O B E L S PO L ICY B RIE F No. 2, January 2014
ความท้าทายในการบริหารจัดการพื้ นที่เชียงของ* สุเมธ พฤกษ์ฤดี
อาเภอเชียงของกาลังจะเข้าสู่จดุ เปลีย่ นสาคัญ หากได้รบั การบริหารจัดการทีด่ ีกจ็ ะเป็ นการยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนใน พื้นทีอ่ ย่างก้าวกระโดด ถ้าเป็ นในทางตรงกันข้า มคนในพื้นทีก่ จ็ ะได้รบั ผลกระทบรุนแรงและกว้างขวาง การบูรณาการจากทุก ภาคส่วนจึงมีความสาคัญยิ่งยวด ทัง้ ภาครัฐและภาคประชาชน บทความนี้จะเริ่มด้ วยการฉายภาพการเปลี่ยนแปลงของเชียงของในช่วง 5 ปี ที่ผ่าน ตามด้ วยรายละเอียดโครงการขนาด ใหญ่ท่จี ะเกิดขึ้นในพื้นที่ สุดท้ ายจะนาเสนอประเด็นท้ าทายในมิตติ ่างๆ ที่ต้องได้ รับการบูรณาการประกอบการตัวเลขประมาณ การต่างๆ เพื่อให้ เห็นภาพที่จะเกิดขึ้นใน 10 ปี ข้ างหน้ า ข้ อมูลเหล่านี้ได้ จากสารวจข้ อมูลในพื้นที่ เก็บข้ อมูลสถิตจิ ากหน่วยงาน ต่างๆ และสัมภาษณ์ผ้ กู าหนดนโยบายในระดับพื้นที่ เช่น ปลัดอาเภอ นายองค์การปกครองส่วนท้ องถิ่นต่างๆ ฯลฯ 1. เชียงของในปั จจุบนั อาเภอเชียงของเป็ นเมืองหน้ าด่านที่เชื่อมการค้ าและการลงทุนของไทยเข้ ากับประเทศจีนตอนใต้ และอาเซียนผ่านเส้ นทาง R3A ซึ่งเป็ นเส้ นทางยุทธศาสตร์หลักของภูมิภาค กระแสการเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาคทั้งภายใต้ กรอบอนุภมู ิภาคลุ่มนา้ โขง (GMS) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็ นปั จจัยหลักที่กาหนดความเป็ นไปของอาเภอเชียงของในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา การค้ าและการท่องเที่ยวที่ด่านเชียงของเติบโตอย่างก้ าวกระโดดถึงแม้ ปัจจุบันมูลค่าการค้ าชายแดนที่ด่านเชียงของจะมีมูลค่า น้ อยที่สดุ เมื่อเปรียบเทียบกับด่านอื่นในจังหวัดเชียงราย แต่กเ็ ป็ นด่านที่มอี ตั ราการเติบโตสูงที่สดุ คือ มีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยปี 2553-2554 เท่ากับร้ อยละ 65 ซึ่งมากกว่ าด่านแม่สายและเชียงแสนที่มีอัตราเติบโตเฉลี่ยเท่ากับร้ อยละ 45 และ 28 ตามลาดับ เมื่อพิจารณาร่วมกับการเปิ ดใช้ สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 ทาให้ คาดการณ์ได้ ว่ามูลค่าการค้ าชายแดนที่ ด่านเชียงของจะสามารถเป็ นอันดับหนึ่งของจังหวัดเชียงรายได้ ภายใน 2 ปี (ภาพที่ 1)
*
บทความนี้เป็ นการสรุปความจากรายงานความท้าทายของอาเภอเชียงของในฐานะประตูส่อู าเซียน ที่ผ้ เู ขียนมีส่วนร่วมในโครงการ เสริมสร้ างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยผ่านกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนาท้องถิ่น (สกนธ์ และคณะ 2556) เพื่อเสนอต่อ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
1|Page
ภาพที่ 1 มูลค่าการค้ าชายแดนของด่านต่างๆ ในจังหวัดเชียงรายปี 2552-2554
ที่มา: แผนยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงรายปี 2557-2560 และด่านศุลกากรเชียงของ ด่านเชียงของเป็ นช่ องทางสาคัญในการส่งออกสินค้ าไทยไปขายให้ ประเทศจีนตอนใต้ เวียดนาม และส.ป.ป.ลาว ตาม เส้ นทาง R3A โดยตั้งแต่ปี 2551 มูลค่าการส่งออกสินค้ าผ่านด่านเชียงของเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วด้ วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยปี 2552-2555 เท่ากับร้ อยละ 64 ส่งผลให้ ในปี 2555 การส่งออกสินค้ าผ่านด่านเชียงของมีมูลค่าประมาณ 12,000 ล้ านบาท ซึ่งมีขนาดเป็ น 3 เท่าของมูลค่าสินค้ านาเข้ าผ่านด่านเชียงของ (ภาพที่ 2) ภาพที่ 2 มูลค่าการนาเข้ าและส่งออกสินค้ าที่ด่านเชียงของปี 2551-2555
ที่มา: ด่านศุลกากรเชียงของ การขนส่งสินค้ าระหว่างไทย ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ มีพาหนะหลักคือรถบรรทุกตู้สนิ ค้ า การขนส่งสินค้ าข้ ามแดน ระหว่างไทยกับลาวจะใช้ เรือพวงข้ า มซึ่งสามารถขนรถบรรทุกตู้สนิ ค้ าข้ ามแม่นา้ โขงได้ เที่ยวละ 6 คัน หลังจากข้ ามแม่นา้ โขงที่ ด่านเชียงของฝั่งไทยไปด่านห้ วยทรายฝั่งลาวแล้ วก็จะใช้ เส้ นทางสาย R3A ขนส่งต่อไปอีก 228 กม. ก็จะถึงพรมแดนลาว (บ่อ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
2|Page
