1
2
AT THE ART CENTRE,SILPAKORN UNIVERSITY, WANG THAPRA 15 MARCH TO 9 APRIL 2016
3
นิทรรศการทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 15 th 15 Silpa Bhirasri Creativity Grants เจ้าของและผู้จัดพิมพ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 3841, 02 623 6115 ต่อ 11418,11419 ออกแบบและคอมพิวเตอร์กราฟฟิก ศรุดา สวนสะอาด เรียบเรียงเนื้อหาและภาพประกอบ ศรายุทธ ภูจริต ประสานงานนิทรรศการ วรรณพล แสนคำ� แปลภาษาและพิสูจน์อักษร เมธาวี กิตติอาภรณ์พล พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม 2559 จำ�นวนที่พิมพ์ 700 เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำ�บลบางขนุน อำ� เภอบางกรวย นนทบุรี 11130
โทรศัพท์ 02 879 9154 4
5
ตะวันตก กับ ตะวันออก ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี : เขียน เขียน ยิ้มศิริ แปล จาก “East and West” หน้า 24
เมื่อเราชาวตะวันออกเปิดหนังสือศิลปะสมัยใหม่ของตะวันตกออกดู ก็จะเห็นได้ว่าส่วน ใหญ่ของงานศิลปนั้น แสดงให้เห็นถึงศิลปตามแบบนามธรรม ซึ่งทำ�ให้เรารู้สึกหวั่นเกรงว่าจะทำ�ให้ จิตใจของเราหวั่นไหวไปด้วยกับแบบอย่างงานศิลปเช่นนั้น หรือมิฉะนั้นอย่างน้อยก็ทำ�ให้เรารู้สึก หมดหวังในการทีไ่ ม่สามารถทีจ่ ะเข้าใจในคุณสมบัตภิ ายในของศิลป ซึง่ นักวิจารณ์และผูร้ พ ู้ ากันสนใจ สนับสนุน โดยแท้จริงแล้ว เราใคร่ทจ่ี ะชืน่ ชมการแสดงออกซึง่ ความรูส้ กึ ของศิลปแบบนามธรรมต่าง ๆ เป็นอย่างยิ่ง แต่ยิ่งพยายามที่จะเข้าใจเพียงใด ความฉงนสนเท่ห์ก็ยิ่งทวีคูณขึ้นเพียงนั้น ด้วยความ รู้สึกเช่นนี้ ดวงจิตของเราจึงตกอยู่ในสภาพถูกหลอกหลอนจากความลังเลใจอย่างรุนแรง ว่าการที่ เราไม่เกิดความนิยมชมชอบงานศิลปะแบบนามธรรมนัน้ เป็นเพราะความโง่ของเรา หรือความไม่มอี ะไร ของงานศิลปะ อันขึ้นอยู่กับผลิตผลอันเหนือพุทธิปัญญาสามัญ ยิง่ กว่านี้ สิง่ ทีเ่ พิม่ ความสับสนทางสมองและความนึกคิดของเรามากขึน้ อีกก็คอื หนังสือ ประเภทศิลปวิจารณ์ที่เขียนขึ้น เพื่ออธิบายถึงคุณค่าอันเร้นลับของงานศิลปะดังกล่าวนั้น หนังสือ ประเภทนี้ใช้ถ้อยคำ�อันยุ่งยากสับสน มุ่งจะให้ประชาชนเชื่อว่า การใช้สีป้ายลงไปบนแผ่นผ้าใบเพียง สองสามเส้นนั้น มีพลังสะเทือนใจเช่นเดียวกันกับงานศิลปชิ้นสำ�คัญของศิลปินโบราณ ประชาชน ส่วนใหญ่ยังคงฉงนและไม่กล้าขัดแย้งความคิดของผู้ที่เชื่อว่าตนรู้ และประการสุดท้ายก็คือ กลัว จะถูกกล่าวหาว่าเป็นคน “ล้าสมัย” เลยสรุปเอาว่าตนไม่อาจนิยมชมชอบศิลปะตามลัทธิสัญลักษณ์ นิยม และความงามของเส้นลวด หรือจุดดำ�บนแผ่นผ้าใบ เนื่องจากตนขาดการศึกษาศิลป แต่สิ่งที่ น่าประหลาดใจยิง่ ไปกว่านีก้ ค็ อื เหตุผลทีว่ า่ แม้ศลิ ปินผูซ้ งึ่ พยายามทีจ่ ะทำ�ความเข้าใจต่อการแสดงออก ซึ่งความรู้สึกในศิลปสมัยใหม่อย่างจริงใจ ก็มักตกอยู่ในสภาพของการหมดหวังต่อการที่จะเข้าใจใน ก้าวใหม่ของความคิดทางศิลปอยู่เสมอ แนวทางของแบบอย่างศิลปะสมัยใหม่หลายต่อหลายแบบมักจะขาดคุณสมบัติทางด้าน สุนทรียะ เต็มไปด้วยความผิดพลาดและหยาบคาย รูปคนก็มักจะเขียนให้บิดเบี้ยวและน่าเกลียดจน เราประหลาดใจว่า ศิลปินช่างมีจิตใจโหดร้ายต่อเพื่อนร่วมโลกเสียนี่กระไร เหตุของการกระทำ�เช่นนี้ ดูเหมือนว่าเป็นการ “เกลียด” ธรรมชาติอย่างเข้ากระดูกดำ� อันอาจกล่าวได้ว่าเป็นการระเบิดออก ซึ่งการปฏิวัติต่อสังคมที่มิอาจหาทางเข้าใจซึ่งกันและกันได้ ซึ่งปรากฏอยู่ในชีวิตกึ่งความมืดมน แต่ จุดหมายของศิลปินมิอาจจำ�กัดอยู่ในวงแคบเพียงในลัทธินิยมของความชื่นชมหรือในความซ้ำ�ซาก อยู่ตลอดไป หรือในความละทิ้งต่ออุดมคติซึ่งควรจะเป็นหลักเบื้องต้นของชีวิตมนุษย์ ศิลปนั้นต้อง แสดงให้เห็นถึงความเสือ่ มโทรมทางสังคมของเรา แต่ตอ้ งให้ความหวังในอนาคตอันสดใสแก่เราด้วย ยกตัวอย่างเช่นโกย่า 1 ซึ่งเป็นนักศึกษาผู้ยิ่งใหญ่ผู้หนึ่ง ได้ใช้งานภาพพิมพ์ของท่านเป็นเครื่องมือ ชี้ให้เห็นถึงความผิดของมนุษย์ แต่ก็ได้สร้างงานศิลปซึ่งช่วยให้เราได้รับทั้งความหวังและสิ่งซึ่งช่วย ปลดเปลื้องความทุกข์ให้ลดน้อยลงด้วย เมือ่ ปีคาซโซ่เขียนภาพแสดงถึงนครเกเวอร์นคี า่ อันเป็นเมืองเล็ก ๆ ในสเปญ ซึง่ ถูกพวก นาซีบอมบ์ระเบิดพินาศในสงครามกลางเมืองของสเปญ ปีคาซโซ่จงใจเขียนรูปคนและสัตว์ให้บดิ เบีย้ ว เพื่อส่งให้เห็นผลของสงครามอันทารุณโหดร้าย และความเมตตาสงสารต่อประชาชนผู้เคราะห์ร้าย ปรากฏอยู่ในภาพเขียนของท่าน เมื่อศิลปินกลุ่มเอ็กซเพรซชั่นนิสม์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เขียน ภาพก็ใช้สีรุนแรง และแสดงให้เห็นถึงความรู้สึกอันน่าหวาดกลัว ศิลปินเหล่านี้เขียนภาพออกมาด้วย ความจริงใจ สะท้อนให้เห็นถึงความรู้สึกของมวลประชาชนผู้ซึ่งทอดอาลัยตายอยากกับชีวิตของ ตน อันเนื่องมาจากคุณค่าทางด้านจิตใจและศีลธรรมของสังคมมนุษย์ได้แตกสลายลงเพราะผลของ สงคราม แต่คนเรามิอาจทีจ่ ะมีชวี ติ อยูใ่ นบรรยากาศอันกดดันจิตใจเช่นนัน้ ได้อยูต่ ลอดไป ฉะนัน้ ศิลป จึงมีสว่ นช่วยนำ�มนุษย์ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางอันสูงกว่าชีวติ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั การหลอกลวงทางวัตถุ ภาย ใต้วจิ ารณญาณเช่นนี้ เราจึงเชือ่ ว่าศิลปต้องเป็นสิง่ ทีพ ่ ดู ภาษามนุษย์ให้เราฟัง อันเป็นภาษาจากหัวใจ และวิญญาณของเรานั้นเอง
ย่อมไม่เป็นปัญหาเลยว่า ลักษณะบางประการของศิลปสมัยใหม่นั้นสะท้อนออกซึ่ง อารยธรรมของตะวันตกปัจจุบนั ตามความจริงนัน้ ประชาชนชาวตะวันตกดำ�เนินชีวติ ไปอย่างรวดเร็ว โดยไม่หยุดยั้ง และอดทนเสียสละอย่างใหญ่หลวง เพื่อจะมิให้พ่ายแพ้ต่อความต้องการอันจำ�เป็นทั้ง ที่เป็นธรรมชาติและที่ไม่เป็นธรรมชาติแห่งชีวิตทางด้านวัตถุของตน แต่ในส่วนต่างๆ ของโลก เช่น ประเทศไทยเรา แม้จะอยู่ในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ 26 ก็ตาม ก็ยังคงมีความสงบซึ่งอำ�นวยให้ ศิลปินคิดและรู้สึกแตกต่างไปจากสหายชาวตะวันตกทั้งหลาย ข้อนี้เป็นสิ่งสำ�คัญยิ่งที่ศิลปินตะวันออกย่อมจะเข้าใจได้อย่างดี เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงไป เสียจากการเป็น “นักลอกแบบ” ทางพุทธิปัญญาของความคิดและความเข้าใจกันอันเป็นแบบอย่าง ต่างประเทศ การที่ชาวตะวันออกสั่งเครื่องมือต่าง ๆ มาใช้เพื่อประโยชน์ในด้านการเกษตรก็ดี จัด ตั้งโรงเรียน ตั้งสถานีอนามัย หรือจัดวางผังเมือง ตามแนวของชาวตะวันตกก็ดี สิ่งเหล่านี้ย่อมเป็น ประโยชน์ตอ่ ความสมบูรณ์พนู สุขของประชาชน แต่เมือ่ เราเลียนแบบชาวตะวันตกในเรือ่ งเกีย่ วกับพุทธิ ปัญญาและจิตใจ ซึ่งหมายถึงการแสดงออกซึ่งความรู้สึกตนแต่ละชาติแล้ว เราเองย่อมเป็นผู้ผิด ในสิ่งที่เกี่ยวกับศิลป เราได้รับประโยชน์อย่างใหญ่หลวงจากชาวตะวันตกในการศึกษา เทคนิคของงาน แต่เมื่อเราลอกเลียนความคิดแบบอย่างของเรา เราก็จะกลายเป็นนักลอกแบบที่น่า สงสาร เพราะงานลอกแบบเลียนแบบเช่นนั้น ย่อมเป็นงานปราศจากคุณค่าอันแท้จริง สิง่ ทีศ่ ลิ ปินได้รบั ประโยชน์จากความก้าวหน้าของปัจจุบนั ก็คอื ศิลปินแต่ละคนอาจแสดง ความรูส้ กึ ของตนออกมาโดยเสรี พ้นจากอิทธิพลของผลงานแห่งสกุลช่าง หรือแบบอย่างศิลปใด ๆ ดังนั้นจึงไม่มีประโยชน์อะไรที่เราเลียนแบบงานของศิลปินผู้หนึ่งผู้ใดที่เกรงว่าจะไม่ทันสมัย ที่จริง แล้ว แบบอย่างที่สร้างขึ้นในสมัยของเรานั้น มีทั้งผลิตผลงานอันกระทำ�ขึ้นอย่างประณีตเรียบร้อย ตามธรรมชาติจนเกินไป จนถึงก้อนกรวดก้อนหินขัดมันหรือสีที่สาดไปตามใจบนผืนผ้าใบ ดังนั้น ศิลปินทุกคนจึงมีโอกาสทีจ่ ะทำ�งานตามทีต่ นพอใจโดยปราศจากความปริวติ กว่าตนเป็นผูอ้ ยูใ่ นระเบียบ ประเพณีหรือเป็นหัวสมัยใหม่จนเกินไปแต่อย่างหนึ่งอย่างใด โดยความจริง หากจะเปรียบเทียบกันอย่างตรงไปตรงมาแล้ว เราอาจกล่าวได้ว่า งาน ศิลปซึ่งไมเกล แอลเจโล 2 ได้สร้างขึ้นนั้น ศิลปินชาวอาฟริกันมิอาจกระทำ�ได้ และงานศิลปซึ่งศิลปิน ชาวอาฟริกันสร้างขึ้น ไมเกล แอลเจโล ก็มิอาจจะกระทำ�ได้เช่นกัน และในขณะเดียวกัน เราก็นิยมชม ชอบศิลปของทั้งสองฝ่าย เนื่องจากความแตกต่างกันของการแสดงออกซึ่งความรู้สึกอย่างจริง นัน่ เอง จากการเปรียบเทียบเช่นนีเ้ ราย่อมเข้าใจได้โดยง่ายว่าความเป็นต้นแบบในศิลปนัน้ อยูท่ คี่ ณ ุ ค่า อันเป็นรากฐานในตัวเอง การที่เรามิได้พูดถึงงานศิลปตามแนวสมัยใหม่ที่ก้าวไปไกลอย่างยิ่ง ซึ่งแม้ชาวตะวันตก เองเป็นจำ�นวนมากก็ไม่นิยมชมชอบหรือไม่ยอมรับว่าเป็นสิ่งมีค่าอย่างใดเลยนั้นก็เพราะว่าโดยทั่วไป แล้ว แม้งานศิลปทีเ่ ป็นแบบสมัยใหม่ตามธรรมดาทีเ่ ห็นกันอยูท่ กุ วันนี้ ชาวตะวันออกก็ยงั ไม่อาจเข้าใจ อย่างแท้จริงได้ เพราะว่างานศิลปเหล่านัน้ สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมและชีวติ ความเป็นอยูอ่ นั แตกต่าง กัน ด้วยเหตุฉะนี้ในการที่ศิลปินตะวันออกเลียนแบบศิลปินตะวันตก จึงเป็นสิ่งที่ผิด โดยที่ตนเองไม่ อาจทำ�งานให้ดีวิเศษ หรือเรียกร้องความสนใจของชาวต่างประเทศ ซึ่งยากที่จะนิยมศิลปที่ไม่เหมือน กับของตนได้ ตรงกันข้ามเขากลับสนใจในการแสดงออกซึ่งความรู้สึกทางตะวันออกอันเป็นต้นแบบ ซึ่งถ่ายทอดวิญญาณและความคิดของชาวตะวันออกทั้งสองสถาน ประโยชน์ของการแลกเปลีย่ นศิลประหว่างตะวันตกกับตะวันออก จึงควรจะจำ�กัดแต่เพียง ความคิดทางด้านเทคนิคและการใช้วัตถุธาตุใหม่ ๆ เท่านั้น ไม่ควรจะอยู่ในด้านวัฒนธรรมและจิตใจ
