No. 7, May 2014 การเติบโตของพื้นที่ชายแดนเชียงของบนเส้นทางเศรษฐกิจคู่ขนาน ปฐมพงศ์ มโนหาญและ สิทธิชาติ สมตา จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าและประเทศลาว ซึ่งส่งผลให้ เกิดการค้าชายแดนระหว่างประเทศขึ้นกับทั้งสองประเทศ รวมทั้งประเทศในลุ่มแม่น้าโขงตอนบนและประเทศ จีนตอนใต้ ดังนั้นจั งหวัดเชียงรายจึงเป็นจั งหวัดที่ส้าคัญของประเทศไทยในการเป็น ประตูการค้าระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศในลุ่มแม่น้าโขงตอนบน เนื่องจากจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อันสามารถเชื่อมกับอ้าเภอแม่สาย อ้าเภอเชียงแสน และอ้าเภอเชียงของ ในเขตการค้าชายแดนอ้าเภอแม่สายเป็นการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยกับพม่า มีรูปแบบการ ขนส่งโดยรถบรรทุก การค้าชายแดนในอ้าเภอเชียงแสน มีรูปแบบการขนส่งทางเรือซึ่งอาศัยการล่องเรือใน แม่น้าโขง มีท่าเรือเชียงแสนเป็นจุดเชื่อมต่อการค้าระหว่างประเทศในลุ่มแม่น้าโขง สินค้าส่วนใหญ่ คือสินค้า ทางการเกษตร สินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ที่ส่งออกมาจากประเทศจีน เนื่องจากว่ามีราคา ถูกกว่าสินค้าในประเทศไทย ส่วนการค้าผ่านเขตแดนในอ้าเภอเชียงของมีพื้นที่ติดกับประเทศลาว การขนส่งจะ มีรูปแบบของการใช้รถบรรทุกบนเส้นทางสาย R3A ที่ผ่านประเทศลาวและเข้าสู่ประเทศจีน ซึ่งอ้าเภอเชียงของ ก่อนที่จะมีการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 นั้น การค้าชายแดนในพื้นที่นี้จะให้รถบรรทุกจากฝั่ง ไทย-ลาว และขึ้นเรือข้ามฝั่งในการเดินทางข้ามประเทศที่ท่าเรือบั๊ค แต่เมื่อมีการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทยลาวแห่งที่ 4 ท้าให้การขนส่งทางเรือลดลงและมีการยกเลิกท่าเรือบั๊คตามมา ดังนั้นในปัจจุบันรูปแบบการขนส่งส่วนใหญ่จะใช้การขนส่งโดยรถบรรทุกแทนการใช้ท่าเรือบั๊ค อีกทั้งมี การก้าหนดให้มีการใช้สะพานในการขนส่งระหว่างประเทศ ท้าให้พื้นที่บริเวณท่าเรือบั๊คมีสภาพเศรษฐกิจที่ซบ เซาลง จากค้าบอกเล่าของคุณแสงจันทร์ว่า “เศรษฐกิจในบริเวณท่าเรือบั๊คซบเซาลง เนื่องจากว่ามีนักท่องเที่ยวมาใช้บริการ ข้ามฝั่งจานวนน้อยมาก มีเพียงนักท่องเที่ยวคนไทยและคนท้องถิ่นเท่านั้นที่ต้องการ ข้ามไปฝั่งลาวในบริเวณใกล้ๆ เท่านั้น”1
1
สัมภาษณ์ คุณแสงจันทร์ (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557.
