OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
ความเหลือ่ มล้าในการกระจายรายได้ การศึกษา และสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย พรพินันท์ ยี่รงค์ สิทธิชาติ สมตา ปฐมพงศ์ มโนหาญ ณัฐพรพรรณ อุตมา บทคัดย่อ ความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยในอดีตก่อนหน้าที่จะมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาตินั้น มาจากสภาวะเศรษฐกิจที่รัฐบาลเป็นผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมเกือบทั้งหมด โดยไม่มีการ ส่งเสริมภาคเอกชนให้เข้ามาด้าเนินการมากนัก ภาคเอกชนที่ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐมักเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับภาครัฐบาล หรืออาจเรียกว่าเป็นสภาวะเศรษฐกิจในลักษณะทุนนิยมขุนนาง และเป็นเหตุให้เกิดการกระจุก ตัวของการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่ที่ชนชั้นน้า ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการริเริ่มหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย ด้วยการจัดท้าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ 1 พ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2509 ถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ 3 พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2519 ระยะเวลาของการพัฒนาเศรษฐกิจของทั้ง 3 แผนพัฒนาฯ ไม่ได้มองถึงความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะเกิดขึ้น แต่เน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจใน ด้า นต่ า งๆ ไม่ ว่า จะเป็น ด้ านการเกษตร อุต สาหกรรม พัฒ นาก้าลั งคน และยกระดับ การผลิ ต เพื่ อเพิ่ม รายได้ ให้ ประชาชนสูงขึ้น พร้อมทั้งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษา สาธารณูปโภค การคมนาคม เพื่ออ้านวย ความสะดวกในการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศและระหว่างประเทศ ท้าให้การพัฒนาเศรษฐกิจกระจุกตัวอยู่ที่ชนชั้น น้าของเมืองใหญ่ และส่งผลให้เกิดความแตกต่างและช่องว่างของรายได้ ของประชากรและระหว่างภูมิภาคต่างๆ ของ ประเทศเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า ความแตกต่างระหว่างรายได้ที่เกิดขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากแนว ทางการพัฒนาที่เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพและอัตราการขยายตัวของการผลิตและรายได้ส่วนรวมเป็นหลัก จึงท้าให้ผู้ที่ อยู่ใกล้บริการขั้นพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและปัจจัยการผลิต สามารถใช้ประโยชน์จากบริการเหล่านี้ในการเพิ่ม ผลผลิตและรายได้ของตนได้มากกว่าผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือผู้ที่ขาดปัจจัยการผลิต จึงท้าให้ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศเพิ่มขึ้น และท้าให้เกิดการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม ต่อมาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ 4 ได้มีนโยบายลดช่องว่างในฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสู่ประชาชนให้ลดน้อยลง โดยมีการกระจายความมั่งคั่งลงสู่ หัวเมืองชนบทต่างๆ เช่น โครงการจัดสร้างโรงเรียนในชนบท โครงการพัฒนาชนบทยากจนที่มีเป้าหมาย “พออยู่พอ กิน” โครงการจัดสร้างโรงพยาบาลอ้าเภอ เป็นต้น อย่างไรก็ตามแม้ว่ารัฐบาลมีนโยบายการกระจายความมั่งคั่งสู่หัว เมืองชนบทดังกล่าว แต่ความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจและสังคมก็ยังคงไปกระจุกตัวอยู่ที่ชนชั้นน้า อาจกล่าวได้ว่า แนว ทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ดังกล่าว ไม่ได้ท้าให้เกิดการลดความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจและสังคมแต่อย่างใด แม้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในทุกประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อ ท้าให้ประเทศมี การเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มของประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศที่ก้าลังพัฒนา แต่ประเทศเหล่านี้มักมี ช่องว่ างความเหลื่อมล้้ าของการพั ฒ นา นั่ นเป็ น เพราะว่ า สิ่ งที่ พั ฒ นานั้ น ไม่ไ ด้ น้ ามาสู่ ประชากรทุ กคนที่ อาศัย อยู่ ภายในประเทศนั้นๆ นอกจากนี้ประเทศที่ก้าลังพัฒนาส่วนมากมักจะเกิดความเหลื่อมล้้าค่อนข้างมาก เนื่องจากว่ากลุ่ม ประเทศที่ก้าลังพัฒนาจะได้รับความนิยมจากการกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว เข้ามาลงทุนในประเทศที่ก้าลังพัฒนาจึง ท้าให้เกิดอาชีพและการแสวงหาอาชีพใหม่เกิดขึ้นมากมาย เช่น การเข้ามาของเซเว่น อีเลฟเว่น พร้อมทั้งแนวคิดของ การเกิดการขายแบบแฟรนไชส์ที่ได้รับมาจากบรรษัทข้ามชาติ และน้าไปใช้ในเชิงธุรกิจหรือพาณิชย์ เช่น ชายสี่บะหมี่ เกี๊ยว ฯลฯ การพัฒนาดังกล่าวท้าให้เกิดกลุ่มคนชั้นน้าที่มีการงานอาชีพที่ดีและกลุ่มอาชีพต่างๆ และมีรายได้ที่แตกต่าง กัน จึงเป็นเหตุผลที่เกิดความเหลื่อมล้้าทางรายได้และเป็นช่องว่างระหว่างบุคคลภายในประเทศ จึงท้าให้เกิดการดูถูก ศักดิ์ศรี และการแบ่งชนชั้นแก่บุคคลที่ด้อยกว่าเกิดขึ้น ซึ่งไม่เพียงความเหลื่อมล้้าทางรายได้เท่านั้น แต่ความเหลื่อมล้้า ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 1
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
ทางรายได้ท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้าอย่างอื่นๆ ตามมาด้วย เช่น ความเหลื่อมล้้าทางสังคม ความเหลื่อมล้้าทางการ เมือง เป็นต้น เพราะว่ารายได้เป็นตัวชี้น้าไปสู่ความส้าเร็จ ในชีวิตพร้อมทั้งน้าไปสู่การสร้างรากฐานชีวิตที่ดี จากความ เหลื่อมล้้าที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศเป็นผลพวงของการด้าเนินนโยบายตามแนวทาง “เสรีนิยมใหม่” ดังนั้นความ เหลื่อมล้้าด้านรายได้จึงเป็นปัญหาของโลก ทั้งภายในแต่ละประเทศและระหว่างประเทศ ภายใต้ความเหลื่อมล้้าในประเทศไทยความเหลื่อมล้้าที่เกิดขึ้นไม่มีเพียง ความเหลื่อมล้้าทางรายได้เท่านั้น ยัง มี ค วามเหลื่ อมล้้ า ทางสั ง คม ได้ แ ก่ การแบ่ ง ช่ ว งชั้ น ทางสั ง คม การเข้า ถึ ง การศึ กษา การได้ รับ การยอมรั บ ด้ า น สาธารณสุข ทางด้านโอกาสและด้านการเข้าถึงภายใต้สิทธิที่ควรได้รับ ความเหลื่อมล้้าด้านการเมือง ได้แก่ การเข้าไม่ ถึงอ้านาจทางการเมืองและการก้าหนดนโยบาย จากความเหลื่อมล้้าเหล่านี้ที่เกิดจากความเหลื่อมล้้าทางรายได้ จึงท้า ให้ภาครัฐมีการด้าเนินนโยบายการกระจายรายได้ให้ทั่วถึงแก่ประชาชนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการปรับค่าแรงขึ้น ต่้า การกระตุ้นเศรษฐกิจ และให้สร้างอาชีพใหม่ๆ ขึ้นมาเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ประชาชนภายในประเทศ รวมทั้ง พยายามยกระดับอาชีพที่เป็นพื้นฐานหรือกลุ่มอาชีพระดับล่าง เพื่อให้ประชาชนในประเทศได้อยู่ดีกินดี โดยนโยบายที่ เกิดขึ้นที่ลงมาสู่ประชาชนระดับล่าง จากการกระจายอ้านาจสู่ท้องถิ่น