Obels outlooks 2015

Page 1

OBELS OUTLOOKS

2015 พลวัตทางสิ่งแวดลอมเศรษฐสังคมชายแดน


สารบัญ 1

ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558

- ดัชนีสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน 2558

27

สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interview)

- การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงราย - การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน ตลอดจนความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย และชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน - ศักยภาพการค้าการลงทุนในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย

48

In focus: ภาคโลจิสติกส์

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างโซ่คุณค่า และพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานการส่ง ออกสินค้าเกษตรสู่ประเทศในกลุ่ม BIMSTEC: เพื่อพัฒนาตลาด และเครือข่ายสหกรณ์ การเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบน - โอกาสทางการตลาดและแนวทางการพัฒนาโซ่คุณค่าโคเนื้อของไทยในตลาดอาเซียน-จีน: กรณีศึกษาตลาดใน สปป.ลาว เวียดนาม และจีน (ตอนใต้)

85

In focus: ภาคการเกษตร

- โอกาสทางการค้าไปยังประเทศจีนตอนใต้ของผู้ประกอบการส่งออกจังหวัดเชียงราย: กรณีส่งออกข้าว - ปาล์มน�ำ้ มันพืชเศรษฐกิจโลก: โอกาสของเกษตรกรเชียงราย - วิถีชีวิตคนหาปลา : ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการสร้างเขื่อนในล�ำน�้ำโขงและการระเบิดเกาะ แก่งเพื่อการเดินเรือพาณิชย์ กรณีศึกษาอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย


สารบัญ (ต่อ) - ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยผลกระทบภายนอกจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจต่อวิถีชีวิตของ คนในอ�ำเภอเชียงแสน

139

In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง

- ยักษ์ค้าปลีกสู่สมรภูมิชายแดนจังหวัดเชียงราย: กรณีอ�ำเภอเชียงราย

161

In focus: ภาคการท่องเทีย ่ ว

- การปรับตัวสูท่ ศิ ทางในอนาคตของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วในอ�ำเภอเชียงแสน เพือ่ เตรียมความ พร้อมสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษและประชาคม ASEAN

171

In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ

- ห่วงโซ่คุณค่าชายแดน: พลวัตการลงทุนชายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย - ความท้าทายในการจัดการปัญหาขยะกับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน: กรณีอำ� เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

199

บทความพิเศษ (Opinion Piece)

- โอกาส ณ วันนี้ ที่ เชียงของ - ฤาจะต้องการเพียง... เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย - การทะลักของคลื่นคน คลื่นทุน และคลื่นสินค้าจากจีน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 1

ดัชนีสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน 25581 ณัฐพรพรรณ อุตมา สิทธิชาติ สมตา พรพินันท์ ยี่รงค์

บทน�ำ

จังหวัดเชียงรายถือว่าเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศไทย เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพเป็นเมืองหน้าด่านทาง เศรษฐกิจ (Gateway) เชื่อมต่อกับประเทศเมียนมาร์ (Myanmar) ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic) และสาธารณรัฐ ประชาชนจีน (Republic of China) ที่ท�ำให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศในอนุ ภูมิภาคเดียวกัน ด้วยความส�ำคัญดังกล่าวท�ำให้พื้นที่ชายแดนทั้งสามอ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอ เชียงของ อ�ำเภอเชียงแสน และอ�ำเภอแม่สาย มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมาก ด้วยเหตุ นี้ ทางคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช) จึงได้มีมติจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะ ที่ 2 ในจังหวัดเชียงราย โดยมีก�ำหนดเริ่มตั้งแต่ปี 2559 เพื่อเป็นแนวทางของการพัฒนา พื้นที่ชายแดน โดยการพัฒนาพื้นที่ชายแดนเชียงของให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ซึ่งเชื่อมโยงกับ สปป.ลาว และจีนตอนใต้ บนถนนเส้น ทาง R3A ที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาให้เป็นศูนย์บริการขนถ่ายสินค้าเพื่อน�ำเข้า-ส่งออก หรือ Logistics Hub การพัฒนาพื้นที่ชายแดนแม่สายให้เป็นพื้นที่ที่มีการเติบโตเศรษฐกิจการค้า ชายแดนที่สูงที่สุดในประเทศไทยพื้นที่หนึ่ง โดยเน้นการพัฒนาชายแดนแม่สายให้เป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษที่มีเป้าหมายให้เป็นเมืองแห่งการค้าชายแดน (GMS Trading City) และการ พัฒนาพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงแสนให้เป็นเมืองมรดกชาติ (GMS Port City) และเป็นประตูการค้า เชื่อมกับประเทศจีนตอนใต้ตามแนวล�ำน�ำ้ โขง ปัจจุบัน การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ชายแดนมีอัตราการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่า บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย เรื่อง “พลวัตทางสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน : การค้าการลงทุน การ เคลื่อนย้ายแรงงาน และสิ่งแวดล้อม” ซึ่งได้รับทุนอุดหนุนจากสำ�นักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา และพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในปี 2558

1


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 2

จะเป็นการค้าชายแดน การท่องเที่ยว และเกษตรกรรม อย่างไรก็ตามท่ามกลางการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และการเคลื่อนย้ายแรงงาน ในพื้นที่ชายแดนได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้นการสร้างความสมดุลและความยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ ชายแดน จึงควรให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของพืน้ ทีช่ ายแดนในมิตทิ างสัมคม มิติ ทางเศรษฐกิจ และมิติทางสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญอย่างมาก ต่อการเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่ชายแดน ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีเป้าหมาย ในการพัฒนาดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน (Border Environmental Socio-economics Index: BESE) ขึน้ ดัชนีชวี้ ดั นีส้ ามารถใช้ในการอธิบายภาวะการค้าและการ ลงทุนชายแดน การเคลื่อนย้ายแรงงาน และมลภาวะหมอกควันต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ชายแดน อีกนัยหนึง่ ดัชนีชวี้ ดั สิง่ แวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดนเปรียบเสมือนเครือ่ งมือติดตาม ภาวะการเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน บนฐานของการเปลีย่ นแปลงทางด้านการ ค้า การลงทุน แรงงาน และสิ่งแวดล้อมบริเวณชายแดน อนึ่ง การพัฒนาดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดนนี้ได้ใช้วิธีการวิจัย เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ (Mixed method analysis) จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมแิ ละข้อมูล ทุตยิ ภูมิ ทัง้ นี้ วิธกี ารเคราะห์เชิงปริมาณถูกน�ำมาใช้ในการประเมินระดับดัชนีชวี้ ดั สิง่ แวดล้อม เศรษฐสังคมชายแดน จังหวัดเชียงราย ขณะเดียวกัน วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพถูกน�ำมาใช้ใน วิเคราะห์เหตุและผลเชิงลึกของดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน และสังเคราะห์ แนวนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน การประเมินค่าดัชนีชี้วัดด้านสิง่ แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน การประเมินค่าดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดนมีขั้นตอนการ ด�ำเนินการดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การก�ำหนดองค์ประกอบที่ใช้ประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและ เศรษฐสังคมชายแดน ซึ่งการศึกษานี้เน้น 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบด้าน เศรษฐกิจการค้าและการลงทุน องค์ประกอบด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน และองค์ประกอบ ด้านสิ่งแวดล้อมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมลภาวะหมอกควันต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ชายแดน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 3

ขั้นตอนที่ 2 การประเมินค่าดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดนได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะของฐานข้อมูล ประเภทที่ 1 การประเมินค่าดัชนี BESE บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ ท�ำได้โดยการหาความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด เชียงราย (Gross Provincial Product: GPP) กับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ แรงงาน และสิ่ง แวดล้อม ระหว่างปีพ.ศ. 2550 - 2555 แล้วน�ำมาใช้ในการก�ำหนดมาตรวัดดัชนี BESE และ ประเภทที่ 2 การประเมินค่าดัชนี BESE บนฐานข้อมูลปฐมภูมิ จากการออกแบบสอบถาม ความคิดเห็นด้านปัจจัยสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน จ�ำนวน 246 ราย ได้แก่ ผู้ประกอบการในอ�ำเภอชายแดนแม่สาย เชียงแสน และเชียงของ ใน 4 ภาคธุรกิจ ประกอบด้วย ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ภาคการค้าปลีกค้าส่ง ภาคโลจิสติกส์ และภาคการท่องเที่ยว จ�ำนวน 104 ราย รวมทั้งภาคประชาชนจ�ำนวน 142 ราย ซึง่ เป็นผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องและได้รบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมของจังหวัดเชียงราย ผลรวมจากมาตรวัดประมาณค่าถ่วงน�ำ้ หนัก (Weighted rating scale) ถูกน�ำมาใช้ในการก�ำหนดมาตรวัดดัชนี BESE ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนชายแดน ดัชนีชวี้ ดั ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนชายแดนเป็นหนึง่ ในองค์ประกอบทีใ่ ช้ วัดดัชนีชวี้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน โดยมีองค์ประกอบทีใ่ ช้วดั ดัชนีนจี้ ำ� นวน 9 ดัชนีชี้วัดย่อย ได้แก่ (1) มูลค่าการส่งออก (2) มูลค่าการน�ำเข้า (3) ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 (4) ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (5) กฎบัตรอาเซียน (6) ความตกลงการค้าสินค้า อาเซียน (7) ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน (8) จ�ำนวนกิจการของบริษัทที่ได้รับการจด ทะเบียน และ (9) ปริมาณทุนที่ได้รับการจดทะเบียน ผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ด้านเศรษฐกิจ บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ พบว่า ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนชายแดนมีค่า คะแนนเท่ากับ 2.65 (จากคะแนนเต็ม 2.65) (ตารางที่ 1) พบว่า มูลค่าการส่งออกชายแดน ตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมถึงร้อยละ 19.21 จากมูลค่า 5,299.9 ล้าน บาท ในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่า 36,614.65 ล้านบาท ในปี 2557 เช่นเดียวกันกับมูลค่า การน�ำเข้าที่มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 10.18 จากมูลค่า


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 4

1,575.19 ล้านบาท ในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่า 4,574.5 ในปี 2557 ท�ำให้มูลค่าการค้า ชายแดนเติบโตเฉลี่ยสะสมในระยะ 11 ปีถึงร้อยละ 17.67 จากมูลค่าเพียง 6,875.09 ล้าน บาท ในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่า 41,189.15 ล้านบาท ในปี 2557 ท�ำให้ค่าคะแนนของ ดัชนีชี้วัดย่อยด้านการส่งออกมีค่าเท่ากับ 0.29 เมื่อเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์ มวลรวมของจังหวัดเชียงราย มีค่าเท่ากับ 0.29 และน�ำเข้า และ 0.69 ตามล�ำดับ ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 เป็นท่าเรือที่มีความส�ำคัญอย่างมากต่อการส่งออกและน�ำ เข้าสินค้าระหว่างไทยกับจีน ซึ่งเรือสินค้าจากจีนตอนใต้จะล่องผ่านแม่น�้ำโขง ซึ่งได้รับการ ก่อสร้างมาตัง้ แต่ปี 2555 เป็นต้นมา ตามข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพือ่ การเดินเรือพาณิชย์ ในแม่น�้ำ ล้านช้าง-แม่นำ�้ โขง ระหว่าง 4 ประเทศ (คมชัดลึก, 2555) การค้าของเชียงแสน ตั้งแต่ปี 2551 ถึงปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมถึงร้อยละ 13.38 โดยในปี 2551 มูลค่า การค้ารวมของด่านอ�ำเภอเชียงแสนอยู่ที่ 6,913.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็น 14,688.27 ในปี 2557 ค่าคะแนนของดัชนีชี้วัดด้านสิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการค้า หรือ ท่าเรือเชียงแสน แห่งที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.26 ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ASEAN-China FTA: ACFTA) เป็นความ ตกลงที่จีนกับประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เจรจาในปี 2544 โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก และการสร้างกฎระเบียบให้มคี วาม โปร่งใส ความเสรี และเอื้ออ�ำนวยความสะดวกต่อการลงทุน ซึ่งในปี 2548 ได้ร่วมกันลงนาม ในข้อตกลงด้านการค้าสินค้า (Trade In Goods Agreement) ในปี 2550 ได้ร่วมกันลงนาม ในข้อตกลงด้านการบริการ (Trade In Services Agreement) และในปี 2553 ได้ร่วมกันลง นามในข้อตกลงด้านการลงทุน (Investment Agreement) ข้อตกลงนีท้ ำ� ให้การค้าการลงทุน ทัง้ ในด้านของสินค้าและบริการระหว่างจีนและไทยมีการขยายตัวมากขึน้ ค่าคะแนนของดัชนี ชี้วัดด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศจีนมีค่าเท่ากับ 0.19 กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ได้มีการบังคับใช้อย่างเป็นรูปธรรมในปี 2551 เป็นต้นมา เป็นสิ่งที่ท�ำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยวางกรอบทางกฎหมายและข้อ ปฏิบัติอย่างเป็นทางการ เพื่อให้อาเซียนสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วาง ไว้ภายในปี 2558 ซึ่งจะช่วยให้มีการติดตามความต่อเนื่องของกลไกการท�ำงานของความ ตกลงต่างๆทีไ่ ด้เจรจาไว้ ท�ำให้ขอ้ ตกลงต่างๆทีส่ ร้างขึน้ มาเป็นเงือ่ นไขระหว่างประเทศสมาชิก


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 5

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นพร้อมรับการเปิดประชาคมอาเซียน ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดด้านความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศอาเซียนมีค่าเท่ากับ 0.22 ความตกลงด้านการสินค้าอาเซียน (ASEAN Trade In Goods Agreement: ATIGA) ได้ลงนามอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2552 และบังคับใช้ปี 2553 เป็นข้อตกลงที่คลอบคลุมใน เรื่องของการลดภาษีศุลกากร การยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี และการอ�ำนวยความสะดวก ทางการค้า โดยเป็นข้อตกลงที่ได้มีการด�ำเนินอย่างต่อเนื่องมาจากการตั้งเขตการค้าเสรี อาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ที่มีจุดประสงค์ในการกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อน ย้ายสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกอย่างเสรี ซึ่งประเทศสมาชิกจะต้องท�ำการลดภาษีการค้า และยกเลิกมาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษีให้หมดไป ท�ำให้กลไกแรกที่ออกมาบังคับใช้ คือ ความ ตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษเท่ากันในอาเซียน (Common Effective Preferential Tariff Agreement: CEPT) จึงกลายมาเป็นความตกลงด้านการสินค้าอาเซียนภายในฉบับ เดียว (ส�ำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ, 2553) นอกจากนี้ ยังมีความตกลงด้านการลงทุน ของอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) ที่เกิดจากการ ผนวกความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Agreement: AIA) และความ ตกลงส่งเสริมและคุม้ ครองการลงทุน (ASEAN Investment Guarantee Agreement: IGA) เข้าด้วยกัน โดยความตกลง ACIA ประกอบด้วย 4 หลักการใหญ่ คือ การเปิดเสรีการลงทุน การให้ความคุ้มครองการลงทุน การส่งเสริมการลงทุน และการอ�ำนวยความสะดวกด้านการ ลงทุน จากความส�ำคัญดังกล่าว ค่าคะแนนของดัชนีชี้วัดด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจด้าน การค้าภายในประเทศอาเซียนมีค่าเท่ากับ 0.21 เช่นเดียวกับ ค่าคะแนนของดัชนีชี้วัดด้าน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจด้านการลงทุนกับประเทศอาเซียนมีค่าเท่ากับ 0.26 จ�ำนวนกิจการของบริษทั ทีไ่ ด้รบั การจดทะเบียน เปรียบเสมือนตัวชีว้ ดั ทางด้านการ ลงทุนในแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ปี 2550 ถึงปี 2557 จ�ำนวนกิจการที่ลงทะเบียนนิติบุคคลในพื้นที่ ชายแดน 3 อ�ำเภอของจังหวัดเชียงรายมีการเติบโตเฉลีย่ สะสมอยูทรี่ อ้ ยละ 61.23 เพิม่ ขึน้ จาก 22 กิจการในปี 2550 เป็น 623 กิจการในปี 2557 โดยอ�ำเภอแม่สายเป็นอ�ำเภอที่มีการจด ทะเบียนนิติบุคคลสูงสุดในปี 2557 อยู่ที่ 348 กิจการ ในขณะที่อำ� เภอเชียงของ และอ�ำเภอ เชียงแสนมีกิจการจดทะเบียนอยู่ที่ 142 กิจการ และ 132 กิจการ ตามล�ำดับ การขยายตัว ของจ�ำนวนกิจการที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแสดงถึงการเติบโตอย่างมากของการลงทุนใน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 6

พื้นที่ชายแดน ท�ำให้ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดด้านการลงทุนนี้มีค่าเท่ากับ 0.35 ปริมาณทุนที่จดทะเบียน เป็นอีกหนึ่งในชี้วัดด้านการลงทุนที่แสดงถึงน�้ำหนักของ การลงทุนในแต่ละพืน้ ที่ ตัง้ แต่ปี 2550 ถึงปี 2557 ปริมาณทุนจดทะเบียนในสามพืน้ ทีช่ ายแดน จังหวัดเชียงรายมีการเติบโตสะสมเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 36.61 จากทุน 191.65 ล้านบาทในปี 2550 เพิม่ ขึน้ เป็น 1,701.56 ล้านบาทในปี 2557 โดยอ�ำเภอแม่สายมีปริมาณทุนจดทะเบียน สูงสุดอยูท่ ี่ 917.45 ล้านบาทในปี 2557 รองมาได้แก่ อ�ำเภอเชียงของ และเชียงแสนมีปริมาณ ทุดจดทะเบียนอยูท่ ี่ 492.41 ล้านบาท และ 291.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ ท�ำให้คา่ คะแนนดัชนี ชี้วัดด้านการลงทุนนี้มีค่าเท่ากับ 0.17 ตารางที่ 1 ดัชนีชี้วัดศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนชายแดน บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ ดัชนีชี้วัดย่อย

ค่าคะแนน

1. มูลค่าการส่งออก

0.29

2. มูลค่าการน�ำเข้า

0.69

3. ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2

0.26

4. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ACFTA)

0.19

5. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

0.22

6. ความตกลงการค้าสินค้าอาเซียน (ATIGA)

0.21

7. ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน (ACIA)

0.26

8. จ�ำนวนกิจการบริษัทที่ได้รับการจดทะเบียน

0.35

9. ปริมาณทุนที่ได้รับการจดทะเบียน

0.17

ดัชนีชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

2.65

ขณะที่ผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ด้าน เศรษฐกิจ บนฐานข้อมูลปฐมภูมิ พบว่า ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 7

ชายแดน ผู้ประกอบการชายแดน2มีค่าคะแนนเท่ากับ 1.58 ประชาชนในพื้นที่ชายแดน มี ค่าคะแนนเท่ากับ 1.47 และผู้ประกอบการภาคการเกษตร มีค่าคะแนนเท่ากับ 1.95 (จาก คะแนนเต็ม 2.65) (ตารางที่ 2) พบว่า ผูป้ ระกอบการชายแดนยกเว้นภาคเกษตรได้ให้คะแนน ตัวแปรด้านการส่งออกชายแดนอยู่ที่ 0.11 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.1 และผู้ ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.15 ในขณะที่ผู้ประกอบการชายแดนยกเว้นภาค เกษตรได้ให้คะแนนตัวแปรด้านการน�ำเข้าชายแดนอยู่ที่ 0.11 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนน อยู่ที่ 0.1 และผู้ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.15 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบ การจากหลายภาคธุรกิจจากพืน้ ทีช่ ายแดนพบว่า “การค้าชายแดนกับประเทศเพือ่ นบ้าน และ จีนตอนใต้มีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก” อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการโลจิสติกส์แห่งหนึ่ง ในอ�ำเภอแม่สายกล่าวว่า “มาตรการกีดกันทางการค้าของเมียนมาร์ เป็นอุปสรรคอย่างมาก ต่อการค้าชายแดนบริเวณแม่สาย ซึง่ เมียนมาร์ได้ออกกฎหมายห้ามน�ำเข้าสินค้าจากไทยกว่า 50 ฉบับ โดยให้เหตุผลเพื่อปกป้องผู้ผลิต และคุ้มครองผู้บริโภคภายในประเทศ” นอกจาก นี้ ผู้ประกอบภาคเกษตรรายหนึ่งในอ�ำเภอเชียงของกล่าวว่า “การส่งสินค้าไปยังสปป.ลาวมี ค่าธรรมเนียมค่อนข้างสูง” เช่นเดียวกันกับ ผู้ประกอบภาคเกษตรอีกรายในอ�ำเภอเชียงแสน ที่กล่าวว่า “สปป.ลาวเรียกเก็บอัตราภาษีศุลกากรจากการส่งออกไข่ไก่ในอัตราสูง ท�ำให้ผู้ ประกอบการไม่คุ้มค่าที่จะส่งออกสินค้าไปยังสปป.ลาว หรือจีนตอนใต้” ในขณะที่ ผู้ประกอบการชายแดนยกเว้นภาคเกษตรได้ให้คะแนนตัวแปรด้านความ พร้อมของสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 อยู่ท่ี 0.1 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.08 และผู้ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.13 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ภาคเกษตรรายหนึ่งในอ�ำเภอเชียงของพบว่า “การเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 เป็นการเปิดโอกาสให้ผปู้ ระกอบการตัดสินใจในการส่งออกข้าวผ่านไปทางสปป.ลาวไปยังจีน ตอนใต้ ซึง่ สะพานได้เอือ้ อ�ำนวยให้เกิดความสะดวกในการขนส่งสินค้าบริเวณชายแดนมากยิง่ ขึ้น แต่ก็ส่งผลให้เกิดคู่แข่งทางการค้าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน” เช่นเดียวกันกับ ผู้ประกอบการโล จิสติกส์อีกรายในอ�ำเภอแม่สายกล่าวว่า “การเปิดสะพานช่วยให้การส่งออกมีความสะดวก สบายมากขึ้น รวมถึงการประสานงานกับหน่วยงานราชการทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ตลอดจนพิธกี ารทางศุลกากร และการด�ำเนินเอกสารต่างๆมีความรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ ” อย่างไร 2

ไม่รวมผู้ประกอบการภาคการเกษตร


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 8

ก็ตาม การเปิดสะพานไม่ได้ชว่ ยให้ภาคธุรกิจทัง้ หมดได้รบั ผลประโยชน์ ซึง่ จากการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการภาคท่องเที่ยวสองรายในอ�ำเภอเชียงของกล่าวตรงกันว่า “ก่อนการเปิดสะพาน หลายหน่วยงานได้เข้ามาประชาสัมพันธ์ว่า หากมีสะพานจะ ช่วยให้เศรษฐกิจภายในเมืองเชียงของมีการเติบโตอย่างมาก ธุรกิจท่องเที่ยวและชุมชนจะได้ รับผลประโยชน์จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวต่างชาติจ�ำนวนมาก ซึ่งธุรกิจภาคท่องเที่ยว หลายกิจการก็ได้ขยายธุรกิจเพื่อรองรับกับการคาดหวังว่านักท่องเที่ยวจะเข้ามาเยอะ แต่ใน ความเป็นจริง หลังเปิดสะพาน เศรษฐกิจทั่งฝั่งห้วยทราย (สปป.ลาว) และฝั่งเชียงของย�ำ่ แย่ อย่างมาก กิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้ปิดตัวลงเป็นจ�ำนวนมาก สาเหตุส่วนหนึ่ง คือ การที่ทางการสปป.ลาว และไทยได้มีค�ำสั่งให้ยกเลิกการใช้หนังสือเดินทาง (passport) ส�ำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ณ ท่าเรือที่อยู่ในตัวเมืองเก่า ท�ำให้ชาวต่างชาติไม่สามารถที่จะ ข้ามไปยังฝัง่ ลาวผ่านทางท่าเรือบัค๊ ได้ ต้องข้ามผ่านทางสะพานทีส่ ร้างใหม่แทน โดยทีช่ าวต่าง ชาติที่เดินทางด้วยตนเอง (backpack) ส่วนใหญ่จะขึ้นรถประจ�ำทางมาจากท่ารถในตัวเมือง เชียงราย ซึ่งรถคันดังกล่าวจะมาจอดบริเวณหน้าสะพาน และนักท่องเที่ยวสามารถที่จะข้าม ไปยังฝั่งสปป.ลาวได้ทันที เนื่องจาก ด่านที่อยู่ตรงสะพานขยายเวลาการข้ามแดนให้ถึง 4 ทุ่ม ผูป้ ระกอบการภาคท่องเทีย่ วทีอ่ ยูใ่ นเมืองเชียงของจึงสูญเสียรายได้จากนักท่องเทีย่ วต่างชาติ จากการเคยเข้ามาพักแรมในตัวเมืองเก่าอย่างมาก” นอกจากนี้ ผู้ประกอบการค้าปลีกค้าส่ง รายหนึง่ ในเชียงของกล่าวว่า “สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ไม่ได้ให้ผลประโยชน์กบั คน เชียงของ แต่ให้ประโยชน์กับผู้ประกอบการรายใหญ่จากข้างนอกเสียมากกว่า” ตัวแปรด้านความพร้อมของท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ผู้ประกอบการชายแดนที่ ไม่ใช่ภาคเกษตรได้ให้ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.09 ประชาชนในพื้นที่ให้ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.06 และ ผู้ประกอบการภาคเกษตรให้ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.13 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการภาค เกษตรรายหนึ่งในอ�ำเภอเชียงแสนกล่าวว่า “การสร้างท่าเรือพาณิชย์ท้ังของภาคเอกชนเช่น ท่าเรือห้าเชียง และของภาครัฐบาล เช่น ท่าเรือเชียงแสน เป็นปัจจัยที่ช่วยดึงดูดให้เงินลงทุน เข้ามายังอ�ำเภอเชียงแสนเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ ในอ�ำเภอเชียงแสน” ในด้านสิทธิประโยชน์จากการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่ ภาคเกษตรให้คะแนนอยูท่ ี่ 0.1 ประชาชนในพืน้ ทีใ่ ห้คะแนนอยูท่ ี่ 0.1 และผูป้ ระกอบการภาค


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 9

เกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.13 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการโลจิสติกส์รายหนึ่งในอ�ำเภอ แม่สายกล่าวว่า “ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน ช่วยให้ภาษีในการส่งสินค้าเกษตร ไปยังจีนตอนใต้เป็นร้อยละ 0 แต่ผู้ส่งออกต้องเผชิญกับภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 13 ซึ่งเป็น กฎหมายภายในรัฐบาลท้องถิ่นของจีน” ส่วนสิทธิประโยชน์จากนโยบายส่งเสริมการลงทุน ของ BOI และสิทธิประโยชน์จากระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง (GMS) ผู้ประกอบ การชายแดนที่ไม่ใช่ภาคเกษตรให้ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.1 เท่ากันทั้งสองตัวแปร ประชาชนใน พื้นที่ให้ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.08 และ 0.09 ตามล�ำดับ ขณะที่ผู้ประกอบการภาคเกษตรให้ค่า คะแนนอยู่ที่ 0.11 เท่ากันทั้งสองตัวแปร การเติบโตของปริมาณนักท่องเที่ยวในภาคธุรกิจอื่นที่ไม่ใช่ภาคเกษตรให้คะแนน อยู่ที่ 0.11 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.13 และผู้ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนน อยู่ที่ 0.11 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการภาคท่องเที่ยวในอ�ำเภอเชียงของกล่าวว่า “การ ประชาสัมพันธ์เมืองเชียงของให้เป็นแค่ทางผ่านสูส่ ปป.ลาว ท�ำให้เชียงของไม่ได้นำ� เสนอแหล่ง ท่องเที่ยวที่แท้จริงของเชียงของ ท�ำให้ธุรกิจการท่องเที่ยวต้องคาดหวังรายได้จากแค่การพัก แรมระยะสั้นของนักท่องเที่ยวต่างชาติ” ในขณะที่ผู้ประกอบการการท่องเที่ยวของอ�ำเภอ เชียงแสนให้ความเห็นว่า “นักท่องเทีย่ วต่างชาติมกี ารเข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก แต่การท่องเทีย่ ว ของอ�ำเภอเชียงแสนกระจุกตัวอยูเ่ พียงแค่บริเวณสามเหลีย่ มทองค�ำ ท�ำให้รายได้ไม่เกิดการก ระจายตัว ซึ่งปัจจัยส�ำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการจัดน�ำเที่ยวที่ลดระยะเวลาให้ สั้นเหลือเพียงแค่ 1 วัน (one day trip) ซึ่งนักท่องเที่ยวต่างชาติจะนั่งรถตู้นำ� เที่ยวมาจาก จังหวัดเชียงใหม่ มายังเชียงราย ผ่านเมืองชายแดน และออกไปเทีย่ วต่อยังสปป.ลาว ท�ำให้นกั ท่องเที่ยวไม่ได้ซึบซับกับแหล่งท่องเที่ยวที่แท้จริง” นอกจากนี้ ผู้ประกอบการภาคท่องเที่ยว ในอ�ำเภอแม่สายกล่าวว่า “การประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วในปัจจุบนั ของอ�ำเภอแม่สายขาด ความหลากหลาย ทัง้ อ�ำเภอแม่สายมีแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจมากกว่าตลาดการค้าชายแดน การประชาสัมพันธ์แต่ตลาดการค้าชายแดน ท�ำให้รายได้ไม่กระจายไปสู่ชุมชน หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องควรน�ำเสนอการท่องเที่ยวแบบชุมชน (community-based tourism) ที่สะท้อน วิถีชีวิต และวัฒนธรรม รวมถึงการสนับสนุนให้แต่ละหมู่บ้านท�ำโฮมสเตย์ เพื่อดึงรายได้เข้า สู่ชุมชน ทั้งนี้ ควรชูศิลปะล้านนาตามวัดวาอารามต่างๆเป็นหนึ่งในสิ่งที่นักท่องเที่ยวเข้ามา เยี่ยมชมที่แม่สาย”


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 10

กฎระเบียบทางการค้าการลงทุน และการสนับสนุนของรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้อง ถิน่ และรัฐบาลของประเทศคูค่ า้ ส�ำหรับภาคธุรกิจอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ภาคเกษตรให้คะแนนอยูท่ ี่ 0.10 0.11 และ 0.10 ตามล�ำดับ ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.10 0.10 และ 0.09 ตาม ล�ำดับ และผู้ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.13 0.13 และ 0.14 ตามล�ำดับ ความพร้อมของสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า/ประปา/สื่อสาร) และเส้นทางคมนาคม ผู้ประกอบการชายแดนยกเว้นภาคเกษตรได้ให้คะแนนอยู่ที่ 0.13 และ 0.12 ตามล�ำดับ ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.12 และ 0.13 ตามล�ำดับ และผู้ประกอบการภาคเกษตร ให้คะแนนอยู่ที่ 0.16 และ 0.13 ตามล�ำดับ จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการการค้าปลีกค้า ส่งในอ�ำเภอเชียงแสนกล่าวว่า “เชียงแสนมีการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน และเส้นทาง คมนาคมที่ดีขึ้นอย่างมาก ซึ่งช่วยอ�ำนวยสะดวกให้กับการขนส่งสินค้าบริเวณชายแดนมาก ขึ้น” ส่วนตัวแปรด้านความพร้อมของระบบการเงินในพื้นที่ ผู้ประกอบการชายแดน ยกเว้นภาคเกษตรได้ให้คะแนนอยู่ที่ 0.11 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.11 และผู้ ประกอบการภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.12 จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการภาคเกษตร ในอ�ำเภอเชียงของกล่าวว่า “การท�ำธุรกิจกับสปป.ลาวต้องใช้ความละเอียดรอบคอบ และ การตัดสินใจที่รวดเร็วด้วยเช่นกัน เนื่องจากระบบการเงินของของสปป.ลาวยังไม่มีมาตรฐาน และขาดความเป็นสากล ท�ำให้เกิดความล่าช้าอย่างมากในการท�ำธุรกรรมแต่ละครัง้ ” ในขณะ ทีส่ ทิ ธิประโยชน์ทางภาษีเพือ่ การน�ำเข้าและส่งออก ผูป้ ระกอบการชายแดนยกเว้นภาคเกษตร ได้ให้คะแนนอยู่ที่ 0.12 ประชาชนในพื้นที่ให้คะแนนอยู่ที่ 0.12 ตามล�ำดับ และผู้ประกอบ การภาคเกษตรให้คะแนนอยู่ที่ 0.13

1. กา

2. ก

3. ค ที่ 4

4. คว ที่ 2

5. ส อาเซ

6. ส ลงทุน

7. ส ภูมิภ

8. กา

9. ก การส

10. ก การส

11. ก การส

12. ค (ไฟฟ

13. ส และส

14. ค

15. เส

ดัช


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 11

ตารางที่ 2 ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนชายแดน บนฐานข้อมูลปฐมภูมิ ประเภทตัวแปรย่อย

ผู้ประกอบการ ประชาชนใน ผู้ประกอบการ ชายแดน* พื้นที่ชายแดน ภาคการเกษตร

1. การเติบโตของการส่งออกชายแดน

0.11

0.10

0.15

2. การเติบโตของการน�ำเข้าชายแดน

0.11

0.10

0.15

3. ความพร้อมของสะพานมิตรภาพแห่ง ที่ 4

0.10

0.08

0.13

4. ความพร้อมของท่าเรือเชียงแสนแห่ง ที่ 2

0.09

0.06

0.13

5. สิทธิประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี อาเซียน-จีน

0.10

0.10

0.13

6. สิทธิประโยชน์จากนโยบายส่งเสริมการ ลงทุนของ BOI

0.10

0.08

0.11

7. สิทธิประโยชน์จากระเบียงเศรษฐกิจอนุ ภูมิภาคลุ่มน�ำ้ โขง (GMS)

0.10

0.09

0.11

8. การเติบโตของปริมาณนักท่องเที่ยว

0.11

0.13

0.11

9. กฎระเบียบทางการค้าการลงทุน และ การสนับสนุนของรัฐบาลกลาง

0.10

0.10

0.13

10. กฎระเบียบทางการค้าการลงทุน และ การสนับสนุนของรัฐบาลท้องถิ่น

0.11

0.10

0.13

11. กฎระเบียบทางการค้าการลงทุน และ การสนับสนุนของรัฐบาลของประเทศคู่ค้า

0.10

0.09

0.14

12. ความพร้อมของสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า/ประปา/สื่อสาร)

0.13

0.12

0.16

13. สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการน�ำเข้า และส่งออก

0.11

0.09

0.11

14. ความพร้อมของระบบการเงินในพื้นที่

0.11

0.11

0.12

15. เส้นทางคมนาคมขนส่ง

0.12

0.13

0.13

1.58

1.47

1.95

ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้าและการ ลงทุนชายแดน

ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 12

ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงาน ดัชนีชี้วัดด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานเป็นองค์ประกอบที่ 2 ของดัชนีชี้วัดด้านสิ่ง แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน โดยมีองค์ประกอบที่ใช้วัดดัชนีนี้จำ� นวน 6 ดัชนีชี้วัดย่อย ได้แก่ (1) อัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ จังหวัดเชียงราย (2) อัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ ภาคเหนือ (3) จ�ำนวน ประชากรที่มีงานท�ำจ�ำแนกอาชีพ (4) จ�ำนวนประชากรที่มีงานท�ำจ�ำแนกเพศ และเขต ปกครอง (5) จ�ำนวนแรงงานต่างด้าว และ (6) พ.ร.บ. แรงงานต่างด้าว ผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ด้าน การเคลื่อนย้ายแรงงาน บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ พบว่า ดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐ สังคมชายแดน ด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานมีค่าคะแนนเท่ากับ 1.11 (จากคะแนนเต็ม 1.65) (ตารางที่ 3) พบว่า อัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ ของแรงงาน เป็นตัวแปรส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการโยกย้าย ของกลุ่มแรงงานอย่างมาก หากในพื้นที่มีอัตราค่าจ้างแรงงานที่สูงจะท�ำให้แรงงานจ�ำนวน มากย้ายจากพื้นที่อื่นเข้าสู่พื้นที่ดังกล่าว แต่หากในพื้นที่ดังกล่าวมีอัตราค่าจ้างแรงงานที่ ต�่ำจะท�ำให้แรงงานอพยพออกจากพื้นที่ดังกล่าวไปสู่พื้นที่ที่ได้รับอัตราค่าจ้างสูงกว่า ซึ่งใน ทางกลับกัน ผู้ประกอบการธุรกิจมีความต้องการที่จะจ้างแรงงานในอัตราค่าจ้างที่ต�่ำที่สุด เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มีต้นทุนต�่ำที่สุด เพื่อให้สินค้าและบริการของธุรกิจ สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้ในตลาด ท�ำให้ช่องว่างระหว่างอัตราค่าจ้างของแรงงานไทย และแรงงานต่างด้าวมีความเหลื่อมล�ำ้ กัน ผู้ประกอบการจ�ำนวนมากจึงมีความต้องการที่จ้าง แรงงานต่างด้าวมากกว่า เนื่องจากสามารถจ่ายค่าจ้างในอัตราที่ต�่ำกว่า โดยเฉพาะพื้นที่ที่ ติดกับชายแดนของประเทศเพื่อนบ้านอย่างจังหวัดเชียงราย อัตราการโยกย้ายแรงงานจึงมี แนวโน้มที่จะสูงกว่าพื้นที่อื่น เมื่อพิจารณาจากอัตราจ้างขั้นต�่ำของจังหวัดเชียงรายตั้งแต่ปี 2548 ถึงปี 2555 พบว่าอัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ มีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการเติบโต เฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 9.1 เพิ่มขึ้นจาก 137 บาทต่อวันต่อคน ในปี 2548 เป็น 300 ต่อวัน ต่อคน ในปี 2557 ท�ำให้ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดด้านอัตราค่าจ้างแรงงานมีค่าเท่ากับ 0.11 ซึ่งมี ค่าคะแนนเท่ากันกับอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำภาคเหนือที่มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 6.9 อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำจาก 5,863 บาทต่อเดือนต่อคน ในปี 2548 เพิ่มขึ้นเป็น 10,685 บาทต่อ เดือนต่อคน ในปี 2557 จ�ำนวนประชากรที่อายุ 15 ปีขึ้นไปและมีงานท�ำ เป็นตัวแปรที่แสดงถึงจ�ำนวน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 13

แรงงานที่ประกอบอาชีพภายในจังหวัดเชียงราย และสะท้อนถึงการเติบโตของภาคธุรกิจใน พืน้ ที่ ไม่วา่ จะเป็นภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า ภาคการบริการ หรือภาคการเกษตร ซึง่ จาก ข้อมูลทุตยิ ภูมิ พบว่า อาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับการให้บริการและการขายมีการเติบโตเฉลีย่ สูงทีส่ ดุ จากปี 2550 ถึงปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 5.54 รองมาได้แก่ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ โรงงานและเครือ่ งจักร อยูท่ รี่ อ้ ยละ 4.29 และพนักงานบริการ และพนักงานในร้านค้า/ตลาด อยูท่ รี่ อ้ ยละ 0.85 ในขณะทีแ่ รงงานทีป่ ระกอบอาชีพเกีย่ วกับงานราชการ วิชาชีพ เกษตรกรรม และประมงมีการหดตัวอย่างมาก เห็นได้วา่ การขยายตัวของแรงงานทีป่ ระกอบอาชีพดังกล่าว แสดงถึงการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า และภาคการบริการเป็นส�ำคัญ ค่า คะแนนดัชนีชี้วัดด้านอัตราการประกอบอาชีพของแรงงานมีค่าเท่ากับ 0.04 จ�ำนวนประชากรจ�ำแนกเพศและเขตปกครอง เป็นตัวแปรที่บ่งชี้ถึงการโยกย้าย ของประชากรจากระหว่างเมืองและชนบท ซึ่งจากข้อมูลสถิติพบว่าจ�ำนวนของประชากร ในเทศบาลจากปี 2546 ถึงปี 2555 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 4.36 เพิ่มขึ้นจาก 207,548 คน ในปี 2546 เป็น 304,828 คน ในปี 2555 ซึ่งสวนทางกับข้อมูลสถิติของจ�ำนวน ประชากรนอกเทศบาลที่มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ -1.3 ลดลงจาก 1,007,365 คน ในปี 2548 เป็น 895,595 คน ในปี 2555 แสดงว่า ประชากรนอกเทศบาลเมืองเชียงรายมีการ เคลื่อนย้ายจากนอกเขตเทศบาลเข้าสู่ในเมือง หรือย้ายออกไปยังพื้นที่อื่นมากขึ้น โดยอาจ สะท้อนถึงการเคลื่อนย้ายของแรงงานด้วยเช่นกัน ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดด้านการเคลื่อนย้าย ของแรงงานมีค่าเท่ากับ 0.75 จ�ำนวนแรงงานต่างด้าว ถือเป็นตัวแปรที่มีความส�ำคัญมากส�ำหรับจังหวัดเชียงราย เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้านทางตอนเหนือ ท�ำให้ มีการเคลื่อนย้ายของกลุ่มประชากรและแรงงานจ�ำนวนมากบริเวณพื้นที่ชายแดน ซึ่งส่งผลดี ต่อการประกอบธุรกิจส�ำหรับพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย ทีส่ ามารถจ้างแรงงานต่างด้าวมาทดแทน จ�ำนวนแรงงานท้องถิน่ ทีล่ ดน้อยลง และสามารถจ้างในอัตราค่าจ้างทีต่ ำ�่ กว่าแรงงานไทย โดย ปัจจุบนั การอ�ำนวยสะดวกด้านการเข้าเมืองของแรงงานต่างด้าวในการจัดตัง้ ศูนย์บริการครบ วงจร (One Stop Service: OSS) ท�ำให้แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านสามารถเข้ามายัง จังหวัดเชียงรายได้มากขึน้ จากข้อมูลสถิตพิ บว่ามีสดั ส่วนของแรงงานต่างด้าวทีเ่ ข้าเมืองอย่าง ถูกกฎหมายมีการเติบโตเฉลี่ยสะสมตั้งแต่เดือนมกราคม 2551 ถึง มกราคม 2558 ถึงร้อยละ


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 14

45.99 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77 จากแรงงานต่างด้าวทัง้ หมด ในขณะทีแ่ รงงานทีเ่ ข้าเมืองผิด กฎหมายมีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ -19.91 คิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 23 จาก แรงงานต่างด้าวทั้งหมด ท�ำให้เห็นแนวโน้มของการเข้าของแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายใน อนาคต ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดด้านการเคลื่อนย้ายของแรงงานมีค่าเท่ากับ 0.08 พระราชบัญญัติการท�ำงานของคนต่างด้าวปี 2551 เป็นหนึ่งในการด�ำเนินนโยบาย ด้านการจัดการแรงงานต่าวด้าวที่มีประสิทธิของรัฐบาล โดยมีการลดค่าธรรมเนียมการจด ทะเบียนแรงงานต่างด้าว การขอใบอนุญาตท�ำงานส�ำหรับแรงงานตามฤดูกาลและแรงงาน รายวัน และการอนุญาตให้เปลี่ยนนายจ้างได้ ตัวแปรดังกล่าวจึงช่วยดึงดูดให้แรงงานเพื่อน บ้านเคลื่อนย้ายเข้าสู่ประเทศไทย บริเวณชายแดนจังหวัดเชียงรายมากขึ้น ท�ำให้ค่าคะแนน ดัชนีชี้วัดด้านการเคลื่อนย้ายของแรงงานมีค่าเท่ากับ 0.03 ตารางที่ 3 ดัชนีชี้วัดศักยภาพทางด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงาน บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ ตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. อัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ จังหวัดเชียงราย

0.11

2. อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำภาคเหนือ

0.11

3. จ�ำนวนประชากรที่มีงานท�ำจ�ำแนกอาชีพ

0.04

4. จ�ำนวนประชากรที่มีงานท�ำจ�ำแนกเขตปกครอง

0.75

5. จ�ำนวนแรงงานต่างด้าว

0.08

6. พ.ร.บ. แรงงานต่างด้าว

0.03

ดัชนีชี้วัดทางด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

1.11

ผลการประเมินดัชนีชวี้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ด้านการเคลือ่ น ย้ายแรงงาน บนฐานข้อมูลปฐมภูมิ พบว่า ดัชนีชวี้ ดั ด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงานของผูป้ ระกอบ การชายแดนยกเว้นภาคการเกษตรมีคา่ คะแนนเท่ากับ 0.97 (จากคะแนนเต็ม 165) (ตารางที่ 4) พบว่า ดัชนีชวี้ ดั ย่อยทีม่ คี วามส�ำคัญกับผูป้ ระกอบการชายแดนอย่างมาก ได้แก่ ทักษะของ แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่อและทักษะวิชาชีพที่มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.17 เท่า กัน จากการสัมภาษณ์พบว่า ผู้ประกอบการให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 15

ให้มีคุณภาพและสอดคล้องต่ออุตสาหกรรมในพื้นที่ เช่น การส่งเสริมการอบรมวิชาชีพ เพื่อ เป็นการยกระดับฝีมือแรงงานให้มีมาตรฐานมากขึ้น และเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมในพื้นที่ชายแดน ตารางที่ 4 ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงานของผู้ประกอบการในพื้นที่ชายแดน ยกเว้นภาคเกษตร ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. การเคลื่อนย้ายแรงงานต่อธุรกิจ

0.08

2. อัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต�ำ่

0.08

3. สถานที่ตั้งของสถานประกอบการ

0.08

4. สวัสดิการในการท�ำงาน

0.07

5. ความต้องการจ้างแรงงาน

0.16

6. ทักษะของแรงงาน

0.17

7. จ�ำนวนแรงงาน

0.16

8. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และทักษะวิชาชีพ

0.17

ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงาน

0.97

ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

ส่วนภาคประชาชนได้ให้ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 0.98 (จากคะแนนเต็ม 1.65) (ตารางที่ 5) พบว่า ดัชนีชวี้ ดั ย่อยทีม่ คี วามส�ำคัญกับประชาชนในพืน้ ทีอ่ ย่างมาก ได้แก่ การเข้า มาของแรงงานต่างถิน่ และการเข้ามาของแรงงานต่างด้าวหรือประเทศเพือ่ นบ้าน ค่าคะแนน อยูท่ ี่ 0.18 จากการสัมภาษณ์พบว่า เนือ่ งจากการเข้ามาของแรงงานต่างถิน่ ในบริเวณชุมชนได้ สร้างความกังวลในเรื่องของความปลอดภัย และอาชญากรรม ทั้งนี้ด้วยอัตราค่าจ้างแรงงาน ไทยที่มีอัตราสูง ท�ำให้ผู้ประกอบการจ้างแรงงานต่างด้าวเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้เกิดการเคลื่อน ย้ายของแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ชายแดน รองมาได้แก่ อัตราการค่าจ้างแรงงานขั้นต�ำ่ อัตรา ค่าจ้างแรงงานที่ได้รับ และสถานที่ตั้งของสถานที่ประกอบอาชีพ ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.16 ตาม มาด้วยตัวแปรชีว้ ดั ย่อยด้านสวัสดิการในการท�ำงาน ค่าคะแนนอยูท่ ี่ 0.14 จากการสัมภาษณ์ พบว่า ปัจจัยอัตราค่าจ้างแรงงานในปัจจุบนั เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญต่อการเข้ามาของนักลงทุน และ


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 16

การยกระดับคุณภาพชีวิตของแรงงาน ฉะนั้นหากมีการส่งเสริมอัตราค่าจ้างแรงงานพิเศษ เฉพาะพืน้ ทีช่ ายแดนอาจส่งผลดีตอ่ การด�ำเนินธุรกิจและเกิดการจ้างงานทีม่ ากขึน้ ตามไปด้วย ตารางที่ 5 ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงานของภาคประชาชน ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. การเข้ามาของแรงงานต่างถิ่น

0.18

2. การเข้ามาของแรงงานต่างด้าวหรือประเทศเพื่อนบ้าน

0.18

3. อัตราการค่าจ้างแรงงานขั้นต�ำ่

0.16

4. อัตราค่าจ้างแรงงานที่ได้รับ

0.16

5. สถานที่ตั้งของสถานที่ประกอบอาชีพ

0.16

6. สวัสดิการในการท�ำงาน

0.14

ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงาน

0.98

ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

ส่วนผู้ประกอบการชายแดนภาคการเกษตรได้ให้ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 1.21 (จากคะแนนเต็ม 1.65) (ตารางที่ 6) พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าคะแนนเฉลี่ยของผู้ ประกอบการชายแดนอื่น และภาคประชาชน ซึ่งดัชนีชี้วัดย่อยที่มีความส�ำคัญกับผู้ประกอบ การชายแดนภาคเกษตรอย่างมาก ได้แก่ จ�ำนวนแรงงานส่งผลต่อผลผลิตทางการเกษตร และ การเกิดภาวะขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตร ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.47 และ 0.23 ตามล�ำดับ จากการสัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการภาคการเกษตรพบว่า สาเหตุมาจากผลผลิตและราคาสินค้า เกษตรตกต�่ำ พร้อมทั้งปัญหาทรัพยากรน�้ำที่ไม่เพียงพอต่อการเกษตร ท�ำให้แรงงานภาค การเกษตรเริม่ เข้าสูภ่ าคการบริการมากขึน้ รองมาได้แก่ การจ้างแรงงานต่างด้าวในภาคเกษตร ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.27 ตามมาด้วยการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ ส่งผลต่อเกษตรกรรม ค่า คะแนนอยูท่ ี่ 0.25 จากการสัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการภาคการเกษตรพบว่า จากการเพิม่ ขึน้ ของ อัตราค่าจ้างแรงงานขัน้ ต�ำ่ ส่งผลต่อต้นทุนการเกษตรเพิม่ ขึน้ ผูป้ ระกอบจึงให้ความส�ำคัญต่อ การจ้างแรงงานต่างด้าวเพิ่มมากขึ้น เพื่อลดต้นทุนการเกษตร เนื่องจากค่าจ้างถูกกว่าและไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่ายอื่น เช่น ค่าอาหารกลางวัน และค่าอาหารเย็น เป็นต้น


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 17

ตารางที่ 6 ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงานของผู้ประกอบการชายแดนภาคเกษตร ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. จ�ำนวนแรงงาน

0.47

2. อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ

0.25

3. ภาวะขาดแคลนแรงงาน

0.23

4. การจ้างแรงงานต่างด้าว

0.27

ดัชนีชี้วัดด้านการเคลือ่ นย้ายแรงงาน ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

1.21

ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิง่ แวดล้อม ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมเป็นองค์ประกอบที่ 3 ของดัชนีชี้วัดด้านสิ่ง แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน โดยมีองค์ประกอบที่ใช้วัดดัชนีนี้จำ� นวน 5 ดัชนีชี้วัดย่อย ได้แก่ (1) จ�ำนวนจุดความร้อน (2) จ�ำนวนผู้ป่วยที่อาจได้รับผลกระทบจากหมอกควัน (3) จ�ำนวนการดับไฟป่า (4) จ�ำนวนพื้นที่ถูกไฟไหม้ และ (5) คุณภาพอากาศ อ.แม่สาย และ อ.เมือง ผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ดัชนีชี้วัดด้าน มลภาวะสิ่งแวดล้อม บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ พบว่า ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมมีค่า คะแนนเท่ากับ 0.43 (จากคะแนนเต็ม 0.65) (ตารางที่ 7) พบว่า จ�ำนวนจุดความร้อน แสดง ถึงบริเวณพื้นที่ที่เกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ของพื้นที่จังหวัดเชียงราย ทั้งเกิดจากเหตุการณ์ทาง ธรรมชาติ และการกระท�ำของมนุษย์ จากข้อมูลสถิติพบว่าจ�ำนวนจุดความร้อนภายในพื้นที่ ป่าสงวน ป่าอนุรักษ์ และเกษตรกรรมมีการลดลงอย่างมาก โดยมีการหดตัวของการเติบโต เฉลี่ยสะสมร้อยละ 13.3 จากปี 2551 อยู่ที่ 2229 จุด เหลือเพียง 821 จุดในปี 2557 ซึ่ง พื้นที่ที่จุดความร้อนลดจ�ำนวนลงมากที่สุดคือ พื้นที่เกษตรกรรมลดลงถึงร้อยละ 22.93 รอง มาได้แก่ พื้นที่ป่าสงวน และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ลดลงร้อยละ 12.54 และ 5.63 ตามล�ำดับ ท�ำให้ ค่าคะแนนของดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมด้วยจุดความร้อนมีค่าเท่ากับ 0.22 จ�ำนวนผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากหมอกควันไฟป่า เป็นตัวแปรที่สำ� คัญอย่างมาก ในการมองเห็นถึงปัญหาความร้ายแรงของหมอกควันไฟป่า ทีไ่ ม่ได้เพียงสร้างความเดือดร้อน


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 18

ในด้านของการท�ำลายสิง่ แวดล้อม และการสร้างมลภาวะ แต่สง่ ผลถึงสุขภาพของผูค้ นทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการเกิดหมอกควันไฟป่าด้วยเช่นกัน จากข้อมูลสถิตพิ บว่า ผูท้ อี่ าจป่วยด้วยโรค จากหมอกควันไฟป่าในปี 2553 ถึงปี 2558 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมถึงร้อยละ 18.08 จาก 65,253 ราย ในปี 2553 เพิ่มขึ้นเป็น 149,763 ราย ในปี 2558 แสดงถึงความรุนแรงของ ปัญหาหมอกควันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในระยะยาว ท�ำให้คา่ คะแนนของดัชนีชวี้ ดั ด้านมลภาวะสิง่ แวดล้อม ด้วยจ�ำนวนผู้ป่วยจากหมอกควันไฟป่า มีค่าเท่ากับ 0.02 จ�ำนวนการดับไฟป่า เป็นหนึง่ ในตัวชีว้ ดั ปริมาณการเกิดไฟป่าในจังหวัดเชียงราย จาก ข้อมูลสถิตพิ บว่าจ�ำนวนของการดับไฟป่ามีการลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2541 จ�ำนวนการดับ ไฟป่าอยู่ที่ 252 ครั้ง หรือ 1,559 ไร่ จนในปี 2557 จ�ำนวนการดับไฟป่าลดลงเหลืออยู่เพียง 91 ครั้ง หรือ 905 ไร่ คิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ร้อยละ 6.17 ส�ำหรับจ�ำนวนการ ดับไฟป่าต่อครั้ง และร้อยละ 3.34 ส�ำหรับจ�ำนวนการดับไฟป่าต่อไร่ ท�ำให้ค่าคะแนนของ ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมด้วยจ�ำนวนการดับไฟป่า และจ�ำนวนพื้นที่ที่ถูกไฟไหม้ มี ค่าเท่ากับ 0.01 และ 0.02 ตามล�ำดับ คุณภาพอากาศที่วัดในพื้นที่อ�ำเภอแม่สาย และอ�ำเภอเมือง เป็นตัวชี้วัดคุณภาพ อากาศในเชิงปริมาณจากขนาดของฝุ่นละอองในอากาศ หากขนาดของฝุ่นละอองเล็กมาก แสดงถึงการเกิดปัญหามลภาวะทางอากาศที่อาจเกิดจากปัญหาหมอกควันไฟป่า จากข้อมูล สถิติพบว่าค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองที่ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอนของพื้นที่อ�ำเภอแม่สายในปี 2554 อยู่ที่ 67.5 เพิ่มขึ้นเป็น 83.75 หรือคิดเป็นการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 7.46 ใน ขณะที่ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองที่ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอนของพื้นที่อ�ำเภอเมืองในปี 2554 อยู่ที่ 66.24 เพิ่มขึ้นเป็น 79.67 หรือคิดเป็นการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 6.34 ท�ำให้ค่า คะแนนของดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมด้วยคุณภาพอากาศมีค่าเท่ากับ 0.15


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 19

ตารางที่ 7 ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิง่ แวดล้อมจากปัญหาหมอกควันและไฟป่า บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ ตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. จ�ำนวนจุดความร้อน

0.22

2. จ�ำนวนผู้ป่วยที่อาจได้รับผลกระทบจากหมอกควัน

0.02

3. จ�ำนวนการดับไฟป่า

0.01

4. จ�ำนวนพื้นที่ถูกไฟไหม้

0.02

5. คุณภาพอากาศอ.แม่สาย และอ.เมือง

0.15

ดัชนีชี้วัดทางด้านปัญหาหมอกควันไฟป่า

0.43

ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

ผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน ดัชนีชี้วัดด้าน มลภาวะสิ่งแวดล้อม บนฐานข้อมูลปฐมภูมิ พบว่า ดัชนีชี้วัดด้านมลภาวะสิ่งแวดล้อมของผู้ ประกอบการชายแดน ยกเว้นภาคเกษตรได้ให้ค่าคะแนนดัชนีชี้วัดเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 0.33 (จาก คะแนนเต็ม 0.65) (ตารางที่ 8) โดยให้คะแนนดัชนีชี้วัดย่อย 5 ตัวเท่ากันอยู่ที่ 0.07 ได้แก่ ผลกระทบของหมอกควันต่อการด�ำเนินธุรกิจท�ำให้ขาดแคลนแรงงาน ภาพรวมของการด�ำเนิน ธุรกิจ ประสิทธิภาพในการท�ำงานของแรงงาน และการด�ำเนินธุรกิจได้รับผลกระทบจากการ เผาพืน้ ทีท่ างการเกษตร จากการสัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการพบว่า ปัญหาหมอกควันไม่สง่ ผลต่อ การด�ำเนินธุรกิจ ยกเว้นภาคการท่องเที่ยวที่ได้รับผลกระทบต่อปัญหาหมอกควัน เนื่องจาก สือ่ ประชาสัมพันธ์ภายนอกพืน้ ทีเ่ สนอข่าวปัญหาหมอกควันในพืน้ ทีช่ ายแดนโดยมีเนือ้ หาข่าว ค่อนข้างรุนแรง ส่งผลต่อความเชือ่ มัน่ ในเรือ่ งของความปลอดภัยด้านสุขภาพจึงท�ำให้นกั ท่อง เที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวจ�ำนวนลดลง


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 20

ตารางที่ 8 ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่าของผู้ประกอบการในพื้นที่ชายแดน ยกเว้นภาคเกษตร ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. ปัญหาหมอกควันส่งผลต่อการด�ำเนินธุรกิจ

0.07

2. ปัญหาหมอกควันท�ำให้ขาดแคลนแรงงาน

0.07

3. ปัญหาหมอกควันส่งผลต่อภาพรวมของการด�ำเนินธุรกิจ

0.07

4. ปัญหาหมอกควันส่งผลต่อประสิทธิภาพในการท�ำงานของแรงงาน

0.07

5. การด�ำเนินธุรกิจได้รับผลกระทบจากการเผาพื้นที่ทางการเกษตร

0.07

ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่า ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

0.33

ขณะทีภ่ าคประชาชนได้ให้คา่ คะแนนดัชนีชวี้ ดั ด้านปัญหาหมอกควันไฟป่าเฉลีย่ รวม อยู่ที่ 0.27 (จากคะแนนเต็ม 0.65) (ตารางที่ 9) โดยโดยให้คะแนนดัชนีชี้วัดย่อย 4 ตัวเท่า กันอยู่ที่ 0.07 ได้แก่ หมอกควันส่งผลต่อการด�ำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ สุขภาพอนามัย และค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ จากการสัมภาษณ์พบว่า ประชาชนให้ความส�ำคัญต่อการเกิดขึ้น ของปัญหาหมอกควันในพืน้ ทีอ่ ย่างมาก เนือ่ งจากปัญหาหมอกควันส่งผลกระทบสุขภาพ และ การใช้จ่ายในการรักษาของประชาชน ถึงแม้ว่าในพื้นที่มีการเผาพื้นที่ทางการเกษตรลดลง แต่หมอกควันส่วนมากมาจากประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ กี ารเผาพืน้ ทีท่ างการเกษตรบริเวณพืน้ ที่ ชายแดน อีกทัง้ พืน้ ทีท่ างการเกษตรของประเทศเพือ่ นบ้านนิยมเพาะปลูกบริเวณพืน้ ทีร่ าบสูง หรือภูเขา จึงท�ำให้หมอกควันเคลื่อนที่มาปกคลุมพื้นที่อ�ำเภอชายแดนได้ง่าย


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 21

ตารางที่ 9 ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่าของภาคประชาชน ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. หมอกควันส่งผลต่อการด�ำเนินชีวิต

0.07

2. หมอกควันส่งผลต่อการประกอบอาชีพ

0.07

3. หมอกควันส่งผลต่อสุขภาพอนามัย

0.07

4. หมอกควันส่งผลต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ

0.07

ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่า ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

0.27

ทัง้ นี้ ผูป้ ระกอบการชายแดนภาคเกษตรได้ให้คา่ คะแนนดัชนีชวี้ ดั ด้านปัญหาหมอก ควันไฟป่าเฉลีย่ รวมอยูท่ ี่ 0.62 (จากคะแนนเต็ม 0.65) (ตารางที่ 10) ตัวแปรย่อยทีไ่ ด้คะแนน สูงสุดได้แก่ การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อการเก็บเกี่ยว วัชพืชที่ขึ้นในแปลงเพาะปลูก การสูญเสียความชื้นในดิน และภาวะโลกร้อน ค่าคะแนนอยู่ที่ 0.07 จากการสัมภาษณ์พบว่า ถึงแม้จะมีกฏข้อบังคับให้หยุดเผาพืน้ ทีท่ างการเกษตร แต่ดว้ ยการลดระยะเวลาการเพาะปลูก และลดต้นทุนการท�ำลายวัชพืชและตอซัง จึงท�ำให้เกษตรกรบางส่วนยังคงใช้วธิ กี ารเผาพืน้ ที่ ทางการเกษตร รวมถึงการเผาป่าเพือ่ หาผักหวานและเห็ดทีท่ ำ� ให้เกิดไฟป่าและปัญหาหมอก ควัน ในขณะที่ตัวแปรย่อยที่มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.06 ได้แก่ การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผล ต่อความอุดมสมบูรณ์ การเกิดฝุ่นละอองและหมอกควัน ระบบทางเดินหายใจ และจุลินทรีย์ และอินทรียวัตถุในดิน ทั้งนี้ตัวแปรย่อยที่ได้คะแนนต�ำ่ สุดอยู่ที่ 0.05 คือตัวแปรด้านการเผา พื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก และผลผลิต


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 22

ตารางที่ 10 ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่าของผู้ประกอบการชายแดนภาคเกษตร ประเภทตัวแปรย่อย

ค่าคะแนน

1. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อผลผลิต

0.05

2. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อการเก็บเกี่ยว

0.07

3. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์

0.06

4. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก

0.05

5. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลให้เกิดฝุ่นละอองและหมอกควัน

0.06

6. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ

0.06

7. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อจุลินทรีย์และอินทรียวัตถุในดิน

0.06

8. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อวัชพืชที่ขึ้นในแปลงเพาะปลูก

0.07

9. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อการสูญเสียความชื้นในดิน

0.07

10. การเผาพื้นที่ทางการเกษตรส่งผลต่อภาวะโลกร้อน

0.07

ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่า ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

0.62

จากการเปรียบเทียบระดับดัชนีชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายแรงงาน และผลกระทบจากหมอกควัน บนฐานข้อมูลด้านทุติยภูมิและปฐมภูมิ (ตารางที่ 11) พบว่า ระดับดัชนี BESE บนฐานข้อมูลทุติยภูมิ (ข้อมูลสถิติ) มีความแตกต่างจากฐานข้อมูลปฐมภูมิ (ข้อมูลจากแบบสอบถาม) ค่อนข้างมาก เนื่องจากข้อมูลสถิติด้านเศรษฐกิจ การค้าและการ ลงทุนแสดงถึงการเติบโตของเศรษฐกิจชายแดนอย่างต่อเนื่อง แต่การเติบโตของเศรษฐกิจ นัน้ ผูป้ ระกอบการบางภาคธุรกิจไม่ได้รบั ผลประโยชน์จากการค้าชายแดนเมือ่ เปรียบเทียบกับ ข้อมูลสถิติจึงท�ำให้ผลของระดับดัชนี BESE ที่แสดงจึงมีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ผล การประเมินดัชนีชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายแรงงาน และผลกระทบจากหมอก ควัน แสดงให้เห็นว่า พื้นที่ชายแดน 3 อ�ำเภอของจังหวัดเชียงรายมีศักยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่สามารถพัฒนาและขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับดี


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 23

ตารางที่ 11 เปรียบเทียบค่าดัชนีชี้วัดทางด้านสิง่ แวดล้อมและเศรษฐสังคมชายแดน3 ดัชนีชี้วัด

ข้อมูลทุติยภูมิ

ข้อมูลปฐมภูมิ

2.65

1.67

ดัชนีชี้วัดด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน

1.11

1.05

ดัชนีชี้วัดด้านปัญหาหมอกควันไฟป่า

0.43

0.41

ดัชนีชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคมชายแดน

4.19

3.13

ดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนชายแดน

ที่มา: จากการค�ำนวณของผู้วิจัย

แนวนโยบายการพัฒนาพื้นทีช่ ายแดน นอกจากการประเมินค่าคะแนนของดัชนีชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมเศรษฐสังคม ชายแดนได้สะท้อนถึงความต้องการในการพัฒนาของพื้นที่ชายแดนแล้ว จากการรวบรวม ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านเศรษฐกิจ แรงงาน และสิ่งแวดล้อมต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ชายแดน รวมทั้งแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ชายแดนและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงปัจจัย ดังกล่าว จากผู้ประกอบการในพื้นที่ชายแดน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จ�ำนวน 24 ราย รวมทั้งความคิดเห็นจากการการด�ำเนินการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ใน 3 อ�ำเภอ ชายแดน ยังสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการก�ำหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ชายแดน โดย เฉพาะในด้านของผลกระทบจากหมอกควันไฟป่าที่ยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ได้ส่งผลให้ภาคการบริการการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบอย่างมาก ส่วนในด้านของ การเคลื่อนย้ายแรงงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากแรงงานท้องถิ่น จ�ำนวนมากอพยพย้ายไปท�ำงานในพื้นที่ที่ให้ค่าแรงสูงกว่า ประกอบกับการขึ้นค่าแรงขั้นต�่ำ ท�ำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ท�ำให้ภาคธุรกิจต้องหันมาพึ่งพาแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน มากยิ่งขึ้น แต่การจ้างแรงงานต่างด้าวมีขั้นตอนที่ค่อนข้างยุ่งยาก และมีความเสี่ยงสูง จึง ท�ำให้ภาคธุรกิจยังไม่สามารถจ้างแรงงานต่างด้าวได้อย่างเต็มที่ และในด้านของเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน ข้อมูลสถิติที่ได้ถูกเก็บรวบรวมได้สะท้อนถึงการเติบโตอย่างมากของ หมายเหตุ: ค่าคะแนนข้อมูลปฐมภูมิดัชนีชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนชายแดนได้นำ�ข้อมูลผู้ประกอบ การชายแดน,ประชาชนในพื้นที่ชายแดน และผู้ประกอบการภาคการเกษตร มาเฉลี่ยรวมกัน

3


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 24

การค้าชายแดน และการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การเติบโตของการค้า ชายแดนไม่ได้สะท้อนถึงการกระจายรายได้ที่ดี ท�ำให้ผลประโยชน์ของการค้าชายแดนตกไป อยู่ที่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล�ำ้ ที่เป็นปัญหาสังคมตามมา + จุดมุ่งหมาย

แนวทางการ พัฒนา

แนวทางการ สู่การปฏิบัติ

การขับเคลื่อนสู่นวัตกรรมชายแดน (BORDER INNOVATION-DRIVEN ECONOMY)

การสร้างความเข้ม แข็งของเศรษฐกิจ ชายแดน (Border Economic Competitiveness)

การบูรณาการเพื่อ การเติบโตแบบมี ส่วนร่วม (Border Inclusive Growth)

การจัดการชายแดน สีเขียว (Green Border Management)

ยุทธศาสตร์การสร้างความ สามารถในการแข่งขัน

ยุทธศาสตร์การบูรณาการ ร่วมทางเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างแรงงาน

ยุทธศาสตร์การป้องกัน หมอกควัน/ไฟป่า

รูปที่ 1 แนวนโยบายการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เศรษฐสังคมชายแดน

ประการแรก การสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชายแดน (Border Economic Competitiveness) พื้นที่ชายแดนอ�ำเภอแม่สาย เชียงแสน เชียงของ ต้องเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญในหลายบริบททั้งในประเทศและนอกประเทศ ความเข้มแข็งทาง


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 25

เศรษฐกิจจึงเป็นรากฐานส�ำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบเศรษฐกิจจะต้องมีเสถียรภาพ และภูมคิ ุ้มกันที่เอือ้ ต่อการปรับตัวเมื่อได้รับผลกระทบจากภาวะผันผวนของระบบเศรษฐกิจ โลก รวมทั้งจะต้องสร้างสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงขึ้น ทั้งนี้ จะต้อง ให้ความส�ำคัญต่อการเชือ่ มโยงเศรษฐกิจระหว่างพืน้ ทีช่ ายแดนภายในประเทศ ประเทศเพือ่ น บ้าน และประเทศทีส่ ามอย่างมีประสิทธิภาพและรูเ้ ท่าทัน มีการปรับโครงสร้างการผลิต โดย ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตแทนการเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิต ก่อ ให้เกิดการเชื่อมโยงกิจกรรมในภาคเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ และโลจิสติกส์ รวมทั้ง เชื่อมโยงธุรกิจขนาดใหญ่กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอย่างสมดุล ตลอดจนการสร้าง ผลิตผลทีเ่ กิดจากการพัฒนานวัตกรรมทีต่ รงกับความต้องการของตลาดภายในและภายนอก ประเทศ รวมทัง้ การสร้างความแปลกใหม่เพือ่ น�ำตลาด ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารเพิม่ การจ้างงาน การ ยกระดับรายได้ที่แท้จริงและคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ชายแดน การพัฒนาพื้นที่ชายแดน เชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้านจึงจ�ำเป็นต้องมีความพร้อมและรองรับผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้ประชาชน ผู้ประกอบการ และทุกภาคส่วน ในพื้นชายแดน ประการที่สอง การบูรณาการเพื่อการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Border inclusive growth) การขับเคลื่อนสู่นวัตกรรมชายแดนจึงเป็นไปในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นทุกภาค ส่วน โดยยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมทีม่ ี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มีการเชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทั้งในมิติคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่ง แวดล้อม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับชุมชน ระดับ ประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ ขณะเดียวกันให้ความส�ำคัญกับการเสนอนโยบาย พัฒนาพื้นที่ชายแดนจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ชายแดนในการพัฒนาประเทศ ประการที่สาม การจัดการชายแดนสีเขียว (Green Border Management) การ เกิดขึน้ ของพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ ดังนัน้ การเข้ามาของอุตสาหกรรมต่างๆในพืน้ ทีช่ ายแดน มีความจ�ำเป็นอย่างมากในการเข้ามาร่วมกันจัดการพื้นที่ชายแดนให้อุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับ ชุมชนได้โดยไม่ท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยส่งเสริมการสร้างความเข็มแข็งในการแข่งขัน ด้านเศรษฐกิจและการค้าของอุตสาหกรรมสีเขียว ทีม่ ผี ลิตภัณฑ์และการบริการทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม เช่น การใช้เทคโนโลยีสะอาด การบริหารจัดการพลังงาน การจัดการสารเคมี และ


ภาพรวมเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ 2558 หน้า 26

กากของเสีย เพื่อการพัฒนาและแนวทางการปฏิบัติที่ยั่งยืนในอนาคต แนวนโยบายดังกล่าวได้น�ำไปสู่ผลการก�ำหนดนโยบายและทิศทางการพัฒนาเมือง ชายแดนจังหวัดเชียงราย เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีใ่ ห้มกี ารเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อย่างสมดุล ควรมีการสร้างยุทธศาสตร์ทสี่ อดคล้องกับพืน้ ทีแ่ ละน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั เิ ชิงรุกมาก ขึ้น โดยเฉพาะ 1) ยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขันของชายแดน เพื่อเสริม สร้างและกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมอาหาร การ ท�ำเกษตรอินทรีย์ เพือ่ สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าเกษตร การพัฒนาคุณภาพแหล่ง ท่องเทีย่ วและคุณภาพด้านการบริการและผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ งกับการท่องเทีย่ วทัง้ ทางตรง และทางอ้อมให้ได้มาตรฐานและมีอัตลักษณ์ชายแดน และมุ่งส่งเสริมธุรกิจค้าปลีกค้าส่งให้ เติบโตอย่างสมดุลตามศักยภาพของพื้นที่ เช่น การน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการ บริหารจัดการ 2) ยุทธศาสตร์การบูรณาการร่วมทางเศรษฐกิจชายแดน โดยมุ่งเน้นการสร้าง ความร่วมมือและเครือข่ายระหว่างพืน้ ทีช่ ายแดนกับประเทศเพือ่ นบ้านทางด้านการเชือ่ มโยง การผลิตและอุตสาหกรรม การบูรณาการการท่องเที่ยวร่วมกันในพื้นที่อำ� เภอชายแดน และ ระหว่างพืน้ ทีช่ ายแดน เพือ่ เพิม่ ศักยภาพด้านการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ เสริมสร้างสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ให้มคี วามหลากหลาย ความร่วมมือทางวิชาการในการศึกษาถึงสภาพปัญหา และแนวทางใน การพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพของค้าปลีกค้าส่ง ตลอดจนมุ่งเน้นการเจรจาความร่วมมือ กฎระเบียบและเงื่อนไขระหว่างประเทศให้มีความสอดคล้องกันและปฏิบัติตามกฎระเบียบ เดียวกัน 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างตลาดแรงงานชายแดน ควรมีการพัฒนาทักษะ อาชีพฝีมือแรงงานให้มีคุณภาพ โดยเน้นกลุ่มแรงงานสาขาการผลิตที่มีศักยภาพในพื้นที่ เพื่อ พัฒนาฝีมอื แรงงานให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน และ 4) ยุทธศาสตร์การป้องกัน หมอกควันและไฟป่า เน้นการปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐในเชิงรุกมากขึ้น พร้อมทั้งสร้าง กรอบความมือระดับทวิภาคีกบั ประเทศเพือ่ นบ้าน เพือ่ ลดปัญหาหมอกควันในพืน้ ทีช่ ายแดน ซึ่ง 4 ยุทธศาสตร์จะน�ำไปเป็นนโยบาย “การขับเคลื่อนสู่นวัตกรรมชายแดน” ถือว่าเป็นตัว กระตุน้ ทีส่ ำ� คัญในการยกระดับเมืองชายแดนไปสูเ่ มืองทีม่ คี วามสามารถในการแข่งขัน มีการ เติบโตอย่างมีส่วนร่วม และมีการจัดการชายแดนสีเขียว


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 27

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ (การสัมภาษณ์พิเศษ รศ.ดร. วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง)

Q: ท่านคิดว่าควรมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างไรเพือ่ ให้พร้อมต่อการเป็นเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ?

