รวมบทความ ดร.ศานติ 2561

Page 1


1

บทที่

เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework ศรติ ภูมิโพธิ Shrati Bhumibodhi


บทที่ 1

2

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

1

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

บทที่

เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

ศรติ ภูมิโพธิ1 Shrati Bhumibodhi

บทคัดย่อ โลกของการบริหารในศตวรรษที่ 21 เต็มไปด้วยความซับซ้อน การบริหารภายใต้ ข้อตกลงเบือ้ งต้นทีว่ า่ ทุกอย่างหยุดนิง่ ไม่อาจนำ�มาใช้ได้อกี ต่อไป ประกอบกับในรุง่ อรุณ แห่งศตวรรษนี้ ผลร้ายที่เกิดจากการบริหารอย่างไร้จริยธรรมได้แสดงตัวออกมา ทำ�ให้บริษัทยักษ์ใหญ่และมีอายุมากกว่า 1ศตวรรษหลายแห่งล้มลงเพียงชั่วข้ามคืน บทความนีไ้ ด้น�ำ เสนอกรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบเพือ่ รับมือกับความซับซ้อนของ การบริหารในศตวรรษที่ 21 เพือ่ สร้างเครือข่ายการบริหารอย่างมีจริยธรรมภายใต้ทฤษฎี ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของฟรีแมน ผลจากการผสมผสานตัวแบบพลวัตระบบเข้ากับทฤษฎี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทำ�ให้ได้กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบในการสร้างเครือข่ายการ บริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีจ่ ะมีอตั ราการขยายตัวของเครือข่ายแบบก้าวกระโดด คำ�สำ�คัญ : ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย, ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย, การบริหารเชิงกลยุทธ์, จริยธรรมการบริหาร, การสร้างเครือข่าย, จริยธรรมธุรกิจ, ภาวะผูน้ �ำ

Abstract

The managerial world in the 21st century is fully equipped with complexity. Managerial assumption, every thing is static, is no longer practical. The pitfalls of managerial malfunctions had emerged, and collapsed the centennial world giant corporations overnight, in the dawn of this century. This article is trying to propose a system dynamic framework to handle the complexity of management in the 21st 1

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช email:bshrati@gmail.com


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

3

จากจริยธรรมชีวิตสู่จริยธรรมการบริหาร: ความนำ� จริยธรรมเป็นเรือ่ งทีม่ คี วบคูก่ บั วิถชี วี ติ ในสังคมมนุษย์มาตัง้ แต่โบราณ การศึกษา เรือ่ งจริยธรรมอย่างเป็นแบบแผนจนมีการตีพมิ พ์ผลงานเริม่ ปรากฏร่องรอยให้เราเห็น เมือ่ สังคมมนุษย์มคี วามก้าวหน้าในเทคโนโลยีการพิมพ์ หากไม่รวมงานเรือ่ ง Socrates ของ Plato ทีแ่ ต่งขึน้ โดยให้อาจารย์ของตัวเองเป็นตัวเอกในเรือ่ ง แล้วให้สนทนากับเพือ่ น ชือ่ ยูไทโฟร และไครโต เรือ่ งสุทธิธรรม (Holiness) เรือ่ งนีต้ พี มิ พ์เมือ่ กว่าสองพันปีมาแล้ว ในภาษากรีก แล้วมีผนู้ �ำ มาตีพมิ พ์ใหม่ภายหลังในภาษาอังกฤษ (Plato, 1997) รวมทัง้ ฉบับแปลเป็นภาษาไทย (เพลโต, 2553) ถึงแม้ว่างานของเพลโตดังกล่าว จะพูดถึง เรือ่ งคุณงามความดี แต่เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งใช้ความสามารถอย่างสูงในการตีความ ทำ�ให้ การพูดถึงจริยธรรมไม่ปรากฏชัดเจนนัก เมือ่ เทียบกับ The Principles of Ethics ของ Herbert Spencer (1896a, 1896b) แม้ยงั ไม่อาจกล่าวได้วา่ งานเขียนนีม้ คี วามโดดเด่น กว่างานเขียนเกีย่ วกับจริยธรรมอืน่ ๆ ในสมัยเดียวกัน แต่ความชัดเจนในการกล่าวถึง จริยธรรมก็มคี วามชัดเจน คือการกล่าวออกมาตรง ๆ เมือ่ เทียบกับงานของ Plato ใน ประเด็นการศึกษาจริยธรรม Herbert Spencer ตีพิมพ์หนังสือ The Principles of Ethics สองเล่มใหญ่ ๆ ในปลายศตวรรษที่ 19 (Spencer, 1896a, 1896b) เล่มแรก ในภาคหนึ่ง Spencer นำ�เสนอหลักจริยธรรมทั่วไป (The Data of Ethics) เช่นหลัก ความประพฤติ หลักตัดสินความดี จนไปถึงขอบเขตของจริยธรรม ภาคสอง Spencer นำ�เสนอวิธีการทางจริยธรรมแบบอุปนัย (Induction) อันประกอบไปด้วยความคิด ความรูส้ กึ ประเภทต่าง ๆ เช่น ความก้าวร้าว การล้างแค้น ความยุตธิ รรม และการเชือ่ ฟัง เป็นต้น ส่วนในภาคสามของเล่มแรก Spencer นำ�เสนอหลักจริยธรรมในระดับชีวิต ของแต่ละบุคคล ประกอบด้วยจุดเริม่ ต้นของชีวติ การพักผ่อน โภชนาการ วัฒนธรรม ไปจนถึงความเป็นพ่อเป็นแม่ของบุคคล (Spencer, 1896a) ส่วน The Principles of Ethics เล่มสอง เป็นเรือ่ งทีว่ า่ ด้วยจริยธรรมในระดับการใช้ชวี ติ ในสังคมทัง้ ภาคสี่ ห้า

บทที่ 1

century in order to formulate ethical management network under freeman’s stakeholders theory. Resulted from system dynamic model and stakeholders integration, a system dynamic framework of management for stakeholders network is proposed. The network exponential growth is hypothesized in the network formulation process. Key words : Stakeholders Theory, Stakeholders, Strategic Management, Management Ethics, Networking, Business Ethics, Leadership


บทที่ 1

4

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

และภาคหก เริม่ ด้วยความยุตธิ รรม ผลกระทบทางลบ และผลกระทบทางบวก ตามลำ�ดับ (Spencer, 1896b) อย่างไรก็ตาม งานเขียนเกีย่ วกับจริยธรรมการบริหารยังไม่ปรากฏ จนกระทัง่ หลังจากผลของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมเริม่ ส่งผลกระทบต่อคนงานและสังคม และงานเขียนเริม่ ปรากฏอย่างเด่นชัดตัง้ แต่ปลายศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทีก่ ารบริหาร เริ่มใส่ใจคนงานและสังคม (Drucker, 2008) ก่อนที่จะพัฒนาขึ้นมาเป็นจริยธรรม การบริหารที่ใส่ใจต่อโลกและมนุษย์อย่างเป็นองค์รวมเมื่อย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 (Kotler et al., 2010) ทีก่ ล่าวไปข้างต้นเป็นงานทีน่ �ำ เสนอเรือ่ งคุณจริยธรรมในโลกตะวันตก ซึง่ แสดง ให้เห็นว่าหากเป็นการนำ�เสนอเรือ่ งดังกล่าวในสมัยโบราณ จะเป็นการนำ�เสนอผ่านเรือ่ งแต่ง อาจแต่งเป็นเรือ่ งราว หรือแต่งเป็นบทสนทนาดังงานของ Plato (Plato, 1997; เพลโต, 2553) ทีไ่ ด้ยกตัวอย่างไปแล้ว แต่ถา้ เป็นนำ�เสนอคุณธรรมจริยธรรมในยุคสมัยใหม่ คือนับตัง้ แต่ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ซึง่ ถือว่าเป็นยุคแห่งการรูแ้ จ้ง ยุคทีเ่ หตุผลของมนุษย์ อยูเ่ หนือศรัทธา การนำ�เสนอจะเป็นลักษณะการอธิบายด้วยเหตุดว้ ยผลดังงานของเพลโต (Plato, 1997) มากกว่าการนำ�เสนอด้วยเรือ่ งราวหรือบทสนทนาเพือ่ ให้ผแู้ ต่งตีความ เอาเอง ดังงานของ Spencer (1896a, 1896b) ทีย่ กตัวอย่างไปแล้ว อย่างไรก็ตามในวิถี ของโลกตะวันออก ก็มลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ถ้าเป็นการนำ�เสนอหลักคุณธรรม จริยธรรมในสมัยโบราณ ก็จะนำ�เสนอผ่านเรือ่ งราวเช่นในคัมภีรจ์ วงจือ่ ทีไ่ ด้กล่าวถึง หลักคุณธรรมจริยธรรมในการดำ�เนินชีวิตโดยผ่านเรื่องราวของบุคคลทั้งที่มีอยู่จริง ในประวัตศิ าสตร์ของจีน และบุคคลทีส่ มมติขนึ้ มาเพือ่ นำ�เสนอหลักการของคุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ้ งการจะบอกเล่า (สุรตั ิ ปรีชาธรรม, 2554) แม้วา่ คัมภีรจ์ วงจือ่ นี้ จะเน้นหนัก ไปในทางคุณธรรมเพือ่ การหลุดพ้นไปจากโลกธรรม แต่กม็ บี างส่วนทีพ่ ดู ถึงคุณธรรม จริยธรรมในระดับโลกธรรมเหมือนกัน ผิดกับคัมภีรห์ ลุนอวี่ ของขงจือ่ ทีเ่ น้นหนักไปใน เรือ่ งการใช้ชวี ติ ในระดับโลกธรรม (อมร ทองสุก, 2553) อย่างไรก็ตาม เมือ่ จีนเริม่ ส่ง ประชาชนของตนไปศึกษาหาความรูใ้ นโลกตะวันตก วิธกี ารนำ�เสนอหลักการของคุณธรรม จริยธรรมของจีนก็เริม่ มีการนำ�เสนอในลักษณะของการอธิบายด้วยเหตุดว้ ยผล ดังเช่น งานของศาสตราจารย์เฝิงอิว่ หลันทีน่ �ำ เสนอหลักคิดทางปรัชญาของจีนนับตัง้ แต่ปรัชญา ของขงจื่อจนมาถึงเหมาเจ๋อตง (เฝิงอิ่วหลัน, 2553) จากทีน่ �ำ เสนอดังกล่าวข้างต้นจะพบว่า นักปราชญ์พยายามนำ�เสนอหลักแห่งคุณงาม ความดี ที่จะนำ�สังคมไปสู่ความสงบร่มเย็น เพื่อที่ผู้ปกครองสังคมในสมัยนั้น จะได้ใช้


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

5

บทที่ 1

เป็นหลักในการบริหารบ้านเมืองให้อยูใ่ นความสงบร่มเย็น นักปราชญ์ทง้ั โลกตะวันตกและ ตะวันออกมีวธิ กี ารนำ�เสนอทีแ่ ตกต่างกันตามยุคตามสมัย รวมทัง้ ความชัดเจนในการ นำ�เสนอก็เริม่ ชัดเจนมากขึน้ เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นไป ทีเ่ ป็นเช่นนัน้ อาจเป็นเพราะว่า นักปราชญ์ ต้องการให้หลักคุณธรรมจริยธรรม และหลักความยุตธิ รรม (Sandel, 2010) สามารถ เข้าถึงคนสมัยใหม่มากขึน้ จึงต้องนำ�เสนอให้ชดั เจน และเจาะจงมากขึน้ ทัง้ นี้อาจเป็น ไปได้วา่ คนสมัยใหม่จติ ใจไม่คอ่ ยสงบ การจะเข้าใจอะไรทีพ่ ดู อ้อม ๆ จึงเป็นไปได้ยาก ดังนัน้ วิธกี ารจึงต้องเปลีย่ นไปตามจิตใจของคนทีเ่ ปลีย่ นแปลง ส่วนหลักการนัน้ ผูเ้ ขียนเห็นว่า ยังไม่เปลีย่ นหรืออาจมีเปลีย่ นแปลงในรายละเอียดบ้างก็เพือ่ ความชัดเจน ซึง่ หลักการดัง กล่าวทีน่ กั ปราชญ์เสนอไว้ ก็เป็นหลักการทีเ่ หมาะสมกับสังคมในสมัยนัน้ เพราะสังคม ยังไม่ซบั ซ้อน องค์กรในสังคมก็ยงั มีไม่มาก ทำ�ให้สามารถใช้หลักจริยธรรมทัว่ ไปทีน่ กั ปราชญ์ เสนอไว้ เอาไปใช้เป็นหลักในการบริหารบ้านเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่เมือ่ สังคม ผ่านวิวฒ ั นาการมาเป็นเวลานาน จนกระทัง่ เข้าสูส่ มัยปัจจุบนั สังคมมีความซับซ้อนมากขึน้ เพราะเกิดองค์กร หรือสังคมย่อย หรือมีรปู แบบของรัฐไม่เป็นทางการซ้อนกันอยูเ่ ป็น จำ�นวนมาก ระบบจริยธรรมสากลแบบเดิม ๆ จึงไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ของสังคม และไม่มปี ระสิทธิภาพในการใช้เป็นหลักในการบริการจัดการองค์กรทีเ่ กิดขึน้ เป็นจำ�นวนมาก ในสังคม เสียงเรียกร้องหาจริยธรรมจากองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม ซึง่ มีบทบาทสำ�คัญในการ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของสังคม เพือ่ ให้องค์กรเหล่านัน้ มีประสิทธิภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ จึงมีมากขึน้ เริม่ ตัง้ แต่ปลายศตวรรษ 20 เป็นต้นมา โดยตัง้ แต่กลางศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา เสียงเรียกร้องดังกล่าวเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั กันในชือ่ “ความรับผิดชอบของบรรษัท ต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility, CSR) จนกระทัง่ ถึงปลายศตวรรษที่ 20 แนวคิดเรือ่ งจริยธรรมการบริหารจึงปรากฏเป็นรูปธรรมและมีลกั ษณะเฉพาะการบริหาร มากขึน้ จนได้รบั การยอมรับว่า จริยธรรมการบริหาร เป็นการบริหารเชิงกลยุทธ์อย่างหนึง่ ทีเ่ รียกว่า “การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย” Strategic Management: A Stakeholder Approach ของ Freeman (Freeman, 1984) จากปรากฏการณ์ความซับซ้อน ประกอบดับเสียงเรียกร้องทางจริยธรรม และ การปรากฏขึ้นของทฤษฎีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังกล่าว บทความนี้จึงต้องการนำ�เสนอ กรอบแนวคิดในการสร้างเครือข่ายการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอย่างเป็นพลวัต ดังรายละเอียดที่จะนำ�เสนอต่อไป


