Working paper oct 2016 16

Page 1

OBELS WORKING PAPER No.16 , Oct 2016

ความสัมพันธ์ของการขยายตัวของค้าชายแดนและการเติบโต ทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย พรพินนั ท์ ยี่รงค์, ณัฐพรพรรณ อุตมา ที่มาและความสาคัญ การค้าชายแดนเริ่มเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงหลายปีที่ ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วการค้าชายแดนเป็นการค้าระดับเล็กที่เป็นรูปแบบของการค้าภายในพื้นที่ระหว่าง ชาวบ้านของฝั่งไทย และประเทศเพื่อนบ้าน หากแต่ปัจจุบันการค้ าชายแดนถูกมองในมุมที่กว้างขวางมากขึ้น จากที่เคยเน้นในการส่งออก และนาเข้าสินค้ากับประเทศที่มีแนวชายแดนเชื่อมต่อกัน เริ่มที่จะเชื่อมโยงไปยัง การค้ากับประเทศที่สาม ส่วนหนึ่งเป็น ผลจากการขยายตัวของกระแสโลกาภิวัต น์ ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนย้าย ของทุน แรงงาน สินค้า และทรัพยากรระหว่างประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญอย่าง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ทาให้เกิด การพัฒ นาเส้ น ทางคมนาคม และโครงสร้ างพื้ น ฐานบนระเบี ย งเศรษฐกิ จ เหนื อ -ใต้ (NSEC) และระเบี ย ง เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (EWEC) เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดความสะดวกในการขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศทางบก และทาให้เกิดการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีความร่วมมือ อื่นที่มีความสาคัญ ได้แก่ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) และยุทธศาสตร์ความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (ACMECS) เป็นต้น จากความสาคัญของการค้าชายแดน ทาให้รัฐบาลมองเห็นความสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ ชายแดน ในวันที่ 19 มิถุนายน จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และทาการ ประกาศพื้นที่ในการพัฒนาให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยแบ่งพื้นที่ในการพัฒนาออกเป็นสองระยะ 2557 ระยะที่ 1 ได้ แก่ จั งหวัด ตาก มุก ดาหาร สระแก้ว สงขลา และตราด ระยะที่ 2 ได้แ ก่ จัง หวั ดหนองคาย นราธิวาส เชียงราย นครพนม และกาญจนบุรี โดยการพัฒนาเขตเศรษฐกิจมีจุดประสงค์หลักในการกระจาย การพัฒนาให้ลงไปสู่พื้นที่ต่างๆ โดยการอาศัยการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในหลากหลายด้าน แต่พยายาม ที่จะเชื่อมโยงด้านต่างๆ เอื้อประโยชน์ให้เกิดการค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศที่สาม เป็นตัว ขับเคลื่อนเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาค และพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน พร้อมทั้งเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันในเวทีการค้าระดับโลก ฉะนั้น รัฐบาลต้องการที่จะให้เขตเศรษฐกิจช่วยดึงดูดการลงทุน จากภายนอก และกระตุ้นการลงทุนจากภายใน โดยมีการให้สิทธิประโยชน์ทั้งการลดหย่อน และยกเว้นภาษี เครื่องจักร ภาษีการนาเข้าวัตถุดิบเพื่อส่งออก ภาษีมูลค่าเพิ่ม และได้รับสิทธิประโยชน์จากการใช้แรงงานข้าม ชาติแบบถูกกฎหมาย เพื่อมาส่งเสริมให้เกิดการค้าชายแดน ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม นโยบายสนับสนุนการค้าชายแดน และการพัฒนาเขตเศรษฐกิจได้ให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ แก่ประชาชนในแต่ละพื้นที่ตามเป้าประสงค์ของการพัฒนาจริงหรือไม่


งานวิจัยชิ้นนี้ จึงมีจุดประสงค์เพื่อที่จะศึกษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมหภาคจากการขยายตัวของ การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย เพื่อตอบคาถามของประสิทธิภาพของการออกนโยบายในการพัฒนาผ่าน การส่งเสริมการค้าชายแดนของจังหวัดเชียงรายต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ส่วนที่ 2 ได้ทาการศึกษาการ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจังหวัดเชียงรายตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2556 และการค้าชายแดนทั้ง 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ และอาเภอแม่สาย ตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2558 ส่วนที่ 3 คือ การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของการขยายตัวของการค้าชายแดนและการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายด้วยผ่าน การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ และผลการศึกษาของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งใช้เครื่องมือทาง เศรษฐกิจมิติเพื่อทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระในแบบจาลองที่เรียกว่า การ ทดสอบ Granger Causality1 ส่วนสุดท้ายคือ การให้ข้อเสนอแนะและแนวทางในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงราย ภาพรวมการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย จากข้อมูลสถิติของสานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2558) ในรูปที่ 1 พบว่า ในปี 2557 มูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย ณ ราคาคงที่ (Real Gross Provincial Product: RGPP) มีการหดตัวร้อยละ 1.71 ลดลงจาก 53,193 ล้านบาท ในปี 2556 มาอยู่ที่ 52,252 ล้านบาท ในปี 2557 เป็นผลมาจากการหดตัวของภาคบริการถึงร้อยละ 3.58 ลดลงจาก 34,348 ล้านบาท ในปี 2556 มาอยู่ ที่ 33,117 ล้านบาท ในปี 2557 ขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมยังขยายตัวได้ดีอยู่ที่ร้อยละ 2.17 เพิ่มขึ้นจาก 6,717 ล้านบาท ในปี 2556 ไปอยู่ที่ 6,661 ล้านบาท ในปี 2557 เช่นเดียวกับภาคเกษตรที่มีการขยายตัวร้อยละ 4.85 เพิ่มขึ้นจาก 12,184 ล้านบาท ในปี 2556 ไปอยู่ที่ 12,448 ล้านบาท ในปี 2557 รูปที่ 1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงรายตั้งแต่ปี 2538 - 2556 40,000