A: การที่จะวางแผนที่จะพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อที่จะรองรับต่อการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษ ต้ อ งมองว่ า เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษที่ จ ะถู ก จั ด ตั้ ง ขึ้ น นั้ น เป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษมี วัตถุประสงค์เป็นอย่างไร เป็นเขตเศรษฐกิจประเภทใด ต้องการให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของจังหวัดเชียงรายหรือของประเทศ ซึ่งวัตถุประสงค์จะน�ำไปสู่หลักการและเหตุในการ วางแผนเพื่อพัฒนา โดยในแต่ละพื้นที่ที่ถูกพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษจะได้รับการ สนับสนุนให้มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันไป เช่น เน้นการขนส่งสินค้าผ่านแดน เน้นอุตสาหกรรมการผลิต หรือเน้นการท�ำธุรกรรมทางการค้าอื่นๆ A: หากเขตเศรษฐกิจพิเศษถูกพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ ในแง่ของการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ต้องเปิดโอกาสให้คนทัง้ ประเทศเข้ามามีสว่ นร่วม หรือเป็นส่วนหนึง่ ใน เขตเศรษฐกิจพิเศษด้วย แต่หากเป็นกรณีทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษได้เฉพาะเจาะจงในการพัฒนา เพือ่ เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษส�ำหรับจังหวัดเชียงราย ชาวเชียงรายต้องมีการเตรียมความพร้อม


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 28

อย่างมาก เนื่องจากเราไม่สามารถจะไปหยิบสิ่งใดมาได้ หากเราไม่มีการเตรียมตัว

“OPPORTUNITYISOPEN,BUTWECANNOTMOVEIN” -WANCHAI SIRICHANA

A: ณ เวลานี้ ชาวเชียงรายยังไม่มีการรับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ และยังคง ด�ำเนินชีวติ แบบดัง้ เดิม โดยไม่รวู้ า่ หากมีการจัดตัง้ ขึน้ มาจริงจะได้รบั ประโยชน์อะไร นอกเสีย จากคนเหล่านัน้ มาจากภาคธุรกิจ ซึง่ มีเพียงจ�ำนวนหยิบมือเพียงเท่านัน้ ทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจ รวมถึงหน่วยรัฐบาลท้องถิ่นของจังหวัดเชียงรายที่มีหน้าที่วางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนา A: การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็น 5 ระดับใหญ่ ได้แก่ แรงงานไร้ฝีมือ (unskilled labor) แรงงานกึ่งฝีมือ (semi-skilled labor) แรงงานฝีมือ (skilled-labor) ผู้ประกอบการ (entrepreneur) ที่จะอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และผู้น�ำ องค์กรภาครัฐ ที่จะช่วยในการผลักดันโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษในระยะแรก ซึ่งในทุก ระดับยังไม่มีการสนับสนุนและส่งเสริมที่ออกมาเป็นนโยบายที่ชัดเจน ท�ำให้การพัฒนาพื้นที่ ชายแดนจังหวัดเชียงรายให้เป็นเขตเศรษฐกิจ ยังไม่เป็นรูปธรรม ซึ่งการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษในระยะที่ 2 จะเริม่ เร็วอย่างมากในปี 2559 โดยทีท่ างจังหวัดจะต้องมีกำ� หนดกรอบการ พัฒนาที่ชัดเจน (Master plan) Q: สถาบันการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างไร?

A: เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างแท้จริง ทางมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมี แผนที่จะจัดตั้งสถาบันส�ำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุกระดับ ซึ่งในระยะที่หนึ่ง เป็นการพัฒนาคนเพือ่ ตอบสนองต่อตลาดแรงงานจังหวัดเชียงราย ระยะทีส่ องคือ การพัฒนา คนเพื่อตอบสนองต่อตลาดในระดับประเทศ และระยะสุดท้ายคือ การพัฒนาเพื่อตอบสนอง ต่อตลาดแรงงานในระดับภูมิภาค โดยขณะนี้ได้พยายามที่จะแสวงหาความร่วมมือกับหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง และสถาบันระหว่างประเทศ เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาที่เป็นรูปธรรม


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 29

“THEYshouldbesomebodynotnobodyoroneofthem”

-WANCHAI SIRICHANA

A: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ตั้งอยู่บนพื้นที่เชิงยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ ที่จ�ำเป็นจะต้องมี การปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ควบคู่ไปกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยจะสนับสนุนและ ส่งเสริมให้นักศึกษาที่จบออกไปมีความสามารถในความเป็นผู้น�ำในสังคม และสร้างความ ก้าวหน้าให้อาชีพการงาน Q: ทรัพยากรมนุษย์ของจังหวัดเชียงรายมีความพร้อมต่อการเปิดเขตเศรษฐกิจ หรือ การเปิดประชาคมอาเซียนหรือไม่?

A: โดยแท้จริงชาวเชียงรายเป็นคนทีม่ คี วามสามารถอย่างมาก แต่มกี ารโยกย้ายถิน่ ฐานไปอยู่ ทีอ่ นื่ เป็นจ�ำนวนมาก เนือ่ งจากจังหวัดเชียงรายขาดแคลนอาชีพ ส่งผลให้คนส่วนมากทีจ่ บจาก มหาวิทยาลัยในเชียงราย มุง่ ไปยังจังหวัดทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจทีใ่ หญ่ เพือ่ ความก้าวหน้าทางราย ได้ในอนาคต รัฐบาลควรมีการกระตุน้ ให้เกิดการสร้างงานในเชียงราย โดยการชูเขตเศรษฐกิจ พิเศษเป็นแหล่งโอกาสทางรายได้ จะท�ำให้ทรัพยากรมนุษย์ทเี่ ป็นชาวเชียงรายมีแรงจูงใจทีจ่ ะ ท�ำงานอยู่ในเชียงรายต่อไป

Q: ทางจังหวัดเชียงรายควรมีการสร้างความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์อย่างไร?

A: ความร่วมมือต่างๆในอนาคตต้องเป็นการสร้างความร่วมมือทีใ่ ห้ประโยชน์แก่ทกุ ฝ่าย หรือ ทุกฝ่ายมีความได้เปรียบซึง่ กันและกัน (win-win situation) ทัง้ ฝัง่ ประเทศไทย สปป.ลาว และ เมียนมาร์ หรือแม้แต่ประเทศจีนก็ตาม ต้องสร้างการมีประโยชน์ร่วม (mutual benefit) จึง สามารถที่จะพัฒนาความร่วมมือในระดับต่างๆได้


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 30

Q: แนวทางหลักสูตรใดทีส ่ ามารถตอบสนองต่อการเปลีย ่ นแปลงของเศรษฐกิจของ ประเทศและประชาคมโลก

A: ควรเป็นหลักสูตรที่สนับสนุนและส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ รวมทั้งการศึกษาชีพจร ทางการค้าในพื้นที่ชายแดน โดยเฉพาะเส้นทางแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง หรือเชียงของยูนนาน จะช่วยเพิ่มประสบการณ์จากสภาพที่แท้จริงของการค้าชายแดน เพื่อให้เกิดการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างแท้จริง A: ปัญหาที่ส�ำคัญที่สุดของไทยคือ SMEs ที่เป็นกระดูกสันหลังของประเทศ โดยเฉพาะธุรกิจ ขนาดกลางยังขาดความสามารถในการค้าขายกับต่างประเทศ ในงานจัดแสดงสินค้าต่างๆ บริษัทขนาดกลางน้อยรายเท่านั้นที่จะสามารถส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศ แต่ผู้ประกอบ การยังคงไม่สามารถทีจ่ ะติดต่อประสานงาน หรือเข้าใจกฎระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศ Q: คิดว่านักศึกษาควรได้เรียนหลักสูตรเกีย ่ วกับ ASEAN ศึกษาเพิม ่ เติมหรือไม่

A: ควรจะมีการเน้นการศึกษาที่มีจุดประสงค์ที่ชัดเจนในประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นส�ำคัญ ซึ่งในแต่ละประเทศในประชาคมอาเซียนมีทั้งความเหมือนและความแตกต่าง ไม่ว่าเป็นด้าน เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ

“THEYshouldhaveATTITUDE,DevotionandSTRONG determination” -WANCHAI SIRICHANA


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 31

สิทธิประโยชน์ทางการค้าการลงทุน และความร่วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย และ ชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน (สัมภาษณ์พิเศษคุณพัฒนา สิทธิสมบัติประธานโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ และกรรมการหอการค้าภาคเหนือ)

สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายและประเทศเพื่อนบ้านถือว่าเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ส�ำหรับผู้ประกอบการค้าชายแดนและข้ามแดน ตลอดจนนักลงทุนในพื้นที่ชายแดน หาก พิจารณาล�ำดับความส�ำคัญที่มีต่อการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจชายแดน พบว่าความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีความส�ำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ การใช้สิทธิ ประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน ด้วยเหตุผล 3 ประการ ประการแรก ความร่วมมือทาง เศรษฐกิจมักก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ทางกายภาพ เช่น การพัฒนากรอบความ


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 32

ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในนามของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น�้ำโขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ การพัฒนาตามกรอบความร่วมมือ GMS ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงประเทศสมาชิก ด้านการคมนาคม (ซึ่งเป็น 1 ใน 11 ยุทธศาสตร์ของความร่วมมือ GMS) ที่มีเส้นทางเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อน บ้านอย่าง สปป.ลาว เมียนมาร์ เข้าสู่ประเทศจีนตอนใต้ ผ่านเส้นทาง R3A และ R3B ประการที่สอง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจจะก�ำหนดสิทธิประโยชน์ทางการค้า และการลงทุนที่เอื้อประโยชน์ให้กับประเทศสมาชิก เช่น กรอบความร่วมมือ GMS นอกจาก ประเทศเมียนมาร์จะได้รบั ประโยชน์จากการพัฒนาเส้นทาง R3B และการเปิดใช้สะพานข้าม แดนระหว่างสหภาพเมียนมาร์ – สปป.ลาว ที่บ้านใจละ จังหวัดท่าขี้เหล็ก สหภาพเมียนมาร์ กับเมืองลอง แขวงน�ำ้ ทาง สปป.ลาว ซึ่งนอกจากจะท�ำให้กรอบการพัฒนาความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง สาขาคมนาคมมีความชัดเจนแล้วนั้น สหภาพเมียนมาร์ ยังได้รับประโยชน์จากข้อตกลง Single Window Inspection (SWI) ในความพยายามลด คอขวด (Bottle Neck) จากการเคลื่อนย้ายสินค้าและคนข้ามแดน ที่ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายการ ขนส่งสูงขึน้ ตลอดจนการลดการค้าของผิดกฎหมาย และการค้าของหนีภาษี ทีส่ ำ� คัญข้อตกลง SWI ได้น�ำโดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) ที่มอง เห็นว่าการด�ำเนินการความร่วมมือในกรอบใหญ่หรือทั้ง 6 ประเทศนั้นจะมีความล่าช้า จึง ได้พยายามผลักดันให้ประเทศไทย สปป.ลาว และเมียนมาร์ร่วมมือกันท�ำ Single Window Inspection ซึ่งหากความร่วมมือดังกล่าวของ 3 ประเทศประสบผลส�ำเร็จจะช่วยลดปัญหา การค้าที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจด้าน การท่องเที่ยว เป็นกรอบความร่วมมือที่ช่วยให้ชุมชนได้รับประโยชน์ แม้ว่าต้องมีการพัฒนา ชุมชนเพื่อรองรับการท่องเที่ยวก็ตาม ประการที่สาม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจมักก�ำหนดให้ประเทศสมาชิกมีกิจกรรม ส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจการค้าและการลงทุนระหว่างกัน ตัวอย่างเช่น สถาบันพัฒนาเพื่อ เศรษฐกิจลุ่มน�้ำโขง (Mekong Institute : MI) ด�ำเนินการจัดกิจกรรม Business Matching เพื่อช่วยส่งเสริมกรอบความร่วมมือด้านการด�ำเนินธุรกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงและ กิจกรรมส่งเสริมความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและเอกชนด้านการลงทุนร่วมกัน (Public-Private Partnership: PPP) เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองค�ำ ได้มีการร่วมลงทุน


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 33

ระหว่างรัฐบาลสปป.ลาวกับนักลงทุนจีน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการตามกรอบ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างรัฐบาลและเอกชนของพื้นที่เชียงรายยังคงมีความล่าช้า เนื่องจากปัญหาความไม่ชัดเจนในเรื่องของกฎหมายการลงทุน เป็นต้น นอกจากกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง (GMS) ทีเ่ ป็นก รอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำ� คัญจังหวัดเชียงรายแล้วนั้น กรอบความร่วมมือทางด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็นอีกความร่วม มือทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยแท้จริงกรอบความร่วมมือภายใต้ AEC ที่ ให้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุนแก่นักธุรกิจในพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่ส�ำคัญได้แก่ สิทธิประโยชน์ AFTA ที่นักธุรกิจในพื้นที่สามารถผลิตสินค้าส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยไม่เสียภาษีน�ำเข้า ปัจจุบันกรอบการค้าเสรีอาเซียนได้ตกลงขยายสิทธิประโยชน์ในรูป แบบของ Bilateral Agreement ระหว่างประเทศ ASEAN กับประเทศจีน อินเดีย เกาหลี และญีป่ นุ่ เรียบร้อยแล้ว และอยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการเจรจาเพือ่ ขยายสิทธิประโยชน์ในกลุม่ ความร่วมมือเดียวกันในนาม ความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ดังนั้นพื้นที่จังหวัดเชียงรายจึงสามารถ ใช้สทิ ธิประโยชน์จากกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจทัง้ 2 กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ คือ กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง และกรอบความร่วมมือทาง ด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตลอดจนการใช้สิทธิประโยชน์จากการเป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษจังหวัดเชียงรายระยะที่ 2 ในปี 2559 การลงทุนในสปป.ลาว กรมส่งเสริมการลงทุนของสปป.ลาว มีหน้าที่รับผิดชอบการส่งเสริมการลงทุน ทั้งในและนอกพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปัจจุบันสปป.ลาว มีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Special Economic Zone: SEZ) ทั้งหมด 8 แห่ง โดยมีเขต เศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองค�ำ ซึ่งตั้งอยู่ ณ บ้านต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว ตรงข้ามกับอ�ำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซึ่งน่าจะส่งผลดีต่อนักลงทุนของไทยอย่างมากในอนาคต หาก ผู้ประกอบการต้องการไปด�ำเนินการลงทุนในสปป. ลาว สิ่งที่ส�ำคัญประการหนึ่งคือ ความ รู้และเข้าใจในกฎหมายการลงทุน เช่น ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 34

(Small and Medium Enterprises: SMEs) สามารถด�ำเนินการขออนุมัติได้ที่กระทรวง พาณิชย์ และที่ส�ำคัญถึงแม้ว่าได้รับการอนุมัติผ่านแล้ว แต่ตราบใดที่ผู้ประกอบการนั้นยังไม่ ได้รบั ตราประทับให้ดำ� เนินธุรกิจก็ไม่สามารถประกอบธุรกิจหรือด�ำเนินขัน้ ตอนทางธุรกิจใดๆ ได้ จากความไม่ชดั เจนนีอ้ าจส่งผลให้เกิดปัญหาของการลงทุนขนาดใหญ่ ปัจจุบนั สปป.ลาวได้ สร้างความชัดเจนในการอนุมัติโครงการลงทุนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนโดยการ ท�ำงานร่วมกันของเจ้าแขวงและรัฐบาลกลาง ตลอดจนความชัดเจนในการคุ้มครองนักลงทุน อีกด้วย จากความพยายามดังกล่าวส่งผลให้นักลงทุนหลั่งไหลเข้ามาลงทุนในสปป. ลาวเป็น จ�ำนวนมาก เนื่องจากการสลายความซ้อนทับของอ�ำนาจการอนุมัติการลงทุนระหว่างแขวง กับรัฐบาลกลาง นอกจากนีใ้ นเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะยังมีสทิ ธิประโยชน์ ที่ให้แก่นักลงทุน ได้แก่ 1. นโยบายพิเศษด้านภาษี คณะบริหารหรือสภาบริหารเศรษฐกิจเขตเศรษฐกิจพิเศษและ เขตเศรษฐกิจเฉพาะ เป็นผูพ้ จิ ารณาการยกเว้น หรือลดหย่อนอัตราภาษี ประเภทต่างๆ ให้แก่ ผูล้ งทุนโดยพิจารณาตามแต่ละกิจการ ขนาดของการลงทุน แต่สงู สุดไม่ให้เกินอัตราทีก่ ฎหมาย ว่าด้วยภาษีและกฎหมายว่าด้วยส่วยสาอากรก�ำหนดไว้ 2. ได้รับการยกเว้นภาษีอากร น�ำเข้าน�้ำมันเชื้อเพลิง ในระยะการก่อสร้างให้ผู้พัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่ตั้งอยู่ในถิ่นทุรกันดาร (มิใช่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะทั่วไป) และให้จัดท�ำแผนน�ำเข้าประจ�ำปีโดยคณะผู้บริหารเขตฯ จะเป็นผู้พิจารณา 3. การน�ำเข้าวัตถุดิบภายใน สปป.ลาว เพื่อน�ำไปใช้ในกิจการต่างๆ ของเขตเศรษฐกิจพิเศษ และเขตเศรษฐกิจเฉพาะให้ถือว่าเป็นการส่งออกสินค้า และจะได้รับนโยบายด้านภาษีอากร ตามกฎหมาย


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 35

4. ได้รบั นโยบายส่งเสริมด้วยสิทธิใ์ ช้ทดี่ นิ และกรรมสิทธิเ์ กีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 58 ของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน โดยสามารถขอรับสัมปทานที่ดินจากรัฐบาล ได้นานถึง 99 ปี 5. ได้รับสิทธิในการอยู่อาศัยในดินแดน สปป.ลาว พร้อมทั้งครอบครัว ตามระยะเวลาของ สัญญาการลงทุนพัฒนา 6. ได้รับสิทธิในการว่าจ้างแรงงานตามที่ได้กำ� หนดไว้ในมาตรา 66 ของกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน 7. ได้รับการอ�ำนวยความสะดวกด้านข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการลงทุนและอื่นๆ 8. ได้รับการยกย่องสรรเสริญด้วยรูปแบบต่างๆ อย่างเหมาะสมกับผลงานของผู้พัฒนาและ ผู้ลงทุน 9. ได้รับการเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ตามระเบียบการ เช่น ความเสมอภาคทางการตลาด ส�ำหรับนักลงทุนต่างชาติและนักลงทุนภายใน สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร และได้รับ GSP สามารถเช่าที่ดินได้ 70 ปี และต่อสัญญาได้อีก ไม่มีข้อจ�ำกัดการแลกเปลี่ยนเงินตราและ การโอนเงิน ยกเว้นภาษีได้ 9 ปี ยกเว้นภาษีนำ� เข้าและภาษีมลู ค่าเพิม่ ส�ำหรับวัสดุการก่อสร้าง เครื่องจักรการผลิต และ วัตถุดิบการผลิตเพื่อการส่งออก การให้บริการ One Stop Service ซึ่งนักลงทุนจะได้รับการบริการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Administration of Special Economic Zone: ASEZ) อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การจดทะเบียนการลงทุน พิธีการศุลกากร และการจัดการด้านแรงงาน การดูแลความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง การ ขจัดขยะมูลฝอย และการจัดหาคณะแรงงาน รวมทัง้ การให้คำ� ปรึกษาด้านกฎหมาย และบัญชี ระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา ท่าขนส่งสินค้า โทรคมนาคม และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 36

การลงทุนในสหภาพเมียนมาร์ สหภาพเมียนมาร์มีหน่วยงานที่รับผิดชอบการส่งเสริมในการลงทุนที่ส�ำคัญๆ ได้แก่ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของพม่า (Myanmar Investment Commission: MIC) ประธานหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar Federation of Chambers of Commerce and Industry: UMFCCI) และคณะกรรมการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa SEZ Management Committee: TSEZMC) ซึ่งคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของเมียนมาร์ดูแลการลงทุน จากต่างประเทศและเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด โดยมีหอการค้าและอุตสาหกรรมแห่ง สหภาพพม่าและคณะกรรมการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวาเป็นส่วนหนึ่งของการ ด�ำเนินงาน สิทธิประโยชน์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวาที่ให้แก่นักลงทุน ได้แก่ 1) สิทธิ ประโยชน์ด้านที่ดิน ได้มีการก�ำหนดระยะเวลาการเช่าที่ดินได้นานถึง 50 ปี และสามารถต่อ อายุได้อีก 25 ปี 2) สิทธิประโยชน์ด้านภาษี ในเขต Exempted Zone ได้รับยกเว้นภาษีเงิน ได้นิติบุคคลปีที่ 1-7 และได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ปีที่ 8-12 กรณี ส�ำหรับการน�ำผลก�ำไรกลับมาลงทุนสามารถขยายเพิม่ ในปีที่ 13-17 พร้อมทัง้ ได้รบั การยกเว้น ภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์สำ� หรับการก่อสร้าง ขณะเดียวกันเขต Promotion Zone ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลปีที่ 1-5 และได้รบั สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ร้อยละ 50 ปีที่ 6-10 กรณีสำ� หรับการน�ำผลก�ำไรกลับมาลงทุนสามารถขยายเพิ่มในปีที่ 1115 พร้อมทั้งได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีร้อยละ 50 ระยะเวลา 5 ปี ส�ำหรับการน�ำเข้าวัตถุดิบ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์สำ� หรับการก่อสร้าง และ 3) สิทธิประโยชน์ดา้ นไม่ใช่ภาษี ได้รบั สิทธิใน การเปิดบัญชีกบั ธนาคารต่างชาติ ไม่มขี อ้ จ�ำกัดในการถือหุน้ ของบุคคลต่างชาติหรือนิตบิ คุ คล ต่างชาติ ไม่มขี อ้ จ�ำกัดในการก�ำหนดราคาสินค้า และได้รบั การสนับสนุนจากศูนย์ One Stop Service เป็นต้น ทั้งนี้การเข้ามาลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตามที่รัฐบาลเมียนมาร์ก�ำหนดจะ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานและระบบสาธารณู ป โภค เช่ น ไฟฟ้ า ประปา โทรคมนาคม และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น หากลงทุนนอกพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมักจะเกิด ปัญหาการล่าช้าในการด�ำเนินงาน การลงทุนในเมียนมาร์นอกจากมีการให้เช่าทีด่ นิ ได้นานถึง 75 ปีแล้วนัน้ การถือครอง


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 37

ที่ดินก็เป็นหนึ่งปัจจัยที่เหล่านักลงทุนให้ความส�ำคัญ อย่างไรก็ตามการที่รัฐบาลเมียนมาร์จะ ให้มกี ารครอบครองกรรมสิทธิแ์ บบฟรีโฮลด์ (Freehold) หรือการซือ้ ขาด ยังคงเป็นไปได้ยาก เนือ่ งจากรัฐบาลยังสามารถควบคุมราคาและความต้องการซือ้ ได้ เพราะว่าความต้องการซือ้ สูง แต่ความต้องการขายมีน้อย นอกจากนี้การเช่าที่ดินในเมียนมาร์ยังคงมีความซับซ้อนและข้อ ควรระวังหลายประการ รวมทัง้ รูปแบบการเช่าทีด่ นิ ก็มคี วามหลากหลาย เช่น 1) การเช่าทีด่ นิ ทีต่ อ้ งจดทะเบียนกับกรมทีด่ นิ จึงจะสามารถลงทุนในพืน้ ทีน่ นั้ ได้ แต่หากเช่าทีด่ นิ กับประชาชน เมียนมาร์โดยตรง อาจมีความเสีย่ งและไม่ได้รบั ความคุม้ ครองจากรัฐบาลเมียนมาร์แต่อย่างใด และ 2) การเช่าที่ดินแบบนอมินี (Nominee) ซึ่งเป็นวิธีที่นักลงทุนนิยมใช้เป็นจ�ำนวนมากใน ปัจจุบัน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างพื้นทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงรายและ ประเทศเพือ่ นบ้าน ปัจจุบนั บทบาทของการตกลงด้านการค้าและการลงทุนในพืน้ ทีช่ ายแดนตามกรอบ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย และพื้นที่ชายแดนของ ประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้ ประการแรก กรอบความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ระดั บ ชายแดนต่ อ ชายแดน ในปั จ จุ บั น ของจั ง หวั ด เชี ย งราย ด� ำ เนิ น การโดยคณะกรรมการชายแดนส่ ว นท้ อ งถิ่ น (Township Border Committee: TBC) ซึง่ เป็นความร่วมมือของทหารประเทศไทยกับทหาร สหภาพเมียนมาร์ และนายอ�ำเภอชายแดนของทัง้ 2 ประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการประชุมหารือ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด การเคลื่อนย้ายคน การเปิด – ปิดด่านพรมแดน และการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง ทั้งนี้ ที่ผ่านมากรอบความร่วมมือ TBC เป็นช่องทางของผู้ประกอบการไทยที่สามารถเข้ามาติดต่อการค้า เป็นเวทีตกลงทางการค้า และการแก้ไขปัญหาการค้าชายแดน เป็นต้น ประการที่ 2 กรอบความร่วมมือชายแดนระดับภูมิภาค (Regional Border Committee: RBC) เป็นความร่วมมือในระดับของกองทัพภาค ผู้ว่าราชการจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรึกษาหารือก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาความมั่นคง และปัญหา บริเวณชายแดนร่วมกัน อีกทัง้ ยังเป็นช่องทางของนักธุรกิจทีต่ ดิ ตามซึง่ จะรับรูถ้ งึ สถานการณ์


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 38

การค้าชายแดนเพื่อน�ำมาใช้ในการปรับตัวต่อการด�ำเนินธุรกิจ ประการที่ 3 นอกจากกรอบความร่วมมือทางด้าน TBC และ RBC ยังมีกรอบความ ร่วมมือระหว่างหอการค้าและสภาอุตสาหกรรม หรือทีเ่ รียกว่า สภาการค้า ทีเ่ ป็นเวทีหารือข้อ ตกลงทางการค้า และสร้างกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักธุรกิจไทยกับนักธุรกิจประเทศเพื่อน บ้าน เช่น การร่วมกิจกรรม business matching และควรมีการส่งเสริมให้กรอบความร่วม มือนี้เกิดขึ้นอย่างสม�ำ่ เสมอและเป็นรูปธรรม ปัญหาและอุปสรรคในการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของในพื้นทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงราย ประการแรก ผู้ประกอบการ SMEs ไม่สามารถเข้าถึงเรื่องการใช้สิทธิประโยชน์ ทางการค้า เช่น ผู้ผลิตสินค้า OTOP ไม่มีความรู้ความเข้าใจว่าเมื่อท�ำการผลิตสินค้าแล้วจะ ส่งออกหรือมีช่องทางการส่งออกทางไหนบ้าง หรือผู้ผลิตล�ำไยอบแห้งสามารถส่งไปประเทศ จีนผ่านกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียน-จีนอย่างไรบ้าง ซึ่งผู้ประกอบการ ไทยสามารถท�ำได้ แต่ตอ้ งผลิตสินค้าให้ได้ตามมาตรฐานของประเทศจีน และมีเอกสารก�ำกับ ตามมาตรฐานทีป่ ระเทศนัน้ ๆก�ำหนด อย่างไรก็ตาม หากสินค้าจากไทยทีน่ ำ� เข้าโดยพ่อค้าคน จีนแล้วนัน้ จะสามารถน�ำเข้าสินค้าในราคาต้นทุนต�ำ่ จึงท�ำให้ผปู้ ระกอบการไทยทีท่ ำ� ถูกต้อง ตามกฎระเบียบไม่สามารถสูร้ าคาทีต่ ำ�่ กว่าได้ ดังนัน้ ประเทศไทยควรต้องเร่งด�ำเนินการในข้อ ตกลง Single Window Inspection เพื่อส่งเสริมการค้าที่เป็นระบบตามเส้นทาง R3 ประการที่ 2 การเร่งรัดและผลักดันการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทยโดยมี กฎหมายมาตรา 44 ให้ประสบความส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ปัญหาของผู้ประกอบการ SMEs ที่เกิดขึ้นจากการผลักดันเขตเศรษฐกิจพิเศษในอ�ำเภอแม่สอด ได้แก่ ผู้ประกอบการ SMEs ไม่มีความรู้ความเข้าใจ ไม่มีหน่วยงานกลางหรือหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ ไม่สามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ เช่น เจริญโภคภัณฑ์ สหฟาร์ม และ เบทาโกร ไม่มกี ารผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีท่ ำ� ให้มกี ารประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) และ สถาบันการเงินหรือธนาคารไม่ให้สนิ เชือ่ แก่นกั ธุรกิจ เนือ่ งจากธนาคารอาจจะไม่มคี วาม รูเ้ รือ่ งระเบียบ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ เป็นต้น ดังนัน้ สถาบันการศึกษาควรให้ความรูแ้ ละความเข้าใจ เรื่องสิทธิประโยชน์และการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 39

แนวทางแก้ไขปัญหาการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในพื้นทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงราย ประการที่ 1 ภาครัฐควรลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคภายในเขต เศรษฐกิจพิเศษ และให้ผปู้ ระกอบการเช่าพืน้ ที่ โดยท�ำการเรียกเก็บค่าเช่ากับผูป้ ระกอบการใน ภายหลัง เนือ่ งจากปัจจุบนั ทีด่ นิ มีราคาสูงมากขึน้ ส่งผลให้นกั ลงทุนไม่สามารถตัดสินใจลงทุน ประการที่ 2 การส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs โดยการจัด ตั้งทีมพัฒนาคลัสเตอร์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และควรประกอบด้วยผู้น�ำกลุ่มคลัสเตอร์ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์ (CDA: Cluster Development Agent) และที่ปรึกษาคลัสเตอร์ ประการที่ 3 การเร่ ง เจรจาความตกลงว่ า ด้ ว ยการขนส่ ง ข้ า มพรมแดนใน อนุ ภ มิ ภ าคลุ ่ ม แม่ น้� ำ โขง(GMS Cross Border Trade Agreement: GMS CBTA) ข้อเสนอแนะต่อการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและความร่วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประการที่ 1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าทีม่ าตรฐานเดียวกัน และความร่วมมือด้านข้อมูล การผลิตกับประเทศเพือ่ นบ้าน ได้แก่ HARMONIZED SYSTEM, SMEs Development และ Local Content เพื่อสนับสนุนการพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ในพื้นที่ชายแดนในประเทศ และประเทศเพื่อบบ้าน ประการที่ 2 ส่งเสริมการใช้สิทธิประโยชน์จากรัฐบาลและเอกชนด้านการลงทุน ร่วมกัน (Public-Private Partnership) การก�ำหนดการใช้ปัจจัยการผลิตในท้องถิ่น (Local Content Requirement) ร่วมกับสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone) เพื่อท�ำให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น การ จัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงรายทีม่ กี ารสนับสนุน 10 ประเภทอุตสาหกรรม ควรมีการ เจรจาการใช้สทิ ธิประโยชน์ Local Content กับทางนักลงทุนของสปป.ลาว ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษสามเหลี่ยมค�ำ เพื่อส่งเสริมการผลิตจากต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�้ำบริเวณพื้นที่ชายแดน ประการที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) ปัจจุบัน เชียงรายมีศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานเชียงรายและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน นานาชาติเชียงแสน ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และความต้องการ


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 40

แรงงานทีม่ ฝี มี อื ในแต่ละอุตสาหกรรมในพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ ทัง้ นีต้ อ้ งมีการเจรจาและข้อ ตกลงวัฒนธรรมการท�ำงานของแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น วันหยุดสงกรานต์ ตรุษ จีน และวันหยุดอื่นๆ จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต ประการที่ 4 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักธุรกิจ ผู้ประกอบการควรมีการพบปะ กันมากขึ้น และสถาบันการเงินหรือธนาคารควรเข้ามามีบทบาทโดยการศึกษา Business Environment เพื่อให้ทราบบริบทการลงทุนและให้สินเชื่อซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อนักลงทุน ประการสุดท้าย สนับสนุนอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษย้าย เข้าไปสู่พื้นที่เขตเศรษฐกิจเพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์ดังกล่าว เช่น โรงสีขาว เพื่อการส่งออก สนับสนุนให้ย้ายเข้ามาสู่พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ รัฐบาล ท้องถิ่นและรัฐบาลกลางควรส่งเสริมเพื่อให้เกิดการลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษทันที การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและการลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในพืน้ ทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงรายและประเทศ เพื่อนบ้าน ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับการค้าการลงลทุนให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs ถือได้ว่าเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาผู้ประกอบการไทย ไม่ว่าจะเป็นสิทธิประโยชน์ จากการก�ำหนดการใช้ปัจจัยการผลิตในท้องถิ่น (Local Content Requirement) เพื่อส่ง เสริมประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันการค้าระหว่างประเทศ เนือ่ งจากปัจจุบนั ข้อมูลดังกล่าวยังไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงหรือมีผู้รู้แต่ไม่เผยแพร่ ฉะนั้น จึงท�ำให้ผู้ ประกอบการเสียโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมของตนเอง


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 41

ศักยภาพการค้าการลงทุนในพื้นทีช่ ายแดนจังหวัดเชียงราย (การสัมภาษณ์พิเศษ ดร.อนุรัตน์ อินทร ประธานหอการค้าจังหวัดเชียงราย)1

จุดเด่นของเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัด จังหวัดเชียงรายมีจุดเด่นที่มีพื้นที่อ�ำเภอชายแดนทั้ง 3 อ�ำเภอ ประกอบด้วย อ�ำเภอแม่สาย อ�ำเภอเชียงแสน และอ�ำเภอเชียงของ ซึ่งทั้ง 3 อ�ำเภอนี้ได้รับการพัฒนา ให้เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายมีความสามารใน การเชื่อมโยงระหว่างประเทศต่อไปยัง 3 ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ สภาพเมียนมาร์ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น (จีนตอนใต้) ในขณะที่พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดอื่นๆนั้นเชื่อมต่อเพียงหนึ่งประเทศ ฉะนั้น เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงรายจึงสร้างความแตกต่างอย่างมากในการเป็นจุด ยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญต่อการตัดสินใจมาลงทุนของนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ บทความสัมภาษณ์นี้เป็นหนึ่งในบทความพิเศษของ “ศักยภาพการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย: บริบทการค้า การลงทุน การขนส่ง และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์” เพื่อเป็นประโยชน์แก่การ พัฒนาศักยภาพการค้าและการลงทุนของจังหวัดเชียงรายทั้งภาครัฐบาล ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน

1


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 42

บทบาทของหอการค้าต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ หอการค้าเป็นหน่วยงานหนึง่ ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในฐานะกรรมการของคณกรรมการ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย โดยการให้ความคิดเห็นด้านเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงราย การสนันสนุนข้อมูลในด้านการค้า การลงทุนต่างๆ และโครงสร้างพื้นฐาน ในพื้นที่เพื่อให้ภาครัฐพิจารณาและด�ำเนินการ ทั้งนี้ในอนาคตจะมีการจัดการประชุมเขต เศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย โดยเชิญหอการค้าทั่วประเทศ นักลงทุนทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่เขต เศรษฐกิจพิเศษ สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีและมิใช่ภาษี ตลอดจนความชัดเจนของสถานที่ ในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม นอกจากนี้ หอการค้าฯ ยังได้มีโครงการจัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยว กับเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย เพือ่ เป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญแก่นกั ลงทุนและประชาชน ทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจทีจ่ ะลงทุนในจังหวัดเชียงราย ซึง่ เป็นการร่วมกลุม่ กันระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน อาทิ ข้อมูลด้านการอุปโภคบริโภค ราคาที่ดิน การคมนาคมและโลจิสติกส์ สิทธิ ประโยชน์ทางด้านภาษีและไม่ใช่ภาษี แรงงาน และข้อมูลอื่นๆที่ช่วยให้นักลงทุนสามารถน�ำ ไปศึกษาเพื่อตัดสินใจลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดเชียงราย ความพร้อมของจังหวัดเชียงรายในการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.) จังหวัดเชียงรายได้สรุปผลการคัดเลือก พืน้ ทีข่ องรัฐในพืน้ ที่ 3 อ�ำเภอ เพือ่ เสนอให้รฐั บาลน�ำไปพิจารณา ได้แก่ อ�ำเภอแม่สาย มีจำ� นวน 8 จุดแต่ละจุดมีเนื้อที่ประมาณ 57 - 870 ไร่ และ อ�ำเภอเชียงแสน มีจำ� นวน 3 พื้นที่เนื้อที่ ประมาณ 96 - 2,500 ไร่ และอ�ำเภอเชียงของมีจ�ำนวน 8 พื้นที่ เนื้อที่ประมาณ 73 - 3,021 ไร่ (ประชาชาติ, 2558) ทัง้ นี้ การประกาศเขตการลงทุนในจังหวัดเชียงราจะให้โอกาสแก่ธรุ กิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในพื้นที่เป็นอันดับแรก เพื่อที่จะช่วยให้นักลงทุนในพื้นที่ สามารถแข่งขันกับนักลงทุนรายใหญ่จากข้างนอก รวมถึงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับนักลงทุนรายใหญ่ เพื่อสร้างความสมดุลของวงจรธุรกิจ


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 43

รูปแบบการลงทุนทีเ่ หมาะสมกับเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย จากการประกาศของคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ได้มีการส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในกิจการในเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด 13 กิจการ ทั้งนี้ ทางคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.) จังหวัดเชียงราย ได้เสนอให้คณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษพิจารณาเพียง 10 กิจการ ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมการเกษตร 2. ประมงและกิจการที่เกี่ยวข้อง 3. กิจการอุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่มและเครื่องหนัง 4. กิจการผลิตเครื่องเรือน 5. กิจการอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ 6. กิจการผลิต เครือ่ งมือแพทย์ 7. กิจการผลิตยา 8. กิจการโลจิสติกส์ 9. กิจกรรมนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม และ 10. กิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว และได้ยกเว้น 3 กิจการ ได้แก่ 1. เซรามิก 2. อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน และ 3. อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากจังหวัดใกล้เคียงอย่างล�ำปางได้มีความเชี่ยวชาญอุตสาหกรรมเซรา มิก และด�ำเนินกิจการมายาวนาน อีกทั้งความพร้อมทางวัตถุดิบและแรงงานที่ทักษะที่มีอยู่ ในพื้นที่ เช่นเดียวกันกับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้มีการลงทุนใน จังหวัดล�ำพูนอยู่แล้ว ดังนั้นทางเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายจึงให้ความส�ำคัญด้านการเป็น ศูนย์กระจายสินค้า และบรรจุภัณฑ์หรือการเพิ่ม Value Added และ Value Creation ใน สินค้าดังกล่าว ส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหนัก (Heavy Industry) ไม่เหมาะสมต่อการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ซึง่ จะส่งผลให้เกิด มลภาวะและส่งผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม ทางหอการค้าจังหวัดเชียงรายได้สนับสนุน ให้เกิดการลงทุนในกิจการบางกิจการเป็นพิเศษทีม่ คี วามเหมาะสมต่อการลงทุนอย่างมากใน เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ตัวอย่าง เช่น 1. อุตสาหกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตร เนื่องจากจังหวัดเชียงรายมีผลิตผลทางการเกษตร ที่หลากหลายที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ อาทิ ชา กาแฟ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลิ้นจี่ เป็นต้น จึงเหมาะแก่การท�ำอุตสาหกรรมส�ำหรับการแปรรูปทางการเกษตรอย่างมาก นอกจากนี้ กลุ ่ ม นั ก ลงทุ น ชาวจี น มี ค วามสนใจในการเข้ า มาลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมการเกษตรของ ประเทศไทย ซึ่งจะท�ำให้เกิดการยกระดับความสามารถของการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป อย่างมาก เช่น ทุเรียน และล�ำไย


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 44

2. อุตสาหกรรมสิ่งทอ ที่เน้นผ้าทอพื้นเมืองเป็นหลัก ซึ่งจะเน้นการเจาะตลาดและส่งเสริม ให้เกิดการจ�ำหน่ายสินค้าภายในประเทศเป็นหลัก ในรูปแบบของอุตสาหกรรมท้องถิ่นและ OTOP และไม่สนับสนุนการผลิตเสือ้ ผ้าตลาดทัว่ ไปทีเ่ ชียงรายไม่มคี วามสามารถในการแข่งขัน กับประเทศเพื่อนบ้านได้ เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีอัตราค่าจ้างแรงงานที่ตำ�่ กว่ามาก 3. อุตสาหกรรมการผลิตยาจากสมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ผลิตภัณฑ์จ�ำพวกยาหม่อง ยาดม สมุนไพร เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันสมุนไพรไทยได้รับความนิยมอย่างมากจากนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่นิยมซื้อสินค้าจากประเทศไทยไปเป็นของฝากและของที่ระลึก 4. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ภาครัฐควรเข้าไปลงทุนก่อสร้างศูนย์กระจายสินค้าที่อ�ำเภอ เชียงของโดยตรง เนือ่ งจากการลงทุนดังกล่าวต้องใช้เงินลงทุนจ�ำนวนมากจึงยากทีภ่ าคเอกชน จะเข้ามาลงทุนโดยขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ ปัจจุบัน จีนได้ทำ� การก่อสร้างศูนย์กระจาย สินค้าครบวงจรที่ชายแดนบ่อหาน - บ่อเต็น (จีน - สปป.ลาว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว หากนัก ลงทุนจีนตัดสินใจที่จะการสร้างศูนย์กระจายสินค้าชายแดนฝั่งห้วยทราย – เชียงของ (สปป. ลาว – ไทย) เพิม่ ขึน้ อีกแห่ง ผูป้ ระกอบการไทยจะเกิดการเสียเปรียบอย่างมาก จึงเป็นปัญหา ที่ภาครัฐจ�ำเป็นจะต้องผลักดันให้เร็วที่สุด บริบทการเปลีย ่ นแปลงของพื้นทีช่ ายแดน บริบทการค้าของเมืองชายแดนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามพลวัตทางเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนของเมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย ที่ส�ำคัญคือ อ�ำเภอแม่สาย ที่มีมูลค่าการค้าสูงกับเมืองท่าขี้เหล็กอยู่ในระดับสูง สหภาพเมียนมาร์ เช่นเดียวกันกับ อ�ำเภอเชียงของกับเมืองห้วยทราย สปป.ลาว โดยสินค้าส่วนมากที่ประชาชนจากประเทศ เพื่อนบ้านมีนำ� เข้ามากที่สุดคือ สินค้าอุปโภคบริโภค โดยในปี 2557 มูลค่าการค้าชายแดน จังหวัดเชียงรายสูงถึง 4 หมืน่ ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ยังคงมีมลู ค่าต�ำ่ กว่าการค้าชายแดนของ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตากทีม่ มี ลู ค่าสูงถึง 7 – 8 หมืน่ ล้านบาท เนือ่ งจากพืน้ ทีแ่ ม่สอดสามารถ เชือ่ มต่อไปยังเมืองหลักของเมียนมาร์ได้สะดวกและรวดเร็ว อาทิ เมียวดี มะละแหม่ง เมาะล�ำไย และย่างกุ้ง ทั้งนี้ คาดว่าในอนาคตพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายจะมีมูลค่าการค้าจะมีการ


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 45

เติบโตสูงขึ้น เนื่องจากพื้นที่จังหวัดเชียงรายสามารถเชื่อมต่อไปได้ถึง 3 ประเทศ ได้แก่ สปป. ลาว เมียนมาร์ และจีน อุปสรรคในการวางแผนนโยบายเพือ่ พัฒนาเมืองชายแดน การบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายยังคงมีอุปสรรคและปัญหา เนื่องจาก ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่ได้มีอำ� นาจบริหารแบบเบ็ดเสร็จ หน่วยงานภาครัฐต่างๆ ยังคงขึ้นตรง ต่อหน่วยงานส่วนกลางของประเทศ ทั้งนี้ในการบริหารควรมีผู้บริหาร (Chief Executive Officer: CEO) ทีม่ คี วามสามารถ ความรู้ และประสบการณ์ในการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษ ศักยภาพทางการค้าและการลงทุน ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ถือว่าเป็น ตัวชี้วัดศักยภาพทางการค้าการลงทุนที่ส�ำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน โดยต้อง ให้ความส�ำคัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าท้องถิ่นให้มีมาตรฐานความเป็นสากล (Universal Standard) สินค้าต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะเจาะจง (Unique) และสร้างความ แตกต่ า งจากพื้ น ที่ อื่ น (Product Differentiation) เช่ น การพั ฒ นานวั ต กรรมของ ผู้ประกอบการ SME ในด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) และการสร้าง มูลค่าเพิ่ม (Value Added) ให้แก่สินค้า เป็นต้น นโยบายทีเ่ หมาะสมต่อการค้าการลงทุนชายแดนในอนาคต ในด้านนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมือระหว่างประเทศของจังหวัด เชียงรายควรให้ความส�ำคัญกับ กรอบความร่วมมือ GMS และประชาคมอาเซียนควบคู่กัน ไป เนือ่ งจากว่าการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายควรมองคูค่ า้ ทีส่ ำ� คัญคือ ประเทศจีน การพัฒนาความร่วมมือกับประเทศคู่ค้าและความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ การพัฒนาความร่วมมือกับประเทศคูค่ า้ บริเวณชายแดนนัน้ ทัง้ สองประเทศจะต้อง มีการพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกัน (Inclusive Growth) การเติบโตร่วมจะช่วยให้พื้นที่ ชายแดนมีการพัฒนาศักยภาพอย่างมากในด้านการค้าและการลงทุน โดยทางหอการค้าจะ


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 46

มีการจัดประชุมเกีย่ วกับเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย โดยเชิญบุคคลส�ำคัญจากประเทศเพือ่ น บ้านเข้าร่วมประชุม เพือ่ ทีจ่ ะได้เกิดการพัฒนาร่วมกันระหว่างพืน้ ทีช่ ายแดนของประเทศคูค่ า้ และพื้นที่ชายแดนของจังหวัดเชียงราย สรุปประเด็นส�ำคัญ จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพอย่างมากในด้านการค้าการลงทุน โดย เฉพาะในพื้นที่บริเวณชายแดนที่มีมูลค่าทางการค้าอยู่ในระดับสูงอย่างมากและมีการขยาย ตัวเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี เนื่องจากจังหวัดเชียงรายมีพ้ืนที่ชายแดนที่เปรียบเสมือนประตูที่ สามารถเชือ่ มต่อไปได้ถงึ 3 ประเทศ ทีเ่ ป็นคูค่ า้ ส�ำคัญ ได้แก่ เมียนมาร์ สปป.ลาว และจีนตอน ใต้ ซึง่ เส้นทางทีเ่ ชือ่ มจากจังหวัดเชียงรายทีผ่ า่ นไปยังประเทศเพือ่ นบ้านสูจ่ นี ตอนใต้ทเี่ รียกกัน ว่าถนน R3A และ ถนน R3B เป็นเส้นทางที่อยู่บนระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) ภายใต้ความร่วมมืออนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้ผลักดันให้เกิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ เอื้อต่อการค้าและการลงทุน อาทิ สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ที่อ�ำเภอเชียงของ และ ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 เป็นต้น นอกจากนี้ จังหวัดเชียงรายยังมีท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ที่เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่มีความส�ำคัญต่อการขนส่งระหว่างประเทศ ทั้งนี้ จังหวัด เชียงรายมีสินค้าที่เป็นลักษณะเฉพาะและมีความพิเศษแตกต่างจากพื้นที่อื่น เช่น ผ้าทอพื้น เมือง ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้า และพัฒนาให้กลายเป็นสินค้าทีเ่ ปรียบเสมือนตรา สัญลักษณ์ประจ�ำจังหวัด รวมถึงสินค้าเกษตรไม่ว่าจะเป็น ชา กาแฟ และลิ้นจี่ ที่มีศักยภาพ ในการผลิตเพือ่ ส่งออกอย่างมาก ตลอดจนสินค้าประเภทยาสมุนไพรพืน้ บ้าน และเครือ่ งเรือน จากยางพาราเป็นสินค้าที่มีความต้องการอย่างมากในตลาดเอเชีย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการชายแดนมีความต้องการการสนับสนุนอย่างมาก จากภาครัฐในเรื่องการให้สิทธิประโยชน์ การให้ข้อมูล การสร้างความร่วมมือ การปรับปรุง กฎระเบียบและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุน รวมถึงให้การสนับสนุนด้านการ พัฒนาการขนส่งและโลจิสติกส์ ซึ่งจะช่วยให้เชียงรายมีศักยภาพให้การพัฒนาพื้นที่ให้กลาย เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในอนาคตข้างหน้า โดยนโยบายที่ควรให้ความส�ำคัญเป็นหลัก คือ 1. การสร้างห่วงโซ่มูลค่าชายแดน (Border Value Chain: BVC) เพื่อเชื่อมโยงการผลิตจาก


สัมภาษณ์พิเศษ (Exclusive Interviews) หน้า 47

ต้นน�้ำจนถึงปลายน�้ำในพื้นที่ชายแดนต่างๆในภูมิภาค 2. การสร้างนวัตกรรมและเอกลักษณ์ ของสินค้า OTOP ในกลุ่มของผู้ประกอบการ SMEs เป็นการมูลค่าให้กับสินค้าของจังหวัด เชียงรายให้สามารถแข่งขันในเวทีระดับอาเซียน และเวทีระดับโลก 3. นโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจร่วมชายแดน (Border Economic Policy) หรือนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจข้าม แดน (Cross-border Economy Policy) ที่ช่วยผลักให้เกิดการยกระดับการพัฒนาสู่การ เติบโตแบบคู่ขนานของพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย และเพื่อนบ้านไปพร้อมกัน


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 48

การปรับเปลีย ่ นโครงสร้างโซ่คุณค่า และพัฒนาระบบการจัดการ โลจิสติกส์ และโซ่อุปทานการส่งออกสินค้าเกษตรสู่ประเทศในกลุ่ม BIMSTEC: เพือ่ พัฒนาตลาด และเครือข่ายสหกรณ์การเกษตรใน เขตภาคเหนือตอนบน ดร. สุเทพ นิ่มสาย ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส ณัฐพล รังสฤษฎ์วรการ บทคัดย่อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของโครงการวิ จั ย นี้ เพื่ อ วิ เ คราะห์ โ อกาสและอุ ป สรรค แนวทางการพัฒนาตลาดและการจัดการโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมการน�ำเข้า-ส่งออก ผลไม้สดของไทย กรณีการน�ำเข้า-ส่งออกระหว่างไทย อินเดีย และบังคลาเทศ) เพื่อรองรับ การพัฒนาระบบสหกรณ์ในอุตสาหกรรมการส่งออกล�ำไยไปยังตลาดใหม่ (BIMSTEC) โดยเน้นการศึกษาเชิงส�ำรวจภายใต้บริบทแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของ ผลไม้เศรษฐกิจ 1 ชนิด ได้แก่ ล�ำไย จากการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมการส่งออกผลไม้สด ของไทยไปอินเดีย และบังคลาเทศนัน้ มีอปุ สรรคทีส่ ำ� คัญได้แก่ ความบกพร่องของกลไกตลาด และระบบการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความไม่เข้มแข็งของสหกรณ์ในประเทศไทย การแทรกแซงของพ่อค้าชาวต่างชาติ รวมถึงนโยบายของรัฐ แต่ทั้งนี้ประเทศไทยยังมีโอกาส ทางการค้ากับอินเดีย และบังคลาเทศในหลายประเด็น อาทิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผู้บริโภค และการขยายตัวของตลาดสมัยใหม่และตลาดเฉพาะกลุ่มประเทศ BIMSTEC ซึง่ โครงการวิจยั นีย้ งั ได้ให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับนโยบายการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานสินค้าเกษตร ในทุกขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทาน ค�ำส�ำคัญ : ผลไม้ การส่งออก โซ่อุปทาน อินเดีย บังคลาเทศ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 49

1. สถานการณ์ด้านการผลิตล�ำไยในประเทศไทย รูปที่ 1 สัดส่วนพื้นทีเ่ พาะปลูกล�ำไยไทย ปี 2556 จันทบุรี สระแก้ว ตราด - ผลผลิต 249,418 ตัน คิดเป็น 28.94 % จากทั้งประเทศ - ผู้เพาะปลูก: เกษตรกรรายใหญ่ มีขนาดของ สวนที่ใหญ่ มีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการเพาะ ปลูก เชียงใหม่ ล�ำพูน เชียงราย พะเยา (จังหวัดทีม ่ ี ผลผลิตล�ำไย 5 อันดับแรกของประเทศไทย) - ผลผลิตทั้งภาคเหนือ 540,321 ตัน คิดเป็น 62.69 % จากทั้งประเทศ - ผู้เพาะปลูก: เกษตรกรขนาดกลาง และขนาด เล็กต้องรวบรวมผลผลิตจากประมาณ 10 – 15 สวน เพือ่ การส่งออกต่อ 1 ตู้ คอนเทนเนอร์

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย โดยใช้ฐานข้อมูลจากส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556 รูปที่ 1 ผลผลิตล�ำไยของภาคเหนือเดือนก.ค. - ก.ย. 2557

พันธุ์ล�ำไยที่เพาะปลูกใน ประเทศไทย ปี 2556 - พันธุ์อีดอ 96 % - พันธุ์กะโหลก 0.85 % - พันธุ์สีชมพู 0.08% - พันธุ์อื่น ๆ 2.94 % ได้แก่ พันธุ์เบี้ยวเขียว พันธุ์เพชรสาคร พันธุ์ แห้ว

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย โดยใช้ฐานข้อมูลจาก ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557)


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 50

ตารางที่ 1 ราคาล�ำไยทีเ่ กษตรกรขายได้ และราคาล�ำไยแบบรายเดือน ณ ตลาดค้าส่ง ปี 2556 เดือน

ราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ (บาท/ก.ก.)

ราคาขายส่ง เฉลี่ย ณ ตลาด ค้าส่งส�ำคัญ

ม.ค.****

32.78

37.13

ก.พ.****

35.22

44.31

มี.ค.****

35.64

39.24

เม.ย.****

30.39

36.32

พ.ค.****

32.59

52.26

มิ.ย.***

25.28

36.14

ก.ค.*

23.96

27.69

ส.ค.*

23

27.92

ก.ย.**

24.92

27.81

ต.ค.***

22.29

34.61

พ.ย.***

26.69

34.29

ธ.ค.***

32.75

34.37

ราคาเฉลี่ยทั้งปี 28.79 36.01 ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจาก กรมส่งเสริมการเกษตร (2556), ตลาดสีม ่ ุมเมือง (2556), ส�ำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 (2556) หมายเหตุ

ล�ำไยพันธุ์ อีดอ มีผลผลิต 96 % ของล�ำไยทั้งประเทศไทย (กรมส่งเสริม การเกษตร, 2556)

*

หมายถึง ช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิตมาก

**

หมายถึง ช่วงผลผลิตปานกลาง

***

หมายถึง ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิตน้อย

****

หมายถึง ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิตนอกฤดู


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 51

รูปที่ 3 การเปลีย ่ นแปลงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรของไทย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 52

2. ประสิทธิภาพของสหกรณ์ในการส่งออกไปยังตลาดประเทศอินเดีย และบังคลาเทศ สหกรณ์ในประเทศไทย มีอยู่หลายรูปแบบแบ่งตามหน้าที่ของสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์ ทีส่ ำ� คัญได้แก่ สหกรณ์การเกษตร โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือนัน้ สหกรณ์การเกษตรมีสดั ส่วน ถึงร้อยละ 64 จากสหกรณ์ทุกประเภทในภาคเหนือ

ที่ 1 2

รูปที่ 4 สัดส่วนสหกรณ์การเกษตร และรวบรวมผลผลิตล�ำไยเพือ่ การส่งออก 3

มีเพียง 50 สหกรณ์ ที่ท�ำกิจกรรมด้านการ ตลาดล�ำไย (รวบรวม, ส่งออก, แปรรูป) มี 5 สหกรณ์ ที่ รวบรวมผลผลิตล�ำไย เพื่อการส่งออกไปยัง ตลาดต่างประเทศ ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ มาเลเซีย, จีน, เวียดนาม

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจาก กรมส่งเสริมสหกรณ์ (2556)

ส�ำหรับในเขตภาคเหนือตอนบน ผู้วิจัยพบว่ามีสหกรณ์ที่ด�ำเนินการอยู่ 894 แห่ง และจาก 894 แห่งนี้ มีเพียง 5 สหกรณ์เท่านั้นที่ดำ� เนินงานเกี่ยวกับการรวบรวมผลผลิตและ ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ ซึง่ อยูใ่ นจังหวัด ล�ำพูน 2 แห่ง เชียงใหม่ 1 แห่ง พะเยา 1 แห่ง (กรมส่งเสริมสหกรณ์, 2556) ซึ่งมีรายชื่อสหกรณ์ ดังนี้

4

5

ใดเลย สหภา ประเท ของส ในการ นั้น ค การบ ล�ำไยไ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 53

ตารางที่ 2 สหกรณ์ที่ท�ำหน้าทีร่ วบรวมผลผลิตเพือ่ ส่งออก ที่

รายชื่อสหกรณ์

รายละเอียดการจัดส่ง

โทร.