รวมทั้งผู้ประกอบการได้รับผลกระทบในการย้ายพื้นที่การขนส่งไปใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจโรงแรม/ที่พัก ร้านอาหาร ร้านขายของช้า เป็นต้น จากค้าบอกเล่าของคุณแจ่มจิตว่า “เมื่อมีการเปิดสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวที่ จะข้ามไปลาวต้องไปข้ามที่สะพานดังกล่าวจากเดิมต้องข้ามที่ท่าเรือบั๊ ค รายได้จาก ที่เคยได้วันละ 7,000 – 8,000 บาท ลดลงเหลือแค่วันละ 1,000 – 2,000 บาท ทา ให้ต้องตัดสินใจลดราคาอาหารลงมาเพื่อดึงดูดใจลูกค้า”2 เดิมพื้น ในอดีต ที่ผ่ านมาตั้งแต่กลางทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา การพัฒ นาและการส่ งเสริมการ ท่องเที่ยวได้รับความสนใจจากรัฐบาลมากขึ้นได้มีการบรรจุแผนพัฒนาการท่องเที่ยวไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (ระหว่างปี 2520 – 2524) ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่มีการบรรจุเรื่องการท่องเที่ยวไว้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และต่อมาการท่องเที่ยวก็ได้รับการบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตลอดมา ในปี 2530 รัฐบาลได้ประกาศโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ชื่อว่า “ปี ท่องเที่ยวไทย”3 อีกทั้งในปีเดียวกันนี้ได้มีการริเริ่มให้มีค้าขวัญจังหวัด เพื่อที่จะให้ความส้าคัญแก่ท้อ งถิ่นและยัง เป็ น ข้ อ มู ล ที่ บ่ ง บอกที่ ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ส้ า คั ญ ของจั ง หวั ด เอง จากการประกาศปี ท่ อ งเที่ ย วไทยท้ า ให้ นักท่องเที่ยวเริ่มเข้ามาท่องเที่ยวในเชียงของมากขึ้น จากค้าบอกเล่าของคุณสุแจ่มจิตว่า “ลูกค้าชาวต่างชาติเริ่มมีมากขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา ทาให้มี รายได้ต่อวันประมาณวันละ 7,000 – 8,000 บาท บางวันมีเวลานอนเพียงแค่ 1 – 2 ชั่วโมงเพราะต้องรี บ ไปตลาดและเปิดร้านในเวลา 8.00 น. อาหารในร้านก็มี หลากหลายเช่นอาหารไทยทั่วไป และ อาหารป่า”4 อีก ทั้ ง การเข้า มาของนั กท่ อ งเที่ ย วคื อ การมาบริโ ภคปลาบึ ก ปลาแม่ น้ า โขง และการเข้ าร่ ว มพิ ธี บวงสรวงปลาบึก โดยถือว่าเป็นประเพณีพิธีกรรมที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาในอ้าเภอเชียงของได้ จ้านวนมาก จากค้าบอกเล่าของคุณแสงนวลว่า 2
สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ) , 4 พฤษภาคม 2557, คุณสุรางคณากล่าวเพิ่มเติมว่า ผลกระทบจากการชุมนุมทาง การเมือง ส่งผลให้นักท่องเที่ยวต่างชาติตัดสินใจไปเที่ยวประเทศอื่น เช่น เขมร ลาว และ เวียดนาม ที่พูดได้อย่างนี้ก็เพราะว่ามี ลูกเขยเป็นชาวเบลเยียม เขาบอกว่าชาวฝรั่งไม่ค่อยอยากจะมาเพราะปัญหาทางการเมืองของไทย ซึ่งเป็นมุมมองของ ชาวต่างชาติที่มองประเทศไทย ผ่านการบอกเล่าผ่านคนไทย 3
กฤชณัช แสนทวี, วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5. (ม.ป.ป.). ปัจจัยด้านสื่อสารภาวะวิกฤตและการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในธุรกิ จการท่องเที่ยวของประเทศ ไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2557, จาก http://journal.rmutp.ac.th/wp-content/uploads/2014/04/SpecialLiberalArt-Humanity-Tourist-20.pdf 4 สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ), 4 พฤษภาคม 2557.
