Policybrief jan 2015 13

Page 1

OBELS POLICY BRIEF No. 13, January 2015 ปัจจัยที่มีผลต่อการดาเนินธุรกิจค้าปลีกค้าส่งเมืองชายแดนแม่สาย จังหวัดเชียงราย Factors affecting Retail and Wholesale Business Operations at Mae sai Border City, Chiang Rai Province ศุภิชญา ศรีทอง1 ผู้วิจัย สิทธิชาติ สมตา2 ผู้เรียบเรียง จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดชายแดนเหนือสุดของประเทศ มีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เชื่อมโยงกับกลุ่มอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงหรือ GMS (Greater Mekong Sub Region) ตอนบน คือ สหภาพพม่าสปป.ลาว และ ประเทศจี น (ตอนใต้) ทั้ งทางบก ทางน้ าและทางอากาศมีก ารเชื่อ มโยงระบบคมนาคมตามแนวระเบีย ง เศรษฐกิจเหนือ – ใต้ ( NSEC : North – South Economic Corridor) สามารถเดินทางไปถึงประเทศจีน (ตอนใต้) ตามเส้นทาง R3 ได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทาง R3A เชื่อมโยงไทย-สปป.ลาว– ประเทศจีน (ตอนใต้) และเส้นทาง R3B เชื่อมโยงไทย– สหภาพเมียนมาร์ – ประเทศจีน (ตอนใต้) นอกจากนี้ ยังมีการคมนาคม ขนส่งทางน้าผ่านแม่น้าโขงจากท่าเรือเชียงแสนไปยังท่าเรือเชียงรุ่ง มณฑลยูนนานขณะที่ชายแดนจังหวัด เชียงรายเป็นแนวชายแดนที่ติดกับเพื่อนบ้านถึง 2 ประเทศ คือ สหภาพเมียนมาร์ และสปป.ลาว ประกอบด้วย จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้าสายแห่งที่ 1 เขตเทศบาลตาบลแม่สาย อาเภอแม่สาย จุดผ่านแดน ถาวรอาเภอเชียงแสน และจุดผ่านแดนถาวรอาเภอเชียงของ โดยมีมูลค่าการค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อน บ้านในส่วนของแนวชายแดนด้ านจังหวัดเชียงรายซึ่งในปี 2556 เท่ากับ 38,386.99 ล้านบาท มีอัตราการ เติบโตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาถึง 6.70% รายละเอียดมูลค่าการค้าชายแดนไทยจังหวัดเชียงราย เปรียบเทียบ ระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556 ดังตาราที่ 1

1 2

นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สานักวิชาการจัดการ นักวิจัย สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1


ตารางที่ 1 มูลค่าการค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน หน่วย : ล้านบาทบาท การค้าระหว่าง ประเทศ