1

สหกรณ์การเกษตร สันป่าตอง

ท�ำเฉพาะล�ำไยอบแห้งส่งประเทศจีน โดยทางเรือ

053-830842

2

สหกรณ์การเกษตร น�ำ้ แวน (พะเยา)

ท�ำทั้งล�ำไยอบแห้งทั้งเปลือก และล�ำไย สด ส่งออกให้แก่เวียดนามและจีน โดย ขายให้พ่อค้าจีน ขนส่งทางท่าเรือ เชียงของ

087-4804188

3

สหกรณ์การเกษตร แม่ทา (ล�ำพูน)

ท�ำล�ำไยอบแห้งให้พ่อค้าจีน

086-1833371

4

สหกรณ์ผู้ผลิต ผลิตผลการเกษตร เหมืองจี้ (ล�ำพูน)

สงออกผลผลิตล�ำไย ไปประเทศ เวียดนาม ร้อยละ 93 ส่วนที่เหลือขาย ในประเทศ

086-1836125

5

สหกรณ์ประตูป่า (ล�ำพูน)

รวบรวมผลผลิต ล�ำไย ลิ้นจี่ ส่งออก มาเลเซีย

053-001290

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และส�ำรวจ (2557)

อย่างไรก็ตามพบว่า ตลาดส่งออกส่วนใหญ่ทสี่ ง่ ไปเป็นตลาดจีน และยังไม่มสี หกรณ์ ใดเลยที่ท�ำการส่งออกผลผลิตล�ำไยไปยังประเทศใน BIMSTEC ทั้ง อินเดีย บังคลาเทศ และ สหภาพเมียนมาร์ ทั้งนี้จากการลงพื้นที่ส�ำรวจและสัมภาษณ์ พบว่าผู้ที่ส่งออกล�ำไยไปยัง ประเทศอินเดียนั้นเป็นผู้รวบรวมที่ไม่ได้เป็นการรวมกลุ่มของสหกรณ์ ดังนั้นประสิทธิภาพ ของสหกรณ์ในการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศใน BIMSTEC นั้นจึงถือว่ายังไม่มีประสิทธิภาพ ในการส่งออก ซึ่งหากกลุ่มสหกรณ์นั้นต้องการส่งออกผลผลิตล�ำไยไปยังประเทศใน BIMSTEC นั้น ควรมีการส่งเสริมจากภาครัฐในการให้ความรู้ในด้านประเทศใน BIMSTEC พฤติกรรม การบริโภค ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย และการท�ำการเชื่อมระหว่างอุปสงค์และอุปทานของ ล�ำไยไทย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 54

3. โอกาสและอุปสรรคของการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศอินเดียและ บังคลาเทศ รูปที่ 5 แนวโน้มมูลค่าการส่งออกล�ำไยไปยังตลาดส�ำคัญ ปี 51 -56

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย โดยใช้ฐานข้อมูลจาก Global Trade Atlas – กรมศุลกากร (2557)


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 55

ตารางที่ 3 สรุปสัดส่วนปริมาณการส่งออกผลผลิตล�ำไยไปยังตลาดโลก ปี 2556 ส่งออก

มูลค่า (ล้านบาท)

สัดส่วน %

ตลาด ASEAN (เรียงตามล�ำดับมูลค่าการส่งออก) 1. อินโดนีเซีย

(49.9%)

1,311

2. เวียดนาม

(40.7%)

1,068

3. สิงคโปร์

(3.5%)

92

4. มาเลเซีย

(3.1%)

81

5. ฟิลิปปินส์

(2.2%)

59

6. ลาว

(0.2%)

7

7. บรูไน

(0.08%)

2

8. สหภาพเมียนมาร์

(0.009%)

0.23

9. กัมพูชา

(0.002%)

0.065

ตลาดจีน ตลาด BIMSTEC (ไม่รวมสหภาพเมียนมาร์)

30.90%

4,292

50.50%

10

0.10%

ตลาดนอกอาเซียน (แคนาดา, สหรัฐฯ, สหรัฐอาหรับฯ, เนเธอร์แลนด์, ฝรั่งเศส,ออสเตรเลีย, บาเรนห์, สหราชอาณาจักร, กาต้าร์, นิวซีแลนด์, คูเวต, รัสเซีย, ซาอุดิอาราเบีย, เยอรมนี, คุ๊ก ไอส์แลนด์, อิตาลี, โคโคส ไอส์แลนด์, สวิต 1,576 18.50% เซอร์แลนด์, เกาหลีใต้, อียิปต์, นอร์เวย์, โอมาน, มัลดีฟ ส์, สวีเดน, เดนมาร์ก, เชค, ไอส์แลนด์, ออสเตรีย, เลบานอน, ปากีสถาน, อิหร่าน, ญี่ปุ่น, จอร์แดน, แอฟริกาใต้, สเปน, ไต้หวัน และอูกันด้า) ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย จาก Global Trade Atlas – กรมศุลกากร (2556)


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 56

รูปที่ 6 แนวโน้มมูลค่าการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศใน BIMSTEC ปี 2551 - 2556

ล�ำไยส่งออก (BIMSTEC)

อินเดีย ปริมาณ 296,000 กิโลกรัม มูลค่า 9.7 ล้านบาท แนวโน้ม: บังคลาเทศ ปริมาณ 470 กิโลกรัม มูลค่า 23,719 บาท แนวโน้ม: สหภาพเมียนมาร์ ปริมาณ 24,000 กิโลกรัม มูลค่า 239 แสนบาท แนวโน้ม:

ที่มา: รวมรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจาก Global Trade Atlas-กรมศุลกากร (2557)

แนวโน้มในการส่งออกล�ำไยไปยังตลาดโลก นั้น ถือว่ามีแนวโน้มการส่งออกเป็น ขาขึน้ และตลาดเป้าหมายทีส่ ำ� คัญนัน้ ได้แก่ ประเทศจีน (ร้อยละ 50) ฮ่องกง และประเทศใน อาเซียน (ร้อยละ 30) อาทิ มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่งประเทศเหล่านี้ เป็นประเทศผู้นำ� เข้าล�ำไยจากประเทศไทยที่ติดอันดับต้นๆอยู่เสมอมา ด้านการส่งออกล�ำไย ไปยังประเทศ BIMSTEC นัน้ พบว่า มีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 0.12 ซึง่ ประเทศทีน่ ำ� เข้ามากทีส่ ดุ ได้แก่ อินเดีย และปัจจุบันอินเดียมีแนวโน้มการน�ำเข้าที่เพิ่มสูงขึ้นอีกด้วย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 57

รูปที่ 7 การพยากรณ์แนวโน้มมูลค่าการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศอินเดีย และบังคลาเทศ ปี 57 - 61


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 58

ส�ำหรับการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศ BIMSTEC อินเดีย ถือเป็นตลาดส�ำคัญ (ร้อยละ 97) ซึ่งมีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นในทุกปี ส่วนบังคลาเทศ (ร้อยละ 0.24) นั้นถือว่า มีแนวโน้มการส่งออกล�ำไยจากประเทศไทยที่ลดลง ทั้งนี้ เนื่องด้วยพฤติกรรมการบริโภค และปัจจัยอื่น ๆ เช่น ภาษีการน�ำเข้า และโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ระบบคมนาคมทางถนน เป็นต้น เช่นเดียวกัน สหภาพเมียนมาร์ (ร้อยละ 2.38) ก็มีแนวโน้มการน�ำเข้าล�ำไยที่ลดลง อย่างไรก็ตาม มีเพียง 3 ประเทศใน BIMSTEC เท่านั้นที่มีการน�ำเข้าล�ำไยจากประเทศไทย ซึ่งการน�ำเข้าล�ำไยของประเทศอินเดียนั้นโดยรวมแล้วการน�ำเข้าขึ้นอยู่กับเทศกาลต่างๆ ส่วนในประเทศบังคลาเทศนั้นเทศกาลมีส่วนต่อการน�ำเข้าล�ำไยจากประเทศไทยไม่มากนัก ซึ่งแสดงดังรูปและตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 4 สรุปฤดูกาลผลิตและส่งออกล�ำไยไทยไปยังประเทศ อินเดีย และบังคลาเทศ

ฤดูกาลผลผลิตล�ำไยไทย

ผลผลิตล�ำไยภาคตะวันออก

ผลผลิตล�ำไยภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ผลผลิตล�ำไยภาคเหนือ

เดือน

ล�ำไยส่งออกประเทศ อินเดีย ปี 2556

ล�ำไยส่งออกประเทศบัง คลาเทศ ปี 2556

ปริมาณส่ง ออกเฉลีย ่

ราคาส่ง ออกเฉลีย ่ ต่อ ก.ก.

เดือน

ราคาส่ง ออกเฉลีย ่ ต่อ ก.ก.

ม.ค.

20.37%**

24.39

43.40%***

47.41

ก.พ.

16.06%**

27.54

1.91%

19

มี.ค.

16.03%**

27.19

0%

0

เม.ย.

0.19%

43.68

0%

0

พ.ค.

0.17%

131.25

0%

0

มิ.ย.

0.07 %

17.61

1.70%*

132.87

ก.ค.

3.81%**

38.14

9.15%**

32.16

ส.ค.

0.07%

152.23

12.77%**

20

ก.ย.

4.52%**

14.94

4.26%*

52.5

ฤด

ผลผ


ส�ำคัญ ถือว่า ริโภค งถนน ลดลง ศไทย ต่างๆ ากนัก

ศบัง 56

าส่ง ฉลีย ่ ก.ก.

.41

9

0

0

0

.87

.16

0

2.5

In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 59

ฤดูกาลผลผลิตล�ำไยไทย

เดือน

ผลผลิตล�ำไยภาคตะวันออก

ล�ำไยส่งออกประเทศ อินเดีย ปี 2556

ล�ำไยส่งออกประเทศบัง คลาเทศ ปี 2556

ปริมาณส่ง ออกเฉลีย ่

ราคาส่ง ออกเฉลีย ่ ต่อ ก.ก.

เดือน

ราคาส่ง ออกเฉลีย ่ ต่อ ก.ก.

ต.ค.

8.36%**

39.26

9.57%**

66.66

พ.ย.

22.09%***

42.10

14.04%**

77.72

ธ.ค.

8.26%

48.95

3.19%*

70

ที่มา รวบรวมโดยผู้วิจัยจากหลายแหล่งข้อมูล 1. ผลผลิตล�ำไยรายเดือน จากกรมส่งเสริมการเกษตร (2556) 2. สถิติส่งออกล�ำไยรายเดือน จากกรมศุลกากร (2556) หมายเหตุ 1

หมายเหตุ 2

***

หมายถึง ปริมาณการส่งออกมาก

**

หมายถึง ปริมาณการส่งออกปานกลาง

*

หมายถึง ปริมาณการส่งออกน้อย

ช่วงที่มีการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศอินเดีย เป็นช่วง เทศกาล เทศกาลไหว้พระที่พุทธคยา เทศกาลดิวาลี เทศกาลปงกอล และเทศกาลโฮลี่ ซึ่งแต่ละเทศกาลล้วน แล้วแต่เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองของชาวอินเดีย จึงมีการ จับจ่ายใช้สอย ทั้งในการบริโภคมากพอสมควร ส่วนการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศบังคลาเทศยังได้รับ ผลกระทบจากเทศกาลไม่มากนัก ซึ่งชาวบังคลาเทศก็ มีการจัดเทศกาลดิวาลี เช่นเดียวกันกับประเทศอินเดีย ซึ่งมีการน�ำเข้าล�ำไยไม่มาก แต่ในช่วงขึ้นปีใหม่สากล ประเทศบังคลาเทศน�ำเข้าล�ำไยจากประเทศไทยถึง ร้อย ละ 43 จากปริมาณการน�ำเข้าของทัง้ ปี คิดเป็นปริมาณ 200 กิโลกรัม


ตารางที่ 5 ผลผลิตล�ำไยตามภูมิภาค ผลผลิตทีส ่ ่งออกประเทศ จีน อินเดีย บังคลาเทศ และเทศกาลที่เกี่ยวข้องคลาเทศ

In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 60


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 61

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย จากหลายแหล่งข้อมูล

หมายเหตุ

หมายถึง ช่วงเทศกาลในประเทศอินเดีย หมายถึง ช่วงเทศกาลในประเทศบังคลาเทศ

จากตารางข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสอดคล้ อ งของปริ ม าณการการผลิ ต ล� ำ ไยพั น ธุ ์ อี ด อ ซึ่ ง เป็ น พั น ธุ ์ ที่ มี ก ารเพาะปลู ก ถึ ง ร้ อ ยละ 96 จากผลผลิ ต ทั้ ง ประเทศ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2556) ซึ่งจ�ำแนกผลผลิตเป็นรายเดือนซึ่งผลผลิตล�ำไยส่วนใหญ่ ที่ออกมาตามฤดูกาล ในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายนนั้นเป็นผลผลิตมากจาก ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ส่วนผลผลิตล�ำไยอีดอในช่วงนอกฤดูกาล ตั้งแต่ช่วง เดือนตุลาคม จนถึง เดือนพฤษภาคมนั้น เป็นผลผลิตมาจากภาคตะวันออก ซึ่งจังหวัด ผู้เพาะปลูกหลักได้แก่ จันทบุรี ที่มีผลผลิตมากกว่าร้อยละ 90 ของผลผลิตในภาคตะวันออก ส� ำ หรั บ ในช่ อ งเดื อ นมิ ถุ น ายนนั้ น ผลผลิ ต ล� ำ ไยในประเทศไทยมากจากหลายภู มิ ภ าค ทั้งภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดือนมิถุนายน เป็นเดือนที่มีผลผลิตน้อยที่สุดในรอบปี ส�ำหรับปี 2556 ที่ผ่านมา


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 62

4. การจัดการโซ่อุปทานการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศอินเดีย และ บังคลาเทศ รูปที่ 8 การจัดการโซ่อุปทานล�ำไยไปยังประเทศอินเดีย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 63

รูปที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานล�ำไยไปยังประเทศประเทศบังคลาเทศ

ในส่วนถัดไป เป็นการเปรียบเทียบระยะเวลาในการขนส่งผลไม้ระหว่างเส้นทาง ทะเลและเส้นทางอากาศจากไทยไปยังประเทศอินเดียและบังคลาเทศว่า เส้นทางใดใช้เวลาใน การรวบรวมและส่งต่อระหว่างแต่ละผู้เล่นในโซ่อุปทานนานเท่าไร ซึ่งเป็นการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโซ่อุปทานการส่งออกในแต่ละส่วนได้ผลการ ศึกษาดังนี้


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 64

รูปที่ 10 เปรียบเทียบระยะเวลาในการส่งส่งผลไม้ระหว่างเส้นทางทะเล และเส้นทางอากาศจาก ไทย ไปอินเดีย-บังคลาเทศ

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยจากการส�ำรวจและสัมภาษณ์ (2557)

หากพิจารณารูปที่ 10 ข้างต้นแสดงให้เห็นถึงระยะเวลาตั้งแต่เกษตรกรไปจนถึง ตลาดปลายทางในของทั้งสองประเทศโดย มีการเปรียบเทียบการขนส่ง 2 ช่องทาง คือ ช่องทางทะเล และช่องทางอากาศ การส่งออกล�ำไยไปยังประทศอินเดีย นั้นช่องทางหลักคือช่องทางอากาศอย่างไร ก็ตามในอดีตยังมีการขนส่งผลไม้ไปยังช่องทางทะเล พบว่า ใช้ระยะเวลายาวนานกว่า ช่องทางอากาศถึงเกือบ 4 เท่าตัว โดยระยะเวลาในการส่งออกล�ำไยไปทางทะเลใช้เวลา ประมาณ 17 – 22 วันถึงท่าเรือในประเทศอินเดีย และกระจายต่อไปยังตลาดค้าส่ง และตลาดค้าปลีก ใช้เวลารวมทั้งสิ้น 24 – 26 วัน แล้วแต่กรณี ส่วนการส่งออกล�ำไยผ่านช่องทางอากาศนั้นพบว่าใช้ระยะเวลาน้อยกว่าการขนส่ง ผ่านช่องทางทะเลถึง โดยใช้ระยะเวลาเพียงประมาณ 1 ใน 4 ของระยะเวลาในการส่งออก ทางทะเลทัง้ หมด โดยใช้เวลาทัง้ สิน้ 7 วันถึงตลาดค้าส่งในประเทศอินเดีย และ 8 วันถึงตลาด ค้าปลีกและผู้บริโภคในที่สุด


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 65

รูปที่ 11 ต้นทุนโลจิสติกส์ของล�ำไยในการส่งออกไปยังประเทศอินเดีย และบังคลาเทศ

ด้านการส่งออกทางทะเลไปยังประเทศบังคลาเทศนั้นใช้ระยะเวลาใกล้เคียงกับ ประเทศอินเดีย โดยการส่งออกล�ำไยไปยังประทศบังคลาเทศนั้นใช้เวลาเดินทางจากท่าเรือ ในประเทศไทยไปยังท่าเรือจิตตะกองประมาณ 17-20 วัน และกระจายไปยังตลาดค้าปลีก และห้างสรรพสินค้าภายใช้ระยะเวลารวมทั้งสิ้น 22-24 วัน ส่วนในการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศบังคลาเทศทางอากาศนั้นพบว่ามีระยะเวลา


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 66

รวบรวมผลผลิตตัง้ แต่หน้าสวนไปจนถึงกระบวนการส่งออกถึงสนามบินธากา ประมาณ 4 วัน และ ใช้เวลากระจายสินค้าไปยังตลชาดค้าปลีกเพียงอีก 2 วัน รวมเป็น 7 วัน โดยประมาณ และหากเปรียบเทียบระหว่างเส้นทางส่งออกล�ำไยทั้ง 2 เส้นทางนั้น ในมิติของต้นทุน โลจิสติกส์ต่อล�ำไย 1 กิโลกรัม นั้นถือว่ามีความแตกต่างกันอย่างมาก จากรูปข้างต้น แสดงให้เห็นถึงต้นทุนโลจิสติกส์ที่แตกต่างกันออกไประหว่าง การขนส่งทางอากาศแลการขนส่งทางเรือ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาล�ำไยต่อหน่วย ที่เพิ่มขึ้น โดยรูปข้างต้นนั้นแสดงให้เห็นถึงต้นทุนการส่งออกล�ำไยต่อหน่วย ซึ่งการส่งออก ล�ำไยทางเรือมีต้นทุนโลจิสติกส์ที่ต�่ำกว่าทางอากาศมาก แต่อย่างไรก็ตามการส่งออกทาง อากาศนั้น ช่วยลดระยะเวลาในการขนส่งถึงเกือบประมาณ 20 วันในการส่งออกไปยัง ทั้งประเทศอินเดียและบังคลาเทศ รูปที่ 12 สรุปราคาล�ำไยในการส่งออกไปยังอินเดีย และบังคลาเทศ

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยจากการส�ำรวจ และสัมภาษณ์ (2557)


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 67

นอกจากระยะเวลาในการส่งออกแล้วผู้วิจัยได้ท�ำรูปสรุปราคาล�ำไยของไทยตลอด โซ่อุปทานในการส่งออกไปยังประเทศอินเดีย และบังคลาเทศซึ่งผลการศึกษาพบว่าล�ำไย ไทยในประเทศมีส่วนต่างที่ไม่สูงมากนัก ส่วนในการส่งออกไปยังบังคลาเทศพบว่ามีช่อง ว่างระหว่างราคาที่สูงขึ้น เนื่องมากจากภาษีการน�ำเข้าล�ำไยของประเทศบังคลาเทศสูง ถึงร้อยละ 92 ส่วนภาษีการน�ำเข้าล�ำไยในประเทศอินเดียนัน้ เป็น 0 ตามข้อตกลง Thai-India FTA จากข้อมูลการจัดการโซ่อุปทานในการส่งออกล�ำไยไปยังประเทศอินเดียและ บังคลาเทศนั้นแสดงให้เห็นถึงช่องทางการส่งออกที่เหมาะสมกับล�ำไย ซึ่งเป็นผลไม้กรณี ศึกษาโดยเปรียบเทียบทั้งในเรื่องของราคาในแต่ละส่วนในโซ่อุปทาน ระยะเวลาในการขนส่ง ช่องทางการขนส่ง และต้นทุนโลจิสติกส์ ซึ่งช่องการการส่งส่งล�ำไยทางอากาศนั้นเหมาะ กับการส่งออกล�ำไยไทย และการส่งออกล�ำไยทางเรือนั้นใช้ระยะเวลาในการขนส่งนาน จึงไม่สามารถเก็บผลผลิตล�ำไยให้วางขายในท้องตลาดอย่างมีประสิทธิภาพได้


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 68

โอกาสทางการตลาดและแนวทางการพัฒนาโซ่คุณค่าโคเนื้อ ของไทยในตลาดอาเซียน-จีน: กรณีศึกษาตลาดใน สปป.ลาว เวียดนาม และจีน (ตอนใต้) ดร. สุเทพ นิ่มสาย ดร.ภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรักษ์ ณัฐพล รังสฤษฎ์วรการ บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ ศึกษาและวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด และ แนวทางการพัฒนาโซ่คุณค่าโคเนื้อไทย เพื่อยกระดับการส่งออกโคเนื้อไทยในตลาดอาเซียน และจีน ขอบเขตของการศึกษาของสินค้าคือโคเนื้อและเนื้อโค ซึ่งประเทศที่ไทยน�ำเข้าคือ สหภาพเมียนมาร์ และประเทศที่ไทยส่งออกคือคือ สปป.ลาว เวียดนาม และจีน การวิจัยนี้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการวิจยั เชิงส�ำรวจร่วมกับการวิเคราะห์หว่ งโซ่อปุ ทาน การวิเคราะห์ตน้ ทุน การขนส่ง การวิเคราะห์แบบจ�ำลองเพชร และการวิเคราะห์ส่วนเหลื่อมทางการตลาดของ โคเนื้อและเนื้อโค ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยน�ำเข้าโคเนื้อจากสหภาพเมียนมาร์ เนื่ อ งจากมี ป ริ ม าณโคในประเทศไม่ เ พี ย งพอ ซึ่ ง ในการน� ำ เข้ า โคนั้ น ส่ ง ผลให้ ต ้ น ทุ น สู ง และส่วนเหลื่อมการตลาดตกอยู่กับพ่อค้าชาวสหภาพเมียนมาร์เป็นจ�ำนวนมาก แต่อย่างไร ก็ตามผลดีของการน�ำเข้าโคนั้น ส่งผลให้อุตสาหกรรมโคเนื้อไทยสามารถส่งออกไปยัง ประเทศสปป. ลาว เวียดนาม และจีน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ สามารถตอบสนองความ ต้องการเนือ้ โคภายในประเทศทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยนิยมส่งออกไปทางด่านเชียงแสน เพื่อเทียบท่าที่สบหลวยก่อนจะเคลื่อนย้ายเข้าจีน และกระจายโคเนื้อไปยังที่ต่างๆต่อไป ส�ำหรับโอกาสทางการตลาดนั้นด้วยประชากรของจีน และเวียดนาม ที่เป็นตลาดใหญ่นั้น มีประชากรที่นิยมรับประทานเนื้อโคเป็นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้มีความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้น โดยประกอบไปด้วยประชากรชาวมุสลิมที่เป็นฐานใหญ่ของเนื้อโค อีกทั้งยังมีเทศกาลส�ำคัญ หลายช่วงเวลา ส่งผลให้มีความต้องการโคเนื้ออย่างมากในแต่ละปี ทั้งนี้ในมุมมองของ ผู้เกี่ยวข้องพบว่า โอกาสและอุปสรรคของไทยนั้น ยังมีปัญหาในเรื่องของประชากรโคเนื้อ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 69

ที่ลดลง แต่มีความต้องการมากขึ้น ซึ่งเกษตรกรจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ โดยภาครัฐและภาคเอกชน จะต้องร่วมมือกันในการเพิ่มจ�ำนวนประชากรโคเนื้อในประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของการส่งออกไปต่างประเทศและการบริโภคภายในประเทศ ค�ำส�ำคัญ : โคเนื้อ เนื้อโค การส่งออก โซ่คุณค่า ประชาคมอาเซียน ส่วนเหลื่อมการตลาด โอกาสและอุปสรรคทางการตลาด บทสรุปผู้บริหาร ในยุคแห่งการแข่งขันด้านการส่งออกสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม “โคเนื้อ”ของไทย ถือเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจในด้านของการเป็นทั้งอาชีพหลักและ อาชีพเสริมให้แก่เกษตรทั้งรายย่อยและรายใหญ่ ในอดีตการเลี้ยงโคของไทยมีวัตถุประสงค์ เพื่อการเกษตรเป็นหลัก เช่น การไถดิน การพรวนดิน การนวดดิน เมื่อถึงอายุมากจะขาย เป็นเนื้อโค ในอดีตโคส่วนใหญ่ที่เลี้ยงจะเป็นโคพันธุ์พื้นเมืองของไทยที่มีหลายพันธุ์กระจาย ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย ในปัจจุบันเนื่องจากกระแสของการนิยมบริโภคเนื้อ โดยเฉพาะเนื้อโคที่น�ำเข้าจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ส่งผลให้เริ่มมีการน�ำเข้าโค สายพันธุจ์ ากต่างประเทศ เช่น พันธุช์ าโรเลส์ พันธุอ์ เมริกนั บราห์มนั เป็นต้น เพือ่ เข้ามาทดลอง เลีย้ งและน�ำมาเป็นพ่อแม่พนั ธุเ์ พือ่ ผสมและปรับปรุงพันธุโ์ คให้เหมาะสมกับภูมอิ ากาศของไทย เช่นพันธุ์ก�ำแพงแสน พันธุ์ตาก (กลุ่มวิจัยและพัฒนาโคเนื้อ กองบ�ำรุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์) เพื่อทดแทนกันน�ำเข้า เนื่องจากโคพันธุ์ต่างประเทศและพันธุ์ลูกผสมมีข้อดีในเรื่องของ การให้ เ นื้ อ โคคุ ณ ภาพดี ซากมี ข นาดใหญ่ เนื้ อ นุ ่ ม เนื้ อ สั น มี ไขมั น แทรก (Marbling) และเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดเนือ้ โคคุณภาพดี ท�ำให้ทผี่ า่ นมาทัง้ การผลิตและความต้องการของ โคขุนโดยเฉพาะโคพันธุผ์ สมขยายตัวอย่างมาก มีการเลีย้ งเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ ท�ำให้สามารถ แบ่งแยกโคตามความต้องการของตลาดได้ทั้งหมด 3 ประเภท 1. โคลูกผสมชาโรเลส์ ตลาด โคเนือ้ เป็นของสหกรณ์โคเนือ้ โพนยางค�ำ สหกรณ์โคขุนก�ำแพงแสน สหกรณ์หนองเสือ เป็นต้น 2. โคบราห์มันเลือดสูง ตลาดโคเนื้อเป็นของกลุ่มผู้ขุนโคที่มีความสามารถในการเลี้ยงสูง ฟาร์มโคขุนขนาดใหญ่ ประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ เวียดนาม และกัมพูชา 3. โคพื้นเมือง โคลู ก ผสมบราห์ มั น เลื อ ดต�่ ำ และโคพม่ า ตลาดโคเนื้ อ เป็ น ของผู ้ เ ลี้ ย งโคขุ น ระยะสั้ น


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 70

พ่อค้าทั่วไป ตลาดท้องถิ่น โรงงานลูกชิ้น และประเทศเพื่อนบ้าน (อาทิ จีน เวียดนาม และ มาเลเซีย) โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มการค้า การลงทุน และความเชื่อมโยงของตลาด รวมถึงโอกาสและอุปสรรคทางการตลาดของอุตสาหกรรม การน�ำเข้า-ส่งออกโคเนื้อและเนื้อโคของไทย (กรณีศึกษาอุตสาหกรรมโคเนื้อและเนื้อโค สูต่ ลาดเศรษฐกิจอาเซียน-จีน (เน้นการศึกษาตลาด สหภาพเมียนมาร์ สปป.ลาว เวียดนามและ จีนตอนใต้) (2) เพื่อศึกษาโครงสร้างตลาด และระบบการจัดการโซ่อุปทานของอุตสาหกรรม การน�ำเข้า-ส่งออกโคเนื้อและเนื้อโคของไทย เพื่อการบริโภคในประเทศและการส่งออกไป ยังตลาดประเทศอาเซียน-จีน รวมการวิเคราะห์ถึงวิถีการตลาด รูปแบบการกระจายสินค้า และส่วนเหลื่อมทางการตลาด (Marketing Margin) ของอุตสาหกรรมน�ำเข้า-ส่งออก โคเนื้อ ของไทย (3) เพื่อศึกษาแนวโน้มและปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการของตลาดโคเนื้อและเนื้อ โคของไทยในกลุ่มประเทศอาเซียน-จีนในปัจจุบัน รวมถึงการศึกษาพฤติกรรมตลาดและ ปัจจัยการจัดซื้อ(น�ำเข้า)ของผู้เล่นในห่วงโซ่อุปทาน (ค่านิยมในการด�ำเนินธุรกิจของผู้เล่น และปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการตัดสินใจเลือกซือ้ (น�ำเข้า)/ค้าขายของผูเ้ ล่นในห่วงโซ่อปุ ทาน โคเนื้อของไทย) (4) เพื่อวิเคราะห์แนวทางการด�ำเนินงาน มาตรการด้านการค้าและนโยบาย การส่ ง เสริ ม การค้ า และการลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมโคเนื้ อ ของประเทศเพื่ อ นบ้ า น และยุทธศาสตร์การสนับสนุนส่งเสริมจากภาครัฐ และเอกชนในการพัฒนาอุตสาหกรรม เนื้ อ โคและโคเนื้ อ พื้ น เมื อ งของไทย เพื่ อ รองรั บ ตลาดในประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (5) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ขอบเขต ข้อจ�ำกัด อันจะเป็นอุปสรรคต่ออุตสาหกรรมโคเนื้อ ของไทยในการส่ ง ออกสู ่ ก ลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น รวมถึ ง การคาดการณ์ แ นวโน้ ม และ ผลกระทบ (ทัง้ ทางบวกและทางลบ) ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี พ.ศ. 2558


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 71

รูปที่ 1 สถานการณ์ปัจจุบันของโคเนื้อในประเทศไทย

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากหลายแหล่ง

ประชากรโคในประเทศไทย ในปี 2557 มีประชากรประมาณ 4.3 ล้านตัว ซึ่งถือว่าลดลงอย่างมาก โดยเมื่อวิเคราะห์แล้ว พบว่า ประชากรลดลงตั้งแต่ปี 2553 ที่เคย มีโคประมาณ 6.4 ล้านตัว และในปี 2557 ลดลงไปถึงประมาณ 2 ล้านตัว และยังไม่มีแนว โน้มที่จะเพิ่มประชากรขึ้นตามธรรมชาติ ทั้งนี้เมื่อ วิเคราะห์ถึงปริมาณสัตว์ที่ถูกเชือด พบว่า ในปี 2553 มีการเชือดโคประมาณ 620,245 ตัว และลดลงเหลือ 509,532 ตัว ในปี 2557 โดยวิเคราะห์ว่า ความต้องการที่จะบริโภคยังมีอยู่ แต่เนื่องจากโคเนื้อขาดตลาด ราคาจึงสูง เกินจะมีคนซื้อได้ การเชือดจึงลดลง จากการที่ยังไม่มีตลาดรองรับโคภายในประเทศอย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม โคที่เชือดส่วนใหญ่มีนำ�้ หนักประมาณ 550-600 กิโลกรัม นั่นคือโค ที่ขุนแล้ว น�ำมาเชือดเพื่อส่งขายไปยังส่วนต่างๆของประเทศ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 72

รูปที่ 2 การเปลีย ่ นแปลงของการเลี้ยงโคเนื้อในประเทศไทย

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากกรมปศุสัตว์, 2558

การผลิตโคเนื้อในประเทศไทย พบว่ามีประชากรโคเนื้อลดน้อยลงในแต่ละปี โดย จากเดิมเคยมีปริมาณโคเป็นจ�ำนวนมากกระจายไปทัว่ ประเทศ ก่อนทีใ่ นปัจจุบนั จะมีปริมาณ ลดลง ซึง่ เกิดจากหลากหลายสาเหตุประกอบไปด้วย (1) ภาคเหนือยังไม่มอี ตุ สาหกรรมขุนโค อย่างจริงจัง มีเพียงการน�ำโคที่ขุนแล้วจากภาคกลางและใต้ มาส่งขายต่อไปที่จีนอีกทีหนึ่ง (2) ภาคอีสาน ควรจะจัดตั้งการอนุรักษ์โคพื้นเมือง ประกอบการสนับสนุนด้านโคขุนภายใน ประเทศที่นิยมอยู่แล้ว ให้มีศักยภาพมากขึ้น รวมถึงการขุนโคเกรดส่งออกไปยังเวียดนาม


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 73

ผ่านทางลาวด้วย (3) ภาคกลางคือ Zone ในการขุนโคที่แท้จริง ไม่ว่าจะด้านปริมาณโค และผู้ประกอบอุตสาหกรรมโคขุนมีปริมาณสูงมาก จึงจะต้องสนับสนุนให้มีการขนส่ง โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ปยั ง จี น และประเทศเพื่ อ นบ้ า นอย่ า งลื่ น ไหล และต้ น ทุ น ไม่ สู ง มากนั ก (4) ภาคใต้ นิยมวัวชน และโคศาสนา (โคพื้นเมืองขนาดเล็ก) รวมถึงโคขุนที่จะส่งไป มาเลเซียด้วย โดยตลาดส่วนใหญ่จะเป็นชาวมุสลิมที่บริโภคฮาลาล และประเทศมาเลเซีย ซึง่ ในการผลิตโคเนือ้ นัน้ มีปริมาณโคเนือ้ ทีไ่ ม่เพียงพอ จึงจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าโคเนือ้ จากสหภาพ เมียนมาร์ โดยเข้ามาทางอ�ำเภอแม่สอด จ.ตาก และด่านแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน โดยพบว่า ปริมาณการน�ำเข้าโคเนือ้ ของไทยนัน้ มีปริมาณทีส่ งู ขึน้ เนือ่ งจากความต้องการภายในประเทศ และความต้องการส่งออกเพิ่มสูงขึ้น ฉะนั้น สหภาพเมียนมาร์จึงเป็นซัพพลายเออร์หลัก ที่สำ� คัญของไทยในขณะที่เหตุการณ์ด้านปริมาณโคเนื้อในประเทศลดลง รูปที่ 3 ภาพปริมาณโคเนื้อในแต่ละภาคของประเทศไทย

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากหลายแหล่ง


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 74

ด้านแนวโน้มการค้าโคเนื้อพบว่า มีการส่งออกโคเนื้อเพิ่มสูงขึ้น โดยแบ่งออกเป็น ตลาดระดับกลาง และบน ส�ำหรับตลาดระดับกลางเหมาะส�ำหรับตลาดเฉพาะที่นิยมเนื้อ โคไทย ที่สามารถน�ำไปตุ๋นให้มีรสชาติดีกว่าเนื้อโคพันธุ์อื่นๆ ซึ่งในกรณีการค้าเกษตรกรที่ ยังไม่มีความรู้ด้านการรักษาพันธุ์จะท�ำการส่งออกโคตัวเมียที่ควรจะเก็บไว้ท�ำพันธุ์ไว้ ท�ำให้ ประชากรโคเนื้อไม่มีการขยายตัวเนื่องจากส่งออกไปเสียหมด การค้าโคเนื้อยังมีตลาดส�ำคัญ เช่น ลาว มาเลเซีย เวียดนาม และจีน ที่มีความต้องการสูง ท�ำให้โคส่วนใหญ่จะน�ำเข้ามาจาก สหภาพเมียนมาร์ หรือน�ำพันธุจ์ ากต่างประเทศมาผสมอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ไทยจะขาดดุลการค้า ในส่วนหนึง่ จากการน�ำเข้า ก่อนทีจ่ ะท�ำการขุนและส่งต่อไปยังตลาดต่างประเทศ ส่วนการค้า เนือ้ โคพบว่ามีปริมาณการส่งออกทีน่ อ้ ย เนือ่ งจากนิยมขายเป็นโคมีชวี ติ มากกว่า แต่อย่างไรก็ดี การค้าของประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการวิเคราะห์พบว่า แนวโน้ม การบริโภคเนือ้ โคในประเทศไทยเพิม่ สูงขึน้ ในอีก 15 ปีขา้ งหน้า ย่อมส่งผลให้จะต้องมองตลาด ภายในประเทศให้มีความส�ำคัญเท่าเทียมกันกับการส่งออก ซึ่งสามารถสรุปข้อมูลทั่วไปของ โคเนื้อในประเทศเป้าหมายได้ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 ผลสรุปประชากร และแนวโน้มการผลิตของโคเนื้อในประเทศไทย และประเทศอาเซียน

ประชากรโค (ตัว)

แนวโน้ม ผลผลิต

ปริมาณเนื้อโค ภายในประเทศ (กิโลกรัม)

แนวโน้ม การ บริโภค

ราคาเนื้อ โคตลาด ท้องถิ่น (บาท/ กก.)

ราคาเนื้อ โคตลาด สมัย ใหม่ (บาท/ กก.)

ราคาส่ง ออก/ น�ำ เข้า (บาท/กก.)

280320

ส่งออก/ น�ำเข้า ประมาณ 161-170

ไทย

4,312,408

ลดลง

155,916,792

เพิ่มขึ้น

230290

สหภาพ เมียนมาร์

14,350,000

เพิ่มขึ้น

216,000,000

เพิ่มขึ้น

-

-

น�ำเข้า 900 - 910

สปป.ลาว

1,700,000

เพิ่มขึ้น

522,000,000

ลดลง

260300

280350

น�ำเข้า 125


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 75

ประชากรโค (ตัว)

เวียดนาม

จีน

5,156,727

113,500,000

แนวโน้ม ผลผลิต

ลดลง

เพิ่มขึ้น

ปริมาณเนื้อโค ภายในประเทศ (กิโลกรัม)

285,400,000

6,393,500,000

แนวโน้ม การ บริโภค

เพิ่มขึ้น

เพิ่มขึ้น

ราคาเนื้อ โคตลาด ท้องถิ่น (บาท/ กก.)

ราคาเนื้อ โคตลาด สมัย ใหม่ (บาท/ กก.)

ราคาส่ง ออก/ น�ำ เข้า (บาท/กก.)

300350

ส่งออก เฉลี่ย ประมาณ 151-156 / น�ำเข้า 189190

500560

ส่งออก เฉลี่ย ประมาณ 87 /น�ำ เข้าเฉลี่ย ประมาณ 221

270320

330420

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากหลายแหล่ง

การจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานอุตสาหกรรมโคเนื้อ และเนื้อโคของไทย ในตลาดอาเซียน-จีน ซึ่งบทวิเคราะห์จะอยู่ในบทที่ 3 ว่าด้วยเรื่องโซ่อุปทาน และบทที่ 4 ในส่ วนของการจัดการโลจิสติก ส์ ซึ่ง สามารถตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 คือ การศึกษาโครงสร้างตลาด และระบบการจัดการโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมการน�ำเข้าส่งออกโคเนื้อและเนื้อโคของไทย เพื่อการบริโภคในประเทศและการส่งออกไปยังตลาด ประเทศอาเซียน-จีน รวมการวิเคราะห์ถึงวิถีการตลาด รูปแบบการกระจายสินค้าและ ส่วนเหลื่อมทางการตลาด (Marketing Margin) ของอุตสาหกรรมน�ำเข้า-ส่งออก โคเนื้อ ของไทย โดยผลสรุปพบว่า กิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 กรณี ได้แก่ กรณีโคพันธุ์ หรือโคขุน และกรณีโคพื้นเมือง โดยพบว่า กรณีโคพันธุ์มีระดับของผู้เกี่ยวข้องมากว่า โดยจะเริ่มต้น จากการน�ำเข้าโคเนื้อจากสหภาพเมียนมาร์ ผ่านพ่อค้าคนกลางชาวไทยก่อนที่จะส่งให้กับ ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพในการขุนโค เพื่อน�ำไปท�ำเป็นโคขุนจากการเลี้ยงในระยะ 3-4 เดือน จากนั้นจะท�ำการส่งออก หรือเข้าโรงเชือด เพื่อท�ำเป็นเนื้อโคภายในประเทศ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 76

แต่ถา้ หากในเส้นทางของการส่งออกพบว่า นิยมส่งออกผ่านเส้นทางเชียงแสน โดยการจ้างรถ 12 ล้ อ บรรทุ ก โคประมาณ 50-60 ตั ว ไปที่ ด ่ า นกั ก กั น สั ต ว์ สาขาอ� ำ เภอเชี ย งแสน เพื่อท�ำการตรวจเอกสารก่อนล�ำเลียงโคเนื้อเพื่อลงเรือ รูปที่ 5.1 โซ่อุปทานอุตสาหกรรมโคเนื้อ และเนื้อโคของไทย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 77

จากนั้นเมื่อลงเรือที่จะใช้เรือสัญชาติลาว เป็นเรือท้องแบน หางยาว เคลื่อนย้าย ไปที่ท่าเรือสบหลวยใช้เวลาประมาณ 11-13 ชั่วโมงขึ้นอยู่กับกระแส และความรุนแรงของ คลื่นน�้ำในระหว่างการขนส่ง จากนั้นเรือจะท�ำการเทียบท่า เพื่อล�ำเลียงโคเนื้ออกจากเรือ โดยผู้น�ำเข้าจะน�ำรถ 6 มารับโคเนื้อไปที่จุดรวบรวมอีกทอดหนึ่ง จุดรวบรวมจะอยู่ที่ประเทศจีน โดยใช้เวลาในการเดินทางจากท่าเรือสบหลวย ประเทศสหภาพเมียนมาร์ มายังเมืองรอง ประเทศจีน ประมาณ 5-6 ชั่วโมง จากนั้นโคทุกตัว จะอยูใ่ นคอก รอพ่อค้าคนกลางมาเลือกซือ้ โคไปตามจังหวัดต่างๆ โดยต้นทุนโลจิสติกส์ทงั้ หมด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ต้นน�้ำค่าต้นทุนโลจิสติกส์ประมาณ 930-1,775 บาทต่อตัว กลางน�้ำประมาณ 1,140 - 1,325 บาทต่อตัว และปลายน�ำ้ ประมาณ 660-1,100 บาทต่อ ตัว ทัง้ นีป้ ระเทศจีนตอนใต้ได้นำ� เข้าโคเนือ้ สูเ่ มืองรอง หรือจุดรวบรวมโคประมาณวันละ 8001,000 ตัวต่อวัน โดย 50-80 ตัวจะถูกล�ำเลี้ยงไปที่เมืองสิบสองปันนา และไปที่ตลาดมุสลิม เมืองคุนหมิงประมาณ 250-300 ตัวต่อวัน ส่วนอีกประมาณ 600 ตัวจะถูกกระจายไปยังส่วน ต่างๆของประเทศจีนต่อไป ในส่วนถัดไปคือโซ่อปุ ทานโคพืน้ เมือง ลักษณะของผูเ้ กีย่ วข้องจะมีความซับซ้อนน้อย กว่า ได้แก่ เกษตรกรอาจจะไปซื้อโคพื้นเมืองจากตลาดนัดโคกระบือ หรือท�ำการเพาะเลี้ยง ด้วยตัวเอง ก่อนที่จะท�ำการเลี้ยงเพื่อให้ได้น�้ำหนักเท่าที่ต้องการ โดยโคที่ได้นั้น สามารถน�ำ ไปขายในตลาดนัดโคกระบือได้ หรือน�ำเข้าโรงเชือดเพื่อขายเนื้อเหล่านั้นให้กับโรงงานลูกชิ้น หรือตลาดนัดทั่วไป เพื่อให้สามารถบริโภคภายในประเทศได้ ในส่วนของเส้นทางการเคลื่อนย้ายโคเนื้อ พบว่า โซ่อุปทานในระดับระหว่าง ประเทศ การที่ประเทศไทยจะสามารถตอบสนองความต้องการโคเนื้อและเนื้อโคที่มากขึ้น นัน้ จ�ำเป็นต้องท�ำการรับซือ้ โคเนือ้ จากสหภาพเมียนมาร์ โดยโคเนือ้ ทีน่ ำ� เข้ามานัน้ ในส่วนของ เส้ น ทางการค้ า ชายแดนในเขตภาคเหนื อ ตอนบนจะเข้ า มาทางในเส้ น ทางหลั ก คือ ด่านแม่สอด จังหวัดตาก และด่านแม่สะเลียง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน รวมถึงมีการน�ำเข้าจาก จังหวัดกาญจนบุรีด้วย


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 78

รูปที่ 4 การเคลือ่ นที่ของโคเนื้อตั้งแต่ผู้ส่งออก-การส่งออกไปยังประเทศต่างๆในอาเซียน

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากหลายแหล่ง


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 79

นอกจากนีจ้ ะพบว่าโคเนือ้ ทีน่ ำ� เข้าจากสหภาพเมียนมาร์นนั้ ส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะ การน�ำเข้ามาเพื่อจะน�ำไปท�ำการขุนและเพาะเลี้ยงโคเนื้อให้มีขนาด รูปร่าง และลักษณะ ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นประเทศ จีน เวียดนาม มาเลเซีย และกัมพูชา โดยเส้นทางที่ประเทศไทยท�ำการส่งออกไปยังเวียดนามพบว่า ท�ำการขนส่ง ผ่านนครพนม หรือมุกดาหาร ผ่านเส้นทาง R9 ผ่านลาว กระทั่งไปถึงเวียดนาม โดยมีความ เป็นไปได้ว่า ปลายทางจะเป็นทั้งเวียดนาม และประเทศจีน ส่วนในทางภาคเหนือนั้น โคเนื้อ จะถูกส่งไปที่ สปป.ลาวก่อนจะท�ำการส่งต่อไปยังประเทศจีน (ตอนใต้) หรือส่งออกไปยัง ประเทศเวียดนามและส่งเข้าจีนต่อไป โดยเส้นทางการขนส่งหลักนั้นจะเป็นการขนส่งผ่าน อ�ำเภอเชียงแสน (ท่าเรือเชียงแสน) และอ�ำเภอเชียงของ (ประตูสู่ R3A) โดยปลายทางคือ ประเทศจีน ทั้งนี้ โดยทั่วไปการขนส่งเข้าประเทศไทยนั้นจะใช้วิธีการเดินเท้าไปทางแม่สอด และแม่เสลียง (ในภูมิประเทศใกล้เคียงกับไทย) แต่ถ้าหากเป็นเมืองย่างกุ้ง และต�ำ่ ลงไปกว่า นั้นจะใช้วิธีการเดินเรือ ในการขนส่งแต่ถึงกระนั้นเส้นทางที่ผ่านนั้นค่อนข้างแย่ เส้นทาง ไม่เสถียร ไม่มีการลาดยางทั้งหมด ส่งผลให้วัวต้องเดินบ้าง รถบ้าง ถ้าหากเป็นรถขนวัวนั้น โคจะถูกขนด้วยรถ 12 ล้อ บรรจุได้ 24 ตัว พักไปเรื่อยๆ โดยถ้าหากปลายทางเป็นประเทศ จีน จะใช้เวลา 6-7 วัน นอกจากนี้ ประจุดสีเขียวเข้าในภาพ คือเส้นทางการขนส่งโคเนื้อของไทยไปยัง ประเทศเวียดนาม ได้แก่ ด่านจังหวัดนครพนม และมุกดาหาร ทีม่ สี ะพานมิตรภาพ ทีส่ ามารถ เคลือ่ นย้ายโคเข้าลาว ต่อไปยังประเทศเวียดนามได้ ซึง่ ในเส้นทางนีเ้ ป็นเส้นทางทีส่ ำ� คัญส�ำหรับ ผูป้ ระกอบการค้าโคทีม่ คี วามประสงค์จะส่งโคไปประเทศเวียดนาม โดยส่วนใหญ่จะเป็นโคขุน จากภาคอีสาน ที่มีการเพาะพันธุ์นำ�้ เชื้อภายในภาคอีสาน โดยชายแดนส�ำคัญระหว่าง ลาว-เวียดนามนั้น มีทั้งหมด 7 แห่ง เป็นเส้นทาง ที่เชื่อมกับไทย 2 แห่ง และมีด่านที่ผู้ประกอบการชาวลาว (หรือชาวไทยที่ไปอยู่ในลาว) สามารถส่งออกไปยังเวียดนามได้ 2 จุดได้แก่ ด่านจังหวัดเซกอง และ ด่านจังหวัดพงสาลี โดยตามการวิเคราะห์พบว่า ด่านเซกอง น่าจะมีโอกาสที่จะส่งโคเข้าไปยังเวียดนามได้ แม้ว่า จะมีโควตาในการขนส่งโคทีจ่ ำ� กัด เนือ่ งจากจังหวัดพงสาลี มีระยะทางไกล และเหมาะส�ำหรับ ผู้ประกอบการค้าโคขุนในเวียงจันทร์มากกว่า และเส้นทางที่ส�ำคัญที่สุดในการค้าโคเนื้อ


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 80

ของไทยนั้น อยู่ที่เส้นทาง R3A ที่น�ำเข้าจากด่านเชียงของ เข้าสู่บ่อแก้ว และหลวงน�้ำทา เพื่อปลายทางคือ บ่อเต็น-บ่อหาน ชายแดนประเทศจีน โดยทั้งผู้ประกอบการไทยหรือ ผู้ประกอบการชาวลาวที่รับโคมาจากไทย จะใช้การขนส่งจะใช้รถบรรทุก 12 ล้อ บรรทุกโค ได้ประมาณ 18-30 ตัว (รถลาว) โดยอาจจะรับโคมาจากประเทศไทย โดยการน�ำรถไปรอรับ ที่ด่านเชียงของและเชียงแสน หรือผู้ประกอบการลาว จะน�ำมาจากเวียงจันทร์ หรือจังหวัด ใกล้เคียง เพื่อท�ำการขนส่งผ่านเส้นทางนี้ รูปที่ 13 เส้นทางการขนส่งของการส่งออกอุตสาหกรรมโคเนื้อ และเนื้อโคของไทย

ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัยโดยใช้ฐานข้อมูลจากหลายแหล่ง


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 81

1. การขนส่งทางน�ำ้ ในการขนส่งโคเนื้อนั้น พ่อค้าในประเทศไทยจะน�ำโคขึ้นรถมาด้วยตัวเองมาจอด ที่ท่าเรือและทยอยต้อนโคขึ้นเรือ โดยเรือขนส่งสินค้าส่วนใหญ่เป็นเรือขนส่งสัญชาติลาว ขนาดระวางบรรทุกไม่เกิน 100 ตัน สามารถพบว่ามีเรือขนส่งสัตว์มีชีวิตได้แก่เรือบรรทุก โค จ�ำนวน 1 ล�ำ ประมาณ 60 ตัว และเรือบรรทุกกระบือ จ�ำนวน 3 ล�ำ ๆ ละประมาณ 60 ตัว ในเวลาเช้าตรู่ของทุกวัน ทั้งนี้ การเดินทางด้วยเรือ จะใช้เวลาประมาณ 12 ชั่วโมง จากเชียงแสน ไปสู่ ท่าเรือกวนเหล่ย สหภาพเมียนมาร์ ซึ่งเป็นเส้นทางลัดเลาะในการขนส่ง ไปยังประเทศจีน การศึกษาพบว่ามีการล�ำเลียงโคขึ้นบกที่ท่าเรือสบหลวยสหภาพพม่า จ�ำนวน 2 ล�ำ ลากจูงโคขึ้นรถบรรทุก 6 ล้อ ที่สามารถบรรทุกได้ประมาณ 20 ตัว ผ่านเข้า ทางชายแดนจีนที่เมืองลอง แควันสิบสองปันนา จากการสอบถามทราบว่าสัตว์มีชีวิตและ ซากสัตว์จะถูกล�ำเลียงขึ้นบกที่ท่าเรือสบหลวยทั้งหมดไม่มีการส่งต่อไปที่ท่าเรือกวนเหล่ย ของจีน 2. การขนส่งทางบก (เชียงของ – บ่อแก้ว – หลวงน�้ำทา – บ่อเต็น – บ่อหาน) การขนส่ ง สั ต ว์ มี ชี วิ ต จากประเทศไทยผ่ า น สปป.ลาวไปจี น ด� ำ เนิ น การได้ 2 ช่องทางคือ การขนส่งข้ามแม่น�้ำโขงจากท่าเรือเชียงแสนหรือเชียงของ จังหวัดเชียงราย ถึงด่านต้นผึง้ และบ้านด่าน แขวงบ่อแก้ว และการขนส่งทางบกข้ามสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 4 (เชียงของ-ห้วยทราย) เข้าสูเ่ ส้นทางR3A ซึง่ มีตน้ ทางเริม่ จากเชียงของ จังหวัดเชียงราย ข้ามแม่น�้ำโขงเข้าสู่ ห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว หลวงน�้ำทา ด่านพรมแดนบ่อเต็น สปป.ลาว ข้ า มพรมแดนเข้ สู ่ ป ระเทศจี น ที่ ด ่ า นบ่ อ หาน เชี ย งรุ ่ ง หรื อ จิ่ ง หง แคว้ น สิ บ สองปั น นา นครคุนหมิง มณฑลยูนนาน โดยมีระยะทางจากกรุงเทพฯถึงคุนหมิงรวมกว่า 1,800 กิโลเมตร เมื่อสัตว์ถึงด่านพรมแดนจะถูกล�ำเลียงลงจากรถหรือขึ้นจากเรือ เพื่อเปลี่ยนขึ้นรถ บรรทุกของลาว เจ้าหน้าที่กักสัตว์ สปป.ลาว ด�ำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติผู้น�ำเข้าสัตว์ ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้น�ำเข้าสัตว์ (license) และโควตาการน�ำเข้า ตรวจสุขภาพสัตว์ เอกสารการน�ำเข้าและเสียภาษีตวั ละ 300 บาท มีคา่ ใช้จา่ ยการขนส่งเฉลีย่ ตัวละ 2,700 บาท การขนส่งโดยรถบรรทุก 12 ล้อ สามารถบรรทุกกระบือได้ 16-18 ตัว โค 18-20 ตัว ขนาด น�้ำหนักโคประมาณ 400-600 กิโลกรัม จากการสอบถามถึงปริมาณการน�ำเข้าสัตว์พบว่า


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 82

มีมากกว่าวันละ 12-13 คันรถ หลังจากนั้นรถบรรทุกสัตว์จะวิ่งไปตามถนน R3A ถึงด่าน บ่อเต็น หลังจากนั้นผู้นำ� เข้าจีนล�ำเลียงสัตว์ข้ามพรมแดนเข้สู่ประเทศจีนต่อไป โซ่อุปทานการค้าเนื้อโคแช่แข็งมีรูปแบบที่แตกต่างกันในด้านการได้มาซึ่งวัตถุดิบ แต่ใช้เส้นทางในการขนส่งเดียวกัน โดยผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย ผู้ส่งออกจากต่างประเทศ ที่ประเทศไทยนิยมน�ำเข้าจากประเทศ แอฟริกาใต้ บราซิล ออสเตรเลีย เนปาล อินเดีย และบังคลาเทศ ซึ่งเป็นแหล่งซัพพลายเออร์หลักในการน�ำเข้าเนื้อโคแช่แข็ง โดยส่วนใหญ่ จะเป็นเนื้อโคจากประเทศอินเดีย ที่มีราคาที่ถูก โดยมีราคาประมาณ 100 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่ ง ถู ก กว่ า ไทยที่ น� ำ ไปขายในตลาดแล้ ว ราคาจะประมาณ 230-300 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม ท�ำให้การน�ำเข้าเนือ้ โคจากประเทศเหล่านี้ จึงเป็นแหล่งส�ำคัญในการส่งออกเนือ้ โค และบริโภค ภายในประเทศ จากนั้นผู้น�ำเข้าของไทยเป็นคนว่าจ้าง Logistics Provider เพื่อไปขนส่งเนื้อ โคจากท่า โดยการนัดแนะช่องทางต่างๆ ซึ่งกันและกัน ถ้าหากเป็นสินค้าที่มาจากแหลมฉบัง จะสามารถขนย้ายไป ตามกฎระเบียบของการส่งผ่าน ถ้าหากเป็นการส่งผ่านทางมาเลเซีย จะท� ำ การติ ด ต่ อ นั ด แนะกั บ ผู ้ ส ่ ง ก่ อ นที่ จ ะขนเนื้ อ โคเหล่ า นั้ น ไปยั ง ประเทศเป้ า หมาย ซึ่งในระดับต่อไปคือ ผู้ส่งออก คือผู้ที่จะท�ำการด�ำเนินการส่งออกเนื้อโคแช่แข็งต่อไปยัง ประเทศปลายทาง โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ส่งออกจากการส่งผ่านประเทศ และผู้ส่งออกจากการท�ำธุรกิจส่งออก ซึ่งจากนั้นท�ำการสั่งสินค้าให้มาส่งที่ จ.เชียงราย หลังจากผ่านรายการเอกสารที่แหลมฉบังแล้ว โดยเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการส่งออกสินค้า ผ่านแม่นำ�้ โขง โดยส่วนใหญ่จะน�ำรถคอนเทนเนอร์ 40 ฟุต ต่อท้ายเข้ามาในโกดัง ก่อนทีจ่ ะท�ำ การเปิดตู้ และขนส่งสินค้าจากตูค้ อนเทนเนอร์เข้าไปทีห่ อ้ งเก็บสินค้าแช่แข็ง โดยจะใช้แรงงาน คนในการขนเข้า และออก เพื่อท�ำการขนส่งไปจีน เส้นทางการขนส่งของโคเนื้อแช่แข็งพบว่า ผู้ส่งออกโคเนื้อจากต่างประเทศจะขนส่งสินค้ามายังเส้นทางต่างๆ อาทิ เนื้อโคแช่แข็ง จากประเทศออสเตรเลีย บราซิล จะน�ำเข้าอย่างถูกกฎหมายเข้ามาทางท่าเรือแหลมฉบัง รวมถึงประเทศอินเดีย ที่ท�ำการขนส่งผ่านประเทศไทยมายัง ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี จากนั้ น จะมี ร ถหั ว ลากมารั บ ตู ้ ค อนเทนเนอร์ ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยเนื้ อ โคส่ ง ต่ อ ไปยั ง ผู ้ น� ำเข้ า โดยผู้น�ำเข้าจะมีอยู่ทั่วทั้งประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนืออย่างจังหวัดเชียงราย ที่จะเป็น ผู้น�ำเข้ารอการ Re-export หรือการส่งต่อไปยังประเทศจีน จากนั้นผู้ส่งออกภายใน ประเทศไทยจะท�ำการขนส่งสินค้าผ่านทางท่าเรือเชียงแสน เนื่องจากเป็นเส้นทางที่ใกล้


In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 83

และสะดวกที่สุดในการขนส่งสินค้าประเภทเนื้อโคแช่แข็ง ผู้ประกอบการจะท�ำการขนส่ง ผ่านเรือที่มีการปรับอุณหภูมิ เพื่อไปลงที่จุดรับสินค้าคือท่าเรือสบหลวย ประเทศสหภาพ เมียนมาร์ ก่อนที่ผู้น�ำเข้าชาวจีนจะน�ำรถมารับอีกทอดหนึ่งเพื่อน�ำไปกระจายในจีนตอนใต้ โดยเส้นทางจะเป็นเส้นทางเดียวกับการค้าโคมีชีวิต แตกต่างเพียงเรือที่ใช้จะเป็นเรือที่ปรับ อุณหภูมิสัญชาติลาว เมื่อสรุปต้นทุนการขนส่งเนื้อโคแช่แข็งพบว่า เมื่อสินค้ามาถึง ที่ท่าเรือแหลมฉบัง หรือคลองเตย จะใช้เส้นทางจาก กรุงเทพฯ – เชียงแสน ผ่านรถหัวลาก ระยะทางประมาณ 830-880 กิโลเมตร อ้างอิงจากราคาตู้คอนเทนเนอร์แช่เย็น 40 ฟุต ค่าใช้จ่ายจากการขนส่ง เฉลี่ย 28-30 ตันต่อตู้นั้น ประมาณ 42,000 – 60,000 บาทต่อเที่ยว ใช้เวลาประมาณ 10-12 ชั่วโมง ตกประมาณ 2 บาทต่อกิโลเมตร จากนั้น เส้นทางการเชียงแสน – สบหลวย ด้วยเรือ แช่เย็นสัญชาติ สปป. ลาวจะบรรทุกเนื้อเหล่านั้น ด้วยระยะทาง 195 กิโลเมตร ใช้เวลาอีก ประมาณ 10-11 ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายประมาณ 120,000 – 140,000 บาท หรือประมาณ 4.66 บาท/กิโลเมตร ประกอบด้วยค่าเดินเรือ ค่าประกัน และค่าด�ำเนินการเรียบร้อยแล้ว


รูปที่ 13 เส้นทางการขนส่งของการส่งออกอุตสาหกรรมโคเนื้อ และเนื้อโคของไทย

In focus: ภาคโลจิสติกส์ หน้า 84


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 85

โอกาสทางการค้ากับประเทศจีนตอนใต้ (ยุนนาน) ของผู้ประกอบ การส่งออกจังหวัดเชียงราย: กรณีการส่งออกข้าว บรรจงศักดิ์ มินทะขัติ สิทธิชาติ สมตา

บทคัดย่อ ประเทศจีนมีประชากรจ�ำนวนมากจึงท�ำให้ความต้องการบริโภคมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น เรื่อยๆ สินค้าทางการเกษตรถือได้มามีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการด�ำเนินชีวิต โดยเฉพาะ “ข้าว”ซึ่งเป็นอาหารหลักของประชากรในภูมิภาคเอเซียและประเทศจีน ถึงแม้ประเทศ จีนจะมีพื้นที่ทางการเกษตรในการเพาะปลูกข้าวจ�ำนวนมากแต่ก็ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ภายในประเทศ จึงจ�ำเป็นต้องมีการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ขา้ วเพือ่ ให้ประชากรในประเทศได้บริโภค อย่างเพียงพอ ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวจ�ำนวนมากประกอบกับการเกิดขึ้น ของสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 จึงมีความส�ำคัญต่อผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัด เชียงรายและเป็นการสร้างโอกาสการท�ำการค้าเพื่อส่งออกข้าวไปยังประเทศจีนตอนใต้อีก ด้วย สถานการณ์การเพาะปลูกข้าวของประเทศไทย ข้าวเป็นพืชทีม่ สี ว่ นส�ำคัญในการด�ำรงชีวติ ของประชากรในประเทศไทย และภูมภิ าค เอเชียที่บริโภคข้าวเป็นหลัก การเพาะปลูกข้าวในอดีตเป็นเพียงการเพาะปลูกเพื่อด�ำรงชีวิต ชาวนาจะน�ำข้าวเปลือกทีเ่ ก็บเกีย่ วไปตากแดดจนแห้งและเก็บไว้ในยุง้ ฉาง เมือ่ ต้องการบริโภค ชาวนาจะน�ำข้าวเปลือกมาต�ำเป็นข้าวสารให้เพียงพอต่อการบริโภคในระยะเวลาสัน้ ๆ ซึง่ เป็น ทีม่ าของส�ำนวนทีว่ า่ “ต�ำข้าวสารกรอกหม้อ” หมายถึง ท�ำอะไรโดยไม่เผือ่ เหลือเผือ่ ขาด เมือ่ ประเทศไทยมีการติดต่อการค้ากับชาวต่างชาติ จึงส่งผลให้การเพาะปลูกข้าวของชาวนา เปลีย่ นแปลงไปจากอดีตการเพาะปลูกข้าวเพือ่ ยังชีพเป็นการเพาะปลูกข้าวเชิงพาณิชย์มากขึน้ และได้พฒ ั นาเป็นสินค้าส่งออกไปต่างประเทศทัง้ ในภูมภิ าคเอเชียและยุโรป ท�ำให้ขา้ วก้าวเข้า สูก่ ารเป็นพืชเศรษฐกิจและเป็นสินค้าส่งออกทางการเกษตรทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างมาก และ เมื่อปี 2555 ข้าวได้ผันผวนเข้าสู่ “พืชการเมือง” เนื่องจาก รัฐบาลได้ประกาศให้มีนโยบาย


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 86

โครงการรับจ�ำน�ำข้าว ซึ่งปัจจุบันข้าวยังเป็นสินค้าเกษตรส่งออกที่ส�ำคัญของประเทศ รูปที่ 1 แสดงปริมาณและมูลค่าการส่งออกข้าวของประเทศไทย

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

การส่ง ออกข้าวในช่วงครึ่ง แรกของปี 2558 (มกราคม-มิถุนายน) มีปริมาณ 4,457,927 ตัน มูลค่า 72,142 ล้านบาท โดยปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 4.7 และมูลค่า ส่งออกลดลงร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 ที่มีการส่งออกปริมาณ 4,679,361 ตัน มูลค่า 76,349 ล้านบาท แสดงถึงจ�ำนวนข้าวและพื้นที่เพาะปลูกภายใน ประเทศลดลง พื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศในปี 2557 พบว่ามีพื้นที่ประมาณ 76,834,886 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่นาปีร้อยละ 80.4 และพื้นที่นาปรังร้อยละ 19.6 ได้ผลผลิตข้าวประมาณ 36,802,093 ตัน แบ่งเป็นผลผลิตข้าวนาปีรอ้ ยละ 73.72 และผลผลิตข้าวนาปรังร้อยละ 26.28 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่า พืน้ ทีเ่ พาะปลูกลดลงร้อยละ 1.7 และปริมาณผลผลิตข้าว ลดลงร้อยละ 2.7 จากพื้นที่เพาะปลูก 78,167,198 ไร่ และมีผลผลิตข้าว 37,856,470 ตัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 87

