No. 3, January 2014
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดเชียงราย: มุมมองด้านการค้า แรงงาน และสิ่งแวดล้อม ปฐมพงศ์ มโนหาญ, ธิดารัตน์ บัวดาบทิพย์, ณัฐพรพรรณ อุตมา
ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยได้ เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมขึ้นอย่างมหาศาล ซึ่งความ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ นอกจากจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคมต่อตัวมันเองแล้ ว ยังส่งผลต่อสิ่งแวดล้ อม อันเป็ นสาเหตุของ ปัญหาด้ านสิง่ แวดล้ อมที่สาํ คัญๆ เช่น สภาวะโลกร้ อน มลภาวะทางนํา้ และ มลภาวะทางอากาศ เป็ นต้ น แต่ท้งั นี้ท้งั นั้น เราจะ มองเพียงแค่ปัญหาสิง่ แวดล้ อมเป็ นปัญหาหลักที่ควรศึกษาอย่างเดียวไม่ได้ เพราะหากมองเช่นนั้น ก็เท่ากับว่าเรากําลังเพียร พยายามที่จะเข้ าใจปัญหาแบบการถ่ายรูป “ยอดภูเขานํา้ แข็ง” ซึ่งเห็นเพียงแต่ยอดที่ลอยพ้ นนํา้ เท่านั้น แต่มองไม่เห็นฐานภูเขา นํา้ แข็งที่ลึกและกว้ างกว่ายอดมาก ช่วงระยะเวลา 5 ปี หลังมานี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550–2555 จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็ นจังหวัดชายแดนภาคเหนือ ที่มเี ขตแดน ติดกับประเทศเพื่อนบ้ าน 2 ประเทศ คือ ประเทศเมียนมาร์ และ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีปัญหา สิ่งแวดล้ อมร่วมกันปัญหาหนึ่ง คือ ปัญหาหมอกควันจากการเผาไหม้ ซึ่งก็เป็ นหนึ่งในสาเหตุให้ เกิดมลภาวะทางอากาศ และ ยังเป็ นสาเหตุหนึ่งของปัญหาภาวะโลกร้ อน แน่นอนว่าเป็ นเรื่องยากมากที่จะเชื่อว่า สาเหตุของหมอกควันจากการเผาไหม้ จะมา จากไปธรรมชาติ หรือ ไฟป่ าที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล ที่เป็ นเช่นนั้นก็เพราะว่า ประเทศชายแดนทั้งสามเป็ นพื้นที่การเกษตร สมัยใหม่ มีปฏิทนิ การผลิตที่แน่นอน ซึ่งก็อาจมีช่วงหนึ่งที่พ้ ืนที่การเกษตรต้ องทําการเผาเพื่อเตรียมหน้ าดินอย่างพร้ อมเพียง กันในช่วงเดือนมกราคม–เมษายนของทุกปี และ จากการที่ 5 ปี หลังมานี้ ปริมาตรหมอกควันมีแนวโน้ มที่สงู ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงมีความจําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องถามคําถามต่อปรากฏการณ์น้ วี ่า ภายใต้ ปรากฏการณ์หมอกควันไฟที่เป็ นปัญหา สิ่งแวดล้ อมนั้นเกิดขึ้นในโครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบใด แน่นอนว่าคําตอบเบื้องต้ นต่อคําถามดังกล่าวย่อมหลีกหนีไม่พ้นคําว่า โครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม และทําให้ เกิดคําถามตามมาอีกเช่น ในลักษณะทางภูมศิ าสตร์ทางเศรษฐกิจที่จังหวัดเชียงรายเป็ นจังหวัดชายแดนที่มเี ขตแดน โครงสร้ าง ทางเศรษฐกิจแบบชายแดนส่งผลอย่างไรต่อปรากฏการณ์หมอกควัน นอกจากนี้ ลักษณะโครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบชายแดน มักเกี่ยวพันกับปรากฏการณ์การเคลื่อนย้ ายแรงงานระหว่างประเทศ คําถามคือ ภายใต้ โครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบชายแดน มีลักษณะการเคลื่อนย้ ายแรงงานต่างประเทศระหว่างประเทศเพื่อนบ้ านอย่างไร ไม่ว่าจะเป็ นในส่วนของโครงสร้ างทางเศรษฐกิจชายแดน และ การเคลื่อนย้ ายแรงงานระหว่างประเทศ ย่อมส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และ ประเทศเพื่อนบ้ านอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็ นด้ านสิง่ แวดล้ อม สุขภาพ การจ้ างงาน และ อื่นๆ ดังนั้นจึงมีความจําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องตั้งคําถามว่า คุณภาพชีวิตในภาพรวมของประชาชน เป็ นอย่างไร ดังที่กล่าวไว้ ในตอนต้ นว่า ปัญหาหมอกควันไฟจากการเผาเป็ นเพียงปรากฏการณ์ของยอดภูเขานํา้ แข็ง ซึ่งเห็น เพียงแค่ยอด แต่ภายใต้ ฐานลึกลงไปนั้นมีความหนาและกว้ าง รอการค้ นพบอยู่เสมอเพื่อจะได้ ร้ ถู งึ ที่มาที่ไป แม้ กระทั่งสาเหตุท่ี แท้ จริงของการเป็ นยอดภูเขานํา้ แข็ง เปรียบได้ กบั ปัญหาหมอกควันจากการเผาไหม้ ซึ่งก็อาจไม่ได้ มาจากความเห็นแก่ตวั ของ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
1
ประชาชนเพียงอย่างเดียว แต่อาจมาจากโครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบชายแดน ที่โยงใยความสลับซับซ้ อนของปัญหาต่างๆ ไว้ มากมาย เมื่อทราบถึงสาเหตุของปัญหาที่สลับซับซ้ อนแล้ วการเสนอทางออกเพื่อแก้ ไขปัญหาก็จะเป็ นไปได้ อย่างถูกจุดและตรง ประเด็น รวมถึงการประหยัดงบประมาณภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ
1. การค้าชายแดนกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาชุมชนชายแดนขึ้นอยู่กบั ปัจจัยหลายปัจจัย
เมื่อประเทศพัฒนาขึ้นทําให้ การติดต่อคมนาคมระหว่างเขต พรมแดนกับภายในประเทศสะดวกขึ้น การถ่ายเทประชากร กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการบังคับใช้ ระเบียบข้ อบังคับจาก ส่วนกลางทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงจากอดีตที่เป็ นเพียงการติดต่อสื่อสารการแลกเปลี่ยนและซื้อขายสินค้ ากันผ่านแดน กลายเป็ นการค้ าผ่านแดน และกลายเป็ นการค้ าข้ ามแดนที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของประเทศดั่งปัจจุบนั ที่ใดที่การค้ าชายแดน คึกคักสมํ่าเสมอสามารถสร้ างความเจริญให้ แก่ท้องถิ่นอย่างมากจนมีบุคคลท้ องถิ่นเข้ าไปลงทุนในด้ านการให้ บริการขนส่งและ การบริการทางด้ านการท่องเที่ยวซึ่งเป็ นปัจจัยหนุนให้ การค้ าบริเวณชายแดนคึกคักมากยิ่งขึ้น ตารางที่ 1 มูลค่าการส่งออกและนําเข้ าสินค้ าของเมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย (มูลค่า: ล้ านบาท) ดาน
2551
2552
2553
2554
2555
สงออก นําเขา
รวม
สงออก นําเขา
รวม
สงออก นําเขา
รวม
สงออก นําเขา
รวม
สงออก นําเขา
รวม
แมสาย
3,895
221
4,116
4,602
184
4,786
8,114
192
8,305
9,660
115
9,775
9,443
116
9,559
เชียงแสน
2,099
20
2,120
2,071
12
2,083
3,157
35
3,192
5,978
40
6,018
7,356
20
7,376
เชียงของ
1,408
683
2,091
1,542
475
2,017
2,271
497
2,768
3,277
475
3,752
4,266
540
4,806
รวม
7,403
924
8,327
8,215
671
8,886 13,542
724
14,266 18,915
630
19,545 21,065
676
21,741
ที่มา: กรมการค้ าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ จากข้ อมูลตารางที่ 1 ข้ างต้ นมูลค่าการส่งออกและนําเข้ าสินค้ าของเมืองชายแดน จังหวัดเชียงราย จาก 3 ด่านชายแดน คือ แม่สาย เชียงแสน และเชียงของ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2551-2555 พบว่าการค้ าส่งออกจากด่านชายแดนแม่สายมีมูลค่าสูงที่สดุ จากทั้ง 3 ด่านชายแดน และมีแน้ วโน้ มเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่การนําเข้ าของด่านชายแดนเชียงของมีมูลค่าสูงที่สดุ จากทั้ง 3 ด่านชายแดนแต่ยงั คงมีความผันผวน และเป็ นที่น่าสังเกตว่าการเปิ ดดําเนินการอย่างเป็ นทางการของสะพานมิตรภาพไทยลาว แห่งที่ 4 ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 นี้ จะส่งผลให้ การนําเข้ าและส่งออกจะมีมูลค่าสูงขึ้น สําหรับการศึกษาในอดีตที่เกี่ยวข้ องกับบริบทการค้ าชายแดนในปัจจุบนั มีอยู่จาํ นวนหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปเป็ นการศึกษาที่เน้ น สถานการณ์ทางการค้ าชายแดนและข้ ามแดน ณ จุดผ่านแดนใดผ่านแดนหนึ่ง นอกจากนี้ได้ มกี ารศึกษาการค้ าชายแดนที่ เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาเส้นทางเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ และตะวันออก-ตะวันตก และ เส้นทางเศรษฐกิจน่าน-หลวงพระบาง (สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา, 2555ก, 2555ข, 2555ค) ผลการศึกษาโอกาสทางเศรษฐกิจและผลกระทบ ทางสังคมและวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมที่อาจจะเกิดขึ้นกับจังหวัดน่าน ภายหลังการปรับปรุงและ พัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงจังหวัดน่านและเมืองหลวงพระบาง (ผ่านเส้นทางจอมเพชร) พบว่า ทุกภาคส่วนเห็นด้ วยกับการเกิด เส้ นทางน่าน-หลวงพระบาง เนื่องจากเห็นว่าจะทําให้ เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยวของจังหวัดน่านดีข้ นึ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบที่บางภาคส่วนมีความกังวล คือ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเข้ามาของคนต่างถิน่ ที่จะเพิม่ มากขึ้ น นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ประสิทธิภาพของเส้นทางน่าน-หลวงพระบางนั้นสูงกว่าเส้นทางอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับโครงการ ระเบียงเศรษฐกิจเส้นรองในโครงการความร่วมมือวงกลมเศรษฐกิจล้ านนาตะวันออก-ล้ านช้ าง แต่ประสิทธิภาพยังตํ่ากว่า สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
2
โครงการระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (เส้น R3A) ภาคการเกษตรและเกษตรแปรรูป และภาคบริการจะเป็ นโอกาสของจังหวัด น่านในการใช้ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากเส้นทางนี้ ส่วนผลการวิจัยการค้ าระหว่างประเทศทางบกด้ านตะวันตกของ ไทยกับเมียนมาร์ พบว่ามีลักษณะพิเศษคือ เป็ นการดําเนินการค้ ากับชนกลุ่มน้ อยหลายกลุ่มซึ่งเป็ นเขตปกครองตนเอง สลับ กับเขตปกครองของรัฐบาลเมียนมาร์เป็ นช่วงๆ ซึ่งปัญหาและอุปสรรคการค้ าที่พบจะมาจาก 2 ประการหลักๆ คือ ประการ แรก จากความร่วมมือของทั้งสองประเทศที่อยู่บริเวณชายแดน ประกอบด้ วย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นโยบายการค้ า ระหว่างประเทศ และ กฎระเบียบทางการค้ า ประการที่สอง จากบริเวณพื้นที่การค้ าชายแดน ประกอบด้ วย พ่อค้ าชายแดนที่อยู่ ในพื้นที่ ความสัมพันธ์ทางการค้ าในระดับท้ องถิ่น (พ่อค้ าหรือผู้ซ้ อื ) ลักษณะการซื้อขายและสิง่ อํานวยความสะดวกทางการค้ า นอกจากนี้ยังพบว่า ประเด็นความมั่นคงมีบทบาทสําคัญต่อการดําเนินธุรกรรมการค้ าในพื้นที่เป้ าหมายอย่างมาก สําหรับ โอกาสการค้ าของไทยพบว่า เมียนมาร์และพื้นที่เป้ าหมายมีศักยภาพทางเศรษฐกิจที่ดตี ่อการค้ าระหว่างประเทศทางบกใน อนาคต ประกอบกับปัจจัยสนับสนุนในพื้นที่เพื่อส่งเสริมการค้ าชายแดน อาทิ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด และ โครงการท่าเรือนํา้ ลึกทวาย ที่จะส่งผลดีต่อการขยายตัวทางการค้ าของประเทศทั้งสอง ดังนั้นแนวโน้ มความต้ องการสินค้ าจึงมี มากขึ้น โดยสินค้ าหลักคือสินค้ าอุปโภคบริโภค สําหรับการวิจยั การค้ าระหว่างประเทศทางบกด้ านเหนือของไทยกับประเทศ เพื่อนบ้ าน พบว่า ปัญหาการค้ าระหว่างประเทศทางบกด้ านเหนือ นั้นมจากแรงขับเคลื่อนหลักจากสภาพแวดล้ อมระดับมห ภาค ได้ แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นโยบายของรัฐบาลเมียนมาร์ท่มี ปี ัญหากับชนกลุ่มน้ อย ส่งผลต่อการค้ าชายแดน ใน ส่วนของประเทศไทยเอง เกิดปัญหาจากการเมือง การปกครอง ที่มกี ารเปลี่ยนแปลงตัวผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายบ่อย ทําให้ ขาดความต่อเนื่องในเชิงนโยบายและการปฏิบตั งิ าน ปัจจัยขับเคลื่อนที่เกิดในระดับพื้นที่ พบว่า เกิดจากนโยบายกีดกันทาง การค้ าของประเทศเพื่อนบ้ านทั้งสองประเทศ เพราะมีการกําหนดมาตรการควบคุมทางการค้ าทั้งการนําเข้ า ส่งออกอย่าง เข้ มงวด และมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย นอกจากนี้การปฏิบตั ติ ่อกฎระเบียบทางพิธกี ารนําเข้ าส่งออกของเจ้ าหน้ าที่ในประเทศ เพื่อนบ้ านแต่ละด่านมีการปฏิบตั ทิ ่แี ตกต่างกัน สําหรับโอกาสการค้ าของไทยพบว่า เมียนมาร์ สปป.ลาว ยูนนาน (จีน) มี ศักยภาพทางเศรษฐกิจที่ดตี ่อการค้ าระหว่างประเทศทางบกในอนาคต ประกอบกับปัจจัยสนับสนุนในพื้นที่เพื่อส่งเสริมการค้ า ชายแดน อาทิ สะพานข้ ามแม่นาํ้ โขงแห่งที่ 4 รถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย และศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้ าที่อาํ เภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย
2. การเคลื่อนย้ายแรงงานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
การเคลื่อนย้ ายแรงงานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอาจกล่าวไม่ชัดเจนนักว่า เป็ นเพราะว่าเกิดการเคลื่อนย้ ายแรงงาน จึงทําให้
เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ หรืออาจเป็ นเพราะว่าความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นก่อนจึงส่งผลต่อการเคลื่อนย้ ายแรงงาน แต่หากยึดตามทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์แล้ วก็จะถือว่า ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นก่อน จนถึงระดับที่เกิดความต่าง ในราคาค่าแรงขึ้นในพื้นต่างกัน เช่นระหว่างเมืองและชนบท ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้ านเป็ นต้ น จนบางครั้งทําให้ เกิด การเคลื่อนย้ ายจากชนบทสู่เมือง จากประเทศเพื่อนบ้ านเช่นเมียนมาร์เข้ าสู่จงั หวัดชายแดนของไทย เช่น จังหวัดเชียงราย อีก ด้ านหนึ่งการเคลื่อนย้ ายแรงงานเหล่านี้กส็ ่งผลกลับมาสู่การสนับสนุนหรือเป็ นฐานให้ แก่การพัฒนาเศรษฐกิจด้ วยเช่นกัน ข้ อมูลตารางที่ 2 แสดงจํานวนแรงงานต่างด้ าวที่ได้ รับอนุญาตให้ ทาํ งานคงเหลือ ในจังหวัดเชียงราย ณ เดือนมกราคม 2551-2559 โดยตัวเลขจํานวนแรงงานต่างด้ าวรวมมีแนวโน้ มสูงขึ้นเป็ นลําดับยกเว้ นในเดือนมกราคม 2556 ที่ผ่านมาที่มี จํานวนลดลงจาก มกราคม 2555 เป็ นอย่างมาก และในปี 2556 ล่าสุดนี้เช่นกัน หากมองถึงประเด็นการเข้ าเมืองของแรงงาน อย่างถูกกฎหมาย กลับพบว่าตัวเลขจํานวนแรงงานที่เข้ าเมืองถูกกฎหมายมีจาํ นวนเพิ่มขึ้นซึ่งสวนทางกับจํานวนแรงงานต่าง ด้ าวที่เข้ าเมืองอย่างผิดกฎหมายที่มจี าํ นวนลดลงอย่างมาก และเช่นเดียวกัน หากสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 เปิ ด ดําเนินการในอนาคต คาดว่ามาตรการการรองรับจํานวนแรงงานต่างด้ าวควรจะสอดรับกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้ า การลงทุน และการเคลื่อนย้ ายแรงงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
