No. 6, March 2014
แม่สาย เชียงแสน เชียงของ...เมืองชายแดนเกิดใหม่แห่งอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขงตอนบน (Mae Sai, Chiang Saen, Chiang Khong…Emerging Border Cities in Upper GMS)
สัมภาษณ์พิเศษ คุณพัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานคณะกรรมการเพื่อโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ หอการค้ า 10 จังหวัดภาคเหนือ “เมืองชายแดนเชียงรายจะเติบโตแบบยัง่ ยืน จาเป็ นต้องยกระดับเป็ น Corridor Town” เรียบเรียงโดย ณัฐพรพรรณ อุตมา และ ปรางค์ ภาคพานิช 1
การติดตามความเคลื่อนไหวของภาวะเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดเชียงราย อันเนื่องมาจากการการ เปลี่ ย นแปลงบริ บ ทของเมื อ งชายแดน ถื อ ว่ า เป็ นสิ่ ง ส าคั ญ ที่ ท้ัง ภาครั ฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จาเป็ นต้ องทาการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่อง และนาผล การศึกษานั้นๆมาใช้ เพื่อเตรียมความพร้ อมต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือง ชายแดนแม่สาย เชียงแสน และเชียงของ ถือว่าเป็ นเมืองชายแดนเกิดใหม่ แห่งอนุภมู ิภาคลุ่มแม่นา้ โขงตอนบน ที่สาคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงราย บทความนี้จึงได้ เรียบเรียงข้ อคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิท่ี เชี่ยวชาญด้ านการวางแผนการพัฒนาเมืองชายแดนในประเด็นที่เกี่ยวข้ องกับ “เมืองชายแดนเกิดใหม่แห่งอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่นา้ โขงตอนบน” เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการวิจัยในอนาคต แนวทางการกาหนดนโยบายและทิศ ทางการปรับตัวเชิงรุกและเชิงรับของชุมชนและสังคมของเมืองชายแดนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงบริบททางเมือง ชายแดนต่อไป
2
การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดน (Border Economic Growth)
Q: การเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดนทั้งภาคการค้ า การลงทุน การบริการ มีการเปลี่ยนแปลงมากน้ อยเพียงใด จากในอดีต อย่างไร คุณพัฒนา: การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนจะเห็นได้ อย่างชัดเจนในปี พ.ศ. 2546 เมื่อรัฐบาลไทย ดาเนิ น ยุทธศาสตร์ การบริ หารจั ดการบ้ า นเมืองด้ วยการกระจายอานาจลงสู่ท้องถิ่ น ไปยังองค์กรปกครอง ท้ องถิ่น (อปท.