เต็น) – จีน (โมฮาน) ที่จุดนี้ฝ่งั จีนได้ มกี ารก่อสร้ างจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้ าและปั๊มนา้ มันขนาดใหญ่ไว้ รองรับเรียบร้ อยแล้ ว สถิตทิ ่ี ด่านตารวจตรวจคนเข้ าเมืองเชียงของในปี 2551-2555 ระบุว่ารถยนต์ท่สี ญ ั จรผ่านด่านเชียงของร้ อยละ 95 เป็ นรถบรรทุกซึ่ง มีรถบรรทุกนา้ มันไปส่งที่พรมแดนลาว-จีนรวมอยู่ด้วยประมาณร้ อยละ 20 ที่เหลือร้ อยละ 5 เป็ นรถยนต์ส่วนบุคคลและรถตู้ เพื่อการท่องเที่ยวตามเส้ นทางสิบสองปันนา นอกจากนี้ยังมีการขนส่งสินค้ าทางเรือบรรทุกสินค้ าซึ่งส่วนใหญ่เป็ นการนาเข้ าไม้ แปรรูปของไทยจากลาว (หลวงพระบาง) ปริมาณสินค้ าในส่วนนี้ค่อนข้ างคงที่โดยปี 2555 มีเรือบรรทุกสินค้ า 204 เที่ยว และ คาดการณ์ว่าการขนส่งทางเรือนี้จะดาเนินอยู่หลังเปิ ดใช้ สะพานมิตรภาพแล้ ว เพราะการขนส่งทางบกจากหลวงพระบางมา ท่าทรายเพื่ อข้ ามสะพานมิตรภาพยังไม่ สะดวก เส้ นทางต้ องผ่ านแนวเขาเป็ นจานวนมาก ขณะการผ่ านแดนเพื่ อเดินทาง ท่องเที่ยวเกือบทั้งหมดใช้ เรือโดยสารจากท่าเรือบั๊ก ด่ านเชียงของ เพื่ อไปที่หลวงพระบาง ซึ่งเป็ นเส้ นทางท่องเที่ยวกลุ่ม ประเทศอนุภมู ภิ าคลุ่มนา้ โขงที่นักท่องเที่ยวประเภท Backpacker นิยม กระแสการค้ าตามแนวเส้ นทาง R3A ผลักดันให้ จานวนเที่ยวรถบรรทุกสินค้ าผ่านด่านเชียงของเพิ่มขึ้นอย่างมาก เฉลี่ยปี 2552-2555 คิดเป็ นร้ อยละ 69 ซึ่งใกล้ เคียงกับมูลค่าการค้ าผ่านด่านเชียงของ ขณะที่เที่ยวเรือโดยสารก็เพิ่มขึ้นในอัตรา ใกล้ เคียงกับนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นคือ ร้ อยละ 11 (ภาพที่ 3) ภาพที่ 3 ปริมาณพาหนะสัญจรผ่านด่านเชียงของ ปี 2551-2555
ที่มา: ด่านตารวจตรวจคนเข้ าเมืองเชียงของ ผู้ผ่านแดนที่ด่านเชียงของส่วนใหญ่เป็ นนักท่องเที่ยวที่จะโดยสารเรือต่อไปที่หลวงพระบาง โดยใช้ หนังสือเดินทางในการ ผ่านแดน นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ้นอย่ างต่อเนื่องมีอัตราเติบโตเฉลี่ยปี 2552-2555 ประมาณร้ อยละ 11 ขณะที่คนท้ องถิ่นทั้งสองฝั่งที่ข้ามไปมาหาสู่และทางานค่อนข้ างจะคงที่ ส่วนที่ลดลงเกิดจากคนลาวที่ใช้ บัตรผ่านแดนเปลี่ยนมา ใช้ หนังสือผ่านแดนมากขึ้นเพราะสามารถอยู่ในฝั่งไทยได้ 30 วันไม่ต้องเดินทางไป-กลับทุกวัน (ภาพที่ 4) ปั ญหาหลักของเมืองเชียงของในปั จจุบันอยู่ท่ี การกระจุกตัวของย่านธุรกิจ สถานที่ราชการ และจุดผ่านแดน ทั้งคนและ สินค้ ารวมกันอยู่ท่ใี จกลางเมืองเชียงของซึ่งมีถนนหลักขนาด 2 ช่องทางจราจรเพียงเส้ นเดียวในการรองรับรถบรรทุกสินค้ า ขนาดใหญ่พร้ อมทั้งเป็ นที่จอดรถของผู้ท่มี าติดต่อทั้งธุรกิจและราชการจึงทาให้ การจราจรติดขัด แต่สภาพดังกล่าวจะคลี่คลาย ลงเมื่อเปิ ดใช้ สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 จุดผ่านแดนของสินค้ าและนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปสิบสองปั นนาจะย้ าย จากท่าเรือในเมืองไปที่บริเวณสะพาน แต่การจัดระเบียบย่านใจกลางเมืองเชียงของยังมีความสาคัญ หากเชียงของต้ องการเป็ น แหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวจะมาแวะเที่ยวชมค้ างแรมสักคืนก่อนผ่านแดนหรือเดินทางต่อไปที่อ่นื
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
3|Page
ภาพที่ 4 จานวนผู้ผ่านแดนที่ด่านเชียงของ ปี 2551-2555
ที่มา: ด่านตารวจตรวจคนเข้ าเมืองเชียงของ 2. ก้าวสู่เศรษฐกิจพิเศษอาเภอเชียงของ อาเภอเชียงของกาลังจะเป็ นศูนย์กลางโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมของอนุภมู ภิ าคลุ่มนา้ โขง (GMS) โครงการขนาดใหญ่ท่ี รัฐบาลสนับสนุนดังต่อไปนี้ 2.1 สะพานมิตรภาพไทยลาวแห่งที่ 4 อาเภอเชียงของ เป็ นสะพานหลักที่ใช้ ข้ามแม่นา้ โขงของเส้ นทาง R3A ซึ่งเชื่อมต่อการค้ าการขนส่งของจีนเข้ ากับ GMS ตามระเบียง เศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ซึ่งเปิ ดใช้ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2556 ที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีโครงการก่อสร้ างโครงข่ายถนนเพื่อรองรับ การเปิ ดใช้ สะพานมิตรภาพและเชื่อมต่อกับแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ -ใต้ (NSEC) เข้ ากับ ระเบียงเศรษฐกิจตะวักออกตะวันตก (EWEC) (ภาพที่ 5) ซึ่งจะดาเนินการในช่วงปี งบประมาณ 2557-2561 ภายใต้ โครงการปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ ประเทศไทย 2 ล้ านล้ านบาท ได้ แก่ โครงการก่อสร้ างถนนอ้ อมเมืองเชียงของ การปรับปรุงทางหลวงหมายเลข 1020 เชียงราย-เชียงของ และการขยายถนนเชียงราย-เชียงใหม่เป็ นสี่ช่องทางจราจร 2.2 การก่อสร้างทางรถไฟรางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ระยะทาง 326 กม. งบประมาณ 77,275 ล้ านบาท ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้ อม คาดว่าจะ เริ่มทาการก่อสร้ างได้ ในปี 2558 แล้ วเสร็จในปี งบประมาณ 2561 โครงการนี้จะช่วยเปิ ดตลาดการค้ าระหว่างสินค้ าไทยจาก ภาคต่างๆ กับ สินค้ าจากประเทศจีนตอนใต้ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มศักยภาพด้ านโลจิสติกส์ของไทยในบริการขนส่งสินค้ าจากกลุ่ม ประเทศ GMS ตอนบนออกสู่ทะเลฝั่งตะวันตกที่ท่าเรือทวาย 2.3 ศูนย์เปลีย่ นถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า เป็ นศูนย์กลางการขนส่งทั้งคนและสินค้ า มีเนื้อที่ 102 ไร่ คาดว่าจะตั้งอยู่ท่ตี าบลเวียง บริเวณใกล้ เคียงกับจุดผ่าน แดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 โครงการแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ระยะแรกจะเป็ นการก่อสร้ างอาคารปฏิบตั ิการ งบประมาณ 1,490 ล้ านบาท ช่วงเวลาดาเนินการปี งบประมาณ 2556-2560 ระยะที่สองเป็ นการก่อสร้ างโครงสร้ า งและติดตั้งอุปกรณ์ขนถ่ ายสิน ค้ าเพื่ อเชื่ อมต่ อกับ การขนส่ง ระบบราง งบประมาณ 745 ล้ านบาท ช่วงเวลาดาเนินการปี งบประมาณ 2561-2562โครงการนี้จะเชื่อมการขนส่งระบบ รางของไทยเข้ ากับโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (NSEC) ของกลุ่มประเทศ GMS ผ่านเส้ นทาง R3A
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
4|Page
ภาพที่ 5 เชียงของกับโครงข่ายถนนตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (NSEC) และตะวันออก-ตะวันตก (EWEC)
ที่มา: ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย 2.4 นิคมอุตสาหกรรมเชียงของ เนื้อที่ 6,250 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 2 ตาบล ได้ แก่ ตาบลสถาน และตาบลศรีดอนชัย มีกลุ่มอุตสาหกรรมเป้ าหมาย เช่น อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ แปรรูปยาง ยา และอิเล็กทรอนิกส์ ความคืบหน้ าล่าสุดเมื่อวันที่ 8-15 สิงหาคม 2555 คณะ ผู้บริหารการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) ได้ จัด Roadshow ที่ประเทศจีนและมีการลงนามในหนังสือแสดงเจตนาร่วมกันในการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชียงของระหว่าง กนอ.กับ หน่วยงานและภาคเอกชนของจีน 3 ราย ล่าสุดคณะกรรมการ กนอ.กาลัง พิจารณาเรื่องสิทธิประโยชน์สาหรับนิคมอุตสาหกรรมเชียงของ และจะประกาศให้ เอกชนเสนอตัวเป็ นผู้ดาเนินการในลาดับ ต่อไป ระหว่างนี้มเี อกชนแสดงความสนใจแล้ ว 2 รายเป็ นจีนและไทยอย่างละราย 2.5 เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2556 คณะรัฐมนตรีได้ เห็นชอบในหลักการให้ มีระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยเขต เศรษฐกิจพิเศษ และให้ ทางสภาพัฒน์ฯ รับเอาความเห็นของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องไปปรับปรุง ขณะนี้ร่างดังกล่าวอยู่ใน ขั้นตอนการตรวจพิจารณาของสานักงานกฤษฎีกา สาระสาคัญของร่างระเบียบดังกล่าวมีดงั นี้ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
5|Page
นิยาม “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” หมายถึงพื้นที่ท้งั หมดหรือบางส่วนของ อปท.แห่ งหนึ่งหรือหลายแห่ งที่ได้ รับการ สนับสนุนจากรัฐในการพัฒนาโครงสร้ างพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการค้ าสินค้ าและบริการ หรือการลงทุนเพื่อรองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการค้ าบริเวณพรมแดนและการค้ าเสรีภายใต้ กรอบอาเซียน รวมทั้ง การพัฒนาระบบการให้ บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สอดคล้ องกับระบบ ASEAN Single Window (ASW) ให้ มคี ณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษซึ่งมีนายกเป็ นประธาน และมีคณะรัฐมนตรีในกระทรวงที่ เกี่ยวข้ องและผู้ทรวงคุณวุฒิอกี 10 ท่านเป็ นกรรมการ โดยคณะกรรมการดังกล่าวมีอานาจในการพิจารณาและ เสนอแผนแม่บทและแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการค้ าบริเวณพรมแดนและการค้ าเสรีภายใต้ กรอบ อาเซียนต่อคณะรัฐมนตรี และพิจารณาแก้ ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานตามแผนแม่บท กาหนดให้ มีสานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิ เศษเป็ นหน่ วยงานภายใต้ สภาพัฒน์ฯ มีหน้ าที่ ศึกษาวิเคราะห์แผนแม่บทเพื่อให้ คณะกรรมการฯเห็นชอบ และให้ ตรวจสอบและวิเคราะห์แผนงาน โครงการ หรือแผนปฏิบัติการของหน่ วยงานอานวยการติดตามผลและประสานงานการบริหาร และการปฏิบัติตามแผน แม่บท รวมทั้งสนับสนุนและให้ คาแนะนาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง กาหนดให้ หน่วยงานที่ได้ รับมอบหมายให้ ดาเนินการตามแผนแม่บทเขตเศรษฐกิจพิเศษ จัดทาแผนปฏิบัติการ โดยให้ มีการให้ ข้อมูลและรับฟั งความเห็นของอปท.และประชาชนในพื้ นที่ประกอบอยู่ด้วย แล้ วเสร็จส่งให้ คณะกรรมการฯพิจารณา ตารางที่ 1 สรุปโครงการพัฒนาพื้นที่อาเภอเชียงของขนาดใหญ่ โครงการ 1. สะพานมิตรภาพแห่งที่ 4 2. โครงข่ายถนนเชื่อมต่อ R3A (ถนนอ้ อมเมืองเชียงของ ถนนสาย 1020 ถนนเชียงใหม่-เชียงราย 4 เลน) 3. รถไฟรางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ 4. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้ า 5. นิคมอุตสาหกรรมเชียงของ 6. เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ
งบประมาณ (ล้านบาท) 1,570
ช่วงเวลา ดาเนินการ 2553-2556
ความคืบหน้า เสร็จสิ้น
2557-2561
รองบประมาณ
77,275 2,235 -
2558-2561 2556-2562 -
-
-
จัดทา EIA รองบประมาณ ดาเนินการในพื้นที่นาร่อง จัดทาร่างระเบียบสานัก นายก
3. การประมาณการปริมาณพาหนะและผูผ้ ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จากการประมาณปริมาณพาหนะและผู้ผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 ใน 10 ปี ข้ างหน้ า เพื่อ แสดงให้ เห็นถึงขนาดของความท้ าทายมิตติ ่างๆ ที่อาเภอเชียงของจะต้ องรองรับในอนาคต ทั้งนี้การประมาณการดังกล่าวเป็ น แบบอนุรักษ์นิยม จากตารางที่ 2 จะเห็นว่า ค่าที่ใช้ ประมาณการต่ากว่าหรือเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 4 ล่าสุดเสมอ (วิธกี าร ประมาณการอยู่ท่ภี าคผนวก)
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
6|Page
ตารางที่ 2 อัตราเติบโตของจานวนผู้ผ่านแดนและพาหนะจาแนกประเภทปี 2552-2555 และค่าประมาณการที่ใช้ ในการ พยากรณ์ อัตราเติบโต (ร้อยละ) 2552 2553 2554 2555 เฉลีย่ 4 ปี ค่าประมาณการ 10.0 นักท่องเที่ยวชาวไทย 31.9 11.2 0.8 -4.0 10.0 12.0 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 17.3 8.1 17.3 7.8 12.6 0.0 คนท้ องถิ่นชาวไทย -9.2 -9.8 18.5 11.2 2.7 0.0 คนท้ องถิ่นชาวลาว -19.1 -16.6 -8.4 -14.4 -14.6 เรือโดยสาร 13.1 27.0 12.7 -9.9 10.7 10.0 รถยนต์* 134.5 75.3 59.2 5.4 68.6 47.0 หมายเหตุ * : ค่าประมาณการอัตราเติบโตจานวนรถยนต์ผ่านแดนเป็ นอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปี (2553-2555)ที่ตัดปี 2552 ออกจากการคานวณเพราะปี 2552 มีอตั ราการเติบโตสูงถึงร้ อยละ 130 ที่มา: ด่านตารวจตรวจคนเข้ าเมืองเชียงของ ด่านศุลกากรเชียงของ และการประมาณการของผู้วิจัย รายการ
4. ความท้าทายในพื้ นที่อาเภอเชียงของที่ตอ้ งอาศัยการบู รณาการของทุกภาคส่วน จากการลงสารวจพื้ นที่อาเภอเชียงของ พร้ อมทั้งรวบรวมข้ อมูลสถิติและสัมภาษณ์ Key person ในพื้นที่ สามารถ ประมวลผลออกมาเป็ นความท้ าทายในมิติต่างๆ พร้ อมทั้งประมาณตัวเลขต่างๆ ใน 10 ปี ข้ างหน้ า เพื่อชี้ให้ เห็นขนาดของ ความท้ าทายในแต่ละมิติ ดังต่อไปนี้ 4.1 ความท้าทายในมิติการค้าชายแดน ในมิติการค้ าชายแดนการไหลเวียนของกระแสเศรษฐกิจทั้งคนและสินค้ าตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก่อให้ เกิดทั้งโอกาสและความท้ าทายดังต่อไปนี้ 1) โอกาสในการเข้ าไปมีส่วนร่วมในห่ วงโซ่อุปทานของกระแสการเชื่อมโยงตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในฐานะเมืองหน้ าด่านศูนย์กลางโลจิสติกส์ และจุดพักแรมนักท่องเที่ยว การที่เชียงของเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างการขนส่งระบบถนนจากจีนตอนใต้ ตามเส้ นทาง R3A เข้ ากับระบบราง ของประเทศไทยที่สามารถเชื่อมต่อไปยังท่าเรือทวาย ประกอบกับการที่นิคมอุตสาหกรรมจะเข้ ามาตั้งในอนาคต จะทาให้ เชียง ของมีโอกาสเป็ นศูนย์กลางการผลิตชิ้น ส่วนพาหนะและการซ่ อมบารุงบนเส้ นทางขนส่งสินค้ าหลักจีน -อาเซียน จากการ ประมาณการแบบอนุรักษ์นิยม พบว่าจานวนรถบรรทุกสินค้ าในปี 2565 จะเพิ่มขึ้นเป็ น 18 เท่า หรือประมาณ 1.8 ล้ านเที่ยว (ภาพที่ 6) ผลการประมาณการแบบอนุรักษ์นิยมพบว่า จานวนนักท่องเที่ยวที่ผ่านแดนเพิ่มขึ้นเป็ น 3 เท่าในปี 2565 หรือ ประมาณ 9.5 แสนคนครั้ง (ภาพที่ 7) หากเชียงของสามารถจูงใจให้ นักท่องเที่ยวเหล่านี้ท่องเที่ยวและพักค้ างแรมที่เชียงของ เพียง 1 คืน ก็จะสร้ างรายได้ ให้ กบั คนในพื้นที่อย่างเป็ นกอบเป็ นกา ทั้งหมดทางอาเภอเชียงของและเทศบาลตาบลเวียงเชียง ของต่างก็ตระหนักถึงศักยภาพในด้ านนี้ ทั้งสองหน่วยงานต้ องการอนุรักษ์เขตเทศบาลตาบลเวียงเชียงของให้ เป็ นแห่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม แต่ยังไม่ได้ ปรึกษาหารือร่วมกันในรายละเอียด
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
7|Page
ภาพที่ 6 ผลการพยากรณ์ปริมาณพาหนะผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ปี 2556-2565