3
ตารางที่ 2 จํานวนแรงงานต่างด้ าวที่ได้ รับอนุญาตให้ ทาํ งานคงเหลือ จังหวัดเชียงราย (จํานวน: คน) รวมทั้งสิ้น เข้าเมืองถูกกฎหมาย เข้าเมืองผิดกฎหมาย ข้อมูล ณ รวม ชาย หญิง รวม คิดเป็น รวม คิดเป็น มกราคม 2551 14,561 7,898 6,663 692 5% 13,869 95% มกราคม 2552 14,270 7,881 6,389 829 6% 13,441 94% มกราคม 2553 19,515 11,047 8,468 814 4% 18,701 96% มกราคม 2554 16,593 9,378 7,215 948 6% 15,645 94% มกราคม 2555 22,607 12,871 9,736 2,341 10% 20,266 90% มกราคม 2556 14,638 7,831 6,807 10,351 71% 4,287 29% ที่มา: ฝ่ ายทะเบียนและข้ อมูลสารสนเทศกลุ่มพัฒนาระบบควบคุมการทํางานของคนต่างด้ าว สํานักบริหารแรงงานต่างด้ าว กระทรวงแรงงาน การศึกษาของสุเมธ อดุลวิทย์ (2554) เรื่องความสัมพันธ์ด้านแรงงานอพยพและการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหภาพ เมียนมาร์ต่อเศรษฐกิจไทย ได้ ข้อสรุปว่า แรงงานเมียนมาร์ท่เี คลื่อนย้ ายจากประเทศ ส่งผลให้ เกิดการกระจายตัวของโรงงาน อุตสาหกรรมบริเวณพื้นที่ชายแดนไทย-เมียนมาร์มากขึ้น ซึ่งก็เป็ นตัวชี้วัดหนึ่งที่บอกว่าแรงงานต่างชาติสง่ ผลต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ ทั้งนี้ท้งั นั้นก็สง่ ผลก่อให้ เกิดปัญหาสังคมตามมา และมีแนวโน้ มที่สงู ขึ้นเนื่องจากราคาค่าแรงที่แตกต่างกันมาก อย่างไรก็ตามงานของสุเมธก็ไม่อาจฉายภาพที่ทาํ ให้ เห็นความเชื่อมโยงกันระหว่างความเปลี่ยนแปลง 3 ด้ าน คือ เศรษฐกิจ แรงงาน และ สิง่ แวดล้ อม ว่าปรากฏการณ์ท้งั 3 ด้ านดังกล่าวนี้สง่ ผลเชื่อมโยงกันอย่างไร งานชิ้นต่อมาเป็ นงานที่ศึกษาแรงงาน พื้นที่ในภาคเหนือ คืองานของภาสกร โกไศยกานนท์ (2547) ศึกษาเรื่อง แรงงานอพยพภาคอุตสาหกรรมในบริเวณชายแดน ไทย-เมียนมาร์:กรณีศึกษาแรงงานสัญชาติเมียนมาร์ ในอําเภอแม่สอด จังหวัดตาก ผลการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมสิ่งทอ พื้นที่ชายแดนแม่สอดเริ่มจากการเข้ ามาตั้งโรงงานสิง่ ทอดในบริเวณเขตเทศบาลตําบลแม่สอดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 ซึ่งส่วน ใหญ่เป็ นโรงงานขนาดกลาง ต่อจากนั้นระหว่างปี พ.ศ. 2540-2542 มีโรงงานสิ่งทอย้ ายฐานการผลิตเพิ่มมากขึ้นและมี โรงงานสิง่ ทอขนาดใหญ่เข้ ามาตั้งเพิ่มขึ้น โดยกระจายตามเส้นทางของถนนสายหลักที่เชื่อมกับตัวจังหวัดและอําเภอ เนื่องจาก ความต้ องการพื้นที่ในการ ก่อตั้งโรงงานที่มขี นาดใหญ่ข้ นึ และความใกล้ กบั แหล่งแรงงาน จึงกล่าวโดยสรุปได้ ว่าแรงงานเมียน มาร์ราคาถูกคือปัจจัยที่เอื้อต่อการตัดสินใจตั้งโรงงานบริเวณชายแดน และ ตัวแรงงานอพยพเองก็มแี รงจูงในเข้ ามาทํางานใน เขตแดนประเทศไทย เพราะว่าค่าแรงโดยเปรียบเทียบแล้ วสูงกว่าทํางานในเมียนมาร์ อีกทั้งยังมีปัจจัยผลัก คือ ความไม่สงบ ทางการเมืองในประเทศเมียนมาร์ จากงานศึกษาของ ภาสกร เสนอให้ เห็นปัจจัยที่มากกว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจ นั่นก็คอื ปัจจัยทางการเมือง แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบการเชื่อมโยงการศึกษาดังกล่าวไปอธิบายปัญหาสิ่งแวดล้ อมเพื่อให้ มองเห็นภาพรวมเกือบทั้งหมด ส่วนงานชิ้นต่อมา คืองานที่ศึกษาเฉพาะเจาะจงในพื้นที่ อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ศึกษาโดย วีรชัย ศาสตราศรัย (2542) เรื่องแรงงานอพยพเมียนมาร์: ศึกษากรณี อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งได้ ผลการศึกษาว่า ปัญหาในเมียนมาร์ อันเป็ นสาเหตุให้ เกิดการอพยพแบ่งออกเป็ น 3 ด้ านด้ วยกัน คือ การเมือง รัฐบาลนายพลเนวินเผชิญกับปัญหาการขอแบ่งแยก ดินแดนจากชนกลุ่มต่างๆ นําไปสู่การสู้รบ ประชาชนต้ องประสบความยากลําบากในการใช้ ชีวิต ปัญหาต่อมาคือ ปัญหาด้ าน เศรษฐกิจ อันเป็ นผลมาจากการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ทําให้ ไม่มกี ารผลิตสินจําเป็ นป้ อนสู่ตลาด สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
4
เหมือนกับประเทศทุนนิยมอื่นๆ ทําให้ ประชาชนเกิดความอดยาก และ ปัญหาด้ านสังคม เนื่องด้ วยเมียนมาร์เป็ นประเทศที่มี หลากหลายเชื้อชาติ และ มีความหวาดระแวงต่อกันตลอดเวลาทําให้ ภาวะความไม่ปลอดภัยในชีวิต อันหลีกหนีจากความ รุนแรงระหว่างเชื้อชาติได้ ยาก ซึ่งปัญหาทั้งหมดเป็ นปัจจัยผลักให้ เกิดการอพยพของเมียนมาร์ส่พู ้ ืนที่ชายแดนแม่สาย อย่างไรก็ตามถึงแม้ วีรชัยจะอ้ างถึงด้ านสังคม แต่กย็ ังไม่ใช่การอธิบายที่ครอบคลุม ซึ่งคล้ ายกับงาน 2 ชิ้นที่ได้ อธิบายไว้ แล้ วว่า ยังคงขาดการมองและเชื่อมโยงอย่างรอบด้ าน หรือ กล่าวโดยสรุปได้ ว่ายังไม่มงี านชิ้นใดที่จะนําเสนอภาพรวมให้ เห็น ความสัมพันธ์ท้งั 3 ด้ าน เศรษฐกิจการค้ า และ การลงทุน แรงงานอพยพ และ ปัญหาสิ่งแวดล้ อมโดยเฉพาะหมอกควันจาก การเผาไหม้ อย่างเชื่อมโยงกัน
3. สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
โดยแท้จริงแล้ ว ปัญหาหมอกควันเกิดขึ้นจากหลากหลายสาเหตุประกอบกัน เช่น เกิดไฟไหม้ ป่าเป็ นนับเป็ นจํานวนครั้ง
และพื้นที่จาํ นวนมากจากภาวะแห้ งแล้ งโดยธรรมชาติ เกิดไฟลามไหม้ ป่าโดยการตั้งใจหรือไม่ได้ ต้งั ใจโดยมนุษย์ มีการเผาในที่ โล่ง มีการเผาพื้นที่สาํ หรับเตรียมการเพาะปลูก เช่น ไร่ข้าวโพด การเผาไหม้ จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น ควัน จากโรงงาน ควันพิษจากยานพาหนะ ควันจากการประกอบอาหารจากการใช้ ถ่านหรือฟื น ควันจากการเผาเพื่อกําจัดขยะหรือ ของเสีย โดยเฉพาะสภาพภูมศิ าสตร์ของพื้นที่ภาคเหนือที่เป็ นที่ล่มุ ระหว่างหุบเขาร่วมกับภาวะอากาศเย็นที่ทาํ ให้ หมอกควันไม่ สามารถลอยขึ้นสูงเพื่อสลายความปริมาตรเข้ มข้ นได้ ดเี ท่าที่ควร และผลกระทบจากมลพิษหมอกควันนั้นส่งผลกระทบต่อทั้ง สภาพแวดล้ อม ทัศนะวิสยั ในการจราจรขนส่ง สุขภาพของมนุษย์และสัตว์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การค้ า การบริการ การ ท่องเที่ยว รวมถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ตารางที่ 3 ปริมาตรฝุ่ นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน PM10 ณ สถานีเทศบาลเมือง จังหวัดเชียงราย (หน่วย: ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) เดือน/ปี 2551 2552 2553 2554 2555 2556 ม.ค. 69.2 70.6 69.2 76.4 66 ก.พ. 233.1 146.6 85.7 225.9 93 มี.ค. 286.4 267.1 97 293.4 244 เม.ย. 120.2 238.9 149.9 122.8 241 พ.ค. 45 68.3 57.8 58.5 83 มิ.ย. 34.8 70.8 45.1 44.5 55 ก.ค. 28.2 30.3 34.7 29.2 34 ส.ค. 27.3 28.3 33.2 28.4 ก.ย. 35 57.2 38.4 30.2 39.7 ต.ค. 62 43.5 45.3 44.3 51 พ.ย. 50.5 65.5 66.3 66.7 40.1 ธ.ค. 77.8 71.5 83.6 81.1 56.5 ที่มา: ฝ่ ายข้ อมูลคุณภาพอากาศ สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
5
ข้ อมูลตารางที่ 3 แสดงค่าปริมาตรฝุ่ นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ของจังหวัดเชียงราย โดยนําค่าสูงสุดที่ วัดได้ ของแต่ละเดือนจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเทศบาลเมืองเชียงรายตั้งแต่เริ่มการติดตั้งสถานีและบันทึกค่าเมื่อเดือน กันยายน 2551 จนถึงข้ อมูลล่าสุด คือ เดือนกรกฎาคม 2556 หน่วยเป็ นไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับค่า มาตรฐาน คือ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จากข้ อมูลดังกล่าว พบว่าปริมาตรฝุ่ นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) มักจะมีค่าสูงเกินกว่ามาตรฐานในช่วง 3 เดือน คือ กุมภาพันธ์–เมษายน ซึ่งเป็ นช่วงเดียวกันกับสถานการณ์ของ จังหวัดเชียงรายและอีกหลายจังหวัดในภาคเหนือตอนบนที่มกั จะประสบปัญหาหมอกควันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปลายฤดู หนาวก่อนเปลี่ยนฤดูเข้ าสู่หน้ าร้ อน ตารางที่ 4 ปริมาตรฝุ่ นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ณ สถานี อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย (หน่วย: ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) เดือน/ปี 2554 2555 2556 ม.ค. 99.4 110 ก.พ. 308.7 89 มี.ค. 479.1 277 เม.ย. 235.6 308 พ.ค. 100 89 มิ.ย. 69.9 53 ก.ค. 48.3 62.4 33 ส.ค. 24.2 49.8 ก.ย. 58.9 58.3 ต.ค. 73.9 55.6 พ.ย. 88.1 50.3 ธ.ค. 111.6 69.5 ที่มา: ฝ่ ายข้ อมูลคุณภาพอากาศ สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เพื่อเชื่อมโยงปัญหาหมอกควันเข้ ากับเขตพื้นที่ชายแดนการค้ าของจังหวัดเชียงราย จากตารางที่ 4 แสดงปริมาตรฝุ่ น ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ณ สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ที่ได้ มกี ารติดตั้ง เครื่องวัดคุณภาพอากาศและรายงานผลตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2554 โดยแสดงค่าสูงสุดที่วัดได้ ของแต่ละเดือนจนถึงข้ อมูล ล่าสุด เดือนกรกฎาคม 2556 พบว่าปริมาตรฝุ่ นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) มักจะมีค่าสูงเกินกว่ามาตรฐาน ในช่วงเดียวกันกับข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดเทศบาลเมืองเชียงราย คือช่วงเดือนกุมภาพันธ์–เมษายน เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ปัญหา มลพิษหมอกควันไม่ว่าจะเกิดจากไฟไหม้ ป่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือไฟไหม้ ป่าที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์น้นั ย่อม ส่งผลกระทบทางด้ านลบต่อสภาพแวดล้ อมทั้งในพื้นที่ บริเวณรอบข้ างและแม้ กระทั่งปัญหามลพิษจากหมอกควันข้ ามแดน (Transboundary Haze Pollution) ซึ่งปัญหานี้ได้ รับความสนใจในการร่วมแก้ ปัญหาในระดับภูมภิ าค โดยมีท่มี าจากเหตุการณ์ เมื่อประเทศสมาชิกอาเซียนเขตเส้ นศูนย์สตู รได้ รับผลกระทบรุนแรงจากมลพิษหมอกควัน อันเป็ นผลมาจากไฟป่ าในเกาะ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
6
สุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียทําให้ ประเทศที่เกี่ยวข้ อง ประกอบด้ วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ได้ จัดการ ประชุมวาระเร่งด่วนและมีมติให้ จัดตั้งคณะทํางานเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ ามแดนหรือ TWG (Technical Working Group on Transboundary Haze Pollution) ขึ้น โดยมีผ้ แู ทนระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโสจากประเทศสมาชิกเข้ าร่วมและมีคณะกรรมการ ระดับรัฐมนตรีส่งิ แวดล้ อม 5 ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ซึ่งมีกรมควบคุมมลพิษเป็ นผู้ ประสานงาน) หรือ MSC (Sub-regional Ministerial Steering Committee on Transboundary Haze Pollution) เป็ นผู้กาํ กับ ดูแลการดําเนินงานเพื่อสร้ างความร่วมมือในการแก้ ปัญหามลพิษจากหมอกควันข้ ามแดน ในระดับประเทศอาเซียนได้ มกี ารลง นามความตกลงอาเซียนว่าด้ วยมลพิษจากหมอกควันข้ ามแดน (ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution) ใน ปี 2545 และในปี 2550 มี 8 ชาติท่ลี งนามให้ สตั ยาบันในความตกลงแก่เลขาธิการทั่วไปของอาเซียน ได้ แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เมียนมาร์ เวียดนาม สปป.ลาว กัมพูชา และไทยโดยประเทศอินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ยังไม่ลงนามให้ สตั ยาบัน และ ล่าสุดนี้ มีการเจรจาในการประชุมอาเซียนเพื่อให้ เกิดความร่วมมือในการแก้ ไขปัญหาระหว่างประเทศอาเซียน ในการประชุม รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 46 ในระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-2 กรกฎาคม 2556 ณ ประเทศบรูไน และการประชุม 15th TWG&MSC เพื่อหารือเร่งด่วนในระหว่างวันที่ 16-17 กรกฎาคม 2556 ณ ประเทศมาเลเซีย (ศุทธินี ดนตรี 2556) ปัญหาสิง่ แวดล้ อม ไม่ว่าจะเป็ นมลภาวะ ทางนํา้ ทางดิน และ ทางอากาศ ล้ วนเป็ นปัญหาที่ถูกพูดถึงมาหลายทศวรรษแล้ ว ทั้งในซีกโลกตะวันตก และ ตะวันออกอย่างเอเชีย ปัญหาสิ่งแวดล้ อมในโลกสมัยใหม่ย่อมปฏิเสธไม่ได้ ว่ามีสาเหตุมาจากเริ่มต้ น มาจากการปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรมในศตวรรษที่ 18 นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อให้ สอดรับกับการปฏิวัตพิ ัฒนา ระบบอุตสาหกรรม ซึ่งองค์ความรู้ท่วี ่าย่อมหลีกหนีไม่พ้นปริมณฑลความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เป็ นสาขาวิชาที่ พยายามจะวัดมูลค่าทุกสิ่งทุกอย่างในสังคม ในด้ านสิง่ แวดล้ อมก็เช่นเดียวกัน ย่อมต้ องมีการวัดมูลค่าให้ ชัดเจน เพราะ ไม่เช่นนั้นแล้ วจะเกิดปรากฎการณ์ Open Access หรือ สินค้ าสาธารณะที่เปิ ดโอกาสให้ ทุกคนในสังคมเข้ าไปใช้ ได้ อย่างเสรี ซึ่ง จะก่อให้ เกิดผลเสียคือการไม่คาํ นึงถึงการเสื่อมมูลค่าลงของสินค้ าสาธารณะนั้นๆ ดังนั้นเศรษฐศาสตร์จึงมีความจําเป็ นต้ องวัด