รูปที่ 2 แสดงพื้นที่เพาะปลูกและจ�ำนวนผลผลิตข้าวของประเทศไทย

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

สาเหตุของการเพาะปลูกข้าวภายในประเทศลดลงเกิดจากการทีช่ าวนาลดการผลิต ข้าวลง เพือ่ ลดต้นทุนในการผลิต เพราะต้นทุนการผลิตข้าวในปัจจุบนั ค่อนข้างสูงไม่วา่ จะเป็น ปุ๋ย หรือยาฆ่าแมลง ทั้งชาวนาและผู้ประกอบการต่างก็มีความคิดเห็นตรงกันคือ เป็นผลกระ ทบจากการรับจ�ำน�ำข้าว เนื่องจากการรับจ�ำน�ำข้าวฤดูการผลิตปี 2554/55 และปี 2555/56 ข้าวมีราคาที่เพิ่มขึ้นท�ำให้ราคาปุ๋ยและยาฆ่าแมลงเพิ่มขึ้นตามราคาข้าว แต่เมื่อราคาข้าวมี ราคาลดลงจากปัญหาโครงการรับจ�ำน�ำข้าว ราคาปุย๋ และยาฆ่าแมลงยังคงราคาตามเดิม อีก หนึง่ ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ผลผลิตข้าวลดลงคือ การทีช่ าวนาเปลีย่ นวิถใี นการท�ำนา จากเดิมทีใ่ ช้วธิ กี าร ปักด�ำต้นกล้าที่มีต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูงด้วยค่าแรงขั้นต�ำ่ 300 บาท ท�ำให้ชาวนาเปลี่ยน วิถีการท�ำนาเป็นการหว่านมากขึ้น ซึ่งการหว่านเมล็ดข้าวแทนการปักด�ำต้นกล้าสามารถลด ต้นทุนในส่วนของการจ้างแรงงานได้อย่างมาก แต่ผลผลิตข้าวด้วยวิธีการหว่านจะน้อยกว่า การปักด�ำต้นกล้า เพราะการหว่านเมล็ดข้าวบางครั้งอาจจะก่อให้เมล็ดข้าวอยู่ติดกันเกินไป ท�ำให้ข้าวไม่ได้รับปุ๋ยที่เพียงพอหรืออาจจะห่างกันเกินไปท�ำให้ปริมาณผลผลิตต่อไร่ได้น้อย กว่าการปักด�ำต้นกล้า


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 88

สถานการณ์เพาะปลูกข้าวในจังหวัดเชียงราย พื้นที่ปลูกข้าวในจังหวัดเชียงราย เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105, ข้าวหอมมะลิ กข15 และข้าวเหนียว กข6 โดยจังหวัดเชียงรายมีลกั ษณะเป็นทีร่ าบสลับ กับภูเขามีสภาพดินทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ เนือ้ ดินเป็นดินร่วนจนถึงดินเหนียวจึงมีความเหมาะ สมในการเพาะปลูกข้าว โดยพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวจังหวัดเชียงรายตัง้ แต่ปกี ารผลิต 2552/53 มีพนื้ ทีเ่ พาะปลูก ข้าวประมาณ 1,657,251 ไร่ ซึ่งพื้นที่เพาะปลูกข้าวได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีพื้นที่เพาะ ปลูกข้าวเยอะที่สุดในปี 2555/56 ประมาณ 1,884,338 ไร่ เนื่องจากในช่วงเวลาดังกล่าว รัฐบาลมีนโยบายช่วยเหลือชาวนาทัง้ นโยบายประกันราคาและนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวทีร่ บั จ�ำน�ำ ข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้นไม่เกินร้อยละ 15 ราคาประมาณเกวียนละ 15,000 บาท ท�ำให้ชาวนาขยายพื้นที่การเพาะปลูกกันมากขึ้น แต่เมื่อโครงการประกันราคา และนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวสิ้นสุดลงนับตั้งแต่ปี 2557 ส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกข้าวในจังหวัด เชียงรายลดลงเหลือ 1,764,590 ไร่ และมีจำ� นวนผลผลิต 1,115,260 ตัน เมื่อเทียบกับปีการ ผลิต 2555/56 เนื่องจากเมื่อยกเลิกนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวท�ำให้ราคาข้าวเปลือกในตลาดลด ลง เพราะปัญหาข้าวค้างสต๊อกจากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวผนวกกับต้นทุนการผลิตที่สูงท�ำให้ ชาวนาลดการผลิตลง (ดังรูปที่ 3) รูปที่ 3 แสดงพื้นทีเ่ พาะปลูกและผลผลิตข้าวในพื้นทีจ่ ังหวัดเชียงราย

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 89

รูปที่ 4 ราคาข้าวเปลือกความชื้น 15% ปี 2552 – 2557

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

การผลิตข้าวของชาวนาในจังหวัดเชียงรายส่วนมากจะเป็นการผลิตเพื่อขายและ ส่วนหนึ่งเพื่อเก็บไว้บริโภค ข้าวที่ผลิตไว้ขายส่วนมากคือ ข้าวหอมมะลิ กข15 มีข้อดีดังนี้ - ทนต่อสภาพแห้งแล้ง ทนต่อดินเปรี้ยวและดินเค็ม - อายุน้อยเก็กเกี่ยวได้เร็ว - เหมาะกั บ สภาพที่ ค ่ อ นข้ า งดอน สภาพพื้ น ที่ ฝ นทิ้ ง ช่ ว งหรื อ ฝนหมดเร็ ว หรือปลูกเป็นข้าวไร่ - คุณภาพการหุงต้มดี อ่อนนุ่ม - โรงสีให้ราคาใกล้เคียงกับข้าวขาวดอกมะลิ 105 - คุณภาพขัดสีดี เมล็ดข้าวสารใส แข็งแกร่ง เรียวยาว - ต้านทานโรคใบจุดสีนำ�้ ตาล และชาวนาส่วนใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายนิยมบริโภคข้าวเหนียวโดยพันธุ์ข้าว เหนียวที่ชาวนาปลูกคือข้าวเหนียว กข6 มีข้อดีดังนี้ - ให้ผลผลิตสูงและทนแล้งดีกว่าพันธุ์เหนียวสันป่าตอง


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 90

- คุณภาพการหุงต้มดี มีกลิ่นหอม - ล�ำต้นแข็งปานกลาง - ต้านทานโรคใบจุดสีนำ�้ ตาล - คุณภาพการสีดี รูปที่ 5 แผนทีแ่ สดงกลุ่มพันธุ์ข้าวทีป ่ ลูกในจังหวัดเชียงราย

ที่มา ส�ำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว

การผลิตข้าวหอมมะลิ กข15 ของชาวนาในพื้นที่จังหวัดเชียงรายได้สอดคล้องกับ ความต้องการข้าวของประเทศจีนทางตอนใต้ ซึ่งข้าวที่ไทยส่งออกนั้นมีหลายชนิดขึ้นอยู่ กับวัฒนธรรมการบริโภคข้าวของแต่ละประเทศ ปัจจุบัน รูปแบบการบริโภคของชาวจีน ได้เปลี่ยนแปลงจากเดิมตลาดผู้บริโภคอาหารที่น�ำเข้าจากต่างประเทศส่วนใหญ่อยู่ในเมือง เศรษฐกิจส�ำคัญของประเทศ เช่น เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง หรือมณฑลอยู่ตามชายฝั่งทะเลด้านตะวัน ออกของประเทศ แต่ปจั จุบนั ในมณฑลต่างๆ ของประเทศจีนมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และรายได้ของประชาชนเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้ประชาชนมีกำ� ลังซือ้ (Purchasing Power) มากขึน้


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 91

และเศรษฐีใหม่เกิดขึน้ มากมายกระจายอยูต่ ามมณฑลต่างๆ ทัว่ ประเทศจีน สิง่ เหล่านี้ ล้วนส่ง ผลให้ผบู้ ริโภคชาวจีนจ�ำนวนไม่นอ้ ยเริม่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอย (Consumer Behavior) และการบริโภคอาหาร จากการรับประทานเพือ่ “อิม่ ท้อง” ในอดีตเป็นการบริโภค ที่เน้นรสชาติและคุณภาพของอาหารมากขึ้น ตลาดสินค้าเกษตรหลายชนิดที่น�ำเข้าจากไทย เช่น ข้าวหอมมะลิ ที่มีลักษณะเด่นคือรสชาติและคุณภาพ จึงเป็นสินค้าที่มีความต้องการน�ำ เข้าสูง และมีความต้องการบริโภคข้าวหอมมะลิเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากร้านทีจ่ ำ� หน่าย มีไม่มากนัก ได้มีการศึกษาจากศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน (2557) พบว่าการขยายตลาด สินค้าเกษตรของไทยที่น�ำเข้าไปสู่เมืองระดับมณฑลต่างๆจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นจึง เป็นโอกาสดีของสินค้าเกษตรไทย ไม่ว่าจะเป็นผลไม้ไทยหลากหลายชนิด หรือข้าวหอมมะลิ ที่จะมีโอกาสได้รับความนิยมมากขึ้นจากผู้บริโภคชาวจีนโดยเฉพาะข้าวหอมมะลิของไทยที่ ชาวจีนมองว่าเป็นข้าวที่มีคุณภาพสูง ทั้งนี้ชาวจีนประมาณร้อยละ 60 ของประชากรทั้งหมด บริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก จึงท�ำให้จีนเป็นตลาดข้าวขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งไทยรวมทั้ง ประเทศผู้ส่งออกข้าวอื่นๆ ต่างพยายามหาทางส่งออกข้าวไปยังจีนให้มากที่สุด (กรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศ, 2544) ดังนัน้ การส่งออกข้าวผ่านเส้นทางสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ทีอ่ ำ� เภอเชียงของจึงเป็นอีกหนึง่ เส้นทางการส่งออกข้าวไปยังจีนตอนใต้แห่งใหม่ทนี่ า่ จับตามอง ดังนั้นการส่งออกข้าวผ่านเส้นทางสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ที่อำ� เภอ เชียงของจึงเป็นอีกหนึ่งเส้นทางการส่งออกข้าวไปยังจีนตอนใต้แห่งใหม่ที่น่าจับตามอง การส่งออกข้าวและโอกาสการท�ำการค้ากับประเทศจีนตอนใต้ของผู้ ประกอบการในพื้นทีจ่ ังหวัดเชียงราย การส่งออกข้าวผ่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ทีอ่ ำ� เภอเชียงของเริม่ มีการ ส่งออกตั้งแต่เดือนตุลาคม ปี 2557 เป็นต้นมา เมื่อสังเกตจากสถิติของด่านศุลกากรเชียงของ มูลค่าการส่งออกข้าวตั้งแต่เดือนตุลาคม ปี 2557 - กรกฎาคม ปี 2558 พบว่ามูลค่าการส่ง ออกอยูท่ ี่ 819.856 ล้านบาท มีมลู ค่าเป็นอันดับสองรองจากการส่งออกผลไม้สด ในอดีตก่อน มีการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 การค้าและการส่งออกข้าวของผู้ประกอบ การในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีการขายและขนส่งข้าวไปให้กับตลาดส่งออกข้าวทางภาคกลาง เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์ขา้ วทุกอย่างจะส่งออกผ่านทางท่าเรือแหลมฉบัง แต่วา่ การขนส่งข้าวไปยัง


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 92

ตลาดส่งออกทางภาคกลางมีตน้ ทุนค้าขนส่งทีส่ งู ท�ำให้ผปู้ ระกอบการค้าข้าวหันมาท�ำการส่ง ออกเองผ่านทางสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 การส่งออกข้าวของผู้ประกอบการมี 2 กรณีคือ 1) การส่งออกข้าวไปลาวซึ่งจะมี ผู้รับซื้อคือพ่อค้าลาว จากนั้นพ่อค้าลาวจะน�ำสินค้าข้าวของไทยไปท�ำการค้ากับพ่อค้าจีน ซึ่ง สินค้าของลาวที่ส่งออกไปจีนจะได้รับการลดหย่อนภาษี ท�ำให้ผู้ประกอบการส่งออกข้าวใน พื้นที่จังหวัดเชียงรายเสียโอกาสที่จะได้ท�ำการค้ากับจีนโดยตรง โดยผู้ประกอบการจะต้อง ขออนุญาตประกอบการค้าข้าวจากกรมการค้าภายในและจดทะเบียนเป็นผูท้ าํ การค้าขาออก ตามมาตรฐานสินค้าของสาํ นักงานมาตรฐานสินค้ากรมการค้าต่างประเทศ 2) การส่งออกข้าว ไปประเทศจีนโดยตรงโดยใช้โควต้าการน�ำเข้าของประเทศจีนและของผูป้ ระกอบการจีนทีไ่ ด้ รับการประมูล โควต้าการน�ำเข้าจากรัฐบาลเพื่อให้สามารถได้สิทธิ์การน�ำเข้า ซึ่งการส่งออก ข้าวไปประเทศจีนนั้นผู้ประกอบการส่งออกในพื้นที่จังหวัดเชียงรายจะต้องมีโรงสีข้าวที่ได้ รับมาตรฐาน GMP และผู้ประกอบการจะต้องขออนุญาตประกอบการค้าข้าวจากกรมการ ค้าภายในและจดทะเบียนเป็นผู้ทําการค้าขาออกตามมาตรฐานสินค้า สํานักงานมาตรฐาน สินค้ากรมการค้าต่างประเทศเหมือนกับในกรณีทหี่ นึง่ ด้วย ส�ำหรับขัน้ ตอนการน�ำเข้าข้าวไทย ของบริษัทตัวแทนจ�ำหน่ายในจีนมีวิธีดังนี้ 1. บริ ษั ท ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยในจี น ยื่ น เรื่ อ งต่ อ คณะกรรมการพั ฒ นาและปฏิ รู ป ท้ อ งถิ่ น เพื่อเสนอเรื่องต่อไปถึงรัฐบาล เพื่อขอโควตาการน�ำเข้าข้าวไทย 2. บริ ษั ท ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยในจี น ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ บริ ษั ท ส่ ง ออกข้ า วของไทย เพื่อเจรจาในด้านของชนิด ราคา ขนาด จ�ำนวน วิธีการขนส่ง และการช�ำระเงิน 3. บริษัทตัวแทนจ�ำหน่ายในจีนน�ำเอกสารการอนุมัติโควต้าการน�ำเข้าข้าวที่ได้รับอนุญาต จากรัฐบาลจีน พร้อมกับเอกสารที่เกี่ยวข้องในสัญญาการซื้อข้าวจากไทยทั้งหมด ยื่นเรื่องถึง รัฐบาลเพื่อด�ำเนินการขั้นตอนการน�ำเข้าข้าวไทยสู่จีนอย่างสมบูรณ์

การส่งออกข้าวไปจีนโดยตรงมีอุปสรรคคือ ข้อกีดกันทางการค้าของจีนด้านโควต้า


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 93

และภาษี แม้ว่าปัจจุบันจีนและอาเซียนจะมีข้อตกลงเขตเสรีทางการค้า China-ASEAN เพื่อ ลดภาษีสินค้าส่วนใหญ่ แต่สินค้าข้าวยังถูกจ�ำกัดอยู่ในรายการสินค้าอ่อนไหว อีกทั้งยังถูก จ�ำกัดปริมาณการน�ำเข้าในแต่ละปี ท�ำให้ผู้น�ำเข้าไทยไม่สามารถเปิดตลาดข้าวในจีนได้อย่าง เสรี ผู้น�ำเข้าชาวจีนที่ต้องการน�ำเข้าเองก็จ�ำเป็นต้องประมูลโควต้าการน�ำเข้าจาก รัฐบาล เพื่อให้สามารถได้สิทธิ์การน�ำเข้า ขั้นตอนการขอโควต้าก็มีความยุ่งยาก ท�ำให้ผู้ส่งออกไทยที่ ต้องการขอเป็นผูน้ ำ� เข้ามาเองไม่สามารถท�ำได้ ต้องน�ำเข้าผ่านผูน้ ำ� เข้าชาวจีนทีไ่ ด้โควต้าเพียง ไม่กี่ราย การคาดการณ์ในอนาคตจากเหตุการณ์ปัจจุบัน เมื่อจีนออกมาประกาศปรับค่าเงิน หยวนให้อ่อนค่าลง ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยที่ส่งไปจีน เนื่องจากราคา สินค้าข้าวทีส่ ง่ ออกมีราคาเพิม่ สูงขึน้ ท�ำให้ปริมาณการส่งออกลดลง เนือ่ งจากจีนไม่จำ� เป็นต้อง ซือ้ ข้าวจากไทยในราคาทีแ่ พงกว่าคูค่ า้ รายอืน่ และผูส้ ง่ ออกต้องซือ้ ฟอร์เวิรด์ มากขึน้ ทัง้ นีห้ ากผู้ ประกอบการส่งออกข้าวในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายสามารถขอโควต้าการน�ำเข้าข้าวจากประเทศ จีนได้โดยการลดขัน้ ตอนการขอโควต้าทีม่ คี วามยุง่ ยาก ส่งผลให้แนวโน้มการส่งออกข้าวจากผู้ ประกอบการในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายไปประเทศจีนทางตอนใต้ทมี่ ลฑลยูนนานได้มากขึน้ โดย ใช้เส้นทาง R3A ในการขนส่ง และยังมีโอกาสขนส่งข้าวต่อไปยังนครเฉิงตูและนครฉงชิ่งโดย ใช้เส้นทาง R3A+ ซึ่งสามารถประหยัดเวลาและสะดวกในการขนส่งสินค้าจะใช้ระยะเวลาใน การขนส่งสินค้าจากไทยมาถึงนครเฉิงตูและนครฉงชิ่งประมาณ 3 - 5 วัน ซึ่งประหยัดเวลา กว่าการขนส่งทางน�ำ้ ถึง 15 – 17 วัน แต่ต้นทุนการขนส่งปัจจุบันยังค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตาม การเพิม่ ศักยภาพด้านการส่งออกข้าวในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายจะช่วย ให้การส่งออกผ่านสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ที่อำ� เภอเชียงของเป็นตลาดส่งออก ข้าวทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ เพราะสามารถส่งออกไปประเทศจีนตอนใต้ได้โดยตรงและลดระยะเวลา การส่งออกได้เมือ่ เทียบกับการส่งออกผ่านทางท่าเรือแหลมฉบังซึง่ ผูป้ ระกอบการส่งออกข้าว มีความต้องการการสนับสนุนอย่างมากจากภาครัฐ ดังนี้ 1. การช่วยเจรจากับทางประเทศจีนให้ลดขั้นตอนการขอโควต้าการน�ำเข้าข้าวส�ำหรับผู้ส่ง ออกไทยที่ต้องการขอเป็นผู้น�ำเข้าข้าวเอง เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถการส่งออกข้าว ให้มากขึ้น


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 94

2. สร้างความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัดเชียงรายเพื่อเพิ่มอ�ำนาจต่อรอง ทางการค้ากับต่างชาติ 3. การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการจีนและผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีการติดต่อ กันโดยตรงเช่นมีการจัดงานนัดพบระหว่างผู้ประกอบการเพื่อท�ำการค้าร่วมกันหรือจัดงาน แสดงสินค้าข้าวต่างๆในพื้นที่ที่มีการจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matching) เพื่อหาคู่ค้าที่จะ ท�ำการค้าในพื้นที่ 4. ให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาการขนส่งและโลจิสติกส์ ซึ่งจะช่วยให้เชียงรายมีศักยภาพ ให้การพัฒนาพื้นที่ให้กลายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในอนาคตข้างหน้าและเพื่อเป็นการลด ต้นทุนการขนส่ง เอกสารอ้างอิง ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557). วารสาร การพยากรณ์ ผลผลิตการเกษตร ปีที่29 ฉบับที่3 เดือนกันยายน 2557 สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2558 จาก http://www.oae.go.th/down load/forecast/jour nalofsep2557forecast.pdf กลุ่มยุทธศาสตร์สำ� นักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว (2558). อุตสาหกรรมข้าวของ ประเทศไทย ปี 2558-2559 : ทิศทางและศักยภาพการผลิตข้าวไทย (วันที่ 20 พฤษภาคม 2558) สืบค้นเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2558 จาก http://www.dft. go.th/LinkClick.aspx?fileticket=p6iLTgSSD_4%3D&tabid=401 ด่านศุลกากรเชียงของ. การน�ำเข้า-ส่งออกสินค้าเกษตร สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2558 จาก http://www. chiangkhongcustoms.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=575880&Ntype=6 ส�ำนักวิชาการ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2557). โครงการรับจ�ำน�ำข้าว สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2558 จาก http://library2.parliament.go.th/ ejournal/content_af/2557/apr2557-2.pdf


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 95

ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน (2557). ข้าวหอมมะลิไทยยังไปไกลได้ในตลาดเฉิงตูและฉง ชิ่ง สืบค้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 จาก http://www.thaibizchi na.com/thaibizchina/th/business-opportunity/ detail. php?SECTION_ ID=607&ID=14267 ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน (2557). ศึกษาโอกาสสินค้าเกษตรไทยในจีน สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2558 จาก http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/ business-opportunity/index.php?S ECTION_ ID=607 ผู้ให้สัมภาษณ์ 1. คุณ ศิริชัย พรมชัย ผู้ประกอบการ หจก.บุญยวงพืชผล เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2558 2. คุณ พบ มะใจ ชาวนาในพื้นที่อำ� เภอเชียงของ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2558


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 96

ปาล์มน�้ำมันพืชเศรษฐกิจโลก: โอกาสของเกษตรกรเชียงราย นพรุจ วีระกุล พรพินันท์ ยี่รงค์

บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่ง และประเทศผู้น�ำเข้าน�้ำมัน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเพาะปลูกปาล์มน�้ำมันในจังหวัดเชียงราย โดยพิจารณาจากเครือ่ งมือวิเคราะห์การส่งออกทีช่ อื่ ว่า “ดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ที่ปรากฏ” (Revealed Comparative Advantage: RCA) เพื่อประเมินศักยภาพการส่ง ออกปาล์มน�้ำมันของประเทศ ท�ำการศึกษาตั้งแต่ปี 2553 – 2557 โดยเลือกเปรียบเทียบกับ ประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศผู้น�ำเข้าน�้ำมันปาล์ม และมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศคู่แข่งที่สำ� คัญ และได้มีการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกกับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ำมันในพื้นที่เชียงราย จากผลการศึกษา ประเทศมาเลเซียได้เปรียบในการผลิตปาล์มน�ำ้ มันเพื่อส่งออกไป ยังตลาดโลกอย่างมากเมื่อเทียบกันประเทศไทย เนื่องจาก เกษตรปาล์มน�ำ้ มันในมาเลเซียได้ รับการสนับสนุนจากกภาครัฐตั้งแต่กระบวนการผลิตจากต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�ำ้ รวมถึงมีการ พัฒนาพันธุแ์ ละวิจยั ให้เกิดปาล์มน�ำ้ มันทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการผลิตมากขึน้ อย่างไรก็ดี มูลค่า การส่งออกปาล์มน�ำ้ มันไปยังตลาดโลกมีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตัวขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง แต่มปี ริมาณ การผลิตของประเทศไทยน้อยกว่าความต้องการปาล์มน�้ำมันทั้งในประเทศและต่างประเทศ อย่างมาก ทั้งนี้ การปลูกปาล์มน�ำ้ มันในจังหวัดเชียงราย หรือจังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือไม่ได้ รับความนิยมเท่าที่ควร เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย แต่กลุ่ม ผู้วิจัยเกี่ยวกับปาล์มน�้ำมันก็ได้พัฒนาสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่มากขึ้น ท�ำให้ เกษตรกรเริม่ หันมาปลูกปาล์มน�ำ้ มันมากยิง่ ขึน้ ซึง่ หากในอนาคตปริมาณปาล์มน�ำ้ มันทีถ่ กู ผลิต ในเชียงรายสูงขึน้ อาจจะท�ำให้ภาคเอกชนสนใจเข้ามาลงทุนเพือ่ ก่อสร้างโรงงานสกัดน�ำ้ มันใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย ท�ำให้เกษตรกรหรือผูป้ ระกอบการส่งออกสามารถส่งออกปาล์มน�ำ้ มันที่ ผลิตในเชียงรายไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และจีนตอนใต้ในต้นทุนที่ถูกลง โดยต้องพึ่งพาภาค รัฐในการสนับสนุนให้เกิดการลงทุน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 97

บทน�ำ สถานการณ์การปลูกปาล์มน�้ำมันเพื่อการผลิตน�้ำมันปาล์มของโลกนั้นมีแนวโน้มที่ จะเติบโตอย่างมาก สอดคล้องกับการบริโภคน�ำ้ มันปาล์มของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน ขณะนี้ ประเทศไทยเริ่มที่จะมีบทบาทต่อการค้าน�้ำมันปาล์มในตลาดโลกมากขึ้นเมื่อเทียบกับอดีต โดยมีการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ความต้องการน�ำ้ มันปาล์ม ในตลาดโลกมีปริมาณที่สูงกว่าปริมาณน�้ำมันที่สามารถผลิตได้ทั่วโลก เนื่องจาก น�ำ้ มันปาล์ม เป็นสินค้าทีส่ ามารถน�ำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทางอาหาร และยังสามารถน�ำไปแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ทไี่ ม่ใช่อาหารอีกด้วย ท�ำให้ปาล์มน�ำ้ มันจึงเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดทัว่ โลกเป็นอย่าง มาก สถานการณ์ปาล์มน�้ำมัน แม้ปาล์มน�ำ้ มันจะเป็นสินค้าที่มีความต้องการบริโภคสูงขึ้น แต่ไม่ใช่ทุกพื้นที่ในโลก ทีส่ ามารถผลิตปาล์มน�ำ้ มันได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากรูปที่ 1 แสดงให้เห็นถึงพืน้ ทีเ่ พาะปลูก ปาล์มน�้ำมันของแต่ละประเทศทั่วโลกในปี 2551 เห็นได้ชัดว่า ประเทศที่มีพื้นที่เพาะปลูก ปาล์มน�ำ้ มันสูงทีส่ ดุ คือ ประเทศไนจีเรีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และบางส่วนของประเทศปาปัว นิวกีนี ซึง่ มีพนื้ ทีป่ ลูกปาล์มน�ำ้ มันมากกว่า 1 ล้านเฮคเตอร์ ส่วนกลุม่ ประเทศทีม่ พี นื้ ทีเ่ พาะปลูก รองมาได้แก่ โคลัมเบีย เอกวาดอร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และประเทศไทย ซึ่งมี พื้นที่เพาะปลูกอยู่ระหว่าง 100,000 ถึง 1 ล้านเฮคเตอร์ ในขณะที่ประเทศมหาอ�ำนาจอย่าง บราซิล และจีนมีพนื้ ทีเ่ พาะปลูกปาล์มน�ำ้ มันเพียงแค่ระหว่าง 10,000 เฮคเตอร์ ถึง 100,000 เฮคเตอร์


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 98

รูปที่ 1 พื้นทีเ่ พาะปลูกปาล์มน�้ำมันแต่ละประเทศทัว่ โลกปี 2551

ที่มา: Koh and Wilcove, 2000

ประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซียถือว่าเป็นผู้ผลิตน�้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลก (รูป ที่ 2) โดยในปี 2553 ประเทศอินโดนีเซียมีการผลิตน�้ำมันปาล์มสูงที่สุดอยู่ที่ 24.06 ล้านตัน และเพิ่มขึ้นเป็น 31 ล้านตันในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมในระยะ 4 ปี (Compound Average Growth Rate: CAGR) อยู่ที่ร้อยละ 6.54 ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีการผลิต ปาล์มมันอยู่ที่ 17.75 ล้าน และเพิ่มสูงขึ้นเป็น 22.86 ล้านตันในปี 2557 เติบโตเฉลี่ยสะสม อยู่ที่ร้อยละ 6.53 ประเทศไทยถือว่ามีการผลิตน�้ำมันปาล์มในปริมาณที่ต�่ำสุดที่ 1.67 ล้าน ตันในปี 2553 และลดลงเป็น 1.08 ล้านตันในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ -10.32 เห็นได้ว่าศักยภาพการผลิตน�ำ้ มันปาล์มของประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซียยังคงมี การเติบโตได้ดี ส่วนประเทศไทยมีการผลิตน�ำ้ มันปาล์มน้อยลงบ้างเล็กน้อย


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 99

รูปที่ 2 เปรียบเทียบปริมาณการผลิตน�้ำมันปาล์มปี 2553 - 2557 (หน่วย: ล้านตัน)

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2558

อินโดนีเซียจะเป็นผู้ผลิตปาล์มน�ำ้ มันสูงที่สุดในโลก และมีการบริโภคน�้ำมันปาล์มที่ สูงมากเช่นกัน โดยในปี 2553 อินโดนีเซียมีการบริโภคปาล์มน�ำ้ มันอยู่ที่ 7.74 ล้านตัน (คิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 32.17 ของปริมาณการผลิตน�ำ้ มันปาล์มของอินโดนีเซีย) และเพิม่ ขึน้ เป็น 9.77 ล้านตันในปี 2557 (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 31.52 ของปริมาณการผลิตน�ำ้ มันปาล์มของ อินโดนีเซีย) มีการเติบโตเฉลีย่ สะสมอยู่ที่ร้อยละ 6 รองมาได้แก่ อินเดีย ทีม่ ีการบริโภคน�ำ้ มัน ปาล์มอยู่ที่ 6.61 ล้านตัน และในปี 2557 เพิ่มขึ้นเป็น 8.34 ล้านตัน มีการเติบโตเฉลี่ยสะสม อยูท่ รี่ อ้ ยละ 5.98 ต่อมาได้ประเทศจีนทีม่ กี ารบริโภคน�ำ้ มันอยูท่ ี่ 5.05 ล้านตันในปี 2553 และ เพิ่มขึ้นเป็น 6.38 ล้านตันในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสมร้อยละ 6.02 และสหภาพยุโรป มีการบริโภคน้อยสุดอยู่ที่ 4.87 ล้านตันในปี 2553 เพิ่มขึ้นเป็น 6.15 ล้านตันในปี 2557 มี การเติบโตเฉลีย่ สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ 6.01 โดยภาพรวม ทัง้ 4 ประเทศมีการเติบโตของปริมาณ การบริโภคน�้ำมันที่ดีในอัตราที่ใกล้เคียงกัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 100

รูปที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณการบริโภคน�้ำมันปาล์มปี 2553-2557 (หน่วย : ล้านตัน)

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2558

หากแต่ประเทศที่มีการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มมากที่สุดคือ ประเทศอินเดีย (รูปที่ 4) ที่ มีการน�ำเข้าน�ำ้ มันปาล์มถึง 6.92 ล้านตันในปี 2553 และเพิ่มสูงขึ้นเป็น 7.99 ล้านตันในปี 2557 มีการเติบโตเฉลีย่ สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.66 รองมาได้แก่ ประเทศจีนทีม่ กี ารน�ำเข้าน�ำ้ มัน ปาล์มที่ 5.45 ล้านตันในปี 2553 และเพิ่มขึ้นเป็น 6.19 ล้านตันในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ย สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.23 ในขณะทีส่ หภาพยุโรปมีการน�ำเข้าน�ำ้ มันปาล์มในปริมาณทีใ่ กล้เคียง กันอยู่ที่ 5.36 ล้านตันในปี 2553 ก่อนจะเพิ่มขึ้นจนเท่ากับประเทศจีนในปี 2557 อยู่ที่ 6.19 ล้านตัน มีการเติบโตเฉลีย่ สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.66 โดยปากีสถานมีการน�ำเข้าน�ำ้ มันปาล์มน้อย ที่สุดอยู่ที่ 1.94 ล้านตันในปี 2553 และเพิ่มขึ้นเป็น 2.24 ในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ยสะสม อยู่ร้อยละ 5.9 ท�ำให้ประเทศปากีสถานมีการเติบโตเฉลี่ยสะสมของการน�ำเข้าน�ำ้ มันสูงที่สุด ตามมาด้วย อินเดีย สหภาพยุโรป และจีนตามล�ำดับ นับตั้งแต่ปี 2554 ปากีสถานได้บรรลุ ข้อตกลงทางการค้ากับประเทศอินโดนีเซียในการลดภาษีอากรส่งออกน�้ำมันปาล์มลงร้อย ละ 15 รวมถึงมาเลเซียได้ให้สิทธิพิเศษในการลดภาษีน�้ำมันปาล์มดิบ และผลิตภัณฑ์ ท�ำให้ ปริมาณการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มของปากีสถานจากอินโดนีเซียและมาเลเซียเพิ่มขึ้นอย่างมาก (ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554)


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 101

รูปที่ 4 เปรียบเทียบปริมาณการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มปี 2553 -2557 (หน่วย : ล้านตัน)

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2558

ประเทศทีม่ กี ารส่งออกน�ำ้ มันปาล์มมากทีส่ ดุ คือ ประเทศอินโดนีเซียมีการส่งออกไป ถึง 17.09 ล้านตัน (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 71.03 ของปริมาณน�ำ้ มันปาล์มที่ผลิตในประเทศ อินโดนีเซียทั้งหมด) ในปี 2553 และเพิ่มขึ้นเป็นเป็น 20.39 ล้านตัน ในปี 2557 (คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 65.77 ของปริมาณน�ำ้ มันปาล์มที่ผลิตในประเทศอินโดนีเซียทั้งหมด) มีการ เติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 4.51 รองมาได้แก่มาเลเซียที่มีการส่งออกน�้ำมันปาล์มอยู่ที่ 14.49 ล้านตันในปี 2553 (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 81.45 ของปริมาณน�ำ้ มันปาล์มที่ผลิตใน ประเทศมาเลเซียทั้งหมด) และเพิ่มขึ้นเป็น 17.29 ล้านตันในปี 2557 (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 75.63 ของปริมาณน�้ำมันปาล์มที่ผลิตในประเทศมาเลเซียทั้งหมด) มีการเติบโตเฉลี่ยสะสม อยู่ที่ร้อยละ 4.52 ประเทศไทยมีการส่งออกน้อยที่สุดอยู่ที่ 0.53 ล้านตันในปี 2553 (คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 31.74 ของปริมาณน�้ำมันปาล์มที่ผลิตในประเทศไทยทั้งหมด) มีการเติบโต เฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 4.42 ทั้ง 3 ประเทศมีการเติบโตเฉลี่ยสะสมไม่แตกต่างกันมาก โดย ประเทศไทยมีการผลิตเพือ่ ส่งออกเพิม่ ขึน้ แต่ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซียกลับมีการผลิต เพื่อส่งออกลดลง


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 102

รูปที่ 5 ปริมาณการส่งออกน�้ำมันปาล์มโลก ปี 2553-2557 (หน่วย : ล้านตัน)

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

มูลค่าการส่งออกน�้ำมันปาล์มของของไทยในปี 2553 (ตารางที่ 1) อยู่ที่ 211.71 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเพิ่มขึ้นเป็น 347.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2557 มีการเติบโตเฉลี่ย สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ 13.21 ซึง่ การส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของไทยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.15 ของ การส่งออกของไทยทัง้ หมด ขณะทีส่ ดั ส่วนการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของไทยคิดเป็นสัดส่วนร้อย ละ 1.18 ของการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของโลก ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างมากจากปี 2553

ตารางที่ 1 มูลค่าและสัดส่วนการส่งออกน�้ำมันปาล์มไทยต่อการส่งออกของโลก ปี 2553 – 2557 (หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประเภทการส่งออก

2553

2554

2555

2556

2557

มูลค่าส่งออกน�้ำมันปาล์ม ของไทย

211.71

533.6

449.01

574.19

347.8

มูลค่าส่งออกโดยรวม ของไทย %การส่งออกน�้ำมันปาล์ม ต่อการส่งออกโดยรวม ของไทย

193,305.6 222,575.8 229,236.1 228,504.9 0.11%

0.24%

0.20%

0.25%

227,573.6 0.15%


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 103

หากแต่สถานการณ์การส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของมาเลเซียในตัง้ แต่ปี 2553 ถึงปี 2557 มีการเติบโตไม่ดีมากนัก (ตารางที่ 2) เนื่องจาก ในปี 2553 มูลค่าการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มอยู่ ที่ 13,927.53 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และลดลงเหลือเพียง 12,746.19 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2557 ท�ำให้การเติบโตเฉลีย่ สะสมอยูท่ รี่ อ้ ยละ -2.19 ซึง่ การส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของมาเลเซีย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.44 ของการส่งออกของมาเลเซียทั้งหมด ขณะที่สัดส่วนการส่งออก น�้ำมันปาล์มของมาเลเซียคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43.28 ของการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของโลก เห็นได้ชดั ว่าสัดส่วนของการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของประเทศมาเลเซียต่อการส่งออกน�ำ้ มันของ มาเลเซียโดยรวม และการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของโลกมีการลดลงอย่างมาก ตารางที่ 2 มูลค่าและสัดส่วนการส่งออกน�้ำมันปาล์มมาเลเซียต่อการส่งออกของโลก ปี 2553 – 2557 (หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประเภทการส่งออก

2553

2554

2555

2556

2557

มูลค่าส่งออกน�้ำมันปาล์ม ของมาเลเซีย

13,927.53

19,731.33

17,196.99

13,249.70

12,746.19

198,612

228,086.1

227,537.7 228,330.8

234,139.1

%การส่งออกน�้ำมันปาล์ม ต่อการส่งออกโดยรวม ของมาเลเซีย

7.01%

8.65%

7.56%

5.80%

5.44%

%การส่งออกน�้ำมันปาล์ม มาเลเซียต่อการส่งออก น�้ำมันปาล์มของโลก

56.43%

75.79%

61.75%

43.91%

43.28%

มูลค่าส่งออกโดยรวม ของมาเลเซีย

ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2558

ราคาน�ำ้ มันปาล์ม เมือ่ เปรียบเทียบราคาขายน�ำ้ มันปาล์มดิบระหว่างประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย พบว่าราคาน�้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซียมีราคาที่ต�่ำกว่าประเทศไทยมาตั้งแต่ปี 2553 โดย มาเลเซียมีราคาน�ำ้ มันปาล์มดิบในปี 2553 อยูท่ ี่ 27.02 บาทต่อกิโลกรัม ในขณะทีร่ าคาน�ำ้ มัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 104

ปาล์มดิบของประเทศไทยในปีเดียวกันอยู่ที่ 29.1 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนต่างของราคาน�ำ้ มัน ปาล์มดิบระหว่างประเทศไทยและมาเลเซีย ท�ำให้มาเลเซียมีความได้เปรียบอย่างมากในด้าน ราคา แม้วา่ ในปี 2556 ราคาน�ำ้ มันปาล์มดิบของมาเลเซียจะตกมาอยูท่ ี่ 23.27 บาทต่อกิโลกรัม แต่ก็ยังต�่ำกว่าราคาน�ำ้ มันปาล์มดิบของประเทศไทยอยู่ที่ 25.24 บาทต่อกิโลกรัม ตารางที่ 4 เปรียบเทียบราคาน�้ำมันปาล์มดิบของประเทศมาเลเซียและประเทศไทย ปี 2553 - 2556

ที่มา: ส�ำนักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร, 2557

ทฤษฏีและเครือ่ งมือที่ใช้ การวิเคราะห์ศักยภาพของประเทศไทยในการผลิตน�้ำมันปาล์มต่อการส่งออกโลก สามารถวิเคราะห์ได้ผ่าน “ดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage: RCA) โดยดัชนี RCA จะใช้ขอ้ มูลสถิตขิ องมูลค่าการส่งออกของสินค้า ชนิดหนึ่งของประเทศหนึ่งต่อมูลค่าการส่งออกโดยรวมของประเทศ เปรียบเทียบกับการส่ง ออกของน�ำ้ มันปาล์มทั้งหมดในตลาดโลกต่อการส่งออกทั้งหมดของโลก


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 105

สูตร Revealed Comparative Advantage:

โดย

s คือ ประเทศทีเ่ ราสนใจ d,w คือ ประเทศทีต ่ ้องการจะทราบในโลก i คือ ภาคการส่งออกทีส ่ นใจ x คือ ประเภทสินค้าทีส ่ นใจ X คือ การส่งออกรวมของประเทศนั้น

เมื่อท�ำการวิเคราะห์และค�ำนวณของค่า RCA แล้วจะสามารถทราบได้ว่า หาก ค�ำนวณตัวเลขแล้ว นัน้ มีคา่ มากกว่า 1 แสดงว่าประเทศนัน้ มีการได้เปรียบการค้าต่อประเทศ อื่นก็ควรที่จะส่งเสริมการส่งออกสินค้าชนิดดังกล่าว แต่หากได้ค่า RCA น้อยกว่า 1 แสดงว่า ประเทศเสียเปรียบทางการค้าในตลาดโลกกับประเทศอืน่ และพิจารณาหาแนวทางในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันกับสินค้าประเภทดังกล่าว หรือ ย้ายประเภทสินค้าที่ต้องการ ผลิตเพื่อส่งออกให้สอดคล้องกับศักยภาพการผลิตสินค้าของประเทศ

ผลการวิเคราะห์ศักยภาพการส่งออกปาล์มน�ำ้ มันของไทยในตลาดโลก ผลการวิเคราะห์ศักยภาพการส่งออกปาล์มน�ำ้ มันของไทย (รูปที่ 5) พบว่าประเทศ มาเลเซียมีค่า RCA สูงกว่าค่า RCA ของประเทศไทยอย่างมาก เนื่องจาก มาเลเซียถือเป็น ประเทศที่ส่งออกน�ำ้ มันปาล์มเป็นอันดับ 2 ของโลก โดยในปี 2553 ค่า RCA ของมาเลเซีย อยูท่ ี่ 43.77 ถือว่ามีความได้เปรียบในการส่งออกปาล์มน�ำ้ มันในตลาดโลกอย่างมาก แม้วา่ ใน ปี 2557 ค่า RCA จะตกลงมาอยู่ที่ 35.22 ก็ตาม ท�ำให้การเติบโตเฉลี่ยสะสมของการส่งออก น�้ำมันของมาเลเซียหดตัวร้อยละ 5.27 อย่างไรก็ตาม ค่า RCA ของประเทศไทยในปี 2553 มีค่าไม่ถึง 1 ชี้ให้เห็นว่าการส่งออกปาล์มน�ำ้ มันของไทยเสียเปรียบอย่างมากในตลาดโลก แต่ ในปี 2554 ถึงปี 2556 ค่า RCA ของประเทศไทยเกินกว่า 1 แสดงว่าศักยภาพในการแข่งขัน ด้านการส่งออกปาล์มน�้ำมันสูงขึ้น แม้ในปี 2557 จะลดลงต�ำ่ กว่า 1 อีกครั้ง ส่งผลให้มีการ เติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ 10.39 การส่งออกปาล์มน�ำ้ มันของไทยยังมีแนวโน้มในการเติบโตที่ดี


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 106

รูปที่ 5 เปรียบเทียบค่า RCA ของการส่งออกปาล์มน�้ำมันระหว่างไทย และมาเลเซีย ต่อตลาดโลกปี 2553 - 2557

ที่มา: ค�ำนวณโดยผู้วิจัย

แม้ว่าประเทศไทยจะค่อนข้างเสียเปรียบในการส่งออกปาล์มน�้ำมันไปยังตลาดโลก แต่กลับได้เปรียบอย่างมากในการส่งออกน�้ำมันปาล์มไปยังตลาดจีน ถึงแม้จะยังไม่สามารถ แข่งขันกับประเทศมาเลเซียได้ก็ตาม (รูปที่ 6) ค่า RCA ของไทยในการส่งออกน�ำ้ มันปาล์ม ไปยังประเทศจีนอยู่ที่ 9.43 ในปี 2553 ก่อนจะมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากไปอยู่ที่ 117.53 แสดงถึงการพัฒนาของศักยภาพในการแข่งขันของปาล์มน�ำ้ มันไทยในตลาดจีน และมีแนวโน้ม ทีจ่ ะสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีการเติบโตเฉลีย่ สะสมถึงร้อยละ 87.89 ในขณะทีม่ าเลเซียมีคา่ RCA อยู่ที่ 604.51 ในปี 2553 และเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดเป็น 4187.53 ในปี 2557 มีการ เติบโตเฉลี่ยสะสมที่ร้อยละ 62.23


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 107

รูปที่ 6 เปรียบเทียบค่า RCA ของการส่งออกปาล์มน�้ำมันระหว่างไทย และมาเลเซีย ต่อตลาดจีนปี 2553 - 2557

ที่มา: ค�ำนวณโดยผู้วิจัย

ประเด็นทีน ่ ่าสนใจ: จุดยืนของประเทศไทยต่อการค้าน�้ำมันปาล์มโลก ตามรายงานข่าวเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 นายชุติวัต สินทรัพย์ ผู้ช่วยนาย ด่านศุลกากรเชียงแสน จ.เชียงราย กล่าวว่า “ปกติแล้วน�ำ้ มันปาล์มทีส่ ง่ ออกผ่านด่านศุลกากร เชียงแสนจะเป็นน�้ำมันปาล์มที่ขนมาจากทางมาเลเซียโดยใช้ไทยเป็นแค่ทางผ่านเท่านั้น โดย จะส่งต่อไปยังประเทศจีน โดยสถิติ 4 เดือนปีงบประมาณ 2554 ส่งน�ำ้ มันปาล์มออกไปแล้ว จ�ำนวนกว่า 6,783 ตัน มูลค่า 253.73 ล้านบาท ในขณะที่ปีงบประมาณ 2553 ส่งออกน�ำ้ มัน ปาล์ม 36,666 ตัน ทั้งนี้ พบว่าปริมาณความต้องการเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก” สามารถแยก ปัจจัยที่มีต่อการปลูกปาล์มน�้ำมันในพื้นที่เชียงรายได้ 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยตลาด และปัจจัย ทางกายภาพ 1. ปัจจัยทางตลาด คือ จังหวัดเชียงรายมีโรงงานรับซื้อจ�ำนวนน้อยมาก และราคารับซื้อหน้า โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มจากเกษตรกรมีราคาที่ตำ�่ มาก 2. ปัจจัยด้านกายภาพ คือ สภาพภูมิอากาศของจังหวัดเชียงรายไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการปลูก ปาล์มน�้ำมัน เพราะต้นปาล์มมีลักษณะชอบอากาศร้อน น�้ำ และปุ๋ย รวมถึงต้องมีการดูแล


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 108

เอาใจใส่เป็นอย่างดี เช่น การตัดแต่งทางใบที่ต้องดูแลอย่างสม�ำ่ เสมอ รูปที่ 7 หนึ่งในกระบวนการปลูกปาล์มน�้ำมัน

ที่มา: ศูนย์วิจัยปาล์มน�้ำมันสุราษฎร์ธานี

จากการสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมจาก คุณสุพรรณ ท่อทิพย์ (อาจารย์แต้ม) ต�ำแหน่งผู้ จัดการของ สหกรณ์ปาล์มน�ำ้ มันล้านนา จ�ำกัด ได้ให้ขอ้ มูลเบือ้ งต้นว่า ปัจจุบนั เชียงรายมีการ ปลูกต้นไม้ ประมาณ 10,000 ไร่ 1 ไร่จะสามารถปลูกปาล์มได้ 20-22 ต้น เพราะฉะนั้น จะ มีต้นปาล์มประมาณ 200,000 - 220,000 ต้น ในพื้นที่เชียงราย นอกจากนั้นทางสหกรณ์ได้ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ตอนนี้มีราคารับซื้อหน้าโรงงานที่ 2.5 บาท/กิโลกรัมเป็นอย่างต�ำ่ ซึ่งเป็น ราคาทีต่ ำ�่ มาก อันมีปจั จัยหลักจาก ราคากลไกตลาดของน�ำ้ มันพืชทีถ่ กู ลง ส่งผลให้ราคาน�ำ้ มัน ปาล์มลดลงตาม อย่างไรก็ตาม ประชาชนในพืน้ ทีต่ ำ� บลห้วยสักเริม่ มีการปลูกปาล์มน�ำ้ มันเพิม่ ขึ้น เป็นผลมาจากปาล์มน�้ำมันสายพันธุ์ใหม่ที่ให้ผลผลิตเร็วขึ้น โดยใช้ระยะเวลาปลูกเพื่อให้ ผลผลิตแค่ 2.5 ปี และสามารถเก็บเกี่ยวผลปลิตปาล์มได้เดือนละ 2 ครั้ง โดยการลงทุนของ สวนปาล์มน�้ำมัน ส่วนมากนั้นชาวสวนปาล์มจะใช้ต้นทุนเงินของตัวเองในการท�ำสวนปาล์ม บทสรุปและข้อเสนอแนะ ในการแข่งขันระดับโลกนั้นประเทศที่มีความได้เปรียบการค้าน�้ำมันปาล์มมาก อย่างประเทศมาเลเซีย อันเนือ่ งจากรัฐบาลมาเลเซียได้สนับสนุนอย่างเต็มทีท่ จี่ ะให้เกษตรกร มาเลเซียปลูกปาล์มแทนการปลูกยางพารา ซึ่งมีทั้งทุนการวิจัยสายพันธุ์ปาล์มน�้ำมัน ประกัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 109

ราคารับซือ้ และการให้เงินอุดหนุนเพือ่ ลดต้นทุน ท�ำให้เกษตรกรมาเลเซียมีแรงจูงใจทีจ่ ะปลูก ปาล์มน�ำ้ มันมากขึน้ อย่างไรก็ตาม ความต้องการบริโภคน�ำ้ มันปาล์มมีความต้องการเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก ปาล์มน�้ำมันสามารถแปรรูปเป็นได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการบริโภค และผลิตเป็นเชื้อเพลิงได้ จากข้อมูลและการสอบถามเพิม่ เติมจากทัง้ ในข้อมูลการค้าน�ำ้ มันปาล์มโลกและ การ ปลูก การค้าปาล์มในจังหวัดเชียงราย ได้ทราบว่าความต้องการน�ำ้ มันปาล์มในเวทีโลกนั้นยัง เพิ่มสูงขึ้น โดยสอดคล้องกับความได้เปรียบทางการค้าน�้ำมันปาล์มที่ประเทศยังมีแนวโน้ม ความได้เปรียบการค้าน�้ำมันปาล์มโลกยิ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553 - 2557 การปลูกปาล์มในจังหวัดเชียงรายนัน้ เริม่ เพิม่ ขึน้ มากจากอดีตจนถึงปัจจุบนั โดยเริม่ จากเกษตรกรที่สนใจการปลูกปาล์มน�้ำมันในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และริเริ่มก่อตั้งสหกรณ์ ปาล์มน�้ำมัน ทั้งนี้ ยังมีกลุ่มเกษตรกรปาล์มน�ำ้ มันในจังหวัดเชียงรายอีกหลายกลุ่มที่ก่อตั้งขึ้น เพือ่ ให้คำ� แนะน�ำ ค�ำปรึกษา และรับซือ้ ผลผลิตปาล์ม ซึง่ เป็นโอกาสทีจ่ ะท�ำให้จงั หวัดเชียงราย นั้นเป็นแหล่งผลิตปาล์มน�ำ้ มันได้ และในปลายปี 2015 จะมีการเปิด AEC ซึ่งสามารถเพิ่ม โอกาสการค้าน�้ำมันปาล์มต่อเศรษฐกิจประชาคมอาเซียนได้ การปลูกปาล์มในเชียงรายนั้น ในอดีตถือเป็นเรือ่ งทีย่ าก แต่ปจั จุบนั มีเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมากขึน้ ทีจ่ ะช่วยส่งเสริมการปลูก ปาล์มในจังหวัดเชียงราย ไม่วา่ จะเป็นการปรับปรุงสายพันธุ์ สหกรณ์ปาล์มน�ำ้ มันทีก่ อ่ ตัง้ เพือ่ ให้คำ� ปรึกษาเกีย่ วกับการปลูกปาล์มและรับซือ้ ผลผลิตปาล์ม แต่จงั หวัดเชียงรายนัน้ ยังขาดแต่ เพียงโรงงานที่ใช้ในการสกัดน�ำ้ มันปาล์มเพือ่ ลดค่าขนส่งทีจ่ ะส่งลงไปชลบุรใี นการสกัดน�ำ้ มัน ปาล์ม หากในอนาคตเชียงรายมีโรงงานสกัดน�ำ้ มันปาล์ม จะสามารถลดค่าต้นทุนที่ใช้ในการ ผลิตปาล์มน�้ำมันได้มากยิ่งขึ้น และด้วยที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายที่ได้เปรียบ ท�ำให้สามารถ ส่งสินค้าไปยังประเทศที่มีความต้องการน�ำ้ มันปาล์มสูงอย่างประเทศจีน รัสเซีย เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ ได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น บรรณานุกรม กรมการค้าภายใน (2557). ข้อมูลราคา สต๊อกคงเหลือ ปริมาณการผลิตน�้ำมันปาล์ม (ออนไลน์). สืบค้นจาก: http://www.dit.go.th/ [17 สิงหาคม 2558] ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2558). ข้อมูลการน�ำเข้า – ส่งออก ราคาของน�ำ้ มันปาล์มโลก


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 110

(ออนไลน์). สืบค้นจาก: http://www.moac.go.th/ [17 สิงหาคม 2558] ฐานข้อมูล CEIC (2558). มูลค่าการส่งออกน�ำ้ มันปาล์มของประเทศต่างๆในโลก (ฐานข้อมูล ออนไลน์) สืบค้นจาก: โปรแกรม CEIC [17 สิงหาคม 2558] รักบ้านเกิด (2558). ราคาน�ำ้ มันปาล์มรายวัน (ออนไลน์) สืบค้นจาก: http://www.rakbank erd.com/price.php?ic=5&g= [17 สิงหาคม 2558]


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 111

วิถีชีวิตคนหาปลา : ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการสร้างเขือ่ น ในล�ำน�้ำโขงและการระเบิดเกาะแก่งเพือ่ การเดินเรือพาณิชย์ กรณี ศึกษาอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย สิทธิชาติ สมตา ณัฐพรพรรณ อุตมา ปฐมพงศ์ มโนหาญ “วิถีชีวิตคนหาปลามีการเปลี่ยงแปลงไปตามพลวัตของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ ส่งผลกระทบข้ามพรมแดนจากการสร้างเขื่อนในล�ำน�้ำโขงและการระเบิดเกาะแก่งเพื่อการ เดินเรือพาณิชย์ ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพคนหาปลา ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนใน ล�ำน�้ำโขงและการระเบิดเกาะแก่งส่งผลให้ระบบนิเวศในแม่น�้ำโขงเกิดการเปลี่ยนแปลง และ ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติใต้แม่น�้ำโขง ไม่ว่าจะเป็นท�ำลายแหล่งที่วางไข่ของปลา จากการระเบิดเกาะแก่งและท�ำให้น�้ำขุ่น อีกทั้งการสร้างเขื่อนนั้นส่งผลต่อการขึ้นไปวางไข่ ของปลาทีต่ น้ น�ำ้ ท�ำให้จำ� นวนปลาลดลง จึงส่งผลกระทบต่อชาวบ้านทีอ่ าศัยบริเวณริมฝัง่ โขง ที่ประกอบอาชีพหาปลา”


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 112

บทน�ำ วิถีชีวิตของคนลุ่มแม่นำ�้ โขงผูกผันกับแม่น�้ำสายแห่งนี้มาอย่างยาวนาน มีการพึ่งพิง และใช้ประโยชน์ในแม่น�้ำโขง ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การคมนาคม การประมง และ การเพาะปลูก อีกทัง้ เป็นแหล่งอารย-ธรรมประเพณี วัฒนธรรม และวิถชี วี ติ ของชุมชนริมฝัง่ โขง ทรัพยากรในลุม่ แม่นำ�้ โขงนอกจากเป็นแหล่งอาหารแก่ผคู้ นตลอดริมแม่นำ�้ โขงแล้วยังสามารถ สร้างรายได้ในการด�ำรงชีวิต จากการหาปลา ไกหรือสาหร่ายน�้ำจืด และการท�ำเกษตรริมฝั่ง โขง นอกจากนี้รายได้ส่วนส�ำคัญส่วนหนึ่งมาจากการรับจ้างนอกภาคเกษตร รองลงมา คือ การท�ำเกษตรกรรม แม่นำ�้ โขงท�ำหน้าทีเ่ สมือนเส้นเลือดหล่อเลีย้ งคนในภูมภิ าคเอเซียตะวันเฉียงใต้ เป็น แหล่งทรัยากรน�ำ้ เพื่ออุปโภคบริโภค การเกษตร อุตสาหกรรม และการประมง แก่ประชาชน ของทั้ง 6 ประเทศที่แม่น�้ำโขงไหลผ่าน ได้แก่ จีน ไทย ลาว เมียนมาร์ กัมพูชา และเวียดนาม นอกจากมีความส�ำคัญที่เป็นแหล่งทรัพยากรน�้ำและเส้นทางคมนาคมแล้ว แม่น�้ำโขงยังมี ความส�ำคัญในฐานะเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ทั้ง ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม การร่วมกลุ่มในเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ได้เริ่มหลังช่วงสงครามเย็นได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ 1990 ความขัดแย้งด้านอุดมการณ์เริ่มคลายตัว ประเทศต่างๆ ก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจจากระบบ เศรษฐกิจสังคมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ที่ต้องมีการเปิดการค้าเสรี (Free Trade) รวมทั้งมุ่งเน้นการลงทุนกับต่างประเทศ เข้าสู่กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เรียกว่า “กระแสโลกาภิวัตน์” (Globalization) ท�ำให้ประเทศต่างๆ หันมารวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ท�ำให้ความหมาย ของแม่นำ�้ โขงกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความร่วมมือที่ก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้ง 6 ประเทศ โดยได้รับ การสนับสนุนจากธนาคารพัฒนาเอเซีย (ADB) ให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพือ่ ให้ เกิดประโยชน์ในการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้ชอื่ โครงการร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุ-ภูมภิ าคลุม่ แม่นำ้� โขง (Economic Cooperation in the Greater Mekong Sub-region : GMS) ในปี ค.ศ. 1992 โดยความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจของกลุม่ ประเทศลุม่ แม่นำ�้ โขงทัง้ 6 ประเทศ อยูภ่ ายใต้กรอบความร่วมมือในสาขาทางเศรษฐกิจทีม่ ี ศักยภาพสูงในการพัฒนาร่วมกันทัง้ 9 สาขา (ความสัมพันธ์กบั ประเทศและภูมภิ าคต่างๆ, กระทรวงต่างประเทศ) อันได้แก่ 1) คมนาคมขนส่ง 2) โทรคมนาคม 3) พลังงาน 4) การค้า 5) การลงทุน 6) เกษตร 7) สิ่งแวดล้อม 8) การท่องเที่ยว และ 9) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (กระทรวงต่างประเทศ, 2558)


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 113

การปรับเปลี่ยนนโยบายน�ำไปสู่การขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า และ การลงทุนระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ท่ามกลางการพัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของแต่ละประเทศ พลังงานเป็นสิง่ ส�ำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ โดยการพัฒนา โครงการดังกล่าวท�ำให้ประเทศจีน ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาและสร้างการ เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นกับแม่น�้ำโขง รูปที่ 1 แผนสร้างเขือ่ นบนน�้ำโขง

ที่มา : http://thaipublica.org/2014/04/threats-to-rivers/


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 114

การสร้างเขื่อนในจีน มีอยู่ 2-3 เขื่อนที่น่าสนใจเป็นพิเศษ คือ เขื่อนเชี่ยวหวาน มี ก�ำลังผลิตติดตั้งเยอะกว่าเขื่อนอื่นๆ ในภูมิภาค คือ 4,200 เมกะวัตต์ และมีความสูงกว่า 200 เมตร ส่วนเขื่อนที่เพิ่งสร้างเสร็จอย่างเขื่อนนั่วจาตู้ มีก�ำลังผลิตติดตั้งที่สูงมากขึ้นกว่าเดิมถึง 5,850 เมกะวัตต์ ซึ่งท�ำให้เขื่อนทั้ง 2 เขื่อนดังกล่าวสามารถที่จะกักเก็บน�้ำไว้ในปริมาณที่ เยอะมาก การกักเก็บน�้ำในปริมาณมากของแม่น�้ำโขงตอนบนของจีนนั้น แน่นอนว่าส่งผลก ระทบต่อแม่น�้ำโขงทางตอนล่าง เนื่องจากน�ำ้ สายหลักในฤดูแล้งของอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย มาจากจีนเกือบ 95-100% แต่ถ้าในฤดูฝนน�ำ้ ที่มาจากจีนจะประมาณ 75% เพราะ เส้นทางน�้ำจะลดน้อยลงโดยมีนำ�้ จากประเทศอื่นๆ ไหลมาด้วย ดังนั้น ไม่ว่าอะไรที่เกิดขึ้นบน สายน�ำ้ ทางตอนบน ก็จะส่งผลกระทบต่อแม่นำ�้ โขงทางตอนล่าง โดยเฉพาะในแถบภาคเหนือ ของประเทศไทย (Thaipublica, 2558) การสร้างเขื่อนในแม่น�้ำโขง การระเบิดเกาะแก่งในแม่น�้ำโขงเพื่อการพาณิชย์ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งสินค้า และเพื่อการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว พร้อม ทั้งการเปิด-ปิดประตูระบายน�้ำของเขื่อนในประเทศจีนท�ำให้สมดุลการไหลของน�้ำไม่เป็นไป ตามธรรมชาติ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อพันธุ์ปลาและการประมง และการผันผวนของน�ำ้ ใน แม่น�้ำโขงท�ำให้การเดินทาง การวางไข่ และที่อยู่อาศัยของปลา รวมไปถึงเกิดการลดลงของ ทรัพยากรประมง และการสูญเสียพันธุ์ของสัตว์น�้ำบางชนิด อีกทั้งยังกระทบต่อการเกษตร จากวงจรการไหลของน�้ำไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ปริมาณตะกอนที่มีประโยชน์ต่อการเพาะ ปลูกลดน้อยลง ส่งผลไปถึงความอุดมสมบูรณ์ของดินและปริมาณผลผลิตทางการเกษตรก็จะ ลดลงตามไปด้วย พร้อมกับกิจกรรมอื่นๆ ของชุมชมริมน�ำ้ ที่เกี่ยวข้องกับแม่นำ�้ โขง อีกทั้งส่ง ผลกระทบต่อประชาชนทีพ่ งึ่ พาความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศในลุม่ แม่นำ�้ โขงเพือ่ หาราย ได้และด�ำรงชีพ แก่ประชาชนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย


าน มี า 200 ดิมถึง มาณที่ งผลก งหวัด พราะ ขึ้นบน เหนือ

ย์ เพื่อ พร้อม ป็นไป งน�ำ้ ใน ลงของ กษตร รเพาะ รก็จะ กทั้งส่ง หาราย

In focus: ภาคการเกษตร หน้า 115

รูปที่ 2 พบการระเบิดแก่งและตักหิน-ทรายออก บริเวณใกล้ท่าเรือกวนเหลย

ที่มา : http://www.prachatham.com/article_detail.php?id=214

ชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนแปลงจากผลกระทบของการสร้างเขื่อนและระเบิดแก่งใน แม่นำ�้ โขง ทางคณะวิจยั ชาวบ้านเชียงของ-เวียงแก่น ในปี 2549 ได้ทำ� การวิจยั ผลกระทบจาก การสร้างเขือ่ นและการระเบิดแก่งต่อวิถชี วี ติ ชาวบ้านทีอ่ าศัยอยูร่ มิ แม่นำ�้ โขงและพึง่ พาแม่นำ�้ โขงในการด�ำรงชีพ ดังนี้ ผลกระทบต่อพันธุ์ปลาและคนหาปลา ลุงรุสยังเล่าว่า เมื่อก่อนใส่เบ็ด 50 อัน ก็จะ ได้ปลา 50 ตัว บางครั้งตัวเล็กก็ปล่อยลงน�ำ้ ไม่เอามากิน เลือกกินเฉพาะตัวที่ใหญ่ แต่ทุกวัน นี้อยากได้ปลา 10 ตัว ต้องใส่เบ็ดเป็น 100 อัน ไม่มีทางที่จะได้ปลาถึง 100 ตัว โดยได้มีร่วม ศึกษาศึกษาพันธุป์ ลาชนิดต่างๆ ในแม่นำ�้ โขง บริเวณเขตพรมแดนไทย-ลาวตอนบน ของคณะ วิจัยชาวบ้านเชียงของ-เวียงแก่นร่วมกับประชาชนที่ประกอบอาชีพหาปลา พบว่าพันธุ์ปลา ทั้งหมด 96 ชนิด ตะพาบน�ำ้ 1 ชนิด และกุ้ง 2 ชนิด ในจ�ำนวนที่พบมีปลาหายากและใกล้ สูญพันธุ์กว่า 13 ชนิด ภายใต้ระบบสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงของแม่น�้ำโขง ส่งผลกระทบทาง เศรษฐกิจสังคมของคนหาปลา คนหาปลาบ้านปางอิงใต้ระบุว่า การผันผวนของกระแสน�้ำ และระดับน�ำ้ ทั้งในช่วงฤดูแล้งและฤดูฝน ท�ำให้จ�ำนวนปลาที่จับได้ลดลงถึงร้อยละ 50 ท�ำให้ คนหาปลาหลายคนต้องเปลีย่ นไปท�ำอาชีพอืน่ หรือออกไปท�ำงานต่างถิน่ เนือ่ งจากไม่สามารถ


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 116

ยึดการหาปลาเป็นอาชีพหลักได้อีกต่อไป จ�ำนวนเรือหาปลาที่เคยมีประมาณ 70-80 ล�ำ ได้ ลดลงเหลือเพียงประมาณ 30 ล�ำเท่านั้น การที่คนหาปลาหยุดหาปลานั้นเกิดขึ้นแทบตลอด สองฝัง่ แม่นำ�้ โขงบางคนหาปลาหล่อเลีย้ งชีวติ และครอบครัวมาตลอดทัง้ ชีวติ ก็ตอ้ งหันหลังให้ แม่นำ�้ ผลทีต่ ามมาก็คอื ระบบเศรษฐกิจทีข่ นึ้ อยูก่ บั การหาปลาซบเซาลงขณะทีร่ าคาปลาแพง ขึ้นเกือบเท่าตัวเนื่องจากหาปลายากขึ้นทุกวัน และผลกระทบอีกประการหนึ่งก็คือ ชาวบ้าน ต้องงดจัดงานประเพณีทเี่ กีย่ วข้อง เช่น ประเพณีดอกงิว้ บาน งานบุญปลาสร้อยของบ้านดอน ไข่นกของ สปป. ลาว ที่ในปี 2547 ต้องงด เพราะไม่มีปลาสร้อยให้จับ ผลกระทบต่อการท�ำเกษตรริมโขงชาวบ้านริมฝัง่ โขงประสบปัญหาตัง้ แต่ปี 2540 หลัง การสร้างเขื่อนมันวานเสร็จและเปิดใช้งาน (Thaipublica, 2558) เนื่องจากปกติชาวบ้านจะ เริม่ ท�ำการเกษตรหลังจากน�ำ้ ลด และตามธรรมชาตินำ้� จะไม่เพิม่ ขึน้ อีก แต่หลังจากสร้างเขือ่ น มันวานเสร็จ น�ำ้ ได้กลับมาท่วมพืชผลทางการเกษตรของชาวบ้าน ท�ำให้ชาวบ้านต้องประสบ ปัญหาผลผลิตคุณภาพต�่ำและไม่ได้ราคา ทั้งนี้ทางคณะวิจัยชาวบ้านเชียงของ-เวียงแก่น ได้ สัมภาษณ์ถึงปัญหาของชาวบ้านดังนี้ “แม่ไหว บุณหนัก คนปลูกผักริมฝัง่ โขง บ้านหาดไคร้ อ�ำเภอเชียงของ กล่าวว่า ตัง้ แต่ เขาระเบิดแก่งข้างบน น�ำ้ โขงมันเปลีย่ นร่องน�ำ ้ มันไหลมาทางฝัง่ เราเยอะ ตลิง่ มันก็พงั ลงเหลือ น้อยแล้ว อาศัยหาดทรายริมโขงก็ไม่แน่นอน เพราะบางปีหาดน้อยบางปีก็มาก ดินมันมากับ น�้ำ ดินมันดีไม่ต้องใส่ปุ๋ย” “น�้ำโขงลงเร็ว เดี๋ยวมันก็ขึ้นมาอีก ขึ้นๆ ลงๆ เอาแน่ไม่ได้ แปลงผักของคนบ้าน วัดหลวงโดนน�ำ้ ท่วมบ่อย เพราะน�ำ้ มันขึ้น-ลงไม่เหมือนก่อน” เห็นได้ว่า ชาวบ้านได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงในแม่น�้ำโขงมาอย่างช้า นาน ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ท�ำให้ชาวบ้านต้องปรับตัวในการด�ำรงวิถชี วี ติ ให้คงอยูก่ บั ผลกระทบ ที่ได้รับ และท่ามกลางการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จากการที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ได้พึ่งพาทรัยา กรแม่นำ�้ โขงในการประกอบอาชีพและหารายได้เลี้ยงครอบครัว เศรษฐกิจเข้ามามีบทบาทในสังคมวิถีชีวิตดั้งเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลงจากเดิมที่ ธรรมชาติเป็นตัวก�ำหนดราคาเอง Polanyi (1957) เน้นว่าในสังคมดั้งเดิม เงินตราไม่ได้ถูก