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย ภาพที่ 7 ผลการพยากรณ์ปริมาณผู้ผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ปี 2556-2565
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย 2) ความท้ าทายในการจัดการกับโรคติดต่อและอาชญากรรมข้ ามชาติ กระแสการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างจีนตอนใต้ กบั อาเซียนไม่ได้ นามาเฉพาะโอกาสแห่งความมั่งคั่ง แต่การ ไหลเวียนของผู้คนและเงินทุนยังนาความท้ าทายในการจัดการกับโรคติดต่อและอาชญากรรมข้ ามชาติเข้ ามาสู่เชียงของด้ วย ถ้ า นับเฉพาะผู้ผ่านแดนอย่างถูกต้ องตามกฎหมายในปี 2565 ก็จะมีประมาณ 3,000 คนครั้งต่อวัน ประกอบกับการที่เชียงของมี แนวชายแดนติดกับฝั่งลาวที่มเี พียงแม่นา้ โขงกั้นเป็ นระยะทางถึง 45 กิโลเมตรแล้ ว การตรวจตราแรงงานและสิ่งผิดกฎหมายที่ ลักลอบผ่านแดนจึงเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ประเด็นท้ าทายด้ านนี้อยู่ท่กี ารจัดสรรผลประโยชน์ส่วนหนึ่งที่เกิดทางการใช้ เชียงของเป็ นประตูเชื่อมโยงจีนตอน ใต้ เข้ ากับอาเซียน มาใช้ ในการจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับคนในพื้นที่เชียงของ การจัดการกับปั ญหานี้ต้องอาศัยการ ประสานงานระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ท้งั จากส่วนท้ องถิ่นและส่วนภูมภิ าคร่วมกัน จัดทาแนวคิดเสนอให้ เข้ าไปอยู่ในกรอบการ บริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษที่รัฐบาลเร่งดาเนินการอยู่
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
8|Page
4.2 ความท้าทายในมิติโครงสร้างพื้ นฐาน 1) การจัดผังเมืองเพื่อสร้ างสมดุลระหว่ างเมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม เกษตรกรรม และศูนย์กลาง โลจิสติกส์ ขณะนี้กาลังอยู่ในช่วงจัดทาผังเมืองเชียงของจึงเป็ นโอกาสดีท่หี น่วยงานและภาคประชาชนในพื้นที่จะได้ ร่วมกัน ปรึกษาหารือบนข้ อมูลและการตระหนักถึงความท้ าทายชุดเดียว ประเด็นที่ต้องคานึงถึง เช่น การไหลทางกายภาพ (Physical flow) ของทั้งผู้ค นและยานพาหนะ ทั้ง กลุ่ มเพื่ อการท่ องเที่ย ว และกลุ่ มเพื่ อการธุรกิจและการขนส่ ง ว่ าจะให้ กระแสของ นักท่องเที่ยวไหลไปในทิศทางใด จุ ดใดก่อนจุ ดใดหลัง ขบวนสินค้ าจะไหลไปในทิศทางใดผ่านจุ ดใดเพื่อให้ กระทบกับคน ท้ องถิ่นน้ อยที่สดุ และกาหนดทิศทางเพื่อไม่ให้ กระแสนักท่องเที่ยวมาปะทะเข้ ากับขบวนสินค้ า หรือการจัดการเหตุการณ์ไม่ คาดคิดที่ขบวนรถนักท่องเที่ยวหรือขบวนสินค้ าที่มาพร้ อมกันโดยบังเอิญ ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์จราจรบนถนนเส้ นหลักกลาง เมืองเชียงของเป็ นอัมพาตเพราะคาราวานนักท่องเที่ยวชาวจีนมาพร้ อมกันเป็ นจานวนมาก สร้ างความเดือ ดร้ อนจนเจ้ าหน้ าที่ และตารวจต้ องเข้ ามาจัดการโดยเสียเวลาไปหลายชั่วโมง ทั้งหมดนี้ จะต้ องมีการประสานงานเชื่อมโยงและจัดระบบจราจรบน โครงข่ายถนนที่แต่ละหน่วยงานดูแลอยู่ในเป็ นระบบเดียวกัน การจัดผังเมืองที่ดจี ะช่วยลดผลกระทบของศูนย์อุตสาหกรรมต่อ วิถชี ีวิตของคนในพื้นที่ได้ อีกทั้งจะสามารถรักษามนต์เสน่ห์ของเชียงของในการดึงดูดนักท่องเที่ยวเอาไว้ ได้ 2) การบริหารจัดการจุดผ่านแดนและศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้ า การบูรณาการหน่ วยงานระหว่ างส่วนท้ องถิ่นกับส่วนภูมิภาค เพื่ อลดระยะเวลาในการผ่ านแดน ขณะที่ยังคง สามารถรักษามาตรฐานในการดูแลทั้งด้ านสาธารณสุขและความมั่นคงของทั้งคนในพื้นที่และประเทศ เป็ นความท้ าทายอย่างยิ่ง ทั้งนี้จากการประมาณการแบบอนุ รักษ์นิยม ในปี 2565 จะมีรถยนต์ประมาณ 5,000 เที่ยวต่อวัน (95% เป็ นรถบรรทุก สินค้ า) และผู้ผ่านแดน 3,000 คนครั้งต่อวัน มาใช้ บริการจุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 3) การจัดการขยะ ความท้ าทายหลักของเชียงของอยู่ท่ขี ้ อจากัดทางภูมปิ ระเทศที่มพี ้ ืนที่ป่าและแม่นา้ ลาคลองหลายสายพาดผ่านทา ให้ ไม่สามารถหาพื้นที่จัดการขยะตามที่กฎหมายกาหนดได้ (กฎหมายกาหนดลักษณะพื้นที่สาหรับจัดการขยะจะต้ องตั้งอยู่ห่าง จากแหล่งนา้ ไม่ต่ากว่ า 5 กม. และไม่เป็ นพื้นที่ป่า) ถึงแม้ การคาดการณ์ปริมาณขยะที่เกิดจากผู้ผ่านแดนจะอยู่ในระดับต่า 250 กก.ต่อวัน ในปี 2556 และจะเพิ่มขึ้นเป็ น 3 เท่า ในปี 2565 (ภาพที่ 8) แต่เป็ นนิมิตหมายที่ดีท่ขี ณะนี้ท้งั 4 เทศบาล ตาบลเริ่มหารือเกี่ยวกับการลงทุนสร้ างระบบจัดการขยะเพื่อใช้ ร่วมกัน โดยขณะที่ได้ รับการอนุมัติโครงการสร้ างเตาเผาขยะที่ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้ ามูลค่า 70 ล้ านบาทแล้ ว แต่ยังไม่สามารถจัดหาพื้นที่เพื่อดาเนินการก่อสร้ างได้ ภาพที่ 8 ผลการพยากรณ์ปริมาณขยะจาแนกตามกลุ่มผู้ก่อ ปี 2556-2565