“การเข้ามาของนักท่องเที่ยวเกิดจากการที่เจ้าฟ้าชายอากิชิโนแห่งประเทศญี่ปุ่น ทรงเสด็จเข้าร่วมพิธีบวงสรวงปลาบึก เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2529 จึงทาให้ นักท่องเที่ยวต้องการบริโภคปลาบึกและปลาแม่น้าโขงจึงเดินทางเข้ามายังอาเภอ เชียงของ”5 ทั้งนีอ้ ้าเภอเชียงของเป็นอ้าเภอปลายทางของนักท่องเที่ยวต่างชาติประเภทแบกเป้และแวะพักท้าวีซ่า ผ่านแดนเข้าสู่ประเทศลาว ท้าให้มีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักในตัวอ้าเภอเชียงของตลอดทั้งปี โดยส่วนใหญ่แล้วการ ท่องเที่ยวจะเกิดขึ้นในเขตเมืองเก่าหรือเขตเวียงเชียงของได้แก่ วัด ศาสนสถานที่เก่าแก่ การท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ ฯลฯ ท้าให้การค้าและการท่องเที่ยวมีประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ที่อยู่ในเวียงเชียงของมากกว่าผู้คนที่ อยู่รอบนอก (เมืองใหม่) ซึ่งมีอาชีพทางการเกษตรเป็นหลัก
5
สัมภาษณ์ คุณแสงนวล (นามสมมติ), 4 พฤษภาคม 2557.
ตารางที่ 1 มูลค่าการค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย ด่านเชียงของ ปี 2556 จีน
เดือน
ปึ 2557
พม่า
ลาว
จีน
พม่า
ลาว
ส่งออก
น้าเข้า
ส่งออก
น้าเข้า
ส่งออก
น้าเข้า
ส่งออก
น้าเข้า
ส่งออก
น้าเข้า
ส่งออก
น้าเข้า
ม.ค
100,811,112.10
204,438,394.28
104,757,946.19
-
823,286,417.57
68,623,578.88
389,385,066.20
134,642,771.02
161,314,449.23
-
521,675,271.14
45,199,180.82
ก.พ.
91,377,552.11
121,307,133.86
87,826,967.15
-
477,607,290.39
51,619,511.00
86,629,622.76
79,008,839.59
127,240,754.09
-
626,559,169.10
10,315,647.69
มี.ค.
54,510,371.48
49,068,975.61
117,038,817.49
-
587,908,426.71
131,150,476.90
47,047,918.86
120,502,374.63
137,398,674.24
-
665,337,391.39
11,036,704.98
เม.ย
10,120,358.24
103,975,501.03
106,084,717.21
-
659,465,976.58
37,630,265.20
พ.ค.
71,660,240.03
133,900,236.70
132,827,899.55
-
656,923,903.55
58,121,665.40
มิ.ย.
95,147,997.11
200,518,798.91
111,126,728.55
-
595,919,053.46
42,645,171.46
ก.ค.
156,376,167.10
192,147,380.70
120,243,467.71
-
515,877,612.65
206,402,195.39
ส.ค.
73,001,950.71
459,934,725.41
121,031,181.07
-
714,743,679.08
39,350,609.10
ก.ย.
311,192,919.70
279,677,925.78
125,325,170.64
-
425,350,377.56
7,525,449.58
ต.ค
137,242,028.52
250,393,803.39
160,815,577.01
-
480,738,788.17
17,179,215.86
พ.ย
266,567,403.47
239,717,753.88
153,587,492.21
-
508,764,995.10
82,287,185.60
ธ.ค
77,012,469.55
201,919,244.98
150,133,959.14
-
1,495,317,619.09
6,690,216.04
รวม
1,445,020,570.12
2,436,999,874.53
1,490,799,923.92
-
7,941,904,139.91
749,225,540.41
523,062,607.82
334,153,985.24
425,953,877.56
-
1,813,571,831.63
66,551,533.49
รวมส่งออก
10,877,724,633.95
รวมนาเข้า
3,186,225,414.94
รวมส่งออก
2,762,588,317.01
รวมนาเข้า
400,705,518.73
มูลค่าการค้ารวม
14,063,950,048.89
ที่มา : ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย *** (ในปี 2556 ใช้ท่าเรือบั๊ค : เมืองเก่า ส่วนในปี 2557 ใช้สะพานแห่งที่ 4 : เมืองใหม่ ในการขนส่ง)
มูลค่าการค้ารวม
3,163,293,835.74
การค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการขนส่งสินค้าทางล้าน้้าโขงและเส้นทางR3A ไปยังจีน เดือน มกราคม - มีนาคม ปี 2557 เส้นทางการค้า การค้ารวม ส่งออก น้าเข้า ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ กับจีน(ตอนใต้) ด่านเชียงแสน 737.57 46.25 637.17 54.92 100.40 23.10 (ทางน้้า) ด่านเชียงของ 857.21 53.75 523.06 45.08 334.15 76.90 (เส้นทางR3A) รวม 1,594.78 100 1,160.23 100 434.55 100 ที่มา : ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
การค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการขนส่งสินค้าทางล้าน้้าโขงและเส้นทางR3A ไปยังจีน มกราคม - มีนาคม ปี 2556 เส้นทางการค้า
การค้ารวม ล้านบาท ร้อยละ
ส่งออก ล้านบาท ร้อยละ
ด่านเชียงแสน (ทางน้้า)
801.04
56.31
723.48
ด่านเชียงของ (เส้นทางR3A) รวม
621.51
43.69
1,422.55
100
กับจีน(ตอนใต้)
น้าเข้า ล้านบาท
ร้อยละ
74.57
77.56
17.15
246.70
25.43
374.81
82.85
970.18
100
452.37
100
ที่มา : ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
การค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย ตารางที่ 4 เปรียบเทียบการขนส่งสินค้าทางล้าน้้าโขงและเส้นทางR3A ไปยังจีน เดือน ม.ค. - มี.ค. ปี 2556/2557 ประเภท มูลค่ารวม ส่งออก น้าเข้า ดุลการค้า
ม.ค.56-มี.ค.56 (ล้านบาท) 1,422.55 970.18 452.37 517.81
ม.ค.57-มี.ค.57 (ล้านบาท) 1,594.78 1,160.23 434.55 725.68
% 12.11 19.59 -3.94 40.14
ที่มา : ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย
5
จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่า มูลค่าการค้าระหว่างประเทศบริเวณด่านเชียงของมีการเติบโตทางเศรษฐกิจ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยในปี 2556 ด่านเชียงของใช้ท่าเรือบั๊คในการขนส่งสินค้า รถบรรทุก แต่เมื่อปลายปี 2556 ช่วง เดือนธันวาคม ได้มีการเปิดการใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 จึงท้าให้อ้าเภอเชียงของเป็นเมืองชายแดน ที่น่าสนใจแก่นักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ เนื่องจากมีระยะเวลาในการขนส่งสินค้าที่รวดเร็วระหว่างประเทศจีน ลาว และไทย บนถนนสาย R3A หากเราเปรียบเทียบมูลค่าการขนส่งผ่านด่านเชียงของระหว่างท่าเรือบั๊คกับ สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ในปี 2556 ช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม (ใช้ท่าเรือบั๊ค) มูลค่าการส่งออก 2,445.12 ล้านบาท และมูลค่าการน้าเข้า 2,263.61 ล้านบาทบาท และในปี 2557 ช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม (ใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ) มูลค่าการส่งออก 2,762.58 ล้านบาท และมูลค่าการน้าเข้า 400.70 ล้าน บาท ดังนั้นมูลค่าการส่งออกมีการเติบโตร้อยละ 0.13 และการน้าเข้าร้อยละ 0.82 ถ้าหากเปรียบเทียบการขนส่งสินค้าทางล้าน้้าโขง (ด่านเชียงแสน) และเส้นทาง R3A (ด่านเชียงของ) ไปยัง ประเทศจีน ช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ของปี 2556 กับปี 2557 จากตารางที่ 4 โดยในปี 2556 มูลค่ารวม 1,422.55 ล้านบาท และในปี 2557 มูลค่ารวม 1,594.78 ล้านบาท ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการขนส่งโดยใช้เส้นทาง R3A มีมูลค่าเติบโตกว่าการขนส่งทางล้าน้้าโขงอยู่ที่ร้อยละ 12.11 หากอ้างตามตัวเลขข้างต้นจะเห็นว่าเศรษฐกิจของเมืองเชียงของมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ ตามความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีตัวชี้วัดอย่างเป็น “ทางการ” เมื่อเกิดการพัฒนาของพื้นที่ส่งผลให้เกิดสิ่งที่ ตามมาก็คือการอนุรักษ์ ซึ่งไม่เพียงเท่านี้การพัฒนายังส่ งผลกระทบต่อประชาชนในเมืองเชียงของด้วยเช่นกัน จาก การย้ายเส้นทางการขนส่งจากท่าเรือบั๊คไปยังสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 จึงท้าให้เกิดนโยบาย “หนึ่ง เมือง สองแบบ” เพื่อเป็นการจัดการเชิงพื้นที่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทและอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่าง “แท้จริง” โดยน้าไปสู่การพัฒนาที่มีดุลยภาพ มีความยั่งยืนและเป็นธรรมต่อคนท้องถิ่นเชียงของร่วมกัน โดยหนึ่ง เมืองสองแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. เมืองเก่า คือ เขตเวียงเชียงของซึ่งเป็นเขตเมืองเก่า ซึ่งเดิมมีพื้นที่โดยรอบเป็นฐานการผลิตทาง เศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว คือ บริเวณตั้งแต่ปากน้้าดุกไล่ขึ้นมาทางเหนือจนถึงบริเวณแนวป่าดอยธาตุ ส่วนทางตะวันตกคือจากทุ่งหลวงมาจรดทางตะวันออกที่ล้าน้้าโขง เขตนี้คือเขตเมืองเก่าซึ่งมีวัดแก้ว วัดหลวง วัด หัวเวียง วัดศรีดอนชัย วัดสบสม วัดหาดไคร้ ฯลฯ 2. เมืองใหม่ คือ เขตเชียงของใหม่ซึ่งจะมีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าการลงทุนเข้ามารองรับ ตั้งแต่บริเวณโดยรอบเชิงสะพานข้ามแม่น้าโขงแห่งที่ 4 มายังเขตทุ่งสามหมอนและบริเวณโดยรอบ ซึ่งจุดศูนย์กลาง ย้ายมาอยู่ที่ชุมชนหนาแน่นและการพาณิชย์บริเวณบ้านทุ่งงิ้ว บ้านสถาน บ้านดอนมหาวัน บ้านใหม่ธาตุทอง บ้าน ใหม่ทุ่งหมด บ้านโจโก้ บางส่ วนของต้าบลศรีดอนชัย และบางส่วนของต้าบลครึ่ง เดิมในเขตเหล่านี้คือการจัด
6
การเมืองใหม่บนฐานระบบการผลิตแบบเกษตรกรรม ซึ่งที่ดินที่เป็นปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ได้เปลี่ยนมือไปสู่คนต่าง ถิ่นและนายทุน6 ผลกระทบของการเติบโตทางเศรษฐกิจคู่ขนานของพื้นที่ชายแดนในอ้าเภอเชียงของระหว่างเมืองเก่ากับ เมืองใหม่นั้น หลังมีการยกเลิกการขนส่งผ่านท่าเรือบั๊ค ส่งผลท้าให้เศรษฐกิจในเมืองเก่าซบเซาลง เนื่องจากท่าเรือ บั๊คเคยเป็นจุดผ่านข้ามแดนของนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างชาติ และรถบรรทุกสินค้าต่างๆ ที่ใช้การขนส่ง โดยถนนสาย R3A ซึ่งท้าให้คนเหล่านี้จะต้องเข้ามาใช้บริการโรงแรม เกสเฮ้าส์ ร้านอาหาร และร้านขายของช้าโดย อัตโนมัติ แต่เมื่อทุกอย่างต้องด้าเนินการผ่านสะพานมิตรภาพฯ จึงท้าให้ผู้ประกอบการในเมืองเก่าได้รับผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็นจ้านวนของนักท่องเที่ยวที่ลดน้อยลง แม่ค้าพ่อค้าขายสินค้า ไม่ค่อยได้เท่าที่ควร จึงท้าให้ผู้ประกอบการ ทุกสาขาอาชีพในเมืองเก่าเกิดการปรับตัว เพื่อให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายหนึ่งเมืองสอง แบบ จากค้าบอกเล่าของคุณแสงจันทร์ว่า “เมื่อมีการยกเลิกจากท่าเรือไปแล้วสินค้าของทางร้านขายไม่ค่อยดี เนื่องจาก นักท่องเที่ยวลดน้อยลง ไม่มีการปรับตัวแต่อย่างใด “ทุกข์อย่างไรก็ทุกข์อยู่อย่าง นั้น”7 รวมถึงผู้ประกอบต่างๆ ด้วยเช่นกันที่ต้องมีการปรับตัวกับการลดลงของนักท่องเที่ยว เพื่อที่จะสามารถ ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงไปของฐานเศรษฐกิจในอ้าเภอเชียงของ ไม่ว่าจะเป็นการลดราคาของร้านอาหาร ตามสั่ง การลดราคาห้องพักและมีโปรโมชั่นเสริมในการเข้าพัก การปิดตัวลงของสถานบันเทิง ซึ่งสาขาอาชีพเหล่านี้ ล้วนเกิดจากการเข้ามาท่องเที่ยวและพักผ่อนของนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ เศรษฐกิ จ ที่ ซ บเซาเช่ น นี้ ท้ า ให้ ป ระชาชนในเมื อ งเก่ า ย้ า ยไปประกอบอาชี พยั ง สะพานมิ ต รภาพ ไทย – ลาวแห่งที่ 4 ซึ่งอาจท้าให้เกิดการแย่งชิงพื้นที่ของคนทั้งสองกลุ่มระหว่างเมืองเก่ากับเมืองใหม่ เนื่องจากว่า ทั้งสองกลุ่ มมีการขายสิ น ค้าที่คล้ ายๆ กัน 8 ดังนั้นจะเห็ นได้ว่า “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ”9 ไม่ได้ส ร้างแต่
6
เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแม่น้าโขง ครัง้ ที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึ่งเมืองสอง แบบ – การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน”. 7 สัมภาษณ์ คุณแสงจันทร์ (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557, โปรดสังเกตค้าว่า “ทุกข์อย่างไรก็ทุกข์อยู่อย่างนั้น” จากค้าบอกเล่า ของคุณแสงจันทร์ ซึ่งอาจตีความได้ว่าสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่มีนักท่องเที่ยวมากกับน้อยไม่ได้ท้าให้ธุรกิจของเธอต่างกันมาก นัก หากแต่ก็ยังคงเปิดท้าการได้อย่างเป็นปกติจนถึงปัจจุบัน ชวนให้ตั้งค้าถามว่า กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยในเชียงของมีวิธีการ รับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่เป็นทางการแบบใด จนท้าให้สามารถอยู่รอดได้โดยมีคุณภาพชีวิตเท่าเดิมได้ 8 มาจากการสังเกตการณ์ 9 การใช้ “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” อาจเกิดการแช่แข็งทางวัฒนธรรมที่ไม่สมั พันธ์กับวิถีชีวิตปัจจุบนั จะส่งผลให้บริเวณเมืองเก่า ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการท่องเที่ยวได้ เนื่องจากว่าการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติเพื่อที่จะมาสัมผัสกับวัฒนธรรมดั้งเดิม 7
ผลประโยชน์แก่ประชาชนในพื้นที่ แต่ยังสร้างผลเสียต่อคนในพื้นที่เช่นเดียวกันจึงถือได้ว่าเป็นความย้อนแย้งของ นโยบายดังกล่าว เพราะว่าในกระแสการพัฒนาที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามกลไกทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ก้าลังเติบโตท้าให้ที่ดินบริเวณเมืองใหม่จ้านวนมากตกเป็นของนักลงทุ นทั้งใน และต่างประเทศที่เข้ามาแสวงหาผลประโยชน์จากสะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 โดยการเข้ามาของเม็ดเงิน ในการลงทุนนั้น ประชาชนในท้องถิ่นจะได้รับผลประโยชน์จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวในบริเวณเมืองใหม่ แต่คง ไม่มากนักเนื่องจากว่าอ้าเภอเชียงของเป็นเมืองทางผ่านของนักท่องเที่ยวที่จะข้ามไปแหล่งท่องเที่ยวเป้าหมายใน การเดินทาง ในเมื่อการพัฒนาเมืองใหม่ไม่มีนโยบายมารองรับอย่างเป็นเหตุเป็นผลมากนัก ผลกระทบที่ตามมาคือ การทรุดโทรมของพื้นที่เมือง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิทธิการเข้าถึงทรัพยากรท้องถิ่นของผู้คนในท้องถิ่นก้าลังเริ่ม ลดถอยลง เนื่องจากไม่ได้มีการก้าหนดกฎเกณฑ์สิทธิการเข้าใช้ทรัพยากร “หน้าหมู่”10 อีกทั้งนโยบายหนึ่งเมืองสอง แบบก็ไม่ได้มีมาตรการที่จะเข้ามาดูแลจัดการพื้นที่เมืองใหม่ ส่วนมากจะให้ความส้าคัญกับเมืองเก่ามากกว่า จากเสียงของประชาชนในเมืองเก่าที่เป็นฐานเศรษฐกิจเก่าของอ้าเภอเชียงเรียกร้องอยากให้ภาครัฐกลับไป เปิดใช้ท่าเรือบั๊คเช่นเดิม จากค้าบอกเล่าของคุณปลายหนึ่งว่า “รายได้ ข องประชาชนในเมื อ งเก่า มาจากการเข้ ามาของนั กท่ องเที่ ย ว เมื่ อไม่ มี นักท่องเที่ยวเข้ามาท้าให้ประชาชนมี การปรับเปลี่ยนอาชีพและเดินทางออกไปท้างาน นอกพื้นที”่ 11 โดยต้องการให้นักท่องเที่ยวเดินทางข้ามระหว่างประเทศด้วยท่าเรือบั๊ค ซึ่งให้สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 เป็นการขนส่งโดยรถบรรทุกสินค้าและโลจิสติกส์เท่านั้น เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจในเมืองเก่ากลับมาครึกครื้น เหมือนเดิมและช่วยประชาชนกลับมาประกอบอาชีพเดิม พร้อมทั้งสร้างอาชีพใหม่ขึ้นมาเพื่อรองรับการเติบโตของ พื้นที่ชายแดนบนเศรษฐกิจของเมืองคู่ขนานต่อไป “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” จะด้าเนินต่อไปอย่างไร ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของประชาชนในตัวอ้าเภอเชียงของ จึงเป็นบทพิสูจน์ว่าจะรักษาวัฒนธรรมเมืองเก่าไว้ได้ มากเท่าใด เพื่อที่จะให้วัฒนธรรมด้าเนินไปพร้อมกับกระแสการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้ง อีกทั้งยังต้องสอดรับกับวิถีชีวิต ของชาวบ้านในพื้นที่ที่ไม่ใช่ชาวบ้านแบบเดิมที่ท้าแต่อาชีพเกษตรกรเพียงอย่างเดียว และจะมีการจัดการอย่างไร ต่อไปกับเมืองใหม่ที่คาดว่าในอนาคตจะมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างมากเพื่อให้มีลักษณะของการกระจาย รายได้ไปในตัว
10 11
สาธารณะสมบัติ common property สัมภาษณ์ คุณปลายหนึ่ง (นามสมมติ), 3 พฤษภาคม 2557 8
ส้านักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics Study : OBELS) มี หน้าที่ด้าเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อน้าไปสู่การ ยกระดับองค์ความรู้ที่เป็นฐานส้าคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม
Office of Border Economy and Logistics Study (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com. 9