ส่งออก ปี 2555

ไทย – จีน(ตอนใต้) 5,407.44

นาเข้า

ปี 2556 4,788.72

ปี 2555 3,160.64

ไทย – สหภาพพม่า 13,287.16 15,241.04

31,958.87 34,313.37

ปี 2556 3,084.16

ปี 2555 8,565.08

ปี 2556 7,872.88

163.38 2 13.98

13,450.54 15,455.02

694.73

775.48

13,959.00 15,059.09

4,018.75 4,073.62

35,974.62 38,386.99

ไทย – สปป.ลาว 13,264.27 14,283.61 รวม

การค้ารวม

ที่มา : สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย, 2557 นอกจากนี้ อาเภอแม่สายยังคงเป็นเมืองชายแดนที่น่าสนใจในการลงทุนเนื่องจากตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ชายแดน ที่มีความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างใกล้ชิดกับ สหภาพเมียนมาร์ โดยมีทางติดต่อทาง ท่าขี้เหล็ก มีแม่น้าแม่สายเป็นเส้นแบ่งพรมแดน มีสะพานเชื่อมเมืองทั้งสองเข้าด้วยกัน ทั้ง ประชากรไทยและ ประชากรพม่าจึงเดินทางไปมาหาสู่ค้าขายกันได้โดยเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดสะพานมิตรภาพแห่งที่ 2 การประชุมหารือร่วมกันระหว่างไทยและสหภาพเมียนมาร์ จึงเกิดขึ้นและก็ได้รับการตอบรับซึ่งกันและกันเป็น อย่ างดี โดยการสร้ างสะพานมิตรภาพแห่ งที่ 2 นั้นจะช่วยเอื้อประโยชน์ขยายมูลค่าการค้าและการลงทุน ระหว่างประเทศมากยิ่งขึ้น โดยเปิดด่านแห่งใหม่นี้ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2552 จะมีการแบ่งแยกชัดเจนใน เรื่องการข้ามพรมแดน ในส่วนของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางข้ามฝั่งพรมแดน จะใช้จุดสะพานแม่สายแห่งที่ 1 แต่การติดต่อขนถ่ายสินค้ าข้ามแดน จะใช้สะพานแม่สายแห่งที่ 2 ซึ่งตั้งอยู่ที่ ตาบลสันผักฮี้ อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย นั้นเพื่อลดการแออัดและความคับคั่ง จากหน้าด่านพรมแดนของทั้ง 2 ประเทศลงทั้งนี้ ผู้สนใจ ที่จะลงทุนธุรกิจจึงมีความจาเป็นที่จะต้องทราบข้อมูลสิทธิประโยชน์ที่เกิดขึ้นอันจะนาไปสู่ความต้องการลงทุน จากความสาคัญดังกล่าวข้างต้น ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาจึงมุ่งเน้นศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่สาคัญในการลงทุน ของกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยมุ่งพิจารณา ปัจจัยด้านขนาดตลาด ความสมบูรณ์ของปัจจัยการ ผลิต ความพร้อมของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร นโยบายภาครัฐ ยุทธศาสตร์จังหวัด และ ปัจจั ยด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบถึงปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนในเขตชายแดนอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย อีกทั้งยังเป็นข้อมูลสาหรับภาครัฐในการส่งเสริมการลงทุนด้วย ทั้งนี้ทางผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกในการวิจัย และมีขอบเขตเวลาในการศึกษา 3 เดือน ในเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2557 โดยการสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการธุรกิจค้า

2

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค จานวน 7 ราย ในพื้นที่อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย โดยใช้ข้อมูลชื่อผู้ประกอบการ จากสานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเชียงราย ข้อมูลปี 2557

ประเด็นที่ 1 รูปแบบการดาเนินของธุรกิจ Q. รูปแบบการดาเนินธุรกิจค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นอย่างไรบ้าง ผู้ประกอบการ A : การประกอบธุรกิจเป็นธุรกิจครอบครัวไม่มีการจ้างแรงงาน โดยสินค้าที่นามา จาหน่ายในร้าน ทางร้านได้เข้าไปซื้อในเมือง จังหวัดเชียงราย หรือบางครั้งหากสินค้าในร้านหมดหรือไม่พอ ให้แก่ลูกค้า จึงจะไปซื้อสินค้าที่ Tescolotus Makro เพื่อนาสินค้ามาเติมในร้านให้เพียงพอต่อ การอุปโภค บริโภคของลูกค้า ผู้ประกอบการ C : ทางร้านเราได้เปิดร้านค้าขายมานานกว่า 50 ปี ซึ่งทางร้านจะค้าขายในรูปแบบ การค้าปลีกครึ่งส่ง ประกอบด้วย 2 สาขา ได้แก่ สาขากรุงเทพกับอาเภอแม่สาย โดยสินค้าส่วนมากเราจะทา การสั่งมาจากกรุงเทพและนาไปเก็บไว้ที่คลังสินค้า ส่วนแรงงานทางร้านได้ทางานจ้างแรงงานพม่าจานวน 7 คน นอกจากนี้ยังมีบริการขนส่งสินค้า ถ้าเป็นลูกค้าของเราในเขตแม่สายจะส่งให้ แต่ก็ต้องดูปริมาณก่อนว่าคุ้มค่า มากแค่ไหน นอกจากจะขายอยู่หน้าบ้านเป็นหลักแล้ว ผู้ประกอบการ D : ธุรกิจทางร้านจะเป็นที่รูปแบบการค้าปลีก โดยจะสั่งสินค้ามาจากกรุงเทพ ที่ร้าน จะขายของจากกรุงเทพทั้งหมด เครื่องครัว ไปจนถึง สินค้าเบ็ดเตล็ด หรือของใช้ในครัวเรือนต่างๆ ไม่มีการจ้าง แรงงาน ทางร้านเราทาในรูปแบบครอบครัวเป็นหลัก ผู้ประกอบการ E : รูปแบบการดาเนินธุรกิจทางร้านเน้นในเรื่องการค้าส่ง โดยจะขายสุราและสินค้า อุปโภคบริโภค สินค้าที่นามาจาหน่ายทางร้านนั้น ประเภทสุราจะมี Agency มาส่งที่ร้าน เช่นเดียวกับสินค้า อุปโภคบริโภค อย่างไรก็ตามทางร้านก็ยังคงเข้าสินค้าจาก Makro มาเสริมในร้านอยู่บ้างเช่นกัน ผู้ประกอบการ F : ทางร้านจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคและสุรา ซึ่งเราขายทั้งค้าปลีกและค้าส่ง โดย มีการจ้างแรงงานทั้งหมด 12 คน ทั้งหมดเป็นคนไทยและอาข่า เนื่องจากว่าการจ้างแรงงานพม่านั่นมีอุปสรรค ในเรื่องของทางด้านบัตรแรงงานต่างด้าว และภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร เพราะว่าสื่อสารยาก เรื่องบัตรแรงงาน หากว่าเป็นอาข่า บัตรแรงงานก็ยังมีอยู่

