OBELS POLICY BRIEF No. 12, January 2015 การตัดสินใจลงทุนในธุรกิจค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค เมืองชายแดนเชียงแสน จังหวัดเชียงราย Investment Decision in Consumer Goods Retail Business at Chiang Sean Border City, Chiang Rai Province ศศิญา รุ่งเรืองษี1 ผู้วิจัย สิทธิชาติ สมตา2 ผู้เรียบเรียง
จังหวัดเชียงราย เป็นเมืองหน้าด่านในการค้าชายแดนกับต่างประเทศ โดยมีชายแดนติดกับประเทศ ที่สาคัญคือ สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ สปป.ลาว และประเทศจีน( ตอนใต้) เป็นจังหวัดที่มีชายแดนติด 2 ประเทศ อาณาเขตทิศเหนือติดกับ สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ ส่วนทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศ ลาว โดยมีน้ าโขงเป็ น ตัว เชื่อม ด้ว ยข้อได้เปรียบของทางภูมิศาสตร์แล้ ว เชียงรายถือว่าเป็นจังหวัดที่มีจุด ยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่นอกจากจะมีชายแดนติด 2 ประเทศแล้ว ยังมีการสร้างเส้นทางเศรษฐกิจตามแนวเหนือ ใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) โดยมีเส้นทางสาคัญคือ R3A และเส้นทาง R3B ภายใต้ความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Sub Region: GMS) ผ่านประเทศลาวและ สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ เข้าสู่ประเทศจีน ซึ่งประเทศจีนถือว่าเป็น ตลาดการค้าใหญ่ โดยมูลค่าการค้า ชายแดน เฉพาะ 3 ด่าน คือ ด่านแม่สาย ด่านเชียงแสน ด่านเชียงของ ในจังหวัดเชียงราย ปี 2556 เท่ากับ 38,386.99 ล้านบาท มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 6.70% รายละเอียดมูลค่าการค้าชายแดน จังหวัดเชียงราย เปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556 ดังแสดงในตารางที่ 1.1
1 2
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สานักวิชาการจัดการ นักวิจัย สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1
ตารางที่ 1.1 มูลค่าการค้าชายแดน หน่วย: ล้านบาท การค้าระหว่าง ประเทศ
ส่งออก
นาเข้า
การค้ารวม
ปี 2555
ปี 2556
ปี 2555
ปี 2556
ปี 2555
ไทย - จีน
5,407.44
4,788.72
3,160.64
3,084.16
8,565.08
7,872.88
ไทย - พม่า
13,287.16
15,241.04
163.38
213.98
13,450.54
15,455.02
ไทย - ลาว
13,264.27
14,283.61
694.73
775.48
13,959.00
15,059.09
4,073.62
35,974.62
38,386.99
รวม 31,958.87 34,313.37 4,018.75 ที่มา สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย, 2557
ปี 2556
จังหวัดเชียงรายเป็นหัวสะพานของแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ (NSEC) อยู่ในเส้นทาง ยุทธศาสตร์ที่จีนให้ความสาคัญ คือ เส้นทาง “คุนมั่น – กงลู่” (คุนหมิง– กรุงเทพฯ) ซึ่งอยู่ในกรอบความ ร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) นอกจากนั้น ยังมีกรอบความร่วมมือ ACFTA (ASEAN – CHINA FTA) จึงมีจุดเชื่อมต่อที่สาคัญใน 3 อาเภอ ที่เป็นประตู การค้าหลักของจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยอาเภอ แม่สาย อาเภอเชียงแสน และอาเภอเชียงของ และจากมูลค่าการค้ารวมกับประเทศเพื่อนบ้านในปี 2556 จานวน 38,368.99 ล้านบาท ปรากฏว่าด่านการค้าอาเภอเชียงของ มีมูลค่าการค้าสูงสุด 14,063.95 ล้านบาท รองลงมาเป็นด่านอาเภอเชียงแสน มีมูลค่า 12,828.95 ล้านบาท และด่านอาเภอแม่สาย มี มูลค่า 11,494.10 