรวจคนเขาเมืองตรงทาเรือบั๊ค ดังนั้นการที่ขามแดนผานสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแหงที่ 4 จะตองเสียคาใชจายและเวลาเพิ่มขึ้น

ภาพที่ 1 เสนทางในการขนสงนักทองเที่ยว53 52 53

สัมภาษณ คุณอัจฉรา, 14 สิงหาคม 2557 สืบคนขอมูลแผนที่ออนไลน ในรูปแบบ Google Earth, 8 กันยายน 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 219


โดยผูประกอบการที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด คือ ผูประกอบวิ่งเรือขามฟาก สวนทางรานของกาแฟไมไดรับผลกระทบมาก เพราะลูกคาสวนมากจะเปนคนทองถิ่น ถาเทศกาลก็จะมีลูกคาจากนักทองเที่ยวคนไทยและนักทองเที่ยวชาวตางชาติเพิ่มมาก ขึ้น อยางไรก็ตามในชวงนี้ดีรับผลกระทบคอนขางนอย หลังจากการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 จํานวนนักทองเที่ยวลด นอยลงและเกี่ยวเนื่องกับการเมืองดวย ทําใหนักทองเที่ยวไมคอยเดินทางขามผาน ระหวางประเทศ แตอยางไรก็มนี กั ทองเทีย่ วคนจีนเขามาทองเทีย่ ว เพราะไดมกี ารยกเลิก วีซาจึงทําใหคนจีนเขามาทองเที่ยวในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น โดยผานถนน R3A แต ไมมีระเบียบในการขับรถยนต54 คุณแจมจิต : การทองเที่ยวของเชียงของเปลี่ยนแปลงไปมากเพราะที่ผานมา ขามฟากที่ดานตรวจคนเขาเมืองตรงทาเรือบั๊ค ทําใหนักทองเที่ยวตองมาพักและกินที่ เชียงของ พอมีสะพานทําใหไมเขามาในตัวเมืองเกา เนือ่ งจากไมมกี ารนําเสนอแหลงทอง เทีย่ ว เชน พิพธิ ภัณฑปลาบึก เปนตน อีกทัง้ ไมมสี งิ่ ดึงดูดใจใจใหนกั ทองเทีย่ วใหอยูน านๆ ได และเหตุผลที่ทําใหนักทองเที่ยวไมเขามาพักในตัวเมืองเกา เนื่องจากวาจะตองเสีย คาใชจายเพิ่มขึ้นในการเดินทางไปขามที่สะพาน ดังนั้นนักทองเที่ยวสวนมากจึงตัดสิน ใจลงไปขึ้นรถสามลอแลวตรงไปที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 เลย55 Q. ผลกระทบที่ไดรับจากการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 คุณอัจฉรา : ยังไมไดรับผลอะไรมากนัก โดยผลกระทบสวนมากจะตกอยูกับ ผูประกอบการอื่นๆ เพราะวาอยางผูประกอบการเกสทเฮาสบางราย ที่มีเครือขายกับ บริษัททัวรของชาวตางชาติ จะมีการสงลูกทัวรมาพักอาทิตยละ 3 วัน เมื่อมีการเปด สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ทางบริษัทก็ยกเลิกการสงลูกทัวรมาพักที่เชียงของ โดยสงตรงไปพักที่ลาวแทน ในชวงที่บริษัททัวรนําลูกทัวรมาพักที่เชียงของนี้ทางรานก็ มีลูกคามากขึ้นเชนกัน56 สัมภาษณ์ คุณอรอนงค์, 14 สิงหาคม 2557 สัมภาษณ คุณแจมจิต (นามสมมุติ), 14 สิงหาคม 2557 56 อางแลว คุณอัจฉรา 54 55

220 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


คุณอรอนงค : ลูกคาลดนอยลงไมวาจะเปนลูกคาประเภทนักทองเที่ยวหรือ ลูกคาประจําในพืน้ ที่ เพราะวาลูกคาทีบ่ ริโภคเปนประจําคือ เจาหนาทีต่ รวจคนเขาเมือง และเจาหนาที่ศุลกากร57 คุณแจมจิต : หลังจากสรางโรมแรมเสร็จ สิ่งที่ตามมาไมมีนักทองเที่ยวเขามา พักจึงทําใหรา นอาหารทีไ่ ดรบั ผลกระทบไปดวยเชนกัน เมือ่ กอนทีย่ งั ไมปด ดานตรวจคน เขาเมืองตรงทาเรือบั๊ค โดยจะมีนักทองเที่ยวชาวตางชาติ คนขับรถบรรทุก เขามาใช บริการโรงแรมและทานอาหาร หลังจากสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ทําให บรรยากาศในเมืองเชียงของเงียบมากๆ จากการที่นักทองเที่ยวลดนอยลง58 Q. มีการปรับตัวอยางไรในเรื่องของการทองเที่ยวเมื่อเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 คุณอัจฉรา : ก็เหมือนเดิมเพราะวาชวงนีน้ กั ทองเทีย่ วก็เขามาพักในเมืองเกาอยู59 คุณอรอนงค : ไมมีการปรับตัวแตอยางใด เนื่องจากลูกคาเขามาหาเอง60 คุณแจมจิต : ลูกคาชาวตางชาติเริ่มมีมากขึ้นในชวงปลายทศวรรษ 2530 เปนตนมา ทําใหมีรายไดตอวันประมาณวันละ 7,000 – 8,000 บาท บางวันมีเวลานอน เพียงแค 1 – 2 ชั่วโมง เพราะตองรีบไปตลาดและเปดรานในเวลา 8.00 น. อาหารใน รานก็มีหลากหลายเชนอาหารไทยทั่วไป และ อาหารปา เมื่อมีการเปดสะพานมิตรภาพ ไทย – ลาวแหงที่ 4 ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวที่จะขามไปลาวตองไปขามที่สะพานดัง กลาวจากเดิมตองขามที่ทาเรือบั๊ค รายไดจากที่เคยไดลดลงเหลือแควันละ 1,000 – 2,000 บาท ทําใหตอ งตัดสินใจลดราคาอาหารลงมาเพือ่ ดึงดูดใจลูกคา61 แตอยางไรก็ตาม ตามสภาวะเศรษฐกิจจําเปนตองเพิม่ ขึน้ ราคาอาหารตามสินคาอุปโภคบริโภคทีเ่ พิม่ ราคา ขึ้น โดยเพิ่มราคาอาหารตั้งแต 10 – 20 บาท ตามประเภทอาหาร62 อางแลว คุณอรอนงค อางแลว คุณแจมจิต (นามสมมติ) 59 อางแลว คุณอัจฉรา 60 อางแลว คุณอรอนงค 61 สัมภาษณ คุณแจมจิต (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557. 62 สัมภาษณ คุณแจมจิต (นามสมมติ) 57 58

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 221


Q. มีความคิดอยางไรเพื่อที่จะไมใหเชียงของเปนแคเมืองทางผานแตเปนเมืองเที่ยว ทองชายแดน คุณอัจฉรา : มีแนวความคิดวา ถาเปรียบเทียบเมืองเชียงของกับเมืองเชียงคาน ก็มีเสนหเหมือนๆ กัน ก็อยากจะใหเชียงของมีลักษณะเหมือนกับเชียงคาน เราควรที่จะ อนุรกั ษเสนหข องเมืองเกา พรอมทัง้ วิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของผูค นและสถาปตยกรรมบานเรือน เกาๆ ควบคูก บั ความเจริญทางดานเศรษฐกิจ เชน โลจิสติกส และอุตสาหกรรม โดยแนว ความคิดแบบนี้มีความเหมือนกับยุทธศาสตรหนึ่งเมืองสองแบบ ไมทราบวามีความคิด เห็นอยางไร เห็นดวยกับยุทธศาสตรหนึ่งเมืองสองแบบ เนื่องจากอนุรักษเมืองควบคูไป กับการเติบโตทางเศรษฐกิจ63 คุณอรอนงค : โดยอยากใหมีการปรับปรุงและบูรณาการโบราณสถาน เนื่องจากที่เชียงของมีโบราณสถานจํานวนมากแตไมสนับสนุนเรื่องนี้ ซึ่งใหความสําคัญ การเศรษฐกิจการคาชายแดนมากกวา ในบางชวงนักทองเทีย่ วทีอ่ ยากอยูเ ชียงของมากวา 1 คืน ซึ่งจะสอบถามถึงแหลงทองเที่ยวในเชียงของ ทางเราก็จําเปนตองบอกนักทอง เที่ยววาที่เชียงของไมมีแหลงทองเที่ยว จึงทําใหนักทองเที่ยวตองเดินทางไปยังประเทศ ลาวและประเทศจีนตอไป ในความเปนจริงแลวเชียงของมีกําแพงเมืองเกา แตสวนมากนั้นจะอยูใน บริเวณบาน โรงแรม หรือไมก็ทําลายเพื่อทําสิ่งปลูกสราง อีกทั้งพระธาตุตางๆ ก็โดนขุด ทําลายไปหมด เนือ่ งจากเชียงของเนนการคา ถาพูดในเรือ่ งวัฒนธรรมเชียงของวัดจํานวน มาก โดยอยากใหมีมัคคุเทศนทองถิ่นนําเที่ยวสักการะวัดตางๆ อีกทั้งสามารถสรางโฮม สเตยเปนแหลงทองเที่ยว จากการที่เชียงของมีกลุมชาติพันธจํานวนมากเพื่อการเรียนรู วิถชี วี ติ เชน การทําผาทอ เปนตน แตอยางไรก็ตามเชียงของก็มโี ฮมสเตยทบี่ า นกิว่ กลาง กับบานสองพี่นอง ซึ่งสมเด็จพระเทพฯ เดินทางมาพักเปนประจําโดยเปนโครงการของ สมเด็จพระเทพฯ ถนนคนเดินเมื่อกอนจะปดถนนสายกลาง และจะใหรถวิ่งไปสายนอกอีกสอง สาย ตอมาประชาชนมีปญหาในการเขาที่พักอาศัยจึงเปดใหรถวิ่งดวยจึงทําใหถนนคน เดินเปลี่ยนไปผูคนที่มาตองระมัดระวังการเดินมากขึ้น64 63 64

อ้างแล้ว คุณอัจฉรา อางแลว คุณอรอนงค

222 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


คุณแจมจิต : ในดานการทองเที่ยว แนะนําใหโรงแรมที่ติดแมนํ้าโขงซึ่งมี จํานวนมากนั้น ควรจัดทําและตกแตงสถานที่ใหนักทองเที่ยวถายรูปดานหนาหรือหลัง โรงแรมทีต่ ดิ ริมแมนาํ้ โขง พรอมทัง้ ตกแตงสถานทีใ่ หนกั ทองเทีย่ วไดนงั่ เดินชมแมนาํ้ โขง และเสนหของเมืองหวยทราย และทําแหลงทองเที่ยวตามลําแมนํ้าโขง ไดแก การลอง เรือชมหินรูปตางๆ ชมผาหิน นํ้าตก เที่ยวหาดดอนชมการรอนทอง และพระธาตุ เปนตน65 Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเขามามีสวนรวมกับการทองเที่ยวหรือไม อยางไร และตองการใหเขามาชวยเหลืออยางไร คุณอัจฉรา : ในเรือ่ งของงบประมาณ เพราะไมมคี วามตอเนือ่ ง พรอมทัง้ อยาก ใหมีการจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง เชน ถนนคนเดินสายวัฒนธรรม โดยจะมีการแสดง ของนักเรียน กิจกรรมใดๆ ที่สงเสริมการทองเที่ยวที่ผานมาก็อยากใหจัดตอเนื่อง เนื่องจากวาที่ไดมีการยกเลิกไปเพราะงบประมาณที่มีไมตอเนื่อง และอยากใหเปดดาน ตรวจคนเขาเมืองทั้งที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 และทาเรือเรือบั๊ค เหมือนกับ ที่อื่นๆ ในประเทศไทย ที่ดานเกาก็ยังเปดอยูและดานใหมก็เปดดวยเชนกัน66 คุณแจมจิต : ตองการใหพัฒนาเมืองเชียงของใหนาอยู นาดู ปญหาอีกอยาง ของการพัฒนาคือ การเปลีย่ นแปลงของนายอําเภอ และปลัดอําเภอคอยขางบอย ทําให การพัฒนาไมตอเนื่อง67

อางแลว คุณแสงจันทร (นามสมมติ) อางแลว คุณอัจฉรา 67 อางแลว คุณแจมจิต (นามสมมติ) 65 66

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 223


ธุรกิจคมนาคมขนสง Q. การทองเที่ยวในอําเภอเชียงของปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตางจากอดีตอยางไร คุณประสาน : หลังเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ในเมืองคอนขาง เงียบมากไมมนี กั ทองเทีย่ ว เพราะวานักทองเทีย่ วชาวตางชาติทใี่ ช Passport ไมมาขาม ฟากโดยใชเรือแลว เนือ่ งจากบังคับใหผา นไดทสี่ ะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 เทานัน้ ดังนั้นคนที่มาใชบริการเรือขามฟากสวนมากในชวงนี้สวนมากเปนคนลาว คนไทย โดย ผูโ ดยสารจะมีปริมาณมากในชวงของวันพุธ และวันศุกรทกุ สัปดาห เนือ่ งจากวาทีอ่ าํ เภอ เชียงของจะมีตลาดนัด คนลาวจะขามฝากมาซื้อสินคาแบบอุปโภคบริโภคเปนจํานวน มาก68 คุณสมศักดิ์ : ซึ่งกอนเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ลูกคาจะเปนนัก ทองเที่ยวชาวตางชาติและคนจีน หลังเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 นักทอง เที่ยวลดลงคอนขางมาก สวนมากเปนคนลาวมาใชบริการเพื่อเขามาซื้อสินคาอุปโภค บริโภคในเมือง69 Q. ผลกระทบที่ไดรับจากการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 คุณประสาน : ผลกระทบจากการเปดสะพานทําใหรายไดลดลงคอนขางมาก จากการวิ่งเรือขามฟากจากรอยละ 100 หายไปรอยละ 75 รายไดที่เหลือตอนนี้เพียง รอยละ 25 เทานัน้ สวนในเรือ่ งของราคาคาโดยสารยังคงอัตราเทาเดิมถึงแมวา ระยะจะ ไกลกวา โดยการวิง่ เรือจะวิง่ สัปดาหละ 1 วัน เนือ่ งจากจํานวนเรือมีทงั้ หมด 72 ลํา แบง กันวันละ 18 ลํา ซึ่งในแตละวันจะวิ่งเรือประมาณ 4-5 เที่ยวตอวัน แตชวงกอนเปด สะพานวิง่ เรือวันละ 12 – 15 เทีย่ วตอวัน แตทผี่ า นมาไดมกี ารเสนอใหกลับมาเปดบริการ ขามฟากทีท่ า เรือบัค๊ เหมือนเดิมแตตอนนีก้ ย็ งั ไมมคี วามคืบหนาแตอยางไรก็ไดแตรอตอ ไป70 สัมภาษณ คุณประสาน, 5 กันยายน 2557 สัมภาษณ คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ), 5 กันยายน 2557 70 อางแลว คุณประสาน 68 69