3

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ประเด็นที่ 2 นโยบายและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ Q. นโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจการค้ าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคอย่างไรหรือมี ผลกระทบอย่างไรบ้าง ไม่ทราบว่ารัฐสนับสนุนธุรกิจการค้าปลีกอย่างไรบ้าง ผู้ประกอบการ B : รัฐบาลใช้เรียกเก็บภาษีสูง ไม่ได้มีนโยบายส่งเสริมหรือลดหย่อนภาษีแต่อย่างใด มี แต่จะเพิ่มขึ้น ทุกวันนี้รัฐบาลใช้ภาษีสูง ตั้ง 7% ในส่วนของภาษีนาเข้าวัตถุดิบ เมื่อผลิตออกมาแล้วยังต้องบวก เข้าไปอีก แล้วถามว่าผู้บริโภคต้องรับกี่เปอร์เซ็นต์ แล้วร้านค้าอย่างเราจะเอาไปบวกกับใคร ผู้ประกอบการ C : ช่วงเทศกาลที่ผ่านมาแม่สายเราเงียบเหงา ไม่ว่าจะนิทรรศการหรืองานลอยกระทง ก็เงียบไปหมดเพราะเหตุการณ์ทางการเมือง ถ้าทุกหน่วยงานร่ว มมือกันจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจแน่นอน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเมืองที่ทาให้เศรษฐกิจซบเซา การใช้จ่ายของผู้บริโภคที่ลดลง ทั้งนี้การเมืองยังเป็น สาเหตุหลักที่ทาให้เกิดผลกระทบโดยรวมกับการค้าการลงทุนในแม่สาย ผู้ประกอบการ D : การจัดระเบียบทางด้านการค้า ซึ่งอดีตค้าขายดีแต่ปัจจุบันนี้มีห้างสรรพสินค้า ถ้า ภาครัฐยังปล่อยให้มีแบบนี้ร้านค้าในแม่สายก็จะย่าแย่ เพราะเป็นอาเภอเล็กๆ มีทั้ง Tescolotus Makro Seven eleven ตลาดนัด มหกรรมธงฟ้า ร้านค้าจึงได้รับผลกระทบโดยตรง ผู้ประกอบการ G : รัฐบาลก็ค่อนข้างจะชัดเจนเรื่องของนโยบายในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจไปกระจุกอยู่ที่พม่า เพราะว่านโยบายเศรษฐกิจก่อนที่จะปฏิวัติมีการจัดการพื้นที่แม่สาย มีการผิดพลาดทาให้เงินทุนไม่สามารถเข้ามาในแม่สายได้ ซึ่งจริงๆมันกลายเป็นว่ากระทบต่อการค้าการลงทุน การขยายตัวของเมือง การหลั่งไหลของประชาชน มองให้เห็นถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นต่อธุรกิจการค้า อย่างชัดเจน ประเด็นที่ 3 โอกาสทางด้านธุรกิจ Q. ความร่วมมือระหว่างประเทศไทย – พม่า จากสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง และมีโอกาสขยายธุรกิจมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร ผู้ประกอบการ C : สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 เป็นสะพานที่สาหรับส่งออกไปยังเชียงตุง เข้าสู่มณฑล ยูนนาน ตอนใต้ของประเทศจีน ซึ่งเป็นเส้นทาง R3B แต่สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 1 ประชากรพม่าจะใช้เส้นทาง นี้ในการขนส่งสินค้าจากอาเภอแม่สายกลับเข้าเมื่องท่าขี้เหล็ก ตามที่มีออเดอร์มาจากหมู่บ้านทางฝั่งพม่า ผู้ประกอบการ D : สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 ไม่ได้มีผลกับการค้าของร้าน เนื่องจากทางร้านค้าส่งค้า ปลีกในปริมาณมูลค่าที่ไม่มากหนัก ดังนั้นจึงได้ผลจากสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 1 มากกว่าในการประกอบธุรกิจ เพราะส่วนมากสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 จะใช้ในการขนส่งสินค้าปริมาณมากเป็นหลัก ฉะนั้นการประกอบ ทางร้านจึง ไม่ได้ให้ความสาคัญกับสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 มากนัก 4