บทที่ 1

6

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

เงินเป็นตัวตัง้ และผูถ้ อื หุน้ เท่านัน้ : การต่อสูข้ องการบริหารเพือ่ ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียในยุคแรก การศึกษาจริยธรรมทีเ่ ป็นเรือ่ งเฉพาะอย่างเช่นจริยธรรมทีเ่ กีย่ วกับการบริหารนัน้ เริม่ ได้รบั ความสนใจเมือ่ ย่างเข้าสูป่ ลายศตวรรษที่ 20 นีเ่ อง Green and Donovan (2010) ยกให้หนังสือ Strategic Management: A Stakeholder Approach ของ Freeman (Freeman, 1984) เป็นหนังสือทีบ่ กุ เบิกเรือ่ งจริยธรรมธุรกิจ ในหนังสือนีน้ �ำ เสนอว่า ความรับผิดชอบ ของผู้บริหารไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น (Shareholders) เท่านั้น แต่ยงั เลยไปถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders) ทุกคนด้วย ไม่วา่ จะเป็นพนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ และชุมชนด้วย หลังจากการตีพมิ พ์หนังสือเล่มดังกล่าว มีบทความนับร้อยชิน้ ได้รบั การตีพิมพ์จากอิทธิพลของหนังสือเล่มนี้ รวมทั้งมีหนังสือแนวนี้ออกมาอีกสองเล่ม กว่ายีส่ บิ ปีหลังจากทีเ่ ล่มแรกได้รบั การตีพมิ พ์ในปี 2007 ฟรีแมน กับผูแ้ ต่งร่วมอีกสองคน ได้ตีพิมพ์หนังสือ Managing for Stakeholders : Survival, Reputation, and Success (Freeman, Harrison, and Wicks, 2007) เล่มหลังนี้ยังอยู่ในแนวเดียวกับเล่มแรก แต่เล่มหลังนีม้ งุ่ ไปทีว่ ธิ กี ารปฏิบตั มิ ากขึน้ โดยเฉพาะการตัดสินใจในเรือ่ งจริยธรรมทาง การบริหารทีอ่ งค์กรธุรกิจต้องเผชิญอยู่ ทำ�ให้การตัดสินใจทางจริยธรรมเป็นภารกิจทาง จริยธรรมสามด้านทีผ่ บู้ ริหารต้องทำ�ให้ลลุ ว่ งเพือ่ ปรับปรุงผลการปฏิบตั งิ านด้านจริยธรรม (Ethical Performance) ได้แก่ การรวบรวมจริยธรรม การอบรมจริยธรรม และการปฏิบตั ิ จริยธรรม (Green & Donovan, 2010 : 22-24) อีกเล่มตีพมิ พ์ในปี 2010 เป็นการนำ�งาน ใน 1984 มาเพิม่ เติมรายละเอียดอีก พร้อมทัง้ นำ�เสนอเนือ้ หาในส่วนพัฒนาการของทฤษฎี เพื่อให้มีความเป็นปัจจุบันมากขึ้น (Freeman et al., 2010) อย่างไรก็ตามการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย หรือทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders Theory) ไม่ได้เกิดขึน้ โดยปราศจากอุปสรรค ในทางกลับกันแนวคิดนีต้ อ้ งต่อสู้ อย่างเข้มข้นกับแนวคิดการบริหารเพือ่ เจ้าของหรือผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ กู นำ�เสนอโดยนักเศรษฐศาสตร์ เจ้าของทฤษฎีปริมาณเงิน (The Modern Quantity Theory of Money) มิลตัน ฟรีดแมน (Friedman, 1962) ฟรีดแมนได้น�ำ เสนอแนวคิดเรือ่ งนีใ้ น New York Time Magazine ในปี 1970 เพือ่ ท้าทายแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) ว่า “ภารกิจ แรกของผูบ้ ริหารคือการบริหารเพือ่ ตอบสนองผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ” ผูบ้ ริหารในสายตา ของฟรีดแมนจึงเป็นเพียง “ลูกจ้างของเจ้าของกิจการ” ดังนัน้ “ผูบ้ ริหารจึงต้องทำ�เงินให้ได้มาก ทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำ�ได้เพือ่ สนองความปรารถนาของเจ้าของกิจการ” (Friedman, 1970) อย่างไร


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

7

บทที่ 1

ก็ตาม มีผใู้ ห้ความเห็นว่าแนวคิดของฟรีดแมนต้องถือว่าชอบธรรมตามหลักสิทธิเหนือ ทรัพย์สินของผู้ถือหุ้นและเจ้าของ (Green & Donovan, 2010 : 24) นอกจากแนวคิด “เงินเป็นตัวตัง้ ” ของฟรีดแมนจะถูกใจผูบ้ ริหารค่าย “อธรรม” ทีม่ องการบริหารว่าเป็นการออกล่าเหยือ่ เพือ่ มุง่ ทำ�กำ�ไรสูงสุดอย่างเดียวโดยไม่ใยดี คุณธรรมจริยธรรมแล้ว แนวร่วมทางความคิดของฟรีดแมนทีส่ �ำ คัญอีกคนได้แก่ อัลเบิรต์ ซี คารร์ (Albert Z. Carr) นายคนนีม้ องว่าธุรกิจก็เหมือนกับการเล่นไพ่โป๊กเกอร์ ซึง่ น่าจะ คล้ายกับเกมส์เศรษฐีทเ่ี ราเคยเล่นตอนเด็ก ๆ ถ้าพูดในภาษาเศรษฐศาสตร์กอ็ าจจะคล้าย กับแนวความคิดที่ว่า “เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องของเกมส์ที่ผลรวมไม่เท่ากับศูนย์” (Non Zero Sum Games) บทความของ “นายคารร์” ทีต่ พี มิ พ์ในวารสาร Harvard Business Review ในปี 1968 เป็นบทความทีท่ รงอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดนี้ ดังนัน้ ทัง้ ฟรีดแมน และคารร์ จึงเป็นคูห่ ทู ม่ี แี นวคิดทาง “จริยธรรมพิเศษทางธุรกิจ” ชนิดทีไ่ ม่มใี ครกล้าแตะต้อง ทัง้ คูม่ คี วามเห็นร่วมกันว่า นักธุรกิจทัง้ ชายและหญิงต้องเชือ่ ฟังกฎหมาย ตราบเท่าทีก่ ฎหมาย ไม่ถกู ละเมิด หรือไม่มกี ฎหมายห้ามไว้ ก็ไม่ตอ้ งใส่ใจกับสวัสดิภาพของบุคคลทีไ่ ม่ใช่ผถู้ อื หุน้ แม้วา่ บุคคลเหล่านัน้ จะได้รบั ผลกระทบทางลบจากการบริหารกิจการของนักธุรกิจก็ตาม (Green & Donovan, 2010 : 24-25) ด้วยมูลเหตุนน้ี เ่ี อง จึงนำ�ไปสูท่ ฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียของฟรีแมน ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียนี้ ต้องถือว่าเป็นปฏิกริ ยิ าตอบโต้จดุ ยืนของฟรีดแมน และคารร์ และต้องยอมรับว่าผูบ้ ริหารทีบ่ ริหารกิจการตามแนวทางของทฤษฎีผมู้ สี ว่ น ได้สว่ นเสียนีจ้ ะต้องเป็นผูท้ มี่ คี วามเสียสละอย่างมากต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายที่ อาจจะได้รบั ผลกระทบจากการบริหารกิจการทีต่ นเองรับผิดชอบอยู่ ไม่เฉพาะแต่ผถู้ อื หุน้ เท่านัน้ ในระยะเริม่ ต้นของทฤษฎีนม้ี มี ติ ทิ ส่ี �ำ คัญสามมิตคิ อื จริยธรรมพรรณนา เครือ่ งมือ ทางจริยธรรม และบรรทัดฐานทางจริยธรรม เพือ่ สร้างความสัมพันธ์กบั ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกฝ่าย พร้อมกับแสดงให้เห็นว่า ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีสว่ นสำ�คัญต่อความสำ�เร็จของธุรกิจ อีกทัง้ เพือ่ เน้นย้�ำ ถึงความรับผิดชอบทางจริยธรรมของผูบ้ ริหารธุรกิจต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียด้วย (Green & Donovan, 2010 : 25) จากการโต้แย้งทางความคิดดังกล่าว จนกระทัง่ ถึงปัจจุบนั อาจกล่าวได้วา่ แนวคิด “ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย” ของฟรีแมนได้รบั ชัยชนะเหนือแนวคิด “เงินเป็นตัวตัง้ ” ของ ฟรีดแมนและคารร์ โดยดูได้จากงานวิจยั ทีต่ พี มิ พ์ใน Journal of Business Ethics ทีน่ �ำ ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมาเป็นแกนในการวิจยั ในแง่มมุ ต่าง ๆ เช่นในมุมของการบริหารผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในฐานะทีเ่ ป็นขีดความสามารถหนึง่ ในสาม ของความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (Torugsa, N.A., O’Donohue, W. & Hecker,


บทที่ 1

8

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

R., 2012) ในมุมของการพัฒนาทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามเสียงเรียกร้องของวง วิชาการในด้านการบูรณาการกลยุทธ์และจริยธรรมเข้าด้วยกัน และการพัฒนาจุดยืน ทีเ่ ป็นพลวัตในการบริหารจัดการผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Monija, 2012) ส่วนอีกมุมหนึง่ ถือว่าเป็นพัฒนาการอีกระดับหนึง่ ของทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีเ่ ป็นการมุง่ นำ�เสนอ ความรับผิดชอบเชิงศีลธรรมต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การพัฒนาอีกขัน้ ของทฤษฎีนไี้ ด้ กลับมุมมอง โดยตัง้ คำ�ถามใหม่วา่ แล้วความรับผิดชอบเชิงศีลธรรมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ต่อผูล้ งทุนในกิจการจะมีอะไรบ้าง (Sandbu, 2012) หรือในอีกแง่มมุ หนึง่ ทีต่ อ้ งการศึกษา ในสถานการณ์ความขัดแย้งกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของธุรกิจ ในสถานการณ์เช่นนีก้ ารเข้าใจ ธรรมชาติของสัมพันธภาพกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย จะมีบทบาทสำ�คัญมากในการผ่าวิกฤติ ความขัดแย้งไปได้ (Kujala, J., Heikkinen, a., & Lehtimäki, H., 2012) แม้วา่ จะมี นักวิชาการบางท่านทีเ่ ห็นว่าการทีท่ ฤษฎีนร้ี วมเอาสิง่ แวดล้อมเข้าเป็นผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียด้วย ยังอยูใ่ นระดับข้อสรุปเชิงทฤษฎีทไ่ี ม่ชดั เจนเพราะขาดพลังในการให้ค�ำ อธิบาย ควรทีจ่ ะ เปลีย่ นจากแนวความคิดในการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมแบบกว้าง ๆ ไปสูก่ รอบในการวิเคราะห์ อย่างเป็นรูปธรรมโดยมีแนวคิดความยัง่ ยืนของมนุษย์เป็นฐาน ซึง่ การบริหารผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียตามทฤษฎีนค้ี วรเป็นไปเพือ่ ส่งเสริมความยัง่ ยืน (Gibson, 2012) ก่อนหน้านีก้ ม็ ี ผูอ้ อกมาตัง้ คำ�ถามต่อทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียว่า ทำ�อย่างไรจึงจะสามารถจัดการผูเ้ กีย่ วข้อง ได้อย่างยุตธิ รรม (Orts & Struder, 2010) แม้แต่เจ้าของทฤษฎีเองยังออกมาให้ค�ำ แนะนำ� ว่าถ้าจะให้เข้าใจทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้ดที ส่ี ดุ ต้องนำ�ไปปฏิบตั ใิ นระดับการบริหาร จัดการ (Freeman, Rusconi, Signori, & Strudler, 2012) นอกจากนีย้ งั มีผเู้ สนอมุมมองทีต่ า่ งออกไปอีกหลากหลายเช่น นักวิชาการบางคน เสนอว่าผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียต่างก็มผี ลกระทบแบบเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน (Fassin, 2012) บางกลุม่ เห็นว่าทีผ่ า่ นมาการวิจยั ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทำ�กันอยูเ่ ฉพาะในองค์ขนาดใหญ่ หรือ อาจจะมีการทำ�วิจยั ในองค์การขนาดกลางและย่อม (SMEs) แต่กเ็ ป็นเพียงการทำ�วิจยั ภายในประเทศ ดังนัน้ กลุม่ นีจ้ งึ ทำ�การวิจยั ในองค์กรขนาดกลางและย่อม ในหกประเทศ ของทวีปยุโรป หลังการวิจยั กลุม่ นีเ้ สนอแนะว่าการบริหารผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียควรให้ ความสนใจมากขึน้ ในประเด็นของสิง่ แวดล้อมเชิงสถาบัน ภาษา และวัฒนธรรมซึง่ เป็น ตัวกำ�หนดรูปแบบเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป (Schlierer et al., 2012) จากที่ กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของฟรีแมนยังเป็นทฤษฎีหลักทีใ่ ช้ใน จริยธรรมการบริหารธุรกิจ และการบริหาร ต่อจากนีไ้ ปเราจะกลับไปพิจารณาทฤษฎี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders Theory) ของฟรีแมนจากงานวิจัยที่ตีปี 1984,


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

9

ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและการสร้างคุณค่าร่วม: องค์ประกอบและหลักการ แม้ว่าฟรีแมนจะได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Green & Donovan, 2010 pp: 23) แต่ดว้ ยความเป็นนักปราชญ์ทอ่ี อ่ นน้อมถ่อมตน ของฟรีแมน เขาไม่เคยยอมรับว่าเขาเป็นผูบ้ กุ เบิกทฤษฎีนเ้ี ลย เขากลับให้การยอมรับว่า สถาบัน วิจยั สแตนฟอร์ด เป็นผูน้ �ำ แนวคิดผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียขึน้ มาสูเ่ วทีวชิ าการเป็นครัง้ แรก ในปี 1963 (Freeman, 1984 : 33-36 ; 2010 : 30-31) ทฤษฎีนต้ี อ้ งผ่านการทดสอบ มาหลายปี นับตัง้ แต่ฟรีแมนประกาศทฤษฎีนใ้ี นปี 1984 (Freeman, 1984) จนกระทัง่ ในปี 2010 รายชือ่ นักวิชาการทีเ่ กีย่ วข้องกับทฤษฎีนก้ี ไ็ ด้รบั การเปิดเผยเป็นจำ�นวนมาก มีทง้ั ทีม่ าสนับสนุน และทัง้ ทีม่ าวิพากษ์วจิ ารณ์เพือ่ ให้ทฤษฎีนแ้ี กร่งขึน้ เพราะมีความเชือ่ มโยง กับทฤษฎีทางการบริหารหลายสาขาได้แก่ ทฤษฎีองค์การ แนวคิดความรับผิดชอบของ บรรษัทต่อสังคม ทฤษฎีระบบ กลยุทธ์การบริหาร (Freeman, 2010 : 30-58) ด้วยความเป็น คนอ่อนน้อมถ่อมตนและใจกว้างของฟรีแมน จึงทำ�ให้ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียยังถูกนำ�ไปใช้ ทัง้ ในการวิจยั และในการบริหารดังตัวอย่างนำ�เสนอไปแล้วข้างต้น ต่อไปเราจะไปพิจารณา ขอบเขต ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามทฤษฎีน้ี หลักการทัว่ ไปของทฤษฎีน้ี แบบผูน้ �ำ ทีต่ อ้ งการสำ�หรับ การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Management for Stakeholders) ตามทฤษฎีนต้ี ามลำ�ดับ การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามทัศนะของฟรีแมน คือการสร้างสรรค์คณ ุ ค่า ร่วมกันระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หมดของธุรกิจ แนวความคิดง่าย ๆ ในเรือ่ งนีก้ ค็ อื ธุรกิจก็คอื ชุดความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในกิจกรรมของธุรกิจ ธุรกิจ คือกระบวนทีล่ กู ค้า ผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ พนักงาน เจ้าของเงินทุน ชุมชน และผูบ้ ริหาร ปฏิสมั พันธ์ กันเพือ่ สร้างคุณค่าขึน้ การทำ�ความเข้าใจธุรกิจคือการรูว้ า่ ความสัมพันธ์นท้ี �ำ งานอย่างไร งานของผูบ้ ริหารหรือผูป้ ระกอบการคือ การจัดการหรือการจัดรูปความสัมพันธ์เหล่านีน้ เ่ี อง (Freeman, 2010 : 24) กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หมดตามทฤษฎีของฟรีแมน หาก นำ�เสนอเป็นระดับ (Layer) โดยพิจารณาจากความใกล้ชดิ กับองค์กร สามารถแบ่งได้ เป็นสองระดับคือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปฐมภูมิ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุติยภูมิ กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียปฐมภูมิ หรือกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียวงในซึง่ เป็นการให้ นิยามแบบแคบ คือกลุม่ ทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ องค์กรมากทีส่ ดุ เวลาเกิดผลกระทบกลุม่ นีจ้ ะได้รบั ผลกระทบก่อน กลุม่ นีไ้ ด้แก่ ลูกค้า ผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ พนักงาน เจ้าของเงินทุน และชุมชน

บทที่ 1

2007 และ ปี 2010 อย่างละเอียดประกอบกับงานวิจัยที่ได้กล่าวถึงข้างต้นเพื่อมา พัฒนาเป็นกรอบในการสร้างเครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อไป


บทที่ 1

10

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

ในขณะทีก่ ลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุตยิ ภูมหิ รือกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียวงนอก ซึง่ เป็นการ นิยามแบบกว้าง คือกลุม่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบในลำ�ดับถัดมาซึง่ ได้แก่ รัฐบาล คูแ่ ข่ง ผูบ้ ริโภค ทีส่ นับสนุนองค์กร กลุม่ ผลประโยชน์พเิ ศษ และสือ่ ต่าง ๆ สรุปว่าทัง้ กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ในการนิยามแบบกว้าง และกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในการนิยามแบบแคบ ล้วนเป็นกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีอ่ งค์กรและผูบ้ ริหารต้องให้ความสำ�คัญในการบริหารตามทฤษฎี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Freeman, 2010 : 25-29) หากพิจารณากลุ่มบุคคลหรือปัจเจกบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการบริหาร อย่างหยาบ ๆ อาจประกอบด้วยห้าฝ่ายด้วยกัน คือ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ลูกค้า และผูจ้ ดั หา วัตถุดบิ โดยมีผบู้ ริหารอยูต่ รงกลาง (Freeman, 1984 : 12) แต่เมือ่ พิจารณาผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียทีอ่ ยูล่ อ้ มรอบองค์กรอาจกล่าวได้วา่ ทุกภาคส่วนล้วนเกีย่ วข้องกับองค์การทัง้ หมด เช่น องค์การของท้องถิน่ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้าประจำ� ผูบ้ ริโภค คูแ่ ข่ง สือ่ พนักงาน สถาบันการเงิน นักสิง่ แวดล้อม ผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ ตลอดจนรัฐบาล (Freeman, 1984 : 25) ฟรีแมนกล่าวไว้ อีกว่า เมือ่ ผูบ้ ริหารเริม่ มีความคิดเกีย่ วกับธุรกิจทีต่ นบริหารอยูว่ า่ เป็นการสรรค์สร้างคุณค่า แก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เมือ่ นัน้ การก้าวต่อไปจะเป็นเรือ่ งง่าย ในการทีจ่ ะเริม่ เห็นกระบวนการ สร้างสรรค์คณ ุ ค่าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกันอยูแ่ ล้วกับคุณค่าและจริยธรรม ซึง่ คำ�ถามเรือ่ งคุณค่า และจริยธรรมเป็นคำ�ถามหลักอยูแ่ ล้วสำ�หรับการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เพราะว่า ในระยะเริม่ แรกของกระบวนการบริหารแบบนี้ ผูบ้ ริหารต้องระบุให้ชดั ว่าใครคือผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียที่กำ�ลังสร้างสรรค์คุณค่าให้เกิดขึ้น (Freeman, 2007 : 11) หลักการ หรือความเชื่อหลักที่สำ�คัญในทฤษฎีนี้คือความเชื่อที่ว่า “ธุรกิจได้ผล ก็เพราะตรรกะแห่งคุณค่า” (Freeman, 2007 : 6) ซึง่ ต้องเป็นคุณค่าทีม่ าจากพืน้ ฐาน ของธุรกิจนั้นจริง ๆ ในโลกของธุรกิจแห่งศตวรรษที่ 21 จุดมุ่งหมายของธุรกิจคือ การเชือ่ มโยงกับการสร้างสรรค์คณ ุ ค่าให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หลาย ในประเด็นนี้ นักบริหารระดับแนวหน้าของโลกอย่างค็อตเลอร์เรียกว่า “การบริหารเพือ่ จิตวิญญาณ แห่งความเป็นมนุษย์” (Kotler, Kartajaya & Setiawan, 2010) เราจะเข้าใจธุรกิจ ได้ดขี น้ึ เมือ่ เห็นปฏิสมั พันธ์ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในธุรกิจนัน้ ๆ องค์กรเป็นเพียงพาหนะ ทีเ่ ปิดรับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายเข้ามาร่วมสรรค์สร้างคุณค่าต่อกันและกัน นีเ่ ป็น หัวใจสำ�คัญของทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของฟรีแมน ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามทัศนะ ของฟรีแมนหมายถึง “ใครก็ตามไม่วา่ จะเป็นปัจเจกบุคคลหรือคณะบุคคลทีส่ ามารถ ส่งผลกระทบหรือได้รบั ผลกระทบจากการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์การ” (Freeman, 1984 : 25 ; 2007 : 6)


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

11

ผู้นำ�แห่งจริยธรรม: ผู้นำ�ในทฤษฎีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามทัศนะของฟรีแมน ผูน้ �ำ เมือ่ มองจากจุดยืนของจริยธรรมการบริหารอาจแบ่งออก ได้เป็นสามกลุม่ คือ ผูน้ �ำ แห่งอธรรม (Amoral Leader) ผูน้ �ำ มีคณ ุ ค่าเป็นฐาน (Valuebased Leader) และผู้นำ�แห่งจริยธรรม (Ethical Leader) (Freeman, 2007 : 17) ผูน้ �ำ แบบแรกฟรีแมนใช้ค�ำ ในภาษาอังกฤษว่า Amoral Leader พอมาใช้ค�ำ ว่าผูน้ �ำ แบบอธรรม ในภาษาไทย หลายคนอาจจะไม่คอ่ ยเห็นด้วย อาจจะทำ�ให้เกิดการต่อต้านจากผูน้ �ำ มากเกินไป ถ้ามองอย่างผิวเผิน เพราะจริง ๆ แล้ว คำ�ว่าผูน้ �ำ แบบอธรรมหมายถึงผูน้ �ำ ทีใ่ ช้การบริหาร ทีไ่ ม่สอดคล้องกับหลักหรือกฎของธรรมชาติเท่านัน้ เอง หรือเป็นผูน้ �ำ ทีต่ อ้ งการเอาชนะ ธรรมชาติ ไม่ได้หมายถึงผูน้ �ำ ทีไ่ ม่ดแี ต่อย่างไร เพราะว่าจะดีหรือไม่นน้ั ขึน้ อยูก่ บั ว่าสังคมนัน้ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานทางคุณค่าและจริยธรรมแบบใด ในกรณีผนู้ �ำ แบบอธรรมนี้ ฟรีแมนให้ ข้อสังเกตว่าใครเป็นผูน้ �ำ แบบนี้ คือผูท้ เ่ี น้นงานเป็นหลัก จากประสบการณ์ ฟรีแมนกล่าวว่า

บทที่ 1

หากดูเผิน ๆ อาจดูเหมือนว่าฟรีแมนไม่เห็นด้วยกับวิถที างแบบทุนนิยม เพราะมี บางคนทีเ่ ห็นว่า การบริหารไม่เกีย่ วข้องกับจริยธรรม (Friedman, 1962) และบางคน ก็เห็นว่าจริยธรรมการบริหารกับจริยธรรมในชีวติ ควรเป็นคนละชุดกัน (Carr, 1968) แต่ฟรีแมนก็ไม่ได้ปฏิเสธวิถที างของทุนนิยม เขาให้เหตุผลว่า “ความสวยงามของวิถที าง แบบทุนนิยมก็คอื ทุนนิยมมีหนทางทีห่ ลากหลายในการสร้างสรรค์คณ ุ ค่าแก่ผมู้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย” (Freeman, 2007 : 12) รวมทัง้ ทุนนิยมยังมีวธิ กี ารสร้างสรรค์คณ ุ ค่าหลายวิธี ให้เลือกใช้ดว้ ย ดังนัน้ ในการบริหาร แทนทีผ่ บู้ ริหารจะถามว่า “เราอยูใ่ นธุรกิจอะไร” คำ�ถามนี้ ต้องถูกเปลีย่ นไปสูค่ �ำ ถามทีล่ มุ่ ลึกมากขึน้ และตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานทางจริยธรรม เพือ่ สะท้อน คุณค่าของธุรกิจทีผ่ บู้ ริหารรับผิดชอบอยู่ คำ�ถามเหล่านัน้ อาจมีลกั ษณะเช่น (1) เราจะทำ� ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของเราดีขน้ึ ได้อย่างไร (2) เรายืนหยัดอยูเ่ พือ่ อะไร (3) ผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียกลุม่ ใดทีเ่ ราต้องการรับใช้ (4) อะไรคือแรงบันดาลใจของเรา และ (5) เราอยาก จะฝากตำ�นานหรือผลงานอะไรไว้กบั โลก คำ�ถามเหล่านี้ เป็นคำ�ถามทีท่ รงพลัง การจะตอบ คำ�ถามเหล่านีไ้ ด้ ต้องอาศัยความกล้าหาญทางจริยธรรมอย่างมาก ทางเดียวทีจ่ ะทำ�ได้คอื ต้องเปลีย่ นความคิดจาก การบริหารเพือ่ ผูถ้ อื หุน้ เท่านัน้ (Shareholders-only Management) ไปสูแ่ นวคิดการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders Management) ทีก่ ล่าวมา ข้างต้น เป็นหลักการและแนวคิดทัว่ ไปของทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ต่อไปจะพิจารณา เรือ่ งหลักการและแนวคิดเรือ่ งผูน้ �ำ ของฟรีแมนว่า เขาแบ่งผูน้ �ำ ไว้อย่างไรเมือ่ มองจาก มุมของจริยธรรมการบริหาร


บทที่ 1

12

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

ไม่มีผู้นำ�คนใดที่เริ่มต้นด้วยการเป็นผู้นำ�แบบ “อธรรม” แต่ผู้นำ�จำ�นวนมากก็ไปถึง จุดสิน้ สุดทีผ่ นู้ �ำ แบบนี้ เพราะไม่น�ำ คำ�ถามเรือ่ งคุณค่าและจริยธรรมออกหน้าและเป็นใจ กลางในการบริหาร (Freeman, 2007 : 17-18) ผูน้ �ำ มีคณ ุ ค่าเป็นฐาน ฟรีแมนให้ความเห็นว่า ผูน้ �ำ แบบนีค้ อื ผูน้ �ำ ทีม่ บี คุ ลิกภาพดีและ ตัง้ มัน่ ในคุณค่าของผูน้ ำ�ทีแ่ ท้จริง เช่น ความซือ่ สัตย์ ความเคารพต่อตนเองและผูอ้ นื่ มีความจริงใจ เป็นต้น ผู้นำ�ที่ยึดคุณค่าเป็นแกน จะเน้นบุคลิกภาพที่แสดงออก หรือ บุคลิกภาพในแง่มมุ คุณธรรมของจริยธรรม ซึง่ อาศัยความเป็น “คนจริง” และพลังอำ�นาจ ภายในของตนเพือ่ การทำ�ในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง “ถึงแม้วา่ จะไม่มอี ะไรผิด ในความเป็นผูน้ �ำ แบบนี้ แต่ทว่ามันยังไม่เพียงพอสำ�หรับโลกปัจจุบนั นี”้ ฟรีแมนกล่าว (Freeman, 2007 : 18) เพราะว่ามีความขัดแย้งมากมายในระดับค่านิยม แต่ละค่านิยมก็มีคำ�ตอบที่ถูกต้อง สำ�หรับตัวเอง จึงทำ�ให้มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากมายมาเกี่ยวข้อง และสำ�คัญต้องหา ความสมดุลในความสัมพันธ์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเหล่านีใ้ ห้พบ ฟรีแมนสรุปไว้ใน ตอนท้ายว่า “ค่านิยมมีความสำ�คัญ ผูน้ �ำ ทีด่ ตี อ้ งรูจ้ กั ค่านิยมของตนเอง และต้องรูจ้ กั ค่านิยมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุม่ ต่าง ๆ ด้วย แต่ผนู้ �ำ ต้องทำ�งานหนักมากกว่านี”้ (Freeman, 2007 : 18) นีแ่ สดงให้เห็นว่า ในทัศนะของฟรีแมน ความเป็นผูน้ �ำ ทีต่ ระหนักในคุณค่า และใช้คา่ นิยมทางด้านคุณธรรมจริยธรรมเป็นหัวใจในการบริหารยังไม่เพียงพอสำ�หรับ โลกปัจจุบนั ความเป็นผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม (Ethical Leader) คือทางออกทีฟ่ รีแมนเสนอไว้ ในทฤษฎีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนี้ ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม คือผูท้ ม่ี คี วามกล้าหาญทางด้านจริยธรรม เพราะต้องคอยตรวจสอบ คุณค่า หลักการ ผลร้ายผลดี ประเด็นบุคลิกภาพ ประสิทธิผลของผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย และประเด็นจริยธรรมทีซ่ บั ซ้อนอืน่ ๆ ในโลกธุรกิจทีต่ ง้ั อยูใ่ นพหุวฒ ั นธรรม ประเด็นเหล่านัน้ ได้แก่ วัฒนธรรม อำ�นาจ เพศ เชือ้ ชาติ การแสดงออกทางเพศ อายุ และความสามารถ ล้วนเป็น ประเด็นทีม่ คี วามซับซ้อน และเป็นประเด็นหลักในเรือ่ งจริยธรรม ซึง่ ผูน้ ำ�แห่งจริยธรรม ต้องเกีย่ วข้องกับประเด็นเหล่านีต้ ลอด เพือ่ ให้ภารกิจของผูน้ �ำ แห่งจริยธรรมบรรลุเป้าหมาย ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรมต้องมีทง้ั ความอยากรูอ้ ยากเห็นและความอ่อนน้อมถ่อมตน ในขณะเดียวกัน ก็ตอ้ งตัดสินด้วยความเด็ดขาด เพือ่ ให้งานบรรลุผล ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรมต้องสามารถแสดง ให้เห็นได้วา่ กิจการทีต่ นบริหารอยูส่ ามารถทำ�ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียหลักขององค์การ มีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ได้อย่างไร หรือสามารถแสดงให้เห็นได้วา่ สิง่ ทีต่ นบริหารอยูไ่ ป ปรับปรุงการเอือ้ ประโยชน์ซง่ึ กันและกันของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้อย่างไร ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม ต้องตอบตัวเองได้อย่างชัดเจนว่า “เราอยูเ่ พือ่ อะไร” และต้องสือ่ สารให้สงั คมได้ทราบว่า


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

13

พลวัตการบริหาร: กรอบแนวคิดในการสร้างเครือข่ายการบริหาร เพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวโน้มจริยธรรมการบริหารในศตวรรษที่ 21 กำ�ลังได้รบั อิทธิพลอย่างมากจาก ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders) (Cowton, 2008) การนำ�จริยธรรมไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ในองค์กรอาจมีกระบวนการในการจัดการแตกต่างกัน มีนกั วิชาการบางท่านเห็นว่าต้องใช้ การเคลือ่ นไหวด้านจริยธรรมธุรกิจมากระตุน้ ให้องค์กรปฏิบตั ติ ามหลักจริยธรรมในการทำ� ธุรกิจ (Cory, 2005) บางท่านก็ได้น�ำ เสนอ กระบวนการจัดการจริยธรรมบางประเภท ที่มีถึงเจ็ดขั้นตอน เริ่มด้วยการสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมหรือจรรยาบรรณ เสร็จ แล้วให้เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงในองค์กรหรือผูร้ บั ผิดชอบเรือ่ งจริยธรรมตรวจดู เสร็จแล้ว นำ�ไปสูก่ ระบวนการออกเป็นกฎ หลังจากนัน้ ต้องสือ่ สารกับผูเ้ กีย่ วข้องให้ทราบถึงมาตรฐาน และขัน้ ตอนการทำ�ตามกฎก่อนประกาศใช้ แต่กอ่ นทีจ่ ะประกาศใช้ตอ้ งสร้างระบบติดตาม ตรวจสอบและรายงาน แล้วจึงบังคับใช้กลไกทางวินยั ทีท่ �ำ ขึน้ ขัน้ ตอนสุดท้ายคือการใช้ การโต้ตอบทีเ่ หมาะสมหากตรวจพบว่าผูใ้ ดละเมิดจริยธรรม (Painter-Morland, 2008 : 6) จะเห็นได้วา่ กระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการเชิงลบ เพราะมีการใช้อ�ำ นาจบังคับให้ เกิดการปฏิบตั ติ ามจริยธรรมดังกล่าว ซึง่ ไม่ได้หมายความว่าผิด หรือไม่ดี กระบวนการ แบบนีอ้ าจเหมาะสำ�หรับบางสังคม แต่ไม่นา่ จะสอดคล้องกับทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ซึง่ การปฏิบตั ติ ามจริยธรรมการบริหารต้องมาจากแรงบันดาลใจของผูบ้ ริหารเอง เมือ่

บทที่ 1

“ธุรกิจสามารถทำ�ให้สงั คมดีขน้ึ ได้อย่างไร” (Freeman, 2007 : 18) ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม ทีก่ ล่าวไปแล้ว เป็นผูน้ �ำ ทีฟ่ รีแมนยอมรับว่า การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ซึง่ ก็คอื การ บริหารงานอย่างมีจริยธรรม จำ�เป็นต้องมีผนู้ �ำ แห่งจริยธรรม ดังกล่าวไปแล้ว ฟรีแมนเน้นใน ตอนท้ายว่า “การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Management for Stakeholders) ต้องการ ทั้งจริยธรรมและความเป็นผู้นำ�ในผู้บริหารคนเดียวกัน” จากทีน่ �ำ เสนอทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียไปแล้ว อาจกล่าวได้วา่ ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ประกอบด้วยหัวใจสำ�คัญสามส่วนคือ (1) กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียวงในและวงนอก (2) จุดมุ่งหมายของการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือ “การสร้างสรรค์คุณค่า ร่วมกันของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และ (3) ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม คือผูบ้ ริหารทีเ่ หมาะสำ�หรับ การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ตอนต่อไปเราจะนำ�ส่วนสำ�คัญทัง้ สามส่วนของทฤษฎีนี้ เข้าไปอยูใ่ นกรอบแนวความคิด เพือ่ จะได้เห็นว่าทฤษฎีนจ้ี ะนำ�ไปใช้เพือ่ การสร้างเครือข่าย การบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างไร


บทที่ 1

14

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

พิจารณาจากคำ�ถามหลักในการบริหารตามทฤษฎีของฟรีแมน (Freeman, 2007 : 12) แม้จะมีบางงานวิจัยที่พยายามหาวิธีการสร้างคุณค่าแก่องค์กรด้วยการคิดเชิงระบบ (Thyssen, 2009) ซึ่งแม้จะเป็นงานที่มีความรอบคอบ และพิจารณาอย่างรอบด้าน แต่ก็ยังเป็นงานที่เน้นหนักไปในเชิงทฤษฎี นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยบางชิ้นที่เข้าใกล้ การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารมาก แต่เป็นการปฏิบตั กิ ารแบบจำ�ลองเหตุการณ์จริง (Role Play) และเป็นการจำ�ลองในระดับองค์กรเดียว (Garber, 2005) ดังนัน้ กรอบแนวคิดการสร้าง เครือข่ายการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียจึงพยายามสร้างความแตกต่างจากกระบวนการ จัดการจริยธรรม การศึกษาจริยธรรม หรือการวิจยั ทางจริยธรรมการจัดการอุตสาหกรรม โดยทัว่ ไป โดยการสร้างกระบวนการเรียนรูไ้ ปพร้อม ๆ กับการปฏิบตั จิ ริง ซึง่ กรอบแนว ความคิดนีต้ อ้ งการแสดงให้เห็นว่า จริยธรรมการบริหารตามทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เป็นจริยธรรมทางบวก (Positive Ethics) หมายความว่า ผูบ้ ริหารมีความเชือ่ ว่า ธรรมชาติ เดิม ๆ ของมนุษย์คอื ความดี ความงาม การมีจติ ใจเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ที่อาจได้รับผลกระทบทางลบจากการบริหารของตนเอง ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้น เนื่องมาจากความไม่รู้ (Ignorance) ดังนั้นวิธีการที่จะทำ�ให้ผู้บริหารเกิดแรงบันดาลใจ ที่จะบริหารงานอย่างรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่าย คือการช่วยให้ผบู้ ริหาร พ้นจากความไม่รู้ดังกล่าว ความสัมพันธ์ระหว่างแนวความคิดในการสร้างเครือข่าย การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตามทฤษฎีของฟรีแมน สามารถแสดงเป็นแผนภาพได้ ดังแผนภาพ 1 ผู้นำ�แห่งจริยธรรม

ความสุข

การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

คุณค่าร่วม

แผนภาพ 1 พลวัตการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

15

บทที่ 1

แผนภาพ 1 เป็นแผนภาพทีแ่ สดงให้เห็นความสัมพันธ์ในระบบการทำ�งานของ จริยธรรมในการบริหารโดยใช้ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของฟรีแมนเป็นกรอบแนวคิด ระบบดังกล่าวประกอบด้วย ผูน้ �ำ แห่งจริยธรรม ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย คุณค่าร่วม และความสุข ปฏิสมั พันธ์ของระบบย่อยทัง้ สี่ เป็นความสัมพันธ์แบบพลวัตในเชิงบวก โดยมีพลังเริม่ ต้น คือ การบริหารเพือ่ ผูม้ ไี ด้สว่ นเสีย ทำ�ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีพลังในการสร้างสรรค์คณ ุ ค่า ร่วมกันได้มากขึน้ และตัวคุณค่าทีร่ ว่ มกันสร้างสรรค์ขน้ึ มาก็จะไปส่งผลให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย มีความสุขด้วย ในขณะเดียวกันก็สง่ ผลให้การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีประสิทธิภาพ มากขึน้ ทำ�ให้ผบู้ ริหารมีความสุขมากขึน้ ดังนีไ้ ปเรือ่ ย อย่างไม่รจู้ บ และแน่นอนเป็นความสุข ทางใจ เป็นความอิ่มเอมใจ แผนภาพ 1 นี้เป็นเพียงแผนภาพที่ต้องการอธิบายว่าระบบการทำ�งานภายใน ทีเ่ รียกว่า Mental Model ของจริยธรรมการบริหารตามทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย หรือ บางแห่งเรียก Flow Chart สำ�หรับบางท่านอาจจะไม่คนุ้ เคยสำ�หรับผูท้ เ่ี คยชินกับการสร้าง กรอบแนวความคิดแบบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linear Model) เพราะในความสัมพันธ์ เชิงเส้นตรง มักจะไม่ยอมให้ความความสัมพันธ์ยอ้ นกลับ (Recursive Model) เกิดขึน้ ผิดกับความสัมพันธ์แบบ Nonlinear Model ทีย่ อมให้มคี วามสัมพันธ์ยอ้ นกลับเข้าไป ในระบบ (Feedback Loop) เพือ่ สร้างสมดุลให้แก่ระบบในกรณีความสัมพันธ์ยอ้ นกลับ เชิงลบ (Negative Feedback) และเพิม่ การเติบโตแบบก้าวกระโดด (Exponential Growth) ให้แก่ระบบ (Sterman, 2000) ในกรณีความสัมพันธ์ยอ้ นกลับเป็นเชิงบวก (Positive Feedback) อย่างไรก็ตาม ดังทีก่ ล่าวไปในตอนต้นว่า กรอบแนวความคิดในการสร้างเครือข่าย การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียนี้ พัฒนาขึน้ เพือ่ นำ�ไปใช้ในการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร ซึง่ การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารดังกล่าว มีกรอบแนวความคิดดังแผนภาพ 2 ในหน้าถัดไป จากภาพรวมในแผนภาพ 2 จะเห็นว่า กรอบแนวความคิดในการวิจยั เชิงปฏิบตั นิ ้ี เป็น ความพยายามในการสร้างเครือข่ายขึน้ มาเครือข่ายหนึง่ อาจจะเรียกว่า “เครือข่ายการบริหาร เพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย” (Management for Stakeholders Network) เราลองดูจากทางด้าน ซ้ายมือของแผนภาพไปพร้อมกัน จะเห็นว่า เวทีแรกของการวิจยั เริม่ ด้วยการเปิดวงเสวนา ขายความคิดการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย โดยเชิญผูบ้ ริหารอุตสาหกรรมมาร่วมด้วย 10 องค์กรพร้อมทัง้ สือ่ มวลชน การพูดคุยจะเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมอภิปรายจนได้ แนวทางปฏิบตั ทิ ท่ี กุ ทุกฝ่ายเห็นด้วย ซึง่ อาจจะต้องใช้การเสวนาหลายรอบ เมือ่ ได้แนวทาง ปฏิบตั แิ ล้ว อันดับต่อไปคือหาองค์กรอาสาสมัคร หรือองค์กรทีต่ อ้ งการเป็นองค์กรต้นแบบ


วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

บทที่ 1

16

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

มาทดลองปฏิบตั ติ ามแนวทางทีร่ ว่ มกันร่างขึน้ ได้ผลลัพธ์อย่างไร ก็น�ำ มาแสดงผลงาน ในการเสวนารอบต่อไป ซึง่ ภารกิจขององค์กรต้นแบบคือ ต้องชวนเพือ่ นมาเข้าร่วมขบวนการ ให้ได้ปีละหนึ่งองค์กร ทุกปี ถ้าหากทำ�ได้เช่นนีค้ อื ในปีแรกมี 1 ในปีทส่ี องเป็น 2 ในปี ทีส่ าม เป็น 4 ในปีทส่ี เ่ี ป็น 8 ในปีทห่ี า้ เป็น 16 ปีตอ่ ไปก็ 32, 64, 128, 256, 512, 1,024, 2,048, 4,096, 8,192, 16,384, 32,768, 65,536 ในปีท่ี 17 เป็นต้น ลองคิดเล่น ๆ ดูจะพบว่า เมือ่ ครบ 30 ปี เราจะมีองค์กรเครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั่วทั้งโลกจำ�นวน 536,870,912 องค์กร ถึงตอนนั้นโลกคงจะน่าอยู่ขึ้นอีกมาก องค์กร 3 องค์กร 4 องค์กร 5 องค์กร 6