224 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


Q. มีการปรับตัวอยางไรในเรื่องของการทองเที่ยวเมื่อเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 คุณประสาน : ผูป ระกอบการเรือตามลําพังวิง่ เรืออยางเดียวไมพอเลีย้ งชีพ ถา คนไหนมีครอบครัวทีต่ อ งสงลูกเรียนก็จะตองหาอาชีพเสริม ไดแก การทําสวนทําไร การ ประมง การเปดธุรกิจสวนตัว เชน อูซอมรถ เปนตน สวนของลําเรือผูประกอบการเรือ ไดเปลี่ยนจากการใชนํ้ามันเปลี่ยนใชกาซทดแทน71 คุณสมศักดิ์ : ตองทําอยูตามสภาพของเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ในการปรับตัว จะประกอบอาชีพเสริมสวนมากจะเปน การทําสวนทําไร บางคนก็ยึดเปนอาชีพหลัก แลววิ่งสามลอเปนอาชีพเสริมเพราะรายไดลดนอยลง อีกทั้งราคานั้นไมไดเพิ่มราคา โดยสาร ซึ่งตองเขาใจผูมาใชบริการดวยเพราะเราพึ่งพากันและกัน72 Q. มีความคิดอยางไรเพื่อที่จะไมใหเชียงของเปนแคเมืองทางผานแตเปนเมืองเที่ยว ทองชายแดน คุณสมศักดิ์ : ตองการใหมีแหลงทองเที่ยว แตตอนนี้ก็กําลังสรางแหลงทอง เที่ยว ไดแก การสรางพิพิธภัณฑปลาบึก สวนสัตว และสวนดอกไม พรอมทั้งจะเปด มหาวิทยาลัยแมโจ วิทยาเขตเชียงของ โดยแหลงทองเที่ยวที่กําลังสรางจะอยูบริเวณ เมืองใหม ซึ่งจะไมสรางแหลงทองเที่ยวในเมืองเกาเพราะจะตองอนุรักษเสนหของเมือง เกาไว โดยการสรางแหลงทองเทีย่ วเหลานีจ้ ะสามารถดึงดูดนักทองเทีย่ วใหอยูเ ชียงของ มากกวา 1 คืน หรือมากกวาจะมาเพื่อเปนเมืองผาน73

อ้างแล้ว คุณประสาน อ้างแล้ว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) 73 อ้างแล้ว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) 71 72

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 225


Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเขามามีสวนรวมกับการทองเที่ยวหรือไม อยางไร และตองการใหเขามาชวยเหลืออยางไร คุณประสาน : สิ่งที่ตองการก็คือการที่ใหคนไทยที่ใช Passport มาขามฟาก ตรงทาเรือบัค๊ แลวใหชาวตางชาติหรือบุคคลทีใ่ ชวซี า ขามฟากทีส่ ะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 เหมือนเดิมก็จะชวยในผูประกอบการเรือยังคงมีรายไดเพิ่มขึ้นและเพียงพอตอ การเลี้ยงชีพ74 คุณสมศักดิ์ : โดยทางชมรมสามลอก็อยากจะใหมาเปดดานตรวจคนเขาเมือง ตรงทาเรือบั๊คเหมือนเดิม เนื่องจากจะทําใหทางสามลอเรามีรายไดเพิ่มมากขึ้น และ ตองการใหภาครัฐเขามาชวยในการรับจดทะเบียนรถยนตรสามลอ ซึง่ จะทําใหเปนรถเถือ่ น เพราะทางขนสงเขามาตรวจจะทําใหเราตองเสียคาใชจา ย และเสีย่ งตอการโดนจับ75 แต อยางไรก็ตามในการในทาง ตามความในมาตรา ๕ (๑๑) และ (๑๒) แหงพระราชบัญญัติ รถยนตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๓) ออกตามความในพระ ราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอ ๒ ใหงดรับจดทะเบียนรถยนตรรับจางสามลอและรถยนตรสามลอสวน บุคคลในเขตกรุงเทพมหานครและในเขตจังหวัดอื่นทุกจังหวัด การผอนผันการงดรับจดทะเบียนรถยนตรรบั จางสามลอและรถยนตร สามลอสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กระทรวงคมนาคมกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ขอ ๓ ใหรถยนตรรับจางและรถยนตรรับจางสามลอใชเดินไดเฉพาะในเขต จังหวัดที่จดทะเบียน สําหรับรถยนตรรบั จางและรถยนตรรบั จางสามลอทีจ่ ดทะเบียนในเขต จังหวัดขอนแกน จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดสงขลา 74 75

อางแลว คุณประสาน อางแลว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ)

226 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ใหใชเดินไดในเขตจังหวัดที่จดทะเบียนและในเขตจังหวัดอื่นที่มิใชเขตจังหวัดที่ระบุไว ดังกลาวและเขตกรุงเทพมหานคร สําหรับรถยนตรรบั จางและรถยนตรรบั จางสามลอทีจ่ ดทะเบียนในเขต กรุงเทพมหานครใหใชเดินไดในเขตกรุงเทพมหานครและในเขตจังหวัดอื่นทุกจังหวัด

ธุรกิจบันเทิง Q. การทองเที่ยวในอําเภอเชียงของปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตางจากอดีตอยางไร คุณสุพิน : เมื่อกอนที่จะมาประกอบธุรกิจรานบารไดเปดรานขายของฝาก ขายวันละไมตาํ่ กวาหนึง่ หมืน่ บาท หลังจากเทสโกโลตัสเขามาเปดกิจการในเชียงของได ปดกิจการรานขายของฝากแลวไปเรียนนวดและเปดรานนวดประมาณ 4-5 ป แลวก็เปด รานอาหารเพิ่มอีกทีหนึ่ง หลังจากนั้นสักพักไดเปลี่ยนรานนวดมาเปนรานบาร ซึ่งราน อาหารจะเปดเฉพาะชวง High Season และตองดูตวั แปรดวยวาเราจะเปดทํารานอาหาร แบบไหน ซึ่งชวงหลังเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 นักทองเที่ยวลดนอยลง และประกอบอาชีพยากขึน้ เรือ่ ยๆ หากจะมาเปดธุรกิจเชนโรงแรม สถานบันเทิง เราตอง ดูคนในพืน้ ทีด่ ว ยเพราะชาวบานไมตอ งการรับสิง่ ใหมๆ ก็เลยตองอยูใ นสภาพแบบนี้ อีก อยางในตอนนี้พี่กําลังรักษาเมืองไว เพราะวาถาหากพี่ขายกิจการนี้ใหแกชาวตางชาติ สิ่งที่จะตามมาก็คือ การนําผูหญิงมาใหบริการในราน ซึ่งเราจะขายกิจการใหคนไทย เทานั้น76 Q. ผลกระทบที่ไดรับจากการเปดใชสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 คุณสุพิน : ผลกระทบหลังเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 โดยปกติ รานเวลาประมาณ 15.00 น. จะมีนกั ทองเทีย่ วชาวตางชาติมานัง่ ทีร่ า นประมาณ 15 คน เนื่องจากเดียวนี้นักทองเที่ยวมาจากเชียงใหมกับเอเจนซี่โดยรถตูหรือมินิบัส ทําปญหา 76

สัมภาษณ คุณสุพิน (นามสมมติ), 6 กันยายน 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 227


ใหกบั ระบบการทองเทีย่ ว เพราะเขาแยงลูกคาหรือผลประโยชนทรี่ ถเมลทสี่ มั ปทานเสน ทาง เชียงใหม – เชียงของ และเชียงราย – เชียงของ พรอมทั้งสงผลกระทบแกคนใน พื้นที่ดวย เชน สามลอ รถสองแถว เปนตน เนื่องจากวาจะมีบริการเชียงใหม – สะพาน มิตรภาพไทยลาวแหงที่ 4 ปริมาณวันละ 10 เที่ยวตอวัน โดยชาวตางชาติที่เขามาใน เชียงรายดวยจะขามสะพานวันละ 200 คนตอวัน แตจะเหลืออยูใ นเมืองเชียงของไมเกิน 10 คน ถาชาวตางชาติมาตามระบบขนสงมวลชนหรือรถเมล อาจจะมาถึงเชียงของใน ชวงเวลาที่คํ่า ก็จะทําใหชาวตางชาติเขามาพักในเมืองพรอมทั้งสรางรายไดใหแกคนใน ทองถิ่น แตนี้ไมใชอยางที่คิดไวซึ่งมีรถตูมารอรับที่หนาดานเพื่อเดินทางไปเชียงใหมเลย สวนผลกระทบของทางราน ลูกคามีปริมาณที่ลดลงทําใหขายของไมได ซึ่งใน ตอนนี้นักทองเที่ยวที่หายไปคิดวาประมาณรอยละ 70 – 80 เสนทางการเดินไปหลวงพระบางเสนทางใหมคอื เชียงใหม-ลําปาง-นาน-หลวง พระบาท เดินทางจากนานไปยังหลวงพระบาง 1 วัน สวนเสนทาง เชียงใหม-เชียงรายเชียงของ-หลวงพระบาท จะใชเวลาในการเดินทางจากเชียงของไปหลวงพระบาท 2 วัน อีกทั้งเวลาในการเดินทางเชียงใหม-เชียงของ ใชเวลา 5 ชั่วโมง แต เชียงใหม-นาน ใช เวลา 4 ชั่วโมงครึ่ง ทําใหนักทองเที่ยวเริ่มหันไปใชเสนทางที่จังหวัดนาน อีกทั้งเอเจนซี่ จะเชียงใหมกใ็ ชเสนทางนีใ้ นการนําทางนักเทีย่ วทองเทีย่ ว เพราะวาคาใชจา ยไมแตกตาง กันมาก77 Q. มีการปรับตัวอยางไรในเรื่องของการทองเที่ยวเมื่อเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 คุณสุพิน : อาจจะเปนอาหารซีฟูด อาหารจีน เพราะวาไดเมืองเชียงของยัง ไมมใี ครทํารานแบบนี้ อีกทัง้ นักทองเทีย่ วคนจีนพฤติกรรมการบริโภคจะไมนงั่ ทีร่ า นนาน กินเสร็จเรียบรอยก็ลุกไปเลยซึ่งแตกตางกับชาวตางชาติ จึงมีแนวความคิดที่จะทําราน อาหารจีน ในการปรับตัวคือ การใหนองชายไปเรียนทําอาหารจีน เพราะวาคนจีนเขา มาในเชียงของจํานวนมาก78 78

อางแลว คุณสุพิน (นามสมมติ)

228 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


Q. มีความคิดอยางไรเพื่อที่จะไมใหเชียงของเปนแคเมืองทางผานแตเปนเมืองเที่ยว ทองชายแดน คุณสุพิน : ตองมีผูหญิงขายบริการ79 Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเขามามีสวนรวมกับการทองเที่ยวหรือไม อยางไร และตองการใหเขามาชวยเหลืออยางไร คุณสุพิน : อยากใหทางรัฐเขามาชวยในการเปดดานขามฟากดานตรวจคน เขาเมืองตรงทาเรือบั๊คเหมือนเดิม ถานักทองเที่ยวเขามาในเมืองแลวรูสึกนาอยู อาจจะ พักโรงแรมมากกวา 1 คืน แตเดียวนีเ้ ดินทางจากเชียงใหมตรงไปสูส ะพานเลยโดยไมเห็น สภาพในเมือง เพราะวารถเมลจะจอดใหลงตรงสามแยกแลวจะมีสามลอไปสงทีส่ ะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ตอไป ในบางครั้งนักทองเที่ยวชาวตางชาติไมไดศึกษาการ เดินทาง ก็จะเขามาในเมืองแลวนั่งสามลอออกไปยังสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 ทําใหเสียคาใชจายเพิ่มมากขึ้น แตถา Passport กําหนดเวลาอยูที่ประมาณ 16.00 17.00 น. ก็จะทําใหนักทองเที่ยวเขามาในเมือง แตนี้ปด ถึง 22.00 น. ทําใหไมมีนักทอง เที่ยวเลย อยางไรก็ตามจากการสังเกตในการนั่งรถเมลประจําทางเชียงราย – เชียงของ โดยผูเ ก็บอัตราคาโดยสารจะแนะนําและจอดใหนกั ทองเทีย่ วลงสามแยกเพือ่ นัง่ สามลอ ไปยังสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 480

79 80

อางแลว คุณสุพิน (นามสมมติ) อางแลว คุณสุพิน (นามสมมติ)

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 229


สรุปแตละประเด็นของผูมีสวนรวมในการทองเที่ยว ทั้ง 4 ภาคธุรกิจ การทองเที่ยวในอําเภอเชียงของ ปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตาง จากอดีตอยางไร

การทองเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงเปนอยางมาก หาก

เปรียบเทียบชวงกอนและหลังเปดสะพานแหงที่ 4 ชวง กอนเปดสะพานเมืองเชียงของจะเต็มไปดวยนักทองเทีย่ ว จํานวนมาก แตหลังที่เปดสะพานจํานวนนักทองเที่ยว ที่เดินทางเขามาในเมืองเชียงของมีปริมาณลดนอยลง ไดเริ่มมีการสรางและพัฒนาแหลงทองเที่ยวในเชียงของ มากขึ้น ไมวาจะเปนทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นหรือสิ่งที่ ธรรมชาติสรางขึ้น

ผลกระทบที่ไดรับจากการเปดใช ในภาคธุรกิจทีพ่ กั โรงแรม และธุรกิจรานอาหารเครือ่ งดืม่ ไมไดรบั ผลกระทบจากการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 แหงที่ 4 ซึ่งธุรกิจที่ไดรับผลกระทบคือธุรกิจคมนาคม ขนสง และธุรกิจบันเทิง จะไดรับผลกระทบอยางมาก ผลมาจากการลดลงของนักทองเที่ยว นักทองเที่ยวไมเขามาในเมืองเชียงของ เนื่องจากขนสง มวลชนที่นํานักทองเที่ยวใหลงตอรถยนตรสามลอไป ยังสะพานเลย ทําใหนักทองเที่ยวไมไดสัมผัสเสนหชอง เมืองเชียงของ กอนตัดสินใจเดินทางตอไป พรอมทั้งคา ใชจายที่เพิ่มมากขึ้นในการเดินทางไปยังสะพาน หาก เขามาในเมืองเชียงของ ปรั บ ตั ว อย า งไรในเรื่ อ งของการ ภาคธุรกิจที่มีการปรับตัวคือ ธุรกิจคมนาคม ขนสง โดยผูประกอบการจะหาอาชีพเสริมดวยการทําไรทํา ทองเที่ยวหลังการเปดใชสะพาน สวน การเปดรานขายของชํา รานซอมรถ เปนตน ธุรกิจ มิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 บันเทิง มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการเปดรานอาหาร จีน เพื่อตอบสนองนักทองเที่ยวชาวจีน ที่เดินทางผาน สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4

230 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


มีความคิดอยางไรเพื่อที่จะ ตองการใหจัดกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทอง ไมใหเชียงของเปนแคเมืองทางผาน ถิ่น การจัดกิจกรรมลองเรือชมลํานําโขง และสงเสริม แตเปนเมืองเที่ยวทองชายแดน ดานการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง ฟนฟูและบูรณาการโบราณสถาน เพื่อที่จะดึงดูดนัก

ทองเที่ยว

สรางโฮมสเตยเพื่อเรียนรูวิถีชีวิตของกลุมชาติพันธ เพื่อ

การพักผอนของนักทองเที่ยว

บทบาทของภาครั ฐ และ ตองการใหภาครัฐดําเนินการเปดดานตรวจคนเขาเมือง ทีท่ าเรือบั๊คเหมือนเดิม ภาคเอกชนเข า มามี ส ว นรวมกั บ การทองเที่ยวหรือไมอยางไร และ กําหนดเวลาเปด-ปดถึง 17.00 น. เพื่อใหนักทองเที่ยว เขามาในเมืองเชียงของ ตองการใหเขามาชวยเหลืออยางไร ตองการใหภาครัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนินธุรกิจ และรับจดทะเบียนรถยนตรสามลอ

ทามกลางการเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนอยางอําเภอเชียงของได เผชิญอยูน นั้ ทําใหเมืองเชียงของตองปรับใหกา วไปขางหนาควบคูไ ปกับการเปลีย่ นแปลง ของสภาพเศรษฐกิจ จากการศึกษาการทองเทีย่ วในอําเภอเชียงของเปลีย่ นแปลงไปอยาง มาก การเขามาของนักทองเที่ยวชาวตางชาติลดนอยลง เนื่องจากนักทองเที่ยวชาวตาง ชาติไดมกี ารเปลีย่ นแปลงเสนทางการเดินทางไปยังหลวงพระบาท เดิมทีม่ กี ารมาตอเรือ ที่เชียงของ แตปจจุบันไดไปการเดินทางเปนจังหวัดนาน เพราะระยะเวลาในการเดิน ทางที่รวดเร็วกวา แตอยางไรก็ตามการมีสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 ทําใหนัก ทองเที่ยวชาวจีนที่ใชรถเปนพาหนะสําคัญในการเดินทางผานเสนทาง R3A เปนหลัก และสิ่งที่ไมควรมองขามไปอยางยิ่งคือ การเขามาของรถไฟที่เชื่อมตอกันระหวาง ประเทศไทย – จีน นับไดวา เปนการนําพาความเจริญเขามาสูเ มืองเชียงของอยางแทจริง ดังนั้นการที่จะทําใหเมืองเชียงของกลับมาเติบโตในการทองเที่ยวอีกครั้งจะตองมีแหลง ทองเที่ยว อาหารเครื่องดื่ม เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมนักทองเที่ยวชาวจีน ใหมากขึ้น เนื่องจากประเทศไทยไดการยกเลิกวีซานี่จะไปจุดเปลี่ยนของการทองเที่ยว ในเชียงของ

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 231


แตอยางไรก็ตามสิ่งที่อําเภอเชียงของตองกาวเดินทามกลางการเติบโต เศรษฐกิจเชนนี้ ก็ไดมียุทธศาสตร 1 เมือง 2 แบบ เปนตนแบบในการพัฒนาเมืองควบคู กับการพัฒนาเศรษฐกิจ จากยุทธศาสตรนี้ไดมีการรักษาเมืองเกาไว เพื่อที่จะอนุรักษให มีเสนหตอการเขามาเที่ยวชมเมือง และเมืองใหมจะเปนพื้นที่ของอุตสาหกรรม และโล จิสติกส เมืองคูขนานแหงนี้จะพัฒนาเมืองเพื่อใหมีความยั่งยืนและมีความมั่นคง พรอม ที่จะกาวหนาไปในอนาคตมากนอยเทาไร ขึ้นอยูกับความรวมกันของประชาชนในทอง ถิ่นเชียงของเอง

232 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การเชื่อมโยงระหวางผลลัพธแตละประเด็นของการปรับตัว ดานการทองเที่ยวเมืองคูขนานกับกรอบทั้งสาม การเปลี่ยนแปลง ดานการทองเที่ยว

Border Future Policies

ผลกระทบที่ไดรับจาก การเปดสะพาน Border Economic Growth

บทบาท ของภาครัฐ และเอกชน

การปรับตัวในดาน การทองเที่ยว Cross-border and Trans-border Connectivity

แนวความคิดเพื่อให เชียงของเปน เมืองทองเที่ยว

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 233


ผูใหสัมภาษณธุรกิจที่พัก โรงแรม คุณโยษิตา สํานวนเย็น (6 กันยายน 2557) คุณยอดฤทัย เรวรรณ (3 พฤษภาคม 2557) ผูใหสัมภาษณธุรกิจอาหาร เครื่องดื่ม คุณอัจฮรา บุญสวัสดิ์ (14 สิงหาคม 2557) คุณอรอนงค พินไซย (14 สิงหาคม 2557) คุณแสงจันทร (นามสมมติ) (5 พฤษภาคม 2557 และ 14 สิงหาคม 2557) ผูใหสัมภาษณธุรกิจคมนาคมขนสง คุณประสาน ยมภักดี (5 กันยายน 2557) คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) (5 กันยายน 2557) ผูใหสมภาษณธุรกิจบันเทิง คุณสุพิน (นามสมมติ) (6 กันยายน 2557)

234 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เอกสารอางอิง คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย. (2556). แผนพัฒนา จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2558-2561. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. (2554). รายงานฉบับสมบูรณ โครงการ ศึกษาความเหมาะสมและจัดทําแผนแมบทการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย. โครงการศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการเมืองเชียงของภาคใตแนวคิด “หนึ่งเมือง สองแบบ”. (2556). เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดลุ ยภาพและยัง่ ยืน เอกสารประกอบเวทีประชุมจัดทําแผน ยุทธศาสตรระดับตําบล. วิลาสินี แจมอุลติ รัตน. สํานักความรวมมือการคาและการลงทุน กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย. (2552). แนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor: NSEC) เชื่อมโยงไทย-พมา/ลาว-จีน. สํานักงานประสานความรวมมือระหวางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (กันยายน 2554). การพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนา เศรษฐกิจ (Economic Corridors Development). สํานักอาเซียน กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ. (ตุลาคม 2550). แนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) และเสนทางเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญในอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS). ภันฑิลา วิชาโหง. แนวทางพัฒนาการตลาดนักทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. มหาวิทยาลัยนเรศวร. วรียา หยึกประเสริฐ. การลงทุนและพัฒนาเขตเศรษฐกิจการคาและบริการของจีน ใน เขตเมืองตนผึง้ สปป.ลาว: วิกฤตหรือโอกาส. สถาบันวิชาการปองกันประเทศ เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแมนํ้าโขง ครั้งที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึง่ เมือง สองแบบ – การพัฒนาอยางมีดลุ ยภาพ และยั่งยืน”.

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 235



บทที่ 4 การวิเคราะหเชิงลึกพื้นที่ชายแดนเชียงของ ความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ชายแดนเชียงของกอนจะถึง “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” ปฐมพงศ มโนหาญ81

บทนํา

ในเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2556 ทางกลุมรักษเชียงของไดจัดพิมพหนังสือ “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน จํานวน 1,000 เลมขึน้ ซึง่ ถือไดวา เปนการเสนอรูปแบบการพัฒนาแบบทางเลือกอีกทาง หนึง่ ใหแกสงั คมเมืองชายแดนทีซ่ งึ่ เปนพืน้ ทีแ่ หงการควบคุมจากรัฐเสมอมาตัง้ แตยคุ การ สรางรัฐชาติ พื้นที่ชายแดนกอนจะมีรัฐชาติเคยถูกอธิบายวาเปนพื้นที่ที่หละหลวมจาก อํานาจของสวนกลางที่แผกระจายมาไมถึง เพราะวาเปนพื้นที่ซึ่งอยูหางไกลจาก ศูนยกลางอํานาจรัฐ สงผลใหบางกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองตางๆ ใน พื้นที่กลายเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองที่ “ลอดรัฐ” ไมอยูในกรอบ ระเบียบทีร่ ฐั กําหนด เชน กิจกรรมขนสงสินคาหนีภาษี คาของปา และ ยาเสพติด เปนตน อยางไรก็ตามกอนยุครัฐชาติใชวา จะไมมกี ารควบคุม (regulation) ในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจและการเมืองของรัฐเอาเสียเลย หากแตวาการควบของรัฐอยูบนฐานของ อํานาจการปกครองแบบหนึง่ ซึง่ ตางไปจากยุครัฐชาติ เชนในภาคเหนือของประเทศไทย ที่มีชายแดนติดกับประเทศลาวและพมา รัฐจารีตในแถบนั้นเองก็มีการควบคุมการคา ของปาและเกลืออยู ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองอยูภายใตการ 81

อาจารยประจําสํานักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 237


ควบคุมของรัฐดังกลาว82 คนชายแดนที่เราเคยเชื่อวาสามารถทําการคาขายอยางอิสระ ปราศจากการควบคุมใดๆ จากรัฐนั้นอาจเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนได แตเมือ่ มาถึงยุคลาอาณานิคมจากชาติตะวันตก ประเทศเจาอาณานิคมตองการ จะจัดสรรผลประโยชนเหนือดินแดนประเทศอาณานิคม ทําใหตองจัดทําการปกปน เขตแดนของประเทศใหชดั เจน เชนประเทศลาวภายใตการควบคุมของฝรัง่ เศส ประเทศ พมาภายใตการควบคุมของอังกฤษ และ สยามภาคตางๆ ภายใตการควบคุมโดยรัฐสวน กลางจากกรุงเทพฯ ซึ่งทั้งสามมหาอํานาจจําเปนตองขีดเสนเขตแดนลงไปในพื้นที่ที่ตน ตองการจะยึดครองเพื่ออางสิทธิอํานาจเหนือดินแดนดังกลาวอยางชัดเจน83 เขตแดนหลังยุคลาอาณานิคมไดสงอิทธิพลถึงวิธีคิดตอพื้นที่ชายแดนใน ปจจุบัน มีการแบงแยกชาติตางๆ ออกจากกัน ประเทศไทยคือประเทศที่ภาคเหนือซึ่งมี พื้นที่ชายแดนติดกับประเทศลาว และ ประเทศพมา มีหนวยงานราชการ ทหาร และ ตํารวจอยูในพื้นที่เพื่อเฝาระวังกิจกรรมการลอดรัฐตางๆ สงผลใหพื้นที่ชายแดนกลาย เปนพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เปนพืน้ ทีท่ สี่ นิ้ สุดรอยตอแหงการติดตอคาขายกับประเทศเพือ่ นบานภาย ใตการนับรวมมูลคาการคาใหอยูใ น GDP (gross domestic product) ของประเทศไทย รวมถึงเปนพื้นที่ของการทองเที่ยว เพื่อเยี่ยมชมอัตลักษณแหงความแตกตางระหวาง ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานเปนตน ตัง้ แตป พ.ศ. 2518 ทีม่ กี ารปดกัน้ ชายแดนเนือ่ งดวยปญหาความขัดแยงภายใน ของประเทศลาวซึ่งเปนชวงที่แตละประเทศมีความรับรูเรื่องเสนเขตแดนเรียบรอยแลว การคาขายสินคาขามแดนจึงเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบหนึ่งที่ผิดกฎหมาย สงผล ใหผปู ระกอบการตองลักลอบคาขายในเวลากลางคืน ถึงแมจะเปนการคาทีผ่ ดิ กฎหมาย ในขณะนั้น แตกิจกรรมดังกลาวก็มีการควบคุมบางอยางที่ผูคาในพื้นที่ไดจัดตั้งขึ้นมา อยางไมเปนทางการ84 แสดงใหเห็นวากิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองชายแดน โปรดดู Walker, Andrew. “The Legend of the Golden Boat: Regulation, Trade and Trader in the Borderlands of Laos, Thailand, China and Burma”. University of Hawai. USA. 1999 83 โปรดดู ธงชัย วินิจจะกูล. “กําเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตรภูมิกายาของชาติ”.โครงการจัด พิมพคบไฟ รวมกับสํานักพิมพอาน กรุงเทพฯ. 2556 (ฉบับแปล) 84 อางแลว Walker, Andrew 82

238 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ถึงแมจะเปนกิจกรรมที่ “ลอดรัฐ” ในบางชวงเวลา แตก็ไมอาจหลีกหนีการกํากับทาง สังคมไปได หลังจากคริสตทศวรรษ 1970 – 1980 เปนตนมา โลกหลังสงครามเย็นได เปลี่ยนแปลงไป จากการจํากัดใหมีการโดดเดี่ยวตัวเอง ก็เริ่มถูกทําใหผอนคลายโดย “ลัทธิเสรีนิยมใหม” ซึ่งเปนแนวความคิดที่พยายามผนวกคําอางระหวางกระบวนการ เปนประชาธิปไตย (democratization) และ ตลาดเสรีเขาดวยกัน ซึ่งลัทธิความคิดนี้มี ผลอย า งยิ่ ง ต อ รั ฐ บาลของประเทศไทยที่ เ ป น ยุ ค เปลี่ ย นผ า นจากรั ฐ บาลทหาร (ประชาธิปไตยครึง่ ใบ) ไปสูก ารเมืองแบบเลือกตัง้ ทีน่ ายทุนพอคาเริม่ มีบทบาทในการขับ เคลื่อนนโยบายการคาทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ สงผลใหการประกาศ นโยบาย “เปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา” ในยุครัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะ วัณชวงป พ.ศ. 2531 - 2534 เปนเรื่องที่ไมอาจหลีกเลี่ยงบริบทแหงลัทธิเสรีนิยมใหม ไปได ทําให ป พ.ศ. 2532 ชายแดน ไทย – ลาวไดกลับมามีความสัมพันธกันอีกครั้ง หนึง่ ภายใตกรอบอํานาจควบคุมของรัฐทีม่ งุ เรือ่ งการคาระหวางเปนเทศเปนหลัก สงผล ใหพนื้ ทีช่ ายแดนไทย – ลาว โดยเฉพาะอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายไดรบั การจับตา มองทั้งฝายทุนและรัฐ ผนวกกับใน ป พ.ศ. 2530 ประเทศไทยไดประกาศใหเปนปแหง การทองเที่ยวก็ยิ่งทําใหพื้นที่ชายแดนเชียงของกลายเปนพื้นที่แหงการทองเที่ยวไปอีก ทางหนึ่ง เมื่อทุนและพัฒนาการอํานาจควบคุมของรัฐขยายตัวเขาไปในพื้นที่ชายแดน เชียงของ อีกดานหนึง่ ชาวบานในพืน้ ทีก่ ไ็ มอาจนิง่ ดูดายใหทนุ และอํานาจรัฐเขาควบคุม ไดอยางงายดาย จึงทําใหทศวรรษ 2540 เริม่ ปรากฏขบวนการตอรองของคนในทองถิน่ ขึ้น ตั้งแตทศวรรษ 2540 เปนตนมาอําเภอเชียงของกลายพื้นที่ชายแดนที่มีการแยงชิง ความหมายเพื่อตอรองกําหนดทิศทางเพื่อกําหนดแผนการพัฒนา ไมวาจะเปนฝายทุน รัฐ และ คนทองถิ่นผนวกกับองคพัฒนาเอกชน ความเปลี่ยนแปลงอีกดานหนึ่งที่เปนประเด็นสําคัญแกการพิจารณาความ เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายแดนอยางเชียงของเปนอยางยิ่งก็คือ การกระจายอํานาจสู ทองถิ่นที่ใหยกสภาตําบล สุขาภิบาลเปนนิติบุคคลในรูปแบบของ องคการบริหารสวน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 239