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ผู้ประกอบการ G : สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 หรือเรียกว่า ด่านถาวร ปัญหาที่มันไม่สามารถ ดาเนินการได้เต็มรูปแบบ นั่นคือผลประโยชน์ ส่วนหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องภาษี รถตู้ขนของ ถ้าขนส่งสินค้าเพื่อการ อุปโภคบริโภคประจาวัน ถ้าไม่เกิน 55,000 จะไม่เสียภาษี เพราะฉะนั้น จึงจาเป็นต้องแยกใส่กล่องเล็ก ตัวนี้ก็ จะ Declare เป็น 50,000 ภาษีก็จะไม่ต้องเสีย และแสดงความคิดเห็นอีกว่า สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 เป็น สะพานหลัก ที่มีระบบการศุลกากรเต็มรูปแบบ มีการตรวจรถ มีการระวางอะไรที่ชัดเจน มันก็เลยเกิด ปัญหาว่าทาไมคนถึงไม่ไปใช้สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 พม่าเขาแบ่งการจัดเก็บรายได้ สะพานข้ามแม่น้าแห่ง ที่ 1 เป็นของรัฐฉาน ส่วนสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 เป็นของเนปิดอว์ เพราะฉะนั้นทางรัฐฉานไม่อยากให้ข้าม ไปใช้สะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 เพราะว่ารายได้ขาดทาให้เป็นปัญหาภายในและปัญหาระหว่างของกับฝั่งไทย ด้วย ประเด็นที่ 4 ปัจจัยในการลงทุน Q. การตัดสินใจลงทุนในเขตพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนอาเภอแม่สาย มีปัจจัยใดบ้างที่สามารถดึงดูดการเข้า มาลงทุน อาเภอแม่สายเปรียบได้ว่าเป็นอีกอาเภอหนึ่งที่มีปริมาณการค้าค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับด่าน ชายแดนอื่นระหว่างไทยกับพม่า เพราะกาลังซื้อจากประชากรพม่ามีมหาศาล สาหรับการทาธุรกิจค้าปลีกและ ค้าส่งตามแนวชายแดน ผู้ประกอบการ G : กลุ่มทุนเดิมในแม่สายยังเป็นปัจจัยหลักในการดาเนินธุรกิจชายแดน แต่สาหรับ กลุ่มทุนใหม่ที่จะเข้ามาลงทุ น ถ้าไม่ใช่ในระดับกลุ่มทุนใหญ่ คงจะยากพอสมควร แต่ปัจจุบันกลุ่มทุนระดับนี้ ยังคงมองเห็นโอกาสในการลงทุนและเข้ามาลงทุนแล้วคือ Tescolotus Makro ส่วนกลุ่มทุนจีนก็รวมตัวกัน เข้ า มาเป็ น กลุ่ ม ทุ น เพื่ อ การลงทุ น ขนาดใหญ่ อาจท าให้ เ กิ ด การกระจุ ก ตั ว ของเศรษฐกิ จ ในบางพื้ น ที่ ไ ด้ ผู้ ป ระกอบการจึ ง ต้ อ งศึ ก ษาความต้ อ งการซื้ อ สิ น ค้ า ของกลุ่ ม ลู กค้ า ในประเทศเพื่ อ นบ้ า นให้ ม ากขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคกลุ่ ม นั้ น ๆได้ ต รงจุ ด ธุ ร กิ จ การค้ า ปลี ก ค้ า ส่ ง ในท้ อ งถิ่ น ก็ อ าจได้ รั บ ผลกระทบจากการที่ผู้ประกอบการธุรกิจรายใหญ่ของไทย ทั้ง Convenient Store และห้างสรรพสินค้า ที่เข้า มาขยายสาขา ซึ่งแต่ละรายที่เข้ามาลงทุนนอกจากจะเจาะกลุ่มลูกค้าเป้าหมายในพื้นที่แล้ว ยังตอบสนองกลุ่ม ลูกค้าจากประเทศพม่าที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวหรือจับจ่ายใช้สอยในฝั่งประเทศไทยด้วย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการ G ยังอธิบายเพิ่มเติมของการลงทุนในเมืองชายแดนแม่สายและการเข้ามา บริโภคอุปโภคของประชากรพม่า ในเรื่องของค้าส่งค้าปลีกให้แก่ประชากรพม่านั้น หากเราได้เดินทางไปอาเภอ แม่ส ายจะเห็น การขนส่งสิ นค้าข้ามชายแดนระหว่างไทย – พม่า โดยให้สะพานข้ามแม่น้าแห่ งที่ 1 โดยใช้ พาหนะเป็นรถสามล้อ

