THE SECRET OF DEVIL BY PALUT MAROD
19 MARCH - 24 APRIL 2016 SUBHASHOK THE ARTS CENTRE
ความในใจของช่างภาพ - โศภิรัตน์ ม่วงคำ� (ผู้หญิง ถือกล้อง) เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 มาแล้ว ที่ผู้คนในสังคม เริ่มมีการถกเถียงกัน ด้วยเรื่อง “ภาพนู้ด” นี้ เป็นศิลปะ หรือ อนาจาร จนถึงปัจจุบันนี้ ก็ ยังหาข้อสรุปไม่ได้ จะหยิบยกมาถกกันก็ตอนที่มีกระแสสังคมออกมา เป็นครั้งคราว แต่ถ้าเรามองโดยภาพรวม ว่าจริงๆ นู้ด นั้นหมายถึง อะไร ก็อาจจะแปลความหมายให้เข้าใจง่าย ว่าจริงๆแล้วนั้น “นู้ด” ก็คือ “การเปลือย” นั่นแหละ
ในฐานะช่างภาพนู้ด ที่ได้ร่วมงานกับศิลปิน ถือว่าเป็นครั้งแรกที่ได้มี การผสมผสานระหว่างศาสตร์ของการถ่ายภาพและจิตรกรรม ที่ทำ�ให้ รู้สึกพิเศษจากงานไหนๆ คือการที่เราได้ดึงสิ่งที่เป็นตัวตนและความ คิดของศิลปินเอง สำ�คัญที่สุดคือศิลปินเป็นแบบเอง มันทำ�ให้เป็น เครื่องการันตรีได้ว่า งานที่จะออกมานั้น ไม่มีสิ่งอื่นเจือปน นอกจาก ความเป็นตัวเองของศิลปิน
ซึ่งถ้ากล่าวถึง ภาพนู้ดแบบไหนที่เป็น “ศิลปะ” และ ภาพนู้ดแบบ ไหน ที่เป็น “อนาจาร”
ในเรื่องกระบวนการทำ�งาน ได้มีการพูดคุยกับตัวศิลปิน เพื่อทำ�ความ เข้าใจในกระบวนการทำ�งานของแต่ละฝ่าย สิ่งที่ตัวศิลปินต้องการ จริงๆ เพราะว่าสิ่งที่เห็นด้วยตา ถ้าเราแสดงไม่ชัดเจน ผู้เสพอาจ จะตีความหมายไปเป็นอื่นได้ ยิ่งเป็นภาพนู้ดแบบชายและหญิง ยิ่ง ต้องคิดให้มากขึ้น ตกลงเรื่องลิมิตของการทำ�งานของแต่ละคนว่าอยู่ ตรงไหน มีการบรีฟ การหาภาพอ้างอิง แม้กระทั่งตัวช่างภาพเองก็ ต้องมีการสเกตซ์ภาพคร่าวๆ เพื่อจะได้เห็นออกมาเป็นรูปธรรมก่อน ถ่ า ยจริ ง ส่ ว นช่ ว งทำ � งานด้ ว ยกั น ค่ อ นข้ า งง่ า ยมากเพราะว่ า เราคุ ย และตกลงกันมาก่อน ทำ�ให้เข้าใจในสิ่งที่คุยกัน อีกอย่างต้องกราบ ขอบคุณตัวศิลปินเอง ที่เปิดใจที่จะทำ�งานร่วมกันและให้เกียรติใน การทำ�งาน ทำ�ให้ไม่มีอะไรติดขัด ถือว่าเป็นอีกงาน ที่รู้สึกเป็นเกียรติ ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
ถ้าตอบในเชิงคนสร้างงานศิลปะ คงจะได้ยินคำ�ตอบคล้ายๆ กันก็คือ “ภาพนู้ด ที่เป็นศิลปะนั้น จะไม่ก่อให้เกิดกามาอารมณ์ ส่วนอนาจาร จะส่อไปทางยั่วยุกามาอารมณ์” แต่ถ้าตอบในเชิงกฏหมาย หรือ การ ออกสื่อบางประเภท ก็แยกเพียงแค่ ถ้าภาพใดที่เห็น “หัวนม” หรือ ว่า “ขนในจุดสงวน” ภาพนั้นจะถูกตัดสินว่าเป็น “อนาจาร” ทันที .. จากข้อความดั่งกล่าว ก็คงเห็นได้แล้วว่า ภาพนู้ดนั้น ถ้าได้มอง จากหลายๆมุม ก็มีการให้ความหมายที่ต่างกัน... ภาพนู้ด กับ งานศิลปะ บางครั้งผู้สร้างงานศิลปะ หรือที่เราเรียกว่าศิลปิน ก็นำ� “นู้ด” มา เป็นส่วนหนึ่งของงาน นอกจากการต้องการแสดงความสวยงามของ ร่างกายโดยธรรมชาติแล้ว อาจจะเป็นเพราะว่า การที่แบบปราศจาก เสื้อผ้าอาภรณ์ สามารถทำ�ให้งานนั้น ไม่มีช่วงเวลาของยุคของสมัย เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยก็เป็นได้ หรือ เป็นการให้ความหมายของ “การ เปลือย” เป็นอย่างอื่น “การเปลือย” “นู้ด”นอกจากเรื่อง เซ็กส์ แล้ว ยังมีความหมาย หรือ นั ย ยะ ของความเป็ น อิ ส ระ ความเป็ น ธรรมชาติ ความเป็ น มนุ ษ ย์ ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับการตีความของตัวศิลปินเอง ทำ�ให้การเสพงาน ศิลปะในบางครั้งหรือหลายๆครั้ง ผู้เสพควรมีความรู้นอกเหนือจาก เรื่ององค์ประกอบศิลป์ ทำ�ให้การที่เราได้อ่านหรือฟังในสิ่งที่ศิลปิน เจ้ า ของงานบรรยายก่ อ น จะทำ � ให้ เราได้ เข้ า ใจถึ ง ความหมายของ งานนั้นๆมากยิ่งขึ้น
ความรู้สึกจากใจในฐานะผู้ชอบเสพงานนู้ด ถื อ ว่ า เป็ น การผสมผสานศิ ล ปะภาพถ่ า ยและศิ ล ปะภาพเพ้ น ท์ มา รวมกั น ได้ อ ย่ า งลงตั ว การเลื อ ก “นู้ ด ” มาเป็ น ส่ ว นประกอบของ งาน ทำ�ให้รู้สึกว่า ต้องการจะสื่อนัยยะของความเป็นมนุษย์ ไม่ว่า จะยุคไหนก็ตาม ทุกคนย่อมมีด้านมืดในตัวเอง ถ้ามีสติ ด้านสว่างก็ จะคอยเป็นกรอบที่ล้อมด้านมืดของเอาไว้ แต่เราก็เผลอปล่อยด้าน มืดออกมาในความฝันแบบไม่รู้ตัวก็อาจจะเป็นไปได้ รวมถึงการใช้ โทนสี เ พื่ อ สื่ อ อารมณ์ ของศิ ล ปิ น ทำ � ให้ ภาพสมบู ร ณ์ แ ละมี ค วามน่ า สนใจมากๆเลยทีเดียว
Article from photographer - Sophirat Muangkum – Translator : Sunida Supantamart
A
s early as in the 18th century, people in society started
the artist in work, it was my first experience in the mixture
debating about the issue of “nude images”, whether they
of photography and painting, which gave a special sen-
were art or obscenity. Until these days a conclusion still
sation not found in any other works, the sensation from
cannot be reached. The issue is occasionally brought up
drawing out the selfhood and thoughts of the artist him-
for debate only when some social currents arise. However,
self. Most importantly, the artist himself was a model. This
if one considers what “nude” generally means, to be easily
could guarantee that the work that would come out would
understood, it can be translated as “naked”.