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
9|Page
4) ความท้ าทายที่เกิดจากการเก็งกาไรที่ดนิ ขณะนี้ระดับราคาที่ดนิ ในเขตอาเภอเชียงของได้ เพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะพื้นที่บริเวณจุดผ่านแดนสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 และพื้นที่ท่ถี ูกคาดการณ์ว่าจะเป็ นนิคมอุตสาหกรรม เฉพาะผลกระทบจากระดับราคาที่ดินที่สงู ขึ้น เพียงอย่างเดียวก็เป็ นอุปสรรคในการเวนคืนที่ดินเพื่อใช้ บริหารจัดการโครงการเมกะโปรเจ็คต่างๆ ตลอดจนโครงการขนาด ย่อยของ อปท. แล้ ว หากมีกรณีท่เี จ้ าหน้ าที่รัฐทั้งฝ่ ายราชการประจาและฝ่ ายการเมืองเข้ าไปร่วมเก็งกาไรราคาที่ดินด้ วยแล้ ว ก็ จะยิ่งเป็ นการยากที่จะบริหารจัดการสาธารณูปโภคและโครงสร้ างพื้นฐานในพื้นที่ 4.3 ความท้าทายในมิติบรรเทาสาธารณภัย 1) การจัดการผู้ประสบภัยในต่างแดน การที่พลเมืองของแต่ละประเทศเดินทางท่องเที่ยวไปมาหาสู่กนั บางครั้งอาจประสบอุบัติเหตุข้ นึ ระหว่างอยู่ต่าง แดน เช่นกรณีท่รี ถโดยสารของคณะสงฆ์ไทยไปประสบอุบิตเหตุท่ปี ระเทศลาว แล้ วไม่สามารถทาการรักษาพยาบาลได้ ต้อง ประสานส่งตัวผู้ประสบอุบตั เิ หตุกลับมาที่ประเทศไทย ดังนั้นจึงเป็ นความท้ าทายกลุ่มประเทศ GMS ที่จะประสานความร่วมมือ กันเพื่อให้ พลเมืองที่ประสบอุบัติภัยในต่างแดนได้ รับสิทธิและการบริการทางการแพทย์ท่ไี ด้ มาตรฐานโดยไม่เป็ นภาระของ ประเทศเพื่อนบ้ าน ทั้งนี้มกี รณีตวั อย่างที่เอกชนไทยและจีนสามารถเริ่มประสานความร่วมมือกันเค้ าดูแลนักท่องเที่ยวร่วมกัน แล้ ว เช่น การตรวจสอบและให้ ใบรับรองแก่บริษัทนาเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้ านที่ขายทัวร์มาเที่ยวในประเทศของตน เพื่อให้ ความมั่นใจแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติและยกระดับการบริการนาเที่ยวในประเทศของตน 4.4 ความท้าทายของเขตเศรษฐกิจพิเศษและนิคมอุตสาหกรรมเชียงของ 1) จานวนประชากรที่มาจากต่างถิ่นต่างวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น การที่เ ชี ย งของจะเป็ นศู น ย์ ก ลางโลจิ ส ติกส์ข อง GMS โดยที่จ ะตั้ง เป็ นเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษและมีนิ ค ม อุตสาหกรรมมาตั้งในพื้นที่ จะทาให้ มีคนต่างถิ่นทั้งไทยและเทศเข้ ามาเป็ นประชากรในพื้นที่เป็ นจานวนมากทั้งเพื่อประกอบ ธุรกิจและเป็ นแรงงาน ประชากรจากต่างถิ่นเหล่านี้มคี วามแตกต่างทางวัฒนธรรมพอสมควรมาอยู่ร่วมกัน อาจทาให้ เกิดความ ขัดแย่งขึ้นในพื้นที่ อีกทั้งยังเพิ่มภาระในการจัดสรรบริการสาธารณูปโภคด้ านต่างๆ ให้ กบั องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นอีกด้ วย ทั้งนี้จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวไม่ได้ รวมอยู่ในการประมาณการของการศึกษานี้ 2) การสูญเสียอานาจในการบริหารจัดการพื้นที่เป็ นเขตนิคมอุตสาหกรรม การสูญเสียอานาจในการบริหารจัดการพื้นที่เป็ นเขตนิคมอุตสาหกรรม กฎหมายกาหนดให้ สทิ ธิในการบริหาร จัดการพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเป็ นของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยโดยสมบูรณ์ ประเด็นนี้สร้ างกังวลให้ กบั ท้ องถิ่น เกี่ยวกับผลกระทบด้ านต่างๆ เช่น การจัดการขยะและนา้ เสียของอุตสาหกรรม การจัดการอุบตั ภิ ัยที่เกิดจากอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ระบบจัดการขยะที่จะต้ องรับรองปริมาณขยะที่จะเพิ่มขึ้นเป็ นอันมาก อีกทั้งประเภทของขยะที่จะเปลี่ยนจากขยะอินทรีย์วัชพืช ต่างๆ มาเป็ นขยะอุตสาหกรรม เหล่านี้จาเป็ นที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องจะต้ องมาบูรณาการร่วมกันเพื่อรับมือ
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
10 | P a g e
ภาคผนวก ส่วนที่ 1 การพยากรณ์จานวนผู ผ้ ่านแดนและพาหนะ ณ จุ ดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 ระหว่างปี 2556-2565 สมมติฐานหลัก 1. จานวนผู้ผ่านแดนและพาหนะผ่านแดน ณ จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ที่เพิ่มขึ้นเป็ นตัวกาหนดระดับ ความท้ าท้ ายในการบริหารจัดการทั้งในมิตกิ ารค้ าชายแดน มิตโิ ครงสร้ างพื้นฐาน และมิตกิ ารบรรเทาสาธารณภัย 2. การพยากรณ์น้ เี ป็ นการพยากรณ์จานวนผู้ผ่านแดนและพาหนะผ่านแดนใน 10 ปี ข้ างหน้ า ตั้งแต่ปี 2556 ถึง 2565 โดย ใช้ ค่าเฉลี่ยอัตราเติบโตระหว่างปี 2552 ถึง 2555 (ตารางผนวกที่ 1) เป็ นอัตราเติบโตของจานวนผู้ผ่านแดนและ พาหนะผ่านแดนใน 10 ปี ข้ างหน้ า (ยกเว้ นจานวนรถยนต์ผ่านแดนที่ตัดอัตราเติบโตปี 2552 ออกจากการหาค่าเฉลี่ย เพราะปี ดังกล่าวอัตราการเติบโตสูงถึงร้ อยละ 130) ตารางผนวกที่ 1 อัตราเติบโตของจานวนผู้ผ่านแดนและพาหนะจาแนกประเภทปี 2552-2555 และค่าประมาณการที่ใช้ ใน การพยากรณ์ อัตราเติบโต (ร้อยละ) รายการ 2552 2553 2554 2555 เฉลีย่ 4 ปี ค่าประมาณการ นักท่องเที่ยวชาวไทย 31.9 11.2 0.8 -4.0 10.0 10.0 12.0 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 17.3 8.1 17.3 7.8 12.6 0.0 คนท้ องถิ่นชาวไทย -9.2 -9.8 18.5 11.2 2.7 0.0 คนท้ องถิ่นชาวลาว -19.1 -16.6 -8.4 -14.4 -14.6 10.0 เรือโดยสาร 13.1 27.0 12.7 -9.9 10.7 รถยนต์* 134.5 75.3 59.2 5.4 68.6 47.0 หมายเหตุ * : ค่าประมาณการอัตราเติบโตจานวนรถยนต์ผ่านแดนเป็ นอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปี (2553-2555)ที่ตัดปี 2552 ออกจากการคานวณเพราะปี 2552 มีอตั ราการเติบโตสูงถึงร้ อยละ 130 ที่มา: ด่านตารวจตรวจคนเข้ าเมืองเชียงของ ด่านศุลกากรเชียงของ และการประมาณการของผู้วิจัย 3. การพยากรณ์น้ เี ป็ นการพยากรณ์แบบอนุรักษ์นิยม (Conservative) กล่าวคือ เป็ นการพยากรณ์อตั ราเติบโตด้ วยแนวโน้ ม ขั้นต่า เพราะไม่ได้ รวมจานวนผู้ผ่านแดนและพาหนะที่จะเพิ่มขึ้นจากการเปิ ดใช้ สะพานมิตรภาพปลายปี 2556 เส้ นทาง รถไฟรางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ และศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้ าที่จะแล้ วเสร็จในปี 2562 และจานวนประชากรที่จะ เพิ่มจากการมีนิคมอุตสาหกรรมเข้ าตั้งในพื้นที่ เข้ าไว้ ในการคานวณ 4. ก าหนดให้ จ านวนประชากรในพื้ นที่ ศึ ก ษาคงที่เ ท่ า กับ ปี 2555 ตลอดปี พยากรณ์ (ปี 2556-2565) พื้ นที่ศึ ก ษา ครอบคลุม 4 เทศบาลตาบล ได้ แก่ เทศบาลตาบลเวียงเชียงของ เทศบาลตาบลเวียง เทศบาลตาบลสถาน และเทศบาล ตาบลศรีดอนชัย (ตารางผนวกที่ 2) ตารางผนวกที่ 2 จานวนประชากรในปี 2555 ของเทศบาลตาบลเวียงเชียงของ เวียง สถาน และศรีดอนชัย เทศบาลตาบล เวียงเชียงของ เวียง สถาน ศรีดอนชัย ประชากรปี 2555 (คน) 4,140 8,273 9,372 8,760 ที่มา: จากแผนพัฒนาสามปี ฉบับล่าสุด ของเทศบาลตาบลแต่ละแห่ง สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
รวม 30,545 11 | P a g e
ส่วนที่ 2 การพยากรณ์จานวนผูผ้ ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จากประมาณการจานวนผู้ผ่านแดนโดยจาแนกประเภทผู้ผ่านแดนออกเป็ น 4 กลุ่ม เนื่องจากผู้ด่านแดนแต่ละกลุ่มมี แนวโน้ มการเพิ่มจานวนที่แตกต่างกัน ผู้ผ่านแดน 4 กลุ่ม ได้ แก่ 1) นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ใช้ หนังสือเดินทางในการผ่าน แดน) เป็ นผู้ผ่านแดนที่ใช้ บริการจุดผ่านแดนสาพานมิตรภาพมากที่สดุ และอัตราเติบโตสูงที่สดุ เฉลี่ยปี 2552-2555 เท่ากับ ร้ อยละ 122) 2) นักท่องเที่ยวชาวไทย (ใช้ หนังสือเดินทางในการผ่านแดน) เป็ นกลุ่มผู้ผ่านแดนอันดับที่ 2 ที่ใช้ บริการจุ ด ผ่านแดนสะพานมิตรภาพ มีอตั ราเติบโตเฉลี่ยปี 2552-2555 เท่ากับ ร้ อยละ 103) 3) คนท้ องถิ่นชาวไทย และ 4) คน ท้ องถิ่นชาวลาว (ผู้ผ่านแดน 2 กลุ่มนี้ใช้ บตั รผ่านแดนในการผ่านแดน) การผ่านแดนในส่วนนี้เป็ นการข้ ามแดนไปมาหาสู่กนั ของคนท้ องถิ่นทั้งสองฝั่งโขงซึ่งมีจานวนผู้ผ่านแดนจานวนจากัด ดังนั้นประมาณการผู้ผ่านแดนในส่วนนี้มีจานวนคงที่เท่ากับปี 2555 ตลอดช่วงปี ประมาณการ ผลการประมาณการแสดงในตารางผนวกที่ 3 และ 4 ตารางผนวกที่ 3 ผลการพยากรณ์ปริมาณผู้ผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 จาแนกประเภท ปี 2556-2565 (หน่วย: คนครั้ง) ปี 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 นักท่องเที่ยวชาวไทย 134,565 148,022 162,824 179,106 197,017 216,719 238,390 262,230 288,452 317,298 ่ นักท่องเทียวชาวต่างชาติ 222,012 248,653 278,492 311,911 349,340 391,261 438,212 490,798 549,694 615,657 คนท้องถิ่นชาวไทย 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 68,888 คนท้องถิ่นชาวลาว 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524 29,524
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย ตารางผนวกที่ 4 ผลการพยากรณ์ปริมาณผู้ผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 ปี 2556-2565 (หน่วย: คนครั้ง) ปี 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 รวมนักท่องเที่ยว 356,577 396,675 441,316 491,017 546,357 607,980 676,603 753,027 838,146 932,954 รวมคนท้องถิ่น 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412 98,412