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.64 ร้อยละ 33.42 และร้อยละ 29.94 ตามลาดับ (สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย, 2556) ด่านอาเภอเชียงแสนเป็นเมืองชายแดนติดลาน้าโขงเป็นเขตเศรษฐกิจชายแดนที่ปัจจุบันพัฒนาเพื่อ รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ปัจจุบันอาเภอเชียงแสนมีท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน แห่งที่ 2 เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2552 อาเภอเชียงแสนเป็นประตูการค้าระหว่างประเทศไทย กับประเทศลุ่มแม่น้าโขง ตอนบน เพื่อส่งเสริ มการขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ ตามข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อการเดินเรือ พาณิชย์ในแม่น้า ล้านช้าง-แม่น้าโขง ระหว่าง 4 ประเทศ คือ จีน เมียนมาร์ ลาว และไทย รวมถึงเป็นการ เสริมสร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและการลงทุน ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อาเภอเชียง-แสน จึงเป็นยุทธศาสตร์ทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านที่สาคัญ เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และโลจิ-สติกส์ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน และการขยายการค้าชายแดนให้เพิ่มขึ้น ภาครัฐและเอกชน ไทยจะต้องให้ความสาคัญกับการค้าชายแดน โดยเฉพาะตลาดจีนตอนใต้ และประเทศเพื่อนบ้านที่ มีความ 2
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ต้องการสูงด้านเสบียงอาหาร วัตถุดิบ และพลังงานเชื้อเพลิงเพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และ เพื่อให้มีการใช้ระเบียงเศรษฐกิจ NSEC ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้นกล่าวได้ว่า เมืองชายแดนเชียงแสน เป็น พื้นที่ยุทธศาสตร์ทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านที่สาคัญ สามารถติดต่อการค้าชายแดนกับประเทศจีน เมียนมาร์ และ สปป.ลาว จึงเป็นพื้นที่มีศักยภาพในการพัฒนาทั้งทางด้านการค้า การลงทุน เป็นต้น ทั้งนี้ทางผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกในการวิจัย และมีขอบเขตเวลาในการศึกษา 3 เดือน ในเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2557 โดยการสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการธุรกิจค้า ปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค จานวน 7 ราย ในพื้นที่ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยใช้ข้อมูลชื่อ ผู้ประกอบการจากสานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเชียงราย ข้อมูลปี 2557 โดยการแบ่งกลุ่มของผู้ประกอบการ ดังนี้ 1. กลุ่มผู้ประกอบการร้านค้าที่เปิดก่อนและหลังการสร้างท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน แห่งที่ 2 โดยรูปแบบหน้าร้านเป็นลักษณะดั้งเดิม จานวน 3 รายเลือกจากข้อมูลชื่อผู้ประกอบการจากสานักพัฒนาธุรกิจ การค้าเชียงราย 2. กลุ่มผู้ประกอบการร้านค้าที่เปิดดาเนินการก่อนและหลังการสร้างท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน แห่งที่ 2 โดยรูปแบบหน้าร้านที่ทันสมัยอาทิเช่น มินิมาร์ทจานวน 3 รายเลือกจากข้อมูลชื่อผู้ประกอบการจาก สานักพัฒนาธุรกิจการค้าเชียงราย 3. กลุ่มผู้ประกอบการค้าปลีกในรูปแบบการจัดร้านแบบ Modern Trade หรือร้านสะดวก ซื้อประเภทแฟรนไชส์อาทิเช่น เซเว่นอีเลฟเว่น และเทสโก้โลตัส