1 จิตรกรผู้มีชื่อเสียงที่สุดของสเปญ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2289 ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2371 งานส่วนใหญ่ของท่านสะท้อนให้เห็นถึงสภาพของสังคม และชีวิตจิตใจของชาวสเปญในขณะนั้น ซึ่งเต็มไปด้วยความโลภโมโทสัน และ การประหัตประหารเพื่อแย่งชิงอำ�นาจซึ่งกันและกัน 2 เกิดในปี พ.ศ. 2018 ถึงแก่กรรมปี พ.ศ. 2107 เป็นประติมากร จิตรกร สถาปนิก และกวีของประเทศอิตาลีในสมัยเรเนอซอง ได้รับการยกยิองว่าเป็นอัจฉริยศิลปินของโลกผู้หนึ่ง 6
EAST AND WEST Written by Professor Silpa Bhirasri
When we Easterners open books on modern western art and
be bold the majority of the works expressed in an abstract style, we feel afraid for the stability of our mind, or at least we are in despair at not being able to grasp the inward qualities about which critics and connoisseurs of art are so enthusiastic. Indeed, we would like very much to enjoy those abstract expressions, but the more we try to sympathize with such art the more entangled we become in and unsolvable puzzle. In such a state of mind, we are terribly irritated by the haunted dilemma as to whether our incapacity of appreciation results from our own ignorance or from the ‘vacuum’ in the works thus produced by a super-intellectual mind of artists.
To increase our mental confusion there are books purporting
to explain the occult values of such art, a literature very complex in its terminology and generally trying to convince the public that few strokes of colors on a white canvas have the same emotive power as exists in masterpieces of the past. At first the mass of the public remain perplexed and dare not oppose the opinion of those who are believed to know, and then for fear of being labeled ‘old fashioned’ they conclude by thinking that they are not able to appreciate the symbolism and beauty of a piece of wire or of a black spot on a canvas on account of their lack of art education. But still more curious in the fact the even artists who are sincerely and favorable disposed to modern expressions are often in a hopeless condition of failing to understand this new approach of artistic conceptions.
The trend of many modern styles is to be unaesthetic, cynical
and even brutal. Human figures are purposely distorted and presented under ugly aspects that one wonders what deep grudge the artist has against his fellow creatures. The reason for this seeming ‘hatred’ towards natural forms could be explained as an explosion of revolt against society which cannot find a way of reciprocal understanding resulting in a semi-chaotic. But the aim of Art cannot be limited to sarcasm or a perennial reproach or renunciation of that idealism which should be the basic principle of the human life. Art must show the shortcomings of our social organization, but it must also give hope for a better future. Goya, for instance, was one of the greatest educators because he pointed out the faults of man by means of his famous etchings, but he also produced works from which we derive hope and consolation.
When Picasso painted the tragedy of Guernica he deliberately
distorted human and animal forms to enhance the spasm and pathos of the subject. Again, when the expressionists after the First World War painted with violent colors and expressions almost fearful looking figures, they sincerely reflected the feeling of the mass of the people who lay prostrate on account of the collapse of all moral and spiritual values of the human society. But we cannot live for ever in a depressing, dejected atmosphere and it just Art which has to lead man to higher goals than those imposed by the material existence. Under this consideration we believe that Art must speak a human language, of our heart and spirit.
7
No doubt, certain characteristics of the modern art reflect West-
ern modern civilization. In fact, people of the Western countries have to rush incessantly and undergo great sacrifices not to succumb under the natural and artificial necessities of their material life. But in many other parts of the world, such as in Thailand, even in the middle of the twentieth century there still exists a serenity which enables artists to think and feel quite differently from their Western colleagues.
This is very important and should be understood by every orien-
tal artist in order to avoid becoming the intellectual ‘copyists’ of foreign ideas and finalities.
As far as the Eastern people import farming equipments, orga-
nize their schools, set up public health departments or plan their towns according to the experience of the Westerners, all is advantageous for the prosperity of the people, but when we imitate others in the intellectual and spiritual spheres, which mean the individual expression of each race, we wrong ourselves.
In what concerns art, from the Westerners we have derived a
great benefit from studying their technique, but by imitating their ideas and styles we become poor copyists whose work has no real value. The great advantage that the modern art offers is that each artist may express himself freely without having to follow any other school or style. Therefore, we do not need to imitate anybody for fear of not being up to date. In fact, the styles of art produced in our days range from the meticulous reproduction of nature up to the polished pebbles of some colors spread at random over the canvas, therefore, there are possibilities for every artist to do what he pleases without feeling the inferiority complex of being either a conservative or an extremist.
In fact, as a very crude comparison we could say that what
Michelangelo did could not have been done by African artists and conversely what the Africans did could not have been done by Michelangelo, and yet at the same time we can appreciate both arts on account of their complete diversity of expressions. From the parallel it should be easy to understand that originality in art is its fundamental value.
Without
taking
as
examples
the
work
of
an
extremely
modern trend which even many of the Westerners themselves either do not appreciate or entirely disapprove, in general the Easterners cannot fully enjoy, with sincerity, Western works of modern art because they reflect an different culture and even a different physical world. Consequently, in imitating Western art an oriental artist take a wrong path, since he can neither excel nor attract the attention of foreigners who would hardly admire an art which is akin to their own but who would, on the contrary, be interested in genuine oriental expressions which convey both the spirit and conception of the Eastern races.
A reciprocal advantage between East and West should be
limited to the exchange of technical ideas and the use of new material but never the adulteration of cultural and spiritual values.
คำ�นำ� หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ริเริ่มโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลป์ พีระศรีขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ เกิดการค้นคว้าด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมของศิลปิน โดยเชิญชวนให้ศิลปินนำ�เสนอโครงการสร้างสรรค์เพื่อให้คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคัดเลือก ผู้สมควรได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี จำ�นวน 100,000 บาท ซึ่งในครั้งที่ 15 นี้ได้คัดเลือกผู้ได้รับทุนจำ�นวน 7 ทุน ซึ่งโครงการที่ได้รับคัดเลือกนั้น ล้วนเป็นโครงการทีโ่ ดดเด่น มีคณ ุ ภาพ มีรปู แบบการสร้างสรรค์ทนี่ า่ สนใจ และทำ�ให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม รางวัลทุนสร้างสรรค์ศลิ ปกรรม ศิลป์ พีระศรี นี้ เป็นเสมือนกำ�ลังใจอันสำ�คัญต่อการทำ�งานของศิลปินเพื่อให้สร้างสรรค์ผลงานที่ดีสู่สาธารณะ และเป็นการสนับสนุนให้ศิลปินมุ่งทำ�งานสร้างสรรค์อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาวงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย สุดท้ายนี้ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ และคณะกรรมการดำ�เนินงานทีท่ มุ่ เทการทำ�งานและทำ�ให้โครงการสำ�เร็จลุลว่ ง ด้วยดี จนทำ�ให้ผลงานที่ทรงคุณค่าเหล่านี้ออกเผยแพร่สู่สังคมในวงกว้าง และเป็นแรงบันดาลใจแก่ศิลปิน ผู้สนใจศิลปะและนักศึกษาศิลปะ ในการสร้างสรรค์งานต่อไป
ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ผู้อำ�นวยการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
8
Preface
Silpa Bhirasri’s Creativity Grants is the project initiated by the Art Centre Silpakorn University to encourage artists’ research and creativity. Artists are invited to submit project proposals for 100,000 Baht grant, which
will be selected by honorable judges. Seven creativity projects have been selected for the 15 th Silpa Bhirasri ’s Creativity Grants. All of these selected works distinctly show new body knowledge and enhance for Thai contemporary art circle. This grant is an important support for the artists to develop their works for public and also support them to continue creating art, which benefits Thai contemporary art cycle. The Art Centre Silpakorn University would like to express gratitude to honorable judges and working committees, who put effort in making these valuable art works known to wide public and become source of inspiration to other artists and students.
Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D. Director Art Centre, Silpakorn University
9
คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 1849/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินโครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 -----------
ตามที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จัดทำ�โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้าง งานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติ และหรือระดับนานาชาติ โดยให้ศิลปิน สร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง และรวบรวมผลงานจัดแสดงเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่สาธารณชนต่อไป ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ โครงการฯ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการประจำ� หอศิลป์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ประธานกรรมการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง กรรมการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร กรรมการ ศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข กรรมการ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร กรรมการ อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการ รองศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ กรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร. วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ กรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ
สั่ง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
10
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม “ศิลป์ พีระศรี” โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี 2558 ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ---------------------------------------ตามที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จัดทำ�โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้างงานศิลปกรรมเพื่อพัฒนางานสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยพิจารณาคัดเลือกมอบทุนรางวัลสร้างสรรค์ เพื่อ ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมแก่ศิลปิน โดยให้สร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง จากนั้น จะได้รวบรวมผลงานขึ้นจัดการแสดงผลงานศิลปกรรมเพื่อประกาศ เกียรติคุณต่อสาธารณชนต่อไป โดยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้กำ�หนดระเบียบการไว้ดังต่อไปนี้ คือ 1. จุดมุ่งหมายของโครงการ 1.1 เพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์ศิลปกรรมอันเป็นมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1.2 เพื่อเผยแพร่ผลงานศิลปกรรมของศิลปินไทยให้เผยแพร่ออกสู่สาธารณชน เสริมสร้างคุณค่าทางสุนทรีย์ พัฒนาความคิดและคุณธรรม ของสังคมไทย อันเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมไทย ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 1.3 เพื่อสนับสนุนศิลปินไทยให้มีความเชื่อมั่นและมีกำ�ลังใจในการสร้างสรรค์ อันเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาและวงวิชาการศิลปะสมัยใหม่ ของไทยอันเป็นการพัฒนาคุณภาพไปสู่ระดับสากล 1.4 เพื่อการวิเคราะห์และการเก็บข้อมูลหลักฐานการสร้างสรรค์ที่จะเป็นประโยชน์ทางด้านการศึกษา และวงวิชาการศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย 2. คุณสมบัติของศิลปินที่มีสิทธิสมัครรับรางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม 2.1 เป็นศิลปินสัญชาติไทยที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.2 เป็นผู้ที่ทำ�งานสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดการแสดง ผลงานเผยแพร่ต่อสาธารณชนอย่างสม่ำ�เสมอ 2.3 มีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม หมายถึง การสร้างสรรค์ผลงานประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อประสม ศิลปะ เครื่องปั้นดินเผา ศิลปะสิ่งทอ และศิลปะเครื่องประดับ (Jewellery) 2.4 หากเป็นศิลปินที่เคยได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ฯ มาก่อนจะต้องมีระยะเวลาจากครั้งที่ได้รับทุนจนถึงปัจจุบันไม่ต่ำ�กว่า 5 ปี 3. การสมัคร 3.1 ศิลปินเป็นผู้สมัครด้วยตนเอง โดยกรอกใบสมัครแล้วส่งใบสมัครด้วยตนเอง ที่หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร หรือสมัครทางไปรษณีย์ ส่งที่คุณมินตา วงษ์โสภา หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพฯ 10200 โดย ระบุที่หน้าซองด้วยข้อความว่า (เสนอขอทุนรางวัลศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2558) และสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข 02–221–3841 หรือ 02–623-6115 ต่อ 11425,11418 4. เงื่อนไขการสมัคร 4.1 ศิลปินต้องกรอกรายละเอียดลงในใบสมัครขอรับทุนให้ครบทุกข้อ 4.2 ศิลปินต้องเสนอโครงการสร้างสรรค์ศิลปกรรมที่ต้องการจะทำ�ในระยะเวลาที่ได้รับทุน โดยต้องเป็นโครงการที่ยังไม่ได้เริ่มต้นดำ�เนินการเท่านั้น โครงการเสนอขอรับทุนต้องจัดทำ�เป็นรูปเล่ม พร้อมบันทึกข้อมูลลงใน CD ประกอบด้วยรายละเอียดข้อมูลเรียงตามลำ�ดับดังนี้ - ประวัติศิลปินไทย – อังกฤษ (ระบุถึงประวัติการศึกษา การแสดงผลงาน และรางวัล) - รูปถ่ายศิลปิน 1 รูป (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) - ชื่อโครงการ (ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ) - วัตถุประสงค์ของโครงการ - ความเป็นมา และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน - จำ�นวนผลงาน ประเภท เทคนิค และขนาดของผลงานที่จะสร้างสรรค์ - ขั้นตอน และระยะเวลาในการดำ�เนินการสร้างสรรค์ - ภาพร่างผลงาน (Sketch) หรือ ภาพผลงาน (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) - แนวความคิด ข้อมูลรายละเอียด และภาพผลงานที่เคยสร้างสรรค์ในอดีต (Portfolio) ควรระบุแยกช่วงปีที่จัดแสดงผลงาน ตามลำ� ดับให้ชัดเจน
11
โดยบันทึกข้อมูลลงใน CD (บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น) หมายเหตุ : รูปถ่ายศิลปิน และรูปผลงานในข้อ 4.2 และข้อ 4.3 ให้บันทึกลงใน File JPEG เท่านั้น
4.3 ผลงานที่อยู่ในชุดที่เสนอโครงการต้องไม่เป็นส่วนหนึ่งของผลงานในกระบวนการศึกษา และในขณะเดียวกันต้องไม่นำ�ผลงานนั้นไปใช้ในการ ศึกษา ขอทุน หรือส่งประกวดในเวทีอื่นๆ
5. คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง กรรมการ 3. ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร กรรมการ 4. รองศาสตราจารย์เข็มรัตน์ กองสุข กรรมการ 5. อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร กรรมการ 6. อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการ 7. รองศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ กรรมการ 8. อาจารย์ ดร. วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ กรรมการ 9. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ 10. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ 6. การตัดสิน - ผู้สมัครจะต้องมานำ�เสนอโครงการด้วยตนเอง ประกอบกับไฟล์โครงการใน CD ที่ได้ส่งมาพร้อมใบสมัครในวันคัดเลือกและตัดสิน - การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นมติเอกฉันท์ จะอุทธรณ์มิได้ 7. รางวัล 7.1 ทุนรางวัล “ ศิลป์ พีระศรี” ประจำ�ปี 2558 มีจำ�นวน 7 รางวัล เป็นรางวัลเงินทุนสร้างสรรค์ ทุนละ 100,000 บาท คณะกรรมการคัดเลือกและ ตัดสินอาจตัดสินลดหรือเพิ่มรางวัลก็ได้หากพิจารณาเห็นว่ายังไม่มีผู้ใดมีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่จะได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์ 7.2 การรับรางวัลทุนสร้างสรรค์ ให้ทำ�ตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประจำ�หอศิลป์กำ�หนด หากไม่ดำ�เนินการตามเงื่อนไข หอศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร อาจใช้สิทธิ์เรียกร้องให้ผู้ได้รับรางวัลทุนสร้างสรรค์คืนเงินรางวัลพร้อมดอกเบี้ยตามมติที่คณะกรรมการประจำ�หอศิลป์พิจารณา 8. การสร้างสรรค์ผลงาน ผูไ้ ด้รบั รางวัลทุนสร้างสรรค์จะต้องสร้างสรรค์ผลงานในจำ�นวนและระยะเวลา ทีค่ ณะกรรมการประจำ�หอศิลป์พจิ ารณา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน 9. กรรมสิทธิ์ของผลงานสร้างสรรค์ 9.1 ผลงานสร้างสรรค์จากศิลปินทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำ�ปี 2558 จะถูกคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือกตัดสินให้เป็นกรรมสิทธิ์ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำ�นวนคนละ 1 ชิ้น ซึ่งหอศิลป์ มีสิทธิ์ในการนำ�ผลงานชิ้นนั้นไปเผยแพร่หรือทำ�ให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรในรูปแบบใดรูปแบบ หนึ่งได้ในอนาคต 9.2 หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรขอสงวนสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินที่ได้รับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำ�ปี 2558 ในสูจิบัตร เอกสารสิ่งพิมพ์ ระบบสารสนเทศสมัยใหม่ และในรูปแบบอื่นๆ ตามสม 10. การจัดนิทรรศการ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จะเป็นผู้ดำ�เนินการจัดการแสดงผลงานศิลปกรรมของศิลปินผู้ได้รับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ประจำ�ปี 2558 ในรูป ของนิทรรศการ ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หรือหอศิลป์อื่นๆ และดำ�เนินการจัดทำ�สูจิบัตร และสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง 11. กำ�หนดเวลา - การส่งใบสมัคร : วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน – วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม 2557 - การตัดสินผลงาน : วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม 2558 - ประกาศผลการตัดสิน : วันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2558 - การรับทุนและการสร้างสรรค์ : งวดที่ 1 วันจันทร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 งวดที่ 2 วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน 2558 งวดที่ 3 วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2558 - การติดตั้งผลงาน : วันที่ 4 – 7 มกราคม 2559 - การแสดงผลงาน : วันที่ 5–30 มกราคม 2559
ประกาศ ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร 12
คำ�สั่งหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 10 /2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 ---------- ด้วยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับอนุมัติให้จัดทำ�โครงการทุนรางวัล”ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี 2558 เพื่อเป็นการส่งเสริมศิลปินที่สร้าง งานศิลปกรรม พัฒนางานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และมีผลงานศิลปกรรมที่มีคุณค่าจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติ และหรือระดับนานาชาติ โดยให้ศิลปิน สร้างสรรค์ผลงานในระยะเวลาหนึ่ง และรวบรวมผลงานจัดแสดงเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่สาธารณชนต่อไป ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครง การฯ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงานในโครงการฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ประธานกรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นางศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี กรรมการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา กรรมการ 4. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ กรรมการ 5. นางลภัสรดา ทองผาสุก กรรมการ 6. นายพรเพิ่ม เกิดหนุนวงศ์ กรรมการ 7. นางนันทาวดี เกาะแก้ว กรรมการ 8. นางสาวปุณยวีร์ เอี่ยมสกุล กรรมการ 9. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช กรรมการ 10. นายศรายุทธ ภูจริต กรรมการ 11. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ กรรมการ 12. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ กรรมการ 13. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง กรรมการ 14. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว กรรมการ 15. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง กรรมการ 16. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ กรรมการ 17. นายวัยวัฒน์ งามสิงห์ กรรมการ 18. นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ กรรมการ 19. นายเฉลิม กลิ่นธูป กรรมการ 20. นางสาวจุฑารัตน์ เนียมวิรัตน์ กรรมการ 21. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี กรรมการ 22. นางประคิ่น สุกเทพ กรรมการ 23. นางสาวมินตา วงษ์โสภา กรรมการและเลขานุการ 24. นายวรรณพล แสนคำ� กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ให้คณะกรรมการดำ�เนินการ มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดทำ�นิทรรศการโครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี 2558 และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนิทรรศการ 2. จัดทำ�สูจิบัตร และสิ่งพิมพ์ประกอบนิทรรศการ 3. จัดทำ�ระบบข้อมูลและงานวิชาการในระบบคอมพิวเตอร์สารสนเทศ ทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และการขยายบทบาทงานศิลปกรรมไทยสู่นานาชาติ 4. มีอำ�นาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในการดำ�เนินงานของส่วนต่างๆ ตามที่เห็นสมควร
สั่ง ณ วันที่ 6
พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
(อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์) ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 13
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือก และตัดสินทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 _____________________ ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เรื่องทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 15 โครงการทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” ครั้งที่ 15 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 ได้เชิญชวนศิลปินส่งผลงานเข้าประกวด ในโครงการดังกล่าวแล้วนั้น
บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาคัดเลือกผลงานของศิลปินเข้ารับทุนรางวัล “ศิลป์ พีระศรี” จำ�นวน 7 ทุน ตามรายนามดังนี้
1. 2. 3. 4. 5.
นายคงศักดิ์ นายธวัชชัย นายธีรศักดิ์ นางสาวนริศรา นายวรรณลพ
กุลกลางดอน พันธุ์สวัสดิ์ ทองนุ้ยพราหมณ์ เพียรวิมังสา มีมาก
โครงการนิทานเมือง/City’s Tale from our Home โครงการรูปจริงจากภาพฉาย/Sculpture from Orthographic Projection โครงการความงามแห่งท้องทุ่ง/The Beauty of the Field โครงการโลกตรงข้าม/Paradoxical World โครงการการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมจากสัจธรรมสภาวะเสื่อมสลายของร่างกายมนุษย์/ Creative Painting : The Truth of Nothing Last Forever 6. นายศินิต แซ่เจี่ย โครงการโมเดลชีวิต/Life Model 7. นางอัจจิมา เจริญจิตร ตนานนท์ โครงการห้วงกาลเวลา/Season Loop (Inner Loop)
ประกาศ ณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2558
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
14
CONTENT 14 18 22 26 30 34 39 15
KONGSAK
GULGLANGDON
TAWATCHAI
PUNTUSAWASDI
TIRASAK
THONGNUYPRAM
NARISSARA PIANWIMUNGSA
WANLOP MEEMAK
SINIT SAEJIA
ATJIMA
JAROENCHIT TANANONT
KONGSAK
GULGLANGDON
City’s Tale from our Home The “City’s Tales from our Home” is a drawing creative arts project, which inspired by the political news and social confliction in the present. These events could be either true or false, like “the tales” that affects people ’s attitudes, beliefs and relationship in society. Therefore, these creative drawings reflected complex relationships and conflictions of people and society. Through the image of everyday objects, such as table, chair, teapot, teacup, vase etc. as metaphorical symbols of the people, status, function and relationship with the use of their function, meaning, increasing, distorting the image and the position of the objects to convey the new meaning. This creative project presented the main content by using the experimental techniques in the creative process with basic materials such as pencil, crayon, ink together with other materials which can create meaning consistent with its content like Kamin- Kub- Poon (turmeric with red lime as a Thai idiom) to find the possibility of drawing style. Therefore, the changes and the differences arise in technique and style of each work is a significant development of this creative series. Human Wall Chinese ink on paper and plywood 165 x 130 cm.
นิ ท านเมื อ ง “นิทานเมือง” เป็นโครงการสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้น ซึ่งมีที่มาจากเรื่อง ราวข่าวสาร หรือเรื่องเล่าถึงสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองและ สังคมในปัจจุบัน ซึ่งอาจมีทั้งเรื่องจริงและไม่จริง เช่นเดียวกับ “นิทาน” ที่มีผลกระทบต่อทัศนคติ ความเชื่อ และความสัมพันธ์ของคนในสังคม จากความสำ�คัญดังกล่าว จึงนำ�มาสู่การสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้นเพื่อ สะท้อนถึงความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและขัดแย้งของผู้คนในสังคมปัจจุบัน ผ่านรูปวัตถุสิ่งของในชีวิตประจำ�วัน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ กาน้ำ� ถ้วยน้ำ�ชา แจกัน ฯลฯ มาเป็นสัญลักษณ์เชิงเปรียบเทียบแทนผู้คน สถานะหน้าที่ และ ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ด้วยการใช้หน้าที่ ความหมาย การเพิ่มและการ ลดทอนรูปวัตถุ และการจัดวางตำ�แหน่งของวัตถุเพื่อสื่อความหมายใหม่
Musical Chairs Pencil, red lime paste and acrylic on paper 70 x 100 cm.
การสร้ า งสรรค์ ค รั้ ง นี้ ไ ด้ นำ�เสนอเนื้ อ หาเป็ น เป้ า หมายสำ�คั ญ โดยใช้ ก าร ค้นหาเทคนิควิธีการในกระบวนการสร้างสรรค์ด้วยวัสดุพื้นฐานในการ วาดเส้น เช่น ดินสอ เกรยอง หมึก ร่วมกับวัสดุอื่นที่สามารถสร้างนัย ความหมายที่สอดคล้องกับเนื้อหาได้ เช่น ขมิ้นกับปูนแดง เป็นต้น ในการ หาความเป็นไปได้ด้านรูปแบบของงานวาดเส้น ดังนั้น ความเปลี่ยนแปลง และความแตกต่างที่เกิดขึ้นในเทคนิควิธีการ และรูปแบบของผลงานแต่ละ ชิ้นจึงเป็นพัฒนาการที่มีความสำ�คัญในการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ด้วย
16
Musical Chairs Pencil, turmeric and acrylic on paper 100 x 70 cm.
17
Civic Duty Pencil on paper 108 x 76.5 cm.
18
The Same Family Pencil on paper 108 x 76.5 cm.
19
TAWATCHAI
PUNTUSAWASDI
Sculpture from Orthographic Projection I created these series of artworks by using Orthographic Projection theory. The Theory is a means of representing three-dimensional object, in two dimensions. At the beginning, I started with researching 3 ways wood joint on the internet and magazine about traditional Chinese style furniture making. I tried to adapt this method in my artwork and unite each component firmly, to make a unique perspective sculpture. This project is in order to study the perception and its method by using simple geometric form without any subject or theme.
รู ป จริ ง จากภาพฉาย ข้าพเจ้าสร้างประติมากรรมโดยใช้หลักเกณฑ์ของวิชาทัศนีย์วิทยาที่นำ�ภาพฉายมา เป็นตัวกำ�หนดการกินเนื้อที่ทางด้านกว้าง,ยาวและลึกของทัศนมิติที่ปรากฏขึ้นจริง ระหว่างพืน้ ทีว่ า่ งของผูช้ มและผลงานโดยใช้หลักของการปรากฏมาเป็นทฤษฎีในการ วัดและการคำ�นวณ เพราะจะต้องใช้เครื่องมือและเครื่องจักรที่มีความแน่นอนแม่นยำ� และมีมาตรฐานในการสร้างรูป รวมถึงวัสดุที่มีขายตามท้องตลาดคือไม้แปรรูปและ แผ่นโลหะที่มีความเที่ยงตรง ในเบื้ อ งต้ น ได้ รั บ ความรู้ ใ หม่ จ ากการศึ ก ษาการประกอบไม้ 3 ทิ ศ ทางในสื่ อ และ นิตยสาร ซึ่งเป็นการประกอบไม้ทำ�เฟอร์นิเจอร์โดยช่างไม้จีนในยุคราชวงศ์หมิง จึง ต้องการฝึกฝนตนเองและนำ�การประกอบไม้จากหลักเกณฑ์นี้มาเป็นจุดเริ่มต้น ซึ่ง จะกระจายไปยังข้อต่อต่างๆบนงานประติมากรรม โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตมาเป็น ตัวกำ�หนดโดยไม่มีเรื่องราวอ้างอิงในส่วนเนื้อหาอื่นใด เพื่อต้องการศึกษาเหตุผล ของมุมและองศาเพื่อการเกิดรูปเท่านั้น โดยมีวิธีดังนี้ 1. เริ่ ม จากรู ป สามเหลี่ ย มฐานสามเหลี่ ย มโดยมี ภ าพฉายทางด้ า นบนปรากฎ เหมือนไม้บรรทัดฉากที่เราใช้เขียนแบบคือมีมุม 90,60 และ 30 องศา นำ�รูป นี้มากำ�หนดด้านบน 2. นำ�รูปเดียวกันมากำ�หนดรูปทางด้านหน้าเกิดเป็นเงาที่สัมผัสกัน 3. สร้างรูปโดยการวัดและคำ�นวณจากภาพที่ปรากฏบนกระดาษถ่ายทอดลงสู่รูป ทรงจริง จะสังเกตุว่ามุมบนระนาบจริงจะต่างจากมุมจริงที่ปรากฏต่อสายตา เพราะ มีระยะทางด้านลึกเข้าไปเกี่ยวข้อง
20
Irregular Tetrahedron Teak, folded brass sheet 100 x 200 x 100 cm.
21
Irregular Cube Teak, folded galvanized and metal sheet 60x370x187 cm.
ผลงานชิ้นที่ 2 จากหลั ก เกณฑ์ ก ารสร้ า งรู ป ข้ า งต้ น ข้ า พเจ้ า ต้ อ งการขยายความ ของรูปโดยให้ปรากฏเป็นรูปสี่เหลี่ยมฐานสี่เหลี่ยม โดยมีที่มาจาก เส้นเปอร์สเปคทีฟที่ปรากฏในภาพถ่ายผลงานของตนเองจึงนำ�มา ลอกแบบทิศทางที่เปลี่ยนแปลงจากนั้นจึงสร้างรูปที่เลียนแบบเส้น ลวงสายตาอีกครั้งหนึ่ง ผลงานทั้ง 2 ชิ้นนี้จะมีส่วนร่วมเดียวกันคือใช้วัสดุ 2 อย่างมา ประกอบต่อกันคือส่วนที่เป็นมุมจะสร้างด้วยไม้ ส่วนที่เป็นเส้นตรง จะสร้างด้วยการพับโลหะเราสามารถปรับให้รปู ทัง้ 2รูปนีใ้ ห้มขี นาดใด ก็ได้โดยการเพิม่ ความยาวของเส้นตรงตามอัตราส่วนทีป่ รากฏบนรูป
22
Irregular Dodecahedron Folded galvanized sheet 37x77x57 cm.
ผลงานชิ้นที่ 3 จากรู ป แบบที่ กำ�หนดไว้ ว่ า เป็ น รู ป เรขาคณิ ต จึ ง ได้ พั ฒ นามาเป็ น 5 เหลี่ยมฐาน 5 เหลี่ยม เดิมรูปนี้เป็นทรงห้าเหลี่ยมด้านเท่าที่มีหน้า 12 หน้า, มุม 20 มุม, เส้น 30 เส้น ที่เท่ากัน ข้าพเจ้าได้เปลี่ยนสัดส่วน ทางด้านลึกให้แคบลง เปลี่ยนเส้นแกนที่เคยตั้ง 90 องศา ให้ลดเข้าไป อีก 15 องศา หน้า,มุม และเส้นที่เคยเท่ากันนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดจึงเกิดรูปใหม่อันนี้ขึ้น สร้างจากการพับโลหะสังกะสีที่มีขนาด 4x8 ฟุต ให้การพับนั้นลงตัวในแผ่นเดียว โดยใช้หลักการคิดและ คำ�นวณแบบเดียวกับการสร้างงานชิ้นที่ 1และ 2
23
TIRASAK
THONGNUYPRAM
24
The Beauty of the Field “The Beauty of the Field”creative painting project is a series of outdoor oil color painting of the landscape, to study and represent the beauty of nature in the artist’s sight, tactile and feeling. All those input is synthesized through observation an interested point of view by sketching, drawing and small oil color paintings to study the beaty of nature, art and to create big size outdoor paintings. All the works show the beauty of landscape which is agriculture or paddy field in the area. There are differences in each scenery and paddy field as they were developed for fertility in farming season, such as the field after tillage, young plant, produced grain, ripen grain, some harvested rice, paddy stubble (left after harvesting) and the prepared field for next farming. All the painting of this project represent the beauty of landscape, nature, the fertility of plants, love, warmth and the bond of the artist and his hometown.
Paddy Stubble Oil on canvas 150 x 200 cm.
ความงามแห่ ง ท้ อ งทุ ่ ง โครงการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมชุด “ความงามแห่งท้อง ทุ่ง” เป็นการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม สีน้ำ�มันบนผ้าใบ โดย การเขียนภาพจากสถานที่จริง เพื่อศึกษาและถ่ายทอดความงาม จากธรรมชาติ ที่กระทบต่อสายตา กายสัมผัส และอารมณ์ความ รู้สึกต่อผู้สร้างสรรค์ โดยผ่านการสังเกต การคัดเลือกมุมมอง ที่น่าสนใจ ด้วยการสเก็ตช์ภาพลายเส้น และภาพร่างจากสีน้ำ�มัน ชิ้นเล็กๆ เพื่อศึกษาความงามในธรรมชาติและความงามทางด้าน ศิลปะ และสร้างสรรค์ผลงานขนาดใหญ่จากสถานที่จริง ซึ่งผล งานเหล่านั้นแสดงออกถึงความงามของภูมิประเทศในท้องถิ่น ที่ ผู้คนมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือการทำ�นา มีลักษณะ ที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาของการปรับเปลี่ยนพื้นที่ เพื่อให้ เหมาะสมกับฤดูกาลในการทำ�นา ได้แก่ร่องรอยของพื้นดินที่เกิด จากการไถนา ต้นข้าวอ่อน ข้าวที่กำ�ลังออกรวง ข้าวสุก ข้าวที่เก็บ เกี่ยวบางส่วน ซังข้าว และท้องทุ่งอันว่างเปล่าที่รอการเตรียมดิน เพื่อทำ�นาในฤดูกาลต่อไป ผลงานทั้งหมดของโครงการเป็นการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม เพื่อสะท้อนถึงความงามของภูมิประเทศ ธรรมชาติ ความอุดม สมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร ความรัก ความอบอุ่น ความ ผูกพัน บนผืนดินเกิดของตัวเอง
<<<
The Grain Ripens&Paddy Stubble Oil on canvas 150 x 200 cm.
25
The Grain Ripens Oil on canvas 150 x 200 cm.
Produce Grains Oil on canvas 150 x 200 cm.
View of the Ground Oil on canvas 160 x 200 cm.
26
The Ground After Tillage Oil on canvas 160 x 200 cm.
Young Plant Oil on canvas 200 x 300 cm.
27
NARISSARA PIANWIMUNGSA
The Girl Mixed media 80 x 100 cm.
28
Paradoxical World â&#x20AC;&#x153;Paradox i cal W o r l dâ&#x20AC;? i s an i mag i nary wo rld that expresses conflicts inside my head caused by the struggle to survive the real world where changes happen rapidly and constantly. The concept is inspired by fairy tales originally created in an attempt to make people all fit together over time with common beliefs and social values of whatever society we live in. Usually, there were gruesome punishment for those who did not follow the rules, e.g., the Red Riding Hood and a wolf that ended with death or a feeling of alienation that occurred during transitions from childhood to adulthood or from an old world culture to that of a new world, e.g., Alice and the unusual world underneath the rabbit hole. However, the alienation, grim aspect and violence were later on sanitized and replaced with magic and marvelous adventures in order to help children safely confront the dark side of their mind. Looking at the technical execution, in my opinion, stitching is a way to heal and mend my broken soul similar to the way it fixes holes in clothes. Ironically, stitching can also be seen as detaining, entrapment, obsessive-compulsive disorder, in other words, like being unwillingly attached to a dull life routine. Through these two interpretations, I symbolize the paradoxical concept that unites two opposite meanings into one.
29
The Wolf Mixed media 130 x 150 cm.
30
โลกตรงข้าม
Paradoxical world คือโลกจิตนาการที่แสดงถึงความขัดแย้งใน จิตใจ จากความพยายามปรับตัวให้เข้ากับโลกความจริงในปัจจุบันที่ ทุกอย่างเกิดและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยได้รับแรงบันดาลใจ จากนิทานเด็ก ซึง่ ต้นกำ�เนิดของนิทานแต่ละเรือ่ ง มาจากการพยายาม ปรับตัวให้เข้ากับความเชื่อและค่านิยมของสังคมในแต่ละยุคสมัย บาง เรื่องมีบทลงโทษอันโหดร้ายสำ�หรับผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎ เช่น หนู น้อยหมวกแดงกับหมาป่าที่จบลงด้วยความตาย หรือการแสดงถึง ความรู้สึกแปลกแยกที่เกิดขึ้นระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากเด็กเป็น ผู้ใหญ่ ระหว่างวัฒนธรรมเก่ากับวัฒนธรรมใหม่ ของอลิซกับโลก ประหลาดใต้โพรงกระต่าย แต่ความแปลกแยก ความโหดร้าย และ ความรุนแรงต่างๆ ดังกล่าวนี้ ได้ถูกฉาบไว้ด้วยเวทมนตร์และการ ผจญภัยอันน่ามหัศจรรย์อย่างแนบเนียน เพื่อให้เด็กๆ ได้เผชิญกับ ด้านมืดของจิตใจได้อย่างปลอดภัย ในด้านเทคนิค ข้าพเจ้าใช้การปักผ้าแทนการเยียวยาและการซ่อมแซม จิตใจ เช่นเดียวกับการซ่อมแซมเสื้อผ้าชำ�รุด ขณะเดียวกันมันยัง หมายถึงการกักขัง การถูกทำ�ให้ยึดติด และการย้ำ�คิดย้ำ�ทำ� เช่น เดียวกับชีวิตประจำ�วันอันน่าเบื่อหน่าย ทั้งหมดนี้เป็นสัญลักษณ์แทน คู่ตรงข้ามที่รวมเป็นหนึ่ง และไม่อาจแยกออกจากกันได้
The Reminiscence of The Reproduction Mixed media 250 x 200 cm. 31
WANLOP
MEEMAK
Creative Painting : The Truth of Nothing Last Forever The concept of the paintings, “The Truth of Nothing Last Forever” presented the idea that everything is impermanent. Human are fascinated by and desire for beauty. Human nature normally seek to flavor their bodies infinitely beautiful, seems like an illusion that deceive human into the fact that our body always change. I use the image of woman, especially young one, to symbolize the magnificence of such femininity seeing that are they extremely fond of their bodies. The outer beauty is only a cover of “corpse” that rotten inside our bodies, as time goes by, wither all the freshness, attractiveness and become emptiness, what remains the same is only our beautiful mind. This concept is synthesized through paintings.
Nothing Last Forever No.1 Oil on canvas 150 x 80 cm.
32
Nothing Last Forever No.4 Oil on canvas 150 x 80 cm.
33
Nothing Last Forever No.3 Oil on canvas 150 x 80 cm.
34
การสร้างสรรค์งานจิตรกรรม จากสัจธรรมสภาวะเสื่อมสลาย ของร่างกายมนุษย์
จิตรกรรมจากสัจธรรมสภาวะเสื่อมสลายของร่างกาย มนุษย์ได้เสนอเรื่องราวและความหมายที่เกี่ยวกับความ เป็ น จริ ง ตามธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น -ดั บ ไป ของทุ ก สรรพ สิ่งบนโลกนี้ มนุษย์มีความหลงใหลและปรารถนาในความสวยงามของ ร่ า งกาย ความงามของร่ า งกายเป็ น เรื่ อ งธรรมชาติ ที่ มนุษย์ต้องปรุงแต่ง ให้เกิดความสุขทางใจ แต่การปรุง แต่งนั้นมันเป็นแค่เปลือกภายนอก การสร้างภาพลวงตา เพือ่ หนีจากความจริงในธรรมชาติเท่านัน้ เมือ่ กาลเวลาผ่าน ไป ร่างกายก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาผล งานชุดนี้จึงได้นำ�ผู้หญิงสาวมาเป็นสัญลักษณ์ของความ งามซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในช่วงเวลาของการหลงรูปกาย โดย มีเพียงเปลือกภายนอกลวงตาห่อหุ้มสิ่งที่เป็นอสุภะที่อยู่ ภายในเท่านั้นเมื่อถึงเวลาร่างกายก็จะเสื่อมสลายร่วงโรย เหี่ยวแห้งและดับลงเป็นความว่างเปล่าตามกาลเวลาโดยที่ จิตใจของมนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากที่สุดถึงแม้ว่า ร่างกายจะดับสลายลงแต่คงไว้ซึ่งจิตที่บริสุทธิ์และงดงาม อย่างแท้จริงโดยการใช้สัญลักษณ์ที่สื่อถึงความหมาย ของเรื่องราวเนื้อหาด้วยการผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ งานศิลปะในรูปแบบผลงานจิตรกรรม
Nothing Last Forever No.2 Oil on canvas 150 x 80 cm. Nothing Last Forever No.5 Oil on canvas 150 x 80 cm.
35
SINIT
SAEJIA
Life Model “The Life Model” represents the idea of urban life, culture, and lifestyle. The increasing of population living in the city causes huge amount of crowded house in residential area. As time goes by, these crowded houses become old and decayed. A lot of people leave their hometown for opportunities and seeking success in their life according to their personal beliefs that Bangkok is a city of hope. Such people work hardly, hurriedly, seriously, selfishly to make money, also to get better life and to be rich. Eventually, this way of life, become an urban life style. Nowadays capitalization is everywhere; people become slave to materialism, earning social mainstream products, creating abundance of junk, more and more each day. Such life style is represented through mixed media to simulated life of people. The model also represents opinion of the artist emerges from experience, observation, analysis, and conclusion. The model presents the issues without the judgmental answers, through art.
โมเดลชีวิต “โมเดลชีวิต” (The Life Model) เป็นการแสดงออกถึงเรื่องราวของผู้คน ในสังคมเมือง วิถีชีวิตการดำ�รงและดำ�เนินชีวิต ผู้คนในสังคมเมืองที่เพิ่มขึ้น ที่พักที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้นเกิดความแออัดและทรุดโทรมลงตามกาลเวลา ผู้คน มากมายยอมละทิ้งถิ่นฐานบ้านเกิด เพื่อเข้ามาหาโอกาสและแสวงหาความสำ�เร็จ ในรูปแบบและความฝันของแต่ละบุคคลในกรุงเทพมหานคร ก้มหน้าก้มตาทำ�งาน เก็บเงิน เร่งรีบ เคร่งขรึม ตัวใครตัวมัน เพียงเพื่อต้องการสร้างฐานะทาง เศรษฐกิจของแต่ละบุคคล กลายเป็นความเคยชินและเกิดเป็นวิถีชีวิตแบบสังคม เมือง ในยุคของทุนนิยม ที่ผู้คนส่วนใหญ่ตกเป็นทาสของวัตถุนิยม เกิดการ สะสมของขยะสิ่ ง อำ�นวยความสะดวกที่ มี จำ�นวนมาก และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะเพิ่ ม จำ�นวนมากขึ้น โดยถ่ายทอดผ่านรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อประสม ในลักษณะแบบจำ�ลอง(Model)ชีวิตของผู้คนในสังคม นำ�เสนอความคิดเห็นส่วน ตัวซึ่งเกิดจากประสบการณ์จริงจากการสังเกต วิเคราะห์และสรุปผลคล้ายการชี้ ให้เห็นปัญหาโดยไม่ชี้นำ�คำ�ตอบผ่านผลงานศิลปะ
36
Life Model No.1 Mixed media 160 x 120 x 40 cm. 37
Life Model No.2 (Detailed) Mixed media 130 x 45 x 180 cm.
Life Model No.1 (Detailed) Mixed media 160 x 120 x 40 cm. 38
Life Model No.2 Mixed media 130 x 45 x 180 cm.
39
ATJIMA JAROENCHIT
TANANONT
SEASON LOOP/ INNER LOOP “Season Loop/ Inner Loop” based on the idea of awakening urban people who live with chaos and struggling all the time. They work as a lifeless machine. Especially in the future, people would be more selfish. Moreover, elderly population would increase. Therefore, we should be aware of aesthetic value of life and peaceful life, rather than materialism life only. Life is a delicate mind. Human belongs to the nature according to Eastern philosophy which based on natural phenomena. They teach us to live harmoniously with nature. This project is created as a model of those beautiful natural phenomena, mainly changes of each season. The audience can choose any season they prefer. It reminds people to intimate with nature, to free their mind so that nature could heal it.
ห้วงกาลเวลา โครงการสร้างสรรค์ผลงานชุด “ห้วงกาลเวลา” เกิดขึ้นจากความคิดเพื่อปลุกชาวสังคมเมืองที่ เต็มไปด้วยความวุ่นวาย, แข่งขันตลอดเวลา ทำ�งานเป็นเครื่องจักรอย่างไร้ชีวิต ยิ่งถ้ามองไป ยังโลกอนาคตที่มีแต่คนเอาตัวรอด ติดตามด้วยปัญหาชุมชนผู้สูงอายุที่โดดเดี่ยวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นเราจึงควรตะหนักและกลับมามองคุณค่าทางสุนทรีย์ชีวิตที่สงบสุขอย่างสันติมากกว่าการ ไขว่คว้าความสำ�เร็จด้านวัตถุเพียงอย่างเดียว ชีวิตอันมีจิตใจที่ละเอียดอ่อนลึกซึ้ง ซึ่งมนุษย์เคย ผูกพันต่อธรรมชาติอย่างกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว ตามแนวปรัชญาตะวันออกโดยการมองผ่าน ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สอนการใช้ชีวิตให้สอดคล้องตามธรรมชาติ โครงการนี้จึงจำ�ลองสร้างพื้นที่ให้เห็นความงามของปรากฎการณ์ธรรมชาติ โฟกัสการเคลื่อนไหว เปลีย่ นแปลงของแต่ละฤดูกาล ผูด้ เู ลือกชมตามชืน่ ชอบ ฤดูกาลทีต่ า่ งกันชักชวนคนเมืองหันมาใกล้ ชิดธรรมชาติ ให้จิตใจปล่อยวางจากความเครียด แล้วธรรมชาติจะช่วยเยียวยาจิตใจ Loops of Summer Set of 12 Oil on canvas 210 x 285 cm. 40
41
Loops of Winter Set of 8 Oil on canvas 240 x 640 cm.
42
Loops of Rain Set of 10 Oil on canvas 350 x 400 cm. 43
PROCESS
KONGSAK
GULGLANGDON
44
45
PROCESS TAWATCHAI PUNTUSAWASDI
46
47
PROCESS
TIRASAK
THONGNUYPRAM
48
49
PROCESS NARISSARA PIANWIMUNGSA
50
51
PROCESS WANLOP
MEEMAK
52
53
PROCESS
SINIT SAEJIA
54
55
PROCESS
ATJIMA JAROENCHIT
TANANONT
56
57
BIOGRAPHY
58
Kongsak Gulglangdon Born
5 August 1973, Chaiyapoom , Thailand
Contact 081-3159941 E-mail kongsak_gu@yahoo.com FB kongsak gulglangdon Address 61/251 Pruksa village 4 , Kaew In Road , Bang Maenang , Bangyai , Nonthaburi , 11140 Office The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Bangkok 10200 Tel. (02)2258991 Present Art Instructor at Mixed Media Department (Initiative Program), Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts Silpakorn University Education 1997 B.F.A. (Panting 2nd Class Honours) Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University 2000 M.F.A. (Painting) Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Solo Exhibition 2011 2014
-“Odds & Ends” exhibition at Ardel’s Third Place Gallery, Bangkok, Thailand - “July Rain” exhibition at Nandan Gallery, Santiniketan, INDIA
Selected Exhibition 2002 2003 2004 2006 2008
59
- “View - Vision”, PSG Art Gallery, Bangkok - “Taproot of Life – Art and Spiritual Society”, Santi Asok community , Bangkok - “CROSSROADS” , at Atelier Art Gallery - “ Home “, at Tadu Contemporary Art , Bangkok - “Look at me” Project , Chungbuk-do ,Chongju, South Korea - “ Peace”, at The National Gallery, Chongju, South Korea - “ Because of Love”, Gallery N , Bangkok
- “Asia – and Rice”, Sori art center of Jeollabuk-do,South Korea - “Made in Bangkok : Common Currency” D&A , New zealand - “Krung Thep ‘226” at BACC, Bangkok - “Art No Wall : Art and Friendship”, The Old building of Kurusapa , Bangkok - “Art No Wall : Art and Friendship”, Chongju complex culture center , Chungbuk , South Korea - “Blue dot Asia 2009” , Seoul art center , Seoul, South Korea - “Art No Wall Project : Art and Friendship”, Kyoto , Japan - “Imagine Peace, at BACC, Bangkok - “Thai-Vietnam, Contemporary Art Exhibition by Lecturers of 11 Universities from Thailand and Vietnam - “Asia/Pacific Paper Exchange Project” at The National Gallery, Bangkok - “THAI-NORDIC: temperature”, International workshop at Silpakorn Art Centre, Bangkok - “Re-please : Thai-Vietnam”, Hue , Vietnam - “Re-please : Thai-Myanmar”, Yangon , Myanmar - “CUBIC MUSEUM”, International exchange exhibition between Aichi university of the Arts and Silpakorn university - “Art No Wall 2014”, Vienna , Austria - “Ecology Art”, Bamboo curtain studio , Taipei , Taiwan - “Environment Art and Living”, Bamboo curtain studio, Taipei , Taiwan - “Ideal and Reality”, Workshop for the international artists in Chengdu , China
2009 2010 2012 2013 2014 2015 Honors 1996 1998 2015
- Honourable Mention Award, by the PHILIP MORRIS GROUP of Companies Asean Art Award NARISRANUWATTIWONGS Scholarship - Honourable Entrant Award, The 2nd HITACHI TECHNOLOGY: THE FUTURE OF GENERATION NEXT - First Prize (Contemporary Art) The 22nd BUA LUANG Exhibition of Paintings th - The 15 SILPA BHIRASRI CREATIVITY GRANTS
Tawatchai Puntusawasdi Born January, 1971 Bangkok, Thailand Contact 085-0938436 Address 157 Moo 6,Papong, Doi Saket, Chiangmai 50220 Thailand E-mail tpuntusawasdi@yahoo.com Education 2001 M.F.A. Sculpture, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1993 B.F.A. Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University, Thailand Solo Exhibition 2015 2012
- “ Mistaken Elements” Gallery Seescape, Chiangmai, Thailand - “Marco Polo“ Numthong Gallery, Bangkok - “Missed Destination”Faculty of Fine Arts Gallery,Chiangmai 2010 - “Leisure” Pongnoi Art Space, Chiangmai 2009 - “Without Balancing”Ardel art Gallery,Bangkok 2008 - “Dwelling Series” Esplanade Concourse, Singapore 2007 - “The Beauty of Distance” Valentine Willie, Kualalumper, Malaysia - “Southeaster Wind, Morisot Foundation, France 2005 - “Flat Perception”, Numthong Gallery, Bangkok, Thailand 2003 - “DIM” Chulalongkorn Art Gallery, Bangkok, Thailand 2001 - “A Village Among Mountains, Chiangmai Art Museum, Thailand 1998 - “Realistic Image” Bangkok University Art Gallery,Bangkok,Thailand 1996 - “Form-Shape-Form” Japan Cultural Council,Bangkok, Thailand
Group Exhibition 2015 2014 2013 2012 2011 2009 2008 2007 2004 2004 2002 2000 1999
- “Town Home” G gallery,Chiangmai - “Beyond Pressure” Public Art Festival, Yangon, Myanmar - “Roving Eye” Arter , Istanbul - “Subjective Truth”10 Chancery Lane, Hong Kong - “Thai Trends” Bangkok Art and Culture Center, Bangkok - “Inside” Jandela,Esplanade, Singapore - “RAW” Numthong Gallery,Bangkok - Jakarta Biennale 2009, Jakartar, Indonesia - “Siamesesmile” Bangkok Art and Culture Center,Bangkok - “This is not A Fairy Tale”Soka Art Space,Taipei,Taiwan - “Show me Thai” MOT Museum,Tokyo,Japan - “Non Absolute Ideal” Nan River Side Art Gallery,Nan Province National Art Gallery, Bangkok, Thailand - “Zones of Contact” Biennale of Sydney, Australia - “International Drift Wood Sculpture” Shihmen Resevior, Taipei,Taiwan - “Art for Andaman” Phuket Island,Phuket, Thailand - “Arcus Program” Artwork in Moriya train station, Ibaraki, Japan - “Luggage Project” Colorado International Airport, U.S.A. - “Thai Pavillion” 50th Venice Biennale, Venice, Italy - “Bangkok meet Koln” Artswitcher Kunstwerks, Koln, Germany - “Glocal Scents of Thailand” Edsvik konst och kultur, Sollentuna,Sweden
Honors 2008 2007 2001 2000 1996 1995 1994
- Honor Prize, 1st Biennial Sculpture Exhibition, Guadalajara, Mexico - Pollock Krasner Foundation, U.S.A. - Asian Cultural Council, U.S.A., Headsland Center for the Art, SF. - Pollock Krasner Foundation, U.S.A. - Asia Arcus Program, Japan - Grand Prize, Sculpture, Osaka Triennale Competition, Japan rd th - 3 Prize,Sculpture,40 National Art Exhibition, Bangkok,Thailand
60
Tirasak Thongnuypram
Born 22 February, 1971 Contact 0810832404 E - mail Tirasak_1@hotmail.co.th Address 345 Moo 1, Tambon Tachang, Amphur Tachang, Suratthani,Thailand, 84000 Office Humanities and Social Sciences Suratthani Rajabhat University Education 1993-1997 2002-2004
B.F.A. (Painting) Faculty of Fine Arts, Rajamangala Institute of Technology, Pathum Thani M.A.(Painting), Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok
Selected Exhibition 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003
61
-“Siam TV Painting Exhibition. Contemporary Mural, “Thailand of Visitor” - “The 20th Bua Luang Exhibition of Paintings”, The Musical Art Centre - “Art Thesis”, The Faculty of Arts, Depart of Fine Arts - “The 21th Bua Luang Exhibition of Paintings”, The Musical Art Centre rd - “The 3 Panasonic Contemporary Painting Exhibition” - “The 43rd National Exhibition of Art”, The National Gallery, Chao - Fa - “PTT Art Exhibition” - “PHILIP MORRIS”, Art Exhibition rd - “The 23 Bua Luang Exhibition of Paintings”, The Musical Art Centre th - “The 24 Bua Luang Exhibition of Paintings”, The Musical Art Centre - “PTT Art Exhibition” - “Revive of Srivijaya”, Suratthani Rajabhat University - “Human Arts Exhibition”, Suratthani Rajabhat University - “THE COLLECTION ART OF EXHIBITION 2002” - “The 25 Thai Contemporary Artists Exhibition” - “The 1st Na Group Art Exhibition”, Khonken University - “PTT Art Exhibition” - “The 5th Panasonic Contemporary Painting Exhibition”
2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015
- “Art for Mental Health” Sawang Daen Din Hospital, Sakonnakorn - “ THE WAY TO ART” - “Paint & Dream Share for The Detective” - “Reminisce of Chiangrai” Chiangrai Contemporary Art Gallery - “The 6th Panasonic Contemporary Painting Exhibition” - “The 50th National Exhibition of Art”, Silpakorn University - “Impressionism & Realism” Nan Riverside Art Gallery - “The 3rd Art Exhibition of Southern Young Artist & Southern Artist” - “Art Exhibition of Landscape, Mahasalakarm Rajabhat University - “A Hundred Pictures, A ”Hundred Poem, & A Hundred Year of Buddhadasa Bhikkhu - “The 4th Art Exhibition of Southern Young Artist & Southern Artist” - The 21st PTT Art Exhibition, “Sufficiency Economy : A Thai Way of Living” - “The Painting Exhibition to Commemorate the King’s 80 th Birthday”, The Queen’s Gallery. - “The 5rd Art Exhibition of Southern Young Artist & Southern Artist” nd Na Group Art Exhibition”, Champasri Art Gallery, - “The 2 Mahasarakham University. - “PTT Art Exhibition” -“The 1st Vocational Education Arts Exhibition of Southern Group” - “The 6th Art Exhibition of Southern Young Artist & Southern Artist” - “The 5th International Art Workshop”, 2013. Faculty of Fine and Applied Art, Rajamangala University of Technology Thanyaburi - “The 3rd Vocational Education Arts Exhibition of Southern Group” - “The 3rd Na Group Art Exhibition”, 2007,Champasri Art Gallery, Khonken University. - “Dharma & Nature” Faculty of Art Teachers, Suratthani Rajabhat University - “Southern Artists Make a Peaceful” - “The 7th International Art Workshop”, 2012. Faculty of Fine and “Applied Art”, Rajamangala University of Technology Thanyaburi - “The 4th Vocational Education Arts Exhibition of Southern Group” - “The 8th International Art Workshop”, Faculty of Fine and Applied Art, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. - Art Exhibition and Painting Competition, “Imagination and I nspiration from Rice”, to honor His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s great patronage of Thai Rice - “The 1st Samui Teachers Art Exhibition” - “The 2nd Samui Teachers & Students Art Exhibition”
Narissara Pianwimungsa Born 1974, Bangkok, Thailand. Address 9 Soi Petchkasam 48 yak 41, Bangduan, Phaseecharoen, BKK. 10160 Education 2004 M.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand. nd 1996 B.F.A. 2 Honour of Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand. 1992 Diploma in Arts, Collage of Fine Art, Bangkok, Thailand. Award 2003
Purchase Prize Award of the International Print and Drawing Exhibition, Bangkok, Thailand.
Solo Exhibition 2014 2011 2010 2008 2007 2005 2004 2003 2002 2001
Selected Group Exhibitions 2009 2007 2002 2001 2000 2000 2000
- ‘Mini Matters’ Galerie N, Bangkok, Thailand - ‘The 2nd Bangkok Triennale International Print and Drawing Exhibition’ Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok Thailand - ‘No Appearance Non Existing’ Hebden Bridge, West Yorkshire, United Kingdom - ‘Self-Portrait of the Artist’ Space Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Impact Center Contemporary Art Exhibition’ Impact Exhibition Hall, Bangkok, Thailand. - ‘Thai Panorama’ by Artist in the Rising Star Project 1, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Body & Face’ Silpakorn University Art Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Art for Silpa Bhirasri 2000’ Silpakorn University Art Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Show up’ Bann Bangkok Gallery, Bangkok, Thailand
- ‘Gang Bang’ Toot Yung Art Center, Bangkok, Thailand - ‘Mellon Collie’ Galerie N, Bangkok, Thailand - ‘Heart Core’ Art Republic, Bangkok, Thailand - ‘Perfect Skin?’ Galerie N, Bangkok, Thailand - ‘Reflex’ Play Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Strange Love’ H Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Multiple’ H Gallery, Bangkok, Thailand - ‘February : The Paintings’ H Gallery, Bangkok, Thailand - ‘My Eye is Burning’ Eat Me Gallery, Bangkok, Thailand - ‘Trip’ Le Bordeaux Restaurant, Bangkok, Thailand
62
Wanlop Meemak Born 28 September 1977 ,Τhailand Contact 0866094575 Address 90 m.8 T.Promlok A.Promkiri Nakhonsithammarat 80320 Email meemak@hotmail.com Education 1997 College of Fine Arts, Bangkok, Thailand 2002 B.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2007 M.F.A. Painting, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Solo Exhibition 2008 2014
- “Desire” Solo Exhibition at Artery Gallery Bangkok, Thailand - “IMPERMANENT BEAUTY” Solo Exhibition at Chamchuir art Gallery,Thailand
Selected Exhibition 1997 2000 2001 2002 2003 63
- “The 14th Thailand Petroleum Authority’s Art Exhibition“, Bangkok, Thailand - “The 1st Arts Award Asia Pacific“, Bangkok, Thailand - “Art Exhibition by student of Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts“, Bangkok, Thailand nd - “The 2 Arts Award Asia Pacific“, Bangkok, Thailand th - “The 6 Hitachi Sales Company Ltd., Arts Exhibition“, Bangkok, Thailand th - “The 18 Exhibition of Contemporary Art by Young Artists“, Bangkok, Thailand - “The 16th Thailand Petroleum Authority’s Art Exhibition“, Bangkok, Thailand - “Free Thought Art Exhibition“, Sintorn Building - “The 7th Hitashi Sales Company Ltd., Arts Exhibition”, Bangkok, Thailand - “The 4th Panasonic Contemporary Painting Exhibition”, Bangkok, Thailand - “The 19th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists”, Bangkok, Thailand - “Art Thesis Exhibition“by the Graduating Class of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Bangkok, Thailand “Yung Yim Dai Art Exhibition“, Silom Galleria - “The 5th Panasonic Contemporary Painting Exhibition“, Bangkok, Thailand
2004 2005 2006 2008
- “Art Competition of Thailand by Philip Morris Co., Ltd. “, Bangkok, Thailand th - “The 15 Toshiba “Bring good Things to Life” Art Competition, Bangkok, Thailand - “The 1st International Print and Drawing Art Exhibition“ - “The 50th National Exhibition of Art“, Bangkok, Thailand th - The 16 Toshiba “Bring good Things to Life” Art Competition, Bangkok, Thailand - “The Exhibition of the 27th Bua Luang Painting Contest“, Bangkok, Thailand - “The 52nd National Exhibition of Art“, Bangkok, Thailand th - “The 54 National Exhibition of Art“, Bangkok, Thailand
Artist in residency 2011
- HIVE Camp ‘ Asian residency ’ at Cheong-ju city, Korea
Honors 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2011 2015
- The 3rd Award winner 6th Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok, Thailand - The 3rd Award winner 7th Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok, Thailand - Award winner the 8th Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok, Thailand - Award winner the 18th Toshiba “Bring good Things to Life” Art Competition, Bangkok, Thailand - The 2nd Award winner the 7th Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok, Thailand - The 2nd prize Krung Thai Bank Award by the 53 rd National Exhibition of Art rd - The 3 Award winner 7th Panasonic Contemporary Painting Exhibition, Bangkok, Thailand - Scholarship for study tour and art creation at China endorsed by Dr. Chumpol Phornprapha ; and scholarship from Prem Tinsulanonda Foundation nd - Highly-commended Award in 2 UOB Painting of the year competition, Bangkok, Thailand - Awards Creative “ Silpa Bhirasri ” 15 th by Art Centre, Silpakorn University
Sinit Saejia Born 28 October 1978 Contact 086-907-3570 Address 71/65 Soi Petchkasem46/3 Petchkasem Rd. Bangwa Phasricharoen Bangkok 10160 Thailand E-mail sinit12@hotmail.com Education 2002 - B.F.A. Printmaking Srinakharintaravirot Phasanmit,Bangkok Thailand Selected Exhibition 2003 2005 2006 2008 2012 2013 2014 2015
- The International Print and Drawing Exhibition, on the occasion of th 60 anniversary celebration of Silpakorn University - “L’ARE E IL TORCHIO,Art and Printing Press”, Italy - “Exhibition Gang Bangkok”, Hof Art Gallery,Thailand th - “The 14 Seoul-Space International Print Biennial”, South Korea nd - “2 Gang Bangkok”,Hof Art Gallery,Thailand - “Grand Opening”, V64 Art Studio,Thailand - “1st Anniversary”, V64 Art Studio Korea - Thailand International Exchange Art Exhibition - “ Window of Asia”, Bupyeong Art Center ,Kkotnuri, South Korea - “The New Voice”, Jireh gallery, South Korea - “3rd Gang Bangkok”, 23 Bar& Gallery,Thailand
Honors 2003 2015
- Silpa Bhirasri Silver Medal award, 20 th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists,Thailand th - The 15 Silpa Bhirasri Creativity Grants,Thailand
64
Atjima Jaroenchit Tananont Born May 1971, Bangkok, Thailand Contact 084-671-8791 E-mail atjima.jar@dpu.ac.th Address 5/111 Samakhi rd., Bangtalad, Pakkret, Nonthaburi 11120 Experience 2006-2012 Instructor of Art Foundation, Dhurakijpundit University 2004 Guest instructor of Phattanasilpa Art Institute Education 2013-present Studying Ph.D in Visual Arts, Silpakorn University 2001 M.F.A.,Painting, Silpakorn University 1996 B.F.A.(1st Honor)Printmaking, Silpakorn University Solo Exhibition 2005 2002
- “Flow, feel…free”, the National Gallery, Bangkok - “Liquid Mind”, the National Gallery, Bangkok
Dual Exhibition 2008
- “By reasons-By feelings”, the National Gallery, Bangkok
Selected Exhibitions 1997 1999 2000 2001
65
th Contemporary Art Exhibition in Commemoration of 55 Anniversary of the Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Art, National Gallery - “Bangkok Art Exposition“ 1999, National Gallery Art Exhibition by Painting Department, Silpakorn University (Sanamchandra Palace Campus) - “Body and Face” Art Exhibition, Silpakorn University - “Art for Professor Silpa Bhirasri in 2000” Art Exhibition, Silpakorn University - Contemporary Art Competition 2000 by Thai Farmer Bank 15 Thailand Petroleum Authority’s Art Exhibition - “Scopolamine Proj.1”, Tadu Contemporary Art. - “Scopolamine Proj.2”, Si-Am Art Space Contemporary Art - “Scopalamine Proj.3”, Mi-Fa the International Academy of music -
2003 2004 2004 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014
- “Scopalamine Proj.4”, Ta-Kim Gallery - “Scopalamine Proj.5”, Space Contemporary Art. - “Flow” Art Exhibition, Room Service - “Glory and Power”, the Silom Galleria - Seacon Square Art Exposition to Celebrate the Auspicious th Occasion of Her Majesty the Queen’s 6 Cycle Birthday Anniversary, Seacon Mall - “Earth-Mountain-River-Sea and Sky” In the Auspicious Occasion of Her Majesty the Queen’s 6th Cycle Birthday Anniversary, Silpakorn University - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition” at DPU Place - “Artist Self-Portrait”, The Silom Galleria - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition 2008” at PCC Art Gallery - “China-Thailand” Contemporary Art Exhibition, the National Gallery, Bangkok - “Celebrate 30 years anniversary of the National Gallery” , the National Gallery, Bangkok - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition 2009” at Amari- Watergate Lobby Hotel - “Creativity Sustainable Future” by Leading Female Artist in Thailand at lifestyle Gallery 2nd Fl. Siam Paragon “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition” at Jamjuree Art Gallery - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition” at Bon Galleria in Bon Marche’ Market Park - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition” at The Seven Art Galler. - “Instructor of Dhurakijpundit University Art Exhibition” at Jamjuree Art Gallery - “ Dhurakijpundit University Art Exhibition 2014“ at Bangkok Art and Culture Centre - “ Print in ANGKOR WAT 2014“ by Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,Silpakorn University at Krung Thai Art Gallery - “ASEAN Contemporary Painting Project 2014“ by Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University at National Gallery
66
67