be unadulterated, that it would purely be the selfhood of the artist.
As to the question of how to decide which nude images are “art” and which ones are “obscenity”, in art makers’ terms,
As regards the work processes, the artist and I talked to
the answers should be similar, that is, “nude images that
each other in order to comprehend the work process of each
are art do not provoke erotic emotion whereas obscenity
other and what the artist really wanted
signifies erotic provocation”. On the other hand, in the
perceived with the eyes, if exhibited unclearly, can be in-
terms of law or the press, the distinction merely concerns
terpreted in other ways by the perceivers, and it is partic-
whether or not the “nipple” or “hair in the private area”
ularly so with nude images of men and women, for which
are seen. If they are, the images will definitely be judged
more thought should be given. Furthermore, the limit of
“obscene”.
each person’s work was determined, briefing was done,
because what is
and reference images were sought. Even the photographer ... From the above statements, it should be apparent that
had to do some rough sketches in order to see the concrete
nude images, from various perspectives, are
before shooting. As for the phase of working together, it
defined in
was quite effortless because we had talked and made agree-
diverse ways...
ments in advance, so we understood what we were talking about. One more thing, I would like to express deep grat-
NUDE IMAGES AND ARTWORK Sometimes art makers, or those whom we call artists, apply
itude and great honor to the artist himself for opening his
“nudity” as part of their work. Besides the
intention to
heart to work with me and honoring me in the work, which
show the bodies’ natural beauty, the reason is probably the
caused it to be without obstruction. It is another work that
models’ being without clothes renders timelessness to the
makes me feel honored to be a part of it.
work or defines “nakedness” differently. FEELING FROM THE HEART OF A PERSON WITH A “Nakedness” or “nudity”, besides signifying the matter of
TASTE FOR NUDE ARTWORK It is a just the right mixture
sex, also denotes or connotes liberty, naturalness and hu-
of the arts of photography and painting. Choosing “nudity”
manness, depending on the interpretation of the artists.
as a component of the work gives the impression of intend-
Thus, in perceiving artwork, on some or many occasions,
ing to signify humanness. In any era, everyone has a dark
the perceivers should have some knowledge other than
side in themselves. If we are mindful, the light side will
that of elements of art. Also, reading or listening to the
constantly serve as the frame enclosing our dark side, yet
artists’ explanations first will enable us to understand the
it is possible that we unconsciously loosen the dark side
meanings of the work more.
in dreams. The tones used to convey the emotions of the artist also make the pictures complete and very much in-
As a photographer of nude photography who got to join
teresting.
Lust Oil on linen 150 x 200 cm.
Virgin Oil on linen 150 x 200 cm.
Pink Emotion Oil on linen 160 x 140 cm.
Blue Emotion Oil on linen 140 x 160 cm.
Black Willendorf Dancing Oil on linen 130 x 90 cm.
Dream of Black Willendorf Oil on linen 150 x 200 cm.
Rainbow World Oil on linen 150 x 150 cm.
Jewel beetle Wing Oil on linen 160 x 140 cm.
Rainbow flower Oil on linen 150 x 150 cm.
Rainbow Mask Oil on linen 160 x 140 cm.
End Mixed Technique on canvas 118 x 82 cm.
Play with The devil Mixed Technique on canvas 80 x 116 cm.
Beginning Mixed Technique on canvas 80 x 116 cm.
Prohibition Mixed Technique on canvas 118 x 82 cm.
Rhythm of Dancing Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Turquoise Ocean Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Triple girls Dancing Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Black Willendorf Dancing 2 Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
In the rainbow Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Red Ocean Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Flying on Black Ocean Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Rain Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Playgirls Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
Blue cloud Mixed Technique on paper 56 x 76 cm.
PALUT MAROD Born : Noverber 1, 1972 Education MFA (Painting) the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art, Sipakorn University B.F.A. (Painting) the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art, Sipakorn University Wat Rachathiwass School Exhibition 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009
- Deep Group Exhibition “Deep in Mind” at May Gallery - International Drawing at Korea - Art Exhibition “JITAKORN-THAI” Group at Open Art Space - Group Exhibition “Bangkok 2002” Pea Boonnak Gallery - Master Degree Group Art Exhibition 2001 at the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art Gallery - “Imagination of Landscape” at Vajiravudh College Art Gallery - The 2nd Deep Group Art Exhibition “In to the Deep” at Nelson Hay Gallery - The 5th Panasonic Art Competition at Nation Art Gallery - Thailand Watercolor at Silom Galleria - The 5 decade Anniversary at The College of Fine Arts Exhibition - “New vision of Thai Phra-bot” at Art Center Silpakorn University - Painting Dreams at City Gallery - “In memory of Princess Mother” at Queen’s Gallery, Bangkok - “Space and Space” at Art Center Silpakorn University - “Artist Hurt Tsunami” at Queen’s Gallery Bangkok - “Southern India Portrayals of Discovery” at Art Center Silpakorn University2007 - “Painting Phuket, the Pear of Andaman” at Queen’s Gallery, Bangkok - Exhibition “Art For Smile” at SCB Park Museum - “The International Trade Exhibition, Conference, Workshop, and Special Events for Music & Art” - “Color Image” at Jamjuree art gallery, Chulalongkorn University - “รฤกไท” at Jamjuree art gallery, Chulalongkorn