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และ องค์การบริ หารส่วนตาบล (อบต.) บทบาทของ local government ทาให้ เกิดการพัฒนาโครงสร้ างพื้นฐานและสาธารณูปโภคที่ดี ตัวอย่างเช่น อาเภอแม่สาย หากดูภาพถ่ายทางอากาศจะเห็นได้ ว่าพื้ นที่ของอาเภอแม่สายมีพ้ ื นที่น้อยกว่ าท่าขี้เหล็กในประเทศเมียนมาร์ แต่เมื่อพิจารณาการบริหารจัดการพื้นที่ พบว่า พื้นที่ท่าขี้เหล็กส่วนใหญ่ยังเป็ นทุ่งนา ที่อยู่อาศัยจะเป็ นห้ องเช่า ราคาถูก แรงงานเมียนมาร์ท่ที างานในแม่สายมักเดินทาง ไป-กลับ เกิดเป็ นชุมชนแออัดอยู่ในท่าขี้เหล็ก และ มักเกิดปั ญหาอาชญากรรมและการลักลอบค้ าขายสิน ค้ าผิดกฎหมาย ขณะที่เมืองชายแดนแม่ สายจะมีการ พั ฒ นาพื้ นที่สาหรั บ ประกอบการค้ า ชายแดนและที่อ ยู่ อ าศั ย รวมทั้งกิจ กรรมทางเศรษฐกิจ อื่น ที่เ กี่ยวข้ อ ง กระจายไปทั่วเมืองชายแดน ซึ่งแสดงถึง Border Economic Growth แบบมีส่วนร่วมอย่างหนึ่ง ความแตกต่าง ของรูปแบบการปกครอง การกระจายอานาจ การรวบอานาจของเมืองชายแดนทั้งสองนี้ ส่งผลให้ เกิดความ เหลื่อมลา้ ของการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนทั้งสองประเทศ ยิ่งมีการขยายตัวของการค้ าการลงทุนในเมือง ชายแดนแม่สายและท่าขี้เหล็กมากขึ้นเท่าไร การเติบโตและกระจายตัวทางเศรษฐกิจในอาเภอแม่สายจะยิ่ง มี มากขึ้นเท่านั้น ขณะที่ท่าขี้เหล็กยังต้ องใช้ เวลาอีกมากในการพั ฒนาเมืองชายแดนนี้ ไม่ ว่าจะเป็ นการพั ฒนา โครงสร้ างพื้นฐานและสาธารณูปโภค การค้ าในอาเภอแม่สายส่วนใหญ่ เป็ นการค้ าชายแดน ส่วนการค้ าข้ าม แดนยังคงมีน้อย และในอนาคตการค้ าผ่านแดนอาจจะเกิดขึ้นได้ เนื่องจากมีสะพานข้ ามแดน 2 (ด่านแม่สาย สอง) ที่ส ามารถเชื่ อ มประเทศเมี ย นมาร์ ไทย และสปป.ลาว เข้ า ด้ ว ยกัน และจะช่ ว ยสนั บ สนุ น การเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ได้ เป็ นอย่างดี อย่างไรก็ตาม รูปแบบการค้ าข้ ามแดนและ/หรือ ผ่านแดนในด่านนี้ จะเป็ นการค้ าแบบปกติ ไม่ใช่การค้ าแบบพิเศษตามกรอบความร่วมมืออนุภมู ิภาคลุ่มแม่นา้ โขง (Greater Mekong Subregion Cooperation: GMS) แต่อย่างใด แม้ ว่ากรอบความร่วมมือ GMS จะมีการ 3
ระบุเส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจที่เชื่อมเมืองเชียงตุง ประเทศเมียนมาร์ อาเภอแม่สาย ประเทศไทย และเมือง เมียวดี ประเทศเมียนมาร์ อยู่ในภาคผนวกของความร่วมมือดังกล่าวก็ตาม การลงทุนในอาเภอแม่สาย ปัจจุบัน ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นมากเนื่องจากความไม่ชัดเจนของการพัฒนารูปแบบการค้ าในบริเวณดังกล่าว จึงส่งผล ให้ ราคาที่ดินสามารถเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง หากมองโอกาสการลงทุนของที่ดินในรัฐฉาน ยังมีความเป็ นไปได้ เนื่องจากรัฐบาลของรัฐฉานกาลัง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกฎหมายต่างๆ ของที่ดินในฝั่งเมียนมาร์ และพื้ นที่รัฐ ฉานเป็ นพื้นที่เศรษฐกิจที่เหมาะกับการขยายช่องทางด้ านการท่องเที่ยว และมีเส้ นทางที่สามารถเชื่อมต่อจาก เมืองเชียงตุงไปตอนใต้ ของจีนได้ ด้วยระยะทางที่ส้นั ที่สุด อาเภอเชียงแสน การเติบโตทางเศรษฐกิจของเชียงแสนจะแตกต่างจากแม่สาย