RGPP CAGR 19 ปี = 3.57% ภาคเกษตร = 4.85% ภาคอุตสาหกรรม = 2.17% ภาคบริการ = 3.48%

30,000 20,000 10,000 0 2538

2540

2542

2544 ภาคเกษตร

2546

2548

ภาคอุตสาหกรรม

2550

2552

2554

2556

ภาคบริการ

ที่มา: สานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2558) เมื่อพิจารณาการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว ภาคเกษตรมีการขยายตัวของมูลค่า GPP ค่อนข้าง ดีกว่าภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ โดยภาคเกษตรมีการเติบโตเฉลี่ยสะสม (Compound Average Growth Rate: CAGR) ในระยะ 19 ปี ตั้งแต่ปี 2538 จนถึง 2557 อยู่ที่ร้อยละ 4.85 โดยในปี 2538 มูลค่าอยู่ 1

อัครพงศ์ อั้นทอง (2555) อ้างถึง Granger (1969)

1

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ที่ 5,064 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็น 12,448 ล้านบาท ในปี 2557 ขณะที่ภาคบริการมีการขยายตัวสะสมโดยเฉลี่ย รองมาอยู่ที่ร้อยละ 3.48 จากมูลค่า 17,299 ล้านบาท ในปี 2538 เพิ่มขึ้นเป็น 33,117 ล้านบาท ในปี 2557 และภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคที่มีการขยายตัวในระยะยาวต่าสุด แต่ยังอยู่ในแนวโน้มที่ดี อยู่ที่ร้อยละ 2.17 เพิ่ ม ขึ้ น จาก 4,469 ล้า นบาท ในปี 2538 เป็ น 6,717 ล้ า นบาท ในปี 2557 โดยภาพรวม เศรษฐกิ จ ของ เชียงรายกาลังเข้าสู่ภาวะซบเซา หรือ หดตัวร้อยละ 1.71 เป็นผลมาจากการขยายตัวที่ลดลงของภาคบริการที่ เป็นกาลังหลักของเศรษฐกิจเชียงรายเป็นสาคัญ แต่ในระยะยาวจากปี 2538 - 2557 เศรษฐกิจเชียงรายยังคง ขยายตัวสะสมได้ดีอยู่ที่ 3.57 รูปที่ 2 เปรียบเทียบโครงสร้างเศรษฐกิจเชียงรายปี 2538 และปี 2557 2 5 5 7

12.85%

2 5 3 8

63.34% 23.81% 64.47%

16.66% 18.87% ภาคบริการ

ภาคอุตสาหกรรม

ภาคเกษตร

ที่มา: สานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2558) ในส่วนของโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายจากรูปที่ 2 พบว่ามูลค่า GPP ภาคบริการเป็นส่วน สาคัญ ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมาตั้งแต่อดีต โดยในปี 2538 ภาคบริการมีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 64.47 ของ มูลค่า GPP รวม ลดลงเล็กน้อยไปอยู่ที่ร้อยละ 63.34 ของมูลค่า GPP รวม ในปี 2557 ขณะที่ภาคเกษตรเป็น ภาคที่มีความสาคัญรองลงมา อยู่ที่ร้อยละ 18.87 ของมู ลค่า GPP รวม ในปี 2538 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 23.81 ของมูลค่า GPP รวม ในปี 2557 ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคที่มีสัดส่วนน้อยสุดอยู่ที่ร้อยละ 16.66 ของ มูลค่า GPP รวม ในปี 2538 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 12.85 ของมูลค่า GPP รวม ในปี 2557 เห็นได้ว่าบทบาท ของภาคบริการยังคงอยู่ในอันดับต้นของการเติบโตทางเศรษฐกิจ แม้จะมีสัดส่วนลดลงเล็กน้อย แต่ภาคเกษตร เริ่มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มที่จะขยายตัวสูงขึ้นในอนาคต ขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมมี การเติบโตไม่มากนักทั้งปัจจุบันและช่วงที่ผ่านมา สถานการณ์การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย ในด้านของการค้าชายแดน จังหวัดเชียงรายถือว่ามีศักยภาพอย่างมาก เนื่องจาก เชียงรายเป็นเพียง จัง หวัดเดียวที่มีด่านชายแดนมากที่สุดในเชียงรายมากถึง 16 แห่ง อยู่ที่ 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ และอาเภอแม่สาย ซึ่งมีพื้นที่เชื่อมต่อในทั้ ง ทางน้าและทางบกกับประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว เมียนมาร์ รวมถึงประเทศแผ่นดินใหญ่อย่างจีนตอนใต้ ทาให้เกิดการค้าระหว่างกันมาโดยตลอด ส่วน ใหญ่การค้าชายแดนมีการขยายตัวในเกือบทุกปี (รูปที่ 3) โดยในปี 2558 การค้าชายแดนมีการหดตัวร้อยละ 12.53 จากปีก่อนที่มีการขยายตัวถึงร้อยละ 10.23 เช่นเดียวกันกับดุลการค้าที่ปีก่อนมีการขยายตัวร้อยละ 9.65 ก่อ นจะหดตัว ร้อยละ 14.43 ในปี 2558 ที่ผ่านมา การค้าชายแดนมี การขยายตัวเป็นบวกมาตลอด 2