มูลค่า เพื่อให้ เกิดการตระหนักในการใช้ ทรัพยากรโดยคํานึงถึงความเสื่อมของสภาพแวดล้ อม จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง พบมีงานจํานวนหนึ่งจากปริมณฑลงานที่ศึกษาด้ านมลพิษทางอากาศ ของแหล่งข้ อมูล โครงการเครือข่ายห้ องสมุดในประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา จํานวน 112 ชิ้นงาน แต่งาน ส่วนใหญ่กลับทุ่มเทศึกษาในด้ านทัศนคติต่อมลพิษทางอากาศ ซึ่งเป็ นการศึกษาที่ไม่ได้ สะท้ อนให้ เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยง 3 ด้ าน (การค้ าการลงทุน การอพยพแรงงาน และ สิ่งแวดล้ อม) หากจะมีกแ็ ต่งานด้ านเศรษฐศาสตร์ท่พี ยายามศึกษาวัดค่า มลพิษทางอากาศ เช่น งานของ คงศักดิ์ ภีระคํา (2550) ที่ศกึ ษาเรื่อง การประเมินต้ นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบ ของมลพิษทางอากาศที่มตี ่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ในอําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ได้ ผลการศึกษาว่า กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่เป็ นสาเหตุ ก่อให้ เกิดฝุ่ นละออง มลพิษทางอากาศในชุมชนที่ผ้ ปู ่ วยโรคระบบทางเดินหายใจอาศัยอยู่ และส่งผลกระทบต่ออาการเจ็บป่ วยคือ การกําจัดขยะโดยการเผา โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็นอันมีอากาศปิ ด มีจาํ นวนมากที่สดุ ร้ อยละ 86 รองลงมาคือการเผาหญ้ าหรือเศษใบไม้ กิง่ ไม้ ในบ้ านหรือสวนไร่นาร้ อยละ 70 ส่วนผลการศึกษาต้ นทุนทาง เศรษฐศาสตร์ของผลกระทบจากมลุพิษทางอากาศที่มตี ่อสุขภาพผู้ป่วย พบว่าต้ นทุนของการเจ็บป่ วยเนื่องจากมลพิษทาง อากาศ มีมูลค่าเฉลี่ยเท่ากับ 25,200.07 บาทต่อคนต่อปี ประกอบไปด้ วยต้ นทุนทางตรง 21,038.18 บาทต่อคนต่อปี และ ต้ นทุนทางอ้ อม 4,161.89 บาทต่อคนต่อปี คิดเป็ นร้ อยละ 83.48 และร้ อยละ 16.52 ของต้ นทุนรวมตามลําดับ ต้ นทุนที่มี มูลค่าสูงสุด 3 อันดับแรกเป็ นต้ นทุนทางตรงทั้งหมด คือต้ นทุนค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน มีมูลค่าเท่ากับ 13,151.45 บาทต่อ คนต่อปี รองลงมาคือต้ นทุนค่าใช้ จ่ายอื่นๆ มีมูลค่าเท่ากับ 4,850 บาทต่อคนต่อปี และต้ นทุนค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก มี มูลค่าเท่ากับ 2,090.23 บาทต่อคนต่อปี ตามลําดับ ส่วนต้ นทุนที่มูลค่าน้ อยที่สดุ คือต้ นทุนค่ายารักษาโรคมีมูลค่าเท่ากับ 373.50 บาทต่อคนต่อปี ชิ้นงานของคงศักดิ์ทาํ ให้ เราเห็นปัญหาสิง่ แวดล้ อมที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ หากแต่ยังเป็ นงานที่ไม่ สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
7
ฉายให้ เห็นภาพกว้ างว่า ปัญหาหมอกควันนั้นเกิดมาจากรูปแบบการผลิตแบบใด ทําไมจึงเกิดขึ้น แล้ วมีความเชื่อมโยงอย่างไร กับการค้ าการลงทุน หากจะกล่าวให้ เป็ นธรรมต่อชิ้นงานก็คอื เพราะว่าเป็ นงานที่ศึกษาในพื้นที่ๆ ไม่ใช่จงั หวัดชายแดน คําถาม จึงเกิดขึ้นว่าหากนํารูปแบบการศึกษาของคงศักดิ์ไปใช้ ศึกษาพื้นที่ชายแดนอาจทําให้ มองเห็นความเชื่อมโยงต่างๆ ในภาพกว้ าง ก็เป็ นไปได้ นอกจากมลพิษทางอากาศจากการเผาแล้ ว ยังมีงานศึกษาผลกระทบในรูปแบบต้ นทุนทางสุขภาพที่เกิดจากมลพิษทาง อากาศที่มสี าเหตุมาจากการก่อสร้ าง เช่น งานของ วนิดา กิจตะวงศ์ (2549) เรื่องการประเมินต้ นทุนด้ านสุขภาพที่เกิดจาก มลพิษทางอากาศของโครงการก่อสร้ างถนนเชื่อมโยงเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (เชียงราย–เชียงแสน) ได้ ผลสรุปว่า การมีถนน เชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษ (เชียงราย–เชียงแสน) จะช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์เฉลี่ยทั้ง 3 ฤดู ลดลง และ ปริมาณสารมลพิษที่เกิดขึ้นบนถนนสายเดิมในกรณีท่มี โี ครงการนั้นมากกว่าปริมาณสารมลพิษจะเกิดขึ้นบนพนนของโครงการ ประมาณ 1.3-1.9 เท่า การมีถนนเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษ (เชียงราย–เชียงแสน) ทําให้ มจี าํ นวนผู้ป่วยโรคระบบทางเดิน หายใจลดลง อย่างไรก็ตามถึงแม้ ว่า วนิดา จะเสนอให้ เห็นถึงการเชื่อมโยงระหว่างการลดลงของมลพิษทางอากาศกับต้ นทุนสุขภาพ แต่ ก็ไม่ฉายภาพให้ เห็นว่า ถนนหรือโครงสร้ างพื้นฐานจะนําไปสู่การพัฒนามูลค่าทางเศรษฐกิจหรือการกระจายรายได้ อย่างไร การที่จะก้ าวไปให้ ไกลกว่าการศึกษาด้ านมลพิษทางอากาศในแบบของ 2 ชิ้นงานที่ยกมา ต้ องทําการศึกษาให้ เชื่อมโยง ครอบคลุม มองปัญหาให้ รอบด้ านมากกว่าด้ านต้ นทุนสุขภาพ แต่ต้องเป็ นการเชื่อมโยงให้ เห็นที่มาที่ไปของมลพิษทางอากาศ ว่าเกิดขึ้นจากรูปแบบเศรษฐกิจแบบใด หากในพื้นที่ชายแดนจะเป็ นอย่างไร รวมถึงปัญหาที่อยู่ลกึ กว่านั้นเช่น ปัญหาการผลิต ต่างๆ ล้ วนเกี่ยวข้ องและเชื่อมโยงไปถึง การเคลื่อนย้ ายแรงงานข้ ามชาติ เป็ นต้ น เราจะมองและศึกษาอย่างไรให้ เห็นเศรษฐกิจ และสังคมทั้งหมดได้