เพราะว่าพื้นที่เชียงแสน เป็ นพื้นที่ประวัติศาสตร์ มีโบราณสถาน ขนาดพื้นที่มีค่อนข้ างจากัด จึงทาให้ ไม่สามารถจะขยายการเติบโตของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ มากกว่าเดิม แต่ควรจะพัฒนาให้ เป็ นเมืองมรดกโลก เมืองโบราณพิเศษ และเมือง ต้ นทุนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้ นที่ชุ่มนา้ เวี ยงหนองหล่ มและทะเลสาบเชียงแสน (แรมซาร์ไซต์ ) โดยแท้ จริ งแล้ ว การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนเชียงแสน ประกอบด้ วย (1) การค้ าชายแดนที่ เชื่อมโยงกับการขนส่งสินค้ าทางแม่นา้ โขง (2) การท่องเที่ยวและการบริการในเชิงวัฒนธรรมและโบราณสถาน และ (3) การมีเขตเศรษฐกิจพิเศษอยู่ในฝั่งตรงข้ าม คือ คิง ส์โรมัน (King’s Roman) เมืองต้ นผึ้ง แขวงบ่อ แก้ ว สปป.ลาว การเติบโตทั้ง 2 ด้ านทาให้ การบริหารจัดการพื้นที่เชียงแสนมีความยุ่งยากพอสมควร ถ้ าจะเน้ น การเติบโตของการค้ าขายทางน้า ระหว่ าง 3 ประเทศ (ไทย-ลาว-จีนตอนใต้ ) ตามกรอบความร่ วมมือของ ระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ ก็จะไปติดตรงแรมซาร์ไซต์ ติดในเรื่องของโบราณสถาน... ในอนาคต การค้ าข้ าม แดนและการค้ าผ่านแดนของเชียงแสนที่เชื่อมโยงกับเมืองเขตเศรษฐกิจพิเศษ คิงส์โรมัน อาจเป็ นอีกทางเลือก หนึ่งของการพัฒนาเมืองชายแดนเชียงแสน อาเภอเชียงของ ปัจจุบัน เมืองชายแดนเชียงของมีการพัฒนาในรูปแบบของ corridor town ที่สามารถ ใช้ ประโยชน์จากเส้ นทางตามระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ของกรอบความร่วมมือ GMS โดยเฉพาะการใช้ สิทธิ ในเรื่องการขนสินค้ า ข้ ามพรมแดน ขนส่งสินค้ าที่ทาการผลิตสินค้ าในพื้ นที่ชายแดนเข้ าสู่ระเบียงเศรษฐกิจได้ เลย และ corridor town ยังช่ วยสนับสนุ นการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หากเราผลิตสินค้ าและได้ มาตรฐานของอาเซียน ก็สามารถสร้ างเป็ นฐานการผลิต โดยการเอาชิ้นส่วนของประเทศหนึ่งมาประกอบและ ส่งออกไปเป็ นสินค้ าอาเซียน ส่ง ออกไปยังจีน อาเภอเชียงของมีการบริ หารจัดการพื้ นที่ค่อนข้ างดีในแง่ของ โครงสร้ างพื้นฐานและการจัดการเมืองในรูปแบบ “1 เมือง 2 แบบ” ประกอบกับการพั ฒนาพื้ นที่เศรษฐกิจ ของห้ วยทราย สปป.ลาว จึงทาให้ การเติบโตและการกระจายทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนทั้งสองจะเป็ น การ เติบโตแบบมีส่วนร่วม
4
Q: รูปแบบการเติบโตของเศรษฐกิจชายแดนควรมีลักษณะอย่างไร และควรจะเป็ นการเติบโตทางเศรษฐกิจ แบบมีส่วนร่วมหรือไม่ อย่างไร คุณพัฒนา: หากมองรูปแบบการเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดน โดยยึดความได้ เปรียบในพื้ นที่ชายแดนเป็ น หลัก เมืองชายแดนเชียงราย ควรกาหนดตนเองในรูปแบบของ (1) การเป็ น sister city และการเป็ น corridor town ซึ่งเป็ น concept ของ ADB นั่นคือการผลิตสินค้ าพื้นฐานแล้ วปรับเปลี่ยนให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ท่มี ีมูลค่าสูง ซึ่งเป็ นการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกัน เป็ นฐานการผลิต เป็ นการนารูปแบบของ Asean Economics Community (AEC) เข้ ามาใช้ ในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกาหนดการใช้ วัตถุดิบ (material) จากประเทศเพื่อนบ้ านมา เป็ นส่วนประกอบ ตัวอย่ างเช่ น ถ้ า สินค้ า สาเร็จรู ปที่ผลิ ตขึ้น ในประเทศไทย ร้ อยละ 40 ของวั ตถุ ดิบที่เป็ น ส่วนประกอบในการผลิต สามารถนามาจากประเทศอื่นๆในสมาชิ กอาเซียนได้ เพราะฉะนั้ นก็สามารถเอา รูปแบบนี้มาส่งเสริมการค้ าระหว่างกันได้ และเป็ นการสร้ างโอกาสให้ กับนักธุรกิจด้ วยกัน หากเราสร้ างเมือง ชายแดนในรูปของ corridor town และกาหนดให้ มีรูปแบบการใช้ วัตถุดิบจาก corridor town เช่นเดียวกับ กรอบความร่วมมือ AEC ก็สามารถสร้ างอัตลักษณ์ให้ กับสินค้ าชายแดนร่วมในนามของ corridor town ได้ และ (2) การเป็ นเมืองอุตสาหกรรมอาหาร เป็ น gastronomy and culinary industry โดยกระตุ้นและส่งเสริม ให้ นักท่องเที่ยวเข้ ามาทานอาหารท้ องถิ่น อาหารพื้นบ้ าน ที่มีเฉพาะในพื้นที่ เช่น อาหารเมียนมาร์ต้องทานที่ แม่สาย อาหารลาวต้ องทานที่เชียงของ เป็ นต้ น ซึ่งสามารถสร้ างความแตกต่างและความหลากหลายในเชิง วัฒนธรรมได้ เป็ นอย่างดี ความสาเร็จของการเติบโตทางเศรษฐกิจชายแดนในรูปแบบนี้ จาเป็ น ต้ องบูรณาการ ระหว่างรูปแบบ corridor town ที่จะทาให้ ตัวสินค้ านั้นสามารถที่จะผลิตร่ วมกันแล้ วเป้ าหมายคือลูกค้ ากลุ่ม เดียวกัน ก็คือลูกค้ าที่เข้ ามาในท้ องถิ่น นักท่องเที่ยวที่เข้ ามาในพื้นที่กส็ ามารถที่จะขายความเป็ นอาหารพิ เศษ เฉพาะพื้นที่ เป็ นรูปแบบเฉพาะของพื้นที่ (location-driven strategy) คล้ ายๆกับประเทศญี่ปุ่น โดยสรุปการ เติบโตของเมืองชายแดนควรมีลักษณะแบบส่วนร่วมร่วมกันมากกว่าแข่งขันกัน Q: บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนควรเป็ นอย่างไร คุณพัฒนา: บทบาทของภาครัฐ การสนับสนุ น ของภาครัฐจะต้ องมองต้ นทุ นที่เกิดขึ้นเป็ นสาคัญ Governor Forum ควรจะมีการคุยกันและระบุอานาจหน้ าที่ให้ ชัดเจนระหว่างผู้มีอานาจ (authority) ของแต่ละ Governor Forum Organization เช่น ผู้ว่าท่าขี้เหล็กกับนายอาเภอแม่สายก็ควรจะคุยในเรื่องของการอานวยความสะดวก ทางการค้ า (trade facilitation) ในแง่ของกรอบแนวคิดแผนงาน (roadmap) ที่ชัดเจนและแยกให้ ออกระหว่าง ผู้มีอานาจกับการดาเนินงานการอานวยความสะดวกทางการค้ า และควรมีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลทั้งสองฝ่ าย ตัวอย่างเช่ น การปิ ดเปิ ดสะพานข้ ามแดน จะเป็ นเรื่องของผู้มีอานาจ แต่หากเป็ นเรื่องของการอานวยความ สะดวกทางการค้ า เช่น เอารถเข้ ามาในเมืองไทยแล้ วรถเสีย ผู้ว่า ราชการสามารถขอมาทางนายอาเภอ ในเรื่อง ของการอานวยความสะดวกด้ านการขนส่งคน ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องของ การเจ็บป่ วยก็ตาม นี่คือบทบาทของ ภาครัฐที่ต้องมองการอานวยความสะดวกทางการค้ าให้ ออกระหว่างอานาจหน้ าที่กับกฎหมายซึ่งเป็ นเรื่องของ ความมั่นคง 5
ขณะที่บทบาทของภาคเอกชน การดาเนินงานของภาคเอกชนควรอยู่ในรูปแบบของการเติบโตแบบมี ส่วนร่ วมแบบพิเศษ (exclusive) ของชายแดนจะดีท่สี ุด มีการจัดประชุ มส่งเสริ มความสัมพันธ์ระหว่างกัน มี การเจรจาหารื อ เรื่ องทิศทางการเติบโตร่ วมกัน โดยเชิญ ภาคเอกชนแต่ละประเทศมาร่ วมเป็ นวิทยากร มา แลกเปลี่ยนมุมมองต่อสาธารณชน เป็ นต้ น Q: ความสาเร็จของโครงการสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จะก่อให้ เกิดนวัตกรรมในเรื่องการขนส่งสินค้ า ข้ ามประเทศและมีรูปแบบการค้ าชายแดนที่เปลี่ยนไปจากเดิมหรือไม่ อย่างไร และจะมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่แตกต่างจากสะพานข้ ามแม่นา้ โขงแห่งที่ 1-3 อย่างไร คุณพัฒนา: สะพานข้ ามแม่นา้ โขงแห่งที่ 4 จะก่อให้ เกิดนวัตกรรมในเรื่องการขนส่งสินค้ าข้ ามประเทศและมี รูปแบบการค้ าชายแดนที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนานวัตกรรมโลจิสติกส์ท่มี ีความชัดเจน ขึ้น และการสร้ างนวัตกรรมซัพพลายเชนท้องถิ่น (Local supply chain) ซึ่งเดิมการจัดการซัพพลายเซนไม่ได้ มี การแยกระหว่างซัพพลายท้ องถิ่นและซัพพลายเชนที่มาจากส่วนกลาง ตัวอย่างเช่น ส้ มโอเวียงแก่น นวัตกรรม ของซัพพลายเชนจะเปลี่ยนเป็ นการสร้ าง value chain ของท้ องถิ่น ปรับเปลี่ยนให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ท่มี ีมูลค่าสูงขึ้น (higher value product) เช่น ผลไม้ อบแห้ งแพ็ค จะทาการผลิตเพื่อการส่งออกตามมาตรฐานของ AEC ให้ กับ ผู้บริโภคตามระเบียงเศรษฐกิจ หรื อผู้บริโภคที่อยู่นอกระเบียงเศรษฐกิจแต่เราขนผ่านระเบียงเศรษฐกิจตาม ข้ อตกลง GMS ดังนั้นรูปแบบการค้ าชายแดนจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยคร่ าวๆ กิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณสะพานสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 1-3 มีรูปแบบที่ แตกต่างกัน (1) การค้ าบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ งที่ 1 (หนองคาย-เวียงจันทน์) เป็ นรูปแบบ การค้ าแบบผ่านแดน สินค้ ามีความหลากหลาย ตลาดส่งออกหลักคือผู้บริโภคในเวียงจันทร์ สปป.ลาว (2) การค้ าบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ งที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) ปัจจุบันการส่งออกส่วนใหญ่ เป็ นการส่งออกผลไม้ จากไทยไปจีนตอนใต้ โดยผ่านไปทางเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม ในอนาคต สินค้ า ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์จะเป็ นสินค้ าส่งออกที่สาคัญ เนื่องจากมุกดาหารเป็ นเมืองชายแดนที่ติดกับเขตเศรษฐกิจ พิเศษสะหวันเซโน ของสปป.ลาว ที่มีผ้ ูประกอบการจากต่างประเทศ เช่น มาเลเซีย และ จีนมาตั้งโรงงานผลิต สินค้ าอิเล็คทรอนิกส์จานวนมาก และ (3) การค้ าบริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 3 (นครพนม-ท่า แขก) แม้ ว่าเส้ นทางการค้ านี้จะไม่ใช่ระเบียงเศรษฐกิจตามกรอบความร่วมมือของ GMS แต่ในบริเวณดังกล่าว มีปริมาณการค้ าแบบชายแดนและผ่านแดนด้ วยวิธปี กติค่อนข้ างมากในปัจจุบัน
6
ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนกับพื้ นทีอ่ ื่นๆ (Cross-border and Trans-border Connectivity)
ภาพถ่ายบริเวณเชียงของเมืองเก่า อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ถ่ายโดย: ปรางค์ ภาคพานิช เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2557 Q: ความสาคัญของการเชื่อมโยงเมืองชายแดนกับพื้ นที่อ่ ืนๆ ในระดับชายแดน ประเทศ และภูมิภาค และ กรอบความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ต่ า งๆ กั บ ประเทศเพื่ อนบ้ านและประเทศอื่ น ๆในระดั บ ชายแดน ระดับประเทศ และระดับภูมิภาค คุณพัฒนา: ความสาเร็จของการเชื่อมโยงเมืองชายแดนกับพื้นที่อ่ นื ๆ จาเป็ นต้ องมีการสร้ าง “เสาหลักทาง เศรษฐกิจ” แนวคิดที่สาคัญคือ ถ้ าสร้ างกิจกรรมการผลิ ตในพื้ นที่ หรื อ Corridor town แล้ วป้ อนเข้ า สู่ Economic corridor เพื่อให้ เกิดความคุ้มทุนของค่าใช้ จ่ายในการขนส่ง จึงจาเป็ น ต้ องอาศัยประโยชน์ของเมือง Corridor town ว่าจะสามารถผลิตสินค้ าให้ สินค้ าตรงกับความต้ องการของบริษัทขนส่งและผู้บริโภคปลายทาง ได้ มากน้ อยเพียงใด หากเมืองชายแดนผลิตสินค้ าอาหารแห้ ง แต่รูปแบบของการขนส่งสินค้ าเป็ นอาหารเย็น Corridor town ก็จะไม่ได้ ประโยชน์ในการขนส่ง เพราะฉะนั้นควรดูรูปแบบในการขนส่งสินค้ าว่าเป็ นการขนส่ง แบบไหน โดยเสาหลักจะเป็ นเหมือน Roadmap ในการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ปัจจุบัน เชียงใหม่มียุทธศาสตร์ Northern land port กับทุกด่านของเมืองชายแดน และใช้ ประโยชน์ จากทุกด่านเพื่อขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงใหม่ จึงถือว่า เชียงใหม่เป็ น New connectivity model ของพื้นที่ชายแดนไม่ใช่เชียงราย ขณะที่ เชียงรายมองตัวเองเป็ นเมืองชายแดน (Gateway) ที่เชื่อมต่อ กับประเทศอื่นๆในภูมิภาค ประเทศเมียนมาร์ สปป. ลาว และจีนได้ ดังนั้น เชียงรายควรจะเป็ น Northern 7
land port ที่เป็ นผู้ให้ บริ การ (Facilitator) ขณะที่เชียงใหม่เป็ น Northern land port ที่เป็ นผู้ป้อนอาหาร (Feeder) เช่ น ถ้ าเชียงใหม่จะส่งสินค้ า มาที่เชียงราย เชียงรายก็ทาหน้ าที่เป็ นผู้ให้ บริ การที่ดี โดยการส่ง สินค้ าออกไปยังประเทศใกล้ เคียง ซึ่งถือเป็ นจุดแข็งของเชียงรายที่สามารถเชื่อมต่อกับประเทศอื่นๆได้ หรือถ้ า เชียงใหม่เป็ น Medical Hub เชียงรายก็ควรจะเป็ น Health connectivity ที่สามารถเชื่อมโยงการให้ บริการ โรงพยาบาลในที่ต่างๆได้ เช่ นการมี Air ambulance ผู้ป่วยก็สามารถเดินทางไปใช้ บริ การโรงพยาบาลที่ เชียงใหม่ได้ เป็ นต้ น Q: รูปแบบการเชื่อมโยงแบบใหม่ (New Connectivity Model) ของพื้นที่ชายแดน ควรมีลักษณะอย่างไร ใน บริบทเศรษฐกิจและสังคม คุณพัฒนา: พหุวัฒนธรรมของการทาอาหาร (Gastronomy) และศิลปะในการประกอบอาหาร เป็ นรูปแบบ การเชื่อมโยงแบบใหม่ของพื้ นที่ชายแดน เช่ น เชียงของก็จะเน้ นพหุวัฒนธรรมของการทาอาหารลาวร่ วมกับ อาหารไทย แม่สายก็จะเน้ นอาหารเมียนมาร์กับอาหารไทย เชียงแสนสามารถเชื่อมโยงได้ ท้งั อาหารเมียนมาร์ กับอาหารไทย อาหารลาวกับอาหารไทย และอาหารจีนกับอาหารไทย ในอนาคตก็จะลดเหลือเฉพาะอาหารที่ เด่นๆ แต่ในปัจจุบันควรจะสนับสนุ นให้ เป็ นแบบนี้ก่อน ซึ่งเป็ นลักษณะบริ บทสังคมที่เชื่อมโยงแบบใหม่ของ พื้นที่ชายแดนร่วม นโยบายเมืองชายแดนในอนาคต (Future Border Policies) Q: นโยบายการพัฒนาด้ านเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในอนาคต (Future Border Policies) ควรมี ลักษณะแบบใด คุณพัฒนา: ควรมีการตกลงทาความร่วมมือระหว่างเขตเศรษฐกิจพิเศษของสองประเทศ ในรูปแบบ 1 เขต เศรษฐกิจพิเศษ 2 ประเทศ (1 Border Economic Zone 2 Countries) คือ ทั้งสองฝ่ ายควรจะมีความร่วมมือ กันเป็ นหนึ่งเดียว ไม่แข่งขันกัน โดยสามารถทาการแลกเปลี่ยนการขนถ่ายสินค้ า ระหว่างกันตามกรอบความ ร่วมมือ GMS และการแลกเปลี่ยนการผลิตและการเป็ นฐานผลิตร่ วมตามกรอบความร่วมมือ AEC โดยวาง กรอบความร่วมมืออย่างหลวมๆ ในระยะแรก และเปลี่ยนเป็ น Single market หรือ Single corporation ใน รูปแบบฐานการผลิตร่วม One market ในระยะต่อไป โดยสินค้ าที่ผลิตได้ จะมีลักษณะพิ เศษเฉพาะของเขต เศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจไปสู่ประเทศตลาดเกิด ใหม่ (Emerging market country) เช่น ประเทศในกลุ่ม CLMV ประเทศเศรษฐกิจใหม่ในกรอบเบงกอล กลุ่มประเทศ BRIC ประเทศ เศรษฐกิจใหม่ในกรอบของแอฟริกา เป็ นต้ น ความร่ วมมือที่เข้ มแข็งของเขตเศรษฐกิจพิเศษร่วมนี้ จะสามารถ สร้ างความสามารถในการแข่งขันด้ านการส่งออกไปยังประเทศตลาดเกิดใหม่ได้ เป็ นอย่างดี
8
Q: นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ถือเป็ นสัญญาณการเปลี่ยนแปลงเมืองชายแดนจังหวัดเชียงรายในทศวรรษ หน้ า หรือไม่ อย่างไร คุณพัฒนา: นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ถือเป็ นสัญญาณการเปลี่ยนแปลงเมืองชายแดนจังหวัดเชียงรายใน ทศวรรษหน้ าอย่างแน่ น อน หากดู เป็ นรูป ทางกายภาพก็จะเห็น ในรู ปของการเปลี่ ยนแปลงเมื อง จากเมือ ง ชายแดนกลายเป็ นเมือง จากเดิม สังคมเกษตรกรรม เข้ าสู่สังคมสมัยใหม่ (modern society) ที่สาคัญเมือง ชายแดน จังหวัดเชียงราย ก็จาเป็ นต้ องมีเขตเศรษฐกิจพิเศษเป็ นตัวชักจูงซึ่งอันนี้สาคัญมาก Q: ระบบเศรษฐกิจ การค้ า และการลงทุน ของจังหวัดเชียงราย รวมทั้งภาพพจน์ของจังหวัดเชียงรายในอนาคต ควรจะเป็ นอย่างไรบ้ าง คุณพัฒนา: เดิมระบบเศรษฐกิจ การค้ า และการลงทุน ของจังหวัดเชียงราย จะเน้ นอยู่ ท่ภี าคการเกษตร การค้ า ชายแดน และการท่อ งเที่ยว แต่ ปั จจุ บั น รู ป แบบของเศรษฐกิจ การค้ า และการลงทุ น จะถู กน ามา ผสมผสานกันเกิดเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบผสม ได้ แก่ ภาคเกษตรร่วมกับการค้ าชายแดน ภาคการค้ าผ่านแดน และภาคเกษตรร่ วมกับการท่อ งเที่ยว ทาให้ เกิดภาพของสินค้ า และบริ การที่หลากหลายมากขึ้น เช่ น สินค้ า เกษตรกับ บริ การด้ านการท่องเที่ยวก็กลายเป็ นอาหารเพื่ อการท่องเที่ยว ธุรกิจโฮมสเตย์ สินค้ าบริ การการ ท่องเที่ยวร่วมกับการค้ าก็จะกลายเป็ นโลจิสติกส์ท่องเที่ยว โดยสรุป ระบบเศรษฐกิจทั้งภาคการเกษตร การค้ า ชายแดน และการท่องเที่ยว ได้ ทาให้ เกิดรูปแบบการค้ าและการลงทุนใหม่ในจังหวัดเชียงราย ภาพพจน์ ข องจั ง หวั ด เชี ย งรายในอนาคตจะเป็ นอย่ า งไรนั้ น ขึ้ นอยู่ กั บ การยกระดั บ ของตนเอง เหมือนกับการยกระดับของจั งหวั ดชายแดนเป็ นจังหวัดที่เป็ นประตูการค้ า หากเชียงรายยกระดับเป็ น Hub หรือทาให้ กลายเป็ นสิงคโปร์น้อย พื้ นที่และประชาชนในจังหวัดเชียงรายก็จะได้ ประโยชน์จากการเป็ นประตู การค้ าที่แท้ จริง หากเชียงรายยกระดับเป็ นแค่ภมู ิภาค เชียงรายก็จะเป็ น Northern land port เป็ นผู้ให้ บริการ ของเชียงใหม่ ของหลวงน้าทา และ ของหลวงพระบาง หรื อจะเป็ นได้ แค่ตัวเชื่อมไปยังเมืองต่ างๆ เท่านั้ น ตัวอย่างเช่น หากเชียงรายเป็ น Hub ด้ านการท่องเที่ยว ก็สามารถใช้ สิทธิจาก Single visa ของอาเซียนและการ ขนส่งจาก GMS เพื่ อ เข้ าไปในประเทศอาเซียนได้ และทาให้ เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจเพิ่ มขึ้น ดังนั้ น ภาพพจน์ของเชียงรายจะเป็ นอย่างไรอยู่ท่กี ารวางตนเองว่าต้ องการให้ เป็ น Hub ที่เป็ นผู้ป้อนอาหาร (Feeder) หรือจะเป็ นผู้ให้ บริการ (Facilitator)
9
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics Study: OBELS) มี หน้ าที่ดาเนินงานด้ านการรวบรวมข้ อมูลและวิจัยทางด้ านเศรษฐกิจการค้ าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่ การยกระดับองค์ความรู้ท่เี ป็ นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้ าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม
Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
10