5

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ภาพที่ 1 รถสามล้อขนสินค้าจากไทยเข้าสู่พม่า

หากห้างสรรพสินค้าอย่างเช่น Tescolotus Makro มีโปรโมชั่นสินค้าจะมีคนกลางติดต่อรอเซ็ คของ จะมีรถสามล้อพม่าจอดเป็นสิบเลย รอเพื่อที่จะดูว่าสินค้าตัวไหนออกมา โปรโมชั่นตัวไหนที่เขาขายได้ เขาจะ ซื้อไว้ยี่ปั้วที่เรา ซึง่ คนไทยไม่มีโอกาสได้หยิบสินค้าสักชิ้น โอกาสและปัจจัยการลงทุนในพม่า ผู้ประกอบการ G อธิบายว่า ตอนนี้พม่าสาธารณูปโภคยังไม่พร้อม ไม่ ว่ า จะเป็ น ในเรื่ อ งของ ไฟฟ้ า ถนน และโครงสร้ า งพื้ น ฐานอื่ น ๆ ซึ่ ง ยั ง ไม่ พ ร้ อ มส าหรั บ การลงทุ น ใน ภาคอุตสาหกรรม แต่ปัจจัยด้านแรงงานถือได้ว่ามีพร้อมสาหรับการลงทุน สิ่งที่สาคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง คือ Connection กับประชากรพม่าถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง เช่น ผมเคยเข้าไป เมื่อก่อนผมทาน้ามัน เข้าไป ปุ๊บ มันก็เรื่องกฎหมายบ้าง เรื่อง Connection ต่างกัน เพราะฉะนั้นคนอื่นที่จะคิดว่าเข้ามาทาการค้าเสรี มันก็ ไม่เสรีทีเดียว มันก็ยังต้องอาศัย Connection อีกอย่างธนาคารทางพม่ายังไม่มีหลักอะไรที่จะมารองรับความ มั่นคงให้แก่นักลงทุนอย่างพอสมควร ซึ่งกลุ่มแม่สายที่เข้าไปค้าขายอยู่ พม่าได้เนื่องจากมีญาติพี่น้องในเมืองท่า ขี้เหล็ก นอกจากนี้ ผู้ประกอบการ G กล่าวถึงการสร้างเครือข่ายธุรกิจผ่านภาพของประวัติศาสตร์ เช่น ตั้งแต่ สงคราม คนจากเชียงตุงอพยพลงมา ช่วงนั้นมีการอพยพเคลื่อนย้ายคน เครือข่ายมันก็เกิดเป็นเครือข่ายธุรกิจ

6

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


สรุปแต่ละประเด็นของการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจค้าปลีก สินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดน ประเด็นที่ 1 รูปแบบการดาเนิน ธุรกิจ