กล่าวโดยสรุป ช่วงระยะเวลา 5 ปี หลังมานี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550–2555 จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็ นจังหวัดชายแดน
ภาคเหนือที่มเี ขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้ าน 2 ประเทศ ได้ แก่ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งพบปัญหาสิง่ แวดล้ อมร่วมกันปัญหาหนึ่ง คือ ปัญหาหมอกควันจากการเผาไหม้ ซึ่งก็เป็ นหนึ่ง ในสาเหตุให้ เกิดมลภาวะทางอากาศ อีกทั้งในลักษณะทางภูมศิ าสตร์ทางเศรษฐกิจที่จังหวัดเชียงรายเป็ นจังหวัดชายแดนที่มเี ขต แดน ปรากฏการณ์หมอกควันย่อมส่งผลต่อเศรษฐกิจการค้ าการลงทุนชายแดน ตลอดจนการเคลื่อนย้ ายแรงงานระหว่าง ประเทศ คําถามคือ ภายใต้ โครงสร้ างทางเศรษฐกิจแบบชายแดนของจังหวัดเชียงราย ความสัมพันธ์ระหว่างการค้ าชายแดน การเคลื่อนย้ ายแรงงานต่างประเทศระหว่างประเทศเพื่อนบ้ าน และปัญหาหมอกควันจากการเผาป่ าจะเป็ นอย่างไร และน่าจะ เป็ นอย่างไร จากข้ อมูลด้ านมูลค่าการค้ าชายแดน จํานวนแรงแรงงานต่างด้ าว และข้ อมูลคุณภาพอากาศของจังหวัดเชียงรายที่ ผ่านมา จึงมีความสําคัญอย่างที่จะศึกษาถึงผลกระทบของทั้ง 3 ด้ านที่มสี ่วนสนับสนุนให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้ าน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้ อมของพื้นที่ชายแดน และสามารถนําผลการศึกษาดังกล่าวมาแนวทางการวางนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ชายแดนที่ปัจจุบนั ถือว่าเป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
8
เอกสารอ้างอิง
คงศักดิ์ ภีระคํา. “การประเมินต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบของมลุพิษทางอากาศทีม่ ีต่อสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคระบบ ทางเดินหายใจในอําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2550 ภาสกร โกไศยกานนท์. “แรงงานอพยพภาคอุตสาหกรรมในบริเวณชายแดนไทย-เมียนมาร์: กรณีศึกษาแรงงานสัญชาติเมียน มาร์ ในอําเภอแม่สอด จังหวัดตาก”. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547 วนิดา กิจตะวงศ์. “การประเมินต้นทุนด้านสุขภาพทีเ่ กิดจากมลพิษทางอากาศของโครงการก่อสร้างถนนเชือ่ มโยงเขตเศรษฐกิจ พิเศษชายแดน (เชียงราย–เชียงแสน)”. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2549 วีรชัย ศาสตราศรัย. “แรงงานอพยพเมียนมาร์: ศึกษากรณี อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2542 ศุทธินี ดนตรี. “ไฟป่ าและหมอกควันข้ามแดน : การแก้ไขในเวทีระดับอาเซียน”. กรุงเทพธุรกิจ 8 กรกฎาคม 2556 สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. “รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเรือ่ งโอกาสทางเศรษฐกิจและผลกระทบจาก เส้นทางน่าน – หลวงพระบาง” สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. 2555ก สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. “รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเรือ่ งการค้าระหว่างประเทศทางบกด้าน ตะวันตก” สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. 2555ข สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. “รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเรือ่ งการค้าระหว่างประเทศทางบกด้านเหนือ” สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้ าและพัฒนา. 2555ค สุเมธ อดุลวิทย์. “ความสัมพันธ์ด้านแรงงานอพยพและการเติบโตทางเศรษฐกิจ”. สุทธิปริทศั น์. หน้ า 61-79. 2554
สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้ าที่ ดําเนินงานด้ านการรวบรวมข้ อมูลและวิจัยทางด้ านเศรษฐกิจการค้ าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนําไปสู่การ ยกระดับองค์ความรู้ท่เี ป็ นฐานสําคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้ าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
สํานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
9