University - Portraits of Thai Artist at Silom Galleria - Group exhibition “Painting at the Dragon City at Praprompijit Gallery” at Silapakorn University - Exhibition “Thai Contemporary Art Exposition 2007” at Silapakorn University on an occasion of Silpa Bhirasri Day - “Water” Art Centre Silapakorn University - Painting Exhibition to commemorate the King’s 80th Birthday King Bhumibol Adulyadej : - “Flower for Women” at Four Seasons Hotel Bangkok - The Art Exhibition par Excellence 2007 “Silapakorn Alumni Artists Celebrate the 80th Birthday Anniversary of His Majesty the King, the Great Artist” - Solo Exhibition “Spirit of Nature” at Jamjuree Gallery, Bangkok - Visual Arts Festival 55th Anniversary of the College of Fine Arts at Queen Gallery, Bangkok - Solo Exhibition “Mystery of Angel” at Rose Garden - “Consciousness” at Art Center, Silapakorn University - International Visual Association of Thailand at Queen Gallery, Bangkok
2010 2011 2012 2013 2014 2016
- “Nude” at Silom Galleria, Bangkok - Christie’s auction Southeast Asian Modern Contemporary Art, Hong Kong - Thai Elephant at The Elephant Conservative Center - The Color of Beijing at Krungthai Bank Gallery, Bangkok - “Gaysorn Silpa” at Sombatpermpoon Gallery, Bangkok - The 2nd Art Exhibition of the International Visual Artist Association of Thailand - Christie’s auction Southeast Asian Modern Contemporary Art, Hong Kong - “Uoon I Rak” at Queen Gallery, Bangkok - Festival Thailand Culture at Romania - The 3rd Art Exhibition of the International Visual Artist Association of Thailand - “So What?”, Art Group Exhibition at National Gallery, Bangkok - Solo Exhibition “Spirit of Women” at Ardel Third Place, Bangkok - 55 Artists, 55 Faith at Panisa Gallery, Chiangmai - Art Exhibition contemporary artists fight for the flood at national Gallery,Bangkok - Sotheby’s auction Southeast Asian Modern Contemporary Art, Hong Kong - Christie’s auction Southeast Asian Modern Contemporary Art, Hong Kong - Sotheby’s auction Southeast Asian Modern Contemporary Art, Hong Kong - “Moi/Soi” Art Exhibition at Adler Subhashok Gallery, Bangkok - Art Stage Singapore 2016 - Solo Exhibition “The Secret of Devil” at Adler Subhashok Gallery
Scholarship 1944 1996 2004 2006 2009 2011
- MESEUM YIPINSOY Scholarship - “Scholarship at Italy-France” by Dr. Chumpol Pornprapa - “Scholarship at India” by Dr. Chumpol Pornprapa - “Scholarship at China” by Dr. Chumpol Pornprapa - “Scholarship at China (Beijing)” by Dr. Chumpol Pornprapa - “Scholarship at China (Romania and Bulgaria)” by Dr. Chumpol Pornprapa
Based on photograph by Chamni Thipmanee
เกี่ยวกับศิลปิน About Artist
Q : ร่วม 20 ปีกับการเดินทางในสายศิลปินอาชีพ มองย้อนกลับไป พลุตม์ มารอด มองตนเองอย่างไรบ้างคะ A : เราเป็นคนทำ�อะไรไม่เป็นนะ ( หัวเราะ ) และก็พยายามที่จะ ทำ � อะไรเป็ น ด้ ว ย เพราะถ้ า ทำ � เป็ น คงไม่ ไ ด้ เขี ย นรู ป อย่ า งนี้ คิ ด แล้ ว มองย้อนกลับ ดีใจที่ตัวเองทำ�อะไรไม่เป็นเลย เพราะถ้าทำ�อะไรเป็น เยอะมากกว่าการเขียนรูป คงต้องไปหาเงินกับการทำ�สิ่งนั้น ความ ภาคภูมิใจต่างๆคงลดน้อยลง ตอบง่ายๆคือเราชอบเขียนรูป แต่จะ ทำ�อย่างไรให้เลี้ยงชีพได้ส่วนหนึ่งและตอบโต้กับชีวิตเราได้อย่างไร Q : ที่ผ่านมาคิดว่าพลุตม์ทำ�ได้ตามที่ต้องการมั้ยคะ A : ก็ได้ในระดับนึงนะที่ต้องการ มันเป็นความต้องการเป็นกิเลส ของเราที่มากขึ้นตามเวลาด้วย เพราะตอนแรกเราก็คาดหวังระดับ นึงเท่านั้น แต่คนเรามันมีเปอร์สเปคทีฟเราก้าวเดินแต่ละช่วงด้วย แรงด้วยกำ�ลังที่เรามีตอนนั้น พอมีจุดเปลี่ยน สถานการณ์มันเปลี่ยน มีโอกาสต่างๆเข้ามา สถานการณ์มันก็ทำ�ให้เราเติบโตขึ้น หรือ เดิน ช้าบ้าง แต่เราก็พยายามเดินให้มันมั่นคงที่สุด Q : สิ่งที่ยึดเหนี่ยวและจรรยาบรรณในอาชีพศิลปินของพลุตม์ มารอด มาตลอดคืออะไรคะ A : คือศิลปินต้องไม่โกหกตัวเองนะ ว่าจะทำ�อะไร เพราะถ้าโกหก ตัวเองแล้ว มันก็ต้องโกหกคนอื่น อีก แล้วพอโกหกบ่อยๆมันก็จะลืม ว่าโกหกอะไรมาบ้าง แล้วก็ต้องพูดอะไรซ้ำ�ๆ พอเราไม่โกหกตัวเอง เราก็รู้ว่าจะทำ�อะไร เราพูดให้ตรงกับใจที่จะทำ� พอพูดตรงแล้วปุ๊บ เราก็จะเดินตามเส้นนั้น เมื่อเดินตามเส้นนั้นก็จะส่งผลให้เราทำ�ในสิ่ง ที่เราทำ�อยู่ได้แน่วแน่ สิ่งที่เราพูดบางทีมันจะไม่ได้ถูกถ่ายทอดด้วย ปาก แต่ถูกพูดด้วยตัวงาน ตัวงานมันจะแสดงความจริงออกไป โดยที่ เราไม่ต้องพูดมาก มันจะตอบสนองชีวิตเราและมีความต่อเนื่องด้วย
Q : For all the 20 years of the journey in the path of professional artist, looking back, how does Palut Marod see himself? A : I’m the kind of person who can’t do anything (laughed), and I try to be able to do things too, for if I were, I wouldn’t be painting like this, and, thinking in reverse, I’m glad I can’t do anything at all because if I could do something better than painting, guess I’d be making money out of it. All my pride should lessen. To answer simply, I like to paint, but there’s a question of how to be able to make a living and also respond to my life. Q : So far do you think you’ve done as you wanted? A : To a certain degree, yes, and there’s also the matter of my want, my desire that increased with time because at first I only had a certain degree of expectation, but we humans have perspectives. We walk in each period with the energy, the strength we have at the time. As a turning point comes up, the situation changes, opportunities come. The situations make us grow, or walk slowly sometimes, but we try to walk as steadily as possible. Q : What have been the things Palut Marod holds on to and his professional morality as an artist so far? A : Artists must not lie to themselves about what they’ll do because if you lie to yourself, then you also have to lie to others, and lying often, you won’t remember every lie you have told, and you have to say the same things you’ve said before. If you don’t lie to yourself, you’ll know what to do. You say according to what you want to do in your heart. Once you have spoken honestly, you’ll walk in that path. As you walk in that part, you can do what you’re doing with determination. What you say is sometimes not conveyed through the lips, but through work. The work will manifest the truth without your having to speak much. It will accommodate your life and also have continuity.