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ขณะที่ดุลการค้ามีการหดตัวบ้างในปี 2547 ร้อยละ 15.65 และในปี 2549 ร้อยละ 5.75 อย่างไรก็ตาม ใน ระยะยาวการค้าชายแดนยังมีการขยายตัวที่ดี โดยมีการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 14.8 เช่นเดียวกับ ดุลการค้าที่มีการเติบโตสะสมโดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 18.11 รูปที่ 3 และ 4 การขยายตัวของการส่งออก การนาเข้า ค้ารวมและดุลการค้าปี 2547 - 2558 150% 100% 50% 0% 2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2554

2555

2556

2557

2558

-50% การค้ารวม

ดุลการค้า

80% 60% 40% 20% 0% 2547

-20%

2548

2549

2550

2551

2552 ส่งออก

2553 นาเข้า

ที่มา: สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2559) ทั้งนี้ สถานการณ์การนาเข้า-ส่งออกกาลังเข้าสู่ช่วงซบเซาอย่างมากในปี 2558 (รูปที่ 4) โดยมูลค่าการ นาเข้าหดตัวอยู่ที่ร้อยละ 6.19 น้อยกว่ามูลค่าการส่ง ออกที่มีการหดตัวถึงร้อยละ 13.32 การส่งออกที่หดตัว เป็นผลมาจากสถานการณ์ของเศรษฐกิจโลกที่กาลังชะลอตัวอย่างหนัก ส่งผลต่อการนาเข้าสินค้าจากประเทศคู่ ค้าหลักของประเทศไทย เมื่อรายได้จากการส่งออกลดลงก็จะส่งผลถึงการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศด้วย เช่นกัน อย่างไรก็ตาม การเติบโตโดยเฉลี่ยสะสมของการส่งออกอยู่ที่ร้อยละ 16.09 และการนาเข้าอยู่ที่ ร้อยละ 8.71 ยังมีสัญญาณในระยะยาวที่ค่อนข้างดี

3

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ตารางที่ 1 สัดส่วน และโครงสร้างสินค้าการนาเข้า-ส่งออกกับประเทศเพือ่ นบ้าน ประเทศ 5 อันดับสินค้านาเข้า เมียนมาร์ 1. สินแร่ โลหะและอื่นๆ (36.82%) ส่งออก 56.85% 2. ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้ นาเข้า 17.17% (20.21%) 3. โค กระบือ สุกร แพะ แกะ (11.09%) 4. พืชและผลิตภัณฑ์จากพืชอื่นๆ (6.56%) 5. เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมและ ส่วนประกอบ (2.23%) สปป.ลาว 1. ไม้แปรรูป (7.63%) ส่งออก 43.15% 2. พืชและผลิตภัณฑ์จากพืชอื่นๆ (5.04%) นาเข้า 82.83% 3. เคมีภัณฑ์และอนินทรีย์ (2.01%) 4. ธัญพืช (1.42%) 5. ผลิตภัณฑ์จากแร่อื่นๆ (1.13%)

1. 2. 3. 4. 5.

5 อันดับสินค้าส่งออก เครื่องดื่มแอลกฮอล์ (15.07%) เครื่องดื่มไม่มีแอลกฮอล์ (9.08%) น้ามันดีเซล (6.75%) น้ามันเบนซิน (5.92%) เหล็กและเหล็กกล้า (5.70%)

1. ไก่ (24.86%) 2. เนื้อและส่วนต้างๆของสัตว์ที่บริโภค ได้ (21.79%) 3. น้ามันดีเซล (12.00%) 4. สินค้าปศุสัตว์อื่นๆ (8.37%) 5. น้ามันเบนซิน (5.41%) ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2556)

สถานการณ์การส่งออกและนาเข้ากับประเทศเพื่อนบ้าน (ตารางที่ 1) พบว่าสัดส่วนมูลค่าการส่งออก ไปยังเมียนมาร์สูงกว่ามูลค่าการส่งออกไปยังสปป.ลาว โดยสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปเมียนมาร์อยู่ที่ร้อยละ 56.85 ขณะที่สัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปยังสปป.ลาวอยู่ที่ร้อยละ 43.15 ทั้งนี้สัดส่วนมูลค่าการนาเข้าสินค้า จากสปป.ลาวกลับสูงกว่ามูลค่าการนาเข้าสินค้าจากเมียนมาร์ โดยสัดส่วนมูลค่าการนาเข้าสินค้าจากสปป.ลาว อยู่ ที่ร้ อยละ 82.83 ขณะที่ สั ด ส่ว นมู ลค่ าการน าเข้า สิน ค้า จากเมี ยนมาร์อ ยู่ ที่ร้ อยละ 17.17 ในด้า นของ โครงสร้างของสินค้านาเข้า-ส่งออกของทั้ง 2 ประเทศค่อนข้างแตกต่างกันมาก โดยสินค้าที่มีมูลค่าการนาเข้า สูงสุดจากเมียนมาร์ คือ สินแร่โลหะและอื่นๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 36.82 และสินค้าที่มีมูลค่าการส่ง ออก สูงสุดไปเมียนมาร์ คือ เครื่องดื่ม แอลกฮอล์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.07 ส่วนมูลค่าของสินค้าที่นาเข้าสูงสุด จากสปป.ลาว คือ ไม้แปรรูป คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.63 และมูลค่าของสินค้าที่ส่งออกสูงสุดไปสปป.ลาว คือ ไก่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24.86 เห็นได้ว่าสินค้าส่วนใหญ่ที่นาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านเป็นสินค้าประเภท ทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่น สินแร่ ไม้เปรรูป แต่สินค้านาเข้าเป็นเครื่องอุปโภค-บริโภค และพลังงาน ซึ่งการ นาเข้าจากเมียนมาร์ค่อนข้างมีกระจุกตัวของสินค้ามากกว่าการนาเข้าจากสปป.ลาว แต่การส่งออกไปยังสปป. ลาวมีการกระจุกตัวของสินค้ามากกว่าการส่งออกไปเมียนมาร์ ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศและการเติบโตทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ ได้เริ่มต้นจากการแสวงหากาไรจากการค้าของลัทธิ พาณิชย์นิยม เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งให้กับประเทศ สู่การสะสมทุนในรูปแบบของทองคาและโลหะเงิน รัฐได้มีการ ดาเนินนโยบายทางการค้าแบบเกินดุล หรือทาให้เกิดการส่ง ออกที่มากกว่าการนาเข้า อย่างไรก็ตาม ลัทธิ ดังกล่าวเป็นการสนับสนุนให้แต่ละประเทศไม่เปิดตลาด ฉะนั้น การค้าระหว่างประเทศจึงไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เนื่องจาก มีผู้ที่ต้องการขายสินค้าเพียงฝ่ายเดียว เป็นผลให้ลัทธิเสรีนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาท โดยทฤษฎีแรกได้ ถูกนาเสนอโดย Smith (1776) ภายใต้กฎการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (absolute advantage) โดยอาศัยการ 4

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


แบ่งงานกันทา (division of labor) และความเชี่ยวชาญ (specialization) ที่ทาให้คนต้องผลิตเฉพาะอย่าง ซึ่ง จะทาให้เกิดความชานาญ เมื่อเกิดความชานาญแล้วจะทาให้สามารถผลิตสินค้าได้เพิ่มขึ้น และส่งออกไปแลก กับสินค้าของประเทศอื่น ทุกประเทศก็จะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ต่อมา Ricardo (1817) ได้ทาการพัฒนาแนวคิด เพิ่ ม เติ มเกี่ ย วกับ การผลิ ต เพื่ อส่ ง ออกว่ า ประเทศควรที่ จ ะมีก ารผลิต สิ น ค้ าที่ ตั ว เองมี ค วามได้ เ ปรี ย บเมื่ อ เปรียบเทียบกับประเทศอื่น แม้ว่าสินค้าบางชนิดของประเทศตนเองจะมีต้นทุนการผลิตที่ต่ากว่า และการ พัฒนาแนวติดต่อยอดสุดท้ายของจากสานักคลาสสิกสู่สานักนีโอคลาสสิก คือ Heckscher-Ohlin (1933) ได้ เสนอว่าทรัพยากรเป็นปัจจัยหลักในการกาหนดความได้เปรียบของการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก โดยพิจารณาจาก ต้นทุนของปัจจัยการผลิต คือ ทุน และแรงงาน หากประเทศหนึ่ง มีปัจจัยการผลิตมากกว่าอีกประเทศหนึ่ง แสดงว่าต้นทุนของปัจจัยการผลิตในประเทศนั้นต้องต่ากว่าอีกประเทศ (ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์, 2534) โดยทฤษฎี ที่ได้รับการพัฒนา มีจุดประสงค์หลักในการเพิ่มผลผลิต ส่งออก และนารายได้กลับเข้าสู่ประเทศ ทั้งนี้ การค้าระหว่างประเทศมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากการค้า ระหว่างประเทศ ทาให้เกิดการส่งออกมากขึ้น ก่อให้เกิดรายได้สู่ประเทศ ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ต่อ สินค้าและบริการภายในประเทศ ฉะนั้นเมื่อมีความต้องการสูงขึ้น ผู้ผลิตก็จะเพิ่มผลผลิตของสินค้าและบริการ และมีการนาเข้าเครื่องจักร และวัตถุดิบในการผลิต ตลอดจนเพิ่มการจ้างงาน นอกจากนี้ การค้าระหว่างช่วย ให้เกิดการใช้ทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนาไปผลิตสินค้าที่มีความได้เปรียบ และลดการผลิตสินค้าที่ไม่มีความเชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ในด้านของผลประโยชน์ต่อตลาด จากการขยายตัวของการ ผลิตสินค้าและบริการ จะส่งผลให้เกิ ดการผลิตที่ประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) พร้อมทั้งการซึม ซับทักษะความรู้และเทคโนโลยีที่มีผลอย่างมากต่อการพัฒนาประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต สุดท้าย คือ ทาให้เกิดการเคลื่อนย้ายทุนข้ามประเทศในรูปแบบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) จากประเทศพัฒนาไปสู่ประเทศกาลังพัฒนา จากความต้องการแสวงหาปัจจัยการผลิต ราคาถูก เพื่อผลิตสินค้าและส่งออก (นิฐิตา เบญจมสุทิน, 2548) จากอดีตจนถึง ปัจจุบั น มี งานวิจัยที่ ไ ด้ท าการศึก ษาเกี่ ยวกั บความสัม พันธ์ ระหว่างการเติบโตทาง เศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศจานวนมาก และมีผลการศึกษาที่ออกมาแตกต่างกัน จากการศึกษาของ Chaudhry et al. (2010) และ Busse and Königer (2012) พบว่าการค้าระหว่างประเทศส่งผลต่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจในทางเดียว ขณะที่ Iqbal et al. (2010) พบว่าการนาเข้าส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ ในทางเดียว แต่พบความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างการส่งออกและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ Saibu Muibi Olufemi (2004), Saibu Muibi Olufemi (2004), ABBAS (2012) และ Shihab and Soufan (2014) กลับ พบว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจส่งผลต่อการเปิดการค้าในทางเดียว ส่วน Ramos (2001) และ Gries and Redlin (2012) พบว่าการค้าและการเติบโตทางเศรษฐกิจต่างมีความสัมพันธ์ต่อกัน เมื่อทาการหาความสัมพันธ์โดยเบื้องต้นระหว่างการขยายตัวของการค้าชายแดนกับการเติบโตทาง เศรษฐกิจในสองทาง พบว่าการค้าทั้งการค้าและการเติบโตทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์ต่อกันในเชิงบวก จาก ค่า R-square อยู่ที่ร้อยละ 95.42 แสดงทั้งสองตัวแปรค่อนข้างมีอิทธิพลต่อกันในระดับสูง โดยเศรษฐกิจซึ่งใช้ ตัวชี้วัดจากมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงรายมีผลต่อการค้าชายแดนสูงกว่าที่การค้าชายแดนมีผล ต่อเศรษฐกิจ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์อยู่ที่ 1.91 หมายความว่า หากมีการเพิ่มขึ้นของการเติบโตทาง เศรษฐกิจ ร้อยละ 1 การค้า ชายแดนจะเพิ่มขึ้ นร้อ ยละ 1.91 ขณะที่ ผลประโยชน์ จากการค้าชายแดนต่ อ

5

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


เศรษฐกิจมีค่าประสิทธิ์อยู่ที่ 0.5 หมายความว่าหากการค้าชายแดนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 เศรษฐกิจจะเติบโตมาก ขึ้นร้อยละ 0.5 รูปที่ 5 และ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างการค้าชายแดนและเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย การค้าชายแดนต่อเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจต่อการค้าชายแดน

60000

45000 40000 35000 30000 25000 20000 15000 10000 5000 0

50000 40000 30000

y = 0.5002x + 32955 R² = 0.9542

20000 10000 0 0

10000 20000 30000 40000 50000

y = 1.9075x - 61938 R² = 0.9542

0

10000 20000 30000 40000 50000 60000

ที่มา: สานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2558) แม้ว่าจะเป็นการหาความสัมพันธ์ในเบื้องต้น แต่ข้อมูลของมูลค่าการค้าชายแดน และการเติบโตของ เศรษฐกิจเชียงรายก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันดังในรูปที่ 5 และ 6 ฉะนั้น จึงมีความเป็นไปได้ว่าสองตัวแปร ดัง กล่ า วจะมี ค วามสั ม พัน ธ์ ต่ อ กั น อย่า งมี นั ย ส าคัญ จึ ง ต้ อ งมีก ารใช้ เ ครื่อ งมื อ ทางเศรษฐศาสตร์ ที่ เ รี ย กว่ า causality test เพื่อหาความสัมพันธ์ดังกล่าวในเชิงลึก ข้อมูลและเครื่องมือเพื่อหาความสัมพันธ์ ข้อ มูลของผลิต ภัณ ฑ์ม วลรวม ณ ราคาคงที่ ของจัง หวั ดเชีย งราย รายสาขา เก็ บรวบรวมมาจาก สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสัง คมแห่งชาติ ขณะที่ มูลค่าการค้าชายแดน การส่งออก และ การนาเข้าเก็บรวบรวมมาจากสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ซึ่งถูกเก็บมาจากด่านศุลกาการเชียงของ เชียง แสน และแม่สาย ระยะเวลาตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2557 ตารางที่ 2 ข้อมูลอนุกรมเวลาของตัวแปรด้านการค้าชายแดนและเศรษฐกิจปี 2546 - 2557 2546 BX 5300 BM 1575 BT 6875 AG 8151 FIS 415 MIN 143 6

2547 2548 2549 5260 8934 8942 2118 1870 2284 7378 10804 11226 7967 9236 8477 513 807 906 145 198 250