เอ็กเพลสเป็นต้นจานวน 1 รายเลือกจาก ร้านค้าที่เป็นลักษณะการดาเนินธุรกิจแบบแฟรนไชส์ ประเด็นที่ 1 รูปแบบการดาเนินธุรกิจ Q. รูปแบบการประกอบธุรกิจ เปรียบเทียบการค้าขายสมัยก่อน และปัจจุบันแตกต่างกันอย่างไร ผู้ประกอบการ A : การค้าขายในอดีตกับปัจจุบันแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นการจัดวาง ของต่างๆให้เป็นระเบียบ จัดประเภทสินค้าเดียวกันไว้ด้วยกันเพื่อลูกค้าซื้อสินค้าจะได้ง่ายต่อการซื้อ ผู้ประกอบการ B : รูปแบบการทาการค้าอดีตและปัจจุบัน ซึ่งเริ่มจากร้านค้าเล็กๆและค่อยๆขยาย ร้านค้าให้ใหญ่ขึ้นเพื่อเปลี่ยนแปลงไปตามความทันสมัยของร้านค้ามินิมาร์ท ผู้ประกอบการ D : การค้าขายปัจจุบันค้าขายดีกว่า ในอดีต แต่กาไรน้อย ต้นทุนสินค้าอุปโภค บริโภคสูงขึ้น กว่าเพราะต้นทุนสูงขึ้น ด้วยเหตุที่ค้า ขายดีเป็นเพราะถนนต่างๆ เดินทางได้ กาไรน้อยลง สะดวกมากขึ้น และทุกวันอาทิตย์ในตัวอาเภอเชียงแสนมีตลาดนัด จะมีคนมาซื้อ สินค้าจานวนมาก ส่วนวันอื่นๆ สามารถค้าขายได้พอสมควร ดังนั้นในเมื่อต้นทุน เน้นการขายปริมาณ มาก ในการค้าขายในปัจจุบันสินค้าอุปโภคบริโภคราคาต้นทุนสินค้าสูงขึ้นทาให้กาไรใน การขายสินค้ามีกาไรที่น้อยลงเน้นการขายปริมาณมาก 3
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ผู้ประกอบการ F : ผมเปิดร้านซ่อมไฟฟ้าที่บ้านครับ แต่ได้มีการเปิดร้านขายสินค้าที่ตลาดนัดวัน อาทิตย์ บริเวณหน้าท่าเรือข้ามฟากเชียงแสนตรงข้ามบ้านต้นผึ้งของลาว โดยคนลาวจะข้ามฟากมาบริโภค สินค้า โดยสินค้าที่นามาขายค้าปรกอบด้วย ปลา ผลไม้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ผู้ประกอบการท่านนี้มองเห็นโอกาส การค้าในพื้นที่อาเภอเชียงแสน โดยการทาการค้าขายเฉพาะวันอาทิตย์เพียงวันเดียวเพื่อลดต้นทุนของการเช่า พื้นที่ลงทาให้ได้เปรียบในเรื่องการกาหนดราคาขายที่ต่ากว่าคู่แข่งได้ “รูปลักษณ์ของ ผู้ประกอบการ G : การค้าขายในอดีตไม่มีคู่แข่งทาให้ขายสินค้าได้ ร้านค้าเปลี่ยนไปตาม ปริมาณมาก แต่ในปัจจุบัน ถ้าไม่นับคู่แข่งก็ถือว่าลูกค้าเยอะขึ้นกว่าในอดีต พฤติกรรมผู้บริโภค” โดยลูกค้าส่วนมากเป็นกลุ่มคนทางานและกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งกลุ่มวัยรุ่นจากเข้ามา เช่นเดียวกับ”ชีวิตที่ ซื้อสินค้ามากกว่ากลุ่มคนวัยทางาน เนื่องจากการอยากรู้อยากลองสินค้า ตาม เร่งรีบแข่งกับเวลา สื่ อ โฆษณารสชาติใ หม่ เช่น ขนม เครื่ อ งดื่ม เป็ น ต้น พฤติ กรรมผู้ บ ริโ ภค ทาให้ผู้บริโภคต้องใช้ ปัจ จุ บั น เปลี่ ย นไปจากอดีต อะไรที่ห ากินได้ง่ายๆก็จะนิยมซื้อตามๆกันซึ่ง ชีวิตที่ง่ายและสะดวก ผู้ ป ระกอบการมองร้ า นค้ า ในปั จ จุ บั น เปลี่ ย นรู ป ลั ก ษณ์ ไ ปตามพฤติ ก รรม มากยิ่งขึ้น” ผู้บริโภค อย่างในปัจจุบันการใช้ชีวิตที่เร่งแข่งกับเวลาทาให้ผู้บริโภคต้องใช้ ชีวิตที่ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น ประเด็นที่ 2 นโยบายและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ Q. นโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคอย่างไร ไม่ ทราบว่ารัฐสนับสนุนธุรกิจการค้าปลีกอย่างไรบ้าง ประกอบการ A : ทางกฏระเบียบกฎหมายที่ใช้ควบคุมธุรการค้าปลีกนั้น ไม่มีปัญหากับผุ้ประกอบการ แต่อยากให้มีการสนับสนุนในด้านการค้าขาย เช่น กระตุ้นการเดินทางของนักท่องเที่ยวให้มาเที่ยวและมีการจัด งานแสดงสินค้า OTOP ในอาเภอเชียงแสน เนื่องจากผู้ประกอบการมองว่าการที่อาเภอเชียงแสนเป็นเมือง ท่องเที่ยวการมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในอาเภอเชียงแสนมากเท่าไหร่การค้าขายก็จะดีขึ้นตามเช่นกัน ผู้ประกอบการ B : โดยปกติการให้ข้อมูลความรู้เรื่องนโยบายและ กฎระเบียบที่ทางภาครัฐบาลให้กับผู้ประกอบการ ส่วนมากไม่มีและไม่ได้รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐบาลแต่อย่างใด อ๋อ..