No. 8, May 2014 หนึ่ งเมืองเชียงของ...กับสองช่วงเปลี่ยนผ่าน* CHIANG KHONG, ONE IDENTITY…TWO TRANSITION PERIODS ธิดารัตน์ บัวดาบทิพย์ ณัฐพรพรรณ อุตมา ในระหว่างทีภ่ ารกิจในการจัดทาแผนยุทธศาตร์การพัฒนาเมืองเชียงของอย่างมีดุลยภาพและยังยื ่ น ยัง คงมีก ารปฎิบ ัติก ารอย่างต่ อ เนื่ อ ง การเปิ ด เวทีจดั ท าแผนยุทธศาสตร์เ ชียงของระดับ ต าบลโดยการ ขับเคลื่อนของกลุ่มรักษ์เ ชียงของในโครงการศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการเมื อ งเชียงของภายใต้ แนวคิด “หนึ่ งเมืองสองแบบ” ได้เวียนครบทัง้ 7 ตาบลในอาเภอเชียงของ อันได้แก่ ตาบลริมโขง ตาบล เวียง ตาบลสถาน ตาบลศรีดอนชัย ตาบลครึง่ ตาบลบุญเรือง และตาบลห้วยซ้อ เมื่อเดือนเมษายน 2557 ที่ ผ่านมา นับว่าการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวของพื้นที่ชายแดนเชียงของเป็ นสิง่ ที่น่า สนใจติดตามอย่าง ใกล้ชดิ และต่อเนื่องเป็นอย่างยิง่
สรุปบทสัมภาษณ์ คุณเฉลิ มพล พงศ์ฉบับนภา พาณิ ชย์จงั หวัดเชียงราย
*
บทความนี้เป็ นส่วนหนึ่งของงานวิจยั เรือ่ ง “นโยบายส่งเสริมการลงทุน อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย” ภายใต้ชุดโครงการวิจยั เรือ่ ง “การจัดการพืน้ ทีช่ ายแดน” ซึง่ ได้รบั ทุนสนับสนุนจาก สกว . ฝา่ ยนโยบายชาติ และความสัมพันธ์ขา้ มชาติ (ฝา่ ย 1) 1
หลังจากทีส่ ะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ได้เปิดใช้อย่าง เป็นทางการเมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2556 นับว่าเป็ นช่วงเปลีย่ นผ่าน ช่วงแรกของเมืองชายแดนเชียงของ จากเดิมทีก่ จิ กรรมการขนส่งทาง เศรษฐกิจใช้ระเบียบปฏิบตั แิ ละข้อตกลงในขอบเขตของคาว่า “ระหว่าง ชายแดน” (Border Agreement) สะพานแห่งนี้นบั เป็ นจุดเริม่ ต้นแห่ง การใช้ระเบียบกติกาในระดับ “ระหว่างประเทศ” (International Agreement) การเปลี่ยนแปลงนี้ทาให้ชุมชนในเชียงของเมืองเก่าต้อง ปรับตัว ทีค่ วรเน้นการบริหารจัดการเมืองเก่าและเมืองใหม่ไปพร้อมๆ กับการคงความงดงามของชุมชนทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทีม่ ี คุณค่าควรแก่การรักษาและใช้สามารถเป็ นจุดดึงดูดนักท่องเทีย่ ว
จากแนวคิด “ระหว่างชายแดน” เปลีย่ นแปลงสู่ “ระหว่างประเทศ”
“ผมอยูส่ มุยมาก่อน...เมือ่ มีถนนตัดผ่านหลังบ้าน ผมยังต้อง “เปลี่ยน” หลังบ้านเป็นหน้าบ้าน” เฉลิมพล พงศ์ฉบับนภา 6 พฤษภาคม 2557
ชายแดนเชียงของนับเป็นจุดยุทธศาสตร์ทม่ี โี ครงสร้างพืน้ ฐาน เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษและเชื่อมต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปยัง ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดด้านการคมนาคมขนส่ง และช่วยลดต้นทุนค่าขนส่ง จึงเห็นควรให้มกี ารสนับสนุนเพื่อผลักดัน ให้มกี ารใช้การขนส่งผ่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 นี้ให้มาก ขึน้ ให้เต็มกาลัง (Capacity) การรองรับการขนส่ง โดยในตอนนี้ถอื เป็น ระยะแรกของการขับเคลื่อน หรือ “ช่วงเปลีย่ นผ่านระยะแรก” การ คมนาคมขนส่งผ่านสะพานแห่งนี้ยงั ไม่มากนัก จึงควรต้องอาศัยการ เจรจาร่วมกันทัง้ สามประเทศ คือ ไทย สปป.ลาว และจีนตอนใต้ เพื่อ หาแนวทางร่วมในการลดเงื่อนไขทีเ่ ป็ นอุปสรรคและเพิม่ ประสิทธิภาพ ทางการค้าการลงทุนร่วมกัน ทัง้ นี้ควรเป็ นการเจรจาทีเ่ น้นกรอบของ ระเบียงเศรษฐกิจ และในส่วนของประเทศไทยควรมองครอบคลุมถึงอีก 12 จังหวัดภาคเหนือนอกเหนือจากจังหวัดเชียงรายด้วย