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 117

ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนเชิงราคาเพราะในสังคมดังกล่าวการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นภายใต้พันธะทาง สังคมทีม่ ใี ห้กนั และกันของคนในชุมชน แต่เมือ่ ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเข้ามาสูส่ งั คมชุมชน วิถีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติสามารถสร้างรายได้ เพื่อตอบสนองต่อการ ด�ำรงชีพและเพือ่ ตอบสนองความต้องการผ่านวัตถุให้แก่ประชาชนทีอ่ าศัยอยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ โขง ดังนั้นเมื่อทรัพยากรในแม่น�้ำโขงได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนและการระเบิดเกาะแก่ง ในล�ำน�้ำโขง ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบต่อวิถีชีวิต (กนกวรรณ มโนรมย์, 2556) อย่างไรก็ตาม ไม่ได้มีเพียงผลกระทบจากการสร้างเขื่อนและการระเบิดเกาะแก่ง เท่านัน้ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อวิถชี วี ติ คนหาปลา แต่ยงั รวมถึงการเปลีย่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มาอีกทีร่ ปู แบบ จากเศรษฐกิจแบบดัง้ เดิมคือแบบตลาดทีไ่ ด้เปลีย่ นแปลงมาเป็นการ ค้าปลาเพื่อการพาณิชย์มากขึ้น ฉะนั้นในปัจจุบันจึงมีรูปแบบการค้าปลาแม่นำ�้ โขงทั้ง 2 รูป แบบ คือ เศรษฐกิจแบบตลาด และเศรษฐกิจแบบพาณิชย์ ทั้งนี้เมื่อเศรษฐกิจแบบพาณิชย์ มากขึน้ ส่งผลให้คนหาปลาต้องผันตัวเองไปท�ำอย่างอืน่ เพราะร้านอาหารส่วนใหญ่เองก็อาจสัง่ แต่ปลาเลีย้ งเพือ่ รองรับออเดอร์ทขี่ ยายตัวอย่างรวดเร็ว เนือ่ งจากอ�ำเภอเชียงของมีชอื่ เสียงใน เรือ่ ง ปลาบึก จึงท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วต่างชักชวนกันเข้ามาบริโภคปลาบึกกันจ�ำนวนมาก แต่ปลา บึกทีจ่ บั ได้ในแม่นำ�้ โขงเริม่ ลดลงท�ำให้เกิดการเพาะเลีย้ งปลาบึกเพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาประเทศถือได้ว่าเป็นการ สะท้อนภาพความผิดปกติของการพัฒนาที่มุ่งเน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างชัดเจน ดังนั้นค�ำถาม ส�ำหรับการวางแผนเชิงนโยบายต่อไปในอนาคตคือ ประชาชนริมฝั่งโขงทั้งสองประเทศมีการปรับตัวอย่างไรกับ สถานการณ์ปัจจุบันและในอนาคตจะมีแนวทางการแก้ไขอย่างไรโดยเฉพาะวิถีชีวิตของคนหาปลา

เพื่อเป็นแนวทางของการพัฒนาประเทศอย่างรอบคอบและมีความสมดุลแก่ ประชาชนและภาครัฐ ที่ไม่ใช่มุ่งเน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเหมือนเช่นอดีตที่ผ่าน มาจนการพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นดาบสองคมเป็นทัง้ ตัวสร้างและตัวท�ำลายในขณะเดียวกัน ผู้ศึกษาจึงมุ่งเน้นศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลา โดยมุ่ง พิจารณาปัจจัยด้านผลจากการสร้างเขื่อน ผลจากการระเบิดเกาะแก่ง และปัจจัยด้านอื่นที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาอ�ำเภอเชียงของ จังหวัด


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 118

เชียงราย ทั้งนี้ทางผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกในการวิจัย (In-depth Interview) และมีขอบเขตเวลาในการศึกษา 3 เดือน ในเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2558 โดยการ สัมภาษณ์ประชาชนในพื้นที่ที่ประกอบอาชีพหาปลา จ�ำนวน 3 ราย ในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

ที่มา: ถ่ายโดย OBELS เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2558

Q: วิธีการจับปลาและการออกหาปลามีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตหรือไม่ คุณลุงแดง: ประกอบอาชีพหาปลามา 30 กว่าปี วิธีการจับปลาและช่วงเวลาการ ออกหาปลาได้เปลี่ยนแปลงไป ในอดีตชาวบ้านประกอบอาชีพหาปลาจ�ำนวนมาก โดยการ หาปลาจะมีการจับคิวหรือเรียงคิวออกเรือหาปลาในแม่น�้ำโขง ซึ่งบางวันนั้นสามารถออกเรือ ได้ 2 รอบ เนือ่ งจากสามารถหาปลาได้ทงั้ กลางวันและกลางคืน แต่ในปัจจุบนั ไม่มกี ารเรียงคิว ซึ่งผลมาจากจ�ำนวนปลาที่ลดน้อยลง อุปกรณ์และเครือ่ งมือการหาปลามีการเปลีย่ นแปลงไปจากอดีต ในปัจจุบนั อุปกรณ์ และเครือ่ งมือการหาปลา มีความทันสมัยมากขึน้ แต่ปลากลับมีจำ� นวนลดลงไปเรือ่ ยๆ รวมทัง้ เรือที่เปลี่ยนมากใช้เครื่องยนต์แทนการพาย


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 119

“ความทันสมัยมากขึ้นแต่ปลากลับมีจ�ำนวนลดลง” - คุณลุงแดง การค้าขายปลาในอดีตจะมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อปลาถึงในพื้นที่ ปัจจุบันรูปแบบ การค้าขายปลาของชาวบ้านก็ยังเหมือนโดยมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อ แต่อย่างไรก็ตามก็มี คนในหมูบ่ า้ นน�ำไปขายเองทีต่ ลาด หรือน�ำไปขายต่อให้พอ่ ค้าคนกลางอีกที ในอดีตราคาปลา กิโลกรัมละ 60- 70 บาท ปัจจุบันราคากิโลกรัมละ 250-400 บาท เนื่องจากปัจจุบันจ�ำนวน ปลาลดน้อยลงคนบริโภคมากขึ้นท�ำให้ราคาปลาเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ คุณลุงแดงยังกล่าวว่า ได้มีปลาบางชนิดที่ใกล้สูญพันธ์ เช่น ปลามง ซึ่งอดีต จับได้วันละ 10 กว่าตัว แต่ปัจจุบัน 1 ปี หาได้ไม่ถึง 10 ตัว พื้นที่หาปลานั้นจะมีการแบ่งเขต ระหว่างเขตอนุรักษ์ที่ห้ามเข้าจับปลา และเขตของแต่ละหมู่บ้าน ไม่สามารถข้ามเขตหาปลา ได้ ร่วมถึงฝั่งลาวด้วยเช่นกัน คนไทยข้ามเขตไปหาปลาฝั่งลาวไม่ได้ โดยคุณลุงกล่าวว่า การ หาปลาตอนกลางคืนจะได้ปลาในปริมาณทีม่ ากกว่าตอนกลางวัน เนือ่ งจากคนหาปลาน้อยกว่า อย่างไรก็ตามการขึ้น – ลงของปลาในแม่นำ�้ โขงไม่ได้ขึ้นอยู่กับช่วงเวลากลางวันหรือกลางคืน คุณลุงเดชกับคุณป้าแก้ว : ประกอบอาชีพหาปลามานาน 35 ปี ในปัจจุบนั ปลามีจำ� นวนน้อย ลดลง การหาปลาก็ยากขึ้นทุกวัน โดยในอดีตหาปลาตัวเล็กได้ประมาณ 6 – 7 กิโลกรัม และ ปลาตัวใหญ่จับได้วันละ 1- 2 ตัว ตัวละ 3-5 กิโลกรัม แต่ในปัจจุบันออกหาปลา 1 สัปดาห์ ได้ ปลา 1 ตัว หรือบ้างครัง้ 2 วัน ได้ 1 ตัว คุณลุงเดชกล่าวว่า การหาปลาปัจจุบนั อาศัยโชคซะตา การออกหาปลาจะต้องหาบริเวณเขตหมู่บ้านเท่านั้น ยกเว้นหากว่าเข้าร่วมหุ้นกับฝั่งลาว จึง สามารถข้ามไปหาปลาในเขตพื้นที่ฝั่งลาวได้ การซื้อ – ขายปลานั้นจะมีพ่อค้าคนกลางมารับ ซื้อที่หมู่บ้าน ปัจจุบันก็คงรูปแบบการซื้อ – ขายแบบเดิม อุปกรณ์หาปลาก็มกี ารเปลีย่ นแปลงไปจากอดีต อุปกรณ์และเครือ่ งมือหาปลามีการ ใช้การหาหลายแบบ เช่น สะดุ้ง ซอน มอง ฯลฯ ปัจจุบันใช้เพียงแต่ “มอง” อย่างเดียว อดีต ชาวบ้านทุกหลังคาเรือนมีเรือเป็นของตนเองทั้งหมด เพื่อใช้ในการออกหาปลาประมาณ 70 -80 ล�ำ แต่ในปัจจุบันเหลือเรือหาปลาประมาณ 20- 30 ล�ำเท่านั้น เนื่องจากปลามีจำ� นวน ลดลง ประชาชนที่ประกอบอาชีพหาปลาเป็นหลักได้เริ่มประกอบอาชีพเสริมเช่น การเกษตร รับจ้างทั่วไปมากขึ้น


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 120

คุณป้าแสงจันทร์: อดีตหมู่บ้านมีชาวบ้านประกอบอาชีพหาปลาจ�ำนวนมาก ปัจจุบันคนเริ่ม หยุดหาปลาแล้วเนื่องจากจ�ำนวนปลาที่ลดลง อีกทั้งชาวบ้านเริ่มเปลี่ยนอาชีพไปประกอบ อาชีพอื่นๆ รูปที่ 3 การเปลีย ่ นแปลงวิถีชีวิตคนหาปลา

Q: ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้างต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแม่น�้ำโขงการสร้างเขื่อนและ การระเบิดเกาะแก่ง คุณลุงแดง: ผลกระทบของการสร้างเขือ่ นจากจีนและการระเบิดเกาะแก่งนัน้ ท�ำให้ น�้ำในแม่น�้ำโขงเกิดการแปรผันไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ส่งผลให้ปลาขึ้น – ลง ผิดปกติ จึงน�ำ ไปสู่การเปลี่ยนแปลงของช่วงเวลาการออกหาปลา โดยในอดีตหรือก่อนการสร้างเขื่อนของ จีน เริ่มการออกหาปลาอยู่ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม แต่ในปัจจุบันนี้ออกหาปลาใน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม ไม่ได้แล้วเพราะไม่มีปลาหรือมีจำ� นวนน้อยมาก จึงเกิดการ เปลี่ยนแปลงของฤดูการออกหาปลาได้ขยับมาเป็นช่วงเดือน เมษายน – พฤษาคม ทั้งนี้คุณ ลุงยังกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า หากการสร้างเขื่อนไซยบุรีเสร็จแล้วจะยิ่งได้รับผลกระทบมากขึ้น


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 121

ทัง้ นี้ ได้รบั ผลกระทบของการปล่อยน�ำ้ จากเขือ่ นของจีนการปล่อยน�ำ้ จากจีน ในปี 2551 เกิด เหตุการณ์นำ�้ ท่วมสูงประมาณ 50 เซนติเมตร เนือ่ งจากไม่ได้รบั การแจ้งเตือนจากทางประเทศ จีนแต่อย่างใด หากการสร้างเขือ่ นไซยบุรีเสร็จแล้วจะยิง่ ได้รับผลกระทบมากขึ้น - คุณลุงแดง คุณลุงเดชกับคุณป้าแก้ว: ผลกระทบทีไ่ ด้รบั คือจ�ำนวนปลาทีล่ ดน้อยลงจากการสร้าง เขื่อน และการระเบิดเกาะแก่งท�ำให้น�้ำขุ่นมีผลเสียต่อปลา อีกทั้งการปล่อยน�้ำจากเขื่อนของ ประเทศจีนไม่ได้มีการแจ้งล่วงหน้า Q: ปัจจุบนั มีการปรับตัวอย่างไรต่อผลกระทบทีไ่ ด้รบั จากการสร้างเขือ่ นและการระเบิดเกาะ แก่ง คุณลุงแดง: ในอดีตอาชีพหาปลาเป็นอาชีพหลัก แต่ในปัจจุบนั อาชีพหาปลาก็ยงั คง เป็นอาชีพหลัก โดยประกอบอาชีพเกษตรกรรมและค้าขายเป็นอาชีพเสริม หลังจากเว้นช่วง การหาปลา จึงได้ทำ� การเกษตรในช่วงเดือน มิถนุ ายน – กรกฎาคม จะเห็นได้วา่ ช่วงทีช่ าวบ้าน มาท�ำการเกษตรที่เป็นช่วงฤดูฝน ที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก รวมถึงชาวบ้านก็ประกอบอา ชีพคล้ายๆ กันในหมู่บ้าน คุณลุงเดชกับคุณป้าแก้ว : ในอดีตประกอบอาชีพเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันนี้ต้อง ท�ำการเกษตรกรรมเป็นอาชีพเสริม เช่น ข้าวโพด ยาสูบ ถั่วแขก เป็นต้น คุณป้าแสงจันทร์ : สืบเนื่องมาผลกระทบจากผลกระทบของการสร้างเขื่อนจากจีน และการระเบิดเกาะแก่ง ชาวบ้านได้หยุดหาปลา โดยเปลี่ยนอาชีพหลักเป็น การเกษตร และ อาชีพเก็บหินแม่น�้ำโขง โดยในหมู่บ้านชาวบ้านส่วนมากจะประกอบอาชีพหาหินแม่น�้ำโขง มากกว่าการเกษตร เนื่องจากชาวบ้านสู่ราคาเช่าที่ดินไม่ไหว โดยก่อนมีการเปิดใช้สะพาน มิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ราคาเช่าที่ดินไร่ละ 200-300 บาทขึ้นราคาเป็น 2000 -3000 บาทต่อไร่ หลังจากมีการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 122

Q: ท่านได้มีการเคลื่อนไหวเรียกร้อง/แสดงความคิดเห็นหรือไม่ คุณลุงแดง : ไม่ได้ออกไปเคลื่อนไหวเรียกร้องแบบจริงจัง เพียงแต่ในหมู่บ้านได้ร่วม ตัวกันท�ำโครงการเข้าอบรมกับกรมประมงจังหวัดพะเยา ในปี 2553 ได้มีการปล่อยพันธุ์ปลา ลงสู่แม่น�้ำโขงทุกปี ปีละ 1-2 ครั้ง ซึ่งจะปล่อยปลาในช่วงฤดูฝนโดยได้รับการสนับสนุนจาก การประมงจังหวัดพะเยา ส่วนใหญ่มีการปล่อยปลาตะเพียน และปลาจ�ำพวกกินพืช คุณลุงเดชกับคุณป้าแก้ว : ไม่ได้มกี ารเคลือ่ นไหวเรียกร้อง ด�ำรงชีวติ แบบนีไ้ ปเรือ่ ยๆ Q: อนาคตท่านยังคงประกอบอาชีพหาปลาอยู่หรือไม่ ปัจจัยอะไรที่ยังคงให้ประกอบอาชีพ เดิมหรือเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอื่น คุณลุงแดง : ในอนาคตก็ยังคงเหมือนเดิมประกอบอาชีพหาปลาเป็นหลัก โดยท�ำ อาชีพเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าวโพด ถั่วแขก เป็นต้น กับการค้าขายเป็นอาชีพเสริมเพื่อ หารายได้ให้มากขึ้น คุณลุงเดชกับคุณป้าแก้ว : ในอนาคตคงไม่เปลี่ยนแปลงอาชีพ เพราะบ้านอยู่ที่นี้ใช้ ชีวิตติดแม่น�้ำโขงมาตั้งแต่ยังเด็ก ยังคงต้องประกอบอาชีพหาปลากับท�ำการเกษตรเพื่อหา เลี้ยงครอบครัว

ที่มา: ถ่ายโดย OBELS เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2558


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 123

สรุปผลและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย วิถีชีวิตคนหาปลามีการเปลี่ยงแปลงไปตามพลวัตของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ ส่งผลกระทบข้ามพรมแดนจากการสร้างเขื่อนในล�ำน�้ำโขงและการระเบิดเกาะแก่งเพื่อการ เดินเรือพาณิชย์ จากการลงพื้นที่สำ� รวจเห็นได้ว่า ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพคนหาปลา ได้รับ ผลกระทบจากการสร้างเขือ่ นในล�ำน�ำ้ โขงและการระเบิดเกาะแก่งส่งผลให้ระบบนิเวศในแม่นำ�้ โขงเกิดการเปลี่ยนแปลง และส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติใต้แม่น�้ำโขง ไม่ว่าจะเป็น ท�ำลายแหล่งที่วางไข่ของปลาจากการระเบิดเกาะแก่งและท�ำให้น�้ำขุ่น อีกทั้งการสร้างเขื่อน นั้นส่งผลต่อการขึ้นไปวางไข่ของปลาที่ต้นน�้ำ ท�ำให้จ�ำนวนปลาลดลงชาวบ้านที่อาศัยริมฝั่ง โขงที่ประกอบอาชีพหาปลาได้รับผลกระทบ ดังนั้นชาวบ้านจึงต้องปรับตัวด้วยการประกอบ อาชีพเสริมโดยการท�ำเกษตรกรรม เช่น ข้าวโพด ยาสูบ ถัว่ แขก ข้าว เป็นต้น หรือหยุดด�ำเนิน อาชีพหาปลาอย่างหมู่บ้านดอนมหาวัน ได้เปลี่ยนไปประกอบอาชีพหาหินในแม่น�้ำโขงเป็น อาชีพหลัก ถึงแม้ว่าจ�ำนวนปลาจะลดลง และราคาปลาแม่น�้ำโขงในปัจจุบันมีราคาสูงขึ้นก็ ไม่เพียงพอต่อการด�ำรงชีวิต ตารางที่ 1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาเบื้องต้น ปัจจัยส�ำคัญ

การเปลีย ่ นแปลง

ผลกระทบ

ปริมาณปลา

น้อยลง

**

ราคาปลา

สูงขึ้น

*

วิธีการจับปลา

ทันสมัย

*

อาชีพ

ประกอบอาชีพเสริม

***

วิถีชีวิต

เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งความ เป็นอยู่ วัฒนธรรม ประเพณี

***

สภาพแวดล้อม

ปลาแม่น�้ำโขงสูญพันธุ์

***

หมายเหตุ: แสดงระดับความส�ำคัญของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาเบื้องต้น “***” หมายถึง ระดับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาสูงมาก “**” หมายถึง ระดับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาปานกลาง “*” หมายถึง ระดับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนหาปลาต�่ำมาก


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 124

การปรับตัวของชาวบ้านทีป่ ระกอบอาชีพหาปลานั้น ถึงแม้ว่าอ�ำเภอเชียงของก�ำลัง ก้าวเข้าสู่การพัฒนาเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและเป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัด เชียงราย ชาวบ้านก็ไม่คิดที่จะเปลี่ยนอาชีพเนื่องจากอายุมากขึ้นและการที่ด�ำรงชีวิตอยู่กับ แม่นำ�้ โขงมานาน ถึงแม้ในอนาคตอันใกล้เชียงของจะได้เป็นพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษก็ตาม จาก การสังเกตของผู้วิจัยเห็นว่าในหมู่บ้านมีจำ� นวนชาวบ้านในวัยท�ำงานค่อยข้างน้อย เนื่องจาก กลุ่มคนเหล่านี้ได้ออกไปท�ำงานต่างจังหวัด โดยส่วนมากคนในหมู่บ้านจะมีอายุ 40 ขึ้นไปจึง ไม่คิดจะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของตนเองที่อยู่กับแม่น�้ำโขงมานาน ในภาคเศรษฐกิจสังคมปัจจุบันการลดลงของปลาที่ได้รับผลกระทบจากการสร้าง เขือ่ นและการระเบิดเกาะแก่ง ท�ำให้ราคาปลาแม่นำ�้ โขงมีราคาสูงขึน้ แต่อย่างไรก็ตามไม่เพียง พอต่อการด�ำรงชีวิตของชาวบ้าน จึงได้มีการประกอบอาชีพเสริมได้แก่ เกษตรกรรม ค้าขาย ของช�ำ และรับจ้างทั่วไป เป็นต้น และมีชาวบ้านจ�ำนวนไม่น้อยที่เลิกประกอบอาชีพหาปลา ถึงแม้จะได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนและการระเบิดเกาะแก่งวิถีชีวิตคนหา ปลาก็ยังด�ำเนินต่อไปพร้อมกับการปรับตัวเพื่อด�ำรงชีวิตและหารายได้เลี้ยงครอบครัวของ ตนเอง โดยไม่ละทิ้งวิถีชีวิตที่ตนเองได้สัมผัสตั้งแต่เติบโตขึ้นมา การแก้ไขปัญหาผลกระทบที่ผู้ประกอบอาชีพหาปลาได้รับหรือข้อเสนอแนะในการ แก้ไขผลกระทบจากการสร้างเขือ่ นและการระเบิดเกาะแก่งนัน้ ต้องมีความร่วมมือกันทัง้ ภาค ประชาชนและภาครัฐรวมถึงกลุ่มประเทศสมาชิกลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS) เช่น - การให้ชมุ ชนและประชาชนทีไ่ ด้รบั ส่วนได้สว่ นเสียต้องมีสทิ ธิเข้าถึงและมีสว่ นร่วม ในกระบวนการตัดสินใจพัฒนาโครงการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงมีสิทธิ ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาในแม่นำ�้ โขง - การพัฒนาต้องตระหนักถึงวิถชี วี ติ ของคนท้องถิน่ วัฒนธรรม และระบบนิเวศ ของ และความต้องการของประชาชนริมฝั่งโขงและประเทศเพื่อนบ้าน - ก� ำ หนดนโยบายการพั ฒ นาและกรอบกฏหมายต่ า งๆ เพื่ อ คุ ้ ม ครอง ทรัพยากรธรรมชาติในแม่น�้ำโขง รวมถึงวิถีชีวิตและความมั่นคงทางอาหารของประชาชน และประเทศเพื่อนบ้าน - การเปิดเผยข้อมูล การแจ้งข่าวสาร การพัฒนาหรือการกระท�ำสิ่งใดในแม่น�้ำโขง อย่างเป็นธรรมต่อชุมชนและประชาชนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งโขงและประเทศเพื่อนบ้าน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 125

เอกสารอ้างอิง กนกวรรณ มะโนรมย์. (2556). เศรษฐกิจในก�ำกับของสังคม : สถาบันสังคมกับเศรษฐกิจ ลุ่มน�้ำอีสานและโขง. (พิมพ์ครั้งที่ 1). อุบลราชธานี : ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป จ�ำกัด คณะนักวิจัยชาวบ้านเชียงของ-เวียงแกน. (2549). ความรู้ท้องถิ่นเรื่องพันธุ์ปลา แม่น�้ำโขง. เชียงใหม่ : วนิดา เพรส. ภัยคุกคามระบบนิเวศแม่น�้ำโขง ผลกระทบจากโครงการเขื่อนตอนบนในประเทศจีน. (2557) ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://thaipublica.org/2014/04/ threats-to-rivers/ โวยจีนระเบิดแก่งในแม่นำ�้ โขงอีก ระบบนิเวศเปลี่ยน-ไกหาย-น�ำ้ ขุ่นผิดฤดู. (2558) ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://transbordernews.in.th/home/?p=6551 กระทรวงต่างประเทศ. กรอบความร่วมมือ : โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง Greater Mekong Subregion (GMS). (2558) ค้น เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.mfa.go.th/main/th/world/7 ผู้ให้สัมภาษณ์ 1. ลุงแดง (นามสมมุติ) เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 บ้านปากอิงใต้ 2. ลุงเดชและป้าแก้ว (นามสมมุติ) เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 บ้านปากอิงใต้ 3. ป้าแสงจันทร์ (นามสมมุติ) เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 บ้านดอนมหาวัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 126

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยผลกระทบภายนอกจาก การพัฒนาทางเศรษฐกิจต่อวิถีชีวิตของคนในอ�ำเภอเชียงแสน ธีรภัทร แสงรัศมี พรพินันท์ ยี่รงค์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบจากนโยบายการพัฒนาอ�ำเภอ เชียงแสนทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน ที่เกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ท่ามกลางการพัฒนาให้เป็นเมืองการท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม ซึง่ การพัฒนา ดังกล่าวได้กอ่ ให้เกิดทัง้ ผลกระทบภายนอกทัง้ เชิงลบและเชิงบวกต่อเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนวิถีการด�ำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพดั้งเดิมของชาวเชียงแสน โดยผู้วิจัยอธิบายถึงสถานการณ์ปัจจุบัน และปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกทั้งเชิง บอกและเชิงลบ รวมถึงนโยบายที่เหมาะสมต่อการสร้างความสมดุลของการพัฒนาอ�ำเภอ เชียงแสนในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ได้ส่งผลกระทบภายนอก เชิงลบต่อชาวบ้านในพื้นที่ในการเลิกประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน และเพิ่มต้นทุนในการ ขนส่งสินค้าไปยังท่าเรือ อย่างไรก็ตามผลกระทบภายนอกเชิงบวก คือ การลดลงของปัญหา จราจรติดขัดในตัวเมืองอ�ำเภอเชียงแสน และการลดความเสี่ยงในการสร้างความเสียหายให้ แก่โบราณสถาน ดังนั้น ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ได้เพิ่มต้นทุนทางสังคม (Marginal Social Cost) จากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนจากผลกระทบภายนอกต่อชุมชนและภาคเอกชน

บทน�ำ

อ� ำ เภอเชี ย งแสนเป็ น หนึ่ ง อ� ำ เภอของจั ง หวั ด เชี ย งรายที่ มี พื้ น ที่ ช ายแดนติ ด กั บ สปป.ลาว เมียนมาร์ และจีนตอนใต้ผ่านทางลุ่มแม่นำ�้ โขง ท�ำให้อ�ำเภอเชียงแสนมีศักยภาพ อย่างมากต่อการค้าชายแดนทางน�้ำ ทั้งการค้าบริเวณชายแดนในสินค้าอุปโภค-บริโภค และการขนส่งสินค้าข้ามพรมแดนทางเรือไปยังประเทศจีนตอนใต้ ซึ่งเส้นทางน�้ำที่เชื่อมต่อ


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 127

ไปยังจีนตอนใต้ (มณฑลยูนนาน) เป็นหนึ่งในเส้นคมนาคมทางเศรษฐกิจที่เรียกว่า ระเบียง เศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน�ำ้ โขง (GMS Economic Corridors) ภายใต้โครงการความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) ซึง่ ประกอบ ด้วยสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ จีนตอนใต้ ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดย ได้รับการสนับสนุนทั้งทางการเงินและทางวิชาการในด้านการพัฒนาโครงข่ายการคมนาคม โครงสร้างพื้นฐาน และพลังงาน ทั้งนี้ โครงสร้างพื้นฐานที่สำ� คัญของเชียงแสนคือ ท่าเรือ ที่ ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังท่าเรือของเมียนมาร์ สปป.ลาว และจีนตอนใต้ ปัจจุบัน ท่าเรือเชียงแสนได้ถูกก่อสร้างขึ้นถึง 2 แห่ง โดยท่าเรือเชียงแสนแห่ง ที่ 1 ตั้งอยู่บนต�ำบลเวียงเชียงแสน เป็นบริเวณที่เต็มไปด้วยโบราณสถานที่มีความส�ำคัญ เชิงประวัติศาสตร์ และชุมชน มีความคับแคบ จึงไม่สามารถที่จะขยายศักยภาพต่อไปได้ ในอนาคต และได้ถูกพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแทน ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 จึงได้ ถูกก่อสร้างขึ้นในปี 2552 และเปิดใช้งานในปี 2555 โดยตั้งอยู่ห่างจากท่าเรือแห่งแรกไป ประมาณ 10 กิโลเมตร บริเวณบ้านสบกก ต�ำบลบ้านแซว เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถในการขนส่งสินค้าทางเรือ โดยการก่อสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 อยู่ภายใต้ ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือในแม่น�้ำล้านช้าง-แม่น�้ำโขง (Agreement on the Commercial Navigation on Lancang-Mekong River) ที่ริเริ่มขึ้นในปี 2536 มีจุดประสงค์ เพื่อการพัฒนาการขนส่งทางแม่นำ�้ โขง ตลอดจนสนับสนุนการค้าและการท่องเที่ยวระหว่าง กัน ประกอบด้วย 4 ประเทศ ได้แก่ จีน เมียนมาร์ ไทย และสปป.ลาวทั้งนี้ ท่าเรือเชียงแสน แห่งที่ 2 สามารถขนส่งสินค้าได้ปีละกว่า 6 แสนล้านตัน มากกว่าท่าเรือเชียงแสนแห่งแรกที่ สามารถขนส่งสินค้าได้เพียงประมาณปีละ 3 ล้านตัน เนือ่ งจากมีแอ่งขนาดใหญ่ มีทา่ เรือย่อย อยูภ่ ายในหลายจุดและมีระยะทางไกลจากท่าเรือกวยเหล่ย (ท่าเรือตอนใต้สดุ ของจีน) ซึง่ เป็น เมืองท่าหน้าด่านของจีนประมาณ 265 กิโลเมตร ระดับน�ำ้ ในแม่นำ�้ โขงเฉลีย่ 1.70-7 เมตร ซึง่ สามารถใช้เพื่อการเดินเรือได้ตลอดทั้งปี การพัฒนาท่าเรือส่งสินค้าได้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนเชียงแสนอย่างมาก เนื่องจากชาวเชียงแสนมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับลุ่มแม่น�้ำโขง ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภค บริโภค การประมง และการเพาะปลูกที่ต้องพึ่งพิงน�้ำจากแม่น�้ำโขง เมื่อมีการพัฒนาเกิดขึ้น ชาว เชียงแสนต้องปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ การประกอบอาชีพไปตามรูปแบบการพัฒนา และนโยบาย


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 128

ของภาครัฐ ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายได้พยายามที่จะวางบทบาทหลักในการพัฒนาอ�ำเภอ เชียงแสนในอนาคตให้เป็นเมือง“เชียงแสนมรดกชาติ” (GMS Port City) เพื่อส่งเสริมการ ท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ การขนส่งสินค้าทางแม่นำ�้ โขงและการท่องเทีย่ วบนเส้นทางแม่นำ�้ โขง ซึ่งในปี 2559 อ�ำเภอเชียงแสนก�ำลังที่จะถูกผลักดันให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน อย่างเป็นรูปธรรม รูปที่ 1 ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2

ที่มา: http://www.kunmingshipping.com


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 129

การวิเคราะห์ผลกระทบจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของอ�ำเภอ เชียงแสน • การทบทวนทฤษฎีผลกระทบภายนอก (Externalities) ผลกระทบภายนอก (Externality) เป็นหนึ่งในสาเหตุของความล้มเหลวของ ตลาด (Market Failure) หมายถึง ผลกระทบจากการท�ำกิจกรรมใดๆของหน่วยเศรษฐกิจ หนึ่ง (Economic Unit) หรือ หลายหน่วย ที่มีต่อหน่วยเศรษฐกิจอื่น ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้อง โดยตรงกับการกิจกรรมนั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) ผลกระทบภายนอกเชิงบวก (Positive Externality) คือ การที่กิจกรรมหนึ่งให้ผลประโยชน์ (benefit) แก่บุคคลอื่นที่ไม่ เกี่ยวข้อง และ(2) ผลกระทบภายนอกเชิงลบ (Negative Externality) คือ การที่กิจกรรม หนึ่งสร้างต้นทุน (cost) แก่บุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งผลกระทบภายนอกสามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งจากการผลิตและการบริโภค ภาคธุ ร กิ จ มี จุ ด มุ ่ ง หมายสู ง สุ ด ในการผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารเพื่ อ แสวงหาผล ประโยชน์สูงสุด (Maximized Benefit) จากการที่ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Private Cost: MPC) มีค่าเท่ากับผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Marginal Private Benefit: MPB) ซึ่ง อาจอยู่ในรูปของต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) หรือต้นทุนแอบแฝง (Implicit Cost) กรณีที่ผลิตสินค้าจนต้นทุนส่วนเพิ่มสูงกว่าผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MPC>MPB) ภาคธุรกิจ จะไม่ผลิตสินค้าออกมา หากไม่ได้รับการแทรกแซงจากรัฐบาล ภาคธุรกิจก็จะค�ำนึงถึงแต่ ต้นทุนและก�ำไรเป็นหลัก ทั้งที่กิจกรรมการผลิตดังกล่าว อาจจะสร้างต้นทุนภายนอก (External Cost: EC) ให้กับบุคคลอื่นใน โดยเมื่อรวม ต้นทุนส่วนเพิ่มของเอกชน กับต้นทุน ส่วนเพิ่มภายนอก (Marginal External Cost: MEC) จะเท่ากับต้นทุนส่วนเพิ่มของสังคม (Marginal Social Cost: MSC) ซึง่ การไม่คดิ รวมต้นทุนทีส่ งั คมในสินค้าและบริการทีถ่ กู ผลิต โดยภาคเอกชน ท�ำให้สังคมต้องแบกรับต้นทุนที่ไม่ได้ก่อ และส่งผลให้เกิดความล้มเหลวของ ตลาด (Market Failure) ในที่สุด


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 130

รูปที่ 2 ผลกระทบภายนอกเชิงลบกับความล้มเหลวของตลาด

ที่มา: ดัดแปลงจากภราดร ปรีดาศักดิ์ (2547) โดยผู้วิจัย

D = MB คือ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม หรือ อุปสงค์ของสินค้าและบริการ MPC = S คือ ต้นทุนภาคเอกชนส่วนเพิ่ม หรือ อุปทานของสินค้าและบริการ MEC คือ ผลกระทบภายนอกส่วนเพิ่ม MSC คือ ต้นทุนทางสังคมส่วนเพิ่ม

จากภาพที่ 3 การผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารของภาคเอกชนอยู ่ จุ ด ดุ ล ยภาพ A เนื่องจากเส้นของต้นทุนเอกชนส่วนเพิ่ม (MPC) ตัดกับเส้นของอุปสงค์ของสินค้าและบริการ หรือผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม (D = MB) ซึ่งจะท�ำให้ระบบเศรษฐกิจได้รับประโยชน์สูงสุด ราคา ของสินค้าและบริการอยู่ที่ P1 และผลิตอยู่ที่ปริมาณ Q1 ในขณะที่ สังคมจะได้รับประโยชน์


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 131

สูงสุดก็ต่อเมื่อมีการผลิตหรือบริการ ที่จุดดุลยภาพ B เนื่องจากกิจกรรมการผลิตของภาค เอกชนได้ส่งผลให้เกิดต้นทุนทางสังคม (Social Cost) ฉะนั้น ภาคเอกชนต้องคิดรวมต้นทุน ทางสังคมเข้าไปในต้นทุนของสินค้าและบริการด้วยเช่นกัน ท�ำให้เกิดการผลิตที่ลดน้อยลงไป อยู่ที่ Q2 เพื่อท�ำให้เกิดผลกระทบแก่สังคมน้อยลง ซึ่งจะผลักให้ราคาสูงขึ้นไปอยู่ที่ P2

ผลการวิเคราะห์

เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาในอนาคตให้เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องประชาชนในพืน้ ที่ ต้องพิจารณาทัง้ ผลกระทบเชิงบวก หรือผลประโยชน์ และพิจารณาผลกระทบเชิงลบหรือต้นทุนทีส่ งั คมได้รบั จากการเพิม่ ขีดความ สามารถทางการค้าชายแดนของภาครัฐชายแดน โดยการก่อสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ซึง่ เป็นผลจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) จากงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง บทความทางวิชาการ สือ่ อิเล็คทรอนิกส์ และข่าว รวมถึงข้อมูล สถิตกิ ารค้าชายแดนจากด่านศุลกากรอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จากการรวบรวมข้อมูล และน�ำมาวิเคราะห์ดว้ ยทฤษฎีผลกระทบภายนอก พบว่าผลกระทบภายนอกจากการก่อสร้าง ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 มีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ดังนี้ ผลกระทบภายนอกเชิงลบ ผลกระทบภายนอกเชิงลบจากท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 คือชาวบ้านต้องเลิก ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน เนื่องจากการก่อสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ใกล้กับ หมู่บ้านสบกก ต�ำบลบ้านแซว อ�ำเภอเชียงแสน ส่งผลกระทบต่อชาวบ้านที่ประกอบอาชีพ ประมงดั้งเดิมโดยการจับปลาหาเลี้ยงชีพบริเวณแม่น้�ำโขง ต้องประสบกับปัญหาการลดลง ของปริมาณปลาในแม่นำ�้ โขง เนือ่ งจากแหล่งอาศัยของปลาได้ถกู ท�ำลายจากการเข้าออกของ เรือขนาดใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ บ้านสบกกเป็นหนึ่งในหมู่บ้านเพียงไม่กี่แห่งที่ได้อนุรักษ์ อาชีพประมงพื้นบ้าน ซึ่งมีเหลือเพียง 50 แห่งภายในปี 3 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอเชียงแสน อ�ำเภอเชียงของ และอ�ำเภอเวียงแก่น ท�ำให้ชาวบ้านสบกกส่วนใหญ่ต้องเลิกประกอบ อาชีพประมงพื้นบ้านออกไปหางานรับจ้างนอกพื้นที่ ส่วนกลุ่มชาวบ้านที่ยังคงประกอบ อาชีพประมงพื้นบ้านจ�ำเป็นต้องท�ำเกษตรกรรมควบคู่ไปเพื่อการหาเลี้ยงชีพให้อยู่รอด


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 132

ตารางที่ 1 มูลค่าการค้าชายแดนอ�ำเภอเชียงแสนแยกประเภท (หน่วย : ล้านบาท)

ก่อนก่อสร้างท่าเรือ เชียงแสนแห่งที่ 2

หลังก่อสร้างท่าเรือ เชียงแสนแห่งที่ 2

ที่มา: ด่านศุลกากรอำ�เภอเชียงแสน, 2558

จากตารางที่ 1 แสดงการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดนจ�ำแนกประเภท ได้แก่ มูลค่าการน�ำเข้า มูลการส่งออกปกติ มูลค่าการส่งออกผ่านแดน และมูลค่าการส่งออกถ่ายล�ำ โดยในปี 2555 ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ได้ถกู เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการ เห็นได้ชดั ว่ามูลค่า การส่งออกผ่านแดนมีการเติบโตเพิม่ ขึน้ อย่างมากจากปี 2555 ทีม่ มี ลู ค่าอยูท่ ี่ 1,996.52 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นเป็น 16,423.52 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 3 ปี เติบโตถึงร้อยละ 101.87 ใน ขณะทีม่ ลู ค่าการน�ำเข้า มูลค่าการส่งออกปกติ และมูลค่าการส่งออกถ่ายล�ำมีการเปลีย่ นแปลง ไม่มากนัก มูลค่าการค้าที่เพิ่มขึ้นได้ส่งผลกระทบให้เกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ ให้แม่น�้ำโขง ซึ่งเป็นต้นทุนภายนอก (External Cost) ที่สังคมต้องแบกรับจากการพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐาน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกทางการค้า ซึง่ ส่งผลให้เกิดการท�ำลายอาชีพประมง พื้นบ้านดั้งเดิมที่ชาวบ้านเคยใช้ในการหาเลี้ยงชีพและด�ำรงวิถีชีวิต และต้องเคลื่อนย้ายออก ไปหางานท�ำนอกพื้นที่ ตลอดจนการประกอบอาชีพเสริม รัฐบาลพยายามที่จะช่วยเหลือผู้ ค้าชายแดนด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เกิดการลดต้นทุนทางการค้า แต่กลับ โยกต้นทุนส่วนเพิ่มของภาคเอกชนไปให้กับประชาชนในพื้นที่มากยิ่งขึ้น ท�ำให้ต้นทุนส่วน


ได้แก่ ถ่ายล�ำ มูลค่า 2 ล้าน 87 ใน แปลง

เวศน์ พัฒนา ประมง ยออก หลือผู้ ต่กลับ นส่วน

In focus: ภาคการเกษตร หน้า 133

เพิ่มทางสังคม (Marginal Social Cost) เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ผลกระทบเชิงลบที่มีต่อประชาชนที่ประกอบอาชีพประมงดั้งเดิมแล้ว กลุม่ พ่อค้าทีข่ นส่งสินค้าทางเรือจ�ำนวนหนึง่ (shipping) กลับเสียผลประโยชน์จากการย้ายการ ใช้งานจากท่าเรือเชียงแสนแห่งแรกไปยังท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 เนื่องจาก ท่าเรือเชียงแสน แห่งที่ 2 อยูไ่ กลออกไปจากตัวเมืองอย่างมาก ท�ำให้ตน้ ทุนในการขนส่งสินค้าเพิม่ ขึน้ เป็นผลก ระทบโดยตรงจากการพัฒนาของรัฐบาล ท�ำให้ต้นทุนภาคเอกชน (Marginal Private Cost) เพิ่มขึ้น แสดงว่าการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานได้ช่วยขยายปริมาณในการส่งออกและน�ำเข้า สินค้า แต่กลับเพิ่มต้นทุนทางการค้าในกับผู้ประกอบการด้วยเช่นกัน จากรูปที่ 2 สมมติว่าก่อนที่จะมีการเปิดใช้งานท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 การขนส่ง สินค้าทางเรือผ่านท่าเรือเชียงแสนแห่งแรกสามารถขนส่งได้ปีละประมาณ 3 แสนล้านตัน โดยที่ราคาอยู่ที่ 10 ล้านบาทต่อตัน (จุด ก.) หลังจากมีการเปิดใช้งานท่าเรือเชียงแสนแห่ง ที่ 2 ได้ชว่ ยให้เกิดการขยายศักยภาพในการขนส่งสินค้าทางเรือเป็นปีละประมาณ 6 แสนล้าน ตัน ส่งผลให้ราคาปรับลดตามกลไกมาเหลือเพียงแต่ 5 ล้านบาท (จุด ข.) เนื่องจากการขนส่ง สินค้าในจ�ำนวนมากขึน้ ท�ำให้ตน้ ทุนขนส่งสินค้าลดต�ำ่ ลง กระนัน้ การเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการ ค้าสินค้าทางเรือได้ส่งผลกระทบภายนอก (External Cost) ต่อประชาชนในพื้นที่อย่างมาก ในด้านของการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต และการเลิกประกอบอาชีพประมงดั้งเดิม เป็นผล ให้เกิดต้นทุนทางสังคม (Marginal Social Cost) นอกจากนั้น ยังได้เพิ่มต้นทุนภาคเอกชน (Marginal Private Cost) แก่ผปู้ ระกอบการขนส่งสินค้า (shipping) ทัง้ ในด้านค่าน�ำ้ มันในการ ขนส่งสินค้า ระยะทาง และเวลาที่เพิ่มขึ้น ฉะนั้น สังคมจะเกิดผลประโยชน์สาบสูญ (Deadweight Loss) ในพื้นที่สามเหลี่ยม กขค เป็นผลจากการก่อสร้างท่าเรือขนส่งสินค้าแห่งใหม่ การค�ำนวณต้นทุนทางสังคมในความเป็นจริงเป็นไปได้ยาก แต่ในทางทฤษฎี ต้นทุน ส่วนเพิ่มของสังคมได้เพิ่มขึ้นจากการเปิดใช้งานของท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 อย่างแน่นอน เนื่องจากต้นทุนส่วนเพิ่มจากผลกระทบภายนอก (Marginal External Cost) ที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของชาวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นการสูญเสียแหล่งประกอบอาชีพ และการ สูญเสียพืน้ ทีท่ างการเกษตรจากการน�ำพืน้ ทีไ่ ปพัฒนาเป็นท่าเรือ และการทีต่ น้ ทุนภาคเอกชน ในการขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการเพิ่มสูงขึ้น (Marginal Private Cost) เมื่อสองต้นทุน เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลให้ต้นทุนส่วนเพิ่มทางสังคมเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 134

รูปที่ 2 ผลกระทบภายนอกเชิงลบจากท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2

ที่มา: ดัดแปลงโดยผู้วิจัย

ผลกระทบภายนอกเชิงบวก ผลกระทบภายนอกเชิงบวกจากท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 คือ การขยายตัวทาง การค้าระหว่างอ�ำเภอเชียงแสนกับจีนตอนใต้และประเทศเพือ่ นบ้านมีแนวโน้มทีจ่ ะเติบโตสูง ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยที่อำ� เภอเชียงแสนยังคงได้ดุลการค้าจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างสปป. ลาว และเมียนมาร์ เนื่องจากสินค้าอุปโภค-บริโภคของไทยเป็นคุณภาพที่นิยมของประเทศ เพื่อน ตลอดจนนักลงทุนนอกพื้นที่ทั้งไทยและเทศจ�ำนวนมากเริ่มที่จะมุ่งเข้าสู่พื้นชายแดน อ�ำเภอเชียงแสนมากขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์จากศักยภาพทางการขนส่งสินค้าในแม่น�้ำโขง 1 1

สำ�นักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2557)


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 135

ท�ำให้อำ� เภอเชียงแสนมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดี การย้ายจากท่าเรือเชียงแสนแห่งแรกไป ยังท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ยังช่วยให้จราจรตัวอ�ำเภอเชียงแสนติดขัดน้อยลง ซึ่งแต่ก่อนรถ บรรทุกจ�ำนวนมากจะมาจอดรอเพื่อขนสินค้าขึ้นเรือ และการเข้าออกไปมาของรถบรรทุก อาจท�ำให้โบราณสถานที่กระจายตัวอยู่ในอ�ำเภอเชียงแสนช�ำรุดทรุดโทรมได้ จึงเป็นเรื่องดีที่ ท่าเรือขนสินค้าได้ถูกย้ายห่างจากเมืองเชียงแสนไปกว่า 10 กิโลเมตร2 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การก่อสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 เป็นหนึ่งในรูปแบบการพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานเพือ่ เอือ้ อ�ำนวยความสะดวกให้เกิดการค้า ซึง่ ท�ำให้ผปู้ ระกอบการขนส่งสามารถส่งสินค้า ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และจีนตอนใต้ได้ในปริมาณที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตามท่าเรือเชียงแสน แห่งที่ 2 ตั้งอยู่ในบริเวณที่ห่างจากตัวเมืองมากเกินไป ท�ำให้ต้นทุนในการขนส่งสินค้าไปยัง ท่าเรือเพิม่ สูงขึน้ และยังส่งผลให้เกิดการขนส่งสินค้าทีล่ า่ ช้า นอกจากนีบ้ ริเวณทีต่ งั้ ของท่าเรือ เชียงแสนแห่งที่ 2 เป็นบริเวณที่เป็นแหล่งอาศัยของปลาแม่น�้ำโขง การเข้าออกของเรือขนาด ใหญ่ที่ขนส่งสินค้า ได้ท�ำลายแหล่งที่อยู่อาศัยของปลา ท�ำให้ปริมาณของปลาแม่น�้ำโขงลด น้อยลง ชาวบ้านสบกกที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านจึงต้องเลิกประกอบอาชีพ หันไปท�ำ เกษตรกรรม และออกไปรับจ้างท�ำงานนอกพื้นที่แทน ฉะนั้นท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ได้ก่อ ให้เกิดผลกระทบภายนอกเชิงลบ ท�ำให้ตน้ ทุนทางสังคมของประชาชนในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเชียงแสน สูงขึน้ สะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ แม้วา่ จะท�ำให้มลู ค่าทางการค้า เติบโตขึ้นก็ตาม นอกจากนี้ พื้นที่บริเวณท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ไม่ได้เปิดโอกาสให้ชาวบ้าน เข้าไปท�ำการจ�ำหน่ายสินค้าอย่างเสรี โดยมีการควบคุมการเข้าออกอย่างเข้มงวด รวมถึงมีการ เปิดประมูลแข่งขันให้ชาวบ้านเข้าไปตัง้ ร้านจ�ำหน่ายสินค้า เป็นอุปสรรคต่อชาวบ้านอย่างมาก ในการพยายามที่จะประกอบอาชีพหาเลี้ยงชีพ ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานรัฐบาลมีดังนี้ 1) รัฐบาลควรจัดหางบประมาณในการ สนับสนุนการท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และนิเวศให้มากขึน้ เนือ่ งจาก การพัฒนา ทางด้านการท่องเทีย่ วจะช่วยกระจายรายได้ให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้มากกว่าการพยายาม พัฒนาแต่ทางด้านการค้า 2) การยืดหยุ่นกฎระเบียบ ข้อบังคับ และการเก็บค่าธรรมเนียม 2

ประชาธรรม (2 กุมภาพันธ์ 2558)


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 136

ในการส่งออกสินค้าในปริมาณน้อย เพื่อให้ประชาชนสามารถค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้มากยิ่งขึ้น 3) การปลูกจิตส�ำนึกให้คนในท้องถิ่น และชุมชนให้ตระหนักถึงคุณค่าของ ประวัติศาสตร์และโบราณสถาน วิถีชีวิตและวัฒนธรรม และช่วยกันอนุรักษ์วัฒนธรรมเหล่า นั้นให้คงอยู่ 4) การประชาสัมพันธ์แก่นักท่องเที่ยวให้ทราบถึงประวัติศาสตร์ และเอกลักษณ์ ของเมืองเชียงแสน 5) ควรจัดสรรงบประมาณในการบูรณะโบราณสถานที่ทรุดโทรม 6) การ จัดระเบียบพื้นที่ที่อยู่อาศัยไม่ให้รุกล�ำ้ สถานที่ทางประวัติศาสตร์ 7) ควรควบคุมการเดินเรือ สินค้าขนาดใหญ่ไม่ให้ท�ำลายแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ในแม่นำ�้ โขง 8) การเปิดโอกาสให้ชาว บ้านเข้าไปจ�ำหน่ายสินค้าในบริเวณท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ทัง้ นี้ การพัฒนาเมืองเชียงแสนให้มคี วามสมดุลต้องอาศัยความร่วมมือทัง้ หน่วยงาน ราชการทีเ่ กีย่ วข้องและชุมชุมทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ ในการหารือเกีย่ วกับการกลยุทธ์ และยุทธศาสตร์ การพัฒนาทั้งเชิงทฤษฎี และเชิงปฏิบัติที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่มากยิ่งขึ้นในอนาคต หาก เชียงแสนมีการเติบโตทางเศรษฐกิที่ปราศจากการควบคุม และเดินหน้าอย่างไร้ทิศทาง อาจ จะส่งผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมมากกว่าที่เป็นอยู่ บรรณานุกรม เฉลิมพงษ์ เสนารักษ์ (2557). ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ว่าด้วยผลกระทบภายนอกเชิงลบ และการขนส่งทางทะเล. ค้นหาจาก: http://econ.src.ku.ac.th/jems1/download/jems1-1/JEMS_June-2014_10.pdf จิรพัฒน์ อุปถัมภ์ และคณะ (2557). ผลกระทบจากการเปิดคาสิโนที่เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อ แก้ว สปป.ลาว ต่อเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สังคม และวัฒนธรรมของ ชุมชนริมฝั่งโขง ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. ค้นหาจาก: http:// research.crru.ac.th/RDI_FILE/040072/Article.pdf ประชาธรรม (2557). ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2” กับความท้าทายการเป็นเมืองเศรษฐกิจบน ความเป็นเมืองประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม. เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2558. ค้นหา จาก: http://www.prachatham.com/article_detail.php?id=229# กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (2557) . ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2” กับความท้าทายการเป็นเมืองเศรษฐกิจบนความเป็นเมืองประวัติศาสตร์ และ


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 137

วัฒนธรรม. เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2558. ค้นหาจาก: http://www.komchadluek. net/detail/20120401/126918/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0 ภันฑิลา วิชาโห้ง (2554). แนวทางพัฒนาการตลาดนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมือง เชียงแสน. เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2558. ค้นหาจาก: http://www.bec.nu.ac.th/ bec-web/graduate/Article%5CTour ism/%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%91%E0%B8%B4 %E0%B8%A5%E0%B8%B2%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A %E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%87.pdf รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และภาคภูมิ ภัควิภาส (2557). แนวทางการพัฒนาศักยภาพโลจิสติ กส์ของกลุ่มประเทศ ลุ่มแม่น�้ำโขงสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: ท่าเรือเชียงแสน. เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2558. ค้นหาจาก: http://journal.pim.ac.th/uploads/ content/2014/12/o_1984q0bitnlal5ctp1svs1b2712.pdf ด่านศุลกากรเชียงแสน (2558). สถิติมูลค่าการค้าด่านศุลกากรเชียงแสน. เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558. ค้นหาจาก: http://www.chiangsaencustoms.com/ Thai PBS (11 กรกฎาคม 2556). โครงการก่อสร้าง “ท่าเรือเชียงแสน” กระทบประมงพื้น บ้าน. เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2558. ค้นหาจาก: http://news.thaipbs.or.th/conte nt/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81% E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0% B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8% 97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7% E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0% B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%99-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3 %E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B7% E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0 %B8%99 ประชาชาติธุรกิจ (25 สิงหาคม 2557). ผู้นำ� เข้าผักผลไม้จีนโอดต้นทุนพุ่ง เหตุท่าเรือ


In focus: ภาคการเกษตร หน้า 138

เชียงแสน 2 ไกลโข. เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2558 ค้นหาจาก: http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1408966284


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 139

ยักษ์ค้าปลีกสู่สมรภูมิชายแดนจังหวัดเชียงราย พรพินันท์ ยี่รงค์ ณัฐพรพรรณ อุตมา ปฐมพงศ์ มโนหาญ “ห้างค้าปลีกข้ามชาติพยายามที่ยึดเมืองชายแดนเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการท�ำตลาดที่เน้นผู้ บริโภคที่เป็นทั้งคนในพื้นที่ที่เป็นชาวไทย ชาวลาว และชาวเมียนมาร์ การเข้าไปของห้างค้า ปลีกข้ามชาติได้สร้างผลกระทบเชิงบวกและผลกระทบเชิงลบแก่เศรษฐกิจและสังคม” บทน�ำ

ภายหลังการเข้าเป็นสมาชิกขององค์กรการค้าโลกของประเทศไทยในปี 2538 ส่งผลให้เกิดการปรับกฎระเบียบหลายอย่างเพื่อให้เกิดรูปแบบการค้าที่เป็นเสรีมากยิ่ง ขึ้น ท�ำให้เกิดการหลั่งไหลเข้ามาของบรรษัทข้ามชาติค้าปลีกจากหลากหลายประเทศ โดย ลักษณะเฉพาะตัวของบรรษัทข้ามชาติค้าปลีกในประเทศไทย ได้เข้ามาในฐานะที่เป็นผู้ ลงทุนเข้ามาถือหุ้น (equity investors) ซึ่งส่งผลให้เกิดการโอนย้ายทรัพยากร (resource transfer) อาทิ การโอนย้ายเงินทุน การโอนย้ายการบริหารจัดการ จากประเทศแม่ผ่าน บรรษัทข้ามชาติไปสู่ประเทศไทย ท�ำให้เกิดการค้าปลีกค้าส่งรูปแบบใหม่ที่มีความหลาก หลายยิ่งขึ้น1 ซึ่งในตอนแรกบรรษัทข้ามชาติค้าปลีกส่วนใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทย จะร่วมทุน (joint ventures) กับกลุ่มทุนค้าปลีกชั้นน�ำของไทย ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ เครือเซ็นทรัล เป็นต้น ซึ่งการเข้ามาในลักษณะนี้จะเกิดประโยชน์ต่อบรรษัทข้ามชาติใน การได้เข้าถึงทรัพยากรและตลาดของประเทศผู้รับลงทุนอย่างไม่มีขีดจ�ำกัดในด้านเวลา รวมถึงการได้อภิสิทธิ์ทางการเมือง (political preferment) และในทางทฤษฎี ประเทศ รูปแบบการค้าปลีกค้าส่งสมัยใหม่ที่ถูกถ่ายทอดจากประเทศผ่านบรรษัทข้ามชาติสู่ประเทศไทย ได้แก่ ห้างค้าปลีก ค้าส่งแบบเงินสดและบริการตนเอง (cash & carry) ของ Siam Makro จากบรรษัทข้ามชาติสัญชาติเนเธอร์แลนด์ ร้านสะดวกซื้อสมัยใหม่ของ 7-11 จากบรรษัทข้ามชาติสัญชาติอเมริกัน และห้างค้าปลีกค้าส่งแบบ hypermarket ของ Carrefour จากบรรษัทข้ามชาติสัญชาติฝรั่งเศส

1


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 140

ผู้รับลงทุนสามารถที่จะเข้าถึงทรัพยากร เทคโนโลยี ทักษะ โดยไม่สูญเสียอ�ำนาจในการ ควบคุม หลังจากปี 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจขั้นรุนแรง ส่งผล ให้กลุ่มทุนชั้นน�ำของประเทศไทยจ�ำเป็นที่ต้องขายหุ้นส่วนมากให้กับบรรษัทข้ามชาติ เป็น ผลให้บรรษัทข้ามชาติส่วนหนึ่งเข้ามาถือหุ้นของห้างค้าปลีกเกือบทั้งหมด (Tesco-Lotus Big C และ Makro) และอีกส่วนหนึ่งเข้าถือหุ้นของห้างค้าปลีกอย่างเต็มตัว2 (Carrefour และ Tops) ในความเป็นจริงแล้วลักษณะการให้สิทธิในการครอบครองบริษัทของบรรษัท ข้ามชาติอย่างเต็มตัวนั้นไม่เป็นที่ยอมรับส�ำหรับประเทศผู้รับลงทุนส่วนใหญ่ โดยที่รัฐบาล ของประเทศผู้รับลงทุนจะพยายามใช้มาตรการการจ�ำกัดการลงทุน เนื่องจากลักษณะ การลงทุ น โดยบรรษั ท ข้ า มชาติ เข้ า มาถื อ หุ ้ น อย่ า งเต็ ม ตั ว (wholly-owned foreign subsidiaries) จะส่งผลให้บรรษัทข้ามชาติสามารถทีจ่ ะจ�ำกัดการเข้าถึงของผูร้ บั ลงทุนในการ แสวงหาประโยชน์จากความรู้ ความสามารถของประเทศแม่ได้ แต่ในกรณีของประเทศไทย บรรษัทค้าปลีกข้ามชาติได้เข้ามารูปแบบของการร่วมทุนก่อน ท�ำให้สามารถใช้ประโยชน์จาก การเข้าถึงทรัพยากรต่างๆของประเทศผูร้ บั ลงทุนและอภิสทิ ธิท์ างการเมืองได้อย่างคุน้ เคย รวม ถึงการทีร่ ฐั บาลในแต่ละยุคสมัยของประเทศไทยพยายามทีจ่ ะสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในวันที่ 25 ธันวาคม 2541 คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนได้ประกาศให้มกี ารส่งเสริมการค้าปลีกและค้าส่งสินค้าอุปโภค-บริโภค3 การ ส่งเสริมดังกล่าวขัดต่อพ.ร.บ.การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ทีห่ า้ มไม่ให้คนต่าง ชาติถอื เกินกว่าร้อยละ 49 อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้พยายามทีจ่ ะออกพ.ร.บ.การประกอบ หลังวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ห้างเทสโก้-โลตัสมีผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติถึงร้อยละ 98 ในขณะที่นักลงทุนชาวไทย เพียงแค่ร้อยละ 2 เช่นเดียวกันกับห้างบิ๊กซี และห้างแม็คโครที่นักลงทุนคนไทยถือหุ้นอยู่ร้อยละ 34 และร้อยละ 10 ตามลำ�ดับ แต่ชาวต่างชาติได้ถือหุ้นอยู่ที่ร้อยละ 66 และร้อยละ 90 ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ห้างคาร์ฟูร์และห้าง ท้อปส์ถูกนักลงทุนต่างชาติครอบครองอย่างเต็มตัว (นิพนธ์ พวพงศกร และคณะ, 2545) 3 คณะกรรมส่งเสริมการลงทุนได้กำ�หนดประเภทและเงื่อนไขให้กับกิจการค้าปลีกค้าส่งสินค้าอุปโภคบริโภคดังนี้ 1.เป็นกิจการที่มีอยู่แล้วก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 ไม่ว่าจะตั้งอยู่ในเขตใด 2.การขยายสาขาสามารถ ให้ตั้งได้เฉพาะในเขต 1 เท่านั้น และมีขนาดพื้นที่ขายไม่ต่ำ�กว่า 1,000 ตารางเมตรต่อสาขา 3.เงินลงทุนในส่วน ของต่างชาติต้องนำ�มาจากต่างประเทศทั้งสิ้น 4.จะไม่คำ�นึงถึงอัตราส่วนของผู้ถือหุ้นต่างชาติ 5.จะได้รับสิทธิ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากรเท่านั้น และ 6. ต้องยื่นคำ�ขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2542 เท่านั้น 2


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 141

ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งโดยตรง เพือ่ คุม้ ครองธุรกิจรายย่อยให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม หาก แต่การออกกฎหมายดังกล่าวจะขัดต่อกฎเกณฑ์ขององค์การการค้าโลกที่ประเทศไทยเป็น สมาชิก รวมถึงขัดต่อสนธิสัญญาระหว่างประเทศทั้งในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาค จึง ท�ำให้ประเทศไทยไม่สามารถที่จะออกกฎหมายมาควบคุมการขยายตัวของบรรษัทค้าปลีก อย่างจริงจังได้ ส่งผลให้ตลาดการค้าปลีกของไทยถ่ายเทบทบาทไปที่บรรษัทข้ามชาติเกือบ ทั้งหมด โดยที่บรรษัทข้ามชาติสามารถที่จะด�ำเนินกิจการทั้งในการน�ำความรู้และเทคโนโลยี จากประเทศแม่มาใช้อย่างเต็มรูปแบบและมีการเติบโตอย่างรวดเร็วหลังจากนั้นเป็นต้นมา การเติบโตอย่างไร้ขอบเขตปราศจากการควบคุมของภาครัฐ บรรษัทข้ามชาติ ค้าปลีกเริ่มที่จะขยายสาขาอย่างเร่งรีบจากพื้นที่ในเมือง ชานเมืองจนเข้าไปสู่หัวเมืองขนาด ใหญ่ในต่างจังหวัดของแต่ละภาค โดยมีการขยายสาขาหลากหลายรูปแบบทั้งการค้าส่งและ การค้าปลีก และขนาดตั้งแต่เล็กจนเทียบเคียงกับร้านสะดวกซื้อจนถึงขนาดใหญ่มากแบบ ห้างสรรพสินค้า เพื่อตอบสนองความต้องการบริโภคของผู้คนที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่น เป็นผล ให้เกิดการแข่งขันของตลาดการค้าปลีกที่รุนแรงมากขึ้น และส่งผลกระทบโดยตรงต่อร้านค้า ปลีกค้าส่งแบบดั้งเดิมรายย่อยในพื้นที่ต่างจังหวัดไปสู่การเลิกกิจการของร้านค้าปลีกจ�ำนวน มาก เนือ่ งจากร้านค้าปลีกค้าส่งดัง้ เดิมรายย่อยไม่สามารถทีจ่ ะแข่งขันในหลายด้าน ภายหลัง ปี 2548 ภาครัฐและภาคเอกชนเริม่ ตระหนักถึงการขาดการวางแผนในการควบคุมกิจการค้า ปลีกในประเทศไทย จึงได้พยายามทีอ่ อกมาตรการต่างๆมาควบคุม เช่น การควบคุมพืน้ ที่ การ จ�ำกัดพืน้ ที่ และการก�ำหนดเวลาเปิด-ปิด ตลอดจนการออกพ.ร.บ. เฉพาะส�ำหรับการค้าปลีก เพือ่ ควบคุมการขยายตัวโดยตรง แต่นนั้ ก็เป็นเพียงแค่การควบคุมทางกายภาพเท่านัน้ 4 ผลต่อ เนื่องให้เกิดผลกระทบได้กระจายวงกว้างออกไปอย่างมาก ร้านค้าปลีกดั้งเดิมถือได้ว่าเป็นหน่วยเศรษฐกิจระดับชุมชนที่มีความส�ำคัญต่อ สังคมไทยอย่างมาก เนื่องจากร้านค้าอย่างโชห่วยหรือตลาดมีความใกล้ชิดกับผู้บริโภคมาก ที่สุด ซึ่งในทุกชุมชนจะมีโชห่วยอย่างน้อย 1 – 2 ร้านกระจายตัวอยู่ทุกย่อมหญ้า เพื่อ บริการผู้บริโภคที่มีความต้องในการจับจ่ายใช้สอยซื้อสินค้าในชีวิตประจ�ำวัน ผู้ประกอบ การร้านค้าปลีกดั้งเดิมจึงค่อนข้างมีความคุ้นเคยกับคนในชุมชนเป็นอย่างมาก แต่เมื่อเวลา ผ่านไป การค้าปลีกสมัยใหม่หลายรูปแบบเริ่มเข้ามา ท�ำให้ร้านค้าปลีกดั้งเดิมต้องเข้าสู่การ 4