2550 10006 2508 12513 9235 893 281

2551 11208 2505 13714 9387 697 245

2552 11797 2603 14400 9441 715 289

2553 18006 3071 21077 9784 730 314

2554 26241 3531 29772 10372 743 406

2555 31959 4019 35978 11576 638 554

2556 33294 4074 37368 11522 662 522

2557 36615 4575 41189 11864 584 488

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


MAN ENER BUD SALE SER TNC FIN REAL PUB ED HNS CNP HEP

2546 1654 587 1870 4890 1014 1994 1810 3255 3478 3052 1033 502 277

2547 1842 639 1525 4971 1108 2570 1834 3478 3488 3254 1149 621 194

2548 1803 655 1822 5352 1139 2390 1976 3762 3724 3545 1202 664 331

2549 1942 615 1767 5280 1402 2496 2120 4203 3196 3613 1270 630 290

2550 2237 653 2010 5815 1756 2467 2217 4235 2972 3879 1314 612 132

2551 2643 719 2056 6241 1756 2470 2166 3585 2571 4008 1449 630 384

2552 2549 860 2153 6299 1579 2464 2497 3787 2627 4146 1701 695 301

2553 2425 934 1492 6864 1612 2664 2664 3955 3066 4420 1761 611 354

2554 2555 1018 1675 6848 1933 2701 2815 4372 3345 4731 1869 665 321

2555 2619 1163 1597 7800 2208 3088 3297 4310 3817 5216 1994 738 244

2556 2669 1163 2307 7924 2362 3509 3788 5018 3162 5337 2028 799 421

2557 2672 1232 2325 8429 2073 3323 4257 3887 2317 5712 2053 795 271

ที่มา: สานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2558) คาอธิบายตัวแปร: ตัวแปรด้านการค้าชายแดน

ตัวแปรด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจ

BX = การส่งออกชายแดน BM = การนาเข้าชายแดน BT = การค้าชายแดน

AG = เกษตรกรรม FIS = การประมง MIN = การทาเหมืองแร่ MAN = อุตสาหกรรม ENER = พลังงาน BUD = ก่อสร้าง SALE = ค้าปลีกค้าส่ง SER = โรงแรม และร้านอาหาร

TNC = คมนาคมและการสื่อสาร FIN = ตัวกลางทางการเงิน REAL = อสังหาริมทรัพย์ PUB = การบริหารราชการ ED = การศึกษา HNS = การบริการด้านสุขภาพและสังคม CNP = การให้บริการด้านชุมชน สังคมฯ HEP = ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล

เครื่ อ งมื อ ที่ จ ะน ามาใช้ ใ นการตรวจสอบความสั ม พั น ธ์ ข องตั ว แปรในแบบจ าลอง คื อ Granger Causality Test เพื่อใช้ในการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองว่ามีการกาหนดซึ่งกันและกันแบบสองทิศทาง หรือเพียงทิศทางเดียว ทาให้สามารถตรวจสอบความเป็นเหตุเป็นผลของตัวแปร 2 ตัว Granger (1969) ไม่ว่า จะเป็นตัวแปรตาม หรือตัวแปรอิสระในแบบจาลอง โดยสมมติฐานหลักได้สมมติตัวแปรที่เป็นข้ อมูลอนุกรม เวลา (time series data) 2 ตัว ดังนี้ H0 = X ไม่เป็นสาเหตุของ Y (Y does not Granger cause X) H0 = Y ไม่เป็นสาเหตุของ X (X does not Granger cause Y) 7

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


หากค่าสถิติ F ที่คานวณได้มีค่าสูงกว่าค่าวิกฤต (P-value < Critical Value) แสดงว่า ปฏิเสธ สมมติฐานหลักที่ว่า X หรือ Y ไม่เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ Y หรือ X หมายความว่า X หรือ Y เป็น สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ Y หรือ X ผลการศึกษา จากการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านการค้าชายแดนและมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาที่ในแต่ละสาขาการผลิตด้วย Granger Causality Test ในส่วนของมูลค่าการส่งออก (ตารางที่ 3) พบว่า ความสัมพั นธ์ระหว่า งตัวแปรทางเศรษฐกิจต่างๆและการส่ง ออกเป็ นความสัม พันธ์ในทางเดียว โดยสาขา พลังงาน เป็นสาขาการผลิตเดียวทื่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่ง ออก ขณะที่การเปลี่ยนแปลง มูลค่าการส่งออกเป็นเป็นสาเหตุจาก 3 ตัวแปร ได้แก่ สาขาเกษตรกรรม เหมืองแร่ และคมนาคม/การสื่อสาร ตารางที่ 3 ผลการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าการส่งออกและเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย สมมติฐานหลัก F-Statistic มูลค่าการส่งออกเป็นสาเหตุของสาขาเกษตรกรรม 6.77 มูลค่าการส่งออกเป็นสาเหตุของสาขาเหมืองแร่ 7.37 สาขาพลังงานเป็นสาเหตุของการมูลค่าการส่งออกชายแดน 6.52 มูลค่าการส่งออกเป็นสาเหตุของสาขาคมนาคมและการสื่อสาร 14.24 ที่มา: จากการคานวณของผู้วิจัย หมายเหตุ : * มีนัยทางสถิติอยู่ที่ระดับ 0.05 และ ** มีนัยทางสถิติอยู่ที่ 0.01

P-value 0.038* 0.032* 0.041* 0.009**

ในส่วนของมูลค่าการนาเข้า (ตารางที่ 3) พบว่ามี 2 ตัวแปรที่เป็นสาเหตุต่อการเปลี่ยนแปลงของมูลค่า การนาเข้า ได้แก่ สาขาการบริการด้านสุขภาพ และสาขาลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล ขณะที่ มูลค่าการ นาเข้าที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นผลจากสาขาเกษตรกรรม เหมืองแร่ และการบริการด้านชุมชนและสังคม ตารางที่ 5 ผลการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าการนาเข้าและเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย สมมติฐานหลัก F-Statistic มูลค่าการนาเข้าเป็นสาเหตุของสาขาเกษตรกรรม 19.85 มูลค่าการนาเข้าเป็นสาเหตุของสาขาเหมืองแร่ 5.88 สาขาการบริการด้านสุขภาพเป็นสาเหตุของการมูลค่าการนาเข้าชายแดน 8.53 มูลค่าการนาเข้าเป็นสาเหตุของสาขาการให้บริการด้านชุมชนและสังคม 7.51 สาขาลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคลเป็นสาเหตุของการมูลค่าการนาเข้าชายแดน 9.86 ที่มา: จากการคานวณของผู้วิจัย หมายเหตุ : * มีนัยทางสถิติอยู่ที่ระดับ 0.05 และ ** มีนัยทางสถิติอยู่ที่ 0.01