ธุรกิจการค้าในพื้นที่ ได้เริ่มทาการค้ามาตั้งแต่ สมัยก่อนนับได้ว่า เป็นเป็นแนวทางพื้นฐานทางการค้ามาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้รับการพัฒนา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ควบคู่กับการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาที่ยังสร้างโอกาส ทางการค้าในการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในพื้นที่มีโอกาสเติบโต และเปิดกว้างมากยิ่งขึ้น การบริ การอื่ น เพิ่ ม เติ มเพื่ อ เพิ่ม ยอดขายและประกอบกั บ การ ขนส่งสินค้าเพื่อดึงดูดลูกค้าจากคู่แข่ง โดยคิดปริมาณความคุ้มค่าของการ ขนส่ง เมื่อลูกค้าสั่งสินค้ามากพอสมควร บริการพิเศษจึงมีเพิ่มเติม เพื่อคืน กาไรให้ลูกค้าในพื้นที่ ป ร ะ เ ด็ น ที่ 2 น โ ย บ า ย แ ล ะ การขยายตัวด้านเศรษฐกิจในพื้นที่ การค้าขายและการลงทุนจึงมี กฎระเบี ย บที่ เ อื้ อ ต่ อ การด าเนิ น อยู่ ม าก ภาครั ฐ ล้ ว นแล้ ว แต่ จ ะได้ ป ระโยชน์ ใ นส่ ว นนี้ ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก ธุรกิจ เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษี รัฐย่อมได้รับผลประโยชน์ทั้งทางตรงและ ทางอ้ อ ม เพราะรายได้ ส่ ว นใหญ่ ก็ ต้ อ งมาจากการเก็ บ รายได้ ใ นท้ อ งที่ ดังนั้น ผลกระทบจึงเกิดกับผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่โดยตรง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเมือง ที่ทาให้เศรษฐกิจซบเซา การใช้ จ่ายของผู้บริโภคที่ลดลง ทั้งนี้การเมืองยังเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิดผล กระทบโดยรวมกับการค้าการลงทุนในแม่สาย นโยบายของรัฐบาล ผู้บริหาร ภาครัฐสาหรับผู้ประกอบการยังคง มองว่า รัฐบาลยังไม่มีบทบาทที่เอื้ออานวยต่อธุรกิจการค้าเท่าที่ควร ซึ่ง สามารถวิเคราะห์ได้จากปัญหาด้านการค้า ที่ซบเซาลง รวมถึงปัญหาด้าน การเมือง ในเรื่องของการขัดผลประโยชน์ ซึ่งอาจทาให้เกิดผลกระทบต่อ สภาวะสังคมในท้องถิ่นได้ ประเด็นที่ 3 โอกาสทางด้านธุรกิจ ผลประโยชน์เป็นหลักในจุดนี้ สาหรับการขนส่งสะพานแห่งที่ 2 เนื่องจากข้อจากัดในการขนส่งที่ค่อนข้างมาก และห่างไกล ผู้ประกอบการ จึงมองว่า สะพานแห่งนี้ยังคงไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการขนส่งสินค้า และบริการที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจการค้า การรองรับการซื้อหรือการค้าจากพม่าโดยตรง เมื่อดูขนาดตัวเลข ของการส่ ง ออก หากแต่ ใ นส่ ว นของสะพานมิ ต รภาพแห่ ง ที่ 2 ไม่ ไ ด้ มี บทบาททางด้านการค้าเท่าไหร่นัก แต่ทางด้านการค้าชายแดนอีกฝั่ง ยังคง เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างการค้าชายแดนในแม่สายอยู่ ประเด็นที่ 4 ปัจจัยในการลงทุน ข้อกาหนดด้านกฎหมายบางเรื่องรัฐบาลจึงควรให้มีการสนับสนุน และปรับปรุงเพื่อให้การค้าการลงทุนมีประสิทธิภาพและสร้างศักยภาพใน ส่วนของความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนที่เกี่ยวข้องด้วย 7

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


การเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์แต่ละประเด็นของการตัดสินใจลงทุน ในธุรกิจค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดนกับกรอบทั้งสาม

Border Future Policies

ประเด็นที่ 2 นโยบาย และกฎระเบียบที่เอื้อ ต่อการดาเนินธุรกิจ

ประเด็นที่ 1 รูปแบบ การดาเนินธุรกิจ Border Economic Growth ประเด็นที่ 3 โอกาส ทางด้านธุรกิจ