ถ้าเป็น อบต.ข้อมูล AEC ไม่มีหรอกก็รู้ตามทีวีว่าเชียงแสนเปิดท่าเรือส่งของข้ามไปจีนลาวได้รู้จากข่าวทีวี แบบนี้มากกว่า และจะมีผู้ใหญ่บ้านเท่านั้นที่ประกาศกระจายเสียงตามสายว่า รถราเยอะขึ้นให้ระวังและเป็นท่าเรือส่งของแห่งใหม่แค่นั้น กฎหมายและอื่นๆ ไม่เข้าใจหรอก ส่วนให้ความเห็นในเรื่องการประชาสัมพันธ์ของทางหน่วยงาน ภาครัฐว่าไม่มีการให้ความรู้หรือสนับสนุนด้านนโยบายการเปิดการค้ าเสรีแก่ ผู้ประกอบการ ทาให้ผู้ประกอบการมองไม่เห็นทิศทางในการดาเนินธุรกิจใน อนาคต 4
“อ๋อ...ถ้าเป็น อบต. ข้อมูล AEC ไม่รู้ หรอก” รับรู้ข่าวสาร จากสื่อโทรทัศน์และ หอกระจายข่าว
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ผู้ประกอบการ C : ไม่มีนโยบายและกฏระเบียบใดที่เอื้อแก่ผู้ประกอบการแต่อย่างใด การประกอบ ธุรกิจที่เชียงแสนต้องบอกว่าเป็นการเปิดร้านขายของธรรมดาแบบชาวบ้านไม่ได้ขายสินค้าในปริมาณมาก จึงไม่ ต้องมีกฎหมายหรือระเบียบมาควบคุม การแสดงความคิดเห็นของผู้ประกอบการรายนี้ ไม่ได้ให้ความสาคัญใน ด้านกฎระเบียบหรือนโยบายทางกฎหมายทางการค้า เป็นร้านขายของในชุมชนเล็กๆคงไม่ต้องใช้กฎระเบียบที่ เอื้อต่อการทาธุรกิจแต่อย่างใด เพราะเป็นลักษณะการขายให้กับลูกค้าในชุมชนทั่วไป ผู้ประกอบการ D : ได้มีการประชุมบ้างของกลุ่มผู้ประกอบในพื้นที่ ว่ากฎระเบียบในการค้าขายเป็น อย่างไร โดยที่เชียงแสนการขายสินค้า ห้ามเกิน 30,000 บาทต่อวัน ถ้าปริมาณของมากและมีมูลค่ามากกว่าที่ กฎหมายกาหนดต้องเสียภาษีและต้องทาเอกสารการส่งของกับ ผู้ประกอบการอธิบายถึงเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้ความเข้าใจและกฎเกณฑ์ของการทาการค้าในเขตชายแดนบ้างเช่นกัน เป็นการจัด ระเบียบการค้าจัดพื้นที่ในการขายให้เป็นสัดส่วนและห้ามขายของที่ผิดกฎหมาย
ประเด็นที่ 3 โอกาสทางด้านธุรกิจ Q. การมีท่าเรือพาณิชย์แห่งที่ 2 ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง และมี โอกาสขยายธุรกิจมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร ผู้ประกอบการ A : ท่าเรือพาณิชย์ที่ 2 ไม่มีผลกระทบต่อการค้าขาย เพราะ ผู้ประกอบการเป็นร้านค้าเล็กๆ เนื่องจากอยู่ไกลจากท่าเรือจึงไม่ดีรับผลกระทบแต่ “กาลังซื้อสินค้าคน อย่างใด โดยกลุ่มที่ได้ประโยชน์จากท่าเรือนั้นจะเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ ที่ขายค้า ลาวจะมีกาลังซื้อที่ ปริมาณมาก อีกทั้งผู้ ประกอบการให้ความคิดเห็นในโอกาสในการทาธุรกิจในพื้นที่ น้อยกว่าคนพม่า” อาเภอเชียงแสนว่าพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนตรงนี้ยังมีความเจริญที่ล่าช้าถ้าเทียบกับ การค้าชายแดนยังฝั่งพม่า เพราะกาลังซื้อสินค้าคนลาวจะมีกาลังซื้อที่น้อยกว่าคนพม่า จึงทาให้โอกาสการลงทุนในเขตอาเภอเชียงแสนยังไม่น่าสนใจ ผู้ประกอบการ B : ท่าเรืออยู่ห่างจากร้านไม่ถึง 1 กิโลเมตร ทาให้มีการขายสินค้าในปริมาณที่มากขึ้น โอกาสในการลงทุนในอนาคตถ้าเปิด AEC หากเศรษฐกิจและการค้าของทางร้านยังมีการเติบโต อาจจะขยับ ขยายให้ลูกหลานดูกิจการต่อไป ผู้ประกอบการ C : การมีท่าเรือไม่มีผลกระทบต่อธุรกิจของผู้ประกอบการ เนื่องจากลูกค้าส่วนมากจะ เป็นนักท่องเที่ยวอย่างเดียว อีกทั้งท่าเรืออยู่ไกลซึ่งเป็นท่าเรือที่ขนย้ายสินค้าจึงไม่มีผลกระทบกับธุรกิจ 5