P-value 0.004** 0.049* 0.024* 0.031* 0.018*

ต่อมา ในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างการค้าชายแดนและเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย (ตารางที่ 6) พบว่าการเปลี่ยนแปลงของการค้าชายแดนเป็นผลมาจากสาขาการผลิต 3 สาขา ได้แก่ สาขาเหมืองแร่ สาขาคมนาคมและการสื่อสาร และสาขาการให้บริการด้านชุมชนและสังคม ขณะที่ การเปลี่ยนแปลงของสาขา การผลิตที่เป็นสาเหตุจากการค้าชายแดน คือ สาขาเกษตรกรรม และสาขาพลังงาน 8

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ตารางที่ 6 ผลการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าการค้าชายแดนและเศรษฐกิจ ของจังหวัดเชียงราย สมมติฐานหลัก F-Statistic P-value มูลค่าการค้าชายแดนเป็นสาเหตุของสาขาเกษตรกรรม 8.29 0.026* สาขาเหมืองแร่เป็นสาเหตุของมูลค่าการค้าชายแดน 8.33 0.026* มูลค่าการค้าชายแดนเป็นสาเหตุของสาขาพลังงาน 6.26 0.044* สาขาคมนาคมและการสื่อสารเป็นสาเหตุของมูลค่าการค้าชายแดน 12.87 0.011* สาขาการให้บริการด้านชุมชนและสังคมเป็นสาเหตุของมูลค่าการค้าชายแดน 12.49 0.011* ที่มา: จากการคานวณของผู้วิจัย หมายเหตุ : * มีนัยทางสถิติอยู่ที่ระดับ 0.05 และ ** มีนัยทางสถิติอยู่ที่ 0.01 เมื่อทาการตรวจสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆด้านการค้าชายแดน ได้แก่ มูลค่าการค้าชายแดน มูลค่าการส่งออก และมูลค่าการนาเข้า และผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย ณ ราคาคงที่ พบว่าตัวแปร ด้านการค้าชายแดนมีความสัมพันธ์ในทางเดียวต่อเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย หมายความว่ามูลค่าการค้า การส่งออก และการค้าชายแดนเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิของจังหวัดเชียงราย แต่เศรษฐกิจ ของจังหวัดเชียงรายไม่ได้เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรด้านการค้าชายแดน ทั้งนี้ มูลค่าการค้า และการส่งออกชายแดนมีตัวเลขของค่าทางสถิติที่เหมือนกัน เนื่องจาก การส่งออกเป็นสัดส่วนหลักของการค้า ชายแดน ตารางที่ 7 ผลการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านการค้าชายแดนและเศรษฐกิจเชียงราย สมมติฐานหลัก F-Statistic P-value การค้าชายแดนเป็นสาเหตุของเศรษฐกิจ 8.23703 0.0262 เศรษฐกิจเป็นสาเหตุของการค้าชายแดน 1.06772 0.411 การส่งออกชายแดนเป็นสาเหตุของเศรษฐกิจ 8.23703 0.0262 เศรษฐกิจเป็นสาเหตุของการส่งออกชายแดน 1.06772 0.411 การนาเข้าแดนเป็นสาเหตุของเศรษฐกิจ 6.30515 0.043 เศรษฐกิจเป็นสาเหตุของการนาเข้าชายแดน 0.90674 0.4613 ที่มา: จากการคานวณของผู้วิจัย หมายเหตุ : * มีนัยทางสถิติอยู่ที่ระดับ 0.05 และ ** มีนัยทางสถิติอยู่ที่ 0.01 สรุปและข้อเสนอแนะ ในหลายปี ที่ผ่ า นมา การค้า ชายแดนเข้ ามาเป็ นส่ ว นหนึ่ง ในแผนการพัฒ นาเศรษฐกิ จของจั ง หวั ด เชียงราย ซึ่งเป็นหนึ่งในมิติของการพัฒนาเพื่อการเติบโต และเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน โดยทั้ งรัฐบาล กลางพยายามที่จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือการค้าชายแดน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อให้กลุ่มประเทศ GMS และ ASEAN+6 มีการแข่งขันที่เสรี นอกจากนี้ ได้มีการวางแผนให้เกิดเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ชายแดน โดยใช้ประโยชน์จากอาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ และอาเภอแม่สายที่มีพื้นที่เชื่อมต่อกับประเทศอย่าง 9