การเปิ ดใช้สะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 นับเป็ น “ช่วงเปลีย่ นผ่าน” ช่วงแรก ของเมืองชายแดน เชียงของ
2
สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 นี้ นอกจากจะทาหน้าทีช่ ่วย ลดต้นทุนค่าขนส่งทางบกในการนาเข้าและส่งออกสินค้าระหว่าง ไทยสปป.ลาว-จีนตอนใต้ สะพานแห่งนี้ยงั ทาหน้ าที่เชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศในการไปมาหาสู่ระหว่างประเทศบ้านพี่เมืองน้องและ เชื่อมการลงทุนระหว่างประเทศด้วยเช่นกัน แต่ทงั ้ นี้ การผลักดัน “การ ลงทุน” ในพื้นที่ชายแดนเชียงของนัน้ ไม่ได้ขน้ึ อยู่กบั ปจั จัยด้าน ทาเล ทีต่ งั ้ (Location) เพียงอย่างเดียว โดยนับ ว่าเชียงของมีจุดเด่นที่เป็ น พื้นที่ยุทธศาสตร์ในการเป็ นเมืองหน้าด่าน แต่ เพื่อให้การลงทุนมีการ พัฒ นาและเป็ น ไปอย่า งมีป ระสิท ธิภาพนัน้ ยัง ขึ้น อยู่กับ กฏระเบีย บ ระหว่างประเทศ ทีต่ อ้ งช่วยเอือ้ อานวยความสะดวกให้กบั การลงทุนและ ค้าขายระหว่างประเทศด้วยเช่นกัน ทัง้ นี้เพื่อให้เกิด การพัฒนาแนว พืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North South Economic Corridor: NSEC) เป็ นไปตามการศึกษาของ ADB ให้ครบทัง้ 3 ด้าน คือ Transport Corridor การพัฒนาแนวพืน้ ที่การขนส่ง และยกระดับการพัฒนาไปสู่ Logistics Corridor การพัฒนาแนวพืน้ ทีโ่ ลจิสติกส์ เพื่อเป้าหมายการ พัฒนาในระยะที่สาม คือ Economic Corridor การพัฒนาแนวพื้นที่ เศรษฐกิจ
การผลักดันการ ลงทุนในเชียงของ นอกจากจุดเด่น ทางด้านทาเลที่ ตงั ้ (Location) แล้ว ยังต้องอาศัย “กฎระเบียบระหว่าง ประเทศ” ที่ ต้องสนับสนุนและ ช่วยเอื้ออานวย ความสะดวกอีก ด้วย
ภาพถ่ายบริเวณด่านพรมแดนเชียงของ จังหวัดเชียงราย ถ่ายโดย: ธิดารัตน์ บัวดาบทิพย์ เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557
3
หากจะย้าถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ -ใต้ เพื่อ อ านวยความสะดวกการค้าและการพัฒนาระหว่ างประเทศไทย สปป.ลาว พม่า เวีย ดนาม และสาธารณรัฐ ประชาชนจีน เพื่อ ลดต้น ทุ น ค่ า ขนส่ ง ในพื้น ที่ภ ายใต้ โครงการและทาให้การเคลื่อนย้ายสินค้าและคนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความ ยากจน สนับสนุ นการพัฒนาในพืน้ ทีช่ นบทและชายแดน เพิม่ รายได้และส่งเสริมการ ท่องเที่ยวในพื้นที่ การพัฒนาพื้นที่ชายแดนเชียงของมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อย เป็ นค่อยไป โดยจะพบว่าในระยะเปลี่ยนผ่านระยะแรกหลังจากที่ สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแห่งที่ 4 ได้เปิดใช้อย่างเป็นทางการ ความคึกคักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผ่านเส้นทางสะพานแห่ งใหม่แ ละโซนเชียงของเมืองใหม่ นัน้ ยังนับว่า มีน้อยกว่าที่ หลายๆ กลุ่มได้คาดหมายไว้ จึงเป็ นที่น่าติดตามถึงช่วงเปลี่ยนผ่านของเมืองเชียง ของในช่วงต่อไป การรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ในอนาคต อันใกล้น้ี