บทสัมภาษณ์ศิลปิน พลุตม์ มารอด นิทรรศการ “The Secret of Devil”
โดย สุภิตา เจริญวัฒนมงคล (ภัณฑารักษ์)
Q : ที่มาที่ไปของนิทรรศการในครั้งนี้ “The Secret of Devil” มาจากจุดเริ่มต้นอย่างไรคะ A : จุดแรกเริ่มมาจากสถานการณ์ที่ได้ไปเขียนรูปนู้ดกับเพื่อน เป็น ประสบการณ์ใหม่ที่ในครั้งแรกก็ไม่ได้เจตนาว่าจะนำ�มาเจาะจงทำ�งาน ในชุดนี้นะ ความตั้งใจแรกคืออยากไปเขียนรูปสนุกๆกับเพื่อน แต่พอได้เขียน เราก็พบความแตกต่างจากเมื่อครั้งเราเขียนในสมัย เป็นนักศึกษามาก ซึ่งระยะเวลามันก็ห่างกันหลายปี ประสบการณ์ ใหม่ที่เกิดขึ้นทำ�ให้เราเกิดความคิดต่อ Q : แล้วที่บอกว่ามันแตกต่าง นี่มันแตกต่างอย่างไรคะ A : คื อ ตอนเรี ย นก็ จ ะเป็ น การจั ด โพสท่ า พื้ น ฐาน ง่ า ยๆ เขี ย น เพื่อศึกษา แต่พอมาเขียนใหม่อีกครั้ง มันมีการจัดท่าทาง โพสท่า สวยงาม มีความแปลกใหม่ ไม่ เป็ น แบบเทรดดิ ชั่ น ในการเพนท์ ติ้ ง แบบนักศึกษา เป็นการเขียนแบบศิลปินมารวมตัวแล้วได้เขียนรูปกัน ต่างคนต่างมีสไตล์ของตัวเอง ทำ�ให้ดูน่าสนใจ พอเราได้เขียนงานใน ครั้งนั้น เราก็กลับมาคิดนะ ว่าเราเองก็กำ�ลังหาอะไรบางสิ่งสำ�หรับ งานชุดใหม่ แล้วส่วนหนึ่งนะ จิตรกร หรือศิลปิน มันต้องเป็นครีเอ เตอร์ในตัวเองด้วย เราจะทำ�งานย้ำ�ซ้ำ� ๆ บางทีมันก็ไม่ตอบโต้กับ ประสบการณ์ ชีวิต คือถ้าประสบการณ์ชีวิตเราเปลี่ยน เราก็ควรจะ ต้องมีเนื้อหาที่ปรับเปลี่ยนในตัวงานศิลปะให้มันสอดคล้องไปกับชีวิต เรา ศิลปินควรจะจริงใจและทำ�อะไรที่นำ�เอาชีวิตของเขามาใช้ เมื่อ ได้ไปพบเจอะเจออะไร ก็ควรจะเอาสิ่งนั้นมาเล่า มาคุย ถ่ายทอดลง ในงานศิลปะที่เขาทำ� Q : พลุตม์ เขียนผู้หญิงมาตลอด ผู้หญิงในอดีตที่ผ่านมา เท่าที่เคย ทราบก็จะหมายถึงผู้หญิงในบทบาทของครอบครัว เช่น ความเป็น แม่ ที่ ซั อ นทั บ กั บ บทบาทด้ า นอื่ น หน้ า ที่ ข องผู้ ห ญิ ง ในหลายๆด้ า น ของความสั ม พั น ธ์ อยากจะให้ เ ปรี ย บเที ย บระหว่ า ง การสื่ อ สาร บทบาทของผู้หญิงที่เขียนในครั้งนี้กับที่เคยสื่อสารมา ใกล้เคียงหรือ ต่างกันอย่างไรคะ A : อื ม แต่ จ ริ ง ๆนะพอเรามาเขี ย นนู้ ด นี่ เราบอกเลยเราคิ ด ถึ ง ครอบครัวด้วยซ้ำ� ก็ยังวกกลับมาที่ความสัมพันธ์ของครอบครัว เรา มองเรื่องรูปทรงของเพศตรงข้ามที่มันตอบโต้กัน อย่างเราเป็นชาย เราเห็นผู้หญิงเราก็เกิดความรู้สึกอารมณ์ทางเพศ รู้สึกถึงทางความงาม
อย่างในขณะที่เขียนนี่ไม่ได้รู้สึกทางเพศนะ แต่รู้สึกถึงความงามในรูป ลักษณ์ รูปร่าง รูปทรง ตรงหน้า เราก็ตีโจทย์ต่อไปว่า ถ้าสมมุติถ้า เราเกิดความรู้สึกทางเพศในบริบทที่มันไม่ใช่ มันค่อนข้างเป็นเรื่องที่ อันตราย ในคำ�สอนของศาสนาพุทธที่เรานับถือเราก็มีศีลข้อ 3 กำ�กับ จิตใจ และ ประเด็นใหญ่คือเราเป็นคนที่มีครอบครัวแล้ว วิธีการมอง ผู้หญิง เราก็ต้องเปลี่ยนไป เราก็ต้องมีหิริโอตตัปปะ มีความอดกลั้น ต่ออะไรบางอย่างที่มันไม่ควรเป็นแบบนั้น เราก็เลยคิดผนวกไปว่า เราอยากจะสร้างคล้ายๆ เป็น ละคร สร้างสตอรี่ขึ้นมา และมีตัว ละครที่เรากำ�หนดจากนางแบบที่เราได้เขียนนี่ล่ะ และ นอกจากสาย จิ ต รกรรมแล้ ว เราก็ ไ ด้ มี โ อกาสไปทำ � งานกั บ ช่ า งภาพ ก็ เ ลยเกิ ด ปฏิ สัมพันธ์หลายๆอย่าง นางแบบก็ได้เจอหลากหลายขึ้น ข้อมูลความ หมายการแลกเปลี่ยน คนที่คุย คนที่ทำ�งานนู้ดมา เขาคิดอย่างไร มัน มีอิทธิพลบางอย่างที่เข้ามาในงานเราได้ เมื่อได้ซึมซับ ก็สนุกสนาน กับการเขียนมากขึ้น และเราก็ต้องการอยากให้ตัวเองมีปฎิสัมพันธ์ กับงานด้วย จึงได้ใช้ตัวเองเข้าไปถ่ายรูปกับนางแบบ Q : จริงๆ มันก็เหมือนการต่อยอดจากงานชุดที่แล้วนะคะ เพียง แต่ว่าเป็นอีกด้านหนึ่ง คือชุดที่แล้วเราเห็นเรื่องการสื่อสารหน้าที่ใน ชีวิตครอบครัวที่ผู้หญิงเป็น แต่ในชุดนี้เราพูดถึงหน้าที่ของอีกองค์ ประกอบหนึ่งด้วย คราวนี้เป็นหน้าที่ของผู้ชาย หน้าที่ที่เกี่ยวเนื่อง กับสิ่งเร้าต่างๆที่เข้ามา เพศหญิงเหมือนกันแต่ไม่ใช่ภรรยาเรา ไม่ใช่ คนในครอบครัวของเรา A : ใช่ แต่จะย�้ำเพิ่มว่าไม่ใช่เฉพาะเพศชายนะ เพศหญิงเองก็ควร จะมีส่วน คือเราน�ำศีลข้อ 3 มาเป็นจุดยึดถือที่พูดถึงการห้ามละเมิด ซึ่ ง อาจจะไม่ ไ ด้ ร ะบุ เ พศ เพศหญิ ง ก็ ไ ม่ ค วรละเมิ ด เพศชายที่ ไ ม่ ใช่ เจ้าของ แต่ในผลงานเราแค่ยกตัวอย่างเสนอว่าเป็นละครเรื่องหนึ่ง เป็นฉากละครที่ท�ำให้ผู้ดูอาจจะไม่ได้ถูกก�ำหนดเรื่องเพศใดเพศหนึ่ง เท่านั้น Q : ถ้าพูดถึงประสบการณ์ชีวิตที่เข้ามา จริงๆศิลปินเคยประสบ เรื่องล่อแหลม ความเสี่ยงในชีวิตครอบครัวแบบนี้มั้ยคะ A : จะเรียกว่าไม่ก็ไม่เชิงนะ เพราะโลกปัจจุบันที่ครอบงำ�ด้วยโลก โซเชียล ปัจจุบันการมีชู้ มีกิ๊กทางออนไลน์นี่เกิดง่ายขึ้นเยอะ อย่าง ตัวเราเองที่เป็นคนที่มีคนรู้จักพอสมควร ก็จะมีผู้หญิง เข้ามาคุยกับ
เรานะ ถ้าเราไม่ยับยั้งใจก็อันตราย เราก็มองย้อนไปที่ครอบครัวเรา ถ้าเรานึกสนุก ครอบครัวก็คงพังเลย แต่จริงๆอยากจะไปมั้ย ผู้ชาย ทั่วไปก็อยากจะไปแน่นอน แต่มันต้องมีพลัง ต้องแกร่งนะ Q : อันนี้คงเป็นเรื่องปกติเลยนะคะ จริงๆแล้วไม่ใช่แค่ผู้ชาย ผู้หญิง ก็ด้วย มันเหมือนทุกอย่างมันเปราะบาง มันง่ายขึ้น ซึ่งรู้สึกมันเชื่อม โยงไปถึงงานของพลุตม์ด้วยนะ ที่จะมี สัญลักษณ์ ความบอบบาง กลีบดอกไม้ สีสันฉูดฉาด วูบวาบ เตะตา มันเชื้อเชิญ มันชวน...