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


สปป.ลาว เมียนมาร์ และจีนตอนใต้ ซึ่งได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการไปในปี 2558 แต่ยังติดปัญหาในเรื่อง ของการจัดสรรพื้นที่ที่แน่นอน ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้ จึงมีจุดประสงค์ในการศึกษาให้เห็นถึงประโยชน์จากการค้า ชายแดนต่อเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย อย่างไรก็ตาม การเติบโตทางเศรษฐกิจอาจเป็นปัจจัยสาคัญในการ กระตุ้นให้เกิดการค้าชายแดน ทาให้จาเป็นต้องศึกษาความสัมพันธ์ทั้งสองทาง และวิเคราะห์เชิงลึกลงไปในแต่ ละสาขาการผลิต จากผลการศึกษาการตรวจสอบความสัมพันธ์ของการค้าชายแดนที่ใช้ตัวแปรของมูลค่าการค้า การ ส่งออก และการนาเข้า และเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายที่ใช้ตัวแปรของผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาคงที่ (ดัง รูป ที่ 7) โดยมี การใช้ ข้อ มูลตั้ งแต่ปี 2546 - 2557 เป็น ระยะเวลา 11 ปี พบว่า มูล ค่ าส่ ง ออกมี ผลต่ อการ เปลี่ยนแปลงของสาขาการเกษตรกรรม เหมืองแร่ และคมนาคม/การสื่อสาร และสาขาพลังงานเป็นเหตุต่อการ เปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่งออกอย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่ สาขาการบริการด้านสุขภาพ และสาขาลูกจ้างใน ครัวเรือนส่วนบุคคลส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าการนาเข้า โดยที่มูลค่าการนาเข้าส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของสาขาเกษตรกรรม สาขาเหมืองแร่ และสาขาบริการชุมชนและสังคม ส่วนความเปลี่ยนแปลง ของการค้าชายแดนได้รับอิทธิพลจากสาขาเหมืองแร่ คมนาคม/การสื่อสาร และการให้บริการชุมชน/สังคม รวมทั้งการค้าชายแดนเป็นสาเหตุต่อการเปลี่ยนแปลงในสาขาเกษตรกรรม และสาขาพลังงาน ทั้งนี้ จากการ ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านการค้าชายแดน และผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาที่ของจัง หวัด เชียงรายโดยไม่แยกสาขา พบว่าการค้า การส่งออก และการนาเข้าชายแดนเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ หากแต่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรการค้าชายแดน รูปที่ 7 สรุปการตรวจสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรด้านการค้าชายแดนและเศรษฐกิจ

ที่มา: สรุปโดยผู้วิจัย 10

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ทาให้สรุปได้ว่า แม้การค้าชายแดนมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในเชียงราย โดยเฉพาะในด้านการ ส่ ง ออก แต่ เ ป็ น ผลกระทบที่ ค่ อ นข้ า งกระจุ ก ตั ว อยู่ ใ นสาขาการผลิ ต บางสาขา แทนที่ จ ะมี ก ารกระจาย ผลประโยชน์ ฉะนั้นการส่งเสริมการค้าชายแดนถือว่ารัฐบาลออกนโยบายและแผนการพัฒนาเศรษฐกิจมาได้ถูก ทาง แต่ควรที่จะการกระจายการพัฒนาทางเศรษฐกิจให้มีความครอบคลุมไปในหลากหลายภาคการผลิต เพื่อ ช่วยลดความเหลื่อมล้าในการพัฒนาสู่ความยั่งยืนในอนาคต

เอกสารอ้างอิง การประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (2558) กาหนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2. ประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ (2534) ความได้เปรียบทางเศรษฐกิจและความสาเร็จทางอุตสาหกรรม, วารสาร เศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์ 3(2): 206-255. นิฐิตา เบญจมสุทิน (2548) เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2558) ข้อมูลสถิติผลิตภัณฑ์มวลของจังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2538 - 2557. ฐานข้อมูล CEIC. สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย (2559) ข้อมูลสถิติมูลค่าการค้าชายแดนด่านจังหวัดเชียงรายปีพ.ศ. 2547 2558. สานักงานจังหวัดเชียงราย (2557) แผนพัฒนาจังหวัดเชียงรายพ.ศ. 2557 - 2560. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2559. อัครพงศ์ อั้นทอง (2555) เศรษฐมิติว่าด้วยการท่องเที่ยว. โครงการเมธีวิจัยอาวุโส. สานักงานกองทุนสนับสนุน งานวิจัย. หน้า 39-41. Chauadhry et al. (2010) Exploring the causality relationship between trade liberalization, human capital and economic growth: Empirical evidence from Pakistan. Journal of Economics and International Finance Vol. 2(8): 175-182. 11

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


Francisco F. Ribeiro Ramos. (2000) Exports, imports, and economic growth in Portugal: evidence from causality and co-integration analysis. Economic Modelling 18: 613-623. R. Shihab and T. Soufan. (2014) The Causal Relationship between Exports and Economic Growth in Jordan. International Journal of Business and Social Science 5(3): 302-308. Muhammad Shahzad Iqbal. (2010) Causality Relationship between Foreign Direct Investment, Trade and Economic Growth in Pakistan. Journal of Asian Social Science 6(9): 82-89. M. Busse and J. Königer. (2012) Trade and Economic Growth: A Re-examination of the Empirical Evidence. Hamburg Institute of International Economics. Research Paper 123: 1-21. Saibu. Muibi Olufemi. (2004) Trade Openness and Economic Growth in Nigeria: Further Evidence on the Causality Issue. South African Journal of Economic and Management Sciences 7(2): 229-314. Shujaat ABBAS. (2012) Causality between Exports and Economic Growth: Investigating Suitable Trade Policyfor Pakistan. Eurasian Journal of Business and Economics 5(10): 91-98. T. Gries and M. Redlin. (2012) Trade Openness and Economic Growth: A Panel Causality Analysis. Center of International Economics. Working Paper Series 6: 1-19.

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. +6653916680 Email: obels@mfu.ac.th

12

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.