ฝ่ายวิจัย บมจ.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา อ้างใน เมฆแสงสวย (2556: 9)


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 142

แข่งขันที่ยากจะตั้งรับ เนื่องจากความได้เปรียบในหลายด้านของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ เช่น ราคาสินค้าที่ถูกกว่า ประเภทสินค้าที่มากกว่า การจัดวางที่ทันสมัยกว่า หรือแม้แต่ความ สะดวกในการน�ำรถยนต์ส่วนตัวไปจอดเพื่อซื้อสินค้า จึงเป็นเหตุผลส�ำคัญให้ผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อสินค้าไปอย่างสิ้นเชิง ผู้คนสมัยนี้มีรายได้ที่เริ่มสูงขึ้นตาม ขนาดเศรษฐกิจของประเทศที่เติบโตขึ้น แต่กลับมีเวลาน้อยลงในการจับจ่ายซื้อสินค้า ฉะนั้น ผู้บริโภคจึงมีพฤติกรรมในการซื้อสินค้าครั้งหนึ่งทีละมากๆ และนานๆครั้ง นอกจาก นี้ รายได้ที่สูงขึ้นท�ำให้ผู้บริโภคส่วนมากมีรถยนต์ส่วนตัวใช้ ส่งผลให้ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ส่วนใหญ่มีการสร้างที่จอดรถขนาดใหญ่ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท�ำให้ปัจจุบันร้านค้าปลีกดั้งเดิมส่วนใหญ่ไม่สามารถปรับตัวได้ (นิพนธ์ พวพงศกร และคณะ, 2545) จึงกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ท�ำให้ร้านค้าปลีกดั้งเดิมจ�ำนวน หนึ่งได้ล้มหายตายจากไปจากระบบเศรษฐกิจของไทย ในทางตรงกันข้าม การแข่งขันอย่าง รุนแรงทางธุรกิจจากการเข้ามาของห้างค้าปลีกข้ามชาติ จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ประกอบการ ร้านค้าปลีกดัง้ เดิมต้องปรับปรุงคุณภาพการให้บริการทางการค้า เพือ่ ให้สามารถแข่งขันและ แย่งชิงส่วนแบ่งทางการตลาดจากห้างค้าปลีกข้ามชาติ แต่อุปสรรคที่ส�ำคัญคือ การขาดเงิน ทุน ท�ำให้ผู้ประกอบการค้าปลีกท้องถิ่นไม่สามารถปรับตัวได้ ท�ำให้เกิดกระแสการต่อต้าน อย่างมากถึงการแข่งขันที่ไม่เท่าเทียม พร้อมทั้งการยกกฎหมายที่เกี่ยวข้องมาเป็นเครื่องมือ ในการต่อรอง อาทิ กฎหมายการค้าปลีกค้าส่ง กฎหมายการแข่งขันทางการค้า กฎหมาย ผังเมือง กฎหมายประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การเข้ามาของห้าง ค้าปลีกได้ให้ประโยชน์แก่ผู้ผลิต/ผู้จัดจ�ำหน่ายบางรายให้สามารถพัฒนาระบบการจัดการ สมัยใหม่จากห้างไฮเปอร์มาร์เก็ต จนสามารถส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศเองได้ (นิพนธ์ พวพงศกร และคณะ, 2545) ถึงแม้บรรษัทข้ามชาติจะเข้ามาภายหลังจากการเข้าเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ของประเทศไทยในปี 2538 แต่การขยายตัวอย่าง รุนแรงของห้างค้าปลีกข้ามชาติได้เริ่มขึ้นในปี 2540 ช่วงเวลาของวิกฤตเศรษฐกิจครั้งยิ่ง ใหญ่ของประเทศ ซึ่งวิกฤตดังกล่าวได้ส่งผลให้บริษัทข้ามชาติเข้ามาครอบครองตลาดค้า ปลีกของไทยอย่างเต็มตัว เพื่อตอบสนองความต้องการในการบริโภคสินค้าของผู้คนที่อาศัย อยู่ในท้องถิ่น จึงได้ด�ำเนินการน�ำความรู้และเทคโนโลยีจากประเทศแม่มาขยายสาขาในรูป


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 143

แบบที่มีความหลากหลายมากขึ้น (เมฆแสงสวย, 2556) ท�ำให้หัวเมืองตามต่างจังหวัดจะมี ห้างค้าปลีกแต่ละบริษัทอย่างน้อยหนึ่งถึงสองสาขาเข้าไปด�ำเนินกิจการ เช่นเดียวกับจังหวัด เชียงรายที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้มีห้างค้าปลีกไฮเปอร์มาร์เก็ต ข้ามชาติรายแรกอย่าง Big C เข้าไปขยายกิจการในช่วงปี 2540 เช่นกัน ห้าง Big C เป็น ห้างไฮเปอร์มาร์เก็ตที่มีโรงภาพยนตร์ขนาดกลางเปิดร่วมอยู่ภายใน กลายเป็นสถานที่ที่นิยม ส�ำหรับชาวเชียงรายในการไปเดินเทีย่ วเล่น ดูภาพยนตร์ และจับจ่ายใช้สอยซือ้ สินค้าเข้าบ้าน ต่อมาห้างไฮเปอร์มาร์เก็ต Tesco Lotus ก็เข้าไปขยายสาขาบริเวณชายแดนของจังหวัด เชียงรายที่อ�ำเภอแม่สายในปี 2548 (ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์, 2553) ได้พยายามที่จะ ขยายสาขาไปยังอ�ำเภอต่างๆ และเน้นบริเวณทีเ่ ป็นพืน้ ทีต่ ดิ ชายแดนของจังหวัดเชียงราย โดย เน้นการใช้กลยุทธ์การย่อขนาดไซส์ของกิจการเพื่อให้เข้าถึงแหล่งชุมชนมากขึ้น คือ เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส ที่มีขนาดพื้นที่การขายใกล้เคียงกับร้านสะดวกซื้อ (convenience store) ประมาณ 150 – 360 ตารางเมตร แต่มจี ำ� นวนสินค้ามากกว่าประมาณ 2,600 รายการ ก่อให้ เกิดผลกระทบอย่างมากต่อร้านค้าปลีกรายย่อยทีอ่ ยูภ่ ายในจังหวัดเชียงราย ในปี 2556 Tesco Lotus ได้ขยายกิจการไปยังพื้นที่ชายแดนอีกอ�ำเภอหนึ่ง คือ อ�ำเภอเชียงของ เป็นการขยาย กิจการในรูปแบบของไฮเปอร์มาร์เก็ตเช่นเดียวกับทีเ่ คยขยายกิจการไปทีอ่ ำ� เภอแม่สาย ท�ำให้ ปัจจุบันสาขาของห้างไฮเปอร์มาร์เก็ตเทสโก้-โลตัสขนาดใหญ่ได้ครอบครองพื้นที่ชายแดน เกือบหมด เหลือเพียงอ�ำเภอเชียงแสนที่ยังเป็นโลตัสเอ็กซ์เพรสขนาดเล็ก การขยายสาขาไป ยังพื้นที่อ�ำเภอชายแดน งานวิ จั ย ชิ้ น นี้ มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลกระทบของทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม ต่อการขยายตัวของห้างค้าปลีกข้ามชาติในอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ได้ใช้ข้อมูล ทุติยภูมิของอ�ำเภอเชียงของ เช่น มูลค่าการค้าชายแดน ประเภทสินค้าส่งออกและน�ำเข้า นโยบายส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น และข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์ ร้านค้าปลีก ค้าส่ง รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในอ�ำเภอเชียงของ โดยจะน�ำแนวคิดการศึกษา เชิงสถาบันร่วมกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์และการจัดการมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ วิเคราะห์ผลลลัพธ์และผลกระทบของการค้าปลีกที่เกิดขึ้น และน�ำผลสรุปมาใช้ในการออก ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อภาครัฐบาลท้องถิน่ ภาคเอกชน และภาคธุรกิจ เพือ่ ให้เกิดการปรับ ตัวให้เข้ากับพลวัตทางเศรษฐกิจการค้าปลีกในอ�ำเภอเชียงของทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 144

ทบทวนแนวคิดการศึกษาเชิงสถาบัน กาญจน์ชูฉัตร (2550) ได้เสนอแนวคิดการเปลี่ยนแปลงระดับท้องถิ่นต่อห้างค้า ปลีกข้ามชาติ ซึ่งแต่ละผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางสถาบันเป็นหลัก เนื่องจากในแต่ละ ระบบเศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ มีรูปร่างหน้าตาที่แตกต่างกันไป ซึ่งบางครั้งก็ไม่ขึ้นอยู่กับ ความสัมพันธ์ทางตลาด (Market Relationship) เสมอไป เช่น แนวคิดของเศรษฐศาสตร์นี โอคลาสสิก หากความสัมพันธ์ที่มิใช่ตลาด (Non-market Relationship) มีความส�ำคัญมาก ในสังคมไทย โดยเฉพาะระดับท้องถิน่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์ทหี่ ลากหลาย ในลักษณะทีเ่ ป็นแนวดิง่ เช่น ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ และความสัมพันธ์ในแนวราบ เช่น ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความ มีน�้ำใจ และความรักในท้องถิ่น การเปลี่ ย นแปลงที่ มี พื้ น ฐานอยู ่ บ นความสั ม พั น ธ์ ข องระบบตลาด (Market Relationship) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ (1) ท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์ (Pro-Globalization) ซึ่ง เป็นรูปแบบของท้องถิ่นที่ไม่มีบทบาทในระบบเศรษฐกิจ ไม่มีความได้เปรียบทางตลาด แต่ เป็นผู้ที่เข้าสู่ตลาดก่อน (First Mover) เพียงเท่านั้น เมื่อห้างค้าปลีกข้ามชาติเข้ามา จึงไม่มี การประท้วงเพื่อกีดกัน ท�ำให้ผู้ประกอบการท้องถิ่นส่วนหนึ่งจ�ำต้องเปลี่ยนอาชีพ ไม่ก็เลิก กิจการไปในที่สุด (2) ท้องถิ่นร่วมทุน (Joint-Venture) รูปแบบนี้ ทุนท้องถิ่นถือไพ่เหนือกว่า ด้วยการถือครองที่ดินท�ำเลทอง แต่ไม่ประสงค์ที่จะแข่งขันกับห้างค้าปลีข้ามชาติโดยตรง จึง หันไปร่วมทุนกับห้างค้าปลีกข้ามชาติดว้ ยการให้เช่าทีด่ นิ ในระยะยาว เพือ่ แสดงผลประโยชน์ ที่มั่นคงและเป็นรูปธรรม ส่ ว นการเปลี่ ย นแปลงที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ มิ ใช่ ร ะบบตลาด หรื อ เรี ย กกั น ว่ า “ท้องถิ่นนิยม” (Localization) ซึ่งเกิดจากการก่อร่างจากจิตส�ำนึกของสังคมและชุมชน จนรวมเป็นสิ่งที่เรียกว่า “อัตลักษณ์” เป็นรูปแบบที่เกิดมาพร้อมๆกับความเป็นชาตินิยม แบ่ ง ออกเป็น 2 ลัก ษณะเช่นกัน (1) ท้องถิ่นนิยมแบบกีดกัน (Protective Localism) ลักษณะนี้ เป็นลักษณะที่ท้องถิ่นตัดสินใจที่จะแข่งขันในตลาดต่อไป แต่ไม่ได้มีจุด ประสงค์ที่จะแข่งขันอย่างเสรี โดยอาศัยความสัมพันธ์ที่มีต่อรัฐท้องถิ่น ในการออกกฎ ระเบียบเพื่อกีดกันไม่ให้ห้างค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาในตลาด5 (2) ท้องถิ่นนิยมแบบแข่งขัน 5

ท้องถิ่นกีดกัน เป็นแนวคิดที่คล้ายคลึงกับ “การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ” (Rent-seeking) ที่ปัจเจกชน


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 145

(Competitive Localization) คือ การที่ห้างท้องถิ่นสามารถรวมตัวกันเป็นหนึ่ง และ พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน จนสามารถครองสัดส่วนในตลาดสูงกว่าห้างค้าปลีกข้าม ชาติ ประกอบกับผู้บริโภคมีความนิยมในการซื้อสินค้าจากห้างท้องถิ่น ท�ำให้ค้าปลีกท้อง ถิ่นมีความได้เปรียบในทุกๆด้าน นอกจากนั้น “หอการค้าจังหวัด” เป็นตัวแปรที่มีบทบาท ส�ำคัญในการท�ำให้เกิดการใช้ทรัพยากร และการจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ แก่สังคมโดยรวม โดยสามารถแบ่งบทบาทการลดต้นทุนธุรกรรมได้ 2 ส่วน คือ การสร้าง ความร่วมมือ เช่น ประสานงาน จัดหางบประมาณ และการสนับสนุนระบบคุณค่าที่เอื้อต่อ ท้องถิ่น เช่น การกระตุ้นให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากห้างท้องถิ่น หรือ การกระตุ้นให้ห้าง ท้องถิ่นเข้าหาผู้บริโภค การวิเคราะห์โดยใช้การศึกษาเชิงสถาบันจะท�ำให้การมองภาพของพลวัตการค้าปลีก ในแต่ละพื้นที่มีมุมมองที่แตกต่างออกไปกว่าการเน้นการวิเคราะห์เพียงการปรับตัวของกล ไกลตลาด ที่ให้ความส�ำคัญเพียงแค่การเชื่อมโยงระหว่างราคาสินค้าและปริมาณสินค้าเป็น ส�ำคัญ ทั้งที่องค์ประกอบอย่างอื่นอย่าง เช่น การเมืองในพื้นที่ วัฒนธรรม ทุนท้องถิ่น อาจ จะมีอิทธิพลมากกว่าแค่ปัจจัยทางเศรษฐกิจ เพราะการขับเคลื่อนของสถาบันใดสถาบันหนึ่ง จะไม่สามารถเป็นไปได้ หากขาดแรงกระตุน้ จากสถาบันอืน่ แม้วา่ ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ กระแสหลักพยายามที่จะวิเคราะห์แก่นของพลวัตทางเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งก็ตาม

พยายามแสวงหาค่า Economic rents เพื่อสร้างทำ�นบกีดขวาง (Barrier to Entry) ไม่ให้ผู้ค้ารายอื่นเข้ามายัง ตลาด โดยใช้รัฐเป็นตัวผลักดันให้เกิดสภาวะผูกขาด (Monopoly Market) จนส่งผลกระทบให้เกิดต้นทุนทางสังคม (Social Cost) ค้นหาจาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=383106 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2558


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 146

รูปที่ 1 ทางเลือกของทุนท้องถิน ่ และผลลัพธ์ของการการค้าปลีก

ที่มา: แปลงภาพจากกาญจน์ชูฉัตร, 2550

ทบทวนงานแนวคิดด้านส่วนประสมทางการตลาด ศิรวิ รรณ เสรีรตั น์และคณะ (2546) ได้อธิบายการก�ำหนดกลยุทธ์ทเี่ กีย่ วข้องกับส่วน ประสมทางการตลาด (Marketing mix) ของสินค้าประกอบไปด้วย 4 ด้าน (4P’s) ได้แก่ ด้าน ผลิตภัณฑ์ (Product) ด้านราคา (Price) ด้านช่องทางจัดจ�ำหน่าย (Place) และด้านการส่ง เสริมการตลาด (Promotion) ตารางที่ 1 องค์ประกอบของส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix) 4P’s ส่วนประสมทาง การตลาด (4P’s)

ค�ำอธิบาย

ผลิตภัณฑ์ (Product) สิ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการ และความพึงพอใจของลูกค้า เช่น ตราสินค้า คุณภาพ ความหลากหลาย บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น ราคา (Price)

ราคาเป็นตัวสะท้อนคุณค่า (Value) ของสินค้า หากคุณค่าของตัว สินค้าสูงกว่าราคา ผู้บริโภคก็จะตัดสินใจซื้อ คุณสมบัติของราคา อาทิ การก�ำหนดราคา การให้ส่วนลด การให้ระยะเวลาการช�ำระเงิน


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 147

ส่วนประสมทาง การตลาด (4P’s)

ค�ำอธิบาย

การจัดจ�ำหน่าย (Place)

กิจกรรมการเคลื่อนสินค้าและบริการออกไปสู่ตลาดเป้าหมาย ซึ่ง กิจกรรมที่ช่วยกระจายสินค้า ประกอบไปด้วย การขนส่ง การคลัง สินค้า และการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง รวมถึงสถาบันการตลาดที่มี ส่วนช่วยให้เกิดช่องทางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภค

การส่งเสริมการ ตลาด (Promotion)

เครื่องมือในการสื่อสารระหว่างผู้จัดจ�ำหน่าย และผู้บริโภค ซึ่งมีอิทธิ ผลต่อความรู้สึก ความเชื่อ และพฤติกรรมการซื้อ โดยมีเครื่องมือส่ง เสริมทางการตลาด ได้แก่ การโฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขาย การส่งเสริมการขาย การให้ข่าวและประชาสัมพันธ์ และการตลาดทาง ตรง ที่มา: ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ, 2546

ทบทวนงานวิจัยด้านผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาค นิพนธ์ พวพงศกร และคณะ (2545) ได้ศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจมหภาคต่อ ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ พบว่าการขยายของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ได้สง่ ผลกระทบต่อเงินทุน ภายในประเทศ การจ้างงาน รายได้จากภาษี และผลิตภาพของธุรกิจค้าปลีก ก่อนปี 2541 ไฮ เปอร์มาร์เก็ตเริม่ จะลงทุนระยะยาวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นผลให้กจิ การไฮเปอร์มาร์เก็ต ไทยต้องขายกิจการให้กับชาวต่างชาติ หลังจากนั้นไฮเปอร์มาร์เก็ตก็มีการลงทุนระยะยาว อย่างหนักภายในประเทศไทย การขยายตัวของไฮเปอร์มาร์เก็ตได้สง่ ผลให้ธรุ กิจค้าปลีกดัง้ เดิม จ�ำนวนหนึ่งมีการปิดตัวลง และส่งผลให้การจ้างงานลดลง อย่างไรก็ตามก็ได้ส่งผลให้การจ้าง งานเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะการจ้างงานของแรงงานมีทักษะ (Skilled-labor) ที่ทำ� ให้ราย ได้เฉลีย่ ของประเทศเพิม่ ขึน้ ในด้านของการช�ำระภาษีพบว่า ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่มสี ดั ส่วน การเสียภาษีทนี่ อ้ ยกว่าร้านค้าปลีกรายย่อยดัง้ เดิม เนือ่ งจากสาเหตุของการขาดทุนสะสม ส่วน ทางด้านผลิตภาพของธุรกิจค้าปลีกพบว่า ซูเปอร์มาร์เก็ตของไทยมีผลิตภาพทางด้านแรงงาน และประสิทธิภาพการใช้พนื้ ทีส่ งู กว่าสหรัฐ แต่ไฮเปอร์มาร์เก็ตและร้านสะดวกซือ้ มีผลิตทัง้ สอง อย่างต�่ำกว่า


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 148

สาเหตุการเข้ามาของบรรษัทค้าปลีกข้ามชาติในอ�ำเภอเชียงของ จากวิวัฒนาการของการค้าบริเวณชายแดนเชียงของ-ห้วยทราย พบว่าการค้า บริเวณชายแดนดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในแต่ละยุคสมัย โดยก่อนหน้าที่จะมี การเปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวรการค้าดั้งเดิมจะมีลักษณะของการแลกเปลี่ยนสินค้ามากกว่า การใช้เงินตรา หลังจากปี 2532 พลเอก ชาติชาย ชุณหวัณ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศ ให้พื้นที่ชายแดนที่เคยเป็นประตูหน้าด่านของสนามรบกลายมาเป็นสนามการค้าระหว่าง ประเทศ ท�ำให้ยคุ สมัยนัน้ ทีด่ นิ ในเชียงของจึงเป็นทีต่ อ้ งการของกลุม่ นายทุนจากเป็นอย่างมาก ส่งผลให้ราคาทีด่ นิ ของเชียงของปรับตัวสูงขึน้ จากการเก็งก�ำไร หลังจากปี 2546 ได้มกี ารเปิด ท่าเรือน�ำ้ ลึกเชียงของ เป็นผลท�ำให้มสี นิ ค้าเข้าออกบริเวณอ�ำเภอเชียงของหลากหลายมากขึน้ ก่อนที่ในปี 2556 จะมีการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 เชื่อมเส้นทาง R3A จาก คุนหมิง ประเทศจีนตอนใต้ ผ่านสปป.ลาวมายังจังหวัดเชียงราย ท�ำให้การค้าทางบกกลาย มาเป็นที่นิยมมากขึ้น เนื่องจากประหยัดต้นทุนการขนส่งสินค้ามากกว่าการขนส่งสินค้าทาง เรือผ่านแม่น�้ำโขง หลังจากนั้นเป็นต้นมารูปแบบของการค้าชายแดนของอ�ำเภอเชียงของก็มี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง ราคาที่ดินที่ปรับตัวสูงขึ้นกว่าสมัยก่อน เป็นผลต่อเนื่องจาก การประกาศให้อ�ำเภอเชียงของเป็นเมืองที่จะถูกประกาศให้พัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (ส�ำเนียง, 2556) ในตลอดระยะ 1 ปีทมี่ กี ารเปิดสะพานมาท�ำให้เกิดการทะลักของทุนจ�ำนวน มากที่เข้ามาด�ำเนินกิจการต่างๆ เช่น โรงแรม อพาร์ตเมนต์ คลินิก โรงพยาบาล ประกันชีวิต ไฟแนนซ์ รวมถึงห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ (ไชยมล, 2558) เปรียบเสมือนแม่เหล็กที่ดึงดูดการ ลงทุนจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ การขยายตัวของการค้าชายแดนมีความส�ำคัญอย่างมากต่อการลงทุนบริเวณ ชายแดน เพราะจะช่วยดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาด�ำเนินธุรกิจทีเ่ น้นการค้าระหว่างประเทศเป็น ส�ำคัญ จากรูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงมูลค่าการค้ารวม การส่งออก การน�ำเข้า และดุลการค้า ตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2557 เป็นที่น่าสังเกตว่ามูลค่าการค้าชายแดนในปี 2557 มีการเติบโต สูงขึ้นอย่างมากจากปี 2546 โดยมีการเติบโตเฉลี่ยสะสม (Compound Annual Growth Rate: CAGR)6 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 32.09 ซึง่ เป็นผลของการเติบโตเฉลีย่ สะสมของมูลค่าการส่งออก อยู่ที่ร้อยละ 32.89 ในขณะที่มูลค่าการน�ำเข้ามีการเติบโตไม่แตกต่างกันมากนักอยู่ที่ร้อยละ 6

จากการคำ�นวณของผู้วิจัย


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 149

29.69 อัตราการเติบโตสะสมทีส่ งู กว่าของมูลค่าการส่งออก ท�ำให้มลู ค่าดุลการค้ามีการเติบโต เฉลีย่ สะสมถึงร้อยละ 34.49 มูลค่าการค้าชายแดนบริเวณอ�ำเภอเชียงของมีการขยายตัวอย่าง มาก และมีแนวโน้มจะเติบโตมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลโครงสร้างการส่งออกสินค้าจากด่านเชียงของไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และจีนตอนใต้ในปี 2557 พบว่าสินค้าที่ถูกส่งออกมาที่สุด ได้แก่ น�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (27%) เครื่องอุปโภคบริโภค (15%) ผลไม้สด (12%) ยางพารา (11%) น�ำ้ มันเบนซิน (7%) วัสดุก่อสร้าง (6%) และอื่นๆ สังเกตได้ว่าเครื่องอุปโภคบริโภคมีความส�ำคัญต่อการส่งออก สินค้าของด่านเชียงของเป็นอย่างมาก โดยมีการส่งออกเป็นอันดับสองรองจากน�้ำมันดีเซล เนื่องจากสินค้าอุปโภค-บริโภคมีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของผู้คน นอกจากนี้ สปป. ลาว เมียนมาร์ รวมถึงจีนตอนใต้ ไม่สามารถที่จะผลิตสินค้าอุปโภค-บริโภคเพียงพอต่อความ ต้องการของคนในประเทศได้ จึงต้องน�ำเข้าสินค้าจากประเทศไทยเข้าไปทดแทนช่องว่าง ระหว่างอุปสงค์ท่ีล้นเกินและอุปทานที่ขาดแคลน เป็นโอกาสส�ำหรับประเทศไทยในการส่ง ออกสินค้าประเภทนี้ รูปที่ 2 มูลค่าการค้าชายแดน ส่งออก น�ำเข้า และดุลการค้าปี 2546 ถึงปี 2557

ที่มา: ด่านศุลกากรเชียงของจังหวัดเชียงราย, 2558

ในระดับของพื้นที่ชายแดน ชาวลาวจ�ำนวนมากข้ามมาจากฝั่งเมืองห้วยทรายเข้า มาซื้อสินค้าอุปโภค-บริโภคจากร้านค้าท้องถิ่นในฝั่งของอ�ำเภอเชียงของ ทั้งจุดประสงค์เพื่อ น�ำไปใช้บริโภคในครัวเรือนและซื้อไปจ�ำหน่ายภายในร้านค้าในฝั่งของสปป.ลาว ศักยภาพ


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 150

การส่งออกสินค้าประเภทอุปโภค-บริโภคเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลท�ำให้ห้างไฮเปอร์มาร์เก็ตเท สโก้-โลตัสเข้ามาขยายกิจการภายในอ�ำเภอเชียงของเพือ่ เข้าถึงตลาดของผูบ้ ริโภคทัง้ ชาวไทย และชาวลาว อ�ำเภอเชียงของเป็นหนึ่งในอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงรายที่มีพรมแดนติดกับ ประเทศเพื่อนบ้าน ติดกับเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว (สปป.ลาว) โดยมีแม่น�้ำกั้นกลางระหว่างสองเมือง ท�ำให้บริเวณเชียงของ-ห้วยทราย เป็นพื้นที่ที่มีการค้าขายระหว่างกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และมีข้อได้เปรียบของที่ตั้ง ทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากอ�ำเภอเชียงของตั้งอยู่บนระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) ที่เรียกว่าเส้นทาง R3A ภายใต้กรอบความร่วมมือของ อนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) เอื้อประโยชน์อย่างมาก ในการค้าขายระหว่างประเทศลาว และประเทศจีนตอนใต้ เป็นตัวผลักดันให้การค้าระหว่าง ประเทศในพื้นที่พรมแดนอ�ำเภอเชียงของมีความส�ำคัญมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีกรอบความ ร่วมมืออีกมากมายที่ให้สิทธิประโยชน์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี เจ้าพระยา - แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) แผนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle : IMT-GT) การเปิดเขตการค้า เสรีอาเซียน-จีน (ASEAN China Free Trade Agreement : ACFTA) ความริเริ่มแห่งอ่าว เบงกอลส�ำหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation : BIMSTEC) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations: ASEAN) และโครงการสีเ่ หลีย่ มเศรษฐกิจไทย-ลาว-จีน-พม่า (Economic Quadrangle Cooperation : QEC) ที่จะช่วยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจ การ ค้าและการลงทุนข้ามพรมแดน รวมถึงการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ซึง่ กิจการต่างๆทีไ่ ด้ลงทุนใน บริเวณอ�ำเภอเชียงของก็สามารถทีจ่ ะใช้สทิ ธิโยชน์จากกรอบความร่วมมือต่างๆได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ตามประกาศของคณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ 1/2558 และ 2/2558 ได้ประกาศให้จังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในจังหวัดเที่ได้รับการพัฒนาเป็นเขต


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 151

เศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งอ�ำเภอเชียงของได้เป็นหนึ่งในอ�ำเภอที่มีพื้นที่ติดชายแดน จึงได้รับสิทธิ ประโยชน์ส�ำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการลงทุน ตามประกาศของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนที่ 4/2558 วันที่ 18 ธ.ค. 2557 โดยแบ่งออกเป็น 2 กรณี 1. กรณีกิจการ ตามบัญชีประเภทของ BOI ได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลเพิม่ เติมจากหลักเกณฑ์ปกติ 3 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี หากเป็นกิจการในกลุ่ม A1 และ A2 จะได้รับการลดหน่อยภาษี เงินได้ร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี ในเวลา 10 ปี จะได้รับการหักค่าขนส่ง ไฟฟ้า และประปา 2 เท่า รวมถึงการหักค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 ของเงินลงทุน ตลอดจนยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร อากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ผลิตเพื่อการส่งออก อนุญาต ให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ และสิทธิประโยชน์อื่นๆ อาทิ การถือครองที่ดิน การน�ำช่าง ฝีมือต่างด้าวมาท�ำงาน เป็นต้น 2. กรณีกิจการเป้าหมาย ที่ตอนนี้ยังมีการก�ำหนดกิจการเป้า หมายเฉพาะ 5 พื้นที่แรกที่ได้รับการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเท่านั้น สิทธิประโยชน์ได้ รับจะต่างจากกรณีแรกตรงที่กิจการดังกล่าวจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงสุด 8 ปี และได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี (ส�ำนักงานคณะกรรมการส่ง เสริมการลงทุน, 2558) ฉะนั้น การขยายตัวอย่างมากของการค้าชายแดนและการส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภค ประโยชน์จากการได้รับสิทธิประโยชน์ภายใต้กรอบความร่วมมือและการได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนเป็นพิเศษจากการเป็นพื้นที่ที่จะได้รับการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ และนิคมอุตสาหกรรมชายแดน จึงเป็นปัจจัยบวกที่ดึงดูดให้บรรษัทข้ามชาติค้าปลีกขนาด ใหญ่อย่างห้างเทสโก้-โลตัสให้เข้ามาขยายกิจการห้างค้าปลีกไฮเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ใน พืน้ ทีช่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของ อย่างไรก็ตามแม้การเข้ามาของห้างค้าปลีกต่างชาติขนาดยักษ์ ได้ส่งผลกระทบเชิงบวก เช่น การเพิ่มการจ้างงาน การเพิ่มรายได้ให้กับรัฐบาลจากการช�ำระ ภาษี การยกระดับคุณภาพชีวติ ของผูค้ น แต่กส็ ง่ ผลกระทบเชิงลบต่อกลุม่ ผูป้ ระกอบการราย ย่อยที่ประกอบกิจการค้าปลีกและค้าส่งภายในพื้นที่


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 152

ผลกระทบจากบรรษัทค้าปลีกข้ามชาติ การวิเคราะห์ผลกระทบจากบรรษัทค้าปลีกข้ามชาติในอ�ำเภอเชียงของเป็นการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Descriptive Analysis) โดยใช้เครือ่ งมือการวิเคราะห์ 2 ด้าน ได้แก่ ด้าน แนวคิดเชิงสถาบัน และด้านผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนท�ำการสัมภาษณ์ ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งภายในอ�ำเภอเชียงของจ�ำนวน 6 กิจการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง 1 คน ระหว่าง วันที่ 24 - 26 เมษายน 2558 จากการเข้าไปสัมภาษณ์ร้านค้าส่งและร้านค้าปลีก ซึ่งเป็นร้านค้าแบบดั้งเดิมบน เส้นทางระหว่างวัดพระแก้วถึงท่าเรือบั๊คประมาณ 1.8 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่มีร้านขาย สินค้าอุปโภค-บริโภคทั้งค้าส่งและค้าปลีกอยู่ตลอดเส้นทางพบว่า กิจการค้าส่งส่วนมากได้ เปิดกิจการมามากกว่า 20 ปี เนื่องจากเป็นกิจการที่สืบทอดต่อกันมาของตระกูลตั้งแต่อดีต ส่วนกิจการค้าปลีกบ้างก็เปิดมามากกว่า 10 ปี บ้างก็พึ่งเปิดได้ไม่นานนัก แต่โดยรวมแล้ว กิจการค้าปลีกค้าส่งส่วนใหญ่ได้ถกู ด�ำเนินมาก่อนทีจ่ ะมีหา้ งเทสโก้-โลตัวมาเปิดกิจการแทบทัง้ นัน้ ซึง่ ผลกระทบของระหว่างร้านค้าปลีกและร้านค้าส่งมีความแตกต่างกันอยูม่ าก ผลกระทบ ของธุรกิจค้าส่งค้าปลีกในอ�ำเภอเชียงของสามารถแบ่งออกได้เป็นสามพืน้ ที่ คือ ร้านค้าบริเวณ ทีใ่ กล้กบั ท่าเรือบัค๊ 7 ร้านค้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างทางจาก 7-11 ไปยังท่าเรือบัค๊ และบริเวณใกล้กบั ร้าน สะดวกซือ้ 7-11 ห่างจากท่าเรือบัค๊ ประมาณเกือบ 2 กิโลเมตร ผูว้ จิ ยั ได้สอบถามเกีย่ วกับการ เปลี่ยนแปลงของการค้าในอดีตจนถึงปัจจุบันผลกระทบที่ได้รับและการปรับตัวของร้านค้า ผู้ประกอบกิจการร้านค้าส่งร้านหนึ่งที่อยู่บริเวณท่าเรือบั๊คเป็นกิจการร้านค้าส่ง ที่ด�ำเนินกิจการมาแล้วกว่า 30 ปี เป็นกิจการของตระกูลที่ลูกชายได้สืบทอดต่อมากล่าวว่า “การค้าในอดีตมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ลูกค้าขาจรที่เคยมีมาซื้อสินค้าในอดีตหาย ไปหมดเหลือลูกค้าขาประจ�ำที่เป็นชาวลาวที่ยังคงซื้อสินค้าอยู่เป็นประจ�ำ ผลกระทบที่ได้รับ จากห้างเทสโก้-โลตัสแค่ประมาณ 40% ของยอดขายที่ลดลง ทางร้านค้าก็มีการปรับตัวบ้าง เช่น การไปส่งของให้กับลูกค้าถึงที่” ส่วนผู้ประกอบการค้าปลีกที่อยู่ในบริเวณเดียวกันที่ได้ ด�ำเนินกิจการมา 2 ปี ก่อนที่โลตัสจะเข้ามาเปิดกล่าวว่า “สถานการณ์การค้าในร้านก็ปกติดี ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอะไรมาก และไม่ได้รับผลกระทบอะไรจากห้างเทสโก้-โลตัสที่มาเปิด ท่าเรือบั๊คเป็นท่าเรือที่ใช้ข้ามฝั่งไปยังสปป.ลาว ก่อนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จะถูกสร้าง ท่าเรือดัง กล่าวถือว่ามีความสำ�คัญอย่างมาก

7


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 153

เลย เนื่องจากลูกค้าประจ�ำของร้านเป็นชาวบ้านที่อยู่ในละแวกนี้เสียส่วนมาก” ร้านค้าปลีกส่วนใหญ่จะมีการกระจายตัวอยูต่ ลอดเส้นทางจาก 7-11 ไปยังท่าเรือบัค๊ ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก A ที่ดำ� เนินกิจการมาแล้วกว่า 30 ปี กล่าวว่า “ การค้าในปัจจุบัน ค่อนข้างเงียบอย่างมากผิดกับสมัยก่อน ทางร้านได้รับผลกระทบนิดหน่อยจากการที่ลูกค้า จ�ำนวนหนึง่ หันไปซือ้ สินค้าจากห้างเทสโก้-โลตัสแทน แต่กไ็ ม่ได้มกี ารปรับตัวอะไร เพราะขาย อย่างนี้มาตั้งนานแล้ว ยังคงมีลูกค้าเข้ามาเรื่อยๆ” ผูป้ ระกอบการร้านค้าปลีก B กล่าวว่า “การค้าเปลีย่ นแปลงไปเยอะมากจากอดีต นัก ท่องเที่ยวเงียบหายลงไปเยอะ ทางร้านได้รับผลกระทบจากทั้งห้างเทสโก้-โลตัส ร้านสะดวก ซื้อ 7-11 และสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ยอดขายลดลงเยอะ ขายของได้น้อยลง แต่ ก็พออยู่ได้” ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก C กล่าวว่า “บริเวณเชียงของปัจจุบันมีการค้าขาย น้อยลงเยอะ เปลี่ยนแปลงไปมาก ลูกค้าของทางร้านส่วนมากเป็นชาวบ้าน จึงไม่ได้รับ ผลกระทบอะไรมาก แต่ร้านค้าส่งจะได้รับผลกระทบเยอะกว่า ถ้าได้รับผลกระทบมากก็จะ เป็นผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา” ผู้ประกอบร้านค้าปลีก D กล่าวว่า “ลูกค้าที่เป็นขาจรอย่างนักท่องเที่ยวนานๆที่จะ เข้ามาซื้อสินค้า แต่ลูกค้าขาประจ�ำยังคงวนเวียนเข้ามาอยู่ต่อเนื่อง โดยสินค้าหลักที่ขายได้ คือสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น สบู่ ยาสีฟัน แชมพู ครีมอาบน�้ำ ทางร้านไม่ค่อยซื้อสินค้า ลดราคาจากห้างเทสโก้-โลตัสมาขาย เนื่องจากเป็นสินค้าที่ใกล้หมดอายุแล้วทั้งนั้น แต่จะรับ สินค้าจากร้านค้าส่งที่เข้ามาส่งสินค้าถึงที่ พร้อมมีบริการรับเปลี่ยน และตรวจเช็คสินค้าอยู่ เสมอ เป็นสิ่งที่ห้างเทสโก้-โลตัสไม่มี การปรับตัวก็ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรมาก โดยพยายาม ที่จะเลือกสินค้าที่ชาวเชียงของนิยมใช้มาจ�ำหน่ายในร้านเสียส่วนใหญ่” ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก E ได้ด�ำเนินกิจการมา 16 ปีแล้ว กล่าวว่า “ลูกค้าน้อย ลงเยอะ เงียบมาก เป็นเพราะเศรษฐกิจไม่ค่อยดี ส่วนตัวไม่ได้รับผลกระทบอะไรจากห้าง เทสโก้-โลตัส ได้ไปซือ้ ของบางอย่างจากห้างเทสโก้-โลตัสมาจ�ำหน่ายในร้านบ้าง แต่สว่ นใหญ่ก็ สัง่ ซือ้ จากร้านค้าส่ง เพราะสินค้าบางตัวโลตัสก็ไม่มจี ำ� หน่าย จ�ำนวนลูกค้ายังคงมีปริมาณเท่า เดิม แต่มีการซื้อในปริมาณที่น้อยลงกว่าเดิม” ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก F กล่าวว่า “ลูกค้าหายไปประมาณ 50% จากแต่ก่อน


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 154

แต่ไม่ได้มาจากผลกระทบของโลตัสที่เข้ามาเปิดแต่อย่างใด เพราะลูกค้าของทางร้านจะเป็น ชาวเขาที่อยู่บริเวณเชียงของเป็นส่วนใหญ่ชาวลาวบางส่วนที่เคยซื้อสินค้าหันไปน�ำรถเข้ามา ทางสะพานและขับเข้ามาซื้อสินค้าที่โลตัส” ถึงกระนั้น ผู้ประกอบการร้านค้าส่งที่อยู่ใกล้กับร้านสะดวกซื้อ 7-11 กล่าวว่า “ลูกค้าจ�ำนวนหนึง่ ทีป่ ระกอบการอาชีพทางราชการนิยมทีจ่ ะไปซือ้ สินค้าในห้างเทสโก้โลตัส เนื่องจากเป็นห้างที่มีเครื่องปรับอากาศและมีที่จอดรถ ส่วนลูกค้าประจ�ำที่เป็นชาวลาวยังคง สั่งซื้อสินค้าจากทางร้านอยู่เป็นประจ�ำ แต่มีการเปลี่ยนพฤติกรรมไปซื้อสินค้าจากห้างเทส โก้-โลตัสมากในช่วงที่มีการลดราคาอย่างหนัก โดยรวมแล้วจึงไม่ได้รับผลกระทบอะไรมาก นัก” เป็นที่น่าสังเกตว่าบริเวณที่ใกล้กับร้านสะดวกซื้อไม่พบร้านค้าปลีกเลยซักร้าน นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังเข้าไปสัมภาษณ์บุคคลที่ใกล้ชิดกับสมาคมและองค์กรท้องถิ่น ต่างๆภายในอ�ำเภอเชียงของ พบว่าในช่วงเทศกาล เช่น วันสงกรานต์ วันปีใหม่ และวันตรุษ จีน ผู้คนในเมืองเชียงของจะแห่กันเข้ามาจับจ่ายใช้สอยในเทสโก้โลตัสมากเป็นพิเศษ ส่งผล ให้บริเวณร้านค้าบริเวณตลาดสดไม่คึกคักเท่าที่ควร ต่างจากช่วงเทศกาลก่อนที่จะมีเทสโก้โลตัวเข้ามาเปิดกิจการ ทั้งนี้ บุคคลดังกล่าวยังให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเข้ามาเปิดเทสโก้-โลตัส ว่า ก่อนหน้าที่จะมีการเปิดเทสโก้-โลตัสเชียงของ ได้มีเสียงต่อต้านจากกลุ่มผู้ค้าขายอยู่บ้าง แต่ก็ไม่เป็นผล ซึ่งหลังจากเทสโก้-โลตัสได้ถูกเปิดกิจการอย่างเป็นทางการ ร้านค้าต่างๆก็ได้ รับความเดือดร้อนอย่างมาก ผลการวิเคราะห์ 1. การวิเคราะห์บริบทของการค้าปลีกในอ�ำเภอเชียงของ ผลลัพธ์ของการค้าปลีกตามงานของกาญจน์ชูฉัตร (2550) มีรากฐานมาจากความ หลากหลายของเงื่อนไขทางสถาบัน (institutional factors) ที่จะท�ำให้เกิดรูปแบบของ การค้าปลีกในท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่ ประกอบไปด้วย พฤติกรรมของห้างท้องถิ่น ความได้เปรียบของห้างท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ในท้องถิ่น และบริบทของเกม พบว่าร้านค้าปลีกค้าส่งในอ�ำเภอเชียงของมีพฤติกรรมแบบ ต่างคนต่างแข่งขัน และมีการเข้าสู่ตลาดก่อน (first mover) มามากกว่า 10 ปีแล้ว


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 155

ฉะนั้น การเข้ามาของบรรษัทข้ามชาติรายเดียวยังไม่สามารถผลักให้ร้านค้าปลีก ค้าส่งในอ�ำเภอเชียงของปิดกิจการหรือย้ายไปตลาดอื่น ความได้เปรียบของร้านค้าท้องถิ่น ในอ�ำเภอเชียงของคือ การมีสายสัมพันธ์ทางการค้ามายาวนาน ท�ำให้พฤติกรรมของลูกค้า ประจ�ำอย่างชาวลาวที่มีการสั่งซื้อสินค้าจากร้านค้าส่งมาตั้งแต่อดีต ไม่ได้เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการซื้อสินค้าไปมากนัก ท�ำให้ร้านค้าในอ�ำเภอเชียงของยังคงแข่งขันได้ ซึ่งความ สัมพันธ์ในท้องถิ่นของร้านค้ากับภาครัฐหรือภาคเอกชนอาจจะมีอยู่ เนื่องจากร้านค้าปลีก ค้าส่งส่วนมากเป็นร้านค้าเก่าแก่ทดี่ ำ� เนินกิจการมายาวนาน ไม่ได้ใช้ความสัมพันธ์ทมี่ ใิ ช่ตลาด เพื่อเรียกร้องขอความเป็นธรรม แต่ก็มีเสียงคัดค้านอยู่บ้างจากกลุ่มผู้ค้าแต่ไม่ได้เกิดเป็นกระ แสต่อต้านอย่างอ�ำเภอแม่สาย และบริบทของเกมในอ�ำเภอเชียงของเป็นการแข่งขันแบบเสรี เนือ่ งจากอ�ำเภอเชียงของเป็นพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนทีค่ อ่ นข้างถูกสนับสนุนให้เกิด การลงทุน จึงได้รบั ความเห็นชอบจากทัง้ ทางภาครัฐ และภาคเอกชนในการเข้ามาขยายกิจการ ของห้างเทสโก้-โลตัส ฉะนั้นลักษณะของผลลัพธ์การค้าปลีกในอ�ำเภอเชียงของใกล้เคียงกับ ลักษณะแบบท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์ ตารางที่ 2 ผลลัพธ์การค้าปลีกจากการวิเคราะห์โดยใช้เครือ่ งมือเชิงสถาบัน ปัจจัยเชิงสถาบัน 1. พฤติกรรมของห้างท้องถิ่น 2. ความได้เปรียบของห้างท้องถิ่น 3. ความสัมพันธ์ในท้องถิ่น 4. บริบทของเกม

ธุรกิจค้าปลีก

ธุรกิจค้าส่ง

เข้าสู่ตลาดก่อน

เข้าสู่ตลาดก่อน

สายสัมพันธ์อันยาวนาน

สายสัมพันธ์อันยาวนาน

ไม่แน่ชัด

ไม่แน่ชัด

แข่งขันแบบเสรี

แข่งขันแบบเสรี

2. ปัจจัยที่มีผลกระทบเชิงเศรษฐสังคมจากการขยายตัวของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ จากการเข้าไปลงพื้นที่ส�ำรวจพร้อมกับสัมภาษณ์ร้านค้าปลีกค้าส่งที่อยู่บริเวณตัว เมืองอ�ำเภอเชียงของพบว่า ร้านค้าปลีกส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยได้รบั ผลกระทบจากห้างเทสโก้โลตัส เนื่องจากสินค้าที่จ�ำหน่ายในร้านเป็นสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และคัดเฉพาะสินค้าที่เป็น ที่นิยมในพื้นที่เท่านั้น ท�ำให้สินค้ามีการหมุนเวียนเข้าออกอยู่ตลอดเวลา แต่ผลกระทบที่ร้าน ค้าปลีกได้รับกับเป็นการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 กับภาวะเศรษฐกิจที่ย�่ำแย่


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 156

มากกว่า ท�ำให้ผู้บริโภคขาจรที่เป็นนักท่องเที่ยวหายไปเป็นจ�ำนวนมากเป็นผลกระทบแบบ ลูกโซ่ตอ่ การลดลงของรายได้ของธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว ส่งผลให้ผบู้ ริโภคในพืน้ ที่ มีการซือ้ สินค้าทีล่ ดปริมาณน้อยลงกว่าเดิม ในด้านของการค้าส่งพบว่าร้านค้าส่งทีอ่ ยูใ่ กล้รา้ น สะดวกซือ้ 7-11 ไม่ได้รบั ผลกระทบจากห้างเทสโก้-โลตัสมาก มีการลดลงของจ�ำนวนลูกค้าชาว ลาวเพียงเล็กน้อย ในช่วงทีห่ า้ งเทสโก้-โลตัสมีการมหกรรมลดราคาสินค้าแค่เท่านัน้ นอกเหนือ จากนั้น ลูกค้าชาวลาวยังคงมาเข้ามาสั่งซื้อสินค้ากับทางร้านเหมือนเดิม แต่ลูกค้าที่ประกอบ อาชีพเกีย่ วกับทางราชการได้มกี ารเปลีย่ นพฤติกรรมไปใช้บริการห้างเทสโก้โลตัสอย่างชัดเจน เป็นเพราะผูบ้ รโภคเหล่านีม้ รี ถส่วนตัวใช้เกือบหมดทุกครัวเรือน ซึง่ ห้างเทสโก้โลตัสมีทจี่ อดรถ ทีส่ ะดวกสบายต่อการน�ำรถส่วนตัวไปใช้บริการมากกว่า โดยลูกค้าชาวลาวก็มแี นวโน้มทีจ่ ะน�ำ รถส่วนตัวข้ามจากฝัง่ เมืองห้วยทรายผ่านมาทางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 เพือ่ เข้ามา ซือ้ สินค้าทีห่ า้ งเทสโก้-โลตัสเหมือนกัน ส่วนร้านค้าส่งทีอ่ ยูใ่ กล้กบั ท่าเรือบัค๊ ได้รบั ผลกระทบที่ รุนแรงกว่าร้านค้าส่งทีอ่ ยูใ่ กล้ 7-11 พบว่าจ�ำนวนลูกค้า และยอดขายลดลงอย่างมาก ทางร้าน ได้มกี ารปรับตัวโดยการจัดส่งสินค้าถึงที่ ซึง่ เป็นบริการทีห่ า้ งเทสโก้-โลตัสไม่มใี ห้สามารถสรุป เป็นผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมได้ตามตารางที่ 3 ดังนี้ ตารางที่ 3 ผลกระทบทางเศรษฐสังคมการขยายตัวของการค้าปลีก ปัจจัยที่ส่ง ผลกระทบ

รายได้จากคน ท้องถิ่น

ธุรกิจค้าปลีก

ธุรกิจค้าส่ง

คนท้องถิ่นส่วนมากเป็นลูกค้าขาประจ�ำที่ เน้นความสะดวกในการเดินทางในการไป ซื้อของ จึงยังเลือกที่จะซื้อสินค้าแถวพื้นที่ ที่ตนเองอาศัย จึงไม่ได้สูญเสียรายได้จาก ลูกค้ากลุ่มนี้ (+)

ลูกค้าที่เป็นคนท้องถิ่นที่ชอบซื้อสินค้าใน ปริมาณมากจากร้านค้าส่งคือ ลูกค้าที่ เป็นข้าราชการ ซึ่งจากการสัมภาษณ์พบ ว่า ลูกค้าราชการส่วนหนึ่งได้หันไปจับจ่าย ซื้อสินค้าในห้างเทสโก้-โลตัสบ้าง แต่ก็ยัง ซื้อสินค้ากับร้านค้าอยู่ (0)


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 157

ปัจจัยที่ส่ง ผลกระทบ

ธุรกิจค้าปลีก

ธุรกิจค้าส่ง

ร้านค้าปลีกไม่ค่อยมีลูกค้าเป็นชาวลาว รายได้จากชาว แต่จะเป็นลูกค้าที่เป็นคนท้องถิ่น ทั้งชาว ลาว ไทยและชาวเขา จึงไม่ได้รับผลกระทบ (0)

ชาวลาวส่วนใหญ่ยังคงใช้บริการกับร้าน ค้าส่งท้องถิ่น เนื่องจากมีการค้าขายกัน มายาวนานมากกว่า 20 ปี รวมถึงการ ที่ร้านค้าส่งมีบริการส่งสินค้าถึงที่ แต่ กระนั้นชาวลาวจ�ำนวนหนึ่งก็หันไปซื้อ สินค้าจากห้างไฮเปอร์มาร์เก็ตในช่วงลด ราคา และการมีสะพานมิตรภาพแห่งที่ 4 อ�ำนวยความสะดวกให้ชาวลาวสามารถ ขับรถข้ามฝั่งมาซื้อสินค้าได้ง่ายขึ้น (-)

การเข้า/ออก ธุรกิจ

จากการสอบถามยังไม่พบว่ามีร้านค้าส่ง ที่ปิดกิจการ (0)

จากการสอบถามยังไม่พบว่ามีร้านค้า ปลีกที่ปิดกิจการ (0)

ด้านราคา

ราคาสินค้าของห้างค้าปลีกจะถูกกว่าร้าน ราคาสินค้าของห้างค้าปลีกจะถูกกว่าร้าน ค้าปลีกในช่วงของการลดราคา (-) ค้าส่งในช่วงของการลดราคา (-)

ด้าน ผลิตภัณฑ์

สินค้าของห้างค้าปลีกมีความหลาก หลายกว่าแต่ร้านค้าท้องถิ่นขายสินค้าที่ เป็นที่นิยมส�ำหรับลูกค้าประจ�ำ (-)

สินค้าของห้างค้าปลีกมีความหลากหลาย กว่าแต่ร้านค้าท้องถิ่นขายสินค้าที่เป็นที่ นิยมส�ำหรับลูกค้าประจ�ำ (-)

ด้านสถานที่

ในด้านสถานที่ ร้านค้าปลีกไม่มีที่จอดรถ ท�ำให้บางครั้งเกิดรถติดบริเวณร้านค้า บ้าง เนื่องจากบริเวณตัวเมืองเชียงของ ถนนค่อนข้างคับแคบ หากแต่ห้างไฮเปอร์ มาร์เก็ตมีพื้นที่จอดรถขนาดใหญ่ จึง สะดวกแก่ลูกค้าที่มีรถยนต์มากกว่า (-)

ในด้านสถานที่ ร้านค้าส่งไม่มีที่จอดรถ แต่ร้านค้าส่งรับส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าชาว ลาวที่เป็นขาประจ�ำถึงท่าเรือ จึงท�ำให้ไม่ เป็นปัญหาส�ำหรับร่านค้าปลีกในด้าน นี้ (-)

ด้านการส่ง เสริมการขาย

ร้านค้าปลีกไม่ได้มีการส่งเสริมการขาย อะไรเป็นพิเศษ จ�ำหน่ายสินค้าตามปกติ ไม่มีการโฆษณา (-)

ร้านค้าส่งไม่ได้มีการส่งเสริมการขายอะไร เป็นพิเศษ จ�ำหน่ายสินค้าตามปกติ ไม่มี การโฆษณา (-)

พฤติกรรมผู้ บริโภค

ลูกค้าที่เป็นขาประจ�ำยังคงใช้บริการกับ ร้านค้าปลีกอยู่ ไม่วา่ จะเป็นชาวไทยหรือชาว เขา เนือ่ งจากอยูใ่ กล้กบ ั ทีพ ่ ก ั อาศัย แต่บาง กลุม ่ ก็มก ี ารเข้าไปซือ้ สินค้าในเทสโก-โลตัส บ้าง เพื่อใช้บริการอื่นๆ เช่น รับประทาน อาหาร ช�ำระค่าบริการโทรศัพท์ (0)

ลูกค้าชาวลาวบางกลุ่มที่มีรถยนต์ส่วนตัว ขับผ่านเข้ามาทางสะพานมิตรภาพแห่งที่ 4 มาซื้อสินค้าจากโลตัสบ้าง แต่ลูกค้าขา ประจ�ำชาวลาวทีม ่ ก ี ารค้าขายกันมานานยัง คงใช้บริการจากร้านค้าส่งอยู่ (0)

(+) ปัจจัยส่งผลกระทบเชิงบวก (-) ปัจจัยส่งผลกระทบเชิงลบ (0) ปัจจัยไม่ส่งผลกระทบ


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 158

บทสรุปและข้อเสนอแนะทางนโยบาย บรรษั ท ข้ า มชาติ ค ้ า ปลี ก มี ก ารขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว มากในพื้ น ที่ ต ่ า งจั ง หวั ด โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องด้วยพื้นที่ชายแดน เป็นพื้นที่ที่มีโอกาสในการเติบโตอย่างรวดเร็ว สังเกตได้จากตัวเลขการค้าชายแดนเกือบ ทุกด่านมีอัตราการการขยายตัวทางการค้าที่สูงมาก ประกอบกับจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่ม ขึน้ ในทุกปี ท�ำให้พนื้ ทีช่ ายแดนเป็นพืน้ ทีท่ เี่ ปรียบเสมือนแม่เหล็กขนาดใหญ่ทดี่ งึ ดูดเงินลงทุน จ�ำนวนมหาศาลจากกลุ่มนักลงทุนจากนานาประเทศ เป็นผลต่อเนื่องให้เกิดการพัฒนาทาง เศรษฐกิจของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งนี้ รัฐบาลในหลายยุคได้ พยายามทีจ่ ะสนับสนุนให้เปิดการค้าการลงทุนอย่างเสรี และไม่ได้มกี ารใช้บทกฎหมายในการ ควบคุมการขยายตัวของห้างค้าปลีกข้ามชาติอย่างแท้จริง จึงท�ำให้เกิดกระแสต่อต้านบรรษัท ข้ามชาติอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ซึง่ เป็นปัญหาทีย่ งั ไม่ได้รบั การแก้ไขมาจนถึงทุกวันนี้ ฉะนัน้ การ เข้าไปของบรรษัทข้ามชาติ หรือ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไปในพื้นที่ชายแดนไม่ได้ ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมโดยรวม (society as a whole) เสมอไป หลังจากปี 2540 การขยายการลงทุนของบรรษัทข้ามชาติค้าปลีกมีลักษณะที่ พยายามกระจายตัวออกไปยังท้องถิ่น ซึ่งท�ำให้หัวเมืองตามต่างจังหวัดที่มีศักยภาพทางด้าน ค้าปลีกมีสาขาของห้างค้าปลีกข้ามชาติเกือบในทุกพืน้ ที่ รวมถึงจังหวัดเชียงรายทีเ่ ป็นเมืองติด ชายแดน และมีศักยภาพสูงมากในด้านการค้าระหว่างประเทศ ณ ตอนนี้ ห้างค้าปลีกข้ามชา ติเทสโก้-โลตัสได้เข้ามาไปเปิดห้างไฮเปอร์มาร์เก็ตทีอ่ ำ� เภอแม่สาย และอ�ำเภอเชียงของเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว โดยมีเป้าประสงค์ทจี่ ะมาแสวงหาตลาดขนาดใหญ่จากทัง้ ผูบ้ ริโภคภายในพืน้ ที่ และผู้บริโภคจากประเทศเพื่อนบ้าน ท�ำให้ตลาดการค้าปลีกบริเวณชายแดนเป็นตลาดที่มี ขนาดค่อนข้างใหญ่กว่าพืน้ ทีท่ วั่ ไป แต่การขยายสาขาเข้าไปในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอชายแดนได้สง่ ผลให้ ร้านค้าปลีกค้าส่งรายย่อยปิดกิจการเป็นจ�ำนวนมากไม่ตา่ งจากทีพ่ นื้ ทีห่ า่ งชายแดน เนือ่ งจาก ไม่สามารถทีจ่ ะสูห้ า้ งค้าปลีกข้ามชาติในด้านทุน เทคโนโลยี และการบริหารจัดการทีเ่ หนือกว่า จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการศึกษาผลกระทบจากการขยายตัวของห้างค้าปลีกต่อผลกระทบทาง เศรษฐกิจและสังคมในอ�ำเภอเชียงของ แม้ว่าตอนนี้ ผลกระทบจากห้างเทสโก้-โลตัสจะยังไม่มากนัก แต่อีกไม่นานสมรภูมิ ชายแดนอ�ำเภอเชียงของจะกลายเป็นที่จับจองของกลุ่มห้างค้าปลีกขนาดยักษ์ ซึ่งผู้ให้


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 159

สัมภาษณ์คนหนึ่งกล่าวว่าห้างไฮเปอร์มาร์เก็ต Big C ก�ำลังจะเข้ามาขยายสาขาเหมือนกัน ท�ำให้ร้านค้าปลีกค้าส่งดั้งเดิมจะต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น จนอาจท�ำให้ร้าน ค้าเหล่านี้ต้องออกจากตลาดไปก็เป็นได้ เนื่องจาก อ�ำเภอเชียงของเป็นอ�ำเภอชายแดนที่ อยู่ในแผนการพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ท�ำให้ไม่สามารถที่จะน�ำกฎหมาย ทั่วไปที่ร้านค้าปลีกค้าส่งมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อรองได้ ฉะนั้น ร้านค้าปลีกค้าส่งจะ ต้องมีการปรับตัวอย่างหนักเพื่อให้สามารถรักษากิจการของตนเองไว้ได้ และให้สอดคล้อง กับการค้าเสรีในรูปแบบเต็มตัวในอนาคตอันใกล้น้ี โดยใช้รูปแบบของท้องถิ่นนิยมแบบ แข่งขัน ผนวกกับกลยุทธ์ท้องถิ่นในการเปลี่ยนวัฒนธรรมให้เป็นทุน คือ การที่ใช้ร้านค้าปลีก ค้าส่งอาศัยสายสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนในพื้นที่ กับชาวลาวฝั่งห้วยทรายที่ได้ท�ำการค้ากันมา ตั้งแต่อดีตมาใช้เป็นเครื่องมือในการแข่งขันกับห้างค้าปลีก ซึ่งร้านค้าปลีกค้าส่งสามารถที่ จะรับรู้ถึงความต้องการสินค้าของผู้บริโภคในตลาดชายแดนได้ดีกว่า ทั้งนี้กลยุทธ์ดังกล่าว ต้องพึ่งพาความร่วมมือจากหลายกลุ่มด้วยกัน ประกอบไปด้วย ร้านค้าท้องถิ่น รัฐท้องถิ่น ซัพพลายเออร์ และหอการค้า ที่จะช่วยกันประสานงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของ กลุ่มร้านค้าปลีกค้าส่งดั้งเดิม และเพิ่มระบบคุณค่าทางวัฒนธรรมให้แก่ร้านค้าท้องถิ่น บรรณานุกรม เมฆแสงสวย. (2556). ประเด็นทางด้านภูมิศาสตร์การค้าปลีกกับการค้าปลีกของไทย. กรุงเทพฯ. ชัยพงษ์ ส�ำเนียง. (19 กรกฎาคม 2556). How to... เปลี่ยนเมืองเชียงของให้เป็นเมือง เศรษฐกิจชายแดนของไทย? เรียกใช้เมื่อ 16 เมษายน 2558 จาก http://www. siamintelligence.com/transform-trade-border-city-in-chiang-rai/ ชินภัทร์ ไชยมล. (1 พฤษภาคม 2558). หนึ่งเมือง สองแบบ เสียงท้องถิ่นห่วงใยเชียงของ. เรียกใช้เมื่อ 14 พฤษภาคม 2558 จาก http://bit.ly/1DGAT5m นิพนธ์ พวพงศกร และคณะ. (2545). การค้าปลีกของไทย: ผลกระทบของการแข่งขันของผู้ ประกอบการค้าปลีกขนาดใหญ่จากต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการ


In focus: ภาคค้าปลีกค้าส่ง หน้า 160

พัฒนาประเทศไทย. ปกรณ์ เมฆแสงสวย. (2555). ประเด็นทางด้านภูมิศาสตร์การค้าปลีกกับพัฒนาการด้าน การค้าปลีกของไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์. (11 มิถุนายน 2553). ศึกค้าปลีกเชียงราย ก�ำลังประทุ เมื่อCPNเปิดแนวรบชิงก�ำลังซื้อไทย - ตปท. เรียกใช้เมื่อ 17 เมษายน 2558 จาก http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000080752 วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร. (2550). สองนคราการค้าปลีกไทย: บทบาทของสถาบันและพลวัต บรรษัทค้าปลีกข้ามชาติ. วารศาสตร์เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท. ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2558). นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ. เข้าถึงได้จาก http://www.boi.go.th/index. php?page=pdf_page&menu_id=365


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 161

การปรับตัวสู่ทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ วใน อ�ำเภอเชียงแสน เพือ่ เตรียมความพร้อมสู่การเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษและประชาคมอาเซียน ปริยัติ ทรัพย์สุริยะ สิทธิชาติ สมตา บทคัดย่อ เชียงแสนเมืองแห่งประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ของจังหวัดเชียงราย และมนต์เสน่ห์ของ เมืองแห่งนี้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศ และต่างประเทศจ�ำนวนมาก อย่างไร ก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางยุทธศาสตร์การพัฒนาของเมือง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของ อ�ำเภอเชียงแสนจ�ำเป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อให้มีความสอดคล้องไปตามยุทธศาสตร์การ พัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวไปพร้อมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและการส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษและประชาคมอาเซียน บทน�ำ เมืองอนุรักษ์ที่มีโบราณสถานอยู่รอบเมือง และเป็นเมืองท่าที่ชาวเมืองใช้ชีวิต อย่างสงบมีวิถีชีวิตเรียบง่ายริมแม่น�้ำโขง เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองมรดกของชาติและเมือง ที่มีนักท่องเที่ยวแวะเวียนเข้ามาสัมผัสบรรยากาศความเป็นเมืองโบราณอย่างไม่ขาดสาย เมืองนัน้ คือ “เมืองเชียงแสน” ซึง่ เป็นอ�ำเภอทีข่ นึ้ ชือ่ ว่าเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ โดยมีโบราณสถานเก่าแก่ตั้งอยู่ทั้งเขตในเมืองและนอกเมืองมากกว่า 20 แห่ง เชียงแสนยังมี ทะเลสาบเชียงแสนที่เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติโดยนักท่องเที่ยวสามารถศึกษาดูนกต่างๆได้ มากสุดถึง 79 ชนิด ซึ่งนักท่องเที่ยวได้แวะเวียนเข้ามาศึกษาดูนกตามแต่ละช่วงฤดูกาลที่นัก ท่องเทีย่ วสนใจหรือพักผ่อน แต่ทเี่ ป็นจุดสนใจของเหล่านักท่องเทีย่ วและนักลงทุนจากต่างถิน่ คือ ดินแดนสามเหลี่ยมทองค�ำที่เป็นรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย (จังหวัด เชียงราย) สปป.ลาว (แขวงบ่อแก้ว) และสหภาพเมียนมาร์ (แขวงท่าขี้เหล็ก, รัฐฉาน) โดยมี


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 162

แม่นำ�้ โขงตัดผ่านเป็นเส้นแบ่งเขตชายแดน ซึง่ ในอดีตพืน้ ทีต่ รงนีเ้ ป็นพืน้ ทีท่ ใี่ ช้ปลูกฝิน่ และเป็น แหล่งผลิตยาเสพติดขนาดใหญ่ แต่ในปัจจุบนั ได้ถกู ท�ำลายไปหมดแล้วและสร้างพิพธิ ภัณฑ์ฝน่ิ ขึ้นมาแทนเพื่อให้ผู้คนได้มาศึกษาความเป็นมาในอดีต ท�ำให้เชียงแสนเป็นเมืองที่มีความน่า สนใจเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติจำ� นวนมาก รูปที่ 1 ภาพบริเวณ สามเหลี่ยมทองค�ำ

รูปที่ 2 ภาพบริเวณทะเลสาบเชียงแสน1

1

ถ่ายโดย นายกิตติสัณห์ กฤตยาเจริญพงศ์, 2558


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 163

รูปที่ 3 ภาพแผนผังอ�ำเภอเมืองเชียงแสน

พื้นที่บริเวณเมืองเชียงแสนนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมอย่างมาก ตั้งแต่มีการประกาศความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน – จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement : ACFTA) ซึ่งเมืองเชียงแสนเป็นประตูการ ค้าและการส่งออกของประเทศ ในขณะเดียวกันก็มีกลุ่มนายทุนขนาดใหญ่จากประเทศ จีนที่ได้เข้าไปลงทุนในเมืองต้นผึ้ง สปป.ลาว ที่มีสัญญาในการให้สัมปทานจากรัฐบาลลาว ถึง 99 ปี ในชื่อโครงการ “Kings Romans of Laos Asian Economic & Tourism Development Zone” ซึ่งโครงการนี้ได้ตั้งบนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองค�ำ ตรงข้ามบ้านสบรวก ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน ส่งผลให้การขนส่งผ่านท่าเรือที่เชียงแสน มีจ�ำนวนมากขึ้น ปัจจุบันมีการจัดตั้งให้อำ� เภอเชียงแสนเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยคาดหวัง ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจอย่างเต็มตัว อย่างไรก็ตามอาจส่งผลต่อภาคการท่องเที่ยวและจ�ำนวน นักท่องเที่ยวลดลงเช่นกัน หากเทียบกับในอดีตเชียงแสนเป็นเมืองที่มีการพัฒนาพร้อมกัน 2 นโยบายคือ การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวและการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ท�ำให้ทิศทางการ เติบโตของอ�ำเภอเชียงแสนไม่ไปในทิศทางเดียวกัน ทัง้ นี้ ภาคประชาชนต้องการให้การพัฒนา ด้านการท่องเที่ยวและด้านเศรษฐกิจไปในทิศทางเดียวกัน


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 164

รูปที่ 4 ภาพท่าเรือบริเวณหน้าที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเชียงแสน

รูปที่ 5 แผนที่อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

ที่มา: http://www.chiangraifocus.com

จากนั้น ประเทศไทยได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Sub-Region: GMS) ซึ่งจะช่วยผลักดันให้การท่อง


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 165

เที่ยวของประเทศสมาชิกพัฒนาไปพร้อมกัน โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank) เป็นผู้สนับสนุนหลัก โดยโครงการที่จะสนับสนุนการท่องเที่ยว ได้แก่ ความ ตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS Cross border Transport Agreement) และโครงการจัดท�ำแผนการตลาดท่องเที่ยว Six countries ในปี 2536 ซึ่ง ประสานงานโดย Agency for Coordinating Mekong Tourism Activities (AMTA) โดย ส�ำนักงานถูกตั้งอยู่ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ระหว่างประเทศในรูปแบบของ Package Tour และผลักดันให้เกิด GMS Visa เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้นักท่องเที่ยวจากนอกอนุภูมิภาค ฉะนั้น ทางอ�ำเภอเชียงแสนจะต้องเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เพื่อพัฒนาให้เป็นเมืองหน้าด่านที่ส�ำคัญในทั้งด้านการค้า การ บริการ และการท่องเที่ยว พร้อมทั้งกระตุ้นให้ภาคเอกชนตื่นตัวกับปัจจัยภายนอกที่จะส่ง ผลกระทบไม่ว่าจะเป็นทางลบหรือทางบวกและพร้อมที่จะปรับตัวให้เท่าทัน และลดความ เสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจ ประเด็นที่ 1: การเตรียมความพร้อมด้านการประปาของเชียงแสน 1) ระบบประปา : การเติบโตของอ�ำเภอเชียงแสนมีการขยายตัวไปตามเส้นทางหลวง จังหวัดหมายเลข 1290 และการผลิตน�้ำประปาตั้งอยู่บริเวณเทศบาลต�ำบลเวียงเชียงแสน ซึ่งมีระบบประปาและพื้นที่จ�ำหน่ายน�้ำอยู่แล้ว แต่จากการเติบโตของเมืองส่งผลให้มีความ ต้องการน�้ำมากขึ้น จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องเพิ่มก�ำลังผลิตเพื่อขยายพื้นที่ให้บริการไปทางทิศ เหนือจนถึงสามเหลี่ยมทองค�ำ ซึ่งอยู่บริเวณในเขต อบต.เวียง และพื้นที่บริเวณใกล้เคียง ผล การส�ำรวจก�ำลังการผลิตที่ต้องการของทั้ง 2 พื้นที่ แสดงให้เห็นว่า ต้องเพิ่มก�ำลังการผลิต อีก 50 ลบ.ม./ชม. ภายในปี 2546 ซึ่งจะสามารถให้บริการน�ำ้ ประปาได้ถึงปี 2553 แล้วต้อง ขยายก�ำลังการผลิตอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งทางการประปาส่วนภูมิภาคยังไม่มีงบประมาณ ในส่วนนี้ ส่วนน�ำ้ ดิบควรจะเปลีย่ นแปลงจากบ่อบาดาลมาเป็นน�ำ้ ผิวดิน ซึง่ แหล่งน�ำ้ ทีม่ ศี กั ยภาพในเขต พื้นที่ได้แก่ แม่น�้ำโขง ปัจจุบันได้เปลี่ยนมาสูบน�ำ้ จากแม่น�้ำโขงมาใช้แล้วอย่างเป็นทางการ 2) การจัดการน�้ำเสีย: ส�ำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (2556) ได้ศึกษาทบทวนและสรุปผลการศึกษาจากโครงการศึกษาเพื่อจัดท�ำแผนปฏิบัติและ


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 166

จัดล�ำดับ ความส�ำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม จังหวัดเชียงราย เมื่อปี 2538 และจากการศึกษาวางแผนหลักโครงการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเมืองชายแดน กลุม่ พืน้ ที่ 1 สุขาภิบาลเวียงเชียงแสนปี 2541 สรุปได้ดังนี้ - ปริมาณน�ำ้ เสียที่เกิดขึ้นในปี 2558 ประมาณ 1,255 ลบ.ม./วัน - ท่อรวบรวมน�ำ้ เสียวางในเขตเทศบาล เป็นระยะทางยาวทั้งหมดประมาณ 2,600 เมตร - มีท่อดักน�ำ้ เสีย 5 แห่ง และมีสถานีสูบน�ำ้ เสีย 1 แห่ง - ก่อสร้างระบบระบายน�้ำรวมเพิ่มเติม ครอบคลุมพื้นที่ระบายน�้ำเสีย 2 ตร.กม. - ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเป็นแบบบ่อผึ่ง (Facultative Pond) - ต้องการพื้นที่ก่อสร้างระบบบ�ำบัดประมาณ 7 ไร่ ตารางที่ 1 การทบทวนการพยากรณ์ผู้ใช้น�้ำ อัตราการใช้น�้ำ และปริมาณการผลิตน�้ำประปา ส�ำหรับการประปาเวียงเชียงแสน ปี 2544 - 2563 ปี พ.ศ.