คาดว่าจะทาให้การขับเคลื่อนความร่วมมือทางเศรษฐกิจในหลากหลายด้าน จะมีความรวดเร็วมากขึน้ อุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้าการลงทุนโดยมีสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 เป็ นทางเชื่อมน่ าจะผ่อนคลายลงได้ผ่าน “การเจรจา” ระหว่างประเทศ โดยเห็นควรให้การเจรจาดาเนินการโดยภาครัฐหรือส่วนกลางของ แต่ละประเทศและควรเน้นเจรจาในระดับระเบียงเศรษฐกิจและยกประเด็นการพูดคุย เพื่อ แก้ปญั หาและพัฒนาในเรื่องเชิงพื้นที่ชายแดน นักลงทุนคาดหวังการให้สทิ ธิ พิเศษและอานวยความสะดวกในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มากขึน้ แต่ทงั ้ นี้ การพัฒนา จะเป็ นไปได้อย่างรวดเร็วหรือช้านัน้ ย่อมขึน้ อยู่กบั ความพร้อมและงบประมาณของ ทางภาครัฐด้วย นับว่าเหตุการณ์ในช่วงหลังปี 2558 นี้ จะกลายเป็ น “ช่ วงเปลี่ยน ผ่าน” ช่วงทีส่ องของเมืองชายแดนเชียงของต่อไป
New Town: ระยะแรก มีการขับเคลื่อน อย่างค่อยเป็ นค่อยไป ความคึกคัก ของสะพานแห่งใหม่ ยังน้ อยกว่าที่ คาดหมาย กันไว้
“การเจรจา” ร่วมกันระหว่างประเทศ หลังจากการรวมตัวเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) ในปี 2558 คาดว่าจะเป็ น “ช่วงเปลี่ยนผ่าน” ช่วงที่ สอง ของเมืองเชียงของต่อไป
4
กิ ตติ กรรมประกาศ บทความนี้ได้นาเสนอบางส่วนของบทสัมพาษณ์ คุณเฉลิมพล พงศ์ฉบับนภา พาณิชย์จงั หวัดเชียงราย ในประเด็นสภาพแวดล้อม การอานวยความสะดวก กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ศักยภาพและ แนวนโยบายสนับสนุนการลงทุนในพืน้ ทีเ่ ชียงของ จังหวัดเชียงราย ภายใต้งานวิจยั เรื่อง “นโยบายส่งเสริม การลงทุนอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย” ซึง่ เขียนขึน้ เพื่อประมวลงานวิจยั เบือ้ งต้น ประกอบกับข้อมูลที่ ค้นคว้าเพิม่ เติม ในโอกาสนี้คณะผูว้ จิ ยั ฯ ขอขอบคุณ คุณเฉลิมพล พงศ์ฉบับนภา ทีส่ ละเวลาในการพูดคุย และแลกเปลีย่ นข้อมูลอันจะทาให้บทความนี้มคี วามสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ เอกสารอ้างอิ ง วิลาสินี แจ่มอุลติ รัตน์. สานักความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2552). แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) เชื่อมโยงไทย-พม่า/ ลาว-จีน. สานักงานประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ. (กันยายน 2554). การพัฒนาแนวพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจ (Economic Corridors Development). สานักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (ตุลาคม 2550). แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ (Economic Corridor) และเส้นทางเศรษฐกิจทีส่ าคัญในอนุ ภมู ภิ าคลุ่มแม่น้าโขง (GMS).
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics Study: OBELS) มีหน้าทีด่ าเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจยั ทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสูก่ ารยกระดับองค์ความรูท้ เ่ี ป็ นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึง่ ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวติ ในสังคม
Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
5