องค์กร องค์1กร สือ่ 2

เปิดวงเสวนาขายทฤษฎี การบริหารเพื่อผู้มีส่วน ได้เสีย เพื่อหาแนวร่วม

องค์กร 7 องค์กร องค์กร องค์กร 8 9 10

แสดงผลงาน 2

แนวทางการบริหาร เพื่อผู้มีส่วนได้เสีย ในอุตสาหกรรมไทย

หนึ่งองค์กร ทดลองปฏิบัติ

ปฏิบตั ติ าม 1

ผลจาก การปฏิบัติ

แสดงผลงาน 1

ปฏิบตั ติ าม 2

แผนภาพ 2 ระบบการสร้างเครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

แม้กรอบแนวคิดจะสวยหรู แต่อย่างเพิ่งเชื่อ จนกว่าจะได้นำ�ไป ทดลอง : สรุป กรอบแนวคิดการสร้างเครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่นำ�เสนอ ในบทความนี้ เป็นการพัฒนาขึน้ เพือ่ หาแนวทางสร้างกระบวนการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร โดยนำ�ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของฟรีแมนมาใช้เป็นแกนในระดับบริหาร จากการศึกษา ทฤษฎีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของฟรีแมนในส่วนสำ�คัญสามส่วนคือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักการทัว่ ไป และภาวะผูน้ �ำ สำ�หรับการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย สามารถนำ�ไปสร้าง เป็น Mental Model ทำ�ให้สามารถอธิบายได้วา่ ระบบย่อยต่าง ๆ ในทฤษฎีการบริหารเพือ่ ผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียทำ�งานสัมพันธ์กนั ในเชิงบวก โดยมีวงจรย้อนกลับทางบวก (Positive Feedback Loop) สองวง คือวงกลมแห่งความสุข กับวงกลมการบ่งเพาะคุณธรรม


เครือข่ายการบริหารเพื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : กรอบแนวคิดเชิงพลวัตระบบ

Management for Stakeholders Network : A System Dynamic Framework

17

เอกสารอ้างอิง เฝิงอิว่ หลัน. 2553. ปรัชญาจีนจากขงจือ่ ถึงเหมาเจ๋อตง. แปลโดย ส.สุวรรณ. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ. เพลโต. 2553. โสกราตีส. พิมพ์ครัง้ ที่ 8. แปลโดย ส.ศิวลักษณ์. กรุงเทพมหานคร : สำ�นักพิมพ์ศยาม. สุรัติ ปรีชาธรรม, ผู้แปล 2554. จวงจื่อ. ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร : โอเพ่นบุ๊กส์. อมร ทองสุก, ผู้แปล 2553. คัมภีร์หลุนอวี่. พิมพ์ครั้งที่ 3. ปทุมธานี : ชุณหวัตร. Carr, A. Z. “Is Business Bluffing Ethical.” Harvard Business Review (January-February 1968) : 143-53. Cory, J. 2005. Activist Business Ethics. Boston : Springer. Cowton, C. 2008. “On Setting the Agenda for Business Ethics Research.” In Trends in Business and Economic Ethicsม, edited by Christopher Cowton and Michaela Haase Springer : Heidelberg. Drucker, P.F. 2008. Management. Revised Edition. New York : Harper Collins. Fassin, Y. “Stakeholder Management, Reciprocity and Stakeholder Responsibility.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 83-96. Freeman, E.R. et al. 2010. Stakeholders Theory State of the Art. New York : Cambridge University Press. Freeman, E.R., Rusconi, G., Signori, S., and Strudler, A. “Stakeholder Theory (ies): Ethical Ideas and Managerial Action.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 1-2. Freeman, R.E. 1984. Strategic Management : Stakeholders Approach. Boston : Pitman. Freeman, R.E., Harrison, J.S. and Wicks, A.C. 2007. Managing for Stakeholders: Survival, Reputation, and Success. New Haven : Yale University Press.

บทที่ 1

ส่วนกรอบแนวความคิดในการนำ�ทฤษฎีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียไปใช้ในการวิจยั เชิง ปฏิบตั กิ ารเพือ่ สร้างเครือข่ายขององค์กรทีใ่ ช้การบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย สามารถ ทำ�ได้โดยเริม่ ต้นจากการขายแนวคิดการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียโดยการจัดเสวนาขึน้ เพือ่ ร่วมกันหาแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นไปได้ เมือ่ ได้แนวทางทีร่ ว่ มกันพัฒนาขึน้ แล้ว ก็หา องค์กรต้นแบบมาทดลองปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกิดผลลัพธ์จากการปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล่าว เพือ่ ทีจ่ ะนำ�ผลลัพธ์ไปแสดงต่อในวงเสวนารอบต่อไป ผลจากการแสดงผลลัพธ์ จะทำ�ให้ ผูบ้ ริหารองค์กรทีเ่ ข้าร่วมเสวนานำ�แนวทางการบริหารเพือ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียไปทดลอง ปฏิบตั อิ กี ต่อไปเรือ่ ย ๆ หลักการขยายเครือข่ายคือ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้ผลแล้ว ก็ให้ชวนองค์กรอืน่ ๆ มาทดลองปฏิบัติด้วย ซึ่งจะทำ�ให้การขยายตัวของเครือข่ายเป็นไปแบบทวีคูณ อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอนี้ ยังเป็นเพียงข้อเสนอเชิงทฤษฎี จำ�เป็นต้องได้รบั การนำ�ไป พิสจู น์เพือ่ พัฒนาทฤษฎีให้มคี วามแข็งแกร่งในการทำ�นายหรือการอธิบายปรากฏการณ์ ในอนาคตต่อไป


บทที่ 1

18

วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2556

Friedman, M. 1962. Capitalism and Freedom. London : Chicago University Press. Friedman, M. “The Social Responsibility of Business is to Increase its Profits.” The New York Times Magazine (September 13, 1970) Garber, P.R. 2005. 15 Reproducible Activities for Reinforcing Business Ethics and Values. Massachusetts : HRD Press. Gibson, K. “Stakeholders and Sustainability : An Evolving Theory.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 15-25. Green, R.M. and Donovan, A. 2010. “The Methods of Business Ethics.” In The Oxford Handbook of Business Ethics, 21-28. Edited by George G. Brenkert and Tom L. Beauchamp. New York : Oxford University Press. Kotler, P., Kartajaya, H. and Setiawan, I. 2010. Marketing 3.0 From Products to Customers to the Human Spirit. New Jersey : John Wiley & Son. Kujala, J., Heikkinen, a., and Lehtimäki, H. “Understanding the Nature of Stakeholder Relationships : An Empirical Examination of a Conflict Situation.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 53-65. Monija, M. “Stakeholders Management Theory, Firm Strategy, and Ambidexterity.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 67-82. Orts, E.W. and Strudler, A. “Putting a Stake in Stakeholder Theory. Journal of Business Ethics.” 882 (2010) : 605-615. Painter-Morland, M. 2008. Business Ethics as Practice Ethics as the Everyday Business of Business. New York : Cambridge University Press. Plato. 1997. Defence of Socrates ; Euthyphro ; Crito. Translate by David Gallop. Oxford : Oxford University Press. Sandbu, M.E. “Stakeholder Duties: On the Moral Responsibility of Corporate Investors.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 97-107 Sandel, M.J. 2010. Justice What the right things to do. New York : Farrar, Straus and Giroux. Schlierer et al. “How Do European SME Owner–Managers Make Sense of ‘Stakeholder Management’? : Insights from a Cross-National Study.” Journal of Business Ethics 109 (2012) : 39-51. Spencer, H. 1896a. The Principles of Ethics Vol. I New York : D. Appleton and Company. Spencer, H. 1896b. The Principles of Ethics Vol. II New York : D. Appleton and Company. Sterman, J.D. 2000. Business Dynamics : Systems Thinking and Modeling for a Complex World. Boston : McGraw-Hill. Thyssen, O. 2009. Business Ethics and Organizational Values A Systems-theoretical Analysis. New York : Palgrave Macmillan. Torugsa, N.A., O’Donohue, W. and Hecker, R. “Proactive CSR : An Empirical Analysis of the Role of its Economic, Social and Environmental Dimensions on the Association between Capabilities and Performance.” Journal of Business Ethics (July 27,2012)


~1~

ตัวแบบพลวัตการศึกษาและพัฒนาชีวติ Life Study and Development Dynamics Model ดร.ศรติ ภูมิโพธิ

การศึกษาและพัฒนาชีวติ ตัวแบบพลวัตการศึกษาและพัฒนาชีวติ คือตัวแบบระบบพลวัตเพื่อ “ศึกษา” การยกระดับ หรื อการพัฒนาจิตสานึกของมนุ ษย์ คาว่า “ศึกษา” ในที่น้ ี หมายถึงการเฝ้ าดู เฝ้ าสังเกตชีวิตของ ตัวเอง ส่ วนชีวิตในที่น้ ี คือชีวิตของมนุ ษย์ซ่ ึ งเราจัดแบ่งไว้เป็ นสามมิติคือ ร่ างกาย จิตใจ และจิต วิญญาณ โดยทั้งสามมิติน้ ี อยูใ่ นระนาบของชีวิตในระดับปั จเจก ชีวิตนอกจากจะเปิ ดเผยตัวเอง ในระดับปั จเจกแล้ว ชี วิตยังต้องเกี่ ยวโยงกับชี วิตในเชิ งสังคมด้วยซึ่ งจะแสดงตัว ในมิ ติของ หน้า ที่ ก ารงาน ความสุ ข ความส าเร็ จ แล้ว จะน าไปสู่ ก ารพัฒ นาตนเองในเรื่ อ งความรู ้ แ ละ คุณธรรม โดยตัวแบบการศึกษาและพัฒนาชีวิตจะดาเนินการผ่านการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ (Action Research) ในศูนย์ศึกษาและพัฒนาชี วิต (ศศพช.) ซึ่ งศูนย์ศึกษาและพัฒนาชี วิต มีความเชื่ อ พื้นฐานว่า ชีวิตแสดงตัวออกมาผ่านร่ างกายหรื อรู ปร่ างที่ปรากฏอยู่น้ ี มีจุดหมายปลายทางอยู่ที่ “บรมสุ ข” โดยตัวบรมสุ ขนี้ จะมีกระบวนการการพัฒนาผ่านความรู ้และคุ ณธรรม ที่งอกงาม ขึ้นมาจากชีวิตในระดับสังคมกระบวนการดังกล่าวนี้แม้จะเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตัวแบบเอง แต่ คุณลักษณะเหล่ านี้ ก็ได้รับอิ ทธิ พลจากตัวแบบที่ ผ่านมาในอดี ตไม่ ทางตรงก็ทางอ้อม ซึ่ ง รู ปแบบการพัฒนาชี วิตที่ผ่านมา แม้จะมีการนามิติท้ งั สามของชี วิต คือ ร่ างกาย จิตใจ และจิต วิญญาณมาศึกษาและพัฒนา แต่กเ็ ป็ นการศึกษาและพัฒนาที่แยกขาดจากกัน หรื อแม้มีการศึกษา และพัฒนาที่มีปฏิสัมพันธ์กนั แต่ก็ไม่ครบถ้วนทั้งสามมิติ คาถามที่เกี่ยวข้องกับมิติทางร่ างกาย การศึกษาแบบเก่าก็อาจให้คาตอบได้ แต่พอเป็ นคาถามของชี วิตที่เกี่ยวข้องกับมิติทางจิตใจและ จิตวิญญาณ กลับให้คาตอบที่ไม่สามารถทาให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิได้ ศศพช. จึงได้พฒั นาตัว


~2~

แบบที่มีความครบถ้วนในทุกมิติของชีวิตเท่าที่จะเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ แล้วนาเสนอตัวแบบ ในลักษณะตัวแบบที่มีพลวัตในตัวเอง เพื่อให้สามารถสะท้อนธรรมชาติของชีวิตมากที่สุด แล้ว สามารถน าไปปฏิ บัติ ใ นวิ ถี ชี วิ ต ปกติ ข องคนธรรมดาสามัญ ทั่ว ไป เพื่ อ ให้ ส ามารถเข้า ถึ ง จุดมุ่งหมายในชีวติ ตามความเชื่อพื้นฐานของ ศศพช. ดังจะได้นาเสนอในรายละเอียดโดยสังเขป ต่อไป

ตัวแบบพลวัตการศึกษาและพัฒนาชีวติ โดยทัว่ ไปชีวติ ของมนุษย์ประกอบด้วยร่ างกายและจิตใจ แต่สาหรับในตัวแบบการศึกษา และพัฒ นาชี วิต ของ ศศพช. แบ่ ง ภาคจิ ต ใจออกเป็ นสองภาคคื อ จิ ต ใจ และจิ ต วิ ญ ญาณ (ดู แผนภาพประกอบ) ดังจะนาเสนอในรายละเอียดต่อไป จิตวิญญาณ

จิตใจ

ร่างกาย

แผนภาพ 1 พลวัตชีวติ


~3~

พลวัตร่ างกาย ร่ างกายเป็ นธรรมชาติที่สามารถสังเกตได้ง่ายที่สุดเมื่อเทียบกับธรรมชาติที่เหลือทั้งสอง คือจิตใจและจิตวิญญาณ ปั ญญาที่ควบคุมการทางานของร่ างกายเป็ นปั ญญาจากธรรมชาติที่อยู่ นอกเหนื อการควบคุมของเจ้าของร่ างกายเรี ยกว่าสัญชาติญาณ ร่ างกายมีความสามารถในการ เยียวยาตัวเอง เจ้าของร่ างกายทาได้แค่เพียงทาให้ร่างกายอยู่ในภาวะสมดุ ล เพื่อให้ร่างกายทา หน้าที่อย่างสมบูรณ์ ในตัวแบบการพัฒนาชี วิตของ ศศพช. จึงใช้วิธีการทางธรรมชาติเป็ นหลัก กับชี วิตในส่ วนร่ างกาย จุดมุ่งหมายคือ ภาวะสมดุลของร่ างกาย เมื่อร่ างกายอยู่ในภาวะสมดุ ล ผลสะท้อนกลับก็จะกลับมาสู่ ตวั ร่ างกายเอง คือมีสุขภาพดี และย้อนไปสู่ ธรรมชาติบาบัดคือ มี ความเป็ นธรรมชาติมากขึ้นในการดาเนินชีวติ สมดุล

ธรรมชาติ

ร่างกาย

แผนภาพ 2 พลวัตร่ างกาย

พลวัตจิตใจ ส่ วนในเรื่ องจิตใจนั้น ศศพช. ให้นิยามของจิตใจว่า คือตัวความคิดและความรู ้สึก หรื อ อาจใช้คาว่า “รู ้สึกนึ กคิด” ก็ได้ ตัวความรู ้สึกนึ กคิด หรื อจิตใจนี้ มีธรรมชาติคือมันจะนึ กคิด


~4~

ตลอด หยุดไม่เป็ น การศึกษาในระบบก็สอนให้คิด เพียงแต่เป็ นการคิดที่เป็ นระบบ และมี ประโยชน์ข้ ึน หรื อไม่กส็ อนให้คิดดี เป็ นต้น ตัวความรู ้สึกนึกคิดนี้ มีธรรมชาติเหมือนน้ า คือ จะไหลลงสู่ ที่ต่า ความคิดจะไม่เหมือนร่ างกาย เพราะสัญชาตญาณของร่ างกาย คือบาบัดรักษา และซ่ อมแซมตัวเอง แต่จิตใจที่คิดไปตามสัญชาตญาณจะคิดไปในทางต่าในเรื่ อง กิน นอน สื บพันธุ์ ระวังภัย แสวงหาที่อยูอ่ าศัย โดยมีตวั ที่ฝังอยูใ่ นจิตวิญญาณ ที่เรี ยกว่า อุปนิสัย สันดาน เป็ นตัวกาหนดทิศทาง และโดยธรรมชาติสิ่งที่ฝังอยูก่ ค็ ือ “ความไม่รู้” หรื อจะใช้คาว่ารู ้กไ็ ด้ แต่ เป็ นความรู ้ที่ไม่ตรงตามความเป็ นจริ ง หรื อรู ้ผิดก็ได้ เมื่อจิตวิญญาณมีความไม่รู้เป็ นเชื้อ จิตใจ จึงคิดไปในทางต่า เมื่อจิตใจคิดไปในทางต่า หรื ออกุศล จิตใจจึงนาร่ างกายไปสู่ การกระทาโดย ผ่านสมอง บังคับบัญชาร่ างกายไปทาตามความปรารถนาของจิตใจ ผลก็คือในระยะสั้น อาจจะ ได้รับความพอใจ เพราะความอยากได้รับการตอบสนอง แต่ในระยะยาว ความเบื่อหน่าย ท้อแท้ สิ้ นหวัง หมดกาลังแรงใจจะต่อสู ้ปัญหาอุปสรรคในชีวิต จะตามมา ดังนั้นในมิติของจิตใจ เมื่อ ยังไม่สามารถหยุดความคิดได้ ก็ใช้จิตวิทยาเชิงบวกมากากับดูแลจิตใจไปก่อน เพื่อให้จิตใจเป็ น กุศล จิตใจที่มีกุศล ก็จะสะท้อนผลดี กลับมาสู่ คนที่มีจิตใจดี คิดแต่เรื่ องดี ๆ และจะย้อนกลับ ไปสู่ การยอมรับจิตวิทยาเชิ งบวกได้ง่ายขึ้น จนกว่าจิตใจจะได้รับการยกฐานะเป็ นจิตวิญญาณ หลังจากได้รับการเจริ ญสติ กุศล

คิดดี

แผนภาพ 3 พลวัตจิตใจ

จิตใจ


~5~

พลวัตจิตวิญญาณ ตัวจิ ตวิญญาณนี้ ก็คืออันเดี ยวกับจิ ตใจนั่นเอง แต่ เป็ นคนละสภาวะกัน หากเปรี ยบ เหมือนคนก็พอกล่าวได้ว่า ตอนเล็กก็เรี ยกว่าเด็กชาย พอโตก็เรี ยกนาย หรื อจะอธิ บายว่า จิต วิญญาณก็คือจิตดวงเดียวนี่ เองแต่มีสองภาค ภาคหนึ่งเป็ นตัวคิด อีกภาคหนึ่ งเป็ นตัวรู ้ เพียงแต่ ในที่น้ ีต้ งั ใจจะใช้คาเรี ยกให้ต่างกัน เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น แต่เวลาปฏิบตั ิกศ็ ึกษาจิตดวงเดียวนี้ แหละ แต่จุดสังเกตจะต่างกันเท่านั้นเอง ดังที่กล่าวไปข้างต้นว่า ธรรมชาติของจิตวิญญาณมี ความไม่รู้ฝังอยู่ หรื อกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ในตัวรู ้น้ ีมนั ไม่มีสติปัญญาเป็ นตัวกากับ แต่มีตวั ไม่รู้ หรื อ “ตัวโง่” เป็ นตัวกากับ เวลามันไปรู ้อะไรเข้า มันจึงไม่รู้เฉย ๆ กล่าวคือ พอรู ้ปุ๊บ ตัวคิดก็ คว้าไปคิดต่อปั๊ บในแทบจะทันทีทนั ใด การที่ตวั คิดหยิบเอาความรู ้ไปคิดต่อนี่ เอง จิตวิญญาณ คนเราจึงไม่เคยพบกับความสงบสุ ขตั้งแต่เกิดมา อย่างมากก็แค่บรรเทาความเบื่อหน่ าย ความ หงุดหงิด อึดอัดขัดเคือง หรื อรวมเรี ยกว่าทุกข์น้ ี โดยการไปพึ่งความสนุกสนานเพลิดเพลินกับ เรื่ องภายนอกเพียงชั่วครู่ ชั่วยาม ประเดี๋ ยวก็เบื่ออีก วนเวียนไปรู ้จกั จบสิ้ น ดังนั้นในตัวแบบ การศึกษาและพัฒนาชีวิตของ ศศพช. จึงออกแบบให้ใช้การเจริ ญสติ หรื อฝึ กทาความรู ้สึกตัวอยู่ กับปั จจุบนั ขณะ เพื่อให้ตวั รู ้กลับมารู ้ที่กายใจเฉย ๆ จนเป็ นการรู ้เฉย ๆ แบบอัตโนมัติ เมื่อนั้น จิ ต ปั ญ ญาจึ ง จะเกิ ด ขึ้ น ส่ ง ผลให้จิ ต วิญ ญาณได้พ กั ผ่อ น เมื่ อ จิ ต วิญ ญาณได้พ กั ผ่อ น ความ เข้มแข็งทางจิตวิญญาณจะเกิดขึ้น และส่ งผลให้เจริ ญสติได้มากขึ้นเป็ นพลวัตอยูเ่ ช่นนี้ จิตปัญญา

ึ รูส้ กตัว

จิตวิญญาณ

แผนภาพ 4 พลวัตจิตวิญญาณ


~6~

พลวัตการศึกษาและพัฒนาชีวติ ตัวแบบการพัฒนาชี วิตของ ศศพช. นี้เป็ นตัวแบบที่มีการปฏิสัมพันธ์รอบทิศ ที่กล่าวมา ข้างต้นเป็ นพลวัตในมิติของร่ างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ในระหว่างมิติท้ งั สามก็มีปฏิสัมพันธ์ กันเช่ นเดี ยวกัน กล่ าวคือ ร่ างกายที่ สดใสแข็งแรง ก็จะมี ผลให้จิตใจสดชื่ นเบิกบานและจิ ต วิญญาณก็จะตั้งมัน่ เป็ นสมาธิ ได้เร็ ว แล้วจะย้อนกลับไปมีผลดีต่อร่ างกายเช่นเดียวกัน ในระดับ วิธีการ คือธรรมชาติบาบัด จิตวิทยาเชิงบวก และการเจริ ญสติ รวมทั้งในระดับผลลัพธ์ คือ กาย สมดุล จิตกุศล และจิตปัญญา ก็มีพลวัตในเชิงบวกภายในระบบในลักษณะเดียวกัน

จิตปัญญา

ึ รูส้ กตัว

ธรรมชาติ

กุศล

จิตวิญญาณ

สมดุล

ร่างกาย

จิตใจ

คิดดี

แผนภาพ 5 พลวัตชีวติ ปัจเจก ที่กล่าวมาเป็ นพลวัตของระบบการศึกษาและพัฒนาชี วิตในระดับปั จเจก (แผนภาพ 5) ส่ วนในระดับสังคมนั้น มีพลวัตดังนี้ กล่าวคื อ เมื่อบุคคลผ่านการศึกษาและพัฒนาชี วิตของ ตัวเองใน ศศพช. แล้ว จะเกิดผลคือ “ความสุ ข” เหมือนกับผลไม้ที่สุกแล้ว เหมือนกับน้ าที่เต็มบึง


~7~

เต็ม หนองแล้ว พร้ อ มที่ จ ะน าไปใช้ประโยชน์ คนที่ พ ฒ ั นาตนเองทั้ง ร่ า งกาย จิ ต ใจ และจิ ต วิญญาณแล้ว จึ งเป็ นคนที่พร้ อมที่ จะไปทาประโยชน์ต่อสังคม คือไปทาหน้าที่การงานของ ตนเอง คนที่มีความสุ ขแล้วไปทาหน้าที่การงาน ก็จะทางานได้มาก เมื่อทางานอย่างมีความสุ ข ความสาเร็จก็จะเป็ นสิ่ งที่จะเกิดขึ้นตามธรรมดา เมื่อประสบความสาเร็ จ ความภูมิใจ ดีใจ อิ่มใจ หรื อความสุ ขก็จะเพิ่มขึ้น และส่ งผลให้ทาหน้าที่การงานได้มากขึ้น ดีข้ ึน ผลจากการทาหน้าที่ การงานนี้ จะไปบ่มเพาะความรู ้และคุณธรรมให้เจริ ญงอกงามขึ้นในชี วิตต่อไปจนถึงขั้น “บรม สุ ข” (แผนภาพ 6) บรมสุข

ความรู ้

คุณธรรม

ความสาเร็จ

การงาน

ความสุข

แผนภาพ 6 พลวัตชีวติ เชิงสังคม


~8~

การศึกษาและพัฒนาชี วิตตามตัวแบบของ ศศพช. นี้ แม้ดูเหมือนว่า “บรมสุ ข” จะเป็ น จุดหมายปลายทางสุ ดท้าย แต่ในทางปฏิบตั ิแล้ว ชีวิตสามารถสัมผัสกับบรมสุ ขได้ตลอดการใช้ ชีวิต เพียงแต่ว่า ตัวบรมสุ ขอาจจะยังไม่ถาวร ฉะนั้นตัวบรมสุ ขในตัวแบบนี้ จึงค่อย ๆ พัฒนา ไปตามการศึกษาและพัฒนาชี วิตในระดับปั จเจกและระดับสังคม (แผนภาพ 7) เปรี ยบเสมือน ผลไม้ที่ค่อย ๆ เจริ ญเติบโตจาก อ่อน แก่ สุ กงอม และร่ วงหล่นในที่สุด เมื่อถึงตอนนั้น ตัว “บรม สุ ข” จึงจะกลายเป็ นเนื้อเดียวกับชีวติ

วิธีดาเนินการศึกษาและพัฒนาชีวติ วิธีดาเนิ นการอาจแบ่งเป็ นสองส่ วนคือ การดาเนิ นการในด้านเนื้ อหา และการบริ หาร จัดการศูนย์ การดาเนินการตามเนื้อหาคือการนากรอบแนวคิดไปสู่ การปฏิบตั ิ ในที่น้ ีเริ่ มต้นด้วย การศึกษาและพัฒนาชี วิตในระดับปั จเจกก่อน โดยการเริ่ มต้นที่การพัฒนามิติที่สามคือเรื่ องจิต วิญญาณก่อน โดยการนาอาสาสมัครที่ผา่ นการคัดเลือกมาฝึ กทาความรู ้สึกตัวอยูก่ บั ปั จจุบนั ขณะ โดยมีจิตวิทยาเชิ งบวกเป็ นเนื้ อหาสอดแทรกเพื่อช่ วยกระตุน้ จิตใจ และปลุกเร้าให้เกิดศรัทธา เพื่อจะได้มีความกล้าหาญที่จะฟันฝ่ าอุปสรรคเบื้องต้นในการฝึ ก คือความง่วงและความคิด ส่ วน วิธี ก ารธรรมชาติ บ าบัด จะสอดแทรกเข้า มาในการออกก าลังกายช่ ว งเย็น ด้วยการทุ บเส้ น ลมปราณถุงน้ าดีเพื่อเพิ่มพลังเลือดลมให้เพียงพอสาหรับความต้องการของร่ างกายเพื่อให้ร่างกาย สามารถซ่ อมแซมตัวเองได้ ประกอบกับการแกว่งแขนในช่ วงเช้าเพื่ออบอุ่นร่ างกายและความ ยืดหยุน่ ของเส้นเอ็น เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงทนต่อแรงกดได้มากขึ้น เมื่อเจริ ญสติได้ระยะหนึ่ง อาสาสมัครจะไปทาหน้าที่การงานโดยมี ศศพช. เป็ นพี่เลี้ยงทั้ง ในเรื่ องการเจริ ญสติ การถอดบทเรี ยนความรู ้จากการทาหน้าที่การงาน และการหาความรู ้ ที่ จาเป็ นสาหรับการทาหน้าที่การงานมาให้เรี ยนรู ้ รวมทั้งการให้คาปรึ กษาเรื่ องคุณธรรม


~9~

บรมสุข

ความรู ้

คุณธรรม

ความสาเร็จ

การงาน

ความสุข

จิตปัญญา

ึ ว รูส้ กตั

ธรรมชาติ

กุศล

จิตวิญญาณ

สมดุล

ร่างกาย

จิตใจ

แผนภาพ 7 พลวัตการศึกษาและพัฒนาชีวติ

คิดดี


~ 10 ~

สาหรับการบริ หารจัดการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชี วิตนั้น ในระยะแรกอาจดาเนิ นการใน ลักษณะไป-กลับ กล่าวคือ ศูนย์ เปิ ดตัวขึ้นในห้องทางานขนาดสี่ คูณเจ็ดเมตรบวกลบหนึ่ ง ผู ้ ศึกษารับคาแนะนาแล้วกลับไปศึกษานอกสถานที่แล้วกลับมาพบที่ปรึ กษาตามเวลานัด ระยะที่ สองอาจเปิ ดให้ลงทะเบียนแบบโรงเรี ยนประจาเพื่อเรี ยนรู ้ แล้วกลับไปใช้ชีวิตตามปกติ ระยะที่ สามถือว่าเป็ นระบบที่สมบูรณ์แบบของ ศศพช. คือผูเ้ รี ยนลงทะเบียนเข้าศึกษาและพัฒนาชี วิต แบบเต็มเวลา ใช้ชีวติ กินนอนในศูนย์ฯ ตลอดจนทาหน้าที่การงานในศูนย์ จนสามารถพึ่งตนเอง ได้ท้ งั ร่ างกายและจิตใจ มีกาหนดสามถึงห้าปี อาจจะมีหรื อไม่มีประกาศนียบัตรรับรองก็ได้ แต่ ผูท้ ี่ผา่ นหลักสู ตรของศูนย์สามถึงห้าปี นี้ สามารถเป็ นผูป้ ระกอบการได้ หรื อเป็ นเจ้าของกิจการที่ ตนรักได้ ด้วยความรู ้ ความสามารถและสติปัญญาที่ได้รับการบ่มเพาะจากการใช้ชีวิตในศูนย์ ศึกษาและพัฒนาชีวติ

ผลลัพธ์ ทจี่ ะเกิดขึน้ จากการศึกษาและพัฒนาชีวติ ใน ศศพช. 1. ได้คนที่มีชีวติ ที่ดี คือมีร่างกายดี มีความสมดุล สดใสแข็งแรงตามปกติมีจิตใจดี คือมี จิตใจที่เป็ นกุศล มีจิตวิญญาณดี คือทาความรู ้สึกตัวอยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะเป็ น ตื่นตัว มีความพร้อม อยูเ่ สมอ ร่ าเริ งเบิกบาน เรี ยกรวม ๆ ว่า ชีวติ ที่มีความสุ ข 2. ได้บนั ทึกเรื่ องราวของแต่ละบุคคลที่ผ่านการศึกษาและพัฒนาชีวิต ตลอดจนการถอด บทเรี ยน ความรู ้และคุณธรรมทั้งหลายที่ถูกบันทึกไว้ บันทึกดังกล่าวจะกลายเป็ นแหล่งค้นคว้าที่ มีคุณค่า หรื อเป็ นงานวิจยั ที่มีคุณค่า ต่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในอนาคต


~ 11 ~

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. มหาวิทยาลัย/องค์กร/หน่วยงาน/สถาบัน จะมีหน่วยงานวิจยั เชิงปฏิบตั ิการเกิดขึ้นใหม่ ซึ่งมีการลงทุนต่า หรื อแทบไม่มีการลงทุนเลย เป็ นหน่วยงานวิจยั ชีวติ ที่จะสามารถเลี้ยงตัวได้ใน อนาคต 2. ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย/องค์กร/หน่วยงาน/สถาบันมีแหล่งศึกษา เรี ยนรู ้ชีวิตแบบครบ วงจร สามารถช่วยให้ชุมชนเข้มแข็งในระยะยาว โดยมีความสุ ขเป็ นแกน 3. ประชาชนในชุ มชนที่มีความสุ ขจะส่ งต่อความสุ ขไปสู่ ผูค้ นในชุ มชนรอบ ๆ จนถึ ง ประเทศ เมื่อประชาชนในประเทศมีความสุ ข เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจะพัฒนาตาม 4. เมื่ อ เราสามารถสร้ า งให้ผูค้ นมี ค วามสุ ข ได้แ ล้ว สั น ติ ภ าพของโลก รวมทั้ง การ แก้ปัญหาโลกร้อนจึงจะเกิดขึ้น จากพลังแห่งความสุ ขของมนุษยชาติ


สติ สมาธิ ปญญา อุปกรณเตรียมใจเพื่อบมเพาะคุณธรรมในชีวิต เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงดานจริยธรรมขององคกรในศตวรรษที่ 21 ศรติ ภูมิโพธิ ป 2013 ประเทศไทยถูกจัดอันดับความโปรงใสโดยองคกรความโปรงใสนานาชาติ (Transparency International, http://www.transparency.org/) ไวในกลุมเดียวกับประเทศใน ทวีฟอัฟริกา ซึ่งถือเปนกลุมประเทศที่ลาหลังที่สุดในการพัฒนา หลังจากที่ในปที่ผานมา ไดรับการจัดไวในกลุมเดียวกับประเทศในทวีปอเมริกาใต ซึ่งดีกวาประเทศในกลุมอัฟริกา หนอยหนึ่ง นี่แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยมีความเสื่อมถอยในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมใน การพั ฒ นาประเทศ เพราะระดั บ ความโปร ง ใสแทนที่ จ ะดี ขึ้ น กลั บ แย ล ง ทั้ ง ๆ ที่ เ รื่ อ ง คุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย เปนเรื่องที่ไดรับการพูดถึงมากที่สุดเรื่องหนึ่ง ทั้งในสื่อ ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ตลอดจนการอบรมสัมมนาอีกมากมาย นี่ ไ ม นั บ คํ า สอนที่ พ ระ และนั ก บวชพร่ํ า สอนกั น ไม ไ ด ห ยุ ด หย อ น ในเมื่ อ คํ า สอนเรื่ อ ง คุณธรรมจริยธรรมไมไดเหือดแหงไปจากสังคมไทย แตทําไมในทางปฏิบัติ จึงสวนทางกัน หากสั ง คมไทยมี ค วามเป น วิ ท ยาศาสตร พ อ สั ง คมไทยคงยอมรั บ คํ า กล า วของ นักวิทยาศาสตรของโลกอยางอัลเบิรต ไอสไตนที่เคยกลาวไววา “เราไมสามารถแกปญหา ดวยสิ่งที่สรางมันขึ้นมา” ในกรณีปญหาความไมโปรงใสไมใชเรื่องของการกระทําที่ไร เหตุผล ในทางตรงกันขามกับเต็มไปดวยเหตุผล เมื่อปญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมในการ บริหารมีเหตุผลเปนตนเหตุ การสอนคุณธรรมจริยธรรมในระดับเหตุผลแหงความดี อยางที่ ทํากันอยู จึงไมสามารถทําใหจิตมีกําลังพอที่จะเอาชนะหรือลางเหตุผลแหงความชั่วได มัน เหมือนกับ “เอาขี้เปดไปลางขี้ไก” ขี้ไกอาจถูกลางไป แตไดขี้เปดเปนความสกปรกใหม การ แกปญหาความไมโปรงใสของประเทศจึงดูเหมือนวา ยิ่งแกไข ยิ่งไมโปรงใส ดังมีอันดับ ความโปร ง ใสของประเทศตกไปอยู ใ นกลุ ม ประเทศล า หลั ง ที่ สุ ด เป น เครื่ อ งยื น ยั น ใน บทความนี้ตองการเสนอสิ่งที่มีพลังเหนือกวาความคิด หรือเหตุผล ไดแก “ความรูสึก” ที่ เรียกวา “สติ สมาธิ ปญญา” เพื่อใชในการลางความชั่วใหออกไปจากสังคมไทย ซึ่งจริง ๆ ก็ คือการลางความชั่วใหออกไปจากใจของคนนั่นเอง สติ สมาธิ ปญญา คืออะไร ทําอยางไรจึง จะเกิด สติ สมาธิ ปญญา สติ สมาธิ ปญญา จะลางความชั่วออกจากใจไดอยางไร และสติ


สมาธิ ปญญา จะทําใหคุณธรรมจริยธรรมเจริญงอกงามไดอยางไร คือสิ่งที่บทความนี้กําลัง จะนําเสนอแกทานผูอาน สติ สติ ในระดับความคิดหรือเหตุผลที่สอนกัน ทานอธิบายวา คือ “ความระลึกได” ซึ่ง เปนสติระดับความคิด หรือสติระดับสัญชาตญาณ เมื่อเปนสติระดับความคิด จึงไมมีพลัง พอที่จะลางความชั่วได อาจจะใชยับยั้งไดเปนครั้งคราว แตสติที่จะใชลางความชั่วออกจากใจ ได ต อ งเป น สติ ที่ เ ป น “ความรู สึ ก ” สติ ใ นระดั บ ความรู สึ ก ท า นจึ ง อธิ บ ายว า คื อ “ความ รูสึกตัว” คําวาความรูสึกตัว ก็ไมตองตีความไปไกล ไดแกความรูสึกที่รางกายนี่เอง เชน เวลา เดิน จะรูสึกสั่นไหว เวลาหายใจจะรูสึกวาทองเคลื่อนไหว สรุปความวา รูสึกตัว ก็คือรูสึกถึง การไหวติงของรางกาย เวลามีการเคลื่อนไหวนั่นเอง เวลามารูสึกที่ตัว ใจจะไมคิด เพราะ ธรรมชาติของใจ ทําหนาที่ไดขณะละอยาง คือ เวลาคิด ก็จะไมรูสึกตัว เวลารูสึกตัวจะไมคิด สติ เมื่อทราบความหมายและความสําคัญของสติแลว เราจะมาดูกันวา วิธีการฝกสติ การลาง ความชั่ วของสติ และความเจริญงอกงามของคุณธรรมจริ ยธรรมเมื่อมีสติ มีรายละเอีย ด อยางไร การฝกสติที่เปนความรูสึกทํางายกวาที่คิด เพียงแตคอยรูสึกตัวบอย ๆ เวลาเผลอคิดก็ ใหรีบกลับมารูที่อาการไหวของรางกายสวนใดก็ไดใหไวที่สุด ตั้งแตตื่นนอนจนกระทั่งนอน หลับ เมื่อฝกรูสึกตัวไปเรื่อย ๆ จะเริ่มรูจัก “ความรูสึกใจ” เปน จะเริ่มสังเกตเห็นใจที่รูสึกเฉย ๆ เปน จุดนี้แหละทานเรียกวา “เริ่มมีสติ” แลว เวลาความรูสึกชั่วมา จะเริ่มเห็น ผูมีสติจะเริ่ม เห็นความรูสึกชั่วที่อยูในใจ แตก็จะดับความรูสึกชั่วไมได มิหนําซ้ําก็ยังไหลตามความรูสึก ชั่วนั้นไปดวย หากเกิดอาการแบบนี้ ก็ไมตองไปรูสึกผิดซ้ําเขาไปอีก ผูมีสติในระดับเริ่มตน จะสามารถเพียงแตรูสึกตัวไดไวขึ้นเทานั้น ไมสามารถหยุดความรูสึกชั่วในใจได แตสามารถ ระงับไดในระดับการกระทําดวยการใชเหตุผลเขามาชวย เชนเวลารูสึกขี้เกียจ ไมอยากมา ทํางาน แตจําเปนตองมา ชีวิตแบบนี้จะเปนทุกขมาก คนมีสติจะสามารถลางความรูสึกขี้เกียจ ได แลวมาทํางานอยางมีความสุข แตถาไมมีสติ ความขี้เกียจก็จะลามไปเปน โทรศัพทไป โกหกผูจัดการเพื่อบอกขออางสารพัดเพื่อจะไมมาทํางาน เมื่อความรูสึกขี้เกียจไมถูกขัดเกลา ก็จะเริ่มหนาขึ้น จนไมสามารถทํางานตอไปได เมื่อฝกรูสึกตัวจนสติเริ่มเกิด คือ เริ่มรูจัก ความรูสึกใจที่เฉย ๆ ไดแลว คุณธรรมแรกที่จะเกิดขึ้นคือ ความรูสึกละอายแกใจตนเองจะ เกิดขึ้น ความอดทน และความรูสึกจะชวยเหลือผูอื่นที่เรียกวาจิตสาธารณะจึงจะเกิดขึ้น


สติที่เปนความรูสึก จึงเปนจุดเริ่มตนของการลางความชั่วออกจากใจ และบมเพาะ คุณธรรมจริยธรรมใหงอกงามขึ้น สติที่แกกลา ความรูสึกใจเฉย ๆ จะตั้งมั่นขึ้นเรียกวาสมาธิ

สมาธิ สมาธิคือความตั้งมั่นของความรูสึกใจเฉย ๆ หากเปนสมาธิที่มาจากการทําความ รูสึกตัว แตสวนใหญจะเขาใจวาสมาธิคือความสงบนิ่ง ซึ่งก็ไมผิด แตไมใชสมาธิที่จะใชลาง ความรูสึกชั่วออกจากใจได เปนเพียงแตความสงบที่ทําใหความรูสึกชั่วตกตะกอนนอนนิ่ง เทานั้น เวลาถูกเขยา ตะกอนก็จะฟุงขึ้นมาอีก สมาธิแบบสงบนิ่ง จึงไมใชความหมายของ สมาธิที่มาจากการทําความรูสึกตัว จนรูจักความรูสึกเฉย ๆ ที่เกิดขึ้นในใจ และตั้งมั่นอยูใน ความรูสึกเฉย ๆ นั้นได แมจะถูกเขยาดวยสิ่งที่มากระทบทั้งทางกายและทางใจ ตอนนี้เรา เขา ใจตรงกั น แลวว า สมาธิใ นที่ นี้ ห มายถึง อะไร ต อไปเราจะมาดู กัน ว า สมาธิ เกิ ด ขึ้ น ได อยางไร สมาธิลางความรูสึกชั่วไดอยางไร และจะทําใหคุณธรรมเจริญงอกงามไดอยางไร ดังที่กลาวไปขางตนวา สมาธิในที่นี้ไมใชสมาธิที่เกิดจากการกดขมจิตใหนิ่งดิ่ง แต เปนความตั่งมั่นของจิตในความรูสึกเฉย ๆ ที่เกิดจากการทําความรูสึกตัว การเกิดขึ้นของ สมาธิในที่นี้จึงตองเกิดจากการทําความรูสึกตัว คือการรับรูอาการเคลื่อนไหวของรางกายที


ละขณะ ๆ ไป และตองไมใชจากการเพง จอง อาการเคลื่อนไหวของรางกาย แตตองเปนการ รูแบบสบาย ๆ รูแบบไมเพง และไมเผลอ ฝกไปเรื่อย ๆ แตละคนจะพบจุดพอดีของตนเอง วิธีสังเกตวา ตรงไหนคือความพอดีจะสังเกตไดจาก ความรูสึกสบาย ๆ เมื่อทําความรูสึกตัว แบบสบาย ๆ ไมเพง ไมเผลอ ไมตองไปพยายามรู ไมตองไปเจตนารู แครูเฉย ๆ พอถึงจุด หนึ่ง “สติ” ดังที่กลาวไปในตอนแรกจะเกิดขึ้นกอน เมื่อสติมีความตอเนื่องยาวนานขึ้น มี กํ า ลั ง มากขึ้ น คื อ “เฉย” กั บ อารมณ ห นั ก ๆ ที่ ม ากระทบกาย เช น เย็ น ร อ น กระทบใจ หงุดหงิด อึดอัด ขัดเคือง ไดนานขึ้น แสดงวา “สมาธิ” เริ่มเกิดขึ้นแลว ในขั้นสมาธินี้ ยังไม สามารถดับความรูสึกชั่วทางใจ เชน หงุดหงิด อัดอัด ขัดเคือง ไดในทันที แตจะสามารถเฝาดู เฉย ๆ โดยไม ก ระโจนเข า ไป “ผสมโรง” จนความรู สึ ก เหล า นั้ น ดั บ ไปเองตามกฎของ ธรรมชาติที่ทุกสรรพสิ่งยอมมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปเปนธรรมดา สวนหนอออนของ คุณธรรม อันไดแก ความละอายแกใจ ความอดทน และจิตอาสา ที่เริ่มงอกเงยขึ้นในขั้นของ สติ ก็จะเริ่มเจริญเติบโตแข็งแรงขึ้นในขั้นของสมาธินี้ เมื่อเกิดความรูสึกอยากไดสิ่งของที่ ไมใชของ ๆ ตน ความละอายแกใจที่มีกําลังมากพอ จะเอาชนะความรูสึกฝายชั่วได เมื่อเกิด ความรูสึกหงุดหงิด ความอดทนที่มีกําลังมากพอ จะเอาชนะความรูสึกหงุดหงิดได หรือเมื่อ เกิดความรูสึกเห็นแกประโยชนสวนตน ความรูสึกจิ ตอาสาก็จะเขามาทําหนาที่เพื่อขจัด ความรูสึกเห็นแกตัวใหหมดไป สมาธิ จึงเปนพัฒนาการขั้นที่สองของจิตที่กําลังพัฒนาไปสูความเขมแข็งมากขึ้น มี กําลังมากขึ้นในการเอาชนะความรูสึกชั่ว เพื่อไปสูขั้นที่ความรูสึกชั่วจะถูกสลายไปกอนที่จะ เขามาถึงจิตที่เรียกวา “ปญญา” ปญญา ปญญาที่เรารูจักสวนใหญเปนปญญาคิด ปญญาเชิงเหตุผล ไมใชปญญาที่จะชวยบม เพาะคุณธรรมตามความหมายนี้ ปญญาในที่นี้คือปญญารู รูในที่นี้คือรูถึงใจที่เฉย ๆ วาง ๆ สว า ง ๆ และมี กํ า ลั ง จนความรู สึ ก ชั่ ว ทั้ ง หลายไม ส ามรรถเข า มาใกล ใ จได เช น เดี ย วกั บ หลอดไฟ หรือเทียนที่สองสวาง จนความมืดไมสามารถเขาใกลได กําลังปญญาของแตละคน ไมเทากัน บางทานกลาวกันวา ความสวางทางปญญาดุจกับดวงอาทิตยก็มี จึงขอใหเราเขาใจ ตรงกันวา ปญญาที่เปนแหลงบมเพาะคุณธรรม ไมใชปญญาคิด แตเปนปญญารูดังที่ไดกลาว


ไปแลว ตอไปเราจะมาดูกันวา ปญญารูเกิดขึ้นไดอยางไร และคุณธรรมในระดับปญญาจะ เปนอยางไร เชนเดียวกับการเกิดสติ และสมาธิ ปญญารูจะเกิดจากการทําความรูสึกตัวไปเรื่อย ๆ ความรูสึกตัวเฉย ๆ เปรียบเสมือนกับการเติมน้ําเปลาใสภาชนะ คอย ๆ หยดไปทีละหยด รูสึกตัวขณะหนึ่งก็เหมือนกับเติมน้ําไปหยดหนึ่ง เผลอไปคิดขณะหนึ่ง ก็เหมือนกับทําน้ํา หยดหนึ่งที่สะสมไวรั่วออกไป ตองมาเริ่มใหมอีก บางคนเติมมาทั้งชีวิตก็ไมเต็มภาชนะ คือ ไมเกิ ดปญญาซัก ที คนที่ตองการใหเกิดป ญญาอยางจริงจัง จึ งไปอยูในสภาพแวดลอมที่ เอื้ อ อํ า นวยต อ การทํ า ความรู สึ ก ตั ว อย า งต อ เนื่ อ ง แต ส ว นใหญ จ ะขาดความต อ เนื่ อ ง เปรียบเทียบกับการตมน้ํา ตมไปสัก สองนาที แลวดับไฟ หายไปอีกสามวัน กลับมาตมอีก สองนาที ทั้งชีวิตน้ําก็ไมเดือดซักที การทําความรูสึกตัวก็เชนกัน การทําใหสติเกิดก็วายาก แลว สมาธิยิ่งยากเขาไปอีก ไมตองพูดถึงใหปญญาเกิด วาตองใชความเพียรอยางหนักหนวง เทาใด เวลาเกิดปญญาแลว ทานอาจใชคําที่บงบอกถึงปญญาตาง ๆ กัน บางทีอาจไดยินคําวา “รูสึกตัวทั่วพรอม” “มีแตความรูสึกตัวลวน ๆ” บางทานอาจอธิบายวา “สวาง โลง อยางไม เคยเปนมากอน” เมื่อปญญาเกิดแลว คุณธรรมทั้งหลายทั้งปวง อยางที่ยกตัวอยางคุณธรรม ขางตนสามประการไดแก ความละอายแกใจ ความอดทน และจิตอาสา จะกลายเปนเนื้อ เดียวกับชีวิตจิตใจ ในจิตใจที่มีปญญาที่พัฒนามาจากการทําความรูสึกตัวกํากับอยู จะเปน จิตใจที่มีคุณธรรมโดยธรรมชาติ ทานพุทธทาสใชคําวา “ตถตา หรือเชนนั้นเอง” หรือ “จิต วาง” ไมมีเขา ไมมีเรา ไมมีของเขา ไมมีของเรา มันเปนสภาพธรรมชาติลวน ๆ ไมมีดี ไมมี ชั่ว มันเปนธรรมชาติของมันอยางนั้นเอง จิตใจมันเขาถึงธรรมชาติเดิมแทของมัน ปญญาแบบนี้ จึงเปนปญญาที่ตองพัฒนาใหเกิด หากตองการบมเพาะคุณธรรมอยาง ยั่งยืนใหงอกงามขึ้นในชีวิตของคน ความเสี่ยงดานจริยธรรมจัดการไดดวย สติ สมาธิ ปญญา ตนศตวรรษที่ 21 บริษัทระดับโลกเชน Enron, World Com, Lehman Brothers และ อีกหลายบริษัทขนาดยักษตองลมละลายทั้ง ๆ ที่บริษัทเหลานั้นชู Respect และ Integrity เปน คานิยมหลักขององคกร พรอมทั้งมีคูมือการปฏิบัติที่ชัดเจน แตบริษัทเหลานั้นก็ยังถึงกาลลม สลาย นั่นยิ่งเปนการยืนยันคํากลาวของไอสไตนที่วา “เราไมสามารถแกปญหาดวยสิ่งเดียวที่ สรางมันขึ้นมาได” ความคิดปรุงแตงนําไปสูความรูสึกชั่ว จนนําไปสูการกระทําชั่ว คุณธรรม


ระดับเหตุผล เชน ความคิดดี ไมมีพลังเพียงพอที่จะยับยั้งการกระทําชั่วที่มาจากความรูสึกชั่ว ได หรือหากจะตอสูความรูสึกชั่วดวยความคิดดี ก็เปนการยับยั้งเพียงชั่วคราว สักพัก หรือพอ ผานไปสักระยะ ความรูสึกชั่วดังกลาวจะผุดขึ้นมาอีก และมีกําลังมากขึ้น จนระเบิดไปสูการ ทําชั่วในที่สุด การทําความรูสึกตัว จนใจเริ่มรูจักความรูสึกเฉย ๆ ที่เรียกวาสติ จะเปนเบรกหยุด ความรูสึกชั่วในเบื้องตน พอเกิดสมาธิ จะดูความรูสึกชั่วเฉย ๆ ได โดยไมกระโดดเขาไป รวมกับความรูสึกชั่ว หากเกิดปญญาขึ้น พอความรูสึกชั่วผุดขึ้นมาใจ เพียงแคกระพริบตา ความรูสึกชั่วหรือความมืดในใจจะสลายไปทันที เมื่อทํางานดวยใจที่มีแสวงสวางเปนเครื่อง กํากับ คนจะทํางานดวยจิตใจสวาง สะอาด สงบ ปญญาแบบนี้ จะเปนปญญาที่ควรแกการ งาน คือมีความบริสุทธิ์จากความคิดปรุงแตง จากความงวงเหงาซึมเซา ตั้งมั่น และควรแกการ งาน คือคลองแคลว วองไว ออนนอมถอมตน ความเสี่ ย งขององค ก รด า นจริ ย ธรรม อาจดู ร าวกั บ ว า ไม น า จะมี พิ ษ สงอะไร แต ประวัติศาสตรก็ไดแสดงใหเห็นแลววา ความเสี่ยงดานนี้ สามารถทําใหองคกรที่มีอายุมากวา ศตวรรษตองลมสลายลงเพียงขามคืนได มาตรการทางจริยธรรมที่ใชอยูพิสูจนแลววาไม สามารถตานทานพลังแหงความรูสึกชั่วในใจได องคกรจึงตองลางความรูสึกชั่วดังกลาวดวย การนําสติ สมาธิ ปญญา เขาไปเปนวัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตในการทํางานใหได ที่สําคัญ ผูนํา ตองแสดงใหเปนแบบอยาง เพราะเราไมสามารถสั่งใหคนเกิดสติ สมาธิ ปญญาได


แบบทดสอบจุดหมายชีวติ ของวิกเตอร แฟรงคึล (Prof. Victor Frankl, PhD.) อานขอความตอไปนี้ (มีทั้งหมด ๒๐ ขอ) แลวเลือกวงตัวเลขที่ใกลเคียงกับความรูสึกของคุณมากที่สุด สังเกตใหดีวาตัวเลขจะเรียงตั้งแตความรูสึกสุดขั้วหนึ่งไปยังความรูสึกตรงขามอีกขั้วหนึ่ง ระดับ “กลาง” หมายความวาคุณยังไมไดลงความเห็นเอนเดียงไปดานใดทั้งนั้น พยายามเลือกขอนี้ใหนอยที่สุด

๑. ฉันมักจะ ๑ เบื่อที่สุด ๒. ชีวิตดูเหมือนจะ ๗ ตื่นเตนอยูเสมอ ๓. ชีวิตฉัน ๑ ไมมีจุดหมายเลย ๔. ชีวิตความเปนอยู ๑ ไรความหมาย ไรจุดหมาย ๕. ทุก ๆ วัน ๗ มีอะไรใหม ๆ ๖. ถาเลือกได ฉันจะ ๑ ไมขอเกิดมาเลย

๔ (กลาง ๆ)

๗ สดชื่นราเริง กระตือรือรน

๔ (กลาง ๆ)

๑ ซ้ําซากจําเจตลอด

๔ (กลาง ๆ)

๗ มีจุดหมายชัดเจน

๔ (กลาง ๆ)

๗ เปยมดวยความหมาย มีจุดหมายชัดเจน

๔ (กลาง ๆ)

๑ เหมือนเดิม

๔ (กลาง ๆ)

๗ ถามีอีก ๙ ชีวติ ก็จะ ใชชีวิตแบบนี้แหละ


๗. หลังเกษียณ ฉันจะ ๗ ๖ ทําสิ่งที่อยากทํา มาตลอด ๘. จุดหมายชีวิตของฉัน ๑ ๒ กาวไปไมถึงไหนเลย ๙. ชีวิตของฉัน ๑ ๒ วางเปลา สิ้นหวัง ๑๐. ถาตองตายวันนี้ ฉันรูส ึกวาชีวิต ๗ ๖ คุมคามาก ๑๑. เมื่อทบทวนชีวิตที่ผานมา ๑ ๒ สงสัยวาเกิดมาทําไม ๑๒. ฉันรูสกึ วา ๑ ๒ โลกนาสับสน เหลือเกิน ๑๓. ฉันเปนคนที่ ๑ ไมมีความ รับผิดชอบเลย

๔ (กลาง ๆ)

๑ ไมทําอะไรเลยดีกวา

๔ (กลาง ๆ)

๗ กาวไปถึงจุดที่อิ่มใจ สูงสุดแลว

๔ (กลาง ๆ)

๗ ลนไปดวยสิ่งที่ นาตื่นเตน

๔ (กลาง ๆ)

๑ ไรคาโดยสิ้นเชิง

๔ (กลาง ๆ)

๗ รูเสมอวาเกิดมาทําไม

๔ (กลาง ๆ)

๗ โลกมีความหมาย สอดคลองกับชีวิตฉัน เปนอยางดี

๔ (กลาง ๆ)

๗ รับผิดชอบดีมาก


๑๔. ฉันเชื่อวามนุษย ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ มีอิสระเต็มที่ (กลาง ๆ) ที่จะตัดสินใจ เลือกสิ่งตาง ๆ ในชีวิต ๑๕. ในแงความตาย ฉัน ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ เตรียมพรอม (กลาง ๆ) ไมกลัว ๑๖. ในเรื่องฆาตัวตาย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ คิดจริงจังวาเปน (กลาง ๆ) ทางออกอีกอยางหนึ่ง ๑๗. ความสามารถในการคนพบความหมาย จุดหมายหรือภารกิจในชีวิต ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ ดีมาก (กลาง ๆ) ๑๘. ชีวิตของฉัน ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ เปนไปตาม (กลาง ๆ) ที่ฉันกําหนด

๑๙. กิจวัตรประจําวันเปน ๗ ๖ งานที่เพลิดเพลิน ทําแลวพอใจ ๒๐. ฉันพบวา ๑ ๒ ยังไมมีภารกิจหรือ จุดหมายในชีวิตเลย

๑ ถูกจํากัดดวยลักษณะ ทางพันธุกรรม และสิ่งแวดลอม

๑ กลัว ยังไมพรอม

๗ ไมคิดจะทําเลย

๑ แทบไมมีเลย

๑ ไมอยูในความ ควบคุมของฉัน และเปนไปตาม ปจจัยภายนอก ๑ ตองอดทนและนาเบื่อ

๔ (กลาง ๆ)

๔ (กลาง ๆ)

๗ มีเปาหมายชัดเจน มีจุดหมายชีวิตที่นาพอใจ


การทําแบบสอบถามขางตน ซึ่งปรับปรุงมาจากผลงานอันลึกซึ้งของแฟรงคึล จะชวยใหคุณพบ ความหมายในชีวิตของคุณไดเร็วขึ้น วิธีรวมคะแนน ใหรวมตัวเลขที่คุณวงไว ถาไดต่ํากวา ๙๒ คะแนน ชีวิตคุณอาจจะขาดความหมายและ จุดมุงหมาย ถาคะแนนของคุณอยูระหวาง ๙๒-๑๑๒ คะแนน แสดงวาความรูสึกในเรื่องจุดมุงหมายของคุณยัง ไมชัดเจนหรือคุณยังตัดสินใจไมถูก ถาคะแนนของคุณสูงกวา ๑๑๒ แสดงวาคุณมีจุดมุงหมายที่แนชัด คอย ๆ ทํา ไมตองรีบรอน ถาคิดอะไรขึ้นมาไดก็บันทึกไว และถาจะใหดี ควรจะอานหนังสือที่นา สะเทือนอารมณของแฟรงคึลที่ชื่อ Man’s search for Meaning (มนุษย ความหมาย และคายกักกัน) ประกอบดวย เมื่อทานทราบคะแนนของตัวเองแลว หากทานตองการจะมีสวนรวมในการกอตั้ง “ศูนยศึกษาและ พัฒนาชีวิต” กรุณาสงแบบสอบถามชุดที่ทานทําเสร็จแลวไปที่ ดร.ศรติ ภูมิโพธิ หอง ๑๘๒๑ อาคาร ๑๘ คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ต.ทางิ้ว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ๘๐๒๘๐ ทานมีอิสระที่จะระบุชื่อที่อยูหรือไมก็ได แตหากทานตองมีเขารวมกิจกรรมกับ “ศูนยศกึ ษาและพัฒนา ชีวิต” ในโอกาสหนา การระบุชองทางติดตอสื่อสารไวในแบบสอบถาม จะทําใหทานไดประโยชนนี้

ดร.ศรติ ภูมิโพธิ อาจารยประจําวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (สาขาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม) อาจารยประจําหลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม) อาจารยประจําหลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช e-mail: bshrati@gmail.com weblog: lisdec.blogspot.com (ศูนยศึกษาและพัฒนาชีวิต)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.