นโยบายสุขภาพถ้วนหน้า นโยบายขยายสินเชื่อให้กับคนรายได้น้อยและ นโยบายการศึกษาฟรี 12 ปี เพื่อให้ครัวเรือนรายได้น้อยได้ส่งลูกเข้าโรงเรียนคุณภาพดี และได้เรียนถึงอุดมศึกษา 1 ดังนั้นภายใต้นโยบายการกระจายอ้านาจ เพื่อลดความเหลื่อมล้้าทางด้านต่างๆ ในประเทศไทยท้าให้ ลดความเหลื่อม ล้้าได้จริงหรือไม่ อย่างไรและเพราะอะไรถึงท้าให้ความเหลื่อมล้้าขึ้นในสังคมไทยซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องติดตามในอนาคต ความเหลื่อมล้้าในการกระจายรายได้นั้น เป็นตัวบ่ง บอกถึงช่องว่างของคุณภาพชีวิ ตของแต่ล ะครัวเรือน เนื่องจากโครงสร้างทางสังคมมีความเปราะบาง และการจัดสรรทรัพยากรโดยรัฐอย่างไม่เป็นธรรม จึงท้าให้ช่องว่าง ระหว่างรายได้ระหว่างคนรวยกับคนจนยิ่งห่างออกไปมาก อย่างไรก็ตามความเหลื่อมล้้ามีตัวชี้วัดหลายอย่าง แต่ที่มี ความนิยม และใช้อย่างแพร่หลายที่สุดเป็นคือ ค่าสัมประสิทธิ์จีนี่ หรือ Gini Coefficient Index ที่ถูกน้ามาใช้ค้านวณ วัด และเปรียบเทียบการกระจายรายได้ของแต่ละประเทศทั่วโลก รูปที่ 1 Gini Coefficient Index ของแต่ละประเทศทั่วโลกปี 2556
ที่มา: CIA’s the World Factbook (2556) 1
ผาสุก พงษ์ไพจิตร : ภาพรวมความเหลือ่ มล้้า กับสัญญาณการเปลี่ยนแปลง(จากชั้นล่าง).วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555, http://prachatai.com/journal/2012/08/42071
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 2
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
จากรูปที่ 1 ในปี 2552 ประเทศไทยได้ถูกจัดอันดับอยู่ในอันดับต้นๆของโลกที่มีความเหลื่อมล้้าของรายได้สูง โดยส้านักข่าวกรองกลางของสหรัฐอเมริกา หรือ CIA อยู่อันดับที่ 12 โดย Gini Coefficient index เท่ากับ 53.6 ถ้า มองจากแผนที่โลกจะเห็นได้ชัดว่าเป็นประเทศที่มีค่า Gini ของรายได้อยู่ที่ระหว่าง 51 – 58 ซึ่งมากที่สุดในภูมิภาค เอเชีย นอกจากนั้นค่า Gini Coeffcient Index ของประเทศไทยถือว่าสูงมากเมื่อน้ามาเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆที่ อยู่ในประชาคมอาเซียน โดยเมื่อน้ามาจัดอันดับแล้วอยู่ที่อันดับ 1 ของ ASEAN ตามมาด้วย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา เวียดนาม อินโดเนเซีย และ สปป.ลาว ตามล้าดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาค่าดัชนีจีนีของไทยที่ ค้านวณจาก World data bank กลับมีค่าเพียง 48.5 เท่านั้น รูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิจ์ ีนีและอัตราการเติบโตของ GDP ของแต่ละประเทศใน อาเซียนปี 2549 - 2553 50 Thailand (2552)
ค่าสัมประสิทธิ์จีนี
40
Lao PDR (2551)
30
Malaysia (2552)
20
Philippines (2552) Indonesia (2552)
10
Cambodia (2551) Singapore (2555)
0 0
10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 รายได้เฉลี่ยตัวหัว (บาท)
Vietnam (2551)
ที่มา: World Data Bank หมายเหตุ: ไม่มีข้อมูล Gini Coefficient Index ของประเทศพม่ากับประเทศบรูไน)
นอกจากนี้ รูปที่ 2 แสดงให้เห็น ถึงกราฟความสัม พั น ธ์ระหว่ างค่า สั มประสิท ธิ์ จี นี ของแต่ล ะประเทศใน ประชาคมอาเซียนที่ถูกน้ามาค้านวณในปีล่าสุดกับรายได้เฉลี่ยต่อหัว โดยในระหว่างปี 2549 ถึง 2553 ค่าสัมประสิทธิ์ จีนีได้ถูกเก็บในปีที่แตกต่างกันไป ในปี 2551 ลาว และกัมพูชามีดัชนีจีนีอยู่ที่ 36.7 และ 37.9 ตามล้าดับ ในปี 2552 ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และอินโดเนเซียมีดัชนีจินีอยู่ที่ 48.5 46.2 44.8 และ 36.8 และในปี 2555 สิงคโปร์มีค่าดัชนี จีนีอยู่ที่ 46.3 จะเห็นว่าค่าความเหลื่อมล้้าของประเทศที่ถูกเก็บข้อมูลมาค้านวณในช่วงปี 2551 ถึง 2552 กับค่าความ เหลื่อมล้้าของประเทศสิงคโปร์ที่ถูกเก็บข้อมูลมาค้านวณในปี 2555 ซึ่งในปีนั้นสิงคโปร์มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงถึง 50,000 ดอลลาร์ มากกว่ารายได้โดยเฉลี่ยต่อหัวของแต่ละประเทศในประชาคมอาเซียน แต่กลับมีค่าความเหลื่อมล้้าที่ ไม่แตกต่างจากทุกๆประเทศในประชาคมอาเซียน ท้าให้เกิด ความขัดแย้งระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจกับการ กระจายรายได้ของประเทศสิงคโปร์ หรือมองได้ว่าการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วไม่สามารถบ่งบอกได้ว่ามีการกระจาย รายได้ที่เท่าเทียมขึ้น หรือมีคุณภาพชีวิตที่ไม่เหลื่อมล้้ากันมากขึ้น ทั้งนี้การศึกษาความเหลื่อมในจังหวัดเชียงรายถือว่าเป็นรากฐานที่ส้าคัญในการศึกษาความเหลื่อมล้้าในพื้นที่ อื่นๆ ถ้าการปกครอง หรือการบริหารจัดการในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ก็จะท้าให้การกระจายรายได้ในแต่ละ พื้นที่ย่อมมีความแตกต่างกันไปเช่นกัน เนื่องจากแต่ละจังหวัดก็จะมีนโยบายที่อาจจะไม่ได้มาจากส่วนกลาง แต่ เป็น นโยบายเฉพาะที่เข้ามาจัดการพื้นที่ของตนเองในระดับต้าบล ระดับอ้าเภอ และระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนให้บาง อ้าเภอมีรายได้ที่สูงกว่า หรือต่้ากว่าอ้าเภออื่น ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 3
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
1. ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้ เชียงรายมีพื้นที่ชายแดนติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งมี พื้นที่ติดกับชายแดนเพื่อนบ้านทั้งหมด 3 อ้าเภอ ได้แก่ อ้าเภอแม่สาย อ้าเภอเชียงแสน และอ้าเภอเชียงของ ผลจาก นโยบายการเชื่อมต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความร่วมมือระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้า โขง (GMS) และความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) เข้าด้วยกัน ท้าให้จังหวัด เชียงรายเป็น ประตูเศรษฐกิจ (Gateway) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านขึ้น ส่งผลให้เกิดมูลค่าทาง เศรษฐกิจบริเวณชายแดนและเป็น การสร้ างมูล ค่า เศรษฐกิจ จากการพัฒ นาด้ านการค้า ชายแดน การท่ องเที่ ย ว การเกษตร และอุตสาหกรรม จึงท้าให้เกิดการจ้างงานจ้านวนมากไม่ว่าจะเป็นในภาคของอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ภาคการบริการ ฯลฯ ส่งผลให้ประชากรในจังหวัดเชียงรายมีรายได้ในการประกอบอาชีพมากขึ้น และเป็นการกระจาย รายได้ลงสู่พื้นที่ของการพัฒนา อย่างไรก็ตาม เพราะการเติบโตของเศรษฐกิจ ที่แตกต่างกันของแต่ละพื้นที่ในจังหวัด เชียงราย ส่งผลให้รายได้ต่อหัวประชากรในแต่ละพื้นที่ยังมีความแตกต่างกัน ความเหลื่อมล้้าทางรายได้ก็คือการกระจุกตัวของรายได้ในกลุ่มประชาชนเพียงกลุ่มหนึ่งเท่านั้ น ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นกลุ่มที่มีรายได้สูง ทั้งนี้ปัญหาความเหลื่อมล้้าทางรายได้ถือว่าเป็นปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้เกิดปัญหาความยากจนขึ้น ในสังคมและอาจทวีความรุนแรงมากขึ้นด้วยเช่นเดียวกัน เนื่องจากว่าปัญหานี้ท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้าทางชนชั้นใน สังคม และยากที่จะหลีกเลี่ย งปัญหาเหล่านี้แม้ว่าภาครัฐจะสามารถลดความยากจนลงได้ก็ตาม โดยในงานชิ้นนี้เรา สามารถวัดความเหลื่อมล้้าได้หลายวิธีดังนี้ 1. เปรียบเทียบรายได้ต่อหัวของแต่ละอ้าเภอในจังหวัดเชียงราย 2. ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนครัวเรือนตกเกณฑ์กับรายได้เฉลี่ยของแต่ละอ้าเภอในแต่ละอ้าเภอ 3. ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้้าของรายได้โดยใช้โดยสัมประสิทธิ์จินี (Gini Coeffcient) 4. ช่องระหว่างรายได้ของอ้าเภอที่รายได้สูงที่สุดและรายได้ต่้าที่สุด 5. การกระจายรายได้ในจังหวัดเชียงรายต่อสัดส่วนของคนที่จนที่สุดต่อคนที่รวยที่สุด รูปที่ 3 เปรียบเทียบรายได้ต่อหัวของปี 2550 และปี 2556 ของแต่ละอ้าเภอในจังหวัดเชียงราย 90,000 80,000 70,000
