ความเชื่อมโยงระหว่างการบิน การท่องเที่ยว และ
เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย (The Linkage of Avaition, Tourism and Economy of Chiang Rai)
โดย วราวุฒิ เรือนค�ำ
OBELS POLICY BRIEF NO. 18, JUNE 2016
การเติบโตผู้โดยสารสนามบินเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง “จ�ำนวนผูโ้ ดยสารผ่านสนามบินแม่ฟา้ หลวงเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2559 โดยจ�ำนวนผูโ้ ดยสารมีกเ่ี ติบโตถึง 20 % เมือ่ เทียบกับสถิตจิ ำ� นวนผูโ้ ดยสาร ของปีกอ่ น ในขณะที่ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 มีผโู้ ดยสารมากถึง 172,450 คน และมีแนวโน้มที่จะขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง”
ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ผโู้ ดยสารเติบโต ได้แก่ 1. จ�ำนวนสายการบินเพิม่ ขึน้ 2. ราคาตัว๋ ต�ำ่ ลง 3. โปรโมชัน่ จากสายการบินในช่วง Happy Hour 4. อุปสงค์การ ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากวัฒนธรรมล้านนาและเทศกาลต่างๆ 5. การเตรียมการ ขยายเส้นทางการบินจาก ภูมภิ าคสูภ่ มู ภิ าค เช่น เชียงราย-อุดร เชียงราย-กระบี่ ที่จะท�ำให้ผู้โดยสารเดินทางท่องเที่ยวได้สะดวกสบายมากขึ้น ผนวกกับแผน พัฒนาสนามบินในระยะสั้นและระยาวของสนามบินโดยเร่งเตรียมพร้อมเพื่อ รองรับจ�ำนวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้น โดยได้มีแผนการปรับปรุงอาคารผู้โดยสาร ใหม่ เช่น การเพิ่มจ�ำนวนเค้าเตอร์ให้บริการ เพิ่มหลุมจอด และอื่นๆ จากโอกาสการเติบโตนี้ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมว่ากลุ่มผู้โดยสารที่ เข้ามาเชียงรายได้มกี ารกระจายตัวไปสูภ่ าคเศรษฐกิจอะไรเป็นส่วนใหญ่ หาก เราทราบอัตราส่วนการมีส่วนร่วมในภาคเศรษฐกิจต่างๆของผู้โดยสาร ท�ำให้ สามารถก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น เช่น กลุ่มที่เดินทางมาเชียงรายเพื่อ การท่องเทีย่ ว รักษาพยาบาล ปฏิบตั ธิ รรม เขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือแม้แต่ผา่ น หน้า 1
“การท�ำงาน ไม่ควรมองว่าจะได้ ผลงาน อะไร แต่ควรมองว่า สังคมจะได้อะไร” นายอิทธิพล บุญอารีย์ ผู้อ�ำนวยการท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง (2559)