ผู้ใช้น�้ำ ทต. เวียง เชียงแสน ประ ชา กร

% บริ การ

ผู้ ใช้ น�้ำ

ผู้ใช้น�้ำนอกเขต ทต. อบต. เวียง

% บริ การ

ผู้ ใช้ น�้ำ รวม

รวม ผู้ ใช้ น�ำ้ ทั้ง หมด

อัตรา การ ใช้ น�ำ้ (lp cd)

ปริมาณน�้ำเฉลี่ย (ลบ.ม. / วัน) ความ ต้อง การ

%

รวม

สูญ เสีย

ปริมาณ น�ำ้ สูง สุด ราย วัน*

ปริมาณ น�ำ้ ที่ ต้อง ผลิต (ลบ.ม./ ชม.)**

2544

5,058

70

3,541

8,078

0

0

3,541

150

531

30

759

1,138

-

2545

5,109

72

3,678

8,082

0

0

3,678

152

559

28

777

1,165

-

2546

5,160

74

3,818

8,086

20

1,617

5,435

154

837

26

1,131

1,697

11

2547

5,212

76

3,961

8,090

22

1,780

5,741

156

896

24

1,178

1,768

14

2548

5,265

78

4,107

8,094

24

1,943

6,049

158

956

22

1,225

1,838

17

2549

5,317

80

4,254

8,098

26

2,105

6,359

160

1,017

20

1,272

1,908

19

2550

5,371

82

4,404

8,102

28

2,269

6,673

162

1,081

21

1,368

2,053

26

2551

5,425

84

4,557

8,106

30

2,432

6,989

164

1,146

22

1,469

2,204

32

2552

5,479

86

4,712

8,110

32

2,595

7,307

166

1,213

23

1,575

2,363

38

2553

5,535

88

4,871

8,115

34

2,759

7,630

168

1,282

24

1,687

2,530

45

2554

5,590

90

5,031

8,119

36

2,923

7,954

170

1,352

25

1,803

2,704

53

2555

5,646

92

5,194

8,123

38

3,087

8,281

172

1,424

26

1,925

2,887

60

2556 5,703

94

5,361

8,127

40

3,251

8,612

174

1,498

27

2,053

3,079

68


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 167

ปี พ.ศ.

ผู้ใช้น�้ำ ทต. เวียง เชียงแสน ประ ชา กร

2557 5,760 2258

ผู้ใช้น�้ำนอกเขต ทต.

% บริ การ

ผู้ ใช้ น�้ำ

อบต. เวียง

% บริ การ

ผู้ ใช้ น�้ำ รวม

95

5,472

8,131

42

3,415

รวม ผู้ ใช้ น�ำ้ ทั้ง หมด

อัตรา การ ใช้ น�ำ้ (lp cd)

8,887

176

ปริมาณน�้ำเฉลี่ย (ลบ.ม. / วัน) ความ ต้อง การ

%

รวม

ปริมาณ น�ำ้ สูง สุด ราย วัน*

ปริมาณ น�ำ้ ที่ ต้อง ผลิต (ลบ.ม./ ชม.)**

3,259

76

สูญ เสีย

1,564

28

2,172

5,818

95

5,527

8,135

44

3,579

9,107

178

1,621

29

2,283

3,425

83

2559 5,877

95

5,583

8,139

46

3,744

9,327

180

1,679

30

2,398

3,598

90

2560 5,936

95

5,639

8,143

48

3,909

9,548

180

1,719

30

2,455

3,683

93

5,995

95

5,695

8,147

50

4,074

9,769

180

1,758

30

2,512

3,768

97

2562 6,056

2561

95

5,753

8,151

52

4,239

9,992

180

1,799

30

2,569

3,854

101

2563

95

5,811

8,155

54

4,404

10,215

180

1,839

30

2,627

3,940

104

6,117

หมายเหตุ

* = 1.5 x ปริมาณน�ำ้ เฉลี่ย ** = (ปริมาณน�ำ้ สูงสุดรายวัน-ก�ำลังการผลิตปัจจุบัน )/24 ก�ำลังการผลิตปัจจุบัน = 1,440 ลบ.ม./วัน

ที่มา : โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัด เชียงราย

จากข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นพบว่า ทางเทศบาลต�ำบลเวียงเชียงแสนยังไม่มีที่ดิน ส�ำหรับเป็นสถานที่ตั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแต่อย่างใด ในการศึกษาจึงก�ำหนดให้ระบบบ�ำบัด น�้ำเสียตั้งอยู่บริเวณถนนสาย 1 ด้านใต้ของเทศบาลฯ หลังจากที่เจ้าหน้าที่ได้ออกภาคสนาม เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติมพบว่า ทางเทศบาลได้จัดหาที่ดินไว้บริเวณที่ทิ้งมูลฝอยปัจจุบัน ซึ่งจะ ต้องประสานกับ อบต.เวียง เพื่อขอใช้ที่ดินแห่งนี้และทางสุขาภิบาล (ในขณะนั้น) ได้รับงบ ประมาณจากกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ประมาณ 2 ล้านบาท เพื่อ ท�ำการศึกษาความเหมาะสมระบบรวบรวมและบ�ำบัดน�ำ้ เสียเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในขั้นตอน ต่อไป ระบบรวบรวมและบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีเ่ ทศบาลต�ำบลเวียงเชียงแสนต้องจัดท�ำคือการของบ ประมาณ การออกแบบรายละเอียดและด�ำเนินการก่อสร้างต่อไป โดยก่อนจะท�ำการออกแบบ รายละเอียดจะต้องท�ำการทบทวนรายงานการศึกษาความเหมาะสมด้วย


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 168

3) การประมาณการณ์ความต้องการพัฒนาสนับสนุนเขตเศรษฐกิจชายแดนของ เทศบาลเชียงแสน 3.1) ระบบประปา: กิจกรรมหลักที่ต้องใช้น�้ำประปาปริมาณมากคือ กิจกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม เชียงแสน ซึ่งมีพื้นที่ส�ำหรับอุตสาหกรรมแต่ละประเภทรวม ประมาณ 835 ไร่ ต้องมีระบบประปาประมาณ 400 ลบ.ม./ชม. (12 ลบ.ม./ไร่-วัน) เพื่อใช้ ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมแห่งนี้ แหล่งน�ำ้ ดิบ ได้แก่ แม่น�้ำโขง เนื่องจากต�ำแหน่งเขต อุตสาหกรรมอยูใ่ กล้กบั แม่นำ�้ โขงจึงมีศกั ยภาพเพียงพอต่อการผลิตน�ำ้ เข้าสูอ่ ตุ สาหกรรม โดย ใช้พื้นที่ประมาณ 10 ไร่ ซึ่งได้ดำ� เนินการแล้วเสร็จตั้งแต่ พ.ศ. 2549 ข้อมูลเปรียบเทียบปริมาณการใช้น�้ำของนิคมแหลมฉบัง ระบบน�ำ้ ประปา - โรงผลิตน�ำ้ ประปาของนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ก�ำลังการผลิต 27,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน - รับน�ำ้ ดิบจากอ่างเก็บน�้ำหนองค้อ จ.ชลบุรี - ระบบส่งน�ำ้ Gravity Flow จากข้อมูลข้างต้นท�ำให้เห็นว่าการประปาอ�ำเภอเชียงแสนจ�ำเป็นต้องขยายขีด ความสามารถในการผลิตน�้ำต่อวันเพื่อให้เพียงพอที่จะรองรับความต้องการใช้น�้ำของเขต อุตสาหกรรมในอนาคตอันใกล้นี้ 3.2) การจัดการน�ำ้ เสีย: พืน้ ทีใ่ นเขตประกอบการอุตสาหกรรมได้เตรียมพืน้ ทีส่ ำ� หรับ บ�ำบัดน�ำ้ เสียเพือ่ รวบรวมน�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ ในเขตประกอบการ จะเกิดน�ำ้ เสียประมาณ 10,000 ลบ.ม./วัน มาบ�ำบัดก่อนทีจ่ ะปล่อยลงแหล่งน�ำ้ สาธารณะคือล�ำน�ำ้ เกีย๋ ง โดยใช้พนื้ ทีป่ ระมาณ 30 ไร่ ด�ำเนินการออกแบบรายละเอียดและประกวดราคา ส่วนกิจกรรมอืน่ ทีจ่ ะด�ำเนินการจะ ต้องค�ำนึงถึงการระบายน�ำ้ และรวบรวมน�ำ้ เสียมาบ�ำบัดก่อนระบายน�ำ้ ลงสูแ่ หล่งน�ำ้ สาธารณะ ในแต่ละโครงการโดยทางพื้นทีส่ ามเหลี่ยมทองค�ำซึง่ ร้านค้าร้านอาหารมีปริมาณมาก ควรจะ มีระบบรวบรวมน�ำ้ เสียให้ครอบคลุมพืน้ ทีโ่ ครงการแล้วส่งไปยังระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียกลางอบต. เวียง ทีจ่ ะด�ำเนินการก่อสร้าง แต่ในช่วงแรกต้องมีมาตรการทีจ่ ะควบคุมการระบายน�ำ้ ทิง้ ของ ร้านค้าและร้านอาหารเหล่านั้น โดยด�ำเนินการให้มีการบ�ำบัดเบื้องต้นก่อนทิ้งลงสู่แหล่งน�้ำ โดยจะใช้ระบบน�้ำเสียส�ำเร็จรูปหรือบ่อดักไขมัน


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 169

ข้อมูลเปรียบเทียบปริมาณน�้ำเสียของนิคมแหลมฉบัง ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย - เป็นระบบ Activated Sludge ชนิด Extended Aeration - ปัจจุบัน นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ใช้นำ�้ ประปาเฉลี่ย 21,800 ลูกบาศก์เมตร/ วัน และมีปริมาณน�ำ้ เสียเฉลีย่ 6,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน มาผลิตเป็นน�ำ้ เพือ่ การอุตสาหกรรม ด้วยระบบรีเวอร์ส ออสโมซิส (Reverse Osmosis: RO) ซึง่ เป็นกระบวนการทีท่ ำ� ให้นำ�้ บริสทุ ธิ์ กว่าระบบผลิตน�ำ้ ทั่วไป ข้อมูลเปรียบเทียบปริมาณน�้ำเสียของนิคมบางปู ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย - มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 3 แห่ง ประกอบด้วย 1) เขตอุ ต สาหกรรมทั่ ว ไป 2 แห่ ง - ระบบ Activated Sludge ความสามารถในการบ�ำบัด 45,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน และ 3,600 ลูกบาศก์เมตร/วัน 2) เขตประกอบการเสรี 1 แห่ ง - ระบบ Rotation Biological Contractor (R.B.C.) ความสามารถในการบ�ำบัด 2,300 ลูกบาศก์เมตร /วัน จากข้อมูลข้างต้นท�ำให้เห็นว่าการประปาอ�ำเภอเชียงแสนจ�ำเป็นต้องขยายขีดความ สามารถในการรองรับน�ำ้ เสียต่อวันเพือ่ ให้เพียงพอทีจ่ ะรองรับความต้องการปล่อยน�ำ้ เสียของ เขตอุตสาหกรรมในอนาคตอันใกล้นี้ 4) แผนการรับมือกับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของอ�ำเภอเชียงแสน คุณทวี วงค์อุบล2: การประปาส่วนภูมิภาค สาขาแม่สาย ก�ำลังด�ำเนินการขอ งบประมาณเพื่อการสร้างแท๊งค์น�้ำเพิ่มที่บริเวณอ�ำเภอเชียงแสนและด�ำเนินการท�ำประชา พิจารณ์ในการขอพื้นที่จ�ำนวน 100 ไร่ เพื่อใช้ในการจัดตั้งสถานีใหม่ คาดว่าจะทราบผล ภายในปี 2560 และใช้เวลาด�ำเนินการก่อสร้างประมาณ 2-3 ปี จึงแล้วเสร็จพร้อมให้บริการ ซึ่งหากสร้างเสร็จแล้วสถานีใหม่นี้จะก�ำลังการผลิตน�้ำ 800 ลบ.ม./ชั่วโมง รวมกับก�ำลังการ 2

สัมภาษณ์ คุณทวี วงศ์อุบล (14/8/2558)


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 170

ผลิตเดิมที่มีเพียง 14,000 ลบ.ม./วัน ก็น่าจะเพียงพอต่อการจัดตั้งเขตอุตสาหกรรม ส่วนท่อ ส่งน�ำ้ จะมีการตัง้ จุดเสริมแรงดันแยกจากของชาวบ้านทีม่ กี ารใช้งานทัว่ ไป เพือ่ ให้เพียงพอต่อ ความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรม สุดท้ายคาดว่าการประปาส่วนภูมิภาค สาขาแม่สาย จะพร้อมรองรับเขตอุตสาหกรรมอย่างเต็มความสามารถภายในปี 2562 ประเด็นที่ 2: การเตรียมความพร้อมด้านการท่องเทีย ่ วในอนาคต การศึกษาความยาก-ง่ายในการเข้ามาท�ำธุรกิจท่องเที่ยวนี้ได้ใช้ดัชนีชี้วัดความยาก ง่ายในการด�ำเนินธุรกิจ (Ease of doing business index) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ โดยปัจจัยหลักที่ใช้ในการประเมินความยากง่ายในการเข้ามาของธุรกิจท่องเที่ยว ประยุกต์ มาจากแนวทางการประเมินความสะดวกในการเข้าไปประกอบธุรกิจของธนาคารโลก (World Bank, 2014) ซึง่ ประกอบด้วยปัจจัยความยากง่ายในการเริม่ ต้นธุรกิจการขออนุญาต ก่อสร้าง การจดทะเบียนทรัพย์สนิ การได้รบั สินเชือ่ การคุม้ ครองผูล้ งทุน การช�ำระภาษี และ สุดท้ายคือ ความยากง่ายในการขอใช้ไฟฟ้า โดยมีมาตรวัด (Rating Scale) ตัวแปรจากระดับ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด เท่ากับ 1 2 3 4 และ 5 ตามล�ำดับ ตารางที่ 2 ดัชนีชี้วัดความยากง่ายในการประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แยกตามปัจจัยการเข้าท�ำธุรกิจ ปัจจัยความยากง่าย เข้ามาการท�ำธุรกิจ

ธุรกิจท่องเที่ยว

ที่พัก

ร้านอาหาร

ธุรกิจ ธุรกิจบริการ น�ำเที่ยว

การเริ่มต้นธุรกิจ

2.68

2.65

3.00

2.40

3.50

การขออนุญาตก่อสร้าง

2.90

2.72

3.00

3.40

3.50

การขอใช้กระแสไฟฟ้า

3.52

3.56

3.00

3.40

3.50

การจดทะเบียนทรัพย์สิน

3.58

3.56

4.00

3.40

4.50

การได้รับสินเชื่อ

2.61

2.67

3.00

2.40

2.50

การคุ้มครองผู้ลงทุน

3.10

3.22

3.00

2.80

3.00

การช�ำระภาษี

4.48

4.56

4.50

4.40

3.50

รวม

3.27

3.28

3.36

3.17

3.43


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 171

ปัจจัยความยากง่าย เข้ามาการท�ำธุรกิจ จ�ำนวนสถานที่

ธุรกิจท่องเที่ยว

ที่พัก

ร้านอาหาร

31 18 12 ที่มา: วรนุช วงษ์คม, 2557

ธุรกิจ ธุรกิจบริการ น�ำเที่ยว 5

2

จากตารางข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การเข้ามาประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในอ�ำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงรายนัน้ มีความสะดวกในระดับปานกลาง ปัจจัยความง่ายในการเข้ามา ด�ำเนินธุรกิจของผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว เรียงตามล�ำดับ ได้แก่ การช�ำระภาษี การจดทะเบียน ทรัพย์สนิ และการขอใช้กระแสไฟฟ้าและประปา ส่วนปัจจัยทีท่ ำ� ให้การเข้ามาประกอบธุรกิจ ท่องเที่ยวเป็นไปได้ยาก ได้แก่ การขอสินเชื่อ ปัจจุบนั การท่องเทีย่ วของเชียงแสนได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัยและนโยบาย ของภาครัฐอย่างมาก เอกลักษณ์ของเชียงแสนก็ได้เลือนลางไปตามกาลเวลา อาจจะท�ำให้เกิด ผลกระทบทางลบได้ เพราะในปัจจุบนั เทคโนโลยีมคี วามทันสมัยและเข้าถึงได้งา่ ยขึน้ ผ่านทาง Social Media ท�ำให้นักท่องเที่ยวสามารถเลือกหรือดูรีวิวสถานที่ท่องเที่ยวได้ง่าย และมีตัว เลือกในการไปท่องเที่ยวตามสถานที่ที่พึงพอใจได้มากขึ้น อาจท�ำให้เชียงแสนไม่ใช่ตัวเลือกที่ ดีทสี่ ดุ ท�ำให้จำ� นวนนักท่องเทีย่ วทีจ่ ะมาอาจจะมีจำ� นวนลดลงกว่าเดิม และเปลีย่ นพฤติกรรม จากทีเ่ คยมาในทุกๆฤดูกาลเพือ่ มาศึกษาวัฒนธรรมหรือมาเพือ่ เยีย่ มชมโบราณสถานเป็นเวลา นานๆ มาเป็นการมาท่องเทีย่ วตามฤดูกาลแทน เนือ่ งจากทางเชียงแสนมีการจัดกิจกรรมตาม ฤดูกาล เช่น “ไตรกีฬา” บริเวณสามเหลี่ยมทองค�ำ การแข่งขันการปั่นจักรยาน หรือการดู นกทีอ่ พยพมาบริเวณทะเลสาปเชียงแสนตามฤดูกาล ฯลฯ ท�ำให้จำ� นวนนักท่องเทีย่ วมีจำ� นวน มากในบางช่วงเวลา และแทบมีจำ� นวนน้อยในบางช่วงเวลา ดังนัน้ เพือ่ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ของ ประชาชนในพืน้ ทีท่ างอ�ำเภอควรมีสว่ นช่วยในการออกนโยบายสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้เข้ามาในแต่ละฤดูกาล และการสนับสนุนของทางหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนควรให้ ความส�ำคัญกับการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ๆมากขึ้น เช่น 1) Business Tour ซึ่งแนวโน้มของการท่องเที่ยวในเชียงแสน กลับมีกลุ่มของนัก ธุรกิจ นักวิชาการ หรือกลุ่มของนักวิชาการที่มาพักอาศัย และท่องเที่ยวในเชียงแสนเพิ่ม มากขึ้น 2) Incentive Tour โดยการรับเหมาแต่ละบริษัท หรือหน่วยงาน และสร้างเครือ


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 172

ข่ายการท่องเที่ยวที่ ครบวงจร ตั้งแต่รถตู้ ที่พัก ร้านอาหาร และธุรกิจน�ำเที่ยว 3) Meeting Convention and Exhibition ในอนาคตเชียงแสนจะมีท่าเรือที่นำ� สินค้ามาจัดแสดง และเป็นแหล่งกระจายสินค้า ฉะนั้นนิทรรศการ และงานแสดงต่างๆจะ เกิดขึ้นอย่างแน่นอน 4) Special – Interest Group Tour เชียงแสนมีโบราณสถานเก่าแก่ มีนกพันธุ์หา ยากให้ชมที่ ทะเลสาบ มีการจัดแข่งไตรกีฬาสามเหลี่ยมทองค�ำ จึงเป็นโอกาสให้ธุรกิจท่อง เที่ยวสร้างรายได้โดยตรง จากความสนใจเฉพาะเหล่านี้ได้เป็นอย่างดี3 กิจกรรมหลักที่มีตามฤดูกาลในปัจจุบันของอ�ำเภอเชียงแสน 1) งานแข่งขันโปโลช้าง วันที่จัดงาน: เดือนมีนาคม สถานที่จัดงาน: อนันตรารีสอร์ท บริเวณสามเหลี่ยมทองค�ำ อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2) งานประเพณีสงกรานต์และแข่งเรือเมืองเชียงแสน วันที่จัดงาน: 13 – 18 เมษายน ของทุกปี สถานที่จัดงาน: อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 3) จักรยานเสือภูเขาสามแผ่นดินลุ่มน�ำ้ โขง ไทย-จีน- ลาว วันที่จัดงาน: เดือนกันยายน - เดือนตุลาคม สถานที่จัดงาน: อ�ำเภอเชียงของ – เชียงแสน จังหวัดเชียงราย 4) การศึกษาธรรมชาติของนกอพยพย้ายถิ่น วันที่จัดงาน: ช่วงฤดูหนาว สถานที่จัดงาน: ทะเลสาบเชียงแสน อ�ำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ดังนั้นเพื่อกระจายความเสี่ยงในธุรกิจการท่องเที่ยวในประเภทต่างๆที่ได้รับผล กระทบจากปัจจัยภายนอก เนื่องจากเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้และคาดการณ์ได้ยาก จึงควร สร้างความร่วมมือให้เชียงแสนมีการท่องเทีย่ วทีม่ คี วามหลากหลายมากขึน้ และติดตามข่าวสาร ให้เท่าทัน เพื่อปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางการ อ้างอิง บทความการปรับตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในอำ�เภอเชียงแสนกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และ ผลกระทบจากการเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษบ้านต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้วในฝั่งลาว, 2557

3


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 173

เมืองที่ผันแปรตามกาลเวลา ดังนั้นจึงควรพลิกวิกฤตให้กลายมาเป็นโอกาส เพื่อเสริมสร้าง เศรษฐกิจที่ยั่งยืน (Sustainable Economy) ประเด็นที่ 3: ผลกระทบจากการเป็นด่านชัว่ คราวทีเ่ ชียงแสน การท่องเที่ยวในอ�ำเภอเชียงแสนมีสถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลายและมีกลุ่ม นักท่องเทีย่ วทีม่ คี วามเฉพาะจึงส่งผลให้มนี กั ท่องเทีย่ วเข้ามาในอ�ำเภอเชียงแสนค่อนข้างน้อย หากเปรียบเทียบกับอ�ำเภอชายแดนทัง้ สามของจังหวัดเชียงราย ทัง้ นีม้ กี ารสันนิษฐานว่าอาจ จะเป็นผลมาจากการทีเ่ ชียงแสนยังไม่มดี า่ นตรวจคนเข้าเมืองถาวร เพราะในปัจจุบนั เชียงแสน ยังมีเพียงด่านตรวจคนเข้าเมืองชั่วคราวเท่านั้น ท�ำให้นักท่องเที่ยวเลือกเดินทางไปยังอ�ำเภอ แม่สายหรืออ�ำเภอเชียงของมากกว่าเนื่องจากสะดวกต่อการข้ามแดนและการขออยู่ต่อ ซึ่ง ที่จริงแล้วด่านชั่วคราวของเชียงแสนสามารถท�ำได้เหมือนด่านตรวจคนเข้าเมืองของอ�ำเภอ แม่สาย และอ�ำเภอเชียงของ เพียงแต่นกั ท่องเทีย่ วอาจจะยังไม่ทราบข้อมูลทีแ่ น่ชดั เนือ่ งจากมี การประชาสัมพันธ์ทไี่ ม่ทวั่ ถึง ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วยังไม่เชือ่ มัน่ ในการเป็นด่านตรวจคนเข้าเมือง ชัว่ คราว ดังนัน้ ควรมีการประชาสัมพันธ์ทดี่ เี พือ่ ดึงดูดและสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว ท�ำให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในเชียงแสนมากขึ้นในอนาคต ตารางที่ 3 ข้อมูลสถิติบุคคลเดินทางเข้า-ออก ด่าน ตม.เชียงแสน ในภาพรวม จุดตรวจเชียงแสน ล�ำดับที่

สัญชาติ

เข้า

ออก

1

จีน

5,626

5,114

2

เกาหลีใต้

4,818

4,662

3

ลาว

3,586

3,545

4

มาเลเซีย

859

743

5

เวียดนาม

499

430

6

อเมริกา

186

188

7

สิงคโปร์

111

106

8

ญี่ปุ่น

76

76


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 174

จุดตรวจเชียงแสน ล�ำดับที่

สัญชาติ

เข้า

ออก

9

อินโดนีเซีย

58

54

10

กัมพูชา

43

34

รวม 10 ประเทศ

15,862

14,952

สัญชาติ

เข้า

ออก

ไทย

3,452

3,416

อื่น

290

467

จุดตรวจเชียงแสน ล�ำดับที่

รวมทั้งหมด 19,604 ที่มา: ด่านตรวจคนเข้าเมืองเชียงแสน

18,835

จากตารางที่ 3 พบว่า ชาวจีนเป็นชาติทเี่ ดินทางผ่านเข้าออกด่านตรวจคนเชียงแสน มากที่สุด รองลงมาคือ เกาหลีใต้ ลาว มาเลเซีย เวียดนาม อเมริกา สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย กัมพูชา ตามล�ำดับ ตารางที่ 4 ข้อมูลสถิติเปรียบเทียบการเข้า-ออกด่านตรวจคนเข้าเมือง แยกประเภท ประเภท หนังสือเดินทาง

เข้า 2558

2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

2558

2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

22,854

31,413

37.45

21,826

30,054

37.69

106.28

79,210

156,570

97.66

98,323 187,091 90.28 101,036 186,624 ที่มา: ด่านตรวจคนเข้าเมืองเชียงแสน

84.71

หนังสือผ่านแดน 75,469 155,678 รวม

ออก

จากตารางที่ 4 พบว่า ส่วนมากของผู้เดินทางมักจะเดินทางโดยใช้หนังสือผ่านแดน ซึ่งอาจจะหมายความว่าเดินทางไปเที่ยวแล้วก็กลับในระยะสั้นไม่เกิน 7 วันเป็นส่วนใหญ่


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 175

สรุปผลการศึกษา การศึกษานีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาทิศทางการปรับตัวสูอ่ นาคตของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวในอ�ำเภอเชียงแสน การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ ประชาคมอาเซียน โดยศึกษาจากข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิพบว่า เชียงแสนควรมีการ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้เข้าถึงนักท่องเที่ยวให้มากกว่านี้ ทั้งด้านข้อมูลของด่านตรวจคนเข้า เมืองชัว่ คราว ทีม่ ศี กั ยภาพในการท�ำงานไม่ตา่ งอะไรกับด่านตรวจคนเข้าเมืองแม่สาย ไม่วา่ จะ เป็นการประทับตราเพื่อการขออยู่ต่อ หรือการประทับตราเพื่อเข้า-ออกแดน และข้อมูลการ ท่องเทีย่ วในฤดูกาลต่างๆ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ทางอ�ำเภอเชียงแสนควรมีการร่วมมือกับภาคประชาชน ในการจัดกิจกรรม (เทศกาล) ต่างๆขึ้นมาในแต่ละฤดูกาลเพื่อเป็นเอกลักษณ์ในการดึงดูดนัก ท่องเที่ยวให้เข้ามาในแต่ละฤดูกาลเพิ่มมากขึ้น กว่าการที่นักท่องเที่ยวจะเข้าไปเฉพาะบาง ฤดูกาลเท่านั้น แต่ในด้านของการประกาศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ การประปายังไม่มีความ พร้อมที่จะรองรับเขตอุตสหากรรมภายในปี 2559 -2560 นี้ เนื่องจากก�ำลังด�ำเนินการขอ งบประมาณและพื้นที่เพื่อขยายอ่างเก็บน�้ำเพิ่ม แต่มีการคาดการณ์ว่าจะพร้อมรองรับเขต อุตสาหกรรมอย่างเต็มประสิทธิภาพภายในปี 2562 โดยภาพรวมแล้วเมื่ออ�ำเภอเชียงแสน ประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษแล้ว และอาจจะมีโรงงานอุตสาหกรรมเข้ามาตั้งเป็นจ�ำนวนมาก แต่กจ็ ะมีอยูเ่ พียงรอบนอกเท่านัน้ โดยภายในตัวเมืองจะยังคงเป็นเมืองอนุรกั ษ์ประวัตศิ าสตร์ อยู่ ซึง่ อาจจะส่งผลให้มกี ารเข้ามาศึกษาดูงานของหน่วยงานต่างๆมากขึน้ มีการเข้ามาของนัก ท่องเที่ยวมากขึ้น และอาจจะท�ำให้มีการจับตามองเมืองเชียงแสนที่มากขึ้นของคนภายนอก ซึ่งถ้าหากมีการประชาสัมพันธ์ที่ดีแล้วคาดว่าจะส่งผลดีให้แก่ประชาชนในเมืองเชียงแสนได้ ไม่น้อย ทั้งจ�ำนวนแรงงานที่จะมีการเคลื่อนย้ายเข้ามา หรือการมีรายได้เสริมของคนในพื้นที่ บรรณานุกรม พรพินันท์ ยี่รงค์, ปฐมพงศ์ มโนหาญ. (2557). การปรับตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ในอ�ำเภอเชียงแสนกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และ ผลกระทบจากการ เปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษบ้านต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้วในฝั่งลาว. เชียงราย: ส�ำนักงาน เศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วรนุช วงษ์คม, ณัฐพรพรรณ อุตมา, ภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรักษ์. (2557). ความยากง่ายในการ


In focus: ภาคการท่องเที่ยว หน้า 176

ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: ส�ำนักงาน เศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ส�ำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม. (2556). โครงการศึกษาผลก ระทบสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล World Bank (2014) “Doing Business 2014 Understanding Regulations for Small and Medium-size Enterprises”. International Bank for Reconstruction and Development/The World Bank. ด่านตรวจคนเข้าเมืองเชียงแสน. (2557). สถิติน่าสนใจ. ค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2558, จาก http://chiangsaen.immigration.go.th/2015-01-30-04-21-17.html ผู้ให้สัมภาษณ์ภาครัฐบาล 1. คุณทวี วงค์อุบล (หัวหน้าฝ่ายจัดการน�ำ้ การประปาส่วนภูมิภาค สาขาแม่สาย) เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2558


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 177

ห่วงโซ่คุณค่าชายแดน : พลวัตการลงทุนชายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย1 ณัฐพรพรรณ อุตมา “นโยบายการลงทุนชายแดนที่รองรับการเป็นเมืองชายแดนเกิดใหม่และส่งเสริมการเติบโต แบบมีส่วนร่วมร่วมกันของพื้นที่ชายแดนสองประเทศจะท�ำให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมการ ลงทุนชายแดนและห่วงโซ่คุณค่าชายแดน” นับตัง้ แต่ประเทศไทยมีโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมภิ าค ตะวันออกเฉียงใต้และประเทศจีน ท�ำให้เกิดการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านกฎ ระเบียบต่างๆ เช่น การพัฒนาเส้นทางคมนาคม การเปิดเสรีและอ�ำนวยความสะดวกทางการ ค้าและการลงทุน และความตกลงยอมรับร่วมกันในการขนส่งและพิธีการข้ามพรมแดนมาก ขึน้ เชียงรายในฐานะเมืองหน้าด่านของระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ซงึ่ เชือ่ มต่อเส้นทางบก R3A (ไทย-สปป.ลาว-จีน) และ R3B (ไทย-เมียนมาร์) จึงมีบทบาทส�ำคัญต่อการเชื่อมโยงประเทศ ในภูมภิ าคและการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมืองชายแดนเชียงของ พลวัตของ การสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจข้างต้น ท�ำให้เชียงของกลายเป็นพื้นที่ชายแดนที่มีการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับประเทศต่างๆ ที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน มีการ เติบโตของการค้าสินค้าและบริการข้ามพรมแดน รวมทั้งมีการขยายตัวของการเคลื่อนย้าย ทรัพยากรการผลิต แรงงาน และเงินทุนข้ามพรมแดน ทั้งนี้ การเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาค และการสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจและสังคมจากการพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุน ตามแนวพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจและพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน จ�ำเป็นต้องมีนโยบายส่งเสริมการ ลงทุนที่มีประสิทธิภาพและสามารถด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล รวมถึงระเบียบและข้อ ปฏิบตั ทิ อี่ ำ� นวยความสะดวกทางการลงทุนดังกล่าว และความตกลงทีว่ า่ ด้วยกรอบความร่วม 1 บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย เรื่อง “นโยบายส่งเสริมการลงทุน อ้าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย” ภาย ใต้ชุด โครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการพื้นที่ชายแดน” ซึ่งได้รับทุนอุดหนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ (ฝ่าย 1) และความเห็นในบทความวิจัยนี้เป็นของผู้วิจัย ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัยไม่จำ� เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 178

มือทางเศรษฐกิจอาเซียน-จีน เพือ่ รองรับการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนในอนาคต รวม ทั้งเป็นการสนับสนุนการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้เสร็จสมบูรณ์ภายในปี 2558 การศึกษาสิทธิประโยชน์ตามกรอบการลงทุนอาเซียน-จีนและการเปิดเสรีการลงทุนตาม กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญอย่างหนึง่ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน ในความเป็นจริง พื้นที่อำ� เภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายได้มีนโยบายส่งเสริมการลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน (พ.ศ.2520) ของ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ตาม โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง ในปี พ.ศ. 2535 การ ได้รบั อนุมตั จิ ดั ตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของทีเ่ น้นอุตสาหกรรมบริการรองรับโลจิสติกส์ ในปี พ.ศ. 2549 การลงนามความตกลงว่าด้วยกรอบการลงทุนอาเซียน-จีน ในปี พ.ศ. 2551 และ ความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน ในปี พ.ศ. 2552 และการได้รบั อนุมตั เิ ห็นชอบให้เมือง เชียงของเป็นหนึง่ ในพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของเชียงรายทีม่ บี ทบาท ของการเป็นเมืองโลจิสติกส์และบริการขนส่งในปี พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ตาม นโยบายส่งเสริม การลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจข้างต้นไม่อาจท�ำให้เชียงของเกิดการเปลี่ยนแปลง การลงทุนอย่างมีนัยส�ำคัญ แม้ว่าความส�ำเร็จของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ (Hard Infrastructure) เช่น การสร้างถนนตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ และการสร้าง สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 สามารถเพิ่มศักยภาพทางการค้าการลงทุน และ การท่อง เทีย่ วของไทย ในอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ไปยัง สปป.ลาว และจีนตอนใต้ ได้เป็นอย่าง ดี แต่หากต้องการให้การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานทางกายภาพจ�ำเป็นต้องท�ำควบคูก่ บั การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้าน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการก�ำหนดมาตรการและกฎระเบียบระหว่างประเทศร่วมกัน (Soft infrastructure) เช่น ข้อตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำ โขง (GMS Cross Border Transport Agreement : CBTA) บนเส้นทาง R3A เพื่อช่วยลด ความยุ่งยากด้านเอกสาร ลดขั้นตอนพิธีการนําเข้าส่งออก และลดระยะเวลาของกระบวนกา รด้านโลจิสติกส์ ซึ่งจะท�ำให้เกิดความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจอย่างเป็นแท้จริง แต่ขณะนี้ การ ด�ำเนินการดังกล่าวยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จีงมีสว่ นท�ำให้เกิดการชะลอตัวของการลงทุนทัง้ จากนัก ลงทุนในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ การได้รบั อนุมตั จิ ดั ตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของ


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 179

ที่เน้นอุตสาหกรรมบริการรองรับโลจิสติกส์ ในปี พ.ศ. 2549 ส่งผลให้รูปแบบการลงทุนของ เชียงของมีการเปลีย่ นแปลงอย่างมาก เดิมนักลงทุนในเมืองเชียงของจะเป็นนักลงทุนท้องถิน่ ที่ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ในธุรกิจการแปรรูปสินค้าเกษตร ธุรกิจค้าปลีกและ ค้าส่ง และ ธุรกิจการท่องเทีย่ วเป็นหลัก และมีระบบการบริหารจัดการแบบครอบครัวทีอ่ าศัย ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ปัจจุบันนักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในเมืองเชียงของล้วนเป็น นักลงทุนจากต่างถิ่นและต่างประเทศที่มีขนาดการลงทุนในระดับกลางและระดับใหญ่ เน้น ประกอบธุรกิจบริการโลจิสติกส์เป็นหลัก และมีรูปแบบบริการจัดการที่เป็นระบบ รวมทั้ง การลงทุนยังมีการกระจุกตัวอยู่แต่ในบริเวณพื้นที่ต�ำบลสถานและต�ำบลศรีดอนชัยซึ่งเป็นที่ ตัง้ ของเขตการพัฒนาพืน้ ทีข่ องการนิคมอุตสาหกรรมเชียงของ และอยูใ่ กล้เส้นทางทีส่ ามารถ เชื่อมโยงไปยังสปป.ลาว และจีนตอนใต้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการลงทุนและสิทธิประโยชน์ด้านการเปิดเสรีการ ลงทุนและด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางการลงทุน (ตามกรอบการลงทุนอาเซียน-จีน และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการลงทุนในอ�ำเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย จึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญและมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาพื้นที่ ชายแดน จากข้อมูลทางสถิตินิติบุคคลจดทะเบียนตั้งใหม่ในอ�ำเภอเชียงของระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2557 โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ พบว่า อัตราการเติบโตของ การลงทุนในเมืองชายแดนเชียงของยังไม่สูงมากนัก ภาคเศรษฐกิจที่มีจ�ำนวนการลงทุนสูง ที่สุดได้แก่ ภาคการค้าปลีกค้าส่ง รองลงมาคือ ภาคการก่อสร้าง และภาคการขนส่งและโล จิสติกส์ เมื่อท�ำการประเมินปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการลงทุน การเปิดเสรีการลงทุน และ การอ�ำนวยความสะดวกทางการลงทุนจากผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ค้าปลีกค้าส่ง โล จิสติกส์ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ตั้งอยู่ในและนอกเขตอ�ำเภอเชียงของ โดยใช้วิธีการ scoring method พบผลการศึกษาที่น่าสนใจและสามารถน�ำไปใช้ในการวางแนวนโยบาย ส่งเสริมการลงทุนในเมืองชายแดนเชียงของได้เป็นอย่างดี จากการประเมินปัจจัยสภาพแวดล้อมด้านนโยบายและความมัน่ คง ด้านเศรษฐกิจ และ ด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางธุรกิจที่มีผลต่อการลงทุนในอ�ำเภอเชียงของ พบว่าสภาพ แวดล้อมทางการลงทุนทั้งในพื้นที่อ�ำเภอเชียงของและนอกพื้นที่อำ� เภอเชียงของยังไม่เอื้อต่อ การลงทุนมากนัก ส�ำหรับปัจจัยด้านนโยบายและความมั่นคงต่อการลงทุนในเมืองชายแดน


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 180

เชียงของ พบว่า ปัจจัยส�ำคัญทีช่ ว่ ยส่งเสริมการลงทุนในอ�ำเภอเชียงของมากทีส่ ดุ ได้แก่ ความ มั่นคงทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ขณะที่ปัจจัยนโยบายส่งเสริมผลประโยชน์ของนัก ลงทุนในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเชียงของยังไม่ใช่ปจั จัยหลักทีส่ ง่ เสริมการลงทุนในเมืองเชียงของมากนัก เนื่องจากการก�ำหนดนโยบายส่งเสริมการลงทุนและการพัฒนาพื้นที่ยังไม่ชัดเจน ตลอดจน การน�ำนโยบายมาใช้ในการปฏิบัติยังไม่ได้ด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางการลงทุน

ผู้ประกอบการ ในพื้นที่อำ� เภอ เชียงของ

ผู้ประกอบการ นอกพื้นที่อ�ำเภอ เชียงของ

  1.1 ความมั่นคงทางการเมือง   1.2 นโยบายส่งเสริมการลงทุน   1.3 นโยบายส่งเสริมประโยชน์นักลงทุน   1.4 นโยบายการพัฒนาในพื้นที่   2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ   2.1 ด้านการแสวงหาตลาด   2.2 ด้านการแสวงหาปัจจัยการผลิต   2.3 ด้านการแสวงหาประสิทธิภาพ   2.4 ด้านการแสวงหาสินทรัพย์เชิงยุทธศาสตร์   3. ปัจจัยด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางธุรกิจ    หมายถึง มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 3.661-5.00)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก (ค่าคะแนนการประเมิน 2.331-3.66)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เหมาะสมกับการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 1.00-2.33) 1. ปัจจัยด้านนโยบายต่อการลงทุน

ในส่วนของปัจจัยด้านเศรษฐกิจต่อการลงทุนในเชียงของ พบว่า ปัจจัยด้านการแสวงหา ตลาด ปัจจัยการผลิต ประสิทธิภาพ และสินทรัพย์เชิงยุทธศาสตร์นนั้ ล้วนเป็นปัจจัยทีย่ งั ไม่เอือ้ ต่อการลงทุนในเมืองเชียงของมากนัก อาทิ ปัจจัยด้านการแสวงหาประสิทธิภาพที่เกี่ยวข้อง


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 181

กับการลดต้นทุนของในการผลิตสินค้าและบริการ พบว่า ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเชียงของยังไม่มคี วาม เหมาะสมต่อการลงทุนในภาคการผลิต จึงมีส่วนท�ำให้ปัจจัยด้านการแสวงหาประสิทธิภาพ ยังไม่ใช่ปัจจัยหลักที่ช่วยส่งเสริมการลงทุน เช่นเดียวกับปัจจัยการแสวงหาสินทรัพย์เชิง ยุทธศาสตร์ทเี่ กีย่ วข้องกับโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ซึง่ ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเชียงของนัน้ มีการพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆทีย่ งั ไม่ดเี ท่าทีค่ วรเมือ่ เทียบกับพืน้ ทีน่ อกอ�ำเภอเชียงของ ในส่วนของ ปัจจัยด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางธุรกิจ พบว่า การด�ำเนินการทางธุรกิจทั้งในและนอก พื้นที่อ�ำเภอเชียงของนั้นยังไม่ราบรื่นมากนัก จึงส่งผลให้ปัจจัยด้านการอ�ำนวยความสะดวก ทางธุรกิจนี้ยังไม่เอื้อต่อการลงทุน การประเมินด้านการเปิดเสรีการลงทุนในเมืองชายแดน พบว่า อ�ำเภอเชียงของมีการ เปิดเสรีที่ท�ำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน โดยเฉพาะในด้านการก�ำหนดขอบเขต ของนักลงทุนชาวต่างชาติและนักลงทุนไทย การด�ำเนินธุรกิจที่พึงประสงค์ ข้อจ�ำกัดในการ ธุรกรรมระหว่างประเทศ ข้อจ�ำกัดในการเคลื่อนย้ายแรงงานและความต้องการในการจ้าง งาน แต่ยังคงมีข้อจ�ำกัดในด้านการใช้ทรัพยากรการผลิตที่ส่งผลต่อการเข้ามาลงทุนในเมือง ชายแดนเชียงของ ผู้ประกอบการในพื้นที่ อ�ำเภอเชียงของ

ผู้ประกอบการนอก พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

1. การก�ำหนดขอบเขตของนักลงทุนชาวต่าง ชาติ/นักลงทุนไทย

2. การด�ำเนินธุรกิจที่พึงประสงค์

 

 

ปัจจัยด้านการเปิดเสรีทางการลงทุน

3. ข้อจ�ำกัดในการธุรกรรมระหว่างประเทศ 4. ข้อจ�ำกัดในการเคลื่อนย้ายแรงงานและ ความต้องการในการจ้างงาน

  ค่าเฉลี่ยรวม    หมายถึง มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 3.661-5.00)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก (ค่าคะแนนการประเมิน 2.331-3.66)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เหมาะสมกับการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 1.00-2.33) 5. ข้อจ�ำกัดในการใช้ทรัพยากรการผลิต


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 182

ด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางการลงทุน พบว่า เชียงของมีการอ�ำนวยความสะดวก ด้านต่างๆที่ยังไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการก�ำหนดนโยบาย กฎหมาย และข้อบังคับในการลงทุน ความซับซ้อนและความล่าช้าในการด�ำเนินงานที่ส่งผลต่อการ บังคับใช้กฎระเบียบ กฎระเบียบของแรงงานและปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ที่ยังไม่มีการน�ำมาบังคับใช้อย่างเป็นรูปธรรมในพื้นที่อ�ำเภอ เชียงของ ในด้านของความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความตกลงด้านการลงทุนทีย่ งั ไม่มคี วาม คืบหน้าและความชัดเจน รวมไปถึงความซับซ้อนและความล่าช้าในการด�ำเนินงาน ยังคงเป็น อุปสรรคต่อการดึงดูดนักลงทุนเข้ามาลงทุนในพืน้ ที่ และแม้วา่ เชียงของจะมีโครงสร้างพืน้ ฐาน เป็นแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดการลงทุน หรือแสดงถึงความมีศักยภาพที่ดีเอื้อต่อการลงทุน แต่ ยังคงขาดการจ�ำกัดการแข่งขันและการควบคุมราคาในตลาดพื้นที่ชายแดนอ�ำเภอเชียงของ ปัจจัยด้านการอ�ำนวยความสะดวกในการ ลงทุน

ผู้ประกอบการใน พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

ผู้ประกอบการนอก พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

1. การก�ำหนดนโยบาย กฎหมายและข้อ บังคับในการลงทุน

2. ความซับซ้อนและความล่าช้าในการ ด�ำเนินงานที่ส่งผลต่อการบังคับใช้กฎ ระเบียบ

3. กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

4. กฎระเบียบของแรงงานและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

5. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความ ตกลงด้านการลงทุน

6. ความซับซ้อนและความล่าช้าในการ ด�ำเนินงาน

7. โครงสร้างพื้นฐานแรงจูงใจที่ก่อให้เกิด การลงทุน

8. การจ�ำกัดการแข่งขันและการควบคุม ราคาในตลาด


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 183

ปัจจัยด้านการอ�ำนวยความสะดวกในการ ลงทุน

ผู้ประกอบการใน พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

ผู้ประกอบการนอก พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

   หมายถึง มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 3.661-5.00)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก (ค่าคะแนนการประเมิน 2.331-3.66)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เหมาะสมกับการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 1.00-2.33) ค่าเฉลี่ยรวม

ด้านความยากง่ายในการด�ำเนินกิจการ พบว่า การด�ำเนินธุรกิจในพื้นที่ชายแดน อ�ำเภเชียงของ เป็นไปด้วยความสะดวก อย่างไรก็ตาม ขัน้ ตอนทีม่ คี วามยุง่ ยาก ซับซ้อน และใช้ เวลามากทีส่ ดุ ในการด�ำเนินการเพือ่ เข้ามาประกอบธุรกิจ ได้แก่ การบังคับใช้กฎหมายให้เป็น ไปตามข้อตกลง ที่พิจาณาจากการด�ำเนินการเพื่อบังคับใช้กฎหมายโดยศาลยุติธรรม ระยะ เวลาและค่าใช้จา่ ยทีใ่ ช้ในการด�ำเนินการ รองลงมาคือ การสร้างความน่าเชือ่ ถือของผูป้ ระกอบ การ และการด�ำเนินการเพือ่ การค้าระหว่างประเทศ ทีพ่ จิ ารณาจากจ�ำนวนเอกสารทีใ่ ช้ในการ ท�ำเรื่องน�ำเข้า-ส่งออกสินค้า ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการเพื่อน�ำเข้า-ส่งออก สินค้า หากเปรียบเทียบความยากง่ายในการเข้าไปด�ำเนินธุรกิจระหว่างอ�ำเภอเชียงของและ พื้นที่อื่น พบว่า ข้อจ�ำกัดและขั้นตอนการด�ำเนินการเพื่อประกอบกิจการในอ�ำเภอเชียงของ มีความง่ายกว่าการลงทุนนอกพื้นที่อำ� เภอเชียงของ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การด�ำเนินการด้าน การช�ำระภาษี การเริ่มต้นธุรกิจ และการการขอใบอนุญาตก่อสร้าง เป็นต้น ปัจจัยด้านความยากง่ายในการด�ำเนินธุรกิจ 1. การเริ่มต้นท�ำธุรกิจ 2. การขอใบอนุญาตก่อสร้าง 3. การติดตั้งไฟฟ้า 4. การจดทะเบียนทรัพย์สิน 5. การสร้างความน่าเชื่อถือของผู้ประกอบการ

ผู้ประกอบการใน ผู้ประกอบการนอก พื้นที่อำ� เภอเชียงของ พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

    

    


ปัจจัยด้านความยากง่ายในการด�ำเนินธุรกิจ

In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 184

ผู้ประกอบการใน ผู้ประกอบการนอก พื้นที่อำ� เภอเชียงของ พื้นที่อ�ำเภอเชียงของ

  7. การช�ำระภาษี   8. การค้าระหว่างประเทศ   9. การบังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปตามข้อตกลง   ค่าเฉลี่ยรวม    หมายถึง มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 3.661-5.00)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก (ค่าคะแนนการประเมิน 2.331-3.66)  หมายถึง สภาพแวดล้อมที่ยังไม่เหมาะสมกับการลงทุน (ค่าคะแนนการประเมิน 1.00-2.33) 6. การคุ้มครองผู้ลงทุน

จากการรวบรวมประเด็นปัญหาและอุปสรรคทีส่ ำ� คัญอย่างมากต่อการด�ำเนินธุรกิจและ การเข้ามาลงทุนในพืน้ ทีช่ ายแดนอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พบว่า การแก้ไขปัญหาและ อุปสรรคทีม่ คี วามจ�ำเป็นและเร่งด่วนของพืน้ ทีน่ นั้ มี 5 ด้าน ได้แก่ ปัญหาแรงงานด้านอัตราค่า จ้างและประสิทธิภาพ ที่สำ� คัญคือการก�ำหนดนโยบายเพิ่มค่าแรงขั้นต�ำ่ จากรัฐบาล ซึ่งส่งผล ให้ตน้ ทุนในการจ้างงานของผูป้ ระกอบการเพิม่ สูงขึน้ รวมทัง้ แรงงานในพืน้ ทีย่ งั ขาดทักษะการ ท�ำงานเฉพาะทาง ปัญหาด้านการบังคับใช้กฎหมาย ตัวอย่างเช่นกฎหมายคุ้มครองนักลงทุน หรือผู้ประกอบการยังไม่มีการน�ำมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ท�ำให้ผู้ประกอบการไม่ได้รับ ความคุ้มครองจากทางภาครัฐเท่าที่ควร กฎหมายที่ดินที่ยังมีช่องว่างเกี่ยวกับเอกสารสิทธิ์ใน การถือครองทีด่ นิ ปัญหาด้านสิง่ อ�ำนวยความสะดวกด้านทางการค้า การลงทุน และโครงสร้าง พื้นฐาน เช่น ปัญหาการเก็บค่าผ่านแดนในอัตราสูง รวมถึงขั้นตอนกระบวนการการน�ำเข้า ส่งออกที่ซับซ้อนและยุ่งยาก ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนการขนส่งสูงขึ้นตามไปด้วย และปัญหาการ จ�ำกัดการผ่านแดนของรถสองล้อ และรถจักรยานยนต์ ท�ำให้ผู้ใช้สะพานในการสัญจรไม่ได้ รับความสะดวกเท่าที่ควร ปัญหาด้านการด�ำเนินการและประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อันเนือ่ งมาจากการขาดแคลนบุคลากรภาครัฐในการด�ำเนินงาน หน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ยังขาดการประสานงานกันระหว่างภาครัฐและเอกชน และหน่วยงานท้องถิ่นยังขาด ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานหลายด้าน และ ปัญหาด้านความร่วมมือและข้อตกลงด้านการ


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 185

ค้าและการลงทุน โดยเฉพาะการสร้างความร่วมมือกับทางสปป.ลาวเป็นไปอย่างยากล�ำบาก เนื่องจากอ�ำนาจการด�ำเนินการและการตัดสินใจของเมืองชายแดนทั้งสองประเทศแตกต่าง กัน รวมทัง้ ผูป้ ระกอบการในพืน้ ทีย่ งั ขาดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการใช้สทิ ธิประโยชน์จาก ความร่วมมือด้านการลงทุนต่างๆ นอกจากนี้ หากพิจารณาแนวนโยบายการส่งเสริมการลงทุนทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ เชียงของ โดยใช้ฐานแนวคิดจากการพัฒนาห่วงโซ่มูลค่าของภูมิภาค ที่เน้นการเชื่อมโยง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคในมิติความร่วมมือทางการค้าและการลงทุน ในด้านการเปิดเสรีและการอ�ำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน มิติความร่วมมือ ในการพัฒนาศักยภาพการผลิตร่วมกันเพือ่ ห่วงโซ่มลู ค่าในภูมภิ าค มิตกิ ารร่วมมือกันในการส่ง เสริมการค้าและการลงทุนในภูมภิ าค และมิตคิ วามร่วมมือกันในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ในภูมภิ าค ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศและพืน้ ทีช่ ายแดนทีเ่ น้นการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน โดยการปรับโครงสร้างทางภาคการผลิตและบริการ และการเติบโตอย่างมีส่วน ร่วม ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองเชียงของ ที่เน้นการอยู่ร่วมกันอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน ระหว่างเมืองชายแดนเก่าที่มีการอนุรักษ์วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและเมืองชายแดนใหม่ที่มีวิถี ชีวิตตั้งอยู่บนการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก และผลการศึกษาสภาพแวดล้อมการลงทุน และการอ�ำนวยความสะดวกทางการลงทุนในเมืองชายแดนเชียงของ และการสัมภาษณ์เชิง ลึกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน พบว่า แนวนโยบายการ ลงทุนชายแดนทีเ่ หมาะสมควรเป็นนโยบายทีท่ ำ� ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการลงทุนชายแดน (Border Investment Innovation)


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 186

รูปที่ 1 แนวนโยบายการส่งเสริมการลงทุนชายแดน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

การสร้างนวัตกรรมการลงทุนชายแดน (Border Investment Innovation) หมายรวม ถึง “การสร้างโครงสร้างทางการลงทุนบริเวณชายแดนทีเ่ ข้มแข็ง สอดคล้องกับบริบทในพืน้ ที่ และเติบโตได้อย่างมีคุณภาพ” โดยมีแนวทางการพัฒนาพื้นที่อำ� เภอเชียงของใน 2 ประเด็น หลัก ประเด็นแรก การสร้างอ�ำเภอเชียงของให้กลายเป็นเมืองชายแดนเกิดใหม่ (Emerging Border City) ทีม่ กี ารขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งในระยะ 5-10 ปี ทัง้ ภาคการผลิต และภาคการบริการ โดยเฉพาะภาคบริการโลจิสติกส์ทมี่ อี ตั ราการเติบโตแบบก้าวกระโดด ซึง่ ปัจจุบนั เมืองเชียงของยังมีการจ้างแรงงานทีเ่ พิม่ สูงขึน้ มีอตั ราการเติบโตของการค้าชายแดน และการค้าข้ามแดนอย่างเห็นได้ชัด และมีการขยายตัวของการลงทุนทั้งจากในประเทศและ


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 187

ต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ เมืองเชียงของเปรียบเสมือนเมืองชายแดนเกิดใหม่ที่มีศักยภาพทาง เศรษฐกิจการค้าและการลงทุน และศักยภาพทางภูมิเศรษฐกิจที่สามารถเชื่อมต่อประเทศ หรือเป็นประตูสู่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเดียวกันได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันเมืองเชียงของก�ำลัง ถูกท้าทายจากพลวัตทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมในระดับ ประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก ว่าจะมีการเติบโตไปในทิศทางใด ประเด็นที่สอง การ เติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีส่วนร่วมร่วมกัน (Mutually Inclusive Growth) กับเมือง ชายแดนที่ติดกันของประเทศเพื่อนบ้าน ที่จะเป็นการรวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ข้ามแดน ทั้งด้านการผลิต การจ้างงาน การค้า และ การลงทุน โดยมีการด�ำเนินนโยบายทาง เศรษฐกิจชายแดนร่วมกัน (Common border economic policy) ในรูปของความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจชายแดนหรือข้อตกลงทางเศรษฐกิจชายแดน ท�ำให้เกิดการเติบโตของเมือง ชายแดนเป็นไปอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน และสามารถสร้างพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ชายแดนให้เติบโตอย่างยั่งยืน อนึ่ง เพื่อรองรับการเป็นเมืองชายแดนเกิดใหม่ และส่งเสริมการเติบโตแบบมีส่วนร่วม ร่วมกันระหว่างพืน้ ทีช่ ายแดนสองประเทศ งานวิจยั นีไ้ ด้นำ� เสนอยุทธศาสตร์ทนี่ ำ� ไปสูก่ ารสร้าง แนวทางการปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนา ได้แก่ ยุทธศาสตร์การ สร้างบรรยากาศการลงทุน ยุทธศาสตร์การเปิดเสรีการลงทุน ยุทธศาสตร์การอ�ำนวยความ สะดวกด้านการลงทุน ยุทธศาสตร์การคุ้มครองนักลงทุน และยุทธศาสตร์การส่งเสริมการ ลงทุน ตัวอย่างเช่น ยุทธศาสตร์การปรับปรุงและพัฒนามาตรการและนโยบายการลงทุนระดับ มหภาค ซึ่งครอบคลุมมาตรการและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนระดับชาติ และความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเสรีทางการลงทุน การอ�ำนวย ความสะดวกด้านการลงทุน การคุ้มครองนักลงทุน การส่งเสริมการลงทุน และการด�ำเนิน ธุรกิจ ที่ส�ำคัญได้แก่ การบังคับใช้กฎระเบียบและความร่วมมือทางการลงทุนอย่างโปร่งใส การสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจและธุรกิจระหว่างชายแดน และการสร้างตลาดร่วม ชายแดน เป็นต้น และยุทธศาสตร์การพัฒนามาตรการและนโยบายการลงทุนระดับจุลภาค ที่เสมือนเป็นเครื่องมือส่งเสริมและสร้างบรรยากาศการลงทุนในพื้นที่ชายแดน อาทิ การจัด ตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านแรงงาน การจัดตั้งหน่วยงานของรัฐร่วมระหว่างชายแดน การ จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดน การสร้างกลไกการยกระดับนวัตกรรมและภูมิปัญญา


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 188

ชายแดน และการจัดการภัยคุกคามจากการด�ำเนินธุรกิจการลงทุนชายแดน ทั้งนี้ มาตรการ และนโยบายการลงทุนทั้งระดับมหภาคและจุลภาคล้วนส่งผลต่อการพัฒนาโครงสร้างการ ลงทุนชายแดนทีท่ ำ� ให้เกิดการพัฒนาการลงทุนระหว่างชายแดนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ดังนัน้ การ ผลักดันให้เมืองเชียงของให้เป็นเมืองชายแดนเกิดใหม่และมีการเติบโตแบบมีสว่ นร่วมร่วมกัน ระหว่างชายแดนสองประเทศจะน�ำมาซึ่งการพัฒนานวัตกรรมการลงทุนชายแดนและการ พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าชายแดนในท้ายที่สุด


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 189

ความท้าทายในการจัดการปัญหาขยะกับการเป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษชายแดน: กรณีอำ� เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ชัญญาวีร์ จันทร์แสง พรพินันท์ ยี่รงค์ บทคัดย่อ หลังจากมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด อ�ำเภอเชียงของก�ำลังประสบ กับปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมาก ปัญหาขยะมูลฝอยล้นเมืองส่งผลให้เกิดผลกระทบ เชิงลบแก่ชมุ ชน และสิง่ แวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศทีม่ าจากการสะสมของกองขยะ และ การก�ำจัดขยะโดยวิธกี ารเผา มลพิษทางน�ำ้ ทีม่ าจากการปนเปือ้ นของสารเคมีหรือน�ำ้ เสียจาก ขยะ ท�ำให้การวางแผนจ�ำกัดขยะกลายเป็นปัญหาเร่งด่วนส�ำหรับเทศบาลอ�ำเภอเชียงของใน การจัดการขยะ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ “จัดตั้ง โรงงานเผาขยะในอ�ำเภอเชียงของ” โดยพิจารณาความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ในแง่ของผลก ระทบภายนอกเชิงบวกที่จะได้รับจากการจัดการปัญหาขยะมูลฝอย รวมถึงการใช้แนวคิด “ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Pay Principle: PPP)” เพื่อก�ำหนดค่าธรรมเนียมในการ จัดการขยะมูลฝอย ผลการศึกษาพบว่า จากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม “หลักการผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้จ่าย” ค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณครัวเรือนละ 1,091 บาทต่อปี (ค�ำนวณจากค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปี หารกับจ�ำนวนครัวเรือน) ซึ่งถ้ามีการจัดตั้งศูนย์ก�ำจัด ขยะของอ�ำเภอเชียงของ อาจจะมีการเก็บค่าบริการเป็นรายเดือนเดือนละ 99 บาทหรือ ปีละ 1,091 บาทเป็นต้น เพื่อให้ต้นทุนส่วนเพิ่มทางสังคม (marginal social cost) ที่แต่ละ ครัวเรือนที่เกิดจากการผลิตขยะ เท่ากับประโยชน์ส่วนเพิ่มที่สังคมได้รับ (marginal social benefit) จะส่งให้แต่ละครัวเรือนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะที่พอเหมาะมากขึ้น ในอนาคตหาก มีการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเป็นทางการ คาดว่าปริมาณขยะมูลฝอยจะถูกผลิตทัง้ ใน ครัวเรือน ภาคอุตสาหกรรม ภาคการท่องเที่ยว และภาคอื่นๆอีกเป็นเท่าตัว ฉะนั้น ภาครัฐ ต้องรีบวางแผนในการจัดการขยะไว้เพื่อรับกับปัญหาขยะที่จะเกิดขึ้นในภายภาคหน้า


บทน�ำ

In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 190

อ�ำเภอเชียงของเป็นเมืองทีม่ กี ารเติบโตทางเศรษฐกิจทีร่ วดเร็วอย่างมาก ซึง่ มีการค้า ชายแดนระหว่างประเทศเพือ่ นบ้าน และจีนตอนใต้เป็นตัวขับเคลือ่ นทีส่ ำ� คัญ โดยเฉพาะหลัง การเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ในปลายปี 2556 ท�ำให้มูลค่าของการค้าชายแดน เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว จากการเติบโตแบบก้าวกระโดดของมูลค่าการส่งออก (ในปี 2557 มูลค่า การส่งออกเติบโตสูงขึน้ จากปีทแี่ ล้วร้อยละ 16.44 มากกว่าปี 2556 ทีม่ กี ารเติบโตสูงขึน้ เพียง ร้อยละ 8.94) ปัจจุบัน บริเวณพื้นที่ชายแดนของ อ.เชียงของ จ.เชียงราย ครอบคลุมพื้นที่ ทัง้ หมด 7 ต�ำบล ประกอบด้วย ต�ำบลเวียง ต�ำบลริมโขง ต�ำบลครึง่ ต�ำบลห้วยซ้อ ต�ำบลสถาน ต�ำบลศรีดอนชัย และต�ำบลบุญเรือง ที่ผ่านมาเชียงของได้รับการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้น ฐานและมีการวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น การได้รับอนุมัติจัด ตัง้ นิคมอุตสาหกรรมเชียงของ เพือ่ พัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมบริการด้านโลจิสติกส์แบบครบ วงจร การได้รบั อนุมตั เิ ห็นชอบให้อำ� เภอเชียงของเป็นหนึง่ ในพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในการเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษชายแดนของเชียงราย การก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 และ การถูกวางบทบาทให้เป็นเมืองโลจิสติกส์และบริการขนส่งและเมืองแวะผ่านส�ำหรับนักท่อง เที่ยว (Logistics city)1 ท�ำให้อ�ำเภอเชียงของกลายเป็นแม่เหล็กขนาดใหญ่ในการดึงดูดการ ลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ พื้นที่ชายแดนเป็นพื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายของคนสูงมาก ท�ำให้คนไทย และคน ต่างชาติบางกลุ่มมีการอพยพย้ายเข้ามา เพื่อแสวงหาโอกาสทางตลาดในการประกอบธุรกิจ การขยายตัวของอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในอ�ำเภอเชียงของ ก่อให้เกิดปัญหาการสะสมของขยะปริมาณมาก ซึ่งส่งผลกระทบเชิงลบ อย่างมากต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวยังไม่มีการ จัดการอย่างถูกวิธี ซึ่งมีเพียงไม่กี่พื้นที่ที่มีการจัดเก็บขยะที่เป็นระบบ คือ ต�ำบลเวียง ต�ำบล บุญเรือง และต�ำบลห้วยซ้อ แต่มกี ารก�ำจัดขยะทีย่ งั ไม่ได้มาตรฐาน คือ การฝังกลบ (Landfill) โดยการน�ำขยะจ�ำนวนมากที่ได้เก็บรวบรวมจากต�ำบลเวียงมาเทกองบนพื้นที่โล่ง (Open Dumping) เป็นวิธที ขี่ าดการควบคุมมลพิษตามหลักวิชาการ2 ซึง่ การก�ำจัดขยะมูลฝอยด้วยวิธี

สำ�นักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (2557) 2 ปเนต มโนมัยวิบูลย์ (2557) 1


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 191

การฝังกลบจะส่งผลให้เกิดหลากหลายปัญหา เช่น กลิ่นรบกวน การปลิวและฟุ้งกระจายของ ขยะ ฝุ่น แมลงวันและพาหะ เป็นต้น3 ท�ำให้สถานที่ที่เป็นบ่อขยะต้องอยู่ห่างไกลจากชุมชน และใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ แต่บ่อขยะของต�ำบลเวียงมีระยะห่างจากชุมชนน้อยกว่า 2 กิโลเมตร และตั้งอยู่ติดกับถนนสายหลักที่เชื่อมต่อไปยังหลายหมู่บ้าน สร้างความเดือดร้อนอย่างมาก ต่อการจราจรภายในชุมชน นอกจากนัน้ ยังมีการเกิดเพลิงลุกไหม้ในบริเวณของบ่อขยะทีเ่ กิด ขึ้นปีละ 3 - 4 ครั้ง4 ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นจากการเผาไหม้ของพลาสติกที่ขาดการคัดแยกขยะ กระทบต่อสุขภาพของชาวบ้านที่อยู่ในชุมชนใกล้เคียง ตารางที่ 1 สถิติปริมาณขยะ และค่าใช้จ่ายในการจ�ำกัดขยะ

ต�ำบล

ปริมาณขยะ (ตัน/วัน)

เวียง

27.00

3,700,000

2,965

1,247.89

บุญเรือง

4.00

4,000,000

2,510

1,593.63

ค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะ จ�ำนวนครัวเรือน (บาท/ปี) (หลังคา)

ค่าก�ำจัดขยะ (ครัวเรือน/ปี)

ห้วยซ้อ 4.51 660,000 4,930 133.87 ที่มา: เทศบาลต�ำบลเวียง, เทศบาลต�ำบลบุญเรือง และเทศบาลต�ำบลห้วยซ้อ อ�ำเภอเชียงของ

จากการสอบถามข้อมูลจากเทศบาลท้องถิ่นที่ท�ำหน้าที่จัดเก็บขยะในแต่ละต�ำบล ในอ�ำเภอเชียงของพบว่า เทศบาลได้มีการจัดเก็บขยะอยู่เพียง 3 พื้นที่ ได้แก่ ต�ำบลเวียง ต�ำบลบุญเรือง และต�ำบลห้วยซ้อ ซึ่งต�ำบลเวียงมีจำ� นวนครัวเรือนทั้งหมด 2,965 ครัวเรือน (ตารางที่ 1) โดยมีการจัดเก็บและก�ำจัดขยะในปริมาณ 27 ตันต่อวัน และมีค่าใช้จ่ายให้ การก�ำจัดขยะทั้งหมด 3.7 ล้านบาทต่อปี เมื่อน�ำมาค�ำนวณแล้วพบว่าค่าใช้จ่ายในการก�ำจัด ขยะคิดเป็นทั้งหมด 1,247.89 บาทต่อครัวเรือนต่อปี ในขณะที่ตำ� บลบุญเรืองมีปริมาณขยะ ประมาณ 4 ตันต่อวัน มีค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะทั้งหมด 4 ล้านบาทต่อวัน และมีครัวเรือน ทัง้ หมด 2,510 ครัวเรือน ท�ำให้คา่ ใช้จา่ ยในการก�ำจัดขยะคิดเป็น 1,592.63 บาทต่อครัวเรือน ต่อปี และต�ำบลห้วยซ้อมีการเก็บและก�ำจัดขยะทั้งหมด 4.51 ตันต่อวัน มีค่าใช้จ่ายในการ ก�ำจัดขยะ 660,000 บาทต่อปี มีครัวเรือนทั้งหมด 4,930 ครัวเรือน ท�ำให้ค่าใช้จ่ายในการ สำ�นักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ (2552) 4 ผู้จัดการออนไลน์ (2556) 3


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 192

ก�ำจัดขยะคิดเป็น 133.87 บาทต่อครัวเรือนต่อปี สรุปได้วา่ ต�ำบลเวียงมีปริมาณขยะมากทีส่ ดุ ต�ำบลบุญเรืองมีคา่ ใช้จา่ ยในการก�ำจัดขยะสูงสุด แต่มจี ำ� นวนครัวเรือนและปริมาณขยะต�ำ่ สุด และต�ำบลห้วยซ้อมีครัวเรือนมากที่สุด แต่มีค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะต�่ำสุด การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ภาวะโลกร้อนได้ส่งผลให้อากาศในประเทศมีอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้บ่อขยะจ�ำนวน มากทีต ่ งั้ อยูใ่ นบริเวณพืน ้ ทีช่ ม ุ ชนเกิดการลุกไหม้ ซึง่ เป็นผลจากการน�ำขยะมูลฝอยไป กองทิง้ ในพืน ้ ทีร่ กร้าง หรือ ไม่ได้มก ี ารใช้ประโยชน์ หรือ เรียกว่า การก�ำจัดขยะแบบกอง ทิ้งบนพื้นที่ (Dumping On Land) นอกจากนี้ ยังส่งกลิ่นเหม็น น�้ำเสีย และพาหะน�ำโรค

จากการประกาศให้อ�ำเภอเชียงของกลายเป็นหนึ่งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน ท�ำให้อ�ำเภอเชียงของดึงดูดนักลงทุนเข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก ได้แก่ ห้างสรรพสินค้า โรงแรมระดับ 5 ดาว พื้นที่จัดแสดงสินค้า คลับเฮาส์ เขตสินค้าทัณฑ์บน โลจิสติกส์พาร์ก บริการประเภทโกดัง คลังสินค้า โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล ศูนย์การค้า หอประชุม รวม ทั้งที่อยู่อาศัยอาคารพาณิชย์โรงพยาบาลกรุงเทพฯ โรงพยาบาลศรีบุรินทร์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา สถาบันสอนภาษา และสวนสัตว์ เป็นต้น หรือแม้แต่โครงการ ขนาดใหญ่อย่าง นิคมอุตสาหกรรม การเข้ามาลงทุนอย่างมากของอ�ำเภอเชียงของจะส่งผลให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่าง รวดเร็ว และสิ่งที่ตามมาคือการเกิดขึ้นของปริมาณขยะจ�ำนวนมาก หากไม่มีการวางแผน ในการจัดการขยะทีด่ ี ก็จะส่งผลทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อม ซึง่ จะสร้าง ภาพลักษณ์ที่ไม่ดีให้กับอ�ำเภอเชียงของที่เป็นเมืองท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามขยะที่เกิดจาก กิจกรรมการท่องเที่ยวก็มีปริมาณเยอะพอสมควร โดยเฉพาะในสถานประกอบการประเภท โรงแรม 5 ดาว มีปริมาณขยะเฉลี่ยวันละ 174 กิโลกรัมต่อวัน (5.22 ตันต่อเดือน) ซึ่งในช่วง ปีใหม่จะมีขยะสูงถึง 274 กิโลกรัมต่อวัน (8.22 ตันต่อเดือน)5 ซึ่งในอนาคตจะมีการก่อสร้าง โรงแรมขนาดใหญ่จ�ำนวนมาก จึงเป็นที่แน่นอนว่าจะต้องเกิดปริมาณขยะที่เพิ่มสูงมากขึ้น กว่าเท่าตัว 5

ปเนต มโนมัยวิบูลย์ (2557)


กทีส่ ดุ ต�ำ่ สุด

ำนวน อยไป บกอง น�ำโรค

พิเศษ สินค้า พาร์ก ม รวม ลัยแม่ รงการ

วอย่าง งแผน ะสร้าง ดจาก ะเภท นช่วง อสร้าง ากขึ้น

In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 193

นิคมอุตสาหกรรมอ�ำเภอเชียงของ โครงการนิคมอุตสาหกรรมทีจ่ ะถูกจัดตัง้ ในอ�ำเภอเชียงของ ได้ดำ� เนินพัฒนาโครงการ โดยบริษท ั เมืองเงิน ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด และมีการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เป็นผู้ให้การสนับสนุน ซึ่งได้ก�ำหนดพื้นที่ของต�ำบลสถาน และต�ำบลศรีดอน ชัยให้เป็นพื้นที่จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม จ�ำนวนกว่า 16,000 ไร่ บริเวณทุ่งสามหมอน บนถนนเชียงราย-เชียงของ1 โดยจะเริ่มพัฒนาพื้นที่ในระยะแรกจ�ำนวน 209 กว่าไร่ ให้เป็นนิคมอุตสาหกรรมขนส่งและบริการประเภทโกดัง คลังสินค้า โรงภาพยนตร์ โรงพยาบาล ศูนย์การค้า หอประชุม สถานที่พักผ่อน เป็นต้น2 จากการส�ำรวจความ คิดเห็นของประชาชนในพื้นที่พบว่า ประชาชนต้องการที่จะให้นิคมอุตสาหกรรมเป็น อุตสาหกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ หรือ อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) แต่ ทิศทางของนิคมอุตสาหกรรมที่จะถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตที่ใกล้จะถึงยังไม่มีความ ชัดเจน แม้ว่าอ�ำเภอเชียงของได้ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ระยะที่สอง

แนวคิดและทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็นแนวคิดด้านการก�ำจัดขยะมูลฝอย และทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการ จัดการกับปัญหาขยะมูลฝอยในอ�ำเภอเชียงของ 1. แนวคิดการก�ำจัดขยะด้วย 7Rs การก�ำจัดที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยการรณรงค์ด้านจิตส�ำนึกต่อสังคม และสิ่ง แวดล้อมโดยรวม ซึง่ ต้องค�ำนึงถึงการลดปริมาณขยะ และการน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่เป็นส�ำคัญ ประกอบด้วย 7 R ดังนี้ 1) Rethink (การคิดใหม่) เป็นการเปลี่ยนความคิดในการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์และ บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 1) Reduce (การลดการใช้) เป็นการลดการใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การใช้ถุงผ้า 2) Reuse (การใช้ซ�้ำ) เป็นการน�ำวัสดุกลับมาใช้ซ�้ำ เช่น การถุงพลาสติกซ�้ำ การใช้ กระดาษทั้งสองหน้า 3) Recycle (การน�ำกลับมาใช้ใหม่) เป็นการแยกขยะที่สามารถน�ำมาใช้ใหม่ เช่น


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 194

พลาสติก แก้ว โลหะ 4) Repair (การซ่อมแซม) เป็นการฟื้นฟูวัสดุให้ใช้การได้ใหม่ เพื่อยืดอายุการใช้งานให้ ยาวนานขึ้น 5) Reject (การปฏิเสธ) เป็นการปฏิเสธการใช้ทรัพยากรที่สามารถใช้เพียงครั้งเดียว เช่น พลาสติก โฟม 6) Return (การตอบแทน) การคืนสิ่งที่ทำ� ลายสู่ธรรมชาติ เช่น การปลูกต้นไม้ทดแทน การใช้กระดาษ 2. แนวคิดการน�ำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนบางประเภทสามารถทีจ่ ะน�ำมาใช้ใหม่ โดยผ่านกระบวนการ แปรรูปหรือท�ำใหม่รวมถึงการน�ำไปผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าและท�ำปุย๋ บ�ำรุงพืช ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะและคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภท โดยมีแนวทางการน�ำไปใช้ใหม่ ดังนี้ • การน�ำมาใช้ใหม่โดยผ่านกระบวนการแปรรูปใหม่ (Recycle) ในขยะประเภท พลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือ การน�ำมาใช้ซ�้ำ (Reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติก ซ�้ำหลายๆครั้ง • การน�ำมาแปรรูปเพือ่ ผลิตเป็นพลังงาน (Energy) โดยสามารถน�ำมาแปรเปลีย่ นเป็น พลังงานความร้อน หรือ ก๊าซมวลชีวภาพ (Biomass) • การน�ำเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานอาหารหรือการประกอบอาหารไป เลี้ยงสัตว์ • การน�ำเศษอาหารไปท�ำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในการปลูกพืช หรือบ�ำรุงดิน • การน� ำ ขยะมู ล ฝอยมาทั บ ถมในการปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ โดยใช้ วิ ธี ฝ ั ง กลบอย่ า งถู ก หลักวิชาการ (Sanitary Landfill) เพื่อสร้างพื้นที่ส�ำหรับท�ำกิจกรรมต่างๆ เช่น เพาะปลูก สนามกีฬา สวนสาธารณะ เป็นต้น


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 195

3. ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สงิ่ แวดล้อม: ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย” (Polluters Pay Principle: PPP) เป็นแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย(Polluter Pay Principle: PPP) คือการกําหนดค่าธรรมเนียมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง เป็นค่าธรรมเนียมที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม โดยเน้นว่า “ผู้ก่อมลพิษต้อง เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายนี้” วิธีการก�ำหนดค่าธรรมเนียมจะยึดหลักความเสียหายที่เกิด ขึ้น โดยพิจารณาวาผู้ก่อมลพิษจะต้องจ่ายค่าเสียหายที่เท่าไรสําหรับความเสียหายที่มี ต่อสิ่งแวดล้อม (Hassan, 2006) ในระดับหนึ่งๆหรือผู้ก่อมลพิษต้องจ่ายเท่าไรในการคืน สภาพเดิมให้กลับสิ่งแวดล้อม ในการศึกษาครั้งนี้จะใช้ค่าการจัดการมลพิษ (Pollution Management Fee: PMF) เป็นตัวแทนความรับผิดชอบที่ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย6 ผลการวิเคราะห์ จากการส�ำรวจปริมาณขยะและค่าใช้จา่ ยในการก�ำจัดขยะของทัง้ 7 ต�ำบล มีเพียง 3 ต�ำบลที่มีการจัดเก็บขยะ สถิติข้อมูลเชิงปริมาณของขยะและค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ คือ ต�ำบลเวียงและ ต�ำบลบุญเรือง มีปริมาณอยู่ที่ 27 และ 4 ตันต่อวัน ที่สามารถจัดเก็บและน�ำ ไปก�ำจัดได้โดยใช้วิธีการฝังกลบ ส่วนต�ำบลห้อยซ้อสามารถเก็บและก�ำจัดได้วันละ 4.51 ตัน ต่อวัน แต่ปริมาณของขยะทีม่ ที งั้ หมดคือ 12 ตันต่อวัน ซึง่ ขยะมูลฝอยทีเ่ หลือทางทีไ่ ม่สามารถ จัดเก็บได้หมดจะกลายเป็นขยะคงค้าง และชาวบ้านจะน�ำไปเผาเอง ฉะนั้น ค่าใช้จ่ายในการ ก�ำจัดขยะของต�ำบลห้วยซ้อจะอยูป่ ระมาณ ทัง้ นี้ ข้อมูลจ�ำนวนปริมาณขยะของต�ำบลอืน่ คาด การณ์ข้อมูลจ�ำนวนครัวเรือนที่ในแต่ละต�ำบล

6

พงษ์เทพ แซ่ลิมและพินิจ ดวงจินดา (2552)


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 196

ตารางที่ 3 จ�ำนวนขยะของแต่ละต�ำบล และค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะ ปริมาณขยะ 7 ต�ำบลที่อยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ ต�ำบล

ปริมาณขยะ (ตัน/ปี)

ค่าก�ำจัดขยะ (ล้านบาท/ปี)

ครัวเรือน (หลังคา)

ค่าก�ำจัดขยะ (ครัวเรือน/ปี)

เวียง

27

3,700,000

2,965

1,247.89

บุญเรือง

4

4,000,000

2,510

1,593.63

ห้วยซ้อ

12

2,980,645.16

4,930

604.59

ริมโขง

5.84

2,567,352.63

2,235

1148.70

ศรีดอนชัย

8.73

3,836,670.15

3,340

1148.70

สถาน

9.61

4,224,931.98

3,678

1148.70

ครึ่ง

6.60

2,902,774.09

2,527

1148.70

รวม

74

24,212,374 22,185 ที่มา: ค�ำนวณโดยผู้วิจัย

1,091

จ�ำนวนขยะที่ชาวบ้านในทั้ง 7 ต�ำบล ในเขตเศรษฐกิจพิเศษเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 74 ตันต่อวัน ซึง่ อยูใ่ นระดับน้อย งบประมาณทีใ่ ช้กำ� จัดขยะต�ำบลเวียงใช้งบประมาณทัง้ หมด 3.7 ล้านบาทต่อปี และต�ำบลบุญเรืองประมาน 4 ล้านบาทต่อปี ส่วนปริมานขยะและค่าก�ำจัด ขยะของต�ำบลอื่นมาจากการค�ำนวณความน่าจะเป็นจากต�ำบลที่มีข้อมูล ซึ่งมีความเป็นไป ได้เพราะสิ่งแวดล้อมคล้ายคลึงกันอย่างมาก ซึ่งค่าบริการในการก�ำจัดขยะอาจจะดูเป็นการ ใช้งบประมานที่น้อยในการก�ำจัดขยะ แต่ผลเสียที่เกินจากการฝังกลบโดยไม่แยกขยะจะส่ง ผลกระทบต่อดินแล้วสารเคมีที่อยู่ในขยะชนิดอันตรายจะซึมลงสู่แหล่งน�้ำส่งผลกระทบสิ่ง แวดล้อม เช่น ส่งผลต่อปลาในน�ำ้ ส่งผลต่อคนที่ใช้น�้ำในแหล่งน�้ำ เป็นต้น ส่วนต�ำบลที่เหลือ ไม่มกี ารจัดการกับขยะแต่อย่างใด ชาวบ้านใช้วธิ เี ผาซึง่ ควันไฟจะส่งผลกระทบต่ออากาศ อาจ จะท�ำให้ผู้คนในบริเวณนั้นป่วยได้ จากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม “หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย” ในปัจจุบัน จะเห็นว่าเราสามารถค�ำนวณค่าใช้จา่ ยในการก�ำจัดขยะต่อครัวเรือนได้ซงึ่ มาจากค่าใช้จา่ ยการ ก�ำจัดขยะ และปริมาณครัวเรือนของทั้ง 5 ต�ำบลค�ำนวณได้ จะได้ค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดขยะ ครัวเรือนละประมาณ 1,091 บาทต่อปี (ค�ำนวณจากค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปี หารกับจ�ำนวน


ณ 74 ด 3.7 ก�ำจัด ป็นไป นการ จะส่ง ทบสิ่ง ที่เหลือ ศ อาจ

จจุบัน ยการ ดขยะ ำนวน

In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 197

ครัวเรือน) ซึ่งถ้ามีการจัดตั้งศูนย์ก�ำจัดขยะของพื้นที่ด่านชายแดนเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ อาจจะมีการเก็บค่าบริการเป็นรายเดือนเดือนละ 99 บาทหรือปีละ 1,091 บาทเป็นต้น เพื่อ ให้ต้นทุนส่วนเพิ่มทางสังคม (marginal social cost) ที่แต่ละครัวเรือนที่เกิดจากการผลิต ขยะ เท่ากับประโยชน์ส่วนเพิ่มที่สังคมได้รับ (marginal social benefit) จะส่งให้แต่ละครัว เรือนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะที่พอเหมาะมากขึ้น จากการคาดการณ์เมื่อนิคมอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจอื่นๆก่อสร้างแล้วเสร็จ ขยะมูลฝอยอันตรายจะมีอัตราส่วนร้อยละเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ เฉลี่ยเพิ่มขึ้น 350 ล้านตันต่อ ปี และขยะมูลฝอยอินทรีย์ก็จะมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นซึ่งเกิดจากการขยายตัวของภาคบริการ ที่ จ ะมารองรับ นัก ศึก ษา คนวัยท�ำ งาน แล้ว นักท่องเที่ยวที่จะหลั่งไหลกันเข้ามาเยือน อ�ำเภอเชียงของด้วยเช่นกัน บทสรุปและข้อเสนอแนะ ระบบจัดการขยะนั้นเริ่มแรกจะเป็นการเก็บขยะโดยรถเก็บขยะเพื่อน�ำมาคัดแยะ ประเภทของขยะที่โรงงาน ขยะประเภทรีไซเคิลจะถูกส่งขายไปยังโรงงานรับซื้อเพื่อท�ำการ รีไซเคิลต่อไป ส่วนขยะมูลฝอยอินทรีย์จะมีการน�ำไปหมักเพื่อท�ำเป็นปุ๋ยอินทรีย์แล้วส่งขาย ไปยังบริษัทปุ๋ยทั้งสองประเภทนี้จะสามารถเพิ่มรายได้ให้กับโรงเผาขยะแห่งนี้ด้วย ส่วนขยะ มูลฝอยทั่วไปจะถูกน�ำเข้าเตาเผาเพื่อก�ำจัดและผลิตไฟฟ้าต่อไป ในช่วงเริ่มก่อสร้างอาจจะใช้ งบประมาณสูงถึง 600 ล้านบาท เมือ่ มาวิเคราะห์ถงึ ประโยชน์ทสี่ งั คมจะได้รบั ย่อมมีมากกว่า ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นถ้าไม่มีการจัดการขยะที่ดี และโครงการนี้อาจจะคืนทุนให้แก่รัฐบาล ภายใน 15 ปี ซึ่งถือว่าคุ้มทุนที่จะก่อสร้างเพื่อสังคมที่ดีในระยะยาว คุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชนในชุมชน ฉะนั้น ควรจะมีการสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทร่วมลงทุน และด�ำเนินการ เพื่อเป็นการลดภาระของรัฐบาลด้านการลงทุนและการบริหารจัดการ โดย รูปแบบการลงทุนและด�ำเนินการศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยอาจท�ำได้หลายวิธี อาทิ เอกชนเป็น ผู้ลงทุนและด�ำเนินการเองทั้งหมด รัฐร่วมลงทุนกับภาคเอกชน รัฐลงทุนการก่อสร้างระบบ และให้เอกชนด�ำเนินการ เป็นต้น


In focus: เขตเศรษฐกิจพิเศษ หน้า 198

บรรณนุกรม ปเนต มโนมัยวิบูลย์ (2557) “การเปรียบเทียบสมรรถนะในการจัดการขยะขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษา อปท.ในเขตอําเภอเชียงของและเชียงแสน จังหวัดเชียงราย” ปเนต มโนมัยวิบูลย์ (2557) “การให้บริการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยว: กรณีการจัดการขยะมูลฝอยและน�ำ้ เสียในอ�ำเภอเชียงของและ อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย” ประชาชาติธุรกิจ (16 กุมภาพันธ์ 2558). ที่ดินเชียงของพุ่งไร่ละ 3 ล้าน “เมืองเงิน”เทพัน ล.ซื้อตั้งนิคม. ค้นหาเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.prachachat. net/news_detail.php?newsid=1424063789 ผู้จัดการออนไลน์ (24 มกราคม 2558). รมว.อุตฯ เลาะชายแดนดูนิคมฯ เชียงของ คาดปี 61 เริ่มได้. ค้นหาเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.manager.co.th/ Local/ViewNews.aspx?NewsID=9580000009145 ผู้จัดการออนไลน์ (2556) “บ่อเชียงของไฟลุก ส่งกลิ่น-ควันคลุ้งชายแดนไทย-ลาว” ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/local/viewnews.aspx?NewsID=9560000050101 ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (2557) “แนวโน้มนโยบายส่งเสริมการลงทุนใน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายในอนาคต” ส�ำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ (2552) “การก�ำจัดขยะ มูลฝอยแบบฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล” ค้นหาจาก http://infofile.pcd.go.th/ waste/waste_sanitaryLandfill.pdf?CFID=3170718&CFTOKEN=69828423


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 199

โอกาส ณ วันนี้ ที่ เชียงของ วราวุฒิ เรือนค�ำ หลังจากการเปิดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ท�ำให้อ�ำเภอเชียงของถูกผลัก ดันให้มีบทบาทที่ชัดเจนมากขึ้นในการเป็นประตูสู่อาเซียนอีกครั้ง ตามแผนยุทธศาสตร์ของ การพัฒนาอ�ำเภอเชียงของทีไ่ ด้วางไว้กอ่ นหน้านี้ ในการเป็นประตูทเ่ี ชือ่ มไปยังเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว และต่อไปยังมณฑลยูนนาน ประเทศจีนตอนใต้ การเปิดสะพานส่ง ผลเอื้อต่อการขนส่งสินค้าข้ามพรมแดนระหว่างไทย ลาว และจีนมากขึ้น เมื่อเทียบกับสมัย ก่อนที่ต้องรอขนสินค้าบริเวณท่าเรือ ซึ่งการขนคนและสินค้าต้องใช้เวลาอย่างมาก ปัจจุบัน กลุม่ พ่อค้าชาวลาวจากฝัง่ ห้วยทราย บ่อเต็น และหลวงน�ำ้ ทามีปริมาณการข้ามฝัง่ มาซือ้ สินค้า จากฝั่งไทยมากขึ้น

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของจีนตั้งแต่สมัยเติ้งเสี่ยวผิง ที่มุ่งเน้นพัฒนา เพื่อการขจัดความยากจน มาเป็นการพออยู่พอกิน จนมาถึงการกินอิ่มนอนอุ่น ด้วยแนวคิด อันหลักแหลมจึงมียกระดับความมั่งคั่งให้กับ 8 มณฑลทางตอนใต้ โดยยึดยุทธศาสตร์ทาง


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 200

ออกสู่ทะเลและผลักดันให้แหล่งทุนจีนออกไปลงทุนนอกประเทศ ด้วยเหตุนี้จึงมีการพัฒนา เส้นทางคมนาคมสาย “คุนมั่ง-กงลู่” ที่เชื่อมโยงเมืองเศรษฐกิจที่มีความเติบโตอย่างก้าว กระโดดอย่างคุนหมิงสู่กรุงเทพมหานคร หรือที่รู้จักกันในนาม R3A ซึ่งเป็นเส้นทางที่ตัดผ่าน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จึงท�ำให้เชียงของเป็นประตูด่านแรกที่นักท่องเที่ยวชาวจีน นับแสนคนต้องผ่าน อีกทัง้ ยังเป็นประตูดา่ นสุดท้ายทีส่ นิ ค้าไทยส่งออกไปจีนตอนใต้ตอ้ งผ่าน เส้นทางนี้ หากเชียงของจะวางฐานะตัวเองเป็นแค่ “ประตู” ก็จะเป็นแค่ประตูทางผ่านเพียง เท่านั้น โดยคนเชียงของจะไม่ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาดังกล่าวแม้แต่น้อย ด้วยเหตุ นี้ด้วยวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของผู้น�ำท้องถิ่น ภาคเอกชน และ ประชาชนเชียงของ สามารถที่จะช่วยกันระดมความคิดเห็นในการหากลยุทธ์ที่จะท�ำให้ชาว เชียงของจะได้รบั ผลประโยชน์อย่างไรจากโอกาสทองนี้ ด้วยความเข้มแข็งของชาวเชียงของใน การจัดสรรทรัพยากรไม่ว่าจะเป็น การจัดโซนเมืองเก่าเมืองใหม่ การเพิ่มความสะดวกในการ ขนส่งสินค้าผ่านทางท่าเรือ การจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ การปกป้องผลประโยชน์ ชุมชนจากกลุม่ รักษ์เชียงของ ประกอบกับการประกาศให้เชียงของเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึง่ จะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลด้วยแล้ว


พัฒนา งก้าว ดผ่าน าวจีน งผ่าน นเพียง วยเหตุ และ ห้ชาว ของใน นการ โยชน์ ศษ ซึง่

บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 201

เชียงของ ณ วันนีจ้ งึ กลายเป็นเมืองแห่งโอกาสทีค่ นต่างถิน่ ต้องการทีจ่ ะเข้ามาลงทุน เห็นได้ชัดว่าอ�ำเภอเชียงของ ณ ปัจจุบันนี้เริ่มมีกลุ่มนักลงทุนจากต่างถิ่นเข้ามาประกอบ กิจการร้านค้า ร้านอาหาร โรงแรม และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วมากขึน้ ท�ำให้บรรยากาศการค้าการ ลงทุน รวมถึงบรรยากาศการท่องเที่ยวที่เริ่มกลับมาคึกคักขึ้นอีกครั้ง นอกจากกลุ่มนักลงทุน ทีต่ อ้ งการเข้ามาลงทุน และอยากเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน กลุม่ นักลงทุนชาวเชียงของเองก็ได้ เล็งเห็นโอกาสทองที่จะมาถึงในอนาคตด้วยเช่นกัน ซึ่งร้านค้าส่งค้าปลีกรายย่อยที่กระจุกตัว อยู่บริเวณต�ำบลเวียงได้พยายามที่จะพัฒนาคุณภาพสินค้าและการให้บริการ โดยมีการเน้น ติดป้ายโฆษณาหรือฉลากสินค้าเป็นภาษาจีนมากขึ้น จากในอดีตที่มีเพียงแต่ฉลากภาษาไทย และภาษาอังกฤษอย่างเดียว การติดป้ายโฆษณาเป็นภาษาจีนเป็นการสะท้อนการปรับตัวทีช่ ดั เจน คล้ายกับร้าน สะดวกซื้อในประเทศจีน เป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่บ่งบอกว่าชาวเชียงของมีการปรับตัวตาม สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงของบริบททางเศรษฐกิจได้อย่างดี นอกจากการติดป้ายโฆษณา ภาษาจีนแล้ว ยังมีการคัดสรรของฝากทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มในบรรดากลุม่ นักท่องเทีย่ วจีน เช่น สัปปะ รดอบแห้ง ทุเรียนทอด ทุเรียนกวน สตรอเบอรีอ่ บแห้ง และผลไม้แปรรูปหลากหลายชนิด ซึง่ เป็นผลไม้แปรรูปที่มีการเพิ่มมูลค่า (Value Added) โดยผ่านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ทัน สมัย เหมาะส�ำหรับการซื้อเป็นของฝากที่ตรงกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าชาวจีนที่นิยม ซื้อของฝากคุณภาพสูง ดังนั้น การเพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยนวัตกรรมการออกแบบจะส่งผลให้ สามารถตั้งราคาที่สูงได้ แม้กระทั่งข้าวสารเองก็เป็นสินค้าที่นิยมซื้อกลับไปประเทศจีนเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งในแง่มุมของชาวไทยเห็นว่าเป็นแค่สินค้าที่บริโภคในชีวิตประจ�ำวัน แต่ส�ำหรับนักท่อง เที่ยวจีน โดยเฉพาะกลุ่มที่ขับรถเข้ามาเที่ยวฝั่งไทยผ่านทางสาย R3A มีความนิยมข้าวสาร ไทยเป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจาก ข้าวสารไทยมีคุณภาพสูงกว่า และราคาถูกท�ำให้นักท่อง เที่ยวเกินกว่าร้อยละ 50 เข้ามาซื้อข้าวสาวจากฝั่งไทยไปบริโภค ซึ่งพบว่านักท่องเที่ยวบาง รายซื้อข้าวสารกลับไปขายที่จีนก็มี จึงเป็นเหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้ชาวจีนมีความนิยมในตรา สินค้าไทย (Brand Royalty) ในกลุม่ นักท่องเทีย่ วจีนยังสูงมาก รวมถึงการมีกระแสการปลอม แปลงสินค้าและอุปโภคในประเทศไทยจีน สินค้าสัญชาติไทยจึงได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น หากแต่ว่าการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพระดับพรีเมี่ยม (Premium Quality) ณ วันนี้สามารถที่


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 202

จะป้อนตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มากน้อยเพียงใด จากความเลือนลางเริม่ มีความชัดเจนมากขึน้ อ�ำเภอเชียงของในฐานะเมืองเศรษฐกิจ พิเศษที่ตั้งอยู่ชายขอบของประเทศไทย (Chiang Khong Border Special Economic Zone: CKBSEZ) มีโอกาสและศักยภาพในการแข่งขันมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการส่งเสริม และสนับสนุนให้สินค้าของเชียงราย ไม่ว่าจะเป็น ชา กาแฟ ผลไม้แปรรูป รวมถึงสินค้าของ ฝากชนิดอื่นๆ ให้เป็นสินค้าที่มีการเพิ่มมูลค่าที่ล้อไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) พร้อมทั้งการพัฒนามาตรฐานสินค้าที่มีสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Indication: GI) ซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม และยกระดับคุณภาพให้เป็นตรงตาม มาตรฐานสากล รวมถึงลดปัญหาการแข่งขันทีไ่ ม่เป็นธรรมจากสินค้าต่างถิน่ อีกทัง้ เพือ่ เป็นการ ส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) หรือแม้แต่กลุ่มนักลงทุน รุ่นใหม่ที่มีความสนใจอยากจะกลับมาประกอบอาชีพในภูมิล�ำเนาของตัวเอง แทนการเป็น แรงงานที่เข้าสู่ระบบตลาดการจ้างงานในเมืองใหญ่


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 203

ฤาจะต้องการเพียง...เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ณัฐพรพรรณ อุตมา สิทธิชาติ สมตา

จังหวัดเชียงรายมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ในการเป็นประตูการค้าสู่ประเทศ เพื่อนบ้านและประเทศจีนตอนใต้ โดยการขนส่งผ่านเส้นทาง R3A, R3B และทางเรือ ซึ่งมี มูลค่าการค้าชายแดนเป็นอันดับที่ 7 จาก 31 จังหวัดชายแดน ถือว่าเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่ ส�ำคัญด้านการค้าและการลงทุน ซึง่ อาจเป็นเหตุผลหนึง่ ทีท่ ำ� ให้จงั หวัดเชียงรายได้รบั เลือกให้ มีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 ในปีพ.ศ. 2559 โดยมีการก�ำหนดพื้นที่การจัดตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 3 อ�ำเภอชายแดน ได้แก่ อ�ำเภอแม่สาย อ�ำเภอเชียงแสน และอ�ำเภอเชียงของ ประเด็นที่ส�ำคัญในการพัฒนา ประกอบด้วย 1) เป็น พื้นที่ให้ใช้สิทธิประโยชน์ในการลงทุน 2) การบริการแบบเบ็ดเสร็จที่เดียวพร้อมสบับสนุน แรงงานต่างด้าว 3) การพัฒนาโครงสร้างขัน้ พืน้ ฐาน และ 4) การพัฒนาระบบศุลกากรให้เป็น สากลเพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ความคิดเห็นเพือ่ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดเชียงราย มีประเด็นต่างๆ ดังนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนให้มีความยั่งยืนนั้น สิ่งที่ส�ำคัญประการหนึ่งคือ การ ท�ำให้เกิดการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าชายแดน (Border value chain) ดังนั้น การจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษทีก่ อ่ ให้เกิดการพัฒนาห่วงโซ่คณ ุ ค่าชายแดนนัน้ อาจจะเริม่ ต้นจากการก�ำหนด พื้นที่หลักและพื้นที่ร่วมของเขตเศรษฐกิจพิเศษ ระหว่างพื้นที่ชายแดนไทยกับประเทศเพื่อน บ้าน เช่น 1) พื้นที่หลักอ�ำเภอแม่สาย พื้นที่ร่วม ได้แก่ อ�ำเภอแม่จัน ท่าขี้เหล็ก ประเทศเมีย นมาร์ 2) พื้นที่หลักอ�ำเภอเชียงแสน พื้นที่ร่วม ได้แก่ อ�ำเภอแม่จัน บ้านต้นผึ้ง ประเทศลาว และ 3)พื้นที่หลักอ�ำเภอเชียงของ พื้นที่ร่วม ได้แก่ อ�ำเภอเวียงแก่น ห้วยทราย ประเทศลาว เปรียบเสมือนเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มและคุณค่าชายแดน (Border value creation) จาก ต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�ำ้ เพือ่ เชือ่ มต่อการก�ำหนดศักยภาพของอุตสาหกรรม (potential sector) และเครือข่ายอุตสาหกรรม (cluster) ว่าพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนของธุรกิจประเภทใด ควร มีลักษณะการพัฒนาในฐานะเป็นอุตสาหกรรมต้นน�ำ้ กลางน�ำ้ หรือปลายน�้ำ ทั้งนี้ หลักการ


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 204

ของการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ควรมีการก�ำหนด core value-oriented framework ร่วมกันใน 3 อ�ำเภอชายแดน เช่น เขตนวัตกรรมท้องถิ่นพิเศษ (Special local innovation zone) ที่เน้นการสร้างนวัตกรรมชายแดน โดยน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาต่อยอด ให้เกิดการสร้างผลผลิตในเชิงพาณิชย์ แนวทางการพัฒนาศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) และการ ใช้ประโยชน์พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ควรมีการสนับสนุนการให้ค�ำปรึกษาด้านการสิทธิ ประโยชน์จากความร่วมมือทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นด้านการค้า ด้านการลงทุน ด้านการ เงิน ด้านแรงงาน และด้านสิ่งแวดล้อม การก�ำหนดสิทธิประโยชน์จากการอยู่ในซัพพลาย เช่นเดียวกัน การก�ำหนดสิทธิพิเศษจากการค้าการลงทุนที่จะได้รับจากประเทศที่มีชายแดน ติ ด กั น ซึ่ ง ต้ อ งเป็ น การเจรจาระดั บ ประเทศ ส� ำ หรั บ ประเทศที่ มี ช ายแดนติ ด กั น หรื อ ประเทศที่สาม และแนวทางการพัฒนาที่ส�ำคัญควรมีการก�ำหนดการพัฒนาพื้นที่ที่ให้ทุก ส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน ประชาชน (Public Private People Partnerships หรือ PPPP) เพื่อให้คนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและได้รับสิทธิ ประโยชน์ทคี่ วรได้รบั จากการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ พร้อมทัง้ การก�ำหนดให้ผทู้ ไี่ ด้รบั สิทธิ ประโยชน์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษคืนประโยชน์สชู่ มุ ชนด้วยการให้อาชีพ การศึกษา และอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ พืน้ ทีช่ ายแดน ซึง่ เป็นการสร้างความมีสว่ นร่วมในสังคม นอกจากนี้ ควรเร่ง ด�ำเนินการให้เกิดการบังคับใช้ความร่วมมือการขนส่งร่วมชายแดน (cross-border transport agreement) และพัฒนาเขตการขนส่งร่วมระหว่างชายแดน (Common transportation zone) มีกฎระเบียบการขนส่ง (ทัง้ เคลือ่ นย้ายคนและเคลือ่ นย้ายของ) ค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนิน การเป็นอัตราเดียวกัน ตลอดจนประเทศที่สามที่เชื่อมโยงต่อกันด้วย การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษจ�ำเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบและแนวทาง การแก้ไข ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวนเป็นระยะควรมีการวิเคราะห์ เศรษฐกิจมหภาค (Macro Economic Analysis) จากการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก และหากเกิดวิกฤต (crisis) ไม่ว่าจะจากเศรษฐกิจ การ เงิน (เช่น Currency war) ราคาน�้ำมัน การขาดแคลนพลังงาน เป็นต้น และวิเคราะห์ เชื่อมต่อไปถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในประเทศเพื่อนบ้านที่จะ เป็นเส้นทางเชื่อมต่อกับชายแดนประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นเมียนมาร์ ลาว จีน เช่น การ


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 205

ก�ำหนดยุทธศาสตร์ one belt one road ของจีน การมีเขตเศรษฐกิจพิเศษมากมายทั่ว ประเทศลาว และการเปิดเสรีด้านการลงทุนของเมียนมาร์ แม้กระทั่งการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมและภัยจากธรรมชาติ ไม่ว่าเป็นเป็นน�้ำท่วม แผ่นดินไหว ไฟป่า น�้ำแห้ง ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อด้านเศรษฐกิจทั้งสิ้น ควรมีแผนด�ำเนินการป้องกันเพื่อสร้างความเชื่อมั่นกับ นักลงทุน


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 206

การทะลักของคลื่นคน คลื่นทุน และคลื่นสินค้าจากจีน พรพินันท์ ยี่รงค์ ณัฐพรพรรณ อุตมา ประเทศจีนก�ำลังจะได้ขึ้นแท่นเป็นประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจของโลกแทน สหรัฐอเมริกา โดยในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ส�ำนักงานข่าวต่างประเทศได้อ้างกอง การเงินระหว่างประเทศ (IMF) ว่าสถิติความเท่าเทียมของอ�ำนาจในการซื้อ (Purchasing Power Parity: PPP) ของพลเมืองจีนพุ่งขึ้นร้อยละ 16.48 หรือประมาณ 17.62 ล้าน ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าพลเมืองสหรัฐอเมริกาที่เติบโตร้อยละ 16.28 หรือประมาณ 17.42 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ถึงแม้ว่าอ�ำนาจในการซื้อของจีนจะสามารถแซงหน้าสหรัฐ มาได้เพียงไม่กี่ก้าว แต่ก็ถือว่าเป็นฤกษ์ดีของจีนที่ในอนาคตจีนจะเติบโตได้มากกว่าสหรัฐ อย่างไรก็ตามมูลค่าของผลิตภัณฑ์ของสหรัฐยังคงสูงกว่าจีนอยู่อีกมาก1 เมื่อเศรษฐกิจของจีนขยายตัวก็ส่งผลให้เกิดการจ้างงานในประเทศ และเพิ่มรายได้ ให้กบั คนจีนด้วยอ�ำนาจในการซือ้ ทีส่ งู ขึน้ ของพลเมืองจีน ท�ำให้ชาวจีนมีความต้องการทีจ่ ะใช้ จ่ายและลงทุน จึงส่งผลให้เกิดการแผ่ขยายเงินทุนไปยังประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศที่ ก�ำลังพัฒนาในฝัง่ เอเชียตะวันออก การเดินทางเข้ามาท่องเทีย่ วเป็นหมูค่ ณะและหาผลิตสินค้า เพื่อส่งออก ท�ำให้ตอนนี้ความเป็นจีนก�ำลังเข้ามาครอบง�ำเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมใน ประเทศด้วยคลืน่ คน คลืน่ ทุน และคลืน่ สินค้าจ�ำนวนมหาศาลทีท่ ะลักเข้ามาอย่างไม่ทนั ตัง้ ตัว ส่งผลให้รฐั บาลและประชาชนต้องมีการปรับตัวเพือ่ สอดรับกับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงที่ เกิดขึ้นให้ทันท่วงที

การมองมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) อย่างเดียว ไม่สามารถเปรียบเทียบต้นทุนที่ต่างกัน ระหว่างประเทศอุตสาหกรรมได้ ซึ่งดัชนีความเท่าเทียมกันของอำ�นาจในการซื้อได้อิงถึงอัตราแลกเปลี่ยน อย่างแท้จริง [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000116615 (15 มีนาคม 2558)

1


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 207

คลื่นคน การเข้ามาของชาวจีนแผ่นดินใหญ่ในประเทศไทยค่อนข้างมีหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะมาในรูปแบบการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว หรือแม้แต่การเข้ามาเล่าเรียนใน ประเทศไทย ซึ่งท�ำให้จ�ำนวนประชากรของคนจีนในไทยเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ด้วยปัจจัยหลาย อย่างที่เอื้อให้ชาวจีนมีการหลั่งไหลเข้ามา เช่น การพัฒนาของสาธารณูปโภคที่เชื่อมโยง ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย ความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ อิทธิพลจาก ภาพยนตร์ที่กระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยว การขยายตัวของเศรษฐกิจจีน เป็นต้น โดยการเข้า มาของชาวจีนได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมไทยเป็นอย่างมาก เราจะเห็นว่าตามแหล่งท่องเทีย่ วต่างๆของประเทศไทย ไม่วา่ จะเป็นภาคเหนือ ภาค กลาง ภาคตะวันตก หรือภาคตะวันออก ก็จะมีกลุม่ นักท่องเทีย่ วชาวจีนกระจายอยูใ่ นทุกพืน้ ที่ ไม่ว่าจะมากับบริษัทน�ำเที่ยวหรือเดินทางมากันเองก็ตาม ด้วยอิทธิพลจากหนังภาพยนตร์ เรื่อง “Lost in Thailand” หรือ “ไท่จ่ง” ซึ่งถ่ายท�ำในจังหวัดเชียงใหม่ ท�ำให้ประเทศไทย เป็นจุดหมายใหม่สำ� หรับนักท่องเทีย่ วจีนในการเข้ามาท่องเทีย่ ว ท�ำให้ประเทศไทยกลายเป็น จุดหมายใหม่สำ� หรับนักท่องเทีย่ วในการเข้ามาฉลองวันหยุดยาวอย่างตรุษจีน2 การท่องเทีย่ ว ของจีนสมัยใหม่จะนิยมขับรถมากันแบบคาราวานเดินทางมาจากทางตอนใต้ของประเทศจีน ผ่านเส้นทาง R3A มายังสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ในอ�ำเภอเชียงของ ที่เปิดท�ำการ อย่างเป็นทางการในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2556 โดยในเดือนมกราคม พ.ศ.2547 มีจำ� นวน รถท่องเที่ยวขาเข้าถึง 1,793 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนธันวาคม พ.ศ.2556 ถึงร้อยละ 129 หาก เทียบกับเดือนมกราคม พ.ศ.2556 เติบโตถึงร้อยละ 738 ถือว่าสะพานทีเ่ ชือ่ มระหว่างจังหวัด เชียงราย กับแขวงบ่อแก้วเป็นตัวที่ช่วยกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวจีนหลั่งไหลเข้ามาเป็นจ�ำนวน มาก จนกระทัง่ ในปีพ.ศ.2557 ปริมาณรถท่องเทีย่ วขาเข้าในเดือนกุมภาพันธ์สงู ถึง 5,477 คัน สูงสุดในรอบหลายปีที่ผ่านมานี3้ การทะลักของนักท่องเที่ยวจีนได้ส่งผลให้เงินบาทขาดตลาดในบางพื้นที่ เพราะนักท่องเที่ยวจะแลกเงินหยวนเป็น เงินไทยเพื่อเตรียมตัวมาพร้อมเดินทางท่องเที่ยว [ระบบออนไลน์] http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/china-economic-business/result.php?SECTION_ID=464&ID=12277 (30 มีนาคม 2558) 3 ข้อมูลการด่านศุลกากรเชียงของ จังหวัดเชียงราย และคำ�นวณโดยผู้วิจัย 2


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 208

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้การเข้ามาท่องเทีย่ วในของชาวจีนจะช่วยเพิม่ รายได้ และมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศให้กบั ประเทศไทย แต่ผลกระทบจากพฤติกรรมของนักท่อง เที่ยวจีนกลับส่งผลให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมไทย เช่น การล้างเท้าในอ่างล้างหน้า การท�ำลายทรัพย์สินในแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งอาจเกิดจากการไม่เข้าใจในกฎระเบียบของแหล่ง ท่องเที่ยวไทยอย่างชัดเจน ประกอบกับความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยและจีน จึงเป็น เหตุให้ประเทศไทยจะต้องสร้างกติกาสากล พร้อมทั้งออกบทลงโทษแก่นักท่องเที่ยวชาวจีน ขึ้นมา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ นอกจากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวชาวจีนแล้ว ผู้ปกครองชาวจีนก็ยังนิยมส่ง ลูกหลานมาเรียนในไทยอีกด้วย โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัย เนื่องจากผู้ ปกครองชาวจีนเห็นว่าการศึกษาไทยมีค่าใช้จ่ายที่ไม่แพง มีคุณภาพ และยังช่วยเพิ่มฐานเงิน เดือนให้สงู รวมถึงวัฒนธรรมไทยสามารถอบรมให้เด็กจีนมีระเบียบวินยั และจิตใจโอบอ้อมอารี เมือ่ เด็กจีนส�ำเร็จการศึกษาแล้วก็มแี นวโน้มทีจ่ ะท�ำงานในประเทศไทยต่อ เพราะประเทศไทย มีโอกาสในการท�ำงานสูงกว่าในประเทศจีน ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นพร้อมด้วย การแข่งขันทีส่ งู ตามมา ทัง้ นีอ้ ปุ สงค์ความต้องการแรงงานของไทยก็ตอ้ งการแรงงานทีม่ ที กั ษะ ในการพูดและเขียนภาษาอังกฤษ และภาษาจีนอย่างคล่องแคล่วเช่นกัน4 จึงเป็นเรื่องท้าทาย ส�ำหรับแรงงานไทยทีต่ อ้ งพัฒนาศักยภาพของตนเองมากขึน้ เพือ่ ให้สามารถแข่งขันกับแรงงาน จีนในตลาดแรงงานไทยให้ได้ ฉะนัน้ ผลกระทบจากการเข้ามาของชาวจีนมีทงั้ เชิงบวกและก็เชิงลบ ซึง่ รัฐบาลต้องมี มาตรการและนโยบายทีจ่ ะรับมือกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการสร้างกฎกติกา การให้ความรูแ้ ก่นกั ท่องเทีย่ วจีน การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐ รวมถึงความร่วม มือกับรัฐบาลจีน เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจแก่ทกุ ภาคส่วนและเพิม่ บทบาทของประชาชนในการ มีสว่ นร่วมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ทีส่ ำ� คัญคือ การสร้างความ รูค้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับ ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมเพื่อไม่ให้นำ� มาสู่ความขัดแย้ง วัฒนธรรมของจีนในบางพื้นที่ เช่น เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง และมณฑลยุนนาน มีวัฒนธรรมและ ภาษาที่ใกล้เคียงกับประเทศไทยมาก ทำ�ให้ชาวจีนสามารถเข้ามาเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อใช้ในการสื่อสารได้ไม่ ยาก [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/mgrWeekly/ViewNews.aspx?NewsID=9530000083624 (วันที่ 10 มีนาคม 2558)

4


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 209

คลื่นทุน เมือ่ ทุนในจีนมีมากมายมหาศาลทีถ่ กู เก็บรวมจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ไม่สามารถทีจ่ ะ ลงทุนภายในประเทศจีนอย่างเดียวได้ จึงขยายอ�ำนาจไปยังต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่ ก�ำลังพัฒนาในประเทศแถบเอเชียตะวันออกอย่างไทย กัมพูชา สปป.ลาว และเมียนมาร์ จน เข้าควบคุมกิจการเกือบทุกอย่าง และกลายเป็นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจในประเทศ พัฒนาในที่สุด โดยเฉพาะการให้เงินช่วยเหลือในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน สะพาน ทีม่ คี วามส�ำคัญให้การเชือ่ มโยงจากประเทศจีนไปยังประเทศต่างๆในภูมภิ าคอาเซียน การรุกคืบของทุนจีนเห็นได้ชัดในบริเวณของพื้นที่ชายแดนอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น พื้นที่ชายแดนของไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากบริเวณชายแดนเป็นพื้นที่พิเศษที่ มีเป็นจุดยุทธศาสตร์ของประเทศในการท�ำการค้าระหว่างประเทศ และมีโครงการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ถูกสร้าง เสร็จ ยิ่งส่งผลให้เกิดการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่นักธุรกิจชาวจีนให้เข้ามาท�ำการค้าได้ มากยิ่งขึ้น เช่น ตอนนี้มีการเข้ามาของทุนจีนในด้านโลจิสติกส์อย่างในเชียงรายที่มีมูลค่า กว่า 6,000 ล้านบาท ในอ�ำเภอเชียงของ5 ซึ่งเป็นอ�ำเภอที่อยู่ในแผนการพัฒนาให้เป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษในระยะที่สอง ปี 2559 นอกจากนั้นในฝั่งตรงข้ามของอ�ำเภอเชียงของยังมี การเข้ามายึดพื้นที่เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้วในการปลูกยางพาราและกล้วยหอม รวมถึงพืช เศรษฐกิจอย่าง อินชินัท เพื่อป้อนสินค้าให้กับตลาดจีน6 ส่วนเมียนมาร์ ทั้งนี้รัฐบาลจีนได้ พยายามที่จะสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุนเป็น หลัก เพื่อเพิ่มโอกาสให้นักลงทุนชาวจีนสามารถเข้าท�ำธุรกิจได้สะดวกขึ้น โดยทุนจีนมีจุด ประสงค์หลักที่จะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศที่ก�ำลังพัฒนา เช่น น�้ำมันดิบ จากเมียนมาร์ ซึ่งตอนนี้รัฐบาลจีนได้ท�ำร่วมทุนกับรัฐวิสาหกิจน�ำ้ มันและก๊าซในเมียนมาร์ เกี่ยวกับการก่อสร้างท่อส่งน�้ำมันจากเมียนมาร์ไปยังจีน และได้เสร็จสิ้นไปแล้วเมื่อเดือน ในอนาคต เจ๋ฟงโลจิสติกส์จากจีนจะลงทุนสร้างศูนย์โลจิสติกส์แบบครบวงจร (Logistics Hub) และโรงแรมระดับ 4 – 5 ดาว เพื่อรองรับนักธุรกิจจีนและไทยที่เข้ามาในพื้นที่ [ระบบออนไลน์] http://www.prachachat.net/ news_detail.php?newsid=1418708896 (วันที่ 16 มีนาคม 2558) 6 พื้นที่กว่า 60 % ของเมืองหลวงน้ำ�ทาถูกจีนรุกเข้ามาส่งเสริมในการปลูกยางพารา [ระบบออนไลน์] http:// www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1420626582 (วันที่ 16 มีนาคม 2558) 5


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 210

พฤษภาคมปีพ.ศ.25577 สรุปได้ว่าผลกระทบภายนอก (Externalities) เชิงบวก คือ มูลค่าการลงทุนที่เพิ่ม ขึ้น การจ้างงานที่เพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น สิ่งที่ตามมาคือท�ำให้เกิดการพัฒนาของเศรษฐกิจ และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในประเทศ กระนั้นผลกระทบภายนอกในเชิงลบคือ ก็ สร้างต้นทุนให้กับผู้ประกอบการท้องถิ่นในประเทศต่างๆ ที่มีความได้เปรียบน้อยกว่าในด้าน เงินทุน เทคโนโลยี และการที่ถูกแย่งทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต ท�ำให้ผู้ประกอบการท้องถิ่น ต้องหาทางปรับตัวเพื่อความอยู่รอด เพื่อให้สามารถแข่งขันกับทุนจีนที่จะเข้ามามากขึ้นใน อนาคต ซึง่ ส่วนหนึง่ ก็ตอ้ งพึง่ พาแรงสนับสนุนจากรัฐบาลเป็นส่วนใหญ่ ในการผลักดันนโยบาย ทีส่ ง่ เสริมการลงทุนของผูป้ ระกอบการในประเทศเป็นหลัก เช่น ในด้านของการปล่อยสินเชือ่ แก่ธรุ กิจขนาดกลางและขนาดเล็ก การให้งบประมาณทีก่ ารวิจยั ศักยภาพในการเพิม่ มูลค่าของ สินค้าไทย เป็นต้น คลื่นสินค้า สิ น ค้ า จี น ถื อ ว่ า เป็ น สิ น ค้ า ที่ มี ร าคาถู ก เนื่ อ งจากต้ น ทุ น การแรงงานที่ ถู ก กว่ า ประเทศอื่น ท�ำให้สินค้าจากจีนสามารถเข้าตีตลาดในประเทศต่างๆทั่วโลกได้อย่างไม่ยาก โดยเฉพาะสินค้าเกษตรที่จีนถือได้ว่าเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรขนาดใหญ่ป้อนให้กับตลาด โลก แม้วา่ ยังจะไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศก็ตาม ซึง่ รัฐบาลจีนจะได้เน้นการผลิต สินค้าที่เป็นสินค้าออร์แกนิกอย่างมาก และส่งออกผลผลิตเข้ามาตีตลาดในประเทศไทยโดย อาศัยเส้นทาง R3A ที่เชื่อมต่อจากจีนตอนใต้ ผ่านสปป.ลาวมายังจังหวัดเชียงราย จากข้อมูลของส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ใบชา ถือเป็นสินค้ากสิกรรม ที่มีมูลค่าการน�ำเข้าจากจีนที่มีการเติบโตสะสมสูงสุด (Compound Growth rate) ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2550 ถึงปีพ.ศ.2556 อยู่ที่ร้อยละ 252 โดยมีการเริ่มน�ำเข้าสินค้าตั้งแต่ปีพ.ศ.2550 มีมูลค่าอยู่เพียง 5,000 บาท จนปัจจุบันอยู่ที่ 2.72 ล้านบาท รองมาได้แก่ ผลไม้ที่มีการ เติบโตสะสมอยู่ที่ร้อยละ 80 โดยเริ่มน�ำเข้าตั้งแต่ปีพ.ศ. 2551 ต่อมา ได้แก่ พืชผักสด ที่มี นอกจากนี้ ยังได้ลงนามสร้างโรงงานไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการการท่อก๊าซ ธรรมชาติอีกด้วย [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1423222129 (13 มีนาคม 2558)

7


บทความพิเศษ (Opinion Piece) หน้า 211

การเติบโตสะสมอยู่ที่ร้อยละ 37 และ ผลไม้มีการเติบโตสะสมอยู่ท่ีร้อยละ 25 ซึ่งพืชผัก สดนั้นมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 ถึงปีพ.ศ. 2556 ปัจจุบัน มีมูลค่า การน�ำเข้าอยู่ที่ 1,112.22 ล้านบาท ท�ำให้จังหวัดเชียงรายขาดดุลการค้าชายแดนจาก สินค้ากสิกรรมกว่า 1,286 ล้านบาท ในปีพ.ศ. 2556 โดยสัดส่วนเสียดุลการค้าจากพืชผัก สด ประมาณ 844 ล้านบาท และจากผลไม้ประมาณ 773 ล้านบาท รวมถึงสินค้ากสิกรรม อีก 3 ชนิด ได้แก่ ใบชาและใบยาสูบที่ด่านจังหวัดเชียงรายได้น�ำเข้าจากจีนทางเดียวและ ดอกไม้ประดับ อย่างไรก็ตาม ด่านจังหวัดเชียงรายยังได้ดุลการค้าจากการส่งออกสินค้า เกษตรประมาณ 321 ล้านบาท ผงบุกส่วนผสมส�ำหรับการเพาะเห็ดประมาณ 120 ล้านบาท เมล็ ด ถั่ ว ลั น เตาประมาณ 115 ล้ า นบาท และสิ น ค้ า กสิ ก รรมอื่ น ๆ ได้ แ ก่ เครื่ อ งเทศ เมล็ดฟักทอง และน�้ำผึ้ง ปัจจุบัน นโยบายของรัฐบาลจีนได้ให้ความส�ำคัญกับการเกษตรเป็นอย่างมาก และมีการส่งเสริมด้านการเกษตรอย่างจริงจังในด้านการผลิตสินค้าเกษตรแบบออร์แก นิก ท�ำให้สินค้าเกษตรจากจีนมีความได้เปรียบในตลาดอาเซียน และในตลาดโลก ล�้ำหน้า ประเทศไทยที่เคยเป็นหนึ่งในผู้ส่งออกสินค้าเกษตรที่มีสัดส่วนสูงที่สุดในโลก การเข้ามาตี ตลาดของสินค้าเกษตรจีนในประเทศไทย เป็นเหตุให้เกษตรกรและรัฐบาลไทยต้องทบทวน วิถีการเกษตรของไทยใหม่ว่ายังคงสามารถแข่งขันกับประเทศในกลุ่มประชาคามอาเซียน และจีนได้หรือไม่ จากการเข้ามาของคลื่นคน คลื่นทุน และคลื่นสินค้า กลายเป็นความท้าทายที่ นักธุรกิจต้องทบทวนโอกาสในการผลิตสินค้าเพื่อป้อนสู่ตลาดโลกและเป็นเรื่องที่รัฐบาลควร พิจารณากติกาให้กับชาวต่างชาติที่เข้ามาในประเทศมากกว่าการปล่อยให้เป็นไปตามกลไก ตลาด เพราะในโลกของการค้าเสรีเราไม่สามารถที่จะควบคุมการเคลื่อนย้ายของสินค้า คน และเงินทุนได้ ฉะนั้นสิ่งที่รัฐบาลไทยจะช่วยเหลือผู้ประกอบการในประเทศได้ก็คือ ตั้งกฎ กติกาที่ให้ชาวจีนที่เป็นทั้งนักท่องเที่ยวและนักลงทุนเข้ามาปฏิบัติตาม และพยายามผลักดัน ให้สินค้ามีความสามารถในการแข่งขัน


รายชื่อคณะกรรมการบริหาร 1. อ. ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ 2. รศ. ดร.สิงหา เจียมศิร ิ 3. อ. ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส 4. ผศ. ดร.ณัฐพรพรรณ อุตมา 5. อ. ดร.สุเทพ นิ่มสาย 6. อ. ดร.ภูมิพัฒน์ มิ่งมาลัยรักษ์ 7. อ. รอ.กำ�จัด เล่ห์มงคล 8. อ. กฤช สิทธิ์วางค์กูล 9. อ. ณัฐพันธุ์ กองบัวใหม่ 10. อ. นราวุธ ทองมะโรงสี 11. อ. นันท์ชญาน์ เกตุอุบล 12. อ. กรวิทย์ ฟักคง 13. อ. สมรรถชัย แย้มสอาด 14. อ. ปริญญากรณ์ แพงศรี 15. อ. วราวุฒิ เรือนคำ� 16. อ. ปพนพัชร์ ทวีอภิรดีเจริญ 17. นส. ประภาพร แก้วมุกดา 18. นายสิทธิชาติ สมตา 19. นางสาวพรพินันท์ ยี่รงค์

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา รักษาการประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและผู้ประสานงาน กรรมการ กรรมการ และเลขานุการ กรรมการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยนักวิจัย ผู้ช่วยนักวิจัย


CONTACT US 333 หมู 1 ตำบลทาสุด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 obels-mfu.com Office of Border Economy and Logistics Study mfuobels@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.