มาก A : ใช่ ที่สีสันเยอะนี่อยากให้เป็นเรื่องของความสนุก เย้ายวนใจ การล่อใจ เรื่องเซ็กส์เป็นเรื่องของความสนุกนะ แต่พอคนแบบว่า สนุ ก มากก็ ทุ ก ข์ ม ากๆได้ ถ้ า หลงไปอยู่ ต รงนั้ น มิ ติ มั น ลวงตา พวก แอพพลิ เ คชั น สื่ อ สารต่ า งๆในโซเชี ย ล มั น ทำ � ให้ ค นเราเจอกั น ได้ ง่าย พอเจอกันก็ผลักดันกิเลสสัญชาตญาณดิบของมนุษย์เข้าหากัน เข้าไปเจอะเจอกันเพียงแค่ชั่ว ชั่วโมงหนึ่ง ถูกใจกันก็ไปด้วยกันแล้ว ครอบครั ว เราสอนมาในเรื่ อ งเซ็ ก ส์ ที่ ค่ อ นข้ า งหวงห้ า ม มี ข อบเขต นะ อาจจะดูเป็นคนเชย ๆ แต่ ในยุคปัจจุบันเรื่องเซ็กส์มันกลาย เป็นเรื่องแลกเปลี่ยน คล้ายกับการจับมือทักทายแบบโลกตะวันตก บางทีการล่วงละเมิดก็เกิดจากเจตนาที่อยู่ภายในใจเราเป็นสำ�คัญนะ การควบคุม ขีดจำ�กัด ความคิด ที่ไปต้องการคนที่มีภรรยา หรือสามี แล้ว ไม่ใช่แค่เรื่องร่างกาย เรื่องใจนี่ก็สำ�คัญ จะว่าไปใจเป็นส่วน สำ�คัญที่สุดเลยด้วยซ้ำ� Q : งานในครั้งนี้ที่ดูมีเทคนิคที่แปลกตาขึ้น มีลูกเล่นที่ต่างจากเดิม เห็นว่ามีการต่อยอดจากความสนใจเกี่ยวกับเรื่องการถ่ายภาพ และ ยังมีงานทำ�ภาพพิมพ์โมโนปรินท์ด้วย รายละเอียดเป็นอย่างไรบ้างคะ A : คือ อย่างงานเพนท์ และงานโมโนปรินท์นี่มาจากจุดเริ่มช่วงที่ เราไปเขียนนู้ด แล้วเราสนุกไปกับบรรยากาศในการเขียน มีผู้คน มี เพื่อน จะเพนท์อย่างเดียวก็ธรรมดาไปเพราะมันไม่ใช่การเขียนเพื่อ สตัดดี้แล้ว แต่คือการเขียนที่เอาความรู้สึกมาใช้ ก็เลยนำ�อารมณ์ สนุก อารมณ์อิสระของเด็กๆมาใช้ นึกย้อนไปถึงตอนเราเด็กๆเราใช้สี ยังไง เราก็เลยบีบสีลงไป ละเลงหลายสีลงไปโดยฟรีสไตล์ ใช้สีที่เห็น ข้างหน้าสะดุดตาในเวลานั้นก็มาบีบแล้วก็ปั๊ม เทคนิคเหมือนบัตเตอร์ ฟลายเอฟเฟค มันก็เกิดสี เกิดเทคเจอร์ที่ทำ�ให้งานของเราสนุกมาก
ขึ้น และส่วนหนึ่งเราก็คิดถึงการเอ็กซิบิชั่นด้วย ในเอ็กซิบิชั่นครั้งหนึ่ง นี่มันควรจะมีอะไรใหม่ๆ มันเหมือนเราไปดูงานใครสักคนดูครั้งก่อน เมื่อ 3 ปีที่แล้ว กับในเวลานี้แล้วมันยังเหมือนเดิม ไม่มีการพัฒนา ไม่มีการครีเอทอะไรใหม่ๆ เราไม่อยากให้คนดูคาดเดาได้ว่าสุดท้ายก็ ต้องเจออะไรแบบที่เคยผ่านมา เราอยากให้ประสบการณ์ใหม่กับผู้ดู เราสนุกกับงานด้วย คิดถึงคนดูด้วย แต่จริงๆงานชุดนี้ก็ไม่ได้เปลี่ยน จากเดิมมากนะ อยู่ในช่วงระหว่างรอยเชื่อม ลูปเดิม เพียงแต่เราใช้สี ให้มันไม่นิ่งมากเหมือนชุดที่ผ่านมา Q : ขออนุญาตตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องการพับสี เทคนิคพับสีใน งานที่ผ่านมา ดูเหมือนจะเริ่มพับก่อนแล้วคลี่คลายเรื่องราวจากการ พับนั้น จินตนาการต่อ แต่ว่าครั้งนี้คืองานเพนท์นี่นำ�ไปก่อน แล้ว ศิ ล ปิ น ค่ อ ยนำ � เทคนิ ค การพั บ สี ม าทั บ มาปั๊ ม ลงไป คล้ า ยจะเปลี่ ย น บทบาทมัน ซึ่งมันก็สืบเนื่องไปถึงเรื่องคอนเซ็ปต์งาน ที่พูดเรื่องชีวิต ครอบครัวก็จริง แต่พูดในมุมที่ต่างออกไป งานที่ผ่านมาๆนี่จะเป็น เบื้องหน้าของชีวิตเลยชุดนี้เป็นเรื่องเบื้องหลังนิดนึง A : ใช่ มันมีจุดเชื่อมโยงเชื่อมต่อกันนะ ศิลปินก็พยายาม ไม่ให้มัน หลุ ด ออกจากกั น เพราะท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว ทั้ ง หมดมั น ก็ คื อ ชี วิ ต ของเรา และชีวิตมันก็ไม่ได้พลิกผันไปขนาดนั้น Q : พูดถึงเรื่อง งาน Mixed technique on canvas สักนิดนะคะ ทราบมาว่าศิลปินดีไซน์ท่าทางเรื่องราวในภาพด้วยตัวเอง A : ใช่ๆเราคิดไว้ก่อนว่าเราอยากจะทำ�อะไร สื่อสารอะไร แล้วเรา ก็ทำ�งานร่วมกับช่างภาพที่เขามีประสบการณ์ตรง เป็นผู้เชี่ยวชาญ ได้คุยคอนเซ็ปต์ ร่วมกันออกแบบและเราก็เป็นตัวแสดงในนั้นด้วย Q : ถ้าอย่างนั้นนี่คราวนี้เราเป็นทั้งไดเรคเตอร์ แอคเตอร์ และ อาร์ สติสด้วยเลย A : ใช่เป็นหมด เป็นทุกอย่างเลย สวมทุกบทบาทเลย ( หัวเราะ ) Q : สำ�หรับครั้งนี้ที่เรานำ�ตัวเองเข้าไปถ่ายกับนางแบบ จะว่าไปถือว่า เป็นปรากฎการณ์ ใหม่ของชีวิตเลย ตื่นเต้นมั้ย คะ A : ก็ไม่รู้นะ ตอนแรกเนี่ย คุยกับช่างภาพก่อน ตอนที่ไปเขียนนู้ด
ว่าเราอยากจะถ่ายนู้ดตัวเองเก็บไว้ คือไม่รู้ จะเหมือนผู้หญิงหรือ เปล่านะ ผู้หญิงบางคนอาจจะอยากถ่ายภาพนู้ดเก็บไว้ แต่เราเป็น ผู้ชายก็ ...เออเค้าถ่ายออกมาก็สวยดีนะ คือเห็นแนวในการถ่ายของ เค้าเราก็อยากจะถ่ายบ้าง และพอคิดอีกที เอ.. เราก็ชวนเข้ามาถ่าย ในบรรยากาศเขียนนู้ดไปด้วยเลยดีกว่า เพราะถ้าถ่ายเราคนเดียวก็ อาจจะฝืดๆ ไม่รู้จะไปโพสซิชั่นอะไรกับใคร ยังไง มีนางแบบมันสนุก บวกกับคอนเซ็ปต์ที่เราอยากทำ�คุยกับเค้า แลกเปลี่ยนความคิด จัด ท่าทาง สนุกสนานกัน Q : เป็นการเปลี่ยนครั้งใหญ่พอสมควรเลยนะคะ จากปกติที่ทราบ มาคือการเขียนโดยข้อมูลที่เป็นหุ่นบ้าง การตัดต่อภาพบ้าง แต่นี่ ภาพชีวิตที่เคลื่อนไหวตรงหน้าเลย A : ใช่ นี่แหละจากคนจริงๆและเราก็ใช้สัญลักษณ์ของเราที่เคยใช้ เข้ามาผสมผสาน คือคนเราก็อยากเติบโต พอเรามีอารมณ์ร่วม เราก็ จะทำ�ทุกอย่างได้สนุกเต็มที่ มันมีกราฟที่พุ่งขึ้นไปของจินตนาการ Q : นางแบบในภาพนี่สังเกตว่าค่อนข้างหลากหลาย A : คืออย่างที่เล่า เราได้ไปเขียนหลายวง หลายกรุ๊ป ก็จะเจอนาง แบบหลายคน แตกต่างกันไป ซึ่งมันกลายเป็นข้อดีในงานนะ คือได้ มีมุมมองใหม่ ความคิดใหม่ ประสบการณ์ใหม่ ๆ เช่นน้องคนหนึ่ง ( อีฟ ) เค้ามีภาษากายที่สวย มีอินเนอร์ เป็นมืออาชีพมาก หรือ อย่างอีกกลุ่มที่นางแบบจะเป็นคนต่างชาติ ฟอร์ม บอดี้ร่างกายเค้า สวย ในงานนี้เราไม่ได้พูดถึงครรลองคลองธรรมอย่างเดียวแต่เราใช้ ความงามนำ�ด้วย ความงามของรูปลักษณ์ร่างกาย ศิลปินพยายามหา กลวิธีเพื่อไม่ให้มันจริงเกินไป ให้มันมีโลกแห่งความฝัน มีดรามาติค Q : คาดหวังอยากให้ผู้ชมรู้สึกอย่างไรคะ หลายๆคนอาจจะมี ประสบการณ์ร่วม มีความลับนะ เหมือนชื่อนิทรรศการ A : แต่ผมนี่เผยไปเยอะแล้วนะ เริ่มไม่ลับแล้ว ( หัวเราะ ) ถ้าหมาย ถึ ง ผู้ ช มก็ อ ยากให้ ใช้ จิ น ตนาการไปด้ ว ยกั น กั บ งานเชื่ อ ว่ า คนเรามั น ต้องมีเรื่องเคยคิด เคยทำ� มีเจตนา ด้านมืด เราในฐานะศิลปิน ด้าน มืดเราก็อยากจะสื่อออกมาในงาน ศิลปินหลายคนอยากจะทำ�แต่ไม่ ได้ทำ� เราก็ทำ�เสียเลย ทำ�เพื่อระบายภายในของเรา ใช้จินตนาการ เหมือนด้านร้ายกาจ เช่น ผู้หญิงอยู่ตรงหน้า แล้วผู้ชายจะไปรุมทึ้ง
มันก็มีเรื่องความดิบ ความเถื่อน เราดึงสัญชาตญาณตรงนั้นออกมา บทสรุปสำ�หรับงานครั้งนี้อาจจะหมายถึง การเปลือยนะ การเปลือย ที่จริงที่สุดคือการเปลือยใจเข้าหากัน เราเชื่ออย่างนั้นนึกเป็นภาพง่ายๆ คือถ้าเราเปลือยกาย ไม่มีเครื่องแบบปิดบัง มันจะกล้าพูด จะกล้า เปิดเผยความใน เพราะภายนอกเปลื้องไปแล้ว เช่นสามีภรรยาที่มี ความสัมพันธ์ลึกซึ้งทั้งทางกายและทางใจ มีความรู้สึกดีๆต่อกัน ก็ จะสัมผัสถึงใจของแต่ละฝ่ายได้มากกว่าปกติ Q : คำ�ถามสุดท้ายแล้ว โดยรวมแล้วพอใจ กับงานในครั้งนี้มาก หรือน้อยแค่ไหน ตรงใจ ได้ใจ เรามากแค่ไหนคะ A : ถ้าพูดเป็นเปอร์เซ็นต์นี่ก็ 80 -90 เปอร์เซ็นต์นะ ยังไงศิลปิน ก็มีแผลอยู่ในใจเสมอ ทำ�งานออกมายังไงก็ไม่ 100 เปอร์เซน เพราะ เมื่อไหร่ที่เขาบอกว่าทำ�ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เขาจะไม่สามารถทำ�งาน ศิลปะต่อได้ มันจะจบ อีก 10 - 20 เปอร์เซนท์ที่มันค้างคา มันจะทำ�ให้ เค้าทำ�งานต่อเนื่องได้ แต่ว่าความพอใจที่สุดคือเราได้เล่น ได้อิสระ ได้เปิดเผยตัวตนอะไรมากกว่าที่ผ่านมา งานชุดเดิมๆอาจจะมีกั๊กความ รู้สึกบ้าง พูดน้อยบ้าง อันนี้รู้สึกว่าพูดมาก และเราเองก็ได้อะไรจาก งานชุดนี้มากเหมือนกัน ยังรู้สึกเหมือนกินข้าวยังไม่อิ่มเท่าไหร่ มันก็ ยังอยากจะท�ำต่อ ก็มีความคิดที่จะพัฒนา ดื่มด�่ำกับมันให้มันเต็มที่ มากกว่านี้
Interview with Palut Marod for the Exhibition
“The Secret of the Devil” Interviewer : Subhita Charoenwattanamongkhol ( Curator ) Translator : Sunida supantamart
Q : How did this exhibition, “The Secret of the Devil” come about? A : It started with an occasion of painting nude pictures with some friends. It was a new experience, which at first I did not intend to use in developing this series specifically. The initial intention was just to go paint with my friends for fun. But after I had painted, I found the painting experience to be very different from the painting experience when I was a student, and it’s been many years since then, and the new experience that occurred induced some thought in me…. Q : And when you said it’s different. How do you mean? A : When I was a student, it was basic, simple posing . The painting was done for study, but as I painted again then, there was arrangement for beautiful posing; there was some novelty, not the painting tradition for students. It was the kind of painting activity in which artists gathered and got to paint together, each with his own style, so the work looked interesting. After that painting activity, I came to think about the fact that I had been looking for something for a new series. Also, a painter, or artist, must be a creator per se. Repeating the same kind of work is sometimes not reaction to life experience, that is, if your life experience changes, the content of the artwork should be modified to correspond with your life. An artist should be honest and apply his life to the creation of his work. Whatever it is that he comes upon, he should recount it, talk about it, convey it in his artwork. Q : Palut, you’ve always painted women. The women in the former paintings, as far as I know, are women in the familial roles, such as the role of motherhood that overlaps the roles in other aspects, with women’s duties in many facets of relationship. Could you please compare the ways the roles of women are communicated in the present and past paintings? How are they similar or different?
A : Well, indeed, having painted nude pictures, I’m telling you, it made me think of my family, even. My painting comes back to family relationship. I considered the matter of the shapes of the opposite sexes that involve reciprocal response. For instance, I’m a man; seeing a woman, I can get sexual sensation. I feel the beauty. When I painted, I did not have sexual sensation, but I could feel the beauty in the image, the figure, the shape in front of me. Then I considered the matter further; suppose I feel the sexual sensation in the wrong context, then it is rather dangerous. In the teachings of Buddhism, which I revere, there is the third precept, which governs my mind, and the major point is I already have a family. My way of looking at women must be different. I must have the shame and fear of sin. I must have restraint for something that’s not right. Then I integrated the idea of making it kinda like a play, for which I would create a story with the characters being created from the models I had painted, and besides engaging in painting, I also got an opportunity to work with a photographer, which resulted in many kinds of interaction. I encountered more various models, information, meanings, exchanging, the people I talked with, the people who had done nude work. I got to learn what they thought. There was some influence that could come into my work. As I absorbed this, I found more enjoyment in doing the paintings, and I wanted to have some interaction with the work, so I let myself be photographed with the female models. Q : Actually, this is like building on the last series, only this is another side. That is, in the last series we saw the communication on the duties in family life that women fulfill, but this series deals with the duty of another element, too. This time it is the duty of men, the duty related to the stimuli that come. There are women like in the last series, but not one’s wife, not members of one’s family. A : Yeah, but I’m giving an emphasis in addition that
it’s not just men, women should play a part as well. I applied the third precept as a standpoint about prohibition against transgression, which may not identify the sex. Females should not transgress with males who are not theirs, either. However, in my work, I merely propose an example in the form of a play, with scenes that may not subject the audience to the determination of any certain sex. Q : About the life experiences that have come to you, in fact, have you experienced danger, experienced risk in family life like this? A : I can’t really say I haven’t. Because in the present world, which is held sway by the social media, cheating can occur a lot more easily online. With me being known by quite a lot of people, there are women coming to talk to me. If I don’t restrain myself, it will be dangerous. And I look back at my family. If I thought of having fun, my family would just collapse, but in fact, do I want to go? Most men certainly do, but you got to have the power. You must be strong. Q : This should be normal. Actually, not only for men, but women, too. It’s like everything’s fragile. It’s easier, and I think this is also related to your work, which has the symbols, fragility, flower petals, bright colors. It’s dazzling, striking. It’s inviting. It’s alluring, … very much so. A : Yes. The colorfulness is intended to convey fun, seduction, temptation. Sex is about fun, but if people are very into having fun, they can suffer very much if they get possessed by it. It’s an illusory world. The communicative applications in the world of social media allow people to meet easily. Once they meet, the passion induced by the raw instinct of humans is driven together. Having met but for an hour, they like each other and go together. What my family taught me about sex is rather prohibitive. It’s restrictive. I may seem to be an uncool person, but in the present time, sex has become a matter of exchange. It’s like shaking hands in the Western world. Sometimes the transgression is mainly due to the intention within the heart. Controlling, limiting the thought of desiring someone who already got a spouse is not just about the physical. The mind’s important. Actually,
the mind’s the most important thing. Q : In this work, which seems to have techniques and tricks that are different from the previous work, apparently there is building on the interest in photography, and there is also mixed technique. What are the details like? A : For the paintings and mixed technique, they came from the starting point when I went to paint nude pictures and had fun with the atmosphere of the painting activity. There were people. There were friends. To do painting alone would be too ordinary because it was no longer painting for study but painting in which the feelings were applied, so I applied the childhood sentiments of merriment and freedom. I thought back to when I was a child, about how I used colors back then, so I squeezed the color, smeared a lot of colors freestyle, taking the striking ones in front of me to squeeze, then pressed them. The technique was like the butterfly effect, and the colors and textures that were produced made my work merrier. And I also thought about the exhibition. An exhibition should have something new. Imagine you went to see someone’s work three years ago and went again today and the work was still the same, no development, nothing new had been created. I don’t want the viewers to expect that they’ll end up seeing something like what they did before. I want to give them a new experience. I had fun with the work, and I also thought about the viewers, but actually, this series is not so different from the previous work. It’s within the junction, within the same loop, only I used colors in a way that makes it look not so still like the last series. Q : May I make an observation about fold-over painting? In the last series, the fold-over painting technique seems to be starting with the folding and then unfolding the stories from it, using imagination to continue from there, but this time the paintings were done first, then you used the fold-over technique to press the colors over the paintings, as if to change its role. And this is related to the concept of the work, which deals with family life, but it’s from a different perspective. The past work is definitely about what lay ahead in life; this series is a bit about
the background. A : Yes, there is connection. I tried not to let the two become separated because after all, the whole thing is my life, and my life hasn’t changed that much. Q : May we talk a bit about the work done with the mixed technique on canvas? I’ve been informed that you designed the postures and stories in the pictures yourself. A : Yeah, yeah. At first I thought about what I wanted to do, what I wanted to communicate, then I worked with the photographer with first-hand experience and expertise. We discussed the concept and designed together, and I was also an actor in the work. Q : So this time you were the director, actor, and artist. A : Yes, I was all that, I played all the roles (laughed). Q : This time you let yourself be photographed with the models. If you think about it, it’s a new phenomenon in your life. Were you excited? A : I don’t know. At first, I talked to the photographer when I went to paint nude pictures that I would like to have nude pictures of myself taken for keeping. I don’t know if it’s the same way women feel. Some women may want to have nude pictures of themselves taken for keeping, but being a man, I was like, … the pictures turned out beautifully. Having seen her style of photography, I wanted to be photographed, too, and when I thought again, I was like, well, … I should just ask her to come shoot in the atmosphere of painting nude pictures because if I were photographed alone, it would probably feel like something’s missing. There would be no one to pose with, and I couldn’t imagine how the posing should be done. Having female models would be fun plus there was a concept that I wanted to apply, to discuss with her, exchanging ideas, designing postures, having fun. Q : It’s quite a big change. As I’ve usually been informed, the painting work is done with the use of mannequins and photo editing, but this is pictures of life moving in front of you. A : Yes, this is from real humans, and I mixed in my symbols that I’d used before, for we humans want to
grow. As we have emotional involvement, we can do everything with full enjoyment. There is the imagination graph that rises. Q : Noticeably, the models in the pictures are rather diverse. A : Like I said, I went to paint in many groups, so I met a lot of different models, which turned out to be an advantage to the work, that is, I got new points of view, new thoughts, new experiences. For example, there’s one model, Eve, who got beautiful body language. She’s a natural, very professional, or in another group with foreign models, the forms of their bodies were beautiful. This work doesn’t deal with propriety only, but beauty was also used as the lead, the beauty of the body’s image. I tried to find some techniques to make it not too realistic, to give it a world of dream, and something dramatic. Q : How do you expect the viewers to feel? A lot of people probably have common experiences. They may have some secrets, like the title of the exhibition. A : But I’ve already revealed a lot. Now it’s not so much of secrecy (laughed). For the viewers, I want them to use their imagination with the work. I believe it’s certainly natural for humans to have been through thoughts, actions, and intentions of the dark side. As an artist, I wanted to express the dark side in the work. Many artists want to do it but they never get to, so I just went ahead and did it, to let out my inside, using imagination. It’s like the wicked side, like when there’s a woman in front of a bunch of guys, and they’re all going to violate her together. There’s the rawness, the savagery. I drew out that instinct. The summary of this work is probably about nakedness, the absolutely real nakedness is the hearts’ getting naked to each other. I believe so. You can imagine an easy picture. If you got naked, having no clothes to cover you, you would dare speak, you would dare reveal what’s inside because the outside had been taken off, like a couple who have a deep relationship in both body and heart and feel good about each other, they can feel the heart of each other more.
Q : Last question, overall, how much are you satisfied with this work? How well does it reflect your mind? A : Speaking in percentage, it’s 80-90%. No matter what, artists will always have wounds in their hearts. No matter what work they produce, it’ll never be 100% because whenever they say they’ve reached 100%, they won’t be able to create artwork anymore. It’ll be the end. The other 10-20% that’s missing will enable them to produce work continually. But the greatest satisfaction is getting to play, to have freedom, to reveal more of myself than in the past. In the former series, there may be some restraint of feeling, some reticence; in this series I feel that I communicate a lot. And I myself got quite a lot out of this series. I still feel as if I hadn’t eaten until I was quite full. I still want to do some more work. I got a thought to develop the work further, to savor it more fully.
Thank you Marod & Chantalakhana Family Dr.Chumpol Pornprapa & Family Subhashok Angsuvarnsiri Sopawadee Bhunyaraks & Family S.A.C Subhashok The Art Centre Twatchai Somkong Alongkorn Lauwatthana Manmard Chantalakhana Srisant Chitvaranund Sitthiporn Banjongpetch Sophirat Muangkum Chusit Wijarnjoragij Chamni Thipmanee Anitra Saisaard (Model) Khanitta Niikaew (Model) Darunee Srimueng (model)