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย ส่วนที่ 3 การพยากรณ์จานวนพาหนะผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 การศึกษานี้จาแนกพาหนะออกเป็ น 2 กลุ่มเพื่อการประมาณการ ได้ แก่ รถยนต์ และเรือโดยสาร ร้ อยละ 95 ของ รถยนต์ท่ผี ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพเป็ นรถบรรทุกสินค้ าและนา้ มัน ที่เหลือร้ อยละเป็ นรถยนต์ส่วนบุคคลที่ใช้ เดินทางติดต่อธุรกิจหรือท่องเที่ยว ดังจะเห็นได้ จากจานวนเที่ยวรถยนต์ผ่านแดนและมูลค่าการผ่านด่านเชียงของมีอตั ราเติบโต เฉลี่ยปี 2552-2555 ใกล้ เคียงกันเท่ากับ ร้ อยละ 68 และ 64 ตามลาดับ แต่เนื่องจากการประมาณนี้เป็ นการแบบอนุรักษ์ นิยมจึงตัดอัตราเติบโตจานวนเที่ยวรถยนต์ผ่านแดนในปี 2552 ที่ขยายตัวถึงร้ อยละ 130 ออกจากการประมาณการ และใช้ อัตราเติบโตจานวนเที่ยวรถยนต์ผ่านแดนเฉลี่ยปี 2553-2555 เท่ากับร้ อยละ 47 เป็ นค่าประมาณการ ขณะที่เรือโดยสารทั้งหมดเป็ นเรือที่รับ-ส่งนักท่องเที่ยวในเส้ นทางเชียงของ-หลวงพระบาง จากข้ อมูลปี 25522555 จานวนเที่ยวเรือโดยสารดังกล่าวมีอตั ราเติบโตใกล้ เคียงกับจานวนนักท่องเที่ยวที่ผ่านแดนที่ด่านเชียงของประมาณร้ อย ละ 10 ดังนั้นการประมาณการนี้จะใช้ อตั ราเติบโตเที่ยวเรือโดยสารเท่ากับ ร้ อยละ 10 ในการประมาณการ ผลการประมาณการ แสดงในตารางผนวกที่ 5
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
12 | P a g e
ตารางผนวกที่ 5 ผลการพยากรณ์ปริมาณพาหนะผ่านแดนที่จุดผ่านแดนสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 ปี 2556-2565 (หน่วย: เที่ยว) ปี เรือโดยสาร รถยนต์
2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 49,628 54,590 60,049 66,054 72,660 79,926 87,918 96,710 106,381 117,019 55,954 82,252 120,911 177,739 261,277 384,077 564,593 829,952 1,220,030 1,793,444
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย ส่วนที่ 4 การพยากรณ์ปริมาณขยะ (ผลการประมาณการแสดงในตารางผนวกที่ 6) สมมติฐาน 1. ปริมาณขยะที่ อปท.ในพื้ นที่ต้องจัดการในแต่ ละวันเท่ากับ ปริมาณขยะที่เกิดจากประชากรในพื้นที่ในแต่ ละวัน บวก ปริมาณขยะที่เกิดจากผู้ผ่านแดนประเภทต่างๆ ในแต่ละวัน 2. ปริมาณขยะที่ประชากรในพื้นที่ก่อขึ้นคงที่เท่ากับ ปริมาณขยะต่อคนต่อวันของคนในเขตเทศบาลเมือง เท่ากับ 1.15 กิโลกรัม (กรมมลพิษและสิ่งแวดล้ อม,2555 จากตารางที่ 11 หน้ า 3-2) 3. ปริมาณขยะที่นักท่อ งเที่ย วทุกสัญ ชาติก่ อขึ้นขณะเดินทางเข้ ามาในพื้ นที่ศึกษาเพื่ อ ผ่ านแดน ณ จุ ดผ่ า นแดนสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 4 เท่ากับ ร้ อยละ 20 ของปริมาณขยะต่อคนต่อวันของคนในเขตเทศบาลเมือง เท่ากับ 0.23 กิโลกรัม 4. ปริมาณขยะที่ผ้ ผู ่านแดนด้ วยบัตรผ่านแดนที่เป็ นคนท้ องถิ่นชาวลาวก่อขึ้นขณะเข้ ามาทาธุระในฝั่งไทยเท่ากับ ร้ อยละ 80 ของปริมาณขยะต่อคนต่อวันของคนในเขตเทศบาลเมือง เท่ากับ 0.92 กิโลกรัม 5. ทั้งนี้ไม่นับรวมผู้ผ่านแดนด้ วยบัตรผ่านแดนที่เป็ นคนท้ องถิ่นชาวไทยเพราะเป็ นประชากรในพื้นที่ ตารางผนวกที่ 6 ผลการพยากรณ์ปริมาณขยะจาแนกตามกลุ่มผู้ก่อ ปี 2556-2565 (หน่วย: ตัน/วัน) ปริมาณขยะของแต่ละกลุ่ม (ตัน/วัน) ประชากรในพื้นที่ รวมนักท่องเที่ยวทุกสัญชาติ คนท้องถิ่นชาวลาว
2556 35.13 0.22 0.07
2557 35.13 0.25 0.07
2558 35.13 0.28 0.07
2559 35.13 0.31 0.07
2560 35.13 0.34 0.07
2561 35.13 0.38 0.07
2562 35.13 0.43 0.07
2563 35.13 0.47 0.07
2564 35.13 0.53 0.07
2565 35.13 0.59 0.07
ที่มา: จากการประมาณการของผู้วิจัย เอกสารอ้างอิง กรมมลพิษและสิ่งแวดล้ อม. 2555. (ร่าง) รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2555.ออนไลน์. สืบค้ นวันที่ 22 พฤษภาคม 2556, แหล่งที่มา: https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=1&ved=0CC0QFjAA&url=http%3A%2 F%2Fwww.pcd.go.th%2Fcount%2Fmgtdl.cfm%3FFileName%3DDraftPolReport2555_25560214.pdf%26Book Name%3DDraftPolReport2555&ei=rbedUey6LYzRrQea74GgBg&usg=AFQjCNFzLW2DFQnNmUOnAcLXnSA CaA8zOA&sig2=Q1aYg8HWp-Z7-19uclkIsQ&bvm=bv.46865395,d.bmk&cad=rja สกนธ์ วรัญญูวัฒนา และคณะ. 2556. โครงการเสริมสร้ างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และส่วน ท้ องถิ่น โดยผ่านกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้ องถิ่น. เพื่อเสนอต่อ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
13 | P a g e
Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
14 | P a g e