ประเด็นที่ 4 ปัจจัยใน การลงทุน

Cross-border and Trans-border Connectivity

8

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


การตัดสินใจในการลงทุนธุรกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดน กรณีศึกษาอาเภอแม่ สาย จังหวัดเชียงราย รูปแบบการดาเนินธุรกิจ ส่วนมากเป็นแบบครอบครัว แรงงานมีทั้งคนไทยและคนพม่า แต่แรงงานพม่าก็มีปัญหาเรื่องภาษา และบัตรประจาตัวในการทางาน ผู้ประกอบการบางรายจึงจ้างแรงงาน ไทย การค้าปลีกสินค้าให้ความสาคัญต่อการค้าชายแดนเป็นสาคัญ เนื่องจากประชากรพม่าได้เข้ามาซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคจานวนมากซึ่งมีมูลค่าเฉลี่ยในแต่ละปีมหาศาล โดยผู้ประกอบดาเนินการสั่งซื้อนาสินค้าจาก กรุ ง เทพและเชี ย งราย เพื่ อ มาขายในพื้ น ที่ อ าเภอแม่ ส ายและบางครั้ ง ก็ ซื้ อ สิ น ค้ า มาเพิ่ ม เติ ม ในร้ า นจาก ห้างสรรพสินค้าอย่าง Tescolotus Makro ในกรณีสินค้าในร้านไม่พอต่อการบริโภค การค้าปลีกสินค้าอุปโภค บริโภคของผู้ประกอบการในพื้นที่ชายแดนแม่สาย ได้ผลจากสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 1 เนื่องจากประชากร พม่านิยมข้ามสะพานแห่งนี้ อีกทั้งเป็นเส้นทางที่เข้าสู่ตัวอาเภออย่างสะดวก ซึ่งสะพานข้ามแม่น้าแห่งที่ 2 นั้น ไม่มีผลต่อการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้ประกอบการในพื้นที่ชายแดนแม่สายมากนัก เนื่องจากปัจจัย ทางด้านระยะทางที่ห่างจากตัวอาเภอ จึงเหมาะสมต่อผู้ประกอบการนอกพื้นที่ที่มีการขนส่งสินค้าจานวนมาก โอกาสและปัจจัยการลงทุนธุรกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคในเมืองชายแดนแม่สาย คงเป็นไปได้ ค่อนข้างยากในปัจจุบัน เนื่องจากมีห้างสรรพสินค้า เช่น Tescolotus Makro และร้านค้าที่มีอยู่มานาน พร้อมกับการมี Connection กับประชากรพม่า ทาให้การลงทุนนี้มีความเสี่ยงและมีคู่แข่งจานวนมาก อย่างไร ก็ตามการลงทุน ทางฝั่งท่าขี้เหล็ ก คงเป็นไปได้ยาก เนื่องจากพื้นที่ยังมีความเสี่ยงสูง ไม่ว่าจะเป็นการเมือง กฎหมาย ฯลฯ อีกอย่างที่สาคัญคือ Connection ระหว่างผู้ลงทุนกับประชากรพม่า ซึ่งสามารถรับรู้ได้จาก บุคคลทั่วไปหรื อนักธุรกิจที่เข้าไปลงทุนในเมืองท่าขี้เหล็กแล้ว ไม่ประสบความส าเร็จในการประกอบธุรกิจ จานวนมาก

9

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


รายการอ้างอิง สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2553).ประวัติด่านศุลกากรแม่สาย. (ออนไลน์ เข้าถึง ได้จาก :www.maesaicustoms.com) สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2557. กรมศุลกากร (2553). ประวัติด่านศุลกากรแม่สาย. (ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : www.maesaicustoms.com) สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2557. วรนุช วงศ์คม. (2556).ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนในเขตเศรษฐกิจชายแดน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย: กรณีศึกษากลุ่มธุรกิจท่องเที่ยว.การศึกษาโดยอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย. นฤมล นาคา. (2548). การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน. การศึกษาโดยอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย. ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ A : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค ผู้ประกอบการ B : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าเบ็ดเตล็ด ผู้ประกอบการ C : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค และสุรา ผู้ประกอบการ D : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค ผู้ประกอบการ E : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค และสุรา ผู้ประกอบการ F : ธุรกิจค้าปลีกค้าส่งประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค และสุรา ผู้ประกอบการ G : ผู้ประกอบการธุรกิจ

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.

10

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.