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ผู้ประกอบการ D : ไม่มีผลกระทบกับการดาเนินธุรกิจโดยอธิบายว่า เนื่องจากอาจเป็นเพราะ ผู้ประกอบการอยู่ไกลจากท่าเรือมาก ซึ่งห่างไปเกือบ 20 กิโลเมตร ทาให้ไม่มีผลกับการค้าขายของผู้ประกอบ แต่อนาคตก็ไม่แน่ อาจจะดีกว่าเดิมเพราะการขนส่งทางเรือดีขึ้นผู้คนมาอาเภอเชียงแสนเพิ่มมากขึ้น หรืออีก แบบอาจจะไม่ดีเลย เพราะมีร้านค้าใหญ่ๆมาเปิด เช่น BigC Tescolotus และMakro คนก็อาจไม่ซื้อร้าน เล็กๆ แบบผู้ประกอบการก็เป็นไปได้ Q. โอกาสและศักยภาพการลงทุนในอนาคตของอาเภอเชียงของ เป็นอย่างไร ผู้ประกอบการ A : ผู้ที่สนใจการลงทุนต้องเข้าใจพื้นที่ของ อ.เชียงแสนก่อนว่าเป็นชายแดนติดน้าโขง ในด้านการขนส่งสินค้าจะไม่เหมือนชายแดนจุดอื่นที่มีถนนผ่านหรือสะพานข้าม แต่เชียงแสนต้องเดินทางโดย เรือเพื่อขนส่ง แต่ผมมองว่าการที่เมืองเชียแสนไม่มีถนนสะพานผ่านเชื่อมไปยังประเทศลาวนี่ดีนะครับ เพราะ มันทาให้กลุ่มลูกค้ามาซื้อสินค้าต้องนั่งเรือมาและซื้อร้านค้าใกล้ๆ เพื่อสะดวกในการขนส่งและโดยส่วนมาก ลูกค้าจะเป็นคนลาวมากกว่าไทย คนไทยก็ซื้อบ้าง แต่คนลาวข้ามเรือมาเพื่อซื้อสินค้ าไปใช้ เช่น นมผง แชมพู สบู่และอื่นๆที่จาเป็น เพราะหมู่บ้านตรงข้ามน้าโขงตรงข้ามกับสามเหลี่ยมเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ซึ่งยังไม่เจริญคน ลาวยังต้องข้ามมาซื้อสินค้าจากเชียงแสนและเอาไปขายต่อที่ หมู่บ้านเป็นส่วนใหญ่ ในส่วนการแข่งขันทาง การตลาดในพื้นที่ชายแดนอาเภอเชียงแสน ยังถือว่าการแข่งขันทางการค้ายังไม่สูงมากถ้าเทียบกับอาเภอแม่ สาย ผู้บริโภคทางฝั่งลาวยังต้องพึ่งพาสินค้าจากไทยและนาสินค้าไทยไปขายต่อก็ทาให้เกิดเศรษฐกิจที่หมุนใน พื้นที่ชุมชนเล็กๆในพื้นที่นั้น ผู้ประกอบการ F : เชียงแสนมีน้าโขงกั้นระหว่างประเทศซึ่งการค้าขายยังต้องพึ่งเรือเพื่อขนส่งสินค้า ถ้าเทียบกับการค้าขายแม่สาย ทางแม่สายดีกว่าแต่แม่สายมีตลาดคู่แข่งเยอะ สู้ร้านค้าขายส่งใหญ่ๆไม่ได้ แต่ เชียงแสนยังไม่มีร้านค้าใหญ่อย่าง BigC Tescolotus ตรงนี้เชียงแสนจึงมีช่องทางให้ เราทามาหากินได้และ ผู้ประกอบการเคยทางานที่โลตัสก็มีเพื่อนที่ทางานที่นั้นส่งของให้เรา เรารู้ช่วงไหนสินค้าโลตัสลดราคาสินค้า ประเภทอะไรเราก็สามารถซื้อกักตุนทาให้เรามีต้นทุนที่ต่ากว่าคนอื่นเล็กน้อย ผู้ประกอบการรายนี้มองเห็นการ ที่อาเภอเชียงแสนไม่มีร้านค้าขายปลีกและขายส่งใหญ่ๆ ทาให้มีโอกาสทางการค้ามากกว่าอาเภอแม่สายและ การแข่งขันทางการค้าที่สูงเมื่อเทียบกับอาเภอเชียงแสน ผู้ประกอบการ G : น่าสนใจเนื่องจากผู้ประกอบชอบการลงทุนยิ่งจับทางมาเปิดร้านสะดวกซื้อก็อยาก ขยายสาขาไปที่จุดสาคัญๆ แต่อย่างว่าลงทุนเดี๋ยวนี้ถ้าเทียบปัจจุบันกับอดีตแตกต่างกัน ตอนนี้ต้องใช้ทุนสูงกว่า คืนกาไรนาน คู่แข่งก็เยอะมันก็เห็นความลาบากในการลงทุนเหมือนกัน ต้องศึกษาวิเคราะห์พื้นที่ที่จะลงทุนว่ามี ศักยภาพแค่ไหนและไปได้นานหรือเปล่า ทั้งผู้ประกอบการได้วิเคราะห์และมองศักยภาพในพื้นที่อาเภอเชียง แสน เป็นแหล่งท่องเที่ย วมีโบราณสถานวัดเก่าแก่ การทาการค้าอาจจะไม่โตเหมือนพื้นที่ชายแดนอื่นโดย อธิ บ ายว่ า เชี ย งแสนเป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วโบราณสถานมี วั ฒ นธรรม ส่ ว นมากนั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเที่ ย วเป็ น ชาวต่างชาติ คนจีนก็เริ่มเข้ามาเมื่อปีสองปีก่อนนี้เอง นักท่องเที่ยวมีจุดประสงค์ห ลักส่วนมากข้ามไปเที่ยวลาว มี 2 แบบที่นักท่องเที่ยวไปลาวโดยใช้เชียงแสน-สามเหลี่ยมทองคาเป็นทางเชื่อม คือ ไปเที่ยวเพื่อดูวิถีชีวิต ชนบทความเป็นธรรมชาติที่คนฝรั่งกลุ่มนี้ชอบเดินป่าดูวิถีชีวิตเรียบง่ายของคนลาว เดินทางไปหลวงพระบาง 6