ตําบล และ เทศบาลตําบล ซึง่ เปดโอกาสใหมกี ารเลือกตัง้ สมาชิกสภาฝายนิตบิ ญ ั ญัตแิ ละ ฝายบริหาร ทําใหในบางสถานการณหนวยงานทีเ่ ปนผลมาจากการกระจายอํานาจกลาย เปนหนึง่ ชองทางทีค่ นชายแดนใชเปนชองทางในการเคลือ่ นไหวเพือ่ ตอรองทรัพยากรใน พื้นที่ กระนั้นเองกระแสลัทธิวิธีคิดแบบเสรีนิยมใหมก็เดินหนาไปเรื่อยๆ ผานการ โฆษณาเพื่อตลาดเสรี การเชื่อมตอระหวางอนุภูมิภาค และ ระดับภูมิภาค การสรางเสน ทางเชื่อมตอระหวางชายแดน ไทย – ลาว – จีนตอนใตจึงมีความชอบธรรมอยางหลีก เลี่ยงไมได การกอสรางและเปดใชสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แหงที่ 4 ในป พ.ศ. 2556 จึงถูกใชกลาวอางวาทําไปเพื่อความมั่งคั่งแหงประเทศอันสอดรับกับวิธีคิดของลัทธิ เสรีนิยมใหม85 ซึ่งแมแตคนในพื้นที่ชายแดนเองก็ถูกชี้นําใหออนโอนตอความมั่งคั่งแหง ประเทศดังกลาว อยางไรก็ตามการเชือ่ มโยงติดตอกันผานเสนทางทางการคาหลังป พ.ศ. 2532 ก็กลาวไดวา คือการขยายตัวของรัฐทีพ่ ยายามจะผนวกรวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ชายแดนทั้งหมดใหอยูภายใตการควบคุมของรัฐอยางเปนทางการ การขยายตัวของอํานาจรัฐไดแทรกซึมเขาไปสูว ถิ ชี วี ติ ของคนชายแดน ซึง่ บาง สถานการณชาวบานที่ไดรับผลกระทบจากการพัฒนาพื้นที่ชายแดน พวกเขาไมจําเปน ตองปฏิเสธอํานาจรัฐ หากแตวิ่งเขาหา พยายามปรากฏตัวใหเจาหนาที่รัฐเห็น และ พยายามที่จะใชอํานาจรัฐที่มีอยูตอรองกับอํานาจรัฐอีกทีหนึ่ง ดังนั้นการปรากฏตัวขึ้น ของ “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” ยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน จึงเปนปรากฏการณทางประวัติศาสตรที่เปนผลของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมการเมืองในพื้นที่อําเภอเชียงของ อันสะทอนใหเห็นการตอรองทรัพยากรใน พื้นที่มาอยางเขาขนในชวงสองทศวรรษที่ผานมา สิ่งที่งานชิ้นอาจจะพอมีประโยชนอยูบางตอชุมชนวิชาการก็คือการนําเสนอ ความเคลือ่ นไหวของพืน้ ทีช่ ายแดนทีพ่ ยายามมองจากพืน้ ทีข่ นึ้ มา แตกไ็ มอาจปฏิเสธการ ควบคุมจากรัฐ ความพยายามที่จะดิ้นรนตอรองทรัพยากร ก็เปนหนึ่งกระบวนการที่ สะทอนใหเห็นการเปนประชาธิปไตย (democratization) ของพื้นที่ชายแดน พื้นที่ที่ ตีความจากการอาน เดวิด ฮารว.ี “ประวัตศิ าสตรฉบับยอของลัทธิเสรีนยิ มใหม”. สํานักพิมพสวนเงิน มีมา กรุงเทพฯ. 2555 (ฉบับแปล) 85

240 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ซึง่ ไมไดเปนแคพนื้ ทีข่ องกิจกรรมลอดรัฐ พืน้ ทีแ่ หงชาติพนั ธุ และ พืน้ ทีแ่ หงการทองเทีย่ ว เทานั้น กระบวนการที่จะเผยใหเห็นความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายแดนอําเภอ เชียงของ คือ การพินิจความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเพื่อใหเห็นความเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงของการทํามาหากินของผูคน ที่จะชี้ใหเห็นวาคนชายแดนมีความสัมพันธ กับความเปลีย่ นทางเศรษฐกิจทีม่ าจากการกําหนดจากรัฐ ประกอบกับความเปลีย่ นแปลง ดานการการเมืองและกระจายอํานาจทีเ่ ขามาสอดรับกับความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ดังกลาว

ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ86 เศรษฐกิจชายแดนเชียงของ ปพ.ศ. 2500 – 2518 ความเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ ของอํ า เภอเชี ย งของหากมองผ า นการ ประกอบอาชีพของผูคน ที่เลาประสบการณผานความทรงจําแลวจะเห็นไดวา ความ เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจในพืน้ ทีไ่ มอาจแยกออกจากพลวัตรทางการเมืองเรือ่ งเขตแดน ไดเลย เชน ชาวบานคนหนึง่ ชือ่ ไทรเกิดในชวงทศวรรษ 2500 ซึง่ เปนลูกหลานเกษตรกร ในพืน้ ที่ เลาใหฟง วา ตัง้ แตทศวรรษ 2500 – 2510 ผูค นในอดีตสวนใหญจะเปนเกษตรกร รายยอยทําสวนไรนา ซึ่งพื้นที่ทําเกษตรจะเปนพื้นที่ภูเขา แตครอบครัวของเขานั้นเริ่ม ทําสวนที่ริมนํ้าและดอนทรายแมนํ้าโขง หลังจากนั้นชวงทศวรรษ 2520 เริ่มขยับขยาย ทําการเกษตรบนปา บนเขา เพื่อปลูกพืชเชิงพาณิชย (cash crop) การทําสวนริมนํ้า และดอนทรายปรับเปลี่ยนแปลงพืชผักสวนครัวแทน87 จะเห็นไดวา การขยับขยายพืน้ ทีท่ าํ เกษตรของไทรสัมพันธกบั การขยายตัวของ ตลาดพืชเชิงพาณิชย ทีร่ ฐั บาลในชวงเวลานัน้ ไดเริม่ สรางถนนไปยังภาคเหนือภาคอีสาน เพื่อตอสูกับคอมมิวนิสต ซึ่งดานหนึ่งเปนผลดีแกชาวบานในพื้นที่ที่จะไดมีโอกาสเขาไป คําวาเศรษฐกิจทีใ่ ชตลอดงานชิน้ นีจ้ ะเปนการฉายภาพบริบททางเศรษฐกิจของพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงของ โดยมองผานความเปลีย่ นแปลงของวิถชี วี ติ ผูค น เพราะเชือ่ ปจเจกบุคคลยอมทําการตัดสินใจทางธุรกิจ โดยอาศัยบริบทแวดลอม 87 สัมภาษณ นายไทร, 19 พฤษภาคม 2557 86

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 241


บุกเบิกทําการเกษตรปลูกพืชพาณิชยทกี่ าํ ลังขยายตัว88 ความเปลีย่ นแปลงในวิถชี วี ติ ของ ไทรก็ไดรับผลกระทบจากการขยับตัวของรัฐอยางหลีกเลี่ยงไมได แตอยางไรก็ตามการ ตัดสินใจขั้นสุดที่จะขยับขยายการเกษตรก็ขึ้นอยูกับครอบครัวของไทรเอง การปลูกยาสูบเปนทางเลือกหนึง่ ของชาวบานในชวงเวลานัน้ แตอยางไรก็ตาม เมือ่ มีการนําเขายาสูบจากตางประเทศประกอบกับขัน้ ตอนการผลิตยาสูบมีความยุง ยาก ซับซอนจึงทําใหเขาเห็นการลดลงของยาสูบในชวงทีเ่ ขาเปนวัยรุน นอกจากนัน้ หลังจาก ที่ยาสูบเริ่มลดลง เขาเห็นการเขามาของพืชเศรษฐกิจใหมๆ เชนเงาะ สม และ ลองกอง เขามาในพื้นที่ชวงหลังๆ ไมเพียงแคการทําเกษตรปลูกพืชไรเทานั้น ครอบครัวของไทร ยังเปนชาวประมงแมนํ้าโขงที่หากินกับการจับปลา ซึ่งเขาจําไดวาทํามาตั้งแตตอนอายุ 8 ขวบ ตัง้ แตป พ.ศ.2518 หลังจากทีล่ าวเริม่ ปดประเทศ การไปมาหาสูก บั พรรคพวก ฝงลาวเริ่มลําบากมากขึ้น ผูคนในพื้นที่เริ่มไมสะดวกใจที่จะอยูทํามาหากินในพื้นที่ ประกอบกับการหาปลาเริ่มไดรับผลกระทบอยางมากเพราะหาปลาไดแลวขามเอาไป ขายฝง ลาวไมไดตลาดปลาก็เริม่ แคบลงทําใหพวกวัยรุน เริม่ มีขอ อางในการออกไปหางาน ทําในตัวเมืองและตางจังหวัดรวมถึงตัวเขาดวยทีอ่ อกไปทํางานนอกพืน้ ทีห่ ลังจากนัน้ ไม กี่ป89 เศรษฐกิจในชวงเวลา 2500 – 2518 นอกจากความเปลีย่ นแปลงของครอบครัว ไทรแลว แจมจิต เกิด ปพ.ศ. 250290 ปลายหนึ่ง เกิดป พ.ศ. 250791 และ ทองสุข เกิด ป พ.ศ. 249692 เองก็เปนตัวอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นวาครอบครัวของคนในพื้นที่จะ ผาสุก พงษไพจิตร คริส เบเคอร. “เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ”. ซิลควอรม. เชียงใหม. 2546, หนา 65 ตารางแสดงเนื้อที่ปลูกพืชไรแยกรายภาคปพ.ศ.2493 – 2542 แสดงใหเห็นวาการ ขยายตัวของเนื้อที่ปลูกไรเชนขาวโพดเลี้ยงสัตวและปลูกออยในภาคเหนือและภาคอีสาน ขยายตัว ในอัตราที่กาวหนาหากเทียบกับภาคอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตั้งแตฤดูกาลผลิตปพ.ศ.2523/2524 เปนตนมาถึงปพ.ศ.2542 89 อางแลว นายไทร 90 สัมภาษณ นางแจมจิต, 4 พฤษภาคม 2557 91 สัมภาษณ นางปลายหนึ่ง, 3 พฤษภาคม 2557 92 สัมภาษณ นางทองสุข, 18 พฤษภาคม 2557 88

242 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ผูกพันอยูกับการเกษตรแบบพื้นที่สูงและเกษตรริมนํ้าโขงเปนสวนใหญ และลวนไดรับ ผลกระทบจากการปดประเทศของลาวใน ป พ.ศ. 2518 สะทอนใหเห็นวาการเมือง ระหว า งประเทศและความเข ม งวดของรั ฐ ที ต  อ งการหยุ ด ความเคลื่ อ นไหวของ คอมมิวนิสตลวนแลวแตสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นทางอาชีพของผูคนในพื้นที่อยาง หลีกเลี่ยงไมได นอกจากคนในพื้นที่ดั้งเดิมแลวยังมีครอบครัวคนจีนที่โยกยายมาจากลําปาง เพือ่ มาทําธุรกิจในพืน้ ทีเ่ ชียงของตัง้ แตทศวรรษ 2500 เปนตนมาคือครอบครัวของเสงีย่ ม ที่พอเขาไดเปดรานขายของชําและรับสินคายี่หอดังของประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษมา ขายทีร่ า น และ นําสินคาอุปโภคบริโภคจากลําปางมาขายดวยเชนกัน ธุรกิจติดตอคาขาย กับฝงลาวดําเนินมาอยางตอเนื่อง จนมาถึงป พ.ศ. 2518 ทําใหการคาขายลําบาก บาง ครั้งถึงขึ้นตองทําการคาขายสงของขามแมนํ้าโขงในชวงเวลากลางคืน อยางไรก็ตามถึง แมวารัฐโดยเฉพาะฝงลาวพยายามจะควบคุมการคาอยางแนนหนา แตการคาขายก็ยัง คงดําเนินไปอยางตอเนื่อง93 (ดังจะกลาวตอไป) จากที่กลาวมาทั้งหมดสะทอนใหเห็นวาเศรษฐกิจชีวิตผูคนในเชียงของพึ่งพิง เกีย่ วของกับการเกษตรบริเวณริมฝง แมนาํ้ และการทําเกษตรบนพืน้ ทีส่ งู โดยเฉพาะชาว บานที่เปนคนในพื้นที่แตดั้งเดิม จะตางกันกับชาวจีนอพยพอยางครอบครัวของเสงี่ยม จะมีอาชีพคาขายซึ่งสัมพันธกับการคาขามแดนเปนหลัก และเปนนายทุนทองถิ่นที่เริ่ม สะสมทุนขยายกิจการเรื่อยๆ (ดังจะกลาวตอไป)

เศรษฐกิจชายแดนเชียงของภายใตบริบทการขยายตัวของรัฐหลังปพ.ศ. 2518 ตั้งแตป พ.ศ. 2518 ที่ประเทศลาวปดประเทศ เชียงของก็เปลี่ยนไปจากที่เคย เปนเมืองเงียบสงบ ก็กลายเปนเมืองที่คึกคักเต็มไปดวยบรรดาขาราชการ ทหาร ตํารวจ และ หนวยงานที่เกี่ยวของกับการเฝาระวังภัยคอมมิวนิสต จํานวนขาราชการก็เพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องจนถึงกลางทศวรรษ 2520 การคาขายในตัวอําเภอที่เคยคาขายกับลาวก็ เปลีย่ นมาเปนการคาขายและเปดรานอาหารเพือ่ ใหบริการแกขา ราชการมากหนาหลาย ตาที่มีเงินเดือนประจํา94 93 94

สัมภาษณ นายเสงี่ยม, 5 พฤษภาคม 2557 สัมภาษณ นายทัด, 15 สิงหาคม 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 243


แสงนวลขาราชการครูลกู ครึง่ จีนซึง่ เปนคนในพืน้ ทีแ่ ละมีโอกาสไดเรียนครูจน สําเร็จและรับราชการ ซึ่งเดิมครอบครัวมีอาชีพคาขายและทําเกษตรริมแมนํ้าโขง เห็น โอกาสทางธุรกิจซึง่ สังเกตจากจํานวนขาราชในพืน้ ทีท่ มี่ ากขึน้ เรือ่ ยๆ ตัง้ แตปพ .ศ. 2518 เปนตนมา เลยตัดสินใจเปดรานอาหารไทยที่ขายทั้งอาหารพื้นถิ่น อาหารปา และ ให บริการดนตรีภายในรานดวย เชน ดนตรีสด และ ตูเ พลงเปนตน การทีเ่ ธอเปนขาราชการ ในพื้นที่ทําใหเธอมีเครือขายขาราชการที่แวะเวียนมาเปนลูกคาประจําของรานอยางไม ขาดสาย เธอเริม่ สัง่ ซือ้ ปลาบึกจากชาวประมงพืน้ บานทีเ่ ปนทัง้ คนไทยและคนลาวทีห่ า ปลาบริเวณแมนํ้าโขงตั้งแต ปพ.ศ. 2526 ซึ่งชวงนั้นปลาบึกเริ่มไดรับความนิยมมากขึ้น เนือ่ งจากมีการเผยแพรขา วเกีย่ วกับปลาบึกเชียงของตามหนาหนังสือพิมพ ประกอบกับ ความสนใจที่หนวยงานเกี่ยวกับประมงนํ้าจืดเริ่มศึกษาวงจรชีวิตของปลาบึกในพื้นที่ เชียงของ ยิ่งเปนแรงผลักดันใหการเดินทางมาของนักทองเที่ยวนอกเหนือจากกลุม ขาราชการเดินทางมากินปลาบึกที่รานของแสงนวล ทําใหในป พ.ศ. 2530 เธอตองยาย รานไปติดริมแมนํ้าโขงใกลกับสถานที่จับปลาบึกของชาวบาน เพื่อใหลูกคามองเห็นวิธี การจับปลาบึกและวิถีการหาปลาดวยมอง และเพื่อขยายขนาดของราน95 ในชวงเวลา ดังกลาวคือชวงเวลาทีถ่ อื ไดวา เริม่ เปลีย่ นความหมายของพืน้ ทีเ่ ชียงของจากการเปนพืน้ ที่ ที่อาศัยเจาหนารัฐเปนฐานทางเศรษฐกิจ กลายเปนแหลงทองเที่ยวเพื่อประสบการณ แปลกใหมแกผูคน ประกอบในป พ.ศ. 2530 เปนปที่รัฐบาลประกาศใหเปนปแหงการ ทองเที่ยว ก็ยิ่งสงผลใหเชียงของมีรายไดจากการทองเที่ยวเปนแหลงรายที่นาดึงดูดใจ อีกแหลงหนึ่งนอกเหนือไปจากการเกษตรและประมงพื้นบาน การขยายตัวของภาคการทองเที่ยวในอําเภอเชียงตั้งแตกลางทศวรรษ 2520 – 2530 ไดดึงดูดใหผูประกอบการรายยอยในพื้นที่สนใจที่จะลงทุนทําธุรกิจบานพัก สําหรับนักทองเที่ยวโดยดัดแปลงตอเติมบานตัวเองใหเปนเกสตเฮาส (guest house) เชน ปลายหนึ่งอดีตลูกสาวเกษตรกรไรขาวโพด ยาสูบ และ สวนผักกาด ที่แตงงานกับ ขาราชการครูในพืน้ ที่ ไดผนั ตัวเองจากเกษตรกรมาเปนแมคา แคบหมูในตลาดตําบลเวียง