บาท/เดือน
60,000 50,000 40,000
2550
30,000
2556
20,000 10,000
ดอยหลวง
เวียงเชียงรุ้ง
แม่ลาว
แม่ฟ้าหลวง
ขุนตาล
เวียงแก่น
พญาเม็งราย
เวียงป่าเป้า
แม่สรวย
แม่สาย
เชียงแสน
แม่จัน
ป่าแดด
พาน
เทิง
เชียงของ
เวียงชัย
เมืองเชียงราย
0
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556) ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 4
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
จากรูปที่ 3 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง 2556 อัตราการเติบโตของรายได้สะสมในแต่ละอ้าเภอของจังหวัด เชียงรายเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 12 โดยอ้าเภอขุนตาลมีอัตราการเติบโตของรายได้สะสมต่้าสุดอยู่ที่ร้อยละ 4 และอ้าเภอที่มี อัตราการเติบโตของรายได้สะสมสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 17 คือ อ้าเภอเวียงแก่น ท้าให้อ้าเภอเวียงแก่นมีอัตราการเติบโต สะสมสูงกว่าอ้าเภอขุนตาลถึง 4 เท่า อ้าเภอเวียงแก่นนั้นแต่เดิมเป็นอยู่ในอาณาเขตของอ้าเภอเชียงของ แต่ด้วยอาณาเขตบริเวณที่กว้างขวาง เกินไป ยากต่อการปกครองและดูแลประชาชนในท้องที่ จึงท้าให้ เกิดการแบ่งแยกออกมาเป็นอ้าเภอใหม่ ทั้งนี้อ้าเภอ เวียงแก่นนั้นมีบริเวณที่ติดกับชายแดนเช่นกัน คือ เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขงที่เป็นแม่ สายใหญ่ขั้นกลางระหว่างสองประเทศ แต่ไม่ได้ถูกผลักดันให้เป็นอ้าเภอชายแดนอย่าง อ้าเภอเชียงของ นอกจากนี้ ประชากรของอ้าเภอเวียงแก่นอยู่ที่ 31,799 คน2 ท้าให้ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่อยู่ที่ 60.45 คนต่อตาราง กิโลเมตร มีต้าบลอยู่ 4 ต้าบล แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติเช่น แก่ง ดอย ป่า ผา แม่น้า เป็นต้น ส่วนอ้าเภอขุนตาลนั้น เป็นอ้าเภอที่แยกตัวออกมาจากอ้าเภอเทิง มีต้าบลที่อยู่ในการปกครอง อยู่ 3 ต้าบล มีประชากรอยู่ 32,551 คน ท้าให้ความหนาแน่นต่อประชากรอยู่ที่ 139.1 คนต่อตารางกิโลเมตร โดย แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะเป็นพระธาตุ จากข้อมูลข้างต้น ท้าให้สามารถพิจารณาได้ว่าอ้าเภอเวียงแก่นมีความได้เปรียบเชิงพื้นที่ที่สูงกว่าอ้าเภอขุน ตาล แม้สองอ้าเภอจะมีอาณาบริเวณที่ติดกันก็ตาม แต่อ้าเภอเวียงแก่นเป็นอ้าเภอที่ติดชายแดน ความหนาแน่นของ ประชากรต่อตารางกิโลเมตรก็ต่้ากว่า นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวส้าคัญอยู่มากกว่า จึง อาจท้าให้อ้าเภอเวียงแก่นมีการเติบโตของรายได้สูงกว่าอ้าเภอขุนตาล ในปี 2553 อ้าเภอแม่สายเป็นอ้าเภอที่มีรายได้สูงที่สุด มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 53,072.82 บาทต่อคนต่อเดือน และอ้าเภอที่มีรายได้ต่้าสุดคืออ้าเภอแม่ฟ้าหลวง มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 29,031.03 บาทต่อคนต่อเดือน เมื่อเทียบ อัตราส่วนกันอ้าเภอแม่สายมีรายได้เฉลี่ยมากกว่าอ้าเภอแม่ฟ้าหลวงเกือบ 2 เท่า อ้าเภอแม่สายเป็นอ้าเภอที่ติดชายแดนพม่า และมีมูลค่าการค้าขายแลกเปลี่ยนบริเวณเขตชายแดนสูง จึง ส่งผลให้ระดับรายได้สูงตามไปด้วย ส่วนอ้าเภอแม่ฟ้าหลวงเป็นอ้าเภอที่ท้าเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ และหัตถกรรมเป็น หลักจึงมีรายได้ที่ไม่สูงมากนัก ความเหลื่อมล้้าของพื้นที่จึงกลายเป็นตัวก้าหนดให้รายได้โดยเฉลี่ยของทั้งสองอ้าเภอที่ ความแตกต่างกันมาก ที่อาจเป็นตัวก้าหนดให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนแต่ละอ้าเภอแตกต่างกันออกไปอย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม ในปี 2553 จ้านวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ หรือมีรายได้ต่้ากว่า 23,000 บาท ในอ้าเภอแม่สายมี ถึง 168 ครัวเรือน แต่อ้าเภอแม่ฟ้าหลวงไม่มี แม้แต่ครัวเรือนเดียวที่ไม่ผ่านเกณฑ์ เห็นได้ว่าเมืองที่มีรายได้สูงสุดใน เชียงรายกลับมีจ้านวนครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์สูงกว่าเมืองที่มีรายได้ต่้าสุดในเชียงราย อาจเป็นเพราะว่าประชากร ในอ้าเภอแม่สายมีจ้านวนเยอะกว่าอ้าเภอแม่ฟ้าหลวง จึงท้าให้การกระจายรายได้ของอ้าเภอแม่ฟ้าหลวงเป็นไปได้ง่าย กว่าอ้าเภอแม่สาย ซึ่งจากสถิติในปี 2553 อ้าเภอแม่สายมีจ้านวนประชากรทั้งหมด 85,266 คน และอ้าเภอแม่ฟ้า หลวงมีประชากรทั้งหมด 69,567 คน ท้าให้อ้าเภอแม่สายมีประชากรมากกว่าอ้าเภอแม่ฟ้าหลวงถึงหนึ่งเท่าตัว
2
อ้างอิงจากเว็บไซต์ http:/http://www.dopa.go.th/web/index.php/2012-06-16-12-35-04 "บริการข้อมูลสถิติ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จ้านวนประชากรและบ้าน จ้าแนกเป็นรายอ้าเภอ และรายต้าบล จังหวัดเชียงราย ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555" ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 5
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
รูปที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนครัวเรือนตกเกณฑ์กับรายได้เฉลี่ยในแต่ละอ้าเภอ 600
จ้านวนครัวเรือนตกเกณฑ์
500 400 300 200 100 0 0
10,000
20,000 30,000 40,000 รายได้เฉลี่ยของแต่ละอ้าเภอในเชียงราย
50,000
60,000
ที่มา : ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556)
จากรูปที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายได้โดยเฉลี่ยของแต่อ้าเภอในเชียงรายกับจ้านวนครัวเรือนที่ตก เกณฑ์ในปี 2553 เห็นได้ว่ารายได้ของแต่ละอ้าเภอในเชียงรายมีความสัมพันธ์เชิงบวก หรือไปในทิศทางเดียวกันกับ จ้านวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ โดยที่อ้าเภอในเชียงรายส่วนมากจะมีค่าเฉลี่ยของรายได้อยู่ระหว่าง 40,000 ถึง 50,000 บาทต่อคน และมีจ้านวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ที่ต่้ากว่า 200 ครัวเรือน มีจ้านวน 3 อ้าเภอที่มีจ้านวนครัวเรือนที่ตก เกณฑ์มากกว่า 300 ครัวเรือน ได้แก่ อ้าเภอพานมี 551 ครัวเรือน อ้าเภอแม่สรวยมี 462 ครัวเรือน และอ้าเภอเมือง เชียงรายมี 372 ครัวเรือน ท้าให้อ้าเภอพานที่มีรายได้เฉลี่ยสูงเป็นอันดับสองมีจ้านวนครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่มาก เป็นพิเศษ แต่กระนั้นเมื่อน้ามาคิดเป็นสัดส่วนจากครัวเรือนทั้งหมดแล้ว ไม่ได้สูงไปกว่าอ้าเภออื่นมากนัก โดยคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 2 จากครัวเรือนทั้งหมด เท่ากับสัดส่วนครัวเรือนไม่ผ่านเกณฑ์ต่อครัวเรือนทั้งหมดของอ้าเภอแม่สาย ส่วนอ้าเภอเมืองเชียงรายนั้นคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1 จากครัวเรือนทั้งหมด เท่ากับอ้าเภออื่นๆ เช่น ป่าแดดที่มีรายได้ เป็นอันดับสาม เชียงแสนเมืองติดชายแดน และเวียงเชียงรุ้ง แต่ที่ควรพิจารณาในเชิงลึกคือ อ้าเภอแม่สรวยที่มีสัดส่วน ครัวเรือนตกเกณฑ์สูงที่สุดในทุกๆอ้าเภอของจังหวัดเชียงรายถึงร้อยละ 4 จากครัวเรือนทั้งหมด ส่ วนอ้าเภออื่นมี สัดส่วนครัวเรือนไม่ผ่านเกณฑ์ต่้ากว่าร้อยละ 1 จากครัวเรือนทั้งหมด และมี 3 อ้าเภอ คือ อ้าเภอเวียงป่าเป้า อ้าเภอ เวียงแก่น และอ้าเภอแม่ฟ้าหลวงที่มีรายได้เฉลี่ยต่้าที่สุดไม่มีครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ ชี้ให้เห็นว่าการกระจายรายได้ใน อ้าเภอแม่สรวยไม่ดีเท่าที่ควรเมือ่ เทียบกับอ้าเภออื่นๆ อ้าเภอที่มีรายได้เฉลี่ยที่สูงถึง 50,000 กว่าบาทอย่างอ้าเภอแม่สาย มีถึง 168 ครัวเรือนที่มีรายได้ต่้ากว่า 23,000 ท้าให้มองเห็นได้ว่าเมืองใหญ่ๆที่มีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างสูงจะมีการกระจายรายได้ที่ไม่ดีเท่าที่ควร เทียบกับ เมืองเล็กๆที่มีรายได้เฉลี่ยแค่ 20,000 กว่าบาท กลับไม่มีครัวเรือนที่มีรายได้ต่้ากว่าเกณฑ์ รายเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้นอาจจะ ไปกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนที่ร่้ารวยมากหากมองในระดับอ้าเภอ และหากมองในระดับจังหวัด อาจจะมีการกระจุกตัว ของรายได้ในกลุ่มของอ้าเภอที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงก็ได้ ตัวชีวัดความเหลื่อมล้าของรายได้โดยใช้โดยสัมประสิทธิ์จินี (Gini Coeffcient) ค่าสัมประสิทธิ์จีนี เป็นค่าที่นิยมใช้วัดความไม่เท่าเทียมการกระจายรายได้อย่างมากที่สุด ซึ่งค่าสัมประสิทธิ์ จินีจะเท่ากับพื้นที่ระหว่างเส้นทะแยง 45 องศาซึ่งเป็นตัวแทนของการกระจายรายได้อย่างสมบูรณ์ และเส้น Lorenz Curve ที่เป็นเส้นโค้ง โดยจะเทียบการกระจายรายได้ในกลุ่มของกลุ่มคนที่รวยที่สุด และกลุ่มคนที่จนที่สุด ค่า สัมประสิทธิ์จีนีจะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 หากเข้าใกล้ 0 แสดงว่าการกระจายรายได้ค่อนข้างเท่าเทียม หรือมีความเหลื่อม ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 6
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
ล้้าในการกระจายรายได้น้อย เส้น Lorenz curve ก็จะเข้าใกล้เส้น Perfect inequality มาก แต่ถ้าหากว่าค่า สัมประสิทธิ์จีนีเข้าใกล้ 1 แสดงว่าการกระจายรายได้ค่อนข้างไม่เท่าเทียม หรือมีความเหลื่อมล้้าในการกระจายได้สูง เส้น Lorenz curve จะออกห่างจากเส้น Perfect inequality มาก จากรูปที่ 5 แกน x ถูกก้าหนดให้เป็นสัดส่วนของคนที่มีรายได้เฉลี่ยสูงสุดถึงรายได้เฉลี่ยสูงสุดสะสม และแกน y ถูกก้าหนดให้เป็นสัดส่วนของรายได้โดยเฉลี่ยสะสม ซึ่งการหาค่าสัมประสิทธิ์จีนีนั้นหาได้การน้าพื้นที่ระหว่างเส้น 45 องศา หรือเส้น Perfect inequality และเส้น Loren Curve (พื้นที่ A) และพื้นที่ใต้เส้น Lorenz Curve มาค้านวณ ได้สูตร A/ (A+B) ส่วนมากการค้านวณหาค่าสัมประสิทธิ์จีนี จะเป็นการค้านวณหาความมั่งคั่ง และรายได้เสียมากกว่า แต่ก็มียังมีการน้าค่าสัมประสิทธิ์จีนีไปประยุกต์ใช้หาความไม่เท่า เทียมในแง่มุมทางสังคม เช่น การศึกษา โอกาสทาง สังคม เป็นต้น รูปที่ 5 Lorenz Curve และเส้น Perfect inequality
ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Lorenz_curve
การค้านวณค่าสัมประสิทธิ์จีนีในเชียงราย จากข้อมูลรายได้เฉลี่ยต่อหัว (GPP per capita) ในแต่ละอ้าเภอของส้านักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้น้าข้อมูลมาจัดเรียงจากอ้าเภอที่มีรายได้น้อยที่สุดไปยังอ้าเภอที่มีรายได้มากที่สุด และ น้ามาแบ่งกลุ่มเป็น 9 กลุ่ม เพื่อเปรียบเทียบการกระจายรายได้ในกลุ่มอ้าเภอที่มีรายได้สูงที่สุดร้อยละ 10 และการ กระจายรายได้ในกลุ่มอ้าเภอที่มีรายได้ต่้าที่สุดร้อยละ 103
3
แสดงอยู่ในตารางที่ 2 ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 7
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
รูปที่ 6 ค่าสัมประสิทธิ์จินีของจังหวัดเชียงรายตังแต่ปี 2550 ถึง 2556 0.57
0.56
0.56
ค่าสัมประสิทธิ์ Gini
0.56 0.55
0.54
0.54
0.54 0.54 0.53 0.53 0.52
0.51
0.51 2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
ที่มา: จากการค้านวณ, ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556)
จากการค้านวณค่าสัมประสิทธิ์จินีจากข้อมูลรายได้โดยเฉลี่ยในแต่ละอ้าเภอพบว่า ค่าความเหลื่อมล้้าในการ กระจายรายได้ ของเชี ยงรายอยู่ในค่า ที่สู งมาก เพราะเมื่อเปรีย บเทีย บกับ ดัช นีจิ นีของประเทศไทยที่อยู่แค่ 39.4 (World Data Bank, 2552) แต่ค่าสัมประสิทธิ์จีนีในเชียงรายตั้งแต่ปี 2550 ถึง ปี 2556 อยู่ที่ประมาณ 0.51 ถึง 0.56 ตารางที่ 1 การปลูกพืชเศรษฐกิจในแต่ละอ้าเภอ โดยเรียงจากรายได้น้อยไปรายได้มาก ข้าว แม่ฟ้าหลวง เวียงป่าเป้า เวียงแก่น แม่สรวย ดอยหลวง เชียงของ* พญาเม็งราย ขุนตาล เวียงเชียงรุ้ง เทิง แม่ลาว แม่จัน เวียงชัย เมืองเชียงราย เชียงแสน* พาน ป่าแดด แม่สาย*
ข้าวโพด เลียงสัตว์
ล้าไย
×
ลินจี่
ยางพารา
ชา
กาแฟ
×
× ×
×
×
×
×
สัปปะรด
× × × ×
× ×
×
× ×
× × ×
× × ×
×
×
× ×
× ×
× × ที่มา: แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2553 - 2556
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 8
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
จังหวัดเชียงรายค่อนข้างให้ความส้าคัญกับการเกษตร ท้าให้มีพืชเศรษฐกิจที่ท้ารายได้ให้กับเชียงรายเป็น จ้านวนมาก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลิ้นจี่ ยางพารา ชา กาแฟ และสัปปะรด โดยแต่ละพื้นที่ แต่ละอ้าเภอจะมี การปลูกพืชเศรษฐกิจที่แตกต่างกันไป จากตารางที่ 1 เป็นการเรียงล้าดับจากรายได้ของอ้าเภอที่ต่้าที่สุดไปยังรายได้ ของอ้าเภอที่สูงที่สุด จะเห็นว่าพื้นที่เพาะปลูกพื้นที่เศรษฐกิจจะไปกระจุกตัวอยู่กลุ่มอ้าเภอที่มีรายได้สูงๆแทบทั้งนั้น โดยไม่นับรวมอ้าเภอที่ติดชายแดนอย่าง แม่สาย เชียงแสน เชียงของ ซึ่งมีความได้เปรียบเชิงพื้ นที่อยู่แล้ว จึงท้าให้การ กระจายรายได้ของเชียงรายอาจไปกระจุกตัวอยู่กลุ่มของอ้าเภอที่มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ ค่อนข้างมาก จึงส่งผลให้เกิด ความเหลื่อมล้้าสูง แต่เมื่อน้ามาคิดรวมในระดับประเทศ จังหวัดที่มีการกระจายรายได้ที่ดีอาจมากกว่าจังหวัดที่มีการ กระจายรายได้ที่ไม่ดี จึงดึงให้ระดับความเหลื่อมล้้าของประเทศอยู่ไม่สูงมากนัก รูปที่ 7 ช่องระหว่างรายได้ของอ้าเภอที่รายได้สูงที่สุดและรายได้ต่้าทีส่ ุดปี 2550 - 2556 2.33
2.50 2.00
1.83
1.68
1.63
1.59
2550
2551
2552
1.73
1.85
1.50 1.00 0.50 0.00 2549
2553
2554
2555
2556
2557
ที่มา: จากการค้านวณ, ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556)
จากรูปที่ 7 แสดงให้เห็นถึงช่องว่างระหว่างรายได้ระหว่างอ้าเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนที่สูงที่สุดในเชียงราย และรายได้ระหว่างอ้าเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนที่ต่้าที่สุดให้เชียงรายพบว่า ช่องว่างของรายได้เฉลี่ยอยู่ 1.81 หรือ เกือบสองเท่าตัว โดยในปี 2554 ช่องว่างระหว่างรายได้มีตัวเลขที่โดดขึ้นกว่าปีอื่นๆ อยู่ที่ 2.33 เท่า อาจเป็นเพราะว่า ในช่วงปี 2554 มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย ถือว่าเป็นการใช้จ่ายของภาครัฐ ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งที่ถูกนับรวมใน GPP ของจังหวัด และจ้านวนค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งนั้นมีจ้านวนที่สูงพอที่จะท้าให้รายได้โดย เฉลี่ยของอ้าเภอบางอ้าเภอที่มีการใช้จ่ายในการหาเสียงมากสูงขึ้นมากเป็นพิเศษ ซึ่งในปี 2554 อ้าเภอที่มีรายได้เฉลี่ย สูงที่สุดคืออ้าเภอเชียงแสน ซึ่งเป็นอ้าเภอที่อยู่ติดชายแดน และมีเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ท้าให้การเลือกตั้งใน อ้าเภอดังกล่าวมีความรุนแรง และอาจฉุดให้รายได้โดยเฉลี่ยสูงขึ้นจาก 48,531 บาท ไปยัง 71,326 บาท เติบโตขึ้นถึง ร้อยละ 47 ซึ่งในปีเดียวกันนั้นในแต่ละอ้าเภอยกเว้นอ้าเภอเชียงแสนมีการเติบโตไม่ถึงร้อยละ 20 และบางอ้าเภอถึง กลับมีการเติบโตที่ติดลบ นอกจากนี้ ตารางที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการกระจายรายได้ตั้งแต่ปี 2550 ถึง ปี 2556 โดยได้แบ่งกลุ่มรายได้ ของอ้าเภอในเชียงรายเป็น 9 กลุ่มจาก 18 อ้าเภอ จะเห็นได้ว่าการกระจายรายได้ในช่วง 6 ปี ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม ซึ่งอัตราส่วนรายได้เฉลี่ยของอ้าเภอที่สูงที่สุดกับอ้าเภอที่ต่้าที่สุดอยู่ประมาณ 1.6 ถึง 1.8 แสดงว่านโยบายที่ เข้ามาช่วยลดความเหลื่อมล้้าไม่ได้ช่วยให้การกระจายรายได้ในจังหวัดเชียงรายดีขึ้นจากเดิม แต่ก็ไม่ได้ท้าให้ความ เหลื่อมล้้าในการกระจายรายได้เพิ่มมากขึ้น หรือน้อยลงจนได้เห็นชัดในระยะ 6 ปีที่ผ่านมา
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 9
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
กลุ่มของอ้าเภอที่จนที่สุด 10% ในระยะที่ผา่ นมานัน้ มีการเปลีย่ นแปลงไปบ้าง แต่อ้าเภอที่ไม่เคยหนีจาก อันดับท้ายเลยคือ อ้าเภอแม่ฟ้าหลวง ส่วนกลุ่มอ้าเภอที่รวยที่สดุ 10% มีเปลี่ยนต้าแหน่งไปเรื่อยๆ แต่ที่ครองต้าแหน่ง บ่อยคือ แม่สาย กับอ้าเภอพาน ท้าให้มองได้ว่า อ้าเภอที่มีรายได้น้อยอย่างไรก็ไม่สามารถหลุดออกกับดับของความ ยากจนได้ เมื่อการกระจายรายได้อาจไปถึงก็จริง แต่ไม่ได้ท้าให้รายได้ของกลุ่มอ้าเภอที่มีรายได้นอ้ ยขึ้นมาเคียงข้าง อ้าเภอที่มีรายได้สูงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตารางที่ 2 การกระจายรายได้ในจังหวัดเชียงราย และสัดส่วนของคนที่จนที่สุด 10% ต่อคนที่รวยที่สุด 10% 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 จนสุด 10% 8% 8% 10% 9% 8% 8% 9% Decile 2 9% 10% 10% 10% 10% 10% 10% Decile 3 10% 11% 10% 10% 11% 11% 10% Decile 4 11% 11% 11% 10% 11% 11% 10% Decile 5 11% 11% 11% 11% 11% 11% 11% Decile 6 12% 12% 11% 12% 11% 11% 12% Decile 7 12% 12% 12% 12% 12% 12% 12% Decile 8 13% 12% 12% 13% 13% 12% 12% รวยสุด 10% 13% 13% 13% 13% 14% 14% 14% อัตราส่วนคนจนสุดต่อคนรวยสุด 1.6 1.6 1.3 1.4 1.8 1.6 1.6 ที่มา: จากการค้านวณ, ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556) รูปที่ 8 สัดส่วนรายได้ประชากรปี 2552
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) หากพิจารณาจากการกระจายรายได้ของประเทศไทยในปี 2552 (รูปที่ 8) สัดส่วนของการกระจายรายได้ กระจุกตัวอยู่ที่ร้อยละ 10 ของกลุ่มที่รวยที่สุดถึงร้อยละ 38.41 โดยที่ตกอยู่ที่ร้อยละ 10 ของกลุ่มที่จนที่สุดแค่ร้อยละ 1.69 แสดงว่าความห่างของการกระจายรายของกลุ่มที่รวยที่สุดร้อยละ 10 และกลุ่มที่จนที่สุดร้อยละ 10 ห่างกันเพียง ร้อยละ 3 เท่านั้น แสดงว่าการกระจายรายได้ในจังหวัดเชียงรายมีความเท่าเทียมกว่าในระดับประเทศ ถึงแม้ ว่าค่า Gini Coefficient ของเชียงรายจะสูงกว่าก็ตาม แต่ถ้าน้ามาพิจารณาร่วมกับครัวเรือนตกเกณฑ์ในแต่ละอ้าเภอของ ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 10
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
เชียงรายที่ไม่ถึงร้อยละ 5 สอดคล้องกับผลการกระจายรายได้ที่ได้ถูกค้านวณออกมา ท้าให้สามารถบอกได้ว่า เชียงราย มีการกระจายรายได้ที่ดี แต่ในระยะที่ผ่านมาการกระจายรายได้ยังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึนแต่อย่างใด อาจจะเป็นเพราะการใช้นโยบายการคลังที่ยังไม่ยังไม่ตรงแก่นของปัญหา เช่น การเพิ่มภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ที่มี อัตราการเติบโตขึ้นทุกปี ไม่ได้ท้าให้รายได้ของประชากรในประเทศมีความเท่าเทียมขึ้น ยังคงกระจุกตัวอยู่ในกลุ่ม เล็กๆของสังคมเพียงเท่านั้น เพราะยังมีการลดหย่อนภาษีตามมา ไม่ได้สร้างความแตกต่างก่อนหรือหลังใช้นโยบาย ดังกล่าวเลย ทั้งนี้การอุดช่องโหว่ระหว่างรายได้ จ้าเป็นต้องหานโยบายที่มีประสิทธิภาพขึ้น ที่นอกจากจะท้าให้ความ เหลื่อมล้้าในประเทศในจังหวัดต่างๆลดน้อยลงแล้ว แล้วยังสามารถท้าให้เศรษฐกิจเดินหน้าไปได้ด้วยดีเช่นกัน 2. ความเหลื่อมล้าด้านการศึกษา การศึกษาของคนในประเทศถือว่าเป็นสิ่งส้าคัญอย่างมากในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพ แต่ ใช่ว่าทุกคนจะได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกัน ด้วยเหตุนี้ จึงท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาขึ้นมาในสังคมไทย โดยความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาอาจเกิดจากฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว เนื่องจากฐานะทางสังคม และเศรษฐกิจของครอบครัวที่ดี มีการสนับสนุนให้ลูกมีการศึกษาที่ดีมากกว่าฐานะสังคมที่ต่้ากว่า และมีแนวโน้มว่าถ้า หากพ่ อ แม่ มี ก ารศึ กษาที่ สู ง ลู ก จะได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ก ารศึ ก ษาสู ง ตามไปด้ ว ย แต่ ก ารเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี ประสิทธิภาพก็เป็นปัญหาเช่นเดียวกัน จากความเหลื่อมล้้าของภูมิล้าเนาระหว่างเขตชนบทกับเขตเมือง เพราะว่าการ เข้าถึงของบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพเป็นไปได้ค่อนข้างยากพอสมควร เนื่องจากปัจจัยหลายๆ อย่างไม่ว่า จะเป็นเรื่องของการเดินทาง ที่พักอาศัย เงินเดือนและสวัสดิการ สิ่งอ้านวยความสะดวกต่างๆ ที่เป็นตัวก้าหนดของบุ คลาการทางการศึกษา จึงเป็นเหตุให้เกิดการขาดบุคลากรการศึกษาในเขตชนบท การพิจารณาความเหลื่อมล้้าทางการศึกษา จ้าเป็นต้องพิจารณาการจัดสรรงบประมาณ ควบคู่ไปกับการ จัดสรรอัตราครูและบุคลากรทางการศึกษา และการประเมินคุณภาพการศึกษา งบประมาณการศึกษาของแต่ละ โรงเรียนนั้นจะมีจ้านวนที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับจ้านวนนักเรียนท้าให้การพัฒนาการด้านการศึกษามีความ แตกต่างกัน พร้อมทั้งบุคลากรทางการศึกษาที่มีปัญหาการขาดแคลนในพื้นที่เขตชนบทห่างไกล แต่บุคลากรทาง การศึกษาในพื้นที่เขตเมืองมีบุคลากรเกินกว่าความจ้าเป็น เชียงรายได้ถูกแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาเป็น 5 เขต โดยที่เป็นเขตพื้นที่การศึกษาในระดับประถมศึกษา (สพป.) อยู่ 4 เขต และเขตพื้นที่การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (สพม.) อยู่ 1 เขต สพป. เชียงราย เขต 1 จะครอบคลุม 3 อ้าเภอ ได้แก่ เมืองเชียงราย เวียงชัย และเวียงเชียงรุ้ง สพป. เชียงราย เขต 2 จะครอบคลุม 5 อ้าเภอ ได้แก่ ป่าแดด พาน แม่สรวย เวียงป่าเป้า แม่ลาว สพป. เชียงราย เขต 3 จะครอบคลุม 5 อ้าเภอ ได้แก่ เชียงแสน แม่จัน แม่สาย แม่ฟ้าหลวง ดอยหลวง สพป. เชียงราย เขต 4 จะครอบคลุม 5 อ้าเภอ ได้แก่ เชียงของ เทิง พญาเม็งราย เวียงแก่น ขุนตาล สพม. เชียงราย เขต 36 กระจายอยู่ใน 18 อ้าเภอ จากตารางที่ 3 ในเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา เขต 1 มีจ้านวนนักเรียนต่อครูเฉลี่ยอยู่ ที่ 17 คน เขต 2 เฉลี่ยอยู่ที่ 15 คน เขต 3 เฉลี่ยอยู่ที่ 23 คน เขต 4 เฉลี่ยอยู่ที่ 15 คน และในเขตการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา เฉลี่ยอยู่ที่ 21 คน นอกจากนั้น จ้านวนนักเรียนต่อห้องเรียนในแต่ละเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษานั้นอยู่ใน สัดส่วนที่เหมาะสมโดยเกณฑ์ของสพฐ.ปี 2556 ก้าหนดให้จ้านวนนักเรียนต่อห้องอยู่ระหว่าง 30 – 50 คน โดยสพป. เขต 1 มีจ้านวนนักเรียนเฉลี่ยอยู่ที่ 18 คนต่อห้องเรียน เขต 2 อยู่ที่ 15 คนต่อห้องเรียน เขต 3 อยู่ที่ 20 คนต่อ ห้องเรียน และเขต 4 อยู่ที่ 15 คนต่อห้องเรียน แต่สพม.เขต 36 นั้นมีจ้านวนนักเรียนเฉลี่ยถึง 34 คนต่อห้องเรียน แน่นอนว่าจ้านวนห้องเรียนต่อโรงเรียนจ้านวนไม่ต่างจากจ้านวนครูต่อโรงเรียนมาก ยกเว้นในสพม. เขต 36 เท่านั้น
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 11
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
ตารางที่ 3 จ้านวนนักเรียนต่อครู ต่อห้องเรียน และต่อโรงเรียนในแต่ละเขตการศึกษา จ้านวนนักเรียน จ้านวนครู ห้องเรียน เขตพืนที่การศึกษา ต่อ ครู ห้องเรียน โรงเรียน โรงเรียน ห้องเรียน โรงเรียน สพป.เชียงราย เขต 1 17 18 179 11 1 10 สพป.เชียงราย เขต 2 15 15 136 9 1 9 สพป.เชียงราย เขต 3 23 20 231 10 1 11 สพป.เชียงราย เขต 4 15 15 136 9 1 9 สพม. เชียงราย เขต 36 21 34 955 46 2 28 ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ส้าหรับสพป.เขต 1 มีจ้านวนนักเรียนประมาณ 179 คนต่อโรงเรียน สพป.เขต 2 มีจ้านวนนักเรียนประมาณ 136 คนต่อโรงเรียน สพป.เขต 3 มีจ้านวนนักเรียนประมาณ 231 คนต่อโรงเรียน สพป.เขต 4 มีจ้านวนนักเรียน ประมาณ 136 คนต่อโรงเรียนเท่ากับเขตที่ 1 และสพม. เขต 36 มีจ้านวนนักเรียนประมาณ 955 คน จ้านวนครูต่อ โรงเรียนในสพม.เขต 1 ประมาณ 11 คน สพป.เขต 2 ประมาณ 9 คน สพป.เขต 3 ประมาณ 10 คน สพป.เขต 4 ประมาณ 9 คน และสพม.เขต 36 ประมาณ 46 คน อย่างไรก็ตาม ในเขตการศึกษาระดับประถมศึกษาทั้ ง 4 เขต มีจ้านวนครูต่อห้องเรียนอยู่ที่ 1 ต่อ 1 เท่านั้น แต่สพม. เขต 36 กลับมีจ้านวนครูต่อห้องเรียนอยู่ที่ 2 ต่อ 1 จึงไม่เป็นปัญหาส้าหรับโรงเรียนในเขตการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาต่อปริมาณครูที่เพียงพอต่อการดูแลนักเรียน ตารางที่ 4 จ้านวนนักเรียน จ้านวนครู จ้านวนครูตามนโยบาย และจ้านวนครูขาด/เกิน จ้านวนครู จ้านวนครู เขตพืนที่การศึกษา จ้านวนนักเรียน จริง นโยบาย ขาด/เกิน สพป. เชียงราย เขต 1 19,650 1,158 983 เกิน 176 สพป. เชียงราย เขต 2 25,335 1,652 1,267 เกิน 385 สพป. เชียงราย เขต 3 35,313 1,534 1,766 ขาด 232 สพป. เชียงราย เขต 4 21,001 1,414 1,050 เกิน 364 สพม. เชียงราย เขต 36 56,331 2,728 2,817 ขาด 89 รวมทังหมด 80,298 4,344 4,015 เกิน 605 ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ตามนโยบายของส้านักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการก้าหนดครูหนึ่งคนต้องดูแลนักเรียนทั้งหมด 20 คน นั้น จากการค้านวณจากจ้านวนนักเรียนในเขตต่างๆ โดยเขตสพป. เขต 1 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 19,650 คน แสดงว่า สพฐ.ต้องการให้เขต 1 มีจ้านวนครูทั้งหมดประมาณ 983 คน แต่เขตดังกล่าวกลับมีจ้านวนครูเกินกว่าที่นโยบาย ก้าหนดไว้ประมาณ 176 คน สพป. เขต 2 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 25,335 คน แสดงว่าสพฐ.ต้องการให้เขต 2 มีครู ทั้งหมดประมาณ 1,267 คน แต่เขตดังกล่าวกลับมีจ้านวนครูเกินกว่าที่นโยบายก้าหนดไว้ประมาณ 385 คน สพป. เขต 3 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 35,313 คน แสดงว่าสพฐ.ต้องการให้เขต 3 มีครูทั้งหมดประมาณ 1,766 คน แต่เขตดังกล่าว กลับมีจ้านวนครูขาดจากที่นโยบายก้าหนดไว้ประมาณ 232 คน สพป. เขต 4 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 21,001 คน แสดง ว่าสพฐ.ต้องการให้เขต 4 มีครูทั้งหมดประมาณ 1,050 คน แต่เขตดังกล่าวกลับมีจ้านวนครูเกินจากที่นโยบายก้าหนด
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 12
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
ไว้ประมาณ 364 คน และสพม. เขต 36 นั้นมีนักเรียนทั้งหมด 56,331 คน แสดงว่าสพฐ.ต้องการให้เขต 36 ในระดับ มัธยมศึกษามีครูทั้งหมดประมาณ 4,015 คน แต่เขตดังกล่าวกลับมีจ้านวนครูขาดจากที่นโยบายก้าหนดไว้ 89 คน การกระจายบุคลากรทางการศึกษาที่ส้าคัญอย่างเช่น ครู หรืออาจารย์ในเชียงรายนั้นมีปัญหาอย่างมาก เมื่อ จ้านวนครูไปกระจุกตัวอยู่ในเขตการศึกษาระดับประถมศึกษา 1 2 และ 4 เป็นส่วนมาก โดยเกินมาถึง 925 คน ท้าให้ ใน สพป. เขต 3 และสพม. เขต 36 มีการขาดแคลนครูถึง 320 คน โดยประมาณ ถึงกระนั้น หากครูได้ถูกกระจายไป ยังเขตต่างๆในทุกระดับเขตการศึกษาแล้ว ก็ยังมีครูถึง 605 คนที่เกินจากที่นโยบายก้าหนดไว้ ตารางที่ 5 จ้านวนครูตามนโยบาย และจ้านวนขาด/เกินของเฉลี่ยแต่ละโรงเรียนในแต่ละเขตการศึกษา จ้านวนครูเฉลี่ย เขตพืนที่การศึกษา ตามนโยบาย แท้จริง ขาด/เกิน สพป. เชียงราย เขต 1 9 11 เกิน 2 สพป. เชียงราย เขต 2 7 9 เกิน 2 สพป. เชียงราย เขต 3 12 10 ขาด 2 สพป. เชียงราย เขต 4 7 9 เกิน 2 สพม. เชียงราย เขต 36 48 46 ขาด 2 ที่มา: จากการค้านวณ, ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
จากจ้านวนนักเรียนโดยเฉลี่ยต่อโรงเรียน สามารถน้ามาค้านวณหาจ้านวนครูโดยเฉลี่ยตามนโยบายของสพฐ. ได้ พบว่าจ้านวนครูโดยเฉลี่ยในเขต สพป. เขต 1 2 และ 4 เกินมาอย่างละ 2 คนโดยเฉลี่ย แต่ในเขตสพป. เชียงราย เขต 4 และสพม. เขต 36 ขาดอย่างละ 2 คนโดยเฉลี่ย ไม่ว่าจะดูในระดับเขตการศึกษา หรือเฉลี่ยออกมาในแต่ละโรงเรียน สพป. เขต 3 และ สพม. เขต 36 ก็มี ปัญหาเรื่องจ้านวนครูที่ไม่เพียงพอต่อนักเรียน หรือห้องเรียน หรือเรียกได้ว่ามีความเหลื่อมล้้าในการกระจายบุคลากร ทางการศึกษา ตารางที่ 6 จ้านวนโรงเรียนในแต่ละอ้าเภอที่มีจ้านวนนักเรียนต่้ากว่า 40 คน จ้านวนโรงเรียนที่มีนักเรียน เขตพืนที่การศึกษา อ้าเภอ < 40 คน เมืองเชียงราย 6 เวียงชัย 2 สพป. เชียงราย เขต 1 เวียงเชียงรุ้ง 0 รวม 8 ป่าแดด 1 พาน 19 แม่สรวย 6 สพป. เชียงราย เขต 2 เวียงป่าเป้า 4 แม่ลาว 0 รวม 30 เชียงแสน 4 สพป. เชียงราย เขต 3 แม่จัน 3 แม่สาย 2 ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 13
OBELS WORKING PAPER NO.5
เขตพืนที่การศึกษา
JUNE 2014
จ้านวนโรงเรียนที่มีนักเรียน < 40 คน 0 0 9 3 12 8 1 0 24 0 71
อ้าเภอ แม่ฟ้าหลวง ดอยหลวง รวม เชียงของ เทิง พญาเม็งราย เวียงแก่น ขุนตาล รวม กระจายทุกอ้าเภอ
สพป. เชียงราย เขต 4
สพม. เชียงราย เขต 36 รวมทังหมด
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
จากข้อมูลของสพฐ. ในเขตพื้นที่การศึกษาในระดับประถมศึกษาเขต 1 มีจ้านวน 8 โรงเรียน เขต 2 มีจ้านวน 30 โรงเรียน เขต 3 มีจ้านวน 9 โรงเรียน และ เขต 4 จ้านวน 24 โรงเรียน รวมทั้งหมดเป็น 71 โรงเรียนที่มีจ้านวน นักเรียนต่้ากว่า 40 คน เข้าเกณฑ์ที่ของส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่จะต้องถูกยุบรวมกับ โรงเรียนอื่นๆตามนโยบายดังกล่าว โดยสฟป.เขต 2 และ เขต 4 มีจ้านวนโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมากเป็นพิเศษประมาณ ร้อยละ 16 ของจ้านวนโรงเรียนทั้งหมดในเชียงรายที่มีขนาดเล็ก และเขต 3 และ เขต 4 นั้นคิดเป็นร้อยละ 7 และ 6 เท่านั้น ตารางที่ 7 จ้านวนรายได้รวมในแต่ละเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา รายได้ปี 2550 รายได้ปี 2556 อัตราการเติบโตเฉลี่ย จ้านวนประชากร เขตพืนที่การศึกษา บาท/เดือน บาท/เดือน ร้อยละ คน สพป. เชียงราย เขต 1 40,883 62,674 7 347,699 สพป. เชียงราย เขต 2 สพป. เชียงราย เขต 3 สพป. เชียงราย เขต 4 รวมทั้งหมด
38,533 36,699 37,568 38,421
60,464 61,941 54,900 59,995
8 9 7 8
328,387 323,437 251,893 1,251,416 คน
ที่มา: จากการค้านวณ, ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556) หมายเหตุ: สถิติจ้านวนประชากรเป็นของปี 2553
เมื่อน้ารายได้มาแบ่งตามเขตการศึกษาในระดับประถมศึกษา (สพฐ.) จะเห็นว่ารายได้ของเชียงรายตั้งแต่ปี 2550 ถึงปี 2556 เติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8 โดยสพป. เขต 3 มีรายได้เติบโตเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 9 รองมาเป็น สพป. เขต 2 อยู่ที่ร้อยละ 8 และ สพป. เขต 1 และเขต 4 อยู่ที่ร้อยละ 7 ถึงแม้กว่าสพป. เขต 1 จะมีจ้านวนอ้าเภอ เพียง 3 อ้าเภอ ในขณะที่อีกสามเขต แต่ละเขตมีจ้านวนอ้าเภออยู่ 5 อ้าเภอ สพป.ก็มีการเติบโตของรายได้โดยเฉลี่ยสูง เท่าๆกับสพป.เขตอื่นๆ โดยพิจารณาจากจ้านวนประชากรจากข้อมูลสถิติในปี 2553 แสดงให้เห็นว่าในแต่ละเขต การศึกษามีจ้านวนประชากรไม่ต่างกันมากนัก โดยสพป. เขต 1 มีจ้านวนประชากรรวมกันแล้วมากกว่าสพป. เขตอื่นๆ ทั้งนั้น ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 14
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
รูปที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนนักเรียนและรายได้โดยเฉลี่ยในปี 2556 ของแต่ละเขต 40,000
เขต 3
35,000 จ้านวนนักเรียน (คน)
30,000
เขต 2
25,000
เขต 4
20,000
เขต 1
15,000 10,000 5,000 0 54,000
55,000
56,000
57,000
58,000 59,000 60,000 รายได้เฉลี่ยต่อหัว (บาท)
61,000
62,000
63,000
64,000
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556) จากรูปที่ 9 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนนักเรียน และรายได้เฉลี่ยต่อ หัวในปี 2556 ของแต่ละเขต การศึกษาพบว่า สพป.เขต 1 ที่มีรายได้เฉลี่ยรวมในปี 2556 สูงที่สุด แต่มีจ้านวนนักเรียนในเขตต่้ากว่าสพป. เขต 4 ที่ มีรายได้เฉลี่ยรวมต่้าที่สุด ส่วนสพป.เขต 2 และ 3 ก็มีจ้านวนรายได้เฉลี่ยรวม และจ้านวนนักเรียนค่อนข้างเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน เห็นได้ว่าจ้านวนนักเรียนไม่ได้ส่งผลต่อรายได้เฉลี่ยรวมของแต่ละเขตการศึกษาเลย เมื่อเขตการศึกษา ระดับประถมที่มีรายได้เฉลี่ยรวมสูงที่สุดมีจ้านวนนักเรียนใกล้เคียงกับเขตการศึกษาระดับประถมที่มีรายได้เฉลี่ยรวม ต่้าที่สุด
จ้านวนโรงเรียน
รูปที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนโรงเรียนและรายได้โดยเฉลี่ยในปี 2556 ของแต่ละเขต 200 180 เขต 2 160 140 120 100 80 60 40 20 0 54,000 55,000
เขต 2 เขต 3 เขต 1
56,000
57,000
58,000 59,000 60,000 รายได้เฉลี่ยต่อหัว (บาท)
61,000
62,000
63,000
64,000
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
จากรูปที่ 10 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนโรงเรียน และรายได้เฉลี่ยต่อหัวในปี 2556 ของแต่ละเขต การศึกษาพบว่า สพป.เขต 1 มีจ้านวนโรงเรียนที่ต่้าที่สุด แต่มีรายได้เฉลี่ยรวมสูงที่สุด รองมาก็คือ สพป.เขต 2 3 และ ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 15
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
4 แต่รายได้เฉลี่ยรวมของสพป. เขต 3 มากกว่า 2 และ สพป. เขต 2 มากกว่า 4 จากความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่ได้ สามารถอธิบายอะไรได้มาก เมื่อสพป.เขต 1 2 และ 3 มีรายได้เฉลี่ยรวมสูงกว่าสพป.เขต 4 แต่เฉพาะสพป.เขต 2 ที่มี จ้านวนโรงเรียนมากกว่า รูปที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนครูและรายได้โดยเฉลี่ยในปี 2556 ของแต่ละเขต 1800
เขต 2
1600
เขต 4
จ้านวนครู (คน)
1400
เขต 3 เขต 1
1200 1000 800 600 400 200 0 54,000
55,000
56,000
57,000
58,000 59,000 60,000 รายได้เฉลี่ยต่อหัว (บาท)
61,000
62,000
63,000
64,000
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556) จากรูปที่ 11 แสดงถึงความสัมพั นธ์ระหว่างจ้า นวนครู และรายได้เฉลี่ยต่อหัวในปี 2556 ของแต่ละเขต การศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ดังกล่าวเหมือนกับความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนโรงเรียน และรายได้เฉลี่ยรวมในปี 2556 จากรูปที่ 9 โดยสพป.เขต 1 ที่มีรายได้สูงที่สุด มีจ้านวนครูต่้าที่สุดเช่นเดิม มีความแตกต่างตรงที่จ้านวนครูของ สพป.เขต 3 มีจ้านวนครูมากกว่าสพป.เขต 4 เพียงเท่านั้น รูปที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนห้องเรียนและรายได้โดยเฉลี่ยในปี 2556 ของแต่ละเขต 2000
เขต 2
1800 1600 จ้านวนห้องเรียน
1400
เขต 3
เขต 4 เขต 1
1200 1000 800 600 400 200 0 54,000
55,000
56,000
57,000
58,000 59,000 60,000 รายได้เฉลี่ยต่อหัว (บาท)
61,000
62,000
63,000
64,000
ที่มา: ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 16
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
จากรูปที่ 12 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างจ้านวนห้องเรียน และรายได้เฉลี่ยต่อหัวในปี 2556 ของแต่ละเขต การศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ดังกล่าวแทบไม่มีความแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหว่างรายได้เฉลี่ยรวม และจ้านวน โรงเรียนกับจ้านวนครู จากรูปที่ 9 และ 10 โดยที่สพป.เขต 1 มีจ้านวนห้องเรียนที่ต่้าที่สุด แต่มีรายได้สูงที่สุด รองมา เป็นสพป.เขต 3 ที่มีรายได้ต่้าที่สุด และ สพป.เขต 2 และ 3 ตามล้าดับ เมื่อมองจากความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ต่อหัวของแต่ละเขตการศึกษากับรายได้เฉลี่ยรวมที่ไม่มีความสัมพันธ์ กัน เนื่องจากจ้านวนของห้องเรียน ครู โรงเรียน และห้องเรียนของเขตการศึกษาระดับประถมเขตที่ 1 และ ที่ 4 มี จ้านวนที่ใกล้เคียงกันมาก ทั้งที่มีรายได้ต่างกันที่สุดจากสี่ เขตการศึกษา แสดงว่าการป้อนปริมาณทางการศึกษานั้น อาจจะไม่ได้เป็นตัวก้าหนดการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของรายได้ อาจจะเป็นที่ระบบการศึกษา หรือการบริหารจัดการที่ท้า ให้ยังเกิดความเหลื่อมล้้าในรายได้ของแต่ละอ้าเภอที่อยู่ต่างเขตการศึกษากัน 3. ความเหลื่อมล้าด้านสาธารณสุข การเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่ดีและแพทย์เพียงพอต่อจ้านวนประชาชนอย่างเหมาะถือว่าเป็นสิ่ง ส้าคัญต่อประชาชนในจังหวัด เนื่องจากจะช่วยรักษาโรคต่างๆ และอุบัติเหตุได้อย่างทันทวงที ปัจจุบันการเข้าบริการ ในสถานพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบลของประชาชนนั้นอย่างทั่วถึง ความเหลื่อมล้้าด้านสาธารณสุข เกิดจากการเข้าบริการใช้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับประกันสังคม เพราะว่าในการรักษาพยาบาลในแต่ละครั้ง จะต้องเสียค่าใช้จ่ายจ้านวนมากในแต่ละครั้ง เช่น ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการรักษา ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และการ บริโภค เป็นต้น การเข้ารับบริการจากสถานสถานพยาบาลจะมีสิทธิในการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ 2 ประเภท ได้แก่ 1. สิทธิ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2. สิทธิประกันสังคม โดยสิทธิประกันสังคมสุขภาพถ้วนหน้าบุคคลที่สามารถได้รับสิทธินี้ อัน เนื่องมาจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 51 ระบุว่า บุคคลมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่ มี คุ ณ ภาพ มาตรฐาน อย่ า งทั่ ว ถึ ง เท่ า เที ย ม ผู้ ย ากไร้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาฟรี โ ดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ่ า ย ส่ ว นสิ ท ธิ ประกันสังคมบุคคลที่สามารถได้รับสิทธิต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ซึ่งในจังหวัดเชียงรายมีประชาชนที่ได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ 2 ประเภทดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 8 สิทธิในการรักษาพยาบาลในจังหวัดเชียงรายปี 2554-2556 (คน) ประเภทสิทธิ 2554 2555 2556 สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า 919,361 927,926 927,501 สิทธิประกันสังคม 68,092 72,568 75,804 ที่มา : ส้านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (2556)
จากตารางที่ 8 เราจะเห็นได้ว่าสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ได้รับในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี 2554 มี จ้านวนประชากร 919,361 คน ปี 2555 มีจ้านวนประชากร 927,926 คน และในปี 2556 มีจ้า นวนประชากร 927,501 คน ส่วนสิทธิประกันสังคมมีจ้านวนประชากร ปี 2554 68,092 คน ปี 2555 มีจ้านวนประชากร 72,568 คน และในปี 2556 มีจ้านวนประชากร 75,804 คน ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงจ้านวนของประชากรสิทธิในการรักษาพยาบาล ดังกล่าว อาจจะไม่ถึงความเหลื่อมล้้าด้านสาธารณสุขเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอาจ เกิดจากการย้ายถิ่นฐานของประชากรในจังหวัดเชียงราย และประชากรเข้าสู่วัยท้างานแล้วได้รับสิทธิประกันสังคม จึง ท้าให้จ้านวนประชากรที่รับสิทธิประกันสังคมเพิ่มมากขึ้น การเข้ารับบริการสถานพยาบาลจากการใช้สิทธิในการรักษาพยาบาลของแต่ละสิทธินั้นมีความแตกต่างกันท้า ให้เกิดความเหลื่ อมด้า นสาธารณสุข โดยการรับ สิท ธิ ป ระกัน สุขภาพถ้ว นหน้า ไม่มี ค่า ใช้ จ่ ายใดๆ ทั้ง สิ้น แต่สิ ท ธิ ประกันสังคมจะต้องมีการสมทบเงินรายเดือน เพื่อมาใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและหากต้องการรักษาให้เหมือนกับ ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 17
OBELS WORKING PAPER NO.5
JUNE 2014
สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะต้องจ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้เกิดความเหลื่อมล้้าด้าน สาธารณสุขขึ้น โดยสรุป จากความเหลื่อมล้้าในการกระจายรายได้ การศึกษา และสาธารณสุข ท้าให้เราเห็นว่าถึงแม้จะมี นโยบายลดความเหลื่อมล้้าในประเทศ แต่ก็ยังไม่สามารถขจัดความเหลื่อมล้้านี้ให้ลดลงได้ ซึ่งความเหลื่อมล้้าต่างๆ ล้วนเกิดจากความเหลื่อมล้้าทางรายได้เป็นเหตุให้เกิดความเหลื่อมล้้าดังกล่าว โดยงานชิ้นนี้เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ใน ประเทศไทย ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าความเหลื่อมล้้าลดน้อยลง เนื่องจากมีการกระจายอ้านาจและการด้าเนินนโยบายของ จังหวัดเชียงรายค่อนข้างดี แต่อย่างไรก็ตามความเหลื่อมล้้าของประเทศไทยก็ยังเกิดขึ้นเรื่อยๆ และมีความเหลื่อมล้้าที่ เกิดขึ้นมาในสังคมมากกว่า 3 ประเด็นนี้ อีกทั้งประเด็นต่างๆ อาจไม่ได้เกิดจากปัจจัยทางด้านรายได้ การศึก ษา สาธารณสุข แต่สิ่งที่ท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้าที่ค่อนข้างรุนแรงก็คือ การใช้ความเป็นมนุษย์มาท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้า ในสังคม ซึ่งการศึกษานี้เป็นเพียงเบื้องต้น หากต้องการศึกษาเชิงลึกต่อไปควรศึกษาด้านโครงสร้างทางสังคม มุมมอง และทัศนคติของคนในจังหวัดเชียงราย เอกสารอ้างอิง ปัณณ์ อนันอภิบุตร (2555). นโยบายและมาตรการภาษีเพื่อความเป็นธรรมในการกระจายรายได้: ประสบการณ์จาก ต่างประเทศและแนวทางในการประยุกต์ใช้ในประเทศไทย. ส้านักนโยบายภาษี. ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ผาสุก พงษ์ไพจิตร : ภาพรวมความเหลื่อมล้้า กับสัญญาณการเปลี่ยนแปลง(จากชั้นล่าง).วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555, http://prachatai.com/journal/2012/08/42071 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1-4 ปี ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2504 – พ.ศ. 2524 ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2556)
ส้านักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ด้าเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อน้าไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานส้าคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
ความเหลื่อมล๊ าในการกระจายรายโด้ การศึกษา และสาธารณสุ ขในจังหวัดเชียงราย
หน้า 18