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ของลาว และบางคนก็ เ ดิ น ทางต่ อ ไปยั ง ประเทศเวี ย ดนาม ส่ ว นอี ก กลุ่ ม มาเพื่ อ ข้ า มไปคิ ง โรมั น ข้ า มตรง สามเหลี่ยมทองคา ในตัวเมืองของเชียงแสนเองส่วนมากไม่ค่อยมีนักท่องเที่ยวเท่าไหร่ เป็นกลุ่มคนชาวบ้านคน ไทย คนลาว คนพม่านิดหน่อยที่ข้ามมาทางานฝั่งไทย ทุกวันอาทิตย์มีตลาดนัดก็ขายสินค้าได้ปริท่ ณท่กขึ้น เนื่องจากคนลาวจะข้ามฟากมาซื้อสินค้าที่อาเภอเชียงแสน เชียงแสนเป็นเมืองเงียบไม่ใช่เมืองการค้า อาเภอ เชียงแสนเป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดนน้าโขงที่ติดกับประเทศ สปป.ลาว ลักษณะพื้นที่อาเภอเชียงแสนเป็น พื้นที่มีโบราณสถานเก่าแก่ เป็นเมืองเก่าในอดีตทาให้พื้นที่เชียงแสนเป็นพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มากกว่า การเป็นชายแดนการค้าเศรษฐกิจ ประเด็นที่ 4 ปัจจัยในการลงทุน Q. การตัดสินใจลงทุนในเขตพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนอาเภอเชียงแสน มีปัจจัยใดบ้างที่สามารถดึงดูดการ เข้ามาลงทุน ปัจจัยด้านแรงงาน ผู้ประกอบการ B : แรงงานในพื้นที่อาเภอเชียงแสนหาได้ไม่ยากเนื่องจากอาชีพหลักคือการทา การเกษตร หมดช่วงฤดูเกษตรก็จะหางานรับจ้างต่างๆ ปัจจัยด้านทาเลที่ตั้ง ผู้ประกอบการ A : ทาเลที่ตั้งของร้านถือว่าเป็นสิ่งสาคัญ โดยผู้ประกอบได้พึ่งพาโอกาสกับ ผู้บริโภคที่ มีความเคยชิน บางคนมาเจอเรามาพูดคุย กันและการบอกต่อจากคนรู้จักซื้อร้านไหนลู กค้า ก็จะมาซื้อร้าน เดียวกัน และลูกค้าเดินทางไปไกลไม่ได้มันมีพื้นที่จากัดการเดินทางของลูกค้าอยู่ คนลาวเลยเลือกที่จะซื้อสินค้า ที่ใกล้ที่สุด เพราะคนลาวต้องขนกลับบ้านโดยทางเรือคนลาวจะไม่ซื้ออะไรกลับไปมาก พฤติกรรมการซื้อสินค้า ของคนลาวอาศัยร้านค้าที่ใกล้และสะดวกก็จะเลือกร้านนั้น เพราะความเชื่อใจส่วนหนึ่งและการซื้อ สินค้าถ้าซื้อ ใกล้กับท่าเรือข้ามฟากก็จะเสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าที่น้อย เพราะการซื้อ สินค้าต้องจ้างแรงงานคนขน สินค้าลงเรือก็ทาให้มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นผู้บริโภคคนลาวจึงเลือกที่จะซื้อสินค้าที่สะดวกที่สุด ผู้ประกอบการ B : ร้านค้าใกล้ที่ไหนคนก็จะซื้อที่นั่นง่ายต่อการขนส่งเพราะต้องขนลงเรือข้ามฝั่งถ้า เป็นลูกค้าคนลาว เนื่องจากลูกค้าฝั่งลาวเลือกที่จะสินค้าที่สะดวกและใกล้ท่าเรือเพื่อไม่อยากเสียค่าใช้จ่ายใน การจ้างขนของลงเรือทีส่ ูง ผู้ประกอบการ G : ทุนเริ่มต้นในอดีตไม่สูงเท่าปัจจุบัน มองง่ายๆแค่ราคาตึกพาณิชย์ที่เปิดร้านสะดวก ซื้อเทียบกับอดีตราคาห่างกันมาก การเปิดร้านสะดวกซื้อคือหนึ่งเราต้องมีพื้นที่เป็นของเราเอง หรือจะเช่าเปิดก็ ได้แต่เราจะสู้ค่าเช่าตึกปัจจุบันได้ ผู้ประกอบการมองปัจจัยในการลงทุนในด้านสถานที่ตั้งที่มองว่าปัจจุบันพื้นที่ เช่าหรือว่าราคาที่ดินมีราคาที่สูงมากไม่คุ้มกับการลงทุนในครั้งแรกเพราะจะทาให้เจ้าของธุรกิจแบกรั บต้นทุนที่ สูงเกินไปทาให้เสี่ยงในการทาธุรกิจได้