95

สัมภาษณ นางแสงนวล 4 พฤษภาคม 2557

244 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ไดเล็งเห็นโอกาสทางรายไดจากภาคการทองเที่ยวมาตลอดป พ.ศ. 2530 – 2535 ประกอบกับปญหาดานสุขภาพทําใหเธอและสามีดัดแปลงบานตนเองเปนเกสตเฮาส จํานวน 4 หองในป พ.ศ. 2536 ราคาคืนละ 200 บาท96 นอกจากคนในพื้นที่เองแลวที่เห็นโอกาสทางรายไดจากภาคการทองเที่ยว พืน้ ทีเ่ ชียงของยังดึงดูดผูป ระกอบการรายยอยนอกพืน้ ทีเ่ ขามาลงทุนเชาทีท่ าํ ธุรกิจเกสตเฮาส เชน กรณีของจุบ อดีตเด็กเฝาโตะสนุกเกอรยานมหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพฯ ซึ่ง จุบ เลาใหฟง วา เขาและภรรยาตระเวนดูทที่ างและความเปนไปไดทางธุรกิจเกสตมาหลาย แหง เชน แมสอด แมสาย ปาย และ เชียงแสน จนมาไดที่เชียงของเพราะประเมินดูแลว วามีโอกาสที่จะเติบโตกวาที่อื่นโดยเฉพาะธุรกิจเกสตเฮาส จึงเชาที่ดินติดแมนํ้าโขงกับ คนในพื้นที่ทําสัญญาเปนเวลา 10 ปจาก ปพ.ศ. 2535 – 2545 อัตราหองละ 300 บาท ตอคืน กระนั้นก็มีปญหาคือไมสามารถขึ้นราคาหองไดเนื่องจากชวงเวลาดังกลาวเริ่มมี เกสตเฮาสในพื้นที่มากขึ้นแลว และกลายเปนธุรกิจแขงขันสูงไป เนือ่ งจากเปนเกสตเฮาสไมไผทาํ ใหเปนทีด่ งึ ดูดใจลูกคาชาวตางชาติเปนอยาง มากประกอบกับการที่นักทองเที่ยวตางชาติตองการจะขามไปฝงลาวแตสวนใหญแลว ขามฝง ไปยังลาวไมทนั เนือ่ งจากสวนใหญโดยสารมากับรถเมล เชียงราย – เชียงของเทีย่ ว สุดทาย เมื่อมาถึงตัวอําเภอเชียงของดานหวยทรายก็ปดแลว นักทองเที่ยวเหลานี้ตอง พักในตัวเมืองเชียงของเปนอยางนอยหนึ่งคืน ดวยความจุบเปนคนงายๆ กันเอง ทําให มีการแลกเปลี่ยนวิธีการทําอาหารตางชาติโดยเฉพาะอาหาเม็กซิกัน (Mexican Food) ที่ลูกคามักจะรองขอใหจุบทําใหบอยๆ จึงเกิดเปนความชํานาญ ซึ่งหลังจากหมดสัญญา เชาที่ทําเกสตเฮาส จุบก็หันมาเชาหองแถวเปดรานอาหารเม็กซิกันแทน97 นอกจากเศรษฐกิจภาคการทองเที่ยวจะขยายตัวแลว ตั้งแต ปพ.ศ. 2532 เปนตนมาที่รัฐบาลไดมีนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา การติดตอคาขาย ระหวางคนไทย – ลาวก็เริ่มเปนทางการมากขึ้น การเดินเรือขามฝากจึงมีความสําคัญ เปนอยางยิ่งที่จะรองรับการติดตอคาขายที่เปนทางการนั้น ดังจะกลาวตอไปในหัวขอ เครือขายผูประกอบการเดินเรืองขามฟาก 96 97

อางแลว นางปลายหนึ่ง สัมภาษณ นายจุบ, 17 พฤษภาคม 2557

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 245


ภาคบริการดานการเดินเรือแมนํ้าโขง บริบทการคาระหวางชายแดนไทยลาวเทาที่มีการบันทึกไวตั้งแตชวง ป พ.ศ. 2531 – 2538 มีแนวโนมเฉลีย่ สูงขึน้ ซึง่ เปนบริบททีผ่ ปู ระกอบการในพืน้ ทีเ่ ริม่ เห็นโอกาส ที่จะลงทุนในภาคบริการเดินเรือขามฟากมากขึ้น (ดูรูปที่ 1) รูปที่ 1 การนําเขา – สงออก ระหวาง เชียงของ – หวยทราย ปพ.ศ. 2531 – 2538 (บาท)98

จากรูปที่ 1 จะเห็นไดวาแนวโนมเฉลี่ยของมูลคาการนําเขาสงออกระหวาง เชียงของ – หวยทรายในชวงปพ.ศ. 2531 – 2538 เปนในทิศทางที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับ ยังไมมสี ะพานขามแมนาํ้ โขงในพืน้ ที่ การเดินเรือขามแมนาํ้ ยอมมีความสําคัญเปนอยางยิง่ จากคําบอกเลาของเสงี่ยม เขาเลาวาทาเรือขามฟากจะอยูที่บานสบสม ซึ่งใน ป พ.ศ. 2529 ทาเรือสบสมยังเงียบการเดินเรือไมคอ ยคึกคักมากเทาไหร แตกม็ กี ารขนสง คาขายสินคาอุปโภคบริโภคที่นํามาจากตําบลสบตุยอําเภอเมืองจังหวัดลําปาง ซึ่งเปน แหลงกระจายสินคาที่สําคัญแหงหนึ่งของภาคเหนือตอนบน หลังจากที่มีการประกาศ เปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา ก็ไดมีการยายทาเรืองขามฟากจากบานสบสมมาตั้ง โปรดดู Walker, Andrew. “The Legend of the Golden Boat: Regulation, Trade and Trader in the Borderlands of Laos, Thailand, China and Burma”. University of Hawai. USA. 1999. หนา 71 98

246 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บริเวณวัดหลวง ทําใหเศรษฐกิจในตัวเมืองเชียงของเริม่ คึกคัก ทําใหทกุ วันศุกรจะมีตลาด นัดที่คนทั้งสองฟากฝงจะขามมาซื้อสินคาอุปโภคบริโภคกันโดยที่คนลาวสามารถหิ้ว สินคากลับไปฝงลาวได กอนทีจ่ ะมีการประกาศความรวมมือสีเ่ หลีย่ มเศรษฐกิจระหวาง จีน พมา ลาว และ ไทย ในปพ.ศ. 253699 ประมาณชวงป พ.ศ. 2534 – 2535 เศรษฐกิจฝงลาวเริ่มดี ขึ้น เริ่มมีการกอสรางบาน อาคารพาณิชยมากขึ้น เกิดความตองการวัสดุกอสราง ซึ่งใน ชวงเวลานั้นในอําเภอเชียงของมีรานขายวัสดุกอนสรางเพียงแค 2 รานเทานั้น ทําให เสงีย่ มเล็งเห็นโอกาสทีจ่ ะลงทุนในวัสดุกอ สราง เพือ่ รองรับความตองการจากในชวงแรก มีลูกคาลาวขามฟากมาซื้อของประมาณวันละ 4 – 5 ราย เปนหลายรายในเวลาตอมา ซึง่ รานเสงีย่ มบริการขายสินคาแบบเงินเชือ่ บนพืน้ ฐานของความไวเนือ้ เชือ่ ใจ และคาขาย ในลักษณะดังกลาวจนถึงชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ปพ.ศ. 2540 ทีไ่ มสามารถหมุนเงินทันการ เรียกเก็บจากบริษทั แมทอี่ ยูก รุงเทพฯ ทัน สงผลใหการคาแบบเงินเชือ่ ลดมูลคาลง ลูกคา ลาวที่เคยซื้อดวยเงินเชื่อก็มีจํานวนลดลงเชนกัน100 การคาที่คึกคักประกอบกับการแผขยายตัวของลัทธิวิธีคิดแบบเสรีนิยมใหม ทําใหเชียงของกลายเมืองหนาดานสําคัญในการสงออกนําเขาทั้งของลาวและไทย ซึ่ง ความสําคัญจุดนีเ้ ปนทีส่ นใจของกลุม ทุนทีเ่ กีย่ วของกับหอการคาจังหวัดทีจ่ ะใชประโยชน จากพื้นที่เพื่อผลักดันนโยบายสงเสริมการคาชายแดนตางๆ มาตั้งแตปลายทศวรรษ 2520101 ซึง่ อาจรวมถึงเปนแรงผลักดันใหเกิดแนวคิดเปลีย่ นสนามรบเปนสนามการคาก็ เปนได เพราะนักการเมืองในชวงเวลาดังกลาวหลายคนมีพนื้ เพมาจากครอบครัวนักธุรกิจ ใหญ (ซึ่งไมขอเนนในตัวงานชิ้นนี้) นอกจากนั้นแลวยังมีคําบอกเลาของไทรที่ยอนอธิบายถึงปพ.ศ. 2532 ที่ไดมี การประกาศเปลี่ยนพื้นที่สนามรบเปนสนามการคา เริ่มมีนายทุนเขามาซื้อที่ ทําใหชาว สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจประกอบดวย ไทย จีน เมียนมาร และ ลาว [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http:// pun2013.bth.cc/webboard/topic-view-327147 (เขาสูระบบวันที่ 16/09/2557) 100 อางแลว นายเสงี่ยม 101 โปรดดู Laothamatas, Anek. Business and Politics in Thailand: New Patterns of Influence. “Asian Survey”. Vol. 28, No. 4 (Apr. 1988), pp. 451 – 470. ประกอบ 99

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 247


บานไมมีพื้นที่ทํากิน หลายคนเปลี่ยนอาชีพจากเกษตรกรมาเปนกรรมกร เนื่องจากวา ไทรเปนคนในพืน้ ทีถ่ งึ แมวา จะเคยออกไปทํางานนอกพืน้ ทีอ่ าํ เภอเชียงของมาชวงระยะ เวลาหนึง่ แตเขาก็คนุ เคยกับการใชเรือหาปลาตามฝง แมนาํ้ โขง และคุน เคยกับเครือขาย อุตสาหกรรมตอเรือทั้งในพื้นที่และกรุงเทพฯ แตเขาเลือกที่จะซื้อเรือจากอูกรุงเทพฯ เพื่อเริ่มกิจการเดินเรือบริการขามแมนํ้าโขง โดยเริ่มแรกเขาซื้อเรือจํานวน 5 ลํา ลําละ 3 หมื่น นับวาเปนรายแรกๆ ในการเริ่มใหบริการเดินเรือขนาดเล็กขามแมนํ้า ไทรยังเลาวาหลังจาก ป พ.ศ. 2532 เปนตนมาจํานวนเจาของเรือขามฟากก็ เริม่ เพิม่ จํานวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ มากทีส่ ดุ ถึง 72 ลํา โดยมีผใู หบริการหรือเจาของเรือจํานวน 40 คน นักทองเที่ยวสวนใหญที่ใชบริการตั้งแตชวงป พ.ศ. 2532 – 2536 จะเปนนัก ทองเที่ยวชาวไทยที่ขามไปเที่ยวแขวงบอแกว และหลังจากนั้นนักทองเที่ยวตางชาติก็ เริ่มเพิ่มจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ ในชวงทศวรรษ 2540 ภายในกลุมผูประกอบการเรือ ตองการที่จะจัดระเบียบคิวเดินเรือ และจํากัดจํานวนเรือใหอยูที่ 72 ลําจึงมีการจัดตั้ง ชมรมทาเรือบั๊คขึ้น102 ซึ่งการตั้งชมรมดังกลาวถือวาเปนจุดเริ่มตนที่คนในพื้นที่ตองการ จะควบคุมตลาดเพื่อไมใหเปนตลาดแขงขันจนเกินไป นอกจากนั้นแลวไทรยังลงทุนขยายธุรกิจในดานของคิวรถจักรยานยนตที่วิ่ง ระหวางตัวอําเภอไปยังทาเรือบั๊คเพื่อรองรับนักทองเที่ยว ไทย ลาว และ นักทองเที่ยว ตางชาติอนื่ ๆ ไทรเล็งเห็นถึงความยุง ยากในการทําหนังสือผานแดน จึงริเริม่ ระบบรับจาง ทําหนังสือผานแดนใหกับนักทองเที่ยวซึ่งมีรายไดดีพอสมควร103 ถือวาเปนการขยาย ธุรกิจอันเปนผลมาจากการเปดพรมแดนแบบหนึ่ง

102 103

อางแลว นายไทร อางแลว นายไทร

248 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


รูปที่ 2 การขนสงสินคาและบริการขามฟากทาเรือบั๊ค104

เมื่อพูดถึงดานการขามแมนํ้าโขงดวยเรือแพขนานยนต หรือ เรือบั๊ค ไทรเลา วามีการใชบริการมากที่สุดในชวง 5 ปที่ผานมา (ชวงป พ.ศ. 2551 – 2556 กอนสะพาน มิตรภาพไทย – ลาวแหงที่4 จะเปดใหบริการ) ซึ่งชื่อของเรือบั๊ค อาจมาจากชวงที่ สหรัฐอเมริกาในชวงสงครามเย็นมาสรางฐานทัพทีบ่ า นหัวเวียง เลยไดสรางทาเรือบัค๊ ขึน้ มาเพื่อขนสงยุทธปจจัยในชวงดังกลาว แตตอมาเรือดังกลาวก็ไดสัมปทานโดยนักลงทุน ถายเมื่อตนป พ.ศ. 2556 โดย ณัฐกร วิทิตานนท อาจารยประจําสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง

104

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 249


ชาวไทย105 (แตชาวบานบางคนก็เลาวาชื่อของทาเรือบั๊คมาจากการที่ทาเรือมีลักษณะ เปนขัน้ ๆ ลาดลงไปจนถึงแมนาํ้ ซึง่ คําวาขัน้ ตรงกับภาษาเหนือทีค่ าํ วา บัก๋ แลวอาจเพีย้ น มาเปน บั๊ค ก็เปนไปได) ธุรกิจการเดินเรือในแมนํ้าโขงนอกจากกิจกรรมขามฟากแมนํ้าแลวยังมี กิจกรรมเรือลองแมนาํ้ เพือ่ การทองเทีย่ วจากหวยทรายไปหลวงพระบาง เชน ปลายหนึง่ นักธุรกิจเกสตเฮาสรายยอยที่ไดเริ่มธุรกิจเกสตเฮาสตั้งแตป พ.ศ. 2536 เปนตนมา และ พอจะมีเครือขายคนในภาคธุรกิจเดียวกันทั้งฝงไทยและฝงหวยทราย ประมาณป พ.ศ. 2542 เธอก็ไดเริ่มธุรกิจขายตั๋วเรือใหนักทองเที่ยวที่เขาพักเกสตเฮาสของเธอที่ตองการ เดินทางไปหลวงพระบาง แตการขายตั๋วดังกลาวจะตองกระทําในนามของชมรมทอง เที่ยว ซึ่งเปนชมรมที่รวมกันระหวางฝงเชียงของและหวยทราย และเธอทําหนาที่เปน เลขาชมรม เมื่อเวลาผานไปรายไดจากการขายตั๋วเริ่มสูงขึ้น จึงเปนการเปดโอกาสให สมาชิกชมรมบางคนแอบขายตั๋วเองโดยไมนําเงินสงเขาชมรมสงผลชมรมเกิดการแตก ตัวและไมเปนกลุมกอนจนสุดทายตองปดตัวลง106 การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะภาคการท อ งเที่ ย วได เ ปลี่ ย นพื้ น ที่ เชียงของไปจากเมืองชายแดนธรรมดา กลายเปนเมืองแหงการติดตอกับประเทศเพื่อน บาน เกิดภาคการบริการที่สอดรับกับการขยายตัวของทั้งการทองเที่ยวและการคานํา เขาสงออก ตลอดระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2532 – 2556 แตอยางไรก็ตามภายในความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนเชียงของจากหนามือใหกลายเปนหลังมือนั้น ยังมี ความเปลี่ยนแปลงอีกดานหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงควบคูไปดวยกัน คือ ความเปลี่ยนแปลง ดานการเมืองในทองถิ่น ซึ่งรวมถึงการเคลื่อนไหวจากภาคประชาสังคมที่ตองจะเปนผู รวมกําหนดแผนการพัฒนาไปพรอมกับนโยบายของรัฐทีม่ ตี อ พืน้ ทีเ่ ชียงของ และตัวแสดง ที่สําคัญของการเมืองทองถิ่นก็มาจากคนในภาคเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนตัวเองมาตลอด ชวงเวลา 2 ทศวรรษ ดังจะอธิบายในหัวขอตอไป

105 106

อางแลว นายไทร อางแลว นางปลายหนึ่ง

250 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองทองถิ่นของ พื้นที่ชายแดนเชียงของ การเมืองภาคประชาสังคม ตั้งแตป พ.ศ. 2518 ที่ประเทศลาวปดประเทศ ภาครัฐของไทยไดทุมเท ทรัพยากรอยางมากมายเพื่อปองกันภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสต เชน การสง ขาราชการฝายความมั่นคงเขามายังพื้นที่เพื่อเฝาระวัง ทําใหจํานวนขาราชการในพื้นที่ เพิม่ ขึน้ จนสงผลใหเกิดการขยายตัวดานการบริการโดยเฉพาะรานอาหารทีม่ าพรอมกับ ดนตรีสดและตูเ พลงดังทีไ่ ดอธิบายไปแลวดังกรณีของแสงนวลทีผ่ นั ตัวเองจากขาราชการ ครู มาทําธุรกิจเปดรานอาหารตั้งแต ปพ.ศ. 2525 และ เริ่มขายอาหารที่นําปลาบึกมา เปนวัตถุดบิ หลักประกอบกับมีการทําขาวหนังสือพิมพเปนแรงสงใหชอื่ เสียงของเชียงของ กับการจับปลาบึกเผยแพรไปทั่วประเทศ แรงสงจากนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวจาก ภาครัฐใน ป พ.ศ. 2530 ก็เปนอีกดานหนึ่งที่ทําใหการทองเที่ยวเชียงของขยายตัว กลุมหอการคาจังหวัดเริ่มมีสวนสําคัญในการผลักดันใหรัฐบาลเปลี่ยนแปลง พื้นที่ชายแดนเชียงของใหกลายเปนพื้นที่สําคัญดานการคา จนสงผลใหการคาชายแดน ที่เริ่มเพิ่มมูลคาขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต ปพ.ศ. 2531 – 2538 ก็เปนแรงดึงดูดใหทุนนอกพื้นที่ ขยายตัวเขามาลงทุนเพื่อแสวงหาความมั่งคั่งในตัวอําเภอเชียงของ107 การทองเที่ยวที่ ขยายตัวจนปรับเปลี่ยนโฉมหนาของเชียงของไป ทําใหคนเชียงของในพื้นที่กลุมหนึ่งมี ความรูถ งึ กระแสความเปลีย่ นดังกลาววาอาจจะทําใหอาํ นาจในการกําหนดชะกรรมหลุด ออกจากมือของทองถิ่นไป จึงทําใหเกิดการปรากฏตัวขึ้นของกลุมภาคประชาสังคม เชียงของทีพ่ ยายามจะนิยามทิศทางการพัฒนาทีอ่ งิ กับความเปนทองถิน่ และการอนุรกั ษ ทรัพยากรในลุมแมนํ้าโขง108 ทัดเลาวา การเคลื่อนไหวเพื่อการอนุรักษเกิดขึ้นในชวงตนๆ ของทศวรรษ 2540 เปนตนมาโดยมีกจิ กรรมเล็กๆ เกีย่ วกับการอนุรกั ษพนั ธุป ลาในแมนาํ้ โขงทีถ่ กู ทําให กลายเปนสินคาอยางยอดนิยมโดยเฉพาะปลาบึกที่มีลักษณะเฉพาะในการสืบพันธุและ มีจํานวนนอยมากแตนักทองเที่ยวนิยมบริโภคกันมาก บางคนถึงขั้นมาเชียงของเพื่อรับ 107 108

อางแลว นายไทร อางแลว นายทัด

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 251


ประทานปลาบึกโดยเฉพาะ นอกจากนั้นแลวกลุมของทัดยังเคลื่อนไหวในเรื่องของสิทธิ ของชาติพันธุ พลเมืองชายขอบ และ ปญหาคนไรรัฐ กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรอันเปนผลมาจาก การรุกคืบของทุน ก็มีเกี่ยวของกับการบวชนํ้า ซึ่งตองใชความเชื่อทางศาสนาและ พิธีกรรมมาเปนเครื่องมือในการอนุรักษ ใหชาวบานตระหนัก รักษาแหลงนํ้า เพื่อ พยายามแสดงใหรัฐมองเห็นวา นี่คือของ “หนาหมู” ก็เปนแนวทางหนึ่งที่กอใหเกิด ประโยชนแกชาวบานในทองถิ่น109 ความตองการจะพลิกฟน วิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของชาวบานเพือ่ เปนแรงชะลอใหการ พัฒนาแบบสมัยใหมไมสามารถพรากทรัพยากรในทองถิ่นไปหมดจนไมเหลือรากเหงา ของเชียงของ อีกทางหนึ่งก็คือความพยายามในการอนุรักษผาทอของกลุมแมบาน ซึ่ง สวนใหญจะเปนการรวมตัวของกลุม ผูส งู อายุทพี่ อจะมีทกั ษะในการตัดเย็บผาพืน้ เมืองที่ ดํารงสายสัมพันธระหวางคนสองฝงโขง ในกิจกรรมนี้ประธานกลุมอยางนางทองสุข ได เลาใหฟงวาปจจุบันผาทอลายพื้นเมืองที่บงบอกถึงอัตลักษณของคนไทย – ลาว ไดถูก ลอกเลียนแบบจากอุตสาหกรรมผาทอจากประเทศจีนทีม่ ลี กั ษณะงานคลายคลึงกัน เนือ้ ผาจะไมทนหากแตมีราคาถูก นักทองเที่ยวที่มาจากที่อื่นไมรูก็จะหลงซื้อไปได ซึ่งบาง ครั้งก็ทําใหสินคาจากเชียงของเสียชื่อ นอกจากการฟน ผาทอพืน้ เมืองแลวนางทองสุขยังนิยมแตงกายเพือ่ สะทอนตัว ตนทีบ่ ง บอกถึงความเปนทองถิน่ อยูต ลอดเวลา อีกทัง้ ยังเคยเขารวมเคลือ่ นไหวกับเครือ ขายอนุรักษแมนํ้าโขงของนายทัด เชนการรวมจัดทําหนังสืออนุรักษพันธุปลาแมนํ้าโขง และ รวมเคลื่อนไหวตอตานการระเบิดแกงกลางแมนํ้าโขงในชวงป พ.ศ.2553110 การ ดํารงตําแหนงประธานกลุมแมบานถือวาเปนตําแหนงทางการเมืองอยางหนึ่งที่พอจะมี พลังในการเคลื่อนไหวอยูบาง การเคลือ่ นไหวของภาคประชาสังคมยังมีความนาสนใจอีกอยางหนึง่ คือพวก เขาเริ่มที่จะเขียนประวัติศาสตรทองถิ่นที่เชื่อมโยงพื้นที่เชียงของเขากับประวัติศาสตร กระแสหลัก เพื่อใหทองถิ่นไดมีตัวตนในประวัติศาสตร เปนจุดแข็งอีกดานหนึ่งเพื่อการ ตอรองพืน้ ทีข่ องการกําหนดแผนยุทธศาสตรเพือ่ การพัฒนา ดังจะอธิบายตอไปขางหนา 109 110

อางแลว นายทัด อางแลว นางทองสุข

252 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


การเมืองเรื่องการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ในกรณีศึกษาของอําเภอเชียงมีความจําเปนอยางยิ่งในการพิจารณาองค ปกครองสวนทองถิ่นในระดับตําบลที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่การคาชายแดนและการทอง เที่ยวบริเวณแมนํ้าโขง คือ เทศบาลตําบลเวียงเชียงของที่ไดรับการยกฐานะจาก สุขาภิบาลเวียงเชียงของเปนเทศบาลตําบลเวียงเชียงของ เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม ปพ.ศ. 2542 และ เทศบาลตําบลเวียงที่ไดรับการยกฐานะจาก อบต.เวียง เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ปพ.ศ. 2551111 การกระจายอํานาจสูท อ งถิน่ ดวยการเปดโอกาสใหประชาชนในพืน้ ทีส่ ามารถ เลือกสมาชิกสภาฝายนิตบิ ญ ั ญัตแิ ละฝายบริหารได ถือวาเปนการเปดโอกาสใหเกิดความ เปลีย่ นแปลงทีจ่ ะถูกกําหนดโดยคนในทองถิน่ เอง ซึง่ ความเปลีย่ นแปลงดังกลาวเปนดาน หนึ่งที่สะทอนใหเห็นการตอรองพื้นที่ทางการเมืองของคนที่มีสวนรวมในเศรษฐกิจภาค ตางๆ อยางไรก็ตามเราไมอาจจะละเลยไมพจิ ารณาผูน าํ ฝายปกครองเดิมอยางเชน ผูใ หญ บานกํานันได เพราะพวกเขาตางก็มีสวนในการใชตําแหนงทางการเมืองเปนหนึ่งในวิธี การกํากับและตอรองผลประโยชนทางเศรษฐกิจใหแกภาคธุรกิจทีพ่ วกเขาเกีย่ วของดวย เชนกัน ยกตัวอยางเชน ในปพ.ศ. 2547 นายไทร ที่ใหบริการเรือขามฟากมาตั้งแต ปพ.ศ. 2532 และเปนประธานชมรมทาเรือบั๊คที่มีเรือสมาชิก 72 ลํา และคิวรถมอเตอร ไซดรบั จาง ไดลงสมัครรับเลือกตัง้ ตําแหนงผูใ หญบา นแหงหนึง่ บริเวณทาเรือบัค๊ และเขา ไดรบั ชัยชนะดํารงวาระผูใ หญบา น 5 ป ถึงแมเขาจะยืนยันเสมอวาทีเ่ ขาไดรบั เลือกเพราะ ชาวบานขอใหลงสมัคร เขาไมตอ งการจะเปนรับตําแหนงใดๆ ทัง้ นัน้ 112 แตทเี่ ปนเชนนัน้ ก็เปนเพราะวาเขาเปนตัวแทนของกลุม คนในพืน้ ทีท่ มี่ อี าชีพเกีย่ วของกับการเดินเรือขาม แมนํ้าโขงซึ่งก็เกี่ยวโยงกับชีวิตคนหลายครอบครัว จึงไมใชเรื่องนาแปลกในหากกลุมที่ เกี่ยวของกับธุรกิจเดินเรือจะเลือกตัวแทนของตัวเองที่เปนประธานชมรมทาเรือบั๊คอยู แลวใหมีตําแหนงทางการเมืองที่เปนทางการไวคอยตอรองกับรัฐฝายตางๆ ณัฐกร วิทิตานนท. “ความพรอมของภาครัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดบริการ สาธารณะเพื่อรองรับการทองเที่ยวในเขตอําเภอชายแดนกรณีศึกษาอําเภอเชียงของและอําเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย”. แผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.). 2556 112 อางแลว นายไทร 111

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 253


ความสําคัญของผูใ หญไทรเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งเพราะหลังจากทีก่ าํ นันคนเกา ของตําบลเวียงหมดวาระลงเขาก็ไดถกู เสนอชือ่ ใหเปนกํานันคนใหม ก็ยงิ่ แสดงใหเห็นวา ผูป ระกอบการธุรกิจเรือขามฟากตองการอาศัยอํานาจทางการเมืองทีเ่ ปนทางการไวคอย ตอรองผลประโยชนของกลุม ในอีกดานหนึ่งหลังจากที่มีการยกระดับเขตปกครองสวนทองถิ่นระดับตําบล ใหกลายเปนเทศบาลตําบลแลว จุดเปลีย่ นสําคัญของตําบลเวียงเชียงของอยูท ชี่ ว งป พ.ศ. 2551 ทีเ่ ริม่ มีนกั ธุรกิจดานการบริการการทองเทีย่ วรายยอยไดรบั เลือกเปนสมาชิกสภา เทศบาลตําบลหรือฝายนิติบัญญัติดวยคะแนนประมาณ 300 กวาคะแนน113 คือ นาง ปลายหนึ่งที่เริ่มทําเกสตเฮาสตั้งแตป พ.ศ. 2536 ประกอบกับการขายตั๋วเรือหวยทราย – หลวงพระบาง ผานชมรมการทองเที่ยวที่ไดกลาวอธิบายไปแลว เชนเดียวกันกับการ เลือกตัง้ ทีเ่ ขตสองทีน่ างแสงนวลเจาของรานอาหารดังในเชียงของทีเ่ ริม่ ทําธุรกิจมาตัง้ แต ปพ.ศ. 2525 ดังทีไ่ ดอธิบายไปแลว ไดรบั เลือกตัง้ ใหเปนสมาชิกสภาเทศบาลดวยคะแนน ประมาณ 200 กวาคะแนน หลังจากหมดวาระแรกแลวพวกเธอทั้งสองยังไดรับเลือกอีก ครั้งเปนสมัยที่สอง114 การไดรบั เลือกตัง้ ของคนทีเ่ กีย่ วของกับภาคธุรกิจการทองเทีย่ วสะทอนใหเห็น วาภาคธุรกิจดังกลาวมีสว นสําคัญและเปนหนึง่ แหลงรายไดหลักของพืน้ ทีท่ อี่ าจเปนแหลง รายไดของหลายรอยครอบครัว ซึ่งตองการพื้นที่ทางการเมืองเพื่อจะไดรับอํานาจอยาง เปนทางการไวตอรองปกปองผลประโยชนเชนเดียวกับที่ภาคธุรกิจอื่นๆ ทํา แนวคิดทางการเมืองของฝายการเมืองที่จากภาคธุรกิจการทองเที่ยวมีความ แตกตางกับแนวคิดทางการเมืองของภาคประชาสังคม คือ จะเนนไปที่การสงเสริมการ ทองเทีย่ วโดยใช “ธุรกิจเปนฐานในการขับเคลือ่ นความยัง่ ยืน” ยกตัวอยาง นางแสงนวล เสนอแนวคิดวา การจะทําใหนักทองเที่ยวมาเที่ยวเชียงของก็ตองนําความเปนเชียงมา ทําเปนธุรกิจดวย เชนการทําใหวิถีชีวิตการจับปลาบึกทําใหเปนการแสดงโชว การไหล มองจับปลาบึก แตทุกวันนี้ NGOs ไมใหจับ ปลาบึกธรรมชาติที่จับไดจริงๆ อยูที่ ปละ ประมาณ 2 ตัว เพราะปลาบึกที่ขายกันอยูทั่วไปทุกวันนี้นําเขามาจากพะเยาเปนปลา 113 114

อางแลว นางปลายหนึ่ง เปนตัวเลขจากความทรงจําซึ่งอาจคลาดเคลื่อนได อางแลว นางแสงนวล เปนตัวเลขจากความทรงจําซึ่งอาจคลาดเคลื่อนได

254 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


บึกเลี้ยง หากมีการอนุญาตใหจับปลาบึกธรรมชาติมากกวานี้ก็จะทําใหคนก็จะมาเที่ยว เยอะ รายไดของคนในพืน้ ทีก่ จ็ ะมากขึน้ วิถชี วี ติ ก็จะยังคงอยูเ พือ่ สอดรับกับการทองเทีย่ ว ชาวบานก็มีอาชีพ ปลาบึกก็ไมสูญพันธุเพราะมีแหลงเลี้ยงอยูแลวที่พะเยา115 เปนตน ถึงแมวา ทางฝายนักการเมืองทองถิน่ และภาคประชาสังคมจะมีวธิ เี กีย่ วกับการ พัฒนาที่แตกตางกัน แตอยางไรก็ตามถือไดวาพวกมีความหวังดีตอทองถิ่น ตองการจะ ผลักดันใหทองถิ่นเปนไปในทิศทางที่คนในทองถิ่นเองเปนผูกําหนด ความคิดที่แตกตาง กันถือวาเปนเรื่องปกติธรรมดาของโลกเสรีประชาธิปไตย ตางกันกับนักธุรกิจทองถิน่ ทีเ่ ติบโตในดานการคาชายแดนอยางเชนนายเสงีย่ ม ที่ผูกพันกับทุนจากกรุงเทพฯ ที่เคยทําธุรกิจวัสดุกอสรางรวมกันตั้งแตกอนปพ.ศ.2540 และนอกจากนัน้ ยังใกลชดิ กับกลุม หอการคาจังหวัดและอําเภอหลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ปพ.ศ. 2540 ทําใหเขาสังกัดกลุมการเมือง116 ซึ่งเปนกลุมการเมืองอีกลักษณะหนึ่งซึ่ง คอนขางจะเกีย่ วของกับการผลักดันนโยบายจากสวนกลางและมีผลตอการเปลีย่ นแปลง พื้นที่ชายแดนอําเภอเชียงของมาตั้งแตกอนป พ.ศ. 2532 อยางไรก็ตามถึงแมวา ในอําเภอเชียงของจะมีกลุม การเมืองทีค่ วามแตกตางกัน ในสถานะภาพและแนวคิดทางการเมือง แตก็ไมถึงขั้นกับขัดแยงกันรุนแรง บาง สถานการณกม็ กี ารรวมมือกันเพือ่ ผลักดันใหเชียงของมีแผนพัฒนาทีจ่ ดั สรรผลประโยชน ใหตกอยูใ นทองถิน่ และไมขดั แยงกับผลประโยชนของชาติ รวมถึงผลกระทบจากการเปด สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่4 ดังจะอธิบายตอไปในหัวขอหนา

อางแลว แสงนวล ในบริบทนี้ขอพิจารณากลุมหอการคาจังหวัดและอําเภอเปนกลุมการเมืองหนึ่งที่มีผลตอการผลัก ดันนโยบายเศรษฐกิจระดับอนุภูมิภาคตามงานของ Laothamatas, Anek. 115

116

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 255


ประวัติศาสตรทองถิ่นเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชายแดนและผลกระ ทบของการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 จากทีไ่ ดอธิบายมาในหัวขอกอนหนานีไ้ มวา จะเปนดานความเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจของผูคนอําเภอเชียงของซึ่งความเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลตอโฉมหนา การเมืองทองถิ่นที่มีนักการเมืองมาจากภาคธุรกิจที่เกี่ยวของกับความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ หรือ ในภาคประสังคมที่ตองใหพื้นที่ชายแดนเชียงของพัฒนาไปบนทิศทางที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และ ประวัติศาสตร หรือ แมแตกลุมหอการคาเอง ที่มีบทบาทในดานการผลักดันนโยบายแกภาครัฐใหเปลี่ยนแปลงพื้นที่เชียงของตั้งแต ปพ.ศ. 2532 เปนตนมา จะเห็นไดวาความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ (ดูรูปที่ 3 ประกอบ) อันสงผล ตอการเมืองสวนใหญเปนผลมาจากการขยับตัวของรัฐทีต่ อ งการกําหนดใหพนื้ ทีช่ ายแดน เปนเชนใด เชน การทุมเททรัพยากรทางราชการลงไปในพื้นที่จนทําใหเกิดภาคบริการ ขึ้นมาในพื้นที่ การเปดดานพรมแดนเพื่อการติดตอคาขายและทองเที่ยว รวมถึงความ รวมมือในระดับอนุภูมิภาคอยางสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2536 หรือแมแตการกระ จายอํานาจสูทองถิ่นหลังปพ.ศ. 2539 ลวนแลวแตสงผลตอความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ ทั้งสิ้น รูปที่ 3 มูลคาการนําเขาและสงออกสินคาที่ดานเชียงของป พ.ศ. 2551 – 2555 (กอนเปดสะพาน)117

สุเมธ พฤกษฤดี. “ความทาทายในการบริหารจัดการพื้นที่เชียงอขง”. [ระบบออนไลน] แหลงที่มา www.obles-mfu.com (เขาสูระบบวันที่ 17 กันยายน 2557)

117

256 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


ดูราวกับวาทองถิ่นของเมืองชายแดนเชียงของเองจะเปนแคเพียงฝายตั้งรับ และยอมรับปรับตัวความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาครัฐดังกลาว จนบางจังหวะกาว แหงความเปลีย่ นนัน้ ๆ กลับทําใหพวกเขารูส กึ วาความมีตวั ตนของทองถิน่ ไดหายไปและ ไรศักยภาพใดๆ ที่จะเปนผูกําหนดการพัฒนาดวยตนเอง การปรากฏตั ว ขึ้ น ของแผนยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาเมื อ งเชี ย งของอย า งมี ดุลยภาพและยัง่ ยืนภายใตชอื่ “เชียงของ: หนึง่ เมืองสองแบบ” เชือ่ ไดวา เปนปรากฏการณ ยอดสุดที่เกิดขึ้นจากประสบการณของผูคนในอําเภอเชียงของที่ประสบกับความ เปลี่ยนแปลงมาตลอดอยางนอย 2 ทศวรรษที่ผานมา พวกเขาอาจมองเห็นวาเทาที่ผาน มาพวกเขาไมไดกําหนดใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในสิ่งใดเลย แมแตการสรางสะพาน ขามแมนํ้าโขงแหงที่ 4 การเขียนประวัตศิ าสตรของพืน้ ทีท่ พี่ ยายามยกระดับความสําคัญของทองถิน่ ในยุคตางๆ เปนการปูทางเพื่อสรางความชอบธรรมในการกําหนดแผนพัฒนาที่ขึ้นมา จากทองถิ่นเอง นับวาเปนวิธีการตอรองทางการแบบหนึ่งซึ่งมีพลังทางสังคมที่ภาครัฐ เองอาจตองรับฟง เชน การยกความสําคัญของเมืองเชียงของในยุคตางๆ แบงออกเปน 6 ยุคหลักๆ 1. ยุคลาวจกราชทีเ่ มืองเชียงของมีความสําคัญดานการเปนเมืองแหงเสบียง คลัง 2. ยุคลานนาเชียงของมีความสําคัญดานการปกครองและการคา 3. ยุคเจาเชียงของ กลายเปนเมืองชายแดนและเปนเมืองกันชนใหสยามกับฝรัง่ เศส 4. ยุคสงครามโลก เปน เมืองทาการคาสําคัญในลํานํา้ โขงระหวางเชียงแสนกับหลวงพระบาง 5. ยุคสงครามเย็น เปนเมืองเสบียงใหกับลาวในชวงปดประเทศ และ เปนพื้นที่กันชนระหวางลัทธิ คอมมิวนิสตกับประชาธิปไตย และ 6. ยุคสงครามการคา เปนจุดเชื่อมแหงการขนสง ไทย-ลาว-จีน และประชาคมอาเซียน แหลงทรัพยากรเพื่อการผลิตกระแสไฟฟาใน ลํานํ้าโขง118 เปนตน เมื่อแสดงใหเห็นวาเชียงของมีความสําคัญอยางไรในแตละยุค รวมถึงมีความ เปนอัตลักษณของตนเองอยางชัดเจน แตในอีกทางหนึ่งก็ไมอาจปฏิเสธหลีกหนีความ เปนสมัยใหมของระบบเศรษฐกิจโลกในเวลาเดียวกัน การตอรองเพื่อใหเกิดการจัดเขต ระหวางเมืองเกาและเมืองใหมใหชดั เจนจึงเปนการตอรองทีก่ ลุม การเมืองตางๆ ในพืน้ ที่ 118

ดู “หนึ่งเมืองสองแบบ” ยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองเชียงของอยางมีดุลยภาพและยั่งยืน. 2556

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 257


ยอมรับได เชน เมืองเกาที่สัมพันธกับการทองเที่ยวและวิถีชีวิต การขายวัฒนธรรมก็ได รับการสนับสนุนจากกลุม การเมืองภาคประชาสังคมและนักการเมืองทองถิน่ ทีม่ ฐี านเสียง อยูใ นภาคการทองเทีย่ ว สวนเขตของเมืองใหมทสี่ มั พันธกบั การขนสงในระบบโลจิสติกส ขนาดใหญก็จะไดรับการสนับสนุนจากฝายหอการคาเปนหลัก ยุทธศาสตรการพัฒนา “หนึง่ เมืองสองแบบ” จึงเปรียบเสมือนหลักฐานสัญญา ที่จะตองถูกนับรวมอยูในแผนการพัฒนาอยางไมอาจปฏิเสธได เปนการขีดเขตปกหมุด หมายเพื่อไมใหการพัฒนาจากรัฐเปนสิ่งที่พรากทรัพยากรทองถิ่นไปจากคนเชียงของ โดยที่คนเชียงของไมสามารถเก็บอะไรไวไดเลย อยางไรก็ตามถึงแมวา กระบวนการรางแผนยุทธศาสตรดงั กลาวกอนจะตีพมิ พ เปนหนังสือในเดือนพฤศจิกายน ปพ.ศ. 2556 จะมีการพูดคุยหารือกันในหลายภาคสวน มากอนแลว ก็ไมอาจลวงรูถึงผลกระทบของการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 ได ในวันที่ 11 ธันวาคม ป พ.ศ. 2556 บนฐานคิดที่วาสะพานจะนํามาซึ่งการเชื่อมตอ ทางการคาและการทองเทีย่ วกอใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจมหาศาลรวมถึงมูลคาดังกลาว จะไหลรินไปสูชุมชนเชียงของอยางทั่วถึง เชนการคาดการณจากพาดหัวขาวออนไลน ของ The Nation หลังวันเปดสะพานอยางเปนทางการไดหนึง่ วา สะพานมิตรภาพไทยลาวแหงที่ 4 ดวยทุนสรางมหาศาลจะนํามาสูการคาการลงทุน และ การทองเที่ยว บน การเชื่อมตอของเสนทาง R3A และจากการสัมภาษณนักธุรกิจที่เกี่ยวของไดพูดถึงการ ลงทุนในทีด่ นิ ในอําเภอเชียงของของกลุม ทุนใหญ119 ซึง่ แสดงใหเห็นวาเชียงของกําลังจะ เติบโตในดานการลงทุน

“New Thai-Lao Friendship Bridge across the Mekong”. [online] source http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2013/08/21/new-thai-lao-friendship-bridge-across-themekong/ (access on 17/09/2014)

119

258 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


แตหลังจากนั้นไมนานสํานักขาวไทยรัฐก็พาดหัวขาวรายงานวา “โอด เปด สะพานมิตรภาพ 4 กระทบการคา’เชียงของ’” ที่รายงานวา ทางการลาวไดยายดานตรวจคนเขาเมืองถาวร ไปที่ สะพานขามแมนาํ้ โขงเพียงแหงเดียวอยางกะทันหัน โดยแจงวาขาด บุคลากร และระบบคอมพิวเตอร ทําใหผูประกอบการ ผูใหบริการ บริเวณทาเรือบั๊ค รานคาในตลาดเมืองเกา และการคาฝงทาเรือ ตลาดหวยทราย ฝงลาว ไดรับผลกระทบยอดขายลดลงทันทีกวา 70% โดยเฉพาะกลุมนักทองเที่ยวที่ใชรถจักรยานยนตตองเปลี่ยน เสนทางไปเที่ยวที่อื่น ทําใหขาดรายได รานคาตลาดเงียบเหงา สง ผลกระทบตอเศรษฐกิจในชุมชน120 นอกจากรายงานขาวทั่วไปของสํานักขาวไทยรัฐแลว การลงพื้นที่สอบถามผู ประกอบการรานอาหารและธุรกิจเกสตเฮาสในพืน้ ทีเ่ ชียงของเมืองเกาก็ไดรบั กระทบใน ระดับเชิงลึกเชนกัน ยกตัวอยางคําบอกเลาของนางแจมจิตผูประกอบการรานอาหาร ตามสั่งในตัวเชียงของเมืองเกาที่เปดขายมาตั้งแตชวงปลายทศวรรษ 2530 วา “ลูกคาชาวตางชาติเริ่มมีมากขึ้นในชวงปลายทศวรรษ 2530 เปนตนมา ทําใหมรี ายไดตอ วันประมาณวันละ 7,000 – 8,000 บาท บางวันมีเวลานอนเพียงแค 1 – 2 ชัว่ โมงเพราะตองรีบไปตลาด และเปดรานในเวลา 8.00 น. อาหารในรานก็มีหลากหลายเชน อาหารไทยทัว่ ไป และ อาหารปา เมือ่ มีการเปดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ทําใหจาํ นวนนักทองเทีย่ วทีจ่ ะขามไปลาวตองไปขาม ที่สะพาน จากเดิมตองขามที่ทาเรือบั๊ค รายไดจากที่เคยไดวันละ 7,000 – 8,000 บาท ลดลงเหลือแควันละ 1,000 – 2,000 บาท ทําใหตองตัดสินใจลดราคาอาหารลงมาเพื่อดึงดูดใจลูกคา”121 “โอด เปดสะพานมิตรภาพ 4 กระทบการคา’เชียงของ’” [ระบบออนไลน] แหลงทีม่ า http://www. thairath.co.th/content/393850 (เขาสูระบบวันที่ 17 กันยายน 2557 121 สัมภาษณ นางแจมจิต, 4 พฤษภาคม 2557 120

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 259


การเปดสะพานทําใหนักทองเที่ยวที่ตองการขามไปเที่ยวประเทศลาวไมมี ความจําเปนที่จะตองมาพักใชจายเงินในตัวเมืองเชียงของอีกตอไป เนื่องจากดานสากล ที่สะพานเปดทําการตั้งแต 06.00 – 22.00 น. จากเดิมดานที่ทาเรือบั๊ค 06.00 – 18.00 น. ซึง่ รถโดยสารประจําทางเทีย่ วสุดทายจากตัวเมืองเชียงรายเดินทางมาถึงขนสงเชียงของ ก็เกินเวลา 18.00 น. ทําใหไมสามารถขามไปประเทศลาวได จําเปนที่จะตองหาเกสต เฮาสในตัวเมืองเชียงของพักอยางนอย 1 คืนกอนจะขามไปหวยทรายในวันรุง ขึน้ 122 จาก คําบอกเลาของผูป ระกอบการเกสตเฮาสรายยอยอีกเชนกันวาชวงทีด่ ที สี่ ดุ ในการทําธุรกิจ เกสตเฮาสคอื ชวงกอนการเปดสะพานแตพอหลังจากเปดสะพานก็ไดรบั ผลกระทบเพราะ จํานวนนักทองเทีย่ วลดลง จากทีเ่ คยจางลูกจางทําความสะอาดเกสตเฮา 4 คนก็ตอ งลด ลูกจางลงเหลือ 2 คน123 สาเหตุเบื้องตนที่ทําใหทั้งการคาและภาคบริการในตัวเมือง เชียงของหดตัวลงก็อาจเปนเพราะลักษณะทีต่ งั้ ของสะพานทีห่ า งจากเขตการคาการทอง เที่ยวเดิมหลายกิโลเมตรก็เปนได ดูรูปที่ 4 รูปที่ 4 แผนที่สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่4124

อางแลว นายจุบ อางแลว นางปลายหนึ่ง 124 รูปจากโปรแกรม Google Earth 122 123

260 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


จากรูปที่ 4 จะเห็นไดวาพื้นที่สีแดงของเขตเชียงของเกาที่เปนพื้นที่ตั้งของทา เรือบัค๊ ทาเรือวัดหลวง และ ดานหวยทราย สวนพืน้ ทีส่ เี หลืองของบริเวณทีต่ งั้ ของสะพาน ซึ่งตั้งหางจากตัวเมืองเชียงของที่เคยเปนเขตการคาขามแดนมาไกลหลายกิโลเมตร สําหรับนักทองเที่ยวเองแลวการขามไปเที่ยวลาวโดยไมเขาพักที่เชียงของกอนหนึ่งคืน ถือวาเปนการประหยัดเวลาและคาใชจา ยเปนอยางมาก เพราะหากไปพักในตัวเชียงของ เมืองเกากอนหนึ่งคืนจะทําใหตองนั่งรถสามลอไทยประดิษฐหรือ “สกายแล็ป” จากตัว เมืองมาที่สะพานเสียคาใชจายประมาณคนละ 100 บาท125 ถึงแมวาปญหาหลังจากการเปดสะพานจะดําเนินมาอยางตอเนื่องหลายเดิน แตไมไดหมายความวาจะไมมีการเคลื่อนไหวใดๆ เลยจากกลุมเศรษฐกิจการเมืองตางๆ ในพื้นที่เชียงของ เพราะเคยมีการเคลื่อนไหวจากการรวมตัวกันของภาคประชาสังคม และกลุมเศรษฐกิจการเมืองทองถิ่นทําการรวบรวมรายชื่อถึงนายอําเภอเชียงของ ดูรูป ที่ 5 รูปที่ 5 หนังสือถึงนายอําเภอเชียงของเรื่องผลกระทบจากการเปดสะพาน126

อางแลว นางปลายหนึ่ง หนังสือรองเรียนเรื่องผลกระทบจากการเปดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 (เชียงของ – หวย ทราย) ตอชาวบานและผูประกอบการอําเภอเชียงของ เกิดขึ้นในเดือนมกรคาคม ป พ.ศ.2557

125 126

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 261


ผลกระทบของการเปดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแหงที่ 4 ตอชุมชนอางตาม หนังสือรองเรียน ระบุวา มีชาวบานทีป่ ระกอบอาชีพในเกีย่ วของกับการใหบริการเรือขาม ฟากประมาณ 40 ครอบครัวในชมรมเรือขามฟาก และ ชมรมรถรับจางอีกประมาณ 30 ครอบครัว ซึง่ ถือวาเกีย่ วโยงไปถึงอีกหลายรอยชีวติ ทีข่ อ งเกีย่ วกับผลกระทบจากการเปด สะพานดังกลาว หนังสือรองเรียนฉบับนี้ไดสะทอนใหเห็นอีกดานหนึ่งของความรวมมือกัน ระหวางกลุมการเมืองที่แยกไมออกจากระบบเศรษฐกิจและวิถีชีวิต ถึงแมวาแนวคิดใน การพัฒนาระหวากลุม การเมืองทองถิน่ กับกลุม การเมืองภาคประชาชนจะมีความเห็นใน เรื่องการพัฒนาไมตรงกัน ดังที่ไดที่ไดอธิบายไปแลวกอนหนานี้ แตเมืองสถานการณที่ พวกเขาจะตองปฏิบัติการเคลื่อนไหวในประเด็นรวมก็เกิดความรวมมือกันอยางที่พึง กระทํา ถึงแมวา หลังจากทีจ่ ดหมายรองเรียนฉบับนีเ้ กิดขึน้ ในเดือนมกราคม ปพ.ศ. 2557 แตอีกหลายเดือนสถานการณทางเศรษฐกิจในตัวเมืองเชียงของก็ยังไมดีขึ้น การเคลือ่ นไหวจากเบือ้ งลางไมอาจสูก ระแสการพัฒนาทีม่ าจากรัฐไดเนือ่ งดวย ความสลับซับซอนทางการเมืองระหวางประเทศหลายอยาง ยกตัวอยางจากคําบอกเลา ของผูประกอบการเครื่องนอนในตัวเมืองเชียงของคนหนึ่งเลาติดตลกวา “ถึงแมวาเราจะมีการเคลื่อนไหวในฝงเรา (ฝงไทย) เราก็ ทําไดแคเรียกรองในระดับอําเภอเทานั้น อยางเชนการยื่นหนังสือ ถึงนายอําเภอเมื่อเดือนมกราใหฝงลาวเปดดานพาสปอรตที่หวย ทรายตรงขามทาเรือบั๊ค แตก็ไมอาจทําได เพราะเจาแขวงลาวเขา ไมคยุ กับนายอําเภอเรา เพราะเขาถือวานายอําเภอมีศกั ดิต์ าํ่ กวาเจา แขวง พวกเราก็เลยทําอะไรไมไดมากเมื่อเปนแบบนี้”127

127

สัมภาษณ นายกอง, วันที่ 7 สิงหาคม 2557

262 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


สรุป

บทความชิน้ นีเ้ ปนความพยายามทีจ่ ะชีใ้ หเห็นถึงความเคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลง ของพื้นที่ชายแดนตลอดระยะเวลากวา 2 ทศวรรษที่ผานมา ทั้งความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจอันเปนผลมาจากนโยบายที่มีตอพื้นที่ชายแดนไมวาจะเปนนโยบายตอตาน ลัทธิคอมมิวนิสตในชวงทศวรรษ 2510 และ หลังจากลาวปดประเทศในปพ.ศ. 2518 – 2532 และนโยบายเปลีย่ นสนามรบเปนสนามการคาในปพ.ศ. 2532 นโยบายจากภาค รัฐของไทยไดเปลีย่ นโฉมหนาเศรษฐกิจอําเภอเชียงของไปจากทีม่ เี พียงแตการทําเกษตร และประมงแมนํ้าโขง นอกจากนั้นแลวคนชายแดนในกระแสความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจก็เปนหนึ่งตัวแปรที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในการเมืองทองถิ่นดวย เชน การไดรับเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงทางการเมืองของคนจากภาคธุรกิจเดินเรือขาฟาก และ ภาคธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว กระแสแนวคิดการพัฒนาที่เนนดานความ เจริญเติบโตของทุนเพียงอยางกอใหเกิดกระแสทองถิ่นนิยมในพื้นที่ขึ้นมาคานโดยกลุม การเมืองภาคประชาชน จนนําไปสูการออกแบบยุทธศาสตรการพัฒนาที่ขีดเสนใหกับ การพัฒนาของทุนภายใตยุทธศาสตร “เชียงของ: หนึ่งเมืองสองแบบ” อยางไรก็ตามถึง จะมีความเห็นในดานแนวคิดเรือ่ งการพัฒนาทีแ่ ตกตางกันของกลุม การเมือง แตเมือ่ ตอง เคลื่อนไหวในประเด็นรวม เชน ผลกระทบจากการเปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 4 พวกเขา (กลุมการเมืองตางๆ) ก็ยินดีที่จะเคลื่อนไหวรวมกัน ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่บทความ ชิ้นนี้คนพบอีกอยางหนึ่งก็คือ คนในพื้นที่ชายแดนไมไดเปนกลุมคนที่ปฏิเสธรัฐแตอยาง ใด พวกเขาพรอมจะปรับตัวตามแนวทางของรัฐและยินดีหากแนวทางของรัฐทําใหเกิด ความเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตไปในแนวทางที่ดี แตเมื่อไหรหากแนวทางของรัฐเชนการ เปดสะพานสงผลกระทบตอเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของพวกเขา พวกเขาก็พรอมที่จะ เคลื่อนไหวโดยใชกลไกรัฐที่มีอยูเทาที่จะทําได เชน เคลื่อนไหวผานนักการเมืองทองถิ่น สงตอไปยังเจาหนารัฐอยางนายอําเภอเปนตน

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 263


สัมภาษณ

นายไทร, 19 พฤษภาคม 2557 นางแจมจิต, 4 พฤษภาคม 2557 นางปลายหนึ่ง, 3 พฤษภาคม 2557 นางทองสุข, 18 พฤษภาคม 2557 นายเสงี่ยม, 5 พฤษภาคม 2557 นายทัด, 15 สิงหาคม 2557 นางแสงนวล 4 พฤษภาคม 2557 นายจุบ, 17 พฤษภาคม 2557 นายกอง, วันที่ 7 สิงหาคม 2557

264 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


เอกสารอางอิง จามะรี เชียงทอง. ขาวโพดขามชาติ: รัฐ ทุน พอคาชายแดน และ เกษตรกร ใน “ชน ชายแดนกับการกาวขามพรมแดน”. วนิดาการพิมพ เชียงใหม. 2555 (หนา 107 - 148) ชูพักตร สุทธิสา. “กระบวนการเขาสูการจางงานของแรงงานขามชาติลาวในภาค อุตสาหกรรม”. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2556 ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. “รัฐ – ชาติกับ (ความไร) ระเบียบโลกชุดใหม”. (พิมพ ครั้งที่ 2) สํานักพิมพวิภาษา กรุงเทพฯ. 2553 เดวิด ฮารวี. “ประวัติศาสตรฉบับยอของลัทธิเสรีนิยมใหม”. สํานักพิมพสวนเงินมีมา กรุงเทพฯ. 2555 (ฉบับแปล) ธนวัฒน ศรีหฤทัย. “การศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนตัง้ โรงงานผลิตคอนกรีตผสม เสร็จ ในอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย”. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา วิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2541 ธงชัย วินิจจะกูล. “กําเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตรภูมิกายาของชาติ”. โครงการ จัดพิมพคบไฟ รวมกับสํานักพิมพอาน กรุงเทพฯ. 2556 (ฉบับแปล) บัญญัติ สาลี. “การปรับตัวของกลุมชาติพันธุเขมรบริเวณพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา และนัยเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนของรัฐไทย กรณีศึกษา: จุดแดน ชองจอม จังหวัดสุรินทร”. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2552 ปนแกว เหลืองอรามศรี. “ทุนนิยมชายแดนนิคมเกษตรกรรมยางพารา และการ เปลีย่ นแปลงของสังคมเกษตรกรรมในภาคใตของลาว”. ศูนยวจิ ยั และบริการ วิชาการ มหาวทิยาลัยเชียงใหม. 2554 เปรมประชา ดีเมลโล. “การคาชายแดนและผลกระทบตอชุมชนในอําเภอเชียงของ จั ง หวั ด เชี ย งราย”. ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าภู มิ ภ าคศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2550

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 265


พฤกษ เถาถวิล. พื้นที่ของการดํารงชีวิตในการคาชายแดน: เขตแดนรัฐ พื้นที่ในระหวาง และภู มิ ศ าสตร แ ห ง การครอบงํ า /ต อ ต า น ใน “วารสารศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ฉบับพิเศษลุมนํ้าโขงศึกษา”. 2552 พรพันธุ เขมคุณาศัย. “ความสัมพันธของคนชายแดนผานเครือขายการคาขาว\ขามรัฐ กรณีชุมชนนูโระ อําเภอแวง จังหวัดนราธิวาส”. สํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. 2555 พิทยา ฟูสายและคณะ. “กระบวนการเคลื่อนยายแรงงานขามชาติจากประเทศพมาสู จังหวัดแมฮอ งสอน กรณีศกึ ษา กลุม ชาติพนั ธุไ ทยใหญ คะยาห และกะเหรีย่ ง”. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2553 โสภี อุนทะยา. “การใหความหมายและกลไกการสรางความสัมพันธบนพื้นที่ชายแดน ไทย – ลาว: จังหวัดมุกดาหาร – แขวงสะหวันนะเขต”. สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2553 เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ และ นํ้าทิพย เสมอเชื้อ. “การคามนุษยในกลุมทายาท รุนที่ 2 ของผูยายถิ่นจากประเทศพมา”. กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2553 อรวรรณ พันธเนตร. “การประเมินความตองการมีสว นรวมและความตองการพัฒนาการ ทองเทีย่ วของประชาชนกรณีบา นหาดไคร ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย”. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษยกบั สิง่ แวดลอม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2541 Walker, Andrew. “The Legend of the Golden Boat: Regulation, Trade and Trader in the Borderlands of Laos, Thailand, China and Burma”. University of Hawai. USA. 1999 Laothamatas, Anek. Business and Politics in Thailand: New Patterns of Influence. “Asian Survey”. Vol. 28, No. 4 (Apr. 1988), pp. 451 – 470.

266 ปูพรมชายแดน : เชียงรายศึกษา


คณะผูจัดทําโครงการจัดตั้งสํานักงาน เศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส 1) ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส 2) ผศ.ดร.ณัฐพรพรรณ อุตมา 3) ดร. ภูมิพฒั ณ์ มิ่งมาลัยรักษ์ 4) ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ 5) ดร. สุเทพ นิ่มสาย 6) อาจารย์ กฤช สิทธิวางค์กลุ 7) อาจารย์ ณัฐพันธุ์ กองบัวใหม่ 8) อาจารย์ ธิดารัตน์ บัวดาบทิพย์ 9) อาจารย์ ปฐมพงศ์ มโนหาญ 10) อาจารย์ ปริญญากรณ์ แพงศรี 11) อาจารย์ วราวุธ ทองมะโรงสี 12) อาจารย์ สุเมธ พฤกษ์ฤดี 13) นางสาว ปรางค์ ภาคพานิช 14) นางสาว พรพินนั ท์ ยี่รงค์ 15) นาย สิทธชาติ สมตา

คณบดีสาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักนวัตกรรมสังคม อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักนวัตกรรมสังคม อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ อาจารย์สาํ นักวิชาการจัดการ นักวิจยั นักวิจยั นักวิจยั

เศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และการทองเที่ยว 267





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.