7
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ปัจจัยในด้านการลงทุนหรือการหาแหล่งเงินเพื่อดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการ A : ผู้ประกอบการไม่อยากกู้ คือร้านค้าเราค้าขายเป็นรายวันเช้าเปิดร้านเย็นปิดร้าน ของหมดซื้อเข้าร้านใช้เงินสดหมุนเวียนตลอด ทั้งนี้การค้าปลีกเป็นธุรกิจที่ไม่ใช้เงินลงทุนมากเพราะเป็นธุรกิจ ซื้อมาขายไป ผู้ประกอบการ C : ไม่น่ายากมีพนักงานธนาคารเข้ามาติดต่อว่าสนใจอยากขยายธุรกิจเพิ่มไหมสนใจกู้ ไหมผมว่าน่าจะง่ายครับ ส่วนขั้นตอนนี่ไม่ทราบครับว่าต้องทายังไงอาจลองติดต่อสอบถามเองครับ สถาบัน การเงินในปัจจุบันสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลในการขอสินเชื่อที่ง่ายมากทาให้ไม่ยากในการติดต่อขอสินเชื่อกับ สถาบันการเงิน
สรุปแต่ละประเด็นของการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคในเมือง ชายแดน ประเด็นที่ 1 รูปแบบการดาเนินธุรกิจ
รู ป แบบการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของธุ ร กิ จ ประเภทค้ า ปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ในเขตเศรษฐกิจชายแดนอาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีรูปแบบการค้าขายที่เรียบ ง่ายไม่ซับซ้อนเริ่มจากทุนเริ่มต้นที่ไม่มากนัก และขยาย การลงทุนเมื่อเห็นโอกาส ประเด็นที่ 2 นโยบายและกฎระเบี ย บที่เอื้อต่อ เจ้ า ของกิ จ การค้ า ปลี ก สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคใน การดาเนินธุรกิจ พื้นที่อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความคิดเห็นใน ทิศทางเดียวกันว่า ยังไม่มีปัจจัยในด้านกฎระเบียบและ นโยบายที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ อยากให้ภาครัฐเข้ามามี บทบาทให้มากยิ่งขึ้นจะได้รู้ทิศทางโอกาสในการทาธุรกิจ ในอนาคตทีช่ ัดเจน ประเด็นที่ 3 โอกาสทางด้านธุรกิจ การมีท่าเรือพาณิช ย์แห่งที่ 2 ไม่มีผลกระทบต่อ การค้าขายมากนัก อาจเป็นเพราะท่าเรืออยู่ไกลมีผลกับ กลุ่ มธุร กิจค้าส่ งที่เน้ นปริมาณขายมากๆ จะมีผ ลในการ ขยายฐานลูกค้าที่จะส่งสินค้าไปยังประเทศใกล้เคียงได้ง่าย ขึ้น ประเด็นที่ 4 ปัจจัยในการลงทุน ผู้ประกอบการไม่อยากใช้เงินลงทุนที่เป็นลักษณะ กู้ยืมเนื่องจากยังไม่แน่ใจในอนาคตการลงทุนว่าจะเป็นไป ในทิศทางไหน ถึงแม้ปัจจัยด้านแรงงานหรือปัจจัยอื่นๆจะ เอื้ อ ต่ อ การด าเนิ น ธุ ร กิ จ แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถเป็ น ปั จ จั ย ที่ จ ะ นามาตัดสินใจลงทุนในพื้นที่ชายแดนอาเภอเชียงแสนจังวัด เชียงรายได้
8
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
การเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์แต่ละประเด็นของการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจค้าปลีก สินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดนกับกรอบทั้งสาม
Border Future Policies
ประเด็นที่ 2 นโยบาย และกฎระเบียบที่เอื้อ ต่อการดาเนินธุรกิจ
ประเด็นที่ 1 รูปแบบ การดาเนินธุรกิจ Border Economic Growth ประเด็นที่ 3 โอกาส ทางด้านธุรกิจ
ประเด็นที่ 4 ปัจจัยใน การลงทุน
Cross-border and Trans-border Connectivity
9
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
การตัดสินใจในการลงทุนธุรกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดน กรณีศึกษาอาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย รูปแบบการดาเนินธุรกิจไม่มีการซับซ้อน โดยให้ความสาคัญต่อการจัดการวางสินค้า อย่างมีระเบียบ และสะดวกแก่ลูกค้า ซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นคนไทยและคนลาว ซึ่งเราสามารถเห็นได้ตาม เมืองชายแดนทั่วประเทศไทย ถึงการเข้ามาซื้อสินค้าจากประเทศไทย อย่างไรก็ตามการเปิดท่าเรือพาณิชย์ เชียงแสนแห่งที่ 2 ยังไม่มีปัจจัยที่สามารถได้การดึงดูดการลงทุนในภาคของธุรกิจค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ขนาดใหญ่มากหนัก เนื่องจากการเข้ามาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของคนลาว บริเวณอาเภอเชียงแสน – เมืองต้น ผึ้ง ได้มีการใช้เรือเป็นพาหนะในการข้ามฝั่งมายังอาเภอเชียงแสน จึงเป็นเหตุผลของการเข้ามาของคนลาวยังมี ประมาณน้ อ ย และการขนส่ ง สิ น ค้า กลั บ ยั ง สปป.ลาว ยัง มีข้อจากัดด้ านพาหนะ ซึ่งแตกต่างไปจากพื้น ที่ ชายแดนอาเภอเชียงของกับอาเภอแม่สาย ที่มีถนนเชื่อมต่อระหว่างประเทศทาให้การเดินทางสะดวกต่อการ เข้ามาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของประชาชนประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไรก็ตามอาเภอเชียงแสน เป็นพื้นที่ที่น่าสนใจการลงทุนในภาคอื่นๆ เช่น ภาคอุตสาหกรรม ภาค การบริ การ และโลจิ ส ติกส์ เนื่ องจากปัจ จั ยทางด้านแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านจานวนมาก พร้อมทั้ง ศูนย์บริการ One Stop Services บริการแก่นักลงทุนได้ครบวงจรด้านแรงงานและเป็นโอกาสที่น่าลงทุน อีก ทั้งการสนับสนุนการลงทุนในจังหวัดเชียงรายและเขตเศรษฐกิจพิเศษที่นักลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์พิเศษ ต่างๆ อาจมองได้ในอนาคตอาเภอเชียงแสนอาจจะมีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ เพื่อพัฒนาทรัพยากร คนและเศรษฐกิจของประเทศก้าวพร้อมกันไปข้างหน้า
10
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
รายการอ้างอิง สานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเชียงราย. (2557).รายชื่อผู้ประกอบการในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2557.เชียงราย: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. วรนุช วงศ์คม. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนในเขตเศรษฐกิจชายแดน อาเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย: กรณีศึกษากลุ่มธุรกิจท่องเที่ยว. การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย. อรรถพล มาพวง. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับตัวแปรทางเศรษฐกิจใน ประเทศจีน เวียดนาม และไทย. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2550). แนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) และเส้นทางเศรษฐกิจ ที่สาคัญในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2557, จาก www.thaifta.com/thaifta/Portals/0/GMS_Corridor.pdf Adam, J.S. (1986). Inequity in social exchange. In L. Berkowitz (Ed.), Advances in experimental social psychology (Vol. 2,pp.267 – 299). New York: Academic Press.
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. +66 53916680